แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
1
แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
คานา
การพัฒนาพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกจาเป็นต้องมีการกาหนดกรอบนโยบายและแผนใน
ภาพรวมท่ีครอบคลุมถึงการวางแผนการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ และ
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและเป็นมาตรฐานสากลเพื่อดึงดูดการค้า การลงทุน และการอยูอาศัย ซ่ึงการ
ประชุมคณะกรรมการนโยบาย คร้ังที่ ๒/๒๕๖๐ เมื่อวันท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๐ นายกรัฐมนตรี มีข้อส่ังการ
มอบหมายให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและหน่วยงานท่เี ก่ียวจัดทาแผนส่งิ แวดล้อม เพื่อให้
เกดิ ความมน่ั ใจเร่ืองสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก โดย แผนสิ่งแวดล้อมฯ จึงถือเปน็ กรอบ
แนวทางการดาเนินงานในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนที่ EEC ในภาพรวม เมื่อ
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมดาเนนิ การจัดทาแผนแล้วเสรจ็ ใหจ้ ัดส่ง สกรศ. เพื่อรวบรวมและ
นาเสนอ กรศ. พจิ ารณา ต่อไป
แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ จะส้ินสุดระยะเวลาการ
ดาเนินงานในปี ๒๕๖๔ ดังนน้ั เพ่ือเป็นการเตรียมการใหแ้ ผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
เกิดความต่อเน่ืองในการดาเนินการ พร้อมทั้ง มีข้อมูลสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีเป็น
ปัจจุบันบนพื้นฐานที่สอดคล้องกับขอ้ เท็จจรงิ ในพื้นท่ี และรองรับผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่เร่ิมดาเนินการ
ไปแล้วบางส่วน และที่จะเกิดข้ึนในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ สานักงานนโยบายฯ จึงเห็นควรจัดทา
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) ท่ีเป็นการดาเนินงานเพ่ือ
สนับสนุนและส่งเสริมเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็นที่ ๙ เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ แผนยอ่ ยการพฒั นาเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
ธันวาคม ๒๕๖๔
ก
แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สารบัญ
เรอ่ื ง หน้า
คานา .............................................................................................................................................................. ก
สารบญั ........................................................................................................................................................... ข
สว่ นที่ ๑ สรปุ สาระสาคญั แผนสิง่ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ -
๒๕๗๐ ..................................................................................................................................................... ๑ - ๑
๑. หลักการและเหตผุ ล........................................................................................................................ ๑ - ๑
๒. กรอบแนวคดิ .................................................................................................................................. ๑ - ๒
๓. พ้นื ที่เป้าหมาย ................................................................................................................................ ๑ - ๔
๔. วสิ ัยทัศน์......................................................................................................................................... ๑ - ๔
๖. วตั ถุประสงค์ ................................................................................................................................... ๑ - ๕
๗. เปา้ ประสงค์ .................................................................................................................................... ๑ - ๕
๘. ยุทธศาสตร์แผนสิ่งแวดล้อมในเขตพืน้ ท่ีพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐............ ๑ - ๕
๙. การขับเคลอ่ื นแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐........ ๑ - ๘
สว่ นที่ ๒ แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐...... ๒ - ๑
๑. หลกั การและเหตุผล........................................................................................................................ ๒ - ๑
๒. กรอบแนวทางการดาเนนิ งาน.......................................................................................................... ๒ - ๒
๓. แรงกดดัน (Pressure)..................................................................................................................... ๒ - ๓
๔. การประเมินศักยภาพในการรองรบั ของทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ................................ ๒ - ๑๙
๕. การบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม................................................................. ๒ - ๒๐
๖. ปจั จัยแวดลอ้ มที่มีผลตอ่ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ........................... ๒ - ๓๓
๗. การวิเคราะห์ SWOT ของพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ................................................... ๒ - ๓๕
๘. การวิเคราะห์ TOWS และ SOAR เพือ่ กาหนดวัตถุประสงค์ และเป้าประสงค์ ของแผน ............... ๒ - ๔๒
๙. แนวคดิ และหลักการ .................................................................................................................... ๒ - ๔๔
๑๐. แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐.... ๒ - ๔๗
สว่ นที่ ๓ แผนสิ่งแวดลอ้ ม (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - พ.ศ. ๒๕๗๐ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา............................ ๓ - ๑
๑. หลักการและเหตุผล........................................................................................................................ ๓ - ๑
๒. สภาพทางกายภาพ เศรษฐกจิ ประชากร จังหวดั ฉะเชงิ เทรา........................................................... ๓ - ๑
๓. โครงการพฒั นาในพน้ื ท่ี................................................................................................................... ๓ - ๓
๔. สถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ............................................................................. ๓ - ๓
๕. ปจั จัยแวดลอ้ มทม่ี ผี ลต่อการบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม............................. ๓ - ๙
๖. การวิเคราะห์ SWOT & TOWS และ SOAR Analysis ................................................................ ๓ - ๒๔
ข
แผนส่งิ แวดลอ้ มในพนื้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๗. ทศิ ทางและนโยบายการพัฒนาของจังหวัดฉะเชงิ เทรา.................................................................. ๓ - ๒๗
๘. แผนสง่ิ แวดล้อม จังหวดั ฉะเชิงเทรา (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ...................................... ๓ - ๒๙
สว่ นที่ ๔ แผนสง่ิ แวดลอ้ ม จงั หวัดชลบุรี (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐............................................ ๔ - ๑
๑. หลกั การและเหตผุ ล........................................................................................................................ ๔ - ๑
๒. สภาพทางกายภาพ เศรษฐกจิ ประชากร จังหวดั ชลบรุ ี ................................................................... ๔ - ๑
๓. โครงการพฒั นาในพ้ืนที่................................................................................................................... ๔ - ๓
๔. สถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ............................................................................. ๔ - ๔
๕. ปัจจัยแวดลอ้ มท่มี ผี ลตอ่ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม .............................. ๔ - ๗
๖. การวเิ คราะห์ SWOT & TOWS และ SOAR Analysis ................................................................ ๔ - ๒๓
๗. ทิศทางและนโยบายการพัฒนาของจงั หวัดชลบรุ ี ........................................................................ ๔ - ๒๗
๘. แผนสิง่ แวดลอ้ ม จงั หวัดชลบรุ ี (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ............................................. ๔ - ๒๘
สว่ นท่ี ๕ แผนสิง่ แวดลอ้ ม จังหวดั ระยอง (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐........................................... ๕ - ๑
๑. หลักการและเหตุผล........................................................................................................................ ๕ - ๑
๒. สภาพทางกายภาพ เศรษฐกิจ ประชากร......................................................................................... ๕ - ๑
๓. โครงการพฒั นาในพื้นที่................................................................................................................... ๕ - ๓
๔. สถานการณท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม............................................................................ ๕ - ๔
๕. ปจั จัยแวดลอ้ มทมี่ ีผลต่อการบรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ........................... ๕ - ๑๐
๖. การวเิ คราะห์ SWOT & TOWS และ SOAR Analysis ................................................................ ๕ - ๒๗
๗. ทิศทางและนโยบายการพัฒนาของจงั หวัดระยอง ........................................................................ ๕ - ๒๙
๘. แผนสง่ิ แวดล้อม จงั หวัดระยอง (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐............................................ ๕ - ๓๑
สว่ นที่ ๖ การขบั เคลอื่ นแผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ –
๒๕๗๐ ..................................................................................................................................................... ๖ - ๑
๑. กลไกในการขบั เคล่ือนและแปลงแผนไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ ....................................................................... ๖ - ๑
๒. ประเด็นที่มีความสาคัญในระดบั พ้นื ทีซ่ ึง่ ควรดาเนินการเรง่ ด่วน (Flagship Projects) และผลักดันใน
ระดบั นโยบาย...................................................................................................................................... ๖ - ๔
๓. การขับเคล่ือนแผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐..... ๖ - ๑๑
๔. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย ............................................................................................................ ๖ - ๑๒
ส่วนท่ี ๗ ระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจัดการ (Management Information System: MIS). ๗ - ๑
๑. บทนา ............................................................................................................................................ ๗ – ๑
๒. ภาพรวมทางานของระบบข้อมลู สารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจัดการ .................................................. ๗ - ๑
๓. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ ม............................................................. ๗ - ๔
บรรณานุกรม .........................................................................................................................บรรณานุกรม - ๑
ภาคผนวก ก..............................................................................................................................................ก - ๑
ค
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ความเช่ือมโยงแผนงานท่ีเก่ยี วข้อง ........................................................................................................ก - ๑
ภาคผนวก ข..............................................................................................................................................ข - ๑
อกั ษรย่อช่อื หน่วยงาน...........................................................................................................................ข - ๑
ง
แผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สารบัญตาราง
หนา้
ตารางท่ี ๒ - ๑ การบริหารจัดการ (Governance) ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มตามประเดน็ แรงกดดัน
และความสามารถในการรองรบั ............................................................................................................ ๒ - ๒๑
ตารางท่ี ๓ - ๑ สรปุ สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมในจังหวดั ฉะเชงิ เทรา....................... ๓ - ๔
ตารางที่ ๓ - ๒ การวเิ คราะห์แรงกดดนั (Pressure) แยกตามเขตจดั การตามภูมินเิ วศ จังหวดั ฉะเชิงเทรา
............................................................................................................................................………………๓ - ๑๐
ตารางที่ ๓ - ๓ ระดับความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวัดฉะเชงิ เทรา………
............................................................................................................................................................. ๓ - ๑๖
ตารางที่ ๓ - ๔ การวเิ คราะห์ความสามารถในการรองรับ จาแนกตามเขตการจดั การตามภูมนิ เิ วศ ของจงั หวดั
ฉะเชิงเทรา............................................................................................................................................ ๓ - ๑๗
ตารางท่ี ๓ - ๕ สรุปผลการประเมนิ แรงกดดนั (P) กบั ความสามารถในการรองรับ (C) แยกตามเขตจดั การ
ตามภมู นิ ิเวศของจงั หวัดฉะเชงิ เทรา ...................................................................................................... ๓ - ๒๐
ตารางท่ี ๓ - ๖ การบรหิ ารจัดการ (Governance) ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมตามประเดน็ แรง
กดดนั และความสามารถในการรองรับ .................................................................................................. ๓ - ๒๑
ตารางที่ ๔ - ๑ สรปุ สถานการณท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มในจังหวดั ชลบุรี.............................. ๔ - ๑
ตารางท่ี ๔ - ๒ การวเิ คราะห์แรงกดดนั (Pressure) แยกตามเขตจดั การตามภูมนิ เิ วศ............................ ๔ - ๘
ตารางท่ี ๔ - ๓ ระดับความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของจังหวดั ชลบรุ ี.... ๔ -
๑๓
ตารางท่ี ๔ - ๔ การวเิ คราะห์ความสามารถในการรองรับ จาแนกตามเขตการจัดการตามภมู นิ ิเวศ ของพน้ื ท่ี
เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก............................................................................................................. ๔ - ๑๕
ตารางที่ ๔ - ๕ สรุปผลการประเมนิ แรงกดดัน (P) กบั ความสามารถในการรองรบั (C) แยกตามเขตจัดการ
ตามภมู ินเิ วศของจังหวดั ชลบุรี............................................................................................................... ๔ - ๑๘
ตารางท่ี ๔ - ๖ การบรหิ ารจดั การ (Governance) ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมตามประเดน็ แรง
กดดันและความสามารถในการรองรับ .................................................................................................. ๔ - ๑๙
ตารางท่ี ๕ - ๑ สรปุ สถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มในจงั หวดั ระยอง ............................ ๕ - ๕
ตารางท่ี ๕ - ๒ การวิเคราะห์แรงกดดนั (Pressure) แยกตามเขตจัดการตามภมู ินเิ วศ......................... ๕ - ๑๒
ตารางที่ ๕ - ๓ ระดบั ความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของจังหวัดระยอง
....................................................................................................................................................……….๕ - ๑๗
จ
แผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สารบญั ตาราง (ตอ่ )
หนา้
ตารางท่ี ๕ - ๔ การวเิ คราะห์ความสามารถในการรองรบั จาแนกตามเขตการจัดการตามภมู นิ ิเวศ ของจงั หวัด
ระยอง................................................................................................................................................... ๕ - ๑๘
ตารางท่ี ๕ - ๕ สรปุ ผลการประเมินแรงกดดนั (P) กับ ความสามารถในการรองรับ (C) แยกตามเขตจดั การ
ตามภมู นิ เิ วศของจงั หวดั ระยอง ............................................................................................................. ๕ - ๒๒
ตารางที่ ๕ - ๖ การบรหิ ารจดั การ (Governance) ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมตามประเดน็ แรง
กดดนั และความสามารถในการรองรบั .................................................................................................. ๕ - ๒๓
ฉ
แผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สารบัญภาพ
หนา้
ภาพท่ี ๒ - ๑ ระดบั ความสามารถในการรองรบั ของพนื้ ทดี่ าเนนิ งาน..................................................... ๒ - ๒๐
ภาพที่ ๒ - ๒ ผลการประเมินศกั ยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มและแรงกดดนั แยกตาม
เขตจดั การภูมนิ เิ วศ ............................................................................................................................... ๒ - ๒๕
ภาพที่ ๓ - ๑ ระดบั ความสามารถในการรองรับของจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ................................................. ๓ - ๑๕
ภาพที่ ๔ - ๑ ระดับความสามารถในการรองรบั ของจงั หวดั ชลบุรี ......................................................... ๔ - ๑๓
ภาพท่ี ๕ - ๑ ระดับความสามารถในการรองรบั ของจงั หวัดระยอง....................................................... ๕ - ๑๖
ภาพที่ ๖ - ๑ ผังความเชื่อมโยงการถา่ ยทอดนโยบายและแผนท่ีเก่ียวข้องกับการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ มไปสู่การปฏบิ ตั ขิ องแผนสิง่ แวดลอ้ มในเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
– ๒๕๗๐.................................................................................................................................................. ๖ - ๓
ภาพที่ ๗ - ๑ กรอบแนวคิดระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสงิ่ แวดล้อม................................................. ๗ - ๒
ภาพที่ ๗ - ๒ รายละเอยี ดของการไหลของขอ้ มลู ในแต่ละโมดลู ............................................................... ๗ - ๔
ช
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สว่ นท่ี ๑
สรุปสาระสาคญั แผนสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
(ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนสงิ่ แวดล้อมในพนื้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สว่ นที่ ๑
สรปุ สาระสาคญั แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
(ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๑. หลกั การและเหตุผล
โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) เป็นแผนยุทธศาสตร์
ภายใต้ ไทยแลนด์ ๔.๐ ด้วยการพัฒนาเชิงพื้นท่ีที่ต่อยอดความสาเร็จมาจากโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่ง
ทะเลตะวนั ออก (Eastern Seaboard) ท่ีดาเนินมาตลอดกวา่ ๓๐ ปี โดยมีเป้าหมายหลกั ในการเตมิ เต็มภาพรวม
ในการส่งเสริมการลงทุน ซึ่งจะเป็นการยกระดับอุตสาหกรรมของประเทศเพ่ิมความสามารถในการแข่งขัน และ
ทาใหเ้ ศรษฐกิจของไทยเติบโตได้ในระยะยาว โดยในระยะแรกดาเนินการในพนื้ ที่ ๓ จังหวัดภาคตะวนั ออก ได้แก่
จงั หวดั ฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง ให้เป็นพืน้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อรองรบั การ
ขับเคล่ือนเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพผ่านกลไกการบริหารจัดการภายใต้การกากับดูแลของ
คณะกรรมการนโยบายพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ซึ่งในการประชุม
คณะกรรมการนโยบายฯ คร้ังท่ี ๒/๒๕๖๐ เม่ือวันท่ี ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ นายกรัฐมนตรีได้มีข้อสั่งการให้
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดทาแผนสิ่งแวดล้อม เพ่ือให้เกิดความม่ันใจเร่ืองส่ิงแวดล้อมใน
พื้นทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ได้ดาเนินการตามข้อส่ังการนายกรัฐมนตรีดังกล่าว โดยจัดทา “แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔” ซึ่งคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในการ
ประชุมคร้ังท่ี ๒/๒๕๖๒ เมื่อวันท่ี ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ มีมติเห็นชอบในหลักการของร่างแผนสิ่งแวดล้อมใน
พ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ และคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเม่ือวันที่ ๗ พฤษภาคม
๒๕๖๒ รับทราบผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกดังกล่าว ท้ังนี้เพื่อเป็นการ
เตรียมการให้แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเกิดความต่อเนื่องในการดาเนินการ พร้อม
ท้ัง มีข้อมูลสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นปัจจุบันบนพ้ืนฐานท่ีสอดคล้องกับข้อเท็จจริง
ในพ้ืนท่ี และรองรับผลกระทบจากโครงการพัฒนาท่ีเริ่มดาเนินการไปแล้วบางส่วน และท่ีจะเกิดขน้ึ ในอนาคตได้
อย่างมีประสิทธิภาพ สานักงานนโยบายและแผนฯ จึงดาเนินโครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) โดยกระบวนการมีส่วนร่วมในพื้นท่ีท้ัง ๓ จังหวัด ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ
สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) แนวโน้ม
ผลกระทบจากการพัฒนา โดยรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้นในพื้นท่ีจัดทาเป็นระบบข้อมูล
สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (Management Information System: MIS) และนาข้อมูลท้ังหมดมา
ประมวลผลและวิเคราะห์เพ่ือให้การจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจท่ีจะเกิดข้ึนควบคู่
ไปกับการรองรับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการรักษาสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุลให้เกิดความม่ันคงและ
๑-๑
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ยั่งยืนไปพร้อมกัน และยังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการ แข่งขัน แผนแม่บท
ภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็นท่ี ๙ เขตเศรษฐกจิ พิเศษ แผนย่อยการพฒั นาเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก
๒. กรอบแนวคิด
๒.๑ การจัดทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
การจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ ได้วางกรอบแนวคิด ๔
แนวคิดทส่ี าคญั ไดแ้ ก่
๑) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง น้อมนามาเป็นแนวทางในการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่ื อให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนัก ต่อการใช้
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งรอบคอบ
๒) เปา้ หมายการพัฒนาท่ียั่งยนื
เป้ า ห ม า ย ก าร พั ฒ น า อ ย่ า งย่ั งยื น ได้ ถู ก น าม าใช้ ก า ห น ด ก ร อ บ เป้ า ห ม าย ห ลั ก ข อ ง ก าร จั ด ท า
ยทุ ธศาสตร์ชาติ ซึ่งนามาสู่การกาหนดกรอบแนวคิดในการกาหนดเป้าหมายของแผนสิ่งแวดล้อมระยะท่ี ๒ ท่ีมี
ความสอดคล้องและตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน โดยมีแนวทางที่สาคัญสาหรับการดาเนิน
โครงการเพื่อการป้องกนั ฟื้นฟู การบรหิ ารจัดการ และวางแผนรองรับสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม คือ (๑) การลดปริมาณการบริโภค (๒) ปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีหรือรูปแบบการผลิตหรือบริโภค
และ (๓) การเพ่ิ มพ้ื นท่ีต้นไม้ โดยมีวิธีการท่ีเห มาะสมสาหรับดาเนินงานในแต่ละเขตจัดการ
ตามภูมินิเวศ ที่มีผลลัพธ์ท่ีนาไปสู่การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศ ซึ่งตอบสนองเป้าหมาย
ของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ โดยเฉพาะประเด็นที่ ๑๘ การเติบโตอย่างย่ังยืน ที่มีวัตถุประสงค์
เพื่อการอนุรักษ์ คุ้มครอง ฟ้ืนฟู และสร้างฐานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างย่ังยืน ส่งเสริมความ
หลากหลายทางชีวภาพให้มีระบบนิเวศที่สมดุล สนับสนุนการเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียวทัง้ ในเขตเมอื งและชุมชน รวมทั้ง
สง่ เสรมิ การลงทุนและเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการผลติ และการบริโภคไปสู่ความย่ังยืน และสอดคลอ้ งกบั ดชั นี
ชว้ี ัดการพฒั นาที่ยงั่ ยนื
๓) หลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio – Circular –
Green economy: BCG) เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจแบบองค์รวมที่ผสมผสานการพัฒนาเศรษฐกิจ ๓ มิติ
ไปพร้อมกัน ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio economy) มุ่งเน้นการใช้ทรพั ยากรชวี ภาพเพื่อสร้างมลู ค่าเพ่มิ โดย
เน้นการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง เชือ่ มโยงกับเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) คานึงถึงการนา
วัสดุต่าง ๆ กลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ซึ่งเป็นการพัฒนา
เศรษฐกิจท่ีไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการพัฒนาเศรษฐกิจเท่าน้ัน แต่ต้องพัฒนาควบคู่ไปกับการพัฒนาสังคมและการ
รกั ษาสิ่งแวดลอ้ มไดอ้ ย่างสมดุลใหเ้ กดิ ความมั่นคงและยั่งยืนไปพรอ้ มกนั
๔) หลักการสาคัญตามแผนจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อม (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) มี ๘ หลักการสาคัญ
ดงั น้ี
๑-๒
แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
(๑) การพัฒนาท่ีย่ังยืน เป็นหลักการพัฒนาท่ีให้ความสาคัญต่อสิ่งแวดล้อม โดยสร้างความ
ส ม ดุ ล ร ะ ห ว่ า งก า ร พั ฒ น าเศ ร ษ ฐ กิ จ กั บ ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช าติ แ ล ะ
สิ่งแวดลอ้ ม
(๒) การบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศ เป็นการพิจารณาความสัมพันธ์เชิงระบบหรือองค์
รวม เพ่ือการดารงอยู่ของระบบนิเวศอย่างสมดุล ภายใต้การใช้ประโยชน์
ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ตี่ อบสนองความต้องการของมนุษย์อย่างยงั่ ยืน
(๓) การระวังไว้ก่อน เป็นการสร้างระบบภูมิคุ้มกันเพื่อรับมือกับผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนใน
อนาคตโดยเฉพาะพ้ืนที่ท่ีมีระบบนเิ วศทเ่ี ปราะบางและพืน้ ท่ีเสีย่ ง
(๔) ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย และผู้ได้รับประโยชน์เป็นผู้จ่าย เป็นการนาเครื่องมือทาง
เศรษฐศาสตร์มาใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยสร้าง
แรงจูงใจและภาระรับผิดชอบ เพื่อลดการก่อมลพิษส่งเสริมการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งมีประสิทธิภาพ
(๕) ความเป็นหุ้นส่วนของรัฐ – เอกชน เป็นหลักการท่ีใช้สร้างการร่วมรับผิดชอบและ
ควรนามาใช้ควบคู่กับหลักการก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย เพื่อส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนใน
การจดั การสิง่ แวดล้อมมากขึน้
(๖) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นหลักการลดอัตราการใช้ทรัพยากรต่อหน่วย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดการเพิ่มผลิตภาพการใช้ทรัพยากรให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และลดปริมาณการเกิดมลพิษโดยรวมจากกิจกรรมทาง
เศรษฐกจิ ดงั กล่าว
(๗) การขยายความรับผิดชอบแก่ผู้ผลิต เป็นหลักการเพ่ิมขอบเขตความรับผิดชอบของ
ผู้ผลิตให้ครอบคลุมในแต่ละช่วงของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ เพ่ือให้ผู้ผลิตมีการปรับปรุง
กระบวนการผลติ และส่งผลให้คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มดีขนึ้
(๘) ธรรมาภบิ าล เปน็ หลักการที่มงุ่ เน้นให้เกิดความย่ังยนื ในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ การมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วนการ
กระจายอานาจที่ยึดหลักการพน้ื ที่ – หน้าที่ – การมสี ่วนร่วม การบังคับใชก้ ฎหมายอย่าง
มีประสิทธิภาพและเป็นธรรม ความโปรง่ ใสในกระบวนการตัดสินใจ
๒.๒ ระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจดั การ (Management Information System: MIS)
ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการบูรณาการของข้อมูล
ในพ้ืนท่ีที่ถูกจดั เก็บทั้งในสว่ นของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน รวมทงั้ มุ่งหวงั ให้ทุกภาคส่วนสามารถ
“เข้าใจ” “เข้าถึง” ความจริงของปัญ หาในพื้ นที่ และสามารถ “พั ฒ นา” พ้ืนที่ได้อย่างยั่งยืน
บนพื้นฐานของข้อมูลและสารสนเทศเดียวกัน อันจะนาไปสู่การบริหารจัดการพ้ืนท่ีภายใต้กรอบแนวคิด
การพัฒนาอย่างยั่งยืน ซ่ึงมีองค์ประกอบของการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือ ๑) การนาเข้าข้อมูล ประกอบด้วยข้อมูลสถานการณ์
๑-๓
แผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ได้จากการตรวจวัดทั้งการตรวจวัดแบบเรียลไทม์ (ข้อมูลเปิด) จาก
หน่วยงานที่เก่ยี วข้อง และขอ้ มลู ตรวจวดั ทไี่ ด้จากการสารวจภาคสนาม โดยขอ้ มูลทงั้ หมดถูกนาเข้าและจัดเก็บ
ในฐานข้อมูล ๒) ระบบฐานข้อมูล ที่เป็นตัวกลางเช่ือมต่อกับข้อมูลต่าง ๆ ท่ีจะถูกจัดเก็บและถูกเรียกใช้เพ่ือ
สนับสนุนระบบการตัดสินใจ ซึ่งถูกจัดเก็บและนาเสนอด้วยข้อมูลหลายประเภท เช่น ข้อความ รูปภาพ วิดีโอ
หรือขอ้ มลู เชิงพน้ื ที่ เป็นตน้ ทั้งน้ีระบบฐานข้อมูลสามารถเข้าถึงผา่ นเว็บแอปพลิเคชั่น และ ๓) ระบบสนับสนุน
การตัดสินใจบริหารทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม ซึ่งประกอบด้วย ๕ โมดูล ได้แก่ โมดูลปริมาณน้า โมดูล
คุณภาพอากาศ โมดูลคุณภาพน้า และโมดูลทรัพยากรชีวภาพ และโมดูลอ่ืน ๆ รวมท้ัง มีระบบติดตามแผน
ส่ิงแวดล้อม จะเป็นระบบสาหรับใช้ในการติดตามการดาเนินงานของโครงการภายใต้แผนสิ่งแวดล้อม ระยะท่ี
๑ และระยะที่ ๒ ระบบจะมีส่วนหลัก ๆ อยู่ ๒ ส่วน ได้แก่ ส่วนการรายงานผลการติดตามโครงการ และส่วน
ของการนาเขา้ ขอ้ มูลโครงการภายใตแ้ ผนส่ิงแวดล้อม
๓. พืน้ ทเี่ ปา้ หมาย
พ้ืนท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง และพ้ืนที่ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่อยู่ในระบบ
นิเวศเดียวกนั หรือเกยี่ วเนือ่ งและคาบเกี่ยวกนั
๔. วสิ ัยทศั น์
สร้างสมดุลของการพฒั นากับการบรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งย่งั ยนื
๕. พันธกจิ
๑) รักษาสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในเขตจัดการภูมินิเวศท่ีมีความสามารถ
ในการรองรับสูง โดยเน้นเขตภูมินิเวศพ้ืนท่ีชุ่มน้า และภูมินิเวศป่าชายเลน ด้วยการรักษาระดับสถานการณ์
ความสามารถในการรองรับในปัจจุบัน การปรับปรุงการใช้ประโยชน์ และระบบบริหารจัดการทรัพยากร
ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
๒) เพิม่ ประสทิ ธิภาพการใชท้ รัพยากรธรรมชาตแิ ละการจัดการสิ่งแวดล้อม ในเขตจดั การภมู ินิเวศที่มี
ความสามารถในการรองรับปานกลาง โดยเน้นภมู นิ ิเวศทะเลและเกาะ และ เขตเมอื งและชมุ ชน ที่มีปัญหาด้าน
สิ่งแวดล้อมด้วยการปรับปรุงระดับความสามารถการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และการส่งเสริมการพัฒนา
เศรษฐกจิ ท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับภูมิสังคม
๓) ลดระดับการพึ่งพาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในเขตจัดการภูมินิเวศ
ที่มีความสามารถในการรองรับต่า โดยเน้นภูมินิเวศเขตป่าไม้ เขตเกษตรกรรม และเขตอุตสาหกรรม
ด้วยการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจตามหลกั การเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน
และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG: Bio-Circular-Green Economy) การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างสมเหตุสมผล ปกป้อง คุ้มครอง ฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมีการจัดการมลพิษ
สิ่งแวดล้อมรว่ มกัน
๑-๔
แผนสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๖. วตั ถปุ ระสงค์
๑) ส่งเสรมิ การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทส่ี อดคล้องกบั ภูมินเิ วศของพ้ืนที่ตาม
แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียวท้ังในภาคเกษตรกรรม
ภาคอุตสาหกรรม และภาคบรกิ าร
๒) อนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ เพ่ือเป็นฐาน
การพัฒนาเมือง ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ อย่างคุ้มค่าและเป็นธรรมภายใต้ความ
สมดุลของระบบนิเวศ
๓) ส่งเสริมสนับสนุนวิถีชีวิตเมือง และชุมชนพึ่งตนเอง จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรม
เพือ่ สร้างฐานความมน่ั คงทางอาหารของพน้ื ท่ี และการสรา้ งภูมคิ ุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและ
อุบตั ภิ ัย
๔) พัฒนา ปรับปรุง เครื่องมือกลไก ในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม ทีส่ นับสนุนการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วน ด้วยองค์ความรู้ เทคโนโลยี ฐานข้อมลู กฎหมาย และกฎ/
ระเบียบ/ขอ้ ตกลง
๗. เป้าประสงค์
๑) ส่ิงแวดลอ้ มไดร้ บั การบาบัดและจดั การให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
๒) ทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนท่ีได้รับการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และมีการใช้ประโยชน์อย่างสมดุล
และเป็นธรรม
๓) ประชาชนในพื้นท่ี EEC ได้รับการสง่ เสริมความสามารถในการพ่ึงตนเองและการบรรเทาผลกระทบ
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๔) ระบบและกลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการขับเคลื่อนด้วย
กระบวนการมีส่วนรว่ มอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
๘. ยทุ ธศาสตร์แผนสง่ิ แวดล้อมในเขตพืน้ ท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
ภายใต้แผนแผนสง่ิ แวดลอ้ มในเขตพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
ประกอบด้วย ๔ ยุทธศาสตรส์ าคัญคือ
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การจดั การส่ิงแวดล้อมเพ่ือคณุ ภาพชีวติ ทเี่ ป็นสขุ
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยง่ั ยืน
ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การสรา้ งศักยภาพชุมชนพ่งึ ตนเองและรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศและ
อุบตั ภิ ยั
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การและกลไกการมีส่วนร่วมเพอ่ื ขบั เคลอ่ื นแผนสู่
การปฏบิ ตั ิ
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การจัดการส่ิงแวดล้อมเพื่อคุณภาพชีวิตที่เป็นสขุ ให้ความสาคัญต่อการลดปริมาณของ
เสียท่ีเกิดข้ึนในทุกข้ันตอน สนับสนุนการนากลับมาใช้ใหม่ มีการควบคุมติดตาม ตรวจสอบ ป้องกันปัญหา
สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ณ แหล่งกาเนิด มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และมีระบบ
๑-๕
แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การจัดการแบบครบวงจรในการจัดการของเสียที่เกิดข้ึน รวมท้ัง การสร้างความสวยงามและความร่มร่ืนของ
เมืองและชุมชน โดยให้ทุ กภ าคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการ โดยมีเป้าหมายของยุทธศาสตร์
คือการจัดการเพื่อส่ิงแวดล้อมที่ดี อันจะสนับสนุนคุณ ภาพชีวิตที่เป็นสุข ซึ่ง มี ๔ กลยุทธ์ คือ
กลยุทธ์ที่ ๑.๑ การจัดการน้าเสีย ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการระบบ
บาบัดน้าเสีย การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อลดปริมาณน้าเสีย และการนากลับมาใช้ กลยุทธ์ที่ ๑.๒ การจัดการ
มลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมลพิษทางอากาศ
กลยุทธ์ที่ ๑.๓ การจัดการขยะและกากของเสียอุตสาหกรรม ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการจัดการขยะชุมชน การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการขยะอุตสาหกรรม มูลฝอยติดเช้ือ และ
กากของเสียอันตราย และ กลยุทธ์ที่ ๑.๔ การพัฒนาส่ิงแวดล้อมเมืองและชุมชนน่าอยู่ตามภูมินิเวศ
ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การสรา้ งความสวยงามและความร่มรื่นของเมืองและชุมชน โดยมี ๑๒ ตัวช้ีวัดท่ี
สาคัญ ได้แก่ (๑) มีการดาเนินการในการจัดการคุณภาพน้าผิวดิน (๒) ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของแหล่งน้าผิวดินท่ีมี
คุณภาพน้าดีข้ึน (๓) การมีแผนบริหารจัดการน้าเสียเชิงระบบ (๔) ร้อยละท่ีเพิ่มข้ึนของการฟื้นฟูและพัฒนา
เคร่ืองมือการจัดการน้าเสีย อย่างมีประสิทธิภาพ (๕) ร้อยละที่เพิ่มข้ีนของโครงการบริหารจัดการระบบน้าเสีย
อย่างมีประสิทธิภาพ (๖) จานวนวันท่ี PM10 ในอากาศไม่เกินมาตรฐาน ร้อยละ ๙๙ (๗) มีการดาเนินการใน
การลดสาร VOCs ในเขตควบคุมมลพิษอย่างต่อเนื่อง (๘) มีการดาเนินงานเพ่ือให้ขยะมูลฝอยชุมชนได้รับการ
จัดการอย่างถูกหลักวิชาการ (๙) สัดส่วนการนาของเสียกลับไปใช้ใหม่ ร้อยละ ๓๐ ของปริมาณขยะมูลฝอย
ชุมชนรวม (๑๐) ปริมาณขยะทะเลลดลงจนเหลือปริมาณใกล้เคียงกับปี ๒๕๕๗ (๑๑) กากของเสียอันตราย
ทัง้ หมดเขา้ สู่ระบบการจดั การทถี่ กู ต้อง และ (๑๒) เพม่ิ พืน้ ท่ีสเี ขียวเมอื งให้ได้ตามเกณฑม์ าตรฐานเบอ้ื งต้น (๑๐
ตร.ม./คน)
ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ให้ความสาคัญต่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และ
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ มีการจัดทาฐานข้อมูล เพ่ืออนุรักษ์ ฟื้นฟูและวางแผน รวมถึงการ
บริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังมีการส่งเสริมให้เกิดการเพ่ิมมูลค่าจากความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ เพ่ือรักษาความมัน่ คงของฐานทรพั ยากรธรรมชาติใหเ้ กิดความสมดลุ และเป็นธรรม โดยมเี ป้าหมายของ
ยุทธศาสตร์คือ ฐานทรัพยากรธรรมชาติ ได้รับการส่งเสริม การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และมีการใช้ประโยชน์อย่าง
สมดุล เป็นธรรม และยั่งยืน และมี ๔ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี ๒.๑ การใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นมิตรกับ
สง่ิ แวดลอ้ ม ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ท่ีดินที่เป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดล้อมแนวทางปฏิบัติ กลยุทธ์ท่ี ๒.๒ การจัดการทรัพยากรน้า ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพิ่ม
ประสทิ ธิภาพการจดั การนา้ กลยุทธท์ ี่ ๒.๓ การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน
คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ กลยุทธ์ท่ี ๒.๔ การจัดการทรัพยากรทาง
ทะเลและชายฝ่ัง ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝ่ัง โดยมี ๑๑ ตัวชี้วัดท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) เพ่ิมพื้นท่ีเกษตรย่ังยืน (ป่ากินได้:-ระบบวนเกษตร) เพิ่มข้ึน (๒)
เพิ่มประสิทธใิ นการกักเก็บน้าใต้ผิวดนิ และน้าใต้ดิน ในพน้ื ทเี่ กษตรกรรม ตามพื้นที่เกษตรกรรมยงั่ ยืนท่ีเพ่ิมข้ึน
(๓) ร้อยละที่เพิ่มข้ึนของการนาน้าเสียที่ผ่านการบาบัดแล้วนากลับมาใช้ประโยชน์ (๔) มีการป้องกัน ดูแล
๑-๖
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
รักษา และฟื้นฟูในระบบนิเวศ ป่าบก ป่าชายเลน พื้นที่ชุ่มน้า พื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืนอย่างมีส่วนร่วมเพิ่มขึ้น
(๕) มีแหล่งที่รักษาความหลากหลายทางชีวภาพเพิ่มขึ้น (๖) มีฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ (๗) มี
แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมและเชื่อมโยงกันเพ่ิมข้ึน (๘) มีจานวนนวัตกรรมการแปรรูปและเพิ่ม
มลู ค่าจากความหลากหลายทางชีวภาพ (๙) พ้ืนท่ีป่าชายเลนไม่น้อยกว่าในปี ๒๕๕๖ (๑๐) พ้ืนท่ีปะการังได้รับ
การฟ้นื ฟู และปะการงั ทมี่ ีชีวติ เพมิ่ ขึ้น และ (๑๑) แหลง่ หญา้ ทะเลทไี่ ด้รับการฟ้ืนฟู
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ การสร้างศกั ยภาพชุมชนพึ่งตนเองและรับมือต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศและ
อบุ ัติภัย ให้ความสาคัญตอ่ ชุมชนมอี งค์ความรูแ้ ละความสามารถในการยกระดับต่อยอดภูมิปัญญาท้องถน่ิ สู่การ
พง่ึ ตนเองได้อยา่ งยง่ั ยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มกี ารสรา้ งภมู ิคุ้มกันต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพ
ภูมิอากาศและอุบัติภัย การใช้เทคโนโลยีทเ่ี ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม เพิ่มแหล่งดดู ซับก๊าซเรือนกระจก และมีการ
ประยุกต์ใช้หลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว โดยมีเป้าหมายของ
ยุทธศาสตร์คือ ชุมชนได้รับการส่งเสริมความสามารถ และมีศักยภาพในการพ่ึงตนเองและพร้อมรับมือต่อการ
เปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศและอุบัติภัย และมี ๓ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี ๓.๑ การสนับสนุนชุมชนพึ่งตนเอง
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพิ่มประสิทธิภาพกลไกการ
ขับเคลื่อนชุมชนพึ่งตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ท่ี ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจาก
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย ๓ แผนงาน ได้แก่ การเพ่ิมพื้นที่แหล่งดูดซับและกักเก็บก๊าซ
เรอื นกระจก การผลกั ดันมาตรการในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของทุกภาค
ส่วนในการปรับตัวต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ กลยุทธ์ที่ ๓.๓ การจัดการภัยพิบัติ
อุบัตภิ ยั โรคระบาด และสภาวะสุดข้วั จากการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ประกอบดว้ ย ๑ แผนงาน คอื การ
เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการอุบัติภัยและภัยพิบัติ มี ๕ ตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ (๑) มีชุมชนพึ่งตนเองเพ่ิมขึ้น
โดยที่ชุมชนพ่ึงตนเองมีการดาเนินการใน ๕ กิจกรรม คือ (ก) มีโครงการสรา้ งความตระหนักต่อสิ่งแวดลอ้ ม (ข)
มีกลุ่ม เครือข่าย องค์กรชุมชนในการจัดการ (ค) มีแผนงาน โครงการ กิจกรรมในการจัดการทรัพยากร (ง) มี
กลุ่มเกษตรอินทรีย์ กลุ่มป่าครอบครัว และกลุ่มวนเกษตร มีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่ย่ังยืน (จ) มีองค์
ความรู้ ภูมิปัญญา ปรับตัว การสร้างนวัตกรรมในการจัดการสิ่งแวดล้อม (๒) ปริมาณการปล่อยก๊าซ
คารบ์ อนไดออกไซด์ (เทียบเท่า) ในพื้นท่ีลดลง ตามเป้าหมายที่กาหนดในแผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจก
พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๓ (๓) มีระบบเตือนภัยและการจัดการภัยในพื้นที่เส่ียง (๔) จานวนองค์กรหรือเครือข่าย
ด้านอุบัติภัยในชุมชนเพิ่มข้ึน (๕) จานวนประชากรท่ีเสียชีวิต สูญหาย ได้รับบาดเจ็บ หรือต้องโยกย้ายที่อยู่
เนอื่ งจากอบุ ัติภัย หรอื ได้รับผลกระทบจากอุบัติภยั ลดลง
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การและกลไกการมสี ว่ นร่วมเพ่ือขับเคล่ือนแผนสู่
การปฏิบัติ ให้ความสาคัญต่อเครื่องมือและกลไก ในการขับเคลื่อนการ บริหารจัดการทรัพยากร
ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ที่สนับสนุนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ด้วยองค์ความรู้ เทคโนโลยี ฐานข้อมูล
กฎหมาย และกฎ/ระเบียบ/ข้อตกลง มีการส่งเสริมการศึกษาและวิจัย มีองค์กรบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีภาคประชาสังคมเป็นหุ้นส่วนในการดาเนินงาน มีเป้าหมายของ
๑-๗
แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ยทุ ธศาสตร์คือ มีระบบและกลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยกระบวนการมี
สว่ นร่วมอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เพ่อื ขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ และมี ๓ กลยุทธ์ คอื กลยุทธท์ ่ี ๔.๑ การพฒั นา
ศักยภาพในการบริหารจัดการและกลไกการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การทบทวนและ
ปรับปรุงกฎ ระเบยี บ กฎหมาย และแผนท่เี อื้อต่อการบริหารจัดการ และการสง่ เสริมการมีส่วนรว่ มท่ีเป็นธรรม
กลยุทธ์ที่ ๔.๒ การขับเคลื่อนแผนสู่การดาเนินงาน ประกอบด้วย ๓ แผนงาน คือ เพิ่มประสิทธิภาพการ
ขับเคลื่อนแผน การส่งเสริมสนับสนุนการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ และการทบทวน ติดตาม กลยุทธ์ ๔.๓ การ
ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ตามหลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน
เศรษฐกิจสีเขียว และเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่สนับสนุนการวิจัยและ
พัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ตามหลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสี
เขียว และวิจัยนวัตกรรมเพื่อพัฒนาบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามเป้าหมายการพัฒนาท่ี
ยั่งยืน โดยมีตัวชี้วัดท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) มีกลไก เครื่องมือ สาหรับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ
ส่ิงแวดล้อมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน (๒) มีองค์กรบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน (๓) จานวนกิจกรรมด้านส่ิงแวดล้อมที่ได้รับการขับเคลื่อนโดยภาคีเครือข่าย
(๔) มีกิจกรรมสนับสนุนภาคีเครือข่ายองค์กรให้มีศักยภาพในการเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในระดับที่ ๔
(ความร่วมมือ) ทั้งด้านจานวนและสัดส่วนที่มากข้ึน (๕) มีเวที หรือช่องทางการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลและ
ความคิดเห็นร่วมกันทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง (๖) มีแนวทางการส่งเสริมปัจจัยความสาเร็จอันนาไปสู่การนา
แผนไปสู่การปฏิบัติ (๗) มีการรายงานผลการทบทวนแผนการพัฒนาในพ้ืนที่อย่างต่อเน่ือง (๘) มีแนวทางการ
พัฒนา งานวิจัย งานวิจัยท้องถ่ิน เทคโนโลยี นวัตกรรม และใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เกื้อหนุนต่อ
คุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
๙. การขับเคลื่อนแผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
การขับเคล่ือนแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และบรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัดท่ีกาหนดไว้ จาเป็นต้องอาศัย
ค ว า ม ร่ ว ม มื อ จ า ก ทุ ก ภ า ค ส่ ว น เพ่ื อ ใ ห้ ก า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง ป ร ะ เท ศ
มีทิศทางการดาเนินงานที่มุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน ดังน้ัน แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ได้กาหนดกลไกในการขับเคลื่อน และการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ
ซึ่งควรดาเนินการเร่งด่วนและผลักดันในระดับนโยบาย (Flagship Projects) รวมถึงการติดตามประเมินผล
ดงั น้ี
๙.๑ กลไกในการขบั เคลอ่ื นและการแปลงแผนไปสูก่ ารปฏิบัติ
การขับเคลื่อนแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ไปสู่การ
ปฏบิ ตั ใิ ห้ประสบผลสาเรจ็ ควรมกี ลไกในการขับเคลื่อนและการแปลงแผนไปส่กู ารปฏิบตั ิ ดังน้ี
๑. ผลักดันแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
โดยส่งให้คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) รวบรวมและนาเสนอ
คณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (กพอ.) พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ
๑-๘
แผนสง่ิ แวดล้อมในพื้นท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๒. สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในฐานะท่ีได้รับมอบ
ให้จัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ ดาเนินการถ่ายทอด
และสร้างความเข้าใจในบทบาทของแต่ละภาคส่วน เผยแพร่และชี้แจงรายละเอียดของแผนส่ิงแวดล้อมฯ
รวมทั้ง ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ เน้นทาความเข้าใจแก่ภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อร่วมขับเคลื่อนการ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในภาพรวมของพ้ืนท่ี EEC ให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ซ่ึงจะ
ช่วยส่งเสรมิ และสนับสนุนให้เกดิ การถ่ายทอดแผนส่งิ แวดล้อมฯ ไปสู่การปฏิบตั ไิ ด้มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น
๓. ผลักดันโครงการเร่งด่วน (Flagship) เป็นโครงการที่สาคัญเร่งด่วนที่ต้องดาเนินการ เพื่อใช้
ประกอบการขอสนบั สนุนงบประมาณ และเร่งดาเนนิ การโครงการทไ่ี ดร้ ับการจัดสรรงบประมาณไวแ้ ล้ว
๔. การศึกษา จัดทาแผน วางแผน ออกแบบ ติดตั้งเคร่ืองมือ และริเริ่มการสร้างเครือข่าย
เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพ้ืนที่ รวมทั้งการพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เก่ียวข้องเพื่อเป็นฐาน
การดาเนนิ งานด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมในพนื้ ท่ีต่อไป
๕. กิจกรรมโครงการที่ได้รบั การจัดสรรงบประมาณและดาเนินงานอยา่ งต่อเนื่อง อาจทาให้เกิดการ
เป ลี่ ยน แ ป ล งส ถ าน ภ าพ ข อ งท รัพ ย าก รธรรม ช าติ แล ะส่ิ งแ วด ล้ อ ม ใน พื้ น ที่ เพ่ื อ ให้ เป็ น แผ น
ที่สามารถปรับเปล่ียน รองรับความเปล่ียนแปลงได้ (Rolling plan) ควรมีการพิจารณาปัญหาและอุปสรรคใน
การดาเนินงานกิจกรรมโครงการในช่วงแรกของแผนฯ เพื่อให้ปรับเปลี่ยนกิจกรรม โครงการ
ทีเ่ หมาะสมในชว่ งหลังของแผนฯ ต่อไป โดยควรจะดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๖๗
๖. จากกิจกรรมโครงการตามแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.
๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ จะทาให้พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการ
อนุรักษ์ ฟื้นฟู และมีการใช้ประโยชน์อย่างมั่นคง สมดุล ในขณะท่ีประชาชนในพื้นที่มีความสามารถในการ
ดาเนินชีวิตในพ้ืนท่ีได้เป็นปกติสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ภายใต้การสนับสนุนการบริหารจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยระบบและกลไกทมี่ ีประสิทธิภาพ และการมีส่วนรว่ มอยา่ งแท้จรงิ ทง้ั นี้
หากมกี ิจกรรม โครงการท่มี กี ารดาเนินงานยงั ไมค่ รบถ้วนสมบูรณ์จะต้องมีการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมระยะต่อไป
๙.๒ ประเด็นทมี่ ีความสาคัญในระดับพน้ื ท่ีทีค่ วรดาเนนิ การเรง่ รดั และผลกั ดันในระดบั นโยบาย
(Flagship Projects)
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท่ีเกิดข้ึนไม่สามารถจะจัดการในทุกเร่ือง
ไปพร้อมกันได้ จาเป็นต้องวางแผนและดาเนินการแกไ้ ขปญั หาที่มีลาดบั ความสาคัญ คือ ๑) โครงการเร่งด่วนท่ี
อยู่ในแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ท่ียังไม่ได้ดาเนินการ ๒)
โครงการท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ ๓) โครงการที่สอดคล้องกับกิจกรรมปฏิรูปท่ีส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชน
อย่างมีนัยสาคัญ (Big Rock ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) ๔) โครงการท่ีสอดคล้องกับผลการ
วเิ คราะหแ์ รงกดดัน สถานการณ์หรอื การคาดการณ์ท่ีมีแนวโน้มของระดับความรุนแรงที่เพ่ิมขึ้น และประเด็นที่
เกินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ ๕) โครงการท่ีมุ่งเน้นการส่งเสรมิ สนับสนุนการมีส่วนรว่ มของทุก
ภาคส่วน และสร้างความรู้ ความเข้าใจ เพ่ือให้เกิดการมีส่วนรว่ มในการขับเคล่ือนแผน ๖) โครงการท่ีเกี่ยวกับ
๑-๙
แผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การจัดการน้าเสยี และการจัดการขยะ และ ๗) โครงการที่เสนอมาจากหนว่ ยงานผรู้ บั ผิดชอบมงี บประมาณแล้ว
รวมท้ังโครงการท่ีบรรจุในแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน/แผนบูรณาการ ดังน้ัน เพ่ือให้หน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องสามารถดาเนินการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของแผนฯ จึงได้
เสนอโครงการสาคัญเร่งด่วน (Flagship Projects) ท้ังในแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ และแผนส่ิงแวดล้อมในระดับจังหวัด เพ่ือให้ได้รับการแก้ไขและผลักดันใน
ระดบั นโยบายให้เกดิ ข้นึ อย่างเป็นรปู ธรรม
๙.๓ การตดิ ตามประเมินผล
การติดตามประเมินผลการดาเนินงานภายใต้แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ประกอบด้วย ขั้นตอนการติดตามประเมนิ ผล โดยจะแบง่ ช่วงระยะเวลาการติดตามเป็น
๒ ระยะ ได้แก่ ช่วงแรก การติดตามประเมินผลตามเปา้ หมายของแผนฯ ในระยะ ๒ ปี หลังจากการประกาศใช้
แผนฯ เพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรค เพ่ือนาไปปรับปรุงวิธีการดาเนินงานตามแผนงาน โครงการให้มี
ประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน โดยให้ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องส่วนร่วมในการปรับปรุงแผน และ ช่วงหลัง
การติดตามประเมินผลตามเป้าหมาย เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาของแผนฯ (๖ ปี) เพื่อรวบรวมปัญหา อุปสรรคจาก
การดาเนินงานตามแนวทางการปฏิบัติที่ได้เสนอไว้ในแผนฯ มาใช้ประกอบการจัดทาแผนฯ ในอนาคต ซึ่งการ
ติดตามประเมินผลในช่วงหลัง โดยใช้ระบบติดตามระบบติดตามการดาเนินงานตามแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ี
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้ท่ี eec-mis.onep.go.th
๑ - ๑๐
แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๑ - ๑๑
แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๑ - ๑๒
ส่วนที่ ๒
แผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗
แผนสงิ่ แวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สว่ นที่ ๒
แผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๑. หลกั การและเหตุผล
ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางในการเช่ือมต่อกับกลุ่มเศรษฐกิจในทวีปเอเชียและกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน หรอื AEC ในด้านการผลิต การค้า การส่งออกและการขนส่ง “โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก
(Eastern Economic Corridor : EEC)” เป็นแผนยุทธศาสตร์ภายใต้ ไทยแลนด์ ๔.๐ ด้วยการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีท่ี
ต่อยอดความสาเร็จมาจากโครงการพัฒนาพ้ืนที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard) ที่ดาเนิน
มากว่า ๓๐ ปี โดยมีเป้าหมายหลักในการเติมเต็มภาพรวมในการส่งเสริมการลงทุนซึ่งจะเป็นการยกระดับ
อุตสาหกรรมของประเทศเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและทาให้เศรษฐกิจของไทยเติบโตได้ในระยะยาว ใน
ระยะแรกดาเนินการในพ้ืนท่ี ๓ จังหวัดภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ใหเ้ ป็นพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเพื่อรองรับการขบั เคลื่อนเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบและมี
ประสิทธิภ าพ ผ่านกลไกการบริหารจัดการภ ายใต้ การกากับดู แลของคณ ะกรรมการนโยบ าย
คณะกรรมการนโยบายพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ซ่ึงในการประชุม
คณะกรรมการนโยบายฯ คร้ังที่ ๒/๒๕๖๐ เม่ือวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ นายกรัฐมนตรีได้มีข้อส่ังการให้
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดทาแผนสิ่งแวดล้อมเพ่ือให้เกิดความมั่นใจเร่ืองส่ิงแวดล้อมใน
พืน้ ที่
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม ได้ดาเนินการตามข้อสั่งการนายกรัฐมนตรีดังกล่าว ภายใต้คณะกรรมการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมใน
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จัดทา “แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๔” โดยมีกรอบการดาเนินงานเพ่ือจัดการปัญหาส่ิงแวดล้อมที่มีในปัจจุบัน โดยการเตรียม
ความพร้อม การรู้เท่าทัน ในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมและรักษาทรัพยากรธรรมชาติในอนาคต ควบคู่กับ
การสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Creative and Green Economy) ที่ใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ สามารถ
เข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างเท่าเทียม ทั้งน้ี คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในการ
ประชุมครั้งท่ี ๒/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ มีมติเห็นชอบในหลักการร่างแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ี
เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ และคณะรัฐมนตรี ไดม้ ีมติเมอื่ วันท่ี ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
รับทราบผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ครั้งท่ี ๒/๒๕๖๒ เม่ือวันท่ี ๑๕
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๒
๒-๑
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ จะสิ้นสุดระยะเวลาการ
ดาเนินงานในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ดังน้ัน เพ่ือเป็นการเตรียมการให้แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออกเกดิ ความตอ่ เน่ืองในการดาเนนิ การ พร้อมทั้ง มีข้อมูลสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ท่ีเป็นปัจจุบันบนพื้นฐานท่ีสอดคล้องกับข้อเท็จจริงในพ้ืนท่ี และรองรับผลกระทบจากโครงการพัฒนาท่ีเริ่ม
ดาเนินการไปแล้วบางส่วน และที่จะเกิดข้ึนในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ สานักงานนโยบายฯ จึงเห็นควร
จัดทาโครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) ซึ่งการดาเนินงาน
ดังกล่าวสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนแม่บทภายใต้
ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็นที่ ๙ เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ แผนย่อยการพฒั นาเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
การจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
มีเป้าหมายสาคัญเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการกาหนดแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และการพัฒนาสังคม โดยเป็นเครื่องมือท่ีให้ทุกภาคส่วนท่ี
เก่ียวข้องมีสว่ นร่วมต้ังแต่การจัดทาแผน การนาแผนไปปฏบิ ัติและการติดตามประเมนิ ผลของแผนตามบทบาท
หน้าท่ีความรับผิดชอบของตนเอง ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมท้ังในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
โดยมีกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียท่ีเกี่ยวข้องจากภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากท่ี
ประชุมเป็นข้อมูลส่วนหนึ่งท่ีจะถูกนามาวิเคราะห์ร่วมกับผลการดาเนินงานตามแผนส่ิงแวดล้อม ในพื้นท่ีเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ รวมถึงข้อมูลด้านแรงกดดันท่ีส่งผลกระทบต่อพื้นท่ี
สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความสามารถในการรองรับของพื้นท่ี นโยบายและการ
บริหารจัดการท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนที่ ข้อมูลท่ีได้นาไปสู่การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม
(SWOT & TOWS และ SOAR Analysis) เพื่อการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าประสงค์
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน ต่อไป ทั้งน้ีการจัดทาแผนสิ่งสิ่งแวดล้อมในพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
(ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ มีสาระสาคัญของแผนสิ่งแวดล้อมประกอบด้วยแผนงานโครงการภาพรวม
ในระดับพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ร่วมกับแผนงานโครงการท่ีเป็นสาระสาคัญของแผนสิ่งแวดล้อม
ในระดับจังหวดั ซึ่งเป็นโครงการเฉพาะประเด็นหรือพ้ืนที่ในแต่ละจังหวัด ที่เป็นการหนุนเสริมแผนภาพรวมให้
มคี วามสมบรู ณย์ ง่ิ ขนึ้
๒. กรอบแนวทางการดาเนินงาน
การจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) มีแนวทางการดาเนนิ งาน
โครงการภายใต้หลักการ Pressure-Capacity-Governance Model (PCG Model) โดยหลักการของ PCG
Model เร่ิมจากความต้องการในการพัฒนาเมืองและอุตสาหกรรมที่ส่งผลความต้องการใช้ทรัพยากรที่หากมี
การใชท้ รัพยากรมากเกินขีดความสามารถของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในภูมิภาคที่จะรองรับได้ จะ
เกิดภาวะกดดันต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่ ซึ่งภาวะกดดันดังกล่าวต้องการมาตรการ
บริหารจัดการสาหรับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในลักษณะที่หลากหลายตามคุณลักษณะของ
ความสามารถในการรองรับของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังน้ันการสร้างแผนซึ่งสามารถเพิ่มระดับ
ความสามารถในการรองรับของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะช่วยในการลดระดับของภาวะกดดันลง
ได้ โดยภาวะกดดัน (Pressure) ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีสาเหตุมาจากกิจกรรมทางสังคม
๒-๒
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
เศรษฐกิจ ในขณะท่ีความสามารถในการรองรับ (Capacity) ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สะท้อน
ถึงระดับของทรัพยากรท่ีจะสนับสนุนการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ พ้ืนฐานทางสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับระบบ
นิเวศและความสามารถในการดูแลสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่ และสุดท้ายการบริหารจัดการ (Governance)
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สะท้อนถึงแนวทางสร้างสรรค์กิจกรรมเชิงบวกในการปรับปรุง
ความสามารถในการรองรับของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เช่น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีด้านการบริหารจัดการขยะ น้าเสีย และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรต้นทุน และการ
กาหนดนโยบายที่เหมาะสม เปน็ ต้น
จากแนวคิด PCG Model การดาเนินโครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ ได้พัฒนาแนวทางการดาเนินงานโดยครอบคลุมกระบวนการ
ดาเนินงานดังน้ี ๑) การทบทวนและวิเคราะห์ความสอดคล้องเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน กฎ ระเบียบ และ
ประเด็นท้าทายในปัจจุบันเก่ียวกับแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวมถึงการ
ประมวลผลของแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๑) พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
เพ่ือให้แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่ EEC ระยะท่ี ๒ มีความเช่ือมโยงกับแผนในระดับต่าง ๆ และแผนสิ่งแวดล้อม
ระยะ ที่ ๑ ด้วย โดยการทบทวนยุทธศาสตร์ แผน และกฎและระเบียบที่เก่ียวข้อง รวมถึงทบทวนเป้าหมาย
การพัฒนาอย่างย่ังยืน (SDGs) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการเศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจ
หมุนเวียน-การพัฒนาท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม (BCG Model) ๒) การปรับปรุงและจัดทาสถานการณ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ขั้นตอนนี้เทียบเคียงได้กับข้ันตอน แรงกดดัน (Pressure) ร่วมกับ
ขั้นตอนการบริหารจัดการ (Government) ในแนวคิด PCG Model ประกอบด้วย การศึกษาสถานการณ์แรง
กดดัน (Pressure) ๒ ส่วน คือ แรงกดดันจากภายนอก ได้แก่ ประเด็นความท้าทายท่ีสังคมกาลังเผชิญอยู่และ
จาเปน็ ตอ้ งมแี นวทางการรองรบั ในอนาคต และแรงกดดันภายใน ไดแ้ ก่ สถานการณ์ดา้ นเศรษฐกิจ สถานการณ์
ประชากร สถานการณ์การพัฒนาและผลกระทบจากโครงการต่าง ๆ ท่ีมีต่อพ้ืนท่ี และสถานการณ์ด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ๓) การประเมินระดับความสามารถในการรองรับได้ของ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ี (Resources and Environmental Carrying Capacity) ตาม
หลักการ PCG Model ในการวิเคราะห์ความสามารถการรองรับ ๔) การพัฒนาสารสนเทศเพื่อการบริหาร
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่พัฒนาในรูปแบบเว็บแอพพลิเคชั่น และ ๕) การจัดทาแผน
ส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ โดยการพัฒนาหลักการ
PCG Model มาใช้ดาเนินงานเป็นกระบวนการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ระยะท่ี ๒
๓. แรงกดดัน (Pressure)
๓.๑ แรงกดดันภายนอก: สถานการณ์ความทา้ ทายของโลก
กรอบประเด็นความท้าทายของโลกที่สาคัญต่อพื้นที่ EEC และจาเป็นต้องหาแนวทางรองรับในอนาคต
ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากท้ังภาครัฐและเอกชนอย่างจริงจัง สามารถพิจารณาเบื้องต้นได้เป็น ๔ ประเด็น
หลัก คือ ความมั่นคงทางอาหาร ความเป็นอยู่และสุขภาพท่ีดี การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และนโยบาย
๒-๓
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
และอนุสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งนับเป็นแรงกดดันภายนอกท่ีมีต่อพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกท่ี
จาเป็นตอ้ งมกี ารเตรยี มการรับมอื กบั สถานการณด์ งั กลา่ ว
(๑) ความม่นั คงทางอาหาร
วิกฤตอิ าหารในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นแรงกระตุ้นสาคัญท่ีต้องตระหนักถึงความจาเป็นในด้านความ
มั่นคงทางอาหาร (United Nations, 2013) ซ่ึงสัมพันธ์กับปัจจัยท่ีหลากหลายประเด็น โดยประเด็นหลักคือ
สถานการณ์การใช้ประโยชน์ท่ีดินโดยเฉพาะภาคเกษตรกรรมที่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง และโครงสร้าง
ประชากรท่ีเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุทาให้วัยแรงงานลดลงและขาดความพร้อมในการปรับตัวในการใช้เทคโนโลยี
นอกจากนน้ั ยังมีขอ้ จากัดในการจัดการด้านตลาด ในขณะที่สถาบันเกษตรกรในรูปแบบต่าง ๆ ยังไม่สามารถทา
หน้าท่ีในการสนับสนุนได้อย่างเข้มแข็งเพียงพอ (สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,
๒๕๖๔) รวมถึงความไมแ่ น่นอนในด้านสภาวะอากาศและภัยพิบัติที่ผันผวนเป็นความเสี่ยงในเร่ืองความมั่นคง
ทางอาหารในพื้นท่ี ทั้งน้ี ความล้มเหลวในการสร้างความม่ันคงทางอาหาร จะนาไปสู่ภาวะขาดแคลน
สารอาหาร ความหิวโหย การแย่งชงิ ทรพั ยากรธรรมชาติ และอาจมากไปถึงความขดั แยง้ ในสังคมได้
สาหรับพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีแนวโน้มประชากรท่ีเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่การใช้
ประโยชน์ท่ีดนิ เพื่อเกษตรกรรมลดลง จะเห็นได้ว่าการเพ่ิมข้นึ ของประชากรกบั การมีอยู่ของแหล่งอาหารเปน็ ไป
ในทิศทางผกผันกัน แสดงถึงโอกาสที่ต้องพ่ึงพาอาหารจากภายนอกพื้นที่เพ่ิมมากข้ึนซ่ึงเป็นความเส่ียงของ
ประชาชนในพ้ืนที่ กรณีท่ีเกิดภัยพิบัติที่ทาให้เกิดภาวะขาดแคลนอาหาร หรือการเกิดโรคระบาด เช่น COVID-
19 ที่ไม่สามารถเดินทางได้ ทงั้ นี ้โอกาสในการลดความเส่ียงของประชาชน คือ การเข้าถึงองค์ความรู้ และ
ข้อมูลกรณีศึกษาที่ประสบความสาเร็จมากข้ึน จากภาควิชาการทั้งในมหาวิทยาลัยและเครือข่ายปราชญ์
ชาวบ้าน
(๒) ความเปน็ อยูแ่ ละสุขภาพ
จากรายงานขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization, 2013) ประชากรโลกกาลัง
เผชญิ กับปัญหาโรคไมต่ ิดต่อที่มีผลตอ่ ความเจ็บป่วยและการตายของประชากรโลกมากที่สดุ เปน็ ภัยคกุ คามต่อ
สุขภาพของประชากรโลกที่ท้าทายและกัดกร่อนการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจในท่ัวโลก โดยมีสถิติผู้เสียชีวิต
จากโรค NCDs ต่อปี คิดเป็นร้อยละ ๗๑ ของการเสียชีวิตทั้งโลก (World Health Organization, 2018)
สาเหตุสาคัญคือ พฤติกรรมการใช้ชีวิตในสังคมเมืองสมัยใหม่ที่นิยมการบริโภคอาหาร ตลอดจนการเผชิญกับ
มลพิษท่ีเพ่ิมขึ้นตามการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ โดยเฉพาะสถานการณ์
การป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อท่ีมีแนวโน้มการเปล่ียนแปลงระดับโลกเพ่ิมสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ สาหรับพื้นที่เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีจานวนผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ร้อยละ ๑๔.๘๙
ของจานวนประชากรทั้งหมด สาหรับแนวโน้มของการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อมีแนวโน้มของสัดส่วนผู้ป่วย
ดว้ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ สูงขน้ึ
จากสถานการณ์ดังกล่าว ประเทศไทยมีโอกาสด้านการท่องเท่ียวทางการแพทย์และสุขภาพ เนื่องจาก
มคี ณุ ภาพในการรักษาในระดับสูงและคา่ รักษาพยาบาลอยู่ในระดบั ตา่ ถงึ ปานกลางหากเปรียบเทยี บกับประเทศ
ท่ีพัฒนาแล้ว จึงทาให้ได้รับความสนใจจากผู้ป่วยต่างประเทศที่จะเข้ามารับบริการทางการแพทย์และสุขภาพ
(สถาบันทรัพย์สนิ ทางปัญญาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๖๐) อย่างไรก็ตามอาจทาให้อตั ราคา่ บริการปรับตัว
๒-๔
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สูงข้ึนและส่งผลกระทบต่อความสามารถในการให้บริการแก่ประชาชนในประเทศ จึงเป็นโอกาสและความท้า
ทายของประเทศไทยในการพัฒนาประสิทธิภาพและขีดความสามารถในการให้บริการทางการแพทย์และการ
ดูแลสุขภาพตามแนวโน้มท่ีเพ่ิมขึ้น (สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๖๔) ในขณะท่ี
แผนภาพรวมเพื่อการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๔๖๕ กาหนดเป้าหมายการ
พัฒนาระดับจังหวัดของจังหวัดชลบุรีให้เป็นเมืองท่องเท่ียวเชิงคุณภาพและการศึกษา เป็นศูนย์กลางทาง
การเงินและการวจิ ัยและพฒั นา โดยมีแนวทางการพัฒนาสง่ เสริมยกระดับการท่องเท่ยี วในเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกสู่การท่องเที่ยวระดับโลกอย่างย่ังยืน โดยเฉพาะการรองรับนักท่องเท่ียวกลุ่มรายได้ดี และกลุ่มเชิง
สขุ ภาพ
สาหรับการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่หรือ โควิด-19 (COVID-19) ส่งผล
กระทบต่อภาคเศรษฐกิจในทางบวกต่ออุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์รวมถึงผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องมือทางการ
แพทย์ ในส่วนของผลกระทบเชิงลบ มีผลต่อเศรษฐกิจในด้านการเงินการธนาคาร ด้านยานยนต์ ธุรกิจการ
ท่องเที่ยว และด้านภาคการขนส่ง เช่น สายการบินและการคมนาคมท่ีได้รับผลกระทบ โดยการแพร่ระบาด
เฉพาะระลอกใหม่ (เดือนธันวาคม ปี พ.ศ. ๒๕๖๓) ทาให้กิจกรรมการเดินทางในเขตพ้ืนที่ EEC ทั้ง ๓ จังหวัด
ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทราลดลงถึงราว -๒๒.๖% เทียบกับค่าเฉลี่ยช่วงเดือนกุมภาพันธ์ปีท่ีผ่านมา
(ก่อนการล็อคดาวน์คร้ังแรก) นอกจากนี้ยังมีผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ทางบวก คือ การฟ้ืนตัวของระบบ
นิเวศชั่วคราว จากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีปริมาณลดลงประมาณร้อยละ ๔ - ๘ พืชพันธ์ุไม้หายาก
กลับมาเจรญิ งอกงาม รวมถึงสัตว์หายากออกมาให้พบเหน็ บ่อยครัง้ ขึ้น และยงั มีข้อมูลบ่งชี้ว่าเต่ามะเฟืองขึ้นมา
วางไข่บนชายหาดมากท่ีสุดในรอบ ๒๐ ปี นอกจากนั้นยังพบว่าปรมิ าณขยะรวมของเขตเมืองต่าง ๆ โดยเฉพาะ
เมืองท่องเท่ียว มีปริมาณที่สดลง อย่างไรก็ตามผลกระทบด้านลบ คือการเพ่ิมข้ึนของมูลฝอยติดเชื้อจาก
หน้ากากอนามัย และขยะพลาสติกจากการใช้บริการฟู้ดเดลิเวอรี่ (สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล, ม.ม.ป.)
ในขณะท่ี ผลกระทบด้านสังคม ท่ีมีผลตอ่ คุณภาพชวี ิต คือความเส่ียงดา้ นความม่ันคงทางอาหารสาหรับพ้ืนท่ีท่ี
ไม่มีแหล่งผลิตอาหารของตนเองท่ีเพียงพอ แนวทางการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว คือ การส่งเสริมการสร้าง
แหล่งอาหารในพ้ืนท่ีให้เพยี งพอตอ่ ความต้องการ โดยเฉพาะการอนรุ ักษ์และฟ้ืนฟูความหลากหลายทางชวี ภาพ
ในพืน้ ท่ใี หเ้ ปน็ ฐานทรัพยากรทส่ี ามารถส่งเสริมการพัฒนาดา้ นเศรษฐกจิ ชวี ภาพ
(๓) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
จากการรายงานของ IPCC (2021) แสดงข้อมูลอุณหภูมิเฉล่ียพื้นผิวโลกในช่วง พ.ศ. ๒๕๕๔ -
๒๕๖๓ สูงกวา่ ในช่วง พ.ศ. ๒๓๙๓ – ๒๔๔๓ ถึง ๑.๐๙ องศาเซลเซียส แต่หากพิจารณาอุณหภมู เิ ฉพาะบนพ้ืน
แผ่นดินในช่วงเวลาดังกล่าว จะพบว่าอุณหภูมิเฉลี่ยเพ่ิมสูงข้ึนถึง ๑.๕๙ องศาเซลเซียสแล้ว ซ่ึงเร็วกว่าท่ี
คาดการณ์ไว้ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ผลกระทบจากการเพ่ิมขึ้นของอุณหภูมิเฉล่ียของโลกนาไปสู่ภาวะคลื่น
ความร้อน ในบางพ้ืนที่ต้องเผชิญกับน้าท่วมฉบั พลัน หรือภาวะภัยแล้งและภาวะฝนท้ิงช่วงจะเกิดถีข่ ้ึน ในขณะ
ที่หลายภูมิภาคอาจเผชิญกับความถี่ของการเกิดพายุที่รุนแรงขึ้น และการรุกล้าของน้าทะเล ความเสี่ยงที่
เกิดข้ึนนอกจากสุขภาพและทรัพย์สินแล้ว การลดลงของผลผลิตทางการเกษตรเนื่องจากการเปล่ียนแปลงของ
สภาพภูมิอากาศท่ีไม่ถูกต้องตรงตามฤดูกาลตามธรรมชาติ ในขณะเดียวกันสภาพภูมิอากาศท่ีเปล่ียนแปลงยัง
๒-๕
แผนสง่ิ แวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สง่ ผลต่อการแพร่ระบาดของโรคตามฤดูกาลทีม่ แี นวโนม้ รนุ แรงขึ้น และยังเป็นปจั จยั ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ โรคอุบตั ใิ หม่
หรืออุบัติซ้าในหลายพ้ืนท่ีของโลก (สรันยา เฮงพระพรหม, ๒๕๕๒) ดังน้ัน ความพยายามในการควบคุมการ
ปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกจึงเป็นประเดน็ สาคญั และท้าทายสังคม ภายใตก้ รอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าดว้ ยการ
เป ล่ี ยน แป ล งส ภ าพ ภู มิ อ าก าศ (United Nations Framework Convention on Climate Change:
UNFCCC) กาหนดให้ทุกประเทศเสนอเป้าหมายและความก้าวหน้าของการดาเนินงานภายในประเทศเพื่อ
แก้ไขปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนมีความแตกต่างกนั ในระดับของความ
รุนแรงตามลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศเฉพาะถิ่น และการผสมผสานของปัจจัยหลาย ๆ ด้าน นาไปสู่
ผลกระทบต่อภูมินิเวศอ่ืน เช่น การเปลยี่ นแปลงของพื้นท่ตี ้นนา้ มีผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลงของความมีอยู่
ของน้าในภาคการเกษตร ซ่ึงปัจจัยขับเคลื่อนท่ีสาคัญของภาวะโลกร้อนและการเปล่ียนแปลงระบบน้าฝนที่
เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของมนุษย์เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและมลพิษ (Allen, M.R., et al.,
2018)
การวิเคราะห์ข้อมูลอากาศท่ีจังหวัดระยองในช่วงเวลาก่อน (ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๓๓) และหลัง
(ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ - ๒๕๔๓) การพัฒนาให้จังหวัดระยองเป็นพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมหลัก (พงษ์ศักด์ิ วิทวัสชุติกุล,
๒๕๖๔) พบว่า อากาศมีอุณหภูมิเฉลี่ย (mean temperature) และอุณหภูมิจุดน้าค้าง (dew point
temperature) สงู ขึ้น ๐.๒ และ ๐.๓ องศาเซลเซยี ส ตามลาดบั นอกจากนน้ั ผลจากการเปรยี บเทยี บข้อมูลเส้น
ค่าเฉลี่ยการเคลอื่ นท่ี ๑๐ ปีของปริมาณน้าฝนรายปีในช่วงปี พ.ศ.๒๕๓๘ – ๒๕๕๒ ของสถานีวจิ ัยต้นนา้ ชายฝั่ง
ทะเลตะวันออก อาเภอเมือง จังหวัดระยอง และระหว่างพืน้ ทโี่ ลง่ ของหมูบ่ ้านตะพงในกบั พื้นทีป่ ่าไมบ้ ริเวณเขา
ยายดา-ทา่ ฉุด ผลปรากฏวา่ พน้ื ทท่ี ั้งสองมแี นวโน้มของปริมาณนา้ ฝนรายปลี ดลง
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพและทรัพย์สิน รวมถึงความมั่นคงทาง
อาหารจากการลดลงของผลผลิตทางการเกษตร โดยมีแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกท่ีสาคัญมาจากสาขา
พลังงาน สาขาเกษตรกรรม สาขาอุตสาหกรรมและสาขาของเสีย ในขณะท่ีสาขาการใช้ประโยชน์ที่ดินและป่า
ไม้ เป็นภาคที่มีการดูดกลับกา๊ ซเรือนกระจก ในพ้ืนที่เขตพัฒนามีความต้องการใช้พลังงาน และน้าในปริมาณท่ี
เพ่ิมขึ้น การบริหารจัดการทรัพยากรพลังงานและน้าจึงเป็นประเด็นท้าทายหลักสาหรับตอบสนองความ
ต้องการควบคู่ไปกับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อย่างไรก็ตาม มีโอกาสในพัฒนาด้วยการเปลี่ยนรูปการ
ใช้พลังงานจากฟอสซิลไปสู่การใช้พลังงานทดแทนด้านต่าง ๆ เป็นทิศทางการพัฒนาด้านสาขาพลังงานใน
อนาคต ในขณะที่การนาน้าท่าและน้าบาดาลมาใช้ประโยชน์เพ่ิมมากขึ้น เป็นได้ทั้งโอกาสในการส่งเสริมการ
พัฒนาเศรษฐกิจและความเส่ียงต่อความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ดังน้ัน การเพ่ิมพื้นท่ีสีเขียวและ
ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตรกรรมให้มีความหลากหลายทางชีวภาพที่ใกล้เคียงกั บลักษณะของ
ปา่ ธรรมชาติเป็นอีกโอกาสในการเพิม่ พื้นท่ีป่าและเพ่ิมความสามารถในการบริการนิเวศด้านน้าท่าและนา้ ใต้ดิน
ที่ส่งเสริมการพัฒนาได้อยา่ งมสี มดุลตามธรรมชาติ
การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
สมยั ที่ ๒๖ (COP 26) ระหว่างวันท่ี ๒๙ ตุลาคม - ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ณ เมืองกลาสโกว์ สหราชอาณาจักร ถอ้ ย
แถลงของประเทศไทย โดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนไทย ได้แสดง
๒-๖
แผนส่งิ แวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
จุดยืนของประเทศไทยท่ีให้ความสาคัญสูงสุดกับการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และพร้อม
ร่วมมือกับทุกประเทศและทุกภาคส่วนเพ่ือบรรลุเป้าหมายร่วมกันในการแกป้ ัญหา และได้แสดงเจตนารมณ์ของ
ประเทศไทยท่ีจะยกระดับการแก้ไขปัญหาภูมิอากาศที่จะทาให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทาง
คาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปี ค.ศ. ๒๐๕๐ และเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
(Net Zero Greenhouse Gas Emission) ภายในหรือก่อนปี ค.ศ. ๒๐๖๕ ปัจจุบันประเด็นดังกล่าวจึงเป็นแรงกดดัน
และความทา้ ทายสาหรบั การจดั ทาแผนสง่ิ แวดล้อมทีจ่ ะนาไปสูค่ วามสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย โดยมีแนวทางการดาเนินงาน
ภายใต้การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว หรือ BCG Economy (Bio
Circular Green Economy) มาสู่การปรับกระบวนทัศน์และการพัฒนาเศรษฐกิจท่ีไม่ทาลายระบบนิเวศ ด้วยการทางาน
ร่วมกนั ของภาครัฐบาล ธรุ กิจ และประชาสังคม
ถ้อยแถลงของประเทศไทย โดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้าคณะ
ผู้แทนไทย เมื่อวันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ มีสาระของถ้อยแถลงท่ีเน้นแสดงจุดยืนของประเทศไทยที่ให้
ความสาคญั สูงสดุ กบั การแก้ไขปญั หาการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ และพรอ้ มรว่ มมือกับทุกประเทศและทุก
ภาคส่วนเพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกันในการแก้ปัญหา โดยในปัจจุบันสัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ
ประเทศไทย คิดเป็นร้อยละ ๐.๗๒ ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของท้ังโลก และได้แสดงเจตนารมณ์ของ
ประเทศไทยท่ีจะยกระดับการแก้ไขปัญหาภูมิอากาศที่จะทาให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทาง
คาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปี ค.ศ. ๒๐๕๐ และเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
(Net Zero Greenhouse Gas Emission) ภายในหรือก่อนปี ค.ศ. ๒๐๖๕ ปัจจุบัน ประเทศไทยไดน้ าแนวคิดเศรษฐกิจ
ชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว หรือ BCG Economy (Bio Circular Green Economy) มาผนวกใน
ยุทธศาสตร์แห่งชาติ เพอ่ื นาไปสู่การปรบั กระบวนทัศน์และการพัฒนาเศรษฐกจิ ท่ไี มท่ าลายระบบนิเวศ
ประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นแรงกดดันและความท้าทายสาหรับการจัดทาแผน
ส่ิงแวดล้อมทีจ่ ะนาไปสคู่ วามสาเร็จตามเปา้ หมาย โดยมแี นวทางการดาเนนิ งานภายใต้การประยกุ ตใ์ ช้แนวคดิ เศรษฐกิจ
ชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว หรือ BCG Economy (Bio Circular Green Economy) มาสู่การปรับ
กระบวนทัศน์และการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่ทาลายระบบนิเวศ ด้วยการทางานร่วมกัน ของภาครัฐบาล ธุรกิจ และ
ประชาสงั คม
(๔) นโยบายและอนสุ ญั ญาระหว่างประเทศ
๑) The Biden Plan for a Clean Energy Revolution and Environmental Justice มีการ
กาหนดเป้าหมายการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิของประเทศสหรัฐอเมริกาให้เป็นศูนย์และการบรรลุ
เศรษฐกิจพลังงานสะอาดอย่างสมบูรณ์ ในปี ค.ศ. 2050 ได้มีการระบุถึงการผลักดันประเทศอ่ืน ๆ ในโล ก
(รวมถงึ ประเทศไทย) ให้ใช้มาตรการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกเป็นแนวทางการค้าระหว่างประเทศ
๒) สหภาพยุโรปได้มีการเผยแพร่ร่างกฎหมายว่าด้วยมาตรการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน
(Carbon Border Adjustment Mechanism - CBAM) อาจเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้การส่งออกไปยังสหภาพ
ยโุ รปตอ้ งเผชญิ กบั กฎระเบยี บด้านสิง่ แวดลอ้ มทเ่ี ข้มงวด จากการถูกเรยี กเก็บค่าธรรมเนียม หรือ “คา่ ปรบั ” ใน
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากสินค้า แม้ว่าการศึกษาของ UNCTAD พบว่า ประเทศไทยไม่อยู่ใน ๒๐ อันดับ
แรกของประเทศทีม่ ีความเส่ียงได้รับผลกระทบจากมาตรการดงั กล่าว แตห่ ากทิศทางและแนวโน้มของการสร้าง
๒-๗
แผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ข้อกาหนดและเง่ือนไขดังท่ีกล่าวมาข้างต้น จากกลุ่มประเทศที่มีอิทธิพลสูงเป็นประเด็นแรงกดดันที่ควรได้รับ
การพิจารณาในการกาหนดทิศทางของอุตสาหกรรมในประเทศไทย ซึ่งรวมถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่และ
การปรับปรุงอุตสาหกรรมเดิมในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับมาตรการระหว่าง
ประเทศทีเ่ กดิ ข้ึนในอนาคต
๓) รายงาน Thailand Third Biennial Update Report : BUR.3 (2020) ที่ปรับปรุงข้อมูลจาก
Thailand’s Third National Communication ได้แสดงถึงการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคส่วน
ต่าง ๆ อาทิ ภาคพลังงาน ภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการใชผ้ ลิตภณั ฑ์ และภาคของเสยี ซึ่งภาคพลงั งานน้ัน
เป็นภาคที่มีสดั ส่วนการปลดปล่อยสูงสุด (ร้อยละ ๗๑.๖๕ ของการปลดปล่อยทั้งหมด) การพฒั นามาตรการใน
การลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคส่วนและกิจกรรมที่สาคัญในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก คือ การพัฒนาบนหลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-
economy – Circular economy – Green economy: BCG) เพ่ือลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศและมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกสากล
แม้ว่าภาคการเกษตรจะมีการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกท่ีมีสัดส่วนเป็นอันดับสองรองจากภาค
พลังงาน แต่จากการพิจารณาค่าการดูดกลับก๊าซเรือนกระจกสุทธิ (net removal) ของพื้นที่เพาะปลูกน้ัน
พบว่ามีค่าการดูดกลับมากกว่าค่าการปลดปลอ่ ย จึงเป็นประโยชน์ตอ่ การพิจารณาการจัดการรักษา ฟ้ืนฟู และ
เพิม่ พ้ืนทีส่ ีเขียวในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออกต่อไป
อย่างไรก็ตาม ผลกระทบด้านหน่ึงของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อระบบนิเวศคือการ
สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ตามอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on
Biological Diversity) มีวตั ถุประสงคใ์ นด้านการอนุรักษ์ การใช้ประโยชน์ และการแบง่ ปนั ผลประโยชน์ อย่าง
ย่ังยืน ยุติธรรม และเท่าเทียม และยังมีผลเชื่อมโยงต่อพันธกรณีอ่ืน เช่น พิธีสารนาโงยาว่าด้วยการเข้าถึง
ทรัพยากรพันธุกรรมและการแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการแบ่งปันทรัพยากรพันธุกรรมอย่างยุติธรรมและ
เท่าเทียม เพ่ือช่วยขบั เคลื่อนวัตถุประสงคด์ ้านการแบง่ ปันผลประโยชนอ์ ยา่ งยุตธิ รรมและเทา่ เทยี ม ดงั นน้ั กรอบ
ความคิดด้านการอนุรักษ์ การใช้ประโยชน์ และการแบ่งปันผลประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ ต่อ
การวางแผนจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก จะต้องคานึงถึง
กรอบการดาเนินการดังกลา่ วกบั แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ (Bio economy)
นโยบายและอนุสั ญ ญ าระหว่างประเทศผ ลักดันให้ทิศทางการพัฒ นาพื้นท่ีภ ายใต้ หลักการ
เศรษฐกิจชวี ภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-economy – Circular economy – Green
economy: BCG) เพ่ือลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมาตรการลดก๊าซเรือนกระจก
สากล ประกอบด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ (Bio economy) ด้วยการสนับสนุนพลังงานทางเลือก โดย
การปรับเปลี่ยนรูปแบบพลังงานและการขนส่งจากเช้ือเพลิงฟอสซิลเป็นพลังงานหมุนเวียน และการส่งเสริม
การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพในภาคเกษตรกรรม การพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular economy) ด้วย
การส่งเสริมเทคโนโลยีสะอาดและการนากลับมาใช้ใหม่ในภาคอุตสาหกรรมและการลดของเสีย และการ
ส่งเสริมอตุ สาหกรรมการผลิตใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากลในด้านตา่ ง ๆ (Green economy)
๒-๘
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
กล่าวโดยสรุปสถานการณ์ความท้าทายโลก ด้านความม่ันคงทางอาหาร สุขภาพ การ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และนโยบายและสนธิสัญญาระหว่างประเทศ นับเป็นแรงกดดันภายนอกท่ีมีต่อ
พนื้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออกท่ีจาเป็นตอ้ งมีการเตรยี มการรับมือกับสถานการณ์ดงั กลา่ ว
๓.๒ แรงกดดนั ภายใน: โครงการพัฒนา เศรษฐกจิ ประชากร และสถานการณท์ รัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
๓.๒.๑ โครงการพฒั นา
การพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรม โดยเฉพาะเร่ือง อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative
Economy) เพื่อเพิ่มศักยภาพ ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ ท่ีเรียกว่า S-Curve โดยได้จาแนกกลุ่ม
อุตสาหกรรมออกเป็น ๒ รูปแบบ ได้แก่ ๑) รูปแบบอุตสาหกรรมเดิม (First S-Curve) และ ๒) รูปแบบ
อุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) เป็นการลงทุนในอุตสาหกรรมใหม่ เพื่อเปล่ียนแปลงรูปแบบสินค้าและ
เทคโนโลยี ด้วยเหตุนี้ โครงการพัฒนาในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกจึงเป็นความหวังในการพลิกโฉม
ภาคการผลิตของประเทศไทย โดยมุ่งดันผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) ให้เตบิ โตมากข้ึน โดยโครงการ
โครงสร้างพ้ืนฐานในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกที่ได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี เพ่ือรองรับการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในเขตพ้ืนท่ีดังกล่าว ประกอบด้วย ๑) โครงการรถไฟความเร็วสูงเช่ือมสามสนามบิน
๒) ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๓ ๓) สนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบิน ภาคตะวันออก ๔) ท่าเรือ
แหลมฉบัง ระยะที่ ๓ ๕) โครงการศูนย์ซ่อมบารุงอากาศยานอู่ตะเภา ๖) โครงการเขตส่งเสริมอุตสาหกรรม
และนวัตกรรมดิจิทลั โดยเมื่อโครงการเหล่านี้ทาการสร้างแล้วเสร็จจะทาให้เกดิ กระแสหมุนเวียนทางธุรกจิ และ
สร้างความเจริญและการพัฒนาทีม่ ีต่อพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
โครงการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ ย่อมส่งผลกระทบต่อคุณ ภาพ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เน่ืองจากระบบนิเวศตามธรรมชาติมีความซับซ้อนเกินกว่าท่ีจะทดแทน
ความเสียหายที่เกิดข้ึนได้อย่างสมบูรณ์ ประกอบกับต้องการเวลานานในการฟื้นตัว เช่น ผลกระทบจาก
โครงการท่าเรือ ที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสมุทรศาสตร์ที่เป็นปัญหาสาคัญคือเรอ่ื งการกัด
เซาะชายฝ่ัง นอกจากน้ัน การสูญเสียพ้ืนที่ในทะเลจากการถมหรือการขุดล่องน้าสง่ ผลต่อการทาลายนิเวศทาง
ทะเลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งแม้ว่าจะมีมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาในช่วงดาเนินการก่อสร้างและหลัง
การก่อสร้าง แต่ก็เป็นเพียงมาตรการรักษาและฟ้ืนฟูระบบนิเวศในและโดยรอบพื้นที่ดาเนินงานเท่านั้น ดังน้ัน
เพื่อให้การพัฒนาสมดุลกับการรักษาคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การส่งเสริมการฟ้ืนฟู ดูแล
รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะในเขตพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษจาเป็นต้องมีความเข้มข้นทั้ง
มาตรการและกิจกรรม และครอบคลุมพื้นท่ีพัฒนาท้ังหมดเป็นพิเศษกว่าพ้ืนท่ีอื่น ทั้งน้ีการบริหารจัดการใน
ปัจจุบนั มียทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ท่ี ๕ ด้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรต่อ
ส่ิงแวดล้อม ใน (๑) สรา้ งการเตบิ โตอยา่ งยง่ั ยนื บนสงั คมเศรษฐกจิ สเี ขยี ว
๓.๒.๒ สถานการณเ์ ศรษฐกิจ
เม่ือพิจารณาจากผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product : GPP) พบว่าตั้งแต่ปี
พ.ศ.๒๕๓๘ – ๒๕๖๑ ภาคอุตสาหกรรมในพ้ืนที่มีสัดส่วนสูงกว่าภาคเศรษฐกิจด้านการเกษตรและภาคการ
บริการ ทั้งนี้ในการศึกษาเพ่ือพยากรณ์เศรษฐกิจในภาคต่าง ๆ ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ตั้งแต่ปี
๒-๙
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๗๐ โดยแบ่งออกเป็น ๓ ภาคเศรษฐกิจ (ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคการบริการ)
โดยพจิ ารณารูปแบบการเปล่ียนแปลงของ GPP ดว้ ยการประยุกต์ใชแ้ บบจาลอง ARIMA ในการคานวณผลการ
พยากรณ์ภาคเศรษฐกิจในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในส่วนของภาคอุตสาหกรรมและภาคการ
บรกิ ารมีการเตบิ โตอย่างตอ่ เนื่อง โดยภาคการบรกิ ารมีอตั ราการเติบโตท่สี ูงกวา่ ภาคอตุ สาหกรรม
ด้วยทาเลของภาคตะวันออกท่ีเป็นศูนย์กลางของอนุภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีมีโอกาส
พฒั นาประเทศไปส่กู ารเป็นศูนยก์ ลางด้านการค้าการลงทุนและการให้บริการโลจิสติกที่เชื่อมโยงภูมิภาคต่าง ๆ
ทั่วโลก อย่างไรก็ตาม แนวโน้มเศรษฐกิจการเมืองที่สัมพันธ์เช่ือมโยงกับนโยบายระหว่างประเทศโดยเฉพาะ
ประเทศสหรัฐอเมริกาภายใต้การบริหารของโจ ไบเดน ที่ผลักดันนโยบายส่ิงแวดล้อมที่ให้ความสาคัญกับการ
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกผ่านกลไกความตกลงและการกาหนดเงื่อนไขทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี ทาให้
ประเทศไทยตอ้ งพฒั นากระบวนการผลติ และสินค้าทีเ่ ป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มที่สอดคล้องตามมาตรฐานสากล
๓.๒.๓ สถานการณป์ ระชากร
พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีจานวนประชากรรวมท้ังส้ิน ๓,๐๑๓,๑๖๗ คน แยกเป็น
ประชากรในจังหวัดฉะเชิงเทรา ๗๒๐,๑๑๓ คน ประชากรในจังหวัดชลบุรี ๑,๕๕๘,๓๐๑ คน ประชากรใน
จังหวัดระยอง ๗๓๔,๗๕๓ คน (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๒) สาหรับความหนาแน่นของ
ประชากรในเขตพื้นท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีความหนาแน่นของประชากร ๒๒๗ คนต่อตารางกิโลเมตร
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ทั้งนี้มีการคาดการณ์จานวนประชากรของสานกั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก (๒๕๖๑) คาดว่าจะมีจานวนประชากรในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ๖,๐๙๐,๘๒๔
คน และประชากรแฝง คาดว่าจะมีจานวน ๒,๖๕๗,๘๒๘ คน ใน ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ในส่วนของการคาดการณ์
จานวนนักทอ่ งเที่ยว (ผู้มาเยอื น) ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีจานวนนักท่องเท่ียว (ผมู้ าเยือน) ท้ังหมด ๒๖,๒๒๙,๕๐๓
คน คาดการณ์จะเพ่ิมข้ึนเป็น ๙๗,๗๒๐,๙๔๑ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ในส่วนของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ มี
จานวน ๙,๑๗๖,๘๔๒ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ และจะเพิ่มเป็น ๓๕,๐๓๔,๐๒๖ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ขณะท่ี
คาดการณ์กาลงั แรงงานในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ พืน้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษ
ภาคตะวันออกมีการกาลังแรงงาน ๒,๔๑๔,๑๔๔ คน และจะเพิ่มขน้ึ เป็น ๓,๐๒๒,๐๒๘ ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ การ
เพิ่มขึ้นของจานวนประชากร นักท่องเท่ียวอาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีต้อง
ตอบสนองตอ่ ความต้องการท่เี พ่ิมขึน้ ในขณะท่ี ในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีประชากรร้อยละ ๕๓
อาศัยอยู่ในเมืองหรอื เขตเทศบาล ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จงั หวัดชลบุรีมีสดั ส่วนของคนที่อาศัยในเขตเมืองสูงสุดคือ
ร้อยละ ๖๙ ตามดว้ ยจังหวดั ระยอง รอ้ ยละ ๔๙ และจังหวัดฉะเชงิ เทรา ร้อยละ ๒๒ ตามลาดับ โดยในช่วง ๑๐
ปี ระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ สัดส่วนของผู้อาศัยในเขตเมืองเพิ่มขึ้นเล็กน้อย โดยจังหวัดชลบุรีและ
ระยองมีแนวโน้มของการอยู่อาศัยในเขตเมืองเพ่ิมข้ึนเล็กน้อยในขณะที่จังหวัดฉะเชิงเทรามีแนวโน้มค่อนข้าง
คงที่ การท่ีมีประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองสูงประกอบกับจานวนนักท่องเท่ียวที่มีแนวโน้มที่เพ่ิมข้ึน แสดงถึง
ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีสงู ในขณะทีเ่ มืองไม่สามารถผลิตทรัพยากรธรรมชาติเพ่อื ตอบสนองความ
ต้องการของคนในเมืองได้อย่างเพียงพอ ดังน้ัน แนวโน้มการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในชนบทเพื่อตอบสนอง
ความต้องการของคนเมืองจึงเพ่ิมมากขึ้นซ่ึงต้องการมาตรการรองรับเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่าง
เหมาะสมและสมดลุ
๒ - ๑๐
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๓.๒.๔ สถานการณค์ ณุ ภาพสงิ่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
พื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีหลากหลาย มี
เอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัว สามารถดึงดูดนักท่องเท่ียว ท้ังในและนอกประเทศ สร้างรายได้แก่ประชาชนใน
พื้นที่และประเทศ รวมทัง้ เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมหลักของประเทศ ซ่ึงมีการเติบโตทางเศรษฐกิจมาอย่าง
ต่อเนื่อง แต่การพัฒนาดังกล่าวอาจส่งผลกระทบทาให้ทรัพยากรธรรมชาติเส่ือมโทรมและเกิดปัญหามลพิษ
สิ่งแวดลอ้ ม ดังนี้
๓.๒.๔.๑ สถานการณส์ ่ิงแวดล้อม
คุณภาพน้าผิวดิน แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้าผิวดิน พิจารณาจากค่าดัชนี
คุณภาพน้าผิวดิน ๕ ระดับ (Water Quality Index : WQI) (ระดับ ๑ ดีมาก ถึงระดับ ๕ เสื่อมโทรมมาก)
ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ (สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๕๙; ๒๕๖๐; ๒๕๖๑; ๒๕๖๒;
๒๕๖๓) พบว่ามีการเปล่ียนแปลง ๓ ทิศทาง คือ ๑) แหลง่ น้าที่มีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้าเส่อื มโทรมลง คือ
คลองตาหรุ จังหวัดฉะเชิงเทรา แม่น้าประแสร์ จังหวัดระยอง ซ่ึงเปลี่ยนจากคุณภาพน้าระดับพอใช้เป็นเสื่อม
โทรม ๒) แหลง่ นา้ ท่ีมีการเปล่ียนแปลงคุณภาพน้าเสื่อมโทรมลงเพียงเลก็ นอ้ ยถึงไม่เปลย่ี นแปลง คือ แม่น้าบาง
ปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งมีคุณภาพน้าพอใช้ และคลองนครเนื่องเขต คลองท่าไข่ และแม่น้าระยอง ซ่ึงมี
คุณภาพน้าเสื่อมโทรม และคลองพานทอง ซึ่งมีคุณภาพน้าเส่ือมโทรมมาก และ ๓) แหล่งน้าที่มีการ
เปลี่ยนแปลงคุณภาพน้าผิวในระดับดีขึ้น คือ คลองท่าลาด จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเปล่ียนจากคุณภาพน้าเส่ือม
โทรมเป็นพอใช้ สาเหตุความเส่ือมโทรมของคุณภาพน้าผิวดินเกิดจากการทิ้งน้าเสียจากกิจกรรมต่าง ๆ ท้ัง
ชมุ ชน เกษตรกรรม และอตุ สาหกรรม
คุณภาพน้าทะเลและชายฝ่ัง: จุดตรวจวัดที่มีคุณภาพน้าทะเลและชายฝั่ง (MWQI) ที่
เสื่อมโทรมมาก คือ จุดตรวจวัดศรีราชา จังหวัดชลบุรี บริเวณเกาะลอย ๑๐๐ เมตร สาหรับพื้นที่ที่มีคุณภาพ
น้าทะเลชายฝั่งในระดับเสื่อมโทรม ได้แก่ ท่าเรือสัตหีบ ตลาดนาเกลือ ท่าเรือแหลมฉบัง บางแสน อ่างศิลา
อ่าวชลบุรี จังหวัดชลบุรี และหาดสุชาดา จังหวัดระยอง ทั้งนี้หากพิจารณาสถานการณ์คุณภาพน้าทะเลตาม
ฤดูกาล พบว่า คา่ ไนเตรท-ไนโตรเจน ส่วนใหญม่ ีค่าสูงในฤดูฝน (กรมควบคุมมลพิษ; สานักงานส่ิงแวดล้อมภาค
ที่ ๑๓ (ชลบรุ )ี , ๒๕๖๔)
ผลการศึกษาคุณภาพน้าผิวดินและคุณภาพน้าทะเลชายฝ่ังในเชิงพ้ืนที่ พบว่า คุณภาพ
น้าผิวดนิ และคุณภาพน้าทะเลท่ีมีแนวเชื่อมกนั และมีคา่ เกนิ เกณฑ์มาตรฐานใน ๓ บรเิ วณหลกั ๑) บรเิ วณแม่น้า
บางปะกง ท่ีมีแหล่งกาเนิดมลพิษหลักจากสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า กิจกรรมเมืองและย่านการค้า รวมถึง
อุตสาหกรรม ๒) บริเวณแม่น้าระยอง ที่มีแหลง่ กาเนิดมลพิษจากเมืองและยา่ นการค้า รวมถึงอตุ สาหกรรมและ
สถานท่ีราชการและสถาบันต่าง ๆ และ ๓) บริเวณแม่น้าประแสร์ มีแหล่งกาเนิดมลพิษจากสถานท่ีเพาะเล้ียง
สตั วน์ ้าและอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังพบว่าคณุ ภาพนา้ ทะเลชายฝ่ังในบางจุดที่เสื่อมโทรมตามชายฝั่งเกิดจาก
กจิ กรรมบริเวณชายฝั่งโดยรอบ เช่น บรเิ วณเมอื งพทั ยา เปน็ ตน้
สถานการณ์คุณภาพน้าใต้ดินของสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (๒๕๖๓) ที่กรม
ควบคุมมลพิษได้ดาเนนิ การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าบ่อต้ืน ในชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
๒ - ๑๑
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ผลการตรวจวัดคุณภาพนา้ บอ่ ตน้ื ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ พบพารามิเตอร์ท่มี ีค่าสูงเกินค่ามาตรฐาน
คุณภาพน้าใต้ดิน ดังน้ี พารามิเตอร์โลหะหลัก ได้แก่ แมงกานีส ส่วนสารอินทรีย์ระเหยง่ายท่ีตรวจพบว่ามีค่า
เกินมาตรฐานคุณภาพน้าใตด้ นิ ไดแ้ ก่ 1,2 - ไดคลอโรอีเทน คารบ์ อนเดตระคลอไรด์ และไตรคลอโรเอทีลีน
จากรายงานของศูนย์วิจยั และฝึกอบรมด้านส่งิ แวดลอ้ ม (๒๕๖๓) ภายใตโ้ ครงการจดั การ
มลพิษจากแหล่งกาเนิดท่ีส่งผลต่อการปนเป้ือนในดิน น้าใต้ดิน และแหล่งน้าในพื้นที่ชุมชน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓
โดยทาการสารวจและเก็บตัวอย่างน้าใต้ดิน น้าผิวดิน และดิน พบ บริเวณพื้นท่ีที่มีการปนเป้ือนของสาร
อันตรายเกินค่ามาตรฐานน้าใต้ดิน ๒ พื้นท่ี ในจังหวัดฉะเชิงเทรา คือ พื้นที่รอบบริเวณบริษัท ไมด้าวัน ตาบล
ทา่ ข้าม อาเภอบางปะกง พบสารอินทรีย์ระเหยชนิด 1,2,2 TCA ในบ่อน้าต้ืน (๒,๒๘๘ ไมโครกรัมต่อลิตร) และ
รอบบริเวณโรงงานรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์และน้ามันใช้แล้ว ตาบลท่าถ่าน อาเภอพนมสารคาม จังหวัด
ฉะเชิงเทรา พบสารอินทรียร์ ะเหยชนิดไวนิลคลอไรด์ในบอ่ น้าตื้น (๑,๒๗๕ ไมโครกรัมต่อลิตร) สารเบนซิน (๑๑
ไมโครกรัมต่อลิตร) จังหวัดระยอง พบการปนเป้ือนเกินค่ามาตรฐาน ๒ พื้นท่ี คือ รอบโรงงานรีไซเคิลขยะ
อิเล็กทรอนิกส์และน้ามันใช้แล้ว (บ.วินโพรเสส) อ.บ้านค่าย จ.ระยอง พบ สารไวนิลคลอไรด์ในบ่อสระขุดของ
ประชาชน (๑๖๙ ไมโครกรัมต่อลิตร) และรอบบริเวณชุมชนโขดหิน ตาเนินพระ อาเมือง จังหวัดระยอง พบ
สารอินทรยี ร์ ะเหยชนดิ CCl๔, TCE, 1,2-DCA และไวนลิ คลอไรด์
น้าเสียชุมชน แนวโน้มปริมาณน้าเสียชุมชน ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ต้ังแต่ ปี พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ พบว่า มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนของปริมาณน้าเสียเพิ่มมากข้ึน โดยมีอัตราเพ่ิม
๗,๐๓๒ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน สาเหตุของน้าเสียชุมชน เกิดจากระบบบาบัดน้าเสียยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ชุมชน
ทาให้ชุมชนปล่อยน้าเสียสู่ลารางสาธารณะ รวมถึงสู่ทะเลในชุมชนที่อยู่ตามแนวชายฝั่งทะเล นอกจากน้ีใน
บริเวณที่มีระบบบาบัดน้าเสียในบางแห่งไม่สามารถรวบรวมนา้ เสียเข้าสู่ระบบบาบัดได้ตามศักยภาพของระบบ
บาบัดท่ีมีและการเช่ือมท่อน้าเสียจากบ้านเรือนเข้าสู่ระบบยังไม่ครอบคลุมทั้งพ้ืนที่รับผิดชอบ ปัญหาน้าเสีย
จากนอกพ้ืนท่ีรับผิดชอบเข้าสู่ระบบรวบรวมน้าเสีย ทาให้ต้องบาบัดน้าเสียมากขึ้น เช่น เทศบาลเมืองศรีราชา
เทศบาลเมืองแสนสุข และ เมืองพัทยา ในขณะเดียวกันระบบบาบัดน้าเสียบางแห่งไดร้ ับผลกระทบจากการรุก
ของน้าเค็มและขยะท่ีลอยมากับน้าเสียทาให้อุปกรณ์และระบบเสียหายชารุด ระบบบาบัดน้าเสียมีสภาพทรุด
โทรมขาดการซ่อมบารุงเนื่องจากไม่มีงบประมาณ ประกอบกับเทศบาลไม่มีความพรอ้ มในการออกเทศบัญญัติ
ในการจัดเก็บคา่ บริการบาบัดน้าเสยี ดังนนั้ การแก้ไขปัญหาน้าเสยี ชุมชนจึงจาเป็นต้องขยายระบบบาบดั นา้ เสีย
ให้ครอบคลุมพื้นท่ีชุมชน เน่ืองจากมีการเชอื่ มโยงกับคุณภาพน้าผิวดินและคุณภาพน้าทะเลชายฝั่ง (สานักงาน
สิง่ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๖๓)
การบริหารจดั การในปจั จุบัน พบว่า มีการใชก้ ารติดตามตรวจสอบสถานการณ์น้าเสียทั้ง
การเก็บตัวอย่าง การตั้งสถานีเก็บข้อมูลแบบเรียลไทม์ มีจัดตั้งศูนย์ควบคุมมลพิษเพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้า
ต่าง ๆ ท้ังน้าผิวดิน น้าทะเล น้าใต้ดิน ก่อสร้างและพัฒนาระบบบาบัดน้าเสียชุมชน มีการกาหนดประเภท
กิจการท่ีถูกควบคุมการระบายน้าลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ความรู้ ความเข้าใจแก่
ประชาชน รวมถึงองค์การปกครองส่วนท้องถ่ินมีโครงการปรับปรุงและขยายระบบบาบัดน้าเสียชุมชน
๒ - ๑๒
แผนสิ่งแวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สานักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดดาเนินการจัดทาฝายน้าล้นบริเวณปากคลองชากหมากก่อนระบายลงสู่
ทะเล สานักงานประมงจังหวัด มีการฟ้ืนฟูและจัดระเบียบพื้นท่ีเพาะเลี้ยงสัตว์น้าบริเวณชายฝ่ัง โรงงาน
อตุ สาหกรรมบางแหง่ มกี ารนาน้าท้ิงมาบาบดั เพื่อหมุนวนกลับเข้าไปใช้ในโรงงานฯ ใหม่ และมีการรวมกลมุ่ ของ
เครอื ข่ายในการจัดการคณุ ภาพนา้ เชน่ กลมุ่ เฝา้ ระวังน้าผวิ ดิน กลมุ่ ประมงพืน้ บ้านชายฝ่งั
คณุ ภาพอากาศ จากการตรวจวัดพารามิเตอรห์ ลัก ได้แก่ กา๊ ซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ก๊าซคารบ์ อนมอนดอกไซด์ (CO) ก๊าซโอโซน (O3) ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๑๐
ไมครอน (PM10) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ของสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศรวม ๙
สถานีในพื้นที่ ๓ จังหวัด พบว่ามีค่าคุณภาพอากาศไม่เกินค่ามาตรฐาน อย่างไรก็ตามพบว่าแนวโน้มของก๊าซ
ไนโตรเจนไดออกไซด์ และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๑๐ ไมครอน มีแนวโน้มสูงข้ึนระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙ -
๒๕๖๓ แตย่ งั อยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน (สานกั งานส่ิงแวดล้อมภาคที่ ๑๓, ๒๕๖๓)
สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ท่ีมีการตรวจวัดในจังหวัดระยอง จานวน ๙ ชนิด ของ
สถานีตรวจวัด ๑๑ สถานี พบค่าท่ีเกินกว่าค่ามาตรฐาน ๓ ชนิด คือ 1,3–Butadieneและ 1,2 –
Dichloromethane Benzene มีค่าเฉลี่ยเกินค่ามาตรฐาน หากพิจารณาแนวโน้มของค่าเฉล่ียรายปีของ
สารอินทรีย์ระเหยง่าย ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ ของสารอินทรีย์ระเหยง่าย ๓ ชนิดพบว่า สาร 1,3–
Butadiene และ 1,2 – Dichloromethane มีแนวโน้มเพิ่มสูงข้ึน ส่วนของสาร Benzene มกี ารเปลี่ยนแปลง
ของค่าเฉล่ียในแต่ละปีไม่คงที่ (กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๓) ท้ังนี้ในการบริหารจัดการในปัจจุบันมีการติดตาม
ตรวจสอบสถานการณ์คุณภาพอากาศ มีการติดต้ังสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่อุตสาหกรรม
ผปู้ ระกอบการเพิ่มความถี่ในการตรวจสอบ VOCs จาก ๑ ครั้ง/ปี เป็น >= ๒ ครั้ง/ปี มีการส่งเสริมการลงทุน
โครงการท่ีไม่ก่อให้เกิดมลพิษ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ของสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) แก่
ประชาชน รวมถงึ มีการใช้ประมวลหลกั ปฏิบตั ิ CoP (Code of Practice) ในนิคมฯ ทส่ี ามารถปฏิบัติไดจ้ รงิ ทา
ให้ VOCs ต่าลง เป็นผลให้มีแผนการพิจารณายกเลิกเขตควบคุมมลพิษ มีการวางแผนพัฒนาพื้นท่ี ให้
ความสาคญั กบั การเศรษฐกิจสูงสดุ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก การประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกปีฐาน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
ของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ซ่ึงจะครอบคลุมการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากขอบเขตและภาคส่วนต่างๆ ได้แก่ ในขอบเขตที่ ๑ จากภาคพลังงาน (ยกเว้นการ
ผลิตไฟฟ้าและส่งเข้าสายส่ง) จากภาคขนส่ง จากภาคการจัดการของเสีย (ยกเว้นของเสียที่ถูกนาเข้าจาก
จังหวัดอื่นมาจัดการภายในจังหวัด) จากภาคกระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ และจากภาค
การเกษตร ป่าไม้ และการใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ในขอบเขตที่ ๒ จากภาคพลงั งานและภาคขนสง่ และในขอบเขตท่ี
๓ จากภาคการจดั การของเสีย (ได้แก่ ของเสียท่ีเกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในจังหวัดแต่ถูกนาไปจัดการภายนอก
จังหวัด) และจากภาคพลังงาน (การสูญเสียพลังงานจากสายส่งและจาหน่ายไฟฟ้า) และภาคขนส่ง ท้ังน้ีพบ
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ๕๐.๗๓ ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยปรมิ าณการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกสูงสุดระดับ Basic+ ในจงั หวัดชลบุรี ๒๓
ล้านตนั คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ จงั หวัดระยอง ๒๑.๙๗ ลา้ นตนั คาร์บอนไดออกไซดเ์ ทยี บเท่า และจังหวัด
ฉะเชงิ เทรา ๕.๗๖ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทยี บเท่า และมีแนวโน้มการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกเพม่ิ มากขึ้น
๒ - ๑๓
แผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ในท้ังสามจังหวัด โดยคาดการณ์ในกรณีปกติปริมาณก๊าซเรือนกระจกในอนาคตของพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ระดับ Basic+ จะมีปริมาณเพ่ิมขึ้นเป็น ๖๑.๔๖ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่า (องคก์ ารบรหิ ารจดั การก๊าซเรือนกระจก, ๒๕๖๔)
การจัดการขยะมลู ฝอยชมุ ชนและกากของเสียอนั ตราย
- ขยะมูลฝอยชุมชน ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีประมาณ ๑.๖๘ ล้านตัน ปริมาณขยะมูลฝอยที่นาไปใช้ไประโยชน์ ร้อยละ ๒๑.๐๓ มี
ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีกาจัดถูกต้องร้อยละ ๕๑.๓๓ กาจัดไม่ถูกต้อง ร้อยละ ๒๗.๖๔ โดยพบว่า แนวโน้ม
ปริมาณขยะมูลฝอยเพิม่ สงู ข้ึน (กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๒) ท้ังนจ้ี ากการคาดการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยในพนื้ ท่ี
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๐ จากอัตราการเปล่ียนแปลงปริมาณขยะและการ
คาดการณ์จานวนประชากรของสานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระหว่างปี
พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๐ พบวา่ ปริมาณขยะมีแนวโนม้ เพ่ิมขน้ึ โดยมอี ัตราการเพิ่มข้ึน ๒๖๑.๓๕ ตันตอ่ วัน ในการ
บริหารงานปัจจุบัน มีแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ที่มี
โครงการสนับสนนุ ด้านการจดั การขยะและน้าเสีย รวมถงึ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีแผนการดาเนินงานด้าน
การจดั การขยะและนา้ เสียในพ้นื ท่ี
- มูลฝอยติดเช้ือ ในปีพ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า มีปริมาณมูลฝอยติดเช้ือ ๒,๐๕๖.๙๑ ตัน/ปี
หรอื คิดเป็น ๕.๖๓ ตนั ต่อวัน (กรมอนามยั , ๒๕๖๓) โดยมูลฝอยตดิ เช้ือมอี งค์การบริหารสว่ นจังหวัดระยองเป็น
หน่วยงานที่ดาเนินการรับกาจัดมูลฝอยติดเช้ือทั้งในเขตและนอกเขตจังหวัดระยองด้วยระบบเตาเผาได้
มาตรฐานตามหลักวชิ าการ ขนาด ๓.๖ ตันตอ่ วัน (เปิดระบบการดาเนินงานแลว้ ) และอยรู่ ะหวา่ งดาเนินการอีก
หนึง่ แห่งมีขนาด ๗ ตันตอ่ วัน (อยรู่ ะหวา่ งการปรับแกแ้ บบ) โดยการเปลยี่ นแปลงสถานการณ์มูลฝอยติดเชอื้ มี
แนวโน้มเพ่ิมข้ึน ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓ สาเหตุหลักท่ีสาคัญคือการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ ๑๙ ท่ี
เกิดขึ้นตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นมา หากพิจารณาปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่ต้องกาจัดในปัจจุบัน
ประมาณ ๕.๖ ตันต่อวัน แต่ความสามารถในการกาจัดของระบบอยู่ท่ี ๓.๖ ตันต่อวัน จึงมีมูลฝอยติดเชื้อ
ตกค้างอยู่ ๒ ตันต่อวนั แตห่ ากมีการก่อสรา้ งระบบเตาเผามูลฝอยตดิ เชอื้ ขนาด ๗ ตันต่อวันแล้วเสร็จกส็ ามารถ
รองรบั มูลฝอยติดเช้ือในปจั จบุ นั เพียงพอ
- ขยะทะเล จากข้อมลู กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง (๒๕๖๐) ปริมาณขยะทะเลท่ี
พบในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีจานวน ๒๖,๔๓๖ ชิ้น โดยพบขยะทะเลในจังหวัดชลบุรี จานวน
๗,๙๖๐ ช้ิน และจังหวัดระยอง ๑๘,๔๗๖ ชิ้น ทั้งนี้ฐานข้อมูลขยะทะเล ไม่พบการรายงานปริมาณขยะทะเลท่ี
พบในจังหวัดฉะเชิงเทรา ทั้งนี้ ในประเด็นของขยะทะเลจากการดาเนินงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝ่ังจัดการเก็บขยะตกค้างในระบบนิเวศชายฝ่ัง ได้แก่ ชายหาด ปะการัง และ ป่าชายเลน พบว่า ใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ พบปริมาณขยะตกค้างในระบบนิเวศชายฝั่ง และเฉพาะกิจ ในพื้นที่เขตพัฒนา
พเิ ศษภาคตะวนั ออก จานวน ๑๐,๖๑๗ ชน้ิ หรือเท่ากับ ๒,๗๓๖ กโิ ลกรมั (กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่ ,
๒ - ๑๔
แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ม.ป.ป.) การวิเคราะห์แนวโน้มปรมิ าณขยะทะเล จากข้อมูลระหว่างปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ถึง ๒๕๕๙ จังหวัด
ชลบรุ ี พบวา่ ปริมาณขยะทะเลมีแนวโน้มลดลง สว่ นจงั หวัดระยองมแี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ
ขยะบนเกาะ เกาะล้าน มีขยะที่เกิดข้ึนประมาณ ๑๕ – ๒๐ ตันต่อวัน มีการจัดการโดย
การนาขยะมากาจัดบนฝั่งวนั ละ ๒ เท่ียว คร้ังละ ๑๒ ตนั ณ เมืองพัทยาท้ังนไ้ี ด้มีการเตรียมการเพอ่ื มอบหมาย
ให้เอกชนเข้ามากาจัดขยะมูลฝอย โดยใช้เตาเผา ขนาด ๕๐ ตันต่อวัน ซ่ึงอยู่ระหว่างกระบวนการจัดทา
ขอ้ กาหนดโครงการ เพ่ือวา่ จ้างใหเ้ อกชนดาเนินงาน (โครงการศกึ ษาและออกแบบศนู ย์กาจดั ขยะมลู ฝอยชุมชน
ด้วยวิธีการเผาทาลายบนพ้ืนท่ีเกาะล้านแบบครบวงจร ม.ป.ป.) เกาะสีชัง มีปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนวันละ
ประมาณ ๑๐ – ๒๕ ตันตอ่ วัน เก็บขนโดยใช้รถบรรทุกเก็บขนขยะของเทศบาลฯ เพื่อนาไปเผาในเตาเผาขยะ
ของเทศบาล จานวน ๒ เตา ศักยภาพการกาจัดขยะของเตาเผาไม่เกิน ๖ ตัน/วันซ่ึงไม่เพียงพอต่อปริมาณขยะ
ทีจ่ ะมีเพิม่ มากข้ึนในอนาคต และเกาะเสม็ด โดย อบต.เพ มขี ยะท่ีเกิดขึ้นและถูกเก็บรวบรวมไดเ้ ฉลี่ยวันละ ๑๐
ตนั ปัจจุบันบ่อฝังกลบขยะถูกใช้งานจนเต็มพ้ืนที่และมีขยะกองสูงในบ่อฝังกลบขยะบ่อที่ ๒ ซ่ึง อบต.เพ ได้รับ
การสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานนโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก เพื่อกอ่ สร้างระบบคดั แยกขยะ
บนเกาะเสม็ด ในระยะแรก ซึ่งว่าจ้างเอกชนดาเนินการบริหารจัดการ ขยะมูลฝอย โดยคัดแยกขยะอินทรีย์
นาไปจัดการด้วยระบบผลิตก๊าซชีวภาพและระบบหมักเพ่ือเป็นสารปรับปรงุ ดินสาหรับแจกจา่ ยประชาชน สว่ น
ขยะรีไซเคิล และถุงพลาสติกท่ีคัดแยกได้ จะถูกผลิตเป็นเชื้อเพลิงขยะ (RDF) ขนส่ง RDF ไปยังศูนย์กาจัดขยะ
มูลฝอยรวมแบบครบวงจร จังหวัดระยอง ซ่ึงอยู่ระหว่างการจัดทา TOR เพื่อดาเนินการจัดหาเอกชนมา
ดาเนนิ การจดั การขยะท่ตี กค้างอย่ใู นสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยบนเกาะเสม็ด (สถาบนั วจิ ัยและพัฒนาทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝ่งั , ๒๕๖๔)
- สถานการณ์กากของเสียอนั ตราย: ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในปี พ.ศ.
๒๕๖๓ มีปริมาณกากของเสียอนั ตราย ๗๔๔,๖๙๖.๕๘ ตัน โดยในจังหวดั ระยองมีปรมิ าณกากของเสยี อันตราย
มากที่สุด คือ ๔๓๒,๓๓๘.๓๔ ตัน จังหวัดชลบุรีมีปริมาณ ๒๓๗,๔๖๕.๓๗ ตัน และน้อยที่สุดคือจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ๗๔,๘๙๒.๘๗ ตัน ท้ังน้ีพบทิศทางการเปล่ียนแปลงของปริมาณกากของเสียอันตรายมีทิศทางเพ่ิม
มากข้ึน (กรมโรงงานอตุ สาหกรรม, ๒๕๖๔)
ส่ิงแวดลอ้ มเมือง สิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติและศิลปกรรม
- สิ่งแวดล้อมเมือง พ้ืนที่สีเขียวในเขตเมืองของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
จากการแปลภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat 8 OLI วันที่ ๔ มกราคม ๒๔๖๕ กับ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๔ มี
พ้นื ท่ีเท่ากบั ๑๖๗,๑๖๖ ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐.๐๖ หากแยกเปน็ รายจังหวัด พบว่าจังหวัดฉะเชิงเทรา มพี ้ืนที่สี
เขียวในเขตเมือง คิดเป็นร้อยละ ๓.๗๘ ต่อการใช้ที่ดินในเขตเมือง จังหวัดชลบุรี มีพ้ืนที่สีเขียวในเขตเมืองคิด
เป็นร้อยละ ๑๑.๘๓ และ จังหวัดระยอง มีพื้นท่ีสีเขียวในเขตเมืองคิดเป็นร้อยละ ๙.๗๐ ต่อการใช้ที่ดินในเขต
เมือง
- สิ่งแ วด ล้อม ท างธรรม ช าติ จากข้อมู ลของสานั กงาน น โยบ ายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๒๕๖๑) ได้จาแนกแหล่งธรรมชาติออกเป็นประเภทต่าง ๆ โดยพื้นท่ีเขต
๒ - ๑๕
แผนสิง่ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
พฒั นาพิเศษภาคตะวันออก มแี หล่งธรรมชาติทั้งหมด ๒๔ แหล่ง ได้แก่ นา้ ตก ๒ แหล่ง เกาะ ๓ แหล่ง ภเู ขา ๓
แหลง่ ธรณีสณั ฐานและภมู ลิ กั ษณวรรณา ๑ แหลง่ และชายหาด ๑๕ แหลง่
- สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม เขตพ้ืนท่ีเมืองเก่าในเขตพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มี
พื้นท่ีท่ีได้รับประกาศคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า จานวน ๒ พ้ืนที่ คือ ๑)
เขตพื้นทเี่ มืองเกา่ ระยอง มเี นื้อท่ีรวม ๐.๑๑ ตารางกิโลเมตร และ ๒) เขตพื้นที่เมอื งเก่าฉะเชิงเทรา มเี น้ือท่ีรวม
๓.๙๖ ตารางกิโลเมตร แหล่งโบราณสถาน และโบราณวัตถุ พื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกพบแหล่ง
ศลิ ปกรรมท้ังหมด ๒๖๐ แห่ง แบ่งเป็น (๑) ชุมชนโบราณ เมืองโบราณ และอุทยานประวัติศาสตร์ ๘ แห่ง (๒)
พิพิธภัณฑ์ สถาปัตยกรรม และพระราชวัง ๑๖ แห่ง (๓) ย่านชุมชนเก่า ๓๐ แห่ง (๔) วัด วัดร้าง และศาสน
สถาน ๑๘๔ แห่ง (๕) แหล่งโบราณคดีท้ังที่ขุดค้นแล้ว และยังไม่ได้ขุดค้น โบราณวัตถุ เมืองเก่า และเมือง
ประวัติศาสตร์ ๑๔ แห่ง และประเภทอนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน และสถานหลักเมือง ๘ แห่ง โดยจังหวัด
ฉะเชิงเทราพบแหล่งศิลปกรรมท้ังหมด ๑๐๗ แห่ง จังหวัดชลบุรีพบแหล่งศิลปกรรมท้ังหมด ๔๖ แห่ง และ
จงั หวดั ระยองพบแหล่งศลิ ปกรรมทั้งหมด ๑๐๗ แห่ง
๓.๒.๔.๒ สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรป่าไม้ พ้ืนที่ป่าไม้ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
พบวา่ มีพื้นท่ีป่าไมต้ ามกฎหมาย จานวน ๑,๖๕๖,๑๕๗.๗๕ ไร่ โดยจาแนกเปน็ พ้นื ทีป่ ่าสงวนแหง่ ชาติ ๑๘ แห่ง
พน้ื ท่ีเขตรกั ษาพันธุ์สัตวป์ ่า จานวน ๒ แห่ง เขตห้ามล่าสตั ว์ปา่ ๒ แหง่ อุทยานแห่งชาติ ๒ แหง่ และวนอุทยาน
อีก ๑ แห่ง และพื้นที่ป่าไม้ในโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ีป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด (ภาคตะวันออก)
อันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ๗ โครงการ กรมปา่ ไม้ (๒๕๖๒ก) การเปลี่ยนแปลงพ้ืนท่ีป่าไม้ในพ้ืนที่เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่ามีแนวโน้มลดลง พบว่าปี พ.ศ. ๒๕๕๖ มี
พน้ื ที่ป่า ๑,๓๔๓,๔๘๗ ไร่ ลดลงเป็น ๑,๓๑๗,๙๖๒ ไร่ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ กรมพฒั นาทด่ี นิ (๒๕๖๓)
ความหลากหลายทางชีวภาพ พื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีพ้ืนท่ีชุ่มน้าท่ีมี
ความสาคัญทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพ้ืนที่ชุ่มน้าท่ีมีความสาคัญระดับชาติ
จานวน ๓ แห่ง ได้แก่ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน ท่ีราบลุ่มภาคกลางตอนล่าง และแม่น้าบางประกง
จังหวดั ชลบุรี มีพื้นท่ีชุ่มน้าที่มีความสาคัญระดบั ชาติ จานวน ๔ แห่ง ได้แก่ เขตรกั ษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน
เขตรักษาพันธ์สุ ตั ว์ป่าเขยี ว-เขาชมภู่ แมน่ ้าบางประกง และอา่ วไทย ระดับนานาชาติ จานวน ๑ แห่ง ไดแ้ ก่ เขต
หา้ มล่าสัตว์ป่าอา่ งเก็บน้าบางพระ จังหวดั ระยอง มีพื้นที่ชุ่มน้าท่ีมีความสาคัญระดบั ชาติ จานวน ๓ แห่ง ได้แก่
เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน บึงสานักใหญ่ (หนองจารุง) และอ่าวไทย และระดับนานาชาติ จานวน ๑
แหง่ ได้แก่ อทุ ยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมเู่ กาะเสม็ด (สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม, ม.ป.ป)
ทรัพยากรดิน ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์สูง
๗๙,๕๒๕ ไร่ อุดมสมบูรณ์ปานกลาง ๒๓๒,๒๗๐๙ ไร่ และอุดมสมบูรณ์ต่า ๔,๓๕๑,๑๘๒ ไร่ โดยดินท้ังสาม
จงั หวดั เปน็ ดนิ ท่มี คี วามอดุ มสมบรู ณ์ตา่ จากการสะสมของสารเคมีบางชนิดที่ส่งผลตอ่ ค่า pH หรือปรมิ าณเกลือ
ท่ีสะสมในดนิ (กรมพฒั นาทดี่ นิ , ๒๕๖๑; สานกั งานสิ่งแวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ )ี , ๒๕๖๑)
๒ - ๑๖
แผนส่งิ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีพื้นทั้งหมด ๘,๒๙๑,๒๕๐ ไร่
เป็นการใช้ประโยชน์ท่ีดินเพ่ือการเกษตรกรรม มีพน้ื ท่ี ๕,๓๙๑,๓๙๐ ไร่ พื้นที่ป่าไม้ ๑,๓๑๗,๙๖๒ ไร่ พื้นท่ีเขต
ที่อยู่อาศัย ๕๓๑,๘๒๗ ไร่ พื้นที่น้า ๒๗๖,๗๒๗ ไร่ พื้นท่ีอุตสาหกรรม ๒๗๕,๗๒๒ ไร่ สถานที่ราชการ การ
สาธารณปู โภคและสาธารณปู การ ๒๓๐,๖๖๒ ไร่ พื้นท่เี ขตพาณิชยกรรม ๙๓,๘๑๕ ไร่ พืน้ ที่บอ่ ลูกรัง บ่อทราย
บ่อดิน และเหมืองเก่า ๗๖,๗๑๑ ไร่ พื้นท่ีสีเขยี วเพื่อนันทนาการ ๕๙,๓๘๒ ไร่ พ้ืนท่ีวา่ ง ๓๒,๔๗๙ ไร่ เหมอื งแร่
๓,๖๕๔ ไร่ หาดทราย ๕๕๖ ไร่ และนอ้ ยที่สดุ คือพ้ืนทร่ี อการพฒั นา ๓๖๓ ไร่ (กรมพฒั นาท่ีดิน, ๒๕๖๓)
ทรัพยากรน้า สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (๒๕๖๓) คาดการณ์ความต้องการใช้น้า
ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกในอนาคต ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เท่ากับ ๒,๘๘๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
และปี พ.ศ. ๒๕๘๐ เท่ากับ ๓,๐๘๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ในขณะท่ีสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (๒๕๖๓) ได้คาดการณ์ความต้องการใช้น้าของ
พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เท่ากับ ๒,๙๒๐.๗๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และปี
พ.ศ. ๒๕๘๐ เทา่ กับ ๒,๙๔๖.๗๐ ล้านลูกบาศก์เมตรตอ่ ปี จากข้อมูลปริมาณนา้ ต้นทนุ ท่ีมีอยู่ท่ีมีน้อยกว่าความ
ต้องการน้าในแต่ละภาคส่วน ทาให้พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีน้าใช้ไม่เพียงพอต่อความต้องการน้า
ในการบริหารจัดการในปัจจุบัน มีคณะกรรมการลุ่มน้า สภาลุ่มน้าคลองหลวง ขับเคลื่อนการจัดการน้า มีการ
ตดิ ตามสถานการณ์น้า การคาดการณ์ภาวะน้าท่วม น้าแล้ง และภาวะน้าหลากดินถล่ม มีการจดั ทาแผนปฏิบัติ
การบรรเทาภัยน้าท่วมน้าแล้ง การพัฒนา/ฟื้นฟู แหล่งน้า การขุดลอก โดยคานึงถึงระบบนิเวศ และจัดสรรน้า
โดยให้ความสาคัญกับการอุปโภค บริโภค รักษาระบบนิเวศ การเกษตร และอุตสาหกรรม ตามลาดับ ทั้งน้ี
สานกั งานทรัพยากรนา้ แห่งชาตไิ ด้เร่งหาแนวทางการพัฒนาแหล่งน้าเพื่อรองรบั เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
ปีพ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๘๐ ด้วยการเพิ่มศักยภาพของอา่ งเก็บน้า โครงข่ายน้า ระบบสบู กลับ การผนั น้าจากแหล่ง
น้าอ่ืน ขุดลอก/พ้ืนที่ลุ่มต่า การพัฒนากลุ่มบ่อบาดาลขนาดใหญ่สาหรับเอกชน การกักเก็บน้าในสระเอกชน
และการผลติ นา้ จดื จากน้าทะเล เพ่ือตอบสนองความต้องการในพนื้ ทใ่ี หเ้ พียงพอ
ทรัพยากรน้าบาดาล จากข้อมูลของสานักงานทรพั ยากรนา้ แห่งชาติ (๒๕๖๒) พบว่า ใน
ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีปริมาณการใช้น้าบาดาลท้ังหมด ๗๘.๘๒ ล้านลูกบาศก์
เมตรต่อปี มีแนวโน้มการเพ่ิมข้ึนของจานวนสถานีและจานวนบ่อบาดาล โดยเพิ่มข้ึนจานวน ๑๕ สถานีและ
๓๐ บ่อจากปี พ.ศ. ๒๕๖๑ อย่างไรก็ตามปริมาณน้ากักเก็บยังคงเท่าเดิมเท่าปี พ.ศ. ๒๕๖๑ มีปริมาณ
๔๑,๗๒๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และเป็นปริมาณน้าที่ใช้ได้อย่างปลอดภัยปริมาณ ๑,๙๔๖ ล้านลูกบาศก์
เมตรตอ่ ปี จากการขยายตวั ของพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอย่างรวดเร็วทาให้มีความต้องการใช้น้าใน
ปัจจุบันและในอนาคตสูงข้ึน รวมถึงการรับมือกับภัยแล้ง ดังน้ันจึงจาเป็นต้องมีการจัดหาแหล่งกักเก็บน้าเพ่ิม
มากข้ึน กรมทรัพยากรน้าบาดาล (๒๕๖๒) ได้มีโครงการศึกษาสารวจและประเมินความคุ้มค่าทาง
เศรษฐศาสตร์ของการพฒั นาแหลง่ น้าบาดาลขนาดใหญ่ในพ้ืนทีพ่ ัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก พบแหล่งน้าบาดาล
ขนาดใหญ่ ๔ แห่ง และมีการคาดการณป์ รมิ าณน้าทจี่ ะพัฒนาได้ประมาณ ๑๘๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ได้แก่
แหล่งน้าบาดาลพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา แหล่งน้าบาดาลบางน้าเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา แหล่งน้า
บาดาลสัตหีบ จงั หวดั ชลบรุ ี และแหล่งน้าบา้ นค่าย จังหวัดระยอง
๒ - ๑๗
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีความยาว
ชายฝั่งประมาณ ๒๙๒.๕๔ กิโลเมตร แบ่งออกเป็น หาดทราย ๑๗๒.๖๖ กิโลเมตร หาดโคลน ๔๔.๙๓
กิโลเมตร หาดหินและอ่ืน ๆ ๗๔.๙๕ กิโลเมตร โดยมีพื้นที่ติดชายทะเล ๔๐ ตาบล และ ๘ อาเภอ จังหวัด
ฉะเชิงเทรามีความยาวชายฝั่ง ๑๖.๒๘ กิโลเมตร จังหวัดชลบุรีมีความยาวชายฝั่ง ๑๗๑.๗๘ กิโลเมตร และ
จงั หวัดระยองมีความยาวชายฝ่ัง ๑๐๔.๔๘ กิโลเมตร นอกจากน้ีในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีพ้ืนที่
กัดเซาะชายฝั่ง ๒.๖๕ กิโลเมตร กัดเซาะระดับรุนแรง ๐.๓๙ กิโลเมตร ระดับปานกลาง ๑.๕๗ กิโลเมตร และ
ระดับน้อย ๐.๖๙ กิโลเมตร มีพื้นท่ดี าเนินการแก้ไขแล้ว ๑๐๔.๘๗ กิโลเมตร และพื้นที่ดาเนินการแก้ไขแล้วยัง
กัดเซาะ ๒.๕๗ กิโลเมตร ระดับรุนแรง ๒.๔๕ กโิ ลเมตร (กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง, ๒๕๖๒)
เน้ือท่ีป่าชายเลนในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มี ๘๗,๙๖๐.๗๒ ไร่ และมี
แนวโน้มลดลง แบง่ เป็นในจังหวัดฉะเชิงเทราจานวน ๒๙,๗๑๕.๘๖ ไร่ ไดแ้ ก่ อาเภอบางปะกง อาเภอบ้านโพธิ์
และอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี มีเน้ือที่ป่าชายเลนจานวน ๒๗,๑๐๗.๖๑ ไร่ ได้แก่ อาเภอพานทอง
และอาเภอเมอื งชลบุรี และจงั หวัดระยอง มเี นื้อท่ีป่าชายเลนจานวน ๓๑,๑๓๗.๒๕ ไร่ ได้แก่ อาเภอแถลง และ
อาเภอเมืองระยอง นอกจากน้ีในพื้นที่มีการแพร่กระจายแหล่งหญ้าทะเลในเขตน้าตื้นชายฝ่ังทะเลรวมถึงเกาะ
แก่งต่าง ๆ โดยจังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยองมีพื้นท่ีแหล่งหญ้าทะเลจานวน ๕,๗๐๕.๗๒ ไร่ และ
๑๑,๙๒๔.๔๓ ไร่ ตามลาดับ อยู่ในสถานภาพสมบูรณ์ปานกลาง-สมบูรณ์เล็กน้อย แหล่งปะการังในจังหวัด
ชลบุรีมีพ้ืนที่ ๖,๔๗๒ ไร่ และจังหวัดระยองมี ๓,๑๕๑ ไร่ โดยปะการังส่วนใหญ่อยู่ในสถานภาพสมบูรณ์ปาน
กลาง (กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง, ๒๕๕๙; ๒๕๖๐; ๒๕๖๑)
สถานการณ์พ้ืนท่สี าคญั ทางส่ิงแวดล้อม
- พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีการประกาศ
พื้นท่ีคุ้มครองส่ิงแวดล้อมไปแล้ว คือ ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดเขต
พื้นทแ่ี ละมาตรการคมุ้ ครองส่ิงแวดลอ้ ม ในบริเวณพนื้ ท่ี อาเภอบางละมุง และอาเภอสัตหีบ จงั หวดั ชลบุรี พ.ศ.
๒๕๖๓ และพ้ืนที่ท่ีกาลังมีการดาเนินการประกาศ ๒ พื้นที่ ได้แก่ (๑) ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้พ้ืนท่ีอาเภอ
ปลวกแดง อาเภอบ้านค่าย และอาเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง เป็นเขตพื้นท่ีคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
เจตนารมณ์ของการประกาศ เพ่ือคุ้มครองพื้นท่ีต้นน้า และอ่างเก็บน้าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้าดอกกราย และ
อา่ งเก็บน้าคลองใหญ่ (๒) รา่ งประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม เร่อื งกาหนดเขตพนื้ ที่และ
มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในท้องที่ตาบลบางปะกง ตาบลท่าข้าม ตาบลสองคลอง อาเภอบางปะกง
จังหวัดฉะเชิงเทรา และท้องท่ีตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี พ.ศ. …. เจตนารมณ์ของการ
ประกาศ เน่ืองจากบริเวณปากแมน่ า้ บางปะกงเป็นพ้ืนทท่ี ่ีมีเปราะบาง และมคี วามอุดมสมบูรณ์ เป็นระบบนเิ วศ
ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เป็นพื้นที่ชุ่มน้าท่ีมีความสาคัญระดับชาติ เป็นท่ีอยู่อาศัย แหล่งอาหารที่
วางไข่และอนุบาลตวั อ่อนให้กับสัตวแ์ ละพืชนานาชนิด สาหรับเขตควบคุมมลพิษ ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก มี เขตควบคุมมลพิษเขตเมอื งพัทยา จงั หวัดชลบุรี และเขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง
- เขตควบคุมมลพิษ พบปัญหาและอุปสรรคคือแผนปฏิบัติการลดและขจัดมลพิษยังไม่
สามารถดาเนินการได้ตามแผน ซ่ึงปัญหามลพิษอาจส่งผลต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการปล่อย
สารมลพิษโดยขาดความตระหนักของผู้ประกอบการ จึงควรติดตามมีการตรวจสอบการดาเนินการศึกษาความ
๒ - ๑๘
แผนสิง่ แวดล้อมในพน้ื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
เหมาะสมการวางระบบบาบัดน้าเสียและการรักษาคุณภาพน้า มีการกาหนดแนวทาง มาตรการ ในการเฝ้า
ระวังและลดมลพิษ รวมถึงเร่งรัดให้มีการดาเนินการตามโครงการศึกษาและทบทวน EIA และ มาตรการที่
เกยี่ วขอ้ ง
๔. การประเมนิ ศักยภาพในการรองรบั ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
การประเมินศักยภาพในการรองรับของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย และควร
ตอบสนองต่อความจาเป็นด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ต้องการแนวทางหรือมาตรการเพ่ือการ
รองรับปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งประเด็นร่วมที่เช่ือมโยงมิติด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย ประเด็นด้านทรัพยากรและสุขภาพ ๓ ปัจจัย คือ น้า อาหาร และสุขภาพ (ความ
เจ็บป่วย) ในขณะที่ด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย ๗ ปัจจัย คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มลภาวะ
อากาศ ขยะ น้าเสีย คุณภาพน้าทะเล ความหลากหลายทางชีวภาพ และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ปัจจัยท่ี
เกนิ ขีดความสามารถในการรองรบั ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีปัจจยั ด้านทรัพยากรน้า ในประเด็น
สมดุลน้า ปัจจัยความสามารถในการรองรับด้านมลภาวะในประเด็นน้าเสีย ปัจจัยความสามารถในการรองรับ
ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเด็นการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมการใช้ชีวิตของ
ประชาชนในพื้นที่ที่วัดจากคา่ คารบ์ อนฟุตปริ้น (CF) และปัจจยั ความสามารถในการรองรับด้านการใชท้ ีด่ ิน ใน
ประเด็นการใช้ที่ดินท่ีขาดแคลนพื้นท่ีเพาะปลูกที่ไม่เพียงพอต่อการผลิตสาหรับการบริโภคของประชาชนใน
พน้ื ที่
หากพิจารณาความสามารถในการรองรับรายจังหวัด พบว่า จังหวัดฉะเชิงเทรา มีปัจจัยท่ีเกินขีด
ความสามารถในการรองรบั ในปัจจัยความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรน้า สมดุลน้า ความสามารถใน
การรองรับด้านมลภาวะ ในประเด็นน้าเสียและขยะ และปัจจัยความสามารถในการรองรับด้าน การ
เปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ ในประเด็นการปลดปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมการใช้ชวี ิตของประชาชน
ในพน้ื ที่ท่ีวัดจากคา่ CF
จังหวัดชลบุรี มีปัจจัยท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับ ในปัจจัยความความสามารถในการรองรับ
ด้านอาหาร ในประเด็นปริมาณข้าวท่ีผลิตได้ในพื้นที่ (Food Availability) ปัจจัยความสามารถในการรองรับ
ด้านทรัพยากรน้า ในประเด็นสมดุลน้า ความสามารถในการรองรับด้านมลภาวะ ในประเด็นน้าเสีย ปัจจัย
ความสามารถในการรองรับด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในประเด็นการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
จากกจิ กรรมการใชช้ ีวิตของประชาชนในพ้ืนท่ีทีว่ ดั จากคา่ CF และปัจจยั ความสามารถในการรองรบั ด้านการใช้
ที่ดิน ในประเด็นการใช้ท่ีดินท่ีขาดแคลนพื้นที่เพาะปลูกที่ไม่เพียงพอต่อการผลิตสาหรับการบริโภคของ
ประชาชนในพนื้ ที่
จังหวัดระยอง มีปัจจัยที่เกินขีดความสามารถในการรองรับ ในปัจจัยความความสามารถในการรองรับ
ด้านอาหาร ในประเด็นปริมาณข้าวท่ีผลิตได้ในพ้ืนท่ี (Food Availability) ความสามารถในการรองรับด้าน
มลภาวะ ในประเด็นน้าเสีย ปัจจัยความสามารถในการรองรับด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ใน
ประเด็นการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมการใช้ชีวิตของประชาชนในพ้ืนที่ท่ีวัดจากค่า CF ปัจจัย
ความสามารถในการรองรับด้านการใช้ท่ีดิน ในประเด็นการใช้ที่ดินท่ีขาดแคลนพ้ืนที่เพาะปลูกท่ีไม่เพียงพอต่อ
๒ - ๑๙
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การผลิตสาหรับการบริโภคของประชาชนในพ้ืนที่และปัจจัยความสามารถในการรองรับด้านความหลากหลาย
ทางชีวภาพของระบบนิเวศจังหวดั ระยอง
ภาพท่ี ๒ - ๑ ระดับความสามารถในการรองรบั ของพืน้ ที่ดาเนินงาน
๕. การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
ในส่วนนี้ได้รวบรวมสถานการณ์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของหน่วยงาน
องค์กร ภาคส่วนต่าง ๆ แยกตามประเด็นแรงกดดัน สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และ
ความสามารถในการรองรับ ดังตารางที่ ๒ – ๑ ซ่ึงรายละเอียดต่าง ๆ ถูกนาไปแยกแยะและจัดกลุ่มเป็น
แผนงานภายใต้ยุทธศาสตร์ และกลยทุ ธ์ทจ่ี ะนาไปสู่การบรรลเุ ป้าหมายของแผนตอ่ ไป
๒ - ๒๐
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ตารางที่ ๒ - ๑ การบริหารจัดการ (Governance) ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมตามประเด็นแรง
กดดันและความสามารถในการรองรับ
การบรหิ ารจัดการ การบรหิ ารจดั การในปัจจุบนั
๑. ความมนั่ คงทางอาหาร - ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ท่ี ๕ ด้านการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ
ที่เปน็ มติ รตอ่ สิง่ แวดล้อม ใน (๕) เนน้ การ พัฒนาความมนั่ คงทางนา้ พลังงาน และเกษตร
๒.สุขภาพ ที่เป็นมิตรต่อส่งิ แวดลอ้ ม
- ภาวะการตายดว้ ยโรคไมต่ ดิ ต่อ -แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ ยุทธศาสตร์ ท่ี ๔ ใน (๔) เน้นการ
(NCDs) สง่ เสริมการผลติ และการบริโภคทีเ่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
แผน Big Rock แผนขบั เคล่อื นกิจกรรมปฏริ ูปทสี่ ง่ ผลใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงตอ่
๓. การเปล่ียนแปลงสภาพ ประชาชนอย่างมนี ยั สาคัญ (Big Rock ด้านสาธารณสุข) เช่น กจิ กรรม BR0702 เร่อื งการ
ภมู อิ ากาศ ปฏริ ปู เพื่อเพิ่มประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ของการเสรมิ สรา้ งสุข ความรอบรดู้ า้ น
--การปลดปล่อยคาร์บอน สุขภาพ การปอ้ งกันและดูแลรักษาโรคไม่ตดิ ต่อสาหรับประชาชนและผ้ปู ว่ ย
- คณุ ภาพอากาศ กาหนดเปา้ หมายย่อยท่ี ๕ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายระดับมหภาคและแนวทางเฉพาะ
ดา้ น ในการปอ้ งกันและลดอนั ตรายจากอาหาร และสารเคมี ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดโรคไมต่ ดิ ต่อ
ขยะมลู ฝอยและนา้ เสีย แผนแมบ่ ทรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๙๓ (สผ.)
ประเทศไทยต้ังเปา้ หมายในการลดกา๊ ซเรอื นกระจกในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ร้อยละ ๒๐-๒๕
๔. นโยบาย/โครงการพัฒนา จากกรณดี าเนินการตามปกติ
ความสามารถในการรองรบั ด้าน เริ่มดาเนินการ NDC ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
การใช้ทีด่ ิน บรรลเุ ป้าหมาย NDC ลดก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่า ๑๑๑ MtCO2eq
- ใช้การตดิ ตามตรวจสอบสถานการณ์คณุ ภาพอากาศ ค่า VOC ไดแ้ ก่ สารเบนซีน สาร
1,3 บวิ ทาไดอนี
- ติดตัง้ สถานตี รวจวัดคณุ ภาพอากาศบรเิ วณพนื้ ท่อี ุตสาหกรรม
- ผ้ปู ระกอบการเพิ่มความถีใ่ นการตรวจสอบ VOCs จาก ๑ คร้ัง/ปี เป็น >= ๒ ครงั้ /ปี
- ส่งเสริมการลงทุนโครงการทไี่ มก่ อ่ ให้เกิดมลพษิ
- เผยแพร่ประชาสมั พันธ์ความรขู้ องสารอนิ ทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) แก่ประชาชน
- มีการใชป้ ระมวลหลกั ปฏบิ ัติ CoP (Code of Practice) ในนคิ มฯ ที่สามารพปฏบิ ัตไิ ด้
จริง ทาให้ VOCs ตา่ ลง เปน็ ผลใหม้ ีแผนการพิจารณายกเลิกเขตควบคุมมลพษิ
- การวางแผนพฒั นาพื้นท่ี ใหค้ วามสาคญั กับการเศรษฐกจิ สูงสดุ
- แผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ มี
โครงการสนับสนุนดา้ นการจัดการขยะและนา้ เสยี
- องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินมีแผนการดาเนินงานดา้ นการจดั การขยะและนา้ เสียใน
พื้นที่
- ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ที่ ๕ ด้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่ี
เปน็ มติ รต่อส่งิ แวดล้อม ใน (๑) สร้างการเตบิ โตอย่างยง่ั ยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
- มผี งั เมอื งรวมกาหนดการใชป้ ระโยชนท์ ่ดี ิน
- มีแผนการจดั การสิง่ แวดล้อม ของพนื้ ที่ EEC
๕.ประชากรและเศรษฐกิจ -แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ ยทุ ธศาสตร์ ท่ี ๔ ใน (๔) เน้นการ
ส่งเสรมิ การผลติ และการบริโภคทีเ่ ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม
๒ - ๒๑
แผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบริหารจดั การ การบริหารจัดการในปจั จบุ นั
๖. สถานการณ์ - การควบคมุ การใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ตามการประกาศใช้ผังเมอื งในพนื้ ท่คี รอบคลุมทกุ
ทรพั ยากรธรรมชาติและ จังหวัด
สิง่ แวดล้อม - การเรง่ รดั พฒั นาโครงการต่าง ๆ ในพ้นื ที่
แผนระดบั ท่ี ๒ คอื แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเดน็ ๑๘ การเติบโตอย่าง
๗. คุณภาพน้าผวิ ดิน นา้ ทะเล ยง่ั ยืน โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้
ชายฝ่ัง น้าบาดาล - เพอ่ื การอนรุ กั ษ์ คมุ้ ครอง ฟนื้ ฟู และสร้างฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มอยา่ ง
ยง่ั ยนื
- ส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพให้มีระบบนเิ วศทีส่ มดลุ
- สนบั สนนุ การเพม่ิ พ้นื ที่สเี ขียวท้ังในเขตเมืองและชมุ ชน
- ส่งเสรมิ การลงทุนและเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมการผลติ และการบรโิ ภคไปส่คู วามย่งั ยนื
โดยใหค้ วามสาคญั กับฐานทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อ
อากาศ การบรหิ ารจัดการมลพษิ ท้งั ระบบ และการพฒั นาและดาเนินการโครงการท่ี
ยกระดบั กระบวนทศั น์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศให้พัฒนาด้านทรพั ยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อม และวัฒนธรรมอยา่ งมคี ุณภาพตามแนวทางการเติบโตอย่างยง่ั ยนื ท่ีเปน็ มิตร
กับส่งิ แวดล้อม โดยมเี ป้าหมายระดับประเดน็ คือ สภาพแวดลอ้ มของประเทศมคี ณุ ภาพดี
ขึ้นอยา่ งยั่งยืน
แผนระดบั ท่ี ๒ คือ
แผนขับเคลือ่ นกิจกรรมปฏริ ูปทสี่ ่งผลให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงตอ่ ประชาชนอยา่ งมี
นยั สาคญั (Big Rock ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม) ไดแ้ ก่
- กิจกรรม BR601 เพม่ิ และพัฒนาพน้ื ท่ปี า่ ไม้ใหไ้ ดต้ ามเป้าหมาย
- กจิ กรรม BR602 การบรหิ ารจดั การเขตทางทะเลและชายฝ่ังรายจงั หวดั
- กิจกรรม BR602 การบรหิ ารจดั การนา้ เพื่อสร้างเศรษฐกจิ ชุมชนในพื้นท่ีนอกเขต
ชลประทาน
- กจิ กรรม BR602 ปฏริ ปู ระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพส่งิ แวดล้อมในเขตควบคมุ มลพิษใหไ้ ด้
ตามมาตรฐาน เปา้ หมายย่อยคอื ยกเลกิ เขตควบคมุ มลพิษมาบตาพดุ นโยบายและแผนการ
สง่ เสรมิ และรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
แผนจดั การคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
ยทุ ธศาสตรก์ ารบริหารจดั การทรัพยากรนา้ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๙
- ใชก้ ารตดิ ตามตรวจสอบสถานการณ์น้าเสีย
ท้ังการเก็บตัวอย่าง การตั้งสถานเี ก็บข้อมลู แบบเรียลไทม์
- จัดตั้งศนู ยค์ วบคมุ มลพิษเพื่อเฝ้าระวงั คุณภาพน้าตา่ ง ๆ ท้ังนา้ ผิวดนิ น้าทะเล นา้ ใต้ดิน
- ก่อสร้างและพัฒนาระบบบาบดั นา้ เสียชุมชน
- กาหนดประเภทกิจการท่ีถูกควบคุมการระบายนา้ ลงส่แู หล่งนา้ สาธารณะ
- เผยแพร่ ประชาสัมพันธค์ วามรู้ ความเขา้ ใจแก่ประชาชน
- องคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ มีโครงการปรับปรงุ และขยายระบบบาบดั นา้ เสียชุมชน
- สานักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพดุ ดาเนินการจดั ทาฝายนา้ ลน้ บริเวณปากคลองชาก
หมากกอ่ นระบายลงสทู่ ะเล
๒ - ๒๒
แผนส่งิ แวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบริหารจัดการ การบรหิ ารจัดการในปัจจุบนั
- สานกั งานประมงจังหวัด ฟน้ื ฟแู ละจดั ระเบยี บพน้ื ทเี่ พาะเลยี้ งสัตวน์ า้ บรเิ วณชายฝ่งั
๘. การจดั การขยะมูลฝอย ขยะ - โรงงานอตุ สาหกรรมบางแห่งมีการนานา้ ทงิ้ มาบาบดั เพ่อื หมนุ วนกลับเขา้ ไปใช้ในโรงงาน
ทะเล มลู ฝอยตดิ เชื้อ และกาก ฯ ใหม่
ของเสยี อันตราย - มีการรวมกลมุ่ ของเครอื ขา่ ยในการจัดการคณุ ภาพน้า เชน่ กลมุ่ เฝา้ ระวังนา้ ผวิ ดนิ กลมุ่
ประมงพน้ื บ้านชายฝง่ั
๙. เขตพ้ืนทค่ี ุม้ ครองสิ่งแวดลอ้ ม - ภาคอุตสาหกรรมรว่ มมอื ในการจัดการขยะ เช่น SCG สรา้ งท่นุ ดกั ขยะวางบริเวณปาก
๑๐. เขตควบคมุ มลพิษ แมน่ ้า มี inceptor อยู่ปากแมน่ า้ เจ้าพระยาเพ่อื ดกั ขยะ (จดั การขยะทะเลปลายทาง)
๑๑. แหล่งธรรมชาตแิ ละ -การเฝ้าระวงั การสร้างเครือข่ายในประเด็นกากของเสียอนั ตราย
ศิลปกรรม - มเี ตาเผาสาหรับมลู ฝอยตดิ เชือ้ ๓ ตันตอ่ วัน อยูร่ ะหวา่ งดาเนินการ ๗ ตัน
๑๒. ทรัพยากรนา้ - กอ่ สรา้ งระบบกาจดั ขยะมลู ฝอย
- รณรงค์ปลูกจติ สานึกการคดั แยกขยะและนากลบั มาใช้ใหม่
- งดการจา่ ยถุงพลาสตกิ ในรา้ นสะดวกซ้อื
- ปัจจบุ นั โรงงานอุตสาหกรรมมกี ารจัดตั้งกลุ่มผปู้ ระกอบการที่มพี ันธกจิ ดแู ลสงิ่ แวดล้อม
เช่น โครงการพ่ีช่วยนอ้ ง เพ่ือนชว่ ยเพอื่ น ในเขตนคิ มอุตสาหกรรม กาลงั จะขยายออก
นอกนิคมอุตสาหกรรม หรอื กลมุ่ สมาคมเพ่อื นชุมชนของ ๕ บริษทั ไดแ้ ก่ ptt, scg, BLCP
power, Dow, GLOW
- การออกแบบผลิตภณั ฑ์ ให้สามารถ recycle ไดง้ ่ายข้นึ
- ออกแบบผลิตภณั ฑ์ใหม้ อี ายยุ าวนานมากขน้ึ ใช้วตั ถดุ ิบในการผลิตให้นอ้ ยลง หรือเปน็
กงึ่ วัตถดุ บิ ไปขนึ้ รปู
- recycle/renewable input เพ่ือ ลด footprint ผลิตภณั ฑ์ เชน่ การใช้น้า
- ใช้ automation ในการตรวจสอบล่วงหน้าเพอ่ื ไมใ่ ห้เกิดการสูญเสยี ในกระบวนการผลติ
สผ. จดั ทารา่ งกฎกระทรวงกาหนดใหพ้ ้นื ท่อี าเภอปลวกแดงอาเภอบ้านค่าย และอาเภอ
นคิ มพัฒนา จงั หวัดระยอง เปน็ เขตพนื้ ทีค่ ุม้ ครองสง่ิ แวดล้อม เพอื่ คมุ้ ครองพ้นื ทต่ี น้ นา้
และอ่างเก็บนา้ ทั้ง ๓ แห่ง
- แผนปฏิบัติการเพอื่ ลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ
- การบงั คบั ใชก้ ฎหมายอย่างเครง่ ครัด
- แผนการแก้ไขปญั หามาบตาพดุ อย่างครบวงจร
- จดั ทาฐานขอ้ มูลขึน้ ทะเบยี นให้ครอบคลมุ ทุกพน้ื ที่
- สง่ เสริมใหท้ กุ ภาคส่วนใหค้ วามสาคัญกบั ส่ิงแวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม
- จัดงบประมาณบารุงรักษาอย่างต่อเนอื่ ง
- สร้างจิตสานึกใหแ้ ก่เยาวชน ประชาชนทัว่ ไปรว่ มกนั บารุงรกั ษา
- การผันนา้ จากพน้ื ทีโ่ ดยรอบ
- มกี ารทางานของคณะกรรมการล่มุ น้า สภาลมุ่ นา้ คลองหลวง ขับเคล่อื นการจดั การน้า
- การติดตามสถานการณ์นา้ การคาดการณ์ภาวะนา้ ท่วม น้าแลง้ การคาดการณภ์ าวะน้า
หลากดนิ ถล่ม และการรายงานผลในเว็บไซต์ แอปพลเิ คชั่นมือถือ ของหนว่ ยงานด้าน
ทรพั ยากรน้า เช่น สทนช. กรมชลประทาน กรมทรัพยากรนา้ กรมทรพั ยากรน้าบาดาล
-การจดั ทาแผนปฏิบัติการบรรเทาภยั นา้ ท่วมน้าแลง้
๒ - ๒๓
แผนสิง่ แวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบริหารจดั การ การบริหารจดั การในปจั จบุ นั
-การพฒั นา/ฟนื้ ฟู แหลง่ น้า การขดุ ลอก โดยคานึงถึงระบบนเิ วศ
๑๓. ความหลากหลายทาง ทงั้ นี้ การบริหารจดั การนา้ ใหค้ วามสาคญั กบั การอปุ โภคบรโิ ภค รกั ษาระบบนิเวศ
ชวี ภาพ (BDV) การเกษตร และอุตสาหกรรม
- แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็น ๑๘ การเติบโตอยา่ งยงั่ ยืน มีวตั ถุประสงค์
๑๔. ทรพั ยากรทางทะเลและ ส่งเสริมความหลากหลายทางชวี ภาพใหม้ ีระบบนเิ วศท่สี มดุลและสนบั สนุนการเพม่ิ พ้ืนท่ีสี
ชายฝ่งั เช่นป่าชายเลน หญา้ เขียวท้ังในเขตเมอื งและชมุ ชน
ทะเล และปะการงั - โครงการปลูกปา่ อยา่ งต่อเนื่อง
๑๕. การกดั เซาะพนื้ ทีช่ ายฝ่งั - ขยายและเช่ือมโยงเครอื ข่ายองคก์ รดา้ นการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทะเลและป่าชายเลน - ส่งเสรมิ และสนับสนุนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
๑๖. ทรัพยากรดินและการใช้ - การบังคับใชก้ ฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั ท้ังทางสังคมและทางกฎหมายในการปอ้ งกนั
ประโยชน์ท่ีดิน ปราบปรามการทาลายทรพั ยากรทางทะเล
๑๗. การบรหิ ารจัดการด้าน - รณรงค์ สร้างจติ สานกึ ให้กับผู้ประกอบการประมงนกั ทอ่ งเท่ียว และชมุ ชนชายฝั่ง
กลไก - การปลูกป่าชายเลนเพ่มิ ๑๗๐ ไร่ เชน่ ประแสร์ ต.พังรวด และที่ เขายายดา จงั หวดั
๑๘. ขอ้ มลู และการส่อื สาร ระยอง มีการสร้างฝาน ๖,๑๐๐ ฝาย สามารถช่วยดูดซับคารบ์ อนได้ ๔,๐๑๒ตนั /ปี
- รณรงค์ สรา้ งจิตสานกึ ให้กับผ้ปู ระกอบการประมงนกั ทอ่ งเทย่ี ว และชมุ ชนชายฝ่งั
๑๙. ความรว่ มมือกับชุมชน - บังคบั ใชม้ าตรการทั้งทางสงั คมและทางกฎหมายในการป้องกนั ปราบปรามการทาลาย
โดยรวม / ผู้ประกอบการ / ทรพั ยากรทางทะเล
ท้องถนิ่ - ภาครัฐและเอกชน มีส่วนรว่ มในการสรา้ งเข่ือนป้องกันทรายและคลืน่ และกองหิน
ป้องกันคลน่ื
๒๐. กฎหมาย กฎ ระเบียบ - กิจกรรมสง่ เสริมการอนรุ ักษท์ รพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั และกจิ กรรมปลกู ปา่ ชายเลน
๒๑. การเงิน กองทุน - รณรงค์ลดการใช้สารเคมี
๒๒. องคค์ วามรู้ - เผยแพรค่ วามรู้แก่เกษตรกรด้านเกษตรอนิ ทรีย์
- บังคับใช้กฎหมายกบั ผู้ละเมดิ
ใหค้ วามสาคญั กบั บทบาทของหนว่ ยงาน องคก์ รรัฐ ซ่งึ มีหลากหลายหนว่ ยงานองคก์ ร ที่มี
บทบาทหนา้ ท่ี แผนงาน งบประมาณเฉพาะความรับผิดชอบ ตามขอบเขตพ้ืนท่ีรบั ผดิ ชอบ
- การใชเ้ ทคโนโลยี มรี ะบบ IoT ตดิ ตามคณุ ภาพสิง่ แวดล้อม
- การรายงานสถานการณท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมตามภารกิจประจาของ
หน่วยงาน
- มกี ารจัดตงั้ กลุ่ม เพ่อื นชมุ ชน ทเี่ ป็นกลมุ่ ของผ้ปู ระกอบการ ในการสนับสนุนชุมชน จาก
ไมก่ ่โี รงงาน ขยายเปน็ หลายโรงงานมากข้ึน โดยเฉพาะโรงงานทมี่ งี บไมม่ าก เพื่อนชว่ ย
เพอ่ื น พ่ีชว่ ยน้อง ในการใหค้ าปรกึ ษากันระหว่างผู้ประกอบการโดยเฉพาะประเดน็ ด้าน
สิ่งแวดลอ้ ม
- การจดั ตงั้ องคก์ รความร่วมมอื เชน่ สภาองคก์ รชุมชน สภาลุ่มนา้
ในพ้ืนท่อี อี ีซีมกี ฎหมายที่เกีย่ วข้องกับการจดั การทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อม
มกี องทนุ สงิ่ แวดลอ้ ม เช่น กองทนุ ส่ิงแวดล้อมรอบโรงไฟฟา้
- การสร้างฐานการศึกษาบนฐานชมุ ชน เชน่ กลุ่มรักษเ์ ขาชะเมา สรา้ งความรู้ในเยาวชน
เพือ่ ปลกู ฝังรกั ษาส่ิงแวดล้อม สามารถตรวจสอบคณุ ภาพนา้ อากาศได้เพ่มิ การให้
๒ - ๒๔
แผนส่งิ แวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบริหารจดั การ การบรหิ ารจัดการในปัจจุบนั
ความสาคญั กับคนในพื้นที่ การเรยี นรูร้ ่วมกัน
๒๓. ระบบการเฝา้ ระวังและ - ให้มศี ูนย์จดั การและประสานงานสงิ่ แวดลอ้ ม
ติดตาม - มีปราชญ์ชมุ ชนและภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ท่หี ลากหลาย
- การเปรียบเทียบมาตรฐาน
- มีกลุ่มภาคประชานท่ีเฝ้าระวงั นา้ ซอื้ อุปกรณเ์ ครอื่ งมอื ในการเกบ็ ตวั อย่างคณุ ภาพน้า
เพ่อื เฝา้ ระวัง
จากสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ผลการประเมินศักยภาพในการรองรับ สามารถ
พิจารณาถึงแรงกดดันแยกตามลักษณะภูมินิเวศของพื้นที่ (ภาพที่ ๒ - ๒) เพื่อหาแนวทางการบริหารจัดการท่ี
เหมาะสมสามารถสรุปได้ ดังน้ี
ภาพที่ ๒ - ๒ ผลการประเมินศกั ยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมและแรงกดดันแยก
ตามเขตจดั การภูมินเิ วศ
ภูมินิเวศป่าไม้ ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกได้รับแรงกดดันภายนอกด้านการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศที่มีอุณหภูมิสูงขึ้นส่งผลต่อประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอน นอกจากน้ีการเกิดข้ึนของ
โครงการพัฒนา จานวนประชากรและนักท่องเท่ียวท่ีมีแนวโน้มสูงขึ้น มีผลต่อการสูญเสียพ้ืนที่ป่าเน่ืองจากมี
ความต้องการเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดิน และมีการสัมปทานเหมืองแร่และหนิ มกี ารรุกล้าพ้ืนที่เพื่อขุด
บ่อดิน/ทราย ลูกรังและระเบิดหิน เม่ือพิจารณาร่วมกับสถานการณ์ป่าไม้ในบางพ้ืนท่ีที่ลดลง ส่งผลให้เขต
จัดการตามภูมินิเวศเขตป่าไม้มีแรงกดดันสูง (Pressure: P สูง) และเม่ือพิจารณาศักยภาพในการรองรับของ
เขตป่าไม้ พบว่า มีความสัมพันธ์กับประเด็นด้านความหลากหลายทางชีวภาพ การเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมอิ ากาศ การใช้ทีด่ นิ และทรัพยากรน้า และจากผลการวิเคราะห์ศักยภาพในการรองรับท้งั สีป่ ระเด็นน้ี พบว่า
เกินขีดความสามารถในการรองรับของเขตป่าไม้ (Carrying Capacity: C ต่า) ซึ่งมีผลกระทบต่อความสูญเสีย
๒ - ๒๕
แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ความหลากหลายทางชีวภาพและโอกาสในการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมและป่าสมบูรณ์น้อยลง เป็นความเส่ียงต่อ
การสูญเสียความสมดุลทางสภาพแวดล้อมอันจะเป็นปัจจัยที่นาไปสู่ความเสียหายทางเศรษฐกิจ และลด
คณุ ภาพชวี ติ ของประชากรในอนาคต
ดังนั้นภายใต้แรงกดดันสูง ควรเพิ่มประสิทธิในการเฝ้าระวังและป้องกันการบุกรุกทาลายสภาพป่าไม้
การพิจารณาอนุญาตให้มีการใช้ประโยชน์ในพื้นท่ีป่าไม้ รวมท้ังการสร้างความตระหนักและส่งเสริมเครือข่าย
เฝ้าระวังรักษาป่าไม้ ในส่วนของความสามารถในการรองรับต่าควรเร่งส่งเสริมการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้ให้
สมบูรณ์ตามธรรมชาติ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอน ความหลากหลายทางชีวภาพ และรักษา
ความสามารถในการใหบ้ รกิ ารนิเวศโดยเฉพาะดา้ นการดูดซบั กา๊ ซเรือนกระจก และการเกบ็ กกั นา้ ฝน
ภมู ินิเวศพืน้ ทช่ี ุ่มน้า ในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออกได้รับผลจากโครงการพัฒนาต่างๆ ท่ีเกดิ ข้ึน
ในพ้ืนที่ส่งผลให้มีจานวนประชากรเพิ่มสูงข้ึน ประกอบกับสถานการณ์น้าผิวดินที่เสื่อมโทรม รวมถึงอุณหภูมิท่ี
สูงขึ้น ซ่ึงเป็นแรงกดดันท่ีสูง (P สูง) ซ่ึงส่งผลต่อความสมบูรณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพแต่ยังอยู่ใน
ระดับที่สามารถรองรับได้ (C สูง) อย่างไรก็ตามหากมีการรุกล้าหรือทาลายพ้ืนที่ชุ่มน้าสูงข้ึนจะลดระดับความ
หลากหลายทางชีวภาพและอาจน้าไปสู่การทาลายระบบนเิ วศรมิ ฝ่ังนา้ อย่างถาวร สถานการณ์การสูญเสียความ
หลากหลายทางชีวภาพริมน้าเกิดข้ึนโดยทั่วไป และที่น่าเป็นห่วงมากคือพ้ืนที่ริมน้าบางปะกง โดยเฉพาะคลอง
อ้อมซึ่งเป็นคลองสาขาของแม่น้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และคลองลาวน อาเภอแกลง จังหวัดระยอง
เนื่องจากความหลากหลายทางชีวภาพของพ้ืนท่ีสัมพันธ์กับวิถีชีวิตชุมชนท่ีได้พึ่งพาลาน้าดังกล่าว ดังนั้นพ้ืนท่ี
ชมุ่ นา้ ในภาคตะวนั ออกจงึ มคี ุณค่าทางความหลากหลายทางชวี ภาพที่สาคัญ
ดังนั้น แรงกดดันสูงควรมีมาตรการควบคุมดูแลการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ชุ่มน้า แก้ไขคุณภาพน้าท่ีเสื่อม
โทรมให้ดีขึ้น โดยเฉพาะพ้ืนท่ีริมน้าทั้งในพื้นที่ท่ีเอกสารสิทธิ์และพ้ืนท่ีสาธารณะให้คงสภาพและปริมาณท่ีมี
ความหลากหลายทางชีวภาพที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตชุมชนอยู่เสมอ และความสามารถในการรองรับสูง: รักษา
ศกั ยภาพในการให้บรกิ ารนิเวศของพื้นท่ี ด้วยการสร้างและเผยแพรข่ ้อมลู คุณค่าและมูลคา่ ของพ้ืนที่ชุม่ น้า เพ่ือ
สร้างความตระหนกั แก่ผู้ทีเ่ กี่ยวข้อง
ภูมินิเวศป่าชายเลน การเปลี่ยนแปลงการใช้ท่ีดินป่าชายเลนเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วจากสถานการณ์
ทรัพยากรธรรมชาติที่ไดน้ าเสนอ ทัง้ นเ้ี น่ืองจากพ้ืนที่ป่าชายเลนบางส่วนเป็นพื้นท่ที ่ีมีเอกสารสิทธิ์ ซึ่งในสภาวะ
ท่ีมีความต้องการใช้พ้นื ที่เพอ่ื การพัฒนาเมอื งอาจทาให้ป่าชายเลนลดลงอย่างรวดเรว็ รวมทั้งผลกระทบจากการ
ปล่อยของเสีย ทั้งขยะและน้าเสีย ฯลฯ (P สูง) ซึ่งส่งผลต่อความสมบูรณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพแต่
ยังอยู่ในระดับที่สามารถรองรับได้ (C สูง) ผลกระทบต่อการสูญหายของนิเวศชายฝั่งและนิเวศวัฒนธรรม เช่น
ในกรณีพนื้ ที่บริเวณชายฝ่ัง เช่น บริเวณอาเภอบางปะกง ได้ส่งผลต่อการกัดเซาะชายฝั่ง และความสมบูรณ์ของ
ระบบนิเวศท่ีลดน้อยลง สัตว์วัยอ่อนขาดถ่ินที่อยู่ รวมถึงกระทบต่อวิถีชีวิตของชุมชน ส่วนในกรณีพื้นท่ีภายใน
ลาคลองการเปล่ยี นแปลงเกิดจากการเกษตรโดยเฉพาะการเพาะเล้ียงสัตว์น้า เช่น กรณีของคลองลาวน อาเภอ
แกลง ระยอง ซ่ึงส่งผลตอ่ การลดลงของความหลากหลายทางชวี ภาพของบริเวณพ้นื ที่ป่าชายเลน
ดังน้ันภายใต้แรงกดดันสูง ควรมีมาตรการควบคุมดูแลการใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าชายเลน หรือมาตรการ
แรงจูงใจให้เก็บรักษาพ้ืนที่ป่าชายเลนไว้ให้คงสภาพและปริมาณท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพอยู่เสมอ ใน
๒ - ๒๖
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ส่วนของความสามารถในการรองรับสูงจาเป็นตอ้ งรักษาศักยภาพในการให้บริการนเิ วศของพื้นที่ ด้วยการสร้าง
และเผยแพร่ขอ้ มลู คณุ ค่าและมลู คา่ ของพน้ื ทช่ี ่มุ น้า เพือ่ สรา้ งความตระหนกั แกผ่ ทู้ ่ีเกย่ี วขอ้ ง
ภมู ินิเวศทะเลและเกาะ ได้รับแรงกดดนั จากการพัฒนาพ้ืนที่จากท่ีรุกล้าพน้ื ทที่ ะเลมีผลต่อปญั หาการกัด
เซาะชายฝั่ง ประกอบกับ ประชากรและนักท่องเที่ยวท่ีปล่อยของเสียรวมถึงการใช้ทรัพยากรทางทะเลอย่างไม่
รอบคอบ รวมถึงสถานการณ์น้าทะเลชายฝ่ังและทรัพยากรชายฝั่งท่ีเร่มิ เส่ือมโทรมบ้างและชายฝั่งท่ีถูกกัดเซาะ
แต่ได้รับการแก้ไขบ้างแลว้ รวมถึงการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ท่ีมีการปล่อย
ก๊าซ GHGs เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เขตทะเลและเกาะมีแรงกดดัน (P สูง) อย่างไรก็ตามยังไม่เกินขีดความสามารถใน
การรองรับด้านคุณภาพน้าทะเล แต่เกินความสามารถในการรองรับด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ดงั นั้นความสามารถในการรองรับเขตทะเลและเกาะอย่ใู นระดบั ปานกลาง (C ปานกลาง)
แรงกดดันสูงควรมแี ผนแม่บทการใชป้ ระโยชน์พืน้ ที่ทะเลและะเกาะ รวมถึงมีการจัดทาฐานข้อมลู ต้นทุน
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นท่ีทะเลและเกาะอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะการปริมาณขยะ ของเสียท่ีเกิดข้ึนบน
เกาะท่ีไม่สามารถจัดการตัวเองได้ และความสามารถในการรองรับปานกลางควรพัฒนาแนวทางและวิธีการใช้
ประโยชนท์ รัพยากรทางทะเลและเกาะอยา่ งเหมาะสมมีประสิทธภิ าพเพิม่ มากข้ึน
เขตจัดการภูมินิเวศเกษตรกรรม แรงกดดันภายนอกท่ีสาคัญของพ้ืนท่ีเกษตรกรรม คือ สภาพ
ภูมิอากาศที่มีการเปล่ียนแปลงส่งผลต่อการขาดแคลนน้าและประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอนลดลง รวมถึง
แนวโน้มการเพิ่มข้ึนของประชากรเข้ามาในพ้ืนท่ีส่งผลต่อความต้องการการใช้ท่ีดินเพิ่มข้ึน นอกจากน้ี
สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมกส็ รา้ งแรงกดดันกบั เขตเกษตรกรรมเช่นกัน เช่น ทรพั ยากรน้า
ที่ไม่เพียงพอ สารปนเป้ือนในน้าผิวดินและน้าใต้ดิน เหล่านี้นับว่าเป็นแรงกดดันท่ีมีต่อเขตเกษตรกรรมสูง (P
สงู ) ส่งผลต่อศกั ยภาพในการรองรบั ด้านความหลากหลายทางชวี ภาพ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ การใช้
ท่ีดิน และทรัพยากรน้า ท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับ (C ต่า) จึงนาไปสู่ผลกระทบทางด้านความ
อ่อนไหวของพ้ืนที่เกษตรกรรมที่จะเปล่ียนมือไปสู่พื้นท่ีพัฒนาอื่นๆ ประเด็นน้ีนอกจากจะกระทบเชิงพ้ืนท่ีแล้ว
ยังสง่ ผลตอ่ นิเวศวฒั นธรรมทางเกษตรท่ีจะมคี วามเปราะบางสงู ขนึ้
แรงกดดันสูงควรมีแผนแม่บทเพ่ือการอนุรักษ์และส่งเสริมการรักษาพ้ืนที่เกษตรกรรม อย่างจริงจัง
เพราะนอกจากรักษาความมั่นคงทางอาหารในพ้ืนที่แล้วยังสนับสนุนการใช้ประโยชน์ท่ีดินอย่างยั่งยืน การ
ดาเนินงานตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความสามารถในการรองรับต่า : ควรพัฒนาและ
ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่ให้มากที่สุด ลดการพ่ึงพาทรัพยากรจากภายนอกให้ได้มากที่สุด
และดาเนินการตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และ
เศรษฐกิจสเี ขยี ว
เขตจัดการภูมินิเวศเมืองและชุมชน เปน็ เขตที่ได้รับแรงกดดนั สูงมากกว่าทุกเขต ทั้งน้ีเนื่องจากมีความ
เสยี่ งต่อความไม่มัน่ คงทางอาหารเนอื่ งจากพืน้ ท่ีส่วนใหญ่บนโลก โดยเฉพาะประเทศกาลังพฒั นามีกระบวนการ
เป็นเมืองสูงและจานวนประชากรท่ีเพ่ิมข้ึนประชากรมีแนวโน้มอาศัยอยู่ในเมือง รวมถึงจานวนนักท่องเที่ยว
และแรงงานที่จะเข้ามาอยู่ในพื้นที่เมืองท่ีสูงข้ึน ประกอบกับการใช้ท่ีดินในเมืองที่มีความหนาแน่นของอาคาร
และความเข้มข้นของกิจกรรมเมือง พื้นที่ในเมืองเป็นพ้ืนผิวดาดแข็งมากกว่าพ้ืนผิวดาดอ่อนเพ่ือประโยชน์ต่อ
การใช้สอยท่ีงา่ ย พ้ืนท่ีสีเขียวในเมืองจึงมีจานวนน้อย ทาให้แนวโน้มคุณภาพอากาศที่แย่ลงแต่ยังไม่เกินเกณฑ์
๒ - ๒๗
แผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
มาตรฐาน ยกเว้นสารอินทรีย์ระเหยง่ายท่ีเกินค่ามาตรฐานในบางพื้นท่ี คุณภาพน้าใต้ดินท่ีพบสารปนเป้ือน
รวมถึงก๊าซคาร์บอนได้ออกไซด์ท่ีเกินค่าบรรยากาศและแนวโน้มอุณหภูมิที่สูงขึ้น นอกจากนี้ความต้องการ
บริโภคและการใช้ทรพั ยากรทเ่ี พ่ิมมากขึ้นนาไปสูป่ รมิ าณการปล่อยของเสยี ทเี่ พิ่มตามไปดว้ ย ดงั นั้นจงึ หลีกเลี่ยง
ไม่ได้ว่าแรงกดดันในพ้ืนท่ีเขตเมืองและชุมชนจะสูง (P สูง) ซึ่งส่งผลต่อศักยภาพในการรองรับด้านมลพิษทาง
อากาศ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ การมีอยขู่ องอาหาร และทรัพยากรน้า
ที่เกินขีดความสามารถในการรองรับ อย่างไรก็ตามเมืองยังสามารถเข้าถึงอาหารและน้าสะอาดได้อยู่ ดังนั้น
ความสามารถในการรองรับจึงอยู่ในระดับปานกลาง (C ปานกลาง) ซึ่งสง่ ผลกระทบต่อสขุ ภาพของคนเมอื งและ
คุณภาพของสิ่งแวดล้อมด้วย นอกจากนี้การพฒั นาทเ่ี กิดขึ้นในพื้นที่ส่งผลต่อโอกาสในการเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียวขนาด
ใหญ่ในเมืองเปน็ ไปได้ยากมากขน้ึ
ภายใต้แรงกดดันสูงควรรักษาและเพิ่มพื้นท่ีสีเขียวของเมืองให้ได้มากท่ีสุด เนื่องจากสามารถตอบสนอง
ต่อแรงกดดนั ทางด้าน การรองรับด้านมลพิษทางอากาศ ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ การมีอยู่ของอาหารและทรัพยากรน้า สุขภาพ และการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และความสามารถใน
การรองรับปานกลาง : ส่งเสรมิ การเพ่ิมพ้ืนทสี่ ีเขยี วด้วยการออกแบบภูมิทศั น์ทีส่ อดคล้องตามลักษณะภูมินเิ วศ
เขตจัดการภูมินิเวศอุตสาหกรรม พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็นพ้ืนท่ีเป้าหมายการพัฒนา
ของประเทศ โครงการพัฒนาต่างๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม (มีจานวนโรงงานอุตสาหกรรมท้ังหมด ๘,๐๑๒
โรงงาน โดยแบ่งเป็นโรงงานนอกนิคมอุตสาหกรรม จานวน ๕,๒๑๑ โรงงาน และโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม
จานวน ๒,๘๐๑ โรงงาน) ที่จะดึงดูดทั้งโครงสร้างพ้ืนฐานและแรงงานเข้ามาในพ้ืนท่ี ในขณะท่ีสถานการณ์
ส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีเส่ือมโทรมลง เช่น คุณภาพอากาศ ปริมาณกากของเสียจานวนมากข้ึน ในขณะท่ีปริมาณ
พน้ื ที่สีเขียวที่น้อย นับเป็นเขตท่ีมีแรงกดดันสูง (P สูง) และเม่ือพิจารณาศักยภาพในการรองรับด้านมลพิษทาง
อากาศ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และทรัพยากรน้าพบว่าเกินขีดความสามารถในการรองรับจัดอยู่ใน
ระดับค่อนข้างต่า (C ค่อนข้างต่า) ดังน้ันผลกระทบจากการปล่อยของเสียของโรงงานอุตสาหกรรมส่งผลให้มี
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงเน่ืองจากกระบวนการผลิตที่เข้มข้นมากขึ้นส่งผลกระทบต่อสุขภาพ จึงควรได้รับ
การจดั การทมี่ ีประสทิ ธภิ าพและในเชงิ บรู ณาการ
แรงกดดันสูงควรมกี ารความรว่ มมือเพอื่ การดูแลรกั ษาส่ิงแวดลอ้ มร่วมกบั ภาคประชาสังคมในพื้นที่อยา่ ง
เป็นระบบ เช่น การเพิ่มและรักษาพ้ืนท่ีสีเขียว การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและมีช่องทางการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในพื้นที่ รวมถึงมีการจัดทาฐานข้อมูลในพื้นที่อุตสาหกรรม อย่างง่ายสะดวกและรวดเร็วในการ
เข้าถึงปัญหาท่ีเกิดข้ึน และความสามารถในการรองรับต่า : ควรพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีท่ีมี
กระบวนการผลิตท่ีใช้ทรัพยากรน้อย ในขณะเดียวกันกับมีการปล่อยของเสียของสู่สิ่งแวดล้อมน้อย ตาม
แนวทางเศรษฐกจิ หมุนเวียน และเศรษฐกิจสเี ขียว โดยเน้นการสนับสนุนการอุตสาหกรรมท่มี ีการใช้ทรพั ยากร
ทีเ่ ปน็ ไปอย่างยัง่ ยนื
ท้ังน้ีเม่ือพิจารณาถึงแรงกดดันท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนที่ จะส่งผลให้เกิดประเด็นปัญหาจนนาไปสู่สถานภาพ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมที่เกิดขน้ึ และเมอื่ เปรียบเทียบกบั ความสามารถในการรองรบั ของพนื้ ที่แล้ว
ในการวิเคราะห์เพ่ือนาไปสู่การจัดทาแผนส่ิงแวดล้อม จะเห็นได้ว่ า แม้จะมีแรงกดดันในการเพ่ิม
ภาคอุตสาหกรรมในพ้ืนที่น้ีตลอดเวลา ในประเด็นที่เพิ่มอุตสาหกรรมท่ีมีการปล่อยมลพิษ หากเม่ือวิเคราะห์
๒ - ๒๘