The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมกฎหมาย ที่ดิน-จัดสรร-อาคารชุด (ฉบับใช้งานปัจจุบัน) (ปี 2558)

สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

๓๓๗

หมวด ๘๗๘
บทกาํ หนดโทษ

มาตรา ๖๓๗๙ ผูมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและ ฝาฝนการเกบ็
อาคารตามมาตรา ๖ ผูใดฝาฝนมาตรา ๖/๑ วรรคหน่ึง โฆษณาและแบบ
หรือมาตรา ๖/๒ วรรคหน่ึง ตองระวางโทษปรับไมเกิน สัญญา
หน่งึ แสนบาท

มาตรา ๖๔๘๐ ผูใดฝาฝนมาตรา ๖/๑ วรรคสอง โฆษณาไมตอ ง
ตองระวางโทษปรับตั้งแตหาหม่ืนบาทถึงหน่ึงแสน ตรงคาํ ขอจดฯ
บาท

มาตรา ๖๕๘๑ ผูใดฝาฝนมาตรา ๑๗/๑ ตอง ฝา ฝนการจดั พน้ื ที่
ระวางโทษปรบั ไมเ กินหาหมน่ื บาท และปรับอีกไมเกิน ประกอบการคา
วนั ละหา พันบาทตลอดเวลาท่ีฝาฝน อยู

มาตรา ๖๖๘๒ คนตางดาวหรือนิติบุคคลซ่ึง ตา งดาวฝาฝนการ
กฎหมายถือวาเปนคนตางดาวผูใดไมแจงใหพนักงาน แจง
เจาหนาที่ทราบถึงการท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๑๙ เบญจ
วรรคสอง มาตรา ๑๙ สัตต มาตรา ๑๙ อัฏฐ มาตรา

๗๘ เพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั อิ าคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๗๙ เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาคารชดุ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๘๐ เพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั อิ าคารชดุ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๘๑ เพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญัตอิ าคารชดุ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๘๒ เพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั อิ าคารชุด (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๓๘

๑๙ นว มาตรา ๑๙ ทศ และมาตรา ๑๙ เอกาทศ ภายใน

เวลาท่ีกําหนดตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งหมื่น

บาท และปรับอีกไมเกินวันละหารอยบาทตลอดเวลาที่

ฝาฝนอยู

มาตรา ๖๗๘๓ บุคคลใดถือกรรมสิทธ์ิในหอง ถอื แทนตางดา ว

ชุดในฐานะเปนเจาของแทนคนตางดาวหรือนิติบุคคล

ซ่ึงกฎหมายถือวาเปนคนตางดาว ไมวาคนตางดาวหรือ

นิติบุคคลดังกลาวจะมีสิทธิถือกรรมสิทธิ์ในหองชุด

ตามพระราชบัญญัตินี้หรือไมก็ตาม ตองระวางโทษ

จาํ คกุ ไมเ กินสองป หรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือ

ทั้งจําท้ังปรับ และใหนําบทบัญญัติในมาตรา ๑๙ เบญจ

วรรคสี่ มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

มาตรา ๖๘๘๔ ผูจัดการผูใดไมปฏิบัติตาม ผจก. ไมอ อกใบ

มาตรา ๒๙ วรรคสาม และมาตรา ๓๖ (๕) ตองระวาง ปลอดหน/ี้ ไม
โทษปรับไมเกินหาหม่ืนบาท และปรับอีกไมเกินวันละ จดั ทาํ บัญชี
ประจาํ เดอื น
หา รอยบาทตลอดเวลาทีย่ งั ไมปฏบิ ัตใิ หถ ูกตอง

๘๓ เพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๘๔ เพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิอาคารชุด (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๓๙

มาตรา ๖๙๘๕ ผูจัดการผูใดฝาฝนหรือไม ผจก.ไมนํา
ปฏิบัติตามมาตรา ๓๒ วรรคสอง มาตรา ๓๕/๒ มาตรา ขอ บงั คับใหมหรือ
๓๗ วรรคหา และมาตรา ๔๒ วรรคหน่ึง ตองระวาง ตั้ง ผจก.ใหมมาจด
โทษปรบั ไมเกนิ หา พันบาท

มาตรา ๗๐๘๖ ประธานกรรมการผใู ดไมปฏิบัติ ประธานฯฝาฝน
ตามมาตรา ๓๗/๕ และมาตรา ๓๘ (๓) ตองระวางโทษ ไมจ ัดประชมุ
ปรับไมเกนิ หาพันบาท

มาตรา ๗๑๘๗ นิติบุคคลอาคารชุดใดฝาฝน นติ ิบุคคลฯไมทํา
หรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๓๘/๑ มาตรา ๓๘/๒ และ งบดุลและรายงาน
มาตรา ๓๘/๓ ตอ งระวางโทษปรบั ไมเกนิ หนึ่งหม่นื บาท ประจาํ ป

ในกรณีที่นิติบุคคลอาคารชุดกระทําความผิด
ตามวรรคหนึ่ง ผูจัดการตองรับโทษตามที่บัญญัติไว
ตามวรรคหน่ึงดว ย เวนแตจ ะพสิ จู นไดว าตนมิไดมีสวน
ในการกระทาํ ความผิดนน้ั

มาตรา ๗๒๘๘ เจาของรวมผูใดดําเนินการ เจา ของรว มฝา ฝน
กอสราง ตกแตง ปรับปรุง เปล่ียนแปลง หรือตอเติม ปรบั ปรุง
หองชุดของตนโดยฝาฝนมาตรา ๔๘ (๓) ตองระวาง
โทษปรับไมเ กินหนึง่ แสนบาท

๘๕ เพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิอาคารชุด (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๘๖ เพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๘๗ เพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญัติอาคารชุด (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๘๘ เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั ิอาคารชุด (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๔๐

มาตรา ๗๓๘๙ ผูใดไมปฏิบัติตามคําส่ัง ไมปฏิบตั ิตาม
ขัดขวางหรือไมอํานวยความสะดวกแกพนักงาน คาํ สั่งพนกั งาน
เจาหนาที่ซ่ึงปฏิบัติการตามมาตรา ๖๐/๑ ตองระวาง เจา หนาท่ี
โทษจําคุกไมเกินสามเดือนหรือปรับไมเกินหกพันบาท
หรอื ท้งั จําทง้ั ปรับ

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
ส. โหตระกิตย
รองนายกรัฐมนตรี

๘๙ เพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชดุ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๔๑

อตั ราคาธรรมเนียมและคาใชจ าย๙๐

(๑) คา จดทะเบยี นอาคารชุด ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท

(๒) คาจดทะเบียนเลิกอาคารชุด ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท

(๓) คา จดทะเบยี นนติ บิ ุคคลอาคารชดุ ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท

(๔) คาจดทะเบยี นผูจดั การ ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท

(๕) คา จดทะเบียนเปลยี่ นแปลงขอบังคบั ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท

(๖) คา ออกหนงั สือกรรมสทิ ธ์ิหอ งชุดหรอื

ใบแทนหนงั สอื กรรมสทิ ธ์ิหอ งชุด หอ งชดุ ละ ๑,๐๐๐ บาท

(๗) คา จดทะเบียนสทิ ธแิ ละนิติกรรม

(ก) มีทนุ ทรัพย ใหเ รียกเกบ็ รอยละ ๒ ของราคาประเมนิ ทุนทรัพย

(ข) ไมมที นุ ทรัพย ๒๐๐ บาท

(๘) คาธรรมเนยี มเบ็ดเตล็ด

(ก) คา คําขอ ๕๐ บาท

(ข) คา คัดหรอื สําเนาเอกสารตา งๆ รวมท้ังคาคัด

หรือสาํ เนาเอกสารเปน พยานในคดแี พง

โดยเจา หนาทเี่ ปนผคู ดั หรือสําเนา หนาละ ๕๐ บาท

(ค) คา รับรองเอกสารท่ีคดั หรือสําเนา ฉบับละ ๕๐ บาท

(ง) คา ตรวจหลกั ฐานทะเบยี นหอ งชุด หอ งชดุ ละ ๑๐๐ บาท

(จ) คา รับอายดั หองชุด หองชุดละ ๑๐๐ บาท

๙๐ อัตราคาธรรมเนียมและคาใชจาย แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ
อาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๔๒

(ฉ) คา มอบอํานาจ เรื่องละ ๕๐ บาท
๑๐๐ บาท
(ช) คา ตรวจสอบขอ มลู ดานทะเบียน
๕๐ บาท
ดานประเมนิ ราคา หรอื ขอ มูลอืน่ หองชุดละ ๑๐๐ บาท
๕๐ บาท
(ซ) คาสําเนาจากส่ือบนั ทกึ ขอ มูลทาง

คอมพวิ เตอรหรอื ส่อื อิเล็กทรอนกิ สอ ืน่

หรือสาํ เนาขอมูลอน่ื แผนละ

(๙) คาใชจ า ย

(ก) คา ปด ประกาศไดแ กผ ูปดประกาศ รายละ

(ข) คาพยานไดแ กพ ยาน คนละ

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีใน
ปจจุบัน ปญหาในดานที่อยูอาศัยภายในเมืองไดเพ่ิมทวีมากขึ้น และระบบ
กรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไม
อาจสนองความตองการของประชาชน ซ่ึงตองอยูอาศัยในอาคารเดียวกัน
โดยรวมกันมีกรรมสิทธิ์หองชุดในอาคารน้ันแยกจากกันเปนสัดสวนได
สมควรวางระบบกรรมสิทธ์ิหองชุดขึ้น เพ่ือใหผูท่ีอยูในอาคารเดียวกัน
สามารถถือกรรมสิทธิ์หองชุดในอาคารสวนท่ีเปนของตนแยกจากกันเปน
สัดสวนและสามารถจัดระบบคาใชจายในการบํารุงรักษาอาคารรวมกันได
นอกจากน้ันสมควรวางมาตรการควบคุมการจัดตั้งอาคารชุดใหเหมาะสม
เพื่อเปนหลักประกันใหแกผูที่จะมาซื้อหองชุดเพื่ออยูอาศัย จึง
จําเปนตองตราพระราชบัญญัตนิ ขี้ น้ึ
(ประกาศราชกิจจานเุ บกษา เลม ๙๖ ตอนท่ี ๖๗ ฉบบั พิเศษ วนั ท่ี ๓๐
เมษายน ๒๕๒๒)

๓๔๓

พระราชบัญญัติอาคารชดุ (ฉบับท่ี ๒ ) พ.ศ. ๒๕๓๔
(ประกาศราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๐๘ ตอนที่ ๑๗๑ (ตอนพิเศษ) วันที่ ๓๐
กันยายน ๒๕๓๔)

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยที่
เปน การสมควรใหคนตางดาวหรือนิติบคุ คลที่มีสิทธิในที่ดินเสมือนคนตาง
ดาวบางประเภท อาจไดมาซ่ึงกรรมสิทธิ์ในหองชุดได ท้ังนี้ เพื่อประโยชน
ในการสงเสริมการลงทุนอันจะกอใหเกิดความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของ
ประเทศ จึงจําเปนตองตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี

พระราชบัญญัตอิ าคารชุด (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒
(ประกาศราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๖ ตอนท่ี ๓๑ก วันที่ ๒๗ เมษายน
๒๕๔๒)

มาตรา ๙ เมื่อครบกําหนดเวลาหาปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช
บังคับใหยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๑๙ ทวิ แหงพระราชบัญญัติ
อาคารชดุ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญัตินี้

เม่ือพนกําหนดเวลาหาปนับแตวันที่พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับตาม
วรรคหนึ่งใหคนตางดาวและนิติบุคคลที่ไดหองชุดมาตามมาตรา ๑๙ ทวิ
วรรคสอง หรือคนตางดาวและนิติบุคคลตามที่ระบุไวในมาตรา ๑๙ ซ่ึงรับ
โอนกรรมสิทธิ์หองชุดตอเนื่องจากคนตางดาว หรือนิติบุคคลดังกลาว ถือ
กรรมสทิ ธ์ิหอ งชดุ นั้นตอ ไปได แมว าจะเกินอัตราทีก่ ําหนดไวในมาตรา ๑๙
ทวิ วรรคหนึง่

๓๔๔

มาตรา ๑๐ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม
พระราชบัญญตั ิน้ี

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ี
เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมหลักเกณฑการไดมาซ่ึงกรรมสิทธ์ิในหองชุด
ของคนตางดาวและนิติบุคคลที่กฎหมายถือวาเปนคนตางดาว เพื่อให
สอดคลองกับบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยการควบคุมการแลกเปล่ียน
เงินที่เปล่ียนแปลงขอจํากัดเก่ียวกับการนําเงินตราตางประเทศเขามาใน
ราชอาณาจักร โดยกําหนดใหผูนําเงินตราตางประเทศเขามาใน
ราชอาณาจักรตองขายหรือฝากเงินตราตางประเทศน้ันแกธนาคารท่ีไดรับ
อนุญาตและแกไขอัตราสวนการถือกรรมสิทธิ์หองชุดในแตละอาคารชุด
ของคนตางดาวและนิติบุคคลท่ีกฎหมายถือวาเปนคนตางดาวใหเหมาะสม
ย่ิงขึ้น เพ่ืออํานวยความสะดวกในการซื้อหองชุดของบุคคลดังกลาว
ตลอดจนเปนการเพ่ิมกําลังซ้ือใหกับธุรกิจอสังหาริมทรัพยของประเทศที่
กําลังประสบปญหาสภาวะซบเซา ซึ่งเปนมาตรการหนึ่งในการฟนฟู
เศรษฐกิจของประเทศโดยรวม นอกจากนั้นไดเพิ่มเติมบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญที่ใหอํานาจในการตรากฎหมายที่มีบทบัญญัติเปนการจํากัด
สิทธิเสรีภาพของประชาชน เพ่ือใหเปนไปตามมาตรา ๓๓๕ (๑) ของ
รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย จึงจาํ เปน ตองตราพระราชบญั ญัตนิ ี้

พระราชบญั ญัติอาคารชุด (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
(ประกาศราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๔๔ก วนั ที่ ๖ มีนาคม
๒๕๕๑)

๓๔๕

มาตรา ๓๑ มิใหนําบทบัญญัติในมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ และมาตรา
๑๘ แหงพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติมโดย
พระราชบญั ญตั นิ ี้ มาใชบ งั คับแกการกําหนดอัตราสวนกรรมสิทธิ์ในทรัพย
สวนกลาง ทรัพยสินที่ถือวาเปนทรัพยสวนกลางและการกําหนดอัตรา
คาใชจายรวมกันของเจาของรวมในอาคารชุดท่ีไดจดทะเบียนเปนอาคาร
ชุดอยกู อนหรือในวันทพี่ ระราชบญั ญตั ิน้ีใชบ งั คบั

ใหมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ และมาตรา ๑๘ แหงพระราชบัญญัติ
อาคารชดุ พ.ศ. ๒๕๒๒ ยังคงมีผลใชบังคับตอไปสําหรับอาคารชุดท่ีไดจด
ทะเบียนเปนอาคารชดุ อยกู อนหรือในวนั ทพี่ ระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ

มาตรา ๓๒ มิใหน าํ บทบญั ญตั ใิ นมาตรา ๑๗/๑ และมาตรา ๖๕ แหง
พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแกไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัตินี้ มาใชบังคับแกอาคารชุดซ่ึงไดจดทะเบียนเปนอาคารชุด
แ ล ะ มี ห อ ง ชุ ด ท่ี ใ ช เ พื่ อ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค า อ ยู ก อ น ห รื อ ใ น วั น ที่
พระราชบัญญตั ินี้ใชบ ังคับ

มาตรา ๓๓ ใหขอบังคับที่ใชบังคับอยูในวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช
บังคับยังคงใชบังคับตอไปเทาท่ีไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัติน้ี และ
ใหนิติบุคคลอาคารชุดดําเนินการแกไขหรือเพิ่มเติมใหสอดคลองกับ
พระราชบญั ญัตนิ ้ีภายในสามรอ ยหกสิบวันนับแตวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช
บังคับ

มาตรา ๓๔ ใหผูจัดการหรือกรรมการของนิติบุคคลอาคารชุดซ่ึง
ดํารงตําแหนงอยูในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ดํารงตําแหนงตอไป
จนครบวาระตามที่กาํ หนดไวในขอ บังคบั หรือจนกวาทีป่ ระชุมใหญเ จาของ
รว มจะมกี ารแตง ต้งั ผจู ัดการหรือกรรมการขนึ้ ใหม แลว แตกรณี

๓๔๖

มาตรา ๓๕ ใหยกเลิกอัตราคาธรรมเนียมและคาใชจายทาย
พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ และใหใชอัตราคาธรรมเนียมและ
คาใชจา ยทายพระราชบัญญัติน้ีแทน

มาตรา ๓๖ ใหร ฐั มนตรีวา การกระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตาม
พระราชบญั ญัติ

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ี
พระราชบัญญตั อิ าคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ไดใชบังคับมานาน และปรากฏวา
หลักเกณฑและรายละเอียดหลายประการไมสามารถใชบังคับไดจริง
ในทางปฏิบัติและไมเพียงพอท่ีจะคุมครองประชาชนที่ซ้ือหองชุดเพื่อการ
อยูอาศัย สมควรแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติในพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือแกไข
ปญหาที่เกิดจากการบังคับใชกฎหมายและคุมครองประชาชนผูซ้ือหองชุด
เพ่ือการอยูอาศัย ใหมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น รวมทั้งสมควรปรับปรุงอัตรา
คาธรรมเนียมและคาใชจายใหเหมาะสมย่ิงขึ้น จึงจําเปนตองตรา
พระราชบญั ญัติน้ี

กฎกระทรวง
ออกตามความในพระราชบัญญัติอาคารชุด

พ.ศ. ๒๕๒๒

กฎกระทรวง
กาํ หนดหลักเกณฑ วธิ ีการ และเงอื่ นไขการจดทะเบียน
อาคารชดุ การออกหนังสือกรรมสทิ ธิ์หอ งชุด และการ

จดทะเบยี นนิติบุคคลอาคารชุด
พ.ศ. ๒๕๕๓

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๘

มาตรา ๒๑ วรรคสาม และมาตรา ๓๑ วรรคสาม แหง

พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๖

(๗) แหงพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึง

แกไ ขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับท่ี ๔)

พ.ศ. ๒๕๕๑ อันเปนกฎหมายท่ีมีบทบัญญัติบาง

ประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล

ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และ

มาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ

แหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยออก

กฎกระทรวงไว ดังตอไปน้ี

ขอ ๑ ใหย กเลิก ยกเลิก

(๑) กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๒๓) ออกตาม กฎกระทรวงเดมิ

๓๔๘

ความในพระราชบญั ญตั อิ าคารชดุ พ.ศ. ๒๕๒๒
(๒) กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๒๙)

ออกตามความในพระราชบัญญัตอิ าคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
(๓) กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๓๖)

ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิอาคารชดุ พ.ศ. ๒๕๒๒
(๔) กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๐)

ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
(๕) กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๔๑)

ออกตามความในพระราชบัญญตั ิอาคารชดุ พ.ศ. ๒๕๒๒
(๖) กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๔๒)

ออกตามความในพระราชบญั ญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
(๗) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๔๒)

ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
หมวด ๑

การจดทะเบยี นอาคารชดุ

สว นที่ ๑
การขอจดทะเบียนอาคารชุด

ขอ ๒ ผูมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและอาคารใด การย่ืนคําขอ
ประสงคจะขอจดทะเบียนที่ดินและอาคารน้ันใหเปน
อาคารชุด ใหย่ืนคําขอตามแบบที่อธิบดีกรมท่ีดิน
ประกาศกําหนดตอพนักงานเจาหนาท่ี ณ สํานักงาน

๓๔๙

ท่ดี ินแหง ทองที่ที่ที่ดนิ และอาคารนัน้ ตง้ั อยู

ขอ ๓ คําขอตามขอ ๒ ใหยื่นพรอมหลักฐาน หลักฐานประกอบ

และรายละเอียด ดงั ตอ ไปนี้ คาํ ขอ

(๑) โฉนดท่ีดนิ

(๒) แผนผังแสดงเขตทีด่ นิ และท่ตี ั้งของอาคาร

ชุดแตละอาคารชุด และส่ิงปลูกสรางโดยมีมาตราสวน

๑ : ๑๐๐๐ หรือ ๑ : ๕๐๐ หรือตามความเหมาะสม

รวมทั้งเสน ทางเขา ออกสูท างสาธารณะตามสภาพความ

เปน จริง

(๓) แผนผังแสดงรายละเอียดของอาคารชุดแตละ

ชั้นโดยระบุความกวาง ความยาว ความสูงและเนื้อที่

รวมทง้ั หมายเลขประจําของหอ งชดุ แตละหอ งชุด

(๔) แผนผังและรายการแสดงรายละเอียดของ

หองชุด ทรัพยสวนบุคคล และทรัพยสวนกลางใน

อาคารชุดน้ัน ไดแก จํานวนพ้ืนที่ ลักษณะการใช

ประโยชน และรายละเอียดอ่ืน ๆ ตามท่ีรัฐมนตรี

ประกาศกาํ หนดตามมาตรา ๖ (๓)

(๕) บัญชีแสดงรายการเกี่ยวกับอัตราสวนท่ี

เจาของหองชุดแตละหองชุดมีกรรมสิทธ์ิในทรัพย

สวนกลาง

(๖) คํารับรองเปนหนังสือของผูย่ืนคําขอวา

อาคารที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดน้ันปราศจากภาระ

ผกู พันใด ๆ เวนแตการจํานองอาคารรวมกบั ที่ดิน

๓๕๐

(๗) รา งขอบงั คับของนิติบุคคลอาคารชุด
(๘) ใบรับรองการกอสรางอาคาร ดัดแปลง
อาคาร หรือเคล่ือนยายอาคาร หรือใบอนุญาตเปล่ียน
การใชอาคารตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร ใน
กรณีที่อาคารที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดนั้นต้ังอยูใน
ทองที่ทก่ี ฎหมายวาดว ยการควบคุมอาคารใชบ ังคับ
(๙) หนังสืออนุญาตใหกอสรางอาคารหรือ
แกไขเปลี่ยนแปลงอาคารตามกฎหมายวาดวยการ
เดนิ อากาศหรือกฎหมายวาดวยเขตปลอดภัยในราชการ
ทหาร ในกรณีท่ีอาคารที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดน้ัน
ต้ังอยูภายในเขตปลอดภัยในการเดินอากาศตาม
กฎหมายวาดวยการเดินอากาศหรือในบริเวณเขต
ปลอดภัยในราชการทหารตามกฎหมายวาดวยเขต
ปลอดภัยในราชการทหาร แลว แตก รณี

สว นที่ ๒
การประกาศคําขอจดทะเบยี นและการแจงเจา หน้ี

ขอ ๔ ในกรณีที่ท่ีดินและอาคารท่ีขอจด กรณีมีจาํ นอง/
ทะเบียนอาคารชุดติดการจํานองหรือตกอยูภายใต บรุ มิ สทิ ธิ
บงั คบั แหงบุริมสิทธิอันไดจดทะเบียนไวในโฉนดที่ดิน
ใหพ นักงานเจา หนา ทีด่ ําเนินการ ดงั ตอไปนี้

(๑) ประกาศคําขอจดทะเบียนอาคารชุดโดย (๑) ประกาศ
ปด ไวใ นที่เปด เผย ณ สํานักงานทีด่ ินสํานักงานเขตหรือ

๓๕๑

ท่ีวาการอําเภอหรือกิ่งอําเภอ สํานักงานเทศบาล ท่ีทํา

การองคการบริหารสวนตําบล ท่ีทําการแขวงหรือท่ีทํา

การกํานันแหงทองที่ท่ีท่ีดินและอาคารน้ันตั้งอยู และ

บรเิ วณทดี่ ินที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดแหงละหนง่ึ ฉบบั

(๒) มีหนังสือแจงพรอมท้ังสงสําเนาประกาศ (๒) แจง เจา หน้ี

ไปใหเจาหน้ีจํานองหรือเจาหน้ีซึ่งมีบุริมสิทธิเหนือ

ท่ีดนิ และอาคารน้นั มาแจงพรอมท้ังแสดงหลักฐานแหง

หน้ีตอพนักงานเจาหนาท่ีภายในสามสิบวันนับแตวัน

ไดร ับหนังสือแจง

ขอ ๕ เม่ือไดดําเนินการตามขอ ๔ แลว ให การดําเนินการ

พนักงานเจา หนาทีด่ ําเนินการ ดังตอไปนี้ ของเจาหนา ท่ี

(๑) ถาเจาหนี้จํานองไดมาแจงและแสดง - กรณีเจา หน้ี

หลักฐานแหงหน้ีตอพนักงานเจาหนาที่ภายใน จํานองมาแจง

กําหนดเวลา ใหพนักงานเจาหนาที่ช้ีแจงใหทราบถึงคํา

ขอจดทะเบียนอาคารชุดรายนั้นพรอมท้ังจํานวนเงินท่ี

เจา หนดี้ งั กลาวจะไดรบั ชําระหนี้จากหองชุดแตละหองชุด

ในการน้ี ใหบันทึกคําชี้แจงและคํายินยอมหรือไม

ยินยอมของเจาหนี้และใหเจาหน้ีลงลายมือช่ือไวเปน

หลกั ฐาน

(๒) ถาเจาหนี้ซ่ึงมีบุริมสิทธิเหนือที่ดินและ - กรณีเจา หนี้

อาคารมาแจงและแสดงหลักฐานแหงหน้ีตอพนักงาน บุริมสทิ ธมิ าแจง

เจา หนา ท่ภี ายในกําหนดเวลา ใหพนักงานเจา หนาท่ีแจง

ใหทราบถึงคําขอจดทะเบียนอาคารชุดรายน้ันและ

๓๕๒

บนั ทกึ คําชีแ้ จงใหเ จา หนี้ลงลายมอื ช่ือไว
(๓) ถาเจาหนี้จํานองและเจาหน้ีซ่ึงมีบุริมสิทธิ - กรณเี จา หนี้

เหนือที่ดินและอาคารมิไดมาแจงและแสดงหลักฐาน ไมมาแจง
แหงหน้ีตอพนักงานเจาหนาท่ีภายในกําหนดเวลา ให
พนักงานเจาหนา ท่ีบันทกึ ไวในคําขอ

สวนที่ ๓

การรับและไมร บั จดทะเบียนอาคารชดุ

ขอ ๖ เม่ือไดดําเนินการตามขอ ๕ แลว ให การสั่งการของ

พนักงานเจาหนา ท่ีดําเนินการ ดงั ตอไปน้ี พนกั งาน

(๑) ในกรณีที่มีเจาหนี้จํานอง ถาเจาหน้ีจํานอง - กรณีเจาหน้ี

ไมยินยอมใหจดทะเบียนที่ดินและอาคารเปนอาคารชุด จาํ นองไมย อม/
หรือไมมาแจงและแสดงหลักฐานแหงหน้ีตอพนักงาน ไมมา

เจาหนาท่ี ใหพนักงานเจาหนาท่ีส่ังไมรับจดทะเบียน

อาคารชุดและมีหนังสือแจงคําสั่งพรอมเหตุผลใหผูยื่น

คําขอทราบโดยไมชกั ชา

(๒) ในกรณีที่มีเจาหน้ีซ่ึงมีบุริมสิทธิเหนือ - กรณมี เี จา หน้ี

ที่ดินและอาคาร ใหพนักงานเจาหนาที่แจงใหผูย่ืนคํา บุริมสทิ ธิ

ขอทราบเพ่ือใหผูย่ืนคําขอดําเนินการใหท่ีดินและ

อาคารน้นั ปราศจากภาระผูกพันภายในเกาสิบวันนับแต

วันที่ไดรับแจง ถาผูย่ืนคําขอไมดําเนินการใหเสร็จสิ้น

ภายในระยะเวลาดังกลาว ใหพนักงานเจาหนาท่ีสั่งไม

รับจดทะเบียนอาคารชุดและมีหนังสือแจงคําสั่งพรอม

๓๕๓

เหตุผลใหผยู ืน่ คาํ ขอทราบโดยไมช ักชา
ขอ ๗ ทด่ี ินและอาคารท่ีจะรับจดทะเบียนเปน หลกั เกณฑร บั จด

อาคารชุดได ตองเปนไปตามหลักเกณฑ ดงั ตอไปนี้ ทะเบียนอาคารชุด
(๑) ท่ีดินและอาคารน้ันตองเปนกรรมสิทธ์ิ

ของผูยื่นคําขอโดยปราศจากภาระผูกพันใด ๆ นอกจาก
การจํานองซ่ึงเขาหลักเกณฑตาม (๒) และตองมีเสน
ทางเขา ออกสูทางสาธารณะ

(๒) ในกรณีท่ีท่ีดินหรือท้ังที่ดินและอาคารติด
การจํานอง ตองปรากฏวาผูรับจํานองยินยอมใหจด
ทะเบียนเปนอาคารชุดโดยยินยอมท่ีจะรับชําระหน้ีจาก
หอ งชุดแตล ะหอ งชดุ ตามจํานวนเงินทต่ี กลงกนั แลว

(๓) ในกรณีท่อี าคารทข่ี อจดทะเบยี นอาคารชุด
น้ันต้ังอยูในทองที่ท่ีกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
ใชบังคับ อาคารนั้นตองไดรับอนุญาตตามกฎหมายวา
ดวยการควบคุมอาคารและสามารถใชเปนหองชุดและ
ทรัพยส ว นกลางได

ขอ ๘ การจดทะเบียนอาคารชุด ใหบันทึก การจดแจง เปน
สาระสําคัญตาง ๆ ลงไวในทะเบียนอาคารชุดแลวออก อาคารชดุ
หนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียนอาคารชุดใหผูย่ืน
คําขอหนึ่งฉบับและเก็บคูฉบับไว ณ สํานักงานของ
พนกั งานเจา หนา ที่หนงึ่ ฉบับ

๓๕๔

หมวด ๒
หนังสือกรรมสิทธห์ิ องชดุ

สว นท่ี ๑
การออกหนงั สือกรรมสทิ ธ์ิหองชดุ

ขอ ๙ หนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดใหใชแบบ แบบหนงั สือฯ

อ.ช. ๒ ทายกฎกระทรวงนี้ หองชดุ

ขอ ๑๐ การออกหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุด การออกหนังสอื ฯ

ใหด ําเนินการ ดงั ตอไปน้ี หอ งชุด

(๑) เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดรับจดทะเบียน

อาคารชุดแลว ใหออกหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดแก

เจาของกรรมสิทธ์ิในที่ดินและอาคารท่ีไดจดทะเบียน

แลวนั้น โดยอาศัยหลักฐานจากแผนผังอาคารชุดและ

รายละเอียดอื่น ๆ ท่ีย่ืนประกอบคําขอจดทะเบียน

อาคารชดุ นั้น

(๒) ในกรณีท่ีมีการจํานองติดอยู ใหจดแจง

การจํานองนั้นในหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดทุกฉบับ

พรอมท้ังระบุจํานวนเงินท่ีผูรับจํานองจะไดรับชําระ

หน้ีจากหองชุดแตละหองชุดไวในสารบัญสําหรับจด

ทะเบียนโดยคํานวณจํานวนเงินดังกลาวตามอัตราสวน

แหงกรรมสิทธใิ์ นทรพั ยสว นกลาง

๓๕๕

สวนท่ี ๒
การออกใบแทนหนงั สอื กรรมสทิ ธ์ิหอ งชดุ

ขอ ๑๑ ใบแทนหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดให แบบใบแทนและ
ใชแบบ อ.ช. ๒ ทายกฎกระทรวงนี้ โดยใหมีคําวา “ใบ การหมายเหตุ
แทน” พิมพดวยหมึกสีแดงไวดานหนาเหนือตราครุฑ
และใหพ นกั งานเจา หนาท่ีลงลายมือชื่อและประทับตรา
ประจําตําแหนงในใบแทนหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุด
น้ัน พรอมท้ังใหระบุวัน เดือน ปที่ออกหนังสือ
กรรมสิทธ์ิหองชุดฉบับเดิม และรายการจดทะเบียน
(ถามี) ดวยหมึกสีแดงไวในสารบัญสําหรับจดทะเบียน
และใหพนกั งานเจา หนาที่ลงลายมือชื่อและประทับตรา
ใตวัน เดือน ป ที่ออกหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดฉบับ
เดิม หรือรายการจดทะเบียนรายการสุดทายแลวแต
กรณี

สําหรับหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดฉบับท่ีเก็บ
ไวที่สํานักงานของพนักงานเจาหนาท่ีใหมีคําวา “ได
ออกใบแทนหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดไปแลว” พรอม
ท้ังใหระบุวัน เดือน ป ท่ีออกดวยหมึกสีแดงไวใน
สารบัญสําหรับจดทะเบียน และใหพนักงานเจาหนาที่
ลงลายมอื ชือ่ กํากบั ไว

ขอ ๑๒ การออกใบแทนหนังสือกรรมสิทธิ์ การออกใบแทน
หองชดุ ใหปฏบิ ัติดังตอไปนี้

๓๕๖

(๑) ในกรณีหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดสูญหาย (๑) สูญหาย
ใ ห เ จ า ข อ ง ห อ ง ชุ ด ยื่ น คํ า ข อ รั บ ใ บ แ ท น ห นั ง สื อ
กรรมสิทธิ์หองชุดและพยานหลักฐานตอพนักงาน
เจาหนาที่ เม่ือพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบเสร็จแลว
ใหพนักงานเจาหนาที่ปดประกาศการขอใบแทนนั้น
เปนเวลาสามสิบวันไวในที่เปดเผย ณ สํานักงานท่ีดิน
สํานักงานเขตหรือที่วาการอําเภอหรือก่ิงอําเภอ
สํานักงานเทศบาล ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล
ท่ีทําการแขวงหรือท่ีทําการกํานันแหงทองที่ท่ีหองชุด
ตั้งอยู และหองชุดน้ันแหงละหน่ึงฉบับ ถามีผูคัดคาน
และนําพยานหลักฐานมาแสดงภายในสามสิบวันนับ
แตวันปดประกาศการขอใบแทนใหพนักงานเจาหนาท่ี
สอบสวน แลวสั่งการไปตามควรแกกรณี ถาไมมีผูใด
คดั คานใหออกใบแทนไดต ามคําขอ

(๒) ในกรณีหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดชํารุด (๒) ชาํ รดุ
ถาเจาของหองชุดนําหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดมามอบ
ตอพนักงานเจาหนาท่ี และหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุด
น้ันยังมีตําแหนงท่ีดิน ท่ีต้ังหองชุดลายมือช่ือและตรา
ประจําตําแหนงของพนักงานเจาหนาท่ี ปรากฏอยูและ
สามารถทําการตรวจสอบไดใหพนักงานเจาหนาที่ออก
ใบแทนได แตถาขาดสาระสําคัญดังกลาว ใหนําความ
ใน (๑) มาใชบ ังคับ

๓๕๗

(๓) ในกรณีศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งถึง (๓) มีคาํ พิพากษา
ที่สุดเก่ียวกับกรรมสิทธิ์หองชุด แตผูย่ืนคําขอไม ใหจดทะเบียน
สามารถนาํ หนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดมาเพ่ือดําเนินการ
ตามคําพิพากษาหรือคําส่ังศาลไดใหพนักงานเจาหนาที่
มีอาํ นาจออกใบแทนไดต าม (๑) โดยอนโุ ลม

(๔) ในกรณีอธิบดีกรมท่ีดินจะใชอํานาจ (๔) อธบิ ดี
จําหนายหองชุดของคนตางดาวตามมาตรา ๑๙ แต จาํ หนา ย
ไมไดหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดคืนมาหรือไดมาแต
ชํารุด ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจออกใบแทนได
ตาม (๑) หรอื (๒) โดยอนุโลม

(๕) ในกรณีพนักงานเจาหนาที่ใชอํานาจเพิก (๕) กรณี
ถอนหรือแกไขหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดการจด เพกิ ถอน/แกไ ข
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับหองชุด หรือการจด
แจงรายการในสารบัญสําหรับจดทะเบียนแตไมได
หนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดคืนมาหรือไดมาแตชํารุด ให
ออกใบแทนตามคูฉบับที่เก็บไว ณ สํานักงานของ
พนกั งานเจาหนาท่ี

หมวด ๓
การจดทะเบยี นนติ บิ คุ คลอาคารชุด

สว นท่ี ๑
การขอจดทะเบยี นนติ บิ ุคคลอาคารชดุ

๓๕๘

ขอ ๑๓ ผูประสงคจะขอจดทะเบียนนิติบุคคล การย่ืนคาํ ขอ

อาคารชุด ใหย่ืนคําขอตามแบบท่ีอธิบดีกรมที่ดิน

ประกาศกําหนดตอพนักงานเจาหนาที่ ณ สํานักงาน

ทด่ี นิ แหง ทองทที่ ี่อาคารชุดนั้นตั้งอยู

ขอ ๑๔ คําขอตามขอ ๑๓ ใหย่ืนพรอม หลกั ฐานประกอบ

หลกั ฐาน ดงั ตอ ไปนี้ คาํ ขอ

(๑) หลักฐานในการจดทะเบียนอาคารชุด

(๒) สาํ เนาขอบังคบั

(๓) ชื่อและท่ีอยูของผูจัดการ ในกรณีท่ีนิติ

บุคคลเปนผูจัดการใหระบุช่ือและท่ีอยูของบุคคล

ธรรมดาซึ่งเปนผูดําเนินการแทนนิติบุคคลพรอมท้ัง

หลักฐานการแตงตั้งตามมาตรา ๓๕ และหลักฐาน

แสดงการกอ ตงั้ นติ บิ ุคคลน้นั ดว ย

สวนที่ ๒

การรบั จดทะเบยี นนติ บิ ุคคลอาคารชดุ และ

การขอจดทะเบยี นเปลี่ยนแปลงขอบงั คับ

ขอ ๑๕ เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดพิจารณา กรณรี ับจดนติ ิ
เห็นวาหลักฐานตามขอ ๑๔ ถูกตองแลวใหรับจด บคุ คลอาคารชดุ
ทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดน้ันได โดยบันทึก
สาระสําคัญลงไวในทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดและ
บันทึกการจดทะเบียนไวในขอบังคับดวย แลวออก
หนงั สือสําคัญแสดงการจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด

๓๕๙

ใหผูย่ืนคําขอหน่ึงฉบับและเก็บคูฉบับไว ณ สํานักงาน
ของพนักงานเจา หนาทหี่ นง่ึ ฉบับ

ขอ ๑๖ นิติบุคคลอาคารชุดใดประสงคจะขอ การขอ
จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงขอบังคับที่ไดจดทะเบียนไว เปลย่ี นแปลง
แลว ใหยื่นคําขอตามแบบที่อธิบดีกรมท่ีดินประกาศ ขอ บังคับ
กํ า ห น ด ต อ พ นั ก ง า น เ จ า ห น า ท่ี พ ร อ ม ด ว ย สํ า เ น า
ขอบงั คบั ทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงใหม

เม่ือพนักงานเจาหนาท่ีไดพิจารณาเห็นวาเปน
การถูกตองแลว ใหรับจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง
ขอบังคับไวในทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดตามขอ ๑๕
แลวบันทึกการจดทะเบียนไวในขอบังคับฉบับท่ี
เปลยี่ นแปลงดวย

บทเฉพาะกาล

ขอ ๑๗ บรรดาคําขอจดทะเบียนอาคารชุด คํา คําขอท่ียื่นไวก อ น
ขอจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด และคําขอจด
ทะเบียนเปลี่ยนแปลงขอบังคับนิติบุคคลอาคารชุดที่ได
ยื่นไวกอนวันที่กฎกระทรวงน้ีใชบังคับและยังอยูใน
ระหวางการพิจารณาของพนักงานเจาหนาท่ี ใหไดรับ
ยกเวนไมต องปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้

ขอ ๑๘ แบบคําขอจดทะเบียนอาคารชุด อ.ช. ๑
แบบคําขอจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด อ.ช. ๓ และ
แบบคําขอจดทะเบียนเปล่ียนแปลงขอบังคับนิติบุคคล

๓๖๐

อาคารชุด อ.ช. ๔ ทายกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๒๓)
ออกตามความในพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.
๒๕๒๒ ใหใชตอไปไดจนกวาอธิบดีกรมท่ีดินจะได
ประกาศกําหนดแบบคาํ ขอใหม

ใหใหไ ว ณ วนั ที่ ๑ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓
ถาวร เสนเนยี ม

รัฐมนตรชี วยวา การฯ ปฏบิ ตั ิราชการแทน
รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย

ทางปฏิบัติ ดาํ เนนิ การตาม
๑. ระเบยี บกรมท่ีดิน วา ดวยอาคารชดุ พ.ศ. ๒๕๕๔
๒. ระเบียบกรมท่ีดิน วาดวยการเพิกถอนหรือแกไขการออก

หนังสือกรรมสิทธิ์หองชุด การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับ
หองชุด หรือการจดแจงรายการในสารบัญสําหรับจดทะเบียน พ.ศ.
๒๕๕๕

๓. ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการออกใบแทนหนังสือกรรมสิทธ์ิ
หองชดุ และการจดั ทาํ หนังสอื กรรมสิทธ์ิหองชดุ ขึน้ ใหม พ.ศ. ๒๕๕๕

๓๖๑

หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ีเปน
การสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการจดทะเบียนอาคาร
ชุด การออกหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุด และการจดทะเบียนนิติบุคคล
อาคารชุด ใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่ง
แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ได
ปรับปรุงหลักเกณฑและรายละเอียดหลายประการใหเหมาะสมย่ิงขึ้น จึง
จาํ เปนตอ งออกกฎกระทรวงน้ี

(ประกาศราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๕๖ก วันท่ี ๑๕ กันยายน
๒๕๕๓)

๓๖๒

๓๖๓

 

กฎกระทรวง
กาํ หนดคาธรรมเนียมและคา ใชจา ยเกย่ี วกบั อาคารชดุ

พ.ศ. ๒๕๕๓

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๖๑

แหงพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ อันเปนกฎหมายท่ีมี

บทบัญญัติบางประการเกีย่ วกับการจํากดั สทิ ธิและเสรภี าพของบุคคล ซึ่ง

มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของ

รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย บัญญตั ิใหก ระทาํ ไดโดยอาศยั อาํ นาจ

ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยออก

กฎกระทรวงไว ดงั ตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ใหกาํ หนดคาธรรมเนียม ดังตอ ไปนี้

(๑) คา จดทะเบยี นอาคารชดุ ฉบับละ ๒,๐๐๐ บาท

(๒) คาจดทะเบยี นเลกิ อาคารชดุ ฉบบั ละ ๒,๐๐๐ บาท

(๓) คาจดทะเบียนนติ ิบคุ คลอาคารชดุ ฉบับละ ๒,๐๐๐ บาท

(๔) คา จดทะเบียนผูจดั การ ฉบับละ ๕๐๐ บาท

(๕) คาจดทะเบียนเปลย่ี นแปลงขอ บงั คบั ฉบบั ละ ๕๐๐ บาท

(๖)คา ออกหนงั สือกรรมสทิ ธ์ิหอ งชุดหรือใบแทน

หนังสือกรรมสิทธหิ์ อ งชดุ หองชดุ ละ ๒๐๐ บาท

(๗) คาจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรม

๓๖๕

(ก) คา จดทะเบียนสทิ ธแิ ละนิตกิ รรมมีทุนทรพั ย

เรียกตามราคาประเมนิ ทุนทรพั ยตามที่

คณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทนุ ทรพั ย

ตามประมวลกฎหมายที่ดินกาํ หนด รอ ยละ ๒

(ข) คา จดทะเบียนโอนหอ งชุดเฉพาะในกรณี

ท่กี องทนุ รวมอสงั หารมิ ทรพั ยท ่ไี ดร บั ความ

เห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. เปน ผูรบั โอน

ใหเรยี กตามราคาประเมนิ ทุนทรพั ยต ามที่

คณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทุนทรพั ย

ตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ กาํ หนด รอ ยละ ๐.๐๑

แตอยา งสูงไมเ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ บาท

(ค) คาจดทะเบยี นโอนมรดกหรือให ทั้งนี้

เฉพาะในระหวางผบู พุ การีกับผูสืบสันดาน

หรือระหวา งคสู มรส เรยี กตามราคาประเมนิ

ทนุ ทรัพยตามทค่ี ณะกรรมการกําหนดราคา

ประเมนิ ทุนทรพั ยต ามประมวลกฎหมายท่ีดนิ

กําหนด รอ ยละ ๐.๕

(ง) คาจดทะเบยี นการจาํ นองหรอื บุริมสทิ ธิ

คิดตามราคาทจ่ี าํ นองหรอื บรุ มิ สทิ ธิ

ท่ีจดทะเบยี น รอ ยละ ๑

(จ) คา จดทะเบยี นการเชา คิดตามคา เชา

ตลอดเวลาท่เี ชา หรือเงนิ กนิ เปลา หรอื

ทัง้ สองอยางรวมกัน รอยละ ๑

๓๖๖

ในกรณีเชา ตลอดชีวติ ใหคาํ นวณคาเชา

เทากับระยะเวลาการเชาสามสิบป

เศษของรอ ยตาม (ก) (ข) (ค) (ง) และ (จ)

คิดใหเปน หน่งึ รอ ย

(ฉ) คา จดทะเบียนสิทธิและนติ ิกรรมไมมี

ทุนทรพั ยห อ งชดุ ละ ๑๐๐ บาท

(ช) คา จดทะเบยี นการโอนและคา จดทะเบียน

การจาํ นองหองชดุ เฉพาะในกรณีท่ีคณะรัฐมนตรี

มมี ตใิ หลดหยอนคาธรรมเนียมเปนพเิ ศษเพอื่

ประโยชนส าธารณะหรือความมั่นคงในทาง

เศรษฐกจิ ของประเทศ ท้งั นี้ตามหลกั เกณฑท่ี

คณะรฐั มนตรีกําหนด รอ ยละ ๐.๐๑

(๘) คา ธรรมเนียมเบ็ดเตล็ด

(ก) คา คาํ ขอ ๒๐ บาท

(ข) คาคัดหรือสาํ เนาเอกสารตาง ๆ

รวมท้งั คาคัดหรือสาํ เนาเอกสาร

เปนพยานในคดีแพง โดยเจา หนา ท่ี

เปน ผคู ดั หรอื สาํ เนา หนา ละ ๑๐ บาท

(ค) คา รบั รองเอกสารทค่ี ดั หรอื สาํ เนา

ฉบบั ละ ๑๐ บาท

(ง) คาตรวจหลกั ฐานทะเบยี นหอ งชุด

หอ งชุดละ ๑๐๐ บาท

(จ) คารับอายัดหองชุด หอ งชดุ ละ ๑๐๐ บาท

๓๖๗

(ฉ) คา มอบอาํ นาจ เรื่องละ ๕๐ บาท

(ช) คาตรวจสอบขอมลู ดานทะเบียน ดา น

ประเมนิ ราคา หรือขอ มูลอนื่ หอ งชุดละ ๑๐๐ บาท

(ซ) คาสําเนาจากสื่อบนั ทึกขอมูลทาง

คอมพวิ เตอรห รือส่อื อิเลก็ ทรอนิกสอ ่ืน

หรือสาํ เนาขอมลู อน่ื แผนละ ๕๐ บาท

ขอ ๒ ใหกาํ หนดคาใชจาย ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) คา ปดประกาศใหแกผปู ดประกาศ

รายละ ๒๐ บาท

(๒) คา พยานใหแกพ ยาน คนละ ๒๐ บาท

ใหไว ณ วันท่ี ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

ถาวร เสนเนยี ม

รฐั มนตรีชว ยวา การฯ ปฏบิ ัติราชการแทน

รัฐมนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เปน
การสมควรปรับปรุงอัตราคาธรรมเนียมและคาใชจายใหสอดคลองกับ
พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแกไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ ท่ีไดปรับปรุงอัตรา
คาธรรมเนียมและคาใชจายข้ึนใหมใหเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจใน
ปจจุบนั จึงจาํ เปน ตอ งออกกฎกระทรวงน้ี
(ประกาศราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๕๖ ก หนา ที่ ๒๘ ลงวนั ท่ี
๑๕ กันยายน ๒๕๕๓)

พระราชบญั ญตั กิ ารจัดสรรท่ดี ิน
พ.ศ. ๒๕๔๓

พระราชบญั ญัติ
การจดั สรรทดี่ ิน
พ.ศ. ๒๕๔๓

ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันท่ี ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๓

เปน ปท ี่ ๕๕ ในรชั กาลปจจบุ นั

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ให
ประกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรงุ กฎหมายวาดวย
การจัดสรรทด่ี นิ

(พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับ
การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบ
กับมาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตาม
บทบญั ญัติแหง กฎหมาย)

๓๗๐

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราช

บัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา

ดงั ตอ ไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกวา “พระราช ชื่อกฎหมาย

บญั ญัตกิ ารจัดสรรที่ดิน พ.ศ.๒๕๔๓”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเม่ือ วนั บงั คบั ใช

พนกําหนดหกสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา

นเุ บกษาเปนตน ไป๑

มาตรา ๓ ใหย กเลกิ ประกาศของคณะปฏวิ ัติ ยกเลิก ปว.

ฉบบั ท่ี ๒๘๖ ลงวันท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน พ ศ. ๒๕๑๕ ๒๘๖

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ คาํ นิยาม

“การจดั สรรที่ดิน” หมายความวา การจําหนาย “การจดั สรร

ที่ดินที่ไดแบงเปนแปลงยอยรวมกันต้ังแตสิบแปลงขึ้น ท่ดี นิ ”

ไป ไมวาจะเปนการแบงจากที่ดินแปลงเดียวหรือแบง

จากที่ดินหลายแปลงที่มีพ้ืนท่ีติดตอกัน โดยไดรับ

ทรัพยสินหรือประโยชนเปนคาตอบแทน และให

หมายความรวมถึงการดําเนินการดังกลาวที่ไดมีการ

แบงที่ดินเปนแปลงยอยไวไมถึงสิบแปลงและตอมาได

แบงท่ีดินแปลงเดิมเพ่ิมเติมภายในสามปเมื่อรวมกัน

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๗ ตอนที่ ๔๕ ก ลงวันที่ ๒๓
พฤษภาคม ๒๕๔๓ (พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ เริ่มใชบังคับ
ตงั้ แตวนั ท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๓ เปนตนไป)

๓๗๑

แลว มจี าํ นวนต้ังแตสบิ แปลงข้นึ ไปดวย
“สิทธิในที่ดิน” หมายความวา กรรมสิทธ์ิและ “สทิ ธใิ นที่ดนิ ”

ใหหมายความรวมถึงสทิ ธคิ รอบครองดวย
“ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนุญาตใหทํา “ใบอนุญาต”

การจดั สรรที่ดิน
“ผูจัดสรรที่ดิน” หมายความวา ผูไดรับ “ผูจ ดั สรร

ใบอนุญาตใหทําการจัดสรรที่ดินและใหหมายความ ทดี่ ิน”
รวมถงึ ผรู ับโอนใบอนุญาตดวย

“ผูซ้ือที่ดินจัดสรร” หมายความวา ผูทําสัญญา “ผูซ ้อื ท่ีดิน
กับผูจัดสรรท่ีดินเพื่อใหไดมาซ่ึงที่ดินจัดสรร และให จดั สรร”
หมายความรวมถึงผูรับโอนสทิ ธิในทีด่ นิ คนตอไปดวย

“บริการสาธารณะ” หมายความวา การใหบริการ “บริการ
หรือส่ิงอํานวยความสะดวกในโครงการจัดสรรที่ดินท่ี สาธารณะ”
กําหนดไวในโครงการที่ขออนุญาตจัดสรรที่ดินตาม
มาตรา ๒๓ (๔)

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการ “คณะกรรมการ”
จัดสรรท่ีดินกรุงเทพมหานครและคณะกรรมการ
จดั สรรที่ดนิ จังหวัด

“พนกั งานเจา หนาท”ี่ หมายความวา เจาพนักงาน “พนักงาน
ที่ดินซึ่งเปนผูปฏิบัติการในการจดทะเบียนสิทธิและ เจา หนา ที”่
นติ ิกรรมตามประมวลกฎหมายท่ีดิน

“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษา “รฐั มนตรี”
การตามพระราชบญั ญตั ินี้

๓๗๒

มาตรา ๕ พระราชบญั ญตั ิน้มี ิใหใชบังคับแก ยกเวน การใช
(๑) การจัดสรรที่ดินของหนวยราชการ บงั คบั กฎหมาย
หนว ยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ ราชการสวนทองถ่ิน หรือ
องคกรอื่นของรัฐท่ีมีอํานาจหนาที่ทําการจัดสรรท่ีดิน
ตามกฎหมาย
(๒) การจัดสรรท่ีดินท่ีไดรับอนุญาตตาม
กฎหมายอ่นื
มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ผรู กั ษาการ
รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และใหมีอํานาจออก พ.ร.บ.
กฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทาย
พระราชบัญญัตินี้ และกําหนดกิจการอ่ืนเพื่อปฏิบัติการ
ตามพระราชบญั ญัติน้ี
กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจา กฎกระทรวง
นุเบกษาแลว ใหใ ชบ ังคบั ได

หมวด ๑
คณะกรรมการจัดสรรทดี่ นิ

มาตรา ๗ ใหม ีคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง องคป ระกอบ
ประกอบดวย ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนประธาน คณะกรรมการ
กรรมการ อัยการสูงสุด เลขาธิการคณะกรรมการ จัดสรรทด่ี นิ
คุมครองผูบริโภค เลขาธิการสํานักงานนโยบายและ กลาง
แผนส่ิงแวดลอม อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดี
กรมการผังเมืองอธิบดีกรมชลประทาน อธิบดีกรม

๓๗๓

โยธาธิการและผังเมือง๒ และผูทรงคุณวุฒิอีกหกคนซ่ึง
รัฐมนตรีแตงต้ังจากผูมีความรู ความสามารถ หรือ
ประสบการณในดานการพัฒนาอสังหาริมทรัพย การ
ผงั เมือง การบริหารชุมชน หรือกฎหมาย เปนกรรมการ
และอธิบดกี รมทีด่ นิ เปนกรรมการและเลขานกุ าร

กรรมการผูทรงคุณวุฒิตามวรรคหน่ึง ให
แตงต้ังจากผูแทนภาคเอกชนซึ่งเปนผูดําเนินกิจการ
เก่ียวกบั การพฒั นาอสังหาริมทรัพยไมนอยกวา กง่ึ หน่งึ

มาตรา ๘ คณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลางมี อาํ นาจหนา ท่ี
อํานาจหนาที่กํากับดูแลการจัดสรรท่ีดินโดยท่ัวไป
รวมทัง้ ใหม อี ํานาจหนา ทีด่ ังตอไปน้ี

๒ พระราชกฤษฎีกาแกไขบทบัญญัติใหสอดคลองกับการโอนอํานาจหนาท่ี
ของสวนราชการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.
๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕

มาตรา ๑๓ ในพระราชบัญญัติการจัดสรรท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ใหแกไขคําวา
“อธิบดีกรมโยธาธิการ” เปน “อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง” คําวา “ผูแทน
สํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอม” เปน “ผูแทนสํานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม” และคําวา “ผังเมืองจังหวัด” เปน “โยธาธิการ
และผงั เมอื งจังหวดั ”

๓๗๔

(๑) กําหนดนโยบายการจดั สรรทด่ี นิ ๓ คณะกรรมการ

๓๑) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ

จดั สรรท่ดี นิ เพอื่ ที่อยูอาศยั และพาณชิ ยกรรม ลงวนั ท่ี ๒๕ มกราคม ๒๕๔๔
๒) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ

จัดสรรท่ีดิน เพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๖) ลงวันที่ ๒๗
พฤษภาคม ๒๕๔๖

๓) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรที่ดิน เพ่ือท่ีอยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๔๘) ลงวันที่ ๒๕
มีนาคม ๒๕๔๘

๔) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรที่ดิน เพื่อท่ีอยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ลงวันท่ี ๑๘
กรกฎาคม ๒๕๔๙

๕) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรที่ดิน เพ่ือท่ีอยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๑) ลงวันที่ ๑๓
มิถนุ ายน ๒๕๕๑

๖) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรท่ีดิน เพ่ือท่ีอยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๕๒) ลงวันที่ ๒๙
มกราคม ๒๕๕๒

๗) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรที่ดิน เพ่ือที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๕๔) ลงวันที่ ๓๑
พฤษภาคม ๒๕๕๔

๘) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรที่ดิน เพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับท่ี ๘ (พ.ศ. ๒๕๕๖) ลงวันท่ี ๒๔
ธนั วาคม ๒๕๕๖

๓๗๕

๙) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เรื่อง กําหนดหลักเกณฑและ
วิธีการกอใหเกิดภาระผูกพันแกที่ดินทีไดรับอนุญาตใหทําการจัดสรรที่ดิน ลงวันท่ี
๒๗ มิถนุ ายน ๒๕๔๔

๑๐) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เร่ือง การกําหนดระยะเวลา
ในการบํารุงรกั ษาสาธารณปู โภค ลงวนั ที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๕

๑๑) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการ
จดั สรรท่ดี นิ เพอ่ื เกษตรกรรม ลงวันท่ี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๖

๑๒) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ
จดั สรรท่ดี ินเพื่อการอตุ สาหกรรม ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๘

๑๓) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการ
จัดพื้นที่ใหเปนที่ตั้งสํานักงานของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรเพ่ืออยูอาศัยและพาณิช
ยกรรมการจัดสรรท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม และการจัดสรรที่ดินเพื่ออุตสาหกรรม ฉบับ
ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒) ลงวนั ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๒

๑๔) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการ
จัดพื้นที่ใหเปนที่ตั้งสํานักงานของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรเพื่ออยูอาศัยและพาณิช
ยกรรมการจัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และการจัดสรรที่ดินเพื่ออุตสาหกรรม ฉบับ
ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๔) ลงวันท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔

๑๕) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการ
จัดพื้นที่ใหเปนที่ตั้งสํานักงานของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรเพื่ออยูอาศัยและพาณิช
ยกรรมการจัดสรรที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม และการจัดสรรท่ีดินเพ่ืออุตสาหกรรม ฉบับ
ท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๕๖) ลงวันที่ ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๕๖

๓๗๖

(๒) วางระเบยี บเกี่ยวกบั การจัดสรรที่ดนิ ๔ จดั สรรทีด่ ิน
(๓) ใหความเห็นชอบขอกําหนดเก่ียวกับการ กลาง
จดั สรรทีด่ ินทค่ี ณะกรรมการเสนอตามมาตรา ๑๔ (๑)
(๔) กําหนดแบบมาตรฐานของสัญญาจะซื้อ
จะขายท่ีดินจัดสรรเพื่อใหผูขอใบอนุญาตทาํ การจดั สรร
ท่ดี ินใชใ นการประกอบกิจการตามพระราชบัญญตั นิ ี้๕
(๕) วินิจฉัยชี้ขาดปญหาเก่ียวกับการจัดสรร
ท่ีดินตามคํารองหรือคําอุทธรณของผูขอใบอนุญาตทํา
การจัดสรรท่ีดินหรือผูจดั สรรที่ดิน

๔ ๑) ระเบียบคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง วาดวยการเก็บรักษาเงิน การ
นําสงเงิน และการเบิกจายเงินตามสัญญาคํ้าประกัน หรือหนังสือรับรองการจัดใหมี
สาธารณูปโภคหรือบริการสาธารณะหรือการปรับปรุงที่ดิน และการบํารุงรักษา
สาธารณปู โภค พ.ศ. ๒๕๔๔

๒) ระเบียบคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางวาดวยการจัดต้ังนิติบุคคล
หมูบานจัดสรรหรือนิติบุคคลตามกฎหมายอื่นและการขออนุมัติดําเนินการเพ่ือการ
บํารงุ รักษาสาธารณปู โภค พ.ศ. ๒๕๔๕

๓) ระเบียบคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง วาดวยการกําหนดคาใชจาย
ห ลั ก เ ก ณ ฑ แ ล ะ วิ ธี ก า ร จั ด เ ก็ บ ค า ใ ช จ า ย ใ น ก า ร บํ า รุ ง รั ก ษ า แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร
สาธารณปู โภค และการจัดทาํ บญั ชี พ.ศ. ๒๕๔๕

๕ ๑) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินลาง เรื่อง กําหนดแบบมาตรฐาน
ของสัญญาจะซ้อื จะขายท่ดี นิ จดั สรร ลงวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๕

๒) ประกาศคณะกรรมการจดั สรรทดี่ ินลาง เร่ือง กําหนดแบบมาตรฐานของ
สัญญาจะซ้ือจะขายท่ีดินจัดสรร ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๖) ลงวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม
๒๕๔๖

๓๗๗

( ๖ ) ป ฏิ บั ติ ก า ร อ่ื น ต า ม ที่ บั ญญั ติ ไ ว ใ น

พระราชบัญญตั นิ ้หี รือกฎหมายอ่ืน๖

ระเบียบตาม (๒) เม่ือไดประกาศในราชกิจจา

นเุ บกษาแลว ใหใชบ งั คับได

มาตรา ๙ กรรมการผูทรงคุณวุฒิมีวาระการ วาระกรรมการ

ดํารงตาํ แหนง คราวละสองป ผทู รงคุณวฒุ ิ

กรรมการซ่ึงพนจากตาํ แหนง อาจไดร บั แตงต้ัง

อีกได แตจะดาํ รงตาํ แหนง เกนิ สองวาระติดตอกนั มิได

มาตรา ๑๐ นอกจากการพนจากตําแหนงตาม การพน

๖ ๑) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เรื่อง กําหนดสถาบันการเงิน

ซ่ึงเปนผูค้ําประกันการจัดใหมีสาธารณูปโภคหรือบริการสาธารณะหรือการปรับปรุง
ทีด่ นิ และคาํ้ ประกันการบํารงุ รกั ษาสาธารณปู โภค ลงวนั ท่ี ๒๕ มกราคม ๒๕๔๔

๒) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เร่ือง กําหนดแบบคําขอรับใบ
แทนใบอนุญาต แบบคําขอใบอนุญาตและแบบคําขอรับโอนใบอนุญาต ลงวันที่ ๒๘
มกราคม ๒๕๔๕

๓) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เรื่อง กําหนดขั้นตอน
หลักเกณฑและวิธีการพิจารณาแผนผัง โครงการ และวิธีการในการจัดสรรท่ีดินและ
การขอแกไขเปลี่ยนแปลงแผนผังโครงการ ลงวนั ที่ ๑๗ มถิ นุ ายน ๒๕๔๕

๔) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เร่ือง กําหนดแบบคําขอจด
ทะเบียน แบบหนังสือสําคัญ และแบบทะเบียนเก่ียวกับการจัดต้ัง การควบ และการ
ยกเลิกนิตบิ ุคคลหมูบานจดั สรร ลงวนั ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๕

๕) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เรื่อง กําหนดแบบและวิธีการ
ออกใบแทนใบอนุญาตใหท าํ การจัดสรรทีด่ ิน ลงวันท่ี ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๔๖

๓๗๘

วาระตามมาตรา ๙ กรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจาก ตาํ แหนง ของ

ตาํ แหนง เมือ่ กรรมการ

(๑) ตาย ผูท รงคุณวฒุ ิ

(๒) ลาออก กอนวาระ

(๓) รัฐมนตรีใหออกเพราะมีความประพฤติ

เสื่อมเสีย บกพรองหรือไมสุจริตตอหนาท่ี หรือหยอน

ความสามารถ

(๔) เปนบุคคลลมละลาย

(๕) เปน คนไรความสามารถหรือคนเสมือนไร

ความสามารถ

(๖) ไดรบั โทษจําคุกโดยคําพพิ ากษาถึงท่ีสดุ

ใหจ ําคกุ เวน แตเปนโทษสําหรบั ความผิดทไี่ ดก ระทาํ

โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ

มาตรา ๑๑ ในกรณีท่ีกรรมการผูทรงคุณวุฒิ การต้ัง

พนจากตําแหนงกอนวาระ รัฐมนตรีอาจแตงต้ังผูอ่ืน กรรมการ

เปนกรรมการแทนได และใหผูไดรับแตงตั้งดํารง ผทู รงคุณวฒุ ิ

ตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับวาระท่ีเหลืออยูของ แทนคนเดิม
ผูซง่ึ ตนแทน

มาตรา ๑๒ การประชมุ คณะกรรมการจดั สรร องคป ระชมุ

ที่ดนิ กลางตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึง่ หน่ึง คณะกรรมการ

ของจาํ นวนกรรมการทัง้ หมด จงึ จะเปน องคป ระชมุ จัดสรรท่ดี นิ กลาง

ในการประชุมของคณะกรรมการจัดสรรท่ีดิน กรณปี ระธาน

กลาง ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจ

๓๗๙

ปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือก ไมมา

กรรมการคนหน่งึ เปนประธานในทีป่ ระชมุ

การวินจิ ฉยั ชีข้ าดของท่ีประชมุ ใหถอื เสียงขาง เสียงมตทิ ี่

มาก กรรมการคนหนึง่ มเี สยี งหนึง่ ในการลงคะแนน ถา ประชมุ

คะแนนเสียงเทา กนั ใหประธานในที่ประชมุ ออกเสียง

เพม่ิ ข้นึ อีกเสียงหน่งึ เปนเสียงช้ขี าด

มาตรา ๑๓ ใหม คี ณะกรรมการจดั สรรทีด่ นิ คณะกรรมการ

จงั หวดั ทกุ จงั หวดั ดงั น้ี จดั สรรที่ดนิ

จงั หวัด

(๑) ในกรุงเทพมหานคร ใหมีคณะกรรมการ องคประกอบ

จัดสรรที่ดินกรุงเทพมหานครประกอบดวย อธิบดี คณะกรรมการ

กรมที่ดินหรือรองอธิบดีกรมที่ดินซึ่งอธิบดีกรมท่ีดิน จัดสรรทด่ี นิ
มอบหมาย เปนประธานกรรมการ ผูแทนสํานักงาน กทม.
อัยการสูงสุด ผูแทนกรุงเทพมหานคร ผูแทนกรมการ

ผังเมือง ผูแทนกรมชลประทาน ผูแทนสํานักงาน

นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม๗

๗ พระราชกฤษฎีกาแกไขบทบัญญัติใหสอดคลองกับการโอนอํานาจหนาท่ี

ของสวนราชการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.
๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕

มาตรา ๑๓ ในพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ใหแกไขคําวา
“อธิบดีกรมโยธาธิการ” เปน “อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง” คําวา “ผูแทน
สํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอม” เปน “ผูแทนสํานักงานนโยบายและแผน

๓๘๐

และผูทรงคุณวุฒิอีกสี่คน ซึ่งปลัดกระทรวงมหาดไทย
แตงต้ังเปนกรรมการ และผูแทนกรมที่ดินเปน
กรรมการและเลขานกุ าร

(๒) ในจังหวัดอื่น ใหมีคณะกรรมการจัดสรร องคประกอบ
ที่ดินจังหวัด ประกอบดวย ผูวาราชการจังหวัดหรือ คณะกรรมการ
รองผูวาราชการจังหวัดซึ่งผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย จดั สรรทดี่ ิน
เปนประธานกรรมการอัยการจังหวัดซ่ึงเปนหัวหนาที่ จงั หวัด
ทาํ การอยั การจงั หวดั ปลดั จังหวดั โยธาธิการและผงั เมอื ง
จังหวัด๘ โยธาธิการจังหวัดผูแทนกรมชลประทาน
นายกองคการบริหารสวนจังหวัด และผูทรงคุณวุฒิอีก
สี่คน ซ่ึงปลัดกระทรวงมหาดไทยแตงตั้งเปนกรรมการ
และเจาพนักงานท่ีดินจังหวัดเปนกรรมการและ
เลขานุการ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม” และคําวา “ผังเมืองจังหวัด” เปน “โยธาธิการ
และผงั เมืองจังหวดั ”

๘ พระราชกฤษฎีกาแกไขบทบัญญัติใหสอดคลองกับการโอนอํานาจหนาท่ี
ของสวนราชการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.
๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕

มาตรา ๑๓ ในพระราชบัญญัติการจัดสรรท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ใหแกไขคําวา
“อธิบดีกรมโยธาธิการ” เปน “อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง” คําวา “ผูแทน
สํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอม” เปน “ผูแทนสํานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม” และคําวา “ผังเมืองจังหวัด” เปน “โยธาธิการ
และผังเมอื งจงั หวัด”

๓๘๑

ในกรณีท่ีเปนการพิจารณาหรืออนุมัติเกี่ยวกับ การต้ังผแู ทน
การจัดสรรที่ดินท่ีตั้งอยูในเขตองคการปกครองสวน ทอ งถนิ่
ทองถ่ินใด ใหผูแทนผูบริหารองคการปกครองสวน
ทอ งถนิ่ แหง นนั้ เปนกรรมการรวมดวยแหงละหนง่ึ คน

การแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๑) การต้งั
และ (๒) ใหปลัดกระทรวงมหาดไทยแตงตั้งจาก กรรมการ
ภาคเอกชนซ่ึงไมไดเปนผูจัดสรรท่ีดิน และเปนผูมี ผูทรงคณุ วฒุ ิ
ความรู ความสามารถ หรือประสบการณในดานการ
พัฒนาอสังหาริมทรัพย การผังเมือง การบริหารชุมชน
หรอื กฎหมาย

มาตรา ๑๔ คณะกรรมการมีอํานาจหนาท่ี อํานาจหนา ที่
กาํ กับดูแลการจดั สรรท่ดี นิ ภายในจงั หวัดใหเปน ไปตาม คณะกรรมการ
พระราชบัญญัตินี้ รวมท้งั ใหมอี ํานาจหนา ทด่ี งั ตอไปนี้ จัดสรรทดี่ นิ

(๑) ออกขอกําหนดเกี่ยวกับการจัดสรรที่ดิน จังหวัด
โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการจัดสรรทด่ี ินกลาง

(๒) พิจารณาเก่ียวกับคําขออนุญาต การออก
ใบอนุญาต การโอนใบอนุญาตหรือการเพิกถอนการ
โอนใบอนญุ าตใหจ ดั สรรท่ีดนิ

(๓) ตรวจสอบการจดั สรรทด่ี ินเพื่อใหเ ปน ไป
ตามแผนผงั โครงการ หรือวธิ ีการทไี่ ดรับอนุญาต

(๔) ปฏิบัติการอ่ืนตามทีบ่ ญั ญัตไิ วใ นพระราช
บญั ญัตนิ ้ีหรอื กฎหมายอนื่

๓๘๒

ขอกําหนดตาม (๑) เม่ือไดประกาศในราช
กจิ จานุเบกษาแลวใหใชบงั คับได

มาตรา ๑๕ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราช อํานาจเรยี ก
บัญญัติน้ีใหคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางและ บคุ คลหรอื สง
คณะกรรมการ มีอํานาจเรียกเปนหนังสือใหบุคคลใด เอกสารมาให
มาใหขอเท็จจริง คําอธิบาย ความเห็น คําแนะนําทาง ขอเท็จจรงิ
วิชาการ หรือใหสงเอกสารหรือขอมูลเกี่ยวกับการ
จัดสรรที่ดิน หรือกิจการอ่ืนท่ีเกี่ยวเนื่องกับการจัดสรร
ทด่ี นิ ตามท่เี ห็นสมควร

มาตรา ๑๖ การออกขอกําหนดเกี่ยวกับการ หลักเกณฑก าร
จัดสรรที่ดินตามมาตรา ๑๔ (๑) ใหคณะกรรมการ ออกขอ กาํ หนด
กําหนดหลักเกณฑ๙ การจัดทําแผนผัง โครงการ และ

๙ ๑) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรทดี่ ินเพื่อทอ่ี ยูอาศัยและพาณิชยกรรม ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๔

๒) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรท่ีดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๖) ลงวันท่ี ๒๗
พฤษภาคม ๒๕๔๖

๓) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรที่ดินเพ่ือที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๔๘) ลงวันที่ ๒๕
มนี าคม ๒๕๔๘

๔) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ลงวันที่ ๑๘
กรกฎาคม ๒๕๔๙

๓๘๓

วิธีการในการจัดสรรที่ดินเพ่ือประโยชนเก่ียวกับการ จัดสรรทดี่ ิน
สาธารณสุข การรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การ
คมนาคม การจราจร ความปลอดภยั การสาธารณูปโภค
และการผังเมือง ตลอดจนการอ่ืนท่ีจําเปนในการ
จัดสรรท่ีดินใหเหมาะสมกับสภาพทองที่ของจังหวัด
นั้นโดยใหกําหนดเงื่อนไขในสง่ิ ตอไปน้ดี ว ย คอื

(๑) ขนาดความกวางและความยาวตํ่าสุด หรือ
เนอื้ ที่จาํ นวนนอยทีส่ ดุ ของที่ดนิ แปลงยอ ยทจ่ี ะจดั สรรได

(๒) ระบบและมาตรฐานของถนนประเภท
ตาง ๆ ทางเดินและทางเทาในท่ีดินจัดสรรทั้งหมด
รวมทง้ั การตอเช่ือมกบั ถนนหรือทางสายนอกทีด่ นิ จัดสรร

๕) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรท่ีดินเพื่อท่ีอยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๑) ลงวันท่ี ๑๓
มิถนุ ายน ๒๕๕๑

๖) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เร่ือง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรท่ีดินเพื่อท่ีอยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๕๒) ลงวันท่ี ๒๙
มกราคม ๒๕๕๒

๗) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรท่ีดินเพ่ือที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๕๔) ลงวันที่ ๓๑
พฤษภาคม ๒๕๕๔

๘) ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการ
จัดสรรที่ดินเพ่ือที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๕๖) ลงวันท่ี ๒๔
ธันวาคม ๒๕๕๖

๓๘๔

(๓) ระบบการระบายนํา้ การบาํ บัดน้าํ เสีย และ

การกาํ จดั ขยะส่ิงปฏิกูล

(๔) ระบบและมาตรฐานของสาธารณูปโภค

และบริการสาธารณะทจี่ ําเปนตอการรักษาสภาพแวดลอม

การสง เสริมสภาพความเปนอยู และการบรหิ ารชมุ ชน

มาตรา ๑๗ ใหนํามาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา นําหลักเกณฑ

๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใชบังคับแกคณะกรรมการโดย กรรมการฯ

อนุโลม กลางมาใชก บั

จังหวัด

มาตรา ๑๘ ในการปฏิบัติหนาท่ีตามพระราช อาํ นาจแตง ตง้ั

บัญญัติน้ี คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางและ อนุกรรมการ

คณะกรรมการมีอํานาจแตงต้ังคณะอนุกรรมการหรือ และขอ ยกเวน
บุคคลหนึ่งบุคคลใดเพื่อใหพิจารณาหรือกระทําการ

อยางใดตามท่ีคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางหรือ

คณะกรรมการมอบหมายได เวนแตการดําเนินการตาม

มาตรา ๑๔ (๑) และ (๒)

คณะอนกุ รรมการและบคุ คลซ่ึงคณะกรรมการ อํานาจหนาที่

จัดสรรท่ีดินกลางหรือคณะกรรมการแตงตั้ง มีอํานาจ อนกุ รรมการ

หนาที่เชนเดียวกับคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง

หรอื คณะกรรมการในกจิ การทไี่ ดรับมอบหมาย

มาตรา ๑๙ ใหน าํ มาตรา ๑๒ มาใชบ งั คบั แก การประชมุ อนุฯ

การประชุมของคณะอนกุ รรมการโดยอนโุ ลม

๓๘๕

มาตรา ๒๐ ในการปฏิบัติการตามพระราช กาํ หนดใหเ ปน
บัญญัติน้ี ใหคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง เจา พนกั งาน
คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และบุคคลซึ่งไดรับ ตาม ป.อาญา
แตงตั้งตามมาตรา ๑๘ เปนเจาพนักงานตามประมวล
กฎหมายอาญา

หมวด ๒

การขออนญุ าตจดั สรรที่ดนิ

มาตรา ๒๑ หามมิใหผูใดทําการจัดสรรท่ีดิน การขออนญุ าต

เวน แตจะไดรบั อนญุ าตจากคณะกรรมการ จัดสรร

การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตให

เปนไปตามหลกั เกณฑ วิธีการ และเงอ่ื นไขทกี่ าํ หนดใน

กฎกระทรวง๑๐

มาตรา ๒๒ ผูใดขอแบงแยกที่ดินเปนแปลง การดาํ เนนิ การ

ยอ ยมจี ํานวนต้งั แตส ิบแปลงข้นึ ไป และไมอ าจแสดงให กรณีแบง แยก

เปน ทเี่ ชื่อไดวามใิ ชเ ปนการแบง แยกท่ีดินเพ่ือการจัดสรร ตัง้ แต ๑๐ แปลง

ที่ดิน ใหพนักงานเจาหนาที่แจงใหผูขอดําเนินการยื่น ข้ึนไป
คาํ ขอทาํ การจัดสรรท่ีดนิ และรอการดาํ เนนิ การเรื่องการ การอทุ ธรณ
แบงแยกท่ีดินไวกอน หากผูขอไมเห็นดวยใหมีสิทธิ คาํ สงั่
อุทธรณต อ คณะกรรมการภายในกําหนดสามสิบวันนับ

๑๐ กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการขออนุญาต
และการออกใบอนญุ าตตามกฎหมายวาดวยการจดั สรรทดี่ ิน พ.ศ. ๒๕๔๔


Click to View FlipBook Version