The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ 2) พ.ศ. 2565 - 2570

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-21 05:22:35

แผนสิ่งแวดล้อมฯ ระยะที่ 2 พ.ศ. 2565 - 2570

แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ 2) พ.ศ. 2565 - 2570

Keywords: แผนสิ่งแวดล้อม,พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภา

ลาดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)

โรงงานอตุ สาหกรรม 

กลยทุ ธ์ที่ ๑.๓ การจดั การขยะและกากของเสียอุตสาหกรรม

แผนงานท่ี ๑.๓.๑ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจัดการขยะชุมชน

แนวทางที่ ๑ การกาจัดขยะครบวงจร

๕. **** โครงการบรหิ ารจัดการขยะอันตรายชุมชน ๐.๖๐

จังหวัดชลบุรี

๖.F โครงการก่อสรา้ งระบบกาจดั ขยะมูลฝอย ๓,๐๐๐.๐๐

cluster ๒ (อ.บางละมงุ และ อ.สตั หบี )

จงั หวัดชลบุรี

แนวทางท่ี ๒ การจดั การขยะต้นทางและการสร้างเครือข่าย ๕.๐๐
๗.* โครงการส่งเสรมิ ใหม้ ธี นาคารขยะชมุ ชนตาม
แนวชายฝ่ัง (ประมาณการปีละ ๑
ลา้ นบาท)
๘.* โครงการ Waste to Wealth นวตั กรรม
สร้างมลู ค่าเพิม่ จากของเสียภาคเกษตร ชมุ ชน ๕.๐๐
และภาคการผลติ ของวิสาหกจิ ชมุ ชน (BCG
Economy) โดยนาร่องในพืน้ ท่อี า่ วอดุ ม (ประมาณการปลี ะ ๑
ลา้ นบาท)

กลยุทธ์ท่ี ๑.๔ การพัฒนาสิง่ แวดล้อมเมืองและชุมชนนา่ อยู่ตามภูมินิเวศ



าคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ป)ี ผูร้ บั ผดิ ชอบ
หน่วยงานหลัก หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนุน

อบจ.

เมอื งพัทยา สถ / สสภ. ๑๓ /
ทสจ.

เอกชนลงทุน
ทัง้ หมด

     อบจ.ชลบรุ /ี อปท./ทสจ./
ทสม. สสภ.๑๓/SCG

     อบจ. / อปท. / ทสจ./สสภ.๑๓
สถาบนั การศึกษา
สกสว. / วช. /
วว.
(แหลง่ ทุน)

๔-๓

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภา

ลาดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒
(ล้านบาท)

แผนงานท่ี ๑.๔.๑ สร้างความสวยงามและความร่มรน่ื ของเมอื งและชมุ ชน

แนวทางท่ี ๒ การสง่ เสรมิ การเพิ่มพ้ืนทส่ี ีเขียวย่งั ยนื

๙.** โครงการพฒั นาปรับภมู ิทัศนจ์ ากเขาสทู่ ะเล: ๒๐.๐๐

เขาฉลากเลียบอ่างเก็บนา้ ห้วยสุครพี สู่ชายฝง่ั (ประมาณการปีละ ๔
ล้านบาท)
ทะเล เพ่ือทาเปน็ แผนต้นแบบพัฒนาพ้นื ทเ่ี ขา

พื้นที่ปา่ พน้ื ท่ีช่มุ น้า พนื้ ทชี่ มุ ชนกับธรรมชาติ

และพ้นื ที่ชายฝงั่ ท้ังหมดของจังหวดั ชลบุรี

- โครงการพฒั นาปรบั ภูมิทัศนจ์ ดั เสน้ ทาง

สร้างจดุ ท่องเที่ยวเพม่ิ จดุ เชค็ อนิ การท่องเท่ียว

และกฬี า บรเิ วณบอ่ ทาบญุ เขาฉลาก

- โครงการพัฒนาปรบั ภมู ทิ ศั นจ์ ดั เสน้ ทาง

สรา้ งจุดท่องเทย่ี วเพมิ่ จดุ เช็คอินการทอ่ งเที่ยว

อา่ งเก็บน้าบางพระ

- โครงการพฒั นาปรบั ภูมิทัศนจ์ ดั เส้นทาง

สร้างจดุ ท่องเทีย่ วเพม่ิ จดุ เชค็ อนิ การทอ่ งเที่ยว

ห้วยสคุ รีพ

- โครงการพฒั นาปรับภมู ทิ ัศนจ์ ดั เส้นทาง

สร้างจดุ ทอ่ งเท่ยี วเพม่ิ จุดเช็คอินการทอ่ งเทย่ี ว

ชมุ ชนทา้ ยบ้านออกสู่ชายฝง่ั ทะเล

รวมทัง้ หมด ๙ โครงการ ๓,๑๖๘.๖



าคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ป)ี ผู้รบั ผดิ ชอบ
หนว่ ยงานหลัก หน่วยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนนุ

     มทร.ตะวนั ออก วช./ วว./อบจ./
อปท.

๔-๔

แผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภา

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยง่ั ยืน

ลาดบั โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒
(ล้านบาท)

กลยุทธท์ ่ี ๒.๑ การใช้ประโยชน์ท่ีดนิ ท่ีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม

แผนงานท่ี ๒.๑.๑ พัฒนาเคร่ืองมือเพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการใช้ท่ดี ินทเ่ี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม

แนวทางที่ ๑ การส่งเสริมเกษตรย่ังยืนและเพิม่ พนื้ ทกี่ นั ชนสีเขียว

๑.* โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีสาหรับผู้ประกอบการ ๙.๐๐

อตุ สาหกรรมเกษตรชีวภาพบนฐานการใช้น้าทง้ิ (ประมาณการปลี ะ ๓

จากโรงบาบดั น้าเสยี ชุมชนและสาหรับบุคลากรผู้ ลา้ นบาท)

ควบคมุ ระบบบาบัดน้าเสียชมุ ชนแบบผสมผสาน

โดยนารอ่ งในพื้นที่ ทม. แสนสขุ

กลยุทธ์ท่ี ๒.๓ การจดั การความหลากหลายทางชีวภาพ

แผนงานที่ ๒.๓.๑ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ

แนวทางที่ ๑ การอนุรกั ษแ์ ละฟ้ืนฟูความหลากหลายทางชวี ภาพ

๒.* โครงการศกึ ษาพัฒนานิเวศป่าต้นน้าในจงั หวัด ๕.๐๐

ชลบรุ ที ่ีส่งเสรมิ บทบาทการให้บรกิ ารนิเวศของป่า

ต่อชุมชนใกล้เคียง

๓.**** โครงการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและ ๒.๐๐ 

สง่ิ แวดล้อม

แนวทางท่ี ๒ การส่งเสริมการเพิ่มมลู คา่ ความหลากหลายทางชีวภาพ

๔.** โครงการสรา้ งเศรษฐกจิ การทอ่ งเทีย่ วชมุ ชนเชงิ ๒๐.๐๐

นเิ วศ สุขภาพ นวัตวถิ ี และ วัฒนธรรมพน้ื บา้ น (ประมาณการปีละ ๔

วัฒนธรรมประมงพื้นบา้ น และชุมชนบนเกาะ นา ล้านบาท



าคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ปี) ผู้รบั ผดิ ชอบ
หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนนุ

   อปท. / อจน. สอ.ขบ.

 อส./อปท./กปม. / ทสม.

มูลนธิ ิอีสฟอรม่ั ๒๑

อบจ.

     มทร.ตะวันออก วช./ วว./ ททท.. /

อปท.
(แหล่งทุน)

๔-๕

แผนสิง่ แวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพเิ ศษภา

ลาดบั โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท) 

ร่องในพน้ื ทีช่ ายฝ่ังบรเิ วณชุมชนท้ายบา้ น และ

ชมุ ชนพน้ื ทชี่ ายฝง่ั ทั่วทัง้ จังหวัดชลบรุ ี

๕.** โครงการสรา้ งเศรษฐกิจการทอ่ งเท่ยี วชมุ ชนเชงิ ๑๕.๐๐

นเิ วศ เศรษฐกิจชวี ภาพ (BCG) และ วัฒนธรรม (ประมาณการปีละ ๕

พน้ื บ้านพัฒนาเพ่ิม ล้านบาท

พน้ื ท่ีสีเขียวใหเ้ ปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วใหม่ชุมชน

เข้มแขง็ เปน็ ปา่ ไผแ่ บบไทย (Thai Bamboo

Forest) รวมถึงผลิตภัณฑ์
ไผ่ ต้นแบบซมุ้ กาแฟไผ่ของไทย เพ่ือการค้าใน
ประเทศและการส่งออก พน้ื ท่ี บ่อทอง จังหวัด
ชลบรุ ี

กลยุทธท์ ่ี ๒.๔ การจดั การทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง

แผนงานท่ี ๒.๔.๑ เพิม่ ประสทิ ธิภาพการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั

แนวทางท่ี ๒ การวางแผนการจัดการพ้ืนทที่ างทะเล

๖.**** โครงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ๑.๐๐
สิ่งแวดลอ้ มชายฝ่งั แบบบรู ณาการ

รวมท้ังหมด ๖ โครงการ ๕๒



าคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ปี) ผู้รับผดิ ชอบ
หนว่ ยงานหลัก หน่วยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนนุ

  มทร.ตะวนั ออก วช. /วว./ททท.. /
อปท.

(แหลง่ ทนุ )

อบจ.

๔-๖

แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภา

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ การสร้างศักยภาพชุมชนพึง่ ตนเองและรับมือต่อการเปล่ยี นแปลงส

ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)

กลยุทธท์ ี่ ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ

แผนงานที่ ๓.๒.๑ การเพิม่ พื้นที่แหลง่ ดดู ซับและกักเก็บก๊าซเรือนกระจก
แนวทางท่ี ๑ การเพิ่มความอุดมสมบูรณข์ องปา่ เพอื่ เพ่ิมแหลง่ ดดู ซับกา๊ ซเรือนกระจก

๑.* โครงการศกึ ษาและขยายผลการสร้างความชุ่มชน้ื ๕.๐๐

และเพิม่ ปรมิ าณนา้ ในพื้นท่ีต้นน้า ฟื้นฟปู ลกู เสริม
ป่าพ้ืนที่กลางนา้ (พื้นทีเ่ อกชนเพิ่มไม้ยนื ต้น) และ
ปลายน้า ของอ่างเกบ็ น้าบางพระ

๒.** โครงการศึกษาการเพ่ิมพื้นที่สเี ขียวเพือ่ เป็นแหล่ง ๘.๐๐

ดูดซับและกกั เกบ็ กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดอ์ ย่างมี

ประสิทธิภาพเขาฉลาก อา่ งเก็บนา้ บางพระ พ้นื ที่

บางพระศกึ ษา และพัฒนาพนื้ ทสี่ เี ขยี วอ่ืนท้ังหมด

ของจังหวดั ชลบรุ ี แบบมีส่วนร่วมของภาคประชา

สงั คมและสถาบันการศกึ ษาเพ่ือใชเ้ ป็นแมแ่ บบใน

การพัฒนาพ้ืนที่ศึกษาอ่ืน

แผนงานที่ ๓.๒.๓ การส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการปรบั ตวั ตอ่ การรองรับการเป

แนวทางท่ี ๑ การสง่ เสรมิ การรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ

๓.* โครงการศึกษาติดตามการเปลยี่ นแปลงแหล่ง ๙.๐๐

ทรัพยากรทางทะเลชลบุรจี ากการเปลีย่ นแปลง

สภาพภูมิอากาศ



าคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สภาพภูมอิ ากาศและอุบัตภิ ยั ศาสตรท์ ่ี ๒

ระยะเวลา (ปี) ผรู้ ับผิดชอบ
หน่วยงานหลกั หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนุน

   อส. /ปม./ทช./ เครอื ขา่ ย

ปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ พม./อปท. /กนอ. เกษตรกรรมย่ังยืน
/กรอ. / สนง. BOI/
สอ.จ/ SCG /วช. /
อบก./สพภ.

มทร.ตะวันออก/ วช./ วว./อบจ.
(แหลง่ ทนุ )

ทน./ทช./อส./
ชป./อบก.
(แหล่งขอ้ มูล)

    ม.บรู พา /ศวทช อบก./วช.

ศึกษา ๕ ล้าน ตดิ ตาม ๑ ติดตาม ๑ ล้าน ตดิ ตาม ๑ ลา้ น ตดิ ตาม ๑ ลา้ น

ล้าน

๔-๗

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภา

ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)

กลยุทธ์ที่ ๓.๓ การจัดการภัยพบิ ัติ อบุ ตั ภิ ยั โรคระบาด และสภาวะสุดข้ัวจากการเป

แผนงานท่ี ๓.๓.๑ การเพ่มิ ประสิทธภิ าพการจัดการอุบตั ภิ ยั และภยั พบิ ัติ

แนวทางท่ี ๑ การจดั ทาแผนและฐานข้อมูลการจัดการภยั พิบตั ิและอุบตั ิภัย

๔.* โครงการบริหารจดั การเชงิ พื้นท่ีเพื่อลดความ ๒.๕๐

ขัดแย้งการขนส่งและการปนเปอ้ื นสารเคมีจาก (ประมาณการปลี ะ ๕

อุบตั ภิ ัย เกาะสชี ัง แสนบาท)

๕.* โครงการป้องกนั อบุ ัติภยั ในพืน้ ท่วี างตสู้ นิ คา้ รวม ๑ ล้านบาท

รวมท้งั หมด ๕ โครงการ ๒๕.๕



าคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ปี) ผรู้ บั ผดิ ชอบ
หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนุน

ปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ

     ปภ.จว. / คพ. / อบจ./

กนอ. / อก. / ทช. สถาบนั การศึกษา
/ ทสจ. /

 อก. / ปภ. / คพ. / ERTC / อปท. /

กนอ. อบจ.

๔-๘

แผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภา

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการและกลไกการมีสว่ นร่วมเพ
แผนสิ่งแวดล้อ

ลาดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)

กลยุทธ์ท่ี ๔.๒ การขับเคล่อื นแผนสกู่ ารดาเนนิ งาน

แผนงานที่ ๔.๒.๑ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการขับเคล่อื นแผน

แนวทางท่ี ๑ การสร้างส่อื และเวทกี ารแลกเปล่ียน

๑.* โครงการติดต้ังระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดว้ ย ๘๐ ลา้ น

ระบบ 5G เพื่อบรกิ ารชุมชนและสังคม จานวน ๒ (จุดละ ๔๐ ลา้ น)

จุด คือ อ.สัตหีบ และ อ.บางละมงุ

แผนงานที่ ๔.๒.๒ การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การนาแผนไปสกู่ ารปฏิบตั ิ

แนวทางท่ี ๑ การส่งเสรมิ การเรียนรู้ส่สู งั คม

๒.** โครงการส่งเสริมความหลากหลายของกลุ่ม ๒.๐๐

เครอื ข่ายภาคประชาสังคมเพ่ือการรวบรวม (ประมาณการปลี ะ

สารสนเทศภูมิปญั ญา ทีเ่ ป็นอัตลักษณข์ อง พืน้ ที่ ๑ ล้านบาท)

ชลบุรี และบางพระศกึ ษา

กลยทุ ธท์ ่ี ๔.๓ การส่งเสริมการวจิ ัยและพัฒนาเทคโนโลยที เี่ หมาะสม ตามหลกั การ

ย่ังยืน

แผนงานที่ ๔.๓.๑ การสนับสนนุ การวจิ ัยและพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ตามห

แนวทางที่ ๑ การส่งเสริมการศึกษาและวจิ ยั

๓.** โครงการพฒั นาศึกษาและรวบรวมองค์ความรภู้ ูมิ ๕.๐๐

ปญั ญาทอ้ งถน่ิ คน ชุมชน และพ้นื ท่ีต้นแบบสร้าง



าคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

พื่อขบั เคลอ่ื นแผนสู่การปฏิบัติ

อม จังหวดั ชลบรุ ี

ระยะเวลา (ปี) ผู้รบั ผิดชอบ
หน่วยงานหลัก หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนนุ

 NT / สกพอ. /
อปท.

 มทร.ภาค วช./ภาคีเครือข่าย
ตะวนั ออก

รเศรษฐกจิ ชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกจิ สเี ขียว และเป้าหมายการพฒั นาที่

หลกั การเศรษฐกจิ ชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกจิ สเี ขยี ว

 มทร.ตะวันออก วช./ภาคีเครอื ขา่ ย

๔-๙

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภา

แผนสง่ิ แวดลอ้

ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒
(ลา้ นบาท)
ช องคค์ วามรู้ นวัตกรรมบนฐานชุมชนพน้ื ทีช่ ลบุรี
และบางพระศกึ ษา ๘๗

รวมท้ังหมด ๓ โครงการ



าคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

อม จงั หวัดชลบรุ ี

ระยะเวลา (ป)ี ผรู้ บั ผดิ ชอบ
หน่วยงานหลัก หน่วยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนับสนุน

- ๑๐

แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภา


าคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๔-๑

สว่ นที่ ๕

แผนสง่ิ แวดล้อม จังหวัดระยอง (ระยะท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐

แผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สว่ นที่ ๕

แผนสง่ิ แวดลอ้ ม จงั หวัดระยอง (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐

๑. หลักการและเหตุผล

ในการดาเนินกิจกรรมโครงการแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะท่ี ๒ มุ่งเน้น

ให้เกิดการบริหารจัดการในภาพรวมร่วมกับประเด็นเฉพาะที่เกิดขึ้นในพ้ืนที่ ดังน้ัน แผนสิ่งแวดล้อมในระดับ

จังหวัด มุ่งเน้นส่งเสริมโครงการ/กิจกรรมด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นประเด็นเฉพาะในระดับ

พ้ืนที่ ที่ตอบสนองต่อการบรรลุเป้าหมายของแผนสิ่งแวดล้อมในภาพรวมของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค

ตะวันออก ระยะท่ี ๒ และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาทั้งในระดับภูมิภาคและระดับจังหวัด ภายใต้ภาวะ

กดดันทีม่ ีตอ่ สถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในพน้ื ที่ ต่อไป

๒. สภาพทางกายภาพ เศรษฐกิจ ประชากร

๒.๑ สภาพทางกายภาพ

จังหวัดระยองต้ังอยู่ทิศตะวันออกของประเทศไทยระหว่างเส้นรุ้งท่ี ๑๒ – ๑๓ องศาเหนือ และเส้นแวง

ท่ี ๑๐๑ – ๑๐๒ องศาตะวันออก มีพนื้ ที่ประมาณ ๓,๕๕๒ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๒,๒๒๐,๐๐๐ ไร่ อยู่

ห่างจากกรุงเทพมหานคร ไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๑๗๙ กโิ ลเมตร

จังหวดั ระยองมีอาณาเขตติดต่อกบั จงั หวดั ใกลเ้ คยี ง ดังน้ี ดังภาพที่ ๗ – ๑

ทศิ เหนอื ตดิ กับ จงั หวัดชลบุรี

ทศิ ใต้ ติดกบั ชายฝงั่ อา่ วไทย

ทศิ ตะวันออก ตดิ กบั จังหวัดจันทบุรี

ทิศตะวันตก ตดิ กับ จังหวัดชลบุรี

จังหวัดระยองแบ่งการปกครองเป็น ๘ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองระยอง อาเภอแกลง อาเภอบ้านค่าย

อาเภอปลวกแดง อาเภอบ้านฉาง อาเภอวังจันทร์ อาเภอเขาชะเมา อาเภอนิคมพัฒนา ประกอบด้วย ๕๔

ตาบล ๔๓๙ หมู่บ้าน ๑๘๑ ชุมชน ด้านการปกครองท้องถิ่น ประกอบด้วยองค์การบริหารส่วนจังหวัด ๑ แห่ง

เทศบาลนคร ๑ แห่ง เทศบาลเมือง ๒ แหง่ เทศบาลตาบล ๒๗ แห่ง และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ๓๗ แห่ง

ลกั ษณะกายภาพของพ้ืนทฝี่ ั่งตะวันออกและฝ่ังตะวันตกมคี วามเด่นชดั ของการใชท้ ่ีดิน ดังภาพท่ี ๑ คือ

ระยองฝ่ังตะวันตกมีความหนาแน่นของการใช้ที่ดินเพื่ออุตสาหกรรมและเมือง ในขณะท่ีฝั่งตะวันออกมีการใช้

ท่ดี นิ เพอ่ื เกษตรกรรมเปน็ ส่วนใหญ่

๕-๑

แผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๒.๒ เศรษฐกิจ
สถานการณ์ทางเศรษฐกิจในช่วงตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๘ - ๒๕๖๑ ในพื้นที่จังหวัดระยอง เศรษฐกิจ
ภาคอุตสาหกรรมเป็นแรงขับเคลื่อนที่สาคัญโดยมีสัดส่วนของมูลค่าทางเศรษฐกิจท่ีสูงกว่าภาคอ่ืน ท้ังนี้ มีการ
เจริญเติบโตอย่างต่อเน่ือง โดยจากข้อมูลพบว่าในระยะที่ผ่านมาภาคอุตสาหกรรมในจังหวดั ระยองเตบิ โตสูงถึง
ร้อยละ ๒๐๖.๘๖ จังหวัดระยองเติบโตและก้าวมาเป็นเมืองอุตสาหกรรมของประเทศเทศนับตั้งแต่ปี พ.ศ.
๒๕๒๔ โดยรัฐบาลในสมัยนั้นต้องการทาโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีชายฝั่งทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard)
โดยมเี ปา้ หมายคอื ต้องการเปล่ียนอุตสาหกรรมเบามาเปน็ อุตสาหกรรมหนกั และอุตสาหกรรมเชิงพาณชิ ย์ เพื่อ
สร้างมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศในระยะยาว นอกจากน้ีการเติบโตภาคอุตสาหกรรมมีการเติบโต
ควบคู่กับเศรษฐกิจภาคบริการ (+๒๐๙.๐๖) ในขณะท่ีแนวทางการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งภาคตะวันออกเปล่ียน
จากการส่งเสริมอุตสาหกรรมหนักไปการเป็น อุตสาหกรรมท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ภายใต้ พรบ.เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้ขับเคล่ือนการ
ดาเนินงานด้วยหลักการ BCG Model โดยแยกการดาเนินงานด้านการส่งเสริมการลงทุนด้าน Bio Economy
และ Green ในกลุ่มอุตสาหกรรมด้านการเกษตร อาหาร และสุขภาพ ในขณะท่ีส่งเสริมการลงทุนด้าน
Circular Economy ในธุรกิจรีไซเคิล พลังงาน และการจัดการคาร์บอน อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาเศรษฐกิจ
ภาคการเกษตรพบว่ามีการลดลงกว่าร้อยละ ๑๕ ทั้งน้ี เนื่องจากความไม่มีเสถียรภาพของราคาสินค้าทาง
การเกษตร รวมถงึ สภาพดิน ฟ้า อากาศ ท่มี คี วามไม่แน่นอนทาให้เกษตรกรเกดิ ความไม่มนั่ ใจในการลงทุน และ
การขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรในอนาคต ทาให้เกษตรกรส่วนใหญ่เลือกท่ีจะขายท่ีทากินแล้วเปล่ียนอาชีพ
จากเกษตรกรเป็นอาชีพรับจ้างหรือทาธุรกิจส่วนตัวแทนการเกษตรกรรม ในขณะท่ีจังหวัดระยองมีสภาพภูมิ
ประเทศและภูมิอากาศท่ีเหมาะสมต่อการทาเกษตรกรรม โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจที่สาคัญได้แก่ ทุเรียน มังคุด
และเงาะ เป็นต้น รวมถึงการประมงซึ่งเป็นอาชีพดั้งเดิมของประชาชนชาวระยอง ที่ยังคงมีการทาประมงเชิง
พาณิชย์ ประมงพื้นบ้าน ประมงเรือเล็กตามแนวชายฝ่งั ท่ัวไป ที่ควรได้รับการส่งเสริมสนับสนุนอย่างเหมาะสม
ควบคไู่ ปกับพฒั นาภาคอตุ สาหกรรมและการบริการ
การพยากรณ์ภาคอตุ สาหกรรมของจังหวดั ระยอง ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ พบว่ามีแนวโน้มเพ่ิม
สูงขึ้น อันเน่ืองมาจากโครงการพัฒนาพ้ืนที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกท่ีกาหนดแนวทางการพัฒนาให้
จังหวัดระยองเป็นศูนย์กลางความเจริญแห่งใหม่ เป็นศูนย์บริการมาตรฐานการศึกษาและวิจัยด้านเทคโนโลยี
สร้างโอกาสให้จังหวัดระยองมีการลงทุนและการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกันการ
เพ่ิมข้ึนของมลพิษ ขยะและของเสีย ก็มีโอกาสท่ีจะกลายเปน็ ปัญหาด้านสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนที่ หากไมม่ ีมาตรการ
บริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ในส่วนของการพยากรณ์ภาคการบริการของจังหวัดระยองพบว่า ในช่วงปี
พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๗๐ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เน่ืองจากจังหวัดระยองเป็นพ้ืนที่ท่ีมีลักษณะภูมิประเทศที่
หลากหลายท่ีส่งเสริมต่อการท่องเท่ียวท้ัง ภูเขา น้าตก สวนผลไม้ หาดทราย ทะเล เกาะต่าง ๆ ดังน้ันการ
ท่องเทีย่ วและการบรกิ ารของจังหวัดระยองจึงมีแนวโนม้ เพม่ิ สูงข้ึน อย่างไรก็ตามการเตบิ โตในภาคบริการอาจมี
การชะลอตัวในกรณีการแพร่ระบาดของโควิด-19 แต่ก็เป็นโอกาสในการฟ้ืนฟูของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติใน
พน้ื ที่

๕-๒

แผนส่งิ แวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๒.๓ ประชากร
จังหวัดระยอง มีจานวนประชากร ๗๓๔,๗๕๓ คน (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๒)
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทาให้ความหนาแน่นของประชากรเพิ่มข้ึน
ตามไปด้วย โดยจังหวัดระยอง มีความหนาแน่นของประชากรในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ อยู่ที่ ๒๐๗ คนต่อตาราง
กิโลเมตร ประชากรร้อยละ ๔๙ อาศัยอยู่ในเมืองหรือเขตเทศบาล ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยในช่วง ๑๐ ปี
ระหวา่ ง ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒ สัดส่วนของผู้อาศัยในเขตเมืองเพ่ิมข้ึนเล็กนอ้ ย และคาดว่าประชากรรวมจะ
เพิ่มขึ้นเป็น ๑,๘๔๖,๖๒๐ ล้านคน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เป็นประชากรทะเบียนราษฎร์ ๘๖๔,๗๓๙ คน และ
ประชากรแฝง ๙๘๑,๘๘๑ คน (สกพอ. ๒๕๖๑)
การเพิ่มขึ้นของประชากรมีผลต่อความต้องการทรัพยากรและปริมาณการปล่อยของเสีย ซ่ึงส่งผลต่อ
สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยจะส่งผลต่อความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
หากประชาชนไม่มีความสานึกรักษ์ธรรมชาติ จึงจาเป็นต้องมีแนวทางการส่งเสริมความรู้สึกรักษ์ใน
ทรัพยากรธรรมชาติทัง้ ประชาชนทีอ่ ยู่อาศัยและนกั ท่องเท่ยี วท่ีเขา้ มาใชท้ รัพยากรในพ้นื ท่ี
๓. โครงการพฒั นาในพ้นื ท่ี
โครงการพัฒนาจังหวัดระยองมีหลายโครงการ ได้แก่ การวางแผนพัฒนาพ้ืนท่ีตาบลบ้านฉางให้เป็น
ต้นแบบเมืองอัจฉริยะด้วยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี 5G และการพัฒนาพ้ืนที่วังจันทร์วัลเล่ย์ ท่ีต้ังอยู่
อาเภอวังจันทร์ ให้เป็นฐานที่ต้ังในการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม การพัฒนา เพ่ือตอบเป้าหมาย R&D และ
การพัฒนาเมืองภายใต้แนวคิด “มหานครเมืองการบินแห่งตะวันออก” โดยมีสนามบินอู่ตะเภาเป็นศูนย์กลาง
และทาการพัฒนาชุมชนเมืองโดยรอบในรัศมี ๓๐ กม. ให้เป็นเมืองอัจฉริยะ นอกจากนี้ยังมีโครงการระเบียง
ผลไม้ตะวันออก (Eastern Fruit Corridor: EFC) ในตาบลมาบข่า อาเภอนิคมพัฒนา ของจังหวัดระยอง
เพอ่ื ใหภ้ าคตะวนั ออกเปน็ ตลาดกลางประมูลผลไม้คุณภาพสูง เป็นต้น และโครงการศูนย์ซ่อมบารุงอากาศยาน
อู่ตะเภา โครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๓ รวมถึงการเชื่อมโยงการพัฒนาด้วย
โครงการรถไฟความเร็วสงู เชื่อม ๓ สนามบิน เร่ิมจากสนามบินดอน สุวรรณภูมิ และส้นิ สุดสนามบินอู่ตะเภา
นอกจากนี้ยังมีโครงการพัฒนาเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ เขตส่งเสริมเมืองการเงินภาคตะวันออก โครงการ
รถไฟทางคู่เชื่อมสามท่าเรือ เป็นต้น นับว่ามีผลต่อพื้นที่ เนื่องจากมีความต้องการใช้พ้ืนท่ีเพ่ือการพัฒนาสูง
ส่งผลต่อการเพ่ิมข้ึนของมูลค่าที่ดินโดยรอบนาไปสู่การเปล่ียนแปลงการใช้ท่ีดินซ่ึงอาจไม่สามารถควบคุมให้
เป็นไปตามเป้าหมายของผังและแผนท่ีวางไว้และอาจส่งผลต่อและการลดลงของพื้นที่เกษตรและความอุดม
สมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติในพื้นท่ี รวมถึงการลดระดับความมั่นคงทางอาหารและนิเวศวัฒนธรรมการ
ดารงชพี ด้วย หากขาดการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อมทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพและเหมาะสม
โครงการพัฒนาต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนในพื้นท่ี มีผลกระทบเช่ือมโยงกันท้ังในระบบเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดล้อม ในขณะท่ีภาคธุรกิจจาเป็นต้องมีการวิจัยและพัฒนากระบวนการอย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการ
พัฒนาโครงการต่าง ๆ ในพ้ืนท่ีภาคตะวันออก สัมพันธ์กับการเคล่ือนย้ายของแรงงานเข้าสู่พื้นท่ี มนี ักท่องเทียว
เข้ามาในพื้นท่ีเพ่ิมมากขึ้น ชุมชนเดิมที่ไม่สามารถปรับตัวรองรับการเปล่ียนแปลงใหม่ได้ก็ต้องย้ายไปสู่พื้นท่ีอื่น
หรือเปลี่ยนวิถีชีวิตให้เข้ากับสังคมใหม่ นาไปสู่การเปล่ียนแปลงการใช้ท่ีดินโดยเฉพาะจากพื้นที่ภาคการเกษตร

๕-๓

แผนส่งิ แวดล้อมในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ไปสู่การเป็นเมืองที่ขยายตัวเพ่ิมมากขึ้น ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมากขึ้น พร้อมกับปริมาณของ
เสียท่ีปล่อยออกสู่ส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีก็เพิ่มข้ึนตาม สิ่งเหล่าน้ีเป็นภาวะกดดันในพ้ืนที่ที่ต้องการแนวทางและ
แผนงานท่ีเหมาะสมเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงต้องการแผนที่เก่ียวข้องที่
หลากหลายมิติพรอ้ มท้ังการบรู ณาการร่วมกันและการมีส่วนร่วมจากภาคประชาสังคมอยา่ งแท้จริง ในขณะท่ี
แผนส่ิงแวดล้อมเป็นส่วนหน่ึงของแผนที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อร่วมกันสร้างความสามารถในการรับมือต่อการ
เปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ข้ึนและกาลงั จะเกิดขน้ึ ในพ้นื ที่ใหเ้ กิดการพัฒนาท่สี มดลุ และย่งั ยนื ตอ่ ไป
๔. สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

สถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมที่สาคญั ในจงั หวัดระยอง สรปุ ไดด้ ังตารางที่ ๕ – ๑

๕-๔

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภา

ตารางที่ ๕ - ๑ สรปุ สถานการณท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมในจังหวดั ระย

คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม เกณฑ์เสอ่ื มโทรม สถานการณ์
น้าผวิ ดนิ แม่นา้ ระยอ
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓) แมน่ า้ ประแ
สานกั งานส่ิงแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ )ี
(๒๕๖๓) จากการเก็บตวั อย่างน้าใตด้ ินจากบ่อน้าต้ืน พบการปนเป้ือนเ
น้าใต้ดนิ
(ศูนย์วิจัยและฝกึ อบรมดา้ นส่ิงแวดล้อม, โรงงานรไี ซเคิลขยะอเิ ล็กทรอนิกส์และน้ามันใช้แลว้ (บ.วินโพ
๒๕๖๔)
ปนเป้อื นสารกลุ่มพทาเลท โลหะหนัก สารบิสฟินอลเอและสา
นา้ ทะเลชายฝั่ง
(ปีพ.ศ. ๒๕๖๓) ชุมชนโขดหิน ตาเนินพระ อาเมือง จังหวดั ระยอง สารอินทรยี

สานกั งานส่ิงแวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ )ี และไวนิลคลอไรด์
(๒๕๖๔)
ดีมาก ๔.๕ % เกาะ
นา้ เสียชุมชน (ปริมาณ)
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๒) ดี ๗๗ % ปาก
สานักงานส่ิงแวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบุรี),
๒๕๖๓ ท่าเรือประ
นา้ เสยี (คณุ ภาพ)
ทรายแกว้ ,

อา่ วพร้าว,

ราพึง, หาด

พอใช้ ๑๔ % ปาก

ประแสร์

เส่ือมโทรม ๔.๕% หาด

๑๐๙,๑๑๔.๓๕ ลบ.ม./วัน

เกนิ เกณฑ์ (น้าทงิ้ พบฟอสฟอรัสท้งั หมดเกนิ )



าคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ยอง

การเปลีย่ นแปลง

อง เสื่อมโทรมมากขึน้ แมน่ า้ ระยอง

แสร์ คงที่ ระดับเสือ่ มโทรม แม่นา้ ประแสร์

เกินค่ามาตรฐาน ๒ พน้ื ที่ คือ รอบ
พรเสส) อ.บา้ นคา่ ย จ.ระยอง พบการ
ารอินทรยี ์ระเหย และรอบบรเิ วณ
ยร์ ะเหยชนดิ CCl๔, TCE, 1,2-DCA

าะกฏุ ี (หนา้ บา้ นพกั อุทยาน)
กแม่น้าพงั ราด, แหลม, สวนรกุ ขชาติ ,
ะมง (ตลาดบ้านเพ), เกาะเสมด็ (หาด
ท่าเรือหน้าดา่ น, อา่ วไผ่, อา่ วทบั ทมิ ,
เกาะกฏุ ี (ดา้ นตะวันตก)), หาดแม่
ดนา้ ริน, หาดพยูน
กแม่น้าระยอง ปากคลองแกลง แม่น้า

ดสชุ าดา

เพม่ิ ข้ึน

๕-๕

แผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภา

คณุ ภาพสิง่ แวดล้อม สถานการณ์
สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ (ชลบรุ ี),
๒๕๖๓ ท้ังหมด ๕ ระบบบาบัดน้าเสีย ทุกระบบบา
พื้นทีบ่ ริการระบบบาบัดน้าเสีย ๑๐๐%
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
สานกั งานส่งิ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุรี), น้าท้ิงเฉลย่ี ที่กกั เก็บในโรงงาน ๓,๕๗๐,๙๑
๒๕๖๓ นา้ ท้ิงเฉลยี่ ที่ระบายออกนอกโรงงาน ๑,๓๐๙,๔๕
น้าเสยี จากโรงงานอุตสาหกรรมในพนื้ ท่ี
EEC ไม่เกนิ ค่ามาตรฐาน SO2
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๑) NO2
กรมโรงงานอตุ สาหกรรม (๒๕๖๑) CO
คณุ ภาพอากาศ
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓) O3
PM10
กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๓ PM2.5

การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกระดับ Basic+ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ปริมาณ

(อบก., ๒๕๖๔) เทยี บเท่า โดยปรมิ าณการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกกล่มุ กจิ กรรม สูงส

ตนั คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเท่า คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๗๘

ขยะมูลฝอย (ข้อมูลปี พ.ศ. ๒๕๖๒) ปริมาณ ๐.๓๕ ลา้ น
กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๒ นาไปใช้ประโยชน์ ๑๔.๙๓%
กาจัดถูกตอ้ ง ๘๔.๑๓ %
กาจดั ไมถ่ ูกตอ้ ง ๐.๙๔%



าคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ การเปล่ียนแปลง

าบัดยงั ไม่ ครอบคลุมพ้ืนที่บริการ

๑๖.๘๐ ลบ.ม./วัน เพม่ิ ขน้ึ
๕๙.๐๔ ลบ.ม./วัน

าณ ๒๑.๙๗ ล้านตนั คาร์บอนไดออกไซด์ ลดลง
สดุ ในภาคพลงั งาน ปรมิ าณ ๑๔.๐๑ ลา้ น เพ่มิ ขึน้
เพ่มิ ข้ึน
นตันตอ่ ปี ลดลง
% เพ่ิมขึ้น
เพ่มิ ขึ้น
ผลการคาดการณใ์ นกรณีปกติปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจกในอนาคตปี
พ.ศ. ๒๕๗๓ ระดับ Basic+ จะมปี รมิ าณ ๒๔.๔๒ ลา้ นตัน
คารบ์ อนไดออกไซด์เทียบเท่า หรอื เพิ่มขน้ึ ประมาณ รอ้ ยละ
๑๑.๑๓ เมอ่ื เทยี บกับปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกปฐี าน ปริมาณ
๒๑.๙๗ ลา้ นตนั คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒
อตั ราการเพ่ิมเฉลี่ย ๕ ปี (๒๕๕๘ - ๒๕๖๒) = ๑.๗๓ กก./คน/วัน
เพมิ่ ขึ้น

๕-๖

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภา

คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม สถานการณ์

Cluster สถานทกี่ าจัด ๒๔ แหง่
สานกั งานสงิ่ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ )ี ,
๒๕๖๒ (เปดิ ๕ แห
กากของเสยี
กรมโรงงานอุตสาหกรรม, ๒๕๖๔ ๔ Cluster ประกอบด้วย ๕๗ ตาบล ๖ เกาะ

กากของเสยี อนั ตราย ๔.๓๒ แสน

กากของเสยี ไมอ่ นั ตราย ๒.๕๘ ลา้ น

ปรมิ าณของเสยี อันตรายท่ขี นออกนอกโรงงานฯ ๓.๘๘ แสน

มูลฝอยตดิ เชอื้ (ปี พ.ศ. ๒๕๖๓) ๖๑๐.๘๘ ตนั /ปี
๑,๙๕๕ กโิ ลกรมั
กรมอนามยั , ๒๕๖๓ ในเขตเมือง
ขยะทะเลตกค้าง นอกเขตเมอื ง ๕
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๐) ๐.๑๑ ตร.กม.
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ,
ม.ป.ป. ขน้ึ ทะเบยี นแล้ว
พื้นท่สี ีเขยี ว
(จากการแปลภาพถ่ายดาวเทยี ม
Landsat 8 OSI)
เขตพ้นื ที่เมืองเกา่
(ปี พ.ศ. ๒๕๕๘
ท่ีมา: ประกาศคณะกรรมการอนุรักษ์และ
พฒั นากรงุ รัตนโกสนิ ทรแ์ ละเมืองเก่า
แหล่งโบราณสถาน (ปี พ.ศ. ๒๕๕๙)

าคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ การเปล่ยี นแปลง

หง่ ปิด ๑๙ แหง่ )

นตนั เพิ่มขึน้
นตัน เพิม่ ขน้ึ
นตัน

เพมิ่ ขึ้น

ร้อยละ ๙.๗๐
รอ้ ยละ ๒๕.๙๓

๑๐ แหล่ง

๕-๗

คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม แผนสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภา

ยา่ นชมุ ชนเก่า สถานการณ์
ทรัพยากรธรรมชาติ รอพิจารณา
ชมุ ชนเกา่ ท่ขี ้นึ ทะเบียนแลว้ ทงั้ หมด ๕ ยา่ นชุมชน
ปา่ ไม้
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๓) สถานการณ์
๑.๘๒ แสนไร่
กรมพฒั นาที่ดนิ (๒๕๖๓)
ปา่ ชายเลน ๑๑,๙๒๔.๔๓ ไร่ ๓๑,๑๓๗.๒๕ ไร่
(๒๕๕๖ – ๒๕๖๑) ๓,๑๕๑ เสยี หายมา
แหล่งหญ้าทะเล
แนวปะการงั พน้ื ทก่ี ดั เซาะ ส
พื้นท่ีดาเนินการแกไ้ ขแล้ว ต
การกดั เซาะชายฝ่ังทะเล พน้ื ทไ่ี มก่ ัดเซาะ
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ ต่า (ดินเปร้ยี ว) ๕
(๒๕๖๒) ปานกลาง
ความอดุ มสมบูรณ์ของดนิ สูง
กรมพฒั นาท่ีดนิ (๒๕๖๑) พน้ื ท่ชี ุมชนและสิ่งปลูกสร้าง
พนื้ ที่เกษตรกรรม
การใชท้ ด่ี ิน พ้นื ทป่ี า่ ไม้
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๑) พ้ืนท่นี ้า
กรมพัฒนาท่ีดิน (๒๕๖๓) พน้ื ที่เบ็ดเตลด็
น้าฝนรายปเี ฉล่ีย
นา้
*กรมชลประทาน, ๒๕๖๐

าคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ การเปลี่ยนแปลง

๗ แหลง่ การเปล่ยี นแปลง
ลดลง

ากรอ้ ยละ ๑๑.๐ เพม่ิ ขน้ึ

๑.๗๖ กม. เพ่มิ ขึ้น
๒๘.๙๔ กม. ลดลง
๗๕.๐๔ กม. ลดลง
๑๖๕ ลา้ นไร่ เพ่มิ ขน้ึ
๒.๑๘ แสนไร่ เพิ่มขน้ึ
๒๕,๓๔๓ ไร่

๑๕.๖๕
๖๗.๐๖
๗.๙๖
๔.๑๓
๕.๒๑
สงู สดุ ๔.๐๘ ลบ.ม./ไร/่ ปี
ตา่ สุด ๐.๓๖ ล้าน ลบ.ม.

๕-๘

แผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภา

คณุ ภาพสิง่ แวดล้อม สถานการณ์
**สานกั งานทรพั ยากรนา้ แหง่ ชาติ, ปรมิ าณน้า*
๒๕๖๓ ความต้องการใชน้ ้า**
นา้ บาดาล (ปี พ.ศ. ๒๕๖๒) ความต้องการใชน้ ้าบาดาล ๓๔.๘๔ ลา้ นลบ.ม./ปี

กรมทรัพยากรน้าบาดาล (๒๕๖๒) กลุม่ แรเ่ พอ่ื การพัฒนาสาธารณปู โภคพืน้ ฐานและโครงการขน
แร่ (ปี พ.ศ. ๒๕๖๑; ๒๕๕๔) กลมุ่ แรเ่ พอื่ สนับสนุนเศรษฐกจิ และอตุ สาหกรรม ๓๐.๔๖ ตร.

กรมทรพั ยากรธรณี (๒๕๕๑; ๒๕๕๔) ร่างกฎกระทรวงกาหนดให้พืน้ ทอี่ าเภอปลวกแดง อาเภอบ้าน
พื้นท่ีคมุ้ ครองสงิ่ แวดลอ้ ม ระยอง

เร่ืองรอ้ งเรยี นด้านสงิ่ แวดลอ้ ม จานวน (ครงั้ )
(ที่มา: สสภ.๑๓)
๘ ครง้ั
เรือ่ งรอ้ งเรยี นด้านสงิ่ แวดลอ้ ม
(ทม่ี า: ทสจ. ระยอง) ๔๒



าคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๑๙๗.๘ ลา้ น ลบ.ม. การเปลยี่ นแปลง ๙๒๐.๗๖
๔๗๐ ล้าน ลบ.ม. พ.ศ. ๒๕๗๐ ๙๖๐.๑๖
พ.ศ. ๒๕๘๐

นาดใหญข่ องรัฐ ๘๔.๐๗ ตร.กม.
.กม.

นคา่ ย และอาเภอนคิ มพฒั นา จงั หวดั

ปญั หาท่พี บมากที่สดุ คอื
นา้ เสีย

มลพษิ ทางอากาศ

๕-๙

แผนส่งิ แวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

จ าก ข้ อ มู ล ส ถ าน ก า ร ณ์ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ใน พ้ื น ที่ พ บ ว่ า ปั ญ ห าที่ ส าคั ญ ใน พื้ น ที่ จั งห วั ด ร ะ ย อ ง
ประกอบด้วย ๓ ประเดน็ หลัก คอื น้าเสยี ขยะมูลฝอย และสมดุลน้า ซึ่งมรี ายละเอียดของสถานการณ์และการ
คาดการณด์ ังน้ี

การคาดการณป์ รมิ าณนา้ เสยี ชุมชน
ในการคาดการณ์ปริมาณน้าเสียชุมชนเป็นการคาดการณ์ปริมาณน้าเสียต่อประชากรท่ีเพ่ิมข้ึน พบว่า
จังหวัดระยอง มปี รมิ าณนา้ เสียชุมชน ๑๐๙,๑๑๔.๓๕ ลูกบาศก์เมตรต่อวนั ในปี พ.ศ.๒๕๖๒ คาดการณ์ว่าในปี
พ.ศ. ๒๕๗๐ จะมปี ริมาณนา้ เสียชมุ ชนเกิดข้ึน ๒๗๖,๙๙๓ ลูกบาศกเ์ มตรต่อวัน ในขณะที่ ความสามารถในการ
บาบัดสามารถบาบัดได้ ๒๕,๓๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน จึงมีความจาเป็นเร่งด่วนในการพิจารณาสนับสนุนการ
เพ่มิ ประสิทธิภาพในการบาบัดนาเสยี ใหม้ คี วามเหมาะสม เพอื่ การรกั ษาสภาพแวดล้อมท่ีดขี องพน้ื ที่อย่างย่งั ยนื
การคาดการณป์ รมิ าณขยะมูลฝอย
จากรายงานสถานการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยในจังหวัดระยอง ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เท่ากับ ๙๘๙ ตันต่อวัน
เมื่อคาดการณ์แนวโน้มปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึนในอนาคตข้างหน้าอีก ๗ ปี โดยการคาดการณ์จานวน
ประชากรในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ นามาวิเคราะห์ร่วมกันกับอัตราการผลิตขยะมูลฝอยต่อคนตอ่ วัน พบว่า ในปี พ.ศ.
๒๕๗๐ มปี รมิ าณขยะมูลฝอยในจงั หวัดระยอง เทา่ กับ ๒,๑๖๑ ตัน/วนั ในจังหวัดระยอง มี Cluster จานวน ๔
แห่ง ครอบคลุม ๕๗ ตาบล ๖ เกาะ จากข้อมูลการจัดการมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด
ชลบุรี มีปริมาณขยะท่ีนาไปทิ้ง ๘๖๙ ตัน/วัน จึงมีความจาเป็นเร่งด่วนในการพิจารณาสนับสนุนการเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการบาบดั นาเสียใหม้ ีความเหมาะสม เพ่ือการรกั ษาสภาพแวดลอ้ มท่ดี ขี องพน้ื ท่ีอยา่ งยั่งยืน
แนวโนม้ ความตอ้ งการใชน้ า้ ในพืน้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก
น้าต้นทุนของจังหวัดระยอง มีอ่างเก็บน้าในพ้ืนท่ีรวมกัน ๕ แห่ง ความจุรวม ๖๐๓.๒๘ ล้านลูกบาศก์
เมตรตอ่ ปี ปริมาณการส่งนา้ ๔๗๔.๒๖ ลา้ นลกู บาศก์เมตร (กรมชลประทาน, ๒๕๖๐) พบว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๐
มีความต้องการใช้น้าประมาณ ๔๙๔ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยมีความต้องการใช้น้าเพ่ืออุปโภคบริโภคร้อย
ละ ๑๒.๕๕ ด้านอุตสาหกรรมร้อยละ ๕๙.๓๑ และด้านเกษตรกรรมร้อยละ ๒๘.๑๔ และจากการคาดการณ์
ความต้องการใช้น้าในอนาคตของจังหวัดระยอง พบว่ามีแนวโน้มของความต้องการใช้น้าเพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ.
๒๕๗๐ เท่ากับ ๖๘๒ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และปี พ.ศ. ๒๕๘๐ เท่ากับ ๗๔๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี จาก
ข้อมูลดังกล่าว แสดงถึงความไม่สมดุลของทรัพยากรน้าและความต้องการใช้น้าในพื้นท่ี ซึ่งการบริหารจัดการ
น้าเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและกิจกรรมในพ้ืนที่ หน่วยงานรัฐท่ีเก่ียวข้องได้ดาเนินโครงการ
หลายโครงการเพ่ือการนาทรพั ยากรน้าจากนอกพื้นท่ีเข้ามารองรับให้เพียงพอตอ่ ความต้องการ ในขณะท่ีความ
ต้องการน้ามีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น ความขาดแคลนน้าในพื้นท่ีจึงเป็นความเสี่ยงที่ต้องการแนวทางการรองรับท่ี
ชดั เจน
๕. ปัจจยั แวดล้อมทมี่ ผี ลต่อการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
๕.๑ การวเิ คราะหป์ ัจจยั แวดลอ้ ม
จากกรอบแนวคิดการดาเนินงานโครงการท่ีเป็นการประยุกต์ใช้หลักการ Pressure-Carrying
Capacity-Governance: PCG Model ที่เป็นการวิเคราะห์ระดับภาวะกดดัน การวิเคราะห์ความสามารถใน

๕ - ๑๐

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

การรองรับของพ้ืนท่ี และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในพื้นที่ ในโครงการจัดทาแผน
สิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะที่ ๒ จึงเร่ิมต้นจากการทบทวนสถานการณ์ความท้า
ทายระดับโลกท่ีเป็นประเด็นกดดันภายนอกท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ี EEC รวมถึง
แรงกดดันระดับประเทศ ได้แก่ นโยบายและโครงการพัฒนาที่จะเกิดขึ้นในพ้ืนท่ี นอกจากน้ีสถานการณ์
ประชากร เศรษฐกิจ และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็นแรง
กดดันภายใน แรงกดดันทั้งหมด (Pressure: P) มีผลต่อความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity: C)
ในขณะเดียวกันความสามารถในการรองรับก็มีอิทธิพลต่อแรงกดดันเช่นกัน ซ่ึงการวิเคราะห์ขีดความสามารถ
ในการรองรับจะเป็นข้อมูลสาคัญท่ีนาไปสู่การบริหารจัดการ (Governance: G) และการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีดีจะนาไปสู่การปรับปรุงความสามารถในการรองรับได้ นอกจากน้ีการ
วิเคราะห์แรงกดดันก็สามารถเป็นข้อมูลในการบริหารจัดการได้เช่นกัน ดังนั้นการวิเคราะห์ PCG จะนาไปสู่
กระบวนการจัดทาแผนส่งิ แวดล้อมในพื้นท่ีพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ระยะที่ ๒ โดยมรี ายละเอียดดังต่อไปนี้

๕.๒ การวิเคราะหภ์ าวะกดดัน (P)
การพิจารณาแรงกดดันท่ีมีต่อสถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่พัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก แยกออกได้เป็น ๒ ระดับ คือแรงกดดันภายนอกและแรงกดดันภายใน โดยแรงกดดันภายนอก
ประกอบด้วย สถานการณ์ความท้าทายของโลก ได้แก่ ความมั่นคงทางอาหาร สุขภาพ และการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ นโยบายและทิศทางการพัฒนาของประเทศ ในขณะท่ีแรงกดดันภายในประกอบด้วย
ประชากร เศรษฐกิจ และสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

๕ - ๑๑

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาค

ตารางท่ี ๕ - ๒ การวเิ คราะหแ์ รงกดดนั (Pressure) แยกตามเขตจดั การตามภูมนิ

แรงกดดัน (P) เขตป่าไม้ เขตพืน้ ทชี่ มุ่ นา้ เขตป่าชายเลน เ

๑.ความม่ันคงทาง
อาหาร

๒.ภาวะคกุ คามสุขภาพ
ของประชากร

๓.การเปล่ยี นแปลง ตน้ ไมท้ วั่ ไป ๑ ตน้ สามารถดดู จากการศึกษาของ อบก. (๒๕๕๙) พบวา่
สภาพภูมอิ ากาศ ซับ CO2 ได้ ๒๑ กโิ ลกรมั ตอ่ ปี พ้นื ทปี่ า่ ชายเลนสามารถดดู ซับคาร์บอน
แต่หากตน้ ไมม้ ีอายุ ๑๐๐ ปี จะ ได้ ๒.๗๕ TCO2/ไร่/ปี ซง่ึ มากกว่าปา่ บก
สามารถดูดซบั CO2 ได้ ๑ ตนั ทสี่ ามารถดดู ซบั ได้ ๐.๙๕ - ๒.๐ TCO2/
ตอ่ ปตี อ่ ต้น (viessmann, n.d.) ไร่/ปี
พ้นื ที่ป่าไม้ในจงั หวดั ระยอง สถานการณ์พื้นที่ปา่ ชายเลนในจ. ระยอง
ลดลงจากรอ้ ยละ ๑๒.๔๕ ในปี เพ่มิ ขน้ึ จาก ๙,๐๓๓ ไร่ ในปี พ.ศ.
๒๕๕๙ เปน็ ร้อยละ ๑๒.๒๕ ใน ๒๕๕๖ เป็น ๑๐,๗๘๙ ไร่ สง่ ผลตอ่
๒๕๖๓ นน่ั หมายถงึ ประสิทธภิ าพในการดดู ซบั กา๊ ซ CO2 ของ
ความสามารถในการดูดซับ CO2 พน้ื ทปี่ า่ ชายเลนดขี นึ้
ลดลง

๕-

คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

นเิ วศ

เขตจดั การตามภมู ินเิ วศ

เขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมืองและชุมชน เขตอตุ สาหกรรม

ความตอ้ งการบรโิ ภคเพม่ิ เนือ่ งจากจานวนประชากรเพิม่ ขึน้

๑,๑๓๕,๑๓๒ คน ในปี ๒๕๖๒ เปน็ ๑,๗๐๑,๐๖๖ คน ในปี

๒๕๗๐ โดยร้อยละ ๔๙ อาศยั อยู่ในเขตเมือง (ปี พ.ศ. ๒๕๖๒)

(ความสามารถในการรองรับดา้ นอาหาร : การมอี ยขู่ องขา้ วใน

พ้ืนที่ EEC + ๕๒๗%, ระยอง= ๓๔%,)

พฤติกรรมการบริโภคเปลีย่ นไปเปน็ แบบเมอื ง ได้แก่ การกิน

การสูบบุหร่ี มลพษิ ทางอากาศ การด่ืมแอลกอฮอล์ และ

พฤตกิ รรมเนอื ยนิ่ง ส่งผลตอ่ โรคไมต่ ิดต่อเรือ้ รงั (WHO, 2014)

โดยจงั หวัดระยอง มีสดั สว่ นของผ้ปู ่วยดว้ ยโรคไม่ตดิ ต่อ เพม่ิ ข้ึน

จาก รอ้ ยละ ๑๒.๘๖ ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็น

๑๕.๔๑.๗๖ ในปงี บประมาณ ๒๕๖๓

(ความสามารถในการรองรับดา้ นภาวะโรคไม่ตดิ ตอ่ (NCDs) :

ภาวการณ์ตายดว้ ย NCDs ประชากรโลก = ๗๑ (%) : EEC=

๕๑.๘๑%, ระยอง = ๕๐.๖๖%,

ปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซ จังหวดั ระยองมคี า่ สงู กวา่ ค่าเฉลย่ี ในภาพรวมของประเทศไทยซึ่ง
เรอื นกระจกจากภาค
การใช้พ้ืนทก่ี ารเกษตร มีค่าการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ เทา่ กับ ๒.๕๘
และปา่ ไม้ ในปี พ.ศ.
๒๕๖๓ มปี รมิ าณการ gha/คน และสงู กวา่ พน้ื ท่ขี องโลกเฉลี่ยสาหรบั การรองรบั
ปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก
คดิ เปน็ –๗.๒๐ KgCO2eq กจิ กรรมของมนุษย์ (earth share) ประมาณ ๑.๙ gha/คน โดย

จังหวดั ระยองมีการบริโภคทรัพยากรและปลดปลอ่ ยของเสียท่ี

เท่ากบั ๓.๖๒ gha/คน (ความสามารถในการรองรบั ดา้ นการ

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: CF ในพืน้ ที่ ต่ากวา่ เลก็ น้อย ของ

ค่าการปล่อย GHGs ของโลกเฉลี่ยจากการรองรบั กิจกรรมของ

มนษุ ย์ (earth share) ท่มี ีค่า ๑.๙ gha/คน

๑๒

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาค

แรงกดดัน (P) เขตปา่ ไม้ เขตพนื้ ที่ชมุ่ น้า เขตปา่ ชายเลน เ

๔.นโยบาย/โครงการ โครงการพัฒนาทจี่ ะเกิดขึ้นนบั เป็นแรงกดดนั ตอ่ ทุกเขตจัดการภมู นิ ิเวศ ทีม่ ีผลตอ่ ทร
พัฒนา
พบวา่ พ้ืนทเ่ี กษตรกรรมในระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ. ๒๕๖๑ ลดลง รอ้ ยละ

๔๕.๔๗ ตามลาดับ อยา่ งไรกต็ ามการพัฒนาจาเปน็ ตอ้ งเนน้ การพัฒนาอตุ สาหกรรมควบ

(ความสามารถในการรองรบั ด้านการใชท้ ี่ดนิ : ความเพียงพอของพนื้ ที่ผลติ อาหารต่อคนจึง

พื้นท่ีสาหรบั คนหน่ึงคนที่ใชเ้ พื่อดารงชีวติ เป็นเกณฑท์ ่ีใช้ช้ีวัดความสามารถในการรองรับ

ฉะเชิงเทรา. +๒๑๓, ชลบรุ ี. -๗๕, ระยอง. –๓๘)

๕.ประชากร นักทอ่ งเที่ยวเพ่มิ ขึน้ จาก ๔,๖๓๔,๙๗๐ คน ในปี
เพ่ิมขนึ้ เปน็ ๗,๘๗๗,๓๗๙ คนในปี พ.ศ.๒๕๖๒ ส
และความเส่อื มโทรมของทรัพยากรในพน้ื ทธี่ รรมช
บริหารจัดการท่ดี ีพอ

๖.สถานการณ์ จังหวดั ระยองมีการลดลงของ แหล่งน้ามีคุณภาพน้า พน้ื ที่ป่าชายเลน พบ
ทรพั ยากรธรรมชาติและ พน้ื ท่ีป่าไม้ คือ ในปี พ.ศ. เสือ่ มโทรม คอื แม่น้า เพิม่ ขนึ้ จาก ไนโ
สิ่งแวดลอ้ ม ๒๕๕๖ มีพนื้ ท่ีปา่ ไม้ ระยอง และแม่น้า ๙,๐๓๓ ไร่ ในปี – ฟ
๑๘๐,๗๐๐ ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ประแสร์ พ.ศ. ๒๕๕๖ มาต
๘.๑๔ ของพนื้ ท่ีท้งั หมด ลดลง เป็น ๑๐,๗๘๙ ประ
เปน็ ๑๗๖,๘๑๘ ไร่ หรือคดิ เป็น ไร่ ในปี พ.ศ. เกา
ร้อยละ ๗.๙๖ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒๕๖๓ และ

การขดุ บอ่ ทรายและบ่อหินใน ขย
พื้นท่จี .ระยอง สว่ นใหญ่พบใน ชน้ิ
ปริม
ความยาวชายฝั่งในพน้ื ท
เท่ากบั ๑๐๕.๖๐ กโิ ลเม

๕-

คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

เขตจดั การตามภมู ินิเวศ

เขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมอื งและชมุ ชน เขตอตุ สาหกรรม

รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมของพน้ื ท่ี การเปล่ยี นแปลงการใช้ที่ดินในจงั หวัดระยอง

๖.๕๓ ในขณะที่พื้นทีอ่ ยอู่ าศัย พ้ืนท่ีพาณิชยกรรม และพื้นท่อี ตุ สาหกรรม สูงข้นึ ร้อยละ ๓๐.๘๙ ๘๙.๐๕ และ

บคู่ไปกบั เศรษฐกจิ และการบรหิ ารจัดการส่ิงแวดลอ้ มดว้ ย

งเปน็ ประเด็นสาคัญตอ่ คุณภาพชวี ิตของประชาชน โดยใชค้ า่ คาร์บอนฟตุ พรน้ิ ท์ (CF) ของพืน้ ท่ี ซ่ึงเปน็ ค่าบ่งชี้ทาง

บในการของพน้ื ท่ีเพาะปลกู ตอ่ หัวโดยความเพยี งพอของพนื้ ทีเ่ พือ่ การดารงชีวิตต่อประชากรหนง่ึ คน (%)ใน EEC –๔๒ ,

พ.ศ. ๒๕๕๓ นักท่องเท่ียวและ นักทอ่ งเทย่ี วเพ่ิมขนึ้ จาก -ประชากรแฝงใน จ.ระยอง
ส่งผลตอ่ การบุกรกุ แรงงานเพม่ิ ขึ้นส่งผลต่อ ๔,๖๓๔,๙๗๐ คน ในปี พ.ศ. เพมิ่ ข้นึ จาก ๔๐๐,๓๗๙ คน
ชาตหิ ากขาดการ ความเปราะบางความมี ๒๕๕๓ เป็น ๗,๘๗๗,๓๗๙ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็น
อย่ขู องอาหารในพน้ื ท่ี ในปี พ.ศ.๒๕๖๒ สง่ ผลต่อ ๘๕๘,๒๔๘ คน ในปี พ.ศ.
บไนเตรต– โดยพ้ืนที่เกษตรลดลง คุณภาพของสง่ิ แวดลอ้ มในเขต ๒๕๗๐ ทาใหค้ วามต้องการ
โตรเจน ฟอสเฟต ร้อยละ ๖.๕๓ ในชว่ งปี เมอื งท่ีมีสภาพกายภาพเมืองท่ี ใช้ทรพั ยากรในพื้นที่เพ่ิม
ฟอสฟอรัส เกินค่า พ.ศ. ๒๕๕๖ -๒๕๖๓ หนาแน่น สงู ขน้ึ ตามไปด้วย
ตรฐาน ทีป่ าก น. พ้นื ทีเ่ กษตรกรรมลดลง พืน้ ทีส่ เี ขยี วในเมอื งของจังหวัด การขนส่งของเสียอันตราย
ะแสร์ น.ระยอง รอ้ ยละ ๖.๕๓ ระหว่าง ระยอง มพี ื้นท่เี ทา่ กับ ๔๔,๔๗๒ ออกนอกโรงงาน พจิ ารณา
าะเสม็ด อา่ วพร้าว ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ. ไร่ คดิ เป็นร้อยละ ๙.๗๐ ของ จากขอ้ มูลการขนสง่ ของ
ะหาดสุชาดา ๒๕๖๑ พนื้ ท่ีทั้งหมด เสียอันตรายออกนอก
ะทะเล ๑๘,๔๗๖ โรงงาน ประเภทกลมุ่
ในปี ๒๕๕๙ มี -จังหวดั ระยองมีความ อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๖๐
มาณเพิ่มมากขนึ้ ตอ้ งการนา้ ในภาค – ๒๕๖๓ พบวา่ ในจงั หวัด
ทจ่ี ังหวัดระยอง ระยอง มีปริมาณเพิ่มข้ึน
มตร มีพ้นื ทีท่ ่ถี ูก
คณุ ภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์ (ยกเว้นคา่ สารอินทรยี ร์ ะเหยเกนิ คา่
มาตรฐานพบในเขตอตุ สาหกรรม) และ NO2 CO และ PM10 มี

๑๓

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาค

แรงกดดัน (P) เขตป่าไม้ เขตพืน้ ทช่ี มุ่ นา้ เขตปา่ ชายเลน เ
สิ่งแวดล้อมศลิ ปกรรม พืน้ ที่ อ.ปลวกแดง อ.นคิ ม กัดเซาะ ๑.๗๖ กโิ ลเมต
พัฒนา ทง้ั นใ้ี นพ้ืนท่ีทีม่ กี ารขดุ ชายฝงั่ ถูกกัดเซาะที่ไดร้
บ่อทราย บ่อหนิ สว่ นใหญ่พบว่า แก้ไขเรียบร้อยแลว้ ๒๘
มีหลายพ้นื ท่ีในอาเภอปลวกแดง และมีพ้ืนที่ดาเนินการแ
และอาเภอบา้ นคา่ ย ทเ่ี ปน็ พ้ืนท่ี เซาะอยู่ ๐.๑๒ กิโลเมต
ใกล้เคียงกับพืน้ ท่ีเหมืองเกา่ ที่ ๗๕.๐๔ กโิ ลเมตร เปน็ พ
ประทานบัตรหมดอายุ กรม เซาะ
อุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการ แหล่งปะการังในจงั หวัด
เหมืองแรก่ าลังดาเนินการและ ปะการงั จานวน ๓,๑๕๑
เสนอมาตรการกากบั ดแู ลเหมือง สว่ นใหญอ่ ยใู่ นสถานภา
แร่เกา่ เพอื่ การพัฒนาและฟ้นื ฟู กลางรอ้ ยละ ๓๒.๐ แล
ให้สามารถนากลับมาใช้ สถานภาพเสยี หาย รอ้ ย
ประโยชนห์ ลังการปิดเหมืองได้ อยูใ่ นสภาพเสียหายมาก
อาทิ เป็นแหลง่ กักเกบ็ นา้
สวนสาธารณะ และพน้ื ท่ี
เกษตรกรรม พรอ้ มดาเนินการ
ฟื้นฟูเหมอื งแร่เกา่ มากกวา่ ๑๐
แหง่ เพอ่ื เปน็ ตน้ แบบในการ
ปรับปรุงพื้นที่ ทงั้ นใ้ี นประเด็นท่ี
เปน็ ภารกจิ อานาจหนา้ ทท่ี ี่
ชัดเจนของหน่วยงานราชการ

๕-

คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

เขตจดั การตามภูมนิ ิเวศ

เขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม เขตเมืองและชมุ ชน เขตอตุ สาหกรรม

ตร เปน็ พน้ื ท่ี เกษตรกรรม ๑๓๙ ล้าน ค่าสูงขึ้น ซงึ่ เปน็ สารมลพิษท่เี กดิ จากกจิ กรรมเมอื งและ

รับการดาเนินการ ลูกบาศกเ์ มตร และ อุตสาหกรรม

๘.๘๒ กโิ ลเมตร พบว่าปรมิ าณนา้ ตน้ ทนุ ปริมาณน้าเสียมแี นวโนม้ เพิ่มข้ึน โดยมปี ริมาณน้าเสยี ชมุ ชนที่

แก้ไขแลว้ ยังกดั ในภาพรวมมี ๔๘๖.๒ เกดิ ขนึ้ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ปรมิ าณ ๑๐๕,๐๓๓ ลกู บาศก์เมตร

ตร ส่วนพนื้ ทอ่ี กี ล้านลกู บาศกเ์ มตร ซึง่ ไม่ ต่อวนั เพมิ่ ขึ้นเปน็ ๑๐๙,๑๑๔ ลกู บาศกเ์ มตรต่อวัน ในปี พ.ศ.

พนื้ ท่ที ีไ่ มถ่ ูกกดั เพียงพอกับความ ๒๕๖๒

ตอ้ งการน้าในบางพ้นื ที่

ดระยองมแี หลง่ คุณภาพน้าบ่อต้ืน ในชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตา
พดุ พบพารามิเตอร์ท่ีเกนิ มาตรฐานคณุ ภาพน้าใต้ดินปริมาณสูง
๑ ไร่ โดยปะการงั ในบอ่ นา้ ตนื้ พารามเิ ตอร์โลหะหลัก ได้แก่ เหลก็ แมงกานีส
ส่วนสารอินทรีย์ระเหยง่ายท่ีตรวจพบว่ามีค่าเกินมาตรฐาน
าพสมบูรณ์ปาน คุณภาพน้าใต้ดิน ได้แก่ 1,2 - ไดคลอโรอีเทน และคาร์บอนเด
ตระคลอไรด์ และไตรคลอโรเอทลี นี
ละรองลงมาอยู่ใน ส่วนรายงานผลการดาเนินงานของโครงการจัดการมลพิษจาก
แหล่งกาเนิดท่ีส่งผลต่อการปนเป้ือนในดิน น้าใต้ดิน และแหล่ง
ยละ ๒๘.๗ และ น้าในพ้ืนที่ชุมชน (ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม,
๒๕๖๔) จังหวัดระยอง พบการปนเปื้อนเกินค่ามาตรฐาน ๒
กรอ้ ยละ ๑๑ พื้นที่ คือ รอบโรงงานรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์และน้ามันใช้
แล้ว (บ.วินโพรเสส) อ.บ้านค่าย จ.ระยอง และรอบบริเวณ
ชุมชนโขดหนิ ตาเนินพระ อาเมือง จงั หวดั ระยอง

ป ระก าศเข ตพื้ นที่ เมือ งเก่า
ระยอง
แหล่งโบราณสถาน ๑๗ แหล่ง
ย่านชมุ ชนเก่าข้นึ ทะเบยี น ๕
ยา่ น

๑๔

แผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๕.๓ การวเิ คราะห์ความสามารถในการรองรับของพ้ืนท่ี (Carrying Capacity: C)
การศึกษาความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ของพื้นท่ี มี ๓ ข้ันตอน คือ (๑) การศึกษาระดับความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อมของพ้ืนท่ี (๒) การประเมินศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับ
ภูมินิเวศ และ (๓) การวิเคราะห์แรงกดดันและศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่
สอดคล้องกบั ภูมินเิ วศ มรี ายละเอียด ดงั น้ี

(๑) การศกึ ษาระดบั ความสามารถในการรองรับดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของพ้ืนท่ี
ประเด็นท่ีใช้ในการประเมินความสามารถในการรองรบั ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มได้
จากการรวบรวมแนวคิดผลกระทบที่ได้จากการพัฒนาพื้นที่เพื่อให้เป็นไปอย่างย่ังยืน ท้ังแนวคิดจากเป้าหมาย
การพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี Doughnut
economics การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถสรุปใน
ภาพรวมของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็น ๒ กลุ่ม ๘ ประเด็น คือ (๑) กลุ่มทรัพยากรและสุขภาพ
ประกอบด้วย ความสามารถในการรองรับด้านอาหาร ด้านทรัพยากรน้า และด้านสุขภาพ และ (๒) กลุ่ม
ส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย ความสามารถในการรองรับด้านมลภาวะ: มลพิษทางอากาศ ขยะมูลฝอย และน้า
เสีย ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ด้านคุณภาพน้าทะเล และด้าน
การใช้ท่ีดนิ ซึ่งทัง้ ๘ ประเด็นไดแ้ สดงกระบวนการวิเคราะหใ์ นบทท่ีผา่ นมา
ความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีเกินขีดความสามารถในการ
รองรบั ไดข้ องพนื้ ทีใ่ นจังหวดั ระยอง ได้ดังน้ี (รายละเอียดในตารางที่ ๗ - ๔)
(๑) ประเด็นเรื่องการมีอยู่ของอาหารในพื้นที่ ที่ปริมาณอาหารที่ผลิตได้ในพ้ืนท่ีน้อยกว่าปริมาณ
ความตอ้ งการ
(๒) ประเด็นด้านความหลากหลายทางชีวภาพท่ีอยู่ในระดับวกิ ฤติ ระดับนิเวศไม่สามารถทาหน้าท่ี
ใหบ้ ริการนเิ วศได้อีก
(๓) ประเด็นด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ท่ีกิจกรรมการดาเนินชีวิตในพ้ืนท่ีมีการ
ปลดปล่อยคารบ์ อนไดออกไซด์เกินกว่าเกณฑ์ทยี่ อมรับได้ และ
(๔) ประเด็นด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีมีพื้นท่ีเพาะปลูกไม่เพียงพอต่อปริมาณความต้องการเพ่ือ
การดารงชีพ
(๕) ประเด็นความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรน้า เป็นประเด็นท่ีต้องเฝ้าระวังเน่ืองจากอยู่ใน
สภาวะใกล้เกินขีดความสามารถในการรองรับ นอกจากน้ีในการจัดการน้าจาเป็นต้องบริหารเชิงพ้ืนที่ลุ่มน้า
ประกอบกับการพิจารณาการใชน้ ้าของพืน้ ท่ี EEC พบว่า เกินขีดความสามารถในการรองรับแลว้
(๖) ประเด็นด้านน้าเสีย สถานการณ์คุณภาพน้าในแหล่งน้าธรรมชาติโดยเฉลี่ยของจังหวัดระยอง
อยู่ในเกณฑ์ดัชนีคุณภาพน้าผิวดินระดับ ๔ คือ คุณภาพเส่ือมโทรม ถือว่าความสามารถในการรองรับเร่ืองน้า
ของแหล่งน้าธรรมชาติเกนิ ขีดความสามารถในการรองรบั ได้แลว้

๕ - ๑๕

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ภาพท่ี ๕ - ๑ ระดบั ความสามารถในการรองรบั ของจงั หวัดระยอง

๕ - ๑๖

แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ตารางท่ี ๕ - ๓ ระดับความสามารถในการรองรับดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของจังหวัดระยอง

ปัจจยั ค่าคะแนนดชั นชี ี้วัด เกณฑ์ชวี้ ัด

(กรณที ่เี กินความสามารถในการรองรับ)

ด้านทรพั ยากร

๑. ความสามารถในการรองรบั ด้านอาหาร เกนิ ขีดรองรับ - ร้อยละของผลผลิตข้าวต่อปริมาณบรโิ ภค
๑.๑ ปรมิ าณข้าวที่ผลิตไดใ้ นพนื้ ที่ (๖๖) < รอ้ ยละ ๑๐๐

๑.๒ ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร ปกติ - ราย ได้ เห ลื อ จ าก ร าย จ่ าย เท่ ากั บ
๑๐๐ ความสามารถเขา้ ถึงอาหารได้ ร้อยละ ๑๐๐

๒. ความสามารถในการรองรบั ด้านทรัพยากรน้า ปกติ (ใกลเ้ กนิ ขดี รองรบั ) -ร้อยละของน้าต้นทุนต่อความต้องการใช้
๒.๑ สมดุลการใชน้ า้ (๑๐๖) นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๑๐๐

๒.๒ การเข้าถงึ นา้ สะอาด ปกติ -ร้อยละของครัวเรือนมีน้าสะอาดด่ืมและ
๙๘ บริโภคเพียงพอตลอดปี>รอ้ ยละ ๘๑
๓. ความสามารถในการรองรับด้านสุขภาพ ปกติ ร้อยละการตาย NCDs >ค่าการตายNCDs
- ภาวะการตายดว้ ยโรคไมต่ ดิ ตอ่ (NCDs) ๕๐.๖๖ ของประชากรโลก (รอ้ ยละ ๗๑)

ดา้ นส่งิ แวดล้อม

๔. ความสามารถในการรองรับด้านมลภาวะ ปกติ วันสะสมท่ีมีค่า AQI สูงกว่า ๑๐๐>ร้อยละ
๔.๑ พิษทางอากาศ(Air Quality Index) ๒.๒ ๕๐ ของฤดหู นาวและฤดูร้อน

๔.๒ ขยะมลู ฝอย ปกติ การกาจัดขยะท่ีไม่ถูกหลักวิชาการ เกิน
๐.๙ ร้อยละ ๕๐

๔.๓ น้าเสีย เกนิ ขีดรองรับ ๔ AQI ไม่เกนิ ๓

๕. ความสามารถในการรองรบั ด้านการ เกินขีดรองรบั คาร์บอนฟุตพร้นิ ทข์ องพ้ืนที่ มากกวา่ ค่า
เปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ๓.๖๒ (earth share = ๑.๙ gha/คน)
- การปลดปลอ่ ยคาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์

๖. ความสามารถในการรองรับดา้ นความ เกนิ ขีดรองรบั BDV <๑๔ = ตา่
หลากหลายทางชวี ภาพของระบบนเิ วศ (BDV) ๑๑.๑๗

๗. ความสามารถในการรองรับด้านคุณภาพน้า

ทะเล เกินค่ามาตรฐาน pH (น้อยกว่า ๗.๐ หรือ

๗.๑ ภาวะความเป็นกรดในทะเลเฉลี่ย (pH) ปกติ มากกวา่ ๘.๕)

๘.๒๐

๗.๒ภาวะความสกปรกของน้าทะเล ปกติ คา่ มาตรฐาน MWQI ไม่เกิน ระดับ ๓


๘. ความสามารถในการรองรบั ดา้ นการใช้ทดี่ นิ เกินขีดรองรบั รอ้ ยละของพนื้ ทเ่ี พาะปลูก <พื้นที่ทเ่ี กิดจาก
- ความเพยี งพอของพื้นที่เพื่อการดารงชีวิตตอ่ ๖๑.๙๒ ค่า Carbon Footprint ของพน้ื ที่
ประชากรหน่งึ คน

๕ - ๑๗

แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

(๒) การประเมินศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีสอดคล้องกับ
ภมู ินเิ วศ

จากการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการรองรับ (C) ท่ีกล่าวมานาไปสู่การวิเคราะห์ขีด
ความสามารถในการรองรบั ตามเขตจัดการตามภมู ินเิ วศ ดงั ตารางท่ี ๕ – ๔

เขตปา่ ไมแ้ ละเขตเกษตรกรรม มีประเดน็ ทเ่ี กนิ ขดี ความสามารถในการรองรับคอื สมดุลการใช้
น้า การปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ ความสามารถในการรองรับด้านความหลากหลายทาง
ชวี ภาพของระบบนิเวศ (BDV) และ ความเพียงพอของพื้นที่เพื่อการดารงชีวติ ต่อประชากรหน่ึงคน

เขตพื้นทชี่ มุ่ น้าและเขตป่าชายเลน มีประเดน็ ท่เี กนิ ขดี ความสามารถในการรองรบั คอื นา้ เสีย
เขตทะเลและเกาะ มีประเด็นท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับคือ สมดุลน้า และประเด็นที่
ยังไม่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ ภาวะความเป็นกรดในทะเลเฉล่ีย (pH) และความสกปรกของน้า
ทะเล
เขตเมืองและชุมชน มีประเดน็ ท่เี กินขดี ความสามารถในการรองรับคือ ปริมาณข้าวท่ผี ลิตได้ใน
พื้นท่ี สมดุลการใช้น้า การปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ และความสามารถในการรองรับด้าน
ความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ (BDV) และประเด็นท่ีไม่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ
ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร การเข้าถึงน้าสะอาด ภาวการณ์ตายด้วยโรคไม่ติดต่อ และ ความสามารถใน
การรองรบั ดา้ นมลพษิ ทางอากาศ
เขตอุตสาหกรรม มีประเด็นท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับคือ สมดุลการใช้น้า การ
ปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ และประเด็นท่ีไม่เกินขีดความสามาร ถในการรองรับคือ
ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร การเข้าถงึ น้าสะอาด ภาวการณ์ตายด้วยโรคไม่ติดตอ่ และ ความสามารถใน
การรองรับดา้ นมลพษิ ทางอากาศ

ตารางท่ี ๕ - ๔ การวเิ คราะห์ความสามารถในการรองรับ จาแนกตามเขตการจัดการตามภมู นิ เิ วศ ของ

จังหวัดระยอง

ปัจจัยความสามารถในการรองรบั เขตจดั การตามภูมินิเวศ

๑. ความสามารถในการรองรบั ดา้ น เขตปา่ เขต เขตปา่ เขตทะเล/ เขต เขตเมือง เขต
อาหาร อุตสาหกรรม
ไม้ พื้นท่ชี ่มุ ชายเลน เกาะ เกษตรกรรม และชมุ ชน
๑.๑ ปรมิ าณขา้ วทีผ่ ลิตไดใ้ นพนื้ ท่ี
๑.๒ ความสามารถในการเขา้ ถงึ อาหาร น้า
๒. ความสามารถในการรองรับดา้ น
ทรัพยากรนา้ เกนิ ขดี

๒.๑ สมดุลการใช้น้า รองรับ
๒.๒ การเข้าถงึ นา้ สะอาด
๓. ความสามารถในการรองรบั ด้าน ปกติ ปกติ (ใกล้ ปกติ (ใกล้ ปกติ ปกติ
สุขภาพ (ใกล้เกนิ เกนิ ขีด) เกนิ ขดี ) ปกติ (ใกล้ ปกติ (ใกลเ้ กนิ
- ภาวะการตายดว้ ยโรคไมต่ ดิ ต่อ เกนิ ขีด)
ขีด) ขีด)

ปกติ ปกติ
ปกติ ปกติ

๕ - ๑๘

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ปจั จยั ความสามารถในการรองรับ เขตจดั การตามภูมนิ เิ วศ

เขตป่า เขต เขตปา่ เขตทะเล/ เขต เขตเมือง เขต
และชุมชน อตุ สาหกรรม
ไม้ พืน้ ทีช่ มุ่ ชายเลน เกาะ เกษตรกรรม
ปกติ ปกติ
นา้
ปกติ เกนิ ขีดรองรับ
๔. ความสามารถในการรองรบั ด้าน
เกินขดี
มลภาวะ รองรับ

๔.๑ มลพิษทางอากาศ AQI เกินขดี
รองรับ
๔.๒ ขยะมลู ฝอย

๔.๓ น้าเสีย เกินขดี

รองรับ

๕. ความสามารถในการรองรบั ด้านการ เกินขีด เกินขดี

เปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ รองรับ รองรับ

- การปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรม

ของมนุษย์

๖. ความสามารถในการรองรับดา้ นความ เกนิ ขดี เกนิ ขีด เกนิ ขีด เกินขีด

หลากหลายทางชวี ภาพของระบบนิเวศ รองรบั รองรบั รองรับ รองรับ

(BDV)

๗. ความสามารถในการรองรบั ดา้ น ปกติ

คณุ ภาพน้าทะเล

๗.๑ ภาวะความเปน็ กรดในทะเลเฉลยี่ (pH)

๗.๒ภาวะความสกปรกของน้าทะเล ปกติ

๘. ความสามารถในการรองรับดา้ นการใช้ เกินขดี เกนิ ขีด

ทด่ี นิ รองรบั รองรบั

- ความเพยี งพอของพนื้ ท่ีเพื่อการ

ดารงชีวิตตอ่ ประชากรหน่ึงคน

(๓) การวเิ คราะหแ์ รงกดดนั และศักยภาพการรองรบั ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มที่
สอดคลอ้ งกับภมู นิ ิเวศ

จากการวเิ คราะหแ์ รงกดดนั ท้งั ภายนอก ได้แก่ สถานการณ์ความท้าทายของโลก นโยบายและแผน
และ การวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบของแรงกดดันภายใน ได้แก่ โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมและ
โครงสร้างพื้นฐาน แนวโน้มประชากร และแนวโน้มการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมถึงการวิเคราะห์
สถานการณ์และแนวโน้มทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวมถึง
ผลการประเมินศักยภาพในการรองรับถูกนามาสรุปผลการประเมินตามภูมินิเวศ และวิเคราะห์ผลกระทบท่ี
ได้รับ โดยการศึกษาได้จัดประเภทภูมินิเวศตามแนวทางการกาหนดของสานักงานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ซ่งึ ไดแ้ บ่งเป็น ๗ ประเภท ประกอบดว้ ย เขตจัดการตามภมู ินเิ วศเขตป่าไม้
เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตพื้นที่ชุ่มน้า เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าชายเลน เขตจัดการตามภูมินิเวศเขต
ทะเลและเกาะ เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเกษตรกรรม เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเมืองและชุมชน และเขต
จดั การตามภูมินิเวศเขตอตุ สาหกรรม

จากตารางท่ี ๕ – ๓ แรงกดดันตามเขตจัดการตามภูมินิเวศ และตารางท่ี ๗ – ๕ แสดง
ความสามารถในการรองรับจาแนกตามเขตการจัดการตามภูมินิเวศ ของพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

๕ - ๑๙

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สามารถสรุปผลการประเมินแรงกดดัน (P) กับ ความสามารถในการรองรับ (C) แยกตามเขตจัดการตามภูมิ
นิเวศของพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าไม้ ในพื้นที่จังหวัดระยองได้รับแรงกดดันกายนอกด้านการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีอุณหภูมิสูงขึ้นส่งผลต่อประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอน นอกจากน้ีการ
เกิดข้นึ ของโครงการ จานวนประชากรและนกั ท่องเท่ียวที่มีแนวโน้มสูงขน้ึ มผี ลต่อการสญู เสียพื้นท่ีป่าเน่ืองจาก
มีความต้องการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน และมีการสัมปทานเหมืองแร่และหิน มีการรุกล้าพื้นท่ีเพื่อ
ขุดบ่อดิน/ทราย ลูกรังและระเบิดหิน เม่ือพิจารณาร่วมกับสถานการณ์ป่าไม้ในบางพ้ืนที่มีพ้ืนท่ีลดลง ส่งผลให้
เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าไม้มีแรงกดดันสูง (Pressure: P สูง) และเม่ือพิจารณาศักยภาพในการรองรับ
ของเขตป่าไม้ พบว่า มีความสัมพันธ์กับประเด็นด้านความหลากหลายทางชีวภาพ การเปล่ียนแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศ การใช้ท่ีดิน และทรัพยากรน้า และจากผลการวเิ คราะห์ศกั ยภาพในการรองรับทงั้ สี่ประเด็นน้ี พบว่า
เกินขีดความสามารถในการรองรับของเขตป่าไม้แล้ว (Carrying Capacity: C ต่า) ซึ่งมีผลกระทบต่อความ
สญู เสยี ความหลากหลายทางชีวภาพและโอกาสในการฟน้ื ฟูป่าเสื่อมโทรมและป่าสมบูรณ์น้อยลง เป็นความสุ่ม
เสี่ยงต่อการสูญเสียความสมดุลทางสภาพแวดล้อมอันจะเป็นปัจจัยท่ีนาไปสู่ความเสียหายทางเศรษฐกิจ และ
ลดคุณภาพชวี ิตของประชากรในอนาคต

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตพ้ืนท่ีชุ่มน้า ในพนื้ ที่จังหวัดระยองได้รับผลจากโครงการพัฒนาต่าง ๆ
ท่ีเกิดขึ้นในพื้นท่ีส่งผลให้มีจานวนประชากรเพ่ิมสูงข้ึน ประกอบกับสถานการณ์น้าผิวดินที่เส่ือมโทรม รวมถึง
อณุ หภูมทิ ี่สูงข้ึน ซึ่งเป็นแรงกดดนั ที่สูง (P สูง) ซ่ึงส่งผลต่อความสมบูรณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพ การ
รุกล้าหรือทาลายพื้นท่ีชุ่มน้าสูงข้ึน นอกจากลดระดับความหลากหลายทางชีวภาพแล้วอาจน้าไปสู่การทาลาย
ระบบนิเวศริมฝ่ังน้าอย่างถาวร สถานการณ์การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพริมน้าเกิดขึ้นโดยท่ัวไป
และท่ีน่าเป็นห่วงมากคือพื้นที่คลองลาวน อาเภอแกลง จังหวัดระยอง เน่ืองจากความหลากหลายทางชีวภาพ
ของพื้นท่ีสัมพันธ์กับวิถีชีวิตชุมชนท่ีได้อยู่อาศัยในลาน้าดังกล่าว ความต้องการการใช้พ้ืนที่เพื่อพัฒนาและ
จานวนประชากรท่เี พ่มิ สูงขึน้ รวมถึงนโยบายทใ่ี ห้อานาจหน่วยงานดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาโครงการต่าง ๆ
โดยมองข้ามผลกระทบต่อวิถีชีวิตชุมชนในพื้นท่ี เป็นส่ิงท่ีคว รได้รับการพิจารณ าให้เหมาะสม
ซ่งึ พื้นท่ชี ุ่มน้าในภาคตะวันออกมคี ณุ ค่าทางความหลากหลายทางชวี ภาพที่สาคญั

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าชายเลน การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินป่าชายเลนเกิดข้ึนอย่าง
รวดเร็ว ทั้งนี้เน่ืองจากพื้นที่ป่าชายเลนบางส่วนเป็นพื้นท่ีที่มีเอกสารสิทธิ ซึ่งในสภาวะที่มีความต้องการพัฒนา
ทางเศรษฐกิจท่ีสูงทาให้ป่าชายเลนลดลงอย่างรวดเร็ว สถานการณ์การลดลงของป่าชายเกิดขึ้นจากทั้งการ
เปลี่ยนแปลงพ้ืนท่ีไปสู่การพัฒนาแบบเมอื ง (P สูง) ซงึ่ ส่งผลต่อความสมบรู ณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพ
ท่ีเกินความสามารถรองรับได้ (C ต่า) ผลกระทบท่ีขึ้นกระทบต่อการสูญหายของนิเวศชายฝ่ังและนิเวศ
วัฒนธรรม ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศที่ลดน้อยลง สัตว์วัยอ่อนขาดถิ่นท่ีอยู่ รวมถึงกระทบต่อวิถีชีวิตของ
ชุมชน ส่วนในกรณีพ้ืนที่ภายในลาคลองการเปล่ียนแปลงเกิดจากการเกษตรโดยเฉพาะการเพาะเล้ียงสัตว์น้า
เช่น กรณีของคลองลาวน อาเภอแกลง ระยอง ซ่ึงส่งผลต่อการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพของ
บริเวณพืน้ ท่ปี า่ ชายเลน

๕ - ๒๐

แผนส่งิ แวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตทะเลและเกาะ ได้รับแรงกดดันจากการพัฒนาพื้นท่ีจากท่ีรุกล้าพ้ืนท่ี
ทะเลมีผลต่อปัญหาการกัดเซาะชายฝ่ัง ประกอบกับ ประชากรและนักท่องเท่ียวท่ีปล่อยของเสียรวมถึงการใช้
ทรพั ยากรทางทะเลอย่างไม่รอบคอบ รวมถึงสถานการณ์น้าทะเลชายฝั่งและทรัพยากรชายฝั่งท่ีเร่ิมเสื่อมโทรม
บ้างและชายฝ่ังท่ีถูกกัดเซาะแต่ได้รับการแก้ไขบ้างแล้ว และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดจาก
กจิ กรรมของมนุษย์ท่ีมีการปล่อยก๊าซ GHGs เพิ่มข้ึน ส่งผลให้เขตทะเลและเกาะมีแรงกดดัน (P สูง) ซึ่งเกินขีด
ความสามารถในการรองรับด้านคุณภาพนา้ และดา้ นการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ซง่ึ ส่งผลกระทบตอ่ ความ
อดุ มสมบรู ณ์ของความหลากหลายทางชวี ภาพ ประกอบกับปริมาณพ้ืนท่ีสีเขยี วท่นี ้อยส่งผลกระทบตอ่ โอกาสใน
การเปลี่ยนสมดุลของวัฏจักรน้าของทะเลและความเส่ือมโทรมของน้าทะเลหากขาดการบริหารจัดการอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ ดงั น้ันความสามารถในการรองรบั เขตทะเลและเกาะอยู่ในระดบั ปานกลาง (C ปานกลาง)

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเกษตรกรรม แรงกดดันภายนอกท่ีสาคัญของพ้ืนท่ีเกษตรกรรม คือ
สภาพภูมิอากาศท่ีมีการเปล่ียนแปลงส่งผลต่อการขาดแคลนน้าและประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอนลดลง
รวมถึงนโยบายและแผนการพัฒนาในโครงการต่าง ๆ ท่ีดึงดูดประชากรเข้ามาในพื้นท่ีส่งผลต่อความต้องการ
การใช้ท่ีดินเพ่ิมขึ้น นอกจากน้ีสถานการณ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมก็สร้างแรงกดดันกับเขตเกษตรกรรม
เช่นกัน เช่น ทรัพยากรน้าท่ีไม่เพียงพอ สารปนเปื้อนในน้าผิวดินและน้าใต้ดิน เหล่านี้นับว่าเป็นแรงกดดันที่มี
ต่อเขตเกษตรกรรมสูง (P สูง) ส่งผลต่อศักยภาพในการรองรับด้านความหลากหลายทางชีวภาพ การ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ การใช้ท่ีดิน และทรัพยากรน้า ที่เกินขีดความสามารถในการรองรับไปแล้ว (C
ค่อนข้างต่า) จึงนาไปสู่ผลกระทบทางด้านความอ่อนไหวของพื้นท่ีเกษตรกรรมที่จะเปล่ียนมือไปสู่พ้ืนที่พัฒนา
อ่ืน ๆ ประเด็นนี้นอกจากจะกระทบเชิงพื้นที่แล้ว ยังส่งผลตอ่ นิเวศวัฒนธรรมทางเกษตรท่ีจะมีความเปราะบาง
สูงขนึ้

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเมืองและชุมชน ดูจะเป็นเขตที่ได้รับแรงกดดันสูงมากกว่าทุกเขต
ท้ังน้ีเนอ่ื งจากมีความเสย่ี งต่อความไมม่ ั่นคงทางอาหารเน่ืองจากพืน้ ท่ีสว่ นใหญ่บนโลก โดยเฉพาะประเทศกาลัง
พัฒนามีกระบวนการเป็นเมืองสูงและจานวนประชากรที่เพ่ิมขึ้นประชากรมีแนวโน้มอาศัยอยู่ในเมือง รวมถึง
จานวนนักท่องเท่ียวและแรงงานท่ีจะเข้ามาอยู่ในพ้ืนท่ีเมืองที่สูงขึ้น ประกอบกับการใช้ท่ีดินในเมืองที่มีความ
หนาแน่นของอาคารและความเข้มข้นของกิจกรรมเมือง พื้นที่ในเมืองเป็นพ้ืนผิวดาดแข็งมากกว่าพ้ืนผิวดาด
ออ่ นเพ่ือประโยชน์ต่อการใช้สอยที่งา่ ย พ้ืนท่ีสีเขยี วในเมืองจึงมีจานวนน้อย ทาให้แนวโน้มคุณภาพอากาศท่ีแย่
ลงแตย่ ังไม่เกินเกณฑม์ าตรฐาน ยกเว้นสารอินทรีย์ระเหยง่ายท่ีเกนิ คา่ มาตรฐานในบางพ้ืนที่ คุณภาพนา้ ใต้ดินที่
พบสารปนเปื้อน รวมถึงก๊าซคาร์บอนได้ออกไซด์ที่เกินค่าบรรยากาศและแนวโน้มอุณหภูมิท่ีสูงข้ึน นอกจากน้ี
ความต้องการบริโภคและการใช้ทรัพยากรท่ีเพิ่มมากข้ึนนาไปสู่ปริมาณการปล่อยของเสียท่ีเพ่ิมตามไปด้วย
ดังนั้นจึงหลีกเล่ียงไม่ได้ว่าแรงกดดันในพื้นที่เขตเมืองและชุมชนจะสูงมาก (P สูง) ซ่ึงส่งผลต่อศักยภาพในการ
รองรับด้านมลพิษทางอากาศ ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การมีอยู่ของ
อาหาร และทรัพยากรน้า ท่เี กินขีดความสามารถในการรองรบั อย่างไรกต็ ามเมืองยังสามารถเข้าถึงอาหารและ
น้าสะอาดได้อยู่ ดังน้ันความสามารถในการรองรับจึงอยู่ในระดับปานกลาง (C ปานกลาง) ซ่ึงส่งผลกระทบต่อ
สุขภาพของคนเมืองและคุณภาพของสิ่งแวดล้อมด้วย นอกจากน้ีการพัฒนาท่ีเกิดขน้ึ ในพื้นท่ีส่งผลต่อโอกาสใน
การเพิม่ พืน้ ทีส่ ีเขยี วขนาดใหญ่ในเมืองเป็นไปได้ยากมากขนึ้

๕ - ๒๑

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตอุตสาหกรรม จังหวัดระยองเป็นพื้นที่เป้าหมายการพัฒนาของ
ประเทศ โครงการพัฒนาต่าง ๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ที่จะดึงดูดท้ังโครงสร้างพื้นฐานและแรงงานเข้ามาใน
พ้ืนที่ที่ ซึ่งสถานการณ์สิ่งแวดล้อมในพื้นที่มีทิศทางเส่ือมโทรมลง เช่น คุณภาพอากาศ ปริมาณกากของเสีย
จานวนมากขึ้น ในขณะที่ปริมาณพ้ืนที่สีเขียวท่ีน้อย นับเป็นเขตที่มีแรงกดดันสูง (P สูง) และเมื่อพิจารณา
ศักยภาพในการรองรับพบว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกินขีดความสามารถในการรองรับประเด็น ซึ่ง
เกิดจากการปล่อยของเสียของโรงงานอุตสาหกรรมส่งผลให้มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงเนื่องจาก
กระบวนการผลิตที่เข้มข้นมากขึ้นส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่งควรได้รับการจัดการที่มีประสิทธิภาพและในเชิง
บูรณาการ ดังนัน้ เขตอตุ สาหกรรมจงึ มีความสามารถในการรองรับในระดบั คอ่ นข้างสูง (C ค่อนข้างสูง)

ตารางที่ ๕ - ๕ สรุปผลการประเมนิ แรงกดดนั (P) กบั ความสามารถในการรองรับ (C) แยกตามเขต

จัดการตามภมู ินิเวศของจังหวัดระยอง

พ้นื ท่ี เขตจดั การตามภูมินเิ วศ
ระยอง
เขตป่าไม้ เขตพืน้ ที่ชมุ่ เขตปา่ ชาย เขตทะเล/ เขตเกษตรกรรม เขตเมอื งและ เขต
นา้ ชุมชน อตุ สาหกรรม
P สูง P สูง เลน เกาะ P สงู
C ค่อนขา้ งตา่ C ต่า P สงู
P สูง P สงู P สงู C ปานกลาง C คอ่ นข้างสงู

C ต่า C ปานกลาง C ค่อนขา้ งตา่

จากผลการประเมินแรงกดดันและความสามารถในการรองรับของพื้ นที่เขตพัฒ นาพิเศษภาค
ตะวันออก จาแนกตามเขตจัดการตามภูมินิเวศ สามารถสรุปผลและเสนอแนวทางแก้ไข (ประยุกต์จาก Boa,
2020) ไดเ้ ป็น ๓ กรณี คอื

๑) กรณี P สูง C ต่า ประกอบด้วย เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าไม้ เขตเกษตรกรรม และเขต
อุตสาหกรรม ควรมีแนวทางในการแก้ไข คือ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การ
ลดระดับการพ่ึงพาทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในการพัฒนาเศรษฐกิจ การให้ความสาคัญกับการใช้ประโยชน์
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมเหตุสมผลและป้องกันส่ิงแวดล้อม และการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพการใช้ทรัพยากร
และการบรหิ ารจัดการสง่ิ แวดล้อม

๒) กรณี P สูง C ปานกลาง ประกอบด้วย เขตจัดการภูมินิเวศเขตทะเลและเกาะ และเขตเมือง
และชุมชน ควรมีแนวทางแก้ไขและฟ้ืนฟู คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร การปรับปรุงระดับ
ความสามารถการบริหารจดั การส่ิงแวดล้อม และการสง่ เสริมการพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชน

๓) กรณี P สูง C สูง ประกอบด้วย เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตพื้นท่ีชุ่มน้า และเขตป่าชายเลน
ควรมีแนวทางการป้องกัน คือ การรักษาระดับสถานการณ์ความสามารถในการรองรับไว้ทั้งหมด และการ
ปรับปรงุ การใชป้ ระโยชนแ์ ละการบริหารจัดการทรพั ยากรและสง่ิ แวดล้อม

๗.๕.๔ การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ในส่วนน้ีได้รวบรวมสถานการณ์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของ
หน่วยงาน องค์กร ภาคส่วนต่าง ๆ แยกตามประเด็นแรงกดดัน สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและ

๕ - ๒๒

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สิ่งแวดล้อม และความสามารถในการรองรับ ดังตารางท่ี ๕ – ๖ ซึ่งรายละเอียดต่าง ๆ ถูกนาไปแยกแยะและ
จดั กลุม่ เปน็ แผนงานภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ และกลยทุ ธ์ทีจ่ ะนาไปสู่การบรรลเุ ป้าหมายของแผนต่อไป

ตารางที่ ๕ - ๖ การบริหารจดั การ (Governance) ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมตามประเด็นแรง

กดดันและความสามารถในการรองรบั

การบริหารจัดการ การบรหิ ารจดั การในปจั จบุ นั

๑. ความม่ันคงทางอาหาร - ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ท่ี ๕ ด้านการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ
ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ใน (๕) เน้นการ พฒั นาความมั่นคงทางน้า พลังงาน และเกษตร

ที่เป็นมิตรต่อสง่ิ แวดล้อม

-แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ ยุทธศาสตร์ ท่ี ๔ ใน (๔) เนน้ การ

ส่งเสริมการผลติ และการบรโิ ภคท่เี ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม

๒.สขุ ภาพ แผน Big Rock แผนขบั เคลอ่ื นกจิ กรรมปฏริ ปู ทส่ี ่งผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงตอ่
- ภาวะการตายด้วยโรคไมต่ ดิ ต่อ ประชาชนอยา่ งมีนัยสาคัญ (Big Rock ด้านสาธารณสุข) เช่น กจิ กรรม BR0702 เรอ่ื งการ
(NCDs) ปฏิรปู เพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ของการเสรมิ สรา้ งสขุ ความรอบรดู้ า้ น

สุขภาพ การป้องกนั และดแู ลรักษาโรคไม่ตดิ ตอ่ สาหรับประชาชนและผปู้ ่วย
กาหนดเปา้ หมายยอ่ ยที่ ๕ ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายระดับมหภาคและแนวทางเฉพาะ
ด้าน ในการป้องกันและลดอนั ตรายจากอาหาร และสารเคมี ทก่ี อ่ ใหเ้ กิดโรคไมต่ ดิ ต่อ

๓. การเปลยี่ นแปลงสภาพ แผนแมบ่ ทรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๙๓ (สผ.)

ภมู ิอากาศ ประเทศไทยตั้งเป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจกในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ร้อยละ ๒๐-๒๕

--การปลดปลอ่ ยคารบ์ อน จากกรณดี าเนนิ การตามปกติ
- คุณภาพอากาศ เริม่ ดาเนนิ การ NDC ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
บรรลเุ ป้าหมาย NDC ลดก๊าซเรอื นกระจกได้มากกว่า ๑๑๑ MtCO2eq
- ใช้การติดตามตรวจสอบสถานการณค์ ณุ ภาพอากาศ ค่า VOC ไดแ้ ก่ สารเบนซนี สาร

1,3 บิวทาไดอนี

- ติดตั้งสถานีตรวจวัดคณุ ภาพอากาศบริเวณพืน้ ทอี่ ุตสาหกรรม
- ผู้ประกอบการเพ่ิมความถ่ีในการตรวจสอบ VOCs จาก ๑ คร้ัง/ปี เป็น >= ๒ คร้ัง/ปี
- ส่งเสรมิ การลงทุนโครงการทไี่ ม่กอ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ

- เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธค์ วามรขู้ องสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยง่าย (VOCs) แกป่ ระชาชน
- มีการใชป้ ระมวลหลกั ปฏิบัติ CoP (Code of Practice) ในนิคมฯ ทีส่ ามารพปฏิบตั ไิ ด้
จริง ทาให้ VOCs ตา่ ลง เป็นผลใหม้ ีแผนการพจิ ารณายกเลิกเขตควบคมุ มลพษิ
- การวางแผนพัฒนาพื้นท่ี ให้ความสาคญั กับการเศรษฐกิจสงู สุด

ขยะมูลฝอยและนา้ เสีย - แผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ มี

โครงการสนับสนุนดา้ นการจดั การขยะและนา้ เสยี

- องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินมีแผนการดาเนนิ งานดา้ นการจดั การขยะและน้าเสยี ใน
พน้ื ที่

๔. นโยบาย/โครงการพัฒนา - ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ท่ี ๕ ดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ที่

ความสามารถในการรองรบั ด้าน เปน็ มิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ใน (๑) สร้างการเตบิ โตอย่างย่ังยืนบนสงั คมเศรษฐกิจสเี ขียว

การใชท้ ดี่ นิ - มผี ังเมอื งรวมกาหนดการใช้ประโยชน์ท่ีดิน

๕ - ๒๓


Click to View FlipBook Version