1
หลกั สูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมงี านทา
(ชุดท่ี 1)
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลาดบั ที่ 38/2555
2
คานา
การจดั การศึกษาเพ่ือตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ตอ้ งมุ่งเน้นการพฒั นา
เพ่ือเพิม่ ศกั ยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ใหส้ ามารถประกอบอาชีพ สร้างรายไดท้ ี่
มงั่ คงั่ และมนั่ คง เป็ นบุคคลที่มีวินยั เปี่ ยมไปดว้ ยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อตนเอง ผูอ้ ่ืน
และสังคม เนน้ การจดั การศึกษาที่ยดึ พ้ืนที่เป็ นฐาน โดยสถานศึกษาตอ้ งวเิ คราะห์ศกั ยภาพ 5 ดา้ น ของแต่ละ
พ้ืนที่ ได้แก่ ศกั ยภาพด้านทรัพยากรธรรมชาติ ศกั ยภาพดา้ นภูมิอากาศ ศกั ยภาพด้านภูมิประเทศ ศกั ยภาพ
ดา้ นศิลปวฒั นธรรมประเพณี และศกั ยภาพดา้ นทรัพยากรมนุษย์ และวเิ คราะห์ขอ้ มูลวถิ ีการดาเนินชีวติ ความ
ต้องการ และประชาชนในภูมิภาคต่างๆ ท่ีเป็ นผูใ้ ช้บริการผลผลิตของสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล
ดงั กล่าวจะนามาสู่การกาหนดหลกั สูตรอาชีพท่ีสถานศึกษาจะจดั การเรียนการสอน
การจดั การศึกษาของสานกั งาน กศน. เพื่อตอบสนองนโยบายดงั กล่าว จึงตอ้ งปรับเปลี่ยน
กระบวนการจดั การเรียนรู้ ที่เนน้ การปฏิบตั ิจริง มีการศึกษาดูงานเพอ่ื แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผมู้ ีประสบการณ์
ในอาชีพโดยตรง ผูส้ อนเป็ นวิทยากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ และเป็ นผูป้ ระกอบการในอาชีพน้นั ๆ ให้
ความสาคญั ต่อการประเมินผลการจบหลกั สูตรที่เนน้ ทกั ษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ชิ้นงาน ท่ีได้
มาตรฐานออกสู่ตลาดได้ การพัฒนาหลักสู ตรอาชีพ จึงต้องปรับใหม่โดยการพัฒนาให้ครบวงจร
ประกอบดว้ ย ช่องทางการประกอบอาชีพ ทกั ษะของอาชีพ การบริหารจดั การ และโครงการอาชีพพร้อม
แหล่งเงินทุน และให้ผูเ้ รียนท่ีเรียนจบจากหลกั สูตรอาชีพมีความมน่ั ใจวา่ จะสามารถประกอบอาชีพสร้าง
รายได้ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง จึงขอใหส้ ถานศึกษาที่นาหลกั สูตรท่ีไดพ้ ฒั นาแลว้ น้นั นามาคดั เลือกให้เหมาะสมกบั
ความตอ้ งการของพ้ืนที่ และนาไปอนุมตั ิใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนต่อไป
หลกั สูตรอาชีพท่ีพฒั นาข้ึนไดป้ รับปรุงจากหลกั สูตรอาชีพท่ีสถานศึกษาในแต่ละจงั หวดั
พฒั นาเป็ นฉบบั ร่างมาแลว้ สานกั งาน กศน. นามาพฒั นาเน้ือหาสาระให้ครบวงจรและกาหนดระยะเวลาใน
การเรียนให้เหมาะสม โดยได้รับความร่วมมือเป็ นอยา่ งดีจาก สถาบนั กศน.ภาค สานักงาน กศน.จงั หวดั
สถานศึกษา วิทยากร ภูมิปัญญา และผูท้ ่ีเก่ียวขอ้ ง มาร่วมพิจารณาและตรวจสอบความถูกตอ้ งจึงทาให้การ
ดาเนินการจดั ทาหลกั สูตรในคร้ังน้ีเสร็จสิ้นไปดว้ ยดี สานกั งาน กศน. ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี
(นายประเสริฐ บุญเรือง)
เลขาธิการ กศน.
ธนั วาคม 2554
สารบัญ 3
คานา หนา้
สารบญั
บทนา 1
กล่มุ อาชีพเกษตรกรรม
หลกั สูตรการทาป๋ ุยชีวภาพ 3
หลกั สูตรการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ 12
หลกั สูตรการเพาะเห็ดฟาง - นางราม 22
หลกั สูตรการเล้ียงไก่พ้นื เมือง 27
หลกั สูตรการเล้ียงปลาดุกอุยในบ่อพลาสติก 38
หลกั สูตรการเล้ียงปลาแรดในกระชงั ดว้ ยภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น 47
หลกั สูตรการขยายพนั ธุ์พชื 57
กล่มุ อาชีพอตุ สาหกรรม
หลกั สูตรการทาเฟอร์นิเจอร์ชุดรับแขกจากยางรถยนต์ 68
หลกั สูตรการทาอิฐบล็อกประสาน 80
หลกั สูตรการแปรรูปผลิตภณั ฑเ์ ห็ด 91
หลกั สูตรการประกอบอาชีพแปรรูปผลิตภณั ฑม์ ะขาม 102
หลกั สูตรการแปรรูปอาหารแหนมสมุนไพร 115
กล่มุ อาชีพพาณชิ ยกรรมและบริการ
หลกั สูตรธุรกิจกาแฟโบราณ 126
หลกั สูตรเชือกป่ านมหศั จรรย์ 138
หลกั สูตรธุรกิขขนมไทย 147
หลกั สูตรการทาซูชิ 160
หลกั สูตรธุรกิจอาหารไทยเพ่ือการคา้ 170
หลกั สูตรการนวดเพื่อสุขภาพ 184
กลุ่มอาชีพความคดิ สร้างสรรค์
หลกั สูตรศิลปะประดิษฐจ์ ากกระป๋ อง 200
หลกั สูตรภาชนะสวยดว้ ยการเพน้ ท์ 210
หลกั สูตรเครื่องป้ันดินเผาสร้างรายได้ 222
หลกั สูตรการทาผลิตภณั ฑจ์ ากเชือกกลว้ ยกระดาษกลว้ ย 233
สารบัญ (ต่อ) 4
หลกั สูตรช่างเขียนภาพลายเส้น 247
หลกั สูตรช่างเขียนภาพสีน้า ประเภทภาพทิวทศั น์ 258
หลกั สูตรช่างเขียนภาพสีน้า ประเภทภาพบุคคล 269
หลกั สูตรช่างเขียนภาพสีน้า ประเภทภาพหุ่นน่ิง 280
กลุ่มอาชีพเฉพาะทาง
หลกั สูตรการติดต้งั ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร 291
หลกั สูตรการซ่อมคอมพวิ เตอร์ 301
หลกั สูตรช่างซ่อมเครื่องปรับอากาศ (แอร์) (แอร์) 314
หลกั สูตรธุรกิจเถา้ แก่โฮมสเตย์ 332
หลกั สูตรมคั คุเทศกท์ อ้ งถ่ิน 346
หลกั สูตรธุรกิจสปา 369
หลกั สูตรการทามุง้ ลวด 381
หลกั สูตรช่างไม้ 1 390
บรรณานุกรม 399
คณะผจู้ ดั ทา 404
1
บทนา
สืบเน่ืองจากนโยบายและยทุ ธศาสตร์ “2555” ของกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีนโยบายเนน้ ในเรื่อง
การจดั การศึกษาเพ่อื การมีอาชีพ มีรายไดแ้ ละมีงานทา โดยมีเป้าหมายในการเตรียมความพร้อมของประเทศ
ไทยในทุกๆ ด้านในระยะเวลา 2 ปี เพ่ือให้สามารถก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกไดอ้ ย่างมี
ประสิทธิภาพ จึงกาหนดให้หน่วยงานและสถานศึกษาแต่ละแห่งศึกษา 5 ศกั ยภาพของตนเองในแต่ละพ้ืนที่
ไดแ้ ก่ ศกั ยภาพด้านทรัพยากรธรรมชาติ ศกั ยภาพดา้ นภูมิอากาศ ศกั ยภาพดา้ นภูมิประเทศ ศกั ยภาพด้าน
ศิลปวฒั นธรรมประเพณี และศกั ยภาพดา้ นทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือจดั การศึกษาในระดบั พ้ืนท่ี (Area Based)
และพฒั นา 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ หลกั สูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ
ความคิดสร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง ให้สอดคลอ้ งมีศกั ยภาพและสามารถแข่งขนั ไดใ้ น 5 ภูมิภาคหลกั
ของโลก ประกอบดว้ ย ทวีปเอเชีย ยโุ รป อเมริกา ออสเตรเลีย และแอฟริกา ซ่ึงนโยบายดงั กล่าวตอ้ งการให้
เกิดการบูรณาการในการจดั การศึกษาทุกระดบั ตามศกั ยภาพของแต่ละพ้ืนท่ี โดยใหอ้ งคก์ รและหน่วยงานทุก
ภาคส่วนในระดบั พ้ืนที่ (จงั หวดั ) ท้งั ภาคการศึกษา ภาคธุรกิจ ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ รายยอ่ ย ร่วมเป็ นภาคี
เครือข่ายในการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์ไปพร้อมๆ กนั เนน้ ใหก้ ารศึกษาเป็ นรากฐานของการพฒั นาคน พฒั นา
งาน และสร้างอาชีพ เพ่ือความเขม้ แข็งทางเศรษฐกิจ สอดคล้องกับศกั ยภาพของแต่ละพ้ืนที่ ซ่ึงจะเป็ น
ตวั กาหนดความเป็นเลิศทางดา้ นกลุ่มอาชีพหลกั
ดงั น้นั เพ่ือตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สานกั งาน กศน.ไดป้ รับเปลี่ยนการจดั
การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ โดยจดั ให้มีศูนยฝ์ ึ กอาชีพในชุมชน และใช้สถานศึกษา กศน. เป็ นฐานการจดั
กิจกรรมให้แก่ประชนกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่บริการ จดั ทาเวทีประชาคมในระดบั จงั หวดั เพ่ือกาหนดกรอบ
อาชีพของจงั หวดั และจดั ทาเวทีประชาคมในระดบั อาเภอ โดยการวิเคราะห์ศกั ยภาพหลกั 5 ดา้ น นาขอ้ มูล
ความต้องการด้านอาชีพของทุกตาบลและภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน มาพิจารณาร่วมกับกรอบหลกั สูตรการจดั
การศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทาของจงั หวดั เพ่อื กาหนดเป็นกรอบหลกั สูตรอาชีพของอาเภอ
การพัฒนาหลักสูตรต้องสอดคล้องกับกลุ่มอาชีพใหม่ 5 กลุ่ม คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพ
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิดสร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง โดยการ
พฒั นาเน้ือหาสาระท่ีมีองคค์ วามรู้ครบวงจร ประกอบดว้ ย โครงสร้างของหลกั สูตร 4 ตอน คือ ช่องทางการ
ประกอบอาชีพ ทกั ษะการประกอบอาชีพ การบริหารจดั การและการจดั ทาโครงการประกอบอาชีพ เพ่ือให้
ผเู้ รียนมีความรู้ ทกั ษะและมีความมน่ั ใจในการประกอบอาชีพ
2
การจดั กระบวนการเรียนการสอน เรียนรู้ท้งั ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ ในส่วนของการฝึ กปฏิบตั ิ
เน้นการฝึ กปฏิบตั ิจริงเพื่อให้ผูเ้ รียนเกิดทกั ษะในด้านอาชีพ รวมท้ังการเรียนหรือศึกษาดูงานในสถาน
ประกอบการจริง เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจและมองเห็นช่องทางการประกอบอาชีพอยา่ งครบวงจร
วิทยากรที่จดั การเรียนการสอน เป็ นผูท้ ี่มีความรู้ ความชานาญ ในอาชีพ หรือเป็ นผทู้ ี่ประกอบการในอาชีพ
น้นั ๆ
การวดั และประเมินผล ผูส้ าเร็จการศึกษา จะตอ้ งมีความรู้พ้ืนฐานทางวชิ าการตามวตั ถุประสงค์
ของหลกั สูตร จะตอ้ งมีทกั ษะความชานาญทางดา้ นวชิ าชีพ มีทกั ษะการทางาน รวมไปถึงทกั ษะของการเป็ น
ผปู้ ระกอบการเพอ่ื ความสามารถในการสร้างงานและสร้างอาชีพใหม่ โดยที่จะไม่ลืมทกั ษะชีวติ และเรื่องของ
คุณธรรมและจริยธรรมดว้ ย
สาหรับในระยะแรก สานักงาน กศน.ไดด้ าเนินการพฒั นาหลกั สูตรการศึกษาอาชีพเพ่ือการมี
งานทา ซ่ึงเป็ นหลกั สูตรที่สถานศึกษาจดั ส่งมา กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียนนามาพฒั นาต่อยอดให้มี
องค์ความรู้ครบถว้ นตามโครงสร้างของหลกั สูตร และกาหนดระยะเวลาในการเรียนการสอน จานวน 35
หลักสูตร ใน 5 กลุ่มอาชีพ เพ่ือให้สถานศึกษาดาวน์โหลดไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และจะ
ดาเนินการตอ่ เน่ืองใหค้ รบถว้ นต่อไป รวมท้งั จดั ทาเพ่ิมเติมตามความตอ้ งการของสถานศึกษา
3
หลกั สูตรการทาป๋ ุยชีวภาพ
จานวน 60 ช่ัวโมง
กล่มุ อาชีพเกษตรกรรม
ความเป็ นมา
จากนโยบายการดาเนินงานของสานกั งาน กศน. ประจาปี งบประมาณ 2555 มุ่งเนน้ การจดั การศึกษา
เพือ่ พฒั นาดา้ นอาชีพใน 5 กลุ่มอาชีพ ประกอบดว้ ย อาชีพดา้ นเกษตรกรรม ดา้ นอุตสาหกรรม ดา้ นพาณิชยกรรม
ดา้ นความคิดสร้างสรรค์ และด้านอานวยการและอาชีพเฉพาะทาง โดยมุ่งให้กลุ่มเป้าหมายผูเ้ ข้ารับการ
ฝึกอบรมดา้ นอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริง และสร้างรายไดท้ ่ีมน่ั คง
อาชีพดา้ นเกษตรกรรม นับเป็ นอาชีพหลกั ของเกษตรกรของประเทศ และผลผลิตทางการเกษตร
ส่วนใหญ่ใช้ป๋ ุยเคมีเป็ นหลกั เน่ืองจากหาซ้ือง่าย ใช้แลว้ เห็นผลรวดเร็ว แต่ในระยะยาวส่งผลให้ดินเส่ือม
โทรม รวมท้งั ผลกระทบดา้ นสารตกคา้ งในผลผลิตทางการเกษตร ซ่ึงส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของผบู้ ริโภค
การใชป้ ๋ ุยชีวภาพ ซ่ึงผลิตจากสารธรรมชาติ เป็ นทางเลือกหน่ึงในการแกป้ ัญหาผลกระทบที่เกิดจากการใช้
ป๋ ุยเคมี และการทาป๋ ุยชีวภาพ สามารถทาเป็นอาชีพสร้างรายไดใ้ หก้ บั ประชาชนไดอ้ ีกอาชีพหน่ึง
หลกั การของหลกั สูตร
หลกั สูตรการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั มีหลกั การดงั น้ี
1. เป็นการจดั หลกั สูตรดา้ นเกษตรกรรม ท่ีมีความยดื หยนุ่ ดา้ นการจดั กระบวนการเรียนรู้ และการ
วดั ผลประเมินผล โดยบูรณาการใหส้ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพของชุมชนใน 5 ดา้ น คือ ศกั ยภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติในแตล่ ะพ้ืนท่ี ศกั ยภาพของพ้ืนที่ตามลกั ษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพของพ้ืนที่ตามลกั ษณะ
ภูมิประเทศ ศกั ยภาพดา้ นศิลปะ วฒั นธรรมประเพณี และวถิ ีชีวติ และศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษย์
2. การจดั การศึกษาตามหลกั สูตรการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ มุง่ เนน้ กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนผไู้ มม่ ีอาชีพ หรือผทู้ ่ีมีอาชีพแต่ตอ้ งการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมน่ั คงยง่ิ ข้ึน
3. เป็นการส่งเสริมความร่วมมือในการดาเนินงานร่วมกบั เครือขา่ ย
4. เป็นการส่งเสริมใหม้ ีการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เขา้ สู่หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
5. การจดั กระบวนการเรียนรู้ มุ่งเนน้ การอบรม สมั มนา ศึกษาดูงาน การฝึกปฏิบตั ิ การเรียนรู้ดว้ ย
ตนเอง เพ่ือพฒั นากลุ่มเป้าหมายใหม้ ีความพร้อมในการประกอบอาชีพใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ มน่ั คง
4
จุดหมาย
หลกั สูตรการประกอบอาชีพทาป๋ ุยชีวภาพ สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั มีจุดหมายเพ่ือใหก้ ลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทกั ษะในการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
สามารถประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพไดอ้ ยา่ งมีคุณธรรม
กลุ่มเป้าหมาย
หลกั สูตรการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั กาหนดคุณสมบตั ิกลุ่มเป้าหมายผเู้ ขา้ รับการอบรม ดงั น้ี
1. ประชาชนผไู้ ม่มีอาชีพ
2. ประชาชนผมู้ ีอาชีพและตอ้ งการพฒั นาอาชีพ
ระยะเวลา
จานวน 60 ชว่ั โมง
- ภาคทฤษฏี จานวน 20 ชวั่ โมง
- ภาคปฏิบตั ิ จานวน 40 ชวั่ โมง
โครงสร้างหลกั สูตร
1. ช่องทางการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
1.1 ความสาคญั ในการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
1.2 แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกบั การประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
1.3 การสารวจทรัพยากรในการทาป๋ ุยชีวภาพท่ีมีในชุมชน
1.4 ทิศทางการประกอบอาชีพ
2. ทกั ษะการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
2.1 ประเภทของป๋ ุยชีวภาพ
2.2 วสั ดุ อุปกรณ์ โรงเรือน ในการทาป๋ ุยชีวภาพ
2.3 วธิ ีการในการทาป๋ ุยชีวภาพ/ฝึกปฏิบตั ิทาป๋ ุยชีวภาพสูตรต่าง ๆ
2.4 การนาป๋ ุยชีวภาพไปใช้
2.5 วธิ ีการจดั เก็บ และรักษาคุณภาพป๋ ุยชีวภาพ
3. การบริหารจดั การอาชีพ การทาป๋ ุยชีวภาพ
3.1 การควบคุมคุณภาพการผลิต และบรรจุภณั ฑ์
1) เทคนิคการเพิม่ ประสิทธิภาพป๋ ุยหมกั ชีวภาพ
5
2) บรรจุภณั ฑ์
3.2 การจดั การ/การตลาด
1) การจดั ทาฐานขอ้ มูลลูกคา้
2) การกระจายสินคา้
3) การประชาสมั พนั ธ์
3.3 การวเิ คราะห์ศกั ยภาพในการใชป้ ๋ ุยชีวภาพ
1) ความตอ้ งการในการใชป้ ๋ ุยชีวภาพ
2) การบนั ทึกขอ้ มูลตน้ ทุน-กาไร
3) การแข่งขนั ในตลาดผผู้ ลิตป๋ ุยชีวภาพ
3.4 คุณธรรมจริยธรรมสาหรับผปู้ ระกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
4. โครงการการประกอบอาชีพ การทาป๋ ุยชีวภาพ
4.1 ความสาคญั ของโครงการการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
4.2 ประโยชน์ของโครงการการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
4.3 องคป์ ระกอบของโครงการการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
4.4 การเขียนโครงการการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคลอ้ งของโครงการการประกอบอาชีพการทา
ป๋ ุยชีวภาพ
การจัดกระบวนการเรียนรู้
1. ศึกษาขอ้ มูลจากเอกสาร/ภูมิปัญญา
2. การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้
3. เรียนรู้ดว้ ยตนเอง
4. แลกเปล่ียนเรียนรู้
5. ฝึกปฏิบตั ิจริง
ส่ือการเรียนรู้
หลกั สูตรการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั มีส่ือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ดงั น้ี
1. เอกสารความรู้การทาป๋ ุยชีวภาพ
2. ใบความรู้การทาป๋ ุยชีวภาพ
3. ภูมิปัญญา / ผรู้ ู้
6
4. แหล่งเรียนรู้การผลิตป๋ ุยชีวภาพ
5. ใบงาน
6. แบบสารวจ
7. แบบบนั ทึกขอ้ มูลการเรียนรู้
การวดั และประเมินผล
หลกั สูตรการประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและศึกษาตาม
อธั ยาศยั มีการวดั ผลและประเมินผล ดงั น้ี
1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฏีระหวา่ งเรียนและจบหลกั สูตร
2. การประเมินผลงานระหวา่ งเรียนจากการปฏิบตั ิ ไดผ้ ลงานที่มีคุณภาพสามารถสร้างรายได้ และ
จบหลกั สูตร
การจบหลกั สูตร
1. มีเวลาเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. มีผลการประเมินตลอดหลกั สูตร ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60
3. มีผลงานท่ีมีคุณภาพ
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
1. หลกั ฐานการประเมินผล
2. ทะเบียนคุมวฒุ ิบตั ร
3. วฒุ ิบตั รการศึกษา ออกโดยสถานศึกษา
การเทยี บโอน
ผเู้ รียนที่จบหลกั สูตรน้ีสามารถนาไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กบั หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวชิ าเลือกท่ีสถานศึกษาไดจ้ ดั ทาข้ึน
รายละเอยี ดโครงสร้างหลกั สูตรกา
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ช่องทางการประกอบ 1. อธิบายความสาคญั ในการประกอบ 1.1 ความสาค
อาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
อาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพได้ อาชีพการทา
2. วเิ คราะห์ความเป็นไปไดใ้ นการ 1.2 แหล่งเรีย
ประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพได้ อาชีพ การทา
3. สารวจทรัพยากรในการทาป๋ ุย 1.3 การสารว
ชีวภาพที่มีในชุมชนได้ ชีวภาพที่มีใน
4. บอกทิศทางการประกอบอาชีพ 1.4 ทิศทางใน
7
ารประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
คญั ในการประกอบ 1.1 ศึกษาข้อมูลเอกสาร ส่ืออิเล็คทรอนิคส์
าป๋ ุยชีวภาพ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการทาป๋ ุย 1-
ยนรู้เกี่ยวกบั การประกอบ ชีวภาพ เพ่ือเป็ นขอ้ มูลในการประกอบอาชีพ
าป๋ ุยชีวภาพ การทาป๋ ุยชีวภาพ -3
วจทรัพยากรในการทาป๋ ุย 1.2 สารวจทรัพยากรที่ใช้ในการประกอบ
นชุมชน อาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพท่ีมีในทอ้ งถิ่น 1-
นการประกอบอาชีพ 1.3 แลกเปล่ียนเรี ยนรู้กับกลุ่มและสรุ ป
องคค์ วามรู้ 1-
1.4 ครู ผูเ้ รียน และผรู้ ู้ ร่วมกนั อภิปรายทิศทาง
ความกา้ วหนา้ และพฒั นาอาชีพการประกอบ
อาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพในรูปแบบท่ีเหมาะสม
กบั ตนเอง เช่น ลูกจา้ ง เจา้ ของกิจการ ร่วมทุน
พ่อค้าคนกลางแปรรูปผลิตภัณฑ์ ฯลฯ โดย
คานึ งถึ งค วาม เสี่ ยงจากภัยธรรม ช าติ ค วาม
คุม้ ค่า และความตอ้ งการของตลาด
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้
2. ทกั ษะการประกอบอาชีพ 1. อธิบายเกี่ยวกบั ป๋ ุยชีวภาพ ประเภท 2.1 ประเภทข
การทาป๋ ุยชีวภาพ
ตา่ ง ๆ ได้ 2.2 วสั ดุ อุปก
2. จดั เตรียมวสั ดุ – อุปกรณ์ และ ป๋ ุยชีวภาพ
โรงเรือนในการทาป๋ ุยชีวภาพได้ 2.3 ข้นั ตอนก
3. อธิบายข้นั ตอนและสามารถ ปฏิบตั ิทาป๋ ุย
ปฏิบตั ิการทาป๋ ุยชีวภาพสูตรตา่ ง ๆ ได้ 2.4 การนาป๋
4. ใหค้ าแนะนา และใชป้ ๋ ุยชีวภาพได้ 2.5 วธิ ีการจดั
อยา่ งถูกตอ้ ง ป๋ ุยชีวภาพ
5. เก็บและรักษาคุณภาพป๋ ุยชีวภาพได้
3. การบริหารจดั การการ 1. วางแผนควบคุมคุณภาพการผลิต 3.1 การควบ
อาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
และออกแบบการบรรจุป๋ ุยชีวภาพได้ ภณั ฑ์
2. จดั ทาฐานขอ้ มูลลูกคา้ ท่ีเป็ นปัจจุบนั - เทคนิคการ
ได้ หมกั ชีวภาพ
3. วางแผนและปฏิบตั ิการกระจาย - บรรจุภณั ฑ
สินคา้ และประชาสัมพนั ธ์ได้ 3.2 การจดั กา
8
เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง
ของป๋ ุยชีวภาพ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
กรณ์ โรงเรียนในการทา 2.1 ศึกษาเอกสารใบความรู้เกี่ยวกบั ประเภท
คุณสมบตั ิและการทาป๋ ุยชีวภาพ 2-
การทาป๋ ุยชีวภาพ และฝึก 2.2 วทิ ยากร/ภูมิปัญญาใหค้ วามรู้ภาคทฤษฎี 2-
ยชีวภาพสูตรต่าง ๆ 2.3 เตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ โรงเรือน 2 21
ปุยชีวภาพไปใช้ 2.4 ปฏิบตั ิการทาป๋ ุยชีวภาพ 2-
ดเกบ็ และรักษา คุณภาพ 2.5 ปฏิบตั ิการนาป๋ ุยชีวภาพไปใช้ การจดั เก็บ 2-
และรักษาคุณภาพ
บคุมการผลิตและบรรจุ 2.6 จดบนั ทึกผลการเรียนรู้ และนาเสนอผล 1-
การเรียนรู้
รเพิ่มประสิทธิภาพป๋ ุย 2.7 วิทยากร/ภูมิปัญญา ตรวจสอบผลงาน ให้ 14
พ ขอ้ เสนอแนะ
ฑ์ 2.8 สรุปองคค์ วามรู้เพ่ือการพฒั นาต่อเน่ือง
ารตลาด 3.1 ศึกษาดูงานสถานประกอบการทางการ
ประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ ศึกษา
ประเด็น การควบคุมคุณภาพการผลิต บรรจุ
ภณั ฑแ์ ละการตลาด
3.2 วิทยากร/ภูมิปัญญาให้ความรู้เกี่ยวกบั การ
บริหารจดั การการตลาด การประกอบอาชีพ
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้
4. วเิ คราะห์ตามตอ้ งการในการใชป้ ๋ ุย - การจดั ทาฐ
ชีวภาพ และการแขง่ ขนั ในตลาดผผู้ ลิต - การกระจา
ป๋ ุยชีวภาพได้ - การประชา
5. บนั ทึกขอ้ มูล ตน้ ทุน - กาไรได้ 3.3 การวเิ คร
6. ประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ ป๋ ุยชีวภาพ
ดว้ ยความซื่อสัตย์ และรับผดิ ชอบต่อ - ความตอ้ งก
ชุมชน และสงั คม - การบนั ทึก
- การแขง่ ขนั
ชีวภาพ
3.4 คุณธรรม
ประกอบอาช
9
เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ ช่ัวโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
ฐานขอ้ มูลลูกคา้ การทาป๋ ุยชีวภาพ
ายสินคา้ 3.3 ฝึ กปฏิบตั ิจดั ทาฐานขอ้ มูลลูกคา้ แผนการ 13
าสมั พนั ธ์ กระจายสินคา้ และการประชาสัมพนั ธ์
ราะห์ศกั ยภาพในการใช้ 3.4 ฝึ กปฏิบตั ิ วเิ คราะห์ความตอ้ งการของผใู้ ช้ 1-
ป๋ ุยชีวภาพ การจดบันทึกต้นทุนกาไร และ
การในการใชป้ ๋ ุยชีวภาพ ศึกษาสภาวะการแข่งขนั ในตลาดป๋ ุยชีวภาพ
กขอ้ มูล ตน้ ทุน-กาไร 3.5 นาเสนอผลการฝึ กปฏิบตั ิ เพื่อแลกเปล่ียน
นในการตลาดผผู้ ลิตป๋ ุย เรียนรู้กบั กลุ่ม
3.6 วิท ยาก ร/ภู มิ ปั ญ ญ า ให้ ค าแ น ะน า
ม จริยธรรม สาหรับผู้ เสนอแนะ
ชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ 3.7 ส รุ ป องค์ความ รู้ เรื่ องช่ องท างก าร
ประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบอาชีพ
และการบริหารจดั การอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
เพ่ื อเตรี ยมเสนอโครงการและแผนการ
ประกอบอาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้
4. โครงการการประกอบ 1. บอกความสาคญั ของโครงการ 4.1 ความสา
อาชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ
อาชีพได้ ประกอบอาช
2. บอกประโยชน์ของโครงการ 4.2 ประโย
อาชีพได้ ประกอบอาช
3. บอกองคป์ ระกอบของโครงการ 4.3 องค์ประ
อาชีพได้ ประกอบอาช
4. อธิบายความหมายของ 4.4 การเขียน
องคป์ ระกอบของโครงการอาชีพได้ อาชีพการทา
5. อธิบายลกั ษณะการเขียนโครงการท่ี 4.5 การประ
ดีตามองคป์ ระกอบของโครงการ สอดคลอ้ งขอ
อาชีพได้ อาชีพการทา
6. เขียนโครงการในแตล่ ะ
องคป์ ระกอบให้เหมาะสมและ
ถูกตอ้ งได้
7. ประเมินความเหมาะสมและ
สอดคลอ้ งของโครงการอาชีพได้
10
เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
าคัญของโครงการการ 4.1 จดั ใหผ้ เู้ รียนศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ ½-
ชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ เร่ือง ความสาคญั ของโครงการอาชีพ ½-
1-
ยชน์ของโครงการการ ประโยชนข์ องโครงการอาชีพ องคป์ ระกอบ 16
ชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ ของโครงการอาชีพ แลว้ จดั กิจกรรมการ -3
ะกอบของโครงการการ สนทนาแลกเปลี่ยนขอ้ มูลความคิดเห็น เพ่ือ
ชีพการทาป๋ ุยชีวภาพ สร้างแนวคิดในการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้
นโครงการการประกอบ 4.2 จดั ใหผ้ เู้ รียนศึกษาสาระขอ้ มูลจากใบ
าป๋ ุยชีวภาพ ความรู้ เรื่อง ตวั อยา่ งการเขียนโครงการอาชีพ
ะเมินความเหมาะสมและ ที่ดี เหมาะสม และถูกตอ้ ง พร้อมจดั การ
องโครงการการประกอบ อภิปราย เพื่อสรุปแนวคิดเป็ นแนวทางในการ
าป๋ ุยชีวภาพ เขียนโครงการอาชีพท่ีดี เหมาะสม และ
ถูกตอ้ ง
4.3 จดั ใหผ้ เู้ รียนฝึกปฏิบตั ิ การเขียนโครงการ
อาชีพ
4.4 กาหนดใหผ้ เู้ รียนฝึกปฏิบตั ิการประเมิน
ความเหมาะสมและสอดคลอ้ งของโครงอาชีพ
4.5 จดั ใหผ้ เู้ รียนปรับปรุงโครงการอาชีพ ใหม้ ี
ความเหมาะสมและถูกตอ้ ง
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้
11
เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
4.6 กาหนดใหผ้ เู้ รียนเขียนโครงการอาชีพของ
ตนเอง เพ่ือเสนอขอรับการสนบั สนุน
งบประมาณดาเนินงานอาชีพ และใชใ้ นการ
ดาเนินการประกอบอาชีพต่อไป
12
หลกั สูตรการปลกู พืชผกั เกษตรอนิ ทรีย์ธรรมชาติ
จานวน 60 ชั่วโมง
กล่มุ อาชีพเกษตรกรรม
ความเป็ นมา
การจดั การศึกษาอาชีพในปัจจุบนั มีความสาคญั มาก เพราะจะเป็ นการพฒั นาประชากรของประเทศ
ให้มีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบอาชีพ เป็ นการแกป้ ัญหาการวา่ งงานและส่งเสริมความ
เขม้ แข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการไดก้ าหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใตก้ รอบเวลา 2 ปี
ที่จะพฒั นา 5 ศกั ยภาพของพ้ืนท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขนั ไดใ้ น 5 ภูมิภาคหลกั ของโลก “รู้เขา
รู้เรา เท่าทนั เพื่อแข่งขนั ได้ในเวทีโลก” ตลอดจนกาหนดภารกิจที่จะยกระดบั การจดั การศึกษาเพ่ือเพิ่ม
ศกั ยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชนไดม้ ีอาชีพท่ีสามารถสร้างรายไดท้ ่ีมน่ั คง โดยเนน้ การบูรณาการ
ให้สอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพดา้ นต่าง ๆ มุ่งพฒั นาคนไทยให้ไดร้ ับการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพและการมีงานทา
อย่างมีคุณภาพท่ัวถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้ม่ันคง มั่งค่ัง และมีงานทาอย่างยั่งยืน มี
ความสามารถเชิงการแข่งขนั ท้งั ในระดบั ภูมิภาคอาเซียนและระดบั สากล ซ่ึงจะเป็ นการจดั การศึกษาตลอด
ชีวติ ในรูปแบบใหมท่ ่ีสร้างความมนั่ คงใหแ้ ก่ประชาชนและประเทศชาติ
สภาพสังคมปัจจุบัน มนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ เช่น ด้าน
เศรษฐกิจ การเมือง สังคมและส่ิ งแวดล้อมเป็ นอย่างมาก ประชากรมนุ ษย์เพ่ิมข้ึนเรื่ อย ๆ แต่
ทรัพยากรธรรมชาติถูกใชไ้ ปอยา่ งรวดเร็ว และไม่เพียงพอกบั จานวนประชากรที่เพิ่มข้ึนทุกมุมโลก มนุษยจ์ ึง
ประสบปัญหาต่าง ๆ ตามมามากมาย โดยเฉพาะด้านการดารงชีวิต และชีวิตความเป็ นอยู่ของประชาชน
นอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพ่ือเป็ นการเล้ียงตวั เองและครอบครัวแลว้ ยงั มีส่ิงท่ีถือวา่ เป็ นภาระหนกั คือ
อาหารเพ่ือบริโภคประจาวนั จึงจาเป็ นอย่างยิ่งที่มนุษยเ์ ราจะตอ้ งสร้างข้ึนหรือมาทดแทนโดยวธิ ีการต่าง ๆ
เพ่ือการอยรู่ อด
การพฒั นาหลักสูตรอาชีพจดั ทาข้ึนโดยทาการศึกษา สารวจ และวางแนวทางการพัฒนาด้าน
โครงสร้างพ้ืนฐาน การพัฒนาเกษตรกร และการพัฒนาด้านการจัดการแบบบูรณาการ โดยใช้หลัก
กระบวนการ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาจดั กระบวนการเรียนรู้ ให้เกิดความเขม้ แข็ง และยง่ั ยืน ในการ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จึงไดจ้ ดั ทาหลกั สูตรการประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั โดยวิธีเกษตรอินทรีย์
โดยมีจุดมุ่งหมายหลกั เพ่ือให้ทอ้ งถิ่นและหน่วยงานในทอ้ งถ่ินมีส่วนร่วมในการพฒั นาอาชีพเกษตรกรรม
เป็ นการสร้างรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือนและการขยายโอกาสในการเขา้ ถึงแหล่งทุนต่าง ๆ ควบคู่กบั การ
ฟ้ื นฟู และอนุรักษธ์ รรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ไปพร้อมกบั การพฒั นาดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และมุ่งเนน้ ให้
เกษตรกรเกิดการรวมกลุ่ม และสร้างเครือข่ายระหวา่ งกลุ่มองคก์ รต่าง ๆ ในชุมชน
13
หลกั การของหลกั สูตร
หลกั สูตรการประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ สานกั งานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ชยั ภูมิ มีหลกั การดงั น้ี
1. เป็ นการจดั หลกั สูตรดา้ นเกษตรกรรม ท่ีมีความยืดหยุ่น ท้งั ดา้ นหลกั สูตร การจดั กระบวนการ
เรียนรู้ การวดั และประเมินผล เนน้ บูรณาการใหส้ อดคล้องกบั ศกั ยภาพดา้ นต่าง ๆ 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ศกั ยภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติในเขตพ้ืนที่อาเภอบา้ นเขวา้ ศกั ยภาพของพ้ืนที่ตามลกั ษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพของภูมิ
ประเทศ และทาเลที่ต้งั ของอาเภอบา้ นเขวา้ ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรมประเพณี และวถิ ีชีวิตของคนใน
เขตพ้นื ท่ีอาเภอบา้ นเขวา้ และศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษยใ์ นเขตพ้นื ท่ีอาเภอบา้ นเขวา้
2. การจดั การศึกษาการประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติมุ่งเน้นให้ผูไ้ ม่มี
อาชีพ หรือผมู้ ีอาชีพแลว้ และตอ้ งการพฒั นาอาชีพของตนใหม้ ีความมนั่ คง โดยการจดั การศึกษาเป็นไปอยา่ ง
ทวั่ ถึง เท่าเทียมกนั เนน้ ความรู้คูค่ ุณธรรม
3. ส่งเสริมใหม้ ีความร่วมมือในการดาเนินงานร่วมกบั ภาคีเครือข่าย
4. ส่งเสริมใหม้ ีการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เขา้ สู่หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
5. การจดั การเรียนรู้มุ่งเน้นการอบรมสัมมนาเพื่อพฒั นากลุ่มเป้าหมาย ผูไ้ ม่มีอาชีพหรือผทู้ ี่มีอาชีพ
แล้ว และต้องการพัฒนาอาชีพของตนเองให้มีความมั่นคง ให้มีความพร้อมที่จะทางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
จุดหมาย
หลกั สูตรการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ สานกั งานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ชยั ภูมิ มีจุดหมายดงั ตอ่ ไปน้ี
1. กลุ่มเป้าหมายสามารถประกอบอาชีพและสร้างรายไดท้ ี่มน่ั คงใหก้ บั ตนเอง
2. กลุ่มเป้าหมายตดั สินใจประกอบอาชีพใหส้ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพตนเอง ชุมชน และสังคม
3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะเก่ียวกบั การประกอบอาชีพ การบริหารจดั การ
ในอาชีพ
4. กลุ่มเป้าหมายมีโครงการประกอบอาชีพเพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบตั ิต่อไปได้
5. กลุ่มเป้าหมายมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสานึก ความรับผดิ ชอบต่อตนเอง ผอู้ ื่น และสังคม
กล่มุ เป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนกลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียน
1. ผทู้ ี่ไม่มีอาชีพ
2. ผทู้ ่ีมีอาชีพและตอ้ งการพฒั นาอาชีพ
14
ระยะเวลา
จานวน 60 ชวั่ โมง
โครงสร้างหลกั สูตร
1. ช่องการประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ จานวน 8 ชวั่ โมง
1.1 ความสาคญั ในการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
1.2 การวเิ คราะห์ความเป็ นไปไดใ้ นการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
1.2.1 การลงทุนและแหล่งทุน
1.2.2 ความตอ้ งการของตลาด
1.2.3 หลกั การตลาด
1.2.4 กรรมวธิ ี
1.2.5 การขนส่ง
1.3 แหล่งเรียนรู้
1.4 ทิศทางการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
1.4.1 ความเสี่ยงจากภยั ธรรมชาติ
1.4.2 ความคุม้ ค่าในการลงทุน
1.4.3 ความตอ้ งการดา้ นการตลาด
2. ทกั ษะเกี่ยวกบั การประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ จานวน 28 ชวั่ โมง
2.1 ข้นั การเตรียมการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
2.1.1 สถานที่/พ้นื ที่
2.1.2 การคดั เลือกสายพนั ธุ์
2.1.3 การเตรียมพ้ืนท่ีสาหรับเพาะปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
2.2 ข้นั ฝึกทกั ษะการประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
2.2.1 การเพาะปลูก
2.2.2 การดูแลบารุงรักษา/การใส่ป๋ ุย
2.2.3 การเก็บเก่ียวผลผลิต
2.2.4 การบรรจุภณั ฑ์
2.3 ข้นั การดูแลรักษาเพอื่ บริโภคหรือจาหน่าย
15
3. การบริหารจดั การในการประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
จานวน 12 ชว่ั โมง
3.1 การบริหารจดั การในการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
3.1.1 การดูแลรักษา การควบคุมคุณภาพพืชผกั
3.1.2 การลดตน้ ทุนในการผลิตพชื ผกั
3.2 การจดั การการตลาด
3.2.1 การทาฐานขอ้ มูลลูกคา้ ท่ีใชบ้ ริการ/คูแ่ ขง่
3.2.2 การโฆษณาประชาสมั พนั ธ์
3.2.3 การส่งเสริมการขายและการบริการ
3.3 การจดั การความเส่ียง
3.3.1 การวเิ คราะห์ศกั ยภาพในการประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
1) ค่าใชจ้ ่าย
2) ผลกาไร
3) คูแ่ ข่ง
4) วธิ ีการลดตน้ ทุน
3.3.2 การแกป้ ัญหาความเส่ียงในการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
4. โครงการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ จานวน 12 ชว่ั โมง
4.1 ความสาคญั ของการเขียนโครงการ
4.2 องคป์ ระกอบการทาโครงการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
4.3 เขียนโครงการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
4.4 การตรวจสอบความเป็นไปไดข้ องการประกอบอาชีพ
การจัดกระบวนการเรียนรู้
1. ศึกษาจากเอกสารและภูมิปัญญา
2. การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้
3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้
4. ฝึกปฏิบตั ิจริง
16
สื่อการเรียนรู้
1. ส่ือเอกสาร
1.1 เอกสารประกอบการเรียนรู้
1.2 ใบงาน
1.3 ใบความรู้
2. สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์
- เวบ็ ไซต์ www.doac.go.th/library/index.html
3. ภูมิปัญญา
4. สถานประกอบการ
การวดั และประเมินผล
1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฏีระหวา่ งเรียนและจบหลกั สูตร
2. การประเมินผลงานระหวา่ งเรียนจากการปฏิบตั ิ ไดผ้ ลงานที่มีคุณภาพสามารถสร้างรายได้ และ
จบหลกั สูตร
การจบหลกั สูตร
1. มีเวลาเรียน ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. มีผลการประเมินตลอดหลกั สูตรไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60
3. มีผลงานท่ีมีคุณภาพ
เอกสารหลักฐานการศึกษา
1. หลกั ฐานการประเมินผล
2. ทะเบียนคุมวฒุ ิบตั ร
3. วฒุ ิบตั ร ออกโดยสถานศึกษา
การเทยี บโอน
ผเู้ รียนที่จบหลกั สูตรน้ีสามารถนาไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กบั หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวชิ าเลือกท่ีสถานศึกษาไดจ้ ดั ทาข้ึน
รายละเอยี ดโครงสร้างหลกั สูตรการป
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
1. ช่องทางการ 1.1 บอกความสาคญั ของการ 1.1 ความสาคญั ในการประกอ
ประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั การปลูกพืชผกั เกษตรอินทรีย์
การปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ ธรรมชาติ
เกษตรอินทรีย์ 1.2 บอกความเป็นไปไดใ้ นการ 1.2 การวเิ คราะห์ความเป็ นไป
ธรรมชาติ ประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั การประกอบอาชีพการปลูกพชื
เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ ไดแ้ ก่ เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
การลงทุน แหล่งทุน ความ
ตอ้ งการของตลาด หลกั การ 1.2.1 การลงทุนและแหล่ง
ตลาด กรรมวธิ ีการผลิต และ 1.2.2 ความตอ้ งการของตล
การขนส่ง 1.2.3 หลกั การตลาด
1.3 บอกและหาแหล่งเรียนรู้ได้ 1.2.4 กรรมวธิ ี
1.4 บอกทิศทางการประกอบ 1.2.5 การขนส่ง
อาชีพการปลูกพืชผกั เกษตร 1.3 แหล่งเรียนรู้
อินทรียธ์ รรมชาติ 1.4 ทิศทางการประกอบอาชีพ
ปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรม
1.4.1 ความเสี่ยงจากภยั ธร
1.4.2 ความคุม้ ค่าในการล
17
ปลกู พืชผกั เกษตรอนิ ทรีย์ธรรมชาติ
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ช่ัวโมง
ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ
อบอาชีพ 1.1 ศึกษาขอ้ มูลจากเอกสาร ส่ืออิเล็กทรอนิกส์
สถานประกอบการ ส่ือของจริง สื่อบุคคลในชุมชน 1-
ปไดใ้ น ประเทศและโลก เพ่ือนาขอ้ มูลการคิดวเิ คราะห์และ 1-
ชผกั ใชใ้ นการประกอบอาชีพที่มีความเป็นไปไดใ้ น
งทุน ชุมชน -5
ลาด 1.2 วเิ คราะห์อาชีพการปลูกพืชผกั เกษตรอินทรีย์ 1-
ธรรมชาติจากขอ้ มูลต่าง ๆ
พการ 1.3 ศึกษาดูงานในแหล่งเรียนรู้การปลูกพืชผกั
มชาติ เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติในชุมชน
รรมชาติ 1.4 ครู ผเู้ รียน และผรู้ ู้ ร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกบั ทิศ
งทุน ทางการประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั เกษตร
อินทรียธ์ รรมชาติในรูปแบบท่ีเหมาะสมกบั ตนเอง
เช่น ลูกจา้ ง เจา้ ของกิจการ ร่วมทุน พอ่ คา้ คนกลาง
แปรรูปผลิตภณั ฑ์ ฯลฯ โดยคานึงถึงความเสี่ยงจาก
ภยั ธรรมชาติ ความคุม้ คา่ และความตอ้ งการของ
ตลาด
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
2. ทกั ษะการ 2.1 เตรียมการประกอบอาชีพ 1.4.3 ความตอ้ งการดา้ นกา
ประกอบอาชีพการ การปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรีย์
ปลูกพืชผกั เกษตร ธรรมชาติ 2.1 ข้นั การเตรียมการประกอบ
อินทรียธ์ รรมชาติ การปลูกพืชผกั เกษตรอินทรีย์
- สถานที่/พ้ืนท่ี ธรรมชาติ
- คดั เลือกสายพนั ธุ์
- เตรียมพ้ืนที่สาหรับ 2.1.1 สถานท่ี/พ้นื ที่
เพาะปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรีย์ 2.1.2 การคดั เลือกสายพนั
ธรรมชาติ 2.1.3 การเตรียมพ้ืนท่ีสาห
2.2 ฝึกทกั ษะการประกอบ เพาะปลูกพืชผกั เกษตรอินทรีย
อาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตร ธรรมชาติ
อินทรียธ์ รรมชาติ 2.2 ข้นั ฝึกทกั ษะการประกอบ
- เพาะปลูก การปลูกพืชผกั เกษตรอินทรีย์
- ดูแลบารุงรักษา/การใส่ป๋ ุย ธรรมชาติ
- เกบ็ เกี่ยวผลผลิต 2.2.1 การเพาะปลูก
- บรรจุภณั ฑ์ 2.2.2 การดูแลบารุงรักษา/
2.3 ดูแลรักษาเพื่อบริโภคหรือ 2.2.3 การเกบ็ เกี่ยวผลผลิต
จาหน่าย 2.2.4 การบรรจุภณั ฑ์
2.3 ข้นั การดูแลรักษาเพือ่ บริโ
จาหน่าย
18
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง
ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ
ารตลาด 2.1 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกบั การปลูกพชื ผกั เกษตร
บอาชีพ อินทรียธ์ รรมชาติ 2-
2.2 อภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้การปลูกพชื ผกั
นธุ์ เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ 2 22
หรับ 2.3 จดั ทาแผนการฝึกทกั ษะการประกอบอาชีพ
ย์ 2.4 ดาเนินการเรียนรู้และฝึกทกั ษะตามหลกั สูตร
2.5 จดบนั ทึกผลการเรียนรู้
บอาชีพ 2.6 ดาเนินการวดั ผลประเมินผลตามที่หลกั สูตร
กาหนด
/การใส่ป๋ ุย 2-
ต
โภคหรือ
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
3. การบริหาร 3.1 บริหารจดั การในการ 3.1 การบริหารจดั การในการป
จดั การในการ
ประกอบอาชีพการ ประกอบอาชีพการปลูกพืชผกั อาชีพการปลูกพืชผกั เกษตรอิน
ปลูกพชื ผกั เกษตร
อินทรียธ์ รรมชาติ เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ ธรรมชาติ
- ดูแลรักษา คุณภาพพืชผกั 3.1.1 การดูแลรักษา การค
- ลดตน้ ทุนในการผลิตพืชผกั คุณภาพพชื ผกั
3.2 จดั การการตลาด 3.1.2 การลดตน้ ทุนในการ
- ทาฐานขอ้ มูลลูกคา้ ที่ใช้ พชื ผกั
บริการ/คู่แขง่ 3.2 การจดั การการตลาด
- โฆษณาประชาสมั พนั ธ์ 3.2.1 การทาฐานขอ้ มูลลูก
- ส่งเสริมการขายและ บริการ/คู่แข่ง
การบริการ 3.2.2 การโฆษณาประชาส
3.3 จดั การความเสี่ยง 3.2.3 การส่งเสริมการขายแ
3.3.1 วเิ คราะห์ศกั ยภาพใน การบริการ
การประกอบอาชีพการปลูก 3.3 การจดั การความเส่ียง
พชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ 3.3.1 การวเิ คราะห์ศกั ยภา
3.3.2 แกป้ ัญหาความเส่ียงใน การประกอบอาชีพการปลูกพชื
การประกอบอาชีพการปลูก เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
พชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ 1) ค่าใชจ้ า่ ย
19
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง
ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ
ประกอบ 3.1 การบริหารจดั การ จดั ใหผ้ เู้ รียน
นทรีย์ 3.1.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกบั การบริหารจดั การ 22
3.1.2 การกาหนดและควบคุมคุณภาพผลผลิตที่ 22
ควบคุม ตอ้ งการ
22
3.1.3 ศึกษาการลดตน้ ทุนการผลิตแต่คุณภาพ
รผลิต คงเดิม
3.1.4 ศึกษาวเิ คราะห์ปัจจยั ความเส่ียงที่คาดวา่
จะเกิดข้ึนและมีแนวทางในการจดั การความเส่ียง
กคา้ ท่ีใช้ 3.2 การบริหารจดั การการตลาด
3.2.1 ศึกษาขอ้ มูลการตลาดและวเิ คราะห์ความ
สัมพนั ธ์ ตอ้ งการของตลาดในชุมชน
และ 3.2.2 กาหนดทิศทาง เป้าหมาย กลยทุ ธ์ และ
แผนการตลาด
3.2.3 ดาเนินการตามกระบวนการจดั การตลาด
าพใน เช่น การคิดตน้ ทุนการผลิต กาหนดราคาขาย การ
ชผกั ส่งเสริมการขาย การกระจายสินคา้
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
4. โครงการ 4.1 บอกความสาคญั ของ 2) ผลกาไร
ประกอบอาชีพการ โครงการอาชีพการปลูกพชื ผกั 3) คู่แขง่
ปลูกพืชผกั เกษตร เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติได้ 4) วธิ ีการลดตน้ ทุน
อินทรียธ์ รรมชาติ 4.2. บอกประโยชน์ของ 3.3.2 การแกป้ ัญหาความเส
โครงการอาชีพการปลูกพืชผกั การประกอบอาชีพการปลูกพชื
เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติได้ เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติ
4.3 บอกองคป์ ระกอบของ 4.1 ความสาคญั ของโครงการ
โครงการอาชีพการปลูกพืชผกั การปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์
เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติได้ 4.2 ประโยชน์ของโครงการอา
4.4 อธิบายความหมายของ ปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรียธ์ รรม
องคป์ ระกอบของโครงการ 4.3 องคป์ ระกอบของโครงงาน
อาชีพการปลูกพืชผกั เกษตร การปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์
4.4 การเขียนโครงการอาชีพก
พืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรมชาต
4.5 การประเมินความเหมาะส
สอดคลอ้ งของโครงการอาชีพ
ปลูกพืชผกั เกษตรอินทรียธ์ รรม
การจัดกระบวนการเรียนรู้ 20
ช่ัวโมง
ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ
สี่ยงใน
ชผกั
รอาชีพ 4.1 จดั ใหผ้ เู้ รียนศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ เร่ือง ½ -
ธรรมชาติ ความสาคญั ของโครงการอาชีพ ประโยชน์ของ ½ -
าชีพการ โครงการอาชีพ องคป์ ระกอบของโครงการอาชีพ 1 -
มชาติ แลว้ จดั กิจกรรมการสนทนาแลกเปลี่ยนขอ้ มูลความ 1 6
นอาชีพ คิดเห็น เพื่อสร้างแนวคิดในการดาเนินกิจกรรมการ - 3
ธรรมชาติ เรียนรู้
การปลูก 4.2 จดั ใหผ้ เู้ รียนศึกษาสาระขอ้ มูลจากใบความรู้
ติ เรื่อง ตวั อยา่ งการเขียนโครงการอาชีพที่ดี
สมและ เหมาะสม และถูกตอ้ ง พร้อมจดั การอภิปราย เพ่ือ
พการ สรุปแนวคิดเป็ นแนวทางในการเขียนโครงการ
มชาติ อาชีพที่ดี เหมาะสม และถูกตอ้ ง
4.3 จดั ให้ผูเ้ รียนฝึ กปฏิบตั ิ การเขียนโครงการอาชีพ
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
อินทรียธ์ รรมชาติได้
4.5 อธิบายลกั ษณะการเขียนท่ี
ดีขององคป์ ระกอบของ
โครงการอาชีพการปลูกพชื ผกั
เกษตรอินทรียธ์ รรมชาติได้
4.6 เขียนโครงการในแต่ละ
องคป์ ระกอบให้เหมาะสมและ
ถูกตอ้ งได้
4.7 ตรวจสอบความเหมาะสม
และสอดคลอ้ งของโครงการ
อาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตร
อินทรียธ์ รรมชาติได้
21
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง
ทฤษฏี ปฏบิ ตั ิ
4.4 กาหนดใหผ้ เู้ รียนฝึกปฏิบตั ิการประเมินความ
เหมาะสมและสอดคลอ้ งของโครงการอาชีพ
4.5 จดั ให้ผูเ้ รียนปรับปรุงโครงการอาชีพ ให้มี
ความเหมาะสมและถูกตอ้ ง
4.6 กาหนดใหผ้ เู้ รียนเขียนโครงการอาชีพของ
ตนเอง เพ่ือเสนอขอรับการสนบั สนุนงบประมาณ
ดาเนินงานอาชีพ และใชใ้ นการดาเนินการประกอบ
อาชีพต่อไป
22
หลกั สูตรการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
จานวน 85 ชั่วโมง
กล่มุ อาชีพเกษตรกรรม
ความเป็ นมา
การจดั การศึกษาอาชีพในปัจจุบนั มีความสาคญั มาก เพราะจะเป็นการพฒั นาประชากรของประเทศ
ใหม้ ีความรู้ ความสามารถและทกั ษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแกป้ ัญหาการวา่ งงานและส่งเสริมความ
เขม้ แขง็ ใหแ้ ก่เศรษฐกิจชุมชน ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์ 2555 ภายใตก้ รอบเวลา 2 ปี ท่ี
จะพฒั นา 5 ศกั ยภาพของพ้ืนที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ใหส้ ามารถแขง่ ขนั ไดใ้ น 5 ภูมิภาคหลกั ของโลก “รู้เขา รู้
เรา เท่าทนั เพื่อแข่งขนั ไดใ้ นเวทีโลก” โดยไดก้ าหนดภารกิจจะพฒั นายกระดบั การจดั การศึกษาเพ่อื เพม่ิ
ศกั ยภาพและขีดความ สามารถใหป้ ระชาชนไดม้ ีอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้ ที่มนั่ คง มงั่ คงั่ และมีงานทา
อยา่ งยง่ั ยนื สานกั งาน กศน.จึงไดก้ าหนดหลกั การในการจดั ทาแผนพฒั นาการศึกษาอาชีพเพอื่ การมีงานทาไว้
วา่ ตอ้ งเป็นการดาเนินงานที่มีความยดื หยนุ่ ดา้ นหลกั สูตร การจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล
รวมท้งั เนน้ การบูรณาการให้สอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพดา้ นต่างๆ ตลอดจนมีความสามารถเชิงการแขง่ ขนั ท้งั ใน
ระดบั ภูมิภาคอาเซียนและระดบั สากล
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เป็ นอู่ขา้ วอู่น้าที่สาคญั ของโลก ผลิตสินคา้ ทางการเกษตร
สาหรับการบริโภคท้งั ภายในประเทศ และส่งเป็นสินคา้ ออก ดงั น้นั การจดั ทาหลกั สูตรอาชีพที่เกี่ยวขอ้ งกบั
สาขาการเกษตรจึงนบั วา่ มีความสาคญั อยา่ งยง่ิ อาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า นางรม เป็นอาชีพหน่ึงท่ีน่าสนใจ
และน่าลงทุน เน่ืองจากใหผ้ ลผลิตเร็วมีการดูแลรักษาที่ไม่ยาก นอกจากน้ีใหผ้ ลผลิตทางการเกษตรซ่ึงมี
คุณคา่ ทางอาหารสูง สามารถบริโภคไดท้ ุกเพศทุกวยั ปัจจุบนั มีการแปรรูปเป็นอาหารหลากหลายรูปแบบ
นิยมบริโภคกนั ในช่วงเทศกาลกินเจ และววิ ฒั นาการทางการแพทยม์ ีการนาเห็ดนางฟ้า-นางรมมาปรุงเป็น
ส่วนประกอบของยาสมุนไพร จึงมีหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั อาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม หรือ
หน่วยงานที่รับผดิ ชอบในดา้ นการพฒั นาคน โดยเฉพาะหน่วยงานทางการศึกษาเกิดข้ึน มีหนา้ ที่จดั
การศึกษาและส่งเสริมใหป้ ระชาชนเกิดความสนใจในการประกอบอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม เพมิ่ ข้ึน
สานกั งาน กศน.ไดต้ ระหนกั ถึงความสาคญั ของการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม ใน
ฐานะที่เป็นหน่วยงานสนบั สนุนดา้ นการจดั การศึกษาใหก้ บั กลุ่มเป้าหมาย คือ ผไู้ มม่ ีอาชีพ หรือผมู้ ีอาชีพ
และตอ้ งการพฒั นาอาชีพของตนใหม้ ีความมนั่ คง จึงไดจ้ ดั ทาหลกั สูตรการประกอบอาชีพการเพาะเห็ด
นางฟ้า -นางรมข้ึน โดยเนน้ ใหก้ ลุ่มเป้าหมายสามารถประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม และมีงาน
ทาอยา่ งมน่ั คง
ดงั น้นั หลกั สูตรการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม ท่ีสานกั งานส่งเสริมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ไดพ้ ฒั นาข้ึน มีโครงสร้างหลกั สูตรประกอบไปดว้ ย (1) ช่องทางการ
23
ประกอบอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม (2) ทกั ษะการประกอบอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม (3) การ
บริหารจดั การการประกอบอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม และ (4) โครงการประกอบอาชีพเพาะเห็ด
นางฟ้า – นางรม โดยเนน้ ใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิจริง และประเมินผลตามสภาพจริง จึงทาใหผ้ เู้ รียนเกิดทกั ษะ
ในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม และมีอาชีพอยา่ งมน่ั คง
หลกั การของหลกั สูตร
หลกั สูตรการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม มีหลกั การดงั น้ี
1. เป็นการจดั หลกั สูตรดา้ นเกษตรกรรม ที่มีความยดื หยุน่ ท้งั ดา้ นหลกั สูตร การจดั กระบวนการ
เรียนรู้ การวดั และประเมินผล เนน้ บูรณาการใหส้ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพดา้ นตา่ งๆ 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ศกั ยภาพ
ของทรัพยากรธรรมชาติในเขตพ้นื ที่ใหบ้ ริการ ศกั ยภาพของพ้ืนท่ีตามลกั ษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพของภูมิ
ประเทศ และทาเลที่ต้งั ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษย์
ในเขตพ้ืนที่
2. การจดั การศึกษาการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม มุ่งเนน้ ใหผ้ ไู้ ม่มีอาชีพ ผมู้ ี
อาชีพแลว้ และตอ้ งการพฒั นาอาชีพของตนใหม้ ีความมนั่ คง รวมท้งั ผปู้ ระสบภยั โดยจดั การศึกษาอยา่ ง
ทว่ั ถึงเท่าเทียมกนั และเนน้ ความรู้คูค่ ุณธรรม
3. ส่งเสริมใหม้ ีความร่วมมือในการดาเนินงานร่วมกบั ภาคีเครือข่าย
4. ส่งเสริมใหม้ ีการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เขา้ สู่หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
5. การจดั การเรียนรู้ มุ่งเนน้ การอบรมสมั มนา เพือ่ พฒั นากลุ่มเป้าหมายผไู้ ม่มีอาชีพ หรือผทู้ ่ีมี
อาชีพแลว้ และตอ้ งการพฒั นาอาชีพของตนใหม้ ีความมนั่ คง ใหม้ ีความพร้อมท่ีจะทางานไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
จุดมุ่งหมาย
หลกั สูตรการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม มีจุดมุง่ หมาย ดงั ต่อไปน้ี
1. กลุ่มเป้าหมายตดั สินใจประกอบอาชีพให้สอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพตนเอง ชุมชน สังคม และ
ส่ิงแวดลอ้ ม
2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทกั ษะการประกอบอาชีพและบริหารจดั การอาชีพเพาะ
เห็ดนางฟ้า นางรมไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
3. กลุ่มเป้าหมาย มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสานึกความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ผอู้ ื่น และสงั คม
24
กลุ่มเป้าหมาย
หลกั สูตรการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม มีกลุ่มเป้าหมายคือ
1. ผทู้ ่ีไม่มีอาชีพ
2. ผูท้ ี่มีอาชีพและตอ้ งการพฒั นาอาชีพโดยเฉพาะ ผูป้ ระกอบการ SME,OTOP และผูป้ ระกอบ
อาชีพทว่ั ไป
ระยะเวลา
ระยะเวลาเรียนตลอดหลกั สูตร จานวน 85 ชว่ั โมง แบง่ เป็น
1. ภาคทฤษฎี จานวน 25 ชวั่ โมง
2. ภาคปฏิบตั ิ จานวน 60 ชว่ั โมง
โครงสร้างหลกั สูตร
หลกั สูตรการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศยั มีโครงสร้างหลกั สูตรดงั น้ี
1. ช่องทางการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
1.1 ความสาคญั ของการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
1.2 ความเป็นไปไดใ้ นการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
1.2.1 ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั การประกอบอาชีพเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
1.2.2 ลกั ษณะของผบู้ ริโภค
1.2.3 ลกั ษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศที่เกี่ยวขอ้ ง
1.3 แหล่งเรียนรู้ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
1.4 ทิศทางการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
2. ทกั ษะการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
2.1 ข้นั เตรียมการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
2.1.1 การสร้างโรงเรือน
2.1.2 การเตรียมวสั ดุทากอ้ นเห็ด
2.1.3 การเตรียมวสั ดุเพาะเช้ือเห็ดนางฟ้า – นางรม
2.1.4 การเพาะเช้ือเห็ด
2.2 ข้นั ตอนการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
2.2.1 การแยกเช้ือเห็ดและการเล้ียงเช้ือเห็ดบนอาหารวุน้
2.2.2 การทาหวั เช้ือเห็ดนางฟ้า – นางรม
25
2.2.3 การทากอ้ นเช้ือบรรจุในถุงพลาสติก
2.2.4 การเพาะเห็ดใหเ้ กิดดอก
2.3 ข้นั การเกบ็ ดอกและดูแลรักษาเห็ดนางฟ้า – นางรม เพื่อการบริโภคและจาหน่าย
3. การบริหารจดั การในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
3.1 สามารถบริหารจดั การในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
3.1.1 การจดั การเกี่ยวกบั การควบคุมคุณภาพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
3.1.2 การคิดคานวณตน้ ทุนการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
3.1.3 การวางแผนการผลิต
3.2 การจดั การตลาดในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
3.2.1 การจดั ทาฐานขอ้ มูลลูกคา้
3.2.2 การกระจายผลผลิตเห็ดนางฟ้า – นางรม ไปสู่ผบู้ ริโภค
3.2.3 การวางแผนการตลาด
3.3 การจดั การความเสี่ยงท่ีจะเกิดข้ึนกบั การประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
3.3.1 การวเิ คราะห์ศกั ยภาพในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
1) ความตอ้ งการของลูกคา้
2) การขาดแคลนวสั ดุเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
3) คา่ ใชจ้ า่ ยในการทาโรงเรือนและการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
4) คูแ่ ข่งทางการผลิตและจาหน่ายเห็ดนางฟ้า – นางรม
3.3.2 การแกป้ ัญหาความเส่ียงในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
4. โครงการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
4.1 ความหมายของโครงการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
4.2 องคป์ ระกอบของโครงการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
4.3 การเขียนโครงการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
4.4 การตรวจสอบความเป็นไปไดข้ องการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
เพ่ือการมีงานทาอยา่ งมนั่ คง
การจัดกระบวนการเรียนรู้
- ศึกษาขอ้ มูลจากเอกสาร /ภูมิปัญญา
- การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ฝึกปฏิบตั ิจริง
26
สื่อการเรียนรู้
1. เอกสาร/ใบความรู้
2. ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้
3. ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ตา่ ง ๆ เช่น VCD , DVD ,อินเตอร์เน็ต
4. ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น
5. ฝึกปฏิบตั ิจริง
การวดั และประเมินผล
1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหวา่ งเรียนและจบหลกั สูตร
2. การประเมินผลงานระหวา่ งเรียนจากการปฏิบตั ิ ไดผ้ ลงานท่ีมีคุณภาพสามารถสร้างรายได้ และ
จบหลกั สูตร
การจบหลกั สูตร
1. มีเวลาเรียน ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. มีผลการประเมินตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60
3. มีผลงานที่มีคุณภาพ
เอกสารหลักฐานการศึกษา
1. หลกั ฐานการประเมินผล
2. ทะเบียนคุมวฒุ ิบตั ร
3. วฒุ ิบตั ร ออกโดยสถานศึกษา
การเทยี บโอน
ผเู้ รียนท่ีจบหลกั สูตรน้ีสามารถนาไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กบั หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวชิ าเลือกท่ีสถานศึกษาไดจ้ ดั ทาข้ึน
รายละเอยี ดโครงสร้างหลกั สูตร
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
1.ช่องทางการ 1.1 ความสาคญั ของการประกอบ 1.1 ความสาคญั ของการประ
ประกอบอาชีพ
อาชีพ 1.2 ความเป็นไปไดใ้ นการป
1.2 ความเป็นไปไดใ้ นการ อาชีพ
ประกอบอาชีพ 1.3 แหล่งเรียนรู้ที่เกี่ยวขอ้ งก
1.3 บอกและหาแหล่งเรียนรู้ ประกอบอาชีพการเพาะเห็ดน
1.4 บอกทิศทางการประกอบ นางรม
อาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – 1.4 ทิศทางการประกอบอาช
นางรม เห็ดนางฟ้า – นางรม
27
รการเพาะเหด็ นางฟ้า – นางรม
ะกอบอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง
ประกอบ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
1.1 ศึกษาขอ้ มูลจากเอกสาร ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์
กบั การ สถานประกอบการ สื่อของจริง ส่ือบุคคลใน 1-
นางฟ้า – ชุมชน ประเทศ และโลก เพอื่ นาขอ้ มูลมาคิด 1-
วเิ คราะห์ และใชใ้ นการประกอบอาชีพการ
ชีพการเพาะ เพาะเห็ดนางฟ้า – นางรมในชุมชน -7
1.2วเิ คราะห์อาชีพที่เกี่ยวขอ้ งกบั การเพาะเห็ด
นางฟ้า นางรม ท่ีพบไดใ้ นชุมชน จากขอ้ มูล 1-
ต่างๆ
1.3ศึกษาดูงานในสถานประกอบการ แหล่ง
เรียนรู้ตา่ งๆในอาชีพท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การเพาะ
เห็ดนางฟ้า นางรม เพือ่ รู้ทิศทางประกอบอาชีพ
ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
โดยใชก้ ระบวนการคิดเป็ นและความเป็นไปได้
ตามศกั ยภาพ 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ศกั ยภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติในแตล่ ะพ้นื ท่ี ศกั ยภาพ
ของพ้ืนท่ีตามลกั ษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพของ
เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
2.ทกั ษะการ 1. เตรียมการประกอบอาชีพ 2.1 ข้นั เตรียมการประกอบอ
ประกอบอาชีพ
ไดแ้ ก่ เพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
- สร้างโรงเรือน 2.1.1 การสร้างโรงเรือน
- เตรียมวสั ดุทากอ้ นเห็ด 2.1.2 การเตรียมวสั ดุทาก
- เตรียมวสั ดุเพาะเช้ือเห็ดนางฟ้า 2.1.3 การเตรียมวสั ดุเพาะ
– นางรม นางฟ้า – นางรม
- เพาะเช้ือเห็ด 2.1.4 การเพาะเช้ือเห็ด
28
อาชีพการ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ช่ัวโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
น ภูมิประเทศของจงั หวดั ศกั ยภาพของศิลปะ
กอ้ นเห็ด วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ ของจงั หวดั 4-
ะเช้ือเห็ด และศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษยใ์ นจงั หวดั
1.4 ครู ผเู้ รียน และผรู้ ู้ ร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกบั
ทิศทางการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า
– นางรม ในรูปแบบที่เหมาะสมกบั ตนเอง เช่น
ลูกจา้ ง เจา้ ของกิจการ ร่วมทุน พอ่ คา้ คนกลาง
แปรรูปผลิตภณั ฑ์ ฯลฯ โดยคานึงถึงความเส่ียง
จากภยั ธรรมชาติ ความคุม้ ค่า และความ
ตอ้ งการของตลาด
1. ศึกษาขอ้ มูล เรียนรู้ขอบข่ายการประกอบ
อาชีพท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การเพาะเห็ดนางฟ้า –
นางรม จากสื่อต่างๆ ท้งั เอกสาร ส่ือบุคคล ส่ือ
อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ
2.ศึกษาแหล่งเรียนรู้เก่ียวกบั อาชีพที่เลือกการ
เพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
3 ฝึกทกั ษะการประกอบอาชีพเกี่ยวขอ้ งกบั
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
2. การเพาะเห็ดนางฟ้า นางรม 2.2 ข้นั ตอนการเพาะเห็ดนาง
ไดแ้ ก่ นางรม
- แยกเช้ือเห็ดและการเล้ียง 2.2.1 การแยกเช้ือเห็ดแล
เน้ือเยอื่ บนอาหารวนุ้ P.D.A เช้ือเห็ดบนอาหารวนุ้
- ทาหวั เช้ือเห็ดนางฟ้า นางรม 2.2.2 การทาหวั เช้ือเห็ดน
- ทากอ้ นเช้ือบรรจุถุงพลาสติก นางรม
- เพาะเห็ดใหเ้ กิดดอก 2.2.3 การทากอ้ นเช้ือบรร
3. เก็บดอกและดูแลรักษาเห็ด ถุงพลาสติก
นางฟ้า – นางรม เพื่อการบริโภค 2.2.4 การเพาะเห็ดใหเ้ กิด
และจาหน่าย 2.3 ข้นั การเก็บดอกและดูแลร
นางฟ้า – นางรม เพื่อการบริโ
จาหน่าย
3.การบริหารจดั การ -สามารถวิเคราะห์ความต้องการ 3.1 การบริหารจดั การในการ
ในอาชีพ ของตลาดได้ อาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – น
-สามารถคิดคานวณต้นทุน ผล จานวน 4 ชวั่ โมง
กาไร/ขาดทุนได้ 3.1.1 สามารถบริหารจดั
-ส ามารถวางแผน การจัดการ ประกอบอาชีพการเพาะเห็ดน
เก่ียวกบั ผลผลิตได้ นางรม
29
งฟ้า – การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง
ละการเล้ียง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
นางฟ้า – การเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
4 ดาเนินการเรียนรู้และฝึกทกั ษะตามหลกั สูตร 3 30
เก่ียวขอ้ งกบั การเพาะเห็ดนางฟ้า – นางรม
5.ซกั ถาม / แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์
6.จดบนั ทึกผลการเรียนรู้
รจุใน
ดดอก 35
รักษาเห็ด
โภคและ
รประกอบ 1. ศึกษาขอ้ มูลการตลาด และวเิ คราะห์ความ 3 5
นางรม ตอ้ งการของตลาดในชุมชน ประเทศและโลก
จากส่ือตา่ งๆ ท้งั เอกสาร ส่ือบุคคล ส่ือ
ดการในการ อิเลก็ ทรอนิกส์ตา่ ง ๆและแหล่งเรียนรู้
นางฟ้า – 2. แบง่ กลุ่มศึกษาวเิ คราะห์และระดมความ
คิดเห็นเก่ียวกบั ปัจจยั ความเส่ียงที่คาดวา่ จะ
เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
-สามารถวเิ คราะห์และ 3.1.2 การจดั การเกี่ยวกบั
บอกวธิ ีแกป้ ัญหาความเสี่ยงใน คุณภาพการเพาะเห็ดนางฟ้า –
การประกอบอาชีพได้
- บอกวธิ ีการป้องกนั ปัญหาที่เกิด 3.1.3 การคิดคานวณตน้ ท
จากความเสี่ยง เห็ดนางฟ้า – นางรม
3.1.3 การวางแผนการผล
3.2 การจดั การตลาดในกา
อาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า – น
3.2.1 การจดั ทาฐานขอ้ ม
3.2.2 การกระจายผลผลิต
นางฟ้า – นางรม ไปสู่ผบู้ ริโภ
3.2.3 การวางแผนการตล
3.3 การจดั การความเส่ียง
ข้ึนกบั การประกอบอาชีพการ
นางฟ้า – นางรม
3.3.1 การวเิ คราะห์ศกั ยภ
ประกอบอาชีพการเพาะเห็ดน
นางรม
1) ความตอ้ งการขอ
30
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ช่ัวโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
บการควบคุม เกิดข้ึน รวมท้งั หาแนวทางในการจดั การความ
– นางรม เสี่ยง 64
ทุนการเพาะ 3. ฝึกปฏิบตั ิการคิดคานวณตน้ ทุน กาไร การ
จดั ทาบญั ชีฟาร์ม การกาหนดราคา การ
ลิต ส่งเสริมการขาย การกระจายสินคา้
ารประกอบ 4.ร่วมกนั อภิปราย /เสวนาแลกเปล่ียนเรียนรู้ในช้นั
นางรม เรียน
มูลลูกคา้
ตเห็ด
ภค
ลาด
งที่จะเกิด
รเพาะเห็ด
ภาพในการ
นางฟ้า –
องลูกคา้
เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา
4. โครงการประกอบ 4.1 บอกความสาคญั ของ 2) การขาดแคลนวสั
อาชีพการเพาะเห็ด โครงการอาชีพได้ นางฟ้า-นางรม
นางฟ้า – นางรม 4.2 บอกประโยชน์ของโครงการ
อาชีพได้ 3) คา่ ใชจ้ า่ ยในการท
4.3 บอกองคป์ ระกอบของ และการเพาะเห็ดนางฟ้า – นา
โครงการอาชีพได้
4.4 อธิบายความหมายของ 4) คูแ่ ขง่ ทางการผล
องคป์ ระกอบของโครงการอาชีพ จาหน่ายเห็ดนางฟ้า – นางรม
ได้
3.3.2 การแกป้ ัญหาความ
การประกอบอาชีพการเพาะเ
– นางรม
4.1 ความสาคญั ของโครงกา
4.2 ประโยชนข์ องโครงการอ
4.3 องคป์ ระกอบของโครงก
4.4 การเขียนโครงการอาชีพ
4.5 การประเมินการเหมาะส
สอดคลอ้ งของโครงการอาชีพ
31
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ช่ัวโมง
ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
สดุเพาะเห็ด
ทาโรงเรือน
างรม
ลิตและ
ม
มเส่ียงใน
เห็ดนางฟ้า
ารอาชีพ 4.1 จดั ใหผ้ เู้ รียนศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ ½ -
อาชีพ เร่ืองความสาคญั ของโครงการอาชีพประโยชน์ ½ -
การอาชีพ ของโครงการอาชีพ องคป์ ระกอบของ 1 -
พ โครงการอาชีพ แลว้ จดั กิจกรรมการสนทนา 1 6
สมและ แลกเปล่ียนขอ้ มูลความคิดเห็น เพ่อื สร้าง - 3
พ แนวคิดในการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้
4.2 จดั ใหผ้ เู้ รียนศึกษาสาระขอ้ มูลจากใบ
ความรู้เรื่องตวั อยา่ งการเขียนโครงการอาชีพที่
ดี เหมาะสม และถูกตอ้ ง พร้อมการจดั อภิปราย