The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ 2) พ.ศ. 2565 - 2570

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-21 05:22:35

แผนสิ่งแวดล้อมฯ ระยะที่ 2 พ.ศ. 2565 - 2570

แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ 2) พ.ศ. 2565 - 2570

Keywords: แผนสิ่งแวดล้อม,พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๒. ทรัพยากรธรรมชาติในพืน้ ที่ได้รบั การอนรุ ักษ์ ฟื้นฟู และมกี ารใช้ประโยชน์อยา่ งมัน่ คง
สมดุลและเปน็ ธรรม

๓. ประชาชนในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก ไดร้ ับการส่งเสรมิ นวตั กรรมและ
ความสามารถในการพงึ่ ตนเองในการบรรเทาผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศและอบุ ัติภยั

๔. ระบบและกลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มมีการขบั เคลื่อน
ด้วยกระบวนการมีสว่ นรว่ มอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ทงั้ น้ี จังหวัดฉะเชิงเทรามโี ครงการเฉพาะประเดน็ และพื้นท่ีเพิม่ เติมจากแผนภาพรวม จึงมี
เป้าประสงค์ของแผนสงิ่ แวดลอ้ มระดบั จงั หวัดท่สี นับสนุนเป้าประสงคใ์ นแผนภาพรวม ดังนี้

๑. การท่องเทยี่ วเชิงนิเวศและวัฒนธรรมไดร้ ับการส่งเสริมท่ีมีความหลากหลายและเป็นมิตรกบั
สงิ่ แวดล้อม

๒. แหล่งทรัพยากรธรรมชาติได้รับการอนรุ ักษ์ ฟ้นื ฟู พฒั นาสู่เศรษฐกจิ ชวี ภาพ
๘.๕ ยุทธศาสตรแ์ ผนส่ิงแวดล้อม จังหวัดฉะเชิงเทรา (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
ในการดาเนินกิจกรรมโครงการแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะที่ ๒ มุ่งเน้น
การบริหารจัดการในภาพรวม ซ่ึงโครงการ/กิจกรรมในประเด็นท่ีสาคัญ ได้ดาเนินการครอบคลุมท้ัง ๓ จังหวัด
ในแผนภาพรวม เช่น การจัดการทรัพยากรน้า ก๊าซเรือนกระจก การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและกลไกการมีส่วนร่วมเพื่อขับเคล่ือนแผนสู่การปฏิบัติ เป็นต้น และมี
โครงการ/กิจกรรมที่มีความสาคัญเฉพาะพ้นื ทท่ี ่ีดาเนินการ ภายใต้แผนสิ่งแวดลอ้ ม จังหวัดฉะเชิงเทรา (ระยะท่ี
๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ เพ่ือสนับสนุนการบรรลุเป้าหมาย และเปา้ ประสงค์ของแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะที่ ๒ ประกอบด้วย ๔ ยทุ ธศาสตรส์ าคญั คือ
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การจดั การส่ิงแวดล้อมเพื่อคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นสขุ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยง่ั ยืน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ การสร้างศักยภาพชมุ ชนพ่งึ ตนเองและรบั มอื ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ

อบุ ัติภยั
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ การเพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การและกลไกการมีส่วนรว่ มเพอ่ื ขับเคลอ่ื นแผนสู่

การปฏิบตั ิ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการส่ิงแวดล้อมเพ่ือคุณภาพชีวิตที่เป็นสุข มี ๔ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี ๑.๑
การจัดการน้าเสีย ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการระบบบาบัดน้าเสีย การ
พัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือลดปริมาณน้าเสีย และการนากลับมาใช้ กลยุทธ์ที่ ๑.๒ การจัดการมลพิษทางอากาศ
ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมลพิษทางอากาศ กลยุทธ์ท่ี ๑.๓ การจัดการ
ขยะและกากของเสียอุตสาหกรรม ประกอบด้วย ๑ แผนงาน ได้แก่ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะ
ชมุ ชน และกลยุทธ์ท่ี ๑.๔ การพัฒนาส่ิงแวดล้อมเมืองและชุมชนนา่ อยู่ตามภูมินิเวศ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน
คอื การสร้างความสวยงามและความร่มรื่นของเมืองและชมุ ชน โดยมี ๖ ตัวชี้วัดท่ีสาคญั ได้แก่ (๑) คณุ ภาพน้า

๓ - ๓๐

แผนสิง่ แวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ผิวดินโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับพอใช้ (ระดับ ๓) (๒) มีระบบบาบัดน้าเสียเพิ่มข้ึน (๓) มีการดาเนินการในการลด
สาร VOCs.ในเขตนิคมอุตสาหกรรมอย่างต่อเน่ือง (๔) มีการดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยทีถ่ ูกหลักวิชาการไม่
น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ (๕) สัดส่วนการนาของเสียกลับไปใช้ใหม่ ร้อยละ ๓๐ ของปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนรวม
(๖) เพ่มิ พน้ื ทสี่ เี ขียวเมืองใหไ้ ด้ตามเกณฑ์มาตรฐานเบือ้ งต้น (๑๐ ตร.ม./คน)

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน มี ๔ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี ๒.๑ การใช้
ประโยชน์ที่ดินท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การพัฒนาเครื่องมือเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการใชท้ ่ีดินที่เป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อมแนวทางปฏิบัติ กลยุทธ์ที่ ๒.๓ การจัดการความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ประกอบดว้ ย ๑ แผนงาน คือ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจัดการความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยมี
๒ ตัวช้ีวัดที่สาคัญ ได้แก่ (๑) การส่งเสริมการใช้ประโยชน์ท่ีดินเพ่ือการเกษตรย่ังยืน (๒) การส่งเสริมความ
หลากหลายทางชีวภาพ ในพ้นื ท่ีป่าไม้ พื้นท่ีชุ่มน้า ให้มีความสามารถให้บริการนิเวศต่อสงั คมได้อย่างเหมาะสม
โดยมี ๔ ตัวช้ีวดั ได้แก่ (๑) พื้นท่เี กษตรย่งั ยืนเพมิ่ ขึ้น (ป่ากนิ ได้:-ระบบวนเกษตร) (๒) มมี าตรการปอ้ งกัน ดูแล
รักษา และฟ้ืนฟูในระบบนิเวศ ป่าบก พื้นท่ีชุ่มน้า (๓) มีการรวบรวมข้อมูลอัตลักษณ์ของพื้นท่ี (๔) มีแหล่ง
ทอ่ งเทีย่ วเชงิ นิเวศและวฒั นธรรม

ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การสร้างศักยภาพชุมชนพึ่งตนเองและรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และอุบัติภัย มี ๒ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ประกอบด้วย ๓ แผนงาน ได้แก่ การเพ่ิมพื้นท่ีแหล่งดูดซับและกักเก็บก๊าซเรือนกระจก การผลักดันมาตรการ
ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการปรับตัวต่อการรองรับ
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ กลยุทธ์ที่ ๓.๓ การจัดการภัยพิบัติ อุบัติภัย โรคระบาด และสภาวะสุดข้ัว
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการอุบัติภัย
และภัยพิบัติ โดยมี ๑ ตัวช้ีวัด คือ ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (เทียบเท่า) ในพื้นที่ลดลง ตาม
เป้าหมายท่กี าหนดใน แผนท่ีนาทางการลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๓

ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการและกลไกการมีส่วนร่วมเพ่ือขับเคล่ือน
แผนสู่การปฏิบัติ มี ๓ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี ๔.๑ การพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการและกลไกการมี
สว่ นร่วม ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การทบทวนและปรับปรุงกฎ ระเบียบ กฎหมาย และแผนที่เอ้ือต่อ
การบริหารจัดการ และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมท่ีเป็นธรรม กลยุทธ์ที่ ๔.๒ การขับเคล่ือนแผนสู่การ
ดาเนินงาน ประกอบด้วย ๒ แผนงาน คือ เพ่ิมประสิทธิภาพการขับเคล่ือนแผน และส่งเสริมสนับสนุนการนา
แผนไปสู่การปฏิบัติ โดยมีตัวช้ีวัดท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) มีองค์กรบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ง
แวดล้อมอย่างยั่งยืน (๒) จานวนกิจกรรมด้านส่ิงแวดล้อมที่ได้รับการขับเคลื่อนโดยภาคีเครือข่าย (๓) มี
กิจกรรมสนับสนุนภาคีเครือข่ายองค์กรให้มีศักยภาพในการเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในระดับที่ ๔ (ความ
รว่ มมือ) มีจานวน และมีสัดสว่ นมากขึ้น (๕) มีเวที หรือช่องทางการส่ือสารแลกเปล่ียนข้อมูลและความคิดเห็น
ร่วมกันทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง (๖) มีแนวทางการส่งเสริมปัจจัยความสาเร็จอันนาไปสู่การนาแผนไปสู่การ
ปฏิบตั ิ (๗) มีการรายงานผลการทบทวนแผนการพฒั นาในพน้ื ที่อย่างต่อเนื่อง

๓ - ๓๑

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาค

๘.๖ เปา้ ประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน เป้าหมาย และตัวชีว้ ัด

ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน

๑. การจดั การสงิ่ แวดล้อมเพอ่ื ๑.๑ การจดั การน้า ๑.๑.๑ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการระบบ

คุณภาพชีวติ ทเ่ี ป็นสุข เสีย บาบัดน้าเสีย

๑.๑.๒ การพัฒนาเทคโนโลยเี พ่อื ลด

ปริมาณน้าเสยี และการนากลับมาใช้

๑.๒ การจดั การ ๑.๒.๑ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการจดั การมลพิษ
มลพิษทางอากาศ ทางอากาศ

๑.๓ การจดั การขยะ ๑.๓.๑ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการจัดการขยะ
และกากของเสยี ชมุ ชน
อุตสาหกรรม

๑.๔ การพัฒนา ๑.๔.๑ สร้างความสวยงามและความรม่ รื่น
สิ่งแวดลอ้ มเมอื งและ ของเมืองและชมุ ชน

๓-

คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

หน่วยงานรับผิดชอบ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ัด
หน่วยงานหลกั : อปท. / อบจ. / - แมน่ ้าบางประกง คลองนคร -คณุ ภาพนา้ ผวิ ดินโดยเฉลีย่ อยู่
สผ. / อจน. เนอื่ งเขต คลองทา่ ไข่ คลอง ในระดบั พอใช้ (ระดับ ๓) A
พานทอง และคลองทา่ ลาด มี -มีระบบบาบัดน้าเสยี เพ่ิมข้ึน
หนว่ ยงานสนับสนุน: คพ. / อจน. คุณภาพน้าที่ดขี นึ้
/ สสภ.๑๓ / DEPA / กรอ. / -มีการดาเนนิ การในการลดสาร
อปท. / อก. /สถาบนั การศกึ ษา คุณภาพอากาศอย่ใู นระดับ VOCs.ในเขตนคิ มอุตสาหกรรม
หน่วยงานหลกั : กนอ. / กรอ. มาตรฐาน อย่างต่อเนอื่ ง
/ อปท.

หนว่ ยงานสนับสนุน: อบจ. /
สอ.ฉช./อก.จ./สสภ.๑๓ / คพ.
/ ทสจ.

หน่วยงานหลกั : ทม. การจัดการขยะมลู ฝอยท่ไี ดร้ บั -มีการดาเนินการจดั การขยะมลู
ฉะเชิงเทรา / อบจ. / อปท. / การจัดการไม่ถูกหลักวชิ าการ ฝอยท่ีถกู หลักวชิ าการไมน่ อ้ ย
สถาบนั การศึกษา ลดลง กวา่ รอ้ ยละ ๕๐ K
- สดั ส่วนการนาของเสยี กลับไป
หน่วยงานสนับสนนุ : สถ / ใชใ้ หม่ ร้อยละ ๓๐ ของปรมิ าณ
สสภ. ๑๓ / ทสจ. / สกสว. / ขยะมูลฝอยชุมชนรวม A
วช. / วว. (แหล่งทุน)

หน่วยงานหลัก: อบจ. / อปท. การเพ่ิมพื้นทส่ี เี ขียวและ - เพิม่ พน้ื ที่สเี ขียวเมืองใหไ้ ด้
/ สถาบันการศึกษาหน่วยงาน คานึงถึงภูมิทัศน์ที่สวยงาม ตามเกณฑ์มาตรฐานเบอ้ื งตน้

๓๒

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาค

ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน
ชมุ ชนนา่ อยตู่ ามภูมิ
๒. การจัดการ นิเวศ ๒.๑.๑ พัฒนาเครอื่ งมือเพ่อื เพิ่มประสิทธภิ าพ
ทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างย่งั ยืน การใช้ทดี่ ินท่เี ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
๒.๑ การใช้ประโยชน์
ทด่ี นิ ทเี่ ป็นมิตรกับ
สิ่งแวดลอ้ ม

๒.๓ การจดั การ ๒.๓.๑ เพม่ิ ประสิทธิภาพการจัดการความ
ความหลากหลาย หลากหลายทางชวี ภาพ
ทางชีวภาพ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ การสรา้ ง ๓.๒ การบรรเทา ๓.๒.๑ เพมิ่ พน้ื ท่ีแหลง่ ดูดซับและกกั เก็บกา๊ ซ
ศกั ยภาพชมุ ชนพ่งึ ตนเองและ ผลกระทบจากการ เรอื นกระจก
รับมือตอ่ การเปลยี่ นแปลง เปล่ยี นแปลงสภาพ ๓.๒.๒ ผลกั ดันมาตรการในการลดการปล่อย
สภาพภมู ิอากาศและอบุ ัตภิ ัย ภมู ิอากาศ กา๊ ซเรอื นกระจก
๓.๒.๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทกุ ภาค
ส่วนในการปรบั ตวั ตอ่ การรองรับการ

๓-

คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

หนว่ ยงานรับผิดชอบ เปา้ หมาย ตวั ชวี้ ัด
สนับสนุน: สกพอ. / วช. (๑๐ ตร.ม./คน) A

หน่วยงานหลกั : สศก. - การส่งเสรมิ การใช้ประโยชน์ พื้นทเี่ กษตรยง่ั ยืนเพิ่มข้ึน (ป่า
หน่วยงานสนบั สนุน: อปท. ทีด่ ินเพอ่ื การเกษตรยง่ั ยืน กินได้:-ระบบวนเกษตร)

หนว่ ยงานหลัก: ปม. / อส. / -การส่งเสริมความหลากหลาย - มมี าตรการป้องกัน ดูแล
ทน. / สทน.๖ / อปท. / ทางชีวภาพ ในพ้ืนที่ปา่ ไม้ พื้นท่ี รกั ษา และฟ้ืนฟใู นระบบนเิ วศ
เครือขา่ ยประมงพน้ื บา้ น / ชุ่มนา้ ให้มีความสามารถ ปา่ บก พน้ื ทช่ี ุ่มนา้
เครือข่ายวสิ าหกิจชุมชนททท. ใหบ้ รกิ ารนเิ วศตอ่ สงั คมไดอ้ ยา่ ง - มีการรวบรวมขอ้ มูลอตั ลกั ษณ์
/ อพท. / สผ. / เหมาะสม ของพน้ื ท่ี
สถาบันการศกึ ษาหน่วยงาน - มีแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วเชิงนิเวศและ
สนับสนุน: ชุมชน / มลู นธิ ิอสี วัฒนธรรม
ฟอรั่ม 21 / อปท. / ทสจ.ฉช. /
อปท. / อบจ. / ททท. / ทช /
วช. / หอการคา้ จงั หวัด

หนว่ ยงานหลัก: อส. /ปม./ - การปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกใน - ปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซ
ทช./ พม./อปท. /กนอ. /กรอ. พ้ืนทีล่ ดลง คาร์บอนไดออกไซด์ (เทียบเท่า)
/ อบจ. /อบก. / สส. / ในพ้ืนท่ีลดลง ตามเปา้ หมายท่ี
เครือขา่ ยประมงพื้นบ้าน กาหนดใน แผนทนี่ าทางการลด
หน่วยงานสนับสนุน: เครอื ขา่ ย กา๊ ซเรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๔-
๒๕๗๓ C

๓๓

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาค

ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน
เปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ การเพ่ิม ๔.๑ การพฒั นา ๔.๑.๒ การส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมที่เปน็ ธรรม
ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การ ศักยภาพในการ
และกลไกการมีส่วนร่วมเพือ่ บริหารจัดการและ
ขบั เคล่อื นแผนสกู่ ารปฏิบัติ กลไกการมสี ว่ นรว่ ม

๔.๒ การขับเคล่ือน ๔.๒.๑ เพ่ิมประสิทธิภาพการขับเคล่ือนแผน
แผนสกู่ ารดาเนนิ งาน

๔.๒.๒ สง่ เสรมิ สนับสนุนการนาแผนไปสู่การ

๓-

คตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

หน่วยงานรับผดิ ชอบ เปา้ หมาย ตวั ชี้วดั
เกษตรกรรมยั่งยืน / สนง. BOI/
สอ.จ/ SCG /วช. / อบก./

สพภ. /สถจ/มท. /ทสจ. / สสภ.
๑๓ /ศวทอ. / กปม.

หน่วยงานหลัก: อปท. / กลุ่ม - การเพมิ่ บทบาทหน้าที่ใน - มีองคก์ รบริหารจัดการ
อนุรกั ษ์ป่าชายเลน /เครือข่าย ระดับพ้ืนทใ่ี นการบรหิ ารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่
ประมงพน้ื บ้าน / ชมรมจติ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ แวดล้อมอยา่ งย่ังยืน
อาสา / ททท. /อพท. / สศก. / สง่ิ แวดล้อม
สทกจ. - จานวนกิจกรรมด้าน
หน่วยงานสนบั สนนุ : ทช. / อส -การสนบั สนุนให้ประชาชนและ สิง่ แวดลอ้ มท่ีได้รบั การ
ทล./ ทสจ. / ทสม. / ชมุ ชนมสี ่วนรว่ มในการบริหาร ขบั เคลอื่ นโดยภาคีเครือข่าย
พช.ฉะเชิงเทรา จัดการสิง่ แวดลอ้ มมคี วาม - มีกิจกรรมสนบั สนนุ ภาคี
หนว่ ยงานหลัก: ทสจ./ สถ.จ. ตอ่ เนอ่ื ง เครือขา่ ยองค์กรใหม้ ีศกั ยภาพ
/ ปราชญช์ าวบ้านอปท. / ในการเขา้ สกู่ ระบวนการมสี ่วน
ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาวนเกษตร รว่ มในระดับที่ ๔ (ความ
จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา / รว่ มมือ) มีจานวน และมี
โทรคมนาคมแหง่ ชาติ สัดส่วนมากข้ึน
หน่วยงานสนับสนุน: DEPA /
ทสม. / อปท. / สธ. / อย. สก
พอ.

หนว่ ยงานหลกั : ทสม. / สส. - มเี วที หรอื ช่องทางการสอื่ สาร

๓๔

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค

ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน

ปฏบิ ตั ิ

หมายเหตุ: A พัฒนาหรอื นามาจากตวั ชีว้ ัดภายใต้แผนจัดการคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๐ -
B ประยุกต์หรือนามาจากตวั ชว้ี ดั ภายใต้แผนวสิ าหกิจองค์การจดั การน้าเสีย พ.ศ. ๒๕๖
C ระดับการลดการปลดปลอ่ ยร้อยละ ๒๕ ประยกุ ตจ์ าก แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือ
D จากข้อมูลการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกใน EEC พบว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เทา่ กับ ๕๐
ต้องมพี ้นื ท่ีป่าเพมิ่ ๒ ลา้ นไร่ จากคา่ เฉล่ียพ้ืนทป่ี า่ ในความสามารถในการดูดซบั ก๊าซ
E ประยุกตห์ รือนามาจากตวั ช้วี ัดภายใต้แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับ
F ประยกุ ต์จากตัวชีว้ ัดภายใตเ้ ป้าหมายการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื (SDG targets, indicat
G ภาคผนวก การเปรียบเทียบ “แนวทางการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนา้ รองรบั การพ
ส่ิงแวดลอ้ มในพื้นท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ระยะที่ ๒
H นิเวศบริการดา้ นการดูดซับน้าของพื้นทปี่ า่ ท่ีมสี ัดส่วนการดดู ซับนา้ ฝนลงไปในส่วน
I ประยุกต์จากตัวชี้วัดภายใตค้ ูม่ อื การแนวทางการดาเนินงานภายใตภ้ ารกจิ ทไ่ี ดป้ รับป
J เทยี บเคยี งกับพนื้ ทป่ี ่าชายเลนในพืน้ ที่ ๓ จงั หวัด (ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ระยอง) ในปี พ
K เทยี บเคยี งกบั ข้อมูลการกาจัดขยะของประเทศรายได้สงู ถงึ รายไดต้ า่ ใน Wilson, e

๓-

คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด
หน่วยงานสนับสนุน: สผ. / ทุกภาคส่วนเข้าใจ เข้าถึง แลกเปล่ียนขอ้ มูลและความ
ทสจ. / สสภ.๑๓ เปา้ หมายแผนการบริหาร คดิ เห็นร่วมกันทกุ ภาคสว่ น
จัดการทรพั ยากรธรรมชาติและ อยา่ งต่อเนือ่ ง
สิ่งแวดล้อมที่ยง่ั ยืนเพ่ือ - มแี นวทางการส่งเสริมปัจจยั
ขับเคล่ือนรว่ มกนั ความสาเรจ็ อันนาไปสกู่ ารนา
แผนไปสู่การปฏบิ ัติ

๒๕๖๔
๖๐ - ๒๕๖๔ (ทบทวนครั้งท่ี ๑)
อนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๗๓
๐.๗๓ MtCO2eq (อบก.) ซ่ึงหากต้องการพ้นื ทแี่ หลง่ ดดู ซับกา๊ ซเรอื นกระจกลง รอ้ ยละ ๒๕ เท่ากบั
ซเรือนกระจก ๖.๓๓ ตนั /ไร่ (พงษ์ศักดิ์ วทิ วสั ชุตกิ ลุ , ๒๕๖๔)
บท่ี ๑๒
tors)
พฒั นาเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก”โดย สานกั งานทรพั ยากรน้าแหง่ ชาติ (๒๕๖๒) และแผน

นลึกของชนั้ ดนิ แลว้ แปรสภาพเปน็ น้าใตด้ นิ รอ้ ยละ ๒๕ (SCG, ม.ม.ป.)
ปรงุ ของกรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่
พ.ศ. ๒๕๕๖ ซ่ึงมพี ้นื ท่ี ๒๘,๕๕๘ ไร่
et al. (2013)

๓๕

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๘.๗ แนวทางปฏิบัติ

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ การจัดการสงิ่ แวดล้อมเพ่ือคุณภาพชีวติ ที่เป็นสุข

กลยทุ ธ์ ๑.๑ การจดั การนา้ เสีย

แผนงาน ๑.๑.๑ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการจัดการระบบบาบัดนา้ เสยี

แผนงาน ๑.๑.๒ การพฒั นาเทคโนโลยีเพอื่ ลดปริมาณนา้ เสีย และการนากลับมาใช้

เปา้ หมาย ๑. แม่น้าบางประกง คลองนครเน่ืองเขต คลองท่าไข่ คลองพานทอง และคลองทา่ ลาด

มีคุณภาพน้าทด่ี ีขึ้น

ตัวชี้วดั : - คณุ ภาพนา้ ผวิ ดนิ โดยเฉล่ยี อยู่ในระดับพอใช้ (ระดบั ๓)

- มีระบบบาบดั นา้ เสยี เพิม่ ข้ึน

แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หน่วยงานรับผิดชอบ

๑.๑.๑ การเพ่ิมประสทิ ธิภาพ ๑.๑.๑.๑ สง่ เสรมิ การจดั ทาและดาเนินงานตามแผนแม่บทการ หน่วยงานหลกั : สผ./

การจัดการระบบบาบัดน้าเสีย จัดการคณุ ภาพนา้ เชงิ ลุ่มน้าระดบั จังหวดั โดยใชเ้ ทคโนโลยีท่ี อปท. /อจน. / คพ./
เหมาะสม เช่น การพัฒนาปรับปรงุ คุณภาพนา้ แม่น้าบางประ DEPA / สสภ.๑๓
กง คลองนครเน่ืองเขต คลองท่าไข่ คลองพานทอง และคลอง หนว่ ยงานสนับสนนุ :
ท่าลาด รวม ๓๐ อปท. (การศกึ ษาความเปน็ ไปได้ (FS) ของ

โครงการ) เปน็ ตน้ รวมถึงการพัฒนาระบบบาบดั นา้ เสยี ใหม้ ี

ประสทิ ธภิ าพในการจดั การ

๑.๑.๒ การพฒั นาเทคโนโลยี ๑.๑.๒.๑ ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมและเป็น หนว่ ยงานหลกั : อปท.

เพ่อื ลดปรมิ าณน้าเสีย และการ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม โดยการเฝา้ ระวังการปนเปื้อนของแหลง่ นา้ หนว่ ยงานสนบั สนนุ :

นากลบั มาใช้ ลมุ่ นา้ (อา่ งเกบ็ นา้ หนอง บงึ ) ด้วยเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม จาก กรอ. / อปท. / อก. /
ความเป็นกรดสูงและการปนเปอื้ นโลหะหนัก ในลมุ่ นา้ แมโ่ จน สถาบนั การศึกษา
อาเภอพนมสารคาม เป็นต้น

กลยุทธท์ ่ี ๑.๒ การจดั การมลพษิ ทางอากาศ

แผนงาน ๑.๒.๑ การเพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการมลพิษทางอากาศ

เปา้ หมาย ๑. คุณภาพอากาศอยใู่ นระดบั มาตรฐาน

ตัวช้ีวดั - มีการดาเนนิ การในการลดสาร VOCs เขตควบคุมมลพิษอย่างต่อเนอื่ ง

แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

แผนงานที่ ๑.๒.๑ การเพิม่ ๑.๒.๑.๓ สง่ เสรมิ การสร้างความรว่ มมอื โรงงานดาเนินการตาม หน่วยงานหลกั : กนอ. /

ประสิทธภิ าพการจดั การมลพษิ มาตรการ Code of Practice – CoP เพื่อการจดั การ VOCs กรอ. / อปท.

ทางอากาศ ตามแนวทางของกรมโรงงานอตุ สาหกรรม และยกยอ่ งสถาน หน่วยงานสนบั สนนุ :

ประกอบการและอตุ สาหกรรม ตน้ แบบในการรกั ษาคณุ ภาพ อบจ. / สอ.ฉช. / อก.จ./

อากาศอยา่ งต่อเน่อื ง สสภ.๑๓ / คพ. / ทสจ.

๓ - ๓๖

แผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

กลยุทธ์ที่ ๑.๓ การจดั การขยะและกากของเสยี อุตสาหกรรม

แผนงานที่ ๑.๓.๑ การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการจัดการขยะชุมชน

เป้าหมาย: ๑. การจดั การขยะมูลฝอยท่ีได้รบั การจดั การไมถ่ ูกหลักวชิ าการลดลง

ตัวชีว้ ัด: - มีการดาเนนิ การจดั การขยะมลู ฝอยท่ีถูกหลักวิชาการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

- สัดสว่ นการนาของเสียกลับไปใชใ้ หม่ ร้อยละ ๓๐ ของปรมิ าณขยะมลู ฝอยชมุ ชนรวม

แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หน่วยงานรับผิดชอบ

๑.๓.๑ การเพิ่มประสิทธภิ าพ ๑.๓.๑.๑ ดาเนินการกาจดั ขยะแบบครบวงจร เชน่ การ หน่วยงานหลัก: ทม.

การจดั การขยะชมุ ชน กอ่ สร้างศนู ย์กาจดั ขยะมลู ฝอยแบบผสมผสานจังหวดั ฉะเชงิ เทรา ฉะเชิงเทรา

หนว่ ยงานสนบั สนนุ :สถ /

สสภ. ๑๓ / ทสจ.

๑.๓.๑.๒ สง่ เสริมการจัดการขยะตน้ ทางและการสร้างเครอื ขา่ ย หน่วยงานหลัก: อบจ. /
อปท. / สถาบันการศกึ ษา
เช่น ส่งเสรมิ นวัตกรรมสร้างมูลค่าเพ่ิมจากของเสยี ภาคเกษตร หนว่ ยงานสนบั สนนุ :
ชุมชน ในลักษณะของวิสาหกจิ ชุมชน (BCG Economy) และ ทสจ./ สสภ.๑๓ / สกสว. /
ภาคอตุ สาหกรรม เช่น การแปรสภาพเปลือกหอยนางรมเป็นวัสดุ วช. / วว. (แหล่งทุน)
ข้ึนรปู ซีเมนต์ โดยนารอ่ งในพื้นทแี่ ม่น้าบางปะกง

กลยุทธ์ที่ ๑.๔ การพัฒนาส่ิงแวดล้อมเมอื งและชมุ ชนนา่ อยู่ตามภูมนิ เิ วศ

แผนงานท่ี ๑.๔.๑ สรา้ งความสวยงามและความร่มรน่ื ของเมอื งและชุมชน

เปา้ หมาย : การเพมิ่ พน้ื ท่สี เี ขียวและคานึงถงึ ภมู ทิ ัศน์ท่สี วยงาม

ตัวชี้วัด : เพ่มิ พ้นื ท่ีสีเขียวเมอื งให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานเบื้องต้น (๑๐ ตร.ม./คน)

แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ

๑.๔.๑ สร้างความสวยงามและ ๑.๔.๑.๑ การส่งเสริมการออกแบบเชิงพนื้ ท่ี เชน่ (๑) การ หน่วยงานหลกั : อบจ. /

ความร่มรนื่ ของเมืองและชุมชน ออกแบบ จดั ทาและผลกั ดนั ผังแมบ่ ทภมู ทิ ศั นใ์ นระดบั พ้ืนที่ อปท. / สถาบันการศกึ ษา

เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออกและระดับท้องถ่นิ และ หนว่ ยงานสนบั สนนุ : สก
เผยแพรก่ ารองค์ความรู้ (๒) การศึกษาออกแบบและ พอ. / วช.
ขับเคลอ่ื นผังแมบ่ ทภมู ิทศั น์เมอื ง ชมุ ชน พืน้ ท่สี ีเขยี วยง่ั ยนื

พ้ืนทส่ี ีเขียวสาธารณะ พ้ืนท่สี ีเขยี วอรรถประโยชน์ และพ้นื ที่

สีเขียวทีเ่ ปน็ รว้ิ ยาวแบบหลากหลายประโยชนใ์ นเทศบาล

เมืองฉะเชงิ เทรา และเมืองที่ได้รบั คัดเลอื กเปน็ smart city

๓ - ๓๗

แผนส่ิงแวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ การจดั การทรัพยากรธรรมชาติอย่างยงั่ ยนื

กลยุทธ์ท่ี ๒.๑ การใช้ประโยชน์ทีด่ นิ ที่เปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม

แผนงานที่ ๒.๑.๑ การพฒั นาเคร่อื งมือเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชท้ ่ีดนิ ท่เี ป็นมติ รกับ

สิ่งแวดล้อม

เปา้ หมาย: การส่งเสริมการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินเพื่อการเกษตรยั่งยืน

ตวั ชี้วัด: พื้นที่เกษตรยั่งยนื เพ่ิมขึน้ (ป่ากินได:้ -ระบบวนเกษตร)

แผนงาน แนวทางการปฏิบัติ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ

แผนงานที่ ๒.๑.๑ การพฒั นา ๒.๑.๑.๑ สง่ เสริมเกษตรยัง่ ยืนและเพ่มิ พ้ืนที่กนั ชนสีเขยี ว หน่วยงานหลกั : สศก.

เครื่องมือเพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพ เชน่ สง่ เสรมิ พัฒนา ต่อยอด องคค์ วามรู้ เพมิ่ มลู ค่า หนว่ ยงานสนบั สนนุ :
การใชท้ ด่ี นิ ทีเ่ ปน็ มติ รกบั
ส่งิ แวดล้อม ผลผลติ ทางการเกษตรที่โดดเด่นเฉพาะถ่นิ การเกษตรเพ่ือ อปท.

สุขภาพและปรับเปล่ยี นรูปแบบการผลิตสูก่ ารเปน็ เกษตร

ยงั่ ยืน

กลยุทธ์ท่ี ๒.๓ การจดั การความหลากหลายทางชีวภาพ

แผนงานท่ี ๒.๓.๑ การเพม่ิ ประสิทธิภาพการจดั การความหลากหลายทางชีวภาพ

เป้าหมาย การส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นท่ีป่าไม้ พ้ืนที่ชุ่มน้า ให้มี

ความสามารถใหบ้ รกิ ารนเิ วศต่อสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

ตัวชีว้ ัด - มีมาตรการป้องกัน ดูแล รกั ษา และฟ้ืนฟใู นระบบนิเวศ ป่าบก พน้ื ท่ชี ุ่มน้า

- มกี ารรวบรวมขอ้ มลู อตั ลักษณ์ของพ้นื ท่ี

- มแี หล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม

แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ

๒.๓.๑ การเพ่ิมประสิทธิภาพ ๒.๓.๑.๑ สนบั สนนุ การอนรุ กั ษแ์ ละฟื้นฟคู วามหลากหลาย หน่วยงานหลกั : ปม. / อส.ทน.

การจัดการความหลากหลาย ทางชีวภาพ โดยการส่งเสริม อนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นท่ีชุ่มน้า / สทน.๖

ทางชวี ภาพ แมน่ ้าบางปะกง พื้นทค่ี วามหลากหลายทางชวี ภาพทางบก หนว่ ยงานสนบั สนนุ : ชุมชน /

และทางทะเล และการศึกษาพัฒนานิเวศป่าต้นน้ารอยต่อ มูลนิธอิ สี ฟอรมั่ 21 / อปท. /
ป่า ๕ จังหวัด ทสี่ ่งเสริมบทบาทการให้บรกิ ารนิเวศของป่า ทสจ.ฉช. / อปท. / อบจ.
ตอ่ สตั ว์ป่าและชุมชนใกล้เคยี ง

๒.๓.๑.๒ ส่งเสริมการศึกษา รวบรวมข้อมูลอัตลักษณ์ของ หนว่ ยงานหลกั : อปท. /

พ้ืนท่ีเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาการท่องเท่ียวเชิงนิเวศและ เครอื ขา่ ยประมงพื้นบ้าน /

วัฒนธรรม เขตพื้นท่เี มืองเก่า และย่านชุมชนเกา่ และปาก เครือข่ายวสิ าหกจิ ชุมชนททท.
แม่น้าบางปะกง จงั หวัดฉะเชิงเทรา
/ อพท. / สผ. /

สถาบนั การศึกษา

หนว่ ยงานสนับสนนุ : อปท. /

อบจ. / ททท. / ทช / วช. /

หอการค้าจงั หวัด

๓ - ๓๘

แผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การสร้างศักยภาพชุมชนพึ่งตนเองและรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

และอุบตั ิภัย

กลยทุ ธท์ ี่ ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ

แผนงานที่ ๓.๒.๑ การเพิ่มพนื้ ท่แี หล่งดูดซบั และกกั เก็บก๊าซเรือนกระจก

แผนงานที่ ๓.๒.๒ การผลักดนั มาตรการในการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก

แผนงานท่ี ๓.๒.๓ การสง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วนในการปรับตวั ต่อการรองรับการ

เปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ

เป้าหมาย: ๑) กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์เทยี บเทา่ ในบรรยากาศลดลง

ตวั ช้ีวัด: ปรมิ าณการปล่อยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ (เทียบเท่า) ในพืน้ ทลี่ ดลง ตามเป้าหมายท่ี

กาหนดใน แผนท่ีนาทางการลดกา๊ ซเรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๓

แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ

๓.๒.๑ การเพม่ิ พน้ื ทแ่ี หลง่ ดดู ๓.๒.๑.๑ สง่ เสรมิ การเพม่ิ ความอดุ มสมบูรณ์ของปา่ เพอื่ เพ่มิ หน่วยงานหลกั : อส. /ปม./

ซับและกกั เกบ็ กา๊ ซเรือนกระจก แหล่งดูดซับกา๊ ซเรอื นกระจก เช่น การสนับสนุนกจิ กรรมการ ทช./ พม./อปท. /กนอ. /

ขยายผลการสรา้ งความชุ่มช้นื และเพมิ่ ปริมาณนา้ ในพน้ื ทตี่ น้ กรอ.
นา้ เขตรกั ษาพนั ธส์ ตั วป์ ่าเขาอ่างฤาใน ฟน้ื ฟูปลูกเสรมิ ป่า
พ้ืนทีก่ ลางน้า (พืน้ ท่ีเอกชนเพมิ่ ไมย้ ืนตน้ ) และปลายน้าของ หน่วยงานสนบั สนนุ :
เขตรักษาพันธ์สตั วป์ ่าเขาอา่ งฤาใน เครอื ข่ายเกษตรกรรมยั่งยนื
/ สนง. BOI/ สอ.จ/ SCG /

วช. /อบก./สพภ.

๓.๒.๒ การผลกั ดนั มาตรการใน ๓.๒.๒.๑ สง่ เสรมิ การเพิ่มประสทิ ธิภาพกลไกการลดการ หนว่ ยงานหลัก: อปท. /

การลดการปลอ่ ยก๊าซเรือน ปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก เชน่ การสง่ เสรมิ อปท.จดั ทา อบจ. /อบก. / สส.
กระจก
ฐานข้อมลู และขบั เคลื่อนไปสเู่ มอื งคาร์บอนตา่ หรือการเขา้ สู่ หนว่ ยงานสนับสนนุ :

สังคม Zero Carbon สถจ/มท./ทสจ. / สสภ.๑๓

๓.๒.๓ การสง่ เสริมการมสี ว่ น ๓.๒.๓.๑ ส่งเสรมิ การรองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพ หนว่ ยงานหลกั : อปท. /

ร่วมของทุกภาคส่วนในการ ภูมอิ ากาศ เชน่ ตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศตอ่ เครอื ข่ายประมงพนื้ บ้าน
ปรบั ตัวต่อการรองรบั การ
เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ อาชพี เพาะเลยี้ งสตั ว์นา้ ชายฝัง่ หนว่ ยงานสนบั สนนุ : ศว

ทอ. / อบก. /วช. / กปม.

๓ - ๓๙

แผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ การเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การและกลไกการมสี ว่ นร่วมเพื่อขับเคล่อื นแผนสูก่ าร

ปฏบิ ัติ

กลยทุ ธ์ท่ี ๔.๑ การพฒั นาศักยภาพในการบรหิ ารจัดการและกลไกการมสี ่วนร่วม

แผนงานท่ี ๔.๑.๒ การสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มทเ่ี ป็นธรรม

เปา้ หมาย: การเพิ่มบทบาทหนา้ ท่ีในระดบั พนื้ ที่ในการบรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและ

ส่งิ แวดล้อม

ตวั ชว้ี ัด: มีองค์กรบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อมอย่างยง่ั ยนื

แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ

แผนงานท่ี ๔.๑.๒ การ ๔.๑.๒.๑ ส่งเสริมการสร้างการมสี ว่ นรว่ มและเผยแพร่ หน่วยงานหลัก: อปท. /

ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มทีเ่ ปน็ ความสาคญั ของทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมของ กลุม่ อนุรกั ษ์ป่าชายเลน /
ธรรม เครอื ข่าย เช่น ๑) กิจกรรมกลุม่ อนุรกั ษป์ ่าชายเลนและประมง เครือขา่ ยประมงพ้ืนบ้าน /
พ้นื บา้ นในการดแู ลฟื้นฟูและเฝา้ ระวงั การบุกรุกชายฝงั่ ชมรมจติ อาสา / ททท. /
ฉะเชงิ เทรา ๒) ส่งเสรมิ เครือขา่ ยเศรษฐกิจการเกษตรและการ อพท. / สศก. / สทกจ.
ทอ่ งเท่ยี วเชิงนเิ วศและวฒั นธรรม หน่วยงานสนบั สนนุ : ทช.

/ อสทล./ ทสจ. / ทสม. /

พช.ฉะเชิงเทรา

กลยทุ ธ์ที่ ๔.๒ การขบั เคลอื่ นแผนสู่การดาเนนิ งาน
แผนงานที่ ๔.๒.๑ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการขบั เคลอื่ นแผน
แผนงานที่ ๔.๒.๒ การสง่ เสริมสนบั สนนุ การนาแผนไปสู่การปฏิบตั ิ
เปา้ หมาย: ๑) การสนบั สนุนใหป้ ระชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสง่ิ แวดล้อม
มีความต่อเนอ่ื ง
๒) ทกุ ภาคส่วนเข้าใจ เข้าถงึ เป้าหมายแผนการบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมท่ียง่ั ยนื เพือ่ ขับเคลอ่ื นร่วมกัน
ตวั ช้วี ดั : - จานวนกจิ กรรมด้านสงิ่ แวดล้อมท่ีไดร้ บั การขับเคลอื่ นโดยภาคีเครือขา่ ย
- มีกจิ กรรมสนบั สนนุ ภาคเี ครือข่ายองค์กรให้มีศกั ยภาพในการเขา้ ส่กู ระบวนการมีสว่ น
รว่ มในระดับที่ ๔ (ความรว่ มมือ) มจี านวน และมีสดั สว่ นมากขน้ึ
- มเี วที หรือช่องทางการสอ่ื สารแลกเปล่ยี นข้อมลู และความคิดเหน็ ร่วมกนั ทกุ ภาคสว่ น
อย่างต่อเนื่อง
- มแี นวทางการสง่ เสริมปจั จัยความสาเรจ็ อันนาไปสู่การนาแผนไปสูก่ ารปฏิบัติ

๓ - ๔๐

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หน่วยงานรับผิดชอบ
๔.๒.๑ เพิ่มประสิทธภิ าพการ ๔.๒.๑.๑ การสร้างสอื่ และเวทีการแลกเปลย่ี น เช่น ๑) การ หนว่ ยงานหลกั : ทสจ./
ขับเคล่ือนแผน ส่งเสริมใหม้ เี วทถี ่ายทอดแลกเปลยี่ นองค์ความรู้ พัฒนา สถ.จ. / ปราชญช์ าวบา้ น /
นักวจิ ัยท้องถิน่ สนบั สนนุ เคร่อื งมอื อปุ กรณ์ในการเก็บและ อปท. / ศูนยศ์ ึกษาและ
๔.๒.๒ การส่งเสรมิ สนับสนนุ รวบรวมข้อมลู โดยภาคประชาชน (citizen science) เข้าสู่ พฒั นาวนเกษตรจังหวดั
การนาแผนไปสกู่ ารปฏิบตั ิ ระบบฐานขอ้ มลู ๒) การพัฒนาเผยแพรย่ าจากสมนุ ไพร ฉะเชงิ เทรา
พน้ื บา้ นสู่การขยายเครือข่ายป่าชมุ ชนและป่าครอบครวั หน่วยงานสนับสนนุ :
DEPA / ทสม. / อปท. /
๔.๒.๑.๒ การจดั ทาขอ้ เสนอเชงิ นโยบายและฐานข้อมลู เชน่ สธ. / อย.
การติดตง้ั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศดว้ ยระบบ 5G เพอ่ื หนว่ ยงานหลกั :
บรกิ ารชมุ ชนและสังคม จานวน ๑ จุด คอื อ.บา้ นโพธิ์ โทรคมนาคมแห่งชาติ
หน่วยงานสนับสนนุ : สก
๔.๒.๒.๑ การส่งเสริมการเรยี นร้สู สู่ ังคม เช่น ส่งเสรมิ การมี พอ. / อปท.
ส่วนรว่ ม และพัฒนาศกั ยภาพ ทสม. (อาสาสมคั รดา้ น หน่วยงานหลัก: ทสม. /
ส่งิ แวดล้อม) เช่น โครงการเฝา้ ระวงั และแจง้ เตือน สสหน่วยงานสนับสนนุ :
สผ. / ทสจ. / สสภ.๑๓

๘.๘ งบประมาณแผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ยุทธศาสตรท์ ่ี กลยุทธ์ รวม

๑ ๒ ๓๔ (ล้านบาท)

๑ ๗๖.๓๑ ๓.๐๐ ๘๙๕.๐๐ ๔.๐๐ ๙๗๘.๓๑

๒ ๒.๐๐ ๓๕.๐๐ ๓๗.๐๐

๓ ๑๗.๕๐ ๑๗.๕๐

๔ ๑๕.๐๐ ๕๑.๕๐ ๖๖.๕๐

รวม ๘๓.๓๑ ๗๒.๐๐ ๙๓๐.๐๐ ๔.๐๐ ๑๐๙๙.๓๑

แผนสิ่งแวดล้อม จงั หวดั ฉะเชิงเทรา พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ มจี านวนโครงการท้ังสิ้น ๒๑ โครงการ
ทีข่ ับเคล่ือนเพ่ือบรรลวุ ิสัยทศั นข์ องแผนฯ โดยมีงบประมาณ รวมท้งั ส้ิน ๑,๑๕๖.๘๑ ล้านบาท โดยมีโครงการ
เร่งด่วน ๓ โครงการ งบประมาณ ๔๖.๓๑ ลา้ นบาท

๓ - ๔๑

แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาค

๘.๘ โครงการเรง่ ดว่ น (Flagship Project)

แผนสิง่ แวดล้อม จ

ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ การจดั การส่ิงแวดล้อมเพ่ือคุณภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ สุข

กลยุทธท์ ี่ ๑.๑ การจัดการน้าเสยี

แผนงานที่ ๑.๑.๑ เพิ่มประสิทธภิ าพการจัดการระบบบาบัดน้าเสีย

แนวทางท่ี ๒ การเพ่มิ ประสิทธิภาพระบบบาบดั นา้ เสีย ณ แหลง่ กาเนิด

๑.*** โครงการพฒั นาระบบรวบรวมและบาบดั น้าเสียรวม ๒๙.๓๑

เทศบาลเมืองฉะเชงิ เทรา จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

๒.* โครงการจัดหาและตดิ ตง้ั เคร่อื งมือตรวจวดั คุณภาพนา้ ๑๒.๐๐

อตั โนมตั ิ เพือ่ ติดตาม ตรวจสอบ และเฝา้ ระวงั แม่น้าบาง

ประกง คลองนครเน่อื งเขต คลองท่าไข่ คลองพานทอง

และคลองท่าลาด

แผนงานท่ี ๑.๑.๒ การพัฒนาเทคโนโลยเี พื่อลดปรมิ าณนา้ เสีย และการนากลบั มาใช้

แนวทางที่ ๑ การพฒั นาเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมและเป็นมติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม

๓.* โครงการเฝ้าระวังการปนเป้ือนของแหลง่ นา้ ลมุ่ นา้ (อา่ ง ๕.๐๐

เกบ็ นา้ หนอง บึง) ด้วยเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม จากความ (ประมาณการ

เป็นกรดสงู และการปนเป้อื นโลหะหนัก ในล่มุ นา้ แม่โจน ปีละ ๑ ล้าน

อาเภอพนมสารคาม บาท)

รวมทั้งหมด ๓ โครงการ ๔๖.๓๑

๓-

คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

จังหวดั ฉะเชิงเทรา

ระยะเวลา (ปี) ผรู้ บั ผิดชอบ
หนว่ ยงานหลกั หน่วยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนุน

 สผ./อปท. คพ./ DEPA /
 อปท. /อจน. สสภ.๑๓

  อปท. กรอ. / อปท. /
อก. /

สถาบันการศึกษา

๕๔

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพัฒนาพิเศษภาค

๘.๙ โครงการภายใต้แผนสิง่ แวดลอ้ ม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การจัดการส่งิ แวดล้อมเพ่ือคณุ ภาพชวี ติ ที่เป็นสุข

ลาดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)

กลยทุ ธท์ ่ี ๑.๑ การจดั การน้าเสยี

แผนงานที่ ๑.๑.๑ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การระบบบาบดั น้าเสยี ๓ โครงการ

แนวทางท่ี ๒ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพระบบบาบดั นา้ เสยี ณ แหล่งกาเนดิ

๑.* โครงการพฒั นาปรับปรุงคณุ ภาพน้า แมน่ า้ บาง ๓๐.๐๐

ประกง คลองนครเนอื่ งเขต คลองทา่ ไข่ คลอง

พานทอง และคลองท่าลาด รวม ๓๐ อปท.

(การศกึ ษาความเป็นไปได้ (FS) ของโครงการ)

๒.*** โครงการพัฒนาระบบรวบรวมและบาบดั น้าเสยี ๒๙.๓๑

รวม เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา จงั หวัด

ฉะเชิงเทรา

๓.* โครงการจดั หาและตดิ ตั้งเครอ่ื งมอื ตรวจวัด ๑๒.๐๐

คุณภาพนา้ อัตโนมตั ิ เพอ่ื ตดิ ตาม ตรวจสอบ

และเฝ้าระวัง แม่นา้ บางประกง คลองนครเน่ือง

เขต คลองท่าไข่ คลองพานทอง และคลองทา่

ลาด

แผนงานที่ ๑.๑.๒ การพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ ลดปรมิ าณน้าเสีย และการนากลับมาใช้ ๑ โครงกา

แนวทางท่ี ๑ การพัฒนาเทคโนโลยที ่เี หมาะสมและเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม

๔.* โครงการเฝ้าระวังการปนเปอ้ื นของแหล่งนา้ ลุ่ม ๕.๐๐

นา้ (อ่างเก็บน้า หนอง บึง) ด้วยเทคโนโลยีที่ (ประมาณการปลี ะ

๓-

คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ปี) ผู้รับผิดชอบ
หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนนุ

     อปท. / อบจ. / คพ. / อจน. /
สสภ.๑๓

 สผ./อปท.

 อปท. /อจน. คพ./ DEPA /
สสภ.๑๓

าร อปท. กรอ. / อปท. /
อก. /
 

๕๕

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาค

ลาดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒
(ล้านบาท)

เหมาะสม จากความเป็นกรดสูงและการ ๑ ล้านบาท)

ปนเป้ือนโลหะหนัก ในลมุ่ น้าแมโ่ จน อาเภอ

พนมสารคาม

กลยุทธ์ท่ี ๑.๒ การจดั การมลพิษทางอากาศ

แผนงานที่ ๑.๒.๑ เพิม่ ประสิทธภิ าพการจัดการมลพษิ ทางอากาศ ๑ โครงการ

แนวทางท่ี ๑ การควบคมุ ตดิ ตามและตรวจสอบมลพษิ ทางอากาศ

๕.* โครงการรณรงคส์ รา้ งความรว่ มมือโรงงาน ๓.๐๐

ดาเนินการตามมาตรการ Code of Practice – (ประมาณการปลี ะ

CoP เพ่ือการจัดการ VOCs ตามแนวทางของ ๖ แสนบาท)

กรมโรงงานอุตสาหกรรม

กลยุทธท์ ี่ ๑.๓ การจดั การขยะและกากของเสียอตุ สาหกรรม

แผนงานท่ี ๑.๓.๑ เพ่มิ ประสิทธภิ าพการจดั การขยะชุมชน ๑ โครงการ

แนวทางที่ ๑ การกาจดั ขยะครบวงจร

๖.* โครงการกอ่ สร้างศนู ย์กาจัดขยะมูลฝอยแบบ ๘๙๐.๐๐ 

ผสมผสานจงั หวัดฉะเชงิ เทรา

แนวทางท่ี ๒ การจัดการขยะต้นทางและการสรา้ งเครอื ข่าย

๗.* โครงการ Waste to Wealth นวัตกรรมสร้าง ๕.๐๐

มลู ค่าเพม่ิ จากของเสียภาคเกษตร ชุมชน ใน (ประมาณการปลี ะ

ลักษณะของวิสาหกิจชุมชน (BCG Economy) ๑ ล้านบาท)

และภาคอุตสาหกรรม เช่น การแปรสภาพ

เปลือกหอยนางรมเป็นวสั ดขุ ้ึนรูปซเี มนต์ โดยนา

รอ่ งในพื้นทแ่ี ม่น้าบางปะกง

๓-

คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ป)ี ผูร้ ับผิดชอบ
หนว่ ยงานหลัก หน่วยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนนุ

สถาบนั การศึกษา

     กนอ. / กรอ. / อบจ. /สอ.ฉช./
อปท. อก.จ./สสภ.๑๓ /
คพ. / ทสจ.

ทม.ฉะเชิงเทรา สถ / สสภ. ๑๓ /
ทสจ.

     อบจ. / อปท. / ทสจ./
สถาบนั การศึกษ สสภ.๑๓
า สกสว. / วช. / วว.
(แหลง่ ทุน)

๕๖

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาค

ลาดบั โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)

กลยุทธ์ที่ ๑.๔ การพฒั นาส่งิ แวดล้อมเมอื งและชมุ ชนน่าอยูต่ ามภูมินิเวศ

แผนงานท่ี ๑.๔.๑ สร้างความสวยงามและความร่มรน่ื ของเมืองและชมุ ชน ๑ โครงการ

แนวทางที่ ๑ การส่งเสริมการออกแบบเชิงพน้ื ท่ี

๘.* โครงการศกึ ษาออกแบบและขับเคล่ือนผังแม่บท ๔.๐๐ อ

ภูมทิ ัศนเ์ มือง ชุมชน พน้ื ทีส่ เี ขยี วยง่ั ยนื พื้นท่ีสี

เขียวสาธารณะ พื้นที่สเี ขียวอรรถประโยชน์

และพน้ื ท่ีสเี ขยี วท่ีเป็นร้วิ ยาวแบบหลากหลาย

ประโยชน์ในเทศบาลเมืองฉะเชงิ เทรา และเมือง

ทไี่ ดร้ ับคัดเลือกเปน็ smart city

รวมทง้ั หมด ๘ โครงการ ๙๗๘.๓๑

หมายเหต:ุ อักษรเข้มในหนว่ ยงานหลกั หมายถึง ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั

* หมายถึง โครงการทีเ่ สนอจากเวทีการประชุมโดยหน่วยงานภาครัฐ ได้

** หมายถึง โครงการที่เสนอจากเวทกี ารประชุมโดยภาคีเครือข่าย

*** หมายถงึ โครงการท่ีเสนอโดยหนว่ ยงานผูร้ บั ผิดชอบและมงี บประมาณแล้ว

**** หมายถึง โครงการตามแผนของหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องในการจัดการทรพั ยากรธรรม

๓-

คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ป)ี ผูร้ บั ผดิ ชอบ
หน่วยงานหลกั หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนุน

  อบจ. / อปท. / สกพอ. / วช.
ศกึ ษา ถอดแบบ สถาบนั การศกึ ษ

ออกแบบ ๓ ประเมนิ า

ล้าน ค่าใชจ้ า่ ย

๑ ล้าน

มชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ซ่ึงจะดาเนินการในชว่ งระยะเวลาปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐

๕๗

แผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาค

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน

ลาดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒
(ล้านบาท)

กลยุทธ์ท่ี ๒.๑ การใช้ประโยชน์ท่ีดนิ ท่ีเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม

แผนงานที่ ๒.๑.๑ พัฒนาเครอ่ื งมอื เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้ทด่ี นิ ทเี่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม

แนวทางท่ี ๑ การส่งเสรมิ เกษตรยง่ั ยนื และเพ่มิ พน้ื ทกี่ นั ชนสีเขยี ว

๙.* โครงการส่งเสรมิ พฒั นา ตอ่ ยอด องค์ ๒.๐๐

ความรู้ เพม่ิ มูลคา่ ผลผลิตทางการเกษตรที่ (ประมาณการปลี ะ ๔

โดดเด่นเฉพาะถ่ิน การเกษตรเพือ่ สุขภาพ แสนบาท)

และปรบั เปลยี่ นรปู แบบการผลติ สกู่ ารเปน็

เกษตรยัง่ ยนื

กลยทุ ธ์ท่ี ๒.๓ การจดั การความหลากหลายทางชีวภาพ

แผนงานท่ี ๒.๓.๑ เพิ่มประสทิ ธิภาพการจัดการความหลากหลายทางชวี ภาพ

แนวทางที่ ๑ การอนุรักษ์และฟืน้ ฟูความหลากหลายทางชีวภาพ

๑๐ *. โครงการศึกษาพัฒนานิเวศป่าต้นนา้ รอยตอ่ ปา่ ๒๐.๐๐

๕ จงั หวัด ที่ส่งเสรมิ บทบาทการให้บริการนเิ วศ (ประมาณการปลี ะ ๔

ของปา่ ต่อสัตว์ป่าและชมุ ชนใกล้เคยี ง ล้านบาท)

๑๑. * โครงการอนุรักษ์ฟืน้ ฟพู ้ืนท่ีชุ่มน้า แม่นา้ บางปะ ๑๐.๐๐

กง (ประมาณการปีละ ๒

ล้านบาท)

๑๒.** โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลอัตลกั ษณข์ อง ๕.๐๐

พนื้ ทีเ่ พ่อื สง่ เสริมการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วเชิง (ประมาณการปลี ะ ๑

นิเวศและวัฒนธรรม เขตพื้นที่เมอื งเกา่ และยา่ น ลา้ นบาท)

๓-

คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ปี) ผรู้ ับผดิ ชอบ
หนว่ ยงานหลกั หน่วยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนนุ

  สศก. อปท.

     ปม. / อส. ชมุ ชน / มูลนิธอิ ีส
ฟอร่มั 21 / อปท.

     ทน. / สทน.๖ ทสจ.ฉช. / อปท. /
อบจ.

     อปท. / เครือขา่ ย อปท. / อบจ. /
ประมงพื้นบา้ น / ททท. / ทช / วช.
เครือข่ายวสิ าหกิจ / หอการค้าจังหวัด

๕๘

แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาค

ลาดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒
(ล้านบาท)
ชุมชนเกา่ และปากแม่น้าบางปะกง จังหวัด
ฉะเชงิ เทรา ๓๗.๐๐
รวมทง้ั หมด ๔ โครงการ

๓-

คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ปี) ผรู้ บั ผิดชอบ
หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนุน

ชุมชนททท. /
อพท. / สผ. /
สถาบันการศกึ ษา

๕๙

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาค

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างศักยภาพชุมชนพึ่งตนเองและรบั มือต่อการเปลีย่ นแปลงส

ลาดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)

กลยุทธท์ ่ี ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ

แผนงานท่ี ๓.๒.๑ เพิ่มพืน้ ที่แหล่งดูดซบั และกักเก็บก๊าซเรอื นกระจก

แนวทางท่ี ๑ การเพ่ิมความอดุ มสมบรู ณข์ องปา่ เพื่อเพมิ่ แหลง่ ดดู ซบั ก๊าซเรอื นกระจก

๑๓.* โครงการสนับสนนุ กิจกรรมการขยายผลการ ๕.๐๐
สรา้ งความชุ่มชน้ื และเพมิ่ ปรมิ าณนา้ ในพ้ืนท่ี


ตน้ นา้ เขตรักษาพนั ธส์ ตั วป์ ่าเขาอา่ งฤาใน

ฟื้นฟปู ลกู เสรมิ ปา่ พ้ืนท่ีกลางน้า (พ้นื ท่ี

เอกชนเพิ่มไมย้ นื ต้น) และปลายนา้ ของเขต

รักษาพนั ธส์ ัตว์ปา่ เขาอา่ งฤาใน

แผนงานท่ี ๓.๒.๒ ผลกั ดันมาตรการในการลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก

แนวทางท่ี ๑ การเพ่มิ ประสิทธภิ าพกลไกการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก

๑๔.* โครงการส่งเสรมิ อปท.จัดทาฐานขอ้ มลู และ ๑๐.๐๐

ขับเคลอ่ื นไปสเู่ มอื งคารบ์ อนต่า หรือการเขา้ สู่ (ประมาณการปีละ ๒

สงั คม Zero Carbon ล้านบาท)

แผนงานที่ ๓.๒.๓ สง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในการปรับตวั ตอ่ การรองรับการเปลีย่

แนวทางที่ ๑ การส่งเสรมิ การรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ

๑๕.** โครงการติดตามการเปล่ียนแปลงสภาพ ๒.๕๐

ภมู อิ ากาศตอ่ อาชีพเพาะเลี้ยงสตั วน์ า้ ชายฝ่งั

รวมท้งั หมด ๓ โครงการ ๑๗.๕๐

๓-

คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สภาพภมู ิอากาศและอุบัตภิ ัย

ระยะเวลา (ป)ี ผู้รบั ผิดชอบ
หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนุน

     อส. /ปม./ทช./ เครอื ขา่ ย
ขยายผล ๑ ขยายผล ขยายผล ขยายผล ขยายผล พม./อปท. / เกษตรกรรมยั่งยืน
กนอ. /กรอ.
ล้าน ๑ ล้าน ๑ ล้าน ๑ ล้าน ๑ ล้าน / สนง. BOI/
สอ.จ/ SCG /วช. /

อบก./สพภ.

     อปท. / อบจ. / สถจ/มท./ทสจ. /

อบก. / สส. สสภ.๑๓

ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ

  อปท. / ศวทอ. / อบก. /

ติดตาม ๕ ตดิ ตาม ติดตาม ตดิ ตาม ติดตาม เครือข่ายประมง วช. / กปม.

แสน ๕ แสน ๕ แสน ๕ แสน ๕ แสน พ้ืนบา้ น

๖๐

แผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาค

ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการและกลไกการมีส่วนร่วมเพ

ลาดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)

กลยทุ ธท์ ี่ ๔.๑ การพัฒนาศกั ยภาพในการบรหิ ารจดั การและกลไกการมสี ่วนร่วม

แผนงานที่ ๔.๑.๒ การสง่ เสริมการมีส่วนรว่ มท่ีเป็นธรรม

แนวทางที่ ๑ การสร้างการมสี ว่ นร่วมและเผยแพร่ความสาคัญของทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แ

๑๖.** โครงการสง่ เสรมิ กิจกรรมกลุ่มอนุรกั ษ์ปา่ ชาย ๑๐.๐๐

เลนและประมงพื้นบา้ นในการดแู ลฟื้นฟูและเฝ้า (ประมาณการปลี ะ ๒

ระวังการบุกรกุ ชายฝ่งั ฉะเชงิ เทรา ล้านบาท)

๑๗.* โครงการสนับสนุนเครือขา่ ยเศรษฐกจิ ๕.๐๐
การเกษตรและการท่องเทย่ี วเชิงนเิ วศและ
วฒั นธรรม (ประมาณการปลี ะ ๑
ลา้ นบาท
กลยทุ ธท์ ่ี ๔.๒ การขับเคลอื่ นแผนสกู่ ารดาเนนิ งาน
๔.๐๐
แผนงานท่ี ๔.๒.๑ เพม่ิ ประสิทธภิ าพการขบั เคลอ่ื นแผน
แนวทางท่ี ๑ การสร้างสื่อและเวทกี ารแลกเปลี่ยน (ประมาณการปลี ะ ๘
แสนบาท)
๑๘.* โครงการสง่ เสริมให้มีเวทีถา่ ยทอดแลกเปล่ียน
๗.๕๐
องค์ความรู้ พัฒนานกั วจิ ัยท้องถ่ิน สนับสนนุ
เครื่องมอื อุปกรณ์ในการเกบ็ และรวบรวมข้อมูล
โดยภาคประชาชน (citizen science) เข้าสู่
ระบบฐานขอ้ มูล

๑๙.** โครงการพัฒนาเผยแพร่ยาจากสมุนไพรพน้ื บ้าน

๓-

คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

พ่ือขับเคลอื่ นแผนสกู่ ารปฏิบัติ

ระยะเวลา (ป)ี ผรู้ ับผดิ ชอบ
หนว่ ยงานหลัก หน่วยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนนุ

แวดล้อมของเครือข่าย

     อปท. / กลมุ่ ทช. / อสทล./
อนรุ กั ษ์ปา่ ชาย ทสจ. / ทสม. /
เลน /เครอื ข่าย
ประมงพ้ืนบา้ น
/ ชมรมจติ อาสา

     ททท. / อพท. / พช.ฉะเชิงเทรา
สศก. / สทกจ.

     ทสจ./ สถ.จ. / DEPA / ทสม. /
ปราชญ์ชาวบ้าน อปท. / สธ.

     อปท. / ศนู ย์ สธ. / อย.

๖๑

แผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาค

ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)

สู่การขยายเครอื ขา่ ยปา่ ชมุ ชนและปา่ ครอบครัว (ประมาณการปลี ะ

๑.๕ ล้านบาท)

แนวทางที่ ๒ การจัดทาขอ้ เสนอเชงิ นโยบายและฐานข้อมูล

๒๐.* โครงการติดตั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย ๔๐.๐๐

ระบบ 5G เพ่ือบรกิ ารชุมชนและสงั คม จานวน

๑ จดุ คือ อ.บ้านโพธ์ิ

แผนงานที่ ๔.๒.๒ สง่ เสรมิ สนับสนุนการนาแผนไปสกู่ ารปฏบิ ัติ

แนวทางที่ ๑ การสง่ เสรมิ การเรียนรสู้ สู่ งั คม

๒๑.* โครงการส่งเสริมการมีส่วนรว่ ม และพัฒนา ๖.๐๐

ศักยภาพ ทสม. (อาสาสมคั รดา้ น (ประมาณการปลี ะ ๑.๒

สง่ิ แวดล้อม) เชน่ โครงการเฝา้ ระวงั และแจง้ ล้านบาท)

เตือน

รวมทงั้ หมด ๖ โครงการ ๖๖.๕๐

๓-

คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ป)ี ผู้รบั ผิดชอบ
หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนนุ

ศกึ ษาและ
พฒั นาวนเกษตร

จังหวดั
ฉะเชิงเทรา

 โทรคมนาคม สกพอ. / อปท.
แหง่ ชาติ

     ทสม. / สส. สผ. / ทสจ. /
สสภ.๑๓

๖๒

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาค
๓-

คตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๕๔

สว่ นท่ี ๔

แผนสิ่งแวดลอ้ ม จงั หวัดชลบรุ ี (ระยะที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐

แผนส่ิงแวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สว่ นท่ี ๔

แผนสิ่งแวดลอ้ ม จงั หวัดชลบุรี (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐

๑. หลักการและเหตผุ ล

ในการดาเนินกิจกรรมโครงการแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะที่ ๒ มุ่งเน้น

ให้เกิดการบริหารจัดการในภาพรวมร่วมกับประเด็นเฉพาะท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนที่ ดังนั้น แผนสิ่งแวดล้อมในระดับ

จังหวัด มุ่งเน้นส่งเสริมโครงการ/กิจกรรมด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นประเด็นเฉพาะในระดับ

พ้ืนท่ี ที่ตอบสนองต่อการบรรลุเป้าหมายของแผนสิ่งแวดล้อมในภาพรวมของพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค

ตะวันออก ระยะที่ ๒ และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาท้ังในระดับภูมิภาคและระดับจังหวัด ภายใต้ภาวะ

กดดันท่ีมตี ่อสถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่ี

๒. สภาพทางกายภาพ เศรษฐกจิ ประชากร จงั หวดั ชลบุรี

๒.๑ สภาพทางกายภาพ

จังหวัดชลบุรีต้ังอยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย หรือริมฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทย

ประมาณเส้นรุ้งท่ี ๑๒ องศา ๓๐ ลิปดา ถึง ๑๓ องศา ๔๓ ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ ๑๐๐ องศา ๔๕ ลิปดา

ถึง ๑๐๑ องศา ๔๕ ลิปดาตะวันออก มีพื้นท่ีท้ังจังหวัด ๔,๓๖๓ ตารางกิโลเมตรหรือ ๒,๗๒๖,๘๗๕ ไร่

ระยะทางจากกรุงเทพมหานครตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔ (ถนนสายบางนา - ตราด) รวม

ระยะทางประมาณ ๘๑ กิโลเมตร และมีเส้นทางหลวงพิเศษ หมายเลข ๗ หรือ Motorway (กรุงเทพฯ -

ชลบุร)ี ระยะทาง ๗๙ กิโลเมตร

จงั หวัดชลบรุ ี มีอาณาเขตตดิ ต่อกับจังหวดั ใกลเ้ คียง ดงั น้ี

ทศิ เหนอื ติดต่อกับ จังหวดั ฉะเชิงเทรา

ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดระยอง

ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ จงั หวัดฉะเชงิ เทรา จังหวดั จนั ทบรุ ี และจังหวดั ระยอง

ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกับ ชายฝั่งทะเลตะวันออกของอ่าวไทย

จังหวัดชลบุรีแบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๑๑ อาเภอ ๙๒ ตาบล ๖๘๗ หมู่บ้าน โดยมีอาเภอต่าง ๆ

ดังนี้ อาเภอเมืองชลบุรี บ้านบึง บางละมุง พานทอง พนัสนิคม ศรีราชา สัตหีบ หนองใหญ่ บ่อทอง เกาะสีชัง

และเกาะจันทร์ ในส่วนการปกครองท้องถ่ิน ประกอบด้วย องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด ๑ แห่ง เทศบาลนคร ๒

แหง่ เทศบาลเมอื ง ๑๐ แห่ง เทศบาลตาบล ๓๕ แห่ง และองคก์ ารบริหารส่วนตาบล ๕๐ แหง่ และรูปแบบการ

ปกครองพเิ ศษ ๑ แหง่ (เมอื งพัทยา)

ลักษณะกายภาพของจังหวัดชลบุรีมีความเด่นชดั ของการใช้ที่ดิน คือ พื้นที่ทางดา้ นทิศตะวันตกซ่ึงเป็น

พ้ืนที่ชายทะเล จะเห็นกิจกรรมประเภทพ้ืนที่เมือง ท่ีอยู่อาศัย และพื้นที่อุตสาหกรรมกระจายตัวตามแนวยาว

จากทศิ เหนือจรดใต้ ในสว่ นของพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมจะอยดู่ า้ นทิศตะวันออก

๔-๑

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๒.๒ เศรษฐกิจ
ในพื้นท่ีจังหวัดชลบุรีมีการพัฒนาเศรษฐกิจภาคบริการท่ีมีการเจริญเติบโตสูงที่สุด อัตราการ
เปล่ียนแปลง GPP ปี พ.ศ. ๒๔๓๘ และ พ.ศ. ๒๕๖๑ มีอัตราเพิม่ รอ้ ยละ ๒๐๕.๘๘ โดยรายได้ส่วนใหญ่มาจาก
ภาคการท่องเที่ยว ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ แต่มีแนวโน้มการเติบในอัตราท่ีลดลง (สานักงานสถิติจังหวัดชลบุรี,
๒๕๖๑) สาหรับเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดชลบุรีมีการเติบโตร้อยละ ๑๒๗.๔๕ เน่ืองจากจังหวัด
ชลบุรีมีความได้เปรียบทางทาเลที่ตั้ง ณ ชายฝั่งทะเลซึ่งมีคลื่นลมไม่แรงจัดต่อเนื่องปี ส่งผลให้ชลบุรีกลับ
กลายเป็นเมืองท่าท่ีสาคัญตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ในขณะที่แนวทางการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งภาคตะวันออก
เปลีย่ นจากการสง่ เสริมอตุ สาหกรรมหนักไปเปน็ อุตสาหกรรมที่เป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม ภายใต้ พรบ.เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้ขับเคล่ือนการ
ดาเนินงานด้วยหลักการ BCG Model โดยแยกการดาเนินงานด้านการส่งเสริมการลงทุนด้าน Bio Economy
และ Green Economy ในกลุ่มอุตสาหกรรมด้านการเกษตร อาหาร และสุขภาพ ในขณะท่ีส่งเสริมการลงทุน
ด้าน Circular Economy ในธุรกิจรีไซเคิล พลังงาน และการจัดการคาร์บอน สาหรับการเกษตรมีการเติบโต
ร้อยละ ๙๘.๒๔ แม้จะมีการเจริญเติบโตที่เพิ่มข้ึนในช่วงระยะที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม พบว่า พ้ืนที่เกษตรกรรม
ในจังห วัดชลบุ รีมี แนวโน้ มลดล งโดยสาเห ตุมาจากผลของการพั ฒ น าเศรษฐกิจภ ายใน ป ระเทศและภาค
ตะวันออกต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นต้นมา รวมทั้งความไม่มีเสถียรภาพของราคาสินค้าทางการเกษตรและ
สภาพดิน ฟ้า อากาศ ท่ีมีความไม่แน่นอนทาให้เกษตรกรเกิดความไม่ม่ันใจในการลงทุน และการขาดแคลน
แรงงานภาคเกษตรในอนาคต ทาให้มีเกษตรกรส่วนใหญ่เลือกท่ีจะขายที่ทากินแล้วเปล่ียนอาชีพจากเกษตรกร
เป็นอาชีพรบั จ้าง หรือทาธุรกจิ สว่ นตวั มากกว่า
จากการคานวณผลการพยากรณ์ภาคการเกษตรของจงั หวดั ชลบรุ ีพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐
ไม่มีการเปล่ียนแปลง เนื่องจากเศรษฐกิจของจังหวัดชลบุรีข้ึนอยู่กับภาคนอก สาหรับผลการพยาก รณ์
ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดชลบุรีพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยใน
ระยะยาว ท้ังน้ีจังหวัดชลบุรีเป็นจังหวัดท่ีตั้งอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของประเทศ ได้แก่ อุตสาหกรรมกล่ัน
น้ามัน ชิ้นส่วนยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์เป็นศูนย์กลางทางค้า การลงทุน มีท่าเรอื ขนาดใหญ่ท่ีสาคัญ คือท่าเรือ
แหลมฉบัง ทาให้มีโอกาสเป็นศูนย์กลางคมนาคม เพ่ือการนาเข้าและส่งออกทางทะเลที่สาคัญ รวมทั้งเส้นทาง
เช่ือมโยงการขนส่งไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ มีสภาพภูมิศาสตร์ท่ีเหมาะสมและปลอดภัย ดังน้ันจึงจาเป็นอย่างยิ่งใน
การสร้างมาตรการเพื่อกระตุ้นภาคอุตสาหกรรมให้เกิดการลงทุนมากยิ่งขึ้น ในขณะที่ การพยากรณ์ภาคการ
บริการของจังหวัดชลบุรีพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง เนื่องจาก
จังหวัดชลบุรีเป็นจังหวัดหน่ึงของไทยท่ีมีความสาคัญด้านการท่องเที่ยว และมีศักยภาพสูงในการดึ งดูด
นักท่องเที่ยวมายังภาคตะวันออก ซ่ึงเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งเสริมให้จังหวัดชลบุรีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว โดย
การเดนิ ทางท่ีเกิดจากการท่องเท่ยี ว ถือได้วา่ เป็นปรมิ าณการเดนิ ทางหลกั ทมี่ ุ่งสู่จังหวัดชลบุรี

๔-๒

แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๒.๓ ประชากร
จงั หวัดชลบุรี มีจานวนประชากร ๑,๕๕๘,๓๐๑ คน (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๒) มี
แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงประชากรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่อื ง ทาให้ความหนาแน่นของประชากรเพม่ิ ขึ้นตามไปด้วย
โดยจังหวัดชลบุรี มีความหนาแน่นของประชากรในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ อยู่ที่ ๓๕๗ คนต่อตารางกิโลเมตร และ
ประชากรร้อยละ ๖๙ (พ.ศ. ๒๕๖๒) อาศัยอยู่ในเขตเมืองหรือเขตเทศบาล โดยในช่วงระหว่าง ปี พ.ศ.
๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ สัดส่วนของผู้อาศัยในเขตเมืองเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย และคาดว่าประชากรรวมจะเพิ่มขึ้นเป็น
๓,๒๕๐,๔๔๒ ล้านคน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เป็นประชากรทะเบียนราษฎร์ ๑,๗๔๗,๖๒๐ คน และประชากรแฝง
๑,๕๐๓,๘๒๒ คน (สกพอ., ๒๕๖๑)
การเพ่ิมข้ึนของประชากรมีผลต่อความต้องการทรัพยากรและปริมาณการปล่อยของเสีย ซ่ึงส่งผลต่อ
สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยจะส่งผลต่อความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
หากประชาชนไม่มีความสานึกรักษ์ธรรมชาติ จึงจาเป็นต้องมีแนวทางการส่งเสริมความรู้สึ กรักษ์ใน
ทรัพยากรธรรมชาติท้ังประชาชนท่อี ย่อู าศยั และนกั ท่องเที่ยวที่เข้ามาใช้ทรพั ยากรในพน้ื ท่ี
๓. โครงการพัฒนาในพื้นที่
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้มีการประกาศเขตส่งเสริมนิคมอุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นท่ี EEC ๑๙ แห่ง
ต้องการพ้ืนที่รองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายอีก ๒๖,๒๐๕ ไร่ ทั้งนี้ต้ังอยู่ในจังหวัดชลบุรี ๑๒ แห่ง โดยมี
โครงการที่สาคัญ เช่น ๑) เขตส่งเสริมนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic
Corridor Innovation: EECi) ในพ้ืนที่อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอากาศ อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ขนาด
พื้นที่ ๑๒๐ ไร่ เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมและชุมชน ด้วยการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรม ๒) โครงการรถไฟ
ความเร็วสูงเชื่อม ๓ สนามบิน แนวเส้นโครงการเร่ิมจากสนามบินดอนเมืองผ่านสถานีกลางบางซ่ือ มักกะสัน
ลาดกระบัง สุวรรณภูมิฉะเชิงเทรา ชลบุรี พัทยา และส้นิ สุดทบ่ี ริเวณใต้อาคารผโู้ ดยสารหลังที่ ๓ ของสนามบิน
อู่ตะเภา ประกอบด้วย ๑๐ สถานี ระยะทางรวม ๒๒๐ กิโลเมตร ๓) โครงการเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและ
นวัตกรรมดิจิทัล (EECd) ตั้งอยู่บริเวณอาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ขนาดพื้นท่ี ๗๐๙ ไร่ เพื่อขยายและ
ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลเดิมรองรับการเป็น Data Hub ของอาเซียน และ ๔) เขตส่งเสริมศูนย์
นวัตกรรมการแพทย์ครบวงจร ท่ีตั้ง อาเภอบางละมุง จงั หวดั ชลบุรี พื้นท่ี ๕๖๖ ไร่ เป็นศูนย์กลางของกิจกรรม
ส่งเสริมด้านนวัตกรรมการวิจัยขั้นสูงและนวัตกรรมทางด้านการแพทย์และยังเป็นศูนย์กลางพัฒนาสุขภาพ
พลานามยั เพือ่ รองรบั การก้าวสสู่ งั คมผู้สูงอายุของประเทศไทย
โครงการพัฒนาต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึนในพ้ืนที่ มีผลกระทบเชื่อมโยงกันท้ังในระบบเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดล้อม ในขณะที่ภาคธุรกิจจาเป็นต้องมีการวิจัยและพัฒนากระบวนการอย่างต่อเนื่อง การส่งเสริม
การพฒั นาโครงการตา่ ง ๆ ในพ้ืนท่ีภาคตะวันออก สัมพันธ์การเคลือ่ นย้ายของแรงงานเข้าส่พู ืน้ ท่ี มีนักท่องเทยี่ ว
เข้ามาในพื้นท่ีเพิ่มมากขึ้น ชุมชนเดิมที่ไม่สามารถปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงใหม่ได้ก็ต้องย้ายไปสู่พ้ืนที่อื่น
หรือเปล่ียนวิถีชีวิตให้เข้ากบั สังคมใหม่ นาไปสู่การเปล่ียนแปลงการใช้ที่ดินโดยเฉพาะจากพื้นท่ีภาคการเกษตร
ไปสู่การเป็นเมืองที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมากขึ้น พร้อมกับปริมาณของ
เสียท่ีปล่อยออกสู่ส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีก็เพ่ิมขึ้นตาม สิ่งเหล่านี้เป็นภาวะกดดันในพ้ืนที่ที่ต้องการแนวทางและ
แผนงานท่ีเหมาะสมเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงต้องการแผนที่เก่ียวข้องที่

๔-๓

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

หลากหลายมิติพร้อมทั้งการบูรณาการรว่ มกันและการมีส่วนร่วมจากภาคประชาสังคมอย่างแท้จริง ในขณะท่ี
แผนส่ิงแวดล้อมเป็นส่วนหนึ่งของแผนที่เก่ียวข้องต่าง ๆ เพื่อร่วมกันสร้างความสามารถในการรับมือต่อการ
เปล่ียนแปลงทีเ่ กิดขน้ึ และกาลังจะเกดิ ข้ึนในพ้ืนทีใ่ ห้เกิดการพฒั นาท่ีสมดุลและย่ังยนื ตอ่ ไป
๔. สถานการณท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

จากการรวบรวมขอ้ มูลสถานการณท์ รัพยากรและส่ิงแวดล้อมในจงั หวดั ชลบุรี สามารถสรุปไดด้ ังนี้

๔-๔

แผนสง่ิ แวดล้อมในพื้นท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภา

ตารางที่ ๔ - ๑ สรุปสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในจงั หวดั ชลบ

คุณภาพส่ิงแวดล้อม เกณฑเ์ ส่ือมโทรม สถานการณ์
น้าผิวดิน ดี คลองตาหรุ
สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ )ี
(๒๕๖๓) ๓๖% ช่องแสมสาร
น้าทะเลชายฝัง่ เกาะล้าน (หาดตาแ
ส่วนแหล่งน้าทะเล กรมควบคมุ มลพษิ และ พัทยาเหนือ (Selec
สานกั งานส่ิงแวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบุรี) แหลมฉบงั (ตอนกล
(๒๕๖๔) เกาะสชี ัง (ศาลาอัษฎ
ถ้าพงั )

พอใช้ ๓๖% หาดจอมเทีย

(แหลมบาลีฮาย) หวั

(สะพานปลา) เกาะส

บางพระ บางแสน (

อา่ งศิลา (ฟารม์ หอย

เสอื่ มโทรม ๒๔% ท่าเรือสตั หบี

แหลมฉบงั (ตอนท้า

เดอะไทด์) อ่างศลิ า

เส่อื มโทรมมาก ๔% ศรรี าชา (เกาะล

น้าเสียชมุ ชน (ปรมิ าณ) ๒๓๐,๖๖๓.๔๐ ลบม.ม./วัน
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๒)
สานักงานส่งิ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ )ี ,



าคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

บุรี

การเปลย่ี นแปลง
เสอ่ื มโทรมลง (จากพอใช้เปน็ เส่อื ม คลองตาหรุ
โทรม)

เกาะลา้ น (ทา่ เรอื )
แหวน) พัทยากลาง
ction Hotel) ทา่ เรือ
ลาง) ท่าเรือแหลมฉบงั
ฎางด์) เกาะสชี ัง (หาด

ยน (กลาง) พทั ยาใต้
วแหลมฉบงั อา่ วอุดม
สชี งั (ท่าเทววงษ์)
(โรงแรมเดอะไทด)์
ยนางรม) อ่าวชลบรุ ี
ตลาดนาเกลอื ท่าเรอื
าย) บางแสน (โรงแรม
(ท่าเรือ) อ่าวชลบรุ ี
ลอย)

เพมิ่ ข้นึ

๔-๑

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภา

คุณภาพส่ิงแวดล้อม สถานการณ์
๒๕๖๓
นา้ เสีย (คณุ ภาพ) เกินเกณฑ์ (ค่า pH นา้ ท้งิ ค่าของแข็งแขวนลอ

สานกั งานสง่ิ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบุร)ี , ๒๕๖๓ ระบบบาบดั นา้ เสีย ทม.พนัสนคิ ม และ

พ้ืนทบี่ รกิ ารระบบบาบดั นา้ เสยี ๑๑ แห่ง (ไมไ่ ดเ้ ดิน บรกิ ารครอบคลมุ มา
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
ระบบ ๒ แห่ง)
สานักงานส่ิงแวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบุร)ี , ๒๕๖๓
น้าทิ้งเฉลยี่ กกั เก็บ ๓,๕๗๐,๙๑๖.๘๐ ล
นา้ เสียโรงงานในพ้นื ท่ี EEC
ปี พ.ศ. ๒๕๖๑) ภายในโรงงาน

กรมโรงงานอตุ สาหกรรม (๒๕๖๑) น้าทง้ิ เฉลี่ยระบายออก ๑,๓๐๙,๔๕๙.๐๔ ล

คุณภาพอากาศ นอกโรงงาน
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
ไม่เกินค่ามาตรฐาน SO2
กรมควบคมุ มลพษิ , ๒๕๖๓ NO2
CO
การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก
O3
(อบก., ๒๕๖๔) PM10
PM2.5
ขยะมลู ฝอย (ข้อมลู ปี พ.ศ. ๒๕๖๒) มีการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ระด
กรมควบคมุ มลพิษ, ๒๕๖๒
ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกกลมุ่ กจิ กรรม สงู สดุ ในภาค

คาดการณ์ในกรณปี กติปริมาณกา๊ ซเรอื นกระจกใน

ปริมาณ ๑.๐๕ ล้านตันต่อปี

นาไปใช้ประโยชน์ ๒๓.๗๖%

กาจัดถูกตอ้ ง ๕๓.๐๕%

กาจดั ไม่ถูกต้อง ๒๓.๒๐%



าคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

การเปล่ียนแปลง

อย ค่านา้ มนั ไขมนั )

อบจ.ชลบรุ ี มพี ้ืนที่
ากกว่า ๙๐%

ลบ.ม./วัน

ลบ.ม./วนั เพ่ิมขน้ึ

ลดลง
ลดลง
เพมิ่ ขึ้น
ลดลง
เพิ่มข้ึน
ลดลง
ดบั Basic = ๑๙.๔๖ ระดบั Basic+ = ๒๓ ลา้ นตนั คาร์บอนไดออกไซดเ์ ทียบเท่า โดยปริมาณการ
คการขนสง่ ปรมิ าณ ๑๓.๖๙ ล้านตันคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ คดิ เปน็ ร้อยละ ๕๙.๕๔ ผลการ
นอนาคตปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ระดบั Basic+ จะมปี ริมาณ ๓๐.๑๕ ลา้ นตันคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่

อัตราการเพ่มิ เฉลยี่ ๕ ปี = ๑.๘๖ กก./คน/วัน (๒๕๕๘ - ๒๕๖๒)
เพิ่มขนึ้

๔-๒

แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภา

คุณภาพส่ิงแวดล้อม สถานการณ์

Cluster สถานทกี่ าจัด ๒๙ แห่ง
สานักงานสิ่งแวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบุร)ี ,
๒๕๖๒ (เปิด ๒๒ แห่ง ปดิ ๗
กากของเสยี
กรมโรงงานอุตสาหกรรม, ๒๕๖๔ ๕ Cluster ประกอบด้วย

มลู ฝอยติดเช้ือ ๒๙ ตาบล ๒๒ เกาะ ๑ เขตปกครองพิเศษ
กรมอนามัย, ๒๕๖๓
ขยะทะเลตกค้าง กากของเสยี อนั ตราย ๒.๓๗ แสนตนั
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๐)
กากของเสียไม่ ๐.๙๘ ลา้ นตัน

อันตราย

กากของเสยี อนั ตรายท่ี ๑.๘๑ แสนตนั

ขนออกนอกโรงงาน

๑,๒๕๕.๓๗ ตัน/ปี

๓๙๙ กิโลกรมั

กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั , ม.ป.ป. พน้ื ทสี่ ีเขยี วในเขต ร้อยละ
พื้นที่สีเขยี ว
(จากการแปลภาพถา่ ยดาวเทียม Landsat 8 เมอื ง
OSI)
พนื้ ท่ีสเี ขียวนอกเขต ร้อยละ
แหล่งโบราณสถาน
เมือง
ย่านชมุ ชนเกา่
ขึน้ ทะเบยี นแล้ว ๑๒

รอพจิ ารณา ๘๓

ข้นึ ทะเบียนแลว้ ๑๑ ย่านชมุ



าคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การเปล่ยี นแปลง

๗ แห่ง)

เพม่ิ ข้ึน
เพิม่ ข้นึ

ลดลง

ะ ๑๑.๘๓
ะ ๑๗.๑๗
แหลง่
แหลง่
มชน
๔-๓

แผนส่ิงแวดล้อมในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภา

คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม สถานการณ์
ทรพั ยากรธรรมชาติ สถานการณ์
ปา่ ไม้ ๓.๔๔ แสนไร่
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓)

กรมพัฒนาท่ีดนิ (๒๕๖๓) ๒๗,๑๐๗.๖๑ ไร่
ปา่ ชายเลน
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๑) ๕,๗๐๕.๗๒ ไร่ สมบรู ณ์ปานก
๖,๔๗๒ เสียหายมาก
ทม่ี า: กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั (๒๕๖๑)
พน้ื ทก่ี ดั เซาะ ๖
แหล่งหญ้าทะเล พน้ื ที่ดาเนินการแกไ้ ขแลว้ ๑๐
แนวปะการัง พื้นทไ่ี ม่กัดเซาะ

การกดั เซาะชายฝงั่ ทะเล ตา่ (ดนิ เปรย้ี ว) ๑.
ปพี .ศ.๒๕๖๒) ปานกลาง ๓.
สูง ๒
กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่งั (๒๕๖๒) พื้นทท่ี ั้งหมด ๒,๗๒๖,๘๗๕ไร่
พนื้ ทช่ี ุมชนและส่ิงปลูกสรา้ ง ร้อย
ความอดุ มสมบรู ณข์ องดิน พน้ื ทีเ่ กษตร ร้อย
พนื้ ที่ปา่ ไม้ ร้อย
การใชท้ ่ีดิน พ้นื ท่นี า้ รอ้
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๑)
กรมพัฒนาทีด่ นิ (๒๕๖๓)



าคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

การเปลย่ี นแปลง
การเปล่ยี นแปลง

ลดลง

กลาง-เล็กน้อย ลดลง
รอ้ ยละ ๒๙.๗
เพม่ิ ขน้ึ (๒๕๕๖ – ๒๕๖๑)
๐.๘๙ ลดลง
๖๔.๕๓ กม. ลดลง
๐๔.๗๕ กม. เพม่ิ ขึ้น

.๗๕ ล้านไร่
.๔๙ แสนไร่
๒,๙๙๑ ไร่

ยละ ๒๒.๔๑
ยละ ๕๕.๙๖
ยละ ๑๑.๓๔
อยละ ๓.๑๗

๔-๔

แผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภา

คุณภาพส่ิงแวดล้อม สถานการณ์

น้า พื้นทเี่ บ็ดเตลด็ ร้อ

*กรมชลประทาน, ๒๕๖๐ นา้ ฝนรายปเี ฉลย่ี สูงสุด ๔
**สานกั งานทรพั ยากรน้าแห่งชาต,ิ ๒๕๖๓
ต่าสดุ ๐
นา้ บาดาล
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๒) ปริมาณน้า*

กรมทรพั ยากรน้าบาดาล (๒๕๖๒) ความตอ้ งการใชน้ ้า** ๑,๔๕๖

แร่ ความต้องการใชน้ ้าบาดา
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๑; ๒๕๕๔)
๓๔.๘๔ ลา้ นลบ.ม./ปี
กรมทรัพยากรธรณี (๒๕๕๑; ๒๕๕๔)
พนื้ ทีค่ ้มุ ครองสง่ิ แวดลอ้ ม กลมุ่ แรเ่ พอ่ื การพฒั นาสาธารณูปโภคพน้ื ฐาน

เรือ่ งร้องเรยี นดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ใหญ่ของรัฐ ๖๒.๐๔ ตร.ก
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓) (ทมี่ า: สสภ.๑๓)
เรอ่ื งรอ้ งเรยี นดา้ นส่งิ แวดล้อม กลมุ่ แรเ่ พ่อื สนับสนุนเศรษฐกิจและอตุ สาหกร
(ขอ้ มลู ปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
กม.
(ทีม่ า: ทสจ. ฉะเชงิ เทรา)
รา่ งประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

กาหนดเขตพ้นื ที่และมาตรการค้มุ ครองสิ่งแวด

บางปะกง ตาบลทา่ ขา้ ม ตาบลสองคลอง อาเภ

ฉะเชิงเทรา

จานวน (ครั้ง) ปัญหา

๑๙ ของ

๓๔ มลพ


Click to View FlipBook Version