The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนชั้นอนุบาลปีที่1 เทอม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwlsnatsasiblue, 2022-03-25 01:21:14

แผนชั้นอนุบาลปีที่1 เทอม2

แผนชั้นอนุบาลปีที่1 เทอม2

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ การประเมนิ ผล
ประสบการณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้
เกมการศกึ ษา ๓. เด็กเลือกเลน่ อิสระ ๑. เกมพน้ื ฐานการ สงั เกต
เกมจับคเู่ ปรยี บเทียบ (๓) การจับคู่ เกมพ้นื ฐานการลบ ๔. เมอ่ื ใกลห้ มดเวลาครใู หส้ ญั ญาณหยุดเลน่ เก็บ ลบ จำนวนไม่เกิน ๕ การเลน่ เกมจับคู่
จำนวนได้ จำนวนไมเ่ กนิ ๕ อปุ กรณแ์ ละทำความสะอาดร่างกาย ๒. เกมชุดเดมิ ในมมุ เปรยี บเทยี บจำนวน
เปรียบเทยี บและ ๑. ครูสาธิตเกมพน้ื ฐานการลบจำนวนไมเ่ กนิ ๕ เกมการศกึ ษา
๒. จดั เด็กเขา้ กลมุ่ เกมหมนุ เวียน เล่นเกมชุดใหม่ ๓. เคร่อื งเคาะจงั หวะ
เรยี งลำดับ และเล่นเกมชดุ ท่ีเคยเลน่ มาแล้ว
สิง่ ต่างลกั ษณะ ๓. เมอื่ ได้ยินสญั ญาณเดก็ ช่วยกนั เก็บเกมเขา้ ท่ี
(๘) การนบั และแสดง ให้เรียบร้อย

จำนวนของสิ่งตา่ งๆ

ในชีวติ ประจำวนั

แผนการจัดประสบการณ์รายวนั วนั ท่ี ๔ หนว่ ยท่ี ๓๒ แรงและพลังงานในชวี ติ ประจำวนั ชนั้ อนุบาลปท� ่ี ๑

สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื การประเมินผล
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ประสบการณส์ ำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้
กิจกรรมเคลือ่ นไหว (๒) การแสดงความคดิ ๑. กิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐาน ใหเ้ ด็กเคล่ือนไหว สังเกต การเคลื่อนไหว
และจงั หวะ รา่ งกายไปทัว่ บรเิ วณอย่างอิสระตามจงั หวะ เคร่อื งเคาะจังหวะ ท่าทางเพอื่ สื่อสาร
เคลอื่ นไหวทา่ ทาง เมือ่ ไดย้ ินสญั ญาณหยดุ ให้หยดุ ในทา่ นน้ั ทนั ที ความคิดความรสู้ กึ การ
เพอ่ื สอ่ื สารความคดิ สรา้ งสรรคผ์ า่ นการ ๒. ใหเ้ ดก็ ยนื เป�นวงกลม ครเู ลือกอาสาสมคั ร ๑ เป�นผู้นำผตู้ าม
เคล่อื นไหว คน เป�นผู้นำทำทา่ กายบรหิ ารให้เพอ่ื นทำตาม ของตนเอง
เมือ่ ไดย้ นิ สัญญาณหยดุ ใหค้ นอนื่ ๆ เป�นผนู้ ำ
ความรู้สึก การเป�น ผนู้ ำ พอประมาณและครูนำใหเ้ ด็กทำตามเปน� คน
และผู้ตามของ สุดท้าย

ตนเองได้

๓. ให้เดก็ นงั่ ผอ่ นคลายสบาย ๆ ตบมอื นบั ๑-๕

กจิ กรรมเสริม (๓) การสบื เสาะหา พลังงานจากอาหาร ๑. ครแู จกลูกอมคนละ ๑ เมด็ และให้เดก็ อม ครู สังเกต
ประสบการณ์ ความรู้ เพอ่ื ค้นหา พลังงานเช้ือเพลงิ ถามถงึ ความรูส้ ึกวา่ เป�นอย่างไร และถามวา่ เราได้ การค้นหาคำตอบของ
คน้ หาคำตอบ คำตอบของข้อสงสัย กินอำหารเลยจะเกดิ อะไรขน้ึ
ของข้อสงสัยต่างๆ ๒. ครอู ธบิ ายการกินอำหาร เชน่ ข้ำว ขา้ วโพด จะ ขอ้ สงสยั ตา่ งๆ ตาม
ตามวธิ ีการ ไดพ้ ลงั งานท่รี ่างกายจะนำไปสรา้ งความ
เมื่อมีผู้ช้ีแนะได้ เจรญิ เตบิ โตเติมเร่ียวแรงและตอ่ ชีวติ ให้ยนื ยาว วธิ ีการเม่อื มีผูช้ ีแ้ นะ
ตอ่ ไปอำหารบางอย่าง เช่น น้ำตาลจะมีพลงั งาน
ด่วนทันใจให้เด็ก แตถ่ ำ้ กนิ อาหารมากเกนิ ไป
รา่ งกายจะสะสมไว้ในรูปไขมนั จนกลายเปน� คน
ดว้ ยฉขุ โี้ รค

สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ การประเมนิ ผล
จุดประสงค์ การเรยี นรู้ ประสบการณส์ ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้
สงั เกต
๓. ครูใหด้ ูภาพอปุ กรณก์ ารทำอาหารใชพ้ ลงั งาน ๑. การใช้กรรไกร ตัด
กระดาษใหข้ าด ออก
ไฟฟ้ามอี ะไร ทำอย่างไรและใหเ้ ด็กไปสำรวจทบ่ี ้าน จากกนั
๒. การแสดงความ
ว่ามีอะไรบ้าง พอใจในผลงานของ
ตนเอง
๔. ครสู รปุ อาหารทำให้เกดิ พลงั งานในร่างกาย ทำ

ให้ร่างกายแข็งแรง (อปุ กรณบ์ างอยา่ งต้องใช้

พลงั งานจากเช้ือเพลงิ เชน่ ถ่าน นำ้ มัน แกส๊ )

กจิ กรรมศิลปะ สร้างสรรค์(๕) การหยบิ จบั ๑. ครูสำธติ กระดาษตามแบบที่ครูกำหนด ใหข้ าด ๑. กระดาษ
๑. ใช้กรรไกร ตดั กระดาษ การจบั ใชก้ รรไกร
ใหข้ ำดออกจากกัน ได้ (๑) การพดู สะท้อน ออกจากกนั และแนะนำใหไ้ ปทำของเล่น ๒. กรรไกรปลายมน
๒. แสดงความ พอใจใน ความรู้สึกของตนเอง ชนิดต่างๆ ๓. ไม้จมิ้ ฟน�
ผลงาน ของตนเองได้ และผูอ้ ่นื ๒. ใหเ้ ดก็ ๆ ตดั กระดาษตามรอยเส้นท่คี รกู ำหนด
เชน่ วงกลม สเ่ี หลี่ยม สำมเหลี่ยม อย่างนอ้ ย คน

ละ ๒ ชิ้น

๓. ใหเ้ ด็กนำกระดาษท่ตี ัดได้มาใชไ้ ม้จ้ิมฟ�นแทงลง

ไปตรงกลำงให้ทะลแุ ละใหย้ าวประมาณ ๒ ซ.ม.

๔. ให้เดก็ ทดลองหมุนเลน่

๕. ให้เด็กนำผลงานมาเล่าใหเ้ พอ่ื น ๆ ฟง�

๖. ใหเ้ ด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่และทำความ

สะอาดใหเ้ รียบรอ้ ย

สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ การประเมนิ ผล
จุดประสงค์ การเรยี นรู้ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
กิจกรรมเลน่ ตามมุม (๓) การใหค้ วาม
เลน่ ร่วมกับเพือ่ น รว่ มมอื ในการปฏบิ ัติ ๑. เด็กเลอื กเลน่ ในมมุ ประสบการณ์ ตามความ ๑. มุมประสบการณ์ ใน สังเกต
กิจกรรมตา่ งๆ
(๒) การเล่นและการ สนใจ มมุ ประสบการณ์ควรมี อยา่ งน้อย ๔ มมุ ห้องเรียน การลน่ รว่ มกับเพือ่ น
ทำงานร่วมกบั ผูอ้ ่นื เช่น มมุ หนังสอื มุมบลอ๊ ก มมุ บ้าน และมมุ
วทิ ยาศาสตร์ ๒. เครอื่ งเคาะจงั หวะ

๒. ครนู ำหนงั สอื เรื่อง พลังงานประเภทต่างๆ ไว้ท่ี

มุม

๓. เด็กเลน่ ตามมุมต่างๆ

๔. เมือ่ ไดย้ นิ สญั ญาณให้เดก็ เกบ็ ของเล่นเขา้ ที่

กิจกรรมกลางแจง้ (๔) การเคลอื่ นทใี่ ช้ ๑. ครูให้เดก็ เขา้ แถวตามลำดับก่อน-หลังและ ๑. กตกิ าการเลน่ "ชกั สงั เกต
รบั ลกู บอลดว้ ยมือ
การประสาน ทบทวนข้อตกลง เดนิ ลงสนาม คะเย่อ" การรับลกู บอลด้วยมือ
และลำตัวช่วยได้
สัมพันธ์ของการใช้ ๒. ครสู นทนาเก่ยี วกับกติกาการเลน่ ชกั คะเยอ่ ๒. เชอื ก และลำตัวชว่ ย

กลา้ มเน้อื ใหญใ่ นการ แบ่งเด็กเปน� ๒ กลุ่ม ๆ ละเทา่ ๆ กนั คนหนา้ จับ ๓. ผ้าผกู เชอื ก ๓ ผนื

ขวา้ ง การจบั การโยน เชือกหา่ งจากผ้าผูกไว้ ๑ ฟุต และ คนตอ่ ไปจบั ๔. นกหวีด

การเตะ ต่อกันจนครบทุกคนท้งั สองกลุ่ม เม่อื ได้ยิน

สัญญาณนกหวดี แลว้ ใหด้ ึงได้ ถำ้ กลุม่ ไหนผา้ ทอ่ี ยู่

ตรงหนา้ เข้าไปในเขต ของกลมุ่ ตรงขา้ ม กลมุ่

ตรงข้ำมก็จะชนะและ เปลยี่ นขา้ งใหม่ สลบั กนั

(หา้ มปล่อยมอื )

๓. ครใู หเ้ ดก็ ๆ เล่น ๔ คร้ัง

๔. เล่นอิสระ

๕. เม่ือใกลห้ มดเวลาครูให้สญั ญาณหยดุ เลน่

เก็บอุปกรณแ์ ละทำความสะอาดรา่ งกาย

เดนิ กลบั หอ้ งเรียน

จุดประสงค์ การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมินผล
ประสบการณส์ ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้
(๕) การคัดแยก เกมสังเกต สังเกต
เกมการศึกษา ๑. ครูสาธติ เกมสังเกตเคร่ืองใช้ไฟฟา้ จากมุมมอง ๑. การสังเกต
การจดั กลมุ่ และ เคร่อื งใช้ไฟฟ้า เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าในมุมท่ี การจับค่หู รอื
จับคหู่ รอื เปรยี บเทยี บ การจำแนกสง่ิ ตา่ ง ๆ จากมุมมองทต่ี ่างกัน ท่ตี า่ งกัน เปรยี บเทียบดา้ นหนา้
ด้านหนา้ ดา้ นข้าง ตามลักษณะและ ด้านขา้ ง ดา้ นหลงั
ดา้ นหลงั ได้ ๒. จัดเดก็ เขา้ กลมุ่ เล่นเกมหมุนเวยี น เลน่ เกม ชุด ต่างกนั

ใหม่และเลน่ เกมชดุ ทเ่ี คยเล่นมาแลว้ ๒. เกมชดุ เดิมในมมุ

รปู ร่าง ๓. เมื่อได้ยินสญั ญาณเด็กช่วยกนั เก็บเกมเข้าที่ ให้ เกม การศกึ ษา
เรยี บรอ้ ย ๓. เครือ่ งเคาะ

จังหวะ

แผนการจดั ประสบการณร์ ายวนั วนั ท่ี ๕ หน่วยท่ี ๓๒ แรงและพลังงานในชวี ิตประจำวนั ชน้ั อนุบาลปท� ี่ ๑

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือ การประเมนิ ผล
กิจกรรมเคลือ่ นไหว ประสบการณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้
และจังหวะ (๑) การแสดง ๑. กจิ กรรมเคลอื่ นไหวพ้ืนฐานให้เดก็ เคล่อื นไหว ๑. เครอื่ งเคาะ สังเกต
เคลือ่ นไหวประกอบ ความคิดสรา้ งสรรค์ ร่างกายไปท่วั บริเวณอยา่ งอิสระตามจงั หวะ จงั หวะ การเคลือ่ นไหว
เพลง เพื่อสื่อสาร ผ่านภาษา ท่าทาง เมอื่ ไดย้ ินสัญญาณหยดุ เคลอื่ นไหวในทา่ น้ันทันที ๒. เพลง ลมพดั ประกอบเพลง
ความคดิ ความรู้สกึ การเคล่ือนไหว ๒. ครรู ้องเพลง ลมพัด และบอกใหเ้ ด็กแสดง เพือ่ ส่อื สารความคิด
ของตนเองได้ ทา่ ทาง อิสระ พอถึงเนื้อเพลงท่ฉี ันจะบอกให้ ความรสู้ กึ ของตนเอง
ครูเรียกชอื่ เดก็ คนหน่งึ แล้วให้เด็กคนน้นั แสดง
กิจกรรมเสรมิ ทา่ ทางแปลก ๆ ครแู ละเด็กก็รอ้ งเพลงใหม่
ประสบการณ์ คน้ หา เรยี กชื่อเดก็ ประมาณ
คำตอบและ ขอ้ สงสัย
ต่างๆ ตามวธิ ีการ ๕ คน
มผี ู้ชีแ้ นะได้
๓. ให้เดก็ นง่ั พกั ผอ่ นคลายสบายๆ นับ ๑ - ๕

(๓) การสืบเสาะหา พลังงานจากลม ๑. ครูนำพัดมาพัดใหเ้ ด็ก ๆ และถามความรสู้ ึกวา่ เปน� ๑. พดั ไม้ พดั สงั เกต
ความรเู้ พอ่ื ค้นหา อย่างไร และใหเ้ ดก็ ทดลองมานง่ั ตรงประตู หนา้ ตา่ ง กระดาษ การคน้ หาคำตอบและ
คำตอบและข้อสงสัย เวลามลี มพดั มาเปน� อยา่ งไร ใหเ้ ดก็ เปรียบเทยี บ ๒. พดั ลมแตล่ ะชนิด ขอ้ สงสยั ต่างๆ ตามวธิ ีการ
๒. ให้เด็กเปด� พดั ลมเพดำน กดเลขและใหเ้ ดก็ ท่บี อก ๓. แอร์ มีผชู้ แี้ นะ
ความร้สู กึ ว่าเปน� อย่างไร ความแรงลม ข้นึ เมอื่ กด ๑ ๒

๓ ๐ และทดลองเป�ดพดั ลมต้ังโตะ๊

กด ๑ ใหเ้ ด็กอ่านตาม ๑

กด ๒ ใหเ้ ดก็ อ่านตาม ๒

กด ๓ ใหเ้ ด็กอ่านตาม ๓
กด ๑ ใหเ้ ด็กอา่ นตาม ๐ ครแู นะนำการเปด� แอร์

๓. ครูสรุปลมเกดิ จากธรรมชาตแิ ละมนุษยส์ รา้ งข้ึน

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื การประเมนิ ผล
ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้

กจิ กรรมศลิ ปะ (๔) การประดษิ ฐ์สิ่ง ๑. ครแู นะนำอุปกรณ์และวิธตี ัดกระดาษประดษิ ฐ์ ๑. กระดาษสี่เหลีย่ ม สังเกต
๑. การประดิษฐก์ ังหนั
สร้างสรรค์ ตา่ ง ๆ ด้วยเศษวัสดุ กังหนั ลม ๒. กรรไกร เปน� ของเลน่
(เป�นพลงั งานลม)
๑. ประดิษฐก์ งั หัน เปน� (๓) การใหค้ วาม ๑.๑ เจำะรูดา้ นเดียวกันทุกเสน้ ๓. เข็มหมดุ ๒. การทำงานทีไ่ ดร้ ับ
ของเลน่ ได้ (เป�น พลังงาน รว่ มมือในการปฏบิ ตั ิ ๑.๒ ตัดตามเสน้ ทแยงมมุ เขา้ มาคร่งึ ทาง กอ่ นจะถึง มอบหมายจนสำเร็จ
ลม) กจิ กรรม ๔. ดินสอทม่ี ียางลบ เมื่อมีผ้ชู ่วยเหลอื
จุดศนู ยก์ ลาง

๒. ทำงานที่ไดร้ ับ ๑.๓ พับมมุ ทง้ั สี่ (ทมี่ ีรูเจาะ) เข้ามาหา จดุ ศนู ย์
มอบหมาย จนสำเร็จ เมอื่
มีผู้ช่วยเหลอื กลำง

๑.๔ เสียบเขม็ หมุดป�กผา่ นจุดศูนย์กลาง แล้วเสยี บ

ให้ติดดำ้ นข้างยางลบทก่ี น้ ดินสอ นี่คอื กงั หันลม

๒. ใหเ้ ด็กทำจนเสร็จ

๓. ให้เด็กบอกความรสู้ กึ ในการประดษิ ฐก์ ังหันลม

๔. เด็กช่วยเก็บอุปกรณเ์ ข้าท่ใี หเ้ รียบรอ้ ย

กิจกรรมเลน่ ตามมมุ (๓) การใหค้ วาม ๑. เดก็ เลือกเลน่ ในมมุ ประสบการณ์ตามความ สนใจ ๑. มมุ ประสบการณ์ สงั เกต
เลน่ รว่ มกับเพื่อนได้ ร่วมมอื ในการปฏิบัติ
กิจกรรมต่าง ๆ มุมประสบการณค์ วรมอี ย่างนอ้ ย ๔ มมุ เชน่ มมุ ในห้องเรียน การเลน่ ร่วมกบั เพ่อื น
(๒) การเล่นและ หนังสือ มมุ บลอ๊ ก มุมบ้าน และมุม วิทยาศาสตร์ ๒. อปุ กรณ์ ในงาน
ทำงานร่วมกับผู้อืน่ ๒. ครเู พ่มิ อุปกรณป์ ระดิษฐ์ของเลน่ เก่ยี วกับ ประดิษฐ์
พลังงาน ๓. เครื่องเคาะ

๓. เด็กเลน่ ตามมุมต่าง ๆ จังหวะ

๔. เม่ือไดย้ ินสญั ญาณใหเ้ ดก็ เก็บของเลน่ เขา้ ท่ี

จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื การประเมินผล
ประสบการณส์ ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู้
กจิ กรรมกลางแจ้ง (๓) การให้ สงั เกต
๑. เลน่ รว่ มกับเพอื่ น ได้ การ ๑. ครูใหเ้ ดก็ เขา้ แถวตามลำดับก่อน-หลงั และ ๑. กงั หนั ลม ๑. การเลน่ รว่ มกับเพอื่ น
๒. แสดงความพอใจ
ความร่วมมือ ว่งิ ประกอบอปุ กรณ์ ทบทวนขอ้ ตกลง เดนิ ลงสนามพรอ้ มอปุ กรณ์ (กงั หัน ๒. นกหวีด ๒. การแสดงความพอใจ
ในผลงานของตนเอง ในการปฏบิ ตั ิ (กงั หนั ลม) ลม) ในผลงานของตนเอง
กิจกรรม
ได้ (๑) การพดู สะท้อน ๒. ครแู นะนำการวง่ิ กงั หันลมและทดลองวิง่ ใหเ้ ดก็
ๆ ดู

ความรสู้ กึ ของตนเอง ๓. ใหเ้ ด็กว่ิงคร้ังละ ๕ คน ตามแถวหนา้ กระดาน
และผูอ้ น่ื และว่ิงจนครบทกุ คน

๔. ใหเ้ ดก็ พูดถงึ ความรู้สกึ ของกังหันลมของตนเอง
เป�นอย่างไร ของใครหมุน ของใครไม่หมุน ช่วยกัน
แกป้ �ญหาและทดลองวิ่ง

๕. เล่นอสิ ระ

๖. ใกลห้ มดเวลาใหส้ ญั ญาณหยุดเล่น

เกมการศึกษา (๓) การจบั คู่ โดมโิ นภาพ ๑. ครูสาธิตการเลน่ เกมโดมโิ นภาพเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ๑. สงั เกตเกมโดมิโน สงั เกต
จบั คู่ เปรยี บเทยี บ เปรียบเทียบตาม เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ๒. จดั เดก็ เขา้ กลมุ่ เลน่ เกมหมนุ เวียน เลน่ เกม เคร่ืองใช้ไฟฟ้า การจบั คู่ เปรยี บเทียบ
ลักษณะตา่ ง ๆ ชุดใหม่ และเกมชุดทเ่ี คยเล่นมาแล้ว
ตามลกั ษณะตา่ ง ๆ ๓. เมอ่ื ไดย้ ินสญั ญาณเด็กช่วยกนั จดั เก็บเกมเขา้ ที่ ๒. เกมชดุ เดิมในมมุ ตามลกั ษณะ
ให้เรยี บรอ้ ย
ได้ เกมการศกึ ษา

๓ ๒ ๑ เลขท่ี ช่ือ-สกุล

ด.ญ.ไอรดา ด.ญ.ปวีณธ ิดา ด.ญ.ธิดารัตน
จันทรงั ษ หนูใหญ โคกโต

คำอธบิ าย 1.เคลอ่ื นไหวรา งกายอยางคลองแคลวประสาน ดา นรา งกาย
สัมพนั ธและทรงตวั ได
จิตใจดา นอารมณและ ดานสงั คม สังเกตพฤตกิ รรมเดก็ หนวยที่ 3๒ แรงและพลงั งานในชวี ติ ประจำวนั ช้นั อนุบาลปท ่ี 1
2. ใชกรรไกรตัดกระดาษในกิจกรรมตางๆได
ครสู ังเกตพฤติกรรมเดก็ รายบุคคล จดบันทึกสรุปเปน รายสปั ดาหร ะบุลำดบั คุณภาพเปน ๓ ระดบั คอื ประเมนิ พัฒนาการ
ระดบั ๓ ดี ระดบั ๒ พอใช ระดบั ๑ ควรสงเสริม 3. แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถ
ของ ตนเองได ดานสติปญ ญา
๔.ชว ยเหลอื และแบงปนผูอน่ื ไดเ มอ่ื มีผชู แี้ นะ

๕.ทำงานทไ่ี ดรบั หมอบหมายจนสำเร็จได เมื่อมีผู
ช้แี นะ
๖. เขา แถวตามลำดับ กอนหลงั ได ดวยตนเอง

๗. เลนหรอื ทำงานรวมกบั เพื่อนเปน กลุม ได

๘.สอ่ื สาร สนทนาโตตอบสอดคลองอยางเขาใจกับ
เรื่องท่ฟี งได
๙. เลาเร่อื งเปนประโยคอยางตอ เนื่องใหผอู ่นื
เขาใจได
1๐.เขียนช่ือของตนเองตามแบบเขียนขอ ความ
คลายตัวอกั ษรได
๑๑.จบั คแู ละเปรยี บเทียบความแตกตางหรือความ
เหมือนของสงิ่ ตา งๆ โดยลกั ษณะทีส่ ังเกตพบเพียง
๑๒.จำแนกและจัดกลมุ จำนวนของส่ิงตา งๆได

๑๓.อธิบายการทำงานท่เี กิดข้ึนของตนเองได
สอดคลองกับผลงานไดเ มื่อมผี ชู ้ีแนะ
๑๔.กำรสรางผลงานศลิ ปะอยางอสิ ระเพ่ือส่อื สาร
ความคิดความรส ึกของตนได
๑๕.เคล่ือนไหวรา งกายแสดงทาทางตามคำ
บรรยาย โดยใชการประสานสมั พันธกล้ำมเนือ้
และทรงตวั ได
1 ๖. คน หำคำตอบของขอสงสัยตาง ๆ ตาม
วิธีการ ของตนเองได
๑๗.ใชป ระโยคคำถามวา“ ทีไ่ หน”
“ ทำไม” ใน การ คน หาคำตอบได

หมายเหตุ

บันทกึ หลงั การสอน
หนว่ ย แรงและพลังงานในชีวติ ประจำวัน
วนั ที…่ …………เดือน………………………………..พ.ศ.………………..

1. ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.ปญ หา / อปุ สรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอื่ ...................................................................................ผูสอน
( นางสาวณัฏฐศศิ ไกรวลิ าส )
ตำแหนง ครผู ชู ว ย

ความเหน็ และขอเสนอแนะของผบู รหิ าร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื .......................................................................................ผบู ริหาร
( นายยศศกั ดิ์ กอ แกว)

ตำแหนง ครู โรงเรยี นวดั หนองหอย รกั ษาการในตำแหนง
ผูอำนวยการ โรงเรยี นวดั หนองหอย





หนวยการจัดประสบการณท ่ี ๓๓ เสยี งรอบตัว ชนั้ อนบุ าลปท่ี ๑

แนวคิด
เสยี งเกดิ จากการสน่ั ไหวของสงิ่ ตาง ๆ เสียงรอบตัวเรามีท้ังเกิดตามธรรมชาติและไมไดเ กดิ ตามธรรมชาติ เสยี งทเ่ี กดิ จากแหลง ทม่ี าตางกนั เสยี งจะไมเ หมือนกัน หูเปน อวัยวะ

สำหรับรับเสยี งเราตอ งปองกันอนั ตรายจากเสยี งดงั

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย จดุ ประสงคการเรยี นรู สาระการเรียนรู
มาตรฐาน ตวั บงชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค ๑. เดนิ ตามแนว ทกี่ ำหนดได ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรยี นรู
มาตรฐานที่ ๒ ๒.๑ เคลือ่ นไหว ๒.๑.๑ เดนิ ตามแนว ๑.๑.๑ การใชก ลา มเน้ือใหญ
รางกาย อยาง ทก่ี ำหนดได ๒. เขียนรูปวงกลม ตามแบบได
กลามเน้อื ใหญ คลอ งแคลว ๒.๒.๒ เขียนรปู (๑) การเคลื่อนไหวอยกู บั ท่ี
และกลา มเน้ือ ประสานสมั พนั ธ วงกลม ตามแบบได
เลก็ แข็งแรงใชไ ด และทรง ตวั ได (๒) การเคล่ือนไหวเคล่อื นที่
อยา ง คลองแคลว
และประสาน ๒.๒ ใชม ือ - ตา (๓) การเคล่อื นไหว พรอมวัสดุ
อปุ กรณ

สัมพนั ธก นั ประสาน สัมพนั ธก นั (๔) การเคลือ่ นไหวท่ีใช การ
ประสานสัมพนั ธของการ ใช
มาตรฐานท่ี ๕ ๕.๒ มีความเมตตา ๕.๒.๑ ชว ยเหลอื และ กลา มเน้ือใหญใ นการขวาง การ
มคี ณุ ธรรม กรุณา มีน้ำใจ และ แบง ปน ผอู ืน่ ไดเมอื่ มีผู จับ การโยน การเตะ
จรยิ ธรรม และมี ชวยเหลอื แบงปน ชี้แนะ
จิตใจที่ดีงาม ๕.๔ มคี วาม ๕.๔.๑ ทำงานท่ไี ดรบั (๕) การเลน เคร่อื งเลน สนาม
รับผิดชอบ มอบหมายจนสาเร็จ
เม่ือ มีผูชี้แนะ ๑.๑.๒ การใชก ลามเน้ือเล็ก

(๑) การเลนเครอ่ื งเลน สมั ผสั
และการสรา งแทงไม บล็อก

มาตรฐาน มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย จดุ ประสงคก ารเรยี นรู ประสบการสำคัญ สาระการเรยี นรูสาระท่คี วรเรยี นรู
ตัวบง ช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค ๓. แบง ปน ผูอน่ื เมอื่ มผี ชู แ้ี นะได
มาตรฐานท่ี ๖ ๖.๒ มีวนิ ยั ใน ๖.๒.๑ เก็บของเลน (๒) การเขยี นภาพและ การ
ตนเอง ของ ใชเ ขา ทีเ่ มอื่ มีผู ๔. ทำงานทไ่ี ดร บั มอบหมายจน เลน กบั สี
มที ักษะชีวติ และ ๖.๓ ประหยดั และ ชแ้ี นะ สำเร็จ เมอ่ื มีผชู ว ยเหลอื ได
ปฏิบตั ติ น ตาม (๓) การปน
หลักปรัชญาของ พอเพยี ง ๖.๓.๑ ใชส่งิ ของ ๕. เก็บของเขาท่ี เมื่อมผี ชู ีแ้ นะได
เศรษฐกจิ พอเพียง เคร่ืองใชอ ยาง (๔) การประดษิ ฐส ่ิงตา ง ๆ
ประหยดั และ ดวยเศษวสั ดุ

พอเพยี งเม่ือมีผชู ้ีแนะ (๕) การหยิบจบั การใช
กรรไกร การฉกี การตดั การ
ปะ และ การรอ ยวสั ดุ

๑.๒.๒ การเลน

(๑) การเลน อสิ ระ

(๒) การเลนรายบคุ คล กลมุ
ยอ ย กลมุ ใหญ

(๓) การเลน ตามมมุ
ประสบการณ

(๔) การเลน นอกหองเรียน

๑.๒.๔ การแสดงออก ทาง
อารมณ

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย จดุ ประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรูสาระทีค่ วรเรยี นรู
มาตรฐาน ตวั บง ชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค ๖. ใชสิ่งของเคร่ืองใช อยา งประหยดั ประสบการสำคัญ
มาตรฐานที่ ๘ ๘.๒ มีปฏิสัมพนั ธ ๘.๒.๑ เลนหรอื เม่อื มผี ูช ีแ้ นะได (๕) การทำงานศิลปะ
ท่ีดีกับ ผอู น่ื ทำงาน รว มกบั เพื่อน
อยูร ว มกบั ผูอ่ืนได ๘.๓ ปฏบิ ัติตน เปนกลมุ ๗. เลนรว มกับเพือ่ น ได ๑.๓.๗ การยอมรบั ในความ
อยางมี ความสขุ เบือ้ งตน ในการ ๘.๓.๑ ปฏบิ ตั ิตาม เหมือนและความแตกตาง
และปฏบิ ตั ิตน เปน เปน สมาชิกท่ดี ขี อง ขอตกลง เมื่อมผี ู ๘. ปฏบิ ตั ติ าม ขอตกลง เม่ือมผี ูช้แี นะ ระหวา งบคุ คล
สมาชกิ ทดี่ ขี อง สงั คม ช้แี นะ ได
สงั คม ในระบอบ (๑) การเลนหรอื ทำกจิ กรรม
ประชาธปิ ไตย อันมี รว มกบั กลุม เพอ่ื น

พระมหากษตั รยิ  ๑.๓.๔ การมปี ฏิสัมพนั ธ มี
ทรง เปน ประมขุ วินัย มสี ว นรว ม และบทบาท
สมาชกิ ของสงั คม
มาตรฐานที่ ๙ ๙.๑ สนทนา ๙.๑.๑ ฟงผูอ ืน่ พดู จน
ใชภ าษาสอื่ สารได โตต อบและ เลา จบ และพดู โตต อบ (๓) การใหค วามรวมมือ ใน
เหมาะสมกบั วัย เร่อื งใหผูอนื่ เขาใจ เก่ียวกบั เร่อื งท่ีฟง การปฏิบตั กิ จิ กรรมตาง ๆ

๑.๔.๑ การใชภ าษา

(๑) การฟงเสยี งตาง ๆ ใน
สง่ิ แวดลอ ม

(๒) การฟง และปฏิบัติ ตาม
คำแนะนำ

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย จดุ ประสงคการเรียนรู ประสบการสำคญั สาระการเรียนรู
มาตรฐาน ตัวบงชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค ๙. ฟง ผูอืน่ พดู จนจบ และพูดโตต อบ สาระท่ีควรเรยี นรู
มาตรฐานที่ ๑๐ ๑๐.๑ มี ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะ เก่ียวกับเรอ่ื งท่ีฟง ได (๓) การฟง เพลง นทิ าน คำ
ความสามารถใน และสว นประกอบของ คลอ งจอง บทรอ ยกรองหรอื
มีความสามารถใน การคดิ รวบยอด สง่ิ ตาง ๆ จากการ ๑๐. เลน เกมภาพ ตัดตอ ตามท่ี เรอื่ งราวตาง ๆ
การคิดท่ี เปน สงั เกตโดยใชประสาท กำหนดได
พ้นื ฐานในการ สมั ผสั (๔) การพูดแสดงความคดิ
เรยี นรู ๑๑. จบั คหู รือ เปรียบเทยี บสิง่ ตา ง ๆ ความรูส กึ และความตอ งการ
๑๐.๑.๒ จบั คแู ละ ตามที่กำหนดได
เปรยี บเทียบความ (๘) การรอจังหวะ ท่ี
แตกตา งหรือความ ๑๒. จดั กลมุ สง่ิ ตา ง ๆ ตามทก่ี ำหนด เหมาะสมในการพดู
ได
เหมอื นของสงิ่ ตา ง ๆ (๙) การพดู เรยี งลำดับคำ เพื่อ
โดยใชล กั ษณะที่ ใชในการสอ่ื สาร

สังเกต พบเพียง (๑๙) การเหน็ แบบอยา งของ
ลกั ษณะเดียว การเขยี นท่ีถูกตอ ง

๑๐.๑.๓ จำแนกและ ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การ
จัด กลุมสง่ิ ตา ง ๆ โดย คิดเชงิ เหตผุ ล การตดั สนิ ใจ
ใช อยางนอ ยหน่งึ และแกป ญ หา
ลักษณะ เปนเกณฑ
(๖) การตอของช้นิ เล็ก เติมใน
๑๐.๑.๔ เรยี งลำดับ ชนิ้ ใหญใ หส มบูรณแ ละ การ
ส่ิงของหรือเหตกุ ารณ แยกชนิ้ สว น
อยา งนอย ๓ ลำดบั

มาตรฐาน มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย จุดประสงคการเรียนรู ประสบการสำคญั สาระการเรียนรู
ตัวบงช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค ๑๓. เรียงลำดับ สง่ิ ของหรือ สาระท่คี วรเรยี นรู
มาตรฐานที่ ๑๑ ๑๑.๑ ทำงาน ๑๑.๑.๑ สรางผลงาน เหตกุ ารณ อยางนอย ๓ ลำดบั ได (๑๓) การจบั คู การ
ศิลปะตาม ศิลปะเพ่อื สื่อสาร เปรยี บเทยี บและ การ
มีจินตนาการและ จนิ ตนาการและ ความคดิ ความรสู กึ ๑๔. สรา งผลงาน ศลิ ปะตามความคดิ เรียงลำดับ สิง่ ตาง ๆ ตาม
ความคดิ ความคดิ ของ ตนเองโดยมกี าร ของตนเองได ลักษณะความยาว ความสงู
สรางสรรค สรางสรรค ดดั แปลงและแปลก น้ำหนกั ปริมาตร
๑๕. เคลื่อนไหว ทา ทางตามความคดิ
๑๑.๒ แสดง ใหมจากเดิมหรอื มี ของตนเองได (๕) การคัดแยก การจัดกลมุ
ทา ทาง/ รายละเอยี ดเพิ่มขนึ้ และการจำแนก ส่ิงตา ง ๆ
เคล่ือนไหวตาม ตามลกั ษณะและรปู รา ง
จินตนาการอยาง ๑๑.๒.๑ เคลือ่ นไหว รูปทรง
สรา งสรรค ทาทางเพอื่ ส่ือสาร
ความคิด ความรสู ึก ๑.๔.๓ จนิ ตนาการและ
ของตนเอง ความคดิ สรา งสรรค

(๑) การรับรแู ละแสดง
ความรูสกึ ผานส่ือวัสดขุ องเลน
และช้นิ งาน

(๒) การแสดงความคิด
สรางสรรคผ า นภาษา ทา ทาง
การเคลอ่ื นไหวและศลิ ปะ

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย จุดประสงคก ารเรียนรู สาระการเรยี นรู
มาตรฐาน ตัวบงช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค ๑๖. คน หาคำตอบ ของขอ สงสัยตาม ประสบการสำคญั สาระที่ควรเรยี นรู
มาตรฐานท่ี ๑๒ ๑๒.๒ มี ๑๒.๒.๑ คนหา วธิ ีการทมี่ ีผูช ้ีแนะได ๑.๔.๔ เจตคตทิ ่ีดตี อการ
มเี จตคติทดี่ ตี อ ความสามารถใน คำตอบ ของขอ สงสัย เรียนรูและการแสวงหาความรู
การเรยี นรู และมี การ แสวงหา ตา ง ๆ ตาม วธิ ีการท่มี ี
ความสามารถใน ความรู ผชู ้แี นะ (๓) การสืบเสาะหาความรู
การ แสวงหา เพ่ือคนหาคำตอบของขอ
ความรไู ด สงสัยตา ง ๆ

เหมาะสม กับวยั

การวางแผนกจิ กรรมรายหนวยการจัดประสบการณ ชน้ั อนบุ าลปที่ ๑ หนวยเสียงรอบตัว

วันท่ี เคลือ่ นไหวและจังหวะ เสรมิ ประสบการณ ศลิ ปะสรางสรรค กิจกรรม การเลน ตามมมุ การเลนกลางแจง เกมการศกึ ษา
เลนเครื่องเลน สนาม เกมภาพตัดตอสิ่งแวดลอม
เคลื่อนไหวรางกาย เสยี งเกิดจากการสน่ั ประดษิ ฐเคร่อื งดนตรี เลนในมมุ ประสบการณ ที่มีเสียงธรรมชาติ
๑ ตามขอ ตกลง ของสงิ่ ตา ง ๆ จากขวดน้ำพลาสติก ตาง ๆ ภายในหอ งเรียน เกมเรยี งลำดับรปู
เรขาคณติ จำนวน ไมเ กิน
เคลื่อนไหวรางกาย เสยี งท่ีเกิดจากแหลง ที่มา ปนดินนำ้ มันเปน ส่ิงทม่ี ี เลนในมุมประสบการณ เลนน้ำ เลนทราย
๒ ประกอบอปุ กรณ ของเสยี งแตกตางกัน รปู รา งกลม ตาง ๆ ภายในหอ งเรยี น ๔
จะไมเ หมอื นกนั เลนในมมุ ประสบการณ เลนเกมเดินลอดถ้ำ
เคลือ่ นไหวรา งกายตาม เสยี งรอบตวั ท่เี กิดจาก หยดสีนำ้ ตาง ๆ ภายในหอ งเรียน เกมจัดกลมุ ภาพ
ตามคำสั่ง ธรรมชาติ บนกระดาษเปยก สง่ิ ทที่ ำใหเ กดิ เสียง
๓ - เสยี งสตั วต า ง ๆ เลนในมมุ ประสบการณ เลน เคร่ืองเลนสนาม
- เสียงในธรรมชาติ เชน ตา ง ๆ ภายในหองเรียน เกมเรยี งลำดับภาพพบั
ฟารอ ง ฟาผา จากรปู วงกลม
เคลอื่ นไหวรา งกาย เสยี งทไ่ี มไดเกดิ ตาม ออกแบบและรอ ยวัสดุ
ประกอบเพลง ธรรมชาติ เชน อยา งสรา งสรรค
๔ "ตาและห"ู - เสียงสญั ญาณในโรงเรยี น
- เสยี งเครือ่ งดนตรี

- เสยี งยานพาหนะ

วนั ท่ี เคลอ่ื นไหวและจังหวะ เสรมิ ประสบการณ กิจกรรม

ศิลปะสรางสรรค การเลน ตามมมุ การเลนกลางแจง เกมการศกึ ษา
เคลือ่ นไหวรางกาย หเู ปน อวยั วะรับเสียง สรา งภาพจากรูป เลนในมุมประสบการณ เลนเกมเดินสงของ เกมพ้นื ฐานการบวก
๕ ตามจนิ ตนาการ - การดแู ลรกั ษา วงกลมดวยสีเทยี น ตาง ๆ ภายในหอ งเรียน จำนวน ๑ - ๔

- การปองกนั อนั ตรายจาก
เสยี งดงั

แผนการจัดประสบการณร ายวนั วนั ท่ี ๑ หนว ยท่ี ๓๓ เสยี งรอบตวั ชนั้ อนบุ าลปท ่ี ๑

จุดประสงคก ารเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู ส่อื การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู สังเกต
กจิ กรรมเคลือ่ นไหว (๓) ๑. กิจกรรมพนื้ ฐาน เด็กเคลอื่ นไหวรางกาย ไปท่ัวบรเิ วณ เครื่องเคาะจังหวะ การปฏบิ ตั ติ ามขอตกลง
และจงั หวะ การใหความรวมมือ ฝก อยางอสิ ระตามจังหวะ ชา -เร็ว ทค่ี รูเคาะ เมือ่ ไดย นิ เมือ่ มผี ูช ี้แนะ
ปฏิบตั ิตามขอตกลง ในการปฏิบตั ติ าม สญั ญาณ “หยดุ ” ใหห ยดุ เคลือ่ นไหวในทา น้นั ทนั ที
เมอื่ มีผชู แ้ี นะได กิจกรรมตา ง ๆ ๒. ครกู ำหนดมมุ ๓ มุม หนา หองเปนมุม เคร่อื งดนตรี สงั เกต
การฟง ผูอ ่นื พูดจนจบและ
หลงั หอ งเปนมมุ เครอ่ื งเลนเลยี นเสยี ง ธรรมชาติ กลาง พดู โตตอบเก่ยี วกบั เรื่อง
หองเปนมุมส่ิงของท่ีทำใหเ กดิ เสียงได ครพู ดู ขอ ตกลงถา ทฟ่ี ง
ครูตบมือเด็กเขาไป ในมมุ เครื่องดนตรี ถา ครดู ีดน้ิวเด็ก
ไปทีม่ มุ เครื่องเลน เลียนเสยี งธรรมชาติ ถา ครูตบไหล ให
เด็กไปที่มุมสิ่งของทีท่ ำใหเ กดิ เสยี งได
๓. ใหเ ดก็ เคลอ่ื นไหวรางกายอยางอิสระตาม จงั หวะท่ีครู
เคาะ เมอ่ื ไดย นิ สัญญาณ "หยดุ " ใหปฏบิ ัติตามขอ ตกลง
๔. เดก็ ผอนคลายดวยการหายใจเขา - ออกชา ๆ

กิจกรรมเสรมิ (๒) การฟง และการ เสียงเกดิ จากการสนั่ ๑. เด็กน่ังเปนวงกลมทกุ คน ตบมือ ตบตัก และ ตบกับมอื ๑. กลอง
ประสบการณ ปฏิบตั ิตามคำแนะนำ ของสง่ิ ตาง ๆ เพ่อื นทน่ี ง่ั ทางซาย-ขวา พรอมกับนบั ปากเปลาขณะตบ ๒. กิง๋ สามเหลย่ี ม
ฟงผูอื่นพูดจนจบและ (๔) การพูดแสดง ๓. แทมบลู นี
พูดโตตอบเกยี่ วกับ ความคดิ ความรสู กึ มือ ๑-๑๐ ๔. ฉิ่ง
เร่ืองท่ีฟงได (๘) การรอจงั หวะ ๒. ครสู งกลองเลก็ กิง๋ สามเหล่ยี ม แทมบลู ีน ฉิง่ ใหเ ดก็ ที่ ๕. ไมบ รรทัด

จุดประสงคก ารเรยี นรู สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรยี นรู สื่อ การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู นง่ั วงกลมอยโู ดยกระจายสง อุปกรณเด็กคนทถ่ี ืออปุ กรณ ๖. โตะ
ทเ่ี หมาะสมในการพูด ตีอุปกรณที่ไดรับ เดก็ คนท่นี งั่ ติดกันใชน ิว้ แตะทอี่ ุปกรณ
(๙) การพดู และสง ตออปุ กรณไปให คนถดั ไป
เรียงลำดับคำ คนนั่งตดิ กันปฏบิ ตั ิเชน เดมิ
เพ่ือใชในการสอ่ื สาร ๓. ใหเ ดก็ บอกความรสู กึ ขณะแตะสัมผสั อปุ กรณ
๔. ใหเด็กทดลองดีดไมบรรทัดท่ีอยบู นโตะ
กิจกรรมศลิ ปะ (๒) การใชว สั ดุและ โดยขยับความยาวของไมบ รรทัดออกมาทีละนดิ ๑. ขวดน้ำพลาสติก สังเกต
สรา งสรรค ส่งิ ของเครอ่ื งใช ครง้ั ละ ๑ คน และหาอาสาสมัครออกมาใชน ว้ิ แตะ ๒. กอ นกรวดเลก็ ๆ ๑. การใชส ิง่ ของ
๑. ใชส่ิงของ เครอ่ื งใช อยา งคมุ คา ทีไ่ มบรรทัด ๓. ทรายหยาบ เครื่องใช อยางประหยัด
อยางประหยัด (๕) การทำงานศิลปะ ๕. เดก็ บอกส่ิงท่ีเห็นขณะที่เพอื่ นดีดไมบรรทดั ๔. ทรายละเอยี ด เมื่อมผี ูช ้แี นะได
เมื่อมผี ชู ้แี นะได และบอกความรสู กึ เม่อื แตะไมบ รรทัด และ ๕. เมลด็ พืชตาง ๆ
๒. ทำงานทไ่ี ดร บั บอกส่ิงที่ไดยินวาเหมอื นกนั หรือตางกนั เม่อื ดดี เชน ถัว่ เขยี ว
มอบหมายจนสำเร็จ ไมบรรทดั และเมื่อขยบั ความยาวของไมบรรทัดออกมา ๖. กระดาษโปสเตอร
๑. ครจู ัดกิจกรรม "ประดษิ ฐเ ครอื่ งดนตรีจาก ขวดน้ำ สี
พลาสตกิ " เดก็ ๆ หาขวดน้ำพลาสติก มาคนละ ๑
ขวด และหาวสั ดทุ สี่ ามารถใสไปใน
ขวดพลาสตกิ ไดม าดวย เชน ทราย เมล็ด พชื
ครูเตรยี มวสั ดุสำรองไวส วนหน่ึง มีข้นั ตอน
การประดิษฐ ดังนี้
ขนั้ ท่ี ๑ ครูแบง กลมุ เดก็ ตามความเหมาะสม
เพอ่ื ใชกระดาษโปสเตอรส ี กาว กรรไกรปลายมน
และวสั ดทุ จี่ ะกรอกใสในขวดพลาสตกิ รว มกัน

จดุ ประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู กิจกรรมการเรียนรู ส่อื การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู
เมื่อมผี ชู ้แี นะได ขนั้ ท่ี ๒ เด็กกรอกวสั ดุใสในขวดพลาสติกปด ๗. กาว ๒. การทำงานท่ไี ดรบั
ฝาแลว หมุนใหแ นน ๘. กรรไกรปลายมน มอบหมายจนสำเรจ็
ขัน้ ที่ ๓ ตกแตง ขวด โดยการฉีกหรือตดั เมอื่ มผี ูชแ้ี นะได

กระดาษโปสเตอรสี ทากาวแลวติดใหส วยงาม
ข้นั ที่ ๔ ตั้งชือ่ ขวดของตนเอง และคดิ วธิ ที า
ใหเ กิดเสยี งจากขวด
(หมายเหตุ ใชเ ปนอุปกรณประกอบการเคล่อื นไหวในวันท่ี
๒)
กจิ กรรมเลน ตามมมุ (๑) การเลน อิสระ ๑. ครแู ละเด็กพดู ขอ ตกลงรว มกันกอ นเลนในมมุ ๑. อปุ กรณท่ใี ช สังเกต
๑. แบงปนผอู นื่ (๒) ประสบการณ ทดลอง เร่อื งการเกดิ ๑. การแบงปนผอู ื่น เมื่อ
เมอื่ มผี ชู แี้ นะได การเลนรายบคุ คล - ไมนำของเลน มาขวางปาใสกัน เลน ใหถ ูกวิธี ตามท่ีครู เสยี ง เชน ก๋งิ สาม มผี ชู แ้ี นะ
๒. เก็บของเขา ที่ กลุมยอ ย กลมุ ใหญ เคยแนะนำวิธีเลน เหลีย่ ม สอ มเสยี ง ๒. การเก็บของเขาท่ี
เมือ่ มผี ชู แ้ี นะได (๓) การเลน - รจู กั รอคอย และแบง ปน กนั ฯลฯ เมื่อมีผูช้แี นะ
ในมมุ ประสบการณ
(๔) - เกบ็ ของเลน เขา ท่ีเมอื่ เลกิ เลน หรอื เมอ่ื จะไป เลน ในมมุ ๒. ของเลนในมุม
การดแู ลหองเรยี น ประสบการณใ หม ประสบการณ ภายใน
รวมกัน - ถา ไมเ ขา ใจวธิ ีเลน ใหมาถามครู หอ งเรยี น
๒. เดก็ เลอื กเลน ในมมุ ประสบการณตามความ สนใจ ๓. เครอื่ งดนตรี
๓. เดก็ ปฏิบตั ิตามขอ ตกลงเมือ่ หมดเวลาเลน

จุดประสงคก ารเรยี นรู สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรียนรู ส่อื การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู ๔. ของเลน เลยี นแบบ
หมายเหตุ ครนู ำอปุ กรณที่ใชทดลองเรื่องการเกดิ เสียง เสยี งธรรมชาติเชน
ไวท ี่มุมวทิ ยาศาสตร และเครอ่ื งดนตรี หรอื ของเลนเลียน กบไม
แบบเสยี งธรรมชาติไวท ี่มุมดนตรีตลอดสัปดาหน ้ี

กิจกรรมกลางแจง (๑) การเลน หรอื ๑. ครูและเด็กพูดขอตกลงกอ นไปเลน เคร่ืองเลน สนาม เครอื่ งเลน สนาม สงั เกต
เลนรวมกับเพอ่ื นได ทำกิจกรรมรวมกบั เพือ่ ใหเกดิ ความปลอดภยั ตอ ตนเองและเพื่อน การเลน รวมกบั เพ่ือน
กลมุ เพอ่ื น สังเกต
- เลนเครอื่ งเลน แตล ะชนดิ ใหปลอดภยั ควรเลนอยา งไร ๑. การเลนเกมภาพตดั
- ถา อยากเลน เครอ่ื งเลนท่เี พือ่ นเลนอยู ควรทำอยางไร ตอ ตามที่กำหนด
- เมอื่ ไดย นิ สญั ญาณหยดุ เลนตามที่ตกลง ตอ งทำอยา งไร ๒. การเกบ็ ของเขา ที่
๒. เดก็ เดนิ เปน แถวไปบรเิ วณสนามเด็กเลน เมอ่ื มีผูชีแ้ นะ
๓. เด็กเลือกเลน ตามความสนใจ ครคู อยดแู ล อยูใกล ๆ
๔. ครูใหส ัญญาณหมดเวลาเลน เด็กทำ ความสะอาด
รางกาย
๕. เด็กเดนิ เปนแถวกลับหองเรียน
เกมการศกึ ษา (๖) การตอ ชน้ิ เล็กเติม เกมภาพตัดตอ
๑. เลน เกมภาพตดั ตอ ในช้ินใหญใ หส มบูรณ สิ่งแวดลอ มท่มี เี สยี ง ๑. ครใู หเด็กดเู กม ภาพตัดตอ ส่งิ แวดลอ มที่มเี สยี ง ๑. เกมภาพตดั ตอ สิง่
ธรรมชาติ พรอมแนะนำวิธเี ลนเกม แวดลอ มทม่ี เี สยี ง
ตามทกี่ ำหนดได และการแยกชนิ้ สว น ธรรมชาติ ธรรมชาติ
๒. เกบ็ ของเขาท่ีเมื่อมี (๒) การปฏิบตั ิตนเปน ๒. ครแู บง เด็กเปนกลุมตามความเหมาะสม มหี น่ึงกลมุ ๒.เกมทเี่ คยเลน
ผชู ้ีแนะได สมาชิกท่ีดีของ หองเรียน เลนเกมทแ่ี นะนำใหมวันน้ี กลุม ทเ่ี หลือ เลน เกมที่เคยเลน
๓. เดก็ หมุนเวยี นเลน เกมทแ่ี นะนำใหมว ันนจ้ี น ครบทุก
(๔) การดแู ลหอ งเรียน กลุม
รวมกัน
๔. เด็กเก็บเกมเขาทเ่ี มือ่ เลิกเลน

แผนการจัดประสบการณร ายวัน วนั ท่ี ๒ หนว ยท่ี ๓๓ เสยี งรอบตวั ชน้ั อนบุ าลปท ี่ ๑
สาระการเรียนรู
จุดประสงคการเรียนรู ประสบการณส ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู กิจกรรมการเรยี นรู สอื่ การประเมินพฒั นาการ

กิจกรรมเคลื่อนไหว (๒) การแสดงความคิด ๑. กจิ กรรมพนื้ ฐาน เด็กเคลอ่ื นไหวรางกายไปทั่ว ๑. เครือ่ งเคาะจงั หวะ สงั เกต
และจงั หวะ สรางสรรคผานทาทาง บรเิ วณอยางอิสระตามจงั หวะชา-เรว็ ทคี่ รูเคาะ เมื่อ ๒. เครอ่ื งดนตรี จากขวด ๑. การเคลอ่ื นไหว
๑. เคลือ่ นไหว การเคลื่อนไหว ไดยนิ สัญญาณ “หยดุ ” ใหหยดุ เคลอ่ื นไหว ในทา นำ้ พลาสติก ของเด็ก ทา ทางตามความคิด
ทา ทางตามความคิด (๓) การให น้ันทันที ของตนเอง
ของตนเองได ความรวมมอื ในการ ๒. เดก็ นำเครอื่ งดนตรีจากขวดนำ้ พลาสติกที่เด็ก ๒. การปฏิบตั ิ ตาม
๒. ปฏบิ ตั ิตาม ปฏิบตั ิกิจกรรมตาง ๆ ประดษิ ฐเองเปนอปุ กรณประกอบการเคลื่อนไหว ขอ ตกลง เมือ่ มผี ูชี้แนะ
ขอ ตกลง
เมอื่ มีผูช ีแ้ นะได ใหเดก็ หาวิธพี าเครื่องดนตรีไปโดยไมใ ชมือถือ ครู
เคาะจังหวะเม่ือไดยนิ สญั ญาณ "หยดุ " ใหเ ด็กหยุด
ในทาน้นั ทันทแี ละปฏิบัติตามทีค่ รพู ดู เชน "ดงั " ให
เด็ก เขยา ขวดใหเ สยี งดังหลาย ๆ ครง้ั ถาครูพูดวา
"เบา" เด็กเขยาขวดใหเสียงเบาครั้งเดียว
๓. ปฏิบตั ิตามขอ ๒ ซ้ำเมอื่ ไดยนิ สญั ญาณ "หยุด"
แตครูเปลย่ี นคำพูด เชน จบั คูหรอื จับกลุม ๓-๕ คน
พรอ มกบั เขยา ขวด เสียงดงั - เสยี งเบา - เสยี งดัง
โดยพูดคร้งั ละ ๑ อยา ง

กจิ กรรมเสริม (๑) การฟงเสียงตา ง ๆ เสียงทีเ่ กดิ จาก ๑. เดก็ น่งั เปน วงกลมพรอ มหลบั ตาใหฟง เพลง "ด่งั ๑. เพลง "ดัง่ ดอกไม สังเกต
ประสบการณ ในส่งิ แวดลอ ม แหลงทม่ี าของเสียง ดอกไมบาน" ของเสถยี รธรรมสถานท่เี ปดจากยูทูป บาน" ของเสถยี ร ธรรม ๑. การฟงผอู น่ื พดู จน
๑. ฟง ผูอน่ื พดู จนจบ (๒) การฟงและปฏิบัติ แตกตางกัน ๒. เด็ก และครสู นทนาเกี่ยวกบั เสยี งบรรเลง สถานในยทู ปู จบและ พูดโตตอบ
และพูดโตต อบ ตามคำแนะนำ จะไมเหมอื นกัน ๒. ขวดพลาสติก เกีย่ วกบั เรื่องทฟี่ ง

จดุ ประสงคการเรยี นรู สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรยี นรู สื่อ การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู ๒. การคนหาคำตอบ
เกย่ี วกบั เร่อื งท่ีฟงได (๓) การฟง เพลง ประกอบเพลง ๓. เมลด็ ถ่วั เขยี ว ของขอสงสัยตามวธิ กี าร
๒. คนหาคำตอบ ของ (๙) การพดู ๓. ครแู บงเดก็ เปน ๓ กลมุ แตละกลุม ใหท ดลอง ๔. เมลด็ ขาวโพด ทม่ี ผี ูช ี้แนะ
ขอ สงสัยตาม เรยี งลำดับ คำเพื่อใช ๕. เมลด็ ถัว่ แดง
วิธกี ารทมี่ ผี ชู แ้ี นะได ในการส่ือสาร เพื่อใหเ กดิ เสียง ดงั น้ี ๖. ทรายหยาบ
กลมุ ท่ี ๑ ใหเ ขยา ขวดตาง ๆ ท่ีบรรจเุ มลด็ ถว่ั เขยี ว ๗. ทรายละเอยี ด
(๓) การสืบเสาะหา แหง เมลด็ ขา วโพดแหง เมลด็ ถัว่ แดงแหง ๘. กอนกรวด
ความรูเพือ่ คนหา ทรายหยาบ ทรายละเอยี ด กอ นกรวด ๙. กลอ งพลาสตกิ
คำตอบของขอสงสัย โดยบรรจุขวดละ ๑ ชนิด ๑๐. กลอ งเปลา ขนม
ตางๆ กลุมที่ ๒ ใหเ คาะกลองพลาสติก กลอ งใสขนมปง ปงทเี่ ปน สงั กะสี
สังกะสี กลองกระดาษ กลองไม กะลา ๑๑. กลอ งกระดาษ
กลมุ ที่ ๓ ใหเ ปาใบไม เปาป เปาขลุย เปา นกหวดี ๑๒. กลอ งไม
๔. เดก็ ทั้ง ๓ ๑๓. กลองพลาสติก
กลมุ หมนุ เวียนทดลองปฏบิ ัติตามขอ ๓ ๑๔. กะลา
๕. เดก็ และครรู วมสนทนาจากส่ิงท่เี ด็กคน หา ๑๕. ไมสำหรบั เคาะ
คำตอบดวยตนเองเกย่ี วกบั เสียงทเี่ กดิ จากแหลง ที่ ๑๖. ใบไม ป
มาตา งกัน เสียงยอมตา งกัน ๑๗. ขลุย

๑๘. นกหวดี

จดุ ประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู สังเกต
กจิ กรรมศิลปะ (๓) การปน ๑. การจัดกิจกรรมปน ดินน้ำมนั เปนสง่ิ ทีม่ ี ๑. ดนิ นำ้ มนั ๑. การสรางผลงาน ศิลปะ
สรา งสรรค (๒) รปู รา งกลม ๒. แผน รองปน ตามความคดิ ของตนเอง
๑. สรางผลงาน การแสดงความคดิ ๒. ครูจดั เด็กนงั่ ลักษณะตวั ยู แจกแผน รองปน ๒. การทำงานท่ไี ดร บั
ศลิ ปะตามความคดิ สรา งสรรคผานศิลปะ คนละ ๑ แผน และดนิ นำ้ มนั คนละ ๑ กอน ใหเดก็ ๓. แถบกระดาษ ท่ตี ัด มอบหมายจนสำเรจ็ เมอ่ื มี
ของตนเองได บีบ นวด คลึง จนดินนำ้ มนั ออ นนุม ไวแลว ผชู ว ยเหลือ

๒. ทำงานท่ไี ดร ับ ๓. ครพู ดู กระตุนใหเ ดก็ คดิ วาเคยเห็นอะไรบา ง ทมี่ ี
ลกั ษณะกลม อาจเปน ของกินได เปนของใช
มอบหมายจนสำเร็จ อาจอยู บนทองฟา อยูในน้ำ
เมือ่ มผี ชู วยเหลอื ได
หรืออยบู นรางกายของคน
หรอื สตั ว
๔. เดก็ ปน สงิ่ ทีร่ ูปรา งกลม ตามความคิดของตนเอง
ก่ีอยางกไ็ ด
๕. เดก็ นำผลงานมาเลา ใหค รฟู ง ครูเขยี นประโยค
ท่เี ดก็ เลา ในแถบกระดาษที่ตดิ ไวและเขยี นชอื่ เด็ก
ลงวนั ที่ กำกับดว ยใหเดก็ เหน็ วธิ ีการเขยี นตวั อกั ษร
เดก็ นำ กระดาษไวในแผน รองปนขางผลงานของ
ตนเอง
๖. เด็กนำผลงานวางท่ีแสดงผลงาน
๗. เด็กชว ยกนั ทำความสะอาดบริเวณโดยครคู อย
ชแี้ นะ

จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู กิจกรรมการเรยี นรู สอื่ การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู
กิจกรรมเลน ตามมุม (๑) การเลนอสิ ระ ๑. ครูและเดก็ พูดขอ ตกลงรว มกนั กอนเลน ในมมุ ๑. อปุ กรณทใี่ ชท ดลอง สังเกต
๑. แบงปนผอู น่ื (๒) ประสบการณ เรือ่ ง การเกดิ เสยี ง เชน ๑. การแบงปน ผอู นื่ เม่อื มี
เม่อื มีผูช้ีแนะได การเลน รายบุคคล
๒. เกบ็ ของเขา ท่ี กลุมยอ ย กลมุ ใหญ - ไมนำของเลน มาขวางปาใสกนั เลน ใหถ กู วิธีตามที่ กิง๋ สามเหลยี่ ม ผชู ้แี นะ
ครูเคยแนะนำวิธีเลน สอ มเสยี ง ฯลฯ ๒. การเก็บของเขาท่ี เมื่อ
เมอ่ื มผี ูชแี้ นะได (๓) การเลน ๒. มีผูช ้ีแนะ
ในมุมประสบการณ - รจู ักรอคอย และแบงปนกนั
- เกบ็ ของเลนเขาทเี่ ม่ือเลิกเลน หรือเม่ือจะไปเลน ของเลนในมมุ ประสบ
(๔) การณภ ายในหอ งเรียน
การดูแลหอ งเรยี น ใน มมุ ประสบการณใหม
รวมกนั - ถา ไมเ ขา ใจวธิ ีเลน ใหม าถามครู ๓. เครอ่ื งดนตรี
๒. เด็กเลอื กเลน ในมมุ ประสบการณต ามความ ๔. ของเลน
สนใจ เลียนแบบเสยี ง
๓. เด็กปฏิบตั ิตามขอ ตกลงเมือ่ หมดเวลาเลน ธรรมชาติ เชน กบไม
หมายเหตุ ครนู ำอุปกรณท่ใี ชท ดลองเรอ่ื ง การเกดิ
เสยี งไวท่มี มุ วิทยาศาสตร และเครื่องดนตรหี รือ
ของเลน เลียนแบบเสียงธรรมชาตไิ วท ่ี มุมดนตรี
ตลอดสปั ดาหน ี้
(๑) การเลนหรอื ทำ ๑. เดก็ และครพู ดู ขอตกลงกอนไปเลน น้ำ เลน ทราย ๑. บริเวณเลนนำ้
กจิ กรรมกลางแจง กจิ กรรมรวมกบั เพือ่ ใหเ กดิ ความปลอดภยั เลนทราย สังเกต
เลนรว มกับเพ่อื นได กลุมเพ่อื น - ไมสาดน้ำหรอื ทรายใสก นั ๒. อปุ กรณ การเลนรวมกับเพื่อน
- ถา อยากใชอ ปุ กรณท ี่เพ่ือนใชอ ยู ใหข อยมื หรือ การเลน นำ้ เลน ทราย

จดุ ประสงคก ารเรียนรู สาระการเรียนรู กจิ กรรมการเรียนรู สือ่ การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู
รอคอยจนเพ่อื นใชเสรจ็
เกมการศึกษา (๑๓) การเรยี งลำดบั รปู - แบงปนกันเลน ๑. เกมเรยี งลำดบั รูป สงั เกต
เรียงลำดบั สิ่งของ การเรยี งลำดบั สง่ิ ตา ง เรขาคณิต จำนวน ๒. เดก็ เดนิ เปนแถวไปบริเวณเลนนำ้ เลนทราย เรขาคณิต จำนวน ไม การเรียงลำดับส่งิ ของ
หรือเหตกุ ารณ ๆ ไมเ กนิ ๔ พรอมกบั นำอปุ กรณการเลนไปดว ย เกิน ๔ หรือเหตุการณ
อยางนอย ๓ ลำดับ (๒) การปฏบิ ตั ติ น ๓. เดก็ เลอื กเลน ตามความสนใจ ๒. เกมทเี่ คยเลน อยา งนอ ย ๓ ลำดับ
ได เปน สมาชกิ ที่ดขี อง ๔. ครูใหส ญั ญาณนกหวดี กอ นหมดเวลาเพื่อใหเ ดก็
หอ งเรียน ทำความสะอาดอปุ กรณและมอื
(๔) ๕. เดก็ เดนิ เปน แถวกลับหองเรยี น
การดูแลหอ งเรียน ๑. ครใู หเด็กดูเกมเรียงลำดบั รปู เรขาคณติ จำนวน
รวมกนั ไมเกิน ๔ พรอ มกบั แนะนำวธิ ีเลนเกม
๒. ครูแบงเดก็ เปน กลุม มหี นึง่ กลุมเลนเกมท่ี
แนะนำใหม วนั นี้กลมุ ทเี่ หลือเลน เกมท่ีเคยเลน
๓. เดก็ หมุนเวียนเลนเกมท่แี นะนำใหมว ันนจี้ นครบ
ทุกกลุม
๔. เดก็ เก็บเกมเขาทีเ่ มือ่ เลกิ เลน

แผนการจดั ประสบการณ วันที่ ๓ หนว ยท่ี ๓๓ เสียงรอบตัว ชั้นอนุบาลปท ่ี ๑
จดุ ประสงคก ารเรียน สาระการเรียนรู
รู ประสบการณส ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู กจิ กรรมการเรียนรู สื่อ การประเมินพฒั นาการ
สังเกต
กิจกรรมเคลื่อนไหว (๒) การแสดงความคดิ ๑. กิจกรรมพน้ื ฐาน เด็กเคลอื่ นไหวรางกาย ทวั่ ๑. การเคล่ือนไหวทา ทาง
และจังหวะ สรางสรรคผ า นทา ทาง บรเิ วณฝก อยา งอิสระตามจังหวะ ชา-เร็ว ท่ีครูเคาะ เคร่อื งเคาะจงั หวะ ตามความคิดของตนเอง
เคลื่อนไหวทา ทาง การเคล่ือนไหว เมื่อไดยนิ สญั ญาณ “หยุด” ใหห ยดุ เคล่ือนไหวในทา ๒. แถบกระดาษ
ตามความคิด โปสเตอรสีมคี วามก
ของตนเองได นัน้ ทนั ที วา ง เสนละ ๑ นว้ิ
๒. ครแู จกแถบกระดาษโปสเตอรส ใี หเดก็ คนละ ๑ ยาว ๑๒ นิว้ เทา
เสน
๓. ครูเคาะจงั หวะ เดก็ เคลอ่ื นไหวรางกายไปท่ัว จำนวนเดก็
บรเิ วณพรอ มนำแถบกระดาษโปสเตอรสีไปดวย โดย
ทา ทางไมซ ้ำกัน เม่อื ไดยินสญั ญาณหยดุ ให ปฏบิ ัติ
ตามคำสัง่ เชน ใหเดก็ จบั กลมุ แถบกระดาษ สี
เดยี วกนั แลวชว ยกนั นับจำนวน จับกลุมจำนวน ๓
คน จบั กลุมจำนวน ๔ คน จบั กลุมจำนวน ๕คน โดย
ใหเดก็ นบั จำนวนกลมุ ทุกครงั้
๔. ปฏบิ ตั ติ ามขอ ๓ ซำ้

จดุ ประสงคการเรยี น สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สอื่ การประเมินพฒั นาการ
รู ประสบการณส ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู
กิจกรรมเสริม (๑) การฟงเสยี งตาง ๆ เสยี งรอบตัวทเี่ กดิ จาก ๑. ใหเ ด็กฟง เพลง “เสียง.....อะไร” (เปดจากยูทูป ๑. เพลง “เสยี ง..... สงั เกต
ประสบการณ ในสิง่ แวดลอ ม ธรรมชาติ เชน เพลงของปฐมวัยหนวยเสียง) อะไร” (เปด ในยูทูป)
๑. ฟงผอู ่ืนพดู จนจบ (๒) การฟงและปฏิบัติ - เสยี งสตั วต าง ๆ ๒. ครถู ามเดก็ ๆ วาไดยินเสยี งอะไรบาง เมื่อฟงเพลง ๒. บริเวณตา ง ๆ ๑. การฟง ผูอ่นื พูดจนจบ
และพดู โตต อบ ตามคำแนะนำ - เสียงในธรรมชาติ ๓. เดก็ และครสู นทนารวมกันถงึ เสยี งทีเ่ ด็กเคย ไดย นิ ภายใน โรงเรียน และพดู โตต อบเกีย่ วกบั
เก่ยี วกับ เรอ่ื งท่ฟี ง ได (๓) การฟงเพลง ท่เี กิดตามธรรมชาติในเหตกุ ารณต าง ๆ เชน กอ นฝน เรอื่ งทฟี่ ง
๒. คน หาคำตอบ (๘) การรอจังหวะ ท่ี ตก หรอื ในสถานทต่ี า ง ๆ เชน นำ้ ตก ทะเล ในปา ๒. การคนหาคำตอบ ของ
ของขอสงสัย ตาม เหมาะสมในการพูด ๔. เดก็ และครพู ดู ขอตกลงกอนพาเดก็ ออกไปฟง ขอสงสัยตามวธิ ีการ ทม่ี ีผู
วธิ ีการท่มี ี ผชู ้ีแนะได (๙) การพูดเรียงลำดบั เสยี งตาง ๆ ในสง่ิ แวดลอมภายในโรงเรยี น ช้แี นะ
คำเพื่อใชในการ
ส่ือสาร ๕. เด็กเดินเปน แถวไปบริเวณที่มเี สยี งตาง ๆ ใน
โรงเรยี น
(๓) การสืบเสาะหา ๖. เด็กและครสู นทนาถงึ สงิ่ ทเ่ี ดก็ ไดย ิน ครูถาม เดก็
ความรเู พอ่ื คน หา
คำตอบของขอสงสยั วา เสยี งใดทเ่ี ด็กคิดวา เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ

ตา ง ๆ

จุดประสงคการเรยี น สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรยี นรู สอื่ การประเมนิ พฒั นากา
รู ประสบการณส ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู ร
(๒) การแสดงความคิด ๑. ครจู ดั กจิ กรรม หยดสนี ำ้ บนกระดาษเปย ก ครพู ดู ๑. กระดาษ เอ๔ สงั เกต
กจิ กรรมศิลปะ สรา งสรรคผ า นศลิ ปะ ขอ ตกลงกอนทำกจิ กรรมเพอื่ ใหเ ด็ก ระมัดระวังในการใช ๒. สโี ปสเตอร ๑. การสรางผลงาน
สรา งสรรค (๓) การใหความ สีอาจเปอนเสื้อผา หรอื หกเลอะเทอะ ศลิ ปะ ตามความคดิ
๑. สรางผลงาน รวมมือในการปฏิบตั ิ ๒. ครูอธบิ ายวธิ ีหยดสีบนกระดาษเปยกพรอ มสาธิตใหด ู ๓. พกู ัน ของตนเอง
ศลิ ปะตามความคดิ กจิ กรรมตาง ๆ ๓. เดก็ จบั กลุม ตามความเหมาะสม แตล ะกลมุ สง ๔. ภาชนะใสน้ำ ๒. การปฏบิ ัตติ าม
ของตนเองได (๒) การฟงและปฏบิ ตั ิ ตัวแทนมารบั วัสดอุ ุปกรณท ี่ใชร ว มกัน ๕. ฟองนำ้ ขอ ตกลง เมอ่ื มผี ูชแี้ นะ
๒. ปฏิบตั ิ ตามคำแนะนำ ๔. เดก็ ทำกิจกรรม "หยดสนี ำ้ บนกระดาษเปยก" เมอื่
ตามขอตกลง (๙) การพดู เรยี งลำดบั เสร็จนำผลงานตากใหแหง
เมอ่ื มผี ชู ้แี นะได คำเพือ่ ใชในการ สอื่ สาร ๕. เดก็ นำผลงานมาเลา ใหครฟู ง ครูเขยี นประโยค ทเ่ี ดก็
กิจกรรมเลน ตามมุม (๑) การเลนอิสระ เลาใตภ าพผลงาน
๑. แบงปน ผอู น่ื (๒) การเลน รายบุคคล ๖. เด็กชว ยกันเกบ็ วสั ดุอุปกรณ และทำความ สะอาด
เมือ่ มผี ูชี้แนะได กลมุ ยอ ย กลมุ ใหญ บริเวณ โดยครคู อยช้ีแนะ
๒. เกบ็ ของเขาที่ (๓) การเลน ๑. ครูและเด็กพูดขอตกลงรวมกนั กอ นเลน ในมุม ๑. อุปกรณท ใี่ ชท ดลอง สงั เกต
เม่อื มีผชู ี้แนะได ในมุมประสบการณ ประสบการณ เรอื่ งการเกิดเสียง เชน ก๋ิง ๑. การแบง ปน ผอู ่นื
(๔) การดแู ลหอ งเรยี น สามเหลย่ี ม สอ มเสยี ง ฯลฯ เม่อื มผี ชู ีแ้ นะ
รว มกนั ๒. เดก็ เลือกเลน ในมุมประสบการณต ามความ สนใจ ๒. ของเลน ในมมุ ๒. การเกบ็ ของเขา ท่ี
๓. เดก็ ปฏิบัติตามขอตกลงเมือ่ หมดเวลาเลน ประสบการณ ภายใน เมื่อมีผชู ีแ้ นะ

หองเรยี น เชน เคร่อื งดนตรี
ของเลน ทีท่ ำใหเ กิดเสยี ง

จุดประสงคการเรยี น สาระการเรยี นรู กิจกรรมการเรียนรู ส่อื การประเมินพฒั นากา
รู ประสบการณส ำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู ร
กิจกรรมกลางแจง (๒) การเคลอ่ื นไหว ๑. ครูและเด็กพดู ขอ ตกลงกอนไปเลน เกม "เดนิ ลอดถ า" ๑. เกม "เดนิ ลอดถ า"
เดินตามแนวท่ี เคลือ่ นท่ี ทส่ี นามเดก็ เลน เพ่ือใหเกดิ ความ ปลอดภยั ตอตัวเอง สงั เกต
กำหนดได (๓) การเคลอ่ื นไหว ทีใ่ ช และเพื่อน ดงั นี้ ๒. นกหวดี การเดนิ ตามแนวที่
- เดนิ เปนแถวท้ังไปและกลับไมดันหรือผลักกนั ๓. เกาอ้ี ๕ ตวั กำหนด
กลา มเน้อื ใหญ ในการ
ลอด - เวลาเลนเกมตองรจู ักรอคอย ๔. ไมสำหรับขดี เสน สงั เกต
- เมือ่ ไดยินสญั ญาณ "หยดุ " ตามท่ีตกลง ตองหยดุ เลน ๑. การจดั กลมุ สง่ิ ตา ง
แลว เขา แถวไปทำความสะอาด รางกาย ๆ ตามที่กำหนด
๒. เด็กเดินเปน แถวไปบรเิ วณสนามเด็กเลน ๒. การเกบ็ ของเขาท่ี
๓. เดก็ เลนเกม "เดนิ ลอดถ า" เม่อื มผี ูช ้ีแนะ
๔. ครใู หส ัญญาณหมดเวลาเลน เด็กผอ นคลาย ดวยการ
หายใจเขา-ออก ชา ๆ
๕. เด็กทำความสะอาดรางกาย
๖. เด็กเดนิ เปนแถวกลับหองเรียน
เกมการศกึ ษา (๕) การจัดกลมุ การจัดกลุมภาพส่งิ ๑. ครูใหเ ดก็ ดูเกม จัดกลมุ ภาพสง่ิ ท่สี ัมพันธก นั ในการ ๑. เกมจดั กลุมภาพส่ิงท่ี
ส่งิ ตา ง ๆ ทส่ี มั พันธใ นการทำ ทำใหเกิดเสยี ง พรอมกบั แนะนำวธิ ีเลน เกม สมั พนั ธก ันในการทำให
๑. จดั กลุม สง่ิ ตา ง ๆ (๒) การปฏบิ ัตติ นเปน ใหเกดิ เสยี ง ๒. ครูแบง เด็กเปนกลุม มหี น่งึ กลมุ เลนเกมที่ แนะนำ เกดิ เสยี ง
ตามที่ กำหนดได สมาชิกที่ดี ใหมว นั น้ี กลุมทเ่ี หลอื เลน เกมทีเ่ คยเลน ๒. เกมที่เคยเลน
๒. เก็บของเขาที่เมอ่ื มผี ู ของหอ งเรียน ๓. เด็กหมุนเวยี นเลนเกมทแี่ นะนำใหมว ันนี้
ช้แี นะได (๔) การดแู ลหอ งเรียน จนครบทุกกลมุ
รวมกัน
๔. เด็กเกบ็ เกมเขาท่เี ม่อื เลกิ เลน

แผนการจัดประสบการณร ายวัน วนั ท่ี ๔ หนว ยที่ หนว ยท่ี ๓๓ เสยี งรอบตวั ชน้ั อนบุ าลปท่ี ๑
สาระการเรียนรู
จดุ ประสงคก ารเรียนรู ประสบการณส ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู กจิ กรรมการเรยี นรู สอ่ื การประเมินพฒั นาการ

กจิ กรรมเคลื่อนไหว (๓) การใหความ ๑. กิจกรรมพน้ื ฐาน เด็กเคลอ่ื นไหวรา งกายไปทวั่ ๑. เคร่อื งเคาะ สงั เกต
และจงั หวะ รว มมอื ในการปฏิบัติ บรเิ วณฝก อยา งอิสระตามจงั หวะ ชา -เรว็ ท่ีครเู คาะ จงั หวะ การปฏิบตั ิตามขอตกลง
ปฏบิ ัติตามขอ ตกลง ตามกิจกรรมตา ง ๆ เมือ่ ไดย นิ สัญญาณ “หยดุ ” ใหห ยดุ เคลอื่ นไหว ในทา ๒. เพลง "ตาและห"ู เมือ่ มีผูชี้แนะ
เม่อื มผี ชู แี้ นะได
นนั้ ทนั ที
๒. ใหเด็กรวมกันรองเพลง "ตาและหู" ๓-๔ รอบ
๓. แบง เด็กเปน ๓ กลมุ
กลุมท่ี ๑ ใหรอ งเพลง "ตาและหู"
กลุมท่ี ๒ ใหเ ด็กเคล่ือนไหวรางกาย ประกอบ เพลง
ตามความคิดของตนเอง
กลมุ ท่ี ๓ ตบมอื ประกอบจังหวะ
๔. ครูใหส ัญญาณทงั้ ๓ กลมุ เร่มิ กิจกรรมและ
ผลดั เปลย่ี นปฏิบตั กิ จิ กรรม
๕. เด็กผอ นคลายดวยการหายใจเขา - ออก ชา ๆ

กจิ กรรมเสริม (๑) การฟง เสียงตาง ๆ ๑. ครูพดู ขอ ตกลงกับเดก็ กอ นพาออกไปคนหา ๑. บรเิ วณตา ง ๆ สังเกต
ประสบการณ ในสิ่งแวดลอ ม คำตอบขอ สงสยั เก่ียวกับเสยี งทไ่ี มไดเ กิดตาม ภายในโรงเรียน ๑. การฟงผูอน่ื พดู จนจบ
๑. ฟงผอู น่ื พดู จนจบและ (๒) การฟงและ ธรรมชาตภิ ายในโรงเรียน โดยตกลงวาขณะเดิน ๒. หอ งเรียนตา ง ๆ และพูดโตตอบเกี่ยวกับ
พดู โตต อบเกี่ยวกับ เรอ่ื ง ปฏิบตั ติ ามคำแนะนำ ผานหอ งตา ง ๆ ใหเ งียบเพ่อื ฟงเสียงทเ่ี กิดใน เชน หอ งดนตรี เร่อื งท่ีฟงได
ท่ีฟง ได (๔) การพดู แสดงความคดิ หองเรียน และบริเวณทม่ี เี สียงยานพาหนะวิ่งผาน

จดุ ประสงคก ารเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สอื่ การประเมนิ พฒั นาการ
๒. คน หาคำตอบ ของ ประสบการณส ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู
ขอสงสยั ตามวธิ กี ารที่มี (๘) การรอจังหวะ ๒. เด็กเดนิ เปนแถวผานไปตามหนาหอ งตาง ๆ เชน ๒. การคน หาคำตอบ ของ
ผูชี้แนะได ท่ีเหมาะสมในการพูด หองดนตรี หองคอมพวิ เตอร และบริเวณท่ีสามารถ ขอสงสยั ตามวธิ กี าร ทมี่ ีผู
(๓) การสืบเสาะหา ไดยินเสยี งยานพาหนะว่ิงผา น
กิจกรรมศิลปะ ความรูเพื่อคน หา ๓. พาเด็กนงั่ ใตร ม ไม รว มสนทนากับครูเก่ยี วกบั เสยี ง ชแี้ นะ
สรางสรรค คำตอบของขอสงสัย
๑. สรา งผลงาน ตา ง ๆ ที่เดก็ ๆ ไดยนิ โดยครูใชค ำถาม
ศิลปะตามความคิด (๑) การรับรแู ละ แสดง - เด็ก ๆ คดิ วาเสียงใดทมี่ นษุ ยเ ปนคนทำให เกิดข้นึ
ของตนเองได ความรูสกึ ผา นสือ่ วัสดุ - เดก็ ๆ เคยไดย ินเสียงสญั ญาณในโรงเรยี นชว งเวลาใด
๒. ทำงานทีไ่ ดร บั และ ชิ้นงาน ๔. เด็กและครสู รปุ รว มกันเกยี่ วกบั เสียงทไี่ มไ ดเกดิ ตาม
มอบหมาย จนสำเรจ็ (๒) การแสดง ความคดิ ธรรมชาติ เชน เสยี งสญั ญาณภายในโรงเรียน เสียง
เม่อื มผี ชู วย เหลอื ได สรา งสรรค ผา นศลิ ปะ เครื่องดนตรีตา ง ๆ เสยี งยานพาหนะ เสียงที่ เกดิ จาก
๓. เขยี นรปู วงกลม ตาม (๕) การทำงานศิลปะ การประกอบอาชพี ตาง ๆ เชน โรงงาน
แบบได (๒) การเขียนภาพ ๑. ครจู ดั กิจกรรม "รอยวัสดอุ ยา งสรางสรรค" โดยมี ๑. ฝาขวดนำ้ สงั เกต
(๕) การหยิบจบั การใช วสั ดุทห่ี ลากหลาย เชน หลอดดูดน้ำท่ตี ดั เปน ทอ น พลาสตกิ ๑. การสรางผลงานศลิ ปะ
กรรไกร การตดั การ ความยาวพอประมาณ ฝาขวดน้ำพลาสติก ทเี่ จาะรตู รง ๒. ฝาเบียรห รอื ฝา ตามความคิดของตนเอง
รอ ยวัสดุ กลางไวแ ลว ฝาเบียรหรือฝาขวด น้ำอัดลม ลกู ปด ขวด น้ำอดลม ๒. การทำงานทไ่ี ดรับ
กระดุมเส้ือทมี่ รี ใู หญ กระดาษ โปสเตอรสีรปู วงกลมทม่ี ี ๓. ลูกปด มอบหมายจนสำเร็จ เมือ่
รู เปนตน ๔. กระดุมเสื้อท่มี ีรู มีผูชวยเหลอื
๒. เดก็ ทำกิจกรรมตามขนั้ ตอน ใหญ ๓. การเขยี นรปู วงกลม
๓. เด็กเกบ็ วัสดอุ ปุ กรณเขาท่แี ละทำความสะอาด ๕. กระดาษ ตามแบบ
บรเิ วณ โปสเตอรส ี
(หมายเหตุ เชอื กตดั ความยาวพอประมาณที่จะ คลอง ๖. กรรไกรปลายมน
คอเดก็ ได ปลายท้ัง ๒ ขา ง ใชก ระดาษกาวยน พันกนั

จดุ ประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรียนรู สอ่ื การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู ๗. เชือกเสนเล็ก
เชือกแตก เพ่ือใหแขง็ พอทจ่ี ะรอ ยผาน รูของวสั ดไุ ด) ๘. กระดาษกาวยน
๙. กระดาษ เอ ๔
๑๐. สีเทียนหรอื สีไม

กิจกรรมเลน ตามมมุ (๑) การเลน อิสระ ๑. ครูและเดก็ พดู ขอตกลงรว มกนั กอ นเลน ในมมุ ๑. อปุ กรณท ี่ใช สังเกต
๑. แบงปนผอู น่ื (๒) การเลน รายบุคคล ประสบการณ ทดลอง เร่ืองการเกดิ ๑. การแบงปน ผูอ่ืน เม่ือมี
เม่ือมผี ชู ้ีแนะได กลมุ ยอ ย กลุม ใหญ ๒. เดก็ เลอื กเลน ในมุมประสบการณต ามความ สนใจ เสยี ง เชน ก๋งิ สาม ผชู ี้แนะ
๒. เกบ็ ของเขา ที่ (๓) การเลน ๓. เด็กปฏบิ ัติตามขอ ตกลงเม่ือหมดเวลาเลน เหล่ยี ม สอ มเสยี ง ๒. การเก็บของเขาที่ เม่ือ
เมอื่ มผี ชู แี้ นะได ในมุมประสบการณ ฯลฯ มผี ูชีแ้ นะ
(๔) การดแู ล ๒. ของเลน ในมมุ
หอ งเรยี นรว มกนั ประสบการณ ทีท่ ำให
เกิดเสยี งตา ง ๆ

กจิ กรรมกลางแจง (๑) การเลน หรอื ทำ ๑. ครูและเด็กพูดขอ ตกลงกอ นไปเลน เครอ่ื งเลน สนาม เครอื่ งเลนสนาม สังเกต
เลน รว มกับเพ่ือนได กิจกรรมรวมกบั เพื่อใหเกิดความปลอดภัย ตอ ตนเองและเพื่อน การเลนรว มกบั เพื่อน
กลมุ เพอ่ื น ๒. เด็กเดินเปนแถวไปบริเวณสนามเดก็ เลน
๓. เดก็ เลอื กเลน ตามความสนใจ ครคู อยดแู ล อยใู กล ๆ
๔. ครูใหส ญั ญาณหมดเวลาเลน เด็กทำ ความสะอาด
รา งกาย
๕. เด็กเดินเปนแถวกลบั หองเรยี น

จุดประสงคการเรยี นรู สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรยี นรู สอื่ การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู
เกมการศึกษา (๑๓) การเรียงลำดับ การเลนเกมเรยี งลำดับ ๑. ครูใหเด็กดเู กมเรยี งลำดับภาพพบั จากรูปวงกลม ๑. เกมเรียงลำดบั สังเกต
๑. เรียงลำดับ สงิ่ ตา ง ๆ ภาพจากรปู วงกลม พรอมกบั แนะนำวธิ เี ลนเกม ภาพพบั จากรูปวงกลม ๑. การเรียงลำดับส่ิงของ
สิ่งของหรอื (๒) การปฏิบตั ิตนเปน
เหตุการณอ ยา งนอ ย ๓ สมาชิกที่ดีของ ๒. ครแู บงเดก็ เปนกลุม มหี น่ึงกลุมเลน เกมท่ี แนะนำ ๒. เกมท่เี คยเลน หรอื เหตกุ ารณอยางนอ ย
ลำดับได หองเรยี น ใหมวนั นี้ กลมุ ที่เหลอื เลนเกมท่ีเคยเลน ๓ ลำดับ
๒. เก็บของเขาท่ี
เมอื่ มผี ชู ้แี นะได (๔) การดแู ล ๓. เดก็ หมุนเวียนเลน เกมทแ่ี นะนำใหมว ันนี้ จนครบทุก
กลมุ
หอ งเรยี นรวมกัน ๔. เดก็ เก็บเกมเขาทเี่ มือ่ เลิกเลน

แผนการจดั ประสบการณร ายวนั วนั ที่ ๕ หนว ยที่ หนว ยที่ ๓๓ เสยี งรอบตวั ชั้นอนบุ าลปท่ี ๑

จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กจิ กรรมการเรยี นรู สอื่ การประเมนิ พฒั นาการ
กจิ กรรมเคลื่อนไหว ประสบการณส ำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู ๑. กิจกรรมพน้ื ฐาน ใหเ ด็กเคลอ่ื นไหวรางกายไป เครือ่ งเคาะจังหวะ สงั เกต
และจังหวะ (๒) ทัว่ บริเวณอยา งอสิ ระตามจังหวะ เม่ือไดย นิ การเคลอ่ื นไหวทา ทางตาม
เคลอ่ื นไหวทาทาง การแสดงความคิด สญั ญาณ "หยดุ " ใหห ยุดในทา นนั้ ทันที ความคิดของตนเอง
ตามความคดิ สรางสรรคผ า นทาทาง ๒. ใหเดก็ ทำทา ทางตามจินตนาการโดยฟง คำ
ของตนเองได การเคลือ่ นไหว บรรยาย "วนั นเี้ ดก็ จะเลน ดนตรใี หผปู กครองทีม่ า
นั่ง ในหอ งเรียน บางคนตกี ลอง บางคนเปา ขลยุ
บางคน ตีระนาด บางคนตีฉงิ่ บางคนตฉี าบ พอ
เลนเครอื่ ง ดนตรพี รอม ๆ กนั ชางเปนเสยี งท่ี
ไพเราะจงั พอเลน จบผปู กครองปรบมอื ให เด็ก ๆ
ยิ้ม อยางมคี วามสขุ "
๓. ปฏิบัตติ ามขอ ๒ ซำ้

กจิ กรรมเสรมิ (๒) การฟงและปฏบิ ัติ - หูเปน อวัยวะรับเสยี ง ๑. ใหเ ด็กใชมอื ปด หูแลว ครูเลานทิ านใหเดก็ ฟง นทิ านเรื่อง "หู หู สงั เกต
ประสบการณ ตามคำแนะนำ (เพ่อื ใหเดก็ เห็นความสำคัญของห)ู กบั หนูเขม็ " การฟง ผอู ่ืนพูดจนจบและ
ฟงผูอ่ืนพูดจนจบ (๓) การฟงนิทาน - การดแู ลรักษาหู ๒. ครถู ามเด็กวา ครูเลา นิทานเก่ียวกับอะไร เด็ก พดู โตตอบเกยี่ วกบั เรื่อง
และพูดโตตอบ (๔) การพูด - การปองกนั อนั ตราย และครูสนทนาถึงความสำคญั ของหเู ปนอวยั วะท่ี ที่ฟง
เกย่ี วกบั เรอ่ื งท่ีฟง ได แสดงความคดิ จากเสยี งดัง ใช รบั เสยี ง
๓. เด็กฟง นทิ านเรื่อง "หู หู กบั หนูเขม็ "
(๘) การรอจังหวะ
ที่เหมาะสมในการพดู

จุดประสงคก ารเรยี นรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู ส่ือ การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู ๔. เดก็ และครสู นทนาเนือ้ หาจากนิทานโดยใช
คำถาม ดงั นี้
- ถา เราไมมีหูจะเกิดอะไรขึ้น
- เราจะดแู ลรกั ษาหู อยา งไรไดบาง
- ถา เด็กไดย ินเสยี งอะไรทด่ี งั มากเดก็ จะปอ งกันหู
ไดอยางไร
๕. เด็กและครสู รปุ ความสำคญั ของหแู ละวิธีการ
ดแู ล รักษาหู และการปอ งกนั อันตรายจากเสยี งดงั

จดุ ประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กจิ กรรมการเรยี นรู สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ
กจิ กรรมศิลปะ ประสบการณส ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู สงั เกต
สรางสรรค (๒) การเขียนภาพ ๑. การจดั กจิ กรรม "สรา งภาพจากรปู วงกลมดว ยสี ๑. สเี ทียน ๑. การเขียนรปู วงกลม
๑. เขยี นรูปวงกลม (๑) การรบั รแู ละแสดง เทยี น" มขี ้ันตอนดงั น้ี ๒. กระดาษ เอ ๔ ตามแบบ
ตามแบบได ความรูสกึ ผานสื่อ ขั้นท่ี ๑ เด็กนง่ั เปน กลุม ตามความเหมาะสม ๒. การสรา งผลงานศิลปะ
๒. สรางผลงาน (๒) การแสดงความคิด เพ่อื ใชสเี ทยี นดว ยกัน เดก็ หยิบกระดาษ เอ ๔ ตามความคิดของตนเอง
ศิลปะตามความคดิ สรางสรรคผานศิลปะ คนละ ๑ แผน และ สีเทียนกลุมละ ๑ ตะกรา ๓. การทำงานทไี่ ดรบั
ของตนเองได (๕) การทำงานศิลปะ ขั้นที่ ๒ เด็กฟง ครแู นะนำ ใหใ ชส เี ทยี นวาดเปน รปู มอบหมายจนสำเรจ็ เมื่อมี
๓. ทำงานทไ่ี ดรบั (๑๙) วงกลม จำนวน ๕ วงใหมีระยะหา งกนั พอที่จะวาด ผูช ว ยเหลือ
มอบหมายจนสำเร็จ การเห็นแบบอยาง ตอ เตมิ เปนรปู ภาพอ่ืน ๆ ไดแลว นับจำนวนวงกลม
เมื่อมีผูชวยเหลือได ของการเขยี นท่ีถูกตอ ง ขั้นที่ ๓ เดก็ วาดตอเตมิ จากรูปวงกลมตาม
ความคดิ สรางสรรคของตนเอง แลวระบายสใี ห
สวยงาม

จุดประสงคการเรยี นรู สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรยี นรู สอ่ื การประเมินพฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู ขน้ั ท่ี ๔ นำผลงานมาบอกเลาใหครฟู ง ครูเขียน
ส่งิ ทเ่ี ดก็ เลา ใตภ าพผลงาน และเขียนชือ่ เด็ก เพอื่ ให
เด็กไดเ ห็นทิศทางของการเขียนตัวอกั ษร
และลงวนั ที่ กำกบั ในผลงาน
ข้นั ท่ี ๕ เด็กนำผลงานไปตดิ ในทแี่ สดงผลงาน
ข้นั ท่ี ๖ เดก็ ชว ยกนั เกบ็ วสั ดุอปุ กรณแ ละทำ
ความสะอาดบรเิ วณ โดยครูคอยใหความชว ยเหลอื

กจิ กรรมเลน ตามมมุ (๑) การเลน อิสระ ๑. ครูและเด็กพูดขอตกลงรวมกันกอ นเลนในมุม ๑. อุปกรณที่ใช สังเกต
๑. แบงปนผูอ นื่ (๒) การเลนรายบุคคล ประสบการณ ทดลองเรือ่ ง ๑. การแบง ปนผอู ่ืน เม่อื มี
เมื่อมีผูชแ้ี นะได กลมุ ยอย กลุม ใหญ ๒. เด็กเลือกเลน ในมุมประสบการณต ามความสนใจ การเกิดเสียง เชน ผชู แ้ี นะ
๒. เกบ็ ของเขา ที่ (๓) การเลน ๓. เด็กปฏิบัติตามขอ ตกลงเมือ่ หมดเวลาเลน กงิ๋ สามเหลี่ยม ๒. การเก็บของเขาท่ี เมื่อ
เมื่อมผี ูชี้แนะได ในมุมประสบการณ มีผูช ี้แนะ
(๔) การดแู ลหอ งเรยี น สอมเสียง ฯลฯ
รว มกัน ๒. ของเลนในมุม
ประสบการณ
ท่ีทำใหเ กิดเสยี ง

จุดประสงคก ารเรยี นรู สาระการเรยี นรู กิจกรรมการเรยี นรู สือ่ การประเมนิ พฒั นาการ
ประสบการณส ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู
กิจกรรมกลางแจง (๒) การเคลือ่ นไหว ๑. เดก็ และครพู ูดขอตกลงกอนไปเลนเกม "เดินสง ๑. เกม "เดินสง ของ" สังเกต
เดินตามแนว เคลอ่ื นท่ี ของ" ทีส่ นามเดก็ เลน เพอ่ื ใหเ กิดความ ปลอดภยั ๒. เกา อ้ี ๕ ตัว การเดินตามแนวทก่ี ำหนด
ทีก่ ำหนดได (๓) การเคลื่อนไหวทใี่ ช ตอ ตัวเองและเพอื่ น ๓. หอ ของขวัญ
กลามเนอื้ ใหญใ นการจับ ๒. เด็กเดนิ เปนแถวไปบริเวณสนามเด็กเลน หรอื ไมบลอ็ ก
๓. เด็กเลน เกม "เดินสง ของ" ๔. ไมส ำหรับขดี เสน
๔. ครใู หส ญั ญาณหมดเวลาเลน เดก็ ผอ นคลายดวย
การหายใจเขา - ออกชา ๆ
๕. เดก็ ทำความสะอาดรางกาย
๖. เด็กเดินเปน แถวกลับหอ งเรยี น
เกมการศึกษา (๑๓) การจับคู การจบั คูหรือ ๑. ครใู หเดก็ ดเู กมพนื้ ฐานการบวกจำนวน ๑ - ๔ ๑. เกมพนื้ ฐานการ สงั เกต
๑. จับคูหรอื การเปรียบเทยี บ เปรยี บเทียบจำนวน พรอมกับแนะนำวธิ ีเลน เกม บวกจำนวน ๑ - ๔ ๑. การจบั คหู รอื
เปรยี บเทียบ สงิ่ ตาง ๆ ส่งิ ตาง ๆ ๒. ครูแบงเด็กเปน กลมุ มหี นง่ึ กลมุ เลน เกมทแ่ี นะนำ
ตามที่ กำหนดได (๒) การปฏิบัตติ นเปน ๑-๔ ใหมว ันนี้ กลมุ ทเี่ หลอื เลน เกมทเี่ คยเลน ๒. เกมทเ่ี คยเลน เปรียบเทยี บสิ่งตาง ๆ
ตามที่กำหนด
๒. เก็บของเขา ที่ เมอ่ื มี สมาชกิ ทีด่ ีของหอ งเรียน ๓. เดก็ หมุนเวยี นเลนเกมทแี่ นะนำใหมวนั น้ีจนครบ ๒. การเก็บของเขา ที่ เมอ่ื
ทกุ กลมุ มีผูช้แี นะ
ผูชแี้ นะ (๔) การดแู ลหอ งเรียน ๔. เดก็ เกบ็ เกมเขาท่ีเมื่อเลิกเลน
รว มกนั

๑ ด.ญ.ธิดารัตน โคกโต เลข
๒ ด.ญ.ปวณี ธิดา หนูใหญ ที่
๓ ด.ญ.ไอรดา จันทรงั ษ
คำอธบิ าย ครูสังเกตพฤติกรรมเดก็ รายบุคคล จดบันทกึ สรปุ เปน รายสปั ดาหระบุระดับคณุ ภาพเปน ๓ ระดบั คือ ช่อื -สกุล

ระดบั ๓ ดี ระดบั ๒ ปานกลาง ระดบั ๑ ควรสงเสริม ๑.การเดินตามแนวที่กำหนด รา งกาย อารมณ แบบสงั เกตพฤติกรรมเดก็ หนวยการจดั ประสบการณท ่ี ๓๓ เสยี งรอบตวั ช้ันอนบุ าลปท ี่ ๑

๒.การเขยี นรูปวงกลมตามแบบ ประเมนิ พัฒนาการ
สังคม
๓.การแบงปน ผูอ ื่นเมอื่ มีผชู ้ีแนะ
๔.การทำงานท่ไี ดร ับมอบหมายจนสำเร็จเมอ่ื มผี ู สตปิ ญ ญา
ชว ยเหลอื
๕.การเก็บของเขาที่เม่ือมีผูชแี้ นะ
๖.การใชส่งิ ของเครอื่ งใชอ ยางประหยดั เมอื่ มี ผู
ชแี้ นะ
๗.การเลน รวมกับเพ่อื น

๘.การปฏิบัติตามขอ ตกลงเม่อื มีผชู ้ีแนะ
๙.การฟง ผูอน่ื พูดจนจบและพดู โตต อบ เก่ียวกบั
เรอื่ ง ทฟ่ี ง
๑๐.การเลนเกมภาพตัดตอตามทก่ี ำหนด
๑๑.การจับคหู รอื เปรียบเทยี บสงิ่ ตา ง ๆ ตาม ท่ี
กำหนด
๑๒.การจดั กลมุ สง่ิ ตาง ๆ ตามทก่ี ำหนด
๑๓.การเรยี งลำดบั ส่ิงของหรือเหตุการณอ ยา ง นอย
๓ ลำดับ
๑๔.การสรางผลงานศลิ ปะตามความคดิ ของ ตนเอง

๑๕.การเคลื่อนไหวทาทางตามความคิดของ ตนเอง
๑๖.การคน หาคำตอบของขอสงสยั ตามวธิ ที ่ีมี ผู
ช้แี นะ

หมายเหตุ

บันทกึ หลังการสอน
หนว ย เสียงรอบตัว
วันท…่ี …………เดือน………………………………..พ.ศ.………………..

1. ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.ปญ หา / อปุ สรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.ขอ เสนอแนะ / แนวทางแกไ ข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ...................................................................................ผสู อน
( นางสาวณัฏฐศ ศิ ไกรวลิ าส )
ตำแหนง ครูผชู ว ย

ความเหน็ และขอเสนอแนะของผบู รหิ าร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ .......................................................................................ผูบริหาร
( นายยศศักดิ์ กอแกว )

ตำแหนง ครู โรงเรยี นวดั หนองหอย รักษาการในตำแหนง
ผูอ ำนวยการ โรงเรยี นวัดหนองหอย





หนว่ ยการจัดประสบการณท์ ี่ ๓๔ รกั การอา่ น ชนั้ อนุบาลปท� ี่ ๑

แนวคดิ

การทำกจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ พัฒนาการทางภาษา เชน่ การเลา่ ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจำวนั การอา่ นหนังสือภาพ / นิทานหลากหลายรูปแบบ โดยใช้วิธอี า่ นร่วมกัน
อ่านโดยครูชี้แนะ อา่ นอสิ ระ และการเล่นเกมภาษา สามารถปลูกฝ�งนสิ ัยรักการอ่านใหเ้ ดก็ ได้

มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้
ตวั บง่ ช้ี
มาตรฐาน สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบการสำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้

มาตรฐานที่ ๒ ๒.๑ เคลอ่ื นไหว ร่างกาย ๒.๑.๓ ว่ิงและหยุดได้ ๑. ว่ิงและหยุดได้ ๑.๑.๑ การใชก้ ล้ามเน้ือใหญ่ - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหนังสือ

กล้ามเนื้อใหญ่และ อย่าง คล่องแคลว่ ๒.๒.๒ เขียนรปู (๑) การเคล่ือนไหวอยู่กับท่ี และตวั หนงั สอื
กลา้ มเน้อื เลก็ แขง็ แรง (๒) การเคล่ือนไหวเคลอ่ื นท่ี ๑. การเล่าข่าวและเหตุการณ์
ใชไ้ ดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่ว ประสานสมั พนั ธ์ และทรง วงกลมตาม แบบได ๒. เขียนรปู วงกลมตาม ๑.๑.๒ การใชก้ ล้ามเน้ือเล็ก ประจำวัน
และ ประสานสมั พันธ์ ตัวได้ แบบ ได้ (๒) การเขยี นภาพและการเลน่ กับ ๒. การอ่านหนังสือภาพ/นิทาน
กนั สี หลากหลายรูปแบบ
๒.๒ ใชม้ อื -ตาประสาน ๓. กล้าพดู กลา้ (๕) การทำงานศิลปะ ๓. การอ่านร่วมกนั
มาตรฐานท่ี ๓ สัมพันธ์กนั แสดงออก ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ ๔. การเล่นเกมภาษา
(๑) การพดู สะท้อนความรสู้ ึกของ ๕. เกมจับคชู่ น้ิ สว่ นทห่ี ายไป
มสี ขุ ภาพจิตดแี ละมี ๓.๒ มคี วามรสู้ กึ ทีด่ ีต่อ ๓.๒.๑ กล้าพูดกลา้ ตนเองและผอู้ ่ืน ๖. เกมภาพตัดตอ่ จำนวน ๑ - ๕
ความสุข
ตนเองและผอู้ ื่น แสดงออก

๗. เรยี งลำดับความยาว

๘. เกมเรียงลำดับเหตุการณ์ อย่าง

ตอ่ เนอ่ื ง

มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย สภาพทพี่ ึงประสงค์ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี ประสบการสำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้

มาตรฐานท่ี ๔ ๔.๑ สนใจมคี วามสขุ ๔.๑.๑ สนใจมี ๔. ทำงานท่ีได้รับ ๑.๒.๕ การมอี ตั ลกั ษณ์เฉพาะตน
ชนื่ ชมและแสดงออก และแสดงออกผา่ น งาน ความสุข และ
ทาง ศิลปะ ดนตรแี ละ ศิลปะ ดนตรี และการ แสดงออกผา่ นงาน มอบหมาย จนสำเรจ็ เมื่อ และ เชอ่ื วา่ ตนเองมี
การ เคลื่อนไหว เคลื่อนไหว ศลิ ปะ
มีผ้ชู ่วยเหลอื ความสามารถ
มาตรฐานท่ี ๘ ๘.๒ การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ ที่ ๔.๑.๓ สนใจ มี
อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง ดกี บั ผ้อู น่ื ความสุขและ แสดง (๒) การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตาม
มี ความสขุ และ ปฏบิ ตั ิ ท่าทาง/เคลือ่ นไหว
ตนเป�นสมาชิก ที่ดขี อง ประกอบเพลง จังหวะ ๕. เลน่ รว่ มกบั เพอ่ื นได้ ความสามารถของตนเอง
สงั คมในระบอบ และ ดนตรี
ประชาธปิ ไตยอันมี ๑.๒.๒ การเลน่
พระมหากษตั ริยท์ รง ๘.๒.๑ เล่นรว่ มกับ
เป�น ประมุข เพือ่ น ๖. ฟง� ผอู้ ื่นพดู จนจบและ (๑) การเล่นอสิ ระ

พดู โต้ตอบเก่ียวกับเรอื่ ง (๓) การเล่นตามมุมประสบการณ์

ทฟ่ี ง� ได (๔) การเล่นนอกห้องเรียน

๑.๓.๕ การเลน่ และทำงาน แบบ

รว่ มมอื ร่วมใจ

(๒) การเลน่ และทำงานร่วมกับ

ผอู้ น่ื

๑.๔.๑ การใชภ้ าษา

(๓) การฟ�งเพลง นทิ าน

(๔) การพูดแสดงความคิด

ความรู้สกึ และความต้องการ

(๕) การพูดกบั ผู้อนื่ เก่ียวกบั

ประสบการณข์ องตนเองหรือพูด

เล่า เรือ่ งเกี่ยวกับตนเอง

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย สภาพทพ่ี ึงประสงค์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้

มาตรฐาน ตัวบ่งช้ี ประสบการสำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้

มาตรฐานท่ี ๙ ๙.๑ สนทนา โตต้ อบเล่า ๙.๑.๑ ฟง� ผู้อนื่ พดู จน ๗. เลา่ เร่อื งดว้ ยประโยค (๘) การรอจงั หวะทเ่ี หมาะสมใน
ใช้ภาษาสอ่ื สารได้ เร่อื ง ให้ผ้อู ่ืนเขา้ ใจ จบ และพูดโต้ตอบ สัน้ ๆ ได้ การ พดู
เหมาะสมกับวัย ๙.๒ อา่ นเขยี นภาพและ เกยี่ วกบั เร่อื งทีฟ่ �ง (๑๐) การอา่ นหนังสอื ภาพนิทาน
สญั ลักษณไ์ ด้ ๘. อ่านและพดู ข้อความ หลากหลายประเภท
มาตรฐานที่ ๑๐ ๙.๑.๒ เลา่ เร่อื งเปน� ดว้ ย ภาษาของตนเองได้ (๑๑) การอา่ นอยา่ งอิสระตาม
มีความสามารถในการ ๑๐.๑ มี ความสามารถ ประโยค อยา่ งต่อเนื่อง ลำพัง การอา่ นรว่ มกัน การอา่ น
คิดทเี่ ปน� พ้ืนฐานในการ ใน การคดิ รวบยอด ๙. เล่นภาพตดั ตอ่ จาก โดยมผี ู้ ชแ้ี นะ
เรียนรู้ ๙.๒.๑ อา่ นภาพและ การ สังเกตโดยใช้ (๑๒) การเห็นแบบอยา่ งของการ
พูดข้อความด้วยภาษา ประสาทสมั ผสั ได้ อ่าน ทถ่ี ูกต้อง
ของตน (๑๕) การอ่านและชี้ขอ้ ความ โดย
กวาดสายตาตามบรรทดั จากซา้ ย
๙.๒.๒ เขียน ขดี เขีย่ ไปขวา จากบนลงล่าง
อย่าง มที ศิ ทาง (๑๖) การสงั เกตตวั อักษรในชอื่ ของ
ตนหรอื คำคนุ้ เคย
๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ (๖) การต่อของชิน้ เลก็ เตมิ ใน ชนิ้
ของ ส่งิ ตา่ ง ๆ จาก ใหญใ่ หส้ มบูรณ์และการแยก
การสงั เกต โดยใช้ ชน้ิ สว่ น
ประสาทสมั ผสั


Click to View FlipBook Version