แผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบริหารจัดการ การบรหิ ารจดั การในปจั จบุ นั
๕.ประชากรและเศรษฐกิจ - มแี ผนการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ของพื้นท่ี EEC
๖. สถานการณ์ -แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ ยทุ ธศาสตร์ ท่ี ๔ ใน (๔) เน้นการ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ เสรมิ การผลติ และการบริโภคท่เี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม
สงิ่ แวดลอ้ ม - การควบคมุ การใช้ประโยชน์ท่ีดนิ ตามการประกาศใช้ผงั เมืองในพืน้ ทีค่ รอบคลุมทุก
จังหวัด
๗. คณุ ภาพน้าผวิ ดนิ น้าทะเล - การเร่งรัดพัฒนาโครงการตา่ ง ๆ ในพ้ืนที่
ชายฝง่ั น้าบาดาล แผนระดบั ท่ี ๒ คือ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น ๑๘ การเติบโตอย่าง
ยงั่ ยนื โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี
- เพื่อการอนุรกั ษ์ คุ้มครอง ฟ้ืนฟู และสรา้ งฐานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอยา่ ง
ยงั่ ยืน
- ส่งเสรมิ ความหลากหลายทางชวี ภาพให้มรี ะบบนเิ วศท่ีสมดลุ
- สนบั สนุนการเพ่มิ พน้ื ท่สี ีเขยี วท้ังในเขตเมอื งและชุมชน
- สง่ เสรมิ การลงทนุ และเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมการผลติ และการบรโิ ภคไปสู่ความย่ังยืน
โดยใหค้ วามสาคญั กบั ฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอ
อากาศ การบริหารจัดการมลพิษท้งั ระบบ และการพัฒนาและดาเนินการโครงการที่
ยกระดบั กระบวนทศั น์เพือ่ กาหนดอนาคตประเทศใหพ้ ฒั นาด้านทรพั ยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมอย่างมคี ณุ ภาพตามแนวทางการเตบิ โตอย่างย่ังยนื ทเ่ี ป็นมติ ร
กับสง่ิ แวดลอ้ ม โดยมเี ปา้ หมายระดับประเด็น คือ สภาพแวดล้อมของประเทศมคี ณุ ภาพดี
ขึน้ อย่างยัง่ ยืน
แผนระดบั ที่ ๒ คือ
แผนขับเคล่ือนกิจกรรมปฏริ ปู ทีส่ ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงต่อประชาชนอย่างมี
นยั สาคญั (Big Rock ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม) ไดแ้ ก่
- กิจกรรม BR601 เพ่มิ และพัฒนาพนื้ ที่ปา่ ไม้ใหไ้ ด้ตามเปา้ หมาย
- กิจกรรม BR602 การบรหิ ารจดั การเขตทางทะเลและชายฝัง่ รายจงั หวัด
- กจิ กรรม BR602 การบรหิ ารจดั การน้าเพอื่ สร้างเศรษฐกิจชมุ ชนในพ้ืนที่นอกเขต
ชลประทาน
- กิจกรรม BR602 ปฏริ ูประบบบรหิ ารจดั การคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มในเขตควบคุมมลพิษใหไ้ ด้
ตามมาตรฐาน เป้าหมายยอ่ ยคอื ยกเลิกเขตควบคมุ มลพิษมาบตาพุด นโยบายและแผนการ
สง่ เสริมและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
แผนจัดการคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
ยทุ ธศาสตร์การบริหารจัดการทรพั ยากรนา้ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๙
- ใช้การตดิ ตามตรวจสอบสถานการณน์ า้ เสีย
ท้งั การเกบ็ ตัวอยา่ ง การตั้งสถานีเกบ็ ข้อมูลแบบเรียลไทม์
- จดั ตั้งศนู ยค์ วบคมุ มลพษิ เพ่ือเฝา้ ระวงั คุณภาพนา้ ตา่ ง ๆ ทั้งนา้ ผิวดนิ น้าทะเล น้าใต้ดนิ
- ก่อสรา้ งและพฒั นาระบบบาบดั น้าเสียชมุ ชน
- กาหนดประเภทกิจการที่ถกู ควบคมุ การระบายนา้ ลงสู่แหลง่ นา้ สาธารณะ
- เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธค์ วามรู้ ความเขา้ ใจแก่ประชาชน
๕ - ๒๔
แผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบริหารจัดการ การบริหารจดั การในปัจจบุ นั
- องค์การปกครองสว่ นท้องถน่ิ มีโครงการปรบั ปรงุ และขยายระบบบาบัดน้าเสยี ชมุ ชน
๘. การจดั การขยะมลู ฝอย ขยะ - สานักงานนคิ มอุตสาหกรรมมาบตาพุดดาเนินการจดั ทาฝายน้าล้นบรเิ วณปากคลองชาก
ทะเล มลู ฝอยติดเชื้อ และกาก หมากก่อนระบายลงสูท่ ะเล
ของเสยี อนั ตราย - สานกั งานประมงจงั หวดั ฟื้นฟูและจัดระเบียบพ้นื ทเี่ พาะเลย้ี งสัตวน์ า้ บริเวณชายฝงั่
- โรงงานอตุ สาหกรรมบางแหง่ มกี ารนาน้าท้ิงมาบาบดั เพอื่ หมุนวนกลบั เขา้ ไปใช้ในโรงงาน
๙. เขตพน้ื ที่คุ้มครองสงิ่ แวดล้อม ฯ ใหม่
๑๐. เขตควบคุมมลพิษ - มีการรวมกลุ่มของเครอื ข่ายในการจดั การคุณภาพน้า เชน่ กลุ่มเฝา้ ระวังนา้ ผิวดนิ กลมุ่
๑๑. แหล่งธรรมชาติและ ประมงพน้ื บา้ นชายฝ่งั
ศลิ ปกรรม - ภาคอตุ สาหกรรมร่วมมอื ในการจัดการขยะ เช่น SCG สรา้ งท่นุ ดกั ขยะวางบริเวณปาก
๑๒. ทรพั ยากรน้า แม่นา้ มี inceptor อยู่ปากแมน่ ้าเจา้ พระยาเพ่ือดกั ขยะ (จัดการขยะทะเลปลายทาง)
-การเฝา้ ระวัง การสรา้ งเครือข่ายในประเดน็ กากของเสียอันตราย
- มีเตาเผาสาหรับมลู ฝอยติดเชอ้ื ๓ ตันตอ่ วัน อย่รู ะหวา่ งดาเนนิ การ ๗ ตัน
- กอ่ สร้างระบบกาจดั ขยะมูลฝอย
- รณรงค์ปลกู จติ สานกึ การคดั แยกขยะและนากลับมาใช้ใหม่
- งดการจ่ายถงุ พลาสติกในรา้ นสะดวกซื้อ
- ปัจจุบัน โรงงานอตุ สาหกรรมมีการจัดตั้งกลุ่มผู้ประกอบการที่มีพันธกิจดูแลสิง่ แวดล้อม
เช่น โครงการพ่ชี ่วยนอ้ ง เพ่ือนชว่ ยเพอ่ื น ในเขตนิคมอุตสาหกรรม กาลังจะขยายออก
นอกนคิ มอุตสาหกรรม หรือกลมุ่ สมาคมเพอื่ นชุมชนของ ๕ บรษิ ทั ได้แก่ ptt, scg, BLCP
power, Dow, GLOW
- การออกแบบผลิตภณั ฑ์ ให้สามารถ recycle ไดง้ ่ายข้นึ
- ออกแบบผลติ ภณั ฑใ์ ห้มอี ายยุ าวนานมากขน้ึ ใชว้ ัตถดุ บิ ในการผลิตให้นอ้ ยลง หรือเป็น
กงึ่ วตั ถดุ ิบไปขึ้นรูป
- recycle/renewable input เพ่อื ลด footprint ผลิตภณั ฑ์ เชน่ การใชน้ า้
- ใช้ automation ในการตรวจสอบลว่ งหน้าเพ่ือไม่ใหเ้ กิดการสญู เสียในกระบวนการผลิต
สผ. จดั ทารา่ งกฎกระทรวงกาหนดให้พ้นื ทอ่ี าเภอปลวกแดงอาเภอบ้านคา่ ย และอาเภอ
นคิ มพัฒนา จงั หวดั ระยอง เปน็ เขตพ้ืนทีค่ ้มุ ครองสงิ่ แวดลอ้ ม เพือ่ คมุ้ ครองพน้ื ทตี่ ้นน้า
และอา่ งเก็บนา้ ท้ัง ๓ แหง่
- แผนปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ลดและขจัดมลพิษในเขตควบคมุ มลพิษ
- การบงั คบั ใชก้ ฎหมายอย่างเครง่ ครัด
- แผนการแก้ไขปญั หามาบตาพดุ อย่างครบวงจร
- จัดทาฐานขอ้ มูลขึ้นทะเบยี นให้ครอบคลมุ ทุกพน้ื ที่
- สง่ เสรมิ ใหท้ ุกภาคส่วนให้ความสาคญั กบั ส่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม
- จัดงบประมาณบารุงรกั ษาอย่างต่อเน่อื ง
- สร้างจติ สานึกให้แก่เยาวชน ประชาชนท่ัวไปรว่ มกันบารงุ รักษา
- การผนั นา้ จากพ้ืนทีโ่ ดยรอบ
- มีการทางานของคณะกรรมการล่มุ น้า สภาลมุ่ นา้ คลองหลวง ขับเคลื่อนการจดั การน้า
- การติดตามสถานการณน์ า้ การคาดการณภ์ าวะน้าท่วม นา้ แลง้ การคาดการณภ์ าวะน้า
๕ - ๒๕
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบริหารจดั การ การบริหารจดั การในปจั จบุ นั
หลากดนิ ถล่ม และการรายงานผลในเวบ็ ไซต์ แอปพลเิ คช่ันมอื ถอื ของหน่วยงานดา้ น
ทรัพยากรนา้ เช่น สทนช. กรมชลประทาน กรมทรพั ยากรน้า กรมทรัพยากรน้าบาดาล
-การจัดทาแผนปฏิบัติการบรรเทาภัยน้าท่วมนา้ แลง้
-การพฒั นา/ฟน้ื ฟู แหล่งนา้ การขดุ ลอก โดยคานงึ ถึงระบบนเิ วศ
ท้ังนี้ การบรหิ ารจดั การน้าใหค้ วามสาคญั กบั การอปุ โภคบรโิ ภค รักษาระบบนเิ วศ
การเกษตร และอุตสาหกรรม
๑๓. ความหลากหลายทางชีวภาพ - แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ ๑๘ การเตบิ โตอย่างยง่ั ยนื มีวัตถุประสงค์
(BDV) ส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพให้มรี ะบบนเิ วศทีส่ มดลุ และสนบั สนนุ การเพมิ่ พื้นที่สี
เขียวท้ังในเขตเมอื งและชมุ ชน
- โครงการปลกู ปา่ อยา่ งต่อเนื่อง
- ขยายและเชื่อมโยงเครอื ขา่ ยองคก์ รด้านการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
- สง่ เสริมและสนับสนนุ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
- การบังคับใช้กฎหมายอยา่ งเครง่ ครัดทงั้ ทางสังคมและทางกฎหมายในการป้องกนั
ปราบปรามการทาลายทรพั ยากรทางทะเล
- รณรงค์ สร้างจิตสานกึ ให้กับผู้ประกอบการประมงนักทอ่ งเท่ียว และชุมชนชายฝัง่
- การปลูกปา่ ชายเลนเพิ่ม ๑๗๐ไร่ เช่น ประแสร์ ต.พังรวด และท่ี เขายายดา จังหวัด
ระยอง มกี ารสรา้ งฝาน ๖,๑๐๐ฝาย สามารถชว่ ยดูดซับคารบ์ อนได้ ๔,๐๑๒ตัน/ปี
๑๔. ทรพั ยากรทางทะเลและ - รณรงค์ สรา้ งจิตสานึกใหก้ บั ผปู้ ระกอบการประมงนกั ทอ่ งเทย่ี ว และชุมชนชายฝ่งั
ชายฝงั่ เช่นปา่ ชายเลน หญ้าทะเล - บงั คับใช้มาตรการท้ังทางสงั คมและทางกฎหมายในการปอ้ งกันปราบปรามการทาลาย
และปะการงั ทรพั ยากรทางทะเล
๑๕. การกัดเซาะพืน้ ทช่ี ายฝ่งั - ภาครฐั และเอกชน มีสว่ นรว่ มในการสร้างเขอ่ื นป้องกันทรายและคลื่น และกองหนิ
ทะเลและปา่ ชายเลน ปอ้ งกนั คลืน่
- กจิ กรรมส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ังและกิจกรรมปลูกป่าชายเลน
๑๖. ทรัพยากรดินและการใช้ - รณรงคล์ ดการใช้สารเคมี
ประโยชนท์ ี่ดนิ - เผยแพร่ความรู้แก่เกษตรกรดา้ นเกษตรอินทรยี ์
- บงั คบั ใช้กฎหมายกับผู้ละเมดิ
๑๗. การบรหิ ารจดั การดา้ นกลไก ใหค้ วามสาคญั กับบทบาทของหนว่ ยงาน องคก์ รรฐั ซึ่งมีหลากหลายหน่วยงานองคก์ ร ทมี่ ี
บทบาทหน้าที่ แผนงาน งบประมาณเฉพาะความรบั ผดิ ชอบ ตามขอบเขตพน้ื ท่รี ับผดิ ชอบ
๑๘. ข้อมลู และการสอื่ สาร - การใช้เทคโนโลยี มรี ะบบ IoT ตดิ ตามคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม
- การรายงานสถานการณท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมตามภารกจิ ประจาของ
หนว่ ยงาน
๑๙. ความรว่ มมอื กับชมุ ชน - มีการจดั ตั้งกลุ่ม เพอื่ นชมุ ชน ที่เป็นกลุ่มของผปู้ ระกอบการ ในการสนับสนุนชมุ ชน จาก
โดยรวม / ผปู้ ระกอบการ / ไมก่ ่ีโรงงาน ขยายเป็นหลายโรงงานมากขน้ึ โดยเฉพาะโรงงานทม่ี งี บไม่มาก เพือ่ นช่วย
ท้องถิน่ เพ่ือน พชี่ ่วยนอ้ ง ในการใหค้ าปรกึ ษากนั ระหวา่ งผปู้ ระกอบการโดยเฉพาะประเด็นด้าน
ส่งิ แวดลอ้ ม
- การจัดตั้งองคก์ รความร่วมมอื เชน่ สภาองคก์ รชมุ ชน สภาลุ่มนา้
๒๐. กฎหมาย กฎ ระเบียบ ในพ้ืนที่อีอีซีมกี ฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกบั การจดั การทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ้ ม
๕ - ๒๖
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบริหารจดั การ การบรหิ ารจดั การในปจั จุบนั
๒๑. การเงนิ กองทนุ มกี องทุนส่งิ แวดลอ้ ม เช่น กองทนุ สิง่ แวดลอ้ มรอบโรงไฟฟ้า
๒๒. องค์ความรู้ - การสรา้ งฐานการศึกษาบนฐานชมุ ชน เชน่ กลุม่ รักษเ์ ขาชะเมา สรา้ งความร้ใู นเยาวชน
เพอื่ ปลกู ฝงั รกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม สามารถตรวจสอบคณุ ภาพนา้ อากาศไดเ้ พ่มิ การให้
๒๓. ระบบการเฝา้ ระวังและ ความสาคญั กับคนในพืน้ ท่ี การเรยี นรรู้ ว่ มกนั
ตดิ ตาม - ให้มีศูนยจ์ ดั การและประสานงานสง่ิ แวดล้อม
- มีปราชญช์ ุมชนและภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ท่ีหลากหลาย
- การเปรยี บเทียบมาตรฐาน
- มกี ลุม่ ภาคประชานทเ่ี ฝ้าระวังน้า ซ้ืออุปกรณ์เครื่องมือในการเกบ็ ตวั อย่างคณุ ภาพน้า
เพอ่ื เฝา้ ระวัง
๖. การวิเคราะห์ SWOT & TOWS และ SOAR Analysis
ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และรวบรวมในขั้นตอนของการวิเคราะห์ Pressure-Carrying Capacity-
Government: PCG เป็นข้อมูลท่ีบ่งชี้ถึงพันธกิจของแผน และเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์จุดแข็ง
จุดอ่อน อากาศ และภัยคุกคาม ในพ้ืนที่ เพ่ือนาไปสู่การกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้าประสงค์ รวมถึง
เป้าหมายและตวั ชี้วดั ของแผนต่อไป ซ่งึ ผลการวเิ คราะห์ SWOT มีดังน้ี
การวิเคราะห์ SWOT ของจงั หวดั ระยอง
จุดแขง็ (Strengths)
๑. มีระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแตจ่ ากท่ีสงู ป่าตน้ น้าลงสูท่ รี่ าบชายฝัง่
๒. มีศักยภาพและความพร้อมทางการท่องเที่ยวสูงและ มีความหลากหลายในระดับนานาชาติ ทั้งการ
ทอ่ งเทย่ี วทางบก ทางทะเล ศาสนา ประเพณีและศิลปวฒั นธรรม การท่องเทีย่ วเชงิ เกษตร และกิจกรรมตา่ ง ๆ
๓. เปน็ แหลง่ ประมงชายฝง่ั และประมงน้าลกึ ทีส่ าคญั ของประเทศ
๔. มที าเลทต่ี ั้งที่เปน็ ศนู ยก์ ลางการเชือ่ มโยงสปู่ ระเทศ ในภูมิภาคอาเซียน และเอเชยี ใต้
๖. มีการลงทุนโครงการพัฒนาตามนโยบายการพัฒนาของประเทศ ทาให้เกิดการสร้างมูลค่าทาง
เศรษฐกจิ ในพืน้ ที่ และเปน็ หนึง่ ในพนื้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษ ภาคตะวันออก (EEC)
๗ มภี าคประชาสังคมทเ่ี ข้มแขง็ ในการอนรุ ักษ์ดูแล และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
๘. เป็นแหล่งเกษตรกรรมที่อุดมสมบูรณ์ มกี ารปลกู พชื เศรษฐกิจหลากหลายประเภทและเป็นแหลง่ ผลิต
อาหารทะเลทัง้ สดและแปรรูปทั้งเพ่อื การบริโภคภายในและส่งออกได้
จดุ อ่อน (weakness)
๑. ทรัพยากรน้ามีไม่เพียงพอกับความต้องการใช้น้า และมีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึน อาจส่งผลต่อคุณภาพ
ชีวิตและการพัฒนาเศรษฐกจิ ของพื้นที่
๒. พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ป่าไม้มีแนวโน้มลดลงส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร และการ
เปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
๓. จานวนประชากรและนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นสง่ ผลให้ความต้องการการใชท้ รัพยากรธรรมชาติทมี่ ากจน
ก่อให้เกิดปัญหามลพิษด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ คุณภาพน้าผิวดินในระดับเส่ือมโทรมในแม่น้าระยองและแม่น้า
๕ - ๒๗
แผนสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ประแสร์ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปริมาณขยะมูลฝอย กากของเสียอุตสาหกรรม มูลฝอยติดเชื้อ
และปรมิ าณน้าเสยี ท่มี ีแนวโนม้ เพ่มิ สูงขึ้น
๔. ปัญหาด้านมลพิษในพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมยังมีปัญหาในระดับเกินเกณฑ์มาตรฐาน ได้แก่ คณุ ภาพน้าใต้
ดนิ สารอินทรีย์ระเหยงา่ ยในอากาศ
๕. แผนการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มไม่ได้รับความสาคัญจากองค์กร และหนว่ ยงานที่
เก่ยี วข้องเพ่ือนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
๖. ระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมยังขาดประสิทธิภาพและเป็นมาตรฐาน
เดยี วกนั
๗. แนวทางการสนับสนนุ การนาเทคโนโลยมี าใช้ยังปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหามลพษิ ยงั ไมส่ มบูรณ์
๘. โครงสรา้ งประชากรทม่ี ีวัยสูงอายเุ พม่ิ ขนึ้ ขณะท่ีประชากรวยั เดก็ และวัยแรงงานลดลง
โอกาส (Opportunities)
๑. นโยบายราชการสว่ นกลาง ส่งเสรมิ ความรว่ มมอื ระหว่างหน่วยงานภาครฐั สว่ นกลาง สว่ นภมู ิภาค
และส่วนท้องถ่นิ ในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
๒. กระแสความร่วมมือระหว่างองค์กร สถาบันในพื้นท่ีกับองค์กรระหว่างประเทศในการดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อาทิ เศรษฐกิจชีวภาพ - เศรษฐกิจ หมุนเวียน - เศรษฐกิจสีเขียว (Bio
economy - Circular economy - Green economy : BCG)
๓. ความตนื่ ตัวของภาคเอกชนและประชาชนในการดแู ลทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
๔.การประกาศเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง ที่มีเป้าหมายในการแก้ไขปัญหามลพิษเพื่อนาไปสู่การ
ยกเลิกประกาศ ฯ ตามแผนปฏิรูปประเทศดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
ภัยคุกคาม (Threats)
๑. การพัฒนาภาคอุตสาหกรรม และการขยายการพัฒนาทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของ
ทรพั ยากรชายฝัง่ และคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มเส่ือมโทรม
๒. การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมอิ ากาศสง่ ผลกระทบตอ่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นท่ี
๓. การประกาศเขตพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเพิ่มข้ึนอย่างมากมีผลต่อศักยภาพในการรองรับมลพิษใน
พน้ื ท่ี และปญั หาตอ่ สุขภาพอนามัยของประชาชน
๔. การวางแผนการพัฒนาท่ีเน้นความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ โดยขาดการคานึงถึงผลกระทบ
สิง่ แวดลอ้ มและสังคมควบคู่การวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจ
การวเิ คราะห์ TOWS Analysis
จากข้อมูลจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม นามาสู่การวเิ คราะห์วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เพื่อการ
บรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ไดผ้ ลสรุปใน ๔ ดา้ น คือ
๑. กลยุทธ์เชิงรุก ควร ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและสนับสนุนเศรษฐกิจที่มิตรกับสิ่งแวดล้อมท้ังใน
ภาคอตุ สาหกรรมและเกษตรกรรม
๒. กลยุทธ์เชิงแก้ไข ควร พัฒนาองค์ความรู้เพ่ือเพ่ิมคุณค่าและมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรให้เป็น
อตั ลกั ษณแ์ ละเป็นแหลง่ ทอ่ งเทียวเชิงเกษตรกรรมและชายฝ่งั
๕ - ๒๘
แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๓. กลยุทธ์เชิงป้องกัน ควร ส่งเสริมชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืนเพื่อเพิ่มความสามารถในการพ่ึงตนเอง
รองรับการเปลย่ี นแปลงสงั คมผสู้ งู อายุ
๔. กลยุทธ์เชิงรับ ควร อนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลายและคุ้มครองส่งเสริม
แหล่งผลไม้เศรษฐกจิ ท่สี าคัญและชายฝ่ัง
การวเิ คราะห์ SOAR Analysis
ภายใตจ้ ุดแข็ง และโอกาส นามาสู่การวิเคราะห์เปา้ หมายและผลลพั ธ์ทีค่ าดหวงั ไดด้ ังนี้
๑. ส่ิงแวดล้อมได้รับเฝ้าระวังดูแลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างท่ัวถึง ผลลัพธ์ท่ีคาดหวัง มีการติดตั้ง
เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพนา้ และอากาศอย่างท่วั ถงึ และคุณภาพนา้ และอากาศอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน
๒. ทรพั ยากรธรรมชาติได้รับการอนุรักษ์ฟื้นฟูอย่างเหมาะสม ผลลัพธ์ท่ีคาดหวัง มีการอนุรักษ์และฟื้นฟู
ป่าตน้ นา้ ชายฝ่ัง ทะเลและเกาะ พร้อมท้ังการส่งเสรมิ การท่องเทียวชุมชน ทะเลและชายฝง่ั แบบ Slow Life
๓. วิถชี ีวติ ชุมชนเกษตรได้รับการส่งเสริมคู่การพฒั นาอตุ สาหกรรม ผลลัพธ์ท่ีคาดหวงั คือ อนุรักษแ์ ล
สง่ เสรมิ สวนผลไม้สู่การเปน็ เศรษฐกิจชวี ภาพและการท่องเท่ียวเชงิ เกษตร
๗. ทศิ ทางและนโยบายการพฒั นาของจงั หวัดระยอง
พื้นที่จังหวัดระยอง เป็นเป้าหมายเชิงพ้ืนที่ในแผนภาพรวมการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) ที่ไดจ้ ัดทาข้นึ ตามมาตรา ๒๙ ของพระราชบัญญัตเิ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก พ.ศ.
๒๕๖๑ ที่กาหนดให้สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สานักงาน) จัดทา
แผนภาพรวมฯ และเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (คณะกรรมการนโยบาย)
และได้กาหนดเป้าหมายการพัฒนาเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับการพัฒนาประเทศ ระดับการพัฒนาพื้นท่ี เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และระดับการพัฒนาพ้ืนท่ี ๓ จังหวัด (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และ ระยอง) โดยมี
ตัวชีว้ ัดของการพฒั นา ดังน้ี
เป้าหมายระดบั ประเทศ
(๑) เป็นพื้นที่แรกท่ีมีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นระบบ มีกฎหมาย องค์กรดาเนินการ และ
มีภารกิจชัดเจน เปน็ ตวั อย่างของการพัฒนาพ้ืนท่อี ื่น ๆ ในอนาคต
(๒) รายไดป้ ระชาชาติขยายตวั ไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ ๕ ต่อปี
(๓) สะสมและนาเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ในการสร้างรายได้และสร้างความสะดวกให้กับคนไทย ทุก
คนทุกระดบั
เป้าหมายระดับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง) การยกระดับการ
ลงทนุ ในทุกดา้ นไม่ต่ากว่า ๑.๕ ล้านล้านบาท ใน ๕ ปีแรก เพื่อให้เกิดฐานเทคโนโลยีใหม่ของประเทศ และเกิด
การพัฒนาคน ความรูแ้ ละเทคโนโลยี ให้ก้าวทันโลกอนาคต
เปา้ หมายระดบั จงั หวดั
เปา้ หมายจงั หวดั ระยอง เปน็ เมืองนวัตกรรม การวิจยั และพฒั นา และการท่องเท่ยี วเกษตร ภายใน
๑๐ ปี
เพ่ือตอบเป้าหมายดังกล่าวจึงมีโครงการต่าง ๆ ท่ีถูกพัฒนาขึ้นในจังหวัดระยอง ได้แก่ การวาง
แผนพัฒนาพื้นที่ตาบลบ้านฉางให้เป็นต้นแบบเมืองอัจฉริยะด้วยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี 5G และการ
๕ - ๒๙
แผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
พัฒนาพื้นที่วังจันทร์วัลเล่ย์ ที่ตั้งอยู่อาเภอวังจันทร์ ให้เป็นฐานที่ต้ังในการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม การ
พัฒนา เพ่ือตอบเป้าหมาย R&D และการพัฒนาเมืองภายใต้แนวคิด “มหานครเมืองการบินแห่งตะวันออก”
โดยมีสนามบินอู่ตะเภาเป็นศูนย์กลาง และทาการพัฒนาชุมชนเมืองโดยรอบในรัศมี ๓๐ กม. ให้เป็นเมือง
อัจฉริยะ นอกจากน้ียังมีโครงการระเบียงผลไม้ตะวันออก (Eastern Fruit Corridor: EFC) ในตาบลมาบข่า
อาเภอนิคมพัฒนา ของจังหวัดระยอง เพื่อให้ภาคตะวันออกเป็นตลาดกลางประมูลผลไม้คุณภาพสูง เป็นต้น
และโครงการศูนย์ซ่อมบารุงอากาศยานอู่ตะเภา โครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะท่ี ๓
รวมถึงการเช่ือมโยงการพัฒนาด้วยโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม ๓ สนามบิน เร่ิมจากสนามบินดอน
สวุ รรณภมู ิ และสน้ิ สดุ สนามบนิ อตู่ ะเภา
ในขณะท่ี แผนพัฒนาจังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔ กาหนดวิสัยทัศน์จังหวัดระยอง (Vision)
ไว้ คือ “เมอื งนวัตกรรมก้าวหน้า พัฒนาอยา่ งสมดลุ บนพ้ืนฐานความพอเพียง” กาหนดประเด็นการพัฒนา
ของจงั หวัดเปน็ ๖ ประเด็น ประกอบด้วย
๑) พัฒนาคุณภาพสินค้าและผลิตภัณฑ์ด้วยนวัตกรรมด้านการเกษตร ประมง ปศุสัตว์ให้เป็นไป
ตามมาตรฐานสากล ควบคู่กบั การพฒั นาไปสูเ่ กษตรอุตสาหกรรมและเพื่อการท่องเทย่ี ว
๒) พัฒนาศักยภาพการท่องเท่ียวให้เติบโตควบคู่กับภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอย่างมี
คุณภาพและยั่งยืน
๓) พัฒนาภาคอุตสาหกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ สนับสนุนการดาเนินการที่มีความ
รบั ผิดชอบตอ่ สงั คม และการสรา้ งนวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ รองรับเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
๔) อนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟู เพ่ิมการพฒั นาและควบคุมการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติและรักษาสิง่ แวดล้อมบน
พ้ืนฐานของการมีส่วนร่วม
๕) เสริมสร้างมาตรฐานการดารงชีวิต และการมีส่วนร่วมของประชาชนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
๖) สร้างความเข้มแข็ง และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันภาคพาณิชยกรรม และภาค
บรกิ ารสสู่ ากล
จากการวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม ประกอบด้วย สภาวะความท้าทายของโลก ได้แก่ ความมั่นคงทาง
อาหาร สุขภาวะท่ีดี และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก รวมถึงสถานการณ์การพฒั นา จานวนประชากร
ระบบเศรษฐกิจ รวมถึงสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของจังหวัดระยอง เป็นแรงกดดันของ
พื้นท่ี (Pressure: P) ในขณะที่ศักยภาพของพ้ืนที่มีระดับการรองรับ (Carrying Capacity: C) ในตัวช้ีวัด ๘
ประเด็น ที่พบว่าเกินขีดความสามารถในการรองรับไป ๕ ประเด็น คือ การมีอยู่ของอาหาร ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ น้าเสยี การปลดปล่อยคารบ์ อนไดออกไซด์ และการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มพี ื้นทเ่ี พาะปลกู ไม่เพียงพอ
ต่อปริมาณความต้องการเพื่อการดารงชีพ ในขณะที่พื้นท่ีมีแรงกดดันและมีความสามารถในการรองรับในบาง
ประเด็นที่เกินขีดความสามารถในการรองรับ จังหวัดระยองเองก็มีความพยายามในการแก้ไขปัญหาด้วยการ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Governance: G) และมีการกาหนดทิศทางการพัฒนา
พ้ืนที่เพื่อเกิดคุณภาพชีวิตและสภาพแวดล้อมที่ดีของประชาชนในพื้นที่ ข้อมูลท้ังหมดเหล่าน้ีนาไปสู่การ
วเิ คราะห์ SWOT/TOWS และ SOAR ทใี่ ชใ้ นการกาหนดแผนสิ่งแวดล้อมของจงั หวดั ระยอง
๕ - ๓๐
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๘. แผนสิ่งแวดลอ้ ม จงั หวัดระยอง (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
๘.๑ หลกั การและเหตุผล
แผนส่ิงแวดล้อมในระดับจังหวัด มุ่งเน้นส่งเสริมโครงการ/กิจกรรมด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอ้ มในระดับพน้ื ท่ี ท่ีตอบสนองตอ่ การบรรลุเปา้ หมายของแผนสง่ิ แวดล้อมในภาพรวมของพื้นทเี่ ขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ ภายใต้สถานการณ์ภาวะกดดัน ความสามารถในการรองรับของพื้นท่ี และ
สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่ ที่ส่งเสริมและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาทั้งใน
ระดบั ภูมิภาคและระดบั จังหวัดต่อไป
๘.๒ วสิ ยั ทัศน์
“อตุ สาหกรรมท่เี ปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับบริบทภมู สิ ังคม มุ่งสู่เมอื งนวัตกรรม
การวิจัยและพัฒนาอย่างสมดุล ทอ่ งเท่ียวเกษตรปลอดภัยบนพ้ืนฐานความพอเพียง”
๘.๓ วัตถปุ ระสงค์
๑) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและสนับสนุนเศรษฐกิจที่มิตรกับส่ิงแวดล้อมทั้งในภาคอุตสาหกรรม
และเกษตรกรรม
๒) พัฒนาองค์ความรู้เพื่อเพ่ิมคุณค่าและมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรให้เป็นอัตลักษณ์และเป็น
แหลง่ ทอ่ งเทยี วเชงิ เกษตรกรรมและชายฝัง่
๓) ส่งเสริมชุมชนเกษตรกรรมยงั่ ยนื เพ่ือเพ่ิมความสามารถในการพึ่งตนเองรองรับการเปลย่ี นแปลง
สงั คมผ้สู งู อายุ
๔) อนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลายและคุ้มครองส่งเสริมแหล่งผลไม้
เศรษฐกจิ ที่สาคญั และชายฝ่งั
๘.๔ เป้าประสงค์
๑. สิ่งแวดลอ้ มได้รบั การบาบดั และจดั การให้มคี ุณภาพตามมาตรฐาน
๒. ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ได้รับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และมีการใช้ประโยชน์อย่างมั่นคง สมดุล
และเป็นธรรม
๓. ประชาชนในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้รับการส่งเสริมนวัตกรรมและ
ความสามารถในการพึ่งตนเองในการบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และอบุ ัติภัย
๔. ระบบและกลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีการขับเคล่ือนด้วย
กระบวนการมสี ว่ นรว่ มอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
ท้ังนี้ จังหวัดระยองมีโครงการเฉพาะประเด็นและพื้นที่เพ่ิมเติมจากแผนภาพรวม มีเป้าประสงค์ใน
ระดับจงั หวดั ท่สี นบั สนนุ เปา้ ประสงคใ์ นแผนภาพรวม ดังนี้
๑) ส่ิงแวดลอ้ มไดร้ ับการดแู ลตามมาตรฐาน เฝา้ ระวังดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งท่วั ถงึ
๒) ทรัพยากรธรรมชาติไดร้ บั การอนุรักษ์ฟนื้ ฟูอยา่ งเหมาะสม
๓) วิถีชีวิตชุมชนเกษตรได้รับการสง่ เสรมิ คู่การพัฒนาอุตสาหกรรม
๕ - ๓๑
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๘.๕ ยทุ ธศาสตรแ์ ผนสิง่ แวดลอ้ ม จังหวดั ระยอง (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
ในการดาเนินกิจกรรมโครงการแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะท่ี ๒ มุ่งเน้น
การบริหารจัดการในภาพรวม ซึ่งโครงการ/กิจกรรมในประเด็นที่สาคัญ ได้ดาเนินการครอบคลุมท้ัง ๓ จังหวัด
ในแผนภาพรวม เช่น การจัดการทรัพยากรน้า ก๊าซเรือนกระจก การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง
การเพิ่มประสิทธภิ าพการบริหารจัดการและกลไกการมีส่วนร่วมเพื่อขับเคลือ่ นแผนสู่การปฏิบัติ เปน็ ต้น และมี
โครงการ/กิจกรรมท่ีมีความสาคัญเฉพาะพ้ืนท่ีท่ีดาเนินการภายใต้แผนสิ่งแวดล้อม จังหวัดระยอง (ระยะท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ เพื่อสนับสนุนการบรรลุเป้าหมาย และเป้าประสงค์ของแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกระยะท่ี ๒ ประกอบดว้ ย ๔ ยทุ ธศาสตร์สาคญั คอื
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การจดั การสิ่งแวดล้อมเพ่ือคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ สุข
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งยั่งยืน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ การสรา้ งศักยภาพชุมชนพึง่ ตนเองและรบั มือต่อการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศและ
อบุ ตั ิภยั
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการและกลไกการมสี ว่ นรว่ มเพือ่ ขบั เคลื่อนแผนสู่
การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการส่ิงแวดล้อมเพื่อคุณภาพชีวิตท่ีเป็นสุข มี ๓ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี ๑.๑
การจัดการน้าเสีย ประกอบด้วย ๑ แผนงาน ได้แก่ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการระบบบาบัดน้าเสีย กล
ยุทธ์ที่ ๑.๒ การจัดการมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการจัดการมลพิษ
ทางอากาศ และกลยุทธท์ ี่ ๑.๓ การจัดการขยะและกากของเสียอุตสาหกรรม ประกอบด้วย ๑ แผนงาน ได้แก่
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะชุมชน โดยมี ๗ ตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ (๑) คุณภาพน้าผิวดินโดยเฉลี่ยอยู่
ในระดับพอใช้ (ระดับ ๓) (๒) มีการติดต้ัง เครื่องตรวจวัด (IoT) และรายงานคุณภาพน้าในแม่น้าระยอง และ
แม่น้าประแสร์ลารางสาธารณะเมืองมาบตาพุด และแหล่งน้าที่นามาใช้อุปโภค-บริโภค (๓) มีระบบบาบัดน้า
เสียเพ่ิมข้ึน (๔) มีการดาเนินการในการลดสาร VOCs ในเขตนิคมอุตสาหกรรมอย่างต่อเน่ือง (๕) มีการ
ดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยท่ีถูกหลักวิชาการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ (๖) สัดส่วนการนาของเสียกลับไปใช้
ใหม่ รอ้ ยละ ๓๐ ของปริมาณขยะมูลฝอยชมุ ชนรวม และ (๗) มลู ฝอยตดิ เชือ้ เข้าสู่ระบบการจดั การทถี่ ูกต้อง
ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน มี ๔ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ ๒.๑ การใช้
ประโยชน์ที่ดินที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การพัฒนาเครื่องมือเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการใช้ที่ดินที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมแนวทางปฏิบัติ กลยุทธ์ท่ี ๒.๒ การจัดการทรัพยากรน้า
ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพ่ิมประสิทธภิ าพการจัดการน้า กลยุทธท์ ่ี ๒.๓ การจดั การความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ กล
ยุทธ์ท่ี ๒.๔ การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพิ่มประสิทธิภาพ
การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ โดยมี ๖ ตวั ชว้ี ดั ที่สาคญั ได้แก่ (๑) พื้นที่สีเขียวเพม่ิ ขึน้ (๒) เพิ่มประ
สิทธิในการกักเก็บน้าใต้ผิวดิน และใต้ดิน ในพื้นท่ีเกษตรกรรม ตามพื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืนท่ีเพ่ิมข้ึน (๓) มี
มาตรการป้องกัน ดูแล รักษา และฟ้ืนฟูในระบบนิเวศ ป่าบก ป่าชายเลน พ้ืนท่ีชุ่มน้า (๔) มีฐานข้อมูลความ
๕ - ๓๒
แผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หลากหลายทางชีวภาพ (๕) มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมและเช่ือมโยงกันเพิ่มข้ึน (๖) มีกิจกรรม
รกั ษาและฟน้ื ฟสู ิ่งแวดลอ้ มทะเลและชายฝั่ง
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างศักยภาพชุมชนพึ่งตนเองและรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และอุบัติภัย มี ๑ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การเพ่ิมพ้ืนที่แหล่งดูดซับและกักเก็บก๊าซเรือนกระจก และการส่งเสริมการมี
สว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในการปรับตัวต่อการรองรบั การ โดยมี ๕ ตัวชว้ี ดั ที่สาคัญ ไดแ้ ก่ (๑) มีโครงการพัฒนา
คุณภาพชีวิตเพื่อจัดการทรัพยากรชุมชน (๒) ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (เทียบเท่า) ในพ้ืนที่
ลดลง ตามเปา้ หมายทกี่ าหนดใน แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๓
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการและกลไกการมีส่วนร่วมเพ่ือขับเคลื่อน
แผนสู่การปฏิบัติ มี ๒ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี ๔.๑ การพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการและกลไกการมี
ส่วนร่วม ประกอบด้วย ๑ แผนงาน ได้แก่ การทบทวนและปรับปรุงกฎ ระเบียบ กฎหมาย และแผนที่เอื้อต่อ
การบริหารจัดการ และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมท่ีเป็นธรรม กลยุทธ์ที่ ๔.๒ การขับเคลื่อนแผนสู่การ
ดาเนินงาน ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ เพ่ิมประสิทธิภาพการขับเคล่ือนแผน โดยมีตัวชี้วัดท่ีสาคัญ ได้แก่
(๑) มีกลไก เคร่ืองมือ สาหรับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมท่ีส่งเสริมการมีส่วนร่วมจาก
ทุกภาคส่วน (๒) มีองค์กรบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน (๓) จานวนกิจกรรม
ด้านสิ่งแวดล้อมท่ีได้รับการขับเคล่ือนโดยภาคีเครือข่าย (๔) มีกิจกรรมสนับสนุนภาคีเครือข่ายองค์กรให้มี
ศักยภาพในการเข้าสู่กระบวนการมีสว่ นร่วมในระดับท่ี ๔ (ความรว่ มมือ) มีจานวน และมีสัดส่วนมากข้นึ (๕) มี
เวที หรือช่องทางการส่ือสารแลกเปล่ียนข้อมูลและความคิดเห็นร่วมกันทุกภาคส่วนอย่างต่อเน่ือง (๖) มี
แนวทางการส่งเสริมปัจจัยความสาเร็จอันนาไปสู่การนาแผนไปสู่การปฏิบัติ (๗) มีการรายงานผลการทบทวน
แผนการพฒั นาในพ้ืนท่อี ย่างตอ่ เน่ือง (๘) มแี นวทางการพฒั นา งานวจิ ยั งานวิจยั ทอ้ งถิ่น เทคโนโลยี นวัตกรรม
และใชป้ ระโยชน์จากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินท่เี ก้อื หนนุ ต่อคณุ ภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
๕ - ๓๓
แผนสง่ิ แวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาค
๘.๖ เป้าหมายและตัวช้ีวัดของแผนส่ิงแวดลอ้ ม จังหวัดระยอง
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน
๑. การจัดการ ๑.๑ การจัดการน้าเสีย ๑.๑.๑ เพม่ิ ประสิทธภิ าพการจดั การระบบ
สิ่งแวดลอ้ มเพอื่ คุณภาพ บาบัดน้าเสีย
ชีวติ ที่เป็นสขุ ๑.๑.๒ การพัฒนาเทคโนโลยเี พอื่ ลดปริมาณ
น้าเสยี และนากลับมาใช้
๑.๒ การจดั การมลพษิ ๑.๒.๑ เพิ่มประสทิ ธภิ าพการจัดการมลพิษ
ทางอากาศ ทางอากาศ
๑.๓ การจัดการขยะ ๑.๓.๑ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการจดั การขยะ
ชมุ ชน
๑.๓.๒ เพม่ิ ประสิทธิภาพการจดั การขยะ
อตุ สาหกรรม มูลฝอยตดิ เชอื้ และกากของ
เสยี อนั ตราย
๒. การจดั การ ๒.๑ การใชป้ ระโยชน์ ๒.๑.๑ พฒั นาเครอ่ื งมือเพอ่ื เพิ่ม
ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ดนิ ที่เป็นมติ รกบั ประสทิ ธิภาพการใช้ทดี่ นิ ทเ่ี ปน็ มติ รกับ
๕-
คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หน่วยงาน เปา้ หมาย ตวั ช้ีวดั
หน่วยงานหลกั : อบจ. / - แม่นา้ ระยอง แมน่ า้ ประ -คุณภาพนา้ ผวิ ดินโดยเฉลีย่ อยู่ใน
อปท /อจน. / สสภ.๑๓/ แสร์ และชายฝงั่ มีคณุ ภาพ ระดบั พอใช้ (ระดับ ๓) A
ทสม. / ทต.ปลวกแดง น้าท่ดี ี -มีการตดิ ต้งั เคร่อื งตรวจวดั (IoT)
หนว่ ยงานสนับสนุน: ทสจ. / และรายงานคณุ ภาพนา้ ในแมน่ ้า
คพ. / สสภ.๑๓ คณุ ภาพอากาศอยู่ในระดบั ระยอง และแมน่ ้าประแสร์ลาราง
DEPA /อจน. มาตรฐาน สาธารณะเมืองมาบตาพุด และ
แหลง่ นา้ ท่นี ามาใชอ้ ปุ โภค-บริโภค
หนว่ ยงานหลกั : กนอ. / การจดั การขยะมูลฝอยมลู -มรี ะบบบาบดั น้าเสียเพิ่มขึน้
กรอ. / อปท. ฝอยติดเช้อื ทไ่ี ด้รับการ -มกี ารดาเนินการในการลดสาร
หนว่ ยงานสนบั สนนุ : อบจ. / จัดการไมถ่ กู หลกั วิชาการ VOCs. ในเขตนิคมอุตสาหกรรม
สอ.ฉช./อก.จ./สสภ.๑๓ / ลดลง อย่างตอ่ เนอ่ื ง
คพ. / ทสจ.
หน่วยงานหลกั : สผ./อปท. / - การส่งเสริมการใช้ -มีการดาเนินการจดั การขยะมูล
ทสจ. / กลุ่มประมงและ ประโยชนท์ ่ดี ินเพ่ือเพมิ่ พนื้ ที่ ฝอยทถี่ กู หลกั วิชาการไมน่ ้อยกวา่
อนรุ ักษ์ระยอง / อบจ. ร้อยละ ๕๐K
หนว่ ยงานสนบั สนนุ : อปท./ - สัดส่วนการนาของเสยี กลับไปใช้
ทสจ./สสภ.๑๓/SCG ใหม่ ร้อยละ ๓๐ ของปริมาณขยะ
มลู ฝอยชมุ ชนรวม A
หนว่ ยงานหลกั : อบจ. -มูลฝอยตดิ เช้อื เข้าสรู่ ะบบการ
จัดการทถี่ กู ตอ้ ง E
พน้ื ทส่ี ีเขียวเพ่ิมข้นึ
๓๔
ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาค
อย่างย่งั ยืน สิง่ แวดลอ้ ม
๒.๒ การจัดการ แผนงาน
ทรพั ยากรนา้ ส่ิงแวดลอ้ ม
๒.๒.๑ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การน้า
๒.๓ การจดั การความ ๒.๓.๑ เพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการความ
หลากหลายทางชวี ภาพ หลากหลายทางชีวภาพ
๒.๔ การจดั การ ๒.๔.๑ เพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั การ
ทรพั ยากรทะเลและ ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ชายฝัง่
๕-
คตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หน่วยงาน เป้าหมาย ตัวช้วี ดั
สเี ขยี ว
หน่วยงานหลัก: สศก. / ทบ. -น้ามเี พียงพอต่อการ -เพิ่มประสิทธใิ นการกกั เกบ็ น้าใต้ผวิ
/ อปท. / กยท. อุปโภค-บรโิ ภค รักษาระบบ ดนิ และใต้ดนิ ในพ้นื ทเี่ กษตรกรรม
หนว่ ยงานสนบั สนุน: ภาคี นเิ วศ การเกษตร ตามพ้ืนท่ีเกษตรกรรมยง่ั ยนื ที่
เครอื ขา่ ย อตุ สาหกรรม บริการและ เพิ่มข้นึ H, G
การทอ่ งเที่ยว
หน่วยงานหลกั : ปม. / อส. / -การส่งเสริมความ - มมี าตรการปอ้ งกัน ดแู ล รักษา
ม.บรู พา. / ทน. หลากหลายทางชีวภาพ ใน และฟน้ื ฟใู นระบบนิเวศ ป่าบก ปา่
ททท / อปท/ ภาคีเครือข่าย พนื้ ทป่ี า่ ไม้ ปา่ ชายเลน พื้นที่ ชายเลน พ้ืนทช่ี มุ่ นา้
/เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน / ชมุ่ น้า ใหม้ คี วามสามารถ - มีฐานขอ้ มูลความหลากหลายทาง
ททท. / กนอ / กรอ / ให้บรกิ ารนิเวศต่อสงั คมได้ ชีวภาพ
เครอื ข่ายประมงพ้ืนบา้ น / อยา่ งเหมาะสม - มีแหล่งท่องเทีย่ วเชงิ นิเวศและ
อพท. / สผ. / วัฒนธรรมและเชือ่ มโยงกนั เพิ่มขนึ้
สถาบันการศกึ ษา - ทรพั ยากรทางทะเลและ
หน่วยงานสนบั สนุน: ชมุ ชน ชายฝง่ั ได้รับการอนุรกั ษ์และ - มีกิจกรรมรักษาและฟ้ืนฟู
/ มูลนิธิอสี ฟอรมั่ ๒๑ / อปท. ฟ้ืนฟใู หค้ งความอุดม สง่ิ แวดลอ้ มทะเลและชายฝั่ง
/ วว./ วช. สมบรู ณ์
ทช./ทน./SCG. / อบจ. /
ททท. / ทช / หอการคา้
จังหวัด
หน่วยงานหลกั : ทช./กนอ.
มาบตาพดุ ./ ท่าเรือมาบตา
พุดหน่วยงานสนับสนนุ :
อปท./ทธ.
๓๕
แผนสง่ิ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาค
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ การ ๓.๒ การบรรเทา ๓.๒.๑ เพิ่มพนื้ ท่ีแหลง่ ดดู ซับและกกั เก็บกา๊ ซ
สรา้ งศักยภาพชมุ ชน ผลกระทบจากการ เรอื นกระจก
พ่ึงตนเองและรับมอื ตอ่ เปล่ยี นแปลงสภาพ
การเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ
ภมู ิอากาศและอบุ ตั ภิ ยั
๔. การเพมิ่ ๔.๑ การพฒั นา ๔.๑.๑ การทบทวนและปรบั ปรงุ กฎ
ประสทิ ธภิ าพการ ศกั ยภาพในการบริหาร ระเบียบ กฎหมาย และแผนทเ่ี อ้ือตอ่ การ
บรหิ ารจดั การและ จดั การและกลไกการมี บริหารจัดการ
กลไกการมสี ่วนรว่ ม สว่ นรว่ ม
เพือ่ ขับเคล่ือนแผนสู่
การปฏิบตั ิ ๔.๒ การขับเคล่อื นแผน ๔.๒.๑ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการขับเคล่ือนแผน
ส่กู ารดาเนินงาน
หมายเหตุ: A พัฒนาหรือนามาจากตวั ชว้ี ดั ภายใต้แผนจัดการคณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒
B ประยกุ ตห์ รือนามาจากตวั ชวี้ ัดภายใต้แผนวสิ าหกิจองคก์ ารจดั การน้าเสยี พ.ศ. ๒๕๖
C ระดบั การลดการปลดปล่อยร้อยละ ๒๕ ประยุกตจ์ าก แผนทนี่ าทางการลดกา๊ ซเรือ
D จากขอ้ มลู การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกใน EEC พบวา่ ในปี ๒๕๖๒ เท่ากับ ๕๐.๗๓ M
พ้ืนท่ปี ่าเพ่ิม ๒ ลา้ นไร่ จากคา่ เฉลย่ี พื้นที่ป่าในความสามารถในการดดู ซบั ก๊าซเรือน
E ประยกุ ต์หรือนามาจากตัวชี้วดั ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับ
F ประยกุ ต์จากตัวชี้วดั ภายใตเ้ ปา้ หมายการพฒั นาอย่างย่ังยนื (SDG targets, indicat
G ภาคผนวก การเปรยี บเทียบ “แนวทางการบริหารจดั การทรพั ยากรน้ารองรับการพ
สิง่ แวดลอ้ มในพื้นทพ่ี ฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ระยะที่ ๒
๕-
คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หนว่ ยงาน เป้าหมาย ตัวชวี้ ดั
หน่วยงานหลกั : อปท. - การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก - ปรมิ าณการปล่อยก๊าซ
ศวทอ. / ม.บรู พา ในพื้นท่ีลดลง คาร์บอนไดออกไซด์ (เทียบเทา่ ) ใน
หนว่ ยงานสนบั สนนุ : อส. / พน้ื ทลี่ ดลง ตามเป้าหมายทีก่ าหนด
ปม./ทช./กนอ. /กรอ. พม./ พัฒนากฎ ระเบียบ รว่ มกัน ใน แผนท่นี าทางการลดก๊าซเรอื น
สอ.จ/ SCG /วช. /สพภ./บ. ในการบริหารจัดการ กระจก พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๗๓ C
ไทยออย / อบก. ทรพั ยากรธรรมชาติและ
หนว่ ยงานหลัก: อปท. / สถ. สง่ิ แวดล้อม มกี ลไก เคร่อื งมอื สาหรับการบรหิ าร
หนว่ ยงานสนับสนนุ : สส. / จดั การทรัพยากรธรรมชาติ
สผ. / คพ. ส่ิงแวดลอ้ มทสี่ ่งเสริมการมีสว่ นร่วม
จากทุกภาคส่วน
หน่วยงานหลัก: NT / สก -การสนบั สนุนให้ประชาชน - มกี ารพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือบรกิ าร
พอ. / อปท. และชุมชนมีส่วนร่วมในการ ชุมชน
บรหิ ารจัดการสง่ิ แวดลอ้ มมี
ความต่อเนอ่ื ง
๒๕๖๔
๖๐-๒๕๖๔ (ทบทวนครั้งท่ี ๑)
อนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๗๓
MtCO2eq (อบก.) ซ่ึงหากต้องการพ้นื ท่แี หล่งดดู ซบั ก๊าซเรือนกระจกลง รอ้ ยละ ๒๕ เทา่ กบั ต้องมี
นกระจก ๖.๓๓ ตนั /ไร่ (พงษ์ศกั ด์ิ วทิ วัสชตุ กิ ุล, ๒๕๖๔)
บท่ี ๑๒
tors)
พัฒนาเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก”โดย สานักงานทรัพยากรน้าแหง่ ชาติ (๒๕๖๒ และแผน
๓๖
แผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาค
H นิเวศบริการดา้ นการดูดซบั นา้ ของพ้ืนทปี่ า่ ทีม่ ีสัดสว่ นการดดู ซับนา้ ฝนลงไปในสว่ น
I ประยุกตจ์ ากตวั ช้วี ัดภายใตค้ มู่ ือการแนวทางการดาเนินงานภายใตภ้ ารกจิ ทไ่ี ดป้ รบั ป
J เทยี บเคียงกบั พนื้ ที่ป่าชายเลนในพ้นื ที่ ๓ จงั หวดั (ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ระยอง) ในปี พ
K เทยี บเคียงกบั ขอ้ มลู การกาจัดขยะของประเทศรายได้สงู ถงึ รายไดต้ า่ ใน Wilson, e
๕-
คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
นลกึ ของชน้ั ดินแลว้ แปรสภาพเปน็ นา้ ใตด้ นิ รอ้ ยละ ๒๕ (SCG, ม.ม.ป.)
ปรงุ ของกรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่
พ.ศ. ๒๕๕๖ ซงึ่ มพี ้นื ท่ี ๒๘,๕๕๘ ไร่
et al. (2013)
๓๗
แผนสิง่ แวดล้อมในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๘.๗ แนวทางปฏิบตั ิ
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการสงิ่ แวดล้อมเพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีเปน็ สุข
กลยุทธ์ ๑.๑ การจดั การนา้ เสยี
แผนงาน ๑.๑.๑ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั การระบบบาบัดนา้ เสยี
เปา้ หมาย ๑. แมน่ ้าระยอง แม่น้าประแสร์ และชายฝัง่ มคี ุณภาพน้าที่ดี
ตวั ชว้ี ัด: - คุณภาพน้าผิวดนิ โดยเฉล่ียอยู่ในระดบั พอใช้ (ระดับ ๓)
- มกี ารตดิ ต้งั เครื่องตรวจวดั (IoT) และรายงานคุณภาพน้าในแม่น้าระยอง และแม่นา้
ประแสร์ลารางสาธารณะเมืองมาบตาพุด และแหลง่ นา้ ที่นามาใช้อุปโภค-บริโภค
- มรี ะบบบาบัดนา้ เสียเพิ่มข้นึ
แผนงาน แนวทางการปฏิบัติ หน่วยงานรับผิดชอบ
๑.๑.๑ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ ๑.๑.๑.๑ ส่งเสริมการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการจัดการนา้ เสยี เช่น หนว่ ยงานหลัก: อบจ. /
การจดั การระบบบาบัดน้าเสีย ๑) การพฒั นาปรบั ปรงุ คณุ ภาพน้าแมน่ ้าประแสร์ แมน่ า้ ระยอง อปท / อจน. / สสภ.๑๓/
ปากแมน่ ้าเมือง (หาดสุชาดา) รวม ๑๐ อปท. (การศึกษาความ ทสม./ ทต.ปลวกแดง
เปน็ ไปได้ (FS) ของโครงการ) ๒) ตดิ ตาม ตรวจสอบ และเฝา้ หน่วยงานสนับสนนุ :
ระวัง แม่นา้ ประแสร์ แมน่ ้าระยอง ลารางสาธารณะเมืองมาบ ทสจ. / คพ. / สสภ.๑๓ /
ตาพุด และแหลง่ นา้ ท่นี ามาใชอ้ ปุ โภค-บรโิ ภค ๓) กอ่ สรา้ ง DEPA / อจน.
ระบบรวบรวมและระบบบาบดั นา้ เสยี รวม
กลยทุ ธ์ท่ี ๑.๒ การจัดการมลพิษทางอากาศ
แผนงาน ๑.๒.๑ การเพม่ิ ประสิทธิภาพการจัดการมลพิษทางอากาศ
เปา้ หมาย ๑. คณุ ภาพอากาศอยใู่ นระดับมาตรฐาน
ตัวช้วี ดั - มกี ารดาเนนิ การในการลดสาร VOCs เขตควบคมุ มลพิษอย่างต่อเนอ่ื ง
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ
แผนงานที่ ๑.๒.๑ การเพม่ิ ๑.๒.๑.๓ สง่ เสรมิ การสรา้ งความรว่ มมือโรงงานดาเนนิ การตาม หน่วยงานหลัก: กนอ. /
ประสิทธภิ าพการจดั การมลพิษ มาตรการ Code of Practice – CoP เพอ่ื การจดั การ VOCs กรอ. / อปท.
ทางอากาศ ตามแนวทางของกรมโรงงานอตุ สาหกรรม และยกยอ่ งสถาน หน่วยงานสนบั สนนุ :
ประกอบการและอตุ สาหกรรม ตน้ แบบในการรกั ษาคณุ ภาพ อบจ. /สอ.ฉช./อก.จ./
อากาศอยา่ งต่อเนอ่ื ง สสภ.๑๓ / คพ. / ทสจ.
๕ - ๓๘
แผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
กลยุทธท์ ่ี ๑.๓ การจดั การขยะและกากของเสยี อตุ สาหกรรม
แผนงานท่ี ๑.๓.๑ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจดั การขยะชุมชน
เปา้ หมาย: ๑. การจัดการขยะมลู ฝอยทไ่ี ด้รับการจดั การไมถ่ ูกหลักวิชาการลดลง
ตัวช้วี ัด: - มีการดาเนนิ การจดั การขยะมูลฝอยที่ถูกหลักวิชาการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
- สัดส่วนการนาของเสยี กลับไปใชใ้ หม่ ร้อยละ ๓๐ ของปริมาณขยะมูลฝอยชมุ ชนรวม
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ
๑.๓.๑ การเพิม่ ประสทิ ธิภาพ ๑.๓.๑.๑ สง่ เสรมิ การกาจดั ขยะครบวงจร เชน่ การเพมิ่ หน่วยงานหลกั : สผ./
การจัดการขยะชุมชน ประสิทธภิ าพระบบกาจัดขยะมลู ฝอยติดเชื้อ เขตบรกิ าร อปท.
สุขภาพท่ี ๖ อบจ. ระยอง หนว่ ยงานสนบั สนนุ :
อปท./ทสจ./สสภ.๑๓/
SCG
๑.๓.๑.๒ ส่งเสรมิ การจัดการขยะตน้ ทางและการสรา้ งเครือข่าย หน่วยงานหลัก: ทสจ./
เช่น ชุมชนรว่ มกันในการคดั แยกขยะ และลดขยะในแม่น้าก่อน กล่มุ ประมงและอนุรักษ์
ออกส่ทู ะเล ระยอง
อบจ.
หนว่ ยงานสนับสนนุ :
อปท./ /อบจ. / สสภ.
๑๓ / SCG
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ การจดั การทรัพยากรธรรมชาติอย่างยงั่ ยนื
กลยุทธท์ ี่ ๒.๑ การใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีเปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
แผนงานท่ี ๒.๑.๑ การพฒั นาเคร่ืองมอื เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชท้ ี่ดินท่เี ป็นมติ รกับ
สิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย การส่งเสริมการใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ เพื่อเพ่ิมพืน้ ทส่ี ีเขยี ว
ตัวช้ีวดั พน้ื ทีส่ เี ขียวเพ่มิ ขึ้น
แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรับผิดชอบ
๒.๑.๑ การพัฒนาเคร่อื งมอื เพ่ือ ๒.๑.๑.๑ สง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มของชุมชนในสารวจคดั เลอื ก หน่วยงานหลัก: อบจ.
เพ่ิมประสทิ ธิภาพการใชท้ ่ดี ินท่ี พ้นื ที่เหมาะสมท่ีมีความเป็นไปได้ในการเพ่ิมพ้นื ที่สเี ขยี ว
เป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม รณรงค์การปลูกตน้ ไม้ เปน็ ตน้
๕ - ๓๙
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
กลยทุ ธท์ ี่ ๒.๒ การจัดการทรพั ยากรน้า
แผนงานท่ี ๒.๒.๑ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั การนา้
เป้าหมาย: น้ามเี พียงพอตอ่ การอุปโภค-บริโภค รักษาระบบนเิ วศ การเกษตร และเพ่มิ ศักยภาพ
แหล่งน้าของพื้นท่ี
ตัวชีว้ ดั - เพิ่มประสทิ ธใิ นการกกั เก็บน้าใตผ้ ิวดิน และนา้ ใตด้ ิน ในพื้นท่เี กษตรกรรม ตามพน้ื ที่
เกษตรกรรมยงั่ ยืนทเี่ พม่ิ ขน้ึ
- เพ่ิมประสทิ ธิในการกักเกบ็ น้าใต้ผวิ ดิน และใตด้ ิน ในพ้ืนทเี่ กษตรกรรม
แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ
๒.๒.๑ การเพิ่มประสิทธิภาพ ๒.๓.๑.๑ การเพมิ่ ศกั ยภาพการกักเก็บน้าในพนื้ ทขี่ องตนเอง หน่วยงานหลัก: สศก. /
การจัดการนา้ เช่น สง่ เสรมิ การเพมิ่ ศกั ยภาพน้าใตผ้ วิ ดนิ และนา้ ใตด้ นิ ในพืน้ ที่ ทบ. / อปท. / กยท.
สวนยางพารา สวนผลไม้ และอนื่ ๆ โดยการเปล่ยี นรูปแบบ หนว่ ยงานสนบั สนนุ :
การเกษตรเปน็ เกษตรย่ังยืน
ภาคเี ครือข่าย
กลยทุ ธท์ ี่ ๒.๓ การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
แผนงานท่ี ๒.๓.๑ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การความหลากหลายทางชีวภาพ
เปา้ หมาย การสง่ เสริมความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่ปา่ ไม้ ป่าชายเลน พ้ืนท่ีชุ่มนา้ ให้มี
ความสามารถให้บริการนเิ วศต่อสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม
ตวั ชวี้ ัด - มกี ารป้องกัน ดแู ล รกั ษา และฟน้ื ฟใู นระบบนิเวศ ปา่ บก ปา่ ชายเลน พนื้ ทีช่ ุ่มน้า
- มฐี านข้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพ
- มีแหลง่ ท่องเท่ยี วเชงิ นเิ วศและวัฒนธรรมและเชื่อมโยงกนั เพ่มิ ข้นึ
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หน่วยงานรบั ผิดชอบ
๒.๓.๑ การเพิ่มประสิทธิภาพ ๒.๓.๑.๑ อนุรักษ์ ฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพทั้งทาง หนว่ ยงานหลัก: ปม. / อส.
การจัดการความหลากหลาย บกและทางทะเล เช่น ๑) ศึกษานิเวศป่าต้นน้าป่ารอยต่อ ๕ / ม.บรู พา. / ทน.
ทางชวี ภาพ จังหวัดที่ส่งเสริมบทบาทถ่ินที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ๒) ศึกษา หน่วยงานสนับสนนุ :
ความหลากหลายทางชีวภาพและประเมินศักยภาพในการ ชุมชน / มลู นิธอิ สี ฟอรม่ั
รองรับของแม่นา้ ระยอง แม่นา้ ประแสร์
๒๑ / อปท. / วว./ วช.
๒.๓.๑.๒ สร้างและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและ หน่วยงานหลกั : ททท /
วัฒนธรรมที่สอดคล้องกับวิถีชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดย๑) อปท/ ภาคเี ครือขา่ ย /
เสริมสร้างเศรษฐกิจการท่องเท่ียวชุมชนเชิงนิเวศและ เครือข่ายวิสาหกิจชมุ ชน
วัฒนธรรม คลองลาวน /พท.ชุ่มน้าบึงสานักใหญ่ (เครือข่าย / กนอ / กรอ / เครือข่าย
วิสาหกิจชุมชนเชิงอนุรักษ์) ๒) ศึกษาการท่องเที่ยวเชิง ประมงพนื้ บ้าน / อพท. /
อุตสาหกรรม eco factory เพ่ือเพิ่มพ้ืนท่ีสีเขียว (factory สผ. / สถาบนั การศกึ ษา
night view พักผ่อน ถ่ายภาพเมืองยามกลางคืน) ๓) ศึกษา หน่วยงานสนับสนุน: ทช./
๕ - ๔๐
แผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หน่วยงานรบั ผิดชอบ
รวบรวมข้อมูลอัตลักษณ์ของพ้ืนที่เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาการ ทน./SCG / อปท. / อบจ.
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวฒั นธรรม เช่น เขตพื้นที่เมืองเก่า ย่าน / ททท. / วช. / หอการค้า
ชุมชนเกา่ และปากแม่นา้ ในจงั หวัดระยอง จงั หวัด
กลยุทธ์ที่ ๒.๔ การจดั การทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง
แผนงานท่ี ๒.๔.๑ การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการจัดการทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั
เป้าหมาย ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝัง่ ได้รบั การอนุรักษแ์ ละฟื้นฟูใหค้ งความอดุ มสมบูรณ์
ตัวชว้ี ดั มีกิจกรรมรกั ษาและฟื้นฟูสิง่ แวดล้อมทะเลและชายฝ่ัง
แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หน่วยงานรับผดิ ชอบ
๒.๔.๑ การเพม่ิ ประสิทธิภาพ ๒.๔.๑.๑ วางแผนการใชป้ ระโยชน์เชิงพื้นท่ีทางทะเล เชน่ หน่วยงานหลัก: ทช./
การจัดการทรัพยากรทางทะเล ศกึ ษาและผลกั ดันการจาแนกและจดั การเขตพ้นื ทที่ ่มี ปี ัญหา กนอ.มาบตาพุด./ ทา่ เรือ
และชายฝงั่ กัดเซาะชายฝงั่ ทะเล โดยสารวจ วิเคราะห์ จาแนกระดบั ความ มาบตาพดุ
รนุ แรงของการกดั เซาะพื้นท่ีชายฝง่ั ทะเล เพ่ือกาหนดแนวทาง หน่วยงานสนบั สนนุ :
ป้องกัน ดูแล รักษา อปท./ทธ.
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ การสรา้ งศักยภาพชุมชนพึ่งตนเองและรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและ
อุบัติภยั
กลยทุ ธ์ท่ี ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
แผนงานท่ี ๓.๒.๑ การเพิม่ พื้นท่แี หล่งดดู ซับและกักเกบ็ ก๊าซเรือนกระจก
แผนงานท่ี ๓.๒.๓ การส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในการปรบั ตัวต่อการรองรับการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
เปา้ หมาย: กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดเ์ ทยี บเท่าในบรรยากาศลดลง
ตวั ชีว้ ดั : ปริมาณการปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ (เทยี บเท่า) ในพ้ืนทล่ี ดลง ตามเปา้ หมายท่ี
กาหนดในแผนทีน่ าทางการลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๓
แผนงาน แนวทางการปฏิบัติ หน่วยงานรบั ผิดชอบ
๓.๒.๑ การเพม่ิ พน้ื ท่ีแหล่งดดู ๓.๒.๑.๑ สนับสนนุ การเพิ่มความอุดมสมบรู ณ์ของปา่ เพอ่ื เพมิ่ หน่วยงานหลกั : อปท.
ซบั และกักเกบ็ กา๊ ซเรอื นกระจก แหลง่ ดูดซับกา๊ ซเรอื นกระจก เชน่ การศึกษาและขยายผลการ หนว่ ยงานสนบั สนนุ : อส.
สรา้ งความช่มุ ชนื้ และเพิม่ ปริมาณน้าในพื้นท่ีต้นนา้ ฟนื้ ฟูปลูก /ปม./ทช./กนอ. /กรอ.
เสรมิ ปา่ พ้ืนทีก่ ลางนา้ (พืน้ ทเ่ี อกชนเพม่ิ ไมย้ ืนต้น) และปลาย พม./ สอ.จ/ SCG /วช. /
นา้ ปา่ ชายเลน เช่น กรณีตวั อยา่ งเขายายดา สพภ./บ.ไทยออย
๓.๒.๓ การสง่ เสรมิ การมสี ่วน ๓.๒.๓.๑ การส่งเสรมิ การรองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพ หน่วยงานหลัก: ศวทอ. /
ร่วมของทกุ ภาคส่วนในการ ภูมิอากาศ โดยศกึ ษาตดิ ตามการเปลี่ยนแปลงแหล่งทรัพยากร ม.บูรพา
ปรบั ตัวตอ่ การรองรับการ ทางทะเลและทางบกระยองจากการเปลยี่ นแปลงสภาพ หนว่ ยงานสนบั สนนุ :
เปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ภูมิอากาศ อบก./วช.
๕ - ๔๑
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การและกลไกการมีสว่ นร่วมเพ่ือขบั เคล่ือนแผนสู่การ
ปฏิบัติ
กลยทุ ธท์ ี่ ๔.๑ การพัฒนาศักยภาพในการบรหิ ารจัดการและกลไกการมีส่วนรว่ ม
แผนงานที่ ๔.๑.๑ การทบทวนและปรบั ปรงุ กฎ ระเบยี บ กฎหมาย และแผนทีเ่ ออ้ื ต่อการบริหาร
จัดการ
แผนงานท่ี ๔.๑.๒ การส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมที่เปน็ ธรรม
เป้าหมาย - พฒั นากฎ ระเบียบ ร่วมกันในการบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
ตวั ชี้วัด - มกี ลไก เคร่ืองมือ สาหรบั การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อมทส่ี ่งเสรมิ
การมีส่วนรว่ มจากทุกภาคสว่ น
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หน่วยงานรับผิดชอบ
๔.๑.๑ การทบทวนและ ๔.๑.๑.๑ ส่งเสริมการศกึ ษาการจดั ทาขอ้ บญั ญัตสิ ิ่งแวดล้อม หน่วยงานหลกั : อปท. /
ปรบั ปรงุ กฎ ระเบียบ กฎหมาย จงั หวดั ระยอง สถ.
และแผนทเี่ อื้อต่อการบริหาร หน่วยงานสนบั สนนุ : สส.
จดั การ / สผ. / คพ.
กลยุทธท์ ี่ ๔.๒ การขบั เคล่อื นแผนสกู่ ารดาเนินงาน
แผนงานที่ ๔.๒.๑ เพิม่ ประสิทธภิ าพการขับเคลอ่ื นแผน
เปา้ หมาย แผนฯ ระยะ ๒ มกี ารขับเคลอ่ื นสู่การปฏบิ ตั ิ
ตวั ชว้ี ดั มีการพฒั นาเทคโนโลยเี พอ่ื บริการชมุ ชน
แผนงาน แนวทางการปฏิบัติ หนว่ ยงานรับผิดชอบ
หนว่ ยงานหลกั : NT / สก
๔.๒.๑ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการ ๔.๒.๑.๑ การจดั ทาข้อเสนอเชิงนโยบายและฐานข้อมลู เช่น พอ. / อปท.
ขับเคลอ่ื นแผน การติดต้งั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศด้วยระบบ 5G เพื่อ
บริการชมุ ชนและสงั คม จานวน ๑ จุด คอื อ.บ้านโพธิ์
๘.๘ งบประมาณแผนสิ่งแวดล้อม จังหวดั ระยอง พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ยุทธศาสตร์ท่ี กลยทุ ธ์ รวม
(ลา้ นบาท)
๑ ๒๓ ๔
๖.๐๐ ๒,๓๔๔
๑ ๒,๒๘๕.๖๐ ๓.๐๐ ๕๕.๔๐ ๙๓.๑๐
๖.๐๐ ๓๓.๐๐
๒ ๐.๑๐ ๑๕.๐๐ ๗๒.๐๐
๑๑๐
๓ ๓๓.๐๐ ๒,๕๘๐.๑๐
๔ ๓๐.๐๐ ๘๐.๐๐
รวม ๒,๓๑๕.๗๐ ๑๓๑.๐๐ ๑๒๗.๔๐
๕ - ๔๒
แผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนส่ิงแวดล้อม จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ มีจานวนโครงการทั้งส้ิน ๒๒ โครงการท่ี
ขับเคลื่อนเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ของแผนฯ โดยมีงบประมาณ รวมท้ังสิ้น ๒,๕๖๔.๓๐ ล้านบาท โดยมรโครงการ
เร่งด่วน ๔ โครงการ งบประมาณ ๒,๓๑๑.๐๐ ล้านบาท
๕ - ๔๓
แผนสิง่ แวดล้อมในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาค
๘.๙ โครงการเร่งด่วน (Flagship Project)
แผนสิง่ แวดลอ้ ม
ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕
(ล้านบาท)
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ การจัดการสิ่งแวดล้อมเพ่ือคุณภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ สุข
กลยุทธท์ ี่ ๑.๑ การจดั การน้าเสยี
แผนงานที่ ๑.๑.๑ เพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั การระบบบาบัดน้าเสีย
แนวทางท่ี ๒ การเพิ่มประสทิ ธิภาพระบบบาบัดน้าเสีย ณ แหลง่ กาเนิด
๑.F โครงการกอ่ สรา้ งระบบรวบรวมและระบบ ๓๕๐.๐๐
บาบัดน้าเสียรวมอาเภอปลวกแดง (พ้ืนท่ี
จดั การน้าเสยี ตาบลปลวกแดง)
*อยูร่ ะหวา่ งการขอรับงบประมาณปี ๒๕๖๖
๒. F โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบ ๑,๙๑๗.๖
บาบัดนา้ เสียในพ้ืนทเี่ ขตควบคมุ มลพษิ
จังหวัดระยอง
- เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การนา้ เสยี ใน
เขตควบคมุ มลพิษ ทต บา้ นฉาง ทม. มาบตาพดุ ทน
ระยอง (๙๕๘.๘ ล้านบาท) (อยรู่ ะหว่างการขอ
งบประมาณ)
- กอ่ สรา้ งระบบรวมรวมและระบบบาบัดนา้
เสียในพ้นื ที่เขตควบคมุ มลพษิ จงั หวดั ระยอง
๕-
คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ม จงั หวดั ระยอง
ระยะเวลา (ป)ี ผู้รับผดิ ชอบ
หน่วยงานหลกั หนว่ ยงาน
๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนนุ
อบจ./ ทต. อจน/สสภ.๑๓
ปลวกแดง
อบจ./ อปท. / สสภ. ๑๓ /
อจน. ทสจ.
๔๔
แผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาค
แผนสิง่ แวดลอ้ ม
ลาดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕
(ล้านบาท)
ทน. ระยอง (๓๘๓.๘ ล้านบาท) (อยู่ระหวา่ งการขอ
งบประมาณ)
- ปรบั ปรงุ และเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพระบบบาบัดน้า
เสีย ทม.มาบตาพดุ (๕๐๒ ลา้ นบาท) (อยู่ระหวา่ ง
การออกแบบ)
- กอ่ สรา้ งระบบรวมรวมและระบบบาบดั น้า
เสีย ทต.บ้านฉาง (๗๓ ลา้ นบาท) (อยรู่ ะหว่างการ
ของบประมาณ)
กลยุทธ์ท่ี ๑.๓ การจัดการขยะและกากของเสียอุตสาหกรรม
แผนงานที่ ๑.๓.๑ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจัดการขยะชุมชน
แนวทางท่ี ๑ การกาจดั ขยะครบวงจร
๓.*** โครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพระบบกาจัดขยะ ๔๓.๑๕ ล้านบาท
มูลฝอยตดิ เชอ้ื เขตบรกิ ารสุขภาพท่ี ๖ อบจ.
ระยอง
แนวทางที่ ๒ การจัดการขยะต้นทางและการสร้างเครือข่าย
๔.**** โครงการชุมชนร่วมในชว่ ยกนั คดั แยกขยะ ๐.๒๕
รวมท้งั หมด ๔ โครงการ ๒,๓๑๑.๐๐
๕-
คตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ม จงั หวดั ระยอง
ระยะเวลา (ปี) ผรู้ บั ผดิ ชอบ
หน่วยงานหลัก หน่วยงาน
๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนุน
สผ./อปท. อปท./ทสจ./
๔๕ สสภ.๑๓/SCG
อบจ.
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาค
๘.๑๐ โครงการภายใตแ้ ผนสงิ่ แวดล้อม จังหวัดระยอง
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ การจดั การสิ่งแวดล้อมเพ่ือคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นสุข
ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕
(ล้านบาท)
กลยุทธ์ที่ ๑.๑ การจดั การน้าเสีย
แผนงานท่ี ๑.๑.๑ เพ่ิมประสทิ ธิภาพการจดั การระบบบาบดั น้าเสยี
แนวทางที่ ๒ การเพ่มิ ประสิทธิภาพระบบบาบดั น้าเสยี ณ แหลง่ กาเนดิ
๑.* โครงการพฒั นาปรับปรุงคณุ ภาพนา้ แม่นา้ ๑๐.๐๐
ประแสร์ แมน่ า้ ระยอง ปากแม่นา้ เมือง (หาด
สชุ าดา) รวม ๑๐ อปท. (การศกึ ษาความ
เป็นไปได้ (FS) ของโครงการ)
๒.* โครงการจดั หาและตดิ ตั้งเครอื่ งมอื ตรวจวัด ๘.๐๐
คุณภาพนา้ อตั โนมตั เิ พอ่ื ตดิ ตาม ตรวจสอบ
และเฝ้าระวัง แมน่ า้ ประแสร์ แมน่ า้ ระยอง
ลารางสาธารณะเมอื งมาบตาพดุ และแหลง่
นา้ ทน่ี ามาใชอ้ ปุ โภค-บริโภค
๓.F โครงการกอ่ สรา้ งระบบรวบรวมและระบบ ๓๕๐.๐๐
บาบัดน้าเสียรวมอาเภอปลวกแดง (พน้ื ที่
จัดการนา้ เสยี ตาบลปลวกแดง)
*อยู่ระหวา่ งการขอรับงบประมาณปี ๒๕๖๖
๔. F โครงการกอ่ สรา้ งระบบรวบรวมและระบบ ๑,๙๑๗.๖
๕-
คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ระยะเวลา (ปี) ผรู้ บั ผิดชอบ
หน่วยงานหลัก หน่วยงาน
๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนุน
อบจ. / อปท / ทสจ. / คพ. /
อจน. สสภ.๑๓
อบจ./อปท. / ทสจ./คพ./
๔๖ สสภ.๑๓/ทสม. DEPA /อจน.
อบจ./ ทต. อจน/สสภ.๑๓
ปลวกแดง
อบจ./ อปท. / สสภ. ๑๓ /
แผนสง่ิ แวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาค
ลาดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒๕
(ลา้ นบาท)
บาบดั น้าเสียในพืน้ ที่เขตควบคมุ มลพษิ
จงั หวดั ระยอง
- เพิม่ ประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจัดการน้าเสยี ใน
เขตควบคุมมลพษิ ทต บา้ นฉาง ทม. มาบตาพุด ทน
ระยอง (๙๕๘.๘ ลา้ นบาท) (อย่รู ะหว่างการขอ
งบประมาณ)
- ก่อสรา้ งระบบรวมรวมและระบบบาบดั น้า
เสยี ในพื้นทเี่ ขตควบคมุ มลพษิ จงั หวัดระยอง
ทน. ระยอง (๓๘๓.๘ ล้านบาท) (อย่รู ะหวา่ งการขอ
งบประมาณ)
- ปรับปรุงและเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบบาบดั น้า
เสยี ทม.มาบตาพดุ (๕๐๒ ลา้ นบาท) (อยรู่ ะหวา่ ง
การออกแบบ)
- ก่อสร้างระบบรวมรวมและระบบบาบดั นา้
เสีย ทต.บ้านฉาง (๗๓ ลา้ นบาท) (อยรู่ ะหวา่ งการ
ของบประมาณ)
กลยุทธท์ ี่ ๑.๒ การจดั การมลพษิ ทางอากาศ
แผนงานที่ ๑.๒.๑ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การมลพิษทางอากาศ
แนวทางที่ ๑ การควบคุม ติดตามและตรวจสอบมลพษิ ทางอากาศ
๕.* โครงการรณรงค์สร้างความร่วมมือโรงงาน ๓.๐๐
ดาเนินการตามมาตรการ Code of Practice – (ประมาณการปีละ
๕-
คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ระยะเวลา (ปี) ผูร้ บั ผิดชอบ
หนว่ ยงานหลกั หน่วยงาน
๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนนุ
อจน. ทสจ.
กนอ. / กรอ. / อบจ. /สอ.ฉช./
อปท. อก.จ./สสภ.๑๓ /
๔๗
แผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาค
ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕
(ล้านบาท)
CoP เพอื่ การจดั การ VOCs ตามแนวทางของ ๖ แสนบาท)
กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
กลยทุ ธ์ท่ี ๑.๓ การจดั การขยะและกากของเสียอตุ สาหกรรม
แผนงานท่ี ๑.๓.๑ เพิ่มประสิทธภิ าพการจัดการขยะชุมชน
แนวทางท่ี ๑ การกาจดั ขยะครบวงจร
๖.*** โครงการเพมิ่ ประสิทธิภาพระบบกาจดั ขยะ ๔๓.๑๕ ลา้ นบาท
มูลฝอยติดเชื้อ เขตบรกิ ารสุขภาพที่ ๖ อบจ.
ระยอง
แนวทางที่ ๒ การจดั การขยะตน้ ทางและการสร้างเครอื ข่าย
๗.*. โครงการแม่นา้ ประแสร์ แม่นา้ ระยอง ขยะ ๑๒.๐๐
โมเดล ลดขยะในแมน่ า้ ก่อนออกสทู่ ะเล (ประมาณการปลี ะ ๔
ล้าน)
๘.**** โครงการชมุ ชนรว่ มในชว่ ยกันคดั แยกขยะ ๐.๒๕
รวมทั้งหมด ๘ โครงการ ๒,๓๔๔
หมายเหต:ุ อกั ษรเข้มในหน่วยงานหลัก หมายถงึ ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั
* หมายถงึ โครงการทเี่ สนอจากเวทกี ารประชุมโดยหน่วยงานภาครัฐ ได้
** หมายถงึ โครงการที่เสนอจากเวทีการประชุมโดยภาคีเครอื ขา่ ย
*** หมายถึง โครงการทเ่ี สนอโดยหนว่ ยงานผู้รบั ผดิ ชอบและมงี บประมาณแล้ว
**** หมายถึง โครงการตามแผนของหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งในการจดั การทรัพยากรธรรม
๕-
คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ระยะเวลา (ป)ี ผ้รู ับผิดชอบ
หน่วยงานหลัก หน่วยงาน
๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนุน
คพ. / ทสจ.
สผ./อปท. อปท./ทสจ./
สสภ.๑๓/SCG
ทสจ./กลุ่ม อปท./ /อบจ. /
สสภ.๑๓ / SCG
ประมงและ
อนรุ กั ษ์ระยอง
อบจ.
มชาติและสิ่งแวดล้อม ซ่ึงจะดาเนินการในชว่ งระยะเวลาปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
๔๘
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาค
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยนื
ลาดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕
(ล้านบาท)
กลยทุ ธท์ ี่ ๒.๑ การใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม
แผนงานที่ ๒.๑.๑ พัฒนาเครอ่ื งมือเพ่อื เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการใช้ทด่ี ินทเ่ี ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
แนวทางท่ี ๑ การสง่ เสริมเกษตรย่งั ยืนและเพิม่ พืน้ ทก่ี นั ชนสีเขยี ว
๑. **** โครงการเพมิ่ พ้ืนทีส่ ีเขยี ว ๐.๑
กลยุทธท์ ี่ ๒.๒ การจัดการทรพั ยากรนา้
แผนงานท่ี ๒.๒.๑ การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการจัดการนา้
แนวทางท่ี ๑ การเพมิ่ ศักยภาพการกกั เก็บนา้ ในพ้นื ท่ีของตนเอง
๒.* โครงการส่งเสรมิ การเพมิ่ ศกั ยภาพน้าใต้ผิว ๑๕.๐๐
ดินและน้าใตด้ นิ ในพน้ื ท่ีสวนยางพารา สวน (ประมาณการปลี ะ ๓
ล้าน)
ผลไม้ และอื่น ๆ โดยการเปล่ยี นรปู แบบ
การเกษตรเป็นเกษตรย่งั ยนื
กลยทุ ธท์ ี่ ๒.๓ การจดั การความหลากหลายทางชีวภาพ
แผนงานท่ี ๒.๓.๑ เพ่มิ ประสิทธภิ าพการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวทางท่ี ๑ การอนุรักษแ์ ละฟ้นื ฟูความหลากหลายทางชวี ภาพ
๓.* โครงการศึกษานเิ วศปา่ ต้นน้าปา่ รอยตอ่ ๕ ๕๐.๐๐
จังหวัดทีส่ ่งเสรมิ บทบาทถน่ิ ทีอ่ ยู่อาศัยของ (ประมาณการปีละ
สัตวป์ า่ ๑๐ ล้านบาท)
๕-
คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ระยะเวลา (ป)ี ผู้รบั ผดิ ชอบ
หน่วยงานหลกั หน่วยงาน
๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนุน
อบจ.
สศก. / ทบ. / ภาคีเครือขา่ ย
อปท. / กยท.
ปม. / อส. ชุมชน / มลู นิธิ
อสี ฟอรั่ม ๒๑ /
อปท.
๔๙
แผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาค
ลาดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒๕
(ลา้ นบาท)
๔.** โครงการศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพ ๑๐.๐๐
และประเมินศักยภาพในการรองรบั ของ
แมน่ ้าระยอง แมน่ า้ ประแสร์ (ประมาณการปลี ะ ๕
ล้าน
แนวทางท่ี ๒ การส่งเสริมการเพม่ิ มลู คา่ ความหลากหลายทางชีวภาพ
๕.๐๐
๕.* โครงการเสรมิ สรา้ งเศรษฐกจิ การทอ่ งเทยี่ ว
ชุมชนเชิงนิเวศและวัฒนธรรม คลองลาวน / (ประมาณการปีละ ๑
พท.ชุ่มนา้ บึงสานกั ใหญ่ (เครอื ข่ายวิสาหกิจ ล้าน
ชุมชนเชิงอนรุ กั ษ)์
๖.* โครงการศกึ ษาการทอ่ งเทีย่ วเชงิ อุตสาหกรรม ๒.๐๐
eco factory เพ่ือเพิม่ พนื้ ท่ีสเี ขยี ว (factory
night view พักผอ่ น ถ่ายภาพเมืองยาม
กลางคืน)
๗.** โครงการศึกษารวบรวมข้อมลู อตั ลกั ษณข์ อง ๕.๐๐
พนื้ ทเ่ี พอื่ ส่งเสรมิ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วเชิง (ปีละ ๑ ลา้ น
๕-
คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ระยะเวลา (ป)ี ผู้รับผิดชอบ
หนว่ ยงานหลัก หน่วยงาน
๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนนุ
ม.บูรพา. / ทน. วว./ วช.
ททท / อปท/ ทช./ทน./SCG.
ภาคีเครอื ข่าย /
เครอื ขา่ ยวสิ าหกจิ
ชุมชน
(ดาเนินการภาคี
เครอื ขา่ ย โดยให้
ททท สนบั สนนุ
งบประมาณ และ
อปท. เป็นผุ้
ประสานงาน)
ททท. / กนอ / อปท.
กรอ
อปท. / เครอื ข่าย อปท. / อบจ. /
ประมงพื้นบ้าน / ททท. / ทช /
๕๐
แผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาค
ลาดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕
(ล้านบาท)
นเิ วศและวัฒนธรรม เช่น เขตพื้นท่ีเมืองเก่า บาท)
ยา่ นชมุ ชนเกา่ และปากแมน่ า้ ในจังหวดั
ระยอง
กลยทุ ธท์ ่ี ๒.๔ การจัดการทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง
แผนงานท่ี ๒.๔.๑ เพิ่มประสิทธภิ าพการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
แนวทางที่ ๒ การวางแผนการจัดการพนื้ ท่ที างทะเล
๘.* โครงการศกึ ษาและผลกั ดนั การจาแนกและ ๖.๐๐
จดั การเขตพ้นื ทีท่ ี่มปี ัญหากดั เซาะชายฝงั่ (ปลี ะ ๑.๒ ล้าน
ทะเล หรอื มแี นวโนม้ ทจี่ ะเกดิ ปญั หาขนึ้ ใน บาท)
อนาคต
รวมทัง้ หมด ๘ โครงการ ๙๓.๑
๕-
คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ระยะเวลา (ป)ี ผู้รับผดิ ชอบ
๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐ หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงาน
สนับสนุน
เครอื ข่ายวสิ าหกิจ วช. / หอการค้า
ชุมชนททท. / อพท. จังหวัด
/ สผ. /
สถาบนั การศกึ ษา
ทช./กนอ.มาบตา อปท./ทธ.
พดุ ./ ท่าเรอื มาบตา
พุด
๕๑
แผนสง่ิ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ การสรา้ งศักยภาพชมุ ชนพึ่งตนเองและรับมอื ต่อการเปลี่ยนแปลงส
ลาดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒๕
(ลา้ นบาท)
กลยทุ ธท์ ี่ ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ
แผนงานที่ ๓.๒.๑ การเพม่ิ พน้ื ท่ีแหล่งดูดซบั และกักเกบ็ ก๊าซเรือนกระจก
แนวทางท่ี ๑ การเพ่ิมความอดุ มสมบูรณข์ องป่าเพือ่ เพิม่ แหลง่ ดูดซับกา๊ ซเรอื นกระจก
๑.* โครงการศกึ ษาและขยายผลการสรา้ งความ ๒๔.๐๐
ชมุ่ ชืน้ และเพมิ่ ปริมาณนา้ ในพื้นที่ตน้ น้า ฟนื้ ฟู (ประมาณการปลี ะ ๔
ล้านบาท)
ปลกู เสรมิ ป่าพนื้ ทก่ี ลางนา้ (พื้นทีเ่ อกชนเพ่ิม
ไม้ยืนต้น) และปลายน้าปา่ ชายเลน เช่น กรณี
ตวั อยา่ งเขายายดา
แผนงานที่ ๓.๒.๓ สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนในการปรับตวั ต่อการรองร
แนวทางที่ ๑ การสง่ เสรมิ การรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ
๒.* โครงการศึกษาติดตามการเปลยี่ นแปลงแหลง่ ๙.๐๐ ศ
ทรัพยากรทางทะเลและทางบกระยองจาก
การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
รวมทัง้ หมด ๒ โครงการ ๓๓.๐๐
๕-
คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สภาพภมู ิอากาศและอบุ ตั ภิ ัย
ระยะเวลา (ปี) ผรู้ บั ผิดชอบ
หน่วยงานหลัก หนว่ ยงาน
๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนุน
อปท. อส. /ปม./ทช./
กนอ. /กรอ.
รับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ พม./ สอ.จ/
SCG /วช. /
สพภ./บ.ไทย
ออย
ศวทอ. / ม. อบก./วช.
บูรพา
ศึกษา ๕ ลา้ น ตดิ ตาม ๑ ติดตาม ๑ ติดตาม ๑ ติดตาม ๑
ล้าน ล้าน ล้าน ล้าน
๕๒
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาค
ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการและกลไกการมสี ว่ นร่วมเพ
ลาดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕
(ลา้ นบาท)
กลยทุ ธ์ท่ี ๔.๑ การพัฒนาศกั ยภาพในการบริหารจดั การและกลไกการมีส่วนร่วม
แผนงานท่ี ๔.๑.๑ การทบทวนและปรับปรุงกฎ ระเบยี บ กฎหมาย และแผนทีเ่ อือ้ ต่อการบริหาร
แนวทางที่ ๑ การทบทวน และปรบั ปรงุ กฎหมายด้านส่งิ แวดลอ้ มของภาครฐั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
๓.**** โครงการศกึ ษาการจดั ทาขอ้ บญั ญตั ิ ๓๐ ล้าน
ส่งิ แวดลอ้ มจงั หวดั ระยอง
กลยุทธท์ ่ี ๔.๒ การขับเคลอื่ นแผนสู่การดาเนนิ งาน
แผนงานท่ี ๔.๒.๑ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการขบั เคลื่อนแผน
แนวทางท่ี ๒ การจดั ทาข้อเสนอเชิงนโยบายและฐานขอ้ มลู
๔.* โครงการติดต้งั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๘๐ ลา้ น
ดว้ ยระบบ 5G เพอื่ บริการชมุ ชนและสังคม (จดุ ละ ๔๐ ล้าน)
จานวน ๒ จุด คอื อ.บ้านฉาง และ อ.เมอื ง
รวมทง้ั สิ้น ๔ โครงการ ๑๑๐
๕-
คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
พื่อขับเคล่ือนแผนสูก่ ารปฏิบตั ิ
ระยะเวลา (ป)ี ผรู้ ับผดิ ชอบ
หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงาน
๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนนุ
รจัดการ
อปท. / สถ. สส. / สผ. / คพ.
NT / สกพอ. /
อปท.
๕๓
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาค
๕-
คตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๕๔
สว่ นท่ี ๖
การขับเคลื่อนแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาค
ตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สว่ นท่ี ๖
การขบั เคลอ่ื นแผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
(ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ เป็นกรอบ
ชี้นาให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องใชเ้ ป็นแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ี
สิ่งสาคัญคือการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ ซ่ึงกระบวนการสาคัญที่จะให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์
เป้าหมาย และตัวชี้วัดของแผนได้ จาเป็นต้องพัฒนากระบวนการถ่ายทอด การสร้างความเข้าใจ และมีกลไก
การขับเคลื่อนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปิดโอกาสให้ภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในทุก
ข้ันตอน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ จากการร่วมคิดและร่วมขับเคล่ือนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมของประเทศให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างบูรณาการและเห็นผลเป็นรูปธรรม โดยฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศได้รับการคุ้มครอง ดูแล ฟื้นฟูและใช้ประโยชน์อย่างสมดุลและเป็นธรรม
เสริมสร้างคุณภาพส่ิงแวดล้อมและคุณภาพชีวิตท่ีดีแก่สังคมและประชาชน รวมถึงเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน ดังนั้น แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ จงึ ไดใ้ หค้ วามสาคัญในการขบั เคล่ือนและการแปลงแผนไปสู่การ
ปฏิบัติ โดยเฉพาะประเด็นที่มีความสาคัญในระดับพ้ืนท่ีซึ่งควรดาเนินการเร่งด่วน (Flagship Projects) และ
ผลกั ดนั ในระดับนโยบาย เพือ่ การสนับสนุนให้บรรลตุ ามเปา้ หมายต่อไป
๑. กลไกในการขับเคล่ือนและแปลงแผนไปสูก่ ารปฏบิ ัติ
ในการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
มีความเช่ือมโยงต้ังแต่ระดับนานาชาติ พันธสัญญาระหว่างประเทศด้านส่ิงแวดล้อม ท้ัง ความตกลงระหว่าง
ประเทศด้านการคุ้มช้ันบรรยากาศ ความตกลงระหว่างประเทศด้านการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ
ความตกลงระหว่างประเทศด้านการควบคุมสารเคมีและของเสียอันตราย เป็นต้น จนถึงในระดับชาติมี
กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องตั้งแต่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติสภา
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.
๒๕๖๑ และพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งจะมีการเชื่อมโยง
จากระดับชาติทางด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มตามท่ีกฎหมายแต่ละฉบับกาหนด ต้ังแต่ยุทธศาสตร์
ชาติ ๒๐ ป นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
แผนผังการใช้ประโยชน์ในท่ีดินและแผนผังการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมถึงแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ ซึง่ เป็นแผนระดับพ้ืนท่ี โดยทิศทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมใน ๓
๗-๑
แผนส่งิ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
จังหวัดคือ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง ควรจะต้องสอดคลองและมุ่งสู่เป้าหมาย
เดียวกัน จากนั้นจะถ่ายทอดสู่หน่วยงานระดับต่าง ๆ ต้ังแต่ สวนกลาง (กระทรวง/กรม) ที่จะนาไปปรบั ใช้เป็น
แผนปฏิบัติราชการของกระทรวง/กรม ขณะเดียวกันก็จะเป็นแผนจัดการคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมระดับพื้นท่ีพิเศษ ท้ัง ๓ จังหวัด ที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน ทั้งแผนพัฒนาจังหวัดและ
กลุ่มจังหวัด รวมถึงแผนปฏิบัติการเพ่ือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด และในระดับ
ท้องถ่ินเป็นแผนพัฒนาท้องถ่ิน และแผนพัฒนาชุมชนด้านสิ่งแวดล้อม ตามลาดับ ที่ต้องมีความสอดคลองกับ
สถานการณและสภาพปัญหาที่แตกต่างกันในแต่ละพ้ืนท่ี รวมท้ังความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ีในแต่ละ
สถานการณ์ และจะเช่ือมโยงกับการที่หน่วยงานจะจัดทาคาของบประมาณตามกรอบวงเงินงบประมาณที่
สอดคล้องกับการดาเนินการตามแผนงาน/โครงการของแผนน้ีและดาเนินการท่ีเกี่ยวข้องต่อไปในส่วนของ
โครงการในร ะดับพื้น ท่ีท่ีดาเนิน การโดยเครือข่ายภาคประชาชนสามารถขอสนั บสนุ นงบประม าณ จาก
หนว่ ยงานภาคเอกชนภายใต้ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมและส่งิ แวดล้อมขององค์กร (CSR) ซึง่ จะทาให้การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นไปอย่างย่ังยืน ท้ังน้ีการขับเคล่ือนแผนในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก (ระยะท่ี ๒) ให้เกิดผลในทางปฏิบัติ บรรลุวตั ถุประสงค์ เป้าหมายและตัวช้วี ัดท่ีกาหนดไว้จาเป็นตอ้ ง
ได้รับการสนับสนุน ส่งเสริม และผลักดันจากทุกภาคส่วนอย่างบูรณาการในทุกระดับ ท้ังภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ
ภาคประชาชน ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และองค์กรต่าง ๆ เพ่ือให้การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษมีทิศทางการดาเนินงานที่มุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน ดังนั้น กลไกในการ
ขับเคลื่อนและการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ ประเด็นท่ีมีความสาคัญในระดับพ้ืนท่ีซึ่งควรดาเนินการเร่งดวน
และผลักดันในระดับนโยบาย (Flagship Projects) ท้ังการสร้างความเข้าใจกับส่วนราชการทั้งในส่วนกลาง ส
วนภูมิภาค และสว่ นท้องถิ่นทรี่ ับผิดชอบ รวมถึงภาคเอกชนที่เก่ยี วข้อง และประสานงานกับสานักงบประมาณ
และภาคสว่ นที่เกย่ี วข้องเพ่ือวางแผนจัดหางบประมาณรองรับ อันจะทาให้ได้รบั งบประมาณตามภารกิจหน้าที่
อยู่ให้อยู่ในกรอบวงเงินงบประมาณรายปี รวมทั้งมีการติดตามผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดในระบบ
สารสนเทศเพ่ือการจดั การสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ที่พัฒนาพิเศษเปน็ ระยะต่อไป ความเช่อื มโยงดังกล่าวแสดงในภาพ
ท่ี ๖ – ๑
๗-๒
แผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ภาพท่ี ๖ - ๑ ผังความเชอื่ มโยงการถา่ ยทอดนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับการจดั การ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมไปสู่การปฏิบัติของแผนส่ิงแวดล้อมในเขต
พฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
๗-๓