The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนชั้นอนุบาลปีที่1 เทอม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwlsnatsasiblue, 2022-03-25 01:21:14

แผนชั้นอนุบาลปีที่1 เทอม2

แผนชั้นอนุบาลปีที่1 เทอม2

หนว ยการจดั ประสบการณท ี่ ๓๖ ฤดรู อ น ชนั้ อนุบาลปที่ ๑
แนวคดิ

เราควรแตงกายดวยเสื้อผาเบาบางเหมาะสมกับสภาพอากาศ ในฤดูรอนมีประเพณีไทยคือวันสงกรานตและวันครอบครัว ในชวงที่อาการรอนอบอาวอาหารบูด
เสยี ไดงาย ในฤดูรอ นเกดิ โรคทองรว งโรคผวิ หนงั และอาหารเปน พิษ

มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย สภาพทพี่ งึ ประสงค จดุ ประสงคการเรยี นรู สาระการเรียนรู

มาตรฐาน ตัวบง ช้ี ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรยี นรู

มาตรฐานท่ี ๑ ๑.๒ มสี ุขภาพอนามัยสขุ ๑.๒.๒ ลา งมือกอ น ๑. ลางมือกอ น ๑.๑.๓ การรักษาสขุ ภาพอนามยั ๑. สภาพอากาศในฤดรู อน
รางกาย นสิ ัยท่ีดี รับประทานอาหาร รบั ประทานอาหาร สวนตน ๒. ของใชฤดูรอ น
เจริญเติบโตตามวยั และ ๑.๓ รักษาความปลอดภยั และ หลังจากใช และหลงั จากใช (๑) การปฏิบตั ิตนตามสขุ อนามยั ๓. อาหารในฤดรู อน
มีสขุ นิสยั ท่ดี ี ของตนเองและผูอ ื่น หอ งนำ้ หองสว มเมื่อ หองน้ำเมื่อมผี ชู ้ีแนะ สขุ นสิ ัยทีด่ ใี นกจิ วัตรประจำวัน ๔. โรคทพ่ี บในฤดรู อ นและ การ
มีผชู ้ีแนะ ๑.๑.๑ การใชก ลามเนือ้ ใหญ ปอ งกนั
๑.๓.๑เลนทำกจิ กรรม ๒. เลนและทำ (๕) การเลนเครื่องเลน สนามอยา ง ๕. การแตง กายในฤดรู อ น
และปฏบิ ัติกบั ผอู น่ื กจิ กรรมอยาง อสิ ระ ๖. ประเพณีไทย
อยา งปลอดภยั ปลอดภัยไดเมื่อมี ผู ๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภยั
ชี้แนะ (๓) การเลนเครื่องเลนอยา ง
ปลอดภยั
๓. เดินตามเสนตรงที่
กำหนดได

๔.รบั ลกู บอลโดยใช
มอื และลำตวั ชวย

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย สภาพทพ่ี งึ ประสงค จดุ ประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู

มาตรฐาน ตัวบงช้ี ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรยี นรู

มาตรฐานที่ ๒ ๒.๑ เคลอ่ื นไหวรางกาย ๒.๑.๑ เดินตามแนวที่ ๕. กลาพดู กลา ๑.๑.๑ การใชก ลา มเนื้อใหญ
กลา มเนือ้ ใหญแ ละ อยา งคลองแคลว กำหนดได แสดงออก (๑) การเคลอื่ นไหวอยูก บั ที่
กลา มเนือ้ เล็กแข็งแรง ประสานสัมพันธและทรง ๒.๑.๔ รับลูกบอลโดย (๒) การเคลือ่ นไหวเคล่อื นท่ี
ใชไดคลองแคลวและ ตัวได ใชม อื และลาํ ตัวชวย (๔) การเคลอ่ื นไหวท่ใี ชการ
ประสานสมั พนั ธก ัน ๖. แสดงความพอใจ ประสาน สมั พนั ธของการใช
มาตรฐาน ๓ ๓.๒ มีความรูสึกที่ดี ตอ ๓.๒.๑ กลาพูด กลา ในผลงานตนเอง กลามเน้ือใหญใ นการ จบั และการ
มีสุขภาพจิตดีและ มี ตนเองและผอู ืน่ แสดงออก โยน
ความสขุ ๓.๒.๒ แสดงความ ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ
พอใจใน ผลงานของ ๗. สนใจมีความสุข (๕) การทำงานศิลปะ
ตนเอง และแสดงออกผา น ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี
มาตรฐานท่ี ๔ ๔.๑ สนใจมคี วามสุขและ ๔.๑.๑ สนใจ มี งานศิลปะ (๓) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/
ชน่ื ชม แสดงออกผานงานศิลปะ ความสุข และ ดนตรี
และแสดงออกทาง ดนตรี และการ แสดงออกผา นงาน ๘. สนใจมคี วามสขุ
ศลิ ปะดนตรแี ละการ เคลอื่ นไหว ศิลปะ และแสดงทาทาง
เคลอื่ นไหว ๔.๑.๓ สนใจมี เคลอื่ นไหวประกอบ
ความสุขแสดง เพลงจงั หวะและ
ทาทาง/เคลอ่ื นไหว ดนตรี
ประกอบเพลงจังหวะ
และดนตรี

มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย สภาพทพ่ี ึงประสงค จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู

มาตรฐาน ตัวบงชี้ ประสบการสำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู

มาตรฐานท่ี ๕ ๕.๒ มีความเมตตา ๕.๒.๒ แบง ปน ผอู นื่ ได ๙. แบงปนผูอื่นไดเม่ือ ๑.๒.๒ การเลน
มีคุณ ธรรม จริยธรรม กรณุ ามนี ำ้ ใจ และ เมื่อมีผูชแ้ี นะ มผี ชู ีแ้ นะ (๓) การเลนตามมุมประสบการณ/
และ มีจิตใจทีด่ งี าม ชวยเหลือแบงปน ๕.๔.๑ ทำงานทไ่ี ดร ับ มมุ เลนตางๆ
๕.๔ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มอบหมายจนสำเร็จ ๑๐. ทำงานท่ีไดรับ ๑.๓.๔ การมปี ฏสิ มั พนั ธ มวี ินยั มี
เมื่อมีผชู ว ยเหลือ มอบหมายจนสำเร็จ สว น รวมและบทบาทสมาชกิ ของ
เม่ือมผี ูชวยเหลอื สังคม
(๒) การปฏิบตั ิตนเปนสมาชกิ ทด่ี ี
มาตรฐานที่ ๖ ๖.๑ ชวยเหลอื ตนเองใน ๖.๑.๑ แตง ตัวโดยมีผู ๑๑. ชวยเหลือตนเอง ของ หอ งเรียน
มีทักษะชีวิตและปฏิบัติ การปฏบิ ตั กิ จิ วัตร ชวยเหลือ
ตน ตามหลักปรัชญ า ประจำวนั ๖.๒.๑ เกบ็ ของเลน ในกจิ วัตรประจำวนั (๓) การใหความรวมมือในการ
ของ เศรษฐกจิ พอเพียง ๖.๒ มวี นิ ัยในตนเอง ของ ใชเ ขา ที่เมอ่ื มีผู ปฏิบตั ิ กจิ กรรมตางๆ
ชแ้ี นะ ๑๒. เก็บของเลนของ ๑.๓.๑ การปฏบิ ัติกิจวัตรประจำวนั
๖.๒.๒ เขา แถว ใช เข า ที่ ได เม่ื อ มี ผู (๑) การชว ยเหลือตนเองในกิจวัตร
ช้แี นะ ประจำวนั
ตามลำดบั กอนหลังได (๒) การปฏิบัติตนเปนสมาชิกทีด่ ี
เม่ือมผี ูชี้แนะ
๑ ๓ . เ ข า แ ถ ว ของหอ งเรยี น
ตามลำดับกอนหลังได
เมอ่ื มผี ูชแ้ี นะ

มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย สภาพทพี่ ึงประสงค จุดประสงคก ารเรียนรู สาระการเรียนรู

มาตรฐาน ตัวบงชี้ ประสบการสำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู

มาตรฐานท่ี ๗ ๗.๑ ดูแลรกั ษาธรรมชาติ ๗.๑.๑ มสี วนรวมดูแล ๑๔. มสี ว นรว มดแู ล ๑.๓.๒ การดูแลรกั ษาธรรมชาติและ
รักธรรมชาตสิ ่ิงแวดลอม และส่ิงแวดลอม รกั ษาธรรมชาตแิ ละ ธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ ม
วัฒ นธรรมและความ ๗.๒ มีมารยาทตาม ส่งิ แวดลอมเมอื่ มผี ู สิ่งแวดลอ มได เม่อื มีผู (๔) การเพาะปลูกและดูแลตน ไม
เปน ไทย วัฒนธรรมไทยและรกั ชีแ้ นะ ช้ีแนะ ๑.๓.๓ การปฏบิ ตั ิตามวัฒนธรรม
ความเปน ไทย ๗.๒.๑ ปฏบิ ัติตนตาม ๑๕.ปฏบิ ัตติ นตาม ทองถิน่ และความเปน ไทย
มารยาทไทยไดเม่อื มีผู มารยาทไทยได เมอื่ มี (๒) การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม
ชี้แนะ ผชู ีแ้ นะ ทอ ง ถิ่นท่ีอาศัย
มาตรฐานท่ี ๘ ๘.๒ มปี ฏิสัมพนั ธทดี่ ีกบั ๘.๒.๑ เลนรวมกบั ๑๖. เลน รวมกบั (๕) การละเลน พนื้ บา นของไทย
อยูรวมกับผูอื่นได อยาง ผูอน่ื เพื่อน เพื่อนได ๑.๒.๒ การเลน
มีความสุข และ ปฏิบัติ ๘.๓ ปฏิบตั ติ น เบือ้ งตน ๘.๓.๑ ปฏิบัตติ าม ๑๗. ปฏิบัตติ าม (๒) การเลนรายบคุ คล กลมุ ยอ ย
ตนเปนสมาชิก ที่ดีของ ในการเปน สมาชกิ ท่ีดี ขอตกลง เมือ่ มผี ูช ้แี นะ ขอตกลงเกยี่ วกบั การ และ กลุมใหญ
สั ง ค ม ใ น ร ะ บ อ บ ของสงั คม ๘.๓.๒ ปฏบิ ตั ติ นเปน เลนได เมือ่ มี ผชู ้แี นะ (๔) การเลน นอกหองเรียน
ประชาธิป ไตย อันมี ผนู ำและผูตามเมอ่ื มผี ู ๑๘. ปฏบิ ัติตนเปน ๑.๓.๔ การมปี ฏสิ ัมพนั ธ มีวนิ ัย มี
พระมหากษัตริย ทรง ผนู ำและผูตามเมอื่ มี ผู สวน รว มและบทบาท สมาชกิ ของ
เปนประมุข ชแ้ี นะ สังคม
(๑) การรวมกำหนดขอตกลงของ
หองเรยี น
(๒) การปฏบิ ัตติ นเปน สมาชิกทด่ี ี
ของ หองเรียน
(๓) การดแู ลหอ งเรยี นรวมกัน

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย สภาพทพี่ ึงประสงค จุดประสงคการเรยี นรู สาระการเรยี นรู

มาตรฐาน ตวั บงชี้ ประสบการสำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู

มาตรฐานที่ ๙ ๙.๑ สนทนาโตต อบและ ๙.๑.๑ ฟง ผอู ืน่ พูดจน ๑๙. ฟงผูอ น่ื พูดจนจบ ๑.๔.๑ การใชภ าษา
ใชภาษา เลาเรอ่ื งใหผูอ่ืนเขา ใจ จบและสนทนาโตต อบ และโตต อบเกี่ยวกับ (๒) การฟงและปฏิบัติตาม
สื่อสารไดเหมาะสมกับ ๙.๒ อา น เขยี นภาพ อยา งตอ เน่ืองเช่ือมโยง เร่อื งฟงได คำแนะนำ
วยั และสญั ลกั ษณไ ด กบั เรอื่ งที่ฟง (๕) การพูดเลาเรื่องราวเก่ียวกับ
๙.๒.๑ อา นภาพและ ๒๐. สงั เกตตวั เลขท่ี ตนเอง
พูด ขอความดว ย ประกอบเปนคำผาน (๖) การพูดกบั ผอู ่นื เกยี่ วกบั
ภาษาของ ตนเอง การอา นได สง่ิ ของ เหตกุ ารณแ ละ
ความสมั พนั ธข องส่งิ ตางๆ
(๑๗) การคาดเดาคำวลีจากนิทาน
๒๑. จบั คูโดยใช เพลงคำคลองจอง
มาตรฐานท่ี ๑๐ ๑๐.๑ มคี วามสามารถ ๑๐.๑.๒ จบั คูโดยใช ลกั ษณะหรอื หนาท่ี ๑.๔.๒ การคดิ รวบยอด การคิด
มคี วามสามารถในการ ในการคดิ รวบยอด ลักษณะหรือหนาที่ การใชง านเพยี ง เชงิ เหตุผล การตัดสนิ ใจและ
คดิ ที่เปนพน้ื ฐานในการ การ ใชง านเพียง ลักษณะเดยี ว แกป ญหา
เรียนรู ลักษณะ เดียว ๒๒. เรยี งลำดับ (๑) การสังเกตลักษณะ
๑๐.๑.๔ เรยี งลำดบั เหตุการณอ ยา งนอย สว นประกอบ การเปลย่ี นแปลง
เหตุการณอ ยา งนอย และความสมั พนั ธข อง สิ่งตาง ๆ
๓ ลำดับ โดยใชป ระสาทสัมผสั อยาง

๓ ลำดบั ได เหมาะสม
(๑๓) การจับคู ตามลกั ษณะ
ความสัมพันธ

มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย สภาพทพ่ี ึงประสงค จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู

มาตรฐาน ตวั บง ช้ี ประสบการสำคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู

มาตรฐานท่ี ๑๑ ๑๐.๒ มคี วามสามารถ ๑๐.๒.๑ระบผุ ลท่ี ๒๓. บอกเหตผุ ลท่ี (๑๔) การบอกและเรยี งลำดบั
มจี นิ ตนาการและ ในการคดิ เชิงเหตผุ ล เกดิ ข้ึน ในเหตกุ ารณ เกิดขึ้นในเหตกุ ารณ เหตกุ ารณ ตามชว งเวลา
ความคิดสรางสรรค ๑๐.๓ มคี วามสามารถ หรือการ กระทำเมอ่ื มี หรือการกระทำเมอ่ื มี ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคดิ
มาตรฐานที่ ๑๒ ในการคดิ แกป ญ หาและ ผูช้แี นะ ผูช้ีแนะ เชงิ เหตผุ ล การตัดสนิ ใจและ
มีเจตคตทิ ่ดี ตี อ การ ตดั สินใจ ๑๐.๓.๒ แกป ญ หาโดย แกป ญ หา
เรยี นรู และมี ๑๑.๑ ทาํ งานศิลปะ ลองผดิ ลองถกู ๒๔. การแกปญ หา (๖) การตอของชิน้ เลก็ เติมในช้ิน
ความสามารถในการ ตามจินตนาการและ ๑๑.๑.๑ สรางผลงาน โดยการลองผิด ลอง ใหญ ใหส มบรู ณแ ละแยกชิ้นสว น
แสวงหาความรไู ด ความคดิ สรา งสรรค ศลิ ปะ เพื่อส่ือ ถูก (๘) การนับและแสดงจำนวนของ
เหมาะสมกบั วัย ๑๒.๒ มคี วามสามารถ ความคดิ ความรูสึก สงิ่ ตางๆในชวี ติ ประจำวนั
ในการแสวงหาความรู ของตนเอง ๒๕. สรางผลงาน ๑.๑.๒ การใชก ลามเนื้อเล็ก
๑๒.๒.๑ คน หา ศิลปะเพอ่ื สื่อสาร (๒) การเลนกบั สี
คําตอบของ ขอสงสัย ความคิด ความรสู ึก (๔) การประดษิ ฐส ่ิงตา งๆดว ยเศษ
ตางๆ ตามวธิ ีการท่ี มี ของตนเอง วสั ดุ
ผูชี้แนะ (๕) การหยิบจบั การฉีก การปะ
๒๖. คน หาคำตอบ ๑.๒.๑ สุนทรยี ภาพ ดนตรี
ของขอสงสัยตา ง ๆ (๕) การทำกจิ กรรมศลิ ปะตา ง ๆ
ตามวิธกี ารเมอื่ มีผู (๖) การสรางสรรคสิง่ สวยงาม
ช้ีแนะ ๑.๔.๔ เจตคตทิ ดี่ ตี อการเรยี นรู
และการ แสวงหาความรู
(๓) การสืบเสาะหาความรเู ม่อื
คนหา คำตอบขอสงสยั ตา งๆ

การวางแผนกิจกรรมรายหนว ยการจดั ประสบการณ ชัน้ อนบุ าลปท่ี ๑ หนว ยฤดูรอ น

วนั ที่ เคลอ่ื นไหวและจงั หวะ เสรมิ ประสบการณ กิจกรรม

ศิลปะสรางสรรค การเลนตามมมุ การเลน กลางแจง เกมการศึกษา
การเรยี งลำดับภาพและ
- เคล่อื นไหวพน้ื ฐาน สภาพอากาศในฤดรู อน ๑.ตกแตง ภาพจากใบไม เลน ตามมุม การเดนิ ตามแนว ท่ี เหตุการณการผลัดใบ
- เคลื่อนไหวตาม ๒.การปน ดินน้ำมัน ประสบการณ อยางอสิ ระ กำหนด ของตน ไม
๑ เสียงเพลงดนตรี

(สวัสดี ฤดูรอ น) การเลน เคร่ืองเลน สนาม เกมจับคภู าพกบั เงาของใ
- เคลือ่ นไหวพน้ื ฐาน ของใชฤดรู อน ๑.พบั จรวด เลน ตามมมุ
- เคลอื่ นไหวตามคำสัง่ ๒.การปน ดินนำ้ มัน ประสบการณ อยา งอิสระ ช ในฤดรู อน
๒ โดยมเี ครื่องเคาะจังหว

ะ (จำนวนนับ ๑ - ๓) ๑. การวาดภาพตามหวั เลนตามมุม เกมจัดหมวดหมภู าพ
- เคลอ่ื นไหวพนื้ ฐาน อาหารและโรค การรับลูกบอล กบั สญั ลกั ษณ
- เคลื่อนไหวรา งกาย ในฤดรู อ น ขออาหารในฤดูรอ น ประสบการณ อยา งอิสระ เกมจบั คูภ าพความสมั พัน
๓ พรอมจังหวะชา - เรว็ ๒. การปน ดินนำ้ มนั ธ
เคร่อื งแตง กายและ
(เพลงลมเพ ลมพดั ) สภาพอากาศ
- เคลอ่ื นไหวพน้ื ฐาน การแตง กายในฤดูรอน ๑.การพมิ พภาพจากผกั เลน ตามมุม การเลนนำ้ -เลน ทราย เกมภาพตัดตอการเลน ขอ
- เคล่อื นไหวพรอมวสั ดุ (งานกลมุ ) ประสบการณ อยางอิสระ ง เดก็ ไทย
๔ อุปกรณ(หมวก) ๒.การปนดนิ น้ำมนั

- เคล่อื นไหวพนื้ ฐาน ประเพณไี ทย ๑.ลมสรางสรรคจ ากหลอ เลนตามมุม การละเลน ไทย
- เคลื่อนไหวโดยมีผูนำ ด (การเปาสี) ประสบการณ อยา งอิสระ “แมง เู อย”
๕ และผตู าม
๒.การปนดินน้ำมัน

แผนการจัดประสบการณร ายวัน วนั ที่ ๑ หนวยท่ี ๓๖ ฤดรู อ น ช้ันอนบุ าลปท่ี ๑

จุดประสงค สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรยี นรู สือ่ การประเมินพฒั นาการ
การเรียนรู ประสบการณส ำคญั สาระที่ควรเรียนรู
กจิ กรรมเคลือ่ นไหว (๒) การเคล่ือนไหว ๑. กิจกรรมเคล่ือนไหวพื้นฐานใหเด็กเคล่ือนไหว เพลง สวสั ดีฤดูรอน สังเกต
และจงั หวะ เคลือ่ นที่ รางกายไปทั่วๆ บริเวณอยางอิสระตามจังหวะ ความสนใจมคี วามสขุ
สนใจมคี วามสขุ ในการ (๓) การเคล่ือนไหว เคล่ือนไหวในทา ตางๆ ในการเคลอื่ นไหว
เคลือ่ นไหวประกอบเพลง ต า ม เสี ย ง เพ ล ง / ๒. เด็กและครูรวมกันรองเพลง “สวัสดี ฤดูรอน” ประกอบเพลงและ ดนตรี
และดนตรี ดนตรี ทำทา ประกอบ

กิจกรรมเสริม (๔) การพูดแสดง สภาพอากาศ ๑. ครูสนทนากับเด็กเก่ียวกับสภาพอากาศ ในฤดู ๑. ตนคุณนาย ต่ืน สงั เกต
ประสบการณ ความคดิ ความรูสึก ในฤดรู อ น รอ น สาย ๑. การบอกสภาพ
บอกเหตุผลที่เกิดขึน้ ใน (๔) การปลกู และ (ปลูกตนคุณนาย ๒. ครูพาเด็กเดินสำรวจบริเวณโรงเรียนเพ่ือสังเกต ๒ . ภ า ช น ะ ท่ี ใ ส อากาศในฤดูรอ น
เหตุการณห รอื การกระทำ ดแู ลตนไม ต่ืนสาย) สภาพตนไม ดอกไมและใหเด็กเก็บใบไมท่ีรวงตาม สำหรับปลกู ตนไม ๒. การปลูกและดูแล
ตนไม
เม่อื มผี ชู ้ีแนะ บรเิ วณพน้ื คนละ ๔ - ๕ ใบ ๓. ดิน
๓. ครูสนทนากับเด็กเก่ียวกับตนไมที่ปลูกในฤดู ๔. ที่รดนำ้
รอน พรอ มกบั นำตน คุณนายตน่ื สายมาใหเ ดก็ ดู
๔. ครูและเด็กรวมกันปลูกตนคุณนายตื่นสายท่ีครู
เตรยี มใหเ ดก็
๕. ครูพาเดก็ ไปทำความสะอาดรา งกาย
กิจกรรมศิลปะสรางสรรค (๔) การประดษิ ฐส ่ิง ๑. ครูสนทนากับเด็กเก่ียวกับใบไม ท่ีเด็กแตละคน ๑. ใบไม สังเกต
๑. สนใจมีความสุขและ ตา งๆดวยเศษวัสดุ เก็บมา โดยใหสังเกตสขี องใบไม ๒. กระดาษ ๑. ความสนใจ
แสดงออกผานงานศลิ ปะ (๓) การปน
๒. ทำงานทไี่ ดร ับ (๕) การปะ ๒. ครูแนะนำกจิ กรรมสรางสรรค ประกอบดว ย ๓. กาว มคี วามสุข และ
๒.๑ การตกแตงภาพจากใบไม ๔. ดนิ น้ำมัน การแสดงออกผานงาน
มอบหมายจนสำเร็จเมื่อมี ๒.๒ ปน ดินนำ้ มัน ๕. แผนรองปน ศลิ ปะ

จดุ ประสงค สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ การประเมนิ พฒั นาการ
การเรียนรู ประสบการณส ำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู ๓. ใหเดก็ เลอื กทำกจิ กรรมสรา งสรรค ๒ กจิ กรรม ๖. เพลงตน ไม ๒. การทำงานทไี่ ดรบั
ผชู วยเหลอื ตามความสนใจ มอบหมายจนสำเร็จ เม่ือ
๓. แสดงความพอใจ ใน ๔. ในระหวา งเด็กทำกิจกรรม ครคู อยใหค ำแนะนำ มผี ูชว ยเหลอื
ผลงานของตนเอง การตกแตงภาพจากใบไม การใชดนิ น้ำมัน ๓. การแสดงความ
๕. ใหเ ด็กทกุ คนนำผลงานมานำเสนอใหเพ่ือน ชนื่ พอใจในผลงานของ
ชมภายในกลมุ ของตนเอง ตนเอง
สังเกต
กจิ กรรมการเลนตามมมุ (๑)การเลน หรอื ทำ ๑. ครูแนะนำมมุ ประสบการณ กติกาและวธิ ีการ มุมประสบการณ ๑. การเลนรวมกบั
๑. เลนรว มกับกบั เพ่ือน ได กิจกรรมรว มกบั กลมุ เลน ในแตละมมุ และใหเ ด็กเลอื กเลน ตามความ ในหอ งเรยี น เพื่อน
๒.แบง ปน ผูอื่นไดเ ม่อื มผี ู เพื่อน สนใจ ๒. การแบง ปนผูอื่น
ชี้แนะ (๒) การปฏิบตั ิตน ๒. เดก็ เลอื กเลน กิจกรรมการเลนตามมมุ เม่อื มผี ชู ี้แนะ
๓.เกบ็ ของเลน ของใชเขา เปนสมาชิกทีด่ ีของ ประสบการณต ามความสนใจ ๓. การเก็บของเลน
ทไี่ ดเมอื่ มผี ชู ้ีแนะ หอ งเรียน - มมุ ธรรมชาตศิ กึ ษา - มมุ หนังสือ ของใชเขา ทเี่ ม่อื มี
ผูช แ้ี นะ
- มุมบล็อก - มมุ บทบาทสมมุติ สงั เกต
๓. เมื่อหมดเวลาครใู หส ญั ญาณหยุดเลน เด็ก ๑. การเดินตาม
ชว ยกนั เกบ็ ของ เสน ตรงท่ีกำหนด
กจิ กรรมการเลนกลางแจง (๒) การเคลือ่ นไหว ๑. ครูสนทนากบั เดก็ เกี่ยวกบั การเดินตามเสน ทางที่ แลค็ ซีน ๒. การเขาแถว
๑. เดินตามเสนตรงที่ เคลือ่ นท่ี กำหนด ตามลำดบั กอ นหลงั เมอื่
กำหนดได (๔) การเลน ๒. ครูสาธิตการเดินตามเสน ทางที่กำหนดแลว มีผชู ี้แนะ
๒. เขา แถวตามลำดับ นอกหองเรยี น ใหเดก็ เดินตามเสน ทางที่กำหนด ครดู แู ลใหเ ดก็
กอ นหลงั ไดเม่ือมผี ูชแ้ี นะ ไดปฏิบัติทุกคน
๓. ครพู าเด็กไปทำความสะอาดรา งกาย

จดุ ประสงค สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรียนรู สื่อ การประเมินพฒั นาการ
การเรยี นรู ประสบการณส ำคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู

กิจกรรมเกมการศกึ ษา (๑๔) การบอกและ ๑. ครสู นทนาเกี่ยวกับการผลัดใบของตนไม เรียงลำดบั ภาพและ สงั เกต
เรียงลำดับภาพเหตุการณ เรียงลำดบั กจิ กรรม ๒. ครนู ำภาพตน ไม ใหเ ดก็ สงั เกตใบไมท่ีผลดั ใบ เหตกุ ารณ การเรยี งลำดบั ภาพ
การผลดั ใบของตน ไมอ ยา ง หรอื เหตกุ ารณต าม ๓. ครสู าธติ วิธกี ารเลนเกมเรยี งลำดบั ภาพและ เหตกุ ารณก ารผลัดใบ
นอย ๓ ลำดบั ได ชว งเวลา เหตกุ ารณก ารผลัดใบของตนไม ของตน ไม
๔. แบงเด็กออกเปนกลุมตามความเหมาะสม
ใหแตล ะกลมุ เลน เกมเรียงลำดบั ภาพและเหตกุ ารณ
การผลัดใบของตนไม เสรจ็ แลว ใหเ ลนเกม
การศกึ ษาชุดเดิม
๕. เมือ่ หมดเวลาครูใหส ญั ญาณหยุดเลน เด็กชว ยกนั
เก็บของเขาท่ี

แผนการจัดประสบการณรายวนั วนั ท่ี ๒ หนว ยท่ี ๓๖ ฤดูรอ น ช้ันอนุบาลปท ่ี ๑
สาระการเรียนรู
จุดประสงค ประสบการณส ำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู กิจกรรมการเรียนรู สอ่ื การประเมนิ
การเรียนรู พัฒนาการ
สังเกต
กิจกรรมเคลื่อนไหว (๒) การเคลื่อนไหว ๑. กิจกรรมเคล่อื นไหวพนื้ ฐานใหเ ด็กเคลื่อนไหว เครื่องเคาะจังหวะ ความสนใจ มี
และจงั หวะ เคลอ่ื นที่ รา งกายไปทัว่ บริเวณอยา งอิสระ ๑. พัดลม ความสขุ และ
สนใจมคี วามสขุ และแสดง ๒. ครแู บงเดก็ เปน กลมุ ตามความเหมาะสม ๒. พัด แสดงทา ทาง
ทา ทางเคลอ่ื นไหว ใหเ คลอ่ื นไหวทีละกลมุ ตามคำสง่ั ครู เชน ใหเดิน ๓. หมวก เคลอ่ื นไหว
ประกอบจงั หวะ/ดนตรี ไปทว่ั ๆ บริเวณหอ ง โดยโบกมอื ขยับแขน ประกอบจังหวะ
กางแขน ตามจงั หวะทีค่ รูให โดยไมชนกัน ตามคำส่งั
กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ (๖) การพดู อธบิ าย ของใชฤดรู อน ๓. ครูเปลีย่ นใหเ ดก็ ทกุ กลุม ไดม ีโอกาสออกมา
ฟงผูอืน่ พดู จนจบและโตตอบ เก่ยี วกับสง่ิ ของ เคลอ่ื นไหวจนครบทกุ กลุมและใหเ คลือ่ นไหว สังเกต
เก่ียวกบั เรอ่ื งท่ีฟงได เหตุการณแ ละ พรอ มกนั ทุกคน การฟง ผอู ืน่ พดู จนจบ
ความสมั พนั ธข องสงิ่ ๑. ครูใหเดก็ เลา ประสบการณเ ดมิ เก่ียวกบั ของใช และโตต อบเก่ยี วกับ
ตางๆ ฤดรู อ น เร่ืองที่ฟง
๒. ครูและเด็กสนทนาถงึ ของใชใ นฤดรู อ น พรอมท้งั
ดูของจริง เชน พดั ลม พดั หมวกฯลฯ
ครูซกั ถามเดก็ วา
-เด็กรจู กั ฤดูอะไรบา ง

-ฤดูอะไรทอี่ ากาศรอนมากท่สี ดุ

-ในฤดูรอนเดก็ ควรสวมใสเส้ือผา อยา งไร

-เด็กๆ รจู กั ของใชอ ะไรบางท่ที ำใหเกิดความเยน็
๓. ครูและเด็กรวมกนั สรุปของใชใ นฤดรู อ น

จดุ ประสงค สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สอื่ การประเมนิ
การเรยี นรู ประสบการณส ำคัญ สาระทีค่ วรเรียนรู พฒั นาการ
กิจกรรมศลิ ปะสรางสรรค (๒) การประดษิ ฐส งิ่ ๑. ครแู นะนำกจิ กรรมสรา งสรรคประกอบดวย ๑.กระดาษ สงั เกต
๑. สนใจ มคี วามสขุ และ ตางๆ ดว ยเศษวสั ดุ ๑.๑ พับจรวด ๒.ดินนำ้ มนั ๑. ความสนใจ
แสดงออกผานงานศิลปะ (๓) การปน ๑.๒ การปนดนิ น้ำมนั มีความสขุ และ
๒. แสดงความสนใจใน (๕) การทำกจิ กรรม ๒. ใหเ ดก็ เลอื กทำกิจกรรมสรา งสรรค ๒ กจิ กรรม ๓.แผน รองปน การแสดงออก
ผลงานของตนเอง ศิลปะตางๆ ผานงานศลิ ปะ
ตามความสนใจ ๒. การแสดงความ
กจิ กรรมการเลนตามมมุ (๑)การเลน หรอื ทำ ๓. แบงเด็กออกเปนกลมุ ตามความเหมาะสม และ สนใจในผลงานของ
๑. เลน รวมกบั กบั เพอ่ื น ได กจิ กรรมรว มกบั กลุม ใหเ ดก็ แตละกลมุ ทำกิจกรรมพบั จรวด และปน ดิน ตนเอง
๒.แบงปน ผูอื่นไดเมือ่ มผี ู เพือ่ น นำ้ มัน ในระหวางเดก็ ทำกจิ กรรมครคู อยให
ชแี้ นะ (๒) การปฏบิ ตั ิตน เปน คำแนะนำการพับจรวด และการปน ดินนำ้ มัน สังเกต
๓.เก็บของเลนของใชเ ขา สมาชกิ ท่ีดขี อง ๔. ใหเดก็ ทกุ คน นำผลงานมานำเสนอใหเ พ่ือน ชน่ื ๑. การเลน รว มกบั
ที่ไดเ มือ่ มผี ูช้แี นะ หองเรยี น ชมภายในกลุมของตนเอง เพื่อน
๑. ครแู นะนำมมุ ประสบการณ กตกิ าและวธิ กี าร มุมประสบการณ ๒. การแบงปนผูอ ่นื
เลนในแตละมมุ และใหเดก็ เลอื กเลน ตามความ ในหองเรยี น เมอ่ื มผี ูช แ้ี นะ
สนใจ ๓. การเก็บของเลน
๒. เดก็ เลือกเลน กิจกรรมการเลนตามมมุ ของใชเขา ที่เม่ือมี
ประสบการณตามความสนใจ ผูชแี้ นะ
- มมุ ธรรมชาติศึกษา - มุมหนงั สอื
- มุมบล็อก - มุมบทบาทสมมุติ
๓. เม่อื หมดเวลาครูใหส ญั ญาณหยดุ เลน เด็กชว ยกัน
เกบ็ ของ

จุดประสงค สาระการเรยี นรู กิจกรรมการเรียนรู ส่ือ การประเมิน
การเรียนรู ประสบการณส ำคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู ๑. ครูสนทนากับเดก็ เกี่ยวกบั ขอตกลงในการเลน เครื่องเลน สนาม พัฒนาการ
กจิ กรรมการเลนกลางแจง (๕) การเลน เครอ่ื ง เคร่ืองเลน สนาม สงั เกต
๑. เลน และทำกิจกรรม เลนสนามอยา ง ๒. ครพู าเด็กไปท่สี นามเดก็ เลน ครูแนะนำใหเดก็ เกมจับคภู าพกับเงา ๑. การเลนและทำ
อยางปลอดภยั เมอ่ื มีผูช ้ีแนะ อิสระ รูจักเคร่ืองเลนแตล ะชนิดและฝก ใหเ ด็กไดเลน อยาง ของใชใ นฤดูรอ น กจิ กรรมอยางปลอดภัย
๒. เขาแถวตามลำดับ ปลอดภยั และถูกวธิ ีโดยครดู ูแลอยา งใกลช ดิ ๒.
กอ นหลงั ไดเมื่อมผี ชู ้ีแนะ (๖) การจับคูตาม ๓. ครพู าเดก็ ไปทำความสะอาดรา งกายกอ นกลบั การเขา แถวตามลำดับ
๓. ปฏบิ ตั ิตามขอตกลง ลักษณะความสมั พนั ธ เขาหองเรยี น กอนหลงั เมอ่ื มีผูชี้แนะ
เกี่ยวกบั การเลน ๓. การปฏิบตั ิ
๑. ครสู นทนาเกย่ี วกบั ของใชใ นฤดรู อน ตามขอตกลงเกย่ี วกับ
กิจกรรมเกมการศึกษา ๒. ครูสาธิตวิธกี ารเลนเกมจบั คูภาพกบั เงาของใช การเลน
จบั คูโดยใชล ักษณะหรอื ในฤดรู อ น สังเกต
หนา ทกี่ ารใชงานเพียง ๓. แบงเด็กออกเปนกลมุ ตามความเหมาะสมใหเ ด็ก การจบั คโู ดยใช
ลกั ษณะเดียว แตละกลุมรับเกมจับคูภ าพกับเงาของใชในฤดูรอ น ลักษณะหรอื หนา ที่
ไปเลน จนครบทกุ คนจากน้ันจึงเลนเกมการศึกษา ชดุ เดมิ การใชงาน
๔. เมือ่ หมดเวลาครใู หส ญั ญาณหยุดเลน เดก็ ชวย เพียงลกั ษณะเดียว
เกบ็ ของเขาท่ี

แผนการจดั ประสบการณรายวัน วนั ที่ ๓ หนวยท่ี ๓๖ ฤดรู อน ชั้นอนบุ าลปท่ี ๑
สาระการเรยี นรู
จุดประสงค ประสบการณส ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู กิจกรรมการเรียนรู สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ
การเรียนรู สงั เกต
กจิ กรรมเคลื่อนไหว (๑) การเคล่ือนไหว ๑. กจิ กรรมเคลื่อนไหวพ้ืนฐานใหเ ด็กเคลอ่ื นไหว ๑.เครอื่ งเคาะจงั หวะ ความสนใจ
และจงั หวะ อยกู บั ท่ี รางกายไปท่วั บรเิ วณอยา งอิสระตามจงั หวะ ๒.เพลงลมเพลมพัด มีความสขุ และ
สนใจ มคี วามสขุ และแสดง (๒) การเคล่ือนไหว ๒. เด็กและครรู ว มกันรอ งเพลง “ลมเพ ลมพดั ” การแสดงทาทาง
ทาทางเคลื่อนไหวประกอบ เคลื่อนที่ ทำทา ทางประกอบจังหวะ ชา-เรว็ เคลื่อนไหวประกอบ
จังหวะดนตรี (๓) การเคล่ือนไหว ๓. ใหเด็กเคลอ่ื นไหวและทำทาทางประกอบจงั หวะ จังหวะดนตรี
เคลื่อนท่ี เพลง ลมเพ ลมพัด ตามความคดิ ของตนเอง

กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ (๑) การปฏบิ ตั ติ น อาหารในฤดรู อ น ๑. ครูใหเดก็ เลา ประสบการณเ ดมิ โดยการซกั ถาม ๑.ภาพน้ำปน สงั เกต
๑. บอกเหตผุ ลท่เี กิดขึน้ ตามสุขอนามยั เก่ยี วกับอาหารในฤดูรอ น วามอี ะไรบาง ๒.ภาพไอศกรมี ๑. การบอกเหตผุ ล
ในเหตุการณหรอื การกระทำ สขุ นสิ ยั ทด่ี ใี นกจิ วัตร ๒. ครูนำภาพอาหารในฤดรู อ นมาใหเ ด็กดู ๓.ภาพน้ำแข็งใส ทเี่ กดิ ขน้ึ ในเหตกุ ารณ
เมอื่ มผี ูช ี้แนะ ประจำวนั ๓. ครูสอบถามความสนใจของเดก็ วาจะทำอาหาร ๔.นำ้ ปน หรือการกระทำ
๒. การฟงและปฏิบตั ติ าม (๒) การสังเกต อะไรจากภาพ (น้ำหวานปน ,ไอศกรีม,นำ้ แข็งใส) เม่อื มผี ชู แ้ี นะ
คำแนะนำ ลกั ษณะ เด็กสว นใหญลงความเห็นอยากทำนำ้ หวานปน ๒. การฟงและปฏิบัติ
สวนประกอบ ๔. ครูเตรียมวสั ดอุ ุปกรณในการทำนำ้ หวานปนและ ตามคำแนะนำ
การเปล่ียนแปลง ใหเ ด็กคาดคะเนวา นำ้ หวานปน และนำ้ หวานจะมี
และความสัมพนั ธ รสชาตเิ หมือนหรือตา งกนั อยางไร
ของสิ่งตา ง ๆ โดยใช ๕.ครูและเดก็ ชว ยกนั ทำนำ้ หวานปน และนำ้ หวาน
ประสาทสัมผสั ใหเดก็ ทกุ คนชมิ โดยครคู อยใหค ำแนะนำ
อยา งเหมาะสม ๖.เดก็ บอกรสชาติของน้ำทั้ง ๒ ชนดิ

จดุ ประสงค สาระการเรียนรู กจิ กรรมการเรยี นรู สื่อ การประเมินพฒั นาการ
การเรยี นรู ประสบการณส ำคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู สังเกต
กิจกรรมศลิ ปะสรา งสรรค (๕) การทำงานศ ิลปะ ๑. ครสู นทนากบั เด็กเกย่ี วกบั อาหารในฤดูรอน ๑.กระดาษ ๑. การทำงานศลิ ปะ
๑. ทำงานศิลปะ (๔) การแสดง ๒. ครแู นะนำกจิ กรรมสรา งสรรค ประกอบดว ย ๒.สีเทียน อยา งมคี วามสุข
อยา งมคี วามสุข ความคิดสรางสรรค ๒.๑ การวาดภาพตามจินตนาการเก่ียวกบั ๓.ดนิ นำ้ มัน ๒. การแสดงความ
๒. แสดงความคิดพอใจใน ผานภาษาทาทาง อาหารฤดรู อน ๔.แผน รองปน พอใจในผลงานของ
ผลงานของตนเอง การเคลือ่ นไหวและ ๒.๒ ปน ดนิ นำ้ มนั อิสระ ตนเอง
ศลิ ปะ ๓. ใหเ ด็กเลือกทำกจิ กรรมสรางสรรค ๒ กจิ กรรม
ตามความสนใจ สังเกต
๔. ในระหวา งเดก็ ทำกจิ กรรม ครคู อยใหคำแนะนำ ๑. การเลน รวมกับ
การประดษิ ฐหมวกดวงอาทติ ยกบั หมวกดวงจนั ทร เพือ่ น
การใชด ินน้ำมัน ๒. การแบงปน ผูอ น่ื
๕. ใหเ ดก็ ทุกคน นำผลงานมานำเสนอใหเพือ่ น เมือ่ มีผูช้แี นะ
ภายในกลุมไดช่ืนชม ๓. การเก็บของเลน
ของใชเขา ทเี่ มื่อมี
กิจกรรมการเลนตามมุม (๑)การเลนหรอื ทำ ๑. ครแู นะนำมมุ ประสบการณ กตกิ าและวธิ ีการ มุมประสบการณ ผูช้แี นะ
๑. เลน รวมกบั กบั เพื่อน ได กจิ กรรมรว มกบั กลุม เลน ในแตละมมุ และใหเด็กเลอื กเลนตามความ ในหอ งเรยี น
๒.แบง ปนผูอืน่ ไดเ ม่อื มีผู เพือ่ น สนใจ
ชี้แนะ (๒) การปฏิบตั ติ น ๒. เด็กเลือกเลน กจิ กรรมการเลนตามมมุ
๓.เกบ็ ของเลน ของใชเ ขา เปนสมาชิกท่ีดขี อง ประสบการณตามความสนใจ
ท่ีไดเมอื่ มผี ชู แี้ นะ หอ งเรยี น - มุมธรรมชาติศึกษา - มุมหนังสอื

- มุมบล็อก - มุมบทบาทสมมตุ ิ
๓. เมือ่ หมดเวลาครใู หส ัญญาณหยุดเลน เดก็
ชว ยกันเกบ็ ของ

จุดประสงค สาระการเรียนรู กจิ กรรมการเรียนรู สอื่ การประเมินพฒั นาการ
การเรียนรู ประสบการณส ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู ๑. ครูใหเ ดก็ จบั มอื กันเปนวงกลม ลูกบอล สงั เกต
กจิ กรรมการเลนกลางแจง (๒) การเคล่ือนไหว ๒. ครูสาธิตการโยนลกู บอลและการรับลูกบอล การรับลูกบอลโดยใช
รับลูกบอลโดยใชมือและ เคลือ่ นท่ี ๓. ครูใหเดก็ เรม่ิ ทำกจิ กรรมรบั ลกู บอล โดยใชม อื มอื และลำตวั ชว ย
ลำตวั ชว ย (๔) การเคลื่อนไหวที่ และลำตวั ชวย จนครบทุกคนอยา งนอ ย
ใชก ารประสาน คนละ ๓ รอบ
สัมผสั ของการใช ๔. ครูพาเดก็ ไปทำความสะอาดรา งกาย
กลา มเนื้อใหญ ใน
การจบั และการโยน

กจิ กรรมเกมการศึกษา (๘) การนับและ ๑. ครูสนทนาเกี่ยวกบั เกมจดั หมวดหมภู าพกับ เกมจดั หมวดหมูภาพ สงั เกต
สังเกตตัวเลขที่ประกอบเปน แสดงจำนวนของสิง่ ตวั เลข กับตวั เลข การสงั เกตตวั เลขท่ี
คำผานการอานได ตา งๆใน ๒. ครสู าธติ วิธกี ารเลนเกมจดั หมวดหมสู ญั ลักษณ ประกอบเปน คำผา น
ชวี ิตประจำวนั ๓. แบง เด็กออกเปนกลมุ ตามความเหมาะสม การอาน
ใหเ ดก็ แตล ะกลมุ รับเกมจดั หมวดหมภู าพกับ
ตัวเลขไปเลน จนครบทกุ คนในกลุมจากนัน้ ให
เลนเกมการศกึ ษาชดุ เดิม
๔. เม่อื หมดเวลาครูใหส ัญญาณหยุดเลน เด็กชวย
เก็บของเลน เขา ที่

แผนการจัดประสบการณรายวนั วนั ท่ี ๔ หนวยท่ี ๓๖ ฤดรู อ น ชั้นอนบุ าลปที่ ๑
สาระการเรียนรู
จุดประสงค ประสบการณส ำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู กจิ กรรมการเรยี นรู สือ่ การประเมนิ พฒั นาการ
การเรยี นรู สังเกต
กิจกรรมเคลื่อนไหว (๑) การเคลื่อนไหว ๑. กจิ กรรมเคลือ่ นไหวพ้ืนฐานใหเ ดก็ เคล่ือนไหว ๑. เครอื่ งเคาะ ความสนใจและแสดง
และจังหวะ เคล่ือนที่ รางกายไปท่วั บริเวณอยางอิสระตามจังหวะเคล่อื นไหว จงั หวะ ทาทางเคลอ่ื นไหว
สนใจมคี วามสขุ และแสดง (๓) การเคล่ือนไหว ในทาตางๆ เมอ่ื ไดยินสัญญาณ “หยุด” ใหห ยุด ๒. หมวก ประกอบจงั หวะ
ทา ทางเคล่อื นไหวประกอบ พรอ มวสั ดอุ ปุ กรณ เคล่ือนไหวทา นั้นทันที
จงั หวะ ๒. ครูบอกขอตกลงกบั เด็ก สังเกต
เคาะจงั หวะ ๑ ครง้ั ใหเดก็ ใสห มวก ๑. การชวยเหลอื
เคาะจังหวะ ๒ ครั้ง ใหเดก็ ถอดหมวก ตนเองในกจิ วตั ร
๓. ครูใหเ ด็กเคลื่อนไหวตามขอตกลง ประจำวนั
๔. ครใู หเ ด็กเกบ็ หมวกหลังทำกิจกรรมเสร็จ ๒. การพูดเลา
ประสบการณข อง
กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ (๑) การชวยเหลือ การแตง กาย ๑. ครใู หเ ลาประสบการณเ ดมิ เกยี่ วกับการแตงกาย ๑. เสื้อกลา ม ตนเอง
๑. ชวยเหลอื ตนเองใน ตนเองในกจิ วัตร ในฤดูรอน ในฤดูรอ น ๒. กางเกงขาสั้น
กิจวัตรประจำวนั ประจำวนั ๒. ครูสนทนากับเด็กเก่ยี วกบั เครอ่ื งแตงกายในฤดูรอน ๓. หมวก
๒. พูดเลาประสบการณ พรอ มใหดเู ส้อื ผา เชน เส้ือกลา ม กางเกงขาสน้ั หมวก ๔. รองเทาแตะ
ของตนเอง รองเทา แตะ (เคร่อื งแตงกาย
๓. ครูสอนวิธสี วมใสเ ครอ่ื งแตง กายในฤดรู อ นใหก ับเดก็ ของจรงิ )
๔. ครขู ออาสาสมคั รเด็ก มาสวมเครื่องแตง กายในฤดู
รอน ๒ คน
๕. เดก็ รว มกนั เลนบทบาทสมมตุ กิ ารแตงกายในฤดรู อน
๖. ครแู ละเด็กรวมกันเกบ็ ของใหเรียบรอย
๗. ครแู ละเด็กพูดสรุปเกย่ี วกบั การแตง กายในฤดรู อ น

จดุ ประสงค สาระการเรียนรู กจิ กรรมการเรยี นรู ส่อื การประเมนิ พฒั นาการ
การเรยี นรู ประสบการณส ำคัญ สาระที่ควรเรียนรู สงั เกต
๑. การทำงานศิลปะ
กจิ กรรมศลิ ปะสรา งสรรค (๒) การเลนกบั สี ๑.ครแู นะนำกจิ กรรมสรางสรรค ประกอบดวย ๑. ผกั ตา งๆ อยา งมคี วามสุข
๑. ทำงานศลิ ปะ อยางมี (๓) การปน ๑.๑ การพมิ พภ าพจากผัก (งานกลุม ) ๒. สโี ปสเตอร ๒. การแสดงความ
ความสขุ ๑.๒ การปนดินนำ้ มนั ๓. กระดาษชารท พอใจในผลงานของ
๒. แสดงความพอใจใน ๒. ใหเด็กเลือกทำกิจกรรมสรางสรรค ๒ กิจกรรม ๔. ดินนำ้ มนั ตนเอง
ผลงานของตนเอง ตามความสนใจ ๕. แผนรองปน
๓. ในระหวางเด็กทำกิจกรรม ครูคอยใหคำแนะนำ ๖. กระดาษ เอ ๔ สังเกต
การพมิ พภาพจากผักและการใชดินนำ้ มัน ๑. การเลน รวมกับ เพอ่ื น
๔. ใหเด็กทุกคนนำผลงานมานำเสนอใหเพ่ือน ๒. การแบงปนผอู ่นื
ภายในกลมุ ชื่นชม เมื่อมผี ูช แ้ี นะ
กิจกรรมการเลนตามมุม (๑)การเลน หรอื ทำ ๑. ครูแนะนำมมุ ประสบการณ กติกาและวธิ ีการ มุมประสบการณ ๓. การเกบ็ ของเลน
๑. เลนรวมกบั กับเพอื่ น กิจกรรมรว มกบั กลมุ เลน ในแตละมมุ และใหเด็กเลือกเลนตามความ ในหอ งเรยี น ของใชเขาที่เม่ือมี
ได เพื่อน สนใจ ผูช ี้แนะ
๒.แบงปนผอู ื่นไดเม่ือมีผู (๒) การปฏิบตั ติ น ๒. เดก็ เลอื กเลน กิจกรรมการเลน ตามมมุ
ชแ้ี นะ เปนสมาชิกท่ดี ขี อง ประสบการณต ามความสนใจ
๓.เก็บของเลน ของใชเขา หอ งเรียน - มมุ ธรรมชาตศิ ึกษา - มุมหนงั สอื
ทไ่ี ดเ มอ่ื มผี ูช แี้ นะ - มุมบล็อก - มมุ บทบาทสมมตุ ิ

๓. เมื่อหมดเวลาครใู หส ัญญาณหยดุ เลน เด็ก
ชวยกนั เกบ็ ของ

จดุ ประสงค สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรียนรู สอื่ การประเมิน
การเรียนรู ประสบการณส ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู ๑. ครสู นทนากบั เด็กถึงวิธีการเลนน้ำ เลนทราย การเลน นำ้ - พัฒนาการ
๒. ครูแบง เด็กเปน กลุม ๒ กลมุ เพ่อื เลน น้ำ เลน ทราย เลน ทราย สังเกต
กจิ กรรมการเลนกลางแจง (๒) การเคลอ่ื นไหว การเลนและทำ ๓. ครูและเดก็ ชวยกนั เก็บอปุ กรณและพาเด็กไปทำ ๑. การเลน และทำ
๑. เลน และทำกจิ กรรม เคล่ือนที กจิ กรรมอยา ง ความสะอาดรางกาย กจิ กรรม
อยา งปลอดภยั เมอ่ื มี ปลอดภัย อยางปลอดภยั
ผูชี้แนะ เม่อื มีผชู แ้ี นะ
๒.ปฏิบตั ิตามขอตกลง ๒. การปฏบิ ัตติ าม
เกี่ยวกบั การเลน ขอตกลงเก่ียวกับ
การเลน

กจิ กรรมเกมการศกึ ษา (๑๓) การจบั คตู าม ๑. ครูสนทนาเกี่ยวกบั ฤดูรอ น ฤดูหนาว ฤดูฝน เกมจับคูภาพ สงั เกต การจบั คูโ ดยใช
จับคโู ดยใชลกั ษณะ หรือ ลกั ษณะความสัมพันธ ความสมั พันธ ลกั ษณะ หรอื หนาท่ี
หนา ท่กี ารใชงาน ๒. ครสู าธิตเกมจับคูภ าพความสมั พนั ธ เครอื่ งแตง กาย การใชงาน
เพยี งลกั ษณะเดียว ๓. ครขู ออาสาสมคั รเด็กออกมาทดลองเลน เกมจบั คู และสภาพอากาศ เพียงลกั ษณะเดยี ว
ภาพความสมั พนั ธ
๔. แบงเด็กออกเปน กลุมตามความเหมาะสมใหเ ดก็ แต
ละกลุมรับเกมจบั คภู าพความสมั พันธไปเลน จนครบทุก
คนภายในกลุมจากนน้ั ใหเ ลนเกมการศกึ ษาชุดเดิม
๕. เมื่อหมดเวลาครใู หส ญั ญาณหยดุ เลนเดก็ ชวยกันเกบ็
ของเขา ท่ี

แผนการจัดประสบการณรายวนั วนั ท่ี ๕ หนว ยท่ี ๓๖ ฤดรู อน ช้นั อนุบาลปที่ ๑
สาระการเรียนรู
จุดประสงคก ารเรียนรู ประสบการณส ำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู กจิ กรรมการเรยี นรู สื่อ การประเมนิ
พฒั นาการ
กิจกรรมเคลือ่ นไหว (๒) การเคลือ่ นไหว ๑. กจิ กรรมเคล่ือนไหวพ้นื ฐานใหเด็กเคล่ือนไหว ๑. เครอื่ งเคาะจังหวะ สังเกต
และจังหวะ เคล่ือนท่ี รางกายไปทัว่ ๆ บรเิ วณอยา งอิสระตามจงั หวะ ๒. เพลงประกอบ ๑. ความสนใจ
๑. สนใจ มคี วามสขุ เมอ่ื ไดย ินสญั ญาณ “หยุด” เคลอื่ นไหว มคี วามสุข
ในการเคล่ือนไหวประกอบ ใหห ยดุ เคล่อื นไหวในทาน้ัน ทันที โดยไมชนกนั ในการเคลื่อนไหว
เพลงและดนตรี ๒. ใหเ ดก็ อาสาสมคั รมาเปนผนู ำการเคล่อื นไหว ประกอบเพลงและ
๒. ปฏบิ ตั ิตนเปน ผูนำและผู สวนตางๆของรา งกายตามจงั หวะเสียงเพลง ดนตรี
ตามเมื่อมผี ชู ี้แนะ ๓. ผลัดเปลยี่ นเด็กคนอื่นออกมาเปนผูน ำการ ๒. การปฏิบัติตนเปน
ผนู ำและผตู ามเม่อื มี
เคลือ่ นไหวรางกาย ผชู ้แี นะ

กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ (๒) การปฏบิ ตั ติ น ประเพณีไทย ๑. เด็กใหเ ลา ประสบการณเ ดิม โดยครซู ักถาม ๑. ภาพการทำบุญ สังเกต
ปฏิบตั ิตนตามมารยาทไทย ตามวัฒนธรรมทอ ง เกย่ี วกบั ประเพณีไทยทเี่ ดก็ รจู กั ตักบาตร การปฏบิ ัติตน
ไดเมอ่ื มีผูชี้แนะ ถน่ิ ท่ีอาศัยและ ๒. ครสู นทนากับเด็กเก่ียวกับประเพณสี งกรานต ๒. ภาพการสรงน้ำพระ ตามมารยาทไทย
ประเพณไี ทย พรอ มใหดภู าพประกอบ เชน การ ๓. ภาพการรดนำ้ เมอื่ มผี ูชแี้ นะ
ทำบญุ ตกั บาตร การสรงน้ำพระ การรดนำ้ ขอพรผใู หญ
ขอพรผใู หญ การรดนำ้ ดำหวั และการปะแปง ๔. ภาพการรดน้ำดำหวั
๓. ครสู าธติ การสรงน้ำพระ การกราบไหวพระ ๕. ภาพการปะแปง
๔. ครูแบง กลุม ใหเ ด็กออกเปนกลมุ ตามความ ๖. พระพุทธรูป
เหมาะสมใหเ ลน บทบาทสมมติ การสรงน้ำพระ ๗. แปงและนำ้ อบ
และกราบไหวพระ จนครบทกุ กลมุ ๘. ขันน้ำ
๕. ครูและเดก็ ชว ยกนั เกบ็ ของเขา ท่ีใหเรยี บรอ ย ๙. ดอกไม
๖. ครูและเด็กรว มกนั สรุปเกยี่ วกบั ประเพณไี ทย

จุดประสงค สาระการเรยี นรู กิจกรรมการเรียนรู สอ่ื การประเมนิ
การเรยี นรู ประสบการณส ำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู พัฒนาการ
กิจกรรมศิลปะสรา งสรรค (๒) การเลนกบั สี ๑.ครูแนะนำกจิ กรรมสรางสรรค ประกอบดวย ๑.หลอด สงั เกต
๑. ทำงานศิลปะ อยางมี (๓) การปน ๑.๑ การพิมพภ าพจากผกั (งานกลุม) ๒.สโี ปสเตอร ๑. การทำงานศิลปะ
ความสขุ ๑.๒ การปน ดนิ น้ำมนั อยางมีความสุข
๒. แสดงความพอใจใน ๒. ใหเดก็ เลอื กทำกจิ กรรมสรา งสรรค ๒ กจิ กรรม ๓.กระดาษ ๒. การแสดงความ
ผลงานของตนเอง ตามความสนใจ ๔.ดนิ นำ้ มนั พอใจในผลงานของ
๓. ในระหวางเดก็ ทำกิจกรรม ครคู อยใหค ำแนะนำ ๕.แผน รองปน ตนเอง

การพมิ พภาพจากผักและการใชด นิ นำ้ มัน สังเกต
๔. ใหเ ดก็ ทกุ คนนำผลงานมานำเสนอใหเพอ่ื น ๑. การเลนรว มกบั
ภายในกลุมช่นื ชม เพือ่ น
กจิ กรรมการเลนตามมมุ (๑)การเลน หรอื ทำ ๑. ครูแนะนำมมุ ประสบการณ กติกาและวธิ กี าร มมุ ประสบการณ ๒. การแบง ปนผอู น่ื
๑. เลน รวมกับกบั เพือ่ น ได กิจกรรมรวมกบั กลุม เลนในแตล ะมมุ และใหเดก็ เลอื กเลนตามความ ในหองเรียน เมื่อมีผชู แี้ นะ
๒.แบง ปน ผูอนื่ ไดเมอ่ื มผี ู เพื่อน สนใจ ๓. การเก็บของเลน
ชี้แนะ (๒) การปฏิบตั ติ น ๒. เดก็ เลอื กเลน กจิ กรรมการเลนตามมุม ของใชเ ขา ท่เี ม่ือมี
๓.เก็บของเลน ของใชเขา เปน สมาชิกทด่ี ขี อง ประสบการณต ามความสนใจ ผูช ี้แนะ
ท่ไี ดเ ม่อื มีผชู ีแ้ นะ หอ งเรียน - มมุ ธรรมชาตศิ ึกษา - มุมหนังสือ

- มมุ บลอ็ ก - มมุ บทบาทสมมตุ ิ
๓. เม่อื หมดเวลาครใู หส ัญญาณหยดุ เลน เดก็
ชว ยกนั เกบ็ ของ

จุดประสงค สาระการเรยี นรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ การประเมินพฒั นาการ
การเรียนรู ประสบการณส ำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู สังเกต
กจิ กรรมการเลน กลางแจง (๕) การละเลน ๑. ครสู นทนากับเดก็ เก่ียวกับขอตกลงใน การละเลน ไทย ๑. การเลน และทำ
๑. เลน และทำ พนื้ บานของไทย การละเลนเด็กไทย คำคลองจองแมง เู อย “แมง เู อย ” กิจกรรมอยาง
กจิ กรรมอยา ง ๒. ครูใหเ ดก็ แบง กลมุ เปน ตามความเหมาะสม และ ปลอดภัยเมอื่ มี
ปลอดภัยเม่อื มีผูช้แี นะ ขออาสาสมคั ร กลมุ ละ ๒ คน เปนพอ งแู ละแมง ู ผชู ้แี นะ
๒. เลน รวมกับเพ่ือนได ๓. ครูสาธิตการละเลน เดก็ ไทย "แมงูเอย" ๒. การเลนรว ม
๓. ปฏิบตั ติ นเปน ผนู ำและ พรอ มทงั้ ใหเ ดก็ ทดลองเลน กบั เพื่อน
ผตู ามเมื่อมผี ชู แ้ี นะ ๔. ครูและเดก็ รว มกนั ทองคำคลอ งจองและเลน ๓. การปฏบิ ัตติ นเปน
การละเลน เดก็ ไทย ผูน ำและผูตามเม่อื มี
๕. ครพู าเดก็ ไปทำความสะอาดรางกาย ผชู แ้ี นะ

กจิ กรรมเกมการศึกษา (๖) การตอ ของช้ิน ๑. ครูนำภาพการละเลนของเดก็ ไทยมาใหเ ดก็ ดู เกมภาพตัดตอ สงั เกต
คน หาคำตอบของขอสงสัย เล็กเตมิ ในช้ินใหญ แลวสนทนาเกย่ี วกับภาพรว มกบั เด็ก การละเลนของ การคน หาคำตอบ
ตามวธิ ีการเมอ่ื มผี ูชี้แนะ ในสมบรู ณแ ละแยก ๒. ครแู นะนำวธิ ีการเลนเกมภาพตัดตอการละเลน เดก็ ไทย ขอสงสยั ตามวธิ ีการ
ช้ินสว น ของเดก็ ไทย เมื่อมีผูชี้แนะ
๓. แบง เดก็ ออกเปน กลมุ ตามความเหมาะสมใหเด็ก
แตละกลมุ รบั เกมภาพตัดตอการละเลน ของเดก็ ไทย
จนครบทกุ คน จากนน้ั ใหเลน เกมการศกึ ษาชุดเดมิ
๔. เมือ่ หมดเวลาครูใหสญั ญาณหยุดเลนเดก็ ชวยกัน
เกบ็ ของเขา ที่

๑ ด.ญ.ธิดารัตน โคกโต เลขท่ี ชอ่ื -สกลุ
๒ ด.ญ.ปวีณธ ิดา หนูใหญ
๓ ด.ญ.ไอรดา จันทรงั ษ ๑.ลา งมือกอ นรบั ประทานอาหารและ ดานรา งกาย แบบสงั เกตพฤตกิ รรมเดก็ หนวยการจดั ประสบการณท่ี ๓๖ ฤดูรอ น ช้ันอนุบาลปท ่ี ๑
คำอธบิ าย ครูสงั เกตพฤตกิ รรมเด็กรายบคุ คล จดบันทกึ สรปุ เปน รายสปั ดาหร ะบุระดับคณุ ภาพเปน ๓ ระดบั คอื หลงั ใชห องน้ำเมื่อมผี ชู ้แี นะ
ประเมนิ พัฒนาการ
ระดับ ๓ ดี ระดับ ๒ ปานกลาง ระดับ ๑ ควรสง เสริม ๒.เลนและทำกิจกรรมอยา งปลอดภัยได ดา นอารมณ
เมือ่ มผี ูช ้ีแนะ
๓.เดินตามเสนตรงที่กำหนดได
๔.รับลูกบอลโดยใชมือและลำตัวชวย

๕.กลาพูด กลาแสดงออก
๖. แสดงความพอใจในผลงานตนเอง

๗. สนใจมคี วามสขุ และแสดงออกผาน
งานศลิ ปะ
๘. สนใจมีความสขุ และแสดงทา ทาง
เคลือ่ นไหวประกอบเพลง จงั หวะ
และดนตร

๙. แบงปน ผูอ น่ื ไดเ มื่อมีผูช ีแ้ นะ
๑๐. ทำงานที่ไดรับมอบหมายจนสำเร็จ
เมื่อมีผชู ว ยเหลือ

หมายเหตุ

บนั ทกึ หลงั การสอน
หนว ย ฤดรู อน

วนั ท…ี่ …………เดอื น………………………………..พ.ศ.………………..
1. ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.ปญ หา / อปุ สรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.ขอ เสนอแนะ / แนวทางแกไ ข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ...................................................................................ผสู อน
( นางสาวณฏั ฐศ ศิ ไกรวลิ าส )
ตำแหนง ครูผชู ว ย

ความเหน็ และขอ เสนอแนะของผูบรหิ าร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื .......................................................................................ผบู รหิ าร
( นายยศศักด์ิ กอ แกว )

ตำแหนง ครู โรงเรยี นวดั หนองหอย รักษาการในตำแหนง
ผอู ำนวยการ โรงเรียนวดั หนองหอย


Click to View FlipBook Version