The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมกฎหมาย ที่ดิน-จัดสรร-อาคารชุด (ฉบับใช้งานปัจจุบัน) (ปี 2558)

สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

๒๘๗

เก็บรักษาโฉนดทดี่ ินนั้นไว
ในกรณีท่ีท่ีดินติดการจํานองแตผูรับจํานอง กระจายหนล้ี ง

ยินยอมใหจดทะเบียนอาคารชุด ใหพนักงานเจาหนาที่ หองชดุ
บันทึกความยินยอมของผูรับจํานองตามมาตรา ๗ วรรค
สาม และจํานวนเงินท่ีผูรับจํานองจะไดรับชําระหน้ีจาก
หองชุดแตล ะหอ งชุดตามมาตรา ๒๒ ไวดวย

มาตรา ๑๐ เมื่อมีการจดทะเบียนอาคารชุด หามจดทะเบียน
และเจาพนักงานที่ดินไดจดแจงในโฉนดท่ีดินตาม ในโฉนดที่ดนิ และ
มาตรา ๙ แลว หามมิใหจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หา มกอ ภาระ
เกี่ยวกับที่ดินดังกลาวอีกตอไป เวนแตกรณีที่บัญญัติไว ผูกพัน
ตามพระราชบัญญัตินี้ และหามมิใหผูขอจดทะเบียน
อาคารชดุ นั้นกอภาระผกู พันเกยี่ วกบั อาคารชุดดงั กลาว

มาตรา ๑๑ ในกรณีท่ีพนักงานเจาหนาที่มีคําสั่ง การอุทธรณกรณี
ไมรับจดทะเบียนอาคารชุด ผูย่ืนคําขอมีสิทธิอุทธรณเปน ไมร ับจด
หนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ทราบ
คาํ สง่ั

ใหรัฐมนตรีวินิจฉัยภายในหกสิบวันนับแต กาํ หนดเวลา
วนั ทีไ่ ดรบั อุทธรณ คาํ วินจิ ฉยั ของรฐั มนตรใี หเ ปนทส่ี ุด วนิ จิ ฉยั อุทธรณ

หมวด ๒
กรรมสทิ ธิใ์ นหอ งชุด

มาตรา ๑๒ กรรมสิทธิ์ในหองชุดจะแบงแยก หา มแบง แยก
มิได หอ งชดุ

๒๘๘

มาตรา ๑๓ เจาของหองชุดมีกรรมสิทธ์ิใน กรรมสิทธ์ิ
ทรัพยสว นบคุ คลท่ีเปน ของตน และมกี รรมสทิ ธิร์ วมใน
ทรพั ยสว นกลาง

พื้นหอง ผนังก้ันหองท่ีแบงระหวางหองชุดใด พ้ืนและผนัง
ใหถือวาเปนกรรมสิทธิ์รวมของเจาของรวมระหวาง
หองชุดน้ัน และการใชสิทธิเกี่ยวกับทรัพยดังกลาวให
เปน ไปตามขอ บังคับ

เจาของหองชุดจะกระทําการใดๆ ตอทรัพย ขอหาม
สวนบุคคลของตนอันอาจจะเปนการกระทบกระเทือน
ตอ โครงสราง ความม่นั คง การปองกันความเสียหายตอ
ตัวอาคารหรอื การอื่นตามท่กี ําหนดไวใ นขอ บังคับมิได

มาตรา ๑๔๑๓ อัตราสวนในกรรมสิทธิ์รวมใน อตั ราสว นใน
ทรัพยสวนกลางของเจาของรวมใหเปนไปตาม ทรพั ยสวนกลาง
อัตราสวนระหวางเน้ือที่ของหองชุดแตละหองชุดกับ
เน้ือที่ของหองชุดทั้งหมดในอาคารชุดนั้นในขณะท่ีขอ
จดทะเบยี นอาคารชุดตามมาตรา ๖

มาตรา ๑๕ ทรัพยสินตอไปนี้ใหถือวาเปน ทรัพยส วนกลาง
ทรัพยส ว นกลาง

(๑) ท่ดี นิ ทีต่ ัง้ อาคารชุด
(๒) ท่ีดินที่มีไวเพื่อใชหรือเพ่ือประโยชน
รว มกนั

๑๓ แกไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติอาคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๒๘๙

(๓) โครงสราง และส่ิงกอสรางเพ่ือความมั่นคง
และเพื่อการปองกนั ความเสยี หายตอ ตวั อาคารชดุ

(๔) อาคารหรือสวนของอาคารและเครื่อง
อปุ กรณท ่ีมไี วเพ่อื ใชห รือเพอ่ื ประโยชนร ว มกัน

(๕) เครื่องมือและเครื่องใชที่มีไวเพ่ือใชหรือ
เพอื่ ประโยชนร ว มกนั

(๖) สถานที่ที่มีไวเพ่ือบริการสวนรวมแก
อาคารชดุ

(๗) ทรัพยสินอ่ืนท่ีมีไวเพื่อใชหรือเพ่ือ
ประโยชนร วมกัน

(๘)๑๔ สํานักงานของนิตบิ คุ คลอาคารชดุ
(๙)๑๕ อสังหาริมทรัพยที่ซ้ือหรือไดมาตาม
มาตรา ๔๘ (๑)
(๑๐)๑๖ ส่ิงกอสรางหรือระบบท่ีสรางข้ึนเพ่ือ
รักษาความปลอดภัยหรือสภาพแวดลอมภายในอาคาร
ชุด เชน ระบบปองกันอัคคีภัย การจัดแสงสวาง การ
ระบายอากาศ การปรับอากาศ การระบายน้ํา การบําบัด
น้ําเสีย หรอื การกาํ จัดขยะมลู ฝอยและสิง่ ปฏิกูล

๑๔ แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชดุ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๑๕ แกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญัตอิ าคารชุด (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๑๖ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญตั ิอาคารชดุ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๒๙๐

(๑๑)๑๗ ทรพั ยสนิ ทใี่ ชเงินตามมาตรา ๑๘ ใน

การดูแลรักษา

มาตรา๑๖ทรัพยสวนกลางท่ีเปนอสังหาริมทรัพย บทบญั ญัติ

จะถูกฟองใหแบงแยกบังคับจํานอง หรือบังคับใหขาย คุม ครองทรพั ย
สว นกลาง
ทอดตลาด แยกจากทรัพยสว นบคุ คลมิได

มาตรา ๑๗ การจัดการและการใชทรัพย การจัดการและ

สวนกลางใหเปนไปตามพระราชบัญญัติน้ี และตาม การใชทรัพย

ขอ บงั คับ สวนกลาง

มาตรา ๑๗/๑๑๘ ในกรณีที่มีการจัดพ้ืนที่ของ การจัดการพนื้ ท่ี

อาคารชุดเพื่อประกอบการคาตองจัดระบบการเขาออก เพ่ือการคา

ในพื้นท่ีดังกลาวเปนการเฉพาะไมใหรบกวนความ

เปน อยโู ดยปกติสุขของเจา ของรว ม

หา มผใู ดประกอบการคา ในอาคารชดุ เวน แต หา มประกอบการ

เปน การประกอบการคาในพน้ื ท่ขี องอาคารชุดท่ีจัดไว คานอกพ้ืนท่จี ัด

ตามวรรคหน่งึ

มาตรา ๑๘๑๙ เจาของรวมตองรวมกันออกคา การออกภาษอี ากร

ภาษีอากรตามอัตราสวนท่ีเจาของรวมแตละคนมี รวม

กรรมสทิ ธใ์ิ นทรัพยส วนกลางตามมาตรา ๑๔

๑๗ แกไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัตอิ าคารชดุ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๑๘ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชุด (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๑๙ แกไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิอาคารชุด (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๒๙๑

เจาของรวมตองรวมกันออกคาใชจายท่ีเกิด การออกคาใชจ า ย
จากการใหบริการสวนรวมและที่เกิดจากเคร่ืองมือ รว ม
เคร่ืองใช ตลอดจนส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีมีไวเพื่อใช
หรือเพ่ือประโยชนรวมกัน และคาใชจายที่เกิดจากการ
ดูแลรักษาและการดําเนินการเกี่ยวกับทรัพยสวนกลาง
ตามอัตราสวนท่ีเจาของรวมแตละคนมีกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพยสวนกลางตามมาตรา ๑๔ หรือตามสวนแหง
ประโยชนท่ีมีตอหองชุด ท้ังนี้ ตามท่ีกําหนดใน
ขอบงั คบั

ใหผูมีกรรมสิทธ์ิในท่ีดินและอาคารตาม กรณียงั ไมโอนไป
มาตรา ๖ เปนเจาของรวมในหองชุดที่ยังไมมีการโอน หมด
กรรมสิทธ์ิใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง และตองรวมออก
คาใชจายตามวรรคหนึ่งและวรรคสองสําหรับหองชุด
ดังกลาวดว ย

มาตรา ๑๘/๑๒๐ ในกรณีท่ีเจาของรวมไมชําระ กรณคี า งชําระเงิน
เงินตามมาตรา ๑๘ ภายในเวลาที่กําหนดตองเสียเงิน ทีต่ องรว มกันจาย
เพิ่มในอัตราไมเกินรอยละสิบสองตอปของจํานวนเงิน
ท่ีคางชําระโดยไมคิดทบตน ทั้งนี้ ตามที่กําหนดใน
ขอบงั คับ

เจา ของรวมทค่ี า งชําระเงนิ ตามมาตรา ๑๘ ตัง้ แต คา งชาํ ระเงนิ ๖
หกเดือนขึ้นไปตองเสียเงินเพิ่มในอัตราไมเกินรอยละ เดอื น

๒๐ แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๒๙๒

ยี่สิบตอปและอาจถูกระงับการใหบริการสวนรวมหรือ
การใชท รัพยสว นกลางตามท่ีกําหนดในขอบังคับ รวมท้ัง
ไมมสี ทิ ธอิ อกเสียงในการประชุมใหญ

เงินเพิ่มตามวรรคหน่ึงใหถือเปนคาใชจายตาม เงนิ เพ่ิม
มาตรา ๑๘

มาตรา ๑๙๒๑ คนตางดาวและนิติบุคคลซึ่ง การไดมาของคน
กฎหมายถือวาเปนคนตางดาว อาจถือกรรมสิทธิ์ใน ตางดา ว
หองชุดได ถาเปนคนตา งดาวและนิติบุคคลดังตอ ไปนี้

(๑) คนตางดาวซ่ึงไดรับอนุญาตใหมีถิ่นท่ีอยู
ในราชอาณาจักรตามกฎหมายวา ดว ยคนเขาเมอื ง

(๒) คนตางดาวซึ่งไดรับอนุญาตใหเขามาใน
ราชอาณาจักรตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการ
ลงทุน

(๓) นิติบุคคลตามที่กําหนดไวในมาตรา ๙๗
และมาตรา ๙๘ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน ซ่ึงจด
ทะเบยี นเปนนติ บิ คุ คลตามกฎหมายไทย

(๔) นิติบุคคลซ่ึงเปนคนตางดาวตามประกาศ
ของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๘๑ ลงวันท่ี ๒๔ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ และไดรับบัตรสงเสริมการลงทุนตาม
กฎหมายวาดว ยการสง เสริมการลงทนุ

(๕)๒๒ คนตางดาวหรือนิติบุคคลที่กฎหมาย

๒๑ แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชดุ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔

๒๙๓

ถือวาเปน คนตา งดา วซึง่ นาํ เงนิ ตราตา งประเทศเขา มาใน
ราชอาณาจักรหรือถอนเงนิ จากบัญชีเงินบาทของบุคคล
ที่มีถ่ินท่ีอยูนอกประเทศหรือถอนเงินจากบัญชีเงินฝาก
เงินตราตางประเทศ

มาตรา ๑๙ ทวิ๒๓ อาคารชุดแตละอาคารชุดจะ อัตราสว นของคน
มีคนตางดาวหรือนิติบุคคลตามท่ีระบุไวในมาตรา ๑๙ ตา งดาว
ถือกรรมสิทธ์ิในหองชุดไดเมื่อรวมกันแลวตองไมเกิน
อัตรารอยละส่ีสิบเกาของเนื้อท่ีของหองชุดท้ังหมดใน
อาคารชุดนั้นในขณะท่ีขอจดทะเบียนอาคารชุดตาม
มาตรา ๖

มาตรา ๑๙ ตรี๒๔ การโอนกรรมสทิ ธ์ใิ นหองชุด หลกั เกณฑการ
ใหแกคนตางดาวหรือนิติบุคคลตามที่ระบุไวในมาตรา โอนหองชุดใหค น
๑๙ ใหผูขอโอนกรรมสทิ ธิ์ในหอ งชุดแจงรายชื่อคนตาง ตางดาว
ดาวหรือนิติบุคคลตามท่ีระบุไวในมาตรา ๑๙ พรอมทั้ง
อัตราสว นเน้อื ทขี่ องหองชุดท่ีคนตางดาวหรือนิติบุคคล
ดังกลาวถือกรรมสิทธิ์อยูแลวตอพนักงานเจาหนาท่ี
แ ล ะ ใ ห ค น ต า ง ด า ว ห รื อ นิ ติ บุ ค ค ล ผู ข อ รั บ โ อ น
กรรมสิทธ์ิในหองชุดแสดงหลักฐานดังตอไปนี้ตอ
พนักงานเจาหนา ที่ดวย

๒๒ แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัตอิ าคารชดุ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒
๒๓ แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั อิ าคารชุด (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๒๔ แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั อิ าคารชุด (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔

๒๙๔

(๑) สําหรับคนตางดาวตามท่ีระบุไวในมาตรา หลักฐานท่ีตอง
๑๙ (๑) ตอ งแสดงหลกั ฐานการเปนผูไดรับอนุญาตใหมี แสดงกรณีตา ง ๆ
ถิ่นทอ่ี ยูในราชอาณาจักรตามกฎหมายวาดวยคนเขา เมอื ง

(๒) สําหรับคนตางดาวตามท่ีระบุไวในมาตรา
๑๙ (๒) ตองแสดงหลักฐานการเปนผูไดรับอนุญาตให
เขามาในราชอาณาจักรตามกฎหมายวาดวยการสงเสริม
การลงทุน

(๓) สําหรับนิติบุคคลตามที่ระบุไวในมาตรา
๑๙ (๓) ตองแสดงหลักฐานการจดทะเบียนเปนนิติ
บคุ คลตามกฎหมายไทย

(๔) สําหรับนิติบุคคลตามท่ีระบุไวในมาตรา
๑๙ (๔) ตองแสดงหลักฐานการเปนผูไดรับบัตร
สงเสริมการลงทุนตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการ
ลงทุน

(๕)๒๕ สําหรับคนตางดาวและนิติบุคคลตาม
มาตรา ๑๙ (๕) ตองแสดงหลักฐานการนําเงินตรา
ตางประเทศเขามาในราชอาณาจักรหรือหลักฐานการ
ถอนเงินจากบัญชีเงินบาทของบุคคลท่ีมีถิ่นท่ีอยูนอก
ป ร ะ เ ท ศ ห รื อ ถ อ น เ งิ น จ า ก บั ญ ชี เ งิ น ฝ า ก เ งิ น ต ร า
ตา งประเทศในจํานวนไมน อ ยกวาคา หอ งชดุ ทีจ่ ะซื้อ

๒๕ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั อิ าคารชุด (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒

๒๙๕

มาตรา ๑๙ จัตวา๒๖ เม่ือพนักงานเจาหนาที่ หลกั เกณฑการ

ไดรับเอกสารและหลักฐานตามมาตรา ๑๙ ตรี และ ตรวจสอบและจด
ตรวจสอบแลวเห็นวาเปนเอกสารและหลักฐานที่ ทะเบยี นโอนให
ถูกตองตามมาตรา ๑๙ ตรี และอัตราสวนการถือ คนตางดาว

กรรมสทิ ธ์ิในหองชุดของคนตางดาวหรือนิติบุคคลตาม

มาตรา ๑๙ ท้ังผูที่ถือกรรมสิทธิ์อยูแลวและผูท่ีขอรับ

โอนไมเกินอัตราท่ีกําหนดไวในมาตรา ๑๙ ทวิ ให

พนักงานเจาหนาที่ดําเนินการจดทะเบียนสิทธิและนิติ

กรรมเกี่ยวกับหองชุดตามหมวด ๔ ใหแกคนตางดาว

หรอื นิติบคุ คลผขู อรับโอนน้นั

มาตรา ๑๙ เบญจ๒๗ คนตา งดาวหรือนติ บิ คุ คล กรณที ี่คนตางดา ว

ตามทีร่ ะบไุ วใ นมาตรา ๑๙ ตอ งจาํ หนา ยหอ งชดุ ในกรณี ตอ งจําหนายหอ ง

ดงั ตอไปน้ี ชดุ

(๑)๒๘ เม่ือคนตางดาวหรือนิติบุคคลตามที่ระบุ - กรณเี กินอัตรา

ไวในมาตรา ๑๙ ไดมาซึ่งหองชุดโดยไดรับมรดกใน

ฐานะทายาทโดยธรรม หรือผูรับพินัยกรรม หรือโดย

ประการอื่น แลวแตกรณี เมื่อรวมกับหองชุดที่มีคนตาง

ดาวหรือนิติบุคคลตามท่ีระบุไวในมาตรา ๑๙ ถือ

กรรมสิทธิ์อยูแลวในอาคารชุดน้ันเกินอัตราที่กําหนด

๒๖ แกไ ขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชุด (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๒๗ แกไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั อิ าคารชดุ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔
๒๘ เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญตั อิ าคารชุด (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๒๙๖

ตามมาตรา ๑๙ ทวิ

(๒) เมื่อคนตางดาวตามที่ระบุไวในมาตรา ๑๙ - กรณถี ูกเพิกถอน

(๑) ถูกเพิกถอนการอนุญาตใหมีถ่ินท่ีอยูในราชอาณาจักร ถน่ิ ทีอ่ ยู

หรือใบสําคญั ถ่นิ ทีอ่ ยูของคนตางดาวใชไ มไ ด

(๓) เมื่อคนตางดาวตามท่ีระบุไวในมาตรา ๑๙ - กรณถี กู เนรเทศ

(๑) (๒) และ (๕) ถูกสั่งเนรเทศออกไปนอกราชอาณาจักร

และไมไดรับการผอนผันหรือถูกสงไปประกอบอาชีพ

ณ ทใ่ี ดแทนการเนรเทศ

(๔) เมื่อคนตางดาวตามที่ระบุไวในมาตรา ๑๙ - กรณีไมได

(๒) ไมไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการสงเสริมการ สง เสริมการลงทุน

ลงทุนใหอยใู นราชอาณาจกั ร

(๕) เมอื่ นิติบคุ คลตามท่ีระบไุ วใ นมาตรา ๑๙ - กรณีถูกเพกิ ถอน

(๔) ถูกเพกิ ถอนบัตรสงเสริมการลงทุน การสงเสรมิ การ
ลงทุน

คนตางดาวหรือนิติบุคคลซ่ึงตองจําหนายหอง

ชุดตามวรรคหนึ่ง ตองแจงเปนหนังสือใหพนักงาน

เจาหนาที่ทราบภายในกําหนดเวลาหกสิบวันนับแต

วันที่มเี หตุตองจาํ หนา ยตามวรรคหนึ่ง

ทั้งน้ี สําหรับกรณี (๑) ใหจําหนายเฉพาะหอง จํานวนที่ตอง

ชดุ ท่เี กินอตั ราทีก่ าํ หนด สาํ หรับกรณี (๒) (๓) (๔) และ จําหนา ย

(๕) ใหจ ําหนายหอ งชดุ ท่มี ีกรรมสทิ ธิอ์ ยูท ้ังหมด

การจําหนายหองชดุ ตามวรรคสาม ใหจําหนาย ระยะเวลา

ภายในกําหนดเวลาไมเกินหน่ึงปนับแตวันที่ไดมา ซ่ึง จําหนาย

๒๙๗

กรรมสิทธิ์ในหองชุด หรอื วันท่ีถูกเพิกถอนการอนุญาต
ใหมีถ่ินที่อยูในราชอาณาจักร หรือใบสําคัญถ่ินท่ีอยูใช
ไมได หรือวันท่ีถูกส่ังเนรเทศ หรือวันท่ีถูกคณะกรรมการ
สงเสริมการลงทุนเพิกถอนการอนุญาตใหอยูใน
ราชอาณาจักร หรือวันที่ถูกเพิกถอนบัตรสงเสริมการ
ลงทุน แลวแตกรณี ถาไมจําหนายภายในกําหนดเวลา
ดังกลาว ใหอธิบดีกรมท่ีดินมีอํานาจจําหนายหองชุด
น้ัน และใหนําบทบัญญัติเร่ืองการบังคับจําหนายท่ีดิน
ตามความในหมวด ๓ แหงประมวลกฎหมายท่ีดิน และ
กฎกระทรวงที่ออกตามบทบัญญัติดังกลาวมาใชบังคับ
แกก ารจําหนายหอ งชดุ ดงั กลา วดวยโดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๙ ฉ๒๙ เมื่อเจาพนักงานผูมีอํานาจมี กรณีท่ตี องแจง
คําส่ังเพิกถอนการอนุญาตใหคนตางดาวมีถิ่นที่อยูใน อธบิ ดีกรมทด่ี ิน
ราชอาณาจักร หรือเม่ือขอเท็จจริงปรากฏแกเจา
พนักงานวาใบสําคัญถ่ินท่ีอยูของคนตางดาวใชไมได
สําหรับคนตางดาวตามที่ระบุไวในมาตรา ๑๙ (๑) หรือ
เม่ือเจาพนักงานผูมีอํานาจมีคําส่ังเนรเทศคนตางดาว
ตามที่ระบุไวในมาตรา ๑๙ (๑) (๒) หรือ (๕) ออกไป
นอกราชอาณาจักรหรือมีคําส่ังเพิกถอนการอนุญาตให
คนตางดาวตามที่ระบุไวในมาตรา ๑๙ (๒) อยูใน
ราชอาณาจักร หรือมีคําสั่งเพิกถอนบัตรสงเสริมการ

๒๙ เพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั ิอาคารชุด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔

๒๙๘

ลงทุนสําหรับนิติบุคคลตามที่ระบุไวในมาตรา ๑๙ (๔)
แลวแตกรณี ใหเจาพนักงานดังกลาวขางตนแจงให
อธิบดีกรมท่ีดินทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่มี
คําส่ังหรอื วันทีท่ ราบขอเท็จจรงิ ดังกลาว

มาตรา ๑๙ สัตต๓๐ คนตางดาวหรือนิติบุคคล กรณตี า งดาวรับ
ซ่ึงกฎหมายถือวาเปนคนตางดาวนอกจากที่ระบุไวใน มรดกหองชุด
มาตรา ๑๙ ไดมาซ่ึงหองชุดโดยไดรับมรดกในฐานะ
เปนทายาทโดยธรรม หรือผูรับพินัยกรรมหรือโดย
ประการอ่ืน แลวแตกรณี ตองแจงเปนหนังสือให
พนักงานเจาหนาที่ทราบภายในกําหนดเวลาหกสิบวัน
นับแตวันที่ไดมาซ่ึงกรรมสิทธิ์ในหองชุด และตอง
จําหนายหองชุดนั้นภายในกําหนดเวลาไมเกินหนึ่งป
นับแตวันที่ไดมาซึ่งกรรมสิทธ์ิในหองชุด ถาไม
จําหนายภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหนําความใน
มาตรา ๑๙ เบญจ วรรคส่ี มาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๙ อัฏฐ๓๑ ผูใดไดมาซ่ึงกรรมสิทธ์ิใน กรณีคนไทย
หองชุดในขณะท่ีมีสัญชาติไทยถาตอมาผูนั้นเสีย เปล่ยี นสญั ชาติ
สัญชาติไทย เพราะการสละสัญชาติไทย การแปลง และไมมีสทิ ธิถอื
สัญชาติ หรือถูกถอนสัญชาติไทย ตามกฎหมายวาดวย กรรมสิทธิ์ตอ
สัญชาติ และมิใชเปนคนตางดา วตามทรี่ ะบไุ วในมาตรา

๓๐ เพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัติอาคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔
๓๑ เพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญัติอาคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔

๒๙๙

๑๙ ตองแจงเปนหนังสือใหพนักงานเจาหนาท่ีทราบถึง
การเสียสัญชาติไทยและการที่ไมอาจถือกรรมสิทธิ์ใน
หองชุดตอไปไดภายในกําหนดเวลาหกสิบวันนับแต
วันที่เสียสัญชาติไทย และตองจําหนายหองชุดที่มี
กรรมสิทธิ์อยูทั้งหมดภายในกําหนดเวลาไมเกินหน่ึงป
นับแตวันที่เสียสัญชาติไทย ถาไมจําหนายภายใน
กําหนดเวลาดังกลาวใหนําความในมาตรา ๑๙ เบญจ
วรรคส่ี มาใชบ งั คับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๙ นว๓๒ ผูใดไดมาซ่ึงกรรมสิทธ์ิใน กรณคี นไทย
หองชุดในขณะท่ีมีสัญชาติไทย ถาตอมาผูนั้นเสีย เปล่ยี นสญั ชาติแต
สัญชาติไทย เพราะการสละสัญชาติไทย การแปลง มีสทิ ธิถือ
สัญชาติ หรือการถูกถอนสัญชาติไทยตามกฎหมายวา กรรมสิทธิ์ตอ
ดว ยสญั ชาติ และเปนคนตา งดาวตามที่ระบุไวในมาตรา
๑๙ ถาประสงคจ ะมีกรรมสทิ ธิใ์ นหอ งชุดตอไปตองแจง
เปนหนังสือใหพนักงานเจาหนาที่ทราบถึงการเสีย
สัญชาติไทย และตองนําหลักฐานวาเปนคนตางดาว
ตามท่ีระบุไวในมาตรา ๑๙ มาแจงตอพนักงาน
เจาหนาท่ีภายในหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตวันท่ีเสีย
สัญชาติไทย แตถาการมีกรรมสิทธ์ิในหองชุดของคน
ตางดาวนั้นเกินอัตราตามมาตรา ๑๙ ทวิ ตองจําหนาย
หองชุดที่เกินอัตราท่ีกําหนดภายในกําหนดเวลาไมเกิน

๓๒ แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัติอาคารชดุ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๐๐

หนึ่งปนับแตวันที่เสียสัญชาติไทย ถาไมจําหนาย
ภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหนําบทบัญญัติในมาตรา
๑๙ เบญจ วรรคส่ี มาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม

ถาคนตางดาวตามวรรคหนึ่งไมประสงคจะมี กรณไี มประสงค
กรรมสิทธิ์ในหองชุดตอไป ตองแจงเปนหนังสือให จะถือกรรมสิทธิ์
พนักงานเจาหนาท่ีทราบถึงการเสียสัญชาติไทยภายใน ตอ
กําหนดเวลาหกสิบวันนับแตวันที่เสียสัญชาติไทย และ
ตองจําหนายหองชุดที่มีกรรมสิทธ์ิอยูท้ังหมดภายใน
กําหนดเวลาไมเกินหนึ่งปนับแตวันท่ีเสียสัญชาติไทย
ถาไมจําหนายภายในกําหนดเวลาดังกลาวใหนําความใน
มาตรา ๑๙ เบญจ วรรคสี่ มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๙ ทศ๓๓ นิติบุคคลซึ่งมีสัญชาติไทย กรณีนิติบุคคล
และมีกรรมสิทธ์ิในหองชุดอยูแลวถาตอมาสภาพของ ไทยกลายเปน ตาง
นิติบุคคลนั้นเปลี่ยนแปลงไปเปนนิติบุคคลซึ่งกฎหมาย ดา วและไมมสี ทิ ธิ
ถือวาเปนคนตางดาวและมิใชเปนนิติบุคคลตามที่ระบุ ถอื กรรมสิทธต์ิ อ
ไวในมาตรา ๑๙ ตองแจงเปนหนังสือใหพนักงาน
เจาหนาท่ที ราบถึงการเปลยี่ นสภาพและการท่ีไมอาจถือ
กรรมสิทธ์ิในหองชุดตอไปไดภายในกําหนดเวลาหก
สิบวันนับแตวันท่ีเปล่ียนสภาพ และตองจําหนายหอง
ชุดท่ีมีกรรมสิทธิ์อยูท้ังหมดภายในกําหนดเวลาไมเกิน
หนึ่งปนับแตวันที่เปล่ียนสภาพ ถาไมจําหนายภายใน

๓๓ เพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั อิ าคารชุด (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔

๓๐๑

กําหนดเวลาดังกลาวใหนําความในมาตรา ๑๙ เบญจ
วรรคสี่ มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๙ เอกาทศ๓๔ นิติบุคคลซ่ึงมีสัญชาติ กรณนี ติ ิบุคคล
ไทยและมีกรรมสิทธิ์ในหองชุดอยูแลวถาตอมาสภาพ ไทยกลายเปน ตา ง
ของนิติบุคคลน้ันเปลี่ยนแปลงไปเปนนิติบุคคลซึ่ง ดาวและมสี ทิ ธถิ ือ
กฎหมายถือวาเปนคนตางดาวและอาจถือกรรมสิทธ์ิใน กรรมสทิ ธิ์ตอ
หองชุดไดเพราะเปนนิติบุคคลตามท่ีระบุไวในมาตรา
๑๙ ถาประสงคจะมีกรรมสิทธ์ิในหองชุดตอไป ตอง
แจงเปนหนังสือใหพนักงานเจาหนาท่ีทราบถึงการ
เปล่ียนสภาพ และตองนําหลักฐานวาเปนนิติบุคคล
ตามท่ีระบุไวในมาตรา ๑๙ มาแจงตอพนักงาน
เจา หนาทภี่ ายในหนึง่ รอยแปดสบิ วันนับแตวันท่ีเปล่ียน
สภาพ แตถาการมีกรรมสิทธิ์ในหองชุดของนิติบุคคล
นั้นเกินอัตราที่กําหนดตามมาตรา ๑๙ ทวิ ตองจําหนาย
หองชุดท่ีเกินอัตราท่ีกําหนดภายในกําหนดเวลาไมเกิน
หน่ึงปนับแตวันท่ีเปล่ียนสภาพ ถาไมจําหนายภายใน
กําหนดเวลาดังกลาวใหนําความในมาตรา ๑๙ เบญจ
วรรคส่ี มาใชบังคบั โดยอนุโลม

ถานิติบุคคลตามวรรคหนึ่งไมประสงคจะมี กรณไี มประสงค
กรรมสิทธิ์ในหองชุดตอไป ตองแจงเปนหนังสือให จะถอื กรรมสิทธ์ิ
พนักงานเจาหนาท่ีทราบถึงการเปลี่ยนสภาพภายใน ตอ

๓๔ เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔

๓๐๒

กําหนดเวลาหกสิบวันนับแตวันเปล่ียนสภาพและตอง
จําหนายหองชุดที่มีกรรมสิทธิ์อยูทั้งหมดภายใน
กําหนดเวลาไมเกินหน่ึงปนับแตวันที่เปลี่ยนสภาพ ถา
ไมจําหนายภายในกําหนดเวลาดังกลาวใหนําความใน
มาตรา ๑๙ เบญจ วรรคสี่ มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๙ ทวาทศ (ยกเลกิ )๓๕
มาตรา ๑๙ เตรส (ยกเลกิ )๓๖

หมวด ๓
หนังสือกรรมสิทธ์หิ อ งชดุ

มาตรา ๒๐ เมื่อไดรับจดทะเบียนอาคารชุด การออกหนังสอื ฯ
ตามมาตรา ๗ แลวใหพนักงานเจาหนาท่ีดําเนินการ หอ งชดุ
ออกหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดตามแผนผังอาคารชุดที่
จดทะเบยี นน้นั โดยไมช กั ชา

การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับ การจดทะเบยี น
หองชุดจะกระทํามิไดจนกวาจะจดทะเบียนนิติบุคคล และขอ หา มการ
อาคารชุดตามมาตรา ๓๑ เวนแตเปนการจดทะเบียนไถ จดในหอ งชดุ
ถอนจํานองท่ีพนักงานเจาหนาที่ไดจดแจงการจํานองไว

๓๕ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ แลวไป
กําหนดใหมไ วในหมวด ๘ บทกําหนดโทษ

๓๖ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ แลวไป
กําหนดใหมไวใ นหมวด ๘ บทกาํ หนดโทษ

๓๐๓

ตามมาตรา ๒๒ หรือเปนการโอนกรรมสิทธิ์ในหองชุด

ท้ังหมดใหแกบุคคลคนเดียวหรือหลายคนโดยถือ

กรรมสทิ ธริ์ วม

มาตรา ๒๑ หนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุด อยางนอย หนังสือ

ตอ งมสี าระสาํ คัญ ดงั ตอ ไปนี้ กรรมสิทธหิ์ องชุด

(๑) ตําแหนงที่ดินและจํานวนเนื้อที่ของที่ดิน

ของอาคารชุด

(๒) ที่ตั้ง เนื้อที่ และแผนผังของหองชุด ซึ่ง

แสดงความกวาง ความยาว และความสูง

(๓) อตั ราสว นแหง กรรมสทิ ธใิ์ นทรพั ยสวนกลาง

(๔) ชื่อตัวและชื่อสกุลของผูมีกรรมสิทธิ์ใน

หองชุด

(๕)สารบัญสําหรบั จดทะเบยี นสทิ ธิและนิตกิ รรม

(๖) ลายมอื ชอื่ พนกั งานเจาหนา ท่ี

(๗) ประทับตราประจําตําแหนงของพนักงาน

เจา หนา ท่ี

หนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดใหทําเปนคูฉบับรวม มคี ูฉ บับ

สองฉบับ มอบใหผูมีกรรมสิทธิ์ในหองชุดฉบับหน่ึง อีก

ฉบับหน่ึงเก็บไวท่ีสํานักงานของพนักงานเจาหนาท่ี

สํ า ห รั บ ฉ บั บ ท่ี เ ก็ บ ไ ว ท่ี สํ า นั ก ง า น ข อ ง พ นั ก ง า น

เจา หนาทีน่ ้นั จะจําลองเปน รปู ถายกไ็ ด ในกรณเี ชน นี้ให

ลงลายมือช่ือและประทับตราประจําตําแหนงของ

พนกั งานเจา หนาทด่ี วย

๓๐๔

แบบ หลักเกณฑ และวิธีการออกหนังสือ หลักเกณฑการ

กรรมสิทธ์ิหองชุดรวมทั้งใบแทนหนังสือกรรมสิทธ์ิ ออกหนังสอื ฯ

หองชดุ ใหก ําหนดโดยกฎกระทรวง๓๗ หอ งชดุ

มาตรา ๒๒ ในกรณีที่อสังหาริมทรัพยตาม การกระจายหน้ีลง

มาตรา ๑๕ (๑) หรือ (๒) ติดการจํานองอยูกอนจด หอ งชุด

ทะเบียนอาคารชุด แตผูรับจํานองไดยินยอมใหจด

ทะเบียนอาคารชุดตามมาตรา ๗ วรรคสาม เมื่อออก

หนังสือกรรมสิทธิ์หองชุด พนักงานเจาหนาที่จะตอง

ระบุใหผูขอจดทะเบียนเปนผูมีกรรมสิทธิ์ในหองชุด

และจดแจง การจาํ นองน้ันในหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุด

ทุกฉบับ พรอมทั้งระบุจํานวนเงินท่ีผูรับจํานองจะ

ไดรับชําระหนี้จากหองชุดแตละหองชุด โดยคํานวณ

จํานวนเงินดังกลาวตามอัตราสวนแหงกรรมสิทธิ์ใน

ทรัพยสว นกลางไวใ นสารบญั สําหรบั จดทะเบียนดว ย

เมื่อไดออกหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดตาม

วรรคหนึ่งแลว ใหถือวาหองชุดแตละหองเปนประกัน

หน้ีจํานองเฉพาะสวนที่ระบุไวในหนังสือกรรมสิทธิ์

หอ งชดุ นนั้

มาตรา ๒๓ ในกรณีท่ีพนักงานเจาหนาท่ีไดจด โอนคร้ังแรกตอ ง

๓๗ กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการจดทะเบียน
อาคารชุด การออกหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุด และการจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด
พ.ศ. ๒๕๕๓

๓๐๕

แจงการจํานองอสังหาริมทรัพยในหนังสือกรรมสิทธ์ิ ปลอดจาํ นอง
หอ งชดุ ตามมาตรา ๒๒ แลว การจําหนายหองชุดแตละ
หองในครั้งแรกโดยผูขอจดทะเบียนอาคารชุดซึ่งเปน
เจาของกรรมสิทธิ์ในหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดจะ
จําหนายหองชุดนั้นใหผูรับโอนกรรมสิทธ์ิหองชุด
ไดร ับโอนไปโดยปลอดจํานอง

มาตรา ๒๔ เม่ือปรากฏวา การออกหนังสือ การเพกิ ถอนแกไ ข
กรรมสิทธิ์หองชุดการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
เกี่ยวกับหองชุด หรือการจดแจงรายการในสารบัญ
สําหรับจดทะเบียนคลาดเคลื่อนหรือไมชอบดวยกฎหมาย
ใหพนักงานเจาหนาท่ี๓๘ มีอํานาจเพิกถอนหรือแกไขได
แลวแตก รณี

ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจสอบสวนและ การดาํ เนนิ การ
เรียกหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุด เอกสารที่ไดจด เพอื่ เพกิ ถอนแกไข
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรม เอกสารที่ไดจดแจงรายการ
ในสารบัญสําหรับจดทะเบียน หรือเอกสารอื่นที่
เก่ียวของมาพิจารณา แตกอนท่ีจะดําเนินการเพิกถอน

๓๘ คาํ ส่ังกระทรวงมหาดไทย ที่ ๑๙๘/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑
เรอื่ ง แตง ตั้งพนักงานเจา หนา ทต่ี ามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒

ระเบยี บกรมทด่ี ิน วาดว ยการเพกิ ถอนหรอื แกไขการออกหนังสือกรรมสิทธ์ิ
หองชุด การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับหองชุดหรือการจดแจงรายการใน
สารบัญสาํ หรับจดทะเบยี น พ.ศ. ๒๕๕๕

๓๐๖

หรือแกไข ใหพนักงานเจาหนาท่ีแจงใหผูมีสวนไดเสีย
ทราบลวงหนาไมนอยกวาสิบหาวันเพื่อใหโอกาส
คัดคาน ถาไมคัดคานภายในกําหนดสามสิบวันนับแต
วันท่ีไดรับแจง ใหถือวาไมมีการคัดคาน ในกรณีท่ี
พนักงานเจาหนาที่เรียกหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดมา
ดําเนินการไมได ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจออกใบ
แทนหนงั สือกรรมสทิ ธ์หิ อ งชดุ ได๓๙

เมื่อพนักงานเจาหนาท่ีผูมีอํานาจตามวรรค
หน่งึ พจิ ารณาประการใดแลว ใหดําเนินการไปตามน้นั

ในกรณีที่ศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งถึงท่ีสุด ศาลมีคําสั่งเพกิ
ใหเพิกถอนหรือแกไขอยางใดแลว ใหพนักงาน ถอนแกไข
เจาหนาที่ดาํ เนินการตามคาํ พพิ ากษาหรือคําสัง่ น้ัน

มาตรา ๒๕ หนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดของ ใบแทน
ผใู ดสูญหายหรอื ชาํ รุดในสาระสาํ คัญ ใหเ จาของขอรบั

๓๙ กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเง่ือนไขการจดทะเบียน
อาคารชุด การออกหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุด และการจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด
พ.ศ. ๒๕๕๓

ระเบียบกรมท่ีดิน วาดวยการออกใบแทนหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุด และ
การจดั ทาํ หนงั สอื กรรมสทิ ธห์ิ อ งชดุ ขึ้นใหม พ.ศ. ๒๕๕๕

๓๐๗

ใบแทนหนงั สือกรรมสิทธหิ์ องชดุ นน้ั ได๔ ๐
มาตรา ๒๖ ในกรณีที่มีการออกใบแทน ออกใบแทนแลว

หนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ฉบับเดมิ ยกเลิก
๒๕ แลว ใหหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดฉบับเดิมเปน
อนั ยกเลิก เวนแตศาลจะสัง่ เปน อยา งอ่นื

มาตรา ๒๗ ในกรณีที่หนังสือกรรมสิทธ์ิหอง กรณฉี บบั
ชดุ ฉบบั ที่เก็บไวท ีส่ าํ นักงานของพนักงานเจาหนาที่สูญ สํานักงานสญู
หายหรือชํารุดในสาระสําคัญ ใหพนักงานเจาหนาที่มี หาย/ชํารุด
อาํ นาจเรยี กหนังสือกรรมสิทธิห์ อ งชดุ ฉบบั เจาของหองชุด
มาพจิ ารณา แลวจดั ทําขน้ึ ใหม๔๑ โดยอาศยั หลกั ฐานเดิม

๔๐ กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการจดทะเบียน
อาคารชุด การออกหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุด และการจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด
พ.ศ. ๒๕๕๓

ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการออกใบแทนหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุด และ
การจดั ทาํ หนังสอื กรรมสิทธ์ิหอ งชุดขึน้ ใหม พ.ศ. ๒๕๕๕

๔๑ กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการจดทะเบียน
อาคารชุด การออกหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุด และการจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด
พ.ศ. ๒๕๕๓

ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการออกใบแทนหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุด และ
การจดั ทาํ หนงั สือกรรมสิทธห์ิ องชุดข้ึนใหม พ.ศ. ๒๕๕๕

๓๐๘

หมวด ๔
การจดทะเบยี นสิทธแิ ละนติ กิ รรม

มาตรา ๒๘ ใหพนักงานเจาหนาที่๔๒ ตาม ผจู ดทะเบยี นหอง
พระราชบัญญัตินี้เปนพนักงานเจาหนาที่จดทะเบียน ชุด
สิทธแิ ละนติ ิกรรมเก่ียวกับหองชดุ

มาตรา ๒๙๔๓ ผูใดประสงคจะจดทะเบียน ขอจดทะเบยี น
สทิ ธแิ ละนิติกรรมเกี่ยวกับหองชุดตามพระราชบัญญัติน้ี
ใหนําหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดมาจดทะเบียนตอ
พนกั งานเจาหนา ที่

ในกรณีท่ีขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมโอน ใบปลอดหน้ี
กรรมสิทธิ์ในหองชุด พนักงานเจาหนาท่ีจะรับจด
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมไดเมื่อหองชุดดังกลาวปลอด
จากหน้ีอันเกิดจากคาใชจายตามมาตรา ๑๘ โดยตองมี
หนังสือรับรองการปลอดหนี้คราวท่ีสุดจากนิติบุคคล
อาคารชดุ มาแสดง

ผูจัดการตองดําเนินการออกหนังสือรับรอง ผูออกใบปลอดหนี้
การปลอดหน้ีตามวรรคสองใหแกเจาของรวมภายใน
สบิ หา วนั นบั แตวนั ทไี่ ดรับคํารองขอและเจา ของรว มได

๔๒ คําสัง่ กระทรวงมหาดไทย ท่ี ๑๙๘/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑
เร่อื ง แตง ต้ังพนักงานเจา หนา ทต่ี ามพระราชบัญญัติอาคารชดุ พ.ศ. ๒๕๒๒

๔๓ แกไ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั อิ าคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๐๙

ชําระหน้ีอันเกิดจากคาใชจายตามมาตรา ๑๘ ครบถวน
แลว

ความในวรรคสองมิใหใชบังคับแกกรณีการ กรณยี กเวน (ขาย
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมโอนกรรมสิทธ์ิในหอง ยกอาคาร)
ชุดกอ นจดทะเบียนนิติบคุ คลอาคารชดุ

มาตรา ๓๐ ใหนําบทบัญญัติแหงประมวล นําหมวด ๖ ป.
กฎหมายท่ีดิน หมวด ๖ การจดทะเบียนสิทธิและนิติ ท่ีดินมาใช
กรรม และกฎกระทรวงท่ีออกตามบทบัญญัติดังกลาว
มาใชบังคับแกการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
เก่ยี วกับหอ งชุดโดยอนโุ ลม

หมวด ๕
นติ ิบุคคลอาคารชุด

มาตรา ๓๑ การโอนกรรมสิทธ์ิในหองชุด โอนหองแรก
ใหแกบุคคลหน่ึงบุคคลใด โดยไมเปนการโอน พรอมขอต้ังนิติ
กรรมสิทธิ์ในหองชุดทั้งหมดในอาคารชุดใหแก บุคคล บุคคลอาคารชุด
คนเดียวหรือหลายคนโดยถือกรรมสิทธิ์รวมจะกระทําได
ตอเม่ือผูขอโอนและผูขอรับโอนกรรมสิทธิ์ในหองชุด
ดังกลาวย่ืนคําขอโอนกรรมสิทธ์ิในหองชุดพรอมกับคํา
ขอจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด โดยมีสําเนาขอบังคับ
และหลักฐานในการจดทะเบียนอาคารชุดตอพนักงาน
เจา หนาท่ี

๓๑๐

เม่อื พนักงานเจาหนาท่ีพิจารณาเห็นวาเปนการ การจดทะเบียน

ถูกตอง ใหพนักงานเจาหนาที่จดทะเบียนโอน

กรรมสิทธิ์ในหองชุดใหแกผูขอรับโอนกรรมสิทธิ์ใน

หองชุดและจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดตามวรรค

หนึ่งพรอมกันไปและใหประกาศการจดทะเบียนนิติ

บุคคลอาคารชุดในราชกจิ จานุเบกษา

การขอและการจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด หลกั เกณฑจดนติ ิ

ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ ท่ีกําหนดใน บุคคลอาคารชุด

กฎกระทรวง๔๔

ความในวรรคหน่ึงมิใหใชบังคับแกการโอน

กรรมสิทธ์ิในหองชุดภายหลังที่ไดจดทะเบียนนิติ

บุคคลอาคารชดุ แลว

มาตรา ๓๒๔๕ ขอบังคับอยางนอยตองมี สาระสําคญั

สาระสําคญั ดังตอไปนี้ ขอ บังคับ

(๑) ช่ือนิติบุคคลอาคารชุดซ่ึงตองมีคําวา “นิติ

บคุ คลอาคารชุด” ไวดว ย

(๒) วัตถปุ ระสงคต ามมาตรา ๓๓

(๓) ที่ตัง้ สํานักงานของนิติบุคคลอาคารชุด ซึ่ง

๔๔ กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการจดทะเบียน

อาคารชุด การออกหนังสือกรรมสิทธิ์หองชุด และการจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด
พ.ศ. ๒๕๕๓

๔๕ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญัติอาคารชดุ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๑๑

จะตองตั้งอยูใ นอาคารชดุ
(๔) จาํ นวนเงนิ คา ใชจ า ยของนิตบิ ุคคลอาคารชดุ

ทเี่ จา ของรวมตองชาํ ระลว งหนา
(๕) การจดั การทรพั ยสวนกลาง
(๖) การใชทรัพยสวนบุคคลและทรัพย

สว นกลาง
(๗) อัตราสวนท่ีเจาของรวมแตละหองชุดมี

กรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนกลางตามท่ีขอจดทะเบียน
อาคารชดุ

(๘) อัตราสวนคาใชจายรวมกันของเจาของ
รวมตามมาตรา ๑๘

(๙) ขอ ความอน่ื ตามทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง
การแกไขหรือเพ่ิมเติมขอบังคับท่ีไดจด การแกไข
ทะเบยี นไว จะกระทาํ ไดก ็แตโดยมติของท่ีประชุมใหญ ขอบังคบั
เจาของรวม และผูจัดการตองนําไปจดทะเบียนตอ
พนักงานเจาหนาที่ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ที่
ประชุมใหญเจาของรวมมมี ติ
ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่เห็นวาการแกไข การจดทะเบยี น
หรือเพิ่มเติมขอบังคับน้ันไมขัดตอกฎหมายให แกไขขอ บังคับ
พนักงานเจาหนาท่ีรับจดทะเบียนการแกไขหรือ
เพิ่มเตมิ ขอบงั คบั นน้ั
มาตรา ๓๓ นิติบุคคลอาคารชุดท่ีไดจด เปน นติ บิ ุคคล
ทะเบยี นตามมาตรา ๓๑ ใหมฐี านะเปน นติ บิ คุ คล

๓๑๒

นิตบิ ุคคลอาคารชดุ มีวตั ถปุ ระสงคเพอ่ื จดั การ จัดการดูแลทรพั ย
และดูแลรกั ษาทรพั ยสวนกลาง และใหม อี ํานาจกระทําการ สวนกลาง
ใดๆ เพอ่ื ประโยชนตามวัตถุประสงคด ังกลาว ท้งั น้ี ตาม
มตขิ องเจาของรว มภายใตบ งั คบั แหงพระราชบญั ญัตนิ ้ี

มาตรา ๓๔ ในกรณีท่ีอาคารชุดถูกเวนคืน กรณถี ูกเวนคืน
บางสวนตามกฎหมายวาดวยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย บางสว น
ใหเจาของรวมซ่ึงถูกเวนคืนหองชุดหมดสิทธิในทรัพย
สวนกลางท่ีเหลือจากการถูกเวนคืน ในกรณีน้ีใหนิติ
บุคคลอาคารชุดจัดการใหเจาของรวมซึ่งไมถูกเวนคืน
หองชุดรวมกันชดใชราคาใหแกเจาของรวมซ่ึงหมด
สิทธิไปดังกลาว ท้ังน้ี ตามอัตราสวนท่ีเจาของรวมแต
ละคนมกี รรมสิทธ์ใิ นทรพั ยสวนกลาง

เพ่ือประโยชนในการชดใชราคาใหแกเจาของ
รวมซึ่งหมดสิทธิไปตามวรรคหน่ึง ใหถือวาหนี้เพ่ือ
ชดใชราคาดังกลาวมีบุริมสิทธิเหนือทรัพยสวนบุคคล
ของเจาของหองชุดซึ่งไมถูกเวนคืนหองชุด เชนเดียวกับ
คา ใชจ า ยตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง

มาตรา ๓๕ ใหนิติบุคคลอาคารชุดมีผูจัดการ ผูจัดการนิตบิ คุ คล
คนหน่ึง ซึ่งจะเปนบคุ คลธรรมดาหรือนติ บิ ุคคลก็ได ฯ

ในกรณีที่นิติบุคคลเปนผูจัดการ ใหนิติบุคคล กรณนี ติ บิ ุคคล
น้ันแตงตั้งบุคคลธรรมดาคนหน่ึงเปนผูดําเนินการแทน เปนผูจดั การ
นติ ิบคุ คลในฐานะผจู ดั การ

๓๑๓

มาตรา ๓๕/๑๔๖ ผูจัดการตองมีอายุไมตํ่ากวา คณุ สมบตั ขิ อง
ยี่สิบหาปบริบูรณ และตองไมมีลักษณะตองหาม ผูจัดการ
ดงั ตอไปนี้

(๑) เปน บคุ คลลมละลาย
(๒) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมอื นไร
ความสามารถ
(๓) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจาก
ราชการ องคก ารหรือหนว ยงานของรฐั หรอื เอกชน ฐาน
ทจุ รติ ตอ หนาท่ี
(๔) เคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึง
ที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ได
กระทําโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ
(๕) เคยถูกถอดถอนจากการเปนผูจัดการ
เพราะเหตุทุจริต หรือมีความประพฤติเสื่อมเสียหรือ
บกพรอ งในศีลธรรมอนั ดี
(๖) มหี นีค้ า งชาํ ระคา ใชจายตามมาตรา ๑๘
ในกรณีที่ผูจัดการเปนนิติบุคคล ผูดําเนินการ กรณีนิติบุคคล
แทนนิติบุคคลน้ันในฐานะผูจัดการตองมีคุณสมบัติ เปนผูจ ัดการ
และไมมลี กั ษณะตองหา มตามวรรคหน่งึ ดว ย
มาตรา ๓๕/๒๔๗ การแตงตั้งผูจัดการให การแตง ตงั้
เปนไปตามมติที่ประชุมใหญเจาของรวมตามมาตรา ผูจ ดั การ

๔๖ เพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั ิอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๑๔

๔๙ และใหผูจัดการซึ่งไดรับแตงตั้งนําหลักฐาน หรือ

สัญญาจางไปจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ภายใน

สามสิบวันนบั แตว ันทท่ี ี่ประชุมใหญเจา ของรว มมมี ติ

มาตรา ๓๕/๓๔๘ ผจู ดั การพน จากตาํ แหนง เมื่อ การพนจาก

(๑) ตายหรอื สิ้นสภาพการเปน นติ บิ ุคคล ตาํ แหนง

(๒) ลาออก

(๓) ส้ินสุดระยะเวลาตามท่ีกําหนดไวใน

สญั ญาจาง

(๔) ขาดคุณสมบตั ิหรือมีลักษณะตองหามตาม

มาตรา ๓๕/๑

( ๕ ) ไ ม ป ฏิ บั ติ ต า ม บ ท บั ญ ญั ติ แ ห ง

พระราชบัญญัติน้ีหรือกฎกระทรวงที่ออกตามความใน

พระราชบัญญัตินี้ หรือไมปฏิบัติตามเง่ือนไขท่ีกําหนด

ไวในสัญญาจางและที่ประชุมใหญเจาของรวมมีมติให

ถอดถอนตามมาตรา ๔๙

(๖) ที่ประชุมใหญเจา ของรว มมีมตใิ หถ อดถอน

มาตรา ๓๖๔๙ ผูจัด ก า รมี อํา น า จ ห นา ที่ อํานาจหนา ท่ี

ดงั ตอ ไปนี้ ผจู ัดการ

(๑) ปฏิบัติการใหเปนไปตามวัตถุประสงค

๔๗ เพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิอาคารชุด (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๔๘ เพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๔๙ เพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิอาคารชดุ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๑๕

ตามมาตรา ๓๓ ตามขอ บงั คบั หรอื ตามมติของท่ีประชุม
ใหญเจาของรว มหรือคณะกรรมการ ทงั้ นี้ โดยไมขัดตอ
กฎหมาย

(๒) ในกรณีจําเปนและรีบดวน ใหผูจัดการมี
อาํ นาจโดยความรเิ รม่ิ ของตนเองส่งั หรอื กระทาํ การใดๆ
เกยี่ วกบั ความปลอดภัยของอาคารดังเชนวิญูชนจะพึง
รกั ษาและจัดการทรัพยสินของตนเอง

(๓) จัดใหมีการดูแลความปลอดภัยหรือความ
สงบเรียบรอ ยภายในอาคารชุด

(๔) เปน ผแู ทนของนิตบิ คุ คลอาคารชดุ
(๕) จัดใหมีการทําบัญชีรายรับรายจาย
ประจําเดือน และติดประกาศใหเจาของรวมทราบ
ภายในสิบหา วันนับแตว นั สิ้นเดือนและตอ งตดิ ประกาศ
เปน เวลาไมนอยกวา สิบหา วนั ตอ เนอื่ งกัน
(๖) ฟองบังคับชําระหนี้จากเจาของรวมท่ีคาง
ชาํ ระคาใชจายตามมาตรา ๑๘ เกนิ หกเดอื นขึ้นไป
(๗) หนาทอี่ ื่นตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง
ผูจัดการตองปฏิบัติหนาท่ีดวยตนเอง เวนแต การปฏบิ ตั หิ นาท่ี
กิจการซึ่งตามขอบังคับหรือมติของที่ประชุมใหญ ของผูจัดการ
เจาของรวมตามมาตรา ๔๙ (๒) กําหนดใหมอบหมาย
ใหผูอื่นทําแทนไดและตองอยูปฏิบัติหนาท่ีตามเวลาท่ี
กาํ หนดไวใ นขอบังคับ

๓๑๖

มาตรา ๓๗๕๐ ใหมีคณะกรรมการนิติบุคคล คณะกรรมการนิติ

อาคารชุดประกอบดวยกรรมการไมนอยกวาสามคนแต บคุ คล

ไมเ กนิ เกาคน ซงึ่ แตง ตัง้ โดยทปี่ ระชุมใหญเจา ของรวม

กรรมการมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ วาระดํารง

สองป ในกรณีกรรมการพนจากตําแหนง กอ นวาระหรอื ตาํ แหนง

มกี ารแตง ต้งั กรรมการเพ่ิมขน้ึ ในระหวางท่ีกรรมการซ่ึง

แตงต้ังไวแลวยังมีวาระอยูในตําแหนงใหผูซึ่งไดรับ

แตงต้ังดํารงตําแหนงแทนหรือเปนกรรมการเพิ่มข้ึนอยู

ในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งไดรับ

แตงตง้ั ไวแลว

เม่ือครบกําหนดวาระตามวรรคสอง หากยัง

มิไดมีการแตงตั้งกรรมการข้ึนใหมใหกรรมการซึ่งพน

จากตําแหนงตามวาระน้ันปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวา

กรรมการซึ่งไดร บั แตง ต้ังใหมเขา รบั หนาที่

กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้ง

อกี ได แตจะดาํ รงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได

เวน แตไ มอ าจหาบคุ คลอืน่ มาดาํ รงตําแหนง ได

การแตงต้ังกรรมการ ใหผูจัดการนําไปจด จดทะเบียนตอ

ทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสามสิบวันนับแต พนักงาน

วันท่ีทปี่ ระชมุ ใหญเ จา ของรวมมีมติ เจาหนา ท่ี

๕๐ เพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญตั ิอาคารชดุ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๑๗

มาตรา ๓๗/๑๕๑ บุคคลดังตอไปนี้มีสิทธิไดรับ หลกั เกณฑการ

แตงต้งั เปนกรรมการ ไดร บั แตงตั้งเปน

(๑) เจาของรว มหรอื คูสมรสของเจาของรวม กรรมการ

(๒) ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล หรือผู

พิทักษในกรณีท่ีเจาของรวมเปนผูเยาว คนไร

ความสามารถ หรือคนเสมือนไรความสามารถ แลวแต

กรณี

(๓) ตัวแทนของนิติบุคคลจํานวนหนึ่งคน ใน

กรณที น่ี ติ บิ ุคคลเปนเจา ของรวม

ในกรณีที่หองชุดใดมีผูถือกรรมสิทธ์ิเปน

เจาของรวมหลายคน ใหมีสิทธิไดรับแตงตั้งเปน

กรรมการจํานวนหนึ่งคน

มาตรา ๓๗/๒๕๒ บุคคลซ่ึงจะไดรับแตงต้ัง คุณสมบตั ขิ อง

เปน กรรมการตอ งไมมีลกั ษณะตอ งหา ม ดังตอ ไปนี้ กรรมการ

(๑) เปนผูเยาว คนไรความสามารถ หรือคน

เสมอื นไรความสามารถ

(๒) เคยถูกท่ีประชุมใหญเจาของรวมใหพน

จากตําแหนงกรรมการ หรือถอดถอนจากการเปน

ผูจัดการเพราะเหตุทุจริต หรือมีความประพฤติเสื่อม

เสยี หรือบกพรอ งในศลี ธรรมอนั ดี

๕๑ เพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญตั อิ าคารชดุ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๕๒ เพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๑๘

(๓) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจาก
ราชการ องคก ารหรือหนวยงานของรฐั หรือเอกชน ฐาน
ทจุ รติ ตอหนา ที่

(๔) เคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึง
ท่ีสุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดท่ีได
กระทาํ โดยประมาทหรือความผดิ ลหโุ ทษ

มาตรา ๓๗/๓๕๓ นอกจากการพนจาก การพนจาก
ตาํ แหนง ตามวาระ กรรมการพนจากตาํ แหนง เม่ือ ตาํ แหนง

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ไมไดเปนบุคคลตามมาตรา ๓๗/๑ หรือมี
ลกั ษณะตองหา มตามมาตรา ๓๗/๒
(๔) ท่ีประชุมใหญเจาของรวมมีมติตามมาตรา
๔๔ ใหพ นจากตาํ แหนง
มาตรา ๓๗/๔๕๔ ใหคณะกรรมการเลือก การเลอื กประธาน
กรรมการคนหน่ึงเปนประธานกรรมการและจะเลือก
กรรมการคนหนึง่ เปน รองประธานกรรมการกไ็ ด
มาตรา ๓๗/๕๕๕ ใหประธานกรรมการเปน การเรียกประชุม
ผูเรียกประชุมคณะกรรมการ และในกรณีท่ีกรรมการ

๕๓ เพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั อิ าคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๕๔ เพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชุด (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๕๕ เพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัตอิ าคารชดุ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๑๙

ตั้ ง แ ต ส อ ง ค น ข้ึ น ไ ป ร อ ง ข อ ใ ห เ รี ย ก ป ร ะ ชุ ม

คณะกรรมการ ใหประธานกรรมการกําหนดวันประชุม

ภายในเจ็ดวันนบั แตว ันทีไ่ ดรับการรอ งขอ

มาตรา ๓๗/๖๕๖ การประชุมของคณะกรรมการ องคประชุม

ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของ

จํานวนกรรมการท้ังหมด จึงจะเปนองคประชุม

ในการประชุมคณะกรรมการถาประธาน ประธานที่ประชุม

กรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ีไดให

รองประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม ถาไม

มีรองประธานกรรมการหรือมีแตไมอาจปฏิบัติหนาที่

ได ใหกรรมการซ่ึงมาประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึง

เปน ประธานในที่ประชุม

การวินิจฉัยช้ีขาดของท่ีประชุมใหถือเสียงขาง มติถอื เสยี งขา ง

มาก กรรมการคนหน่ึงใหมีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน มาก

ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในท่ีประชุมออก

เสียงเพม่ิ ข้นึ อีกเสียงหน่งึ เปนเสยี งช้ขี าด

มาตรา ๓๘๕๗ คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ อํานาจหนา ท่ี

ดงั ตอ ไปนี้ คณะกรรมการ

(๑) ควบคมุ การจดั การนติ ิบคุ คลอาคารชุด

(๒) แตงต้ังกรรมการคนหน่ึงขึ้นทําหนาที่เปน

๕๖ เพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัติอาคารชดุ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๕๗ เพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญัตอิ าคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๒๐

ผูจัดการ ในกรณีท่ีไมมีผูจัดการหรือผูจัดการไม
สามารถปฏบิ ตั ิหนา ทีต่ ามปกติไดเ กนิ เจด็ วนั

(๓) จัดประชุมคณะกรรมการหน่ึงครั้งในทุก
หกเดอื นเปน อยา งนอ ย

(๔) หนาทอ่ี ื่นตามทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๓๘/๑๕๘ ใหนิติบุคคลอาคารชุดจัดทํา งบดุล
งบดุลอยางนอยหน่ึงครั้งทุกรอบสิบสองเดือนโดยให
ถอื วาเปน รอบปใ นทางบัญชขี องนิตบิ คุ คลอาคารชดุ นน้ั
งบดุลตามวรรคหนึ่งตองมีรายการแสดงจํานวน รายละเอียดงบดุล
สินทรัพยและหนี้สินของนิติบุคคลอาคารชุดกับท้ังบัญชี
รายรับรายจาย และตองจัดใหมีผูสอบบัญชีตรวจสอบ
แลวนําเสนอเพื่ออนุมัติในท่ีประชุมใหญเจาของรวม
ภายในหน่ึงรอยยี่สิบวันนบั แตว นั สิ้นปท างบญั ชี
มาตรา ๓๘/๒๕๙ ใหนิติบุคคลอาคารชุดจัดทํา รายงานประจําป
รายงานประจําปแสดงผลการดําเนินงานเสนอตอท่ี
ประชุมใหญเจาของรวมพรอมกับการเสนองบดุล และ
ใหสงสําเนาเอกสารดังกลาวใหแกเจาของรวมกอนวันนัด
ประชมุ ใหญลวงหนาไมนอยกวา เจ็ดวนั

๕๘ เพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญตั อิ าคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๕๙ เพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๒๑

มาตรา ๓๘/๓๖๐ ใหนิติบุคคลอาคารชุดเก็บ การเก็บรักษา
รักษารายงานประจําปแสดงผลการดําเนินงานและงบ รายงานฯ
ดุล พรอมทั้งขอบังคับไวท่ีสํานักงานของนิติบุคคล
อาคารชุดเพื่อใหพนักงานเจาหนาท่ีหรือเจาของรวม
ตรวจดไู ด

รายงานประจําปแสดงผลการดําเนินงานและ
งบดุลตามวรรคหนึ่ง ใหนิติบุคคลอาคารชุดเก็บรักษา
ไวไมนอยกวาสิบปนับแตวันที่ไดรับอนุมัติจากท่ี
ประชุมใหญเ จาของรว ม

มาตรา ๓๙ นิติบุคคลอาคารชุดอาจใชสิทธิ การตอ สคู ดีใน
ของเจาของรวมครอบไปถึงทรัพยสวนกลางท้ังหมด ทรัพยสวนกลาง
ในการตอสูบุคคลภายนอก หรือเรียกรองเอาทรัพยสิน
คืน เพอ่ื ประโยชนของเจาของรว มทั้งหมดได

มาตรา ๔๐ ใหเจาของรวมชําระเงินใหแกนิติ คา ใชจ ายทเ่ี จาของ
บุคคลอาคารชุดเพ่ือดําเนินกิจการของนิติบุคคลอาคาร รวมตองชําระ
ชุด ดังตอ ไปนี้

(๑) เงินคาใชจายของนิติบุคคลอาคารชุดท่ี
เจาของแตล ะหองชุดจะตองชาํ ระลวงหนา

(๒) เงินทุนเม่ือเริ่มตนกระทํากิจการอยางใด
อยางหนง่ึ ตามขอ บังคับ หรอื ตามมตขิ องที่ประชุมใหญ

(๓) เงินอ่ืนเพ่ือปฏิบัติตามมติของท่ีประชุม

๖๐ เพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั อิ าคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๒๒

ใหญภ ายใตเ งือ่ นไขซ่งึ ทป่ี ระชมุ ใหญกําหนด
มาตรา ๔๑ เพ่ือประโยชนในการบังคับชําระ บรุ มิ สิทธ์ิของนิติ

หนี้อันเกิดจากคาใชจายตามมาตรา ๑๘ ใหนิติบุคคล บคุ คลอาคารชุด
อาคารชุดมบี ุริมสิทธิ ดงั น้ี

(๑) บุริมสิทธิเกี่ยวกับคาใชจายตามมาตรา ๑๘ - เหนือสงั หาฯ
วรรคหนึ่ง ใหถือวาเปนบุริมสิทธิในลําดับเดียวกับ
บุริมสิทธิตามมาตรา ๒๕๙ (๑) แหงประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย และมีอยูเหนือสังหาริมทรัพยท่ีเจาของ
หอ งชุดนัน้ นํามาไวใ นหอ งชุดของตน

(๒) บรุ ิมสิทธิเก่ียวกบั คา ใชจ า ยตามมาตรา ๑๘ - เหนอื ทรพั ยส ว น
วรรคสอง ใหถือวาเปนบุริมสิทธิในลําดับเดียวกับ บคุ คล
บุริมสิทธิตามมาตรา ๒๗๓ (๑) แหงประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย และมีอยูเหนือทรัพยสวนบุคคลของ
แตล ะเจา ของหอ งชดุ

บุริมสิทธิตาม (๒) ถาผูจัดการไดสงรายการ - ลําดบั เหนือ
หน้ีตอพนักงานเจาหนาที่แลวใหถือวาอยูในลําดับกอน จํานอง
จํานอง

มาตรา ๔๒๖๑ ใหผูจัดการจัดใหมีการประชุม การประชุมใหญ
ใหญ โดยถือวาเปนการประชุมใหญสามัญครั้งแรก ครั้งแรก
ภายในหกเดือนนับแตวันที่ไดจดทะเบียนนิติบุคคล
อาคารชุดเพ่ือแตงตั้งคณะกรรมการ และพิจารณาให

๖๑ เพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชุด (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๒๓

ความเห็นชอบขอบังคับและผูจัดการท่ีจดทะเบียน
ตามทไ่ี ดย นื่ ขอจดทะเบียนนติ ิบุคคลอาคารชุดไวแลว

ในกรณีที่ที่ประชุมใหญสามัญไมเห็นชอบกับ กรณไี มเ หน็ ชอบ
ขอบังคับหรือผูจัดการตามวรรคหนึ่งใหที่ประชุมใหญ
สามัญพิจารณาแกไขหรือเปลี่ยนแปลงขอบังคับ หรือ
ถอดถอนและแตงตั้งผจู ดั การดว ย

มาตรา ๔๒/๑๖๒ ใหคณะกรรมการจัดใหมีการ การประชมุ ใหญ
ประชุมใหญสามัญปละหน่ึงครั้งภายในหนึ่งรอยยี่สิบ ประจาํ ป
วันนับแตวันสิ้นปทางบัญชีของนิติบุคคลอาคารชุดเพื่อ
กิจการ ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) พิจารณาอนุมัติงบดลุ
(๒) พิจารณารายงานประจาํ ป
(๓) แตงตัง้ ผสู อบบญั ชี
(๔) พิจารณาเรือ่ งอนื่ ๆ
มาตรา ๔๒/๒๖๓ ในกรณีมีเหตุจําเปน ให การประชมุ ใหญ
บุคคลดังตอ ไปน้มี สี ิทธเิ รยี กประชุมใหญวิสามัญเมื่อใด เฉพาะ
ก็ได
(๑) ผจู ัดการ
(๒) คณะกรรมการโดยมตเิ กนิ กวาก่ึงหน่ึงของ
ทป่ี ระชุมคณะกรรมการ

๖๒ เพิม่ เตมิ โดยพระราชบัญญัตอิ าคารชุด (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๖๓ เพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติอาคารชุด (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๒๔

(๓) เจาของรวมไมนอยกวารอยละย่ีสิบของ
คะแนนเสียงเจาของรวมทั้งหมดลงลายมือชื่อทํา
หนังสือรองขอใหเปดประชุมตอคณะกรรมการ ใน
กรณีนี้ ใหคณะกรรมการจัดใหมีการประชุมภายในสิบ
หาวันนับแตวันรับคํารองขอ ถาคณะกรรมการมิไดจัด
ใหมีการประชุมภายในกําหนดเวลาดังกลาว เจาของ
รวมตามจํานวนขางตนมีสิทธิจัดใหมีการประชุมใหญ
วิสามัญเองได โดยใหแตงตั้งตัวแทนคนหน่ึงเพ่ือออก
หนังสอื เรยี กประชุม

มาตรา ๔๒/๓๖๔ การเรียกประชุมใหญตองทํา หนังสือนัด
เปนหนังสือนัดประชุมระบุสถานท่ี วัน เวลาระเบียบ ประชมุ ใหญ
วาระการประชมุ และเรอื่ งทีจ่ ะเสนอตอท่ีประชุมพรอม
ดวยรายละเอียดตามสมควรและจัดสงใหเจาของรวม
ไมนอ ยกวา เจ็ดวันกอ นวนั ประชุม

มาตรา ๔๓๖๕ การประชุมใหญตองมีผูมา องคประชุมใหญ
ประชุมซ่ึงมีเสียงลงคะแนนรวมกันไมนอยกวาหนึ่งใน
ส่ีของจํานวนเสียงลงคะแนนท้ังหมด จึงจะเปนองค
ประชมุ

ในกรณีที่เจาของรวมมาประชุมไมครบองค องคประชุมไม
ประชุมตามที่กําหนดไวในวรรคหนึ่ง ใหเรียกประชุม ครบ

๖๔ เพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๖๕ แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั อิ าคารชุด (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๒๕

ใหมภายในสิบหาวันนับแตวันเรียกประชุมคร้ังกอน

และการประชุมใหญครั้งหลังนี้ไมบังคับวาจะตองครบ

องคประชมุ

ผูจัดการหรือคูสมรสของผูจัดการจะเปน ผูตองหา มเปน

ประธานในการประชุมใหญม ไิ ด ประธาน

มาตรา ๔๔ มติของที่ประชุมใหญตองไดรับ มติท่ีประชุม

คะแนนเสียงขางมากของเจาของรวมที่เขาประชุม เวน

แตพ ระราชบัญญตั นิ ีจ้ ะไดกาํ หนดไวเปน อยางอื่น

มาตรา ๔๕ ในการลงคะแนนเสียง ใหเจาของ การลงคะแนน

รวมแตละรายมีคะแนนเสียงเทากับอัตราสวนท่ีตนมี

กรรมสิทธใ์ิ นทรัพยสว นกลาง

ถาเจาของรวมคนเดียวมีคะแนนเสียงเกินกึ่ง กรณีคนเดียวเสียง

หนึ่งของจํานวนคะแนนเสียงท้ังหมดใหลดจํานวน เกินคร่ึง

คะแนนเสยี งของผนู น้ั ลงมาเหลือเทากับจํานวนคะแนน

เสียงของบรรดาเจาของรวมอน่ื ๆ รวมกัน

มาตรา ๔๖ เมื่อมีขอบังคับกําหนดใหเจาของ กรณขี อบังคบั

รวมเพียงบางคนตองเสียคาใชจายในการใดโดยเฉพาะ เฉพาะรายงาน

ใหเจาของรวมเหลาน้ีเทาน้ันมีสวนออกเสียงในมติท่ี

เกี่ยวกับคาใชจายในการนั้น โดยแตละคนมีคะแนน

เสียงตามอัตราสวนที่กําหนดไวในขอบังคับตามมาตรา

๑๘ วรรคหน่งึ

๓๒๖

มาตรา ๔๗๖๖ เจาของรวมอาจมอบฉันทะเปน การมอบฉันทะ

หนังสือใหผูอ่ืนออกเสียงแทนตนได แตผูรับมอบ ประชมุ แทน

ฉันทะคนหน่ึงจะรับมอบฉันทะใหออกเสียงในการ

ประชุมคร้งั หน่งึ เกนิ สามหอ งชุดมไิ ด

บุคคลดังตอไปน้ีจะรับมอบฉันทะใหออก บคุ คลตอ งหา มรับ

เสียงแทนเจา ของรวมมิได มอบฉนั ทะ

(๑) กรรมการและคสู มรสของกรรมการ

(๒) ผูจดั การและคสู มรสของผจู ดั การ

(๓) พนักงานหรือลูกจางของนิติบุคคลอาคาร

ชุดหรอื ของผรู ับจา งของนิตบิ คุ คลอาคารชุด

(๔) พนักงานหรือลูกจางของผูจัดการ ในกรณี

ที่ผูจัดการเปน นติ ิบุคคล

มาตรา ๔๘๖๗ มติเก่ียวกับเร่ืองดังตอไปน้ี ตอง กรณมี ตทิ ่ีตองใช

ไดรับคะแนนเสียงไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวน เสยี งไมน อยกวา
กง่ึ หน่ึง
คะแนนเสียงของเจา ของรวมท้ังหมด

(๑) การซื้ออสังหาริมทรัพยหรือรับการให

อสงั หาริมทรพั ยท มี่ คี า ภาระตดิ พันเปนทรพั ยส ว นกลาง

(๒) การจําหนายทรัพยสวนกลางท่ีเปน

อสงั หารมิ ทรพั ย

(๓) การอนุญาตใหเจาของรวมทําการกอสราง

๖๖ แกไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัตอิ าคารชดุ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๖๗ แกไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัตอิ าคารชุด (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๒๗

ตกแตง ปรับปรุง เปล่ียนแปลงหรือตอเติมหองชุดของ

ตนเองท่ีมีผลกระทบตอทรัพยสวนกลางหรือลักษณะ

ภายนอกของอาคารชุดโดยคาใชจ า ยของผนู นั้ เอง

(๔) การแกไขเปล่ียนแปลงขอบังคับเก่ียวกับ

การใชห รือการจัดการทรัพยสวนกลาง

(๕) การแกไขเปลี่ยนแปลงอัตราสวน

คา ใชจายรว มกนั ในขอ บังคับตามมาตรา ๓๒ (๘)

(๖) การกอสรางอันเปนการเปลี่ยนแปลง

เพ่มิ เตมิ หรือปรบั ปรงุ ทรพั ยส วนกลาง

(๗) การจัดหาผลประโยชนใ นทรพั ยส ว นกลาง

ในกรณีที่เจาของรวมเขาประชุมมีคะแนน กรณีเสียงไมครบ

เสียงไมครบตามที่กําหนดไวในวรรคหน่ึง ใหเรียก เรียกประชุมใหม

ประชุมใหมภายในสิบหาวันนับแตวันเรียกประชุมครั้ง

กอ น และมติเก่ยี วกบั เรื่องท่ีบัญญัติไวตามวรรคหน่ึงใน

การประชุมคร้ังใหมน้ีตองไดรับคะแนนเสียงไมนอย

กวาหนึ่งในสามของจํานวนคะแนนเสียงของเจาของ

รว มทงั้ หมด

มาตรา ๔๙๖๘ มติเกี่ยวกับเร่ืองดังตอไปน้ี ตอง กรณีมตทิ ี่ตองใช

ไดรับคะแนนเสียงไมนอยกวาหนึ่งในส่ีของจํานวน เสยี งไมนอยกวา

คะแนนเสียงของเจาของรว มท้ังหมด หนงึ่ ในสี่

(๑) การแตงตงั้ หรือถอดถอนผูจัดการ

๖๘ แกไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัติอาคารชดุ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

๓๒๘

(๒) การกําหนดกิจการท่ีผูจัดการมีอํานาจ
มอบหมายใหผ ูอ น่ื ทําแทน

มาตรา ๕๐ ในกรณีท่ีอาคารชุดเสียหาย กรณีอาคารชดุ
ท้ังหมดหรือเปนบางสวนแตเกินครึ่งหนึ่งของจํานวน เสยี หายหมดหรือ
หองชุดท้ังหมด ถาเจาของรวมมีมติโดยคะแนนเสียงตาม เกินครึ่ง
มาตรา ๔๘ ใหกอสรางหรือซอมแซมอาคารสวนที่
เสียหายน้ันใหนิติบุคคลอาคารชุดจัดการกอสรางหรือ
ซอ มแซมอาคารสวนทีเ่ สยี หายใหค ืนดี

ในกรณีที่อาคารชุดเสียหายเปนบางสวนแตนอย กรณีเสยี หายนอย
กวาคร่ึงหน่ึงของจํานวนหองชุดทั้งหมด ถาสวนใหญ กวาคร่ึง
ของเจาของหองชุดที่เสียหายมีมติใหกอสรางหรือ
ซอมแซมอาคารสวนท่ีเสียหายนั้น ใหนิติบุคคลอาคาร
ชุดจัดการกอสรางหรือซอมแซมอาคารสวนท่ีเสียหาย
นัน้ ใหคนื ดี

คาใชจายในการกอสรางหรือซอมแซมอาคาร คา ใชจายกอสราง
ท่ีเสียหายสําหรับท่ีเปนทรัพยสวนกลาง ใหเจาของรวม ซอ มแซม
ทุกคนในอาคารชุดเฉลี่ยออกตามอัตราสวนที่เจาของ
รวมแตละคนมีกรรมสิทธ์ิในทรัพยสวนกลาง สวน
คาใชจายในการกอสรางหรือซอมแซมสําหรับท่ีเปน
ทรัพยสวนบุคคลใหตกเปนภาระของเจาของหองชุดท่ี
เสยี หายน้ัน

หองชุดท่ีกอสรางขึ้นใหมตามวรรคหน่ึงหรือ กรณีกอ สรางใหม
วรรคสองใหถือวาแทนท่ีหองชุดเดิมและใหถือวา

๓๒๙

หนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดเดิมเปนหนังสือกรรมสิทธิ์
หองชุดสําหรับหองชุดที่กอสรางข้ึนใหมน้ัน ถา
รายละเอยี ดในหนงั สือกรรมสิทธ์ิหองชุดเดิมไมตรงกับ
หองชุดท่ีกอสรางข้ึนใหม ใหพนักงานเจาหนาท่ีมี
อาํ นาจแกไขใหถูกตอ ง

ถา มีมติไมกอสรางหรือซอมแซมอาคารสวนท่ี มตไิ มกอสราง/
เสียหายตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ใหนํามาตรา ๓๔ ซอ มแซม
มาใชบ ังคบั โดยอนุโลม

เมือ่ เจา ของหองชุดที่ไมกอสรางหรือซอมแซม กรณีหอ งชดุ ไม
สวนที่เสียหายไดรับคาชดใชราคาทรัพยสวนกลางจาก กอสรางใหม/
เจาของรวมแลว หนังสือกรรมสิทธิ์หองชุดของหองชุด ซอมแซม
ดังกลาวเปนอันยกเลิก และใหเจาของสงคืนพนักงาน
เจาหนาท่ีภายในสามสิบวันนับแตวันไดรับชดใชราคา
ทรัพยสวนกลางเพ่ือหมายเหตุการยกเลิกในหนังสือ
กรรมสิทธ์ิหองชุดท้ังฉบับเจาของหองชุดและฉบับที่
เก็บไวที่สํานักงานพนักงานเจาหนาท่ี และใหพนักงาน
เจาหนาท่ีประกาศการยกเลิกหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุด
น้นั ในราชกจิ จานเุ บกษา

หมวด ๖

การเลกิ อาคารชดุ

มาตรา ๕๑ อาคารชุดท่ีไดจดทะเบียนไวอาจ เหตใุ นการเลิก

เลิกไดด ว ยเหตใุ ดเหตหุ นึง่ ดงั ตอไปนี้ อาคารชุด

๓๓๐

(๑) ในกรณีที่ยังไมไดจดทะเบียนนิติบุคคล
อาคารชุด ผูขอจดทะเบียนอาคารชุดหรือผูรับโอน
กรรมสิทธิ์ในหองชุดท้ังหมดในอาคารชุดแลวแตกรณี
ขอเลกิ อาคารชุด

(๒) เจาของรวมมีมติเปนเอกฉันทใหเลิก
อาคารชดุ

(๓) อาคารชุดเสียหายท้ังหมด และเจาของรวมมี
มติไมก อ สรา งอาคารน้นั ข้ึนใหม

(๔) อาคารชุดถูกเวนคืนทั้งหมดตามกฎหมาย
วา ดวยการเวนคืนอสงั หาริมทรัพย

มาตรา ๕๒ ในกรณีที่อาคารชุดเลิกเพราะเหตุ กรณเี ลิกเพราะ
ตามมาตรา ๕๑ (๑) ใหผูขอเลิกย่ืนคําขอจดทะเบียนเลิก ขายยกอาคาร
อาคารชุดตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดตอ (ม.๕๑(๑))
พนกั งานเจาหนาที่

เมอื่ พนักงานเจาหนาที่พิจารณาเห็นวาเปนการ
ถูกตอง ใหพนักงานเจาหนาที่จดทะเบียนเลิกอาคารชุด
และใหป ระกาศการจดทะเบยี นเลกิ อาคารชุดนั้นในราช
กจิ จานเุ บกษา

เม่ือจดทะเบียนเลิกอาคารชุดตามมาตรานี้แลว
ใหนํามาตรา ๕๔ และมาตรา ๕๕ มาใชบังคับโดย
อนุโลม

มาตรา ๕๓ ในกรณีท่ีอาคารชุดเลิกเพราะเหตุ กรณเี ลกิ เพราะมี
ตามมาตรา ๕๑ (๒) หรือ (๓) ใหผูจัดการนิติบุคคล มติ (ม.๕๑(๒)

๓๓๑

อาคารชุดย่ืนคําขอจดทะเบียนเลิกอาคารชุดตามแบบที่ หรือ (๓))
รัฐมนตรีประกาศกําหนดตอพนักงานเจาหนาที่พรอม
ดวยหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุด และสําเนารายงานการ
ประชุมของเจาของรวมที่มีมติใหเลิกอาคารชุดน้ันหรือ
ที่มีมติไมกอสรางอาคารชุดน้ันขึ้นใหมโดยมีผูจัดการ
นิติบุคคลอาคารชุดรับรองวาเปนสําเนาถูกตอง แลวแต
กรณี ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ท่ีประชุมเจาของ
รวมลงมติ

เมื่อพนักงานเจาหนาที่พิจารณาเห็นวาเปนการ
ถูกตอง ก็ใหรับจดทะเบียนเลิกอาคารชุดและให
ประกาศการจดทะเบียนเลิกอาคารชุดน้ันในราชกิจจา
นเุ บกษา

มาตรา ๕๔ เมื่อไดจดทะเบียนเลิกอาคารชุด ยกเลิกหนังสือ
ตามมาตรา ๕๒ หรือมาตรา ๕๓ แลว ใหหนังสือ กรรมสทิ ธหิ์ องชุด
กรรมสิทธิ์หองชุดของอาคารชุดน้ันเปนอันยกเลิก และ
ใหพนักงานเจาหนาท่ีหมายเหตุการยกเลิกในฉบับ
เจาของหองชุดและฉบับที่เก็บไวท่ีสํานักงานพนักงาน
เจา หนา ที่

ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจมีหนังสือเรียก การเรียกฉบับ
หนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดฉบับเจาของหองชุดที่ยกเลิก เจา ของคนื
คืนจากเจาของหรือผูครอบครองเพ่ือดําเนินการตาม
วรรคหนึ่ง และใหเจาของหองชุดหรือผูครอบครองสง
หนงั สอื กรรมสิทธ์ิหองชุดแกพนักงานเจาหนาที่ภายใน

๓๓๒

สามสบิ วันนบั แตว นั ไดรับหนงั สือเรียก
มาตรา ๕๕ ใหพนักงานเจาหนาท่ีสงหนังสือ การดาํ เนินการ

กรรมสิทธ์ิหองชุดที่ยกเลิกฉบับที่เก็บไวท่ีสํานักงาน เกย่ี วกบั โฉนดของ
ของพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งไดหมายเหตุการยกเลิกตาม เจาหนา ท่กี รณีเลิก
มาตรา ๕๔ แลว พรอมสําเนาคําขอจดทะเบียนเลิก อาคารชดุ แลว
อาคารชุดไปใหเจาพนักงานท่ีดินทองท่ีจดแจงใน
สารบัญสําหรับจดทะเบียนของโฉนดที่ดินเดิม โดย
แสดงชื่อเจาของรวมที่มีช่ือในคําขอจดทะเบียนขอเลิก
อาคารชุดเปนผูถือกรรมสิทธ์ิรวมตามอัตราสวนท่ี
เจาของรวมแตละคนถือกรรมสิทธิ์ในทรัพยสวนกลาง
พรอมท้ังรายการภาระผูกพันอื่นท่ีปรากฏในหนังสือ
กรรมสิทธิห์ องชุดน้ัน

เมื่อเจาพนักงานท่ีดินไดจดแจงในโฉนดท่ีดิน
ตามวรรคหน่ึงแลว ใหท่ีดินนั้นพนจากการอยูภายใต
บทบังคับตามพระราชบัญญัตินี้ และใหเจาพนักงาน
ท่ดี นิ คนื โฉนดท่ดี ินน้นั ใหแ กผ ถู ือกรรมสิทธิ์

๖๙คนตางดาวหรือนิติบุคคลตามท่ีระบุไวใน การดาํ เนนิ การ
มาตรา ๑๙ ที่มีชื่อเปนผูถือกรรมสิทธ์ิในโฉนดท่ีดินอัน เกย่ี วกับตางดาว
สืบเนื่องมาจากการจดทะเบียนเลิกอาคารชุดตามวรรค
หน่ึง ตองจําหนายท่ีดินน้ันเฉพาะสวนของตนภายใน
กําหนดเวลาไมเกินหน่ึงปนับแตวันที่จดทะเบียนเลิก

๖๙ เพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชดุ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔

๓๓๓

อาคารชดุ ถาไมจําหนายภายในกําหนดเวลาดังกลาวให
นําความในมาตรา ๑๙ เบญจ วรรคสี่ มาใชบังคับโดย
อนุโลม

มาตรา ๕๖ ในกรณีท่ีอาคารชุดเลิกเพราะเหตุ กรณีเลิกเพราะถูก
ตามมาตรา ๕๑ (๔) ใหหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดของ เวนคนื
อาคารชุดน้ันเปนอันยกเลิก ใหพนักงานเจาหนาที่จด
ทะเบียนเลิกอาคารชุดและใหประกาศการจดทะเบียน
เลกิ อาคารชดุ น้ันในราชกจิ จานเุ บกษา

ในกรณีตามวรรคหน่ึง การจดแจงในสารบัญ
สําหรับจดทะเบียนของหนังสือกรรมสิทธ์ิหองชุดและ
ของโฉนดที่ดินเดิม ใหเปนไปตามที่กําหนดใน
กฎกระทรวง

มาตรา ๕๗ เมื่อมีการจดทะเบียนเลิกอาคาร ตัง้ ผูชําระบญั ชี
ชุด ใหนิติบุคคลอาคารชุดเปนอันเลิก และใหท่ีประชุม
เจาของรวมต้ังผูชําระบัญชีภายในสิบส่ีวันนับแตวันท่ี
จดทะเบียนเลิกอาคารชดุ

มาตรา ๕๘ ผูชําระบัญชีมีอํานาจจําหนาย อาํ นาจผูชําระ
ทรัพยสวนกลางที่เปนสังหาริมทรัพย เวนแตที่ประชุม บญั ชี
เจา ของรว มจะมมี ติเปนอยางอ่นื

มาตรา ๕๙ ใหนําบทบัญญัติแหงประมวล นาํ ป.พ.พ.มาใช
กฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะ ๒๒ หุนสวนและ ชําระบญั ชี
บริษัท หมวด ๕ การชาํ ระบญั ชีหา งหุน สว นจดทะเบยี น
หางหุนสวนจํากัด และบริษัทจํากัด มาใชบังคับแกการ

๓๓๔

ชําระบญั ชขี องนิตบิ คุ คลอาคารชุดโดยอนโุ ลม
มาตรา ๖๐ เม่ือไดชําระบัญชีเสร็จแลว ถามี อัตราสวนการรับ

ทรัพยสินเหลืออยูเทาใด ใหแบงใหแกเจาของรวมตาม แบง สว นเหลือ
อัตราสวนที่เจาของรวมแตละคนมีกรรมสิทธ์ิในทรัพย
สวนกลาง

หมวด ๖/๑๗๐
พนักงานเจา หนา ที่

ม า ต ร า ๖ ๐ / ๑ ๗๑ ในการปฏิ บั ติ การตาม อํานาจพนักงาน
พระราชบัญญัติน้ี ใหพนักงานเจาหนาที่๗๒ มีอํานาจ เจา หนาที่
ดังตอ ไปน้ี

(๑) มหี นงั สอื เรยี กบุคคลใดมาใหถอยคํา ชี้แจง - เรียกบุคคล/
ขอเท็จจริงหรือทําคําชี้แจงเปนหนังสือ หรือใหสง เอกสาร
เอกสาร บัญชี ทะเบียน หรือหลักฐานใดเพื่อ
ประกอบการพิจารณาหรือตรวจสอบการปฏิบัติการ
ตามพระราชบัญญัติน้ี

(๒) เขาไปในท่ีดินและอาคารที่ขอจดทะเบียน - เขาทด่ี ินและ
อาคารชุด หรือที่ดิน อาคาร หรือสถานท่ีที่เปนทรัพย อาคาร

๗๐ เพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญตั อิ าคารชดุ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๗๑ เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัตอิ าคารชดุ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๗๒ คาํ สงั่ กระทรวงมหาดไทย ที่ ๑๙๘/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑
เร่ือง แตงต้งั พนักงานเจา หนาที่ตามพระราชบญั ญตั ิอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒

๓๓๕

สวนกลางของอาคารชุด เพื่อสอบถามขอเท็จจริง

ตรวจดูเอกสารหรือหลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณา

หรอื ตรวจสอบการปฏบิ ัติการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

(๓) อายัดเอกสาร บัญชี ทะเบียน หรือ - อายัด

หลักฐานเพ่อื ประโยชนใ นการตรวจสอบและดําเนินคดี

ตามพระราชบญั ญตั ินี้

การปฏิบัติหนาท่ีตาม (๒) พนักงานเจาหนาที่ เขา อาคารหา ม

ตองไมกระทําการอันมีลักษณะเปนการขมขูหรือตรวจ ขม ขหู รือตรวจ
คน
คนตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา

ในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ การอํานวยความ

ตามวรรคหนงึ่ ใหผูท ี่เกี่ยวของอํานวยความสะดวกตาม สะดวก

สมควร

ม า ต ร า ๖ ๐ / ๒ ๗๓ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ แสดงบตั ร

พนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัวแกบุคคลท่ี

เกีย่ วของ

บัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ ใหเปนไป แบบบัตร

ตามแบบท่รี ฐั มนตรีประกาศกาํ หนด๗๔

๗๓ เพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญตั อิ าคารชุด (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๗๔ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กําหนดแบบบัตรประจําตัวพนักงาน
เจาหนาทีต่ ามพระราชบญั ญตั อิ าคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ ลงวนั ท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑

๓๓๖

มาตรา ๖๐/๓๗๕ ในการปฏิบัติหนาท่ีตาม บทกําหนดใหเ ปน

พระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่เปนเจา เจา พนกั งาน ป.

พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา อาญา

หมวด ๗

คา ธรรมเนียมและคา ใชจาย

มาตรา ๖๑ การขอและการจดทะเบียนอาคาร อตั รา
ชุดหรือนิติบุคคลอาคารชุด การขอและการจดทะเบียน คาธรรมเนียมและ
เลิกอาคารชุด การเปลี่ยนแปลงขอบังคับ การออก คาใชจาย

ห นั ง สื อ ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ห อ ง ชุ ด ห รื อ ใ บ แ ท น ห นั ง สื อ

กรรมสทิ ธ์หิ อ งชุด การขอและการจดทะเบียนสิทธิและ

นิติกรรมหรือการทําธุรกิจอ่ืนเก่ียวกับหองชุด ใหผูขอ

เสียคาธรรมเนียมและคาใชจายตามท่ีกําหนดใน
กฎกระทรวง๗๖

มาตรา ๖๒๗๗ ใหนําบทบัญญัติแหงประมวล นําหมวด ๑๑
กฎหมายท่ีดิน หมวด ๑๑ คาธรรมเนียมมาใชบังคับแก ป.ที่ดิน มาใช
การเรียกเก็บคาธรรมเนียมตามพระราชบัญญัติน้ีโดย บังคับ

อนโุ ลม

๗๕ เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑
๗๖ กฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียม และคาใชจายเก่ียวกับอาคารชุด พ.ศ.
๒๕๕๓
๗๗ แกไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตอิ าคารชุด (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑


Click to View FlipBook Version