The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่ง กรมที่ดิน ประจำปี 2557 (ปี 2557)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

ในการสอบสวนและพิจารณาห้ามมิให้มีบุคคลอ่ืนอยู่หรือร่วมด้วย  เว้นแต่เป็น
การสอบปากค�ำ ตามขอ้ ๓๒ หรอื เป็นกรณีทีก่ ฎ ก.พ. น ้ี ก�ำ หนดไว้เปน็ อยา่ งอน่ื
ข้อ ๒๗ ให้ประธานกรรมการจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการสอบสวนครั้งแรก
ภายในเจด็ วนั นบั แตว่ ันทป่ี ระธานกรรมการรบั เรอื่ งตามขอ้ ๒๑ (๒) และ (๓) ในกรณที ีไ่ ม่อาจ
จัดประชุมได้ภายในกำ�หนด  ให้รายงานเหตุผลและความจำ�เป็นให้ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนทราบ
ในการประชุมคณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่ง  ให้คณะกรรมการสอบสวน
ก�ำ หนดประเดน็ และวางแนวทางการสอบสวนและการรวบรวมพยานหลกั ฐาน
ข้อ ๒๘ เม่ือได้วางแนวทางการสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐานตาม
ข้อ ๒๗ แล้ว ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนดำ�เนินการดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) รวบรวมข้อเท็จจริง ขอ้ กฎหมาย และพยานหลกั ฐานท่เี กย่ี วขอ้ ง
(๒) แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหา
ทราบ
(๓) ใหโ้ อกาสผู้ถูกกลา่ วหาได้ชีแ้ จงแสดงพยานหลักฐานเพ่ือแกข้ อ้ กล่าวหา
(๔) พิจารณาท�ำ ความเหน็ เก่ยี วกบั เรือ่ งท่ีสอบสวน
(๕) ทำ�รายงานการสอบสวนพร้อมความเห็นเสนอต่อผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวน
ข้อ ๒๙ ให้คณะกรรมการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานท้ังปวงท่ีเห็นว่าเป็น
ประโยชน์แก่การสอบสวน  โดยไม่รับฟังแต่เพียงข้ออ้างหรือพยานหลักฐานของผู้กล่าวหาหรือ
ผ้ถู กู กลา่ วหาเทา่ นนั้
ในกรณีที่ปรากฏว่ามีข้อเท็จจริงใดที่กล่าวอ้างหรือพาดพิงถึงบุคคล  เอกสาร  หรือ
วัตถุใดที่จะเป็นประโยชน์แก่การสอบสวน  ให้คณะกรรมการสอบสวนทำ�การสอบสวนและ
รวบรวมพยานหลักฐานน้ันไว้ให้ครบถ้วน  ถ้าไม่อาจเข้าถึงหรือได้มาซึ่งพยานหลักฐานดังกล่าว
ให้บนั ทกึ เหตนุ นั้ ไวด้ ้วย
ข้อ ๓๐ ในการสอบปากคำ�ผู้ถูกกล่าวหาหรือพยานให้สอบปากคำ�คราวละหนึ่งคน
และในการสอบปากค�ำ พยาน ตอ้ งแจง้ ใหพ้ ยานทราบวา่ กรรมการสอบสวนมฐี านะเปน็ เจา้ พนกั งาน
ตามประมวลกฎหมายอาญา การให้ถอ้ ยคำ�อนั เป็นเทจ็ อาจเป็นความผิดตามกฎหมาย
การสอบปากคำ�ตามวรรคหนึ่ง  ต้องมีกรรมการสอบสวนไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงของ
จำ�นวนกรรมการสอบสวนทั้งหมดจึงจะทำ�การสอบปากคำ�ได้  แต่ในกรณีท่ีก่ึงหน่ึงของจำ�นวน
กรรมการสอบสวนทั้งหมดมีมากกว่าสามคน  จะให้กรรมการสอบสวนไม่น้อยกว่าสามคนทำ�การ
สอบปากค�ำ กไ็ ด ้

๔๗

ข้อ ๓๑ การสอบปากคำ�ตามข้อ ๓๐ ตอ้ งมกี ารบันทึกถอ้ ยค�ำ ของผูใ้ ห้ถ้อยค�ำ ตาม
แบบที่สำ�นกั งาน ก.พ. กำ�หนด แลว้ อา่ นใหผ้ ใู้ ห้ถ้อยคำ�ฟงั หรือให้ผูใ้ ห้ถ้อยค�ำ อ่านเองกไ็ ด้ แลว้ ให้
ผู้ให้ถ้อยคำ�  ผู้บันทึกถ้อยคำ�  และกรรมการสอบสวนซ่ึงอยู่ร่วมในการสอบปากคำ�ลงลายมือชื่อ
ในบันทึกถ้อยคำ�น้ันไว้เป็นหลักฐาน  ในกรณีที่บันทึกถ้อยคำ�ใดมีหลายหน้า  ให้ผู้ให้ถ้อยคำ�และ
กรรมการสอบสวนซง่ึ อยรู่ ว่ มในการสอบปากค�ำ หนง่ึ คนลงลายมอื ชอ่ื ก�ำ กบั ไวใ้ นบนั ทกึ ถอ้ ยค�ำ ทกุ หนา้
ในการบนั ทกึ ถ้อยคำ� ห้ามมิให้ขูด ลบ หรอื บันทึกขอ้ ความทบั ขอ้ ความท่ไี ดบ้ นั ทึกไว้
ในบันทึกถอ้ ยค�ำ แลว้ ถา้ จะต้องแก้ไขหรือเพ่มิ เตมิ ขอ้ ความทีบ่ ันทกึ ไว้ ให้ใช้วิธีขดี ฆา่ ขอ้ ความเดิม
และเพ่ิมเตมิ ข้อความใหมด่ ้วยวธิ ีตกเตมิ แล้วให้ผู้ใหถ้ อ้ ยค�ำ และกรรมการสอบสวนซ่งึ อยู่รว่ มใน
การสอบปากคำ�หน่งึ คนลงลายมือช่ือกำ�กับไวต้ รงท่ีมีการแกไ้ ขเพิ่มเติมนั้นทุกแห่ง
ในกรณีท่ีผู้ให้ถ้อยคำ�ไม่ยอมลงลายมือช่ือ  ให้บันทึกเหตุท่ีไม่ลงลายมือชื่อนั้นไว้ใน
บนั ทึกถ้อยคำ�ดว้ ย
ในกรณีท่ีผู้ให้ถ้อยคำ�ไม่สามารถลงลายมือชื่อได้  ให้ดำ�เนินการตามมาตรา  ๙
แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
ขอ้ ๓๒ ในการสอบปากค�ำ ห้ามมใิ ห้บคุ คลอืน่ อยูใ่ นที่สอบปากคำ� เวน้ แต่เปน็ บุคคล
ซง่ึ กรรมการสอบสวนทท่ี �ำ การสอบปากค�ำ อนญุ าตใหอ้ ยใู่ นทส่ี อบสวนเพอ่ื ประโยชนใ์ นการสอบสวน
หรือเป็นทนายความ หรอื ทปี่ รกึ ษาของผ้ถู กู กล่าวหาตามจ�ำ นวนทก่ี รรมการสอบสวนที่ทำ�การสอบ
ปากค�ำ เหน็ สมควรให้เข้ามาในการสอบปากคำ�ผู้ถกู กล่าวหา
ข้อ ๓๓ ห้ามมิให้กรรมการสอบสวนทำ�หรือจัดให้ทำ�การใดๆ  ซ่ึงเป็นการให้คำ�มั่น
สญั ญา ขู่เขญ็ หลอกลวง บังคบั หรือกระท�ำ โดยมชิ อบไม่วา่ ด้วยประการใดๆ เพ่อื จงู ใจให้ผถู้ ูก
กล่าวหาหรือพยานใหถ้ อ้ ยคำ�อยา่ งใด
ขอ้ ๓๔ การนำ�เอกสารหรือวัตถุมาใช้เป็นพยานหลักฐานในสำ�นวนการสอบสวน
ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนจดั ให้มีการบนั ทกึ ไวด้ ว้ ยว่าไดม้ าอย่างไร จากผใู้ ด และเม่อื ใด
เอกสารที่ใช้เป็นพยานหลักฐานในสำ�นวนการสอบสวนให้ใช้ต้นฉบับ  แต่ถ้า
ไม่อาจนำ�ต้นฉบับมาได้  จะใช้สำ�เนาท่ีกรรมการสอบสวนหรือผู้มีหน้าที่รับผิดชอบรับรองว่าเป็น
ส�ำ เนาถูกต้องก็ได้
ในกรณีท่ีไม่สามารถหาต้นฉบับเอกสารได้เพราะสูญหายหรือถูกทำ�ลายหรือโดยเหตุ
ประการอนื่ คณะกรรมการสอบสวนจะสืบจากสำ�เนาเอกสารหรือพยานบุคคลแทนก็ได้
ข้อ ๓๕ ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนเรียกบุคคลใดมาเป็นพยานเพ่ือช้ีแจง
หรอื ให้ถอ้ ยค�ำ ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำ�หนดแล้ว แตบ่ คุ คลนั้นไม่มาหรือมาแตไ่ ม่ช้ีแจงหรือ
ไม่ให้ถ้อยคำ�  หรือในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนไม่อาจเรียกบุคคลใดมาชี้แจงหรือให้ถ้อยคำ�
ไดภ้ ายในเวลาอันควร คณะกรรมการสอบสวนจะไมส่ อบสวนบุคคลนั้นกไ็ ด้ แต่ตอ้ งบันทกึ เหตุน้นั
ไวใ้ นบนั ทกึ ประจำ�วนั ทีม่ ีการสอบสวน และในรายงานการสอบสวนดว้ ย

๔๘

ข้อ ๓๖ ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการสอบสวนพยานบุคคลใดหรือ
การรวบรวมพยานเอกสารหรอื วตั ถใุ ดจะท�ำ ใหก้ ารสอบสวนลา่ ชา้ โดยไมจ่ �ำ เปน็ หรอื พยานหลกั ฐาน
น้ันมใิ ช่สาระส�ำ คัญจะงดสอบสวนหรือไมร่ วบรวมพยานหลกั ฐานนนั้ กไ็ ด้ แต่ต้องบันทึกเหตนุ ้นั ไว้
ในบนั ทึกประจำ�วนั ทม่ี กี ารสอบสวน และในรายงานการสอบสวนด้วย
ขอ้ ๓๗ ในกรณีท่ีจะต้องสอบปากคำ�พยานหรือรวบรวมพยานหลักฐานซ่ึงอยู่
ตา่ งทอ้ งท ่ี ประธานกรรมการจะรายงานตอ่ ผสู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนเพอ่ื ขอใหม้ อบหมาย
ให้หัวหน้าส่วนราชการ  หรือหัวหน้าหน่วยงานในท้องที่น้ันท่ีเป็นข้าราชการฝ่ายพลเรือนสอบ
ปากคำ�พยานหรือรวบรวมพยานหลักฐานแทนก็ได้  โดยกำ�หนดประเด็นหรือข้อสำ�คัญท่ีจะต้อง
สอบสวนไปให้ กรณีเชน่ น้ี ถ้าผสู้ ั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนเห็นควรจะมอบหมายใหห้ วั หนา้
สว่ นราชการหรอื หวั หนา้ หนว่ ยงานน้ันด�ำ เนินการตามท่คี ณะกรรมการสอบสวนรอ้ งขอกไ็ ด้
ในการสอบปากคำ�พยานและรวบรวมพยานหลักฐานตามวรรคหนึ่ง  ให้หัวหน้าส่วน
ราชการหรอื หวั หนา้ หนว่ ยงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเลอื กขา้ ราชการฝา่ ยพลเรอื นทเ่ี หน็ สมควรอยา่ งนอ้ ย
อกี สองคนมาร่วมเป็นคณะท�ำ การสอบสวน และให้คณะทำ�การสอบสวนมีอำ�นาจหนา้ ที่เช่นเดยี ว
กบั คณะกรรมการสอบสวนตามกฎ ก.พ. นี้
ข้อ ๓๘ เม่ือคณะกรรมการสอบสวนได้รวบรวมขอ้ เท็จจริง ข้อกฎหมาย และพยาน
หลกั ฐานท่ีเกีย่ วข้อง ตามข้อ ๒๘ (๑) แลว้ ใหม้ กี ารประชมุ คณะกรรมการสอบสวนเพอ่ื พิจารณา
ทำ�ความเห็นว่า ผถู้ กู กล่าวหากระท�ำ ผิดวนิ ัยในเรื่องที่สอบสวนหรือไม่ ถา้ คณะกรรมการสอบสวน
พจิ ารณาเหน็ วา่ ผถู้ กู กลา่ วหาไม่ได้กระทำ�ผิดวินัยในเรอ่ื งทีส่ อบสวน ใหร้ ายงานผลการสอบสวน
พร้อมความเหน็ เสนอตอ่ ผู้สง่ั แต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวน แต่ถา้ คณะกรรมการสอบสวนเห็นวา่
จากข้อเท็จจริง  ข้อกฎหมาย  รวมท้ังพยานหลักฐานที่รวบรวมได้เพียงพอท่ีจะรับฟังได้ว่าผู้ถูก
กล่าวหากระทำ�ผดิ วนิ ัยในเร่ืองทส่ี อบสวน ให้แจง้ ข้อกลา่ วหาและสรปุ พยานหลกั ฐานทีส่ นบั สนนุ
ข้อกล่าวหาให้ผถู้ กู กลา่ วหาทราบ
การประชุมตามวรรคหน่ึง  ต้องมีกรรมการสอบสวนมาประชุมไม่น้อยกว่าสามคน
และไม่นอ้ ยกวา่ กึง่ หนง่ึ ของจ�ำ นวนกรรมการสอบสวนทั้งหมด
ขอ้ ๓๙ ในกรณีที่มีคำ�พิพากษาถึงที่สุดว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำ�ผิดหรือต้องรับผิด
ในคดีเกี่ยวกับเรื่องที่สอบสวน  ถ้าคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏตาม
คำ�พิพากษาถึงท่ีสุดนั้นได้ความประจักษ์ชัดอยู่แล้วว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดตามข้อกล่าวหา
คณะกรรมการสอบสวนจะนำ�เอาคำ�พิพากษาถึงท่ีสุดน้ันมาใช้เป็นพยานหลักฐานที่สนับสนุน
ขอ้ กลา่ วหาโดยไมต่ อ้ งรวบรวมพยานหลกั ฐานอน่ื กไ็ ด ้ แตต่ อ้ งแจง้ ขอ้ กลา่ วหาและสรปุ ขอ้ เทจ็ จรงิ
ท่ีปรากฏตามคำ�พิพากษาที่ถึงท่ีสุดน้ัน  เพ่ือใช้เป็นสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา
ให้ผถู้ ูกกลา่ วหาทราบด้วย

๔๙

ขอ้ ๔๐ การแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา 
ให้ทำ�เป็นบันทึกระบุข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ของผู้ถูกกล่าวหาว่าได้กระทำ�การใด  เม่ือใด 
อยา่ งไร เป็นความผิดวินัยในกรณีใด และสรุปพยานหลักฐานท่สี นับสนนุ ขอ้ กล่าวหา โดยจะระบุ
ช่ือพยานด้วยหรือไม่ก็ได้  รวมท้ังแจ้งให้ทราบสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาท่ีจะให้ถ้อยคำ�หรือย่ืน
คำ�ชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาเป็นหนังสือ  สิทธิท่ีจะแสดงพยานหลักฐานหรือจะอ้างพยานหลักฐานเพื่อ
ขอใหเ้ รยี กพยานหลักฐานน้ันมาได้ แล้วแจง้ ให้ผู้ถกู กล่าวหาทราบ
บันทึกตามวรรคหนึ่ง  ให้ทำ�ตามแบบท่ีสำ�นักงาน  ก.พ.  กำ�หนด  โดยให้ทำ�เป็น
สองฉบบั มีข้อความตรงกัน ใหป้ ระธานกรรมการและกรรมการอกี อย่างน้อยหนึง่ คนลงลายมอื ชือ่
ในบนั ทกึ น้ันดว้ ย
ขอ้ ๔๑ เม่อื ไดจ้ ดั ท�ำ บนั ทึกตามข้อ ๔๐ แล้ว ให้คณะกรรมการสอบสวนมีหนงั สือ
เรียกผ้ถู กู กล่าวหามาพบตามวนั เวลา และสถานทีท่ ค่ี ณะกรรมการสอบสวนกำ�หนด เพื่อแจ้ง
ข้อกล่าวหาและสรปุ พยานหลักฐานทส่ี นบั สนุนขอ้ กล่าวหาใหผ้ ูถ้ กู ล่าวหาทราบ
เมื่อผู้ถูกกล่าวหาได้มาพบคณะกรรมการสอบสวนแล้ว  ให้คณะกรรมการสอบสวน
แจ้งข้อกล่าวหาพร้อมท้ังอธิบายข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาให้
ผูถ้ กู กล่าวหาทราบ และให้ผู้ถูกกล่าวหารับทราบขอ้ กลา่ วหาโดยลงลายมือชอื่ พรอ้ มท้ังวนั เดือนปี
ในบันทึกนั้น  แล้วมอบบันทึกน้ันให้ผู้ถูกกล่าวหาหน่ึงฉบับ  และอีกฉบับหน่ึงเก็บไว้ในสำ�นวน
การสอบสวน
ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่ยอมลงลายมือชื่อในบันทึกเพื่อรับทราบข้อกล่าวหา
ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนบันทกึ ข้อเท็จจริงและพฤตกิ ารณด์ งั กลา่ วไว้ในบนั ทกึ นน้ั ในกรณเี ชน่ น้ี
ใหถ้ อื วา่ ผถู้ กู กลา่ วหาไดร้ บั ทราบขอ้ กลา่ วหาและสรปุ พยานหลกั ฐานตง้ั แตว่ นั ทม่ี าพบคณะกรรมการ
สอบสวนแล้ว  และให้มอบบันทึกนั้นให้ผู้ถูกกล่าวหาหนึ่งฉบับ  และอีกฉบับหน่ึงเก็บไว้ใน
ส�ำ นวนการสอบสวน แตถ่ ้าผ้ถู ูกกลา่ วหาไม่ยอมรบั บนั ทกึ ดงั กลา่ ว ให้ส่งบันทกึ นัน้ ทางไปรษณยี ์
ลงทะเบยี นตอบรับไปให้ผ้ถู ูกกล่าวหา ณ ทอี่ ย่ซู งึ่ ปรากฏตามหลักฐานของทางราชการ
ข้อ ๔๒ เม่ือได้แจ้งข้อกล่าวหาและผู้ถูกกล่าวหาได้รับทราบตามข้อ  ๔๑  แล้ว
ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนแจง้ ก�ำ หนดวัน เวลา สถานท่ี และวิธกี ารที่จะใหผ้ ถู้ ูกกลา่ วหาชแ้ี จง
แก้ข้อกล่าวหาในวันท่ีมาพบคณะกรรมการสอบสวน  หรือแจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลง
ทะเบียนตอบรับไปใหผ้ ถู้ ูกกล่าวหา ณ ท่อี ยูซ่ ึง่ ปรากฏตามหลกั ฐานของทางราชการกไ็ ด้
ในกรณีแจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ  ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหา
ไดร้ ับทราบตั้งแต่วนั ท่ีครบกำ�หนดสบิ ห้าวนั นับแต่วันท่ีได้ส่งหนังสอื ดงั กล่าวทางไปรษณยี ์
ข้อ ๔๓ ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาไม่มาพบตามท่ีกำ�หนดในข้อ  ๔๑  ให้ส่งบันทึกตาม
ขอ้   ๔๐ จำ�นวนหนึ่งฉบบั ทางไปรษณยี ์ลงทะเบยี นตอบรับไปใหผ้ ถู้ กู กลา่ วหา ณ ทอ่ี ยซู่ ่ึงปรากฏ
ตามหลกั ฐานของทางราชการ ในกรณีเชน่ นี้ ให้ถือว่าผถู้ กู กล่าวหาไดร้ บั ทราบข้อกลา่ วหาตง้ั แต่
วนั ที่ครบก�ำ หนดสบิ ห้าวันนับแต่วันท่ไี ด้ส่งบนั ทึกดังกล่าวทางไปรษณีย์

๕๐

คณะกรรมการสอบสวนจะส่งหนังสอื กำ�หนดวัน เวลา สถานที่ และวธิ ีการทจ่ี ะให ้
ผู้ถูกกล่าวหาช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาและชี้แจงว่าได้กระทำ�ผิดตามข้อกล่าวหาหรือไม่  อย่างไร
เพราะเหตใุ ด ไปพรอ้ มกับบนั ทกึ แจ้งข้อกล่าวหาตามวรรคหนึง่ ก็ได้
ข้อ ๔๔ ในกรณที ี่ผู้ถกู กลา่ วหาไม่อาจช้ีแจงแก้ขอ้ กล่าวหาไดต้ ามวนั เวลา สถานที่
และวธิ กี ารทก่ี �ำ หนดตามขอ้ ๔๒ หรอื ข้อ ๔๓ โดยได้อ้างเหตผุ ลหรอื ความจ�ำ เปน็ หรือในกรณีท่ี
คณะกรรมการสอบสวนเหน็ ว่ามีเหตุจำ�เป็น จะก�ำ หนดวัน เวลา สถานที่ หรือวธิ กี ารเสียใหมเ่ พื่อ
ประโยชน์แห่งความเป็นธรรมกไ็ ด้
ข้อ ๔๕ ในการสอบสวนให้คณะกรรมการสอบสวนถามผู้ถูกกล่าวหาด้วยว่าได้
กระทำ�ผดิ ตามข้อกล่าวหาหรือไม่ อยา่ งไร เพราะเหตุใด
คณะกรรมการสอบสวนจะดำ�เนินการตามวรรคหน่ึงไปในคราวเดียวกันกับท่ีได้
ดำ�เนนิ การตามข้อ ๔๑ ก็ได้
ขอ้ ๔๖ ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหารับสารภาพว่าได้กระทำ�ผิดตามข้อกล่าวหาใด
ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนบนั ทึกการรบั สารภาพตามขอ้ กล่าวหานนั้ ไว้เปน็ หนงั สือ ในกรณีเช่นนี้
คณะกรรมการสอบสวนจะไม่ทำ�การสอบสวนในข้อกล่าวหานั้นก็ได้  แล้วดำ�เนินการในส่วนที่
เกีย่ วขอ้ งต่อไป
ข้อ ๔๗ ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่มาให้ถ้อยคำ�ช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาหรือไม่ยื่น
คำ�ช้ีแจงแกข้ อ้ กลา่ วหาเป็นหนงั สอื ภายในเวลาทกี่ ำ�หนดตามขอ้ ๔๒ และข้อ ๔๓ ใหถ้ อื ว่าผุูถ้ ูก
กล่าวหาไมป่ ระสงคจ์ ะชแี้ จงแกข้ ้อกลา่ วหา เว้นแต่คณะกรรมการสอบสวนจะเห็นควรด�ำ เนนิ การ
เป็นอย่างอื่นเพื่อประโยชนแ์ ห่งความเปน็ ธรรม
ขอ้ ๔๘ ในกรณีที่ปรากฏพยานหลักฐานเพิ่มเติมหลังจากที่คณะกรรมการสอบสวน
ได้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาในเร่ืองท่ีสอบสวนแล้ว
ถ้าคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าพยานหลักฐานท่ีเพ่ิมเติมน้ันมีน้ําหนักสนับสนุนข้อกล่าวหา
ใหแ้ จง้ สรปุ พยานหลกั ฐานเพม่ิ เตมิ นน้ั ใหผ้ ถู้ กู กลา่ วหาทราบ แตถ่ า้ เหน็ วา่ พยานหลกั ฐานเพม่ิ เตมิ นน้ั
มีผลทำ�ให้ข้อกล่าวหาในเร่ืองท่ีสอบสวนน้ันเปล่ียนแปลงไปหรือต้องเพ่ิมข้อกล่าวหา  ให้กำ�หนด
ข้อกล่าวหาใหม่หรือกำ�หนดข้อกล่าวหาเพิ่มเติมแล้วแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ทส่ี นบั สนุนข้อกลา่ วหานั้นใหผ้ ู้ถูกกลา่ วหาทราบ ท้ังนี้ ให้นำ�ความในขอ้ ๔๐ ขอ้ ๔๑ ขอ้ ๔๒
ข้อ ๔๓ ข้อ ๔๔ และขอ้ ๔๗ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ขอ้ ๔๙ ในการสอบสวน  ถ้าคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่ามีพยานหลักฐานท่ีควร
กล่าวหาว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยในเร่ืองอ่ืนด้วย  ให้ประธานกรรมการรายงานต่อผู้สั่ง
แต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็ว
เม่ือได้รับรายงานตามวรรคหน่ึงแล้ว  ให้ผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
พจิ ารณาด�ำ เนนิ การดังตอ่ ไปน้ี

๕๑

(๑) ถ้าเห็นว่ากรณีไม่มีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยในเร่ืองอ่ืนด้วย  ให้ยุติ
ไม่ต้องดำ�เนนิ การทางวนิ ยั สำ�หรบั เรอ่ื งอ่นื นนั้
(๒) ถา้ เหน็ วา่ กรณมี มี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาวา่ กระท�ำ ผดิ วนิ ยั ในเรอ่ื งอน่ื ดว้ ย ใหด้ �ำ เนนิ การ
ทางวินัยในเรื่องอ่ืนนั้นด้วยตามกฎ  ก.พ.  น้ี  ในกรณีท่ีการกระทำ�ผิดวินัยในเร่ืองอื่นน้ันเป็นการ
กระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง  จะแต่งต้ังให้คณะกรรมการสอบสวนคณะเดิมหรือจะแต่งต้ังคณะ
กรรมการสอบสวนคณะใหมด่ �ำ เนินการสอบสวนและพิจารณาในเรอ่ื งอื่นน้ันกไ็ ด้
ขอ้ ๕๐ ในกรณีที่การสอบสวนพาดพิงไปถึงข้าราชการพลเรือนผู้อ่ืน  ถ้าคณะ
กรรมการสอบสวนพิจารณาเห็นว่าผู้นั้นมีส่วนร่วมกระทำ�การในเร่ืองท่ีสอบสวนน้ันด้วย  ให้คณะ
กรรมการสอบสวนรายงานต่อผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็วเพื่อพิจารณาดำ�เนินการ
ตามกฎ ก.พ. นี้ ตอ่ ไป
ในกรณีที่การสอบสวนพาดพิงไปถึงเจ้าหน้าท่ีของรัฐอื่นหรือบุคคลอื่น  ถ้าคณะ
กรรมการสอบสวนพิจารณาเห็นว่าผู้นั้นมีส่วนร่วมกระทำ�การในเรื่องที่สอบสวนนั้นด้วย  ให้คณะ
กรรมการสอบสวนรายงานต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็วเพื่อพิจารณาตามที่เห็น
สมควรต่อไป
ขอ้ ๕๑ ในกรณีทีผ่ ้สู ง่ั แตง่ ต้งั คณะกรรมการสอบสวนเห็นวา่ กรณีมมี ลู ทคี่ วรกลา่ วหา
วา่ ขา้ ราชการพลเรอื นผอู้ น่ื รว่ มกระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงในเรอ่ื งทส่ี อบสวนตามขอ้ ๕๐ วรรคหนง่ึ
ให้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อทำ�การสอบสวนผู้นั้น  โดยจะแต่งตั้งให้คณะกรรมการ
สอบสวนคณะเดิมหรือจะแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนคณะใหม่ดำ�เนินการสอบสวนและ
พิจารณาก็ได้  แต่ถ้าเป็นกรณีท่ีมีผลทำ�ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา  ๕๗
เปล่ียนไป ใหส้ ่งเรอื่ งไปยังผูบ้ งั คับบัญชา ซง่ึ มอี �ำ นาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ หรอื ผ้มู อี ำ�นาจตาม
มาตรา ๙๔ แล้วแตก่ รณี ของขา้ ราชการพลเรือนผนู้ ั้น เพ่ือดำ�เนนิ การต่อไป
พยานหลักฐานท่ีได้จากการสอบสวนในเร่ืองท่ีสอบสวนเดิม  คณะกรรมการ
สอบสวนจะใช้ประกอบการพิจารณาดำ�เนินการทางวินัยแก่บุคคลตามวรรคหน่ึงได้ต่อเมื่อได้แจ้ง
ใหผ้ ้นู นั้ ทราบและให้โอกาสผู้นัน้ ได้ใช้สิทธิตามกฎ ก.พ. นแี้ ล้ว
ขอ้ ๕๒ เมื่อคณะกรรมการสอบสวนได้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่
สนบั สนุนข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกลา่ วหาทราบ ไดใ้ ห้โอกาสผู้ถูกกลา่ วหาชแ้ี จงแก้ขอ้ กล่าวหา และ
ได้รวบรวมพยานหลักฐานเพียงพอที่จะพิจารณาได้แล้ว  ให้คณะกรรมการสอบสวนประชุมเพ่ือ
พิจารณาทำ�ความเห็นเก่ียวกบั เรือ่ งท่สี อบสวน
ในการพิจารณาทำ�ความเห็นตามวรรคหนึ่ง  คณะกรรมการสอบสวนต้องพิจารณา
ท้ังข้อเท็จจริง  ข้อกฎหมาย  และพิจารณามีมติในเร่ืองที่สอบสวนให้ครบทุกข้อกล่าวหาและ
ทุกประเด็น  ว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยในเรื่องท่ีสอบสวนหรือไม่  ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาได้
กระท�ำ ผดิ วินยั ต้องพจิ ารณาใหไ้ ดค้ วามด้วยวา่ เปน็ ความผดิ วินัยกรณีใด ตามมาตราใด ควรไดร้ ับ
โทษสถานใด และมีเหตอุ นั ควรลดหย่อนหรือไม่ เพียงใด

๕๒

ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าผลการสอบสวนยังไม่ได้ความแน่ชัดพอท่ี
จะลงโทษเพราะกระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง  แต่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาหย่อนความสามารถใน
อันที่จะปฏิบัติหน้าท่ีราชการบกพร่องในหน้าท่ีราชการ  ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตำ�แหน่ง
หน้าที่ราชการ  หรือมีมลทินหรือมัวหมองในกรณีท่ีถูกสอบสวน  ถ้าให้ผู้นั้นรับราชการต่อไปจะ
เปน็ การเสียหายแก่ราชการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) หรือ (๗) แล้วแต่กรณี กใ็ ห้ท�ำ ความเห็นเสนอไว้
ในรายงานการสอบสวนดว้ ย
การประชุมเพ่ือพิจารณาทำ�ความเห็นตามข้อน้ี  ต้องมีกรรมการสอบสวนมาประชุม
ไม่น้อยกว่าสามคน และไมน่ ้อยกวา่ กึง่ หนง่ึ ของจ�ำ นวนกรรมการสอบสวนท้งั หมด
ข้อ ๕๓ เมือ่ คณะกรรมการสอบสวนได้ด�ำ เนินการตามข้อ ๕๒ แลว้ ใหจ้ ดั ทำ�รายงาน
การสอบสวนเสนอต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามแบบที่สำ�นักงาน  ก.พ.  กำ�หนด
โดยใหเ้ สนอไปพรอ้ มส�ำ นวนการสอบสวน
รายงานการสอบสวนตามวรรคหน่ึง  อย่างน้อยต้องประกอบด้วยเรื่องท่ีสอบสวน
ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง  ข้อกล่าวหา  พยานหลักฐานที่สนับสนุนหรือหักล้าง
ขอ้ กล่าวหา ประเด็นทตี่ อ้ งพิจารณาความเห็นของคณะกรรมการสอบสวนตามข้อ ๕๒ วรรคสอง
และวรรคสาม  และลายมอื ชอ่ื กรรมการสอบสวนทกุ คน  รวมทง้ั ใหป้ ระธานกรรมการลงลายมอื ชอ่ื
กำ�กับไว้ในรายงานการสอบสวนหน้าอื่นด้วยทุกหน้า  ในกรณีท่ีกรรมการสอบสวนคนใดมีเหตุ
จำ�เป็นไม่อาจลงลายมือช่ือได้  ให้ประธานกรรมการสอบสวนบันทึกเหตุจำ�เป็นดังกล่าวไว้ด้วย
และในกรณที กี่ รรมการสอบสวนผู้ใดมคี วามเหน็ แยง้ ใหแ้ สดงชอื่ และสรปุ ความเหน็ แยง้ ของผู้น้นั
ไว้ในรายงานการสอบสวนด้วย ในการนี้ ผมู้ ีความเหน็ แย้งนน้ั จะท�ำ บันทึกรายละเอยี ดความเหน็
แย้งและลงลายมือชอื่ ของตนแนบไวก้ ับรายงานการสอบสวนดว้ ยก็ได้
ขอ้ ๕๔ ให้คณะกรรมการสอบสวนดำ�เนินการสอบสวนและจัดทำ�รายงาน
การสอบสวนพร้อมทั้งสำ�นวนการสอบสวนเสนอต่อผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนให้แล้ว
เสร็จภายในหนง่ึ รอ้ ยยี่สบิ วนั นับแตว่ ันที่มีการประชุมคณะกรรมการสอบสวนครัง้ แรกตามขอ้ ๒๗
ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนมีเหตุผลและความจำ�เป็นไม่อาจดำ�เนินการให้
แล้วเสร็จได้ภายในกำ�หนดเวลาตามวรรคหน่ึง  ให้ประธานกรรมการรายงานต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะ
กรรมการสอบสวน เพื่อขอขยายเวลาสอบสวนตามความจ�ำ เป็น และให้ผสู้ ่ังแต่งตัง้ คณะกรรมการ
สอบสวนพิจารณาขยายเวลาได้ครั้งละไม่เกินหกสิบวัน  ในกรณีท่ีได้มีการขยายเวลาจนทำ�ให้
การสอบสวนด�ำ เนนิ การเกินหนึง่ รอ้ ยแปดสิบวัน นบั แต่วนั ทมี่ ีการประชมุ คณะกรรมการสอบสวน
ครง้ั แรกตามขอ้ ๒๗ ใหผ้ สู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนรายงาน อ.ก.พ. กระทรวงทผ่ี ถู้ กู กลา่ วหา
สงั กัดอยทู่ ราบ เพอ่ื ติดตามเรง่ รดั ใหด้ �ำ เนนิ การให้แลว้ เสรจ็ โดยเร็วต่อไป
ขอ้ ๕๕ เมื่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนได้รับรายงานการสอบสวนและ
สำ�นวนการสอบสวนแล้ว  ให้พิจารณาตรวจสอบความถูกต้องของการสอบสวน  ถ้าเห็นว่า

๕๓

การสอบสวนถูกต้องครบถ้วนแล้ว  ให้ผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนดำ�เนินการตามข้อ  ๕๖
แตถ่ า้ เหน็ ว่าการสอบสวนยังไม่ถูกต้องหรอื ไมค่ รบถว้ น ก็ใหส้ ่ังหรือดำ�เนินการดังตอ่ ไปน้ี
(๑) ในกรณที เ่ี หน็ วา่ ยงั ไมม่ กี ารแจง้ ขอ้ กลา่ วหาหรอื การแจง้ ขอ้ กลา่ วหายงั ไมค่ รบถว้ น
ใหส้ ง่ั ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนด�ำ เนนิ การแจง้ ขอ้ กลา่ วหาหรอื แจง้ ขอ้ กลา่ วหาใหค้ รบถว้ นโดยเรว็
(๒) ในกรณีท่ีเห็นวา่ ควรรวบรวมข้อเทจ็ จรงิ หรือพยานหลักฐานเพม่ิ เตมิ ให้กำ�หนด
ประเด็นหรือข้อสำ�คัญท่ีต้องการให้คณะกรรมการสอบสวนทำ�การสอบสวนเพ่ิมเติมโดยไม่ต้อง
ทำ�ความเห็น
(๓) ในกรณีที่เห็นว่าการดำ�เนินการใดไม่ถูกต้อง ให้สั่งให้คณะกรรมการสอบสวน
ดำ�เนนิ การให้ถกู ต้องโดยเร็ว
ข้อ ๕๖ เม่ือผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการสอบสวนถูกต้องครบถ้วน
แล้ว ให้พจิ ารณามีความเห็นเพอ่ื ส่ังหรือด�ำ เนินการ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ในกรณีทค่ี ณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา่ ผู้ถกู กล่าวหาไม่ได้กระท�ำ ผิดวินัย หรอื
กระท�ำ ผดิ วนิ ยั อย่างไม่รา้ ยแรง ถา้ ผูส้ งั่ แต่งตง้ั คณะกรรมการสอบสวนเหน็ ว่าผู้ถกู กลา่ วหากระทำ�
ผิดวนิ ัยอย่างไมร่ า้ ยแรง หรือไมไ่ ด้กระท�ำ ผดิ วินยั ให้ผสู้ ั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวนพิจารณา
ดำ�เนินการตามอำ�นาจหน้าท่ีต่อไป  แต่ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรงก็ให้
ดำ�เนนิ การตาม (๒)
(๒) ในกรณที ค่ี ณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา่ ผถู้ กู กลา่ วหากระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง
ใหผ้ สู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนพจิ ารณาวา่ ผถู้ กู กลา่ วหากระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงหรอื ไม่
และไมว่ า่ ผู้สง่ั แต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวนจะเหน็ ด้วยกบั ความเห็นของคณะกรรมการสอบสวน
หรือไม่ก็ตาม ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สง่ เรื่องให้ อ.ก.พ. จังหวัด
อ.ก.พ. กรม หรอื อ.ก.พ. กระทรวง ซึ่งผถู้ ูกกลา่ วหาสงั กัดอยู่ตามทีก่ �ำ หนดในข้อ ๕๘ แล้วแต่กรณี
เพ่ือพิจารณาต่อไป
(๓) ในกรณที ค่ี ณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา่ ผลการสอบสวนยงั ไมไ่ ดค้ วามแนช่ ดั พอ
ท่ีจะลงโทษ เพราะกระทำ�ผดิ วินัยอย่างรา้ ยแรง แต่เห็นวา่ ผูถ้ กู กล่าวหาหยอ่ นความสามารถในอัน
ทีจ่ ะปฏบิ ัติหนา้ ที่ราชการ บกพร่องในหน้าทร่ี าชการ ประพฤติตนไมเ่ หมาะสมกับต�ำ แหน่งหนา้ ที่
ราชการ หรือมีมลทินหรือมัวหมองในกรณีที่ถูกสอบสวน  ถ้าให้ผู้นั้นรับราชการต่อไปจะเป็นการ
เสยี หายแกร่ าชการ  ถา้ ผสู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนเหน็ ดว้ ยกบั ความเหน็ ของคณะกรรมการ
สอบสวนใหพ้ จิ ารณาดำ�เนินการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) หรอื (๗) ต่อไป แต่ถา้ เหน็ ว่าผถู้ กู กลา่ วหา
ไม่ได้กระท�ำ ผดิ วนิ ยั หรือกระทำ�ผดิ วนิ ยั อย่างไม่ร้ายแรง ให้พิจารณาด�ำ เนนิ การตามอ�ำ นาจหน้าท่ี
ตอ่ ไป และถ้าเหน็ ว่าผู้ถกู กลา่ วหากระท�ำ ผิดวนิ ยั อย่างรา้ ยแรงก็ใหด้ ำ�เนินการตาม (๒)
ข้อ ๕๗ ในกรณีท่ีมีการย้าย  การโอน  หรือการเลื่อนผู้ถูกกล่าวหา  อันมีผลทำ�ให้
ผู้มีอำ�นาจสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเปล่ียนไป  ให้คณะกรรมการสอบสวนท่ีได้แต่งตั้ง

๕๔

ไวแ้ ลว้ น้ัน ดำ�เนนิ การต่อไปจนเสรจ็ และทำ�รายงานการสอบสวนเสนอไปพร้อมกบั สำ�นวนการ
สอบสวนตอ่ ผบู้ ังคบั บญั ชาเดิม ทีเ่ ป็นผู้สัง่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนตรวจสอบความถูกตอ้ ง
ของการดำ�เนินการเพื่อส่งไปยังผู้บังคับบัญชาใหม่ท่ีเป็นผู้ซึ่งมีอำ�นาจส่ังบรรจุตามมาตรา  ๕๗
หรือผู้มอี ำ�นาจตามมาตรา ๙๔ พจิ ารณาสง่ั หรือดำ�เนนิ การตามขอ้ ๕๕ ต่อไป และถ้าในระหว่าง
การสอบสวนมกี รณที ผ่ี สู้ ง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนตอ้ งสง่ั การอยา่ งใดเพอ่ื ใหก้ ารสอบสวนนน้ั
ดำ�เนินการต่อไปได้ ให้ผ้บู งั คับบัญชาเดมิ ส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาใหม่ซึง่ เป็นผมู้ ีอำ�นาจพจิ ารณา
ต่อไป
ในกรณีที่ผบู้ งั คบั บญั ชาใหมซ่ ึ่งมีอำ�นาจสัง่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ หรอื ผู้มอี ำ�นาจตาม
มาตรา ๙๔ ตามวรรคหน่งึ เห็นสมควรให้ดำ�เนนิ การตามข้อ ๕๕ จะสัง่ ให้คณะกรรมการสอบสวน
คณะเดิมด�ำ เนินการ หรอื ในกรณีที่เห็นเปน็ การสมควร จะแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนขนึ้ ใหม่
เพือ่ ด�ำ เนนิ การกไ็ ด้ โดยใหน้ ำ�ข้อ ๑๘ และขอ้ ๑๙ มาใช้บงั คับ
ข้อ ๕๘ การส่งเรื่องให้ อ.ก.พ. จังหวดั อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง พจิ ารณา
ตามข้อ ๕๖ (๒) ให้ด�ำ เนนิ การดงั ต่อไปน้ี
(๑) ในกรณีท่ีผูว้ ่าราชการจงั หวัดเป็นผสู้ ั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ให้สง่ เรื่อง
ให้ อ.ก.พ. จังหวดั ซงึ่ ผถู้ กู กล่าวหาสังกดั อยู่ เป็นผูพ้ ิจารณา
(๒) ในกรณที ีอ่ ธบิ ดี ปลัดกระทรวงในฐานะอธบิ ดี หรอื หวั หนา้ ส่วนราชการระดับกรม
ท่ีอยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี
ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาซงึ่ มีอำ�นาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗ (๖) (๙) หรือ (๑๐) เปน็ ผู้สงั่ แตง่ ตงั้
คณะกรรมการสอบสวน ให้ส่งเรอ่ื งให้ อ.ก.พ. กรม ซึง่ ผ้ถู กู กล่าวหาสงั กดั อยู่ เป็นผู้พจิ ารณา
(๓) ในกรณีที่นายกรัฐมนตรี  รัฐมนตรีเจ้าสังกัด  ปลัดกระทรวงสำ�หรับกรณีอื่น
นอกจากที่กำ�หนดไว้ใน (๒) หรือหวั หนา้ ส่วนราชการระดับกรมท่อี ยูใ่ นบังคับบัญชาหรอื รับผดิ ชอบ
การปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรีซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอำ�นาจส่ัง
บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ (๒) (๓) (๕) หรือ (๘) เปน็ ผ้สู ง่ั แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน ใหส้ ง่ เร่ืองให้
อ.ก.พ. กระทรวง ซ่ึงผถู้ ูกกล่าวหาสังกัดอยู่ เป็นผพู้ จิ ารณา
ในกรณที ี่มีการยา้ ย การโอน หรอื การเล่ือนผูถ้ ูกกล่าวหาอนั มผี ลให้ อ.ก.พ. จงั หวัด
อ.ก.พ.  กรม  หรือ  อ.ก.พ.  กระทรวง  ซ่ึงผู้ถูกกล่าวหาสังกัดอยู่เปล่ียนแปลงไป  ให้ส่งเรื่องให้
อ.ก.พ.  จงั หวัด อ.ก.พ.  กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง ซ่งึ ผู้ถูกกลา่ วหาสงั กัดอยู่หลงั จากการยา้ ย
การโอน หรอื การเลอ่ื นนนั้ เปน็ ผู้พจิ ารณา
ข้อ ๕๙ เมอื่ ได้รบั เรอ่ื งตามข้อ ๕๘ แล้ว อ.ก.พ. จงั หวัด อ.ก.พ. กรม หรอื อ.ก.พ.
กระทรวง แลว้ แต่กรณี อาจพิจารณามีมติอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ในกรณีท่ีเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง  ให้มีมติว่าเป็น
ความผดิ วินัยอย่างร้ายแรงกรณีใด ตามมาตราใด และให้ลงโทษสถานใด เพราะเหตุใด โดยจะ
ตอ้ งมีข้อเทจ็ จรงิ อนั เป็นสาระสำ�คญั ด้วยวา่ มีการกระท�ำ อย่างใด

๕๕

(๒) ในกรณีท่ีเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง  ให้มีมติว่า
เปน็ ความผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรงกรณีใด ตามมาตราใด และให้ลงโทษสถานโทษใดและอัตรา
โทษใด เพราะเหตใุ ด หรอื ถา้ เหน็ วา่ เป็นความผิดวนิ ัยเลก็ นอ้ ยและมเี หตอุ ันควรงดโทษ จะมมี ติ
งดโทษ โดยใหท้ ำ�ทณั ฑ์บนเป็นหนังสือหรือวา่ กล่าวตกั เตอื นก็ได้ ทง้ั นี้ จะตอ้ งมขี ้อเท็จจริงอันเป็น
สาระสำ�คญั ดว้ ยวา่ มกี ารกระท�ำ อย่างใด
(๓) ในกรณีที่เห็นว่ายังไม่ได้ความแน่ชัดพอท่ีจะลงโทษกรณีกระทำ�ผิดวินัยอย่าง
รา้ ยแรง ถา้ มีขอ้ เทจ็ จริงอันเป็นกรณที ่ีสมควรใหอ้ อกจากราชการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) หรือ (๗)
ให้มีมติให้ผู้น้ันออกจากราชการ  โดยจะต้องมีข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญด้วยว่ามีการกระทำ�
อย่างใด มีกรณที ่ีสมควรให้ออกจากราชการเพราะเหตุใด ตามมาตราใด และถ้าใหร้ ับราชการ
ต่อไปจะเป็นการเสยี หายแกร่ าชการอยา่ งใด
(๔) ในกรณที ่เี หน็ ว่าการกระทำ�ของผู้ถูกกลา่ วหาไม่เป็นความผิดวนิ ัย ให้มีมติใหส้ ง่ั
ยตุ เิ รอ่ื ง หรอื ถา้ เหน็ วา่ ผถู้ กู กลา่ วหากระท�ำ ผดิ วนิ ยั แตเ่ ปน็ กรณที ไ่ี มอ่ าจลงโทษได ้ ใหม้ มี ตใิ หง้ ดโทษ
(๕) ในกรณีท่ีเห็นว่าข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอหรือการดำ�เนินการใดยังไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ให้มมี ติใหส้ อบสวนเพิม่ เตมิ แกไ้ ข หรือด�ำ เนนิ การใหถ้ กู ต้องตามควรแก่กรณี
ข้อ ๖๐ ในกรณที ป่ี รากฏวา่ การแตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนไมถ่ กู ตอ้ งตามขอ้ ๑๘
ให้การสอบสวนทัง้ หมดเสยี ไป และใหผ้ ู้บังคบั บัญชาซึง่ มอี �ำ นาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ หรอื ผู้มี
อำ�นาจตามมาตรา ๙๔ แลว้ แตก่ รณี แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพ่อื ด�ำ เนนิ การสอบสวนใหม่
ให้ถกู ตอ้ ง
ขอ้ ๖๑ ในกรณที ป่ี รากฏว่าการดำ�เนนิ การใดไม่ถูกตอ้ งตามกฎ ก.พ. น้ี ใหเ้ ฉพาะ
การดำ�เนินการนั้นเสียไป  และถ้าการดำ�เนินการน้ันเป็นสาระสำ�คัญที่ต้องดำ�เนินการหรือ
หากไมด่ �ำ เนนิ การจะท�ำ ใหเ้ สยี ความเปน็ ธรรม ใหแ้ กไ้ ขหรอื ด�ำ เนนิ การนน้ั เสยี ใหมใ่ หถ้ กู ตอ้ งโดยเรว็
ขอ้ ๖๒ ในกรณีที่ผู้ถกู กล่าวหาผ้ใู ดตายในระหวา่ งการสอบสวน ให้การด�ำ เนินการ
ทางวินยั แก่ผู้น้นั เป็นอันยุต ิ แต่ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนและผู้สั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวน
ดำ�เนนิ การรวบรวมขอ้ เท็จจริงและพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องต่อไปเท่าท่ีสามารถจะกระท�ำ ได้ แล้ว
ทำ�ความเห็นเสนอต่อกระทรวงเจ้าสังกัดเพ่ือพิจารณาดำ�เนินการตามกฎหมายว่าด้วยบำ�เหน็จ
บำ�นาญข้าราชการ หรือกฎหมายว่าดว้ ยกองทุนบำ�เหนจ็ บำ�นาญข้าราชการ แลว้ แต่กรณี
ขอ้ ๖๓ ให้นำ�บทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการท่ีมีอำ�นาจดำ�เนินการพิจารณา
ทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับแก่การประชุมของ
คณะกรรมการสอบสวน โดยอนโุ ลม เวน้ แต่องคป์ ระชุมกรรมการสอบสวนตามข้อ ๓๘ และ
ข้อ ๕๒

๕๖

หมวด ๕
กรณคี ว_า_ม_ผ_ดิ__ท_ป่ี _ร_า_ก_ฏ_ชัดแจ้ง
ข้อ ๖๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง และได้รับ
สารภาพเปน็ หนงั สือตอ่ ผบู้ ังคบั บัญชา หรอื ไดใ้ ห้ถ้อยคำ�รบั สารภาพและไดม้ ีการบนั ทึกถ้อยคำ�
รับสารภาพเป็นหนังสือหรือมีหนังสือรับสารภาพต่อผู้มีหน้าท่ีสืบสวนสอบสวนหรือคณะกรรมการ
สอบสวนตามกฎ ก.พ. นี้ ถือเปน็ กรณคี วามผดิ ท่ปี รากฏชดั แจ้ง ผู้บงั คบั บัญชาซง่ึ มอี �ำ นาจส่ังบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ จะพิจารณาด�ำ เนนิ การทางวนิ ัยโดยไมต่ ้องสอบสวนหรืองดการสอบสวนกไ็ ด้
ข้อ ๖๕ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผใู้ ดกระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงในกรณดี งั ตอ่ ไปน้ี
ถือเป็นกรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือ
ผู้มีอำ�นาจตามมาตรา  ๙๔  แล้วแต่กรณี  จะดำ�เนินการทางวินัยโดยไม่ต้องสอบสวนหรือ
งดการสอบสวนก็ได้
(๑) ละท้ิงหน้าท่ีราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวัน
โดยไมก่ ลับมาปฏบิ ัติหนา้ ท่ีราชการอกี เลย และผบู้ งั คบั บัญชาซึ่งมีอำ�นาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
ได้ดำ�เนินการหรือสั่งให้ดำ�เนินการสืบสวนแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมีพฤติการณ์
อนั แสดงถึงความจงใจไมป่ ฏบิ ัติตามระเบยี บของทางราชการ
(๒) กระทำ�ความผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกหรือโทษที่หนักกว่าโทษจำ�คุกโดย
คำ�พพิ ากษาถึงทส่ี ดุ ใหจ้ �ำ คกุ หรือให้รบั โทษทหี่ นักกว่าจำ�คกุ เวน้ แต่เป็นโทษสำ�หรับความผดิ ที่ได้
กระท�ำ โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ
(๓) กระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรงและได้รับสารภาพเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชา
หรือได้ให้ถ้อยคำ�รับสารภาพและได้มีการบันทึกถ้อยคำ�รับสารภาพเป็นหนังสือหรือมีหนังสือ
รบั สารภาพต่อผมู้ หี น้าทีส่ บื สวนสอบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวนตามกฎ ก.พ. นี้

หมวด ๖
การสง่ั ยตุ ิเ_ร_อ่ื _ง__ล_ง_โ_ท_ษ__ห_รืองดโทษ
ขอ้ ๖๖ การส่ังยตุ ิเร่อื งตามมาตรา ๙๒ วรรคสอง มาตรา ๙๓ วรรคสอง หรอื
มาตรา ๙๗ วรรคสอง ให้ท�ำ เปน็ คำ�ส่ัง ระบุชอื่ และตำ�แหนง่ ของผ้ถู กู กลา่ วหา เร่ืองทีถ่ กู กลา่ วหา
และผลการพิจารณา ทง้ั นี้ ตามแบบทส่ี �ำ นักงาน ก.พ. ก�ำ หนด และใหล้ งลายมอื ชือ่ และต�ำ แหนง่
ของผู้สัง่ และวนั เดือนปีทอ่ี อกค�ำ ส่งั ไวด้ ้วย
ข้อ ๖๗ โทษสำ�หรับกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญกระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ตามมาตรา  ๙๖  ท่ีผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา  ๕๗  มีอำ�นาจส่ังลงโทษได้
มดี งั ตอ่ ไปน้ี

๕๗

(๑) ภาคทัณฑ์
(๒) ตดั เงินเดือนไดค้ รงั้ หน่ึงในอัตราร้อยละ ๒ หรอื รอ้ ยละ ๔ ของเงินเดือนท่ผี ู้น้นั
ไดร้ ับในวันทมี่ ีค�ำ สัง่ ลงโทษเปน็ เวลาหนึง่ เดือน สองเดอื น หรอื สามเดือน
(๓) ลดเงินเดอื นไดค้ รั้งหนึง่ ในอัตรารอ้ ยละ ๒ หรือร้อยละ ๔ ของเงินเดือนทีผ่ ู้น้ัน
ได้รบั ในวนั ท่มี คี �ำ สง่ั ลงโทษ
การสง่ั ลงโทษตัดเงนิ เดือนหรือลดเงนิ เดือน ถา้ จ�ำ นวนเงินทจ่ี ะตอ้ งตดั หรอื ลดมเี ศษ
ไมถ่ งึ สิบบาทใหป้ ดั เศษทง้ิ
ขอ้ ๖๘ โทษสำ�หรับกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญกระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ตามมาตรา ๙๗ ท่ผี ูบ้ ังคับบญั ชาซึ่งมอี ำ�นาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอำ�นาจส่ังลงโทษได ้
มดี งั ตอ่ ไปนี้
(๑) ปลดออก
(๒) ไล่ออก
ข้อ ๖๙ การส่ังลงโทษภาคทณั ฑ์ ตัดเงนิ เดือน ลดเงินเดือน ปลดออก หรือไลอ่ อก
ให้ทำ�เป็นคำ�ส่ังระบุชื่อและตำ�แหน่งของผู้ถูกลงโทษ  แสดงข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญว่า
ผถู้ กู ลงโทษกระทำ�ผดิ วนิ ัยอยา่ งไมร่ า้ ยแรงหรืออยา่ งรา้ ยแรงในกรณีใด ตามมาตราใด พรอ้ มท้งั
สทิ ธใิ นการอุทธรณแ์ ละระยะเวลาในการอทุ ธรณ์ตามมาตรา ๑๑๔ ไว้ในค�ำ ส่งั นน้ั ดว้ ย ท้ังน้ี ตาม
แบบทีส่ �ำ นักงาน ก.พ. ก�ำ หนด และให้ลงลายมือชอ่ื และต�ำ แหนง่ ของผู้ส่ัง และวนั เดอื นปีทอี่ อก
คำ�ส่ังไวด้ ว้ ย
ขอ้ ๗๐ การสงั่ ลงโทษ ให้ส่งั ใหม้ ีผลตัง้ แต่วันหรอื ระยะเวลาดงั ต่อไปนี้
(๑) การสั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ให้ส่ังใหม้ ีผลตั้งแต่วนั ทม่ี ีคำ�สงั่
(๒) การสง่ั ลงโทษตดั เงนิ เดอื นหรอื ลดเงนิ เดอื น ใหส้ ง่ั ใหม้ ผี ลตง้ั แตเ่ ดอื นทม่ี คี �ำ สง่ั
(๓) การส่ังลงโทษปลดออกหรือไล่ออก ให้สัง่ ใหม้ ีผลตามระเบียบที่ ก.พ. ก�ำ หนด
ตามมาตรา ๑๐๗ วรรคสอง
ขอ้ ๗๑ การสัง่ งดโทษตามมาตรา ๙๖ วรรคสาม ใหผ้ ู้บังคับบัญชาซ่ึงมอี ำ�นาจส่ัง
บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ท�ำ เป็นค�ำ สัง่ และใหร้ ะบไุ วใ้ นคำ�สั่งดว้ ยวา่ ใหท้ ำ�ทณั ฑบ์ นเปน็ หนงั สอื หรอื
วา่ กล่าวตกั เตอื น ทง้ั นี้ ตามแบบท่ีส�ำ นักงาน ก.พ. กำ�หนด
ข้อ ๗๒ การส่ังงดโทษตามมาตรา  ๑๐๐  วรรคสอง  สำ�หรับกรณีท่ีข้าราชการ
พลเรือนสามัญซึ่งออกจากราชการไปแล้วแต่มีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรง
อยกู่ อ่ นตามมาตรา ๑๐๐ วรรคหนง่ึ และผลการสอบสวนพจิ ารณาปรากฏวา่ ผนู้ น้ั กระท�ำ ผดิ วนิ ยั
อยา่ งไมร่ า้ ยแรง ให้ผบู้ ังคับบญั ชาซ่ึงมอี ำ�นาจสงั่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ สัง่ งดโทษ ทง้ั นี้ ตามแบบ
ทีส่ �ำ นักงาน ก.พ. กำ�หนด

๕๘

ขอ้ ๗๓ เมอ่ื ไดม้ คี �ำ สงั่ ยตุ ิเรอ่ื ง ลงโทษ หรอื งดโทษแลว้ ใหด้ �ำ เนนิ การแจ้งคำ�สงั่ ให ้
ผูถ้ ูกลงโทษ หรือผู้ถูกกล่าวหาทราบโดยเร็ว และให้ผ้ถู กู ลงโทษหรือผู้ถกู กล่าวหาลงลายมือชอื่ และ
วันท่รี บั ทราบไวเ้ ปน็ หลักฐาน และให้มอบสำ�เนาคำ�ส่งั ให้ผู้ถูกลงโทษหรอื ผถู้ กู กล่าวหาไวห้ นง่ึ ฉบบั
ดว้ ย ถา้ ผถู้ กู ลงโทษหรอื ผู้ถกู กล่าวหาไม่ยอมลงลายมอื ชอื่ รับทราบคำ�สง่ั เม่อื ไดท้ ำ�บนั ทกึ ลงวันท่ี
และสถานท่ีทีแ่ จง้ และลงลายมือชอื่ ผแู้ จ้งพรอ้ มทัง้ พยานรูเ้ ห็นไวเ้ ปน็ หลักฐานแล้ว ใหถ้ ือวนั ท่แี จง้
น้ันเปน็ วนั รบั ทราบ
ในกรณีที่ไม่อาจแจ้งให้ทราบตามวรรรคหนึ่งได้หรือมีเหตุจำ�เป็นอ่ืน  ให้ส่งสำ�เนา
คำ�สั่งทางไปรษณยี ล์ งทะเบยี นตอบรบั ไปให้ผถู้ กู ลงโทษหรอื ผถู้ กู กลา่ วหา ณ ที่อย่ขู องผถู้ กู ลงโทษ
หรอื ผู้ถูกกล่าวหาซึ่งปรากฏตามหลกั ฐานของทางราชการ ในกรณเี ช่นน้ี ใหถ้ ือว่าผ้ถู กู ลงโทษหรอื
ผูถ้ กู กลา่ วหาไดร้ ับแจง้ เมื่อครบกำ�หนดเจด็ วนั นับแตว่ ันส่งส�ำ หรับกรณีสง่ ในประเทศ หรอื เมื่อครบ
สบิ หา้ วนั นบั แต่วนั สง่ ส�ำ หรบั กรณีส่งไปยังต่างประเทศ

หมวด ๗
การมีคำ�ส่ังใหมก่ รณมี กี า_ร_เ_พ_ม่ิ _โ_ท_ษ__ล__ด_โทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ
ข้อ ๗๔ ในกรณที ี่มกี ารเพ่ิมโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ใหผ้ ูบ้ งั คับบัญชาซง่ึ มี
อ�ำ นาจสั่งบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ มคี ำ�สัง่ ใหม่ โดยให้ส่งั ยกเลิกคำ�ส่ังลงโทษเดมิ แล้วสง่ั ใหม่ให้เป็น
ไปตามนน้ั
ค�ำ สัง่ ใหมต่ ามวรรคหนง่ึ ให้เป็นไปตามแบบทีส่ ำ�นักงาน ก.พ. ก�ำ หนด โดยอย่างน้อย
ให้มสี าระสำ�คัญดงั ต่อไปนี้
(๑) อา้ งถงึ ค�ำ สัง่ ลงโทษเดิมกอ่ นมีการเพิม่ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ
(๒) อ้างถงึ มติของ อ.ก.พ. กระทรวง หรือของ ก.พ. หรอื คำ�วินิจฉยั ของ ก.พ.ค. หรอื
ขององคก์ รตามกฎหมายอน่ื ทีใ่ ห้เพ่ิมโทษ ลดโทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ แลว้ แต่กรณี โดยแสดง
สาระสำ�คญั โดยสรุปไว้ดว้ ย
(๓) สั่งใหย้ กเลิกคำ�ส่ังลงโทษเดมิ ตาม (๑) และมีคำ�สง่ั ใหมใ่ ห้เปน็ ไปตาม (๒)
(๔) ระบวุ ธิ กี ารดำ�เนนิ การเกย่ี วกบั โทษทไ่ี ด้รบั ไปแลว้
ข้อ ๗๕ ในกรณีที่คำ�ส่ังเดิมเป็นคำ�สั่งลงโทษไล่ออกหรือปลดออก  ถ้ามีการลดโทษ
เป็นปลดออก หรอื เพม่ิ โทษเปน็ ไล่ออก จะส่ังให้มผี ลใช้บังคบั ต้ังแตว่ นั ใด ให้เป็นไปตามระเบียบท่ี
ก.พ. กำ�หนด ตามมาตรา ๑๐๗ วรรคสอง
ขอ้ ๗๖ ในกรณีท่ีคำ�ส่ังเดิมเป็นคำ�สั่งลงโทษไล่ออกหรือปลดออก  ถ้ามีการลดโทษ
เพอื่ จะสงั่ ลงโทษใหม่ในความผิดวินัยอยา่ งไม่รา้ ยแรง งดโทษ หรอื ยกโทษ ในคำ�สั่งใหม่ให้สัง่ ให้
ผู้นั้นกลบั เขา้ รบั ราชการ และสั่งลงโทษใหม่ในความผิดวนิ ัยอยา่ งไม่รา้ ยแรง งดโทษ หรือยกโทษ
แลว้ แต่กรณี

๕๙

การส่งั ให้กลับเข้ารบั ราชการ ใหส้ ่ังใหผ้ นู้ ั้นด�ำ รงตำ�แหนง่ ตามเดมิ หรอื ต�ำ แหนง่ อื่น
ในประเภทเดยี วกนั และระดบั เดียวกนั หรอื ในต�ำ แหน่งประเภทและระดบั ท่ี ก.พ. ก�ำ หนด ท้งั น ้ี
ผ้นู ั้นต้องมีคุณสมบตั ติ รงตามคณุ สมบตั เิ ฉพาะส�ำ หรับตำ�แหนง่ น้ัน
ในกรณที ไ่ี มอ่ าจสง่ั ใหผ้ นู้ น้ั กลบั เขา้ รบั ราชการได ้ เพราะเหตทุ ก่ี อ่ นทจ่ี ะมคี �ำ สง่ั ใหมน่ น้ั
ผูน้ ้นั พน้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบ�ำ เหนจ็ บำ�นาญข้าราชการ ตาย หรือออกจากราชการ
เน่อื งจากเหตอุ ่ืนใหส้ ั่งงดโทษ หรอื สัง่ ยุตเิ รอื่ ง แล้วแต่กรณี แลว้ ใหแ้ สดงเหตทุ ีไ่ ม่อาจส่งั ให้กลบั เขา้
รบั ราชการไวใ้ นคำ�ส่ังนน้ั ด้วย
ในคำ�ส่ังใหม่ให้ระบุด้วยว่าเงินเดือนระหว่างที่ถูกไล่ออกหรือปลดออกให้เบิกจ่ายให้
ผนู้ ้นั ตามกฎหมายหรือระเบยี บวา่ ดว้ ยการนั้น
ขอ้ ๗๗ ในกรณีที่คำ�สั่งลงโทษเดิมเป็นคำ�ส่ังลงโทษในความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ถ้ามกี ารเพิม่ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ ในค�ำ สัง่ ใหม่ใหร้ ะบกุ ารด�ำ เนินการเก่ยี วกับโทษท่ไี ด้
รับไปแลว้ ดังต่อไปนี้
(๑) ถา้ เปน็ กรณียกโทษ ให้ถือวา่ ผู้นัน้ ไม่เคยได้รบั โทษทางวินัยมาก่อน และให้ผู้น้นั
กลับคืนสู่สถานะเดิมก่อนมีการลงโทษ  ในกรณีท่ีได้มีการตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนผู้นั้นไป
เท่าใด ให้คืนเงนิ ท่ีไดต้ ดั หรือลดไวด้ ังกลา่ วใหผ้ นู้ นั้
(๒) ถ้าเป็นกรณีงดโทษ  ในกรณีที่ได้มีการตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนผู้นั้นไป
เท่าใด ใหค้ ืนเงินท่ไี ดต้ ดั หรือลดไว้ดังกลา่ วให้ผูน้ นั้
(๓) ถ้าเป็นกรณีที่มีผลให้ยังคงต้องลงโทษผู้นั้นอยู่  ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มโทษหรือ
ลดโทษกต็ าม ให้ดำ�เนนิ การดังน้ี
(ก) ถ้าเป็นการเพิ่มโทษให้เป็นโทษตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือน  ให้คิด
คำ�นวณจำ�นวนเงินเดือนท่ีจะตัดหรือลดตามอัตราโทษใหม่จากเงินเดือนเดิมในขณะท่ีมีคำ�สั่ง
ลงโทษเดมิ และให้คืนเงินท่ีได้ตัดหรือลดไปแล้วนั้นให้ผูน้ ัน้
(ข) ถ้าเป็นการเพ่ิมโทษจากโทษตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนเป็นปลดออก
หรือไลอ่ อก ใหค้ ืนเงินท่ไี ดต้ ัดหรอื ลดไปแล้วนน้ั ให้ผนู้ ้ัน
(ค) ถ้าเป็นการลดโทษให้เป็นโทษภาคทัณฑ์  ให้ลงโทษให้เป็นไปตามนั้น
ในกรณีท่ไี ด้มีการตัดเงนิ เดอื นหรือลดเงินเดือนผนู้ ้นั ไปเท่าใด ให้คนื เงนิ ท่ไี ดต้ ดั หรอื ลดไวด้ ังกล่าว
ให้ผนู้ ัน้
(ง) ถา้ เปน็ การลดโทษใหเ้ ปน็ โทษตัดเงนิ เดือน ใหค้ ิดค�ำ นวณจ�ำ นวนเงนิ ทจ่ี ะตดั
ตามอัตราโทษใหม่จากเงินเดือนเดิมในขณะทม่ี คี ำ�ส่งั ลงโทษเดิม และให้คืนเงนิ ทีไ่ ดล้ ดไปแลว้ นน้ั
ใหผ้ ู้น้นั
(จ) ถ้าเป็นการเพิ่มหรือลดอัตราโทษของโทษตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือน
ให้คิดคำ�นวณจำ�นวนเงินที่จะตัดหรือลดตามอัตราโทษใหม่จากเงินเดือนเดิมในขณะที่มีคำ�สั่ง

๖๐

ลงโทษเดิม ในกรณีทีจ่ ำ�นวนเงินท่ีจะตอ้ งตดั หรือลดตามค�ำ สั่งลงโทษใหม่ ตํ่ากว่าจำ�นวนเงนิ ทไี่ ด้
ถูกตดั หรือลดตามคำ�สั่งลงโทษเดมิ ให้คืนเงนิ ส่วนท่ไี ด้ตดั หรือลดไวเ้ กนิ นนั้ ให้ผู้นน้ั

หมวด ๘
การส่งั พักราชการ_แ__ล_ะ_ใ_ห_อ้ _อ__ก_จ_ากราชการไวก้ อ่ น
ข้อ ๗๘ เม่ือข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัย
อย่างรา้ ยแรงจนถกู ต้งั กรรมการสอบสวน หรอื ถกู ฟอ้ งคดีอาญา หรือตอ้ งหาวา่ กระท�ำ ความผดิ
อาญา  เว้นแต่เป็นความผิดท่ีได้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ  ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมี
อำ�นาจสั่งบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ จะสัง่ ใหผ้ ู้น้ันพกั ราชการเพื่อรอฟงั ผลการสอบสวนหรอื พจิ ารณา
หรอื ผลแห่งคดีไดต้ อ่ เมื่อมเี หตอุ ยา่ งหนึ่งอยา่ งใด ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) ผู้นั้นถูกต้ังกรรมการสอบสวน  และผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำ�นาจส่ังบรรจุตาม
มาตรา ๕๗ พิจารณาเหน็ ว่าถ้าผนู้ ัน้ คงอยูใ่ นหนา้ ทร่ี าชการต่อไปอาจเกดิ การเสียหายแกร่ าชการ
(๒) ผู้นั้นถูกฟ้องคดีอาญา  หรือต้องหาว่ากระทำ�ความผิดอาญาในเรื่องเกี่ยวกับ
การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยทุจริต  หรือเก่ียวกับความประพฤติหรือ
พฤตกิ ารณ์อนั ไม่น่าไวว้ างใจ โดยพนกั งานอัยการมิได้รบั เป็นทนายแกต้ ่างให้ และผ้บู งั คับบัญชา
ซง่ึ มอี ำ�นาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ พจิ ารณาเห็นวา่ ถา้ ผนู้ นั้ คงอย่ใู นหน้าท่ีราชการอาจเกิดการ
เสยี หายแกร่ าชการ
(๓) ผู้นั้นมีพฤติการณ์ท่ีแสดงว่าถ้าคงอยู่ในหน้าท่ีราชการจะเป็นอุปสรรคต่อการ
สอบสวนพิจารณาหรอื จะก่อใหเ้ กดิ ความไมส่ งบเรียบร้อยขน้ึ
(๔) ผู้นั้นอยู่ในระหว่างถูกควบคุมหรือขังโดยเป็นผู้ถูกจับในคดีอาญาหรือต้องจำ�คุก
โดยค�ำ พิพากษาและได้ถกู ควบคมุ ขัง หรอื ตอ้ งจำ�คกุ เปน็ เวลาตดิ ตอ่ กันเกินกวา่ สบิ ห้าวนั แลว้
(๕) ผู้นั้นถูกตั้งกรรมการสอบสวนและต่อมามีคำ�พิพากษาถึงที่สุดว่าเป็นผู้กระทำ�
ความผิดอาญาในเร่ืองที่สอบสวนนั้น  หรือผู้นั้นถูกต้ังกรรมการสอบสวนภายหลังท่ีมีคำ�พิพากษา
ถึงท่ีสุดว่าเป็นผู้กระทำ�ความผิดอาญาในเร่ืองที่สอบสวนนั้น  และผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอำ�นาจส่ัง
บรรจุตามมาตรา ๕๗ พจิ ารณาเห็นวา่ ข้อเทจ็ จริงทีป่ รากฏตามคำ�พิพากษาถงึ ทสี่ ดุ นน้ั ไดค้ วาม
ประจกั ษ์ชัดอยแู่ ล้วว่าการกระท�ำ ความผดิ อาญาของผ้นู ัน้ เปน็ ความผดิ วนิ ยั อยา่ งร้ายแรง
ขอ้ ๗๙ การส่งั พักราชการให้สงั่ พักตลอดวเลาที่สอบสวนหรือพิจารณา เว้นแต่ผู้ถกู
สั่งพักราชการผู้ใดได้ร้องทุกข์ตามมาตรา  ๑๒๒  และผู้มีอำ�นาจพิจารณาคำ�ร้องทุกข์เห็นว่า
สมควรสงั่ ใหผ้ ู้น้นั กลบั เขา้ ปฏบิ ัตหิ น้าท่รี าชการก่อนการสอบสวนหรอื พิจารณาเสรจ็ สิ้น เนอ่ื งจาก
พฤติการณ์ของผู้ถูกส่ังพักราชการไม่เป็นอุปสรรคต่อการสอบสวนหรือพิจารณา  และไม่ก่อให้
เกิดความไมส่ งบเรยี บร้อยต่อไป หรือเนอ่ื งจากการด�ำ เนินการทางวินัยไดล้ ่วงพ้นหนึ่งปนี บั แต่วนั

๖๑

พักราชการแลว้ ยังไมแ่ ลว้ เสรจ็ และผู้ถกู ส่งั พกั ราชการไมม่ พี ฤตกิ รรมดังกลา่ ว ให้ผูม้ อี �ำ นาจสงั่ พกั
ราชการสั่งใหผ้ ูน้ น้ั กลับเขา้ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทร่ี าชการก่อนการสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จสิน้
ขอ้ ๘๐ ในกรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัย
อย่างรา้ ยแรงจนถูกตัง้ กรรมการสอบสวนหลายสำ�นวน หรือถกู ฟอ้ งคดีอาญาหรือต้องหาวา่ กระทำ�
ความผดิ ในคดอี าญาหลายคดี ถา้ จะสง่ั พักราชการในสำ�นวนหรอื คดีใดที่เข้าลกั ษณะตามข้อ ๗๘
ใหส้ ัง่ พกั ราชการในส�ำ นวนหรือคดีอ่นื ทุกส�ำ นวน หรอื ทุกคดที เี่ ข้าลกั ษณะตามขอ้ ๗๘ ด้วย
ในกรณีท่ีได้ส่ังพักราชการในสำ�นวนใดหรือคดีใดไว้แล้ว  ถ้าภายหลังปรากฏว่า
ผถู้ กู สง่ั พกั นน้ั มกี รณถี กู กลา่ วหาวา่ กระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงจนถกู ตง้ั กรรมการสอบสวนในส�ำ นวนอน่ื
หรือถูกฟอ้ งคดีอาญา หรอื ต้องหาในคดอี าญาในคดอี นื่ เพมิ่ ขึ้น ก็ให้ส่งั พกั ราชการในส�ำ นวนหรือ
คดีอนื่ ท่ีเพ่มิ ขึ้นและเข้าลักษณะตามข้อ ๗๘ น้นั ด้วย
ข้อ ๘๑ การสงั่ พกั ราชการ ใหส้ ัง่ พักตั้งแตว่ นั ออกคำ�สั่ง เว้นแต่
(๑) ผู้ซ่ึงจะถูกส่ังพักราชการอยู่ในระหว่างถูกควบคุมหรือขังโดยเป็นผู้ถูกจับในคดี
อาญา หรอื ตอ้ งจ�ำ คกุ โดยคำ�พพิ ากษา การสัง่ พักราชการในเร่ืองนัน้ ใหส้ ัง่ พักยอ้ นหลังไปถึงวนั ที่
ถกู ควบคุม ขงั หรอื ตอ้ งจำ�คุก
(๒) ในกรณีที่ได้มกี ารส่ังพกั ราชการไว้แลว้ ถ้าจะต้องสงั่ ใหม่เพราะค�ำ สง่ั เดมิ ไม่ชอบ
หรือไมถ่ ูกต้อง ใหส้ งั่ พกั ต้ังแตว่ ันให้พกั ราชการตามคำ�ส่งั เดิม หรอื ตามวันที่ควรตอ้ งพกั ราชการ
ในขณะที่ออกคำ�สั่งเดิม
ขอ้ ๘๒ คำ�สั่งพักราชการตอ้ งระบุชอ่ื และต�ำ แหน่งของผถู้ ูกสั่งพกั ราชการ ตลอดจน
กรณีและเหตทุ ีส่ ง่ั พักราชการ และวนั ท่ีคำ�สัง่ มีผลใช้บังคับ
เมอ่ื ได้มคี ำ�ส่งั ใหผ้ ้ใู ดพกั ราชการ ใหแ้ จ้งค�ำ ส่งั ใหผ้ นู้ ัน้ ทราบ และให้น�ำ ขอ้ ๗๓ มาใช้
บงั คับโดยอนุโลม
ขอ้ ๘๓ ในกรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีเหตุที่อาจถูกส่ังพักราชการตาม
ขอ้ ๗๘ และผบู้ งั คับบญั ชาซึง่ มีอ�ำ นาจสัง่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาเห็นวา่ การสอบสวนหรอื
พิจารณา หรือการด�ำ เนินคดีนัน้ จะไมแ่ ลว้ เสรจ็ โดยเร็ว ผูบ้ งั คบั บญั ชาดังกลา่ วจะสัง่ ให้ผู้นน้ั ออก
จากราชการไว้ก่อนกไ็ ด้
ในกรณีที่ได้ส่ังพักราชการไว้แล้ว  จะพิจารณาตามวรรคหน่ึงและสั่งให้ผู้ถูกสั่ง
พักราชการน้ันออกจากราชการไว้กอ่ นแทนการสงั่ พักราชการก็ได้
ข้อ ๘๔ การส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อน  ให้ส่งั ให้มีผลต้งั แต่วันออกคำ�ส่งั   แต่ถ้า
เป็นกรณที ไ่ี ดส้ ง่ั ให้พักราชการไว้กอ่ นแลว้ ใหส้ ่งั ใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ นต้งั แต่วนั สั่งพกั ราชการ
เปน็ ตน้ ไป หรือในกรณที ีม่ ีเหตุตามขอ้ ๘๑ ใหส้ ่ังให้มีผลตงั้ แตว่ ันทีก่ ำ�หนดไวใ้ นข้อ ๘๑ น้นั
ให้น�ำ ข้อ ๗๙ ข้อ ๘๐ และข้อ ๘๒ มาใช้บังคบั แก่การส่งั ใหอ้ อกจากราชการไว้กอ่ น
โดยอนโุ ลม

๖๒

ข้อ ๘๕ การสั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ดำ�รงตำ�แหน่งประเภทบริหารระดับสูง
หรือประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิออกจากราชการไว้ก่อน  ให้นำ�ความกราบบังคมทูลเพื่อมี
พระบรมราชโองการใหพ้ น้ จากตำ�แหนง่ นับแตว่ นั ที่ออกจากราชการไวก้ อ่ น
ข้อ ๘๖ เมื่อได้สั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดพักราชการในกรณีท่ีถูกกล่าว
หาว่ากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรงจนถูกต้ังกรรมการสอบสวน  และปรากฏผลการสอบสวนหรือ
พจิ ารณาแล้ว ให้ดำ�เนินการดงั ต่อไปนี้
(๑) ในกรณีทีผ่ ้นู ัน้ กระทำ�ผิดวนิ ยั อย่างร้ายแรง ใหด้ �ำ เนินการตามมาตรา ๙๗
(๒) ในกรณีทผี่ นู้ ั้นกระท�ำ ผดิ วินยั อย่างไมร่ า้ ยแรง ใหส้ งั่ ใหผ้ นู้ ั้นกลบั เข้าปฏบิ ัติหนา้ ที่
ราชการตามข้อ ๙๑ แล้วดำ�เนนิ การตามมาตรา ๙๖ แตห่ ากมกี รณีใดกรณหี นึ่งดังต่อไปนี้ ใหส้ ่งั
งดโทษตามมาตรา ๑๐๐ วรรคสอง โดยไม่ตอ้ งสัง่ ให้ผู้นนั้ กลับเข้าปฏบิ ัติหน้าที่ราชการ และแสดง
กรณกี ระทำ�ผดิ วินัยน้ันไวใ้ นค�ำ สัง่ ดว้ ย
(ก) ผนู้ น้ั ไดพ้ น้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการแลว้
(ข) ผ้นู นั้ มกี รณที ีจ่ ะตอ้ งถูกส่ังใหอ้ อกจากราชการ
(ค) ผนู้ น้ั ได้ออกจากราชการดว้ ยเหตอุ ื่นไปแล้ว โดยมิใช่เพราะเหตตุ าย
(๓) ในกรณีที่ผู้นั้นมิได้กระทำ�ผิดวินัย  ให้สั่งให้ผู้นั้นกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ตามขอ้ ๙๑ และสงั่ ยุติเรือ่ ง แตห่ ากมีกรณีใดกรณหี นึง่ ดังต่อไปน้ี ใหส้ ่งั ยตุ ิเร่อื งโดยไม่ตอ้ งสัง่ ให ้
ผ้นู น้ั กลบั เขา้ ปฏบิ ัติหน้าทีร่ าชการ และแสดงเหตทุ ่ไี ม่สั่งใหผ้ ู้นั้นกลบั เขา้ ปฏิบัตหิ น้าท่รี าชการไวใ้ น
คำ�สง่ั นน้ั ดว้ ย
(ก) ผนู้ น้ั ไดพ้ น้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการแลว้
(ข) ผนู้ น้ั มีกรณที จี่ ะต้องถกู สง่ั ให้ออกจากราชการ
(ค) ผู้น้นั ได้ออกจากราชการดว้ ยเหตุอน่ื ไปแล้ว โดยมิใช่เพราะเหตตุ าย
(๔) ในกรณที ผ่ี นู้ น้ั กระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรงหรอื มไิ ดก้ ระท�ำ ผดิ วนิ ยั แตม่ กี รณอี น่ื
ที่ผ้นู ั้นถกู ส่ังพักราชการหรอื ถูกส่งั ใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ นด้วย ถ้าจะดำ�เนินการตามมาตรา ๙๖
ให้รอฟังผลการสอบสวนหรือพิจารณาหรือผลแห่งคดีกรณีอ่ืนนั้น  โดยยังไม่ต้องสั่งให้ผู้น้ันกลับ
เข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ  แต่ถ้าเป็นการสั่งยุติเร่ือง  ให้สั่งยุติเรื่องโดยไม่ต้องส่ังให้ผู้นั้นกลับเข้า
ปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี าชการ และแสดงเหตทุ ไ่ี มส่ ง่ั ใหผ้ นู้ น้ั กลบั เขา้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี าชการไวใ้ นค�ำ สง่ั นน้ั ดว้ ย
ข้อ ๘๗ เมื่อได้สั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดออกจากราชการไว้ก่อนในกรณี
ที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยอย่างร้ายแรงจนถูกต้ังกรรรมการสอบสวน  และปรากฏผลการ
สอบสวนหรือพจิ ารณาแลว้ ให้ดำ�เนินการดังตอ่ ไปนี้
(๑) ในกรณที ่ผี ูน้ น้ั กระท�ำ ผิดวนิ ยั อยา่ งร้ายแรง ให้ด�ำ เนนิ การตามมาตรา ๙๗
(๒) ในกรณีที่ผู้น้ันกระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง  และไม่มีกรณีที่จะต้องถูกสั่ง
ให้ออกจากราชการด้วยเหตุอื่น  ให้ส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้ารับราชการตามข้อ  ๙๑  แล้วดำ�เนินการ

๖๓

ตามมาตรา ๙๖ แตห่ ากมกี รณีใดกรณหี นึง่ ดงั ต่อไปนี้ ให้สง่ั งดโทษตามมาตรา ๑๐๐ วรรคสอง
โดยไมต่ อ้ งสั่งให้ผู้นนั้ กลบั เข้ารับราชการ และแสดงกรณีกระท�ำ ผดิ วินัยนนั้ ไวใ้ นคำ�ส่งั ด้วย
(ก) ผนู้ น้ั ตอ้ งพน้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ
(ข) ผนู้ ้นั มีกรณีท่จี ะต้องถูกสัง่ ใหอ้ อกจากราชการ
(ค) ผูน้ นั้ ได้ออกจากราชการด้วยเหตุอ่ืนไปแลว้ โดยมใิ ชเ่ พราะเหตตุ าย
(๓) ในกรณีทผ่ี ู้น้ันมไิ ด้กระท�ำ ผิดวนิ ัย ให้ส่งั ให้ผนู้ ัน้ กลับเขา้ รบั ราชการตามขอ้ ๙๑
และสง่ั ยุตเิ ร่ือง แตห่ ากมีกรณีใดกรณีหน่ึงดังต่อไปนี้ ให้ส่งั ยุติเรอื่ งโดยไมต่ ้องส่ังให้ผนู้ ้ันกลบั เข้า
รับราชการ และแสดงเหตุท่ีไม่สง่ั ใหผ้ ู้นนั้ กลบั เข้ารับราชการไวใ้ นคำ�ส่งั นนั้ ดว้ ย
(ก) ผนู้ น้ั ตอ้ งพน้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ
(ข) ผู้นั้นมกี รณที ีจ่ ะตอ้ งถูกสัง่ ให้ออกจากราชการ
(ค) ผนู้ ้ันไดอ้ อกจากราชการดว้ ยเหตุอน่ื ไปแลว้ โดยมิใช่เพราะเหตุตาย
(๔) ในกรณที ผ่ี นู้ น้ั กระท�ำ ผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรงหรอื มไิ ดก้ ระท�ำ ผดิ วนิ ยั แตม่ กี รณอี น่ื
ทผ่ี นู้ น้ั ถกู สง่ั ใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ นดว้ ย ถา้ จะด�ำ เนนิ การตามมาตรา ๙๖ ใหร้ อฟงั ผลการสอบสวน
หรือพิจารณาหรือผลแห่งคดีกรณีอื่นนั้น  โดยยังไม่ต้องสั่งให้ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการ แต่ถ้าเป็น
การสง่ั ยตุ เิ รอ่ื ง ใหส้ ง่ั ยตุ เิ รอ่ื งโดยไมต่ อ้ งสง่ั ใหผ้ นู้ น้ั กลบั เขา้ รบั ราชการ และแสดงเหตทุ ไ่ี มส่ ง่ั ใหผ้ นู้ น้ั
กลับเข้ารบั ราชการไวใ้ นค�ำ สั่งน้ันด้วย
(๕) ในกรณที ผี่ ู้นน้ั กระท�ำ ผิดวินัยอยา่ งไม่รา้ ยแรง แตม่ กี รณีทผ่ี นู้ ้นั ถกู สั่งพกั ราชการ
ในกรณีอื่นด้วย  ให้ส่ังให้ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการโดยให้แสดงไว้ในคำ�สั่งด้วยว่าผู้น้ันยังไม่อาจ
กลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการได้เน่ืองจากอยู่ในระหว่างถูกส่ังพักราชการในกรณีอ่ืน  ส่วนการ
ดำ�เนนิ การตามมาตรา ๙๖ ใหร้ อฟังผลการสอบสวนหรือพิจารณาหรอื ผลแหง่ คดีกรณีอนื่ นัน้
(๖) ในกรณีที่ผู้นั้นมิได้กระทำ�ผิดวินัย  แต่มีกรณีท่ีผู้น้ันถูกส่ังพักราชการในกรณีอ่ืน
ดว้ ย ให้สั่งยตุ ิเรื่อง และสั่งใหผ้ ูน้ ัน้ กลบั เข้ารับราชการโดยใหแ้ สดงไว้ในค�ำ สงั่ ดว้ ยว่าผนู้ นั้ ยงั ไม่อาจ
กลบั เข้าปฏิบตั หิ นา้ ท่รี าชการไดเ้ น่อื งจากอยูใ่ นระหว่างถกู สง่ั พักราชการในกรณอี ื่นนน้ั
ขอ้ ๘๘ เม่ือได้สั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดพักราชการในกรณีที่ถูกฟ้องคดี
อาญา หรือตอ้ งหาวา่ กระทำ�ความผิดอาญา และปรากฏผลแห่งคดีถึงทีส่ ดุ แลว้ ใหด้ �ำ เนินการ
ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) ในกรณีที่ผู้นั้นกระทำ�ผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกหรือโทษที่หนักกว่าโทษจำ�คุก
โดยคำ�พิพากษาถึงท่ีสุด  เว้นแต่เป็นโทษสำ�หรับความผิดท่ีได้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิด
ลหโุ ทษ ไดด้ ำ�เนนิ การตามมาตรา ๙๗ โดยไมต่ อ้ งสง่ั ใหผ้ ูน้ น้ั กลบั เขา้ ปฏิบัตหิ น้าทีร่ าชการ
(๒) ในกรณีที่ผู้น้ันกระทำ�ผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาถึงท่ีสุดใน
ความผิดที่ได้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือต้องรับโทษจำ�คุกโดยคำ�ส่ังของศาล
ให้ดำ�เนินการตามมาตรา ๙๓ หรือมาตรา ๑๑๐ (๘) แล้วแตก่ รณี โดยไมต่ อ้ งสั่งให้ผนู้ น้ั กลบั เขา้
ปฏิบัตหิ น้าที่ราชการ

๖๔

(๓) ในกรณีทผ่ี ู้นน้ั กระทำ�ผิดอาญาจนไดร้ ับโทษตาม (๑) หรอื (๒) แต่ศาลรอการ
กำ�หนดโทษหรือให้รอการลงโทษ หรือไดร้ ับโทษอย่างอน่ื นอกจาก (๑) หรือ (๒) ให้สัง่ ให้ผูน้ นั้ กลบั
เขา้ ปฏิบตั ิหนา้ ที่ราชการตามขอ้ ๙๑ และดำ�เนินการทางวนิ ยั ตามกฎ ก.พ. นตี้ อ่ ไป
(๔) ในกรณที ีใ่ นค�ำ พิพากษาถงึ ท่สี ุดมไิ ดว้ ินจิ ฉยั ว่าผนู้ ้ันกระท�ำ ผิดอาญา หรือ มิไดม้ ี
การฟอ้ งคดีอาญาในกรณีท่ตี อ้ งหาว่ากระทำ�ผดิ อาญา ใหส้ งั่ ใหผ้ ูน้ น้ั กลับเข้าปฏิบัตหิ น้าที่ราชการ
ตามขอ้ ๙๑ และถา้ การกระท�ำ ดงั กลา่ วมมี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาวา่ กระท�ำ ผดิ วนิ ยั กใ็ หด้ �ำ เนนิ การตาม
กฎ ก.พ. น้ีต่อไป
ในกรณที ่ีผ้ถู กู สง่ั พกั ราชการตาม (๓)​ หรือ (๔) ได้พน้ จากราชการตามกฎหมายว่า
ดว้ ยบ�ำ เหน็จบ�ำ นาญข้าราชการ หรอื มีกรณีท่ีจะตอ้ งถกู สัง่ ใหอ้ อกจากราชการดว้ ยเหตุอื่น หรือได้
ออกจากราชการดว้ ยเหตุอน่ื ไปแลว้ หรอื มีกรณอี ื่นทผี่ ู้นน้ั ถูกสงั่ พกั ราชการหรอื ใหอ้ อกจากราชการ
ไว้ก่อน ไม่ตอ้ งสง่ั ใหผ้ นู้ ัน้ กลับเขา้ ปฏิบัติหนา้ ทร่ี าชการ แต่ใหแ้ สดงเหตทุ ่ไี ม่ส่ังใหผ้ นู้ ัน้ กลบั เขา้
ปฏบิ ัติหน้าท่ีราชการไว้ด้วย
ข้อ ๘๙ เม่ือได้ส่ังให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดออกจากราชการไว้ก่อนในกรณี
ท่ีถูกฟ้องคดีอาญา  หรือต้องหาว่ากระทำ�ความผิดอาญา  และปรากฏผลแห่งคดีถึงท่ีสุดแล้ว
ใหด้ �ำ เนินการดงั ต่อไปน้ี
(๑) ในกรณีที่ผู้นั้นกระทำ�ผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกหรือโทษท่ีหนักกว่าโทษจำ�คุก
โดยคำ�พิพากษาถึงที่สุด  เว้นแต่เป็นโทษสำ�หรับความผิดที่ได้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิด
ลหุโทษ ใหด้ ำ�เนนิ การตามมาตรา ๙๗ โดยไมต่ อ้ งสง่ั ให้ผนู้ นั้ กลับเข้ารับราชการ
(๒) ในกรณีที่ผู้น้ันกระทำ�ผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาถึงท่ีสุด
ในความผิดท่ีได้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือต้องรับโทษจำ�คุกโดยคำ�สั่งของศาล
ให้ด�ำ เนินการตามมาตรา ๙๓ หรอื มาตรา ๑๑๐ (๘) แลว้ แต่กรณี โดยไม่ตอ้ งสง่ั ให้ผนู้ นั้ กลับเขา้
รบั ราชการ
(๓) ในกรณีที่ผูน้ ัน้ กระทำ�ผิดอาญาจนได้รับโทษตาม (๑) หรือ (๒) แตศ่ าลรอการ
ก�ำ หนดโทษหรอื ใหร้ อการลงโทษ หรือไดร้ ับโทษอย่างอืน่ นอกจาก (๑) หรือ (๒) ให้ส่ังใหผ้ ู้นั้นกลบั
เข้ารบั ราชการตามข้อ ๙๑ และดำ�เนินการทางวนิ ัยตามกฎ ก.พ. น้ตี ่อไป
(๔) ในกรณีท่ีในคำ�พิพากษาถึงที่สุดมิได้วินิจฉัยว่าผู้น้ันกระทำ�ผิดอาญา  หรือมิได้
มกี ารฟอ้ งคดอี าญาในกรณที ต่ี อ้ งหาวา่ กระท�ำ ผดิ อาญา ใหส้ ง่ั ใหผ้ นู้ น้ั กลบั เขา้ รบั ราชการตามขอ้ ๙๑
และถ้าการกระทำ�ดังกล่าวมีมูลท่ีควรกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินัยก็ให้ดำ�เนินการตามกฎ  ก.พ.  นี้
ตอ่ ไป
ในกรณที ่ผี ู้ถูกส่ังใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ นตาม (๓) หรอื (๔) มีกรณอี น่ื ทถ่ี กู สง่ั พัก
ราชการด้วย  ให้ส่ังให้ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการโดยให้แสดงไว้ในคำ�สั่งด้วยว่าผู้น้ันยังไม่อาจกลับ
เข้าปฏิบัติหน้าท่ีราชการได้เน่ืองจากอยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการในกรณีอ่ืน  แต่ถ้าผู้น้ันได้พ้น

๖๕

จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบำ�เหนจ็ บำ�นาญข้าราชการ หรอื มกี รณีทีจ่ ะต้องถกู สั่งใหอ้ อก
จากราชการดว้ ยเหตอุ ่นื หรือไดอ้ อกจากราชการดว้ ยเหตุอืน่ ไปแลว้ หรือมกี รณีอน่ื ท่ีผ้นู ัน้ ถกู สัง่ ให้
ออกจากราชการไวก้ ่อน ไม่ตอ้ งส่ังให้ผู้นัน้ กลบั เข้ารับราชการ แตใ่ ห้แสดงเหตุที่ไมส่ ัง่ ใหผ้ ้นู ้นั กลับ
เข้ารบั ราชการไวด้ ้วย
ข้อ ๙๐ ในกรณีที่ขา้ ราชการพลเรือนสามญั ผใู้ ดมกี รณที ถี่ กู ด�ำ เนนิ การทางวินัย หรือ
ถกู ฟ้องคดอี าญา หรอื ต้องหาวา่ กระท�ำ ความผิดอาญาทีไ่ มเ่ ขา้ ลกั ษณะตามข้อ ๗๘ และมีกรณีอ่นื
ทผี่ ู้นนั้ ถูกสงั่ พักราชการหรอื ถูกส่ังใหอ้ อกจากราชการไว้ก่อน เมอื่ ปรากฏผลการสอบสวนพจิ ารณา
หรอื ผลแหง่ คดถี งึ ทส่ี ดุ ในเรอ่ื งทม่ี ไิ ดม้ คี �ำ สง่ั พกั ราชการหรอื ใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ น ใหด้ �ำ เนนิ การ
ดงั นี้
(๑) ในกรณีทผ่ี นู้ นั้ กระท�ำ ผดิ วินยั อยา่ งรา้ ยแรง หรือผ้นู ้ันกระท�ำ ผิดอาญาจนได้รับ
โทษจำ�คุก  หรือโทษที่หนักกว่าโทษจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาถึงที่สุดเว้นแต่เป็นโทษจำ�คุกสำ�หรับ
ความผดิ ทไ่ี ด้กระท�ำ โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ ใหด้ ำ�เนนิ การตามมาตรา ๙๗
(๒) ในกรณีที่ผู้น้ันกระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง  ให้รอการดำ�เนินการตาม
มาตรา ๙๖ ไวก้ อ่ นจนกวา่ จะปรากฏผลการสอบสวนพจิ ารณาหรอื ผลแหง่ คดถี งึ ทส่ี ดุ ในกรณอี น่ื นน้ั
จงึ ดำ�เนินการตามควรแก่กรณีตอ่ ไป
(๓) ในกรณีทีส่ มควรให้ผู้น้นั ออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) (๗) หรือ (๘)
ให้ดำ�เนินการใหผ้ ูน้ ั้นออกจากราชการได้
(๔) ในกรณีท่ีผู้นั้นมิได้กระทำ�ผดิ วนิ ยั ในเร่ืองนั้น ให้สงั่ ยุตเิ รือ่ ง
ข้อ ๙๑ ในกรณีท่ีจะต้องส่ังให้ผู้ถูกส่ังพักราชการผู้ใดกลับเข้าปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
หรือต้องส่ังให้ผู้ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนผู้ใดกลับเข้ารับราชการ  ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมี
อ�ำ นาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ส่ังให้ผู้นัน้ กลับเข้าปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีราชการหรือกลับเข้ารบั ราชการใน
ตำ�แหน่งตามเดิม หรือต�ำ แหน่งอื่นในประเภทเดยี วกันและระดับเดยี วกนั หรอื ในตำ�แหนง่ ประเภท
และระดับที่ ก.พ. กำ�หนด ทงั้ นี้ ผนู้ ั้นต้องมคี ุณสมบตั ติ รงตามคุณสมบตั เิ ฉพาะสำ�หรับตำ�แหน่งนัน้
ในกรณีที่สั่งให้ผู้ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนกลับเข้ารับราชการในตำ�แหน่ง
ประเภทบรหิ ารระดบั สงู หรอื ประเภทวชิ าการระดบั ทรงคณุ วฒุ ิ ใหด้ �ำ เนนิ การน�ำ ความกราบบงั คมทลู
เพอ่ื ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ต้ัง
ขอ้ ๙๒ ค�ำ ส่งั พกั ราชการ คำ�สัง่ ให้ออกจากราชการไวก้ อ่ น ค�ำ สัง่ ให้กลบั เข้าปฏิบัติ
หน้าท่ีราชการ  หรือคำ�ส่ังให้กลับเข้ารับราชการ  ให้มีสาระสำ�คัญตามแบบที่สำ�นักงาน  ก.พ.
ก�ำ หนด

๖๖

หมวด ๙
ก_า_ร_น_บั _ร_ะ_ย_ะ_เ_ว_ล_า
ขอ้ ๙๓ การนับระยะเวลาตามกฎ ก.พ. น้ี ถ้ากำ�หนดเวลาเป็นวัน สปั ดาห์ หรอื เดอื น
มิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วย  เว้นแต่คณะกรรมการสอบสวนหรือผู้ซึ่งต้องใช้
อำ�นาจตามกฎ ก.พ. นจ้ี ะไดเ้ ร่ิมการในวันนนั้
ในกรณที ่คี ณะกรรมการสอบสวนหรอื ผซู้ ง่ึ ตอ้ งใช้อำ�นาจตามกฎ ก.พ. นี้ ต้องกระทำ�
การอย่างหนึ่งอย่างใดภายในระยะเวลาที่กำ�หนด  ให้นับวันส้ินสุดของระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วย
แมว้ ่าวนั สดุ ทา้ ยเป็นวันหยดุ ราชการ
ในกรณีที่บุคคลอื่นนอกจากที่กำ�หนดไว้ในวรรคสองต้องทำ�การอย่างหนึ่งอย่างใด
ภายในระยะเวลาที่กำ�หนด  ถ้าวันสุดท้ายเป็นวันหยุดราชการ  ให้ถือว่าระยะเวลานั้นส้ินสุด
ในวันทำ�งานทถ่ี ดั จากวนั หยุดนนั้

หมวด ๑๐
_บ__ท_เ_บ_็ด_เ_ต_ล_ด็__
ข้อ ๙๔ ในกรณีท่ีมีเหตุผลความจำ�เป็นเป็นพิเศษท่ีไม่อาจนำ�หลักเกณฑ์  วิธีการ
และระยะเวลาทก่ี �ำ หนดในกฎ ก.พ. นม้ี าใชบ้ งั คบั ได้ การด�ำ เนนิ การในเรอ่ื งนน้ั จะสมควรด�ำ เนนิ การ
ประการใด ให้เป็นไปตามท่ี ก.พ. กำ�หนด

_บ_ท__เฉ__พ_า_ะ_ก_า_ล_
ข้อ ๙๕ ในกรณีท่ีได้มีการสั่งให้สอบสวนข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดโดยถูกต้อง
ตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บหรอื หลักเกณฑ์ท่ีใช้อยูก่ ่อนวนั ทก่ี ฎ ก.พ. นใ้ี ช้บงั คับ และการสอบสวน
น้ันยงั ไมแ่ ลว้ เสร็จ ใหด้ �ำ เนนิ การสอบสวนผ้นู ั้นตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บหรอื หลักเกณฑท์ ใี่ ชอ้ ยู่
ในขณะน้ันต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ  ส่วนการพิจารณาและดำ�เนินการต่อไปให้ดำ�เนินการตาม
กฎ ก.พ. น้ี
ขอ้ ๙๖ ในกรณีที่ได้มีการสอบสวนข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดโดยถูกต้องตาม
กฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรือหลักเกณฑ์ท่ใี ชอ้ ยูใ่ นขณะน้ันเสรจ็ ไปแลว้ ในวนั ก่อนวนั ที่กฎ ก.พ. น ้ี
ใชบ้ งั คบั   แตย่ งั มไิ ดม้ กี ารพจิ ารณาและด�ำ เนนิ การตอ่ ไปหรอื การพจิ ารณาด�ำ เนนิ การยงั ไมแ่ ลว้ เสรจ็
ให้การสอบสวนน้ันเป็นอันใช้ได้  ส่วนการพิจารณาและดำ�เนินการต่อไปให้ดำ�เนินการตาม
กฎ ก.พ. น้ี

๖๗

ข้อ ๙๗ ในกรณีท่ีได้มีการสอบสวนและพิจารณาโดยถูกต้องตามกฎหมาย  กฎ
ระเบยี บ หรอื หลักเกณฑ์ท่ใี ช้อยู่ในขณะนั้นเสร็จไปแล้วก่อนวันท่ีกฎ ก.พ. น้ใี ชบ้ ังคบั แต่ยังมไิ ด้
ดำ�เนนิ การใหเ้ ป็นไปตามผลการพจิ ารณาดงั กล่าว ให้การสอบสวนและพิจารณานนั้ เปน็ อันใช้ได้
สว่ นการดำ�เนินการต่อไปใหด้ ำ�เนินการตามกฎ ก.พ. น้ี
ในกรณีที่จะต้องสั่งลงโทษตัดเงินเดือนหรือลดข้ันเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผ้กู ระท�ำ ผดิ วินยั อยา่ งไม่ร้ายแรงก่อนวนั ทกี่ ฎ ก.พ. นี้ใช้บงั คับ แตย่ งั ไม่ได้ส่งั ลงโทษ ใหส้ ั่งลงโทษ
ตามข้อ ๖๗ (๒) หรือ (๓) แล้วแตก่ รณี
ข้อ ๙๘ ในกรณีที่ได้มีการสั่งพักราชการหรือสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนโดย
ถกู ต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือหลักเกณฑ์ท่ใี ชอ้ ยกู่ ่อนวนั ท่กี ฎ ก.พ. นี้ใชบ้ ังคบั และการ
สอบสวนหรอื การพจิ ารณานน้ั ยงั ไมเ่ สรจ็ ใหก้ ารสง่ั พกั ราชการหรอื สง่ั ใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ นนน้ั
มีผลตอ่ ไปตามกฎ ก.พ. นี้ จนกว่าจะมีการสงั่ การเป็นอยา่ งอน่ื ตามกฎ ก.พ. น้ี
ให้ไว้ ณ วันท่ ี ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พงศเ์ ทพ เทพกาญจนา
รองนายกรฐั มนตรี
ประธาน ก.พ.

______________________________________________________________________________
หมายเหตุ :– เหตุผลในการประกาศใช้กฎ ก.พ. ฉบับน้ี คือ โดยท่พี ระราชบัญญัติระเบียบ
ขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๙๔ (๔) มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖ วรรคส่ี มาตรา ๙๗
วรรคสอง มาตรา ๑๐๑ วรรคแปด และมาตรา ๑๐๕ บัญญัติให้การดำ�เนินการทางวนิ ัยเปน็ ไปตาม
ท่กี �ำ หนดในกฎ ก.พ. จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งออกกฎ ก.พ. น้ี

๖๘

ท่ี นร ๑๐๑๑ / ว ๓ (ส�ำ เนา) สำ�นกั งาน ก.พ.
ถนนติวานนท์ จงั หวัดนนทบุร ี ๑๑๐๐๐


๒๖ กุมภาพนั ธ ์ ๒๕๕๗

เร่ือง แบบตามกฎ ก.พ. ว่าดว้ ยการดำ�เนินการทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖
เรยี น อธบิ ดกี รมทดี่ ิน
ส่งิ ท่สี ง่ มาด้วย แบบทสี่ ำ�นกั งาน ก.พ. กำ�หนด (ดว.๑ – ดว.๖) จำ�นวน ๖ ฉบับ

โดยท่ี  กฎ  ก.พ.  ว่าด้วยการดำ�เนินการทางวินัย  พ.ศ. ๒๕๕๖  หมวด  ๔
การดำ�เนนิ การในกรณมี มี ลู ที่ควรกลา่ วหาวา่ กระทำ�ผิดวินัยอยา่ งรา้ ยแรง ข้อ ๑๙ ข้อ ๒๐ ข้อ ๓๑
ขอ้ ๔๐ และข้อ ๕๓ หมวด ๖ การสงั่ ยุติเรอ่ื ง ลงโทษ หรืองดโทษ ข้อ ๖๖ ข้อ ๖๙ ข้อ ๗๑ และ
ขอ้ ๗๒ หมวด ๗ การมีค�ำ สั่งใหม่กรณีมกี ารเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ ขอ้ ๗๔ และ
หมวด ๘ การส่งั พกั ราชการและให้ออกจากราชการไว้ก่อน ขอ้ ๙๒ กำ�หนดใหแ้ บบค�ำ สงั่ และ
แบบการสอบสวนทางวินยั ต้องมีสาระสำ�คัญตามที่ส�ำ นกั งาน ก.พ. ก�ำ หนด
สำ�นักงาน  ก.พ.  จึงได้กำ�หนดแบบคำ�ส่ังและแบบการสอบสวนทางวินัยตาม
หมวด ๔ การด�ำ เนนิ การในกรณมี ีมลู ทีค่ วรกลา่ วหาว่ากระท�ำ ผิดวนิ ยั อยา่ งร้ายแรง ข้อ ๑๙ ขอ้ ๒๐
ขอ้ ๓๑ ขอ้ ๔๐ และข้อ ๕๓ รายละเอียดปรากฏตามส่งิ ท่ีส่งมาด้วย
สำ�หรับแบบคำ�ส่ังอ่ืน  ในระหว่างที่สำ�นักงาน  ก.พ.  ยังมิได้กำ�หนด  ให้นำ�แบบ
คำ�ส่ังท่ีกำ�หนดไว้ในกฎ  ระเบียบ  หรือหลักเกณฑ์ท่ีออกตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ
พลเรอื น พ.ศ.๒๕๓๕ มาใช้เทา่ ที่ไมข่ ัดหรือแย้งกบั กฎ ก.พ. น้ี โดยแบบคำ�ส่ังดังกลา่ วตอ้ งมสี าระ
ส�ำ คญั ดังนี้
หมวด ๖ การส่ังยุติเรื่อง  ลงโทษ  หรืองดโทษ  ต้องมีสาระสำ�คัญตามข้อ  ๖๖
ข้อ ๖๙ ข้อ ๗๑ หรอื ข้อ ๗๒
หมวด ๗ การมีคำ�สง่ั ใหม่กรณกี ารเพมิ่ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ ตอ้ งมี
สาระส�ำ คญั ตามข้อ ๗๔
หมวด ๘ การส่ังพักราชการและให้ออกจากราชการไว้ก่อน  ต้องมีสาระสำ�คัญ
ตามขอ้ ๘๒ ข้อ ๘๔ หรอื ขอ้ ๙๑
จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและถอื เป็นหลักในการปฏิบตั ติ อ่ ไป ทง้ั นีไ้ ด้แจง้ ให้กรม
และจังหวดั ทราบแล้ว
ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงชอ่ื ) นนทกิ ร กาญจนะจิตรา
(นายนนทิกร กาญจนะจิตรา)
เลขาธิการ ก.พ.
ส�ำ นักมาตรฐานวินยั
โทร. ๐ ๒๕๔๗ ๑๖๒๘ โทรสาร ๐ ๒๕๔๗ ๑๖๒๕

๖๙

แบบท่ีส�ำ นกั งาน ก.พ. ก�ำ หนด
ตามกฎ ก.พ. ว่าด้ว_ย__ก_า_ร_ด_�ำ _เ_น_นิ _ก__า_ร_ท_า_งวนิ ยั พ.ศ. ๒๕๕๖

ครุฑ แบบ ดว. ๑
ค�ำ สง่ั .................................. (ขอ้ ๑๙)

ที่..../๒๕..
เรื่อง แต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรง

ดว้ ย..........(ช่อื )..........เลขประจ�ำ ตวั ประชาชน.................ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั
ตำ�แหนง่ ประเภท....................ต�ำ แหนง่ ในการบรหิ ารงาน (ถา้ มี)..................ตำ�แหน่งในสายงาน
....................ระดับ....................ส่วนราชการ....................สงั กัดจังหวัด (ถ้ามี)..........................
กรม.............เลขทต่ี �ำ แหนง่ ...............มกี รณีอันมมี ลู ทค่ี วรกล่าวหาว่ากระทำ�ผิดวินยั อยา่ งร้ายแรง
ในเร่อื ง..................................................................................................................................
........................................................................................................................
อาศัยอำ�นาจตามมาตรา ๙๓ หรอื มาตรา ๙๔ (....) แห่งพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บ
ขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ แล้วแตก่ รณี ประกอบกบั ขอ้ ๑๕ หรือขอ้ ๑๖ ของกฎ ก.พ. วา่ ด้วย
การดำ�เนนิ การทางวนิ ัย พ.ศ.๒๕๕๖ แลว้ แต่กรณี จึงแตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนเพื่อสอบสวน
ผูถ้ ูกกล่าวหาในเรอ่ื งดงั กล่าวประกอบด้วยบคุ คลดงั ต่อไปน้ี
....................(ชอ่ื ).................... เป็นประธานกรรมการ
....................(ชอ่ื ).................... เปน็ กรรมการ
ฯลฯ ฯลฯ
....................(ชื่อ).................... เป็นกรรมการและเลขานกุ าร
....................(ชอื่ ).................... เป็นผู้ชว่ ยเลขานกุ าร (ถา้ ม)ี
ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนพจิ ารณาตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และระยะเวลาท่กี �ำ หนด
ในกฎ ก.พ. วา่ ดว้ ยการดำ�เนินการทางวนิ ยั พ.ศ. ๒๕๕๖ แลว้ เสนอสำ�นวนการสอบสวนมาเพื่อ
พิจารณาด�ำ เนินการตอ่ ไป


๗๐

อน่งึ ถา้ คณะกรรมการสอบสวนเหน็ ว่า กรณมี มี ลู ว่าผถู้ กู กลา่ วหากระทำ�ผิดวินยั ใน
เรอ่ื งอ่ืน นอกจากท่ีระบไุ ว้ในคำ�สัง่ น้ี หรอื กรณที กี่ ารสอบสวนพาดพงิ ไปถึงผ้อู ่ืน ให้ด�ำ เนินการตาม
ขอ้ ๔๙ หรอื ขอ้ ๕๐ ของกฎ ก.พ. วา่ ด้วยการดำ�เนนิ การทางวนิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๖ แล้วแต่กรณี

สงั่ ณ วันท่ี .. เดือน........................พ.ศ. ๒๕..
(ลงช่ือ)
(.............ช่ือผู้สั่ง.............)
.............(ต�ำ แหนง่ ๑).............
___________________________

๑ ในกรณเี ป็นผู้รักษาราชการแทน/เปน็ ผรู้ บั มอบอ�ำ นาจใหป้ ฏิบตั ิราชการแทน/เป็นผู้รักษาการในต�ำ แหน่ง
ใหร้ ะบุดว้ ย

๗๑

แบบทสี่ �ำ นักงาน ก.พ. กำ�หนด
ตามกฎ ก.พ. วา่ ด้ว_ย__ก_า_ร_ด_ำ�_เ_น_นิ _ก__า_ร_ท_า_งวนิ ยั พ.ศ. ๒๕๕๖

ครุฑ แบบ ดว. ๒
คำ�สงั่ .................................. (ตามข้อ ๒๐)

ท.่ี .../๒๕..
เรอื่ ง เปลยี่ นแปลงกรรมการสอบสวน

ตามค�ำ สั่ง..............................ท.่ี .../๒๕.. สงั่ ณ วันที่.................................แตง่ ต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง..........(ชื่อ).......เลขประจ�ำ ตวั ประชาชน.................
ข้าราชการพลเรอื นสามัญต�ำ แหน่งประเภท...............ตำ�แหน่งในการบรหิ ารงาน (ถา้ มี)...............
ต�ำ แหน่งในสายงาน......................ระดบั .................ส่วนราชการ..................สังกัดจงั หวดั (ถ้ามี)
...........................................กรม...................................เลขที่ต�ำ แหน่ง...............นั้น
บัดนี้ เหน็ สมควรเปลีย่ นแปลงกรรมการสอบสวน เปน็ ดังน้ี
....................(ช่อื ).................... เปน็ ประธานกรรมการ
....................(ช่ือ).................... เป็นกรรมการ
ฯลฯ ฯลฯ
....................(ชอื่ ).................... เป็นกรรมการและเลขานุการ
....................(ช่ือ).................... เปน็ ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร (ถา้ มี)

ส่ัง ณ วันท่ี .. เดอื น........................พ.ศ. ๒๕..

(ลงชอ่ื )
(.............ชื่อผสู้ ัง่ .............)
.............(ต�ำ แหน่ง๑).............

___________________________

๑ ในกรณเี ปน็ ผ้รู กั ษาราชการแทน/เปน็ ผู้รับมอบอ�ำ นาจใหป้ ฏิบัตริ าชการแทน/เปน็ ผรู้ ักษาการในตำ�แหน่ง
ให้ระบดุ ้วย

๗๒

แบบท่ีส�ำ นักงาน ก.พ. กำ�หนด แบบ ดว. ๓
ตามกฎ ก.พ. ว่าด้ว_ย__ก_า_ร_ด_�ำ _เ_น_ิน_ก__า_ร_ท_า_งวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖ (ตามข้อ ๓๑)

บันทึกถอ้ ยค�ำ ของพยาน

เรือ่ ง การสอบสวน..............(ชอ่ื )......_.._.._.._.._ซ_่ึง_ถ_กู__ก_ล_่า_ว_ห_า__ว่ากระท�ำ ผิดวินัยอย่างรา้ ยแรง

สอบสวนท.่ี ..........................................
วันที.่ ..................................
ข้าพเจ้า..............(ชือ่ )..............เลขประจำ�ตวั ประชาชน......................อายุ..........ปี
สัญชาติ....................ศาสนา....................อาชพี ..................อยู่บ้านเลขที่.................ตรอก/ซอย
......................................ถนน..................................แขวง/ตำ�บล............................เขต/อ�ำ เภอ
.................................................จังหวัด...............................................ขา้ พเจ้าได้ทราบแลว้ ว่า
ขา้ พเจา้ เป็นพยานในกรณีที.่ .............(สว่ นราชการ)...........ส่ังตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ัย
อยา่ งรา้ ยแรง......................(ชอ่ื )......................ในเรอื่ ง.............................................................
และคณะกรรมการสอบสวนได้แจ้งให้ข้าพเจ้าทราบว่ากรรมการสอบสวนมีฐานะเป็นเจ้าพนักงาน
ตามประมวลกฎหมายอาญา การใหถ้ ้อยค�ำ อันเปน็ เท็จต่อกรรมการสอบสวนอาจเปน็ ความผิด
ตามกฎหมาย
ขา้ พเจา้ ขอให้ถอ้ ยคำ�ตามสัตย์จริงดังตอ่ ไปน้ี
.........................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
....................................................................
ขา้ พเจา้ ขอรบั รองวา่ คณะกรรมการสอบสวนมไิ ดก้ ระท�ำ การใดๆ ซง่ึ เปน็ การใหค้ �ำ มน่ั
สัญญา ขู่เขญ็ หลอกลวง บงั คบั หรือกระท�ำ โดยมิชอบไม่ว่าด้วยประการใด เพอ่ื จูงใจขา้ พเจ้า
ให้ถ้อยคำ�  และกรรมการสอบสวนได้อ่านให้ข้าพเจ้าฟัง/ข้าพเจ้าได้อ่านบันทึกถ้อยคำ�เองแล้ว
ขอรับรองวา่ เป็นบันทกึ ถอ้ ยคำ�ทีถ่ ูกต้อง จึงลงลายมอื ช่ือไว้ต่อหน้ากรรมการสอบสวน

๗๓

....................(ลายมอื ชอ่ื ).................... พยาน

(........................................................)
....................(ลายมือชอ่ื ).................... ผบู้ ันทึกถอ้ ยค�ำ
(........................................................)
ขา้ พเจ้าขอรบั รองวา่ .........(ช่ือ).........ได้ให้ถ้อยคำ�และลงลายมือช่ือต่อหนา้ ข้าพเจา้
....................(ลายมือชอื่ ).................... ประธานกรรมการ
(........................................................)
....................(ลายมือชื่อ).................... กรรมการ
(........................................................)
ฯลฯ
....................(ลายมือช่ือ).................... กรรมการ
(........................................................) และเลขานุการ


๗๔

แบบท่ีสำ�นักงาน ก.พ. กำ�หนด แบบ ดว. ๔
ตามกฎ ก.พ. ว่าดว้_ย__ก_า_ร_ด_ำ�_เ_น_นิ _ก__า_ร_ท_า_งวนิ ยั พ.ศ. ๒๕๕๖ (ตามข้อ ๓๑)

บันทกึ ถ้อยค�ำ ของผถู้ ูกกล่าวหา

เรอ่ื ง การสอบสวน..............(ชื่อ)......_.._.._.._.._ซ_งึ่ _ถ_กู__ก_ล_่า_ว_ห_า__ว่ากระท�ำ ผิดวนิ ัยอย่างรา้ ยแรง

สอบสวนท่.ี ..........................................
วนั ที.่ ..................................
ขา้ พเจา้ ..............(ช่ือ)..............เลขประจ�ำ ตวั ประชาชน......................อายุ..........ปี
สญั ชาต.ิ ...................ศาสนา....................อาชีพ..................อยู่บา้ นเลขท.่ี ................ตรอก/ซอย
......................................ถนน..................................แขวง/ตำ�บล............................เขต/อ�ำ เภอ
.................................................จงั หวัด...............................................ข้าพเจ้าไดท้ ราบแลว้ ว่า
ข้าพเจา้ เปน็ ผถู้ ูกกลา่ วหาตามค�ำ สง่ั ....................................ท.่ี ..../๒๕.. ส่งั ณ วนั ท.่ี ..................
ในเรอื่ ง...................................................................................................................................
............................................................................................
ตามที่คณะกรรมการสอบสวนได้แจ้งข้อกลา่ วหาและสรุปพยานหลักฐานทส่ี นับสนนุ
ข้อกลา่ วหาตามบนั ทึกลงวันท่.ี .............................................ใหข้ า้ พเจา้ รบั ทราบแล้วนัน้
ตามขอ้ กลา่ วหาท่ีว่า............................................................................................
.............................................................................................
ข้าพเจ้าขอชี้แจงว่า.............................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
..............................................................................................

๗๕

ขา้ พเจา้ ขอรบั รองวา่ คณะกรรมการสอบสวนมไิ ดก้ ระท�ำ การใดๆ ซง่ึ เปน็ การใหค้ �ำ มน่ั
สญั ญา ข่เู ขญ็ หลอกลวง บงั คับ หรือกระทำ�โดยมิชอบไม่ว่าดว้ ยประการใด เพอื่ จงู ใจขา้ พเจ้า
ให้ถ้อยคำ�  และกรรมการสอบสวนได้อ่านให้ข้าพเจ้าฟัง/ข้าพเจ้าได้อ่านบันทึกถ้อยคำ�เองแล้ว
ขอรับรองวา่ เป็นบันทกึ ถ้อยคำ�ทถ่ี ูกต้อง จงึ ลงลายมือชื่อไวต้ ่อหน้ากรรมการสอบสวน

....................(ลายมอื ช่ือ).................... ผ้ถู กู กลา่ วหา
(........................................................)
....................(ลายมอื ชื่อ).................... ผบู้ ันทกึ ถ้อยค�ำ
(........................................................)
ข้าพเจา้ ขอรับรองวา่ .........(ชื่อ).........ได้ใหถ้ ้อยค�ำ และลงลายมอื ช่อื ตอ่ หน้าข้าพเจา้
....................(ลายมอื ช่ือ).................... ประธานกรรมการ
(........................................................)
....................(ลายมือช่ือ).................... กรรมการ
(........................................................)
ฯลฯ
....................(ลายมอื ชอ่ื ).................... กรรมการ
(........................................................) และเลขานกุ าร

๗๖

แบบท่สี ำ�นกั งาน ก.พ. กำ�หนด แบบ ดว. ๕
ตามกฎ ก.พ. วา่ ด้ว_ย__ก_า_ร_ด_ำ�_เ_น_นิ _ก__า_ร_ท_า_งวนิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๖ (ตามขอ้ ๔๐)

บนั ทึกการแจง้ ขอ้ กล่าวหา
และสรุปพยานหลักฐานท่ีสนบั สนนุ ข้อกลา่ วหา ตามขอ้ ๔๐

เร่ือง การสอบสวน..............(ชือ่ )......_.._.._.._.._ซ_ง่ึ _ถ_ูก__ก_ล_า่ _ว_ห_า__ว่ากระทำ�ผิดวินยั อย่างร้ายแรง

สอบสวนท.่ี ..........................................
วันท่ี...................................
ตามคำ�ส่ัง....................................ท่.ี ..../๒๕.. สง่ั ณ วันที.่ .........................แต่งตงั้
คณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง.......(ชอ่ื ).......คณะกรรมการสอบสวนไดด้ �ำ เนนิ การ
รวบรวมพยานหลกั ฐานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งทก่ี ลา่ วหา.................................................................
...................................................................................................นัน้
พยานหลกั ฐาบนทดั เ่นี ก้ี ย่ี ควขณอ้ ะงก แรรลมะกไดารป้ สรอะบชมุสวพนจิ ไาดร้ดณำ�าเ๑นินแกลาว้ รเรหวน็ บวรา่ วเมพขยี อ้งพเทอจ็ ทจจ่ี ระงิ รบั ขฟ้องั กแฎลหะมดา�ำ ยเนนิ แกลาะร
ต่อไปได้ โดยมขขีอ้ ้อกกลลา่ วา่ หวหา๒าแ..ล...ะ..พ..ย..า..น...ห..ล..กั..ฐ..า..น...โ.ด..ย...ส..ร.ุป....ด..ัง..น..ี้......................................................

.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
....................ส.....ร...ปุ.....พ.....ย.....า...น.....ห.....ล....กั.....ฐ....า....น.....ท....ี่ส.....น....ับ.....ส.....น.....ุน....ข....้อ.....ก....ล.....า่ ...ว....ห.....า....๓..................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.........................................................................................................
ในการสอบสวนน้ี ผูถ้ กู กล่าวหามีสทิ ธทิ ีจ่ ะใหถ้ อ้ ยค�ำ หรือย่ืนค�ำ ชแี้ จงแก้ขอ้ กลา่ วหา
เป็นหนังสือและมีสิทธิที่จะแสดงพยานหลักฐานหรือจะอ้างพยานหลักฐานเพ่ือขอให้เรียกพยาน
หลักฐานน้ันมากไ็ ด้

๗๗

บันทกึ นท้ี �ำ ข้ึนสองฉบบั มีขอ้ ความตรงกนั และคณะกรรมการสอบสวนได้ลงลายมอื
ช่ือไว้เป็นหลักฐาน

....................(ลายมอื ชอื่ ).................... ประธานกรรมการ
(........................................................)
....................(ลายมอื ชื่อ).................... กรรมการ
(........................................................)

ฯลฯ
....................(ลายมือชื่อ).................... กรรมการ
(........................................................) และเลขานุการ

๑__ ก_า_ร_ป_ร_ะ_ช_มุ _พ_จิ_า_ร_ณ__าว_นิ_จิ_ฉ__ยั _ต_า_ม_ข_อ้ _๔__๐ ตอ้ งมกี รรมการสอบสวนมาประชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ สามคนแ ละไมน่ อ้ ยกวา่
๒๓ ใกกหาง่ึ ร้หระสนบร่ึงปุขุขอ้พอเยงทกาจ็ นรจรหรมงลิ กแกั าลฐระาสพนอฤจบะตสรกิ วะานบรทชุณงั้อ่ื ว์หพา่ มยผดาถู้ นกู หกรลอื า่ ไวมหร่ าะไบดชุ ก้ อ่ื รกะไ็ทด�ำ ้การใด เมอ่ื ใด อยา่ งไร เปน็ ความผดิ วนิ ยั กรณใี ด

สอบสวนที.่ ..........................................
วนั ที่...................................
ขา้ พเจ้า..........(ช่ือ).........ได้รบั ทราบและลงลายมอื ชื่อรบั ทราบขอ้ กล่าวหาและสรุป
พยานหลักฐานท่สี นบั สนุนข้อกลา่ วหา ตามบนั ทกึ ลงวนั ที.่ .....................ไว้เป็นหลักฐานต่อหน้า
คณะกรรมการสอบสวน และไดร้ ับบันทึกนี้หนงึ่ ฉบับไว้แลว้ ในวนั นี้

....................(ลายมือชื่อ).................... ผู้ถกู กล่าวหา
(........................................................)
....................(ลายมอื ชอื่ ).................... ประธานกรรมการ
(........................................................)
....................(ลายมือช่ือ).................... กรรมการ
(........................................................)
....................(ลายมอื ชื่อ).................... กรรมการ
(........................................................) และเลขานกุ าร

๗๘

แบบทีส่ ำ�นักงาน ก.พ. กำ�หนด แบบ ดว. ๖
ตามกฎ ก.พ. ว่าด้ว_ย__ก_า_ร_ด_ำ�_เ_น_นิ _ก__า_ร_ท_า_งวนิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๖ (ตามข้อ ๕๓)

รายงานการสอบสวน

สอบสวนท่ี...........................................
วนั ท.่ี ..................................

เร่ือง การสอบสวน...........(ชื่อ)...........ซึ่งถกู กลา่ วหาวา่ กระท�ำ ผิดวนิ ัยอยา่ งร้ายแรง

เรยี น ................................................

ตามค�ำ สงั่ ....................................ท.ี่ ..../๒๕.. สั่ง ณ วันที.่ .........................แตง่ ตงั้
คณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง..........(ชอ่ื ).........ในเรอ่ื ง.......................................
.................................................................................................น้ัน
ประธานกรรมการได้รับสำ�เนาคำ�สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนพร้อมทั้งเอกสาร
หลักฐานท่ีเก่ียวข้องกับเรื่องท่ีกล่าวหาตั้งแต่วันที่..........................และได้ประชุมคณะกรรมการ
สอบสวนครง้ั แรก เมอ่ื วนั ท.่ี ................................
บัดนี้  คณะกรรมการสอบสวนได้ดำ�เนินการสอบสวนและได้ประชุมพิจารณา
มีความเห็นในเร่ืองทสี่ อบสวนนี้แล้ว จึงขอรายงานการสอบสวนโดยมขี ้อเท็จจริง ขอ้ กฎหมาย
และความเหน็ ดังต่อไปนี้
๑. มูลกรณเี รอ่ื งนีป้ รากฏขน้ึ เนื่องจาก...................................................................
.............................................................................................................................................
......................................................................................................
๒. การสบื สวนหรอื พิจารณาในเบอ้ื งตน้ ...............................................................
.............................................................................................................................................
......................................................................................................
๓. ผู้บังคับบัญชาซง่ึ มีอำ�นาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗ (....) พิจารณาเหน็ ว่า กรณี
มีมลู ทีค่ วรกลา่ วหาวา่ ...................(ช่อื ).................กระท�ำ ผดิ วนิ ัยอย่างร้ายแรง จงึ มคี �ำ ส่ังแต่งตัง้
คณะกรรมการสอบสวน

๗๙

๔. คณะกรรมการสอบสวนได้ประชุมพิจารณาวางแนวทางการสอบสวน  และ
ได้ดำ�เนินการรวบรวมข้อเท็จจริง  ข้อกฎหมาย  และพยานหลักฐานที่เก่ียวข้อง  และได้ประชุม
พิจารณาแลว้ เหน็ วา่ พยานหลักฐานเพียงพอท่ีจะรับฟังไดว้ า่ ...............(ช่ือ)............ผ้ถู กู กล่าวหา
กระทำ�ผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงในเรือ่ งน้ี โดยมีขอ้ เท็จจรงิ ในเบ้ืองต้นขอ้ กล่าวหาและพยานหลกั ฐาน
ทสี่ นับสนนุ ขอ้ กลา่ วหา โดยสรปุ ดังน้ี
ขอ้ เทจ็ จรงิ ได้ความในเบ้อื งตน้ วา่ ..........................................................................
..........................................................................................
ข้อกล่าวหา........................................................................................................
.............................................................................................................................................
....................พ...ย..า..น..ห..ล...กั ..ฐ..า..น..ท...่สี ..น..บั...ส..น..ุน...ข..้อ..ก..ล..่า..ว..ห..า..๑...............................................................................
.............................................................................................................................................
...........................................................................................
๕. คณะกรรมการสอบสวนได้เรียก..................(ชื่อ)................ผู้ถูกกล่าวหามาแจ้ง
และอธบิ ายขอ้ กล่าวหา  แ  ละสรุปพยานหลักฐานทีส่ นับสนนุ ขอ้ กล่าวหาให้ผ้ถู ูกกลา่ วหาทราบแล้ว
ไผปู้ถจกู ำ�กนลว่านวหหนาไง่ึ ดฉ้ลบงบั ลแาลยว้มดอื ว้ ชยอื่ ๒รับทราบ และได้รบั มอบบนั ทึกการแจ้งดงั กลา่ ว ลงวนั ที.่ ................
๖. ...............(ช่อื )..............ผู้ถกู กล่าวหาไดช้ ้แี จงและน�ำ สบื แกข้ ้อกล่าวหา ดงั นี้
คำ�ชแ้ี จงแก้ขอ้ กลา่ วหา........................................................................................
.............................................................................................................................................
...........................................................................................
พยานหลักฐานที่หกั ล้างขอ้ กล่าวหา
.........................................................................................................................
.............................................................................................................................................
. ...................๗..... .ค...ณ...ะ..ก..ร..ร.ม...ก..า..ร.ส...อ..บ..ส...ว.น...ไ.ด...ป้ ..ร..ะ..ช..ุม..พ...ิจ..า..ร.ณ....า..๓...ข้อเทจ็ จริง ข้อกฎหมาย และพยาน
หลกั ฐานตา่ งๆ และมีความเห็น ดงั นี้
ข้อเท็จจริงเบ้อื งต้น..............................................................................................
.............................................................................................................................................
...........................................................................................

๘๐

ข้อกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ ง........................................................................................
.............................................................................................................................................
...........................................................................................
ประเด็นที่ตอ้ งพจิ ารณา.......................................................................................
.............................................................................................................................................
. ...................ค..ว..า..ม...เ.ห..็น..ข..อ...ง.ค...ณ...ะ..ก..ร..ร.ม...ก..า..ร..ส..อ..บ..ส...ว..น..๔.............................................................................
......................................................................................................................................................................................๕..................................................
จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดพจิ ารณา และพร้อมนีไ้ ด้เสนอส�ำ นวนการสอบสวนมาดว้ ยแลว้

....................(ลายมอื ชื่อ).................... ประธานกรรมการ
(........................................................)
....................(ลายมือชอื่ ).................... กรรมการ
(........................................................)

ฯลฯ
....................(ลายมือชื่อ).................... กรรมการ
(........................................................) และเลขานุการ

_____________________________
๑ ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนไม่สอบสวนพยานใดตามข้อ ๓๕ หรืองดสอบสวนพยานใดตามข้อ ๓๖
๒ ใใหนร้กะรบณพุ ที ย่ีผาูถ้ นูกทกี่ไลมา่ ่สวอหบาสไมวนม่ หาพรอื บพตยาามนทห่ีคลณักะฐการนรทมง่ี กดาสรอสบอสบวสนวนน้นัเรียพกรอ้ ใมหทส้ ัง้ง่ เบหันตทผุ ึกลตไวาด้ม้วขยอ้ ๔๐ จำ�นวน ๑ ฉบับ
๓ กทาารงปไประรษชมุณพยี จิ ์ลางรทณะาเบวนิยี จินฉตยั อตบารมับขณอ้ ๕ท๒ีอ่ ยตู่ทอ้ ปี่งมรากี กรฏรมตกาามรหสลอักบฐสาวนนรมาาชปกราะรชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ สามคนและไมน่ อ้ ยกวา่
๔ ใกห่งึ ห้ระนบง่ึ ุวข่าอผงถู้กูกรรกมลกา่ าวรหสาอไบด้กสรวะนทท�ำ ้ังผหิดมวดนิ ยั อยา่ งไร หรอื ไม่ ถา้ ผิด เปน็ ความผิดวินัยกรณีใด ตามมาตราใด

และควรได้รบั โทษสถานใด/มีเหตุใหอ้ อกจากราชการ ตามมาตรา ๑๑๐ (๖) หรอื มาตรา ๑๑๐ (๗) หรอื ไม่

๕ ใอนยก่ารงณไรีท่ีกรรมการสอบสวนคนใดมคี วามเหน็ แยง้ ใหบ้ นั ทกึ รายละเอยี ดความเหน็ แยง้ ดว้ ย

๘๑

(สำ�เนา)

ท่ี นร ๑๐๑๑ / ว ๘ สำ�นกั งาน ก.พ.
ถนนติวานนท์ จงั หวดั นนทบุรี ๑๑๐๐๐

๒๕ กันยายน ๒๕๕๗

เรอื่ ง ระเบียบ ก.พ. ว่าดว้ ยการรายงานการดำ�เนนิ การทางวินยั และการสัง่ ให้ออกจากราชการ
พ.ศ. ๒๕๕๖
เรียน อธิบดีกรมที่ดิน
สงิ่ ท่สี ่งมาดว้ ย ๑. ระเบยี บ ก.พ. วา่ ด้วยการรายงานการดำ�เนนิ การทางวินัย และการสง่ั ให้
ออกจากราชการ พ.ศ. ๒๕๕๖
๒. แบบบนั ทกึ สรุปประวัตแิ ละขอ้ เทจ็ จริง

ด้วย  ก.พ.  ได้ออกระเบียบ  ก.พ.  ว่าด้วยการรายงานการดำ�เนินการทางวินัย
และการส่งั ใหอ้ อกจากราชการ พ.ศ. ๒๕๕๖ และไดป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษา ฉบบั ประกาศ
และงานทัว่ ไป เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๘๒ ง วันท่ี ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๖ รวมทงั้ ส�ำ นกั งาน ก.พ.
ไดด้ �ำ เนนิ การออกแบบบนั ทกึ สรปุ ประวตั แิ ละขอ้ เทจ็ จรงิ ตามทก่ี �ำ หนดไวใ้ นขอ้ ๕ ของระเบยี บ ก.พ.
ฉบับน้ีแลว้ รายละเอียดปรากฏตามสิง่ ที่สง่ มาดว้ ย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและถือปฏิบัติต่อไป  ท้ังนี้  ได้แจ้งให้กรมและจังหวัด
ทราบดว้ ยแลว้


ขอแสดงความนบั ถือ

(ลงช่ือ) นนทิกร กาญจนะจิตรา
(นายนนทกิ ร กาญจนะจิตรา)
เลขาธิการ ก.พ.

ส�ำ นกั มาตรฐานวนิ ยั
โทร. ๐ ๒๕๔๗ ๑๖๒๘
โทรสาร ๐ ๒๕๔๗ ๑๖๒๕

๘๒

(ส�ำ เนา)
ระเบยี บ ก.พ.
ว่าด้วยการรายงานการดำ�เนนิ การทางวินัยและการสั่งให้ออกจากราชการ
__พ_._ศ_._ ๒_๕_๕__๖__
อาศยั อำ�นาจตามความในมาตรา ๘ (๕) ประกอบกับมาตรา ๑๐๔ มาตรา ๘ (๗)
มาตรา ๑๐๓ และมาตรา ๑๑๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจำ�กัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึง่ มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔ ของรัฐธรรมนญู
แหง่ ราชอาณาจักรไทย บญั ญตั ิใหก้ ระท�ำ ได้โดยอาศยั อ�ำ นาจตามบทบญั ญัติแหง่ กฎหมาย ก.พ.
จงึ ออกระเบียบไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้
ขอ้ ๑ ระเบยี บนี้เรยี กว่า “ระเบยี บ ก.พ. วา่ ดว้ ยการรายงานการด�ำ เนนิ การทางวนิ ัย
และการสัง่ ให้ออกจากราชการ พ.ศ. ๒๕๕๖”
ขอ้ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นตน้ ไป
ข้อ ๓ การรายงาน อ.ก.พ. กระทรวง หรือรายงาน ก.พ. ตามมาตรา ๑๐๓ หรือ
มาตรา ๑๑๐ แล้วแต่กรณี ใหร้ ายงานเปน็ หนงั สอื ภายในสบิ ห้าวนั นับแต่วันทม่ี คี ำ�ส่ัง โดยใหส้ ง่
สำ�เนาคำ�ส่ังจำ�นวนสองฉบับ  พร้อมทั้งต้นฉบับสำ�นวนการสืบสวนสอบสวนการดำ�เนินการ
ทางวินยั หรือส�ำ นวนการพจิ ารณาดำ�เนินการสง่ั ใหอ้ อกจากราชการไปด้วย
ในกรณีทีผ่ ู้วา่ ราชการจังหวัดเป็นผ้รู ายงาน อ.ก.พ. กระทรวง หรือ ก.พ. ใหแ้ จง้ ผล
การดำ�เนนิ การใหผ้ ู้บังคบั บญั ชาซง่ึ มอี �ำ นาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ทราบด้วย
ขอ้ ๔ การรายงาน ก.พ. ตามมาตรา ๑๐๔ ให้ผู้แทน ก.พ. ซ่ึงเป็นกรรมการใน
อ.ก.พ.  กระทรวง  รายงานเป็นหนังสือ  สรุปข้อเท็จจริงโดยเฉพาะอย่างย่ิงในส่วนที่เก่ียวกับ
การดำ�เนินการท่ีเห็นว่าเป็นการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน  หรือ
การปฏบิ ตั ทิ เ่ี หน็ วา่ ไมเ่ หมาะสม พรอ้ มทง้ั ความเหน็ ของตนพรอ้ มดว้ ยเหตผุ ล เสนอตอ่ เลขาธกิ าร ก.พ.
ภายในเจ็ดวัน  นับแต่วันท่ีได้มีการพิจารณากรณีดังกล่าว  เพื่อประกอบการพิจารณาของ  ก.พ.
ตอ่ ไป และให้ อ.ก.พ. กระทรวงรายงานเป็นหนังสือแจ้งมติ อ.ก.พ. กระทรวง พร้อมส่งเอกสาร
ทเ่ี ก่ียวข้องต่อ ก.พ. โดยเร็ว
ข้อ ๕ เพื่อประโยชน์ในการกำ�กับ  ดูแล  ตรวจสอบและประเมินผล  รวมท้ังรักษา
ความเป็นธรรมและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับวินัยและการส่ัง
ใหอ้ อกจากราชการ เมื่อผู้บงั คับบญั ชาซ่ึงมีอำ�นาจสัง่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ไดด้ �ำ เนนิ การครบทุก

๘๓

ขน้ั ตอนและได้มคี ำ�สั่งเปน็ ประการใดแล้ว ใหผ้ บู้ งั คับบัญชาซ่ึงมีอ�ำ นาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗
สง่ ส�ำ เนาค�ำ ส่ัง พรอ้ มทง้ั บนั ทึกสรปุ ประวัตแิ ละข้อเทจ็ จรงิ ซึ่งมสี าระส�ำ คัญ ตามแบบทส่ี ำ�นักงาน
ก.พ. กำ�หนด ให้ ก.พ. ภายในสิบหา้ วันนับแตว่ นั ทไ่ี ดด้ �ำ เนินการตามมติ อ.ก.พ. กระทรวง หรือ
มติ ก.พ.
ขอ้ ๖ ให้เลขาธกิ าร ก.พ. รักษาการตามระเบยี บน้ี
ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖
พงศเ์ ทพ เทพกาญจนา
รองนายกรัฐมนตรี
ประธาน ก.พ.

๘๔

แบบบันทกึ สรปุ ประวตั แิ ละขอ้ เท็จจริง*
เรื่อง การสง่ สำ�เนาคำ�สั่ง.........................................ราย..............................................................
ตามค�ำ สั่ง...................................ที.่ ............/๒๕........... สั่ง ณ วนั ท.่ี ..................................

ตอนที่ ๑ ขอ้ มลู บุคคลผู้ถูกส่ัง

ชือ่ /นามสกลุ ............................................................................................ข้าราชการพลเรือนสามญั
เลขประจำ�ตวั ประชาชน................................... ต�ำ แหน่ง (ปัจจุบนั ) ประเภท.....................................
ตำ�แหน่งในสายงานและระดบั ........................................................................................................
สังกัด..................................................................................เงินเดือน.....................................บาท
วุฒ.ิ .............................................................................................................................................
อายุตวั .............................ปี อายรุ าชการ.............................ปี

ตอนที่ ๒ สรปุ ข้อเทจ็ จรงิ และข้อกฎหมาย (ถ้ามี) ตามกรณที ม่ี มี ูลกลา่ วหา ความเหน็ ของ
คณะกรรมการสอบสวนและผูบ้ ังคบั บญั ชาซงึ่ มอี ำ�นาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
หรอื ผมู้ อี �ำ นาจตามมาตรา ๙๔ หรอื อ.ก.พ. ตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง แลว้ แตก่ รณี
พจิ ารณาวนิ ิจฉัยและมคี �ำ สั่ง (ถ้ามีหลายกรณีใหส้ รปุ ทกุ กรณี)

....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
* หมายเหตุ แบบบันทกึ นี้ใช้ประกอบการส่งส�ำ เนาค�ำ ส่ังให้ ก.พ. ตามข้อ ๕ ของระเบยี บ ก.พ.

ว่าด้วยการรายงานการดำ�เนนิ การทางวินยั และการสงั่ ให้ออกจากราชการ พ.ศ.๒๕๕๖
กรณีมีคำ�ส่ังลงโทษ  (รวมท้ังลงทัณฑ์หรือลงโทษตามกฎหมายว่าด้วยวินัยข้าราชการ
ในส่วนราชการโดยเฉพาะ) คำ�สั่งยตุ เิ รอื่ ง ค�ำ สั่งงดโทษ ค�ำ สง่ั ใหอ้ อก หรอื คำ�ส่งั ใหม่
กรณเี พมิ่ โทษ ลดโทษ งดโทษ ยกโทษ ลงโทษ ยตุ เิ รอ่ื ง หรอื ใหอ้ อกตามมตขิ อง อ.ก.พ.
กระทรวง ตามมาตรา ๑๐๓

๘๕

ตอนท่ี ๓ ระยะเวลาสอบสวน ส�ำ หรบั การด�ำ เนนิ การทางวนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรงหรอื อยา่ งรา้ ยแรง
หรอื เพ่อื ด�ำ เนนิ การสงั่ ใหอ้ อก

กรณีดำ�เนนิ การโดยไมแ่ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวน ผู้บงั คับบัญชาซง่ึ มีอำ�นาจสัง่ บรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ ด�ำ เนนิ การสอบสวนและพจิ ารณาแล้วเสรจ็ ในเวลา................วนั
กรณีดำ�เนินการโดยแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน ท�ำ การสอบสวนแลว้ เสรจ็ ในเวลา....วัน
ถ้ามีการขยายเวลา มเี หตผุ ลความจ�ำ เป็น......................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

ตอนที่ ๔ การพิจารณาวินิจฉยั และมติของ อ.ก.พ. กระทรวง ตามมาตรา ๑๐๓

...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

ตอนท่ี ๕ ความเสียหายแก่ทางราชการ

กรณเี ป็นเหตุใหเ้ สียหายแก่ทางราชการ คือ .........................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

๘๖

ตอนที่ ๖ ประวัติการถูกลงโทษ / งดโทษ

ครง้ั ท่ี ๑ : เคยถูก...............................................................เมอ่ื วันท.่ี ..........................................
กรณี..........................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ครงั้ ท่ี ๒ : เคยถกู ...............................................................เมื่อวนั ท่.ี ..........................................
กรณ.ี .........................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

สว่ นราชการ ชอื่ และตำ�แหน่งผบู้ นั ทึก
โทร. ..............................

๘๗

(สำ�เนา)

สว่ นราชการ กระทรวงมหาดไทย ส�ำ นกั งานปลัดกระทรวง โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๐๕๖๕, (มท) ๕๐๓๗๓

ท่ี มท ๐๒๐๒.๕ / ว ๓๒๔๕ วนั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗

เร่อื ง การปรบั ราคาชดใชแ้ ทนเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณท์ ่ีไม่สามารถส่งคนื ตามกฎหมาย

เรียน หวั หน้าส่วนราชการระดบั กรม และหัวหนา้ หนว่ ยงานรฐั วิสาหกิจในสังกดั กระทรวงมหาดไทย

ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย  ที่  มท  ๐๒๐๒.๕ / ว  ๑๐๗๓  ลงวันท่ี  ๒๑
มนี าคม ๒๕๕๔ ไดแ้ จง้ บญั ชรี าคาชดใชแ้ ทนเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณท์ ไ่ี มส่ ามารถสง่ คนื ตามกฎหมาย
ประจำ�ปีงบประมาณ  ๒๕๕๔ – ๒๕๕๖  มาเพ่ือถือปฏิบัติตั้งแต่วันท่ี  ๑  มีนาคม  ๒๕๕๔
เป็นตน้ มา นนั้
บดั นี้ สำ�นกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรีแจ้งว่า นายกรัฐมนตรีได้พิจารณาเห็นชอบ
ใหป้ รบั ราคาชดใชแ้ ทนเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณแ์ ล้ว ตามส�ำ เนาประกาศส�ำ นกั นายกรัฐมนตรี เรื่อง
การกำ�หนดราคาชดใช้แทนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ท่ีไม่สามารถส่งคืนได้ตามกฎหมายประจำ�
ปีงบประมาณ  ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐  แทนบัญชีราคาชดใช้แทนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ไม่สามารถ
ส่งคืนไดต้ ามกฎหมายประจำ�ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ – ๒๕๕๖ แลว้ และไดป้ ระกาศในราชกจิ จา
นเุ บกษา ฉบบั ประกาศและงานทว่ั ไป เลม่ ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๘๕ ง ลงวนั ท่ี ๑๙ กันยายน
๒๕๕๗  โดยมีผลใช้บังคับต้ังแต่วันที่  ๑  ตุลาคม  ๒๕๕๗  เป็นต้นไป  ดังรายละเอียดตาม
ประกาศส�ำ นักนายกรัฐมนตรี เร่อื ง การกำ�หนดราคาชดใชแ้ ทนเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ท่ีไมส่ ามารถ
สง่ คืนตามกฎหมาย ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ ที่สง่ มาพรอ้ มน้ี
จึงเรียนมาเพ่ือแจ้งให้บุคคลที่เก่ียวข้องในสังกัดทราบ  และปฏิบัติโดยเคร่งครัด
ต่อไป

(ลงชื่อ) แก่นเพชร ชว่ งรงั ษ ี
(นายแกน่ เพชร ชว่ งรงั ษ)ี
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏิบตั ริ าชการแทน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

๘๘

(สำ�เนา)
ประกาศสำ�นกั นายกรฐั มนตรี
เรื่อง การก�ำ หนดราคาชดใช้แทนเครอื่ งราชอิสริยาภรณท์ ่ีไม่สามารถสง่ คนื ตามกฎหมาย
ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐

––––––––––––––––
ตามทก่ี ฎหมายวา่ ดว้ ยเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณแ์ ละเหรยี ญราชการทใ่ี ชบ้ งั คบั อยใู่ นปจั จบุ นั
ได้บัญญัติให้ผู้ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชการต้องส่งคืนชั้นรอง
เมอ่ื ได้รบั พระราชทานชน้ั ตราสงู ขึน้ หรือผูร้ บั มรดกของผู้ไดร้ บั พระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์
ทว่ี ายชนม ์ ซง่ึ มหี นา้ ทต่ี อ้ งสง่ คนื เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ ์ หรอื ในกรณที ท่ี รงเรยี กเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณค์ นื
แลว้ แตก่ รณ ี แตไ่ มส่ ามารถน�ำ เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณส์ ง่ คนื ได ้ จะตอ้ งใชร้ าคาเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์
หรอื เหรียญราชการนั้น ประกอบกับคณะรัฐมนตรไี ดม้ ีมติเมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๓๓ อนุมตั ิ
หลักการให้ปรับราคาใหมท่ กุ ๓​ ปี และพระราชบัญญตั ิขอ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
มาตรา ๗ (๔) ไดบ้ ญั ญตั ิใหห้ น่วยงานของรฐั สง่ ข้อมูลขา่ วสารเกี่ยวกบั กฎ มตคิ ณะรฐั มนตรี
ข้อบงั คบั คำ�สั่ง หนังสอื เวยี น ระเบยี บ แบบแผน นโยบาย หรือการตคี วาม ท่ีจัดให้มขี ึน้ โดยมี
สภาพอย่างกฎเพื่อให้มีผลเป็นการทั่วไปต่อเอกชนท่ีเก่ียวข้อง  ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา
ส�ำ นกั นายกรฐั มนตร ี จงึ ออกประกาศการก�ำ หนดราคาชดใชแ้ ทนเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณท์ ไ่ี มส่ ามารถ
ส่งคนื ตามกฎหมายประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ ตามบัญชีทา้ ยประกาศนี้
ทั้งนี้ ตั้งแตว่ นั ที่ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท ี่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา
นายกรฐั มนตรี

๘๙

บญั ชีราคาชดใช้แทนเครือ่ งราชอิสริยาภรณท์ ไี่ ม่สามารถส่งคนื ตามกฎหมาย
ตัง้ แตว่ ันที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗ เป็นต้นไป

ล�ำ ดบั ท่ ี รายการ ราคาชดใช้ (บาท)
๓,๐๗๓,๖๓๐
เครื่องราชอิสริยาภรณจ์ ลุ จอมเกล้า ฝ่ายหน้า ๕๘๖,๙๙๘
๑ ปฐมจุลจอมเกล้า ๓๓๔,๔๓๔
๒ ทุติยจลุ จอมเกล้าวิเศษ ๒๕๗,๔๗๔
๓ ทตุ ยิ จลุ จอมเกลา้ ๒๕๗,๔๗๔
๔ ตติยจลุ จอมเกล้าวเิ ศษ ๔๐,๔๕๘
๕ ตติยจลุ จอมเกลา้ ๑,๒๗๓,๘๒๖
๖ ตติยานุจลุ จอมเกล้า ๓๖๖,๔๔๐
เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์จลุ จอมเกลา้ ฝา่ ยใน ๓๒๙,๘๙๔
๗ ปฐมจุลจอมเกล้า ๒๔๔,๙๘๒
๘ ทุติยจลุ จอมเกลา้ วเิ ศษ ๔๑,๑๒๒
๙ ทตุ ิยจลุ จอมเกล้า ๔๑,๕๖๐
๑๐ ตตยิ จลุ จอมเกลา้ ๓๒,๓๘๒
๑๑ จตุตถจลุ จอมเกลา้ ๒๘,๖๕๘
เคร่อื งราชอิสริยาภรณ์อันเปน็ ที่เชิดชูย่งิ ชา้ งเผือก ๒๒,๖๑๘
๑๒ มหาปรมาภรณ์ช้างเผอื ก บุรษุ ๑๕,๖๐๐
๑๓ มหาปรมาภรณช์ า้ งเผือก สตร ี ๑๒,๓๑๖
๑๔ ประถมาภรณ์ชา้ งเผือก บรุ ุษ ๖,๖๙๖
๑๕ ประถมาภรณ์ชา้ งเผอื ก สตรี ๕,๙๓๔
๑๖ ทวีติยาภรณช์ ้างเผอื ก บุรษุ ๓,๔๙๖
๑๗ ทวตี ิยาภรณ์ชา้ งเผอื ก สตร ี ๓,๗๐๘
๑๘ ตรติ าภรณ์ช้างเผือก บรุ ุษ ๓,๓๓๒
๑๙ ตรติ าภรณช์ ้างเผือก สตร ี ๓,๕๒๒
๒๐ จัตรุ ถาภรณช์ ้างเผอื ก บุรุษ ๒,๔๑๔
๒๑ จัตุรถาภรณ์ชา้ งเผือก สตรี ๒,๗๘๖
๒๒ เบญจมาภรณช์ า้ งเผือก บุรุษ ๒,๓๒๔
๒๓ เบญจมาภรณ์ช้างเผอื ก สตร ี ๒,๖๖๘
๒๔ เหรียญทองช้างเผอื ก บรุ ษุ
๒๕ เหรียญทองช้างเผอื ก สตร ี
๒๖ เหรยี ญเงินชา้ งเผือก บุรษุ
๒๗ เหรยี ญเงนิ ช้างเผือก สตร ี

๙๐

ล�ำ ดับท่ ี รายการ ราคาชดใช้ (บาท)
๕๕,๕๑๖
เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์อันมีเกยี รติยศยง่ิ มงกฎุ ไทย ๔๓,๓๑๖
๒๘ มหาวชิรมงกุฎ บรุ ษุ ๒๗,๒๔๐
๒๙ มหาวชิรมงกฎุ สตร ี ๒๐,๘๓๔
๓๐ ประถมาภรณม์ งกุฎไทย บรุ ุษ ๑๖,๖๖๔
๓๑ ประถมาภรณม์ งกุฎไทย สตร ี ๑๑,๖๑๒
๓๒ ทวตี ยิ าภรณม์ งกุฎไทย บุรุษ ๖,๔๐๖
๓๓ ทวีตยิ าภรณม์ งกุฎไทย สตรี ๕,๐๙๖
๓๔ ตรติ าภรณม์ งกฎุ ไทย บุรุษ ๓,๔๙๖
๓๕ ตรติ าภรณม์ งกุฎไทย สตร ี ๓,๗๐๘
๓๖ จัตรุ ถาภรณม์ งกฎุ ไทย บรุ ุษ ๓,๓๓๒
๓๗ จตั ุรถาภรณม์ งกุฎไทย สตร ี ๓,๕๒๒
๓๘ เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย บรุ ษุ ๑,๙๙๔
๓๙ เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย สตรี ๒,๔๒๐
๔๐ เหรียญทองมงกุฎไทย บุรษุ ๑,๙๗๖
๔๑ เหรยี ญทองมงกฎุ ไทย สตร ี ๒,๓๖๔
๔๒ เหรยี ญเงนิ มงกุฎไทย บรุ ษุ ๓๒,๒๙๘
๔๓ เหรียญเงินมงกุฎไทย สตร ี ๒๖,๖๓๘
เครอ่ื งราชอิสริยาภรณอ์ ันเปน็ ที่สรรเสรญิ ยง่ิ ดเิ รกคุณาภรณ์ ๑๗,๘๒๐
๔๔ ปฐมดิเรกคุณาภรณ ์ บรุ ษุ ๑๔,๐๑๔
๔๕ ปฐมดิเรกคุณาภรณ ์ สตรี ๘,๑๑๖
๔๖ ทตุ ิยดเิ รกคุณาภรณ์ บุรษุ ๗,๐๘๐
๔๗ ทุตยิ ดิเรกคณุ าภรณ ์ สตรี ๔,๔๖๔
๔๘ ตติยดิเรกคุณาภรณ ์ บรุ ุษ ๔,๕๐๘
๔๙ ตตยิ ดเิ รกคุณาภรณ ์ สตร ี ๔,๓๙๖
๕๐ จตตุ ถดิเรกคุณาภรณ ์ บุรษุ ๔,๔๔๒
๕๑ จตตุ ถดเิ รกคณุ าภรณ์ สตรี ๓,๖๕๐
๕๒ เบญจมดเิ รกคุณาภรณ ์ บรุ ุษ ๓,๗๐๖
๕๓ เบญจมดเิ รกคณุ าภรณ ์ สตรี ๓,๖๗๒
๕๔ เหรยี ญทองดิเรกคณุ าภรณ์ บุรุษ ๓,๗๓๒
๕๕ เหรียญทองดเิ รกคุณาภรณ ์ สตร ี
๕๖ เหรียญเงนิ ดเิ รกคุณาภรณ์ บุรุษ
๕๗ เหรียญเงินดิเรกคณุ าภรณ์ สตรี

๙๑

ล�ำ ดบั ที ่ รายการ ราคาชดใช้ (บาท)
๗๑๐
เหรยี ญราชอิสรยิ าภรณ์ ๖๘๐
๕๘ เหรียญพิทกั ษ์เสรชี น
๕๙ เหรยี ญดษุ ฎมี าลา เขม็ ศลิ ปวทิ ยา ทหาร ๓,๑๑๔
๖๐ เหรียญดษุ ฎีมาลา เข็มศลิ ปวทิ ยา พลเรอื น บุรษุ ๔,๐๖๔
๖๑ เหรยี ญดุษฎมี าลา เข็มศลิ ปวทิ ยา พลเรอื น สตร ี
๖๒ เหรียญราชการชายแดน ๖๘๒
๖๓ เหรียญจกั รมาลา ๒,๔๓๔
๖๔ เหรยี ญจักรพรรดมิ าลา บุรษุ ๒,๒๘๔
๖๕ เหรียญจักรพรรดมิ าลา สตรี ๒,๖๖๔

๙๒

ขอ้ มลู ประกอบการปฏบิ ัติเกยี่ วกบั การส่งคืนเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์
หรอื ชดใชร้ าคาแทนเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์ทีไ่ มส่ ามารถส่งคนื ตามกฎหมาย

––––––––––––––––
๑. กฎหมายว่าด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลต่างๆ  เช่น  พระราชบัญญัติ
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีเชิดชูยิ่งช้างเผือก  พุทธศักราช  ๒๔๘๔  พระราชบัญญัติ
เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์อนั มเี กยี รตยิ ศยิง่ มงกฎุ ไทย พทุ ธศักราช ๒๔๘๔ บญั ญตั กิ รณที ่ีตอ้ งสง่ คืน
เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ สรปุ ได้ดงั น้ี
๑.๑ เม่ือผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ได้รับพระราชทานช้ันสูงขึ้น
ในตระกูลใด ตอ้ งสง่ คืนชั้นรองของตระกลู นั้น
๑.๒ กรณีท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้เรียกคืน  ต้องส่งคืนทุกช้ันตราตามที่
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ
๑.๓ เม่ือผู้ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์วายชนม์  ผู้รับมรดก
ต้องส่งเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์คืนทุกช้ันตรา  ยกเว้นเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีสรรเสริญยิ่ง
ดเิ รกคณุ าภรณ์ชั้นสงู สดุ ทไี่ ดร้ บั พระราชทาน
๑.๔ ถา้ สง่ เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณค์ นื ตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ มไ่ ดด้ ว้ ยประการใดๆ
ตอ้ งชดใชร้ าคาเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณน์ น้ั
๒. สำ�นักเลาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบเก่ียวกับการขอ
พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์  รวมทั้งการจัดเตรียมเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์เพ่ือทูลเกล้าฯ
ถวายส�ำ หรบั พระราชทาน และการรบั คนื เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ ์ ทง้ั น ้ี ส�ำ นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี
ได้รับงบประมาณในการจัดสร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์เพียงประมาณร้อยละ  ๓๐ – ๔๐  ของ
จำ�นวนทั้งหมดท่ีจะต้องใช้สำ�หรับการจัดสร้างเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ให้ครบถ้วนตามจำ�นวนผู้ได้
รบั พระราชทานในแตล่ ะปี
๓. สำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ขอความร่วมมือให้หน่วยงานต่างๆ  เร่งรัด
ให้บุคลากรในสังกัดส่งคืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ตามท่ีกฎหมายบัญญัติมาอย่างต่อเนื่อง  และ
ได้ดำ�เนินการจัดซ่อมเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับคืนให้มีสภาพใหม่เพ่ือใช้หมุนเวียนสำ�หรับ
การพระราชทานในปตี อ่ ไป ดงั นน้ั การส่งคนื เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณต์ ามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิ
นอกจากจะเป็นการปฏิบัติตามกฎหมายและโบราณประเพณีแล้ว  ยังนับเป็นการสนอง
พระมหากรุณาที่ทรงมีต่อผู้ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์  อีกท้ังยังเป็นการ
ชว่ ยลดภาระในด้านงบประมาณส�ำ หรบั การจดั สร้างเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ข้นึ ใหมอ่ ีกดว้ ย
๔. คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๓๓ ให้ปรับราคาชดใช้แทน
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่ไม่สามารถส่งคืนตามกฎหมายทุก  ๓  ปี  และให้กระทรวง  ทบวง
กรม กำ�ชับกวดขันให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดจัดทำ�ประวัติการได้รับพระราชทาน

๙๓

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน  และให้ติดตามเร่งรัดผู้ที่ยังมิได้ส่งคืน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามกฎหมายให้ส่งคืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์หากไม่สามารถส่งคืนได้
ให้ชดใชต้ ามราคาทีก่ ำ�หนด
๕. คณะรัฐมนตรไี ดม้ มี ตเิ ม่ือวันท่ี ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ใหห้ ัวหนา้ สว่ นราชการ
เร่งรัดการส่งคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามท่ีกฎหมายกำ�หนด  และให้นำ�เรื่องการส่งคืน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ประกอบการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในกรณี
เล่ือนชั้นตราสูงข้ึนด้วย  ซ่ึงสำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้แจ้งให้ส่วนราชการทราบและ
ถอื ปฏิบัตแิ ลว้ ตามหนังสือ ท่ี นร ๐๕๐๘/ว ๔๒ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๖
๖. กรณีเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ที่จะส่งคืนชำ�รุด มแี นวทางปฏิบัติ ดังน้ี
๖.๑ กรณีช�ำ รุดเล็กนอ้ ย เช่น สลี งยาแตก สลกั ยึดหลุดแต่สว่ นประกอบทกุ
ชิ้นสว่ นอยู่ครบ สามารถส่งคนื ได้โดยไม่ต้องเสยี คา่ ใช้จา่ ยในการซอ่ ม
๖.๒ กรณีช�ำ รุดในสาระส�ำ คัญ เชน่ ถกู ไฟไหมจ้ นเสยี รปู ลกั ษณะ จะไมส่ ามารถ
ส่งคนื ได้
๖.๓ กรณสี ว่ นประกอบบางสว่ นสญู หาย ใหต้ ดิ ตอ่ ส�ำ นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี
เพ่ือดำ�เนินการส่งให้หน่วยงานผู้สร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ซ่อมเพิ่มเติมส่วนประกอบให้มีสภาพ
สมบรู ณก์ ่อนส่งคืน ท้งั นี้ ผูท้ ่ตี ้องส่งคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตอ้ งรับผดิ ชอบค่าใชจ้ ่ายในการซ่อม
๗. เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณท์ ส่ี ง่ คนื ตอ้ งเปน็ เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณท์ ไ่ี ดร้ บั พระราชทาน
หรอื ไดร้ บั การจ่ายจากส�ำ นักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรีเท่าน้ัน เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ทซ่ี ้ือหรือ
จัดหามาจากที่อ่ืนใดเป็นเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณป์ ลอมและไมส่ ามารถสง่ คนื ทดแทนได้
๘. ผทู้ จ่ี ะสง่ คนื เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณห์ รอื เงนิ ชดใชร้ าคาแทนเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์
สง่ ไดท้ ห่ี น่วยงานใดหน่วยหนึ่ง ดงั นี้
๘.๑ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ซึ่งจะรวบรวมส่งส�ำ นักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรีต่อไป
๘.๒ สำ�นักเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ภายในบรเิ วณท�ำ เนียบรัฐบาล โดยติดต่อ
ทีส่ ำ�นักอาลักษณแ์ ละเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ โทร. ๐​ ๒๒๘๐ ๙๐๐๐ ตอ่ ๔๒๓ , ๔๒๔
กรณชี ดใช้ราคาแทนเคร่ืองราชอิสริยาภรณเ์ ป็นเชค็ หรอื ต๋วั แลกเงิน ขอให้สง่ั จ่าย
สำ�นกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี และส่ง ส�ำ นกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ถนนนครปฐม เขตดสุ ิต
กรงุ เทพมหานคร
๙. เมือ่ หน่วยงานต้นสังกดั ได้รบั เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณค์ นื จากผู้ใดแลว้ ขอใหเ้ ขยี น
ปา้ ยชอ่ื ตดิ ไวท้ เ่ี ครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณน์ น้ั ดว้ ย เพอ่ื ประโยชนใ์ นการด�ำ เนนิ การในภายหลงั โดยเฉพาะ
กรณที ีพ่ บวา่ เป็นเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณป์ ลอม
กรณีมีเหตุอันควรสงสัยวา่ จะเปน็ เครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณป์ ลอม เชน่ รปู ลักษณะ
สี  ขนาด  หรือน้ําหนัก  แตกต่างไปจากเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับจากสำ�นักเลขาธิการ

๙๔

คณะรัฐมนตรี  หรือไม่ปรากฏเคร่ืองหมายผู้สร้าง  ให้แจ้งผู้ส่งคืนทราบเบื้องต้นแล้วส่งให้สำ�นัก
เลขาธิการคณะรฐั มนตรพี ิจารณาต่อไป
๑๐. เมื่อสำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือเงินชดใช้
ราคาแทนเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณแ์ ลว้ จะออกหลกั ฐานใบรบั เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณห์ รอื ใบเสรจ็ รบั เงนิ
ให้แกผ่ ู้สง่ คืนเพอ่ื เก็บไว้เป็นหลกั ฐาน และจะบันทึกขอ้ มูลในฐานข้อมลู ทะเบียนฐานันดรดว้ ย

๙๕

(สำ�เนา)

สว่ นราชการ กองการเจ้าหนา้ ที่ โทร ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๕๖

ท่ี มท ๐๕๐๒.๒ / ว ๗๙๔๗ วันท่ี ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗

เร่ือง ซอ้ มความเขา้ ใจเก่ียวกับการลาไปชว่ ยเหลอื ภริยาท่ีคลอดบุตร

เรยี น หวั หน้ากลมุ่ งานคุม้ ครองจรยิ ธรรมกรมทด่ี นิ ผตู้ รวจราชการกรม ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นัก
เจ้าพนกั งานท่ดี นิ กรงุ เทพมหานคร เลขานกุ ารกรม ผู้อำ�นวยการกอง ผู้อ�ำ นวยการ
ส�ำ นักงาน ผอู้ �ำ นวยการกลมุ่ และผูอ้ �ำ นวยการศนู ย์

ด้วยปรากฏว่า  มีข้าราชการบางรายได้ยื่นความประสงค์ลาไปช่วยเหลือภริยา
โดยชอบด้วยกฎหมายท่ีคลอดบุตรไม่ถูกต้องตามระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของ
ขา้ ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ กองการเจา้ หนา้ ที่จึงขอช้ีแจงและซักซอ้ มแนวทางปฏิบัติ ดงั นี้
๑. ขา้ ราชการทป่ี ระสงคจ์ ะลาไปชว่ ยเหลอื ภรยิ าโดยชอบดว้ ยกฎหมายทค่ี ลอดบตุ ร
ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำ�ดับ  ก่อนหรือในวันที่ลาภายใน  ๙๐  วัน
นับแต่วันท่ีคลอดบุตร  และให้มีสิทธิลาไปช่วยเหลือภริยาท่ีคลอดบุตรครั้งหน่ึงติดต่อกันได้ไม่เกิน
๑๕ วันท�ำ การ โดยย่นื หลักฐานเพื่อประกอบการพจิ ารณา ดงั นี้
(๑) ส�ำ เนาใบสำ�คญั การสมรส
(๒) ส�ำ เนาสตู ิบตั รของบุตร
(๓) ส�ำ เนาหรอื ใบรับรองแพทย์ ซึ่งระบวุ ันคลอดบตุ ร
๒. พระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน  เงินปี  บำ�เหน็จบำ�นาญ  และเงินอื่น
ในลักษณะเดียวกนั พ.ศ. ๒๕๓๕ และทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เติม กำ�หนดว่า ข้าราชการที่ลาไปช่วยเหลือ
ภริยาท่ีคลอดบตุ ร หากประสงคจ์ ะไดร้ ับเงนิ เดอื นระหวา่ งลา จะตอ้ งลาภายใน ๓๐ วนั นบั แต่วนั ท่ี
ภริยาคลอดบุตร แตถ่ ้าลาเม่ือพน้ กำ�หนด ๓๐ วัน ดงั กล่าว จะไม่ไดร้ บั เงินเดอื นระหว่างลา เวน้ แต่
อธบิ ดเี หน็ สมควรจะใหจ้ า่ ยเงนิ เดอื นระหวา่ งลานน้ั กไ็ ด้ แตจ่ า่ ยเงนิ เดอื นใหไ้ ดไ้ มเ่ กนิ ๑๕ วนั ท�ำ การ
๓. หากข้าราชการประสงค์จะขอลาไปช่วยเหลือภริยาท่ีคลอดบุตร  เมื่อพ้น
กำ�หนด  ๓๐  วันนับแต่วันที่ภริยาคลอดบุตร  จะต้องเป็นกรณีท่ีมีเหตุผลความจำ�เป็นอย่างยิ่ง
โดยขอให้ชแ้ี จงเหตผุ ลความจ�ำ เป็นของผ้ลู า พรอ้ มท้งั ความเหน็ ของหน่วยงานตน้ สงั กัดวา่ สมควร
อนุญาตใหล้ าและใหจ้ ่ายเงนิ เดอื นในระหวา่ งการลาดงั กลา่ วหรอื ไม่ อย่างไร ให้กองการเจา้ หน้าที่
เพ่ือประกอบการพจิ ารณาด้วย
ทั้งนี้  เพื่อมิให้ข้าราชการเสียสิทธิประโยชน์ในส่วนของสิทธิการลาและการได้รับ
เงนิ เดอื นระหวา่ งการลา จงึ ขอความรว่ มมอื ใหย้ น่ื ใบลาและสง่ เรอ่ื งใหก้ องการเจา้ หนา้ ทด่ี �ำ เนนิ การ
ภายใน ๕ วนั ท�ำ การ นับแต่วนั ที่ภริยาคลอดบุตร
จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดแจง้ ใหเ้ จ้าหนา้ ที่ในสังกดั ทราบและถอื ปฏบิ ตั ติ อ่ ไป

(ลงชอ่ื ) ณรงค์ สบื ตระกูล
(นายณรงค์ สบื ตระกูล)
ผ้ตู รวจราชการกรม รกั ษาราชการแทน
๙๖ ผูอ้ ำ�นวยการกองการเจา้ หน้าที่


Click to View FlipBook Version