แผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะ
ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕๖๕-๒๕๖๗
(ล้านบาท)
นธ์ ๕ แสน
ดาเนินกิจกรรมตามแผน รวมถงึ ตดิ ตาม และ บาท)
ประเมนิ ผล และสรปุ บทเรียนแผน
สง่ิ แวดล้อมในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาค
ตะวนั ออก ระยะที่ ๒
๗.** โครงการพัฒนาศักยภาพ อปท และ ทสม รวม ๕ ล้านบาท
เพ่ือส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วม แลกเปล่ยี นเรียนรู้ (ปีละ ๑ ลา้ นบาท)
สานสมั พันธ์เพือ่ นบา้ นเรอื นเคยี ง
อุตสาหกรรม
๘. ** โครงการส่งเสริมให้มเี วทถี ่ายทอดแลกเปลย่ี น รวม ๕ ลา้ นบาท
องคค์ วามรู้ ภูมปิ ญั หาท้องถิ่น และรวบรวม (ปีละ ๑ ลา้ นบาท)
เข้าสู่ระบบฐานข้อมลู
แนวทางที่ ๒ การจัดทาขอ้ เสนอเชิงนโยบายและฐานข้อมูล
๙.* โครงการพฒั นาระบบและฐานข้อมูล รวม ๖ ล้านบาท
สารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (พัฒนา (
ระบบ)
๒ ล้านบาท
แผนงานที่ ๔.๒.๒ การสง่ เสริมสนับสนนุ การนาแผนไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
แนวทางท่ี ๑ การส่งเสริมการเรียนรู้สู่สงั คม
๑๐.** โครงการสง่ เสริมสนบั สนนุ การเรยี นรู้ของ รวม ๔.๕ ลา้ น
** เยาวชนเพอื่ เปน็ ผู้นาการเปลย่ี นแปลงด้าน บาท
(๒ ล้าน (๕ แสนบาท)
๒-๙
ะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ระยะเวลา (ปี) ผูร้ ับผดิ ชอบ
๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐ หน่วยงานหลัก หน่วยงาน
สนบั สนุน
ประเมินผล ๒ ประเมนิ ผล ๒ หอการคา้
ลา้ นบาท) ลา้ นบาท)
อปท. / ทสจ. ภาคเี ครอื ขา่ ย /
สอ. ฉช.
ทสม. / ทสจ. / อปท.
สส.
(ดาเนินการโดย
ทสม. สนบั สนุน
งบโดย สทจ.)
สกพอ. / สสภ สผ. / เครอื ข่าย
ประชาสังคม
(๑ ลา้ นบาท) (๑ ลา้ นบาท) (๑ ลา้ น (๑ ลา้ นบาท) ๑๓
บาท)
ทสจ./เครือขา่ ย อปท. /ทสม./
(๕ แสนบาท) (๕ แสนบาท) (๕ แสนบาท) (๕ แสนบาท) เพ่ือนตะวนั ออก / โรงเรียน
๙
แผนสิง่ แวดล้อมในพื้นท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะ
ลาดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒๕๖๕-๒๕๖๗
(ล้านบาท)
สง่ิ แวดลอ้ มและวฒั นธรรม บาท)
- กิจกรรมเสรมิ ศักยภาพเครือขา่ ย
เยาวชนส่งิ แวดล้อมเพ่ือพัฒนาเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก
แผนงานที่ ๔.๒.๓ การทบทวน ติดตาม การดาเนนิ งานฯ
แนวทางที่ ๑ การตดิ ตาม ทบทวนแผน
๑๑.* โครงการทบทวนแผนการพฒั นาในพน้ื ท่อี อี ีซี รวม ๔ ล้านบาท
โดยการวเิ คราะห์และประเมินด้าน
ส่งิ แวดลอ้ มเปน็ หลกั ด้วยข้อมลู ที่ครบถ้วน
รอบดา้ น และสอดคล้องกบั แนวคดิ การ
จดั การส่งิ แวดล้อมทย่ี ่งั ยนื และ
environmental footprint
กลยทุ ธท์ ี่ ๔.๓ การสง่ เสรมิ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม ตามหลกั การเศรษฐกจิ ชีวภาพ
แผนงานที่ ๔.๓.๑ การสนบั สนุนการวิจยั และพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ตามหลกั ก
แนวทางท่ี ๑ การส่งเสริมการศกึ ษาและวิจัย
๑๒.* โครงการพัฒนานวตั กรรมเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพ รวม ๕ ลา้ นบาท
ต่อยอดภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ สเู่ ศรษฐกิจสเี ขียว (ปีละ ๑ ลา้ น)
๑๓.* โครงการวจิ ยั อตุ สาหกรรมเชิงนิเวศบริการ รวม ๕ ลา้ นบาท
การท่องเทย่ี วทีเ่ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม (ปลี ะ ๑ ลา้ น)
๒ - ๑๐
ะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ ผู้รับผิดชอบ
ระยะเวลา (ปี) หน่วยงานหลัก หน่วยงาน
๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนนุ
ภาคีเครอื ขา่ ย /
สกพอ.
ERTC สกพอ.
พ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น เศรษฐกจิ สเี ขียว และเปา้ หมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืน
การเศรษฐกจิ ชีวภาพ เศรษฐกิจหมนุ เวียน และเศรษฐกิจสเี ขียว
depa วช. / สกสว. /
สสส. /
สถาบนั การศกึ ษา
ททท. วช. / สกสว. /
สสส. / หอการค้า
/ สทกจ. /
๐๐
แผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะ
ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕๖๕-๒๕๖๗
(ลา้ นบาท)
๑๔.* โครงการศึกษาวจิ ยั นวัตกรรมเพือ่ สรา้ งคณุ ค่า รวม ๑๐ ลา้ นบาท
เพื่อเพม่ิ มลู ค่าของพชื ท้องถน่ิ ตามหลัก (ปลี ะ ๒ ลา้ น)
เศรษฐกิจชวี ภาพ
๑๕.* โครงการศึกษาการประเมินส่งิ แวดลอ้ มระดับ รวม ๕ ลา้ นบาท
ยทุ ธศาสตร์ (SEA) ในระดบั ท้องถิ่น และ
ผลกั ดันการนาผลการศกึ ษา SEA ในพืน้ ทีเ่ ขต
พฒั นาพิเศษภาคตะวันออก ไปสู่การปฏบิ ัติ
๑๖.* โครงการพัฒนาหลักสตู รสิ่งแวดลอ้ มศึกษา รวม ๕ ลา้ นบาท
บนฐานชมุ ชน นวัตกรรมดา้ นสงิ่ แวดล้อม (ปีละ ๑ ลา้ นบาท)
องค์ความรภู้ ูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เพ่ือบรู ณาการ
ส่งิ แวดล้อม-เทคโนโลย-ี วัฒนธรรม
แนวทางที่ ๒ การถอดบทเรียนและเผยแพร่ความสาเร็จ
๑๗.* โครงการถอดบทเรยี นและเผยแพร่ รวม ๕ ล้านบาท
ความสาเร็จเศรษฐกจิ หมุนเวียนใน (ปีละ ๑ ลา้ น)
ภาคอุตสาหกรรม
แผนงานท่ี ๔.๓.๒ การวิจัยนวัตกรรมเพอ่ื พัฒนาบนฐานทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามเป
แนวทางท่ี ๑ การส่งเสริมการขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ สนี า้ เงิน
๑๘.* โครงการพัฒนาและสง่ เสริมการขบั เคลื่อน รวม ๑๐ ลา้ นบาท
เศรษฐกจิ สีนา้ เงนิ (Blue Economy) ภายใต้ (ปีละ ๒ ล้าน)
๒ - ๑๐
ะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ระยะเวลา (ปี) ผู้รบั ผดิ ชอบ
๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงาน
สนับสนนุ
สถาบนั การศึกษา
สศก. วช. / สวก. /
สกสว. / depa /
สถาบันการศกึ ษา
สศช. สกพอ. / สผ.
มทร.ตะวนั ออก/ สสภ. ๑๓ / วช. /
สถ.จ. / อปท. / ทสม. / สส. /
ปราชญช์ าวบา้ น สถาบนั การศึกษา
สอท. วช. / สวก. /
สกสว. / สสส. /
ป้าหมายการพัฒนาทย่ี ั่งยืน depa /
สถาบนั การศกึ ษา
ศวบอ. ทช.
๐๑
แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะ
ลาดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕๖๕-๒๕๖๗
(ลา้ นบาท)
ทรัพยากรทางทะเลบริเวณเขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก
แนวทางที่ ๒ การสนับสนุนชุดการวิจัยตามแผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
๑๙.* โครงการสนับสนนุ ชุดการวจิ ยั ตามแผน รวม ๑๐๐ ลา้ น
สง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาค บาท
ตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๗๐
(ปีละ ๒๐ ล้าน)
- การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
- ความม่ันคงทางอาหาร
- การยกระดบั และขยายผลวสิ าหกิจชมุ ชน
สูอ่ งคก์ รบรู ณาการด้านส่ิงแวดล้อม และ
เช่อื มโยงไปสูแ่ นวคดิ เศรษฐกิจชีวภาพของ
ชุมชน
- มาตรฐานคุณภาพอากาศ: เรื่อง
การศึกษาพารามเิ ตอร์และเครื่องมอื
ตรวจสอบมลพษิ จากอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี
ใหค้ รบถว้ น
- การกระจายตวั ของมลพษิ ทางอากาศ
ตามรูปแบบของสภาพอากาศ
- ดา้ นสขุ ภาพ เร่ืองการแพร่กระจายมลพิษ
ทางอากาศกบั ผลกระทบทางสขุ ภาพ
- การแลกเปล่ยี นซอื้ ขายเครดติ การใช้นา้
๒ - ๑๐
ะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ ผ้รู ับผดิ ชอบ
ระยะเวลา (ปี) หน่วยงานหลกั หน่วยงาน
๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนนุ
ก พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๗๐ อว.สว่ นหนา้ สกสว. / วช. /
สวก. / สพภ.
สถาบันการศึกษา
๐๒
แผนส่งิ แวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะ
ลาดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒๕๖๕-๒๕๖๗
(ลา้ นบาท)
ระหว่างภาคเมอื งกบั ภาคเกษตรกรรม และ ๒๑๕.๕๐
หรือ ระหวา่ งภาคอุตสาหกรรมกบั ภาค
เกษตรกรรม
- เสริมสรา้ งนักวจิ ยั ทอ้ งถ่ิน ในการเฝา้
ระวงั สังเกต ตรวจสอบ อบุ ตั ภิ ยั จากสารเคมี
อันตราย
- แนวทางในการรับมือกบั การ
เปลย่ี นแปลงทางสงั คม เชน่ การไหลบ่าของ
แรงงานนอกพื้นท่ี
- ศกึ ษาเขตพนื้ ทภ่ี มู นิ เิ วศใหเ้ กดิ
ความสมั พันธเ์ ชือ่ มโยงระหวา่ งเขตปกครอง
ท้องถน่ิ และการศึกษาขอบเขตอานาจของ
องคก์ รปกครองทอ้ งถิน่ ใหค้ รอบคลุมพ้นื ที่ที่
ตอ้ งรับผิดชอบด้านสิง่ แวดลอ้ มในทะเล
รวมทงั้ หมด ๑๙ โครงการ
๒ - ๑๐
ะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ ผู้รับผดิ ชอบ
ระยะเวลา (ปี) หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงาน
๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนุน
๐๓
แผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะ
๒ - ๑๐
ะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๐๔
สว่ นท่ี ๓
แผนสิง่ แวดลอ้ ม จงั หวัดฉะเชิงเทรา (ระยะที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
แผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
สว่ นที่ ๓
แผนส่ิงแวดลอ้ ม จังหวดั ฉะเชงิ เทรา (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
๑. หลกั การและเหตุผล
ในการดาเนินกิจกรรมโครงการแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะที่ ๒ มุ่งเน้น
ให้เกิดการบริหารจัดการในภาพรวมร่วมกับประเด็นเฉพาะท่ีเกิดขึ้นในพ้ืนที่ ดังนั้น แผนส่ิงแวดล้อมในระดับ
จังหวัด มุ่งเน้นส่งเสริมโครงการ/กิจกรรมด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นประเด็นเฉพาะในระดับ
พื้นที่ ท่ีตอบสนองต่อการบรรลุเป้าหมายของแผนสิ่งแวดล้อมในภาพรวมของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก ระยะท่ี ๒ และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาท้ังในระดับภูมิภาคและระดับจังหวัด ภายใต้ภาวะ
กดดันที่มตี อ่ สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนที่
๒. สภาพทางกายภาพ เศรษฐกจิ ประชากร จงั หวดั ฉะเชิงเทรา
๒.๑ สภาพทางกายภาพ
จังหวดั ฉะเชิงเทรา ตั้งอยทู่ างทิศตะวันออกของประเทศ ประมาณเสน้ รุง้ ที่ ๑๓ องศาเหนือและเส้นแวงที่
๑๐๐ องศาตะวนั ออก มีเนื้อที่ประมาณ ๕,๓๕๑ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๓,๓๔๔,๓๗๕ ไร่ คิดเป็นรอ้ ย
ละ ๑๓.๘ ของพ้ืนทที่ ้ังหมดของภาคตะวันออก อยหู่ ่างจากกรุงเทพฯ ทางทิศตะวนั ออกประมาณ ๗๕ กโิ ลเมตร
ตามทางหลวงรถยนต์หมายเลข ๓๐๔ และประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข ๓ (บางนา-
ตราด) หรือประมาณ ๙๐ กิโลเมตร ตามทางหลวงรถยนต์หมายเลข ๓๔ แยกเข้าหมายเลข ๓๑๔ และ
ประมาณ ๖๑ กโิ ลเมตร ตามทางรถไฟสายตะวนั ออก มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั จังหวดั ใกลเ้ คียง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกบั จังหวดั นครนายก และจงั หวัดปราจนี บุรี
ทิศใต้ ตดิ ต่อกับ จงั หวัดชลบรุ ี จังหวดั จันทบุรี และอา่ วไทย
ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับ จงั หวัดปราจนี บุรี และจังหวดั สระแกว้
ทิศตะวันตก ติดตอ่ กับ จงั หวัดสมุทรปราการ จงั หวดั ปทุมธานี และ
กรงุ เทพมหานคร
จังหวัดฉะเชิงเทราแบ่งเขตการปกครองแบ่งออกเป็น ๑๑ อาเภอ ๙๓ ตาบล และตาบลในเขตเทศบาล
๒ ตาบล ๘๙๒ หมู่บ้าน ๓๔ เทศบาล (๒ เทศบาลเมือง ๓๒ เทศบาลตาบล) ๑ องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด ๗๔
องคก์ ารบริหารส่วนตาบล
ลักษณะกายภาพของจังหวัดฉะเชิงเทรามีความเด่นชัดของการใช้ท่ีดิน คือ การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ
การเกษตร ซึ่งเป็นสัดส่วนท่ีมากท่ีสุดในจังหวัดฉะเชิงเทรา ท้ังนี้มีการกระจายตัวของพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมบ้าง
เลก็ นอ้ ย
๒.๒ เศรษฐกิจ
สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจของจังหวัดฉะเชิงเทรา จากข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ในช่วงปี พ.ศ.
๒๕๓๘ – ๒๕๖๑ (สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๖๑) พบว่าภาคอุตสาหกรรม
ขยายตัวสูงข้ึนร้อยละ ๒๘๙.๙๒ นับว่าเป็นภาคส่วนท่ีมีศักยภาพค่อนข้างสูง นักลงทุนให้ความสนใจในการ
๓-๑
แผนสงิ่ แวดล้อมในพนื้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ลงทุนในพ้ืนท่ี มีการเคลื่อนย้ายฐานการผลิตจากกรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกล้เคียงมาลงทุนต้ังโรงงาน
อุตสาหกรรมในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมเกี่ยวเน่ืองทางการเกษตร อุปกรณ์ไฟฟ้า
ช้ินส่วนรถยนต์และประกอบรถยนต์ พลาสติก และผลิตภัณฑ์จากไม้ ฯลฯ ในขณะที่แนวทางการพัฒนาพ้ืนที่
ชายฝ่ังภาคตะวันออกเปลี่ยนจากการส่งเสริมอุตสาหกรรมหนักไปเป็นอุตสาหกรรมท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ภายใต้พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก ได้ขับเคลื่อนการดาเนินงานด้วยหลักการ BCG Model โดยแยกการดาเนินงานด้านการ
ส่งเสริมการลงทุนด้าน Bio Economy และ Green Economy ในกลุ่มอุตสาหกรรมด้านการเกษตร อาหาร
และสุขภาพ ในขณะที่ส่งเสริมการลงทุนด้าน Circular Economy ในธุรกิจรีไซเคิล พลังงาน และการจัดการ
คาร์บอน สาหรับภาคการบริการมีการขยายตัวอย่างต่อเน่ืองโดยจากข้อมูลพบว่า ในพ้ืนที่จังหวัดฉะเชิงเทรามี
การเติบโตกว่าร้อยละ ๑๓๑.๓๗ นอกจากน้ันภาคการเกษตรมีการขยายตวั ร้อยละ ๕๔.๗๙ จังหวัดฉะเชงิ เทรา
เปน็ แหล่งผลิตอาหารเพือ่ เล้ียงประชากรในภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร ผลผลติ ทีส่ ร้างชื่อเสยี งให้แกจ่ ังหวัดใน
ด้านพืช ไดแ้ ก่ ข้าว มนั สาปะหลัง อ้อย มะพร้าว มะมว่ ง และหมาก
ผลการพยากรณ์ภาคการเกษตรของจังหวัดฉะเชิงเทราพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มี
แนวโน้มเพ่ิมสูงข้นึ เนอื่ งจากลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดฉะเชิงเทราทตี่ ้ังอยู่บริเวณที่ราบลุม่ แม่น้าบางปะกง
ทาให้สภาพพื้นท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ รวมท้ังทรพั ยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่ซ่งึ เหมาะสมต่อการทาการเกษตรกรรม
พ้นื ที่บางส่วนของจังหวดั ฉะเชิงเทรายังตดิ กับชายฝ่งั ทะเลดา้ นอ่าวไทย จึงทาให้เกษตรกรมอี าชพี ทาการประมง
น้าเค็มและเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝ่ังทะเลอีกดว้ ย การประกอบอาชีพเพาะปลูกท่ีสาคัญของเกษตรกรในจังหวัด
ฉะเชิงเทรา คือ การปลูกข้าว ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจหลักท่ีสาคัญท่ีมีการปลูกกันเป็นจานวนมากในจังหวัด
ฉะเชิงเทรา นอกจากทานาปลูกข้าวแล้วเกษตรกรยังปลูกพืชผักสวนครัว ทาสวนผลไม้ด้วย เช่น มะม่วง
มะพร้าว หมาก การทาไร่ส่วนใหญ่จะเป็นการทาไร่ท่ีปลูกพืชหมุนเวียนตามฤดูกาลสลับกับการทานา ผลการ
พยากรณ์ในภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดฉะเชิงเทราพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพิ่ม
สูงขึ้น จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นจังหวัดที่มีการขยายตัวทางอุตสาหกรรมเพ่ิมมากขึ้น เนื่องจากนโยบายของ
รัฐบาลในการกระจายความเจริญและการลงทุนสู่ภูมิภาคและปริมณฑล อีกทั้งอัตราค่าแรงข้ันต่าถูกกว่า
กรุงเทพฯ และจังหวัดปริมณฑล ตลอดจนเป็นแหล่งวัตถุดิบทางด้านเกษตรกรรมจึงทาให้แนวโน้ม
ภาคอุตสาหกรรมมีโอกาสขยายตัวอย่างต่อเน่ือง สาหรับภาคการบริการของจังหวัดฉะเชิงเทราพบว่า ในช่วงปี
พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มีแนวโนม้ เพ่มิ สงู ขน้ึ เน่อื งจากจังหวัดฉะเชิงเทราเป็นจงั หวัดทม่ี ีทรพั ยากรทางธรรมชาติ
และทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่หลากหลายเหมาะแก่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เป็นอย่างยิ่ง มีลักษณะพิเศษท่ี
น่าสนใจ อาทิ ลักษณะภูมิประเทศที่มีแม่น้าบางปะกงและป่าไม้สมบูรณ์ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอ่างฤาไน
ลักษณะวิถีชีวิตที่สงบเรียบง่ายของชุมชนเก่าแก่ ประเพณีและวัฒนธรรมดั้งเดิม กิจกรรมทางการท่องเที่ยว
หลากหลาย ความพรอ้ มด้านการคมนาคมขนส่งท่ีสะดวก จึงสามารถดึงดูนักท่องเท่ียวและทาให้เศรษฐกิจด้าน
การบรกิ ารมแี นวโนม้ เพมิ่ สงู ขน้ึ
๒.๓ ประชากร
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจานวนประชากร ๗๒๐,๑๑๓ คน ความหนาแน่นของประชากร ๑๓๕ คนต่อ
ตารางกโิ ลเมตร ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ประชากรร้อยละ ๒๒ อาศัยอยู่ในเขตเมอื งหรือเขตเทศบาล โดยในช่วง ๑๐
๓-๒
แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ปี ระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ สัดส่วนของผู้อาศัยในเขตเมืองเพ่ิมข้ึนเล็กน้อย (กรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๒) และคาดว่าประชากรรวมจะเพ่ิมข้นึ เป็น ๙๙๓,๗๖๒ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เป็น
ประชากรทะเบียนราษฎร์ ๘๒๑,๖๓๗ คน และประชากรแฝง ๑๗๒,๑๒๕ คน (สกพอ., ๒๕๖๑) จากการท่ี
ประชากรในพน้ื ทมี่ ีจานวนเพ่ิมขึน้ อยา่ งต่อเน่ืองทาใหค้ วามหนาแน่นของประชากรเพิม่ ข้ึนตามไปดว้ ย
การเพ่ิมข้ึนของประชากรมีผลต่อความต้องการทรัพยากรและปริมาณการปล่อยของเสีย ใน
ขณะเดียวกันจาเปน็ ต้องสรา้ งสานึกรตู้ ่อการใชป้ ระโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ียัง่ ยืน ดังน้นั การ
ใช้ประโยชน์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมจึงขึ้นอยู่กับจริยธรรมและสานึกรู้ทางสิ่งแวดล้อมที่เคารพขีดจากัดของ
ธรรมชาติ
๓. โครงการพฒั นาในพนื้ ท่ี
โครงการต่าง ๆ ที่มีการพัฒนาขึ้นในจังหวัดฉะเชิงเทรามีหลายโครงการ เช่น ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้มีการ
ประกาศเขตส่งเสริมนิคมอุตสาหกรรมเป้าหมาย ๑๙ แห่ง ทั้งน้ีอยู่ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ๑ แห่ง นอกจากน้ียัง
ได้มีการประกาศเขตส่งเสริมรูปแบบอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษเฉพาะด้าน ประกอบด้วย กลุ่มอุตสาหกรรม
ยานยนต์อนาคต ตั้งอยู่ตาบลลาดขวาง อาเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา และกลุ่มพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตง้ั อยู่ตาบลบางสมคั ร อาเภอบางปะกง จงั หวัดฉะเชงิ เทรา
โครงการพัฒนาต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้นในพ้ืนท่ี มีผลกระทบเชื่อมโยงกันทั้งในระบบเศรษฐกิจ สังคม และ
ส่ิงแวดล้อม ในขณะที่ภาคธุรกิจจาเป็นต้องมีการวิจัยและพัฒนากระบวนการอย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการ
พฒั นาโครงการต่าง ๆ ในพ้นื ท่ีภาคตะวนั ออก สัมพันธก์ ารเคลื่อนย้ายของแรงงานเข้าสูพ่ ้ืนที่ มีนักท่องเท่ียวเข้า
มาในพ้ืนทเ่ี พิ่มมากขึ้น ชุมชนเดิมท่ีไม่สามารถปรับตัวรองรับการเปล่ียนแปลงใหม่ได้ต้องย้ายไปสู่พ้ืนที่อ่ืน หรือ
เปลี่ยนวิถีชีวิตให้เข้ากับสังคมใหม่ นาไปสู่การเปล่ียนแปลงการใช้ท่ีดินโดยเฉพาะจากพื้นท่ีภาคการเกษตรไปสู่
การเป็นเมืองที่ขยายตัวเพ่ิมมากขึ้น ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มากข้ึน พร้อมกับปริมาณของเสียที่
ปล่อยออกสูส่ ิ่งแวดล้อมในพื้นที่ก็เพิม่ ขึน้ ตาม สิ่งเหลา่ นเี้ ป็นภาวะกดดันในพนื้ ท่ที ี่ตอ้ งการแนวทางและแผนงาน
ท่ีเหมาะสมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องการแผนที่เกี่ยวข้องที่หลากหลายมิติ
พร้อมท้ังการบูรณาการร่วมกันและการมีส่วนร่วมจากภาคประชาสงั คมอย่างแท้จริง ในขณะท่ีแผนสิ่งแวดล้อม
เป็นส่วนหนึ่งของแผนท่ีเกี่ยวข้องต่าง ๆ เพ่ือร่วมกันสร้างความสามารถในการรับมือต่อการเปล่ียนแปลงท่ี
เกิดขนึ้ และกาลังจะเกิดขึ้นในพน้ื ทีใ่ หเ้ กดิ การพฒั นาทส่ี มดุลและย่งั ยืน ต่อไป
๔. สถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
การรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในจังหวัดฉะเชิงเทรา จาก
เอกสารรายงานท่เี กย่ี วขอ้ งทไี่ ด้เผยแพร่ในช่วงเวลา พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ สามารถสรุปไดด้ ังน้ี
๓-๓
แผนสง่ิ แวดล้อมในพนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตารางท่ี ๓ - ๑ สรปุ สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมในจังหวดั ฉะเช
คุณภาพสง่ิ แวดล้อม เกณฑพ์ อใช้ สถานการณ์
นา้ ผวิ ดิน แม่นา้ บางปะกง
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
เกณฑ์เส่อื มโทรม คลองนครเนื่องเ
สานกั งานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบุร)ี (๒๕๖๓)
นา้ ใต้ดนิ คลองทา่ ไข่
(ศูนย์วิจัยและฝกึ อบรมด้านสิ่งแวดลอ้ ม, ๒๕๖๔) จากการเก็บตวั อย่างนา้ ใตด้ ินจากบ่อน้าตื้นพบการปนเป
นา้ ทะเลชายฝั่ง คุณภาพน้าใต้ดนิ ๒ พื้นที่ คอื พ้ืนที่รอบบริเวณบริษัท ไ
(ปพี .ศ. ๒๕๖๓)
สานกั งานส่งิ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุร)ี (๒๕๖๔) อาเภอบางปะกง พบสารอินทรยี ์ระเหยชนดิ 1,2,2 TCA
นา้ เสียชมุ ชน (ปริมาณ)
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๒) ไมโครกรมั ต่อลติ ร สารไวนิล คลอไรด์. TCE, PCE, 1,1-
สานักงานสงิ่ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ )ี , ๒๕๖๓
น้าเสีย (คณุ ภาพ) มาตรฐานน้าใตด้ ิน และรอบบรเิ วณโรงงานรไี ซเคลิ ขยะ
สานักงานสง่ิ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุร)ี , ๒๕๖๓
พนื้ ทีบ่ ริการระบบบาบัดนา้ เสยี แลว้ ตาบลทา่ ถา่ น อาเภอพนมสารคาม พบสารอินทรีย
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
สานักงานส่ิงแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบุร)ี , ๒๕๖๓ ในปรมิ าณ ๑,๒๗๕ ไมโครกรัมต่อลิตร สารเบนซิน ๑๑
ค่ามาตรฐานนา้ ใต้ดิน
พอใช้ ปากแม่นา้ บางป
๑๐๗,๔๓๖.๙๐ ลบ.ม./วัน
ไมเ่ กนิ เกณฑ์ ทต. บางคลา้ มพี
ทงั้ หมด ๒ ระบบบาบัดน้าเสีย ๑๐๐% และทม
๓-
คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ชงิ เทรา
การเปล่ียนแปลง
ดขี น้ึ (จากเส่ือมโทรมเปน็ พอใช)้ คลองท่าลาด
(๒๕๕๕ - ๒๕๖๓)
เขต คงที่ ระดับพอใช้ แม่นา้ บางปะกง
พอใช้ (๒๕๕๕ - ๒๕๖๓) คลองนครเน่อื งเขต
ปอ้ื นเกินค่ามาตรฐาน
ไมด้าวัน ตาบลท่าข้าม
A ในปริมาณ ๒,๒๘๘
-DCE, 1,2-DCA สูงเกินค่า
อิเล็กทรอนิกส์และน้ามนั ใช้
ย์ระเหยชนดิ ไวนิลคลอไรด์
ไมโครกรมั ตอ่ ลิตรมากกว่า
ปะกง
เพม่ิ ข้นึ (๒๕๖๐ – ๒๕๖๒)
พ้ืนที่บริการครอบคลุม
ม. ฉะเชิงเทรา ๙๒%
-๔
แผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาค
คุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม สถานการณ์
นา้ เสยี จากโรงงานอุตสาหกรรมในพน้ื ที่ EEC
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๑) นา้ ทิง้ เฉลี่ยกกั เก็บในโรงงานฯ ๓,๕๗๐,๙๑๖.๘
กรมโรงงานอุตสาหกรรม (๒๕๖๑)
คุณภาพอากาศ น้าท้งิ เฉลย่ี ท่รี ะบายออกนอก ๑,๓๐๙,๔๕๙.๐
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
โรงงานฯ
กรมควบคมุ มลพษิ , ๒๕๖๓
ไม่เกนิ คา่ มาตรฐาน SO2
การปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก
NO2
(อบก., ๒๕๖๔)
ขยะมูลฝอย O3
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๒)
เกินค่ามาตรฐาน PM10
กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๒
PM2.5
Cluster
สานกั งานสิ่งแวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุร)ี , ๒๕๖๒ ปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๒ ระดบั Basic
กากของเสยี
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓) กระจกกลุ่มกจิ กรรม สงู สดุ ในภาคพลังงาน ผลการคาดก
กรมโรงงานอตุ สาหกรรม, ๒๕๖๔ ลา้ นตันคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเท่า หรอื เพ่ิมข้ึนประม
มูลฝอยตดิ เชื้อ (ปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
กรมอนามยั , ๒๕๖๓ ปริมาณ ๐.๒๗ ลา้ นตันต่อ
นาไปใช้ประโยชน์ ๑๘.๓๗%
กาจดั ถกู ต้อง ๑.๒๐%
กาจัดไม่ถกู ต้อง ๘๐.๔๓%
สถานที่กาจัด ๑๗ แห่ง (เปดิ ๗
๓ Cluster ๙๒ ตาบล
กากของเสยี อันตราย ๗๔,๘๙๒.๘๗ ตั
กากของเสยี ไมอ่ นั ตราย ๐.๓๘ ล้านตัน
ของเสียอันตรายขนออกนอก ๖๑,๘๑๙ ตนั
โรงงานฯ
๑๙๐.๖๖ ตัน/ปี
๓-
คตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๘๐ ลบ.ม./วัน การเปลี่ยนแปลง
๐๔ ลบ.ม./วัน ลดลง ( ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑)
เพิม่ ข้นึ ( ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑)
ลดลง (๒๕๕๙ - ๒๕๖๓)
ลดลง (๒๕๕๙ - ๒๕๖๓)
เพิ่มขน้ึ (๒๕๕๙ - ๒๕๖๓)
เพ่มิ ข้นึ (๒๕๕๙ - ๒๕๖๓)
เพม่ิ ขน้ึ (๒๕๕๙ - ๒๕๖๓)
c = ๕.๐๗ ระดับ Basic+ = ๕.๗๖ ลา้ นตันคารบ์ อนไดออกไซด์เทยี บเท่า โดยปรมิ าณการปล่อยกา๊ ซเรอื น
การณใ์ นกรณีปกตปิ รมิ าณก๊าซเรอื นกระจกในอนาคต ปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ระดับ Basic+ จะมีปรมิ าณ ๖.๘๙
มาณ รอ้ ยละ ๑๙.๖๕
อปี อัตราการเพิ่มเฉลยี่ ๕ ปี (๒๕๕๘ - ๒๕๖๒) = ๐.๗๐ กก./คน/วนั
๗ แหง่ ปิด ๑๐ แห่ง) ลดลง (๒๕๕๘ - ๒๕๖๓)
น ลดลง (๒๕๕๘ - ๒๕๖๓)
ลดลง (๒๕๕๘ - ๒๕๖๓)
-๕
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
คุณภาพสงิ่ แวดลอ้ ม สถานการณ์
ขยะทะเลตกค้าง (ปี พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓๘๒ กโิ ลกรัม/ปี
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง, ม.ป.ป.
พน้ื ท่ีสีเขียว พืน้ ที่สีเขยี วในเขตเมอื ง ร
(จากการแปลภาพถา่ ยดาวเทยี ม Landsat 8 OSI) พื้นที่สเี ขยี วนอกเขตเมือง
แหลง่ ศลิ ปกรรม ๒๖๐ แห่ง
กรมศิลปากร (๒๕๖๔)
เขตพื้นทีเ่ มอื งเกา่ (ปี พ.ศ. ๒๕๕๘) ๓.๙๖ ตร. กม.
ทีม่ า: ประกาศคณะกรรมการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นา
กรงุ รัตนโกสินทรแ์ ละเมอื งเกา่ สถานการณ์
๐.๖ แสนไร่
ทรพั ยากรธรรมชาติ
ปา่ ไม้ (ปี พ.ศ. ๒๕๖๑)
กรมพัฒนาที่ดิน (๒๕๖๑) ๒๙,๗๑๕.๘๖ ไร่
ปา่ ชายเลน ท่มี า: กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๑)
การกดั เซาะชายฝั่งทะเล พน้ื ทก่ี ัดเซาะ
ปีพ.ศ.๒๕๖๒) พ้ืนท่ดี าเนินการแกไ้ ขแล้ว
กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง (๒๕๖๒) พน้ื ที่ไมก่ ดั เซาะ
ความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ ต่า (ดนิ เปรย้ี ว)
ปานกลาง
กรมพฒั นาที่ดนิ (๒๕๖๑) สงู
การใช้ทีด่ นิ
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๑) พ้ืน
พน้ื ทช่ี ุมชนและส่ิงปลูกสรา้ ง
กรมพัฒนาท่ดี นิ (๒๕๖๓) พ้ืนทเ่ี กษตร
พื้นทป่ี ่าไม้
๓-
คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การเปลยี่ นแปลง
รอ้ ยละ ๓.๗๘
ร้อยละ ๑๗.๑๗
ฝงั่ (๒๕๖๑) การเปลย่ี นแปลง
๐.๐๐ ลดลง (๒๕๕๖ – ๒๕๖๒)
๑๓.๙๗ กม. ลดลง (๒๕๕๖ – ๒๕๖๑)
๒.๕๙ กม. ทมี่ า: กรมพัฒนาท่ดี นิ (๒๕๖๓)
๑.๓๔ ลา้ นไร่ ลดลง (๒๕๖๐ – ๒๕๖๒)
๑.๗๕ ล้านไร่
๕๑,๑๙๑ ไร่ เพ่ิมขนึ้ (๒๕๕๖ – ๒๕๖๑)
นทีท่ ง้ั หมด ๓,๓๔๔,๓๗๕ ไร่ ลดลง (๒๕๕๖ – ๒๕๖๑)
รอ้ ยละ ๖.๙๕ ลดลง (๒๕๕๖ – ๒๕๖๑)
ร้อยละ ๗๐.๘๓
ร้อยละ ๑๖.๑๘
-๖
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม สถานการณ์
น้า
พื้นท่นี า้
พื้นทเ่ี บด็ เตล็ด
นา้ ฝนรายปีเฉลย่ี
*กรมชลประทาน, ๒๕๖๐ ปรมิ าณนา้ *
**สานกั งานทรัพยากรนา้ แหง่ ชาต,ิ ๒๕๖๓
ความต้องการใช้น้า** ๑,๔๕
น้าบาดาล (ปี พ.ศ. ๒๕๖๒)
กรมทรพั ยากรนา้ บาดาล (๒๕๖๒) ความต้องการใชน้ ้าบาดาล
แร่
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๑; ๒๕๕๔) ๑๐.๐๘ ล้านลบ.ม./ปี
กรมทรพั ยากรธรณี (๒๕๕๑; ๒๕๕๔)
พ้ืนท่คี ุ้มครองสิ่งแวดล้อม กล่มุ แรเ่ พ่ือการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงก
เรอ่ื งร้องเรียนด้านสิง่ แวดลอ้ ม ๖๒.๐๔ ตร.กม.
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓)
สานกั งานส่งิ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ )ี , ๒๕๖๐- กล่มุ แรเ่ พ่ือสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ๑,๘๙
๒๕๖๓
เรอื่ งรอ้ งเรียนดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม ร่างประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล
(ข้อมลู ปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
ทสจ. ฉะเชงิ เทรา, ๒๕๖๓ และมาตรการคมุ้ ครองส่ิงแวดลอ้ ม ในทอ้ งที่ตาบลบางป
สองคลอง อาเภอบางปะกง จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
จานวน (คร้ัง) ปญั ห
๑๙ ขอ
๓๔ มล
๓-
คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ร้อยละ ๒.๙๖ การเปลยี่ นแปลง
รอ้ ยละ ๓.๐๘ เพ่มิ ข้ึน (๒๕๕๖ – ๒๕๖๑)
สูงสดุ ๔.๐๘ ลบ.ม./ไร/่ ปี ลดลง (๒๕๕๖ – ๒๕๖๑)
ต่าสุด ๐.๓๖ ล้าน ลบ.ม.
๓๖๐.๑ พ.ศ. ๒๕๗๐ ๑,๕๘๓
๕๖ ล้าน ลบ.ม./ปี พ.ศ. ๒๕๘๐ ๑,๖๓๗
การขนาดใหญ่ของรัฐ
๙๘.๒๖ ตร.กม.
ลอ้ ม เรอ่ื งกาหนดเขตพื้นที่
ปะกง ตาบลท่าข้าม ตาบล
หาทีพ่ บมากท่ีสดุ
องเสยี อันตราย
ลพิษทางอากาศ
-๗
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
จากการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเดน็ เร่ืองนา้ เสีย ขยะมูลฝอย และสมดุลน้า เป็นปญั หาที่สาคัญกระทบต่อวถิ ีชีวิตและการพัฒนาในพ้นื ท่ี ซึ่ง
มีแนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต ดงั นี้
๑. การคาดการณ์ปรมิ าณนา้ เสียชุมชน
ในการคาดการณ์ปริมาณน้าเสียชุมชนเป็นการคาดการณ์ปริมาณน้าเสียจากข้อมูลอัตราการใช้น้าโดย
เฉลี่ยประชากรในพ้ืนท่ี พบว่า จังหวัดฉะเชิงเทรา มปี ริมาณน้าเสียชุมชน ๑๐๗,๔๓๖.๙๐ ลกู บาศก์เมตรต่อวัน
ในปี พ.ศ.๒๕๖๒ คาดการณ์วา่ ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ จะมีปริมาณน้าเสียชุมชนเกิดขึ้น ๑๔๙,๐๖๔ ลูกบาศก์เมตร
ต่อวัน ในขณะท่ี ความสามารถในการบาบัดสามารถบาบัดได้ ๒๙,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน (สานักงาน
ส่ิงแวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบุรี), ๒๕๖๓) จึงมีความจาเป็นเร่งด่วนในการพิจารณาสนับสนุนการเพิ่ม
ประสทิ ธิภาพในการบาบดั นาเสียใหม้ คี วามเหมาะสม เพื่อการรกั ษาสภาพแวดลอ้ มทด่ี ขี องพื้นท่ีอย่างยงั่ ยืน
๒. การคาดการณป์ ริมาณขยะมลู ฝอย
จากรายงานสถานการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยในจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เท่ากับ ๘๙๒ ตันต่อ
วนั เมื่อคาดการณ์แนวโน้มปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในอนาคตข้างหนา้ อีก ๗ ปี จากอัตราการเกดิ ขยะเฉลี่ย
ต่อคนต่อวันของประชากรในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ พบว่า มีปริมาณขยะมูลฝอยในจังหวัดฉะเชิงเทราเท่ากับ
๑,๑๒๒.๘๖ ตัน/วัน จังหวัดฉะเชิงเทรา มี Cluster จานวน ๓ แห่ง ครอบคลุม ๑๑๑ ตาบล จากข้อมูลการ
จดั การมลู ฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา มีปริมาณขยะทน่ี าไปท้งิ ๖๕.๘๖ ตัน/วัน จึง
มีความจาเป็นเร่งด่วนในการพิจารณาสนับสนุนการเพ่ิมประสิทธิภาพในการบาบัดนาเสียให้มีความเหมาะสม
เพื่อการรกั ษาสภาพแวดล้อมที่ดีของพ้นื ท่ีอยา่ งยั่งยืน
๓. แนวโนม้ ความตอ้ งการใชน้ า้ ในจังหวดั ฉะเชิงเทรา
แหล่งน้าต้นทุนของฉะเชิงเทรามีอ่างเกบ็ น้าในพื้นท่ีรวมกัน ๕ แห่ง ความจรุ วม ๔๘๓.๖๓ ล้านลกู บาศก์
เมตรต่อปี ปริมาณการส่งน้า ๓๙๒.๔๘ ล้านลูกบาศก์เมตร (กรมชลประทาน, ๒๕๖๐) ผลการศึกษาการ
คาดการณ์ความตอ้ งการใช้น้าของสานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ พบว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัดฉะเชิงเทรา
มีความต้องการใช้น้าประมาณ ๑,๔๕๖ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยมีความต้องการใช้น้าเพ่ืออุปโภคบริโภค
ร้อยละ ๒.๘๘ ด้านอุตสาหกรรมร้อยละ ๗.๔๙ และด้านเกษตรกรรมร้อยละ ๘๙.๖๓ และจากการคาดการณ์
ความต้องการใช้น้าในอนาคตของจงั หวัดฉะเชงิ เทรา พบว่ามีแนวโน้มของความต้องการใช้น้าเพ่มิ ขน้ึ ในปี พ.ศ.
๒๕๗๐ เท่ากับ ๑,๕๘๓ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และปี พ.ศ. ๒๕๘๐ เท่ากับ ๑,๖๓๗ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
จากข้อมูลดังกล่าว แสดงถึงความไม่สมดุลของทรัพยากรน้าและความต้องการใช้น้าในพ้ืนที่ โดยเฉพาะภาค
เกษตรกรรม ซึ่งการบริหารจัดการน้าเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและกิจกรรมในพื้นท่ี
หน่วยงานรฐั ทเี่ ก่ียวข้องไดด้ าเนินโครงการหลายโครงการเพ่อื การนาทรัพยากรนา้ จากนอกพ้นื ที่เข้ามารองรบั ให้
เพียงพอต่อความต้องการ ในขณะท่ีความตอ้ งการน้ามแี นวโน้มเพิ่มขึ้น ความขาดแคลนน้าในพื้นทีจ่ ึงเป็นความ
เสี่ยงท่ตี อ้ งการแนวทางการรองรับที่ชดั เจน
๓-๘
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๕. ปัจจยั แวดล้อมท่ีมีผลต่อการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
๕.๑ การวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม
จากกรอบแนวคิดการดาเนินงานโครงการท่ีประยุกต์ใช้หลักการ Pressure-Carrying Capacity-
Governance: PCG Model ท่ีเป็นการวิเคราะห์ระดับภาวะกดดัน การวิเคราะห์ความสามารถในการรองรับ
ของพนื้ ที่ และการบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนท่ี ในโครงการจดั ทาแผนส่งิ แวดล้อม
ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ จึงเร่ิมต้นจากการทบทวนสถานการณ์ความท้าทายระดับ
โลกที่เป็นประเด็นกดดันภายนอกที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ EEC รวมถึงแรงกดดัน
ระดับประเทศ ได้แก่ นโยบายและโครงการพัฒนาที่จะเกิดข้ึนในพื้นที่ นอกจากน้ีสถานการณ์ประชากร
เศรษฐกิจ และทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของพื้นท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็นแรงกดดันภายใน
แรงกดดันทั้งหมด (Pressure: P) มีผลต่อความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity: C) ใน
ขณะเดียวกันความสามารถในการรองรับก็มีอิทธิพลต่อแรงกดดันเช่นกัน ซึ่งการวิเคราะห์ขีดความสามารถใน
การรองรับจะเป็นข้อมูลสาคัญที่นาไปสู่การบริหารจัดการ (Governance: G) และการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดีจะนาไปสู่การปรับปรุงความสามารถในการรองรับได้ นอกจากนี้ การ
วิเคราะห์แรงกดดันเป็นข้อมูลสาคัญท่ีบ่งช้ีถึงความจาเป็นในการบริหารจัดการ ดังนั้นการวิเคราะห์ PCG จึง
เป็นข้อมูลท่ีนาไปสู่กระบวนการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ ต่อไป
โดยมรี ายละเอียดดังนี้
๕.๒ การวเิ คราะหภ์ าวะกดดนั (P)
การพิจารณาแรงกดดันที่มีต่อสถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก แยกออกได้เป็น ๒ ระดับ คือแรงกดดันภายนอกและแรงกดดันภายใน โดยแรงกดดันภายนอก
ประกอบดว้ ย สถานการณ์ความท้าทายของโลก ได้แก่ ความม่ันคงทางอาหาร สุขภาพ การเปล่ยี นแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ นโยบายและทิศทางการพัฒนาของประเทศ ในขณะที่แรงกดดันภายในประกอบด้วย ประชากร
เศรษฐกิจ และสถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
๓-๙
แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาค
ตารางที่ ๓ - ๒ การวเิ คราะหแ์ รงกดดนั (Pressure) แยกตามเขตจดั การตามภมู นิ เิ
แรงกดดัน (P)
เขตปา่ ไม้ เขตพนื้ ที่ชมุ่ น้า เขตปา่ ชายเลน เข
๑.ความมั่นคงทางอาหาร
๒.สุขภาพ
๓.การเปลย่ี นแปลงสภาพ ตน้ ไม้ท่วั ไป ๑ ต้น สามารถดูด จากการศกึ ษาของ อบก. (๒๕๕๙) พบวา่
ภมู อิ ากาศ ซับคาร์บอนไดออกไซดไ์ ด้ ๒๑ พนื้ ทป่ี า่ ชายเลนสามารถดูดซบั คาร์บอน
กโิ ลกรัมตอ่ ปี แตห่ ากตน้ ไมม้ ี ได้ ๒.๗๕ TCO2/ไร่/ปี ซ่ึงมากกวา่ ปา่ บก
อายุ ๑๐๐ ปี จะสามารถดดู ซับ ท่ีสามารถดูดซบั ได้ ๐.๙๕ - ๒.๐ TCO2/
คาร์บอนไดออกไซด์ได้ ๑ ตันตอ่ ไร่/ปี
ปตี อ่ ต้น (viessmann, n.d.) พืน้ ที่ สถานการณ์พื้นท่ปี า่ ชายเลนใน จ.
ป่าไม้ในจงั หวัดฉะเชงิ เทรา มี ฉะเชิงเทราลดลง จาก ๑๖,๐๗๓ ไร่ ในปี
พื้นท่ีลดลงจากร้อยละ ๑๖.๔๓ พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็น ๑๓,๓๙๑ ส่งผลตอ่
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ รอ้ ยละ ประสิทธิภาพในการดูดซบั กา๊ ซ CO2 ของ
๑๖.๑๘ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ นั่น พ้นื ที่ป่าชายเลน
หมายถึง ความสามารถในการ
ดดู ซบั คารบ์ อนไดออกไซด์ใน
จังหวัดฉะเชิงเทรา ลดลงดว้ ย
๓-
คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
เวศ จังหวัดฉะเชงิ เทรา เขตเมอื งและชุมชน เขตอตุ สาหกรรม
เขตจดั การตามภูมนิ เิ วศ ความต้องการบรโิ ภคเพมิ่ เน่ืองจากจานวนประชากรเพ่ิมขึ้น จาก
ขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม
๙๒๔,๓๙๙คน ในปี ๒๕๖๒ เป็น ๑,๑๙๙,๓๔๖ คน ในปี ๒๕๗๐
ปริมาณการปล่อยกา๊ ซ
เรือนกระจกจากภาค (ความสามารถในการรองรบั ดา้ นอาหาร : การมีอยขู่ องข้าวในพ้นื ที่
การใช้พืน้ ทีก่ ารเกษตร
และป่าไม้ ในปพี .ศ. (%) EEC + ๕๒๗%, ฉะเชิงเทรา ๑,๒๘๓.๑๙ %,)
๒๕๖๓ มปี ริมาณก๊าซ
เรือนกระจกคิดเปน็ - พฤติกรรมการบรโิ ภคเปล่ยี นไปเปน็ แบบเมอื ง ได้แก่ การกนิ การสูบ
๔๒.๐๐ KgCO2eq
บหุ รี่ มลพิษทางอากาศ การดม่ื แอลกอฮอล์ และพฤตกิ รรมเนอื ยนง่ิ
ส่งผลต่อโรคไม่ตดิ ตอ่ เรอ้ื รงั (WHO, 2014) โดยจงั หวัดฉะเชิงเทรา มี
สดั ส่วนของผู้ปว่ ยดว้ ยโรคไม่ตดิ ต่อเพ่มิ ข้นึ จาก รอ้ ยละ ๑๓.๗๗ ใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็น ๑๖.๗๖ ในปงี บประมาณ ๒๕๖๓
(ความสามารถในการรองรบั ด้านภาวะโรคไมต่ ิดตอ่ (NCDs) :
ภาวการณต์ ายดว้ ย NCDs ประชากรโลก คอื ๗๑ %: ในขณะท่ีEEC
๕๑.๘๑%, ฉะเชิงเทรา ๗๐.๘๔%,
ปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก พ.ศ. ๒๕๖๒ ระดบั Basic = ๕.๐๗ ระดบั
Basic+ = ๕.๗๖ ลา้ นตันคาร์บอนไดออกไซด์เทยี บเทา่ โดยปริมาณการ
ปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกกลุ่มกิจกรรม สูงสุดในภาคพลงั งาน ผลการ
คาดการณใ์ นกรณีปกติปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกในอนาคต ปี พ.ศ.
๒๕๗๓ ระดับ Basic+ จะมีปรมิ าณ ๖.๘๙ ล้านตนั คาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่า หรอื เพม่ิ ขน้ึ ประมาณ ร้อยละ ๑๙.๖๕
๑๐
แผนสิ่งแวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาค
แรงกดดัน (P) เขตปา่ ไม้ เขตพน้ื ทช่ี มุ่ นา้ เขตปา่ ชายเลน เข
๔.นโยบาย/โครงการ
พฒั นา โครงการพัฒนาทจ่ี ะเกิดขน้ึ นบั เป็นแรงกดดนั ตอ่ ทุกเขตจัดการภมู ินเิ วศ ทม่ี ผี ลตอ่ ทรพั
๕.ประชากร ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ. ๒๕๖๑ พบวา่ พน้ื ท่เี กษตรกรรมลดลงเล็กน้อย (ร้อยล
๑๙.๒๘ ตามลาดบั อยา่ งไรก็ตามการพัฒนาจาเป็นตอ้ งเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมควบ
(ความสามารถในการรองรบั ด้านการใช้ที่ดนิ : ความเพยี งพอของพืน้ ท่ีผลติ อาหารต่อคนจงึ
พื้นท่สี าหรับคนหนึ่งคนที่ใชเ้ พื่อดารงชีวิต เป็นเกณฑท์ ่ีใช้ชี้วัดความสามารถในการรองรับ
ฉะเชิงเทรา. +๒๑๓, ชลบุรี. -๗๕, ระยอง. –๓๘)
นกั ทอ่ งเที่ยวเพิม่ ขึน้ จาก ๑.๗ ล้านคน ในปี พ.ศ.
ขึน้ มาสองเท่าคือ ๓.๔ ลา้ นคนในปี พ.ศ.๒๕๖๒ ส
บกุ รุกและความเสือ่ มโทรมของทรพั ยากรในพื้นท
หากขาดการบริหารจัดการทีด่ ีพอ
๖.สถานการณ์ พนื้ ท่ีปา่ ไม้ในจังหวัดฉะเชิงเทรา แหล่งน้ามีคณุ ภาพนา้ พื้นที่ปา่ ชาย
ทรัพยากรธรรมชาติและ ลดลงจากร้อยละ ๑๖.๔๓ ในปี เสอ่ื มโทรม คอื คลอง เลนลดลง จาก
สง่ิ แวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ ร้อยละ นครเน่ืองเขต คลอง ๑๖,๐๗๓ ไร่ ใน
๑๖.๑๘ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ทา่ ไข่ และเสื่อมโทรม ปี พ.ศ. ๒๕๕๖
มาก คือ คลองพาน เป็น ๑๓,๓๙๑
การขุดบอ่ ทรายและบอ่ หินใน ทอง ไร่ ในปี พ.ศ.
พ้นื ทีจ่ ังหวดั ฉะเชิงเทรา ๒๕๖๓
สว่ นมากจะพบอยู่ในพื้นท่อี าเภอ
สนามชัยเขต และอาเภอพนม
สารคาม ตามลาดับ ท้ังนใ้ี นพ้นื ที่
๓-
คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
เขตจดั การตามภูมนิ เิ วศ
ขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมอื งและชมุ ชน เขตอตุ สาหกรรม
พยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมของพ้ืนท่ี การเปล่ยี นแปลงการใช้ที่ดนิ ในจ. ฉะเชิงเทรา
ละ ๐.๑๒) ในขณะทีพ่ น้ื ทอี่ ยอู่ าศยั พน้ื ท่พี าณิชยกรรม และพ้นื ทอี่ ุตสาหกรรม เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๑๔.๙๑ ๙.๔๘ และ
บคู่ไปกับเศรษฐกิจและการบรหิ ารจัดการสิง่ แวดลอ้ มด้วย
งเปน็ ประเด็นสาคัญต่อคุณภาพชวี ิตของประชาชน โดยใช้ค่า คาร์บอนฟุตพร้ินท์ (CF) ของพน้ื ท่ี ซึ่งเปน็ ค่าบ่งชท้ี าง
บของพ้ืนท่ีเพาะปลูกตอ่ หวั โดยความเพยี งพอของพื้นท่ีเพ่อื การดารงชวี ติ ตอ่ ประชากรหน่ึงคน (%)ใน EEC –๔๒ ,
. ๒๕๕๓ นกั ท่องเที่ยวและ นักท่องเท่ียวเพิม่ ขึน้ จาก ๑.๗ ลา้ น - ประชากรแฝงในจังหวัด
สง่ ผลต่อการ แรงงานท่เี พ่ิมขนึ้
ท่ีธรรมชาติ สง่ ผลตอ่ ความ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้นึ มาสองเท่า ฉะเชิงเทราเพ่มิ ข้ึนจาก
เปราะบางของพื้นที่ใน
การมีอยขู่ องอาหาร คือ ๓.๔ ล้านคนในปี พ.ศ.๒๕๖๒ ๒๐๔,๒๘๖ ในปี พ.ศ.
พ้นื ทีเ่ กษตรลดลง
๐.๑๒% พ.ศ. ๒๕๕๖ สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพของสิง่ แวดลอ้ มใน ๒๕๖๒ เป็น ๔๓๗,๙๐๕ คน
- พ.ศ. ๒๕๖๑
พ้นื ท่ีเกษตรกรรม เขตเมอื งทีม่ สี ภาพกายภาพเมืองท่ี ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ซงึ่
ลดลง ร้อยละ ๐.๑๒
ระหวา่ งปี พ.ศ. หนาแน่น หมายถึงความตอ้ งการใช้
๒๕๕๖ - พ.ศ. ๒๕๖๑
ทรัพยากรในพื้นที่เพิม่ สูงข้นึ
ตามไปด้วย
คุณภาพอากาศสว่ นใหญอ่ ยใู่ นเกณฑ์ (ยกเว้นคา่ สารอนิ ทรีย์ระเหยเกิน
คา่ มาตรฐานในบางเวลาพบในเขตอตุ สาหกรรม) และ NO2 PM10 มี
แนวโน้มสูงขึ้น PM2.5 lในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ สูงกวา่ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
- จังหวัดฉะเชิงเทรามี จากการเก็บตัวอยา่ งน้าใตด้ นิ จากบอ่ น้าต้นื พบการปนเปื้อนเกนิ คา่
ความต้องการนา้ ใน มาตรฐานคุณภาพน้าใตด้ นิ ๒ พ้ืนที่ คอื พื้นทร่ี อบบรเิ วณบรษิ ัท ไมดา้
ภาคเกษตรกรรม วัน ตาบลทา่ ข้าม อาเภอบางปะกง พบสารอินทรียร์ ะเหยชนิด 1,2,2
๑,๓๔๐ ล้านลกู บาศก์ TCA ในปรมิ าณ ๒,๒๘๘ ไมโครกรัมต่อลติ ร สารไวนลิ คลอไรด์. TCE,
เมตร และพบวา่ PCE, 1,1-DCE, 1,2-DCA สงู เกินคา่ มาตรฐานนา้ ใต้ดนิ และรอบ
๑๑
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาค
แรงกดดนั (P)
เขตปา่ ไม้ เขตพื้นที่ชมุ่ น้า เขตปา่ ชายเลน เข
ท่มี กี ารขดุ บอ่ ทราย บอ่ หินสว่ น
ใหญพ่ บวา่ มหี ลายพื้นท่ที เ่ี ปน็ ความยาวชายฝงั่ ในพนื้ ท
พื้นทใี่ กลเ้ คียงกับพ้นื ที่เหมอื งเก่า ฉะเชงิ เทรา เทา่ กบั ๑๖
ท่ีประทานบัตรหมดอายุ เช่น กิโลเมตร เป็นพืน้ ท่ีทช่ี า
อาเภอสนามชยั เขต เป็นตน้ เซาะท่ไี ด้รบั การดาเนนิ ก
ทั้งน้ีกรมอุตสาหกรรมพนื้ ฐาน เรียบรอ้ ยแลว้ ๑๑.๕๒
และการเหมอื งแร่กาลงั ระหว่างการแก้ไข ๒.๔๕
ดาเนินการและ เสนอมาตรการ และไมพ่ บพน้ื ท่ที ี่ยังมกี า
กากับดแู ลเหมอื งแร่เกา่ เพอ่ื การ
พฒั นาและฟ้นื ฟใู ห้สามารถนา
กลบั มาใช้ประโยชน์หลังการปดิ
เหมืองได้ อาทิ เป็นแหล่งกกั เก็บ
น้า สวนสาธารณะ และพ้นื ท่ี
เกษตรกรรม
๓-
คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
เขตจดั การตามภูมนิ เิ วศ เขตเมืองและชุมชน เขตอุตสาหกรรม
ขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม
บรเิ วณโรงงานรีไซเคลิ ขยะอิเล็กทรอนกิ ส์และน้ามันใช้แล้ว ตาบลทา่
ปรมิ าณน้าต้นทนุ ทมี่ ี
อยมู่ ีปริมาณน้อยกว่า ถา่ น อาเภอพนมสารคาม พบสารอนิ ทรยี ์ระเหยชนดิ ไวนลิ คลอไรด์ ใน
ความต้องการนา้ ในแต่
ละภาคสว่ น รวมถงึ ปรมิ าณ ๑,๒๗๕ ไมโครกรัมต่อลิตร สารเบนซนิ ๑๑ ไมโครกรัมตอ่
น้อยกว่าความ
ตอ้ งการในภาค ลิตรมากกวา่ คา่ มาตรฐานนา้ ใต้ดนิ (ศูนยว์ ิจยั และฝกึ อบรมด้าน
เกษตรกรรม
สงิ่ แวดล้อม, ๒๕๖๔)
ที่จังหวัด พ้นื ที่สีเขยี วในเขตเมืองของจงั หวดั ฉะเชงิ เทราเท่ากับ ๙,๒๓๘ ไร่ คดิ
๖.๕๖ เป็นรอ้ ยละ ๓.๗๘ ของพื้นทีท่ ้ังหมด
ายฝงั่ ถกู กัด
การแกไ้ ข การขนส่งของเสียอันตรายออกนอก
โรงงาน พิจารณาจากขอ้ มลู การขนส่ง
กโิ ลเมตร อยู่ ของเสียอันตรายออกนอกโรงงาน
๕ กโิ ลเมตร ประเภทกลุ่มอุตสาหกรรม พ.ศ.
ารกดั เซาะอยู่ ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓ พบว่าในจังหวัด
๑๒
แผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาค
แรงกดดัน (P)
เขตปา่ ไม้ เขตพื้นท่ีชมุ่ น้า เขตป่าชายเลน เข
๓-
คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
เขตจดั การตามภูมนิ ิเวศ เขตเมอื งและชุมชน เขตอุตสาหกรรม
ขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม ฉะเชิงเทรา มีแนวโน้มลดลง
ประกาศเขตพื้นทเ่ี มอื งเกา่ ฉะเชงิ เทรา
แหลง่ ศิลปกรรม ๑๑๑ แห่ง
๑๓
แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๕.๓ ความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity)
การศึกษาความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ของพื้นที่ มี ๓ ขั้นตอน คือ (๑) การศึกษาระดับความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อมของพ้ืนท่ี (๒) การประเมินศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่สอดคล้องกับ
ภูมินิเวศ และ (๓) การวิเคราะห์แรงกดดันและศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่
สอดคลอ้ งกับภูมินเิ วศ มรี ายละเอียด ดังนี้
(๑) การศึกษาระดบั ความสามารถในการรองรับดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมของพน้ื ที่
ประเด็นท่ีใช้ในการประเมินความสามารถในการรองรับของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้จาก
การทบทวนแนวคิดและรายงานการศึกษาท่ีเกี่ยวข้อง สามารถสรุปในภาพรวมของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกเป็น ๒ กลุ่ม ๘ ประเด็น คือ (๑) กลุ่มทรัพยากรและสุขภาพ ประกอบด้วย ความสามารถในการ
รองรบั ด้านอาหาร ด้านทรัพยากรน้า และด้านสุขภาพ และ (๒) กลุ่มส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย ความสามารถ
ในการรองรับด้านมลภาวะ: มลพิษทางอากาศ ขยะมลู ฝอย นา้ เสีย ด้านการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ ดา้ น
ความหลากหลายทางชีวภาพ ด้านคุณภาพน้าทะเล และด้านการใช้ท่ีดิน ซ่ึงพบว่าความสามารถในการรองรับ
ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกินขีดความสามารถในการรองรับได้ของพ้ืนที่ในจังหวัดฉะเชิงเทรา
ไดด้ งั น้ี (รายละเอียดในภาพที่ ๓ – ๑)
(๑) ประเด็นความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรน้า เป็นประเด็นท่ีต้องการแนวทางแก้ไขปัญหา
เน่ืองจากอยู่ในสภาวะเกินขีดความสามารถในการรองรับ
(๒) ประเด็นด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่กิจกรรมการดาเนินชีวิตในพื้นท่ีมีการปลดปล่อย
ก๊าซเรือนกระจกต่อคน เกินกว่าค่าเฉลี่ยนต่อคนของประชากรในโลก ควรมีแนวทางรองรับเพื่อการลดปัญหา
การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
(๓) ประเด็นด้านขยะมูลฝอย มีการกาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชาการถึงร้อยละ ๘๐ ในปี พ.ศ.
๒๕๖๓ หากสถานการณ์ของปริมาณขยะมูลฝอยเทียบกับความสามารถในการกาจัดยังคงเดิม ถือว่า
ความสามารถในการรองรบั ขยะมูลฝอยของพื้นที่เกินขดี ความสามารถในการรองรบั ควรมีแนวทางในการแก้ไข
ปัญหาอยา่ งตอ่ เนื่อง
(๔) ประเด็นดา้ นน้าเสีย สถานการณ์คุณภาพน้าในแหลง่ นา้ ธรรมชาติโดยเฉล่ยี ของจังหวัดฉะเชิงเทราอยู่
ในเกณฑ์ดัชนีคุณภาพน้าผิวดินระดับ ๔ คือ คุณภาพเสื่อมโทรม ถือว่าความสามารถในการรองรับเร่อื งน้าของ
แหล่งน้าธรรมชาติเกินขีดความสามารถในการรองรับได้แล้วจึงเป็นประเด็นที่ต้องการแนวทางแก้ไขปัญหา
เรง่ ด่วน
๓ - ๑๔
แผนส่งิ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ภาพท่ี ๓ - ๑ ระดบั ความสามารถในการรองรับของจังหวัดฉะเชงิ เทรา
๓ - ๑๕
แผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ตารางท่ี ๓ - ๓ ระดับความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมจังหวัดฉะเชิงเทรา
ปัจจัย คา่ คะแนนดัชนีชีว้ ัด เกณฑช์ ้ีวัด
(กรณที เี่ กินความสามารถในการรองรบั )
ด้านทรัพยากร
๑. ความสามารถในการรองรับดา้ นอาหาร ปกติ - ร้อยละของผลผลิตข้าวต่อปริมาณบรโิ ภค
๑.๑ ปรมิ าณข้าวท่ีผลติ ไดใ้ นพ้ืนที่ (๑,๓๘๓) < ร้อยละ ๑๐๐
๑.๒ ความสามารถในการเข้าถงึ อาหาร ปกติ - ราย ได้ เห ลื อ จ าก ร าย จ่ าย เท่ ากั บ
๑๐๐ ความสามารถเขา้ ถึงอาหารได้ ร้อยละ ๑๐๐
๒. ความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรน้า เกินขีดรองรับ -ร้อยละของน้าต้นทุนต่อความต้องการใช้
๒.๑ สมดลุ การใช้นา้ (๒๔) นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๑๐๐
๒.๒ การเข้าถึงน้าสะอาด ปกติ -ร้อยละของครัวเรือนมีน้าสะอาดดื่มและ
๙๘ บรโิ ภคเพียงพอตลอดปี>รอ้ ยละ ๘๑
๓. ความสามารถในการรองรบั ดา้ นสุขภาพ ปกติ (ใกล้เกินขีดรองรับ) ร้อยละการตาย NCDs >ค่าการตายNCDs
- ภาวะการตายด้วยโรคไมต่ ิดต่อ (NCDs) ๗๐.๘๔ ของประชากรโลก (รอ้ ยละ ๗๑)
ดา้ นสิ่งแวดล้อม
๔. ความสามารถในการรองรับดา้ นมลภาวะ ปกติ วันสะสมที่มีค่า AQI สูงกว่า ๑๐๐>ร้อยละ
๔.๑ มลพษิ ทางอากาศ(Air Quality Index) ๖.๖ ๕๐ในชว่ งฤดูหนาวและฤดรู ้อน
๔.๒ ขยะมูลฝอย เกนิ ขีดรองรับ การกาจัดขยะที่ไม่ถูกหลักวิชาการ เกิน
๘๐.๔ ร้อยละ ๕๐
๔.๓ น้าเสีย เกนิ ขีดรองรับ WQI ไม่เกนิ ๓
๔
๕. ความสามารถในการรองรับดา้ นการ
เปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
- การปลดปลอ่ ยคาร์บอนจากกจิ กรรมของมนุษย์ เกนิ ขีดรองรับ คารบ์ อนฟุตพรน้ิ ทข์ องพ้ืนท่ี มากกว่า ค่า
๒.๑๖ (earth share = ๑.๙ gha/คน)
๖. ความสามารถในการรองรับด้านความ ปกติ BDV <๑๔ = ต่า
หลากหลายทางชีวภาพของระบบนเิ วศ (BDV) ๒๕.๖๗
๗. ความสามารถในการรองรับด้านคุณภาพน้า
ทะเล
๗.๑ ภาวะความเปน็ กรดในทะเลเฉลี่ย (pH) ปกติ เกนิ คา่ มาตรฐาน pH (๗.๐-๘.๕)
๘.๑๑
๗.๒ภาวะความสกปรกของน้าทะเล ปกติ ค่ามาตรฐาน MWQI ไม่เกนิ ระดับ ๓
๒
๘. ความสามารถในการรองรับดา้ นการใชท้ ีด่ นิ
- ความเพยี งพอของพน้ื ที่เพอ่ื การดารงชีวติ ตอ่ ปกติ รอ้ ยละของพน้ื ทเ่ี พาะปลูก <พนื้ ท่ีที่เกดิ จาก
ประชากรหน่งึ คน ๒๑๓.๔๓ ค่า Carbon Footprint ของพ้ืนท่ี
๓ - ๑๖
แผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
(๒) การประเมินศักยภาพการรองรบั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มทสี่ อดคล้องกบั ภมู นิ เิ วศ
จากการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการรองรับ (C) ที่กล่าวมานาไปสู่การวิเคราะห์ขดี ความสามารถใน
การรองรับตามเขตจดั การตามภูมนิ ิเวศ ดังตารางท่ี ๓ - ๔
เขตป่าไม้และเขตเกษตรกรรม มีประเด็นท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับคือ สมดุลการใช้น้า และ
การปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์
เขตพืน้ ทช่ี มุ่ นา้ และเขตปา่ ชายเลน มีประเดน็ ท่ีเกินขดี ความสามารถในการรองรับ คอื น้าเสยี
เขตทะเลและเกาะ มีประเด็นท่เี กนิ ขดี ความสามารถในการรองรบั คือ สมดุลการใช้นา้
เขตเมืองและชมุ ชน มีประเด็นทเี่ กินขีดความสามารถในการรองรับคือ มีประเด็นท่ีเกินขีดความสามารถ
ในการรองรับคอื สมดลุ การใชน้ า้ ขยะมลู ฝอย และการปลดปล่อยคารบ์ อนจากกจิ กรรมของมนษุ ย์
เขตอุตสาหกรรม มีประเด็นท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับคือ สมดุลการใช้น้า การปลดปล่อย
คาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ และประเด็นท่ีไม่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ ความสามารถในการ
เข้าถึงอาหาร การเข้าถึงน้าสะอาด ภาวการณ์ตายด้วยโรคไม่ติดต่อ และ ความสามารถในการรองรับด้าน
มลพษิ ทางอากาศ
ตารางท่ี ๓ - ๔ การวิเคราะห์ความสามารถในการรองรับ จาแนกตามเขตการจัดการตามภมู ินเิ วศ ของ
จังหวดั ฉะเชิงเทรา
ปจั จยั ความสามารถในการรองรบั เขตจดั การตามภมู นิ เิ วศ
เขตป่า เขตพ้นื ท่ี เขตปา่ เขตทะเล/ เขต เขตเมือง เขต
ไม้ ชุ่มน้า ชายเลน เกาะ เกษตรกรรม และชุมชน อตุ สาหกรรม
๑. ความสามารถในการรองรับด้านอาหาร ปกติ
๑.๑ ปรมิ าณขา้ วทีผ่ ลติ ได้ในพ้นื ที่
๑.๒ ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร ปกติ ปกติ
๒. ความสามารถในการรองรบั ด้าน เกนิ ขดี เกนิ ขีด เกินขีดรองรบั เกินขดี เกินขดี รองรบั
ทรัพยากรนา้ รองรับ รองรับ รองรับ
๒.๑ สมดุลการใชน้ ้า
๒.๒ การเขา้ ถึงน้าสะอาด ปกติ ปกติ
๓. ความสามารถในการรองรบั ด้าน ปกติ ปกติ
สขุ ภาพ
- ภาวะการตายดว้ ยโรคไมต่ ิดตอ่
๔. ความสามารถในการรองรับดา้ น ปกติ ปกติ
มลภาวะ
๔.๑ มลพษิ ทางอากาศ AQI
๔.๒ ขยะมลู ฝอย เกินขีด
รองรบั
๔.๓ นา้ เสยี เกินขีด
รองรับ
๕. ความสามารถในการรองรบั ด้านการ เกินขดี เกนิ ขดี รองรับ เกนิ ขดี เกินขีดรองรบั
เปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ รองรบั รองรบั
- การปลดปล่อยคารบ์ อนจากกจิ กรรม
ของมนษุ ย์
๓ - ๑๗
แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ปจั จยั ความสามารถในการรองรับ เขตจดั การตามภมู นิ เิ วศ
เขตป่า เขตพนื้ ที่ เขตป่า เขตทะเล/ เขต เขตเมือง เขต
ไม้ ช่มุ นา้ ชายเลน เกาะ เกษตรกรรม และชมุ ชน อุตสาหกรรม
๖. ความสามารถในการรองรับดา้ นความ ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ
หลากหลายทางชวี ภาพของระบบนิเวศ
(BDV)
๗. ความสามารถในการรองรบั ด้าน ปกติ
คุณภาพน้าทะเล
๗.๑ ภาวะความเปน็ กรดในทะเลเฉลย่ี (pH)
๗.๒ ภาวะความสกปรกของน้าทะเล ปกติ
๘. ความสามารถในการรองรับด้านการใช้ ปกติ ปกติ
ท่ีดนิ
- ความเพยี งพอของพ้ืนทเ่ี พอ่ื การ
ดารงชีวิตต่อประชากรหน่งึ คน
(๓) การวเิ คราะหแ์ รงกดดนั และศักยภาพการรองรับทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีสอดคล้อง
กับภูมนิ เิ วศ
จากการวิเคราะห์แรงกดดันภายนอก ได้แก่ สถานการณ์ความท้าทายของโลก นโยบายและ ทิศทางการ
พัฒนาประเทศ และการวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบของแรงกดดันภายใน ได้แก่ โครงการพัฒนา
อุตสาหกรรมและโครงสร้างพ้ืนฐาน แนวโน้มประชากร แนวโน้มการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การวิเคราะห์
สถานการณ์และแนวโน้มทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวมถึง
ผลการประเมินศักยภาพในการรองรับถูกนามาสรุปผลการประเมินตามภูมินิเวศ และวิเคราะห์ผลกระทบท่ี
ได้รับ โดยการศึกษาได้จัดประเภทภูมินิเวศตามแนวทางการกาหนดของสานักงานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ซงึ่ ได้แบ่งเป็น ๗ ประเภท ประกอบดว้ ย เขตจดั การตามภูมินิเวศเขตป่าไม้
เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตพ้ืนที่ชุ่มน้า เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าชายเลน เขตจัดการตามภูมินิเวศเขต
ทะเลและเกาะ เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเกษตรกรรม เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเมืองและชุมชน และเขต
จัดการตามภูมินเิ วศเขตอตุ สาหกรรม
จากตารางท่ี ๕ – ๓ แรงกดดันตามเขตจัดการตามภูมินิเวศ และตารางท่ี ๕ - ๕ แสดงความสามารถใน
การรองรับจาแนกตามเขตการจัดการตามภูมินิเวศ ของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สามารถสรุปผล
การประเมินแรงกดดัน (P) กับ ความสามารถในการรองรับ (C) แยกตามเขตจัดการตามภูมินิเวศของจังหวัด
ฉะเชิงเทรา โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้
เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าไม้ ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราได้รับแรงกดดันกายนอกด้านการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีอุณหภูมิสูงข้ึนส่งผลต่อประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอน นอกจากนี้การ
เกิดข้ึนของโครงการพัฒนา รวมถึงการเกิดขึ้นของโรงงานอุตสาหกรรมประเภท ๑๐๕ และ ๑๐๖ มีผลต่อการ
สูญเสียและการปนเปื้อนกับพ้ืนท่ีป่าเนื่องจากมีความต้องการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน และมีการ
สัมปทานเหมืองแร่และหิน มีการรุกล้าพื้นที่เพื่อขุดบ่อดิน/ทราย ลูกรังและระเบิดหิน ส่งผลให้เขตจัดการตาม
ภูมินิเวศเขตป่าไม้มีแรงกดดันสูง (Pressure: P สูง) สาหรับประเด็นขีดความสามารถในการรองรับพบว่ามี
๓ - ๑๘
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ประเด็นด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และทรัพยากรน้าที่เกินขีดความสามารถในการรองรับของเขต
ป่าไม้แล้ว ซึ่งมีผลกระทบต่อความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพและโอกาสในการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม
และป่าสมบูรณ์น้อยลง อย่างไรก็ตามเม่อื พิจารณาร่วมกับสถานการณ์ปา่ ไมใ้ นจงั หวัด พบวา่ จังหวัดฉะเชงิ เทรา
ยังคงมีพื้นที่ปาไม้สูงสุดเม่ือเปรียบเทียบกับอีกสองจังหวัด จึงทาให้ขีดความสามารถในการรองรับอยู่ในระดับ
ปานกลาง (Carrying Capacity: C ปานกลาง)
เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตพ้ืนที่ชุ่มน้า ในพื้นท่ีจังหวัดฉะเชิงเทราได้รับผลจากโครงการพัฒนาต่าง
ๆ ที่เกิดข้ึนในพื้นท่ีส่งผลให้มีจานวนประชากรเพ่ิมสูงขึ้น ประกอบกับสถานการณ์น้าผิวดินที่เสื่อมโทรมใน
แม่น้าบางปะกง คลองท่าลาด คลองนครเน่ืองเขต เป็นต้น ซึ่งมีความเช่ือมโยงกับคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งท่ี
เสื่อมโทรม ซ่ึงสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการทาประมงชายฝั่งของประชาชนที่มีวิถีชีวิตกับสายน้า นอกจากนี้ยังมี
ประเด็นปัญหาการเพ่ิมขึ้นของอุณหภูมิ นับเป็นแรงกดดันที่สูง (P สูง) อย่างไรก็ตามขีดความสามารถในการ
รองรับของเขตจัดการภูมินิเวศลุ่มน้ายังอยู่ในระดับท่ีรองรับได้ (C สูง) อย่างไรก็ตามความต้องการการใช้พื้นที่
เพื่อพัฒนาและจานวนประชากรท่ีเพิ่มสูงขึ้น รวมถึงนโยบายท่ีให้อานาจหน่วยงานดาเนินการจัดทาแผนพัฒนา
โครงการต่าง ๆ อาจส่งผลตอ่ พน้ื ท่ีชุ่มนา้ ได้ และยงั สง่ ผลต่อวถิ ีชวี ิตชุมชนในพ้นื ท่ี
เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าชายเลน สถานการณ์การลดลงของป่าชายเลนในจังหวัดฉะเชิงเทราท่ี
ลดลงเน่ืองจากการกัดเซาะชายฝั่งท่ีรุนแรง รวมถึงการบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลนเพ่ือพัฒนาพื้นที่ไปสู่ความเป็น
เมือง (P สูง) อยา่ งไรกต็ ามในพนื้ ทไี่ ดม้ ีการลดการกัดเซาะชายฝง่ั จากการทาเขือ่ นหินท้ิง ที่ช่วยทาใหป้ า่ ชายเลน
ฟ้ืนตัวได้ภายในเวลา ๒ - ๓ ปี เช่น ป่าชายเลน ตาบลสองคลอง ทาให้ศักยภาพในการรองรับสูง (C สูง)
อย่างไรก็ตามการดูแลรักษาป่าชายเลนควรมีความต่อเนื่องและควรขยายผลไปยังพ้ืนที่ชายฝั่งอ่ืน ๆ ท้ังนี้
เน่ืองจากป่าชายเลนช่วยสร้างความสมบูรณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพ การมีถิ่นที่อยู่ของสัตว์วัยอ่อน
และนเิ วศวฒั นธรรม
เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตทะเลและเกาะ จังหวัดฉะเชิงเทราได้รับแรงกดดันจากการพัฒนาพื้นท่ี
จากที่รุกล้าพื้นท่ีทะเลมีผลต่อปัญหาการกัดเซาะชายฝ่ัง ประกอบกับ ประชากรและนักท่องเที่ยวที่ปล่อยของ
เสยี รวมถึงการใชท้ รัพยากรทางทะเลอย่างไมร่ อบคอบ รวมถงึ สถานการณ์นา้ ทะเลชายฝงั่ และทรัพยากรชายฝ่ัง
ท่เี ริ่มเสือ่ มโทรมบ้างและชายฝ่ังท่ถี ูกกัดเซาะแตไ่ ดร้ ับการแก้ไขบ้างแล้ว และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ี
เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ท่มี ีการปล่อยกา๊ ซ GHGs เพิม่ ขึ้น ส่งผลใหเ้ ขตทะเลและเกาะมแี รงกดดัน (P สูง) ซ่ึง
เกินขีดความสามารถในการรองรับด้านคุณภาพน้า ประกอบกับปริมาณพ้ืนท่ีสีเขียวสาธารณะท่ีน้อยส่ง
ผลกระทบต่อโอกาสในการเปล่ียนสมดุลของวัฏจกั รน้าของทะเลและความเส่ือมโทรมของน้าทะเลหากขาดการ
บริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นความสามารถในการรองรับเขตทะเลและเกาะอยู่ในระดับปานกลาง
(C ปานกลาง)
เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเกษตรกรรม จังหวัดฉะเชิงเทรามีพื้นท่ีเกษตรกรรมสูง ทาให้มีความ
ต้องการใช้น้าเพื่อเกษตรกรรมสูง ประกอบกับสภาพภูมิอากาศท่ีมีการเปลี่ยนแปลงก็อาจส่งผลต่อการขาด
แคลนน้าและประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอนลดลง นับว่าเป็นแรงกดดันที่มีต่อเขตเกษตรกรรมสูง (P สูง)
ความสามารถในการรองรบั ด้านทรัพยากรน้า ท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับ แต่สาหรับประเด็นด้านอ่ืน
๓ - ๑๙
แผนสิง่ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ๆ ยังอยู่ในความสามารถในการรองรับ (C ปานกลาง) การขาดแคลนน้าในภาคเกษตรกรรมอาจนาไปสู่
ผลกระทบทางด้านความอ่อนไหวของพ้ืนที่เกษตรกรรมที่จะเปลี่ยนมือไปสู่พ้ืนท่ีพัฒนาอ่ืน ๆ ประเด็นน้ี
นอกจากจะกระทบเชงิ พ้นื ทีแ่ ล้ว ยงั ส่งผลตอ่ นิเวศวัฒนธรรมทางเกษตรทจ่ี ะมคี วามเปราะบางสูงขนึ้
เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเมืองและชุมชน พื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรามีระดับความเป็นเมืองต่าสุดเม่ือ
เปรียบเทียบกับอีกสองจังหวัด อย่างไรก็ตามการเจริญเติบโตที่สูงข้ึนส่งผลต่อความไม่เป็นระเบียบของการใช้
ประโยชน์ท่ีดินที่ปะปนกัน เช่น การมีโรงงานรับซื้อของเก่า (มีสารพิษปนเปื้อน) ในชุมชนเมือง การต้ังโรงงาน
อุตสาหกรรมประเภท ๑๐๕ และ ๑๐๖ รวมถึงพ้ืนที่สีเขียวสาธารณะในเมืองมีจานวนน้อย คุณภาพน้าผิวดิน
เส่ือมโทรมในหลายจุด คุณภาพน้าใต้ดินท่ีพบสารปนเปื้อน ดังน้ันจึงหลีกเล่ียงไม่ได้ว่าแรงกดดันในพ้ืนท่ีเขต
เมืองและชมุ ชนจะสงู มาก (P สงู ) ซึ่งส่งผลต่อศักยภาพในการรองรบั ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ
ทรัพยากรน้า ท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับ อย่างไรก็ตามเมืองยังสามารถเข้าถึงอาหารที่สามารถผลิต
เพยี งพอในพื้นท่ีของตนเอง และสามารถเข้าถึงน้าสะอาดไดอ้ ยู่ ดังน้นั ความสามารถในการรองรบั จึงอยู่ในระดับ
คอ่ นข้างสูง (C ค่อนขา้ งสงู )
เขตจดั การตามภมู นิ ิเวศเขตอุตสาหกรรม จังหวดั ฉะเชิงเทราเปน็ พืน้ ท่เี ป้าหมายการพัฒนาของประเทศ
โครงการพัฒนาต่าง ๆ โดยเฉพาะโครงการเมืองอัจฉริยะ ที่จะดึงดูดท้ังโครงสร้างพื้นฐานและแรงงานเข้ามาใน
พื้นที่ท่ี ซ่ึงสถานการณ์ส่ิงแวดล้อมในพื้นที่มีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง เช่น ปริมาณกากของเสียและของเสีย
อันตรายจานวนมากขึ้น ในขณะท่ีปริมาณพ้ืนท่ีสีเขียวที่น้อย นับเป็นเขตที่มีแรงกดดันสูง (P สูง) และเม่ือ
พิจารณาศักยภาพในการรองรับพบว่าการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเกินขีดความสามารถในการรองรับ ซึ่ง
เกิดจากการปล่อยของเสียของโรงงานอุตสาหกรรมส่งผลให้มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงเนื่องจาก
กระบวนการผลิตท่ีเข้มข้นมากข้ึนส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่งควรได้รับการจัดการที่มีประสิทธิภาพและในเชิง
บรู ณาการ ดงั น้นั เขตอตุ สาหกรรมจงึ มีความสามารถในการรองรับในระดบั ค่อนข้างตา่ (C คอ่ นขา้ งตา่ )
ตารางที่ ๓ - ๕ สรุปผลการประเมนิ แรงกดดัน (P) กบั ความสามารถในการรองรบั (C) แยกตามเขต
จัดการตามภูมินเิ วศของจังหวัดฉะเชิงเทรา
พน้ื ท่ี เขตจดั การตามภมู ินเิ วศ
เขตป่าไม้ เขตพื้นท่ีชมุ่ เขตป่าชาย เขตทะเล/ เขตเกษตรกรรม เขตเมืองและ เขต
นา้ เลน เกาะ ชมุ ชน อุตสาหกรรม
ฉะเชิงเทรา P สงู P สูง P สงู P สงู P สูง P สูง P สงู
C ปานกลาง C สงู C สงู C ปานกลาง C ปานกลาง C ค่อนข้างสูง C ค่อนข้างต่า
จากผลการประเมินแรงกดดันและความสามารถในการรองรับของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันอ อก
จาแนกตามเขตจัดการตามภูมินิเวศ สามารถสรุปผลและเสนอแนวทางแก้ไข (ประยุกต์จาก Boa, 2020) ได้
เป็น ๓ กรณี คอื
๑) กรณี P สูง C ต่า ประกอบด้วย เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าไม้ เขตเกษตรกรรม และเขต
อุตสาหกรรม ควรมีแนวทางในการแก้ไข คือ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การ
ลดระดับการพึ่งพาทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในการพัฒนาเศรษฐกิจ การให้ความสาคัญกับการใช้ประโยชน์
๓ - ๒๐
แผนสิง่ แวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมเหตุสมผลและปอ้ งกันสิ่งแวดล้อม และการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพการใช้ทรัพยากร
และการบริหารจดั การสิ่งแวดลอ้ ม
๒) กรณี P สูง C ปานกลาง ประกอบด้วย เขตจัดการภูมินิเวศเขตทะเลและเกาะ และเขตเมืองและ
ชุมชน ควรมีแนวทางแก้ไขและฟ้ืนฟู คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร การปรับปรุงระดับ
ความสามารถการบรหิ ารจัดการส่งิ แวดล้อม และการส่งเสริมการพฒั นาเศรษฐกจิ ชุมชน
๓) กรณี P สูง C สูง ประกอบด้วย เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตพ้ืนท่ีชุ่มน้า และเขตป่าชายเลน ควรมี
แนวทางการป้องกัน คือ การรักษาระดับสถานการณ์ความสามารถในการรองรับไว้ทั้งหมด และการปรับปรุง
การใช้ประโยชน์และการบริหารจดั การทรพั ยากรและสิง่ แวดล้อม
๕.๔ การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ในส่วนนี้ได้รวบรวมสถานการณ์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของหน่วยงาน
องค์กร ภาคส่วนต่าง ๆ แยกตามประเด็นแรงกดดัน สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และ
ความสามารถในการรองรับ ดังตารางที่ ๓ - ๖ ซึ่งรายละเอียดต่าง ๆ ถูกนาไปแยกแยะและจัดกลุ่มเป็น
แผนงานภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ และกลยทุ ธ์ที่จะนาไปส่กู ารบรรลุเป้าหมายของแผนต่อไป
ตารางท่ี ๓ - ๖ การบรหิ ารจดั การ (Governance) ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมตามประเด็นแรง
กดดนั และความสามารถในการรองรับ
การบริหารจัดการ การบรหิ ารจดั การในปัจจุบนั
๑. ความมัน่ คงทางอาหาร - ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ท่ี ๕ ดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิตท่ี
เป็นมิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม ใน (๕) เนน้ การ พฒั นาความม่นั คงทางนา้ พลังงาน และเกษตรที่
เปน็ มิตรตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม
- แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ ยทุ ธศาสตร์ ที่ ๔ ใน (๔) เนน้ การ
สง่ เสริมการผลติ และการบริโภคทเี่ ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม
๒.สขุ ภาพ แผน Big Rock แผนขบั เคล่ือนกจิ กรรมปฏิรปู ทสี่ ่งผลใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงต่อประชาชน
- ภาวะการตายดว้ ยโรคไม่ อย่างมนี ัยสาคญั (Big Rock ดา้ นสาธารณสขุ ) เชน่ กจิ กรรม BR0702 เรอ่ื งการปฏริ ปู เพอื่
ติดต่อ (NCDs) เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ของการเสรมิ สรา้ งสขุ ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ การ
ป้องกนั และดูแลรกั ษาโรคไมต่ ิดตอ่ สาหรับประชาชนและผปู้ ่วย
กาหนดเปา้ หมายย่อยที่ ๕ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายระดับมหภาคและแนวทางเฉพาะดา้ น
ในการปอ้ งกันและลดอันตรายจากอาหาร และสารเคมี ทกี่ อ่ ให้เกดิ โรคไมต่ ดิ ตอ่
๓. การเปลี่ยนแปลงสภาพ แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๙๓ (สผ.)
ภมู อิ ากาศ ประเทศไทยต้ังเปา้ หมายในการลดก๊าซเรอื นกระจกในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ รอ้ ยละ ๒๐-๒๕ จาก
--การปลดปลอ่ ยคาร์บอน กรณีดาเนินการตามปกติ
เริ่มดาเนนิ การ NDC ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
- คุณภาพอากาศ บรรลเุ ป้าหมาย NDC ลดก๊าซเรอื นกระจกไดม้ ากกวา่ ๑๑๑ MtCO2eq
- ติดต้ังสถานตี รวจวัดคณุ ภาพอากาศบริเวณพน้ื ทอี่ ุตสาหกรรม
- ผู้ประกอบการเพ่ิมความถ่ใี นการตรวจสอบ VOCs จาก ๑ ครงั้ /ปี เป็น >= ๒ คร้ัง/ปี
- สง่ เสรมิ การลงทุนโครงการทไ่ี มก่ อ่ ให้เกดิ มลพิษ
๓ - ๒๑
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบรหิ ารจดั การ การบริหารจดั การในปัจจบุ นั
- เผยแพร่ประชาสมั พนั ธค์ วามรูข้ องสารอนิ ทรียร์ ะเหยงา่ ย (VOCs) แก่ประชาชน
ขยะมลู ฝอยและนา้ เสีย - การวางแผนพัฒนาพน้ื ท่ี ใหค้ วามสาคญั กบั การเศรษฐกจิ สงู สุด
- แผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ มี
๔. นโยบาย/โครงการพฒั นา
ความสามารถในการรองรับ โครงการสนบั สนุนด้านการจัดการขยะและนา้ เสยี
ดา้ นการใชท้ ี่ดิน - องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นมีแผนการดาเนนิ งานดา้ นการจดั การขยะและนา้ เสยี ในพน้ื ที่
๕.ประชากรและเศรษฐกจิ - ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ที่ ๕ ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ทเี่ ป็น
มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ใน (๑) สร้างการเตบิ โตอยา่ งยั่งยนื บนสงั คมเศรษฐกิจสีเขยี ว
๖. สถานการณ์ - มผี งั เมอื งรวมกาหนดการใช้ประโยชน์ทดี่ ิน
ทรพั ยากรธรรมชาติและ - มีแผนการจดั การส่ิงแวดล้อม ของพืน้ ท่ี EEC
ส่งิ แวดลอ้ ม -แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ ยทุ ธศาสตร์ ท่ี ๔ ใน (๔) เน้นการ
ส่งเสรมิ การผลติ และการบรโิ ภคทีเ่ ป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม
- การควบคุมการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ ตามการประกาศใชผ้ ังเมืองในพ้ืนท่ที ุกจังหวัด
- การเร่งรัดพัฒนาโครงการต่าง ๆ ในพนื้ ที่
แผนระดับที่ ๒ คือ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ ๑๘ การเติบโตอยา่ งยัง่ ยืน
โดยมีวตั ถุประสงค์ ดังน้ี
- เพ่อื การอนุรักษ์ คุ้มครอง ฟน้ื ฟู และสรา้ งฐานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มอย่าง
ย่ังยืน
- สง่ เสรมิ ความหลากหลายทางชวี ภาพใหม้ ีระบบนิเวศที่สมดลุ
- สนบั สนุนการเพ่มิ พ้ืนที่สีเขียวท้ังในเขตเมอื งและชุมชน
- ส่งเสรมิ การลงทนุ และเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมการผลติ และการบรโิ ภคไปส่คู วามยง่ั ยืน โดย
ใหค้ วามสาคญั กับฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ออากาศ
การบรหิ ารจัดการมลพษิ ทงั้ ระบบ และการพัฒนาและดาเนินการโครงการท่ยี กระดับ
กระบวนทศั น์เพือ่ กาหนดอนาคตประเทศใหพ้ ัฒนาดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
และวัฒนธรรมอย่างมีคณุ ภาพตามแนวทางการเติบโตอยา่ งย่ังยนื ท่เี ป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม
โดยมเี ป้าหมายระดบั ประเด็น คือ สภาพแวดล้อมของประเทศมีคณุ ภาพดขี ้นึ อย่างยัง่ ยืน
แผนระดบั ที่ ๒ คือ
แผนขบั เคลอ่ื นกิจกรรมปฏริ ูปท่ีส่งผลให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงตอ่ ประชาชนอย่างมนี ยั สาคัญ
(Big Rock ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม) ได้แก่
- กจิ กรรม BR601 เพมิ่ และพฒั นาพนื้ ท่ปี า่ ไม้ให้ได้ตามเป้าหมาย
- กจิ กรรม BR602 การบรหิ ารจดั การเขตทางทะเลและชายฝ่งั รายจงั หวัด
- กจิ กรรม BR602 การบรหิ ารจดั การนา้ เพอื่ สรา้ งเศรษฐกิจชุมชนในพ้ืนทีน่ อกเขต
ชลประทาน
- กิจกรรม BR602 ปฏิรูประบบบรหิ ารจดั การคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มในเขตควบคุมมลพิษให้ได้
ตามมาตรฐาน เป้าหมายยอ่ ยคือ ยกเลิกเขตควบคุมมลพิษมาบตาพุด นโยบายและแผนการ
สง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
แผนจัดการคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
ยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารจดั การทรัพยากรนา้ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๙
๓ - ๒๒
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบรหิ ารจดั การ การบริหารจัดการในปัจจุบนั
๗. คุณภาพนา้ ผิวดนิ นา้ ทะเล - ใชก้ ารตดิ ตามตรวจสอบสถานการณน์ า้ เสียทง้ั การเก็บตวั อย่าง การต้ังสถานเี ก็บขอ้ มูลแบบ
ชายฝงั่ นา้ บาดาล เรียลไทม์
- จัดต้ังศูนยค์ วบคมุ มลพษิ เพ่ือเฝา้ ระวงั คณุ ภาพนา้ ต่าง ๆ ทัง้ นา้ ผวิ ดนิ นา้ ทะเล น้าใตด้ ิน
๘. การจดั การขยะมูลฝอย - ก่อสร้างและพัฒนาระบบบาบดั นา้ เสียชมุ ชน
ขยะทะเล มลู ฝอยตดิ เชื้อ - กาหนดประเภทกิจการทถ่ี ูกควบคมุ การระบายน้าลงสูแ่ หลง่ นา้ สาธารณะ
และกากของเสยี อันตราย - เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ความรู้ ความเข้าใจแกป่ ระชาชน
๑๑. แหลง่ ธรรมชาติและ - องค์การปกครองส่วนท้องถน่ิ มีโครงการปรบั ปรุงและขยายระบบบาบดั นา้ เสียชุมชน
ศลิ ปกรรม - สานักงานประมงจงั หวัด ฟนื้ ฟแู ละจัดระเบียบพื้นท่ีเพาะเลี้ยงสัตวน์ า้ บริเวณชายฝ่ัง
๑๒. ทรัพยากรน้า - มีการรวมกลุ่มของเครอื ขา่ ยในการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น กลุ่มเพอื่ นตะวนั ออก กล่มุ วน
เกษตรยั่งยนื
๑๓. ความหลากหลายทาง - การเฝ้าระวัง การสร้างเครือข่ายในประเดน็ กากของเสียอันตราย
ชวี ภาพ (BDV) - รณรงคป์ ลกู จติ สานกึ การคดั แยกขยะและนากลบั มาใช้ใหม่
- งดการจ่ายถุงพลาสตกิ ในร้านสะดวกซื้อ
๑๔. ทรพั ยากรทางทะเลและ - จัดทาฐานขอ้ มูลข้นึ ทะเบยี นใหค้ รอบคลมุ ทุกพน้ื ที่
ชายฝัง่ เชน่ ปา่ ชายเลน หญ้า - สง่ เสริมให้ทกุ ภาคส่วนให้ความสาคญั กับส่ิงแวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรม
- จดั งบประมาณบารงุ รกั ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
- สร้างจิตสานึกใหแ้ ก่เยาวชน ประชาชนทว่ั ไปรว่ มกนั บารุงรกั ษา
- การผนั น้าจากพื้นท่โี ดยรอบเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาความขาดแคลน
- มีการทางานของคณะกรรมการลมุ่ น้า คณะกรรมการลมุ่ นา้ บางปะกง
- การตดิ ตามสถานการณน์ า้ การคาดการณ์ภาวะนา้ ทว่ ม น้าแล้ง การคาดการณภ์ าวะน้า
หลากดนิ ถลม่ และการรายงานผลในเวบ็ ไซต์ แอปพลเิ คชน่ั มือถือ ของหนว่ ยงานดา้ น
ทรพั ยากรนา้ เช่น สทนช. กรมชลประทาน กรมทรัพยากรนา้ กรมทรัพยากรนา้ บาดาล
- การจัดทาแผนปฏบิ ัตกิ ารบรรเทาภยั นา้ ทว่ มนา้ แล้ง
- การพฒั นา/ฟ้นื ฟู แหล่งนา้ การขุดลอก โดยคานึงถึงระบบนเิ วศ
ทงั้ น้ี การบริหารจดั การนา้ ใหค้ วามสาคญั กับ การอุปโภคบรโิ ภค รกั ษาระบบนิเวศ
การเกษตร และอุตสาหกรรม
- แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น ๑๘ การเตบิ โตอยา่ งยงั่ ยนื มวี ัตถุประสงค์
สง่ เสรมิ ความหลากหลายทางชีวภาพใหม้ รี ะบบนิเวศท่สี มดุลและสนบั สนุนการเพมิ่ พนื้ ท่สี ี
เขยี วทงั้ ในเขตเมอื งและชมุ ชน
- โครงการปลกู ปา่ อย่างตอ่ เนือ่ ง
- ขยายและเชอ่ื มโยงเครอื ข่ายองคก์ รดา้ นการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
- ส่งเสริมและสนับสนุนการมสี ่วนรว่ มของประชาชน
- การบังคับใช้กฎหมายอยา่ งเครง่ ครัดทั้งทางสังคมและทางกฎหมายในการป้องกัน
ปราบปรามการทาลายทรัพยากรทางทะเล
- รณรงค์ สร้างจติ สานกึ ให้กับผ้ปู ระกอบการประมงนกั ทอ่ งเทีย่ ว และชมุ ชนชายฝง่ั
- รณรงค์ สร้างจติ สานกึ ให้กับผ้ปู ระกอบการประมงนักทอ่ งเทยี่ ว และชุมชนชายฝั่ง
- บงั คับใช้มาตรการทั้งทางสงั คมและทางกฎหมายในการปอ้ งกันปราบปรามการทาลาย
๓ - ๒๓
แผนส่งิ แวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การบริหารจดั การ การบริหารจดั การในปัจจบุ นั
ทะเล และปะการัง ทรพั ยากรทางทะเล
๑๕. การกดั เซาะพืน้ ที่ชายฝั่ง - ภาครัฐและเอกชน มสี ่วนรว่ มในการสรา้ งเขือ่ นป้องกนั ทรายและคลน่ื และกองหินป้องกนั
ทะเลและป่าชายเลน คลื่น
- กิจกรรมสง่ เสริมการอนุรักษท์ รัพยากรทางทะเลและชายฝั่งและกิจกรรมปลูกปา่ ชายเลน
๑๖. ทรพั ยากรดนิ และการใช้ - รณรงค์ลดการใชส้ ารเคมี
ประโยชน์ทด่ี นิ - เผยแพรค่ วามรู้แกเ่ กษตรกรดา้ นเกษตรอินทรีย์
- บังคบั ใชก้ ฎหมายกบั ผลู้ ะเมดิ
๑๗. การบริหารจดั การดา้ น ให้ความสาคญั กับบทบาทของหนว่ ยงาน องคก์ รรฐั ซึง่ มหี ลากหลายหน่วยงานองคก์ ร ทีม่ ี
กลไก บทบาทหนา้ ท่ี แผนงาน งบประมาณเฉพาะความรับผิดชอบ ตามขอบเขตพืน้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ
๑๘. ข้อมลู และการสื่อสาร - การใช้เทคโนโลยี มรี ะบบ IoT ตดิ ตามคณุ ภาพสิง่ แวดล้อม
- การรายงานสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มตามภารกจิ ประจาของ
๑๙. ความร่วมมือกับชมุ ชน หนว่ ยงาน
โดยรวม / ผูป้ ระกอบการ / - การจดั ต้งั องค์กรความรว่ มมอื เชน่ สภาองคก์ รชมุ ชน คณะกรรมลมุ่ น้าบางปะกง
ท้องถ่นิ
๒๐. กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ในพื้นที่อีอซี ีมีกฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกับการจัดการทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อม
๒๑. การเงิน กองทุน มกี องทุนสง่ิ แวดลอ้ ม เช่น กองทุนส่ิงแวดล้อมรอบโรงไฟฟ้า
๒๒. องคค์ วามรู้ - การสร้างฐานการศกึ ษาบนฐานชมุ ชน
- ให้มศี ูนย์จดั การและประสานงานสงิ่ แวดลอ้ ม
๒๓. ระบบการเฝา้ ระวงั และ - มปี ราชญ์ชุมชนและภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ ทหี่ ลากหลาย
ตดิ ตาม - การเปรยี บเทยี บมาตรฐาน
- มกี ลุม่ ภาคประชานทเี่ ฝา้ ระวงั นา้ ซือ้ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งมือในการเกบ็ ตวั อยา่ งคณุ ภาพนา้ เพอ่ื
เฝา้ ระวัง
๖. การวิเคราะห์ SWOT & TOWS และ SOAR Analysis
ข้อมูลท่ีได้จากการวิเคราะห์และรวบรวมในข้ันตอนของการวิเคราะห์ Pressure-Carrying Capacity-
Government: PCG เป็นข้อมูลท่ีบ่งชี้ถึงพันธกิจของแผน และเป็นข้อมูลพ้ืนฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์จุดแข็ง
จุดอ่อน อากาศ และภัยคุกคาม ในพื้นท่ี เพื่อนาไปสู่การกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้าประสงค์ รวมถึง
เป้าหมายและตวั ช้วี ดั ของแผนตอ่ ไป ซ่งึ ผลการวิเคราะห์ SWOT ของจงั หวดั ฉะเชิงเทรามดี ังนี้
จดุ แขง็ (Strengths)
๑. มีทาเลที่ต้ังใกล้กับ กรุงเทพฯ ปริมณฑล และ พื้นท่ีเศรษฐกิจใหม่ เช่น เส้นทาง Southern
Economic Corridor และ East West Economic Corridor เป็นต้น รวมท้ังตั้งอยู่ใกล้กับสนามบินสุวรรณ
ภมู ิและท่าเรือแหลมฉบงั
๓ - ๒๔
แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๒. มีทรัพยากรน้าและป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายของระบบนิเวศ ได้แก่ ระบบนิเวศน้าจืด
นา้ กร่อย และน้าเค็ม ซึงมีความหลากหลายทางชีวภาพ และเป็นพื้นท่ีชมุ่ นา้ ท่สี าคัญ เช่น แม่น้าบางปะกง เขต
รกั ษาพันธส์ุ ตั วป์ า่ เขาอ่างฤาไน เป็นต้น
๓. มีภาคประชาสังคมที่เข้มแข็ง เป็นต้นทุนทางสังคมที่ช่วยทาให้การพัฒนาจังหวัดในด้านต่าง ๆ มี
โอกาสประสบผลสาเรจ็ สูง
๔. มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และประเพณี ที่เอื้อต่อการพัฒนาการท่องเท่ียวเชิง
วฒั นธรรม
๕. มีศาสนสถานสาคัญวัดหลวงพ่อโสธร ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในระดับประเทศ และเป็น
แหล่งท่องเทยี่ ววฒั นธรรมทีม่ ศี กั ยภาพ
๖. มีความเข้มแข็งทางด้านเกษตรกรรมปลอดภัยสูง เป็นแหล่งผลิตอาหารที่มีศักยภาพในการเลี้ยง
ประชากรในประเทศและส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ เช่น มะม่วง ไข่ไก่ ข้าว ปลากะพง สุกร ที่มีช่ือเสียง
ของประเทศ เป็นตน้
๗. มีศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ซึ่งเป็นศูนยเ์ รียนรู้ทางด้านเศรษฐกิจ
พอเพียงและการเกษตรท่ีมีศักยภาพสูง และมีบริษัทห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จากัด ท่ีตรวจสอบ
มาตรฐานผลผลิตเกษตร
๘. มีความเข้มแข็งทางด้านอุตสาหกรรม โดยมีโรงงานอุตสาหกรรม และนิคมอุตสาหกรรมท่ีมีศักยภาพ
เป็นจานวนมาก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า รถยนต์และส่วนประกอบ แปรรูป
อาหาร และเกษตรแปรรูป
๙. มีระบบการให้บริการสาธารณสุขทมี่ ีมาตรฐาน โดยมีโรงพยาบาลที่มีศักยภาพโดดเด่นหลายแห่งเช่น
โรงพยาบาลพนมสารคาม เป็นโรงพยาบาลนาร่องด้านการส่งเสริมด้านโภชนาการสาหรับผู้ป่วยด้วยเกษตร
ปลอดภัยสูงเบอร์ ๘ และมีโรงพยาบาลคุณภาพ HA (Hospital Accreditation) จานวน ๑๐ แห่งดีเด่นระดับ
เขตและภาค เป็นต้น รวมทั้ง มีการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปลอดภัยดีเด่นระดับเขตและ
ประเทศ
๑๐. ด้านการศึกษามีสถานศึกษาครอบคลุมทุกวัย โดยมีโรงเรียนนวัตกรรมผู้สูงอายุต้นแบบ
ระดับประเทศ
จดุ อ่อน (weakness)
๑. ความเสื่อมโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น คุณภาพน้าผิวดินในระดับเส่ือมโทรม
คลองนครเนื่องเขต คลองท่าไข่ และควรเฝ้าระวังแม่น้าบางปะกง ปัญหาการรุกล้าของน้าเค็ม ปริมาณขยะมูล
ฝอยท่ีตกค้างมากกว่ารอ้ ยละ ๘๐ จากการเพิ่มขึ้นการอปุ โภคบริโภค ปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณน้าเสีย
และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีแนวโน้มสูงขึ้น การบุกรุกพ้ืนที่ป่าไม้ พื้นที่เกษตรกรรมลดลง และที่ดิน
สาธารณะและการกัดเซาะชายฝัง่ และความต้องการใช้นา้ มีมากกวา่ น้าต้นทุนในพื้นท่ี
๓ - ๒๕
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๒. การพัฒนาสินค้าเกษตรจากสินค้าข้ันปฐมโดยการต่อยอดเข้าสู่การแปรรูปการเพิ่มมูลค่า หรือเข้าสู่
อุตสาหกรรมเกษตร หรือการนาไปสู่การแปรรูปเพ่ือใช้บริโภคภายในพ้ืนที่ยังไม่ได้รับการส่งเสริมที่มี
ประสทิ ธิภาพ
๓. ระบบโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคไม่เพยี งพอตอ่ การรองรบั ความเจรญิ เตบิ โตของจงั หวัด ทั้ง
ทางคมนาคม ประปา และระบบชลประทาน
๔. ประชาชนมปี ัญหาทางดา้ นสุขภาพค่อนขา้ งมาก โดยมีอตั ราเพ่ิมการเจ็บปว่ ยดว้ ย เบาหวาน ความดัน
โลหติ สงู มะเร็ง โรคหวั ใจ และหลอดเลอื ดสมอง เฉลี่ยสงู กว่าคา่ เฉลย่ี ของประเทศ (ขอ้ มลู ปี พ.ศ. ๒๕๖๐)
โอกาส (Opportunities)
๑. แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนพัฒนาฯ ๑๒ (ในระยะ ๕ ปี) และนโยบายของรัฐบาลท่ีส่งเสริม
การบูรณาการให้เกิดการลดความเหลือ่ มลา้ ทางสงั คม และการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยท์ กุ ชว่ งวยั
๒. รัฐบาลมีนโยบาย และแผนงานในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน รองรับการพัฒนา พิเศษภาค
ตะวันออก และระบบคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงบนเส้นทาง Southern Economic Corridor และ East West
Economic Corridor โดยมีโครงการขนาดใหญ่ของประเทศมาดาเนินการหรือผ่าน พ้ืนที่จังหวัดฉะเชิงเทรา
อาทิ โครงการรถไฟความเร็วสูง โครงการรถไฟรางคู่ เป็นต้น นอกจากนั้น การพฒั นาพื้นท่ี EEC มีนโยบายการ
พัฒนาให้จงั หวัดฉะเชิงเทราเป็นเมืองนา่ อยูใ่ นรปู แบบ Smart City ทส่ี ามารถจดั การดา้ นส่งิ แวดล้อมและสังคม
อย่างเป็นระบบ ประกอบกับ ร่างประกาศพ้ืนท่ีคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่ปากแม่น้าบางปะกง จะช่วย
สนบั สนนุ ให้มกี ารอนุรกั ษ์และฟื้นฟรู ะบบนิเวศทมี่ ีความหลากหลายทางชวี ภาพ
๓. มีการดาเนินการเสนอแม่น้าบางปะกงขึ้นทะเบียนเป็นพื้นท่ีชุ่มน้าที่มีความสาคัญระหว่างประเทศ
(Ramsar Site)
๔. โครงการสูบผันน้าจากอ่างเก็บน้าคลองระบมไปยงั อ่างเก็บน้าคลองสียัด และโครงการเพ่มิ ความจอุ ่าง
เก็บนา้ คลองสยี ดั (คาดวา่ แลว้ เสรจ็ ปงี บประมาณ ๒๕๖๔)
๕. กระแสการดูแลรักษาสุขภาพในปัจจุบัน และการพัฒนาระบบประกันสุขภาพทาให้ประชาชนใส่ใจ
และเลอื กสรรที่จะอปุ โภคบรโิ ภคสนิ คา้ บริการทปี่ ลอดภัย และออกกาลังกายมากขน้ึ
๖. รัฐมีนโยบายเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ผู้พิการ และเด็กปฐมวัย (๐ - ๕ ปี) เพื่อส่งเสริม
คุณภาพชีวิตและการมีงานทาหรือกิจกรรมทเี่ หมาะสมเพือ่ สรา้ งสรรค์ และไม่ก่อภาระตอ่ สังคมในอนาคต
๗. นโยบายรัฐบาลกาหนดให้จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นพ้นื ที่ต้นแบบอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ (Eco Industry)
ซ่ึงเอือ้ ใหเ้ กิดการขยายผลการพฒั นาภาคอุตสาหกรรมท่เี ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อมมากข้นึ
๘. กระแสการดูแลรักษาสุขภาพในปัจจุบัน และการพัฒนาระบบประกันสุขภาพทาให้ประชาชนใส่ใจ
และเลือกสรรท่ีจะอุปโภคบริโภคสนิ ค้าบรกิ ารทปี่ ลอดภยั และออกกาลงั กายมากข้นึ
ภยั คุกคาม (Threats)
๑. ผลกระทบปัญหาน้าเสียจากพื้นท่ีต้นน้า ไหลลงสู่แม่น้าบางปะกงส่งผลกระทบต่อพื้นท่ีจังหวัด
ฉะเชิงเทราซึ่งเปน็ พ้นื ท่ีปลายนา้
๓ - ๒๖
แผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๒. การเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมท่ีมุ่งเน้นการยกระดับเศรษฐกิจเป็นสาคัญเพ่ิมความ
เสยี่ งต่อการเกดิ ปัญหาการจราจรตดิ ขดั อุบัตเิ หตุ ยาเสพติด และปัญหาสงั คมต่าง ๆ มากข้ึน
๓. การเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ และการเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซียน กอ่ ใหเ้ กิดการเคลอ่ื นย้ายแรงงานจาก
จังหวัดอื่น ๆ และต่างประเทศเข้ามาในพื้นท่ี ซ่ึงส่งผลกระทบต่อระบบการให้บ ริการสาธารณ ะ
ทางการศึกษาและสาธารณสุข รวมท้งั ทาใหก้ ารควบคุมหรือป้องกนั ปญั หาทีเ่ กิดจากแรงงานตา่ งดา้ วทาไดย้ าก
๔. ความไม่แน่นอนของตลาดสินค้าทางการเกษตรทาให้เกษตรกรต้องเผชิญกับปัญหาราคาสินค้า
ทางการเกษตรตกต่าอย่างต่อเนอ่ื ง
การวเิ คราะห์ TOWS Analysis
จากข้อมลู จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภยั คกุ คาม นามาส่กู ารวิเคราะห์วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยุทธเ์ พ่อื การ
บริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ได้ผลสรปุ ใน ๔ ดา้ น คอื
๑) กลยุทธ์เชิงรุก ควร ส่งเสริมความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตให้
เปน็ แหล่งอาหารปลอดภัยและการท่องเที่ยวเชงิ นิเวศและวฒั นธรรม
๒) กลยุทธ์เชิงแก้ไข ควร รวบรวมและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการใช้ประโยชน์จากความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ร่วมกบั การเพม่ิ มูลค่าผลผลติ ทางการเกษตรดว้ ยเศรษฐกิจชวี ภาพ
๓) กลยุทธ์เชิงป้องกัน ควร พัฒนาฐานข้อมูลคุณค่าและมูลค่าของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่
หลากหลายของจังหวัดร่วมกับการรณรงค์สร้างความตระหนักให้ประชาชนเห็นคุณค่าและอยู่
รว่ มกบั ทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งเก้ือกูลกนั
๔) กลยทุ ธ์เชิงรบั ควร อนรุ ักษแ์ ละฟนื้ ฟูป่าต้นน้าและแมน่ ้าในลุ่มน้าบางปะกง
การวิเคราะห์ SOAR Analysis
ภายใตจ้ ดุ แข็ง และโอกาส นามาส่กู ารวิเคราะห์เป้าหมายและผลลัพธ์ทค่ี าดหวงั ได้ดงั นี้
๑) แหล่งทรัพยากรธรรมชาติได้รับการดูแลและพัฒนาด้านการท่องเทียวเชิงนิเวศ ผลลัพธ์ท่ีคาดหวัง
ปา่ ตน้ นา้ อดุ มสมบรู ณ์และแมน่ า้ บางปะกงมีคุณภาพน้าในระดับดี
การพัฒนาอุตสาหกรรมท่ีเกื้อกูลต่อสุขภาพและส่ิงแวดล้อม ผลลัพธ์ท่ีคาดหวัง คือ ภูมิทัศน์สวยงาม
อากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ชุมชนดั่งเดิมสามารถดาเนินชีวิตร่วมกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและ
เทคโนโลยที ่ีรวดเรว็ ได้อยา่ งมคี วามสขุ ผลลัพธ์ที่คาดหวังคือ ชุมชนท้องถ่ินเป็นแหล่งเปา้ หมายของนักท่องเทย่ี ว
เชงิ สขุ ภาพและวัฒนธรรม
๗. ทศิ ทางและนโยบายการพัฒนาของจังหวดั ฉะเชิงเทรา
พ้ืนท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นเป้าหมายเชิงพ้ืนที่ในแผนภาพรวมการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) ท่ีได้จัดทาขึ้นตามมาตรา ๒๙ ของพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่กาหนดให้สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
(สานักงาน) จัดทาแผนภาพรวมฯ และเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก
(คณะกรรมการนโยบาย) และได้กาหนดเป้าหมายการพัฒนาเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับการพัฒนาประเทศ
๓ - ๒๗
แผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ระดับการพัฒนาพื้นที่ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และระดับการพัฒนาพื้นที่ ๓ จังหวัด (ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี และ ระยอง) โดยมี ตวั ชี้วดั ของการพฒั นา ดงั น้ี
เป้าหมายระดับประเทศ
(๑) เป็นพื้นที่แรกที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นระบบ มีกฎหมาย องค์กรดาเนินการ และ
มีภารกจิ ชัดเจน เป็นตวั อย่างของการพัฒนาพืน้ ท่ีอ่ืน ๆ ในอนาคต
(๒) รายไดป้ ระชาชาติขยายตัวไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ ๕ ตอ่ ปี
(๓) สะสมและนาเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ในการสร้างรายได้และสร้างความสะดวกให้กับคนไทย ทุก
คนทุกระดับ
เป้าหมายระดับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง) การยกระดับการ
ลงทุนในทุกดา้ นไม่ตา่ กว่า ๑.๕ ล้านล้านบาท ใน ๕ ปีแรก เพื่อให้เกิดฐานเทคโนโลยีใหม่ของประเทศ และเกิด
การพฒั นาคน ความรูแ้ ละเทคโนโลยี ให้กา้ วทันโลกอนาคต
เป้าหมายระดับจงั หวัด
เป้าหมายจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นเมืองน่าอยู่ และศูนย์กลางโลจิสติกส์ (logistics hub) เชื่อมโยง
ภาคตะวันออกกับประเทศเพ่อื นบ้าน เชน่ กมั พชู า ลาว และจนี ภายใน ๑๐ ปี
เพื่อตอบเป้าหมายดังกล่าวจึงมีโครงการต่าง ๆ ท่ีถูกพัฒนาข้ึนในจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยในปี พ.ศ.
๒๕๖๑ ได้มีการประกาศเขตส่งเสริมนิคมอุตสาหกรรมเป้าหมายอีก ๑๙ แห่ง ทั้งน้ีอยู่ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ๑
แห่ง นอกจากนี้ยังได้มีการประกาศเขตส่งเสริมรูปแบบอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษเฉพาะด้าน ประกอบด้วย
กลุ่มอตุ สาหกรรมยานยนต์อนาคต ตั้งอยู่ตาบลลาดขวาง อาเภอบ้านโพธ์ิ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา และกลุ่มพาณิชย์
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ตง้ั อย่ตู าบลบางสมคั ร อาเภอบางปะกง จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
ในขณะท่ี ทิศทางการพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา ตามแผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. ๒๕๖๑ -
๒๕๖๕) ฉบับทบทวน ๒๕๖๕ ได้วางเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดให้เป็น “เมืองอุตสาหกรรมสีเขียว ท่องเท่ียว
เชิงวัฒนธรรม แหล่งผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย สังคมมีคุณภาพ ป่าและน้าอุดมสมบูรณ์” และได้กาหนด
ประเดน็ การพัฒนาของจังหวัดเป็น ๕ ประเดน็ ประกอบด้วย
๑) การพัฒนาศักยภาพการผลิตการบริหารจัดการภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ให้มีขีด
ความสามารถในการแข่งขันและเป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
๒) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและบริการด้านการท่องเท่ียวให้ได้มาตรฐานและมีอัตลักษณ์
สามารถสร้างมลู ค่าเพิ่มใหแ้ กช่ ุมชน
๓) พัฒนาการผลติ และการแปรรูปสนิ คา้ เกษตร ให้เปน็ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูป
ทีม่ คี ุณภาพ ปลอดภัย และได้มาตรฐานสากล
๔) พัฒนาคุณภาพชีวิตและสวัสดิการสังคม รวมท้ังเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความสงบ
เรียบร้อยและความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ย์สินของประชาชน ใหค้ รอบคลุมประชาชนทกุ วัยอยา่ งทัว่ ถึง
๕) อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ มี
ประสทิ ธภิ าพ และเป็นธรรม ตอบสนองตอ่ การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื
๓ - ๒๘
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
จากการวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม ประกอบด้วย สภาวะความท้าทายของโลก ได้แก่ ความมั่นคงทาง
อาหาร สุขภาวะท่ีดี และการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศโลก รวมถึงสถานการณก์ ารพฒั นา จานวนประชากร
ระบบเศรษฐกิจ รวมถึงสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นแรงกดดัน
ของพื้นที่ (Pressure: P) ในขณะท่ีศักยภาพของพ้นื ท่ีมีระดับการรองรบั (Carrying Capacity: C) ในตัวช้ีวัด ๘
ประเด็น ท่ีพบว่าเกินขีดความสามารถในการรองรับไน ๔ ประเด็น คือ สมดุลน้า ขยะ น้าเสีย และการ
ปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ในขณะท่ีพ้ืนที่มีแรงกดดันสูงและระดบั ความสามารถในการรองรับของพ้ืนที่ได้
เกนิ ขีดความสามารถในการรองรับในบางประเด็นดังทไ่ี ด้กล่าวในตอนต้น ซ่งึ จังหวัดฉะเชงิ เทราและหนว่ ยงานที่
เก่ียวข้องได้มีความพยายามในการแก้ไขปัญหาด้วยการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(Governance: G) และมีการกาหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่เพื่อเกิดคุณภาพชีวิตและสภาพแวดล้อมท่ีดีของ
ประชาชนในพื้นท่ี ข้อมูลทั้งหมดเหล่าน้ีนาไปสู่การวิเคราะห์ SWOT/TOWS และ SOAR ท่ีใช้ในการกาหนด
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ โดยผลการวิเคราะห์ดังกล่าวนามาสู่การ
ถ่ายทอดกิจกรรมโครงการมาสู่แผนระดับระดับจังหวัด ซึ่งจังหวัดฉะเชิงเทราเป็นส่วนหนึ่งของพ้ืนที่พัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก ท่ีต้องมีแผนการดาเนินงานเชิงปฏิบัติที่ส่งเสริมสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายของแผน
สิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนที่พฒั นาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ ต่อไป
๘. แผนสิ่งแวดลอ้ ม จังหวัดฉะเชิงเทรา (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
๘.๑ หลกั การและเหตผุ ล
แผนส่ิงแวดล้อมในระดับจังหวัด เป็นแผนเชิงปฏิบัติการท่ีมุ่งเน้นส่งเสริมโครงการ/กิจกรรมด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในระดับพื้นที่ ที่ตอบสนองต่อการบรรลุเป้าหมายของแผนสิ่งแวดล้อมใน
พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะที่ ๒ ภายใต้สถานการณ์ภาวะกดดัน ความสามารถในการรองรับของ
พื้นที่ และสถานการณท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนท่ี ท่ีส่งเสริมและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา
ทั้งในระดบั ภูมิภาคและระดับจังหวัดต่อไป
๘.๒ วสิ ัยทัศน์
“การพฒั นาทเี่ ป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม ส่งเสริมสภาพแวดล้อมและคุณภาพชวี ิตท่นี ่าอยู่
สกู่ ารท่องเท่ียวเชงิ วัฒนธรรมและเกษตรปลอดภยั ”
๘.๓ วัตถุประสงค์
๑. ส่งเสริมความหลากหลายทางชวี ภาพ วัฒนธรรมและวิถีชวี ติ ให้เป็นแหลง่ อาหารปลอดภยั
และการท่องเที่ยวเชิงนเิ วศและวัฒนธรรม
๒. พัฒนาฐานขอ้ มูลและองค์ความรดู้ ้านการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดลอ้ ม
๓. สง่ เสริมการบริหารจัดการภาคการผลิต บริการและพาณิชยกรรมทีเ่ ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม
๘.๔ เป้าประสงค์
๑. สิง่ แวดลอ้ มได้รบั การบาบัดและจัดการให้มคี ุณภาพตามมาตรฐาน
๓ - ๒๙