The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ 2) พ.ศ. 2565 - 2570

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-21 05:22:35

แผนสิ่งแวดล้อมฯ ระยะที่ 2 พ.ศ. 2565 - 2570

แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ 2) พ.ศ. 2565 - 2570

Keywords: แผนสิ่งแวดล้อม,พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

าคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

อยละ ๗.๑๓ การเปล่ียนแปลง ๑,๕๘๓
๔.๐๘ ลบ.ม./ไร/่ ปี ลดลง ๑,๖๓๗
๐.๓๖ ล้าน ลบ.ม.
พ.ศ. ๒๕๗๐
๓๖๐.๑ พ.ศ. ๒๕๘๐
๖ ล้าน ลบ.ม./ปี
าล

นและโครงการขนาด
กม.
รรม ๑,๘๙๘.๒๖ ตร.

ะส่งิ แวดลอ้ ม เรื่อง
ดลอ้ ม ในท้องท่ีตาบล
ภอบางปะกง จงั หวัด

าท่พี บมากทส่ี ดุ
งเสยี อนั ตราย
พษิ ทางอากาศ

๔-๕

แผนสง่ิ แวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

จากข้อมูลสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติในพืน้ ที่จังหวัดชลบรุ ี ประเด็นปัญหาเรื่องนา้ เสีย ขยะมูลฝอย
และสมดุลน้า เป็นปัญหาสาคัญที่กระทบต่อวิถีชีวิตและการพัฒนาในพ้ืนที่ ซึ่งมีรายละเอียดของสถานการณ์
และแนวโน้มดงั นี้

๑. การคาดการณ์ปรมิ าณนา้ เสยี ชุมชน
ในการคาดการณ์ปริมาณน้าเสียชุมชนเป็นการคาดการณ์ปริมาณน้าเสียจากข้อมูลอัตราการใช้น้าโดย
เฉล่ียประชากรในพ้ืนที่ พบว่า จังหวัดชลบุรี มีปริมาณน้าเสียชุมชน ๒๓๐,๖๖๓.๔๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ในปี
พ.ศ.๒๕๖๒ คาดการณ์วา่ ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ จะมีปริมาณน้าเสียชุมชนเกิดข้ึน ๔๘๗,๕๖๖ ลกู บาศกเ์ มตรต่อวัน
ในขณะที่ ความสามารถในการบาบัดสามารถบาบัดได้ ๑๙๐,๖๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน จึงมีความจาเป็น
เร่งด่วนในการพิจารณาสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพในการบาบัดนาเสียให้มีความเหมาะสม เพ่ือการรักษา
สภาพแวดลอ้ มทด่ี ขี องพืน้ ทอี่ ย่างยัง่ ยืน
๒. การคาดการณ์ปรมิ าณขยะมลู ฝอย
จากรายงานสถานการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยในจังหวัดชลบุรี ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เท่ากับ ๓,๐๑๘ ตันต่อวัน
เมื่อคาดการณ์แนวโน้มปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดขึ้นในอนาคตข้างหน้าอีก ๗ ปี จากอัตราการเกิดขยะเฉล่ียต่อ
คนต่อวนั ของประชากรในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ มีปรมิ าณขยะมูลฝอย ในจังหวัดฉะเชงิ เทรา
ชลบุรี เท่ากับ ๓,๘๐๓ ตัน/วัน มี Cluster จานวน ๕ แห่ง ครอบคลุม ๙๒ ตาบล ๒๒ เกาะ ๑ เขตปกครอง
พิเศษ จากข้อมูลการจัดการมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จังหวัดชลบุรี มีปริมาณขยะท่ีนาไปทิ้ง
๔๐๕ ตัน/วัน จึงมีความจาเป็นเร่งด่วนในการพิจารณาสนับสนุนการเพ่ิมประสิทธภิ าพในการบาบัดนาเสียให้มี
ความเหมาะสม เพ่ือการรกั ษาสภาพแวดล้อมทีด่ ีของพืน้ ทอ่ี ย่างย่งั ยืน
๓. แนวโนม้ ความต้องการใช้น้าในจงั หวดั ชลบุรี
แหล่งน้าต้นทุนของจังหวัดชลบุรีมีอ่างเก็บน้าในพ้ืนที่รวมกัน ๑๓ แห่ง ความจุรวม ๒๙๔.๙๘ ล้าน
ลูกบาศก์เมตรต่อปี ปริมาณการส่งน้า ๑๙๗.๗๖ ล้านลูกบาศก์เมตร (กรมชลประทาน, ๒๕๖๐) จังหวัดชลบุรี
มีความต้องการใช้น้าประมาณ ๔๗๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี โดยมีความต้องการใช้น้าเพ่ืออุปโภคบริโภคร้อย
ละ ๓๑.๔๙ ด้านอุตสาหกรรมร้อยละ ๔๓.๔๐ และด้านเกษตรกรรมร้อยละ ๒๕.๑๑ และจากการคาดการณ์
ความตอ้ งการใช้นา้ ในอนาคตของพ้ืนท่จี ังหวดั ชลบุรี พบว่ามีแนวโนม้ ของความต้องการใช้นา้ เพิ่มข้ึน ในปี พ.ศ.
๒๕๗๐ เท่ากับ ๖๒๓ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และปี พ.ศ. ๒๕๘๐ เท่ากับ ๗๐๓ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
(สานกั งานทรพั ยากรน้าแห่งชาติ, ๒๕๖๒)
จากข้อมูลดังกล่าว แสดงถึงความไม่สมดุลของทรัพยากรน้าและความต้องการใช้น้าในพื้นที่ ซ่ึงการ
บริหารจัดการน้าเพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนและกิจกรรมในพ้ืนที่ หน่วยงานรัฐท่ีเก่ียวข้องได้
ดาเนินโครงการหลายโครงการเพื่อการนาทรัพยากรน้าจากนอกพ้ืนที่เขา้ มารองรับให้เพียงพอต่อความต้องการ
ในขณะที่ความต้องการน้ามีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน ความขาดแคลนน้าในพ้ืนท่ีจึงเป็นความเส่ียงท่ีต้องการแนว
ทางการรองรับทช่ี ัดเจน

๔-๖

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๕. ปัจจัยแวดล้อมท่มี ีผลตอ่ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
๕.๑ การวเิ คราะหป์ จั จัยแวดล้อม
จากกรอบแนวคิดการดาเนินงานโครงการท่ีเป็นการประยุกต์ใช้หลักการ Pressure-Carrying

Capacity-Governance: PCG Model เปน็ การวิเคราะหร์ ะดับภาวะกดดัน การวิเคราะห์ความสามารถในการ
รองรับของพื้นที่ และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพื้นที่ (ดังภาพท่ี ๑๐ – ๒) ใน
โครงการจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ จึงเริ่มต้นจากการทบทวน
สถานการณ์ความท้าทายระดับโลกที่เป็นประเด็นกดดันภายนอกที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมใน
พน้ื ท่ี EEC รวมถงึ แรงกดดันระดับประเทศ ได้แก่ นโยบายและโครงการพัฒนาที่จะเกิดข้ึนในพื้นท่ี นอกจากนี้
สถานการณ์ประชากร เศรษฐกิจ และทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมของพืน้ ที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
เป็นแรงกดดันภายใน แรงกดดันทั้งหมด (Pressure: P) มีผลต่อความสามารถในการรองรับ (Carrying
Capacity: C) ในขณะเดียวกันความสามารถในการรองรับก็มีอิทธิพลต่อแรงกดดันเช่นกัน ซึ่งการวิเคราะห์ขีด
ความสามารถในการรองรับจะเป็นข้อมูลสาคัญท่ีนาไปสู่การบริหารจดั การ (Governance: G) และการบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมที่ดีจะนาไปสูก่ ารปรับปรุงความสามารถในการรองรับได้ นอกจากนี้
การวิเคราะห์แรงกดดันเป็นข้อมูลสาคัญที่บ่งช้ีถึงจาเป็นในการบริหารจัดการ ดงั นั้นการวิเคราะห์ PCG จึงเป็น
ข้อมูลท่ีนาไปสู่กระบวนการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะที่ ๒ ต่อไป โดยมี
รายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี

๕.๒ การวิเคราะห์ภาวะกดดัน (P)
การพิจารณาแรงกดดันท่ีมีต่อสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก แยกออกได้เป็น ๒ ระดับ คือแรงกดดันภายนอกและแรงกดดันภายใน โดยแรงกดดันภายนอก
ประกอบด้วย สถานการณ์ความท้าทายของโลก ได้แก่ ความม่ันคงทางอาหาร สุขภาพ และการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ นโยบายและทิศทางการพัฒนาของประเทศ ในขณะที่แรงกดดันภายในประกอบด้วย
ประชากร เศรษฐกจิ และสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม

๔-๗

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาค

ตารางท่ี ๔ - ๒ การวิเคราะหแ์ รงกดดัน (Pressure) แยกตามเขตจดั การตามภมู ิน

แรงกดดัน (P) เขตปา่ ไม้ เขตพื้นทีช่ มุ่ น้า เขตปา่ ชายเลน เข

๑.ความมั่นคงทาง
อาหาร

๒.สขุ ภาพ

ปรมิ าณการปล่อยก๊าซ ต้นไม้ทวั่ ไป ๑ ตน้ สามารถดูด จากการศึกษาของ อบก. (๒๕๕๙) พบวา่
เรือนกระจกจากภาค ซบั คาร์บอนไดออกไซดไ์ ด้ ๒๑ พืน้ ทีป่ ่าชายเลนสามารถดูดซบั คารบ์ อน
การใชพ้ ื้นทีก่ ารเกษตร กิโลกรัมต่อปี แต่หากตน้ ไม้มี ได้ ๒.๗๕ TCO2/ไร่/ปี ซึง่ มากกว่าปา่ บก
และป่าไม้ ในปี พ.ศ. อายุ ๑๐๐ ปี จะสามารถดดู ซบั ทีส่ ามารถดดู ซับได้ ๐.๙๕ - ๒.๐ TCO2/
๒๕๖๓ มปี รมิ าณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซดไ์ ด้ ๑ ตันต่อ ไร่/ปี
ปีตอ่ ต้น (viessmann, n.d.) พื้นที่ สถานการณ์พ้นื ท่ีปา่ ชายเลนในชลบรุ ี
เรอื นกระจกคิดเปน็ - ปา่ ไม้ในจงั หวดั ชลบรุ ี มีพ้ืนที่ ลดลง จาก ๓,๔๕๒ ไร่ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖
ลดลงจากร้อยละ ๑๑.๕๐ ในปี เปน็ ๓,๒๔๕ ไร่ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มี
๑๒.๖๐ KgCO2eq พ.ศ. ๒๕๕๙ เปน็ ร้อยละ สาเหตจุ ากการบุกรกุ พืน้ ทปี่ า่ ชายเลนเพอ่ื
๑๑.๓๔ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ น่นั ทาประมงหรือท่องเทีย่ วซ่ึงสง่ ผลให้
หมายถงึ ความสามารถในการ ประสิทธิภาพในการดูดซบั กา๊ ซ CO2 ของ

๔-

คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

นเิ วศ เขตเมอื งและชุมชน เขตอุตสาหกรรม

เขตจดั การตามภมู ินิเวศ
ขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม

ความต้องการบริโภคเพ่ิม เนื่องจากจานวนประชากรเพมิ่ ข้ึน จาก

๒,๐๙๖,๓๐๑ คน ในปี ๒๕๖๒ เปน็ ๒,๙๕๙,๐๙๗ คน ในปี

๒๕๗๐

(ความสามารถในการรองรบั ดา้ นอาหาร : การมอี ยขู่ องข้าวในพนื้ ท่ี

(%) EEC + ๕๒๗%, ชลบุรี= -๖๒.๔๗%)

พฤตกิ รรมการบริโภคเปลี่ยนไปเปน็ แบบเมือง ไดแ้ ก่ การกิน การสูบ

บหุ ร่ี มลพษิ ทางอากาศ การดื่มแอลกอฮอล์ และพฤติกรรมเนอื ยนง่ิ

สง่ ผลตอ่ โรคไม่ติดตอ่ เร้ือรงั (WHO, 2014) โดยจังหวัดชลบุรี มีสดั สว่ น

ของผ้ปู ่วยดว้ ยโรคไม่ติดต่อ เพมิ่ ขน้ึ จาก รอ้ ยละ ๘.๙๘ ใน

ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ ๑๓.๗๗ ในปงี บประมาณ ๒๕๖๓

(ความสามารถในการรองรับด้านภาวะโรคไม่ตดิ ต่อ (NCDs) :

ภาวการณต์ ายดว้ ย NCDs ประชากรโลก (%) คือ ๗๑ : EEC ๕๑.๘๑%,

ชลบุรี ๔๑.๙๗ %,

ในจงั หวดั ชลบรุ มี คี า่ สูงกวา่ คา่ เฉลย่ี ในภาพรวมของประเทศไทยซงึ่ มีค่า

การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ เท่ากับ ๔.๐๒ gha/คน

และค่ามากกวา่ พ้นื ทข่ี องโลกเฉลย่ี สาหรับการรองรบั กิจกรรมของ

มนุษย์ (earth share) ประมาณ ๑.๙ gha/คน มากกวา่ ๒ เท่า ซ่ึง

หมายความวา่ จงั หวัดชลบรุ มี กี ารบรโิ ภคทรพั ยากรและปลดปล่อยของ

เสยี ทม่ี ากเกินกวา่ พนื้ ท่ีรองรับกจิ กรรมเฉล่ียของโลก ๒.๑๒ gha/คน

(ความสามารถในการรองรบั ด้านการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ: CF

ในพ้ืนที่ ตา่ กวา่ คา่ การปลอ่ ย GHGs ของโลกเฉลีย่ จากการรองรบั

กจิ กรรมของมนษุ ย์ (earth share) ที่มีคา่ ๑.๙ gha/คน

-๘

แผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาค

แรงกดดนั (P) เขตป่าไม้ เขตพื้นท่ีชมุ่ นา้ เขตป่าชายเลน เข

๔.นโยบาย/โครงการ ดดู ซบั คารบ์ อนไดออกไซดใ์ น พืน้ ทป่ี า่ ชายเลนลดลง
พฒั นา
จงั หวัดชลบุรลี ดลงตามไปดว้ ย

โครงการพัฒนาท่จี ะเกิดข้ึนนบั เป็นแรงกดดันตอ่ ทกุ เขตจัดการภูมินิเวศ ทมี่ ผี ลต่อทรัพ

พืน้ ทีเ่ กษตรกรรมระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ. ๒๕๖๑ ลดลง รอ้ ยละ ๑๐.๐๕ ในขณ

ตามลาดับ อย่างไรกต็ ามการพัฒนาจาเป็นตอ้ งเน้นการพฒั นาอตุ สาหกรรมควบคู่ไปกับเศ

(ความสามารถในการรองรบั ด้านการใชท้ ี่ดิน: ความเพยี งพอของพน้ื ที่ผลิตอาหารต่อคนจึง

พืน้ ที่สาหรบั คนหน่ึงคนที่ใช้เพ่ือดารงชีวิต เปน็ เกณฑท์ ่ีใชช้ ีว้ ดั ความสามารถในการรองรบั

ฉะเชงิ เทรา. +๒๑๓, ชลบรุ ี. -๗๕, ระยอง. –๓๘)

๕.ประชากร นกั ท่องเทยี่ วเพ่ิมขึ้นจาก ๑๐ ลา้ นคน ในปี พ.ศ.
เพมิ่ ขึ้นเปน็ ๑๘ ลา้ นคนในปี พ.ศ.๒๕๖๒ สง่ ผลต
และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรในพื้นทธ่ี รรม
การบริหารจดั การทด่ี พี อ

๖.สถานการณ์ แหลง่ นา้ มีคุณภาพนา้ พื้นทปี่ ่าชายเลน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ เสือ่ มโทรม คอื คลอง ลดลง จาก
สิ่งแวดล้อม ตาหรุ ๓,๔๕๒ ไร่ ในปี
พ.ศ. ๒๕๕๖
ในพน้ื ทจ่ี ังหวดั ชลบุรี มกี ารขดุ เปน็ ๓,๒๔๕ ไร่
ในปี พ.ศ.
๒๕๖๓
ทรพั ยากรชายฝงั่ เส่อื มโ

๔-

คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

เขตจดั การตามภูมนิ ิเวศ เขตเมืองและชมุ ชน เขตอุตสาหกรรม
ขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม

พยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสังคมของพ้นื ท่ี การเปลยี่ นแปลงการใชท้ ่ีดินในจงั หวดั ชลบุรี พบวา่
ณะทีพ่ ้นื ทีอ่ ยอู่ าศยั พ้นื ทพ่ี าณชิ ยกรรม และพนื้ ทอ่ี ตุ สาหกรรม เพิ่มข้ึน รอ้ ยละ ๓๒.๑๙ ๒๙.๑๑ และ ๒๐.๗๒
ศรษฐกิจและการบรหิ ารจัดการส่ิงแวดล้อมดว้ ย
งเปน็ ประเดน็ สาคัญต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยใชค้ ่า คาร์บอนฟตุ พริน้ ท์ (CF) ของพ้นื ที่ ซึ่งเป็นค่าบ่งชี้ทาง
บของพื้นท่ีเพาะปลูกต่อหัวโดยความเพียงพอของพนื้ ที่เพื่อการดารงชีวิตต่อประชากรหนึ่งคน (%)ใน EEC –๔๒ ,

๒๕๕๓ จานวนนกั ทอ่ งเท่ียว นักทอ่ งเทยี่ วเพม่ิ ขึ้นจาก ๑๐ ลา้ นคน ประชากรแฝงในพน้ื จงั หวดั
ต่อการบกุ รกุ และแรงงานทีเ่ พิ่มข้นึ
มชาตหิ ากขาด ส่งผลตอ่ ความ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ เปน็ ๑๘ ล้านคนใน ชลบรุ เี พม่ิ ขึ้นจาก
เปราะบางของพืน้ ทใี่ น
ความมอี ยขู่ องอาหาร ปี พ.ศ.๒๕๖๒ ส่งผลตอ่ คณุ ภาพของ ๕๓๘,๐๐๐ ในปี พ.ศ.
โดยพื้นท่ีเกษตรกรรม
ลดลงรอ้ ยละ ๑๐.๐๕ สง่ิ แวดล้อมในเขตเมอื งทม่ี สี ภาพ ๒๕๖๒ เป็น ๑,๑๕๓,๒๕๑
ระหวา่ งปี พ.ศ.
๒๕๕๖ - ๒๕๖๓ กายภาพเมอื งท่ีหนาแนน่ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ซง่ึ
พ้นื ท่เี กษตรกรรม
ลดลง ร้อยละ ๑๐.๐๕ หมายถึงความตอ้ งการ
ระหวา่ งปี พ.ศ.
๒๕๕๖ - พ.ศ. ๒๕๖๑ บริโภคทรัพยากรและการ

ปล่อยของเสยี ออกสพู่ น้ื ท่ี

เพิม่ สงู ขน้ึ ตามไปด้วย

คณุ ภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์ (ยกเวน้ ค่าสารอนิ ทรยี ์ระเหยเกนิ คา่

มาตรฐานพบในเขตอุตสาหกรรม) และ CO PM10 มีแนวโนม้ สงู ขนึ้ ซ่ึง
เปน็ สารมลพิษท่ีเกิดจากกจิ กรรมเมืองและอตุ สาหกรรม

โทรม คอื - จั ง ห วั ด ช ล บุ รี มี

-๙

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค

แรงกดดนั (P)

เขตปา่ ไม้ เขตพ้ืนท่ชี มุ่ น้า เขตป่าชายเลน เข
บ่อทราย บ่อหินในบริเวณทไ่ี ม่ใช่ จังหวดั ชลบุรี มีพ้นื ทีแ่ ห
เขตสมั ปทานแรใ่ นพ้ืนที่ ซ่ึงบอ่ จานวน ๕,๗๐๕.๗๒ ไร่
ทราย บอ่ หินที่พบสว่ นมากจะอยู่ สมบูรณ์ปานกลาง-สมบ
ในพ้นื ที่ อาเภอบา้ นบึง อาเภอ
พานทอง อาเภอพนสั นิคม และ แหลง่ ปะการังในจงั หวัด
อาเภอบางละมุง ทงั้ นี้ในพื้นทท่ี ีม่ ี ๖,๔๗๒ ไร่ สว่ นใหญอ่ ย
การขดุ บอ่ ทราย บอ่ หนิ ส่วนใหญ่ สมบูรณ์ปานกลางร้อยล
พบว่ามหี ลายพืน้ ท่ีท่ีเปน็ พน้ื ที่ รองลงมาอยใู่ นสภาพเส
ใกลเ้ คยี งกบั พ้ืนทเี่ หมืองเกา่ ท่ี รอ้ ยละ ๒๙.๗ อย่ใู นสภ
ประทานบัตรหมดอายุ ไดแ้ ก่ รอ้ ยละ ๒๖.๓
พน้ื ท่ีอาเภอบ้านบึง อาเภอศรี
ราชา อาเภอเมอื งชลบุรี อาเภอ
พนสั นคิ ม และอาเภอบางละมุง
เป็นตน้ ทั้งนกี้ รมอุตสาหกรรม
พื้นฐานและการเหมืองแร่กาลงั
ดาเนนิ การและ เสนอมาตรการ
กากบั ดแู ลเหมืองแร่เกา่ เพอ่ื การ
พฒั นาและฟื้นฟใู ห้สามารถนา
กลบั มาใช้ประโยชนห์ ลังการปิด
เหมอื งได้ อาทิ เปน็ แหลง่ กกั เก็บ
น้า สวนสาธารณะ และพนื้ ที่
เกษตรกรรม

ความยาวชายฝ่ังในพื้นท
เท่ากบั ๑๐๗.๑๗ กิโลเ
ถูกกัดเซาะ ๐.๘๙ กโิ ลเ

๔-

คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

เขตจดั การตามภมู นิ เิ วศ เขตเมอื งและชมุ ชน เขตอตุ สาหกรรม

ขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม

หลง่ หญา้ ทะเล ความต้องการน้าใน

มสี ถานภาพ ภ า ค เก ษ ต ร ก ร ร ม

บรู ณ์เลก็ นอ้ ย ๑๑๗ ล้านลูกบาศก์

เมตร ซ่ึงปริมาณน้า
ดชลบุรีมพี ืน้ ท่ี ต้นทุนที่มอี ยู่มปี ริมาณ
ยู่ในสถานภาพ น้ อ ย ก ว่ า ค ว า ม
ละ ๓๗.๒ ต้องการน้าในแต่ละ
สียหายมาก ภาคส่วน รวมถึงน้อย
ภาพเสียหาย กว่าความต้องการใน

ภาคเกษตรกรรม

ที่จงั หวัดชลบรุ ี พืน้ ท่ีสีเขยี วในจงั หวดั ชลบรุ ี มพี ้ืนทเ่ี ทา่ กบั ๑๑๓,๔๕๖ ไร่ คิดเปน็ ร้อย
เมตร มพี น้ื ที่ท่ี ละ ๑๑.๘๓ ของพืน้ ท่ที ั้งหมด
มตร เปน็ พน้ื ที่

๑๐

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาค

แรงกดดัน (P)

เขตปา่ ไม้ เขตพืน้ ทช่ี มุ่ นา้ เขตป่าชายเลน เข
ชายฝัง่ ถูกกดั เซาะท
ดาเนินการแกไ้ ขเรีย

๖๔.๕๓ กโิ ลเมตร แล
ถูกกัดเซาะ ๕.๐๘

๔-

คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

เขตจดั การตามภมู นิ เิ วศ เขตเมืองและชุมชน เขตอตุ สาหกรรม
ขตทะเล/เกาะ เขตเกษตรกรรม
ที่ได้รบั การ การขนส่งของเสียอันตรายออก
ยบร้อยแลว้ นอกโรงงาน พิจารณาจากข้อมูล
ละมีพื้นทที่ ่ีไม่ การขนส่งของเสียอันตรายออก
น อ ก โรงงาน ป ระ เภ ท ก ลุ่ ม
กโิ ลเมตร อุตสาหกรรม พ.ศ.๒๕๖๐ –
๒๕๖๓ พบว่าในจังหวัดชลบุรี มี
แนวโน้มเพมิ่ ขนึ้
ปรมิ าณน้าเสียเพ่ิมขึ้น โดยมี
ปรมิ าณน้าเสยี ที่เกิดขึ้นในปี
พ.ศ. ๒๕๖๐ ปริมาณ
๒๒๒,๔๕๗.๓๕ ลกู บาศกเ์ มตร
ต่อวัน เพ่ิมข้ึนเป็น
๒๓๐,๖๖๓.๔๐ ลกู บาศกเ์ มตร
ตอ่ วนั ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒
คณุ ภาพเสียงอยู่ในเกณฑ์ คือ ไม่
เกินเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนด
คอื ไมเ่ กนิ ๗๐ เดซเิ บลเอ

๑๑

แผนสง่ิ แวดล้อมในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๕.๓ ความสามารถในการรองรบั (Carrying Capacity)
การศึกษาความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ของพ้ืนท่ี มี ๓ ข้ันตอน คือ (๑) การศึกษาระดับความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมของพื้นท่ี (๒) การประเมินศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับ
ภูมินิเวศ และ (๓) การวิเคราะห์แรงกดดันและศักยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่
สอดคล้องกบั ภูมนิ เิ วศ มรี ายละเอียด ดังน้ี
(๑) การศกึ ษาระดบั ความสามารถในการรองรับด้านทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของพืน้ ท่ี
ประเด็นที่ใช้ในการประเมินความสามารถในการรองรับของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมได้จาก
การทบทวนแนวคิดและรายงานการศึกษาท่ีเก่ียวข้อง สามารถสรุปในภาพรวมของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกเป็น ๒ กลุ่ม ๘ ประเด็น คือ (๑) กลุ่มทรัพยากรและสุขภาพ ประกอบด้วย ความสามารถในการ
รองรบั ด้านอาหาร ด้านทรัพยากรน้า และด้านสุขภาพ และ (๒) กลุ่มส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย ความสามารถ
ในการรองรับด้านมลภาวะ: มลพิษทางอากาศ ขยะมูลฝอย และน้าเสีย ด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ด้านคุณภาพน้าทะเล และด้านการใช้ที่ดิน ซึ่งพบว่าความสามารถในการ
รองรับด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมที่เกินขีดความสามารถในการรองรับไดข้ องพน้ื ทใ่ี นจงั หวัดชลบุรี
ได้ดังนี้ (รายละเอยี ดในตารางที่ ๔ – ๓)
(๑) ประเด็นเรื่องการมีอยู่ของอาหารในพื้นท่ี ที่ปริมาณอาหารท่ีผลิตได้ในพื้นท่ีน้อยกว่าปริมาณความ
ต้องการ แสดงถึงความจาเป็นในการพ่ึงพาแหล่งอาหารจากนอกพื้นท่ี ซึ่งควรมีแนวทางรองรับเพื่อการลด
ปญั หาในกรณีเกิดภาวะขาดแคลนอาหาร
(๒) ประเด็นด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ท่ีกิจกรรมการดาเนินชีวิตในพื้นท่ีมีการปลดปล่อย
กา๊ ซเรือนกระจกต่อคน เกนิ กว่าค่าเฉล่ยี ต่อคนของประชากรในโลก ควรมีแนวทางรองรับเพ่อื การลดปัญหาการ
เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
(๓) ประเด็นด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินท่ีสัมพันธ์กับความม่ันคงทางอาหาร โดยพิจารณาจากพ้ืนท่ี
เพาะปลูกในพื้นท่ี พบว่ามีพื้นที่เพาะปลูกไม่เพียงพอต่อปริมาณพื้นท่ีท่ีความต้องการเพ่ือการดารงชีพต่อหน่ึง
คน ควรมแี นวทางรองรบั เพอ่ื การลดปญั หาในกรณีเกิดภาวะขาดแคลนอาหาร
(๔) ประเด็นความสามารถในการรองรับด้านทรัพยากรน้า เป็นประเด็นท่ีต้องการแนวทางแก้ไขปัญหา
เน่ืองจากอยใู่ นสภาวะเกินขีดความสามารถในการรองรับ
(๕) ประเด็นด้านน้าเสีย สถานการณ์คุณภาพน้าในแหล่งน้าธรรมชาติโดยเฉลี่ยของจังหวัดชลบุรีอยู่ใน
เกณฑ์ดชั นคี ุณภาพน้าผิวดินระดบั ๕ คือ คุณภาพเสอื่ มโทรมมาก ถือว่าความสามารถในการรองรบั เรือ่ งน้าของ
แหล่งน้าธรรมชาติเกินขีดความสามารถในการรองรับได้แล้ว จึงเป็นประเด็นที่ต้องการแนวทางแก้ไขปัญหา
เรง่ ดว่ น

๔ - ๑๒

แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ภาพที่ ๔ - ๑ ระดบั ความสามารถในการรองรบั ของจังหวดั ชลบรุ ี

ตารางท่ี ๔ - ๓ ระดับความสามารถในการรองรับดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มของจังหวัดชลบุรี

ปจั จัย คา่ คะแนนดัชนชี ีว้ ัด เกณฑ์ช้วี ดั

(กรณที ่เี กินความสามารถในการรองรบั )

ด้านทรพั ยากร เกินขดี รองรับ - ร้อยละของผลผลิตข้าวต่อปริมาณบรโิ ภค
๑. ความสามารถในการรองรับดา้ นอาหาร (๓๘) < รอ้ ยละ ๑๐๐
๑.๑ ปริมาณข้าวที่ผลิตได้ในพ้นื ท่ี ปกติ - ราย ได้ เห ลื อ จ าก ร าย จ่ าย เท่ ากั บ
๑.๒ ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร ๑๐๐ ความสามารถเขา้ ถงึ อาหารได้ ร้อยละ ๑๐๐
-ร้อยละของน้าต้นทุนต่อความต้องการใช้
๒. ความสามารถในการรองรบั ด้านทรพั ยากรน้า เกินขดี รองรับ น้อยกว่า ร้อยละ ๑๐๐
๒.๑ สมดลุ การใชน้ า้ (๖๒) -ร้อยละของครัวเรือนมีน้าสะอาดดื่มและ
๒.๒ การเข้าถึงน้าสะอาด ปกติ บริโภคเพียงพอตลอดปี>รอ้ ยละ ๘๑
๑๐๐

๓. ความสามารถในการรองรับด้านสุขภาพ ปกติ ร้อยละการตาย NCDs >ค่าการตายNCDs
- ภาวะการตายดว้ ยโรคไม่ตดิ ต่อ (NCDs) ๔๑.๙๑ ของประชากรโลก (รอ้ ยละ ๗๑)

ด้านส่ิงแวดล้อม

๔ - ๑๓

แผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ปจั จยั คา่ คะแนนดชั นีชี้วดั เกณฑ์ช้ีวัด
(กรณีทเี่ กนิ ความสามารถในการรองรบั )
ด้านทรพั ยากร ปกติ
๔. ความสามารถในการรองรับด้านมลภาวะ ๑๖ วันสะสมท่ีมีค่า AQI สูงกว่า ๑๐๐>ร้อยละ
๔.๑ พิษทางอากาศ(Air Quality Index) ปกติ ๕๐ ของฤดูหนาวและฤดรู ้อน
๔.๒ ขยะมลู ฝอย ๒๓.๒ การกาจัดขยะท่ีไม่ถูกหลักวิชาการ เกิน
เกนิ ขดี รองรับ รอ้ ยละ ๕๐
๔.๓ นา้ เสยี ๕ WQI ไมเ่ กนิ ๓

๕. ความสามารถในการรองรบั ดา้ นการ เกินขดี รองรับ คาร์บอนฟตุ พร้นิ ทข์ องพื้นที่ มากกวา่ คา่
เปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ ๔.๐๒ (earth share = ๑.๙ gha/คน)
- การปลดปล่อยคารบ์ อนจากกจิ กรรมของมนุษย์ ปกติ BDV <๑๔ = ต่า
๒๒.๒๑
๖. ความสามารถในการรองรับดา้ นความ เกินคา่ มาตรฐาน pH (๗.๐-๘.๕)
หลากหลายทางชวี ภาพของระบบนเิ วศ (BDV) ปกติ
๗. ความสามารถในการรองรับด้านคุณภาพน้า ๘.๑๘ ค่ามาตรฐาน MWQI ไมเ่ กนิ ระดับ ๓
ทะเล ปกติ
รอ้ ยละของพื้นทเี่ พาะปลูก <พื้นท่ีที่เกดิ จาก
๗.๑ ภาวะความเป็นกรดในทะเลเฉลีย่ (pH) ๓ ค่า Carbon Footprint ของพน้ื ที่

๗.๒ภาวะความสกปรกของน้าทะเล เกินขีดรองรบั
๒๕.๐๕
๘. ความสามารถในการรองรับดา้ นการใชท้ ่ดี ิน
- ความเพยี งพอของพ้นื ทเี่ พื่อการดารงชวี ติ ต่อ
ประชากรหน่งึ คน

(๒) การประเมินศกั ยภาพการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีสอดคล้องกบั ภูมนิ เิ วศ
จากการวเิ คราะห์ขีดความสามารถในการรองรับ (C) ที่กล่าวมานาไปสู่การวิเคราะห์ขีดความสามารถใน
การรองรบั ตามเขตจัดการตามภมู ินิเวศ ดังตารางท่ี ๔ – ๔
เขตป่าไม้และเขตเกษตรกรรม มีประเด็นที่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ สมดุลการใช้น้า
การปลดปลอ่ ยคารบ์ อนจากกจิ กรรมของมนุษย์ ความเพยี งพอของพนื้ ท่เี พ่ือการดารงชีวติ ต่อประชากรหนงึ่ คน
เขตพน้ื ที่ชมุ่ น้าและเขตป่าชายเลน มปี ระเดน็ ที่เกนิ ขดี ความสามารถในการรองรับ คือ น้าเสยี
เขตทะเลและเกาะ มปี ระเด็นทเี่ กนิ ขดี ความสามารถในการรองรับคือ สมดุลน้า
เขตเกษตรกรรม มีประเด็นที่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ สมดุลการใช้น้า การปลดปล่อย
คารบ์ อนจากกิจกรรมของมนุษย์ ความเพยี งพอของพน้ื ที่เพ่ือการดารงชีวิตต่อประชากรหน่ึงคน
เขตเมืองและชุมชน มีประเด็นที่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ ปริมาณข้าวท่ีผลิตได้ในพื้นท่ี
สมดุลการใช้น้า และการปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ ประเด็นท่ีไม่เกินขีดความสามารถในการ

๔ - ๑๔

แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

รองรับคือ ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร การเข้าถึงน้าสะอาด ภาวการณ์ตายด้วยโรคไม่ติดต่อ และ
ความสามารถในการรองรบั ดา้ นมลพษิ ทางอากาศ

เขตอุตสาหกรรม มีประเด็นที่เกนิ ขีดความสามารถในการรองรับคอื สมดลุ การใช้น้า และการปลดปลอ่ ย
คาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ ประเด็นท่ไี ม่เกินขีดความสามารถในการรองรับคือ ความสามารถในการเข้าถึง
อาหาร การเข้าถึงน้าสะอาด ภาวการณ์ตายด้วยโรคไม่ติดต่อ และ ความสามารถในการรองรับด้านมลพิษทาง
อากาศ

ตารางท่ี ๔ - ๔ การวิเคราะหค์ วามสามารถในการรองรับ จาแนกตามเขตการจัดการตามภมู ินิเวศ ของ

พ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก

ปจั จยั ความสามารถในการรองรบั เขตจดั การตามภูมนิ เิ วศ เขตเมือง เขต
เขตป่า เขต เขตป่า เขตทะเล/ เขต และชุมชน อตุ สาหกรรม
๑. ความสามารถในการรองรับดา้ น
อาหาร ไม้ พ้ืนทชี่ มุ่ ชายเลน เกาะ เกษตรกรรม เกินขดี ปกติ
นา้ รองรับ เกินขีดรองรับ
๑.๑ ปริมาณขา้ วที่ผลิตได้ในพืน้ ท่ี ปกติ
๑.๒ ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร เกินขีด เกนิ ขีด เกนิ ขีด เกนิ ขีด ปกติ
๒. ความสามารถในการรองรบั ดา้ น รองรบั รองรับ รองรบั รองรับ ปกติ
ทรัพยากรนา้ ปกติ ปกติ
เกนิ ขีด เกนิ ขีด ปกติ
๒.๑ สมดุลการใชน้ ้า รองรับ รองรับ เกนิ ขีดรองรบั
๒.๒ การเข้าถึงนา้ สะอาด เกินขดี ปกติ
๓. ความสามารถในการรองรับด้าน รองรบั
สุขภาพ ปกติ
- ภาวะการตายด้วยโรคไม่ตดิ ตอ่ ปกติ ปกติ ปกติ ปกติ
๔. ความสามารถในการรองรบั ด้าน เกินขดี
มลภาวะ รองรบั
๔.๑ พิษทางอากาศ AQI
๔.๒ ขยะมลู ฝอย ปกติ
๔.๓ นา้ เสีย
ปกติ
๕. ความสามารถในการรองรบั ด้านการ
เปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ ปกติ

- การปลดปล่อยคารบ์ อนจาก
กจิ กรรมของมนุษย์
๖. ความสามารถในการรองรบั ดา้ น
ความหลากหลายทางชวี ภาพของระบบ
นเิ วศ (BDV)
๗. ความสามารถในการรองรับดา้ น
คุณภาพนา้ ทะเล
๗.๑ ภาวะความเปน็ กรดในทะเลเฉลยี่
(pH)
๗.๒ ภาวะความสกปรกของน้าทะเล

๔ - ๑๕

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ปัจจยั ความสามารถในการรองรับ เขตจดั การตามภมู นิ ิเวศ

๘. ความสามารถในการรองรับด้านการ เขตป่า เขต เขตปา่ เขตทะเล/ เขต เขตเมือง เขต
ใชท้ ด่ี นิ อุตสาหกรรม
- ความเพยี งพอของพ้ืนทเ่ี พื่อการ ไม้ พื้นท่ีชุ่ม ชายเลน เกาะ เกษตรกรรม และชุมชน
ดารงชีวติ ต่อประชากรหน่งึ คน
นา้

เกนิ ขดี เกนิ ขดี

รองรบั รองรับ

(๓) การวเิ คราะห์แรงกดดันและศักยภาพการรองรบั ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่สอดคล้อง
กบั ภมู ินเิ วศ

จากการวิเคราะห์แรงกดดันภายนอก ได้แก่ สถานการณ์ความท้าทายของโลก นโยบายและทิศทางการ
พัฒนาประเทศ และการวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบของแรงกดดันภายใน ได้แก่ โครงการพัฒนา
อุตสาหกรรมและโครงสร้างพื้นฐาน แนวโน้มประชากร แนวโน้มการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การวิเคราะห์
สถานการณ์และแนวโนม้ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวมถงึ ผล
การประเมินศักยภาพในการรองรับถูกนามาสรุปผลการประเมินตามภูมินิเวศ และวิเคราะห์ผลกระทบที่ได้รับ
โ ด ย ก า ร ศึ ก ษ า ได้ จั ด ป ร ะ เภ ท ภู มิ นิ เว ศ ต า ม แ น ว ท า ง ก า ร ก า ห น ด ข อ ง ส า นั ก ง า น น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ซ่ึงไดแ้ บ่งเป็น ๗ ประเภท ประกอบด้วย เขตจดั การตามภูมินเิ วศเขตป่าไม้
เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตพ้ืนท่ีชุ่มน้า เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าชายเลน เขตจัดการตามภูมินิเวศเขต
ทะเลและเกาะ เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเกษตรกรรม เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเมืองและชุมชน และเขต
จดั การตามภูมนิ เิ วศเขตอตุ สาหกรรม

จากตารางที่ ๖ - ๓ แรงกดดันตามเขตจัดการตามภูมินิเวศ และตารางที่ ตารางที่ ๖ - ๕ แสดง
ความสามารถในการรองรับจาแนกตามเขตการจัดการตามภูมินิเวศ ของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
สามารถสรุปผลการประเมินแรงกดดัน (P) กับ ความสามารถในการรองรับ (C) แยกตามเขตจัดการตามภูมิ
นเิ วศของพ้ืนที่ โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

เขตจัดการตามภูมินเิ วศเขตปา่ ไม้ จังหวัดชลบุรีเป็นพื้นที่ทมี่ ีความเป็นเมืองสงู สุดเมื่อเทยี บกบั อกี สอง
จงั หวัด ทาให้มกี ิจกรรมเมืองคอ่ นข้างสงู มีผลต่อการไดร้ ับแรงกดดันในมติ ิการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศที่มี
อุณหภูมิสูงขึ้นส่งผลต่อประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอน นอกจากนี้โครงการพัฒนาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ีมี
ผลต่อความต้องการการใช้ที่ดินสงู ข้ึน พื้นท่ีป่าไม้จึงมีความอ่อนไหวต่อการเปลยี่ นแปลงดังกล่าว รวมถึงการมี
การสัมปทานเหมืองแร่และหิน มีการรุกล้าพ้ืนที่เพ่ือขุดบ่อดิน/ทราย เมื่อพิจารณาร่วมกับสถานการณ์ป่าไม้ใน
บางพื้นท่ีมีแนวโน้มลดลง ส่งผลให้เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าไม้มีแรงกดดันสูง (Pressure: P สูง) และเมื่อ
พิจารณาศักยภาพในการรองรบั ของเขตปา่ ไม้ พบวา่ มีความสัมพันธก์ บั ประเด็นดา้ นการใช้ท่ีดนิ และทรัพยากร
น้า และจากผลการวิเคราะห์ศักยภาพในการรองรับพบว่าพ้ืนท่ีปาไม้มีศักยภาพในการรองรับแล้ว (Carrying
Capacity: C ค่อนข้างต่า) ซึ่งมีผลกระทบตอ่ ความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพและโอกาสในการฟ้ืนฟู

๔ - ๑๖

แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ป่าเสื่อมโทรมและปา่ สมบรู ณ์นอ้ ยลง อันจะเปน็ ปัจจัยท่ีนาไปสคู่ วามเสียหายทางเศรษฐกิจ และลดคุณภาพชีวิต
ของประชากรในอนาคต

เขตจัดการตามภูมนิ ิเวศเขตพ้ืนท่ีชุ่มน้า ในพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรีเป็นพื้นที่ชายฝั่งท่ี รวมถึงพืน้ ที่ยังได้รับ
ผลจากโครงการพัฒนาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นท่ีส่งผลให้มีจานวนประชากรและนักท่องเท่ียวที่เข้ามาเพ่ิมสูงขึ้น
ประกอบกับสถานการณ์นา้ ผวิ ดนิ ในแหล่งน้าบางสายเสอ่ื มโทรม เช่น คลองตาหรุ จึงเป็นแรงกดดันทสี่ ูง (P สงู )
อย่างไรก็ตามในพ้ืนท่ีมีความพยายามในการจัดการด้วยระบบบาบัดน้าเสีย และการจัดการน้าทะเลชายฝั่ง
ดงั นนั้ พ้ืนที่จึงมีความสามารถในการรองรับในเขตจัดการพน้ื ทชี่ มุ่ นา้ อยู่

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าชายเลน การเปลี่ยนแปลงการใช้ท่ีดนิ ป่าชายเลนเกิดข้นึ อย่างรวดเร็ว
ท้ังน้ีเน่ืองจากพ้ืนท่ีป่าชายเลนบางส่วนเป็นพื้นท่ีที่มีเอกสารสิทธิ สถานการณ์การลดลงของป่าชายเกิดขึ้นจาก
ทั้งการเปลี่ยนแปลงพื้นท่ีไปสู่การพัฒนาแบบเมือง (P สูง) อย่างไรก็ตามพ้ืนทป่ี ่าชายเลนท่ีเส่ือมโทรมได้รับการ
ฟื้นฟูสภาพป่าชายเลนที่เส่ือมโทรมและป้องกันการบุกรุกทาลาย ทาให้มีการฟ้ืนตัวของพื้นที่ปาชายเลนได้ใน
จังหวัดชลบุรี ซ่ึงส่งผลต่อความสมบูรณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพท่ีอยใู่ นระดับท่ีมีความสามารถรองรับ
ได้ (C สงู )

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตทะเลและเกาะ ได้รับแรงกดดันจากการพัฒนาพื้นที่จากท่ีรุกล้าพื้นท่ี
ทะเลมีผลต่อปัญหาการกัดเซาะชายฝ่ัง ประกอบกับจังหวัดชลบุรีเป็นแหล่งชายฝ่ังที่สวยงาม และมีหมู่เกาะ
มากมายจึงดึงดูดประชากรและนักท่องเที่ยวเข้ามาในพ้ืนท่ี ทาให้ปริมาณการปล่อยของเสียสูงรวมถึงการใช้
ทรัพยากรทางทะเลอย่างไม่รอบคอบ รวมถึงสถานการณ์น้าทะเลชายฝั่งและทรัพยากรชายฝ่ังที่เริ่มเสื่อมโทรม
และชายฝ่ังที่ถูกกัดเซาะแต่ได้รับการแก้ไขบ้างแล้ว และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากกิจกรรม
ของมนุษย์ที่มีการปล่อยก๊าซ GHGs เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เขตทะเลและเกาะมีแรงกดดัน (P สูง) ซึ่งกระทบต่อขีด
ความสามารถในการรองรบั ด้านความอุดมสมบูรณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพ ประกอบกับปริมาณพื้นท่ี
สีเขียวท่ีน้อยส่งผลกระทบต่อโอกาสในการเปล่ียนสมดุลของวัฏจักรน้าของทะเลและความเส่ือมโทรมของน้า
ทะเลหากขาดการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ันความสามารถในการรองรับเขตทะเลและเกาะอยู่
ในระดับปานกลาง (C ปานกลาง)

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเกษตรกรรม แรงกดดันภายนอกท่ีสาคัญของพื้นที่เกษตรกรรม คือ
สภาพภูมิอากาศท่ีมีการเปล่ียนแปลงส่งผลต่อการขาดแคลนน้าและประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอ นลดลง
รวมถึงนโยบายและแผนการพัฒนาในโครงการต่าง ๆ ท่ีดึงดูดประชากรเข้ามาในพ้ืนที่ส่งผลต่อความต้องการ
การใช้ท่ีดินเพ่ิมข้ึน นอกจากน้ีสถานการณ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมก็สร้างแรงกดดันกับเขตเกษตรกรรม
เช่นกัน เช่น ทรัพยากรน้าที่ไม่เพียงพอ สารปนเปื้อนในน้าผิวดินและน้าใต้ดิน เหล่านี้นับว่าเป็นแรงกดดันท่ีมี
ต่อเขตเกษตรกรรมสูง (P สูง) ส่งผลต่อศักยภาพในการรองรับด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ การใช้
ที่ดิน และทรัพยากรน้า ท่ีเกินขีดความสามารถในการรองรับไปแล้ว (C ค่อนข้างต่า) จึงนาไปสู่ผลกระทบ
ทางด้านความอ่อนไหวของพื้นที่เกษตรกรรมที่จะเปล่ียนมือไปสู่พ้ืนท่ีพัฒนาอ่ืน ๆ ประเด็นน้ีนอกจากจะ
กระทบเชิงพนื้ ท่ีแลว้ ยังส่งผลตอ่ นเิ วศวัฒนธรรมทางเกษตรท่ีจะมีความเปราะบางสูงขึน้ ด้วย

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตเมืองและชุมชน เป็นเขตท่ีได้รับแรงกดดันสูงมากกว่าทุกเขต ทั้งนี้
เนื่องจากมีความเส่ียงต่อความไม่มั่นคงทางอาหารเน่ืองจากพื้นที่ส่วนใหญ่บนโลก โดยเฉพาะประเทศกาลัง

๔ - ๑๗

แผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

พัฒนามีกระบวนการเป็นเมืองสูงและจานวนประชากรท่ีเพ่ิมข้ึนประชากรมีแนวโน้มอาศัยอยู่ในเมือง รวมถึง
จานวนนักท่องเท่ียวและแรงงานท่ีจะเข้ามาอยู่ในพื้นท่ีเมืองท่ีสูงข้ึน ประกอบกับการใช้ท่ีดินในเมืองที่มีความ
หนาแน่นของอาคารและความเข้มข้นของกิจกรรมเมือง พื้นที่ในเมืองเป็นพ้ืนผิวดาดแข็งมากกว่าพื้นผิวดาด
ออ่ นเพื่อประโยชน์ต่อการใช้สอยที่ง่าย พ้ืนที่สีเขียวในเมืองจงึ มีจานวนน้อย ทาให้แนวโนม้ คุณภาพอากาศที่แย่
ลงแต่ยังไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพน้าใต้ดินท่ีพบสารปนเป้ือน รวมถึงก๊าซคาร์บอนได้ออกไซด์ท่ีเกินค่า
บรรยากาศและแนวโน้มอุณหภูมิท่ีสูงขึ้น นอกจากนี้ความต้องการบริโภคและการใช้ทรัพยากรที่เพ่ิมมากขึ้น
นาไปสู่ปริมาณการปล่อยของเสียที่เพิ่มตามไปด้วย ดังน้ันจึงหลีกเล่ียงไม่ได้ว่าแรงกดดันในพื้นท่ีเขตเมืองและ
ชุมชนจะสูง (P สูง) ซ่ึงส่งผลต่อศักยภาพในการรองรับด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ การมีอยู่ของ
อาหาร และทรัพยากรน้า ทเ่ี กินขดี ความสามารถในการรองรบั อยา่ งไรกต็ ามเมืองยังสามารถเข้าถึงอาหารและ
น้าสะอาดได้อยู่ และมีนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการบริหารจัดการที่จะนาเข้าอาหารจากพื้นท่ีอื่น ๆ การดึง
นา้ จากพ้ืนท่ีอื่นเข้ามาทาให้ยงั มีความเพยี งพออยู่ได้ ดังนั้นความสามารถในการรองรับจึงอยู่ในระดับปานกลาง
(C ปานกลาง) อยา่ งไรก็ตามวิธีการแกไ้ ขดังกลา่ วไมเ่ ป็นวถิ ที ี่ยง่ั ยนื ซึ่งหากจงั หวัดชลบุรสี ามารถมอี าหารและน้า
ที่เพียงพอภายในพนื้ ที่เองจะสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ที่แขง็ แรงให้กบั พื้นที่ได้

เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตอุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรีเป็นพ้ืนที่เป้าหมายการพัฒนาของประเทศ
โครงการพัฒนาต่าง ๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ที่จะดึงดูดท้ังโครงสร้างพ้ืนฐานและแรงงานเข้ามาในพ้ืนที่ที่
ซ่ึงสถานการณ์สิ่งแวดล้อมในพื้นที่มีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง เช่น คุณภาพอากาศ ปริมาณกากของเสียจานวน
มากข้ึน ในขณะท่ีปริมาณพื้นที่สีเขียวท่ีน้อย นับเป็นเขตท่ีมีแรงกดดันสูง (P สูง) และเมื่อพิจารณาศักยภาพใน
การรองรับพบว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกินขีดความสามารถในการรองรับประเด็นเร่ืองน้าและ
อากาศ ซ่ึงเกิดจากการปล่อยของเสียของโรงงานอุตสาหกรรมสง่ ผลให้มีการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกสงู เนื่องจาก
กระบวนการผลิตที่เข้มข้นมากข้ึนส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่งควรได้รับการจัดการท่ีมีประสิทธิภาพและในเชิง
บูรณาการ ดงั นน้ั เขตอตุ สาหกรรมจงึ มีความสามารถในการรองรับในระดับค่อนข้างต่า (C คอ่ นขา้ งต่า)

ตารางที่ ๔ - ๕ สรปุ ผลการประเมนิ แรงกดดัน (P) กับ ความสามารถในการรองรับ (C) แยกตามเขต

จดั การตามภูมินเิ วศของจงั หวัดชลบรุ ี

พน้ื ท่ี เขตจดั การตามภมู ินิเวศ
ชลบรุ ี
เขตป่าไม้ เขตพืน้ ท่ชี มุ่ เขตปา่ ชาย เขตทะเล/ เขตเกษตรกรรม เขตเมืองและ เขต
นา้ ชมุ ชน อตุ สาหกรรม
P สูง P สูง เลน เกาะ P สูง
C คอ่ นข้างตา่ C สงู P สงู
P สูง P สูง P สงู C ปานกลาง C คอ่ นข้างต่า

C สงู C ปานกลาง C ค่อนขา้ งต่า

จากผลการประเมินแรงกดดันและความสามารถในการรองรับของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออ ก
จาแนกตามเขตจัดการตามภูมินิเวศ สามารถสรุปผลและเสนอแนวทางแก้ไข (ประยุกต์จาก Boa, 2020) ได้
เปน็ ๓ กรณี คอื

๑) กรณี P สูง C ต่า ประกอบด้วย เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตป่าไม้ เขตเกษตรกรรม และเขต
อุตสาหกรรม ควรมีแนวทางในการแก้ไข คือ การเปล่ียนแปลงรูปแบบของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การ

๔ - ๑๘

แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ลดระดับการพึ่งพาทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในการพัฒนาเศรษฐกิจ การให้ความสาคัญกับการใช้ประโยชน์
ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างสมเหตุสมผลและป้องกันส่ิงแวดล้อม และการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพการใช้ทรัพยากร
และการบริหารจดั การสิง่ แวดลอ้ ม

๒) กรณี P สูง C ปานกลาง ประกอบด้วย เขตจัดการภูมินิเวศเขตทะเลและเกาะ และเขตเมืองและ
ชุมชน ควรมีแนวทางแก้ไขและฟื้นฟู คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร การปรับปรุงระดับ
ความสามารถการบริหารจดั การสิง่ แวดล้อม และการส่งเสรมิ การพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชน

๓) กรณี P สูง C สูง ประกอบด้วย เขตจัดการตามภูมินิเวศเขตพื้นท่ีชุ่มน้า และเขตป่าชายเลน ควรมี
แนวทางการป้องกัน คือ การรักษาระดับสถานการณ์ความสามารถในการรองรับไว้ท้ังหมด และการปรับปรุง
การใช้ประโยชน์และการบริหารจัดการทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อม

๕.๔ การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
ในส่วนน้ีได้รวบรวมสถานการณ์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของหน่วยงาน
องค์กร ภาคส่วนต่าง ๆ แยกตามประเด็นแรงกดดัน สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และ
ความสามารถในการรองรับ ดังตารางที่ ๔ - ๖ ซ่ึงรายละเอียดต่าง ๆ ถูกนาไปแยกแยะและจัดกลุ่มเป็น
แผนงานภายใต้ยทุ ธศาสตร์ และกลยุทธ์ท่ีจะนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายของแผนต่อไป

ตารางที่ ๔ - ๖ การบรหิ ารจดั การ (Governance) ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มตามประเด็นแรง
กดดันและความสามารถในการรองรับ

การบริหารจัดการ การบริหารจัดการในปัจจบุ นั
๑. ความมน่ั คงทางอาหาร - ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ที่ ๕ ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตที่
เป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดล้อม ใน (๕) เนน้ การ พัฒนาความมัน่ คงทางน้า พลังงาน และเกษตรที่
๒.สุขภาพ เป็นมิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม
- ภาวะการตายด้วยโรคไม่ -แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ ใน (๔) เนน้ การ
ติดต่อ (NCDs) สง่ เสรมิ การผลติ และการบริโภคที่เปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม
แผน Big Rock แผนขบั เคลื่อนกจิ กรรมปฏิรูปทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงต่อประชาชน
๓. การเปลย่ี นแปลงสภาพ อย่างมีนยั สาคญั (Big Rock ดา้ นสาธารณสุข) เชน่ กิจกรรม BR0702 เรือ่ งการปฏิรูปเพอื่
ภมู อิ ากาศ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ของการเสรมิ สรา้ งสขุ ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพ การ
--การปลดปลอ่ ยคารบ์ อน ป้องกันและดูแลรักษาโรคไม่ตดิ ตอ่ สาหรบั ประชาชนและผูป้ ่วย
กาหนดเป้าหมายยอ่ ยที่ ๕ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายระดบั มหภาคและแนวทางเฉพาะดา้ น
- คุณภาพอากาศ ในการปอ้ งกันและลดอนั ตรายจากอาหาร และสารเคมี ทีก่ ่อใหเ้ กดิ โรคไมต่ ดิ ต่อ
แผนแมบ่ ทรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๙๓ (สผ.)
ประเทศไทยตั้งเปา้ หมายในการลดก๊าซเรือนกระจกในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ร้อยละ ๒๐-๒๕ จาก
กรณดี าเนินการตามปกติ
เรม่ิ ดาเนนิ การ NDC ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
บรรลเุ ป้าหมาย NDC ลดก๊าซเรอื นกระจกได้มากกว่า ๑๑๑ MtCO2eq
- ใช้การตดิ ตามตรวจสอบสถานการณค์ ณุ ภาพอากาศ ค่า VOC ไดแ้ ก่ สารเบนซนี สาร 1,3

๔ - ๑๙

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

การบรหิ ารจัดการ การบริหารจัดการในปัจจุบนั
บวิ ทาไดอีน
- ขยะมลู ฝอยและน้าเสีย - ติดตง้ั สถานีตรวจวดั คณุ ภาพอากาศบรเิ วณพืน้ ที่อุตสาหกรรม
๔. นโยบาย/โครงการพัฒนา - ผู้ประกอบการเพม่ิ ความถ่ีในการตรวจสอบ VOCs จาก ๑ ครัง้ /ปี เป็น >= ๒ ครง้ั /ปี
ความสามารถในการรองรบั - ส่งเสรมิ การลงทนุ โครงการทไ่ี ม่กอ่ ให้เกดิ มลพิษ
ด้านการใชท้ ดี่ ิน - เผยแพร่ประชาสมั พนั ธค์ วามรขู้ องสารอินทรีย์ระเหยงา่ ย (VOCs) แกป่ ระชาชน
๕.ประชากรและเศรษฐกิจ - มีการใชป้ ระมวลหลักปฏบิ ัติ CoP (Code of Practice) ในนคิ มฯ ทสี่ ามารถปฏบิ ตั ไิ ด้จริง
ทาให้ VOCs ตา่ ลง เป็นผลใหม้ ีแผนการพจิ ารณายกเลกิ เขตควบคุมมลพษิ
๖. สถานการณ์ - การวางแผนพฒั นาพนื้ ที่ ใหค้ วามสาคญั กับการเศรษฐกจิ สูงสดุ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ - แผนสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ มี
สิ่งแวดล้อม
โครงการสนับสนนุ ดา้ นการจัดการขยะและนา้ เสยี
องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินมแี ผนการดาเนินงานด้านการจดั การขยะและนา้ เสียในพืน้ ท่ี
- ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ที่ ๕ ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตท่ีเป็น
มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม ใน (๑) สรา้ งการเติบโตอย่างย่ังยนื บนสงั คมเศรษฐกิจสีเขียว
- มีผงั เมอื งรวมกาหนดการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ิน
- มแี ผนการจดั การส่ิงแวดล้อม ของพืน้ ท่ี EEC
-แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ ยทุ ธศาสตร์ ท่ี ๔ ใน (๔) เน้นการ
ส่งเสริมการผลติ และการบรโิ ภคท่ีเปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อม
- การควบคุมการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ตามการประกาศใชผ้ งั เมืองในพ้นื ทท่ี ุกจงั หวดั
- การเร่งรัดพฒั นาโครงการตา่ ง ๆ ในพ้ืนท่ี
แผนระดับที่ ๒ แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเดน็ ๑๘ การเตบิ โตอย่างยงั่ ยนื โดย
มวี ัตถปุ ระสงค์ ดังนี้
- เพ่ือการอนรุ ักษ์ คมุ้ ครอง ฟืน้ ฟู และสรา้ งฐานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มอย่าง
ยัง่ ยนื
- ส่งเสริมความหลากหลายทางชวี ภาพให้มีระบบนิเวศที่สมดลุ
- สนับสนนุ การเพม่ิ พน้ื ท่สี ีเขียวท้ังในเขตเมืองและชุมชน
- ส่งเสริมการลงทุนและเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมการผลติ และการบรโิ ภคไปส่คู วามย่งั ยนื โดย
ใหค้ วามสาคญั กับฐานทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ
การบริหารจัดการมลพษิ ทงั้ ระบบ และการพฒั นาและดาเนนิ การโครงการที่ยกระดบั
กระบวนทัศนเ์ พอ่ื กาหนดอนาคตประเทศใหพ้ ฒั นาดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
และวฒั นธรรมอย่างมีคณุ ภาพตามแนวทางการเตบิ โตอยา่ งยง่ั ยืนทีเ่ ปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม
โดยมเี ปา้ หมายระดับประเด็น คอื สภาพแวดลอ้ มของประเทศมคี ณุ ภาพดขี ึน้ อยา่ งยัง่ ยืน
แผนระดบั ท่ี ๒
แผนขับเคลอื่ นกจิ กรรมปฏริ ปู ทสี่ ่งผลให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ
(Big Rock ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม) ได้แก่
- กิจกรรม BR601 เพมิ่ และพฒั นาพืน้ ท่ปี า่ ไมใ้ ห้ไดต้ ามเป้าหมาย
- กิจกรรม BR602 การบรหิ ารจดั การเขตทางทะเลและชายฝั่งรายจงั หวัด
- กิจกรรม BR602 การบรหิ ารจดั การน้าเพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนในพื้นท่ีนอกเขต

๔ - ๒๐

แผนส่ิงแวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

การบรหิ ารจดั การ การบรหิ ารจดั การในปัจจบุ นั

ชลประทาน

- กจิ กรรม BR602 ปฏริ ปู ระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมในเขตควบคุมมลพิษใหไ้ ด้

ตามมาตรฐาน เป้าหมายย่อยคอื ยกเลกิ เขตควบคมุ มลพิษมาบตาพุด

นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙

แผนจัดการคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔

ยุทธศาสตรก์ ารบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้า พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๙

๗. คุณภาพนา้ ผิวดนิ น้าทะเล - ใช้การตดิ ตามตรวจสอบสถานการณ์น้าเสยี ทั้งการเก็บตวั อยา่ ง การต้ังสถานีเกบ็ ข้อมูลแบบ

ชายฝัง่ น้าบาดาล เรียลไทม์

- จดั ตัง้ ศูนย์ควบคมุ มลพษิ เพือ่ เฝ้าระวังคุณภาพนา้ ตา่ ง ๆ ท้ังนา้ ผิวดนิ น้าทะเล น้าใตด้ ิน

- ก่อสร้างและพัฒนาระบบบาบดั นา้ เสียชุมชน

- กาหนดประเภทกิจการท่ถี กู ควบคมุ การระบายน้าลงสแู่ หล่งน้าสาธารณะ

- เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ความรู้ ความเขา้ ใจแกป่ ระชาชน

- องคก์ ารปกครองส่วนท้องถิ่นมโี ครงการปรับปรงุ และขยายระบบบาบดั นา้ เสียชมุ ชน

- สานกั งานประมงจงั หวดั ฟนื้ ฟแู ละจดั ระเบียบพืน้ ทเี่ พาะเลยี้ งสตั วน์ า้ บริเวณชายฝ่ัง

- โรงงานอตุ สาหกรรมบางแหง่ มกี ารนาน้าท้งิ มาบาบดั เพ่ือหมุนวนกลับเข้าไปใชใ้ นโรงงานฯ

ใหม่

- มีการรวมกลมุ่ ของเครือขา่ ยในการจดั การคุณภาพนา้ เชน่ กลมุ่ ประมงพ้ืนบา้ นชายฝงั่

๘. การจดั การขยะมูลฝอย ขยะ - เกดิ การรวมตวั กันของภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในท้องถิ่นช่วยเกบ็ ขยะทะเล เช่น กล่มุ สัตหบี บชี

ทะเล มลู ฝอยติดเชอื้ และกาก ทต.เขตอดุ มศักดิ์ กลมุ่ บางเสร่

ของเสียอนั ตราย - การเฝ้าระวัง การสร้างเครือข่ายในประเดน็ กากของเสยี อนั ตราย

- กอ่ สร้างระบบกาจดั ขยะมูลฝอย

- รณรงคป์ ลกู จติ สานึกการคดั แยกขยะและนากลบั มาใช้ใหม่

- งดการจา่ ยถุงพลาสตกิ ในรา้ นสะดวกซอ้ื

๙. เขตพน้ื ท่คี ุม้ ครอง ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรอ่ื ง กาหนดเขตพน้ื ท่ีและมาตรการ

ส่งิ แวดล้อม คมุ้ ครองส่ิงแวดล้อม ในบรเิ วณพื้นท่ี อาเภอบางละมงุ และอาเภอสัตหบี จงั หวดั ชลบรุ ี พ.ศ.

๒๕๖๓

๑๐. เขตควบคมุ มลพษิ เขต - แผนปฏบิ ตั กิ ารเพื่อลดและขจดั มลพิษในเขตควบคุมมลพษิ

เมอื งพัทยา จังหวดั ชลบรุ ี - การบงั คบั ใช้กฎหมายอย่างเครง่ ครัด

- แผนการแก้ไขปญั หามาบตาพดุ อยา่ งครบวงจร

๑๑. แหล่งธรรมชาติและ - จดั ทาฐานขอ้ มูลข้นึ ทะเบยี นให้ครอบคลมุ ทกุ พืน้ ท่ี

ศิลปกรรม - ส่งเสริมให้ทกุ ภาคส่วนให้ความสาคัญกบั สง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม

- จดั งบประมาณบารงุ รกั ษาอยา่ งต่อเน่อื ง

- สร้างจติ สานึกให้แกเ่ ยาวชน ประชาชนทัว่ ไปรว่ มกันบารุงรักษา

๑๒. ทรัพยากรนา้ - การผันน้าจากพื้นท่ีโดยรอบ

- มกี ารทางานของคณะกรรมการล่มุ น้า สภาลมุ่ น้าคลองหลวง ขบั เคลือ่ นการจดั การน้า

- การติดตามสถานการณ์นา้ การคาดการณภ์ าวะนา้ ทว่ ม น้าแลง้ การคาดการณภ์ าวะน้า

หลากดินถล่ม และการรายงานผลในเวบ็ ไซต์ แอปพลเิ คชนั มอื ถอื ของหนว่ ยงานด้าน

๔ - ๒๑

แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

การบรหิ ารจดั การ การบริหารจดั การในปัจจุบนั
ทรัพยากรน้า เชน่ สทนช. กรมชลประทาน กรมทรพั ยากรน้า กรมทรัพยากรนา้ บาดาล
๑๓. ความหลากหลายทาง -การจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารบรรเทาภยั น้าทว่ มนา้ แลง้
ชีวภาพ (BDV) -การพฒั นา/ฟน้ื ฟู แหลง่ น้า การขดุ ลอก โดยคานึงถึงระบบนเิ วศ
ทง้ั นี้ การบรหิ ารจดั การน้าใหค้ วามสาคญั กบั การอุปโภคบรโิ ภค รักษาระบบนเิ วศ
๑๔. ทรพั ยากรทางทะเลและ การเกษตร และอตุ สาหกรรม
ชายฝ่งั เช่นปา่ ชายเลน หญา้ - แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็น ๑๘ การเติบโตอย่างยงั่ ยืน มวี ัตถุประสงค์
ทะเล และปะการัง ส่งเสรมิ ความหลากหลายทางชีวภาพให้มีระบบนเิ วศที่สมดลุ และสนบั สนุนการเพมิ่ พนื้ ทสี่ ี
๑๕. การกดั เซาะพ้นื ท่ชี ายฝ่งั เขยี วทั้งในเขตเมืองและชุมชน
ทะเลและปา่ ชายเลน - โครงการปลกู ปา่ อย่างตอ่ เนื่อง
๑๖. ทรัพยากรดนิ และการใช้ - ขยายและเช่อื มโยงเครอื ขา่ ยองคก์ รด้านการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประโยชนท์ ่ีดิน - สง่ เสริมและสนับสนุนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
๑๗. การบรหิ ารจัดการดา้ น - การบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั ทงั้ ทางสงั คมและทางกฎหมายในการป้องกนั
กลไก ปราบปรามการทาลายทรพั ยากรทางทะเล
๑๘. ขอ้ มลู และการส่อื สาร - รณรงค์ สรา้ งจติ สานึกใหก้ ับผปู้ ระกอบการประมงนักท่องเท่ียว และชมุ ชนชายฝง่ั
- รณรงค์ สร้างจิตสานกึ ใหก้ ับผู้ประกอบการประมงนกั ทอ่ งเท่ยี ว และชมุ ชนชายฝ่งั
๑๙. ความร่วมมอื กับชุมชน - บังคบั ใช้มาตรการทงั้ ทางสังคมและทางกฎหมายในการปอ้ งกนั ปราบปรามการทาลาย
โดยรวม / ผู้ประกอบการ / ทรัพยากรทางทะเล
ทอ้ งถิ่น - ภาครัฐและเอกชน มสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งเขอ่ื นปอ้ งกันทรายและคลืน่ และกองหินปอ้ งกนั
๒๐. กฎหมาย กฎ ระเบียบ คลืน่
๒๑. การเงนิ กองทุน - กจิ กรรมส่งเสริมการอนุรักษท์ รพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั และกจิ กรรมปลูกปา่ ชายเลน
๒๒. องคค์ วามรู้ - รณรงคล์ ดการใช้สารเคมี
- เผยแพรค่ วามร้แู ก่เกษตรกรด้านเกษตรอินทรยี ์
- บงั คับใช้กฎหมายกับผ้ลู ะเมดิ
ใหค้ วามสาคญั กับบทบาทของหน่วยงาน องคก์ รรฐั ซ่ึงมีหลากหลายหนว่ ยงานองคก์ ร ท่มี ี
บทบาทหน้าท่ี แผนงาน งบประมาณเฉพาะความรบั ผดิ ชอบ ตามขอบเขตพนื้ ท่ีรับผิดชอบ
- การใชเ้ ทคโนโลยี มรี ะบบ IoT ตดิ ตามคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม
- การรายงานสถานการณ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มตามภารกจิ ประจาของ
หน่วยงาน
- การจัดตั้งองค์กรความรว่ มมอื เชน่ สภาองคก์ รชมุ ชน สภาลมุ่ นา้

ในพน้ื ที่ออี ีซีมีกฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกบั การจดั การทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ้ ม
มีกองทุนส่งิ แวดลอ้ ม เชน่ กองทนุ สิ่งแวดล้อมรอบโรงไฟฟา้
- การสรา้ งฐานการศึกษาบนฐานชมุ ชน เพอื่ สร้างความรู้ในเยาวชน เพ่ือปลกู ฝังรักษา
สิ่งแวดล้อม สามารถตรวจสอบคณุ ภาพน้าและอากาศไดเ้ พิ่มการใหค้ วามสาคญั กับคนใน
พื้นที่ การเรียนรรู้ ่วมกนั
- ใหม้ ศี นู ยจ์ ัดการและประสานงานสงิ่ แวดลอ้ ม

๔ - ๒๒

แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

การบรหิ ารจดั การ การบรหิ ารจดั การในปัจจบุ นั
- มีปราชญ์ชมุ ชนและภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ท่หี ลากหลาย
๒๓. ระบบการเฝา้ ระวงั และ - การเปรียบเทียบมาตรฐาน
ตดิ ตาม - มกี ลุ่มภาคประชานท่ีเฝ้าระวังน้า ซอ้ื อปุ กรณ์เคร่ืองมือในการเกบ็ ตวั อย่างคุณภาพนา้ เพือ่
เฝ้าระวงั

๖. การวิเคราะห์ SWOT & TOWS และ SOAR Analysis
ข้อมูลที่ได้จากการวเิ คราะห์และรวบรวมในขั้นตอนของการวิเคราะห์ Pressure-Carrying Capacity-

Government: PCG เป็นข้อมูลที่บ่งชี้ถึงพันธกิจของแผน และเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์จุดแข็ง
จุดอ่อน อากาศ และภัยคุกคาม ในพ้ืนท่ี เพ่ือนาไปสู่การกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้าประสงค์ รวมถึง
เปา้ หมายและตวั ช้ีวัดของแผนตอ่ ไป ซึ่งผลการวิเคราะหม์ ีดังน้ี

การวเิ คราะห์ SWOT ของจงั หวดั ชลบรุ ี
จดุ แข็ง (Strengths)
๑. มรี ะบบนเิ วศธรรมชาตทิ ่หี ลากหลาย ตง้ั แตภ่ ูเขาทีส่ ูง ซึ่งเปน็ พ้ืนท่ีป่าตน้ น้า ไปจนถึงที่ราบชายฝงั่ ท่ี
มพี ื้นท่ปี ่าชายเลนทส่ี าคญั ได้แก่ คลองตาหรุ และมีชายหาดทยี่ าว ทะเลและ เกาะ มแี หล่งท่องเท่ียวที่
หลากหลายประเภท ทั้งแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วธรรมชาติ แหลง่ ท่องเท่ยี วเชิงประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเทยี่ วเชงิ
วฒั นธรรม แหลง่ ท่องเที่ยวกิจกรรมผจญภยั และแหล่งท่องเท่ียวบันเทงิ สมัยใหม่ และแม่เหล็กสาคัญคือ “เมือง
พัทยา” ซ่ึงเปน็ แหล่งท่องเทยี่ วนานาชาติทม่ี ีชอ่ื เสียงระดบั โลก และเป็นแหล่งท่องเทยี่ วที่สาคญั ของประเทศ
๒. มีพื้นที่ติดชายฝ่ังทะเลทาให้ผลผลิตภาคประมงมีบทบาทสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของพ้ืนท่ี ได้แก่
การทาประมงนา้ จดื การเพาะเลี้ยงสตั ว์นา้ ชายฝ่งั และการทาประมงทะเล
๓. เป็นศูนย์รวมท่ีต้ังอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของประเทศและมีแนวโน้มที่จะเติบโตเป็นศูนย์กลาง
อุตสาหกรรมสมัยใหม่ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เน่ืองจากเป็นหน่ึงในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออก Eastern Economic Corridor (EEC) และมีจดุ ทา่ เรอื น้าลกึ ชั้นนาของภมู ิภาคเอเชยี
๔. มีการลงทุนโครงการพัฒนาตามนโยบายการพัฒนาของประเทศ การเช่ือมต่อสนามบินและท่าเรือ
ทาให้ดึงดูดการลงทุน การจ้างงาน การท่องเท่ียว เข้ามาในพ้ืนท่ี มีโครงข่ายเส้นทางคมนาคมขนส่งที่เชื่อมโยง
กันท้ังทางบก ทางน้า ทางราง และทางอากาศ ซ่ึงในอนาคตสามารถเช่ือมโยงกันแบบไร้รอยต่อ (Seamless
Operation) เพอ่ื ชว่ ยเพิม่ ศกั ยภาพในการแข่งขนั จากการลดเวลาการเดนิ ทางและประหยดั ค่าขนส่ง
๕. มีการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนได้เป็นอย่างดี รวมถึง มีความร่วมมือในการดูแลและ
รกั ษาทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ทั้งเครือขา่ ยภาคประชาชน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชนที่เข้มแข็ง
และภาครฐั ทีใ่ หก้ ารสนับสนุน
๖. มีผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่สาคัญ ได้แก่ ยางพารา มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน สับปะรด อ้อย ไก่
เนือ้ ไก่ไข่ และสุกร นอกจากนี้การมีพ้ืนท่ีติดชายฝงั่ ทะเลยังทาใหเ้ กิดการผลิตในสาขาประมงท่ีมีบทบาทสาคัญ
ต่อระบบเศรษฐกิจของพนื้ ท่ี ได้แก่ การทาประมงน้าจดื การเพาะเล้ยี งสัตวน์ า้ ชายฝัง่ และการทาประมงทะเล

๔ - ๒๓

แผนสงิ่ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๗. มีความพร้อมด้านการแพทย์ โดยมีสถานพยาบาลท่ีทันสมัย ครบวงจร เพียงพอต่อความต้องการ
และสามารถรองรบั การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมและการท่องเทย่ี วได้

๘. มีสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถผลิตบุคลากรที่มีคุณสมบัติได้ตรงกับความต้องการ
ของตลาดแรงงาน นอกจากนี้จังหวัดยังได้มีการดาเนินโครงการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทาเชิงพื้นที่
ซึ่งเป็นความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวเน่ืองกับการปฏิรูปการศึกษาภายในพื้นท่ีจังหวัดชลบุรี
ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคท้องถ่ิน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม ภาคอุตสาหกรรมและการท่องเท่ียว และ
หน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง โดยกาหนดเป้าหมายการพัฒนาการศึกษาเพ่ือให้ผู้ท่ีจบการศึกษา
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ได้ศึกษาต่อสาย อาชีพมากขึน้ เพือ่ ผลิตกาลังคนในอนาคตให้เปน็ แรงงานที่มีฝีมือเข้า
สู่ภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ท่ีมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดการสร้างงานสร้างรายได้ทาง
เศรษฐกิจ รวมถึงเพิ่มค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม จังหวัด (GPP) ให้สูงขึ้น ตลอดจนคุณภาพชีวิตท่ีดีขนึ้ แก่ประชาชน
ในจังหวัดชลบุรี สถาบันการศึกษาในพ้ืนที่ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัย
บรู พา ซง่ึ จะนาไปสกู่ ารมสี ่วนร่วมภาควิชาการด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

๙. เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุน และธุรกิจบริการ รวมท้งั มีทพี่ ัก โรงแรมขนาดใหญ่ เหมาะแกก่ าร
จดั ประชุมสมั มนาและใหบ้ ริการนกั ทอ่ งเท่ียว

จุดอ่อน (weakness)
๑. การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งน้าเสีย มลพิษ
ทางอากาศ ขยะมูลฝอย ของเสียอันตราย ก๊าซเรือนกระจก และมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สูง ทาให้
สูญเสยี พ้นื ท่ีป่าไมแ้ ละเกษตรกรรมอยา่ งต่อเนื่อง
๒. การบริหารจัดการน้ายังไมม่ ีประสิทธิภาพเพียงพอ เนื่องจากความต้องการน้าเพ่ิมมากขึ้น จากการ
ขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและบริการ รวมถึงความต้องการน้าในการอุปโภคบริโภคของ
ประชาชน แหล่งน้าสาหรับกักเก็บน้ามจี ากัดไม่สามารถรองรับการขยายตวั ดังกลา่ วได้
๓. มกี ารใช้ทรัพยากรธรรมชาติเปน็ ฐานการผลิตเกนิ ขดี ความสามารถในการรองรับของทรัพยากร จนทา
ให้ (๑) คุณภาพน้าผิวดินส่วนใหญ่อยู่ในระดับเส่ือมโทรม (๒) คุณภาพน้าชายฝั่งในบางบริเวณเริ่มเส่ือมโทรม
(๓) การกัดเซาะชายฝ่ัง ส่งผลต่อการสูญหายของพื้นท่ีประมงชายฝั่ง และการใช้ประโยชน์ที่ ดินชายฝั่งมี
ผลกระทบต่อคุณภาพและความหลากหลายของส่ิงมีชีวิตในทะเล (๔) คุณภาพอากาศบางวันเกินค่ามาตรฐาน
(๕) มกี ารปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกเกนิ ขดี ความสามารถในการรองรับ สง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
๔. ขาดระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีมีประสิทธิภาพ และที่มีเช่ือมโยง
รว่ มกันกับฐานข้อมูลอืน่ ทาใหไ้ ม่ทราบสถานภาพดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เพ่อื เป็นเครือ่ งมอื ใน
การกาหนดแนวทางบรหิ ารจดั การได้
๕. อปท. ขาดแนวทาง องค์ความรู้ และการสนบั สนุนการนาเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมมาใช้ในการปอ้ งกนั
และแก้ไขจากปญั หามลพษิ ทีเ่ กดิ ข้นึ อย่างท่ัวถงึ
๖. ประชาชนยังขาดจิตสานกึ ที่ดีในการอนรุ กั ษ์

๔ - ๒๔

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

โอกาส (Opportunities)
๑. รัฐบาลกาหนดให้ เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green
Economy : BCG Model) เปน็ วาระแห่งชาติ และใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการขบั เคล่ือนประเทศ
๒. มีกฎหมายในการคุ้มครองส่ิงแวดล้อมและควบคุมมลพิษในพ้ืนท่ี ได้แก่ เขตพ้ืนท่ีคุ้มครอง
สิ่งแวดล้อม และเขตควบคุมมลพิษ การประกาศเขตพ้ืนท่ีคุ้มครองสิ่งแวดล้อมอาเภอบางละมุงและอาเภอสัต
หีบ และการประกาศเขตควบคุมมลพิษเมืองพัทยา ทาให้สนับสนุนให้มีการดาเนินการบรรลุเป้าหมายตาม
ประกาศ จะช่วยในการอนรุ ักษ์ ฟนื้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติ และรกั ษาและแกไ้ ขปญั หาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม
๓. รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยได้กาหนด
พระราชบัญญตั เิ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ ซ่ึงเนน้ การพฒั นาท่ีมกี ารใชเ้ ทคโนโลยีขั้นสูง สรา้ ง
นวัตกรรม และเป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม
ภัยคกุ คาม (Threats)
๑. การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate change) ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ มของจังหวดั เชน่ การเพิ่มสงู ข้ึนของระดับน้าทะเลสง่ ผลตอ่ การกดั เซาะชายฝั่ง ทาให้สูญเสยี
พืน้ ดินชายหาดและแหล่งท่องเทย่ี วทางทะเล ความหลากหลายทางชวี ภาพ และชวี ิตความเปน็ อยู่ของชุมชน
ท้องถิน่ และยังส่งผลต่อสภาพภูมอิ ากาศ (อุณหภูมิ และน้าฝน) ส่งผลต่อผลผลติ ภาคการเกษตร
๒. การรวมกลุ่มเป็นประชาคมอาเซียนทาให้มีการพัฒนาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานจะเอื้ออานวยให้การ
เดินทางติดต่อกันสะดวกมากข้ึน ส่งผลให้ประชากรจากประเทศเพ่ือนบ้านอพยพเข้ามาต้ังถิ่นฐานในประเทศ
ไทยเพ่ือใช้แรงงาน รวมทั้งการเข้ามาทางานจากแรงงานต่างถิ่นภายในประเทศ จึงทาให้ชลบุรีมีจานวน
ประชากรแฝงมากข้ึน กอปรกับการเพ่ิมข้ึนของนักท่องเที่ยว จึงทาให้มีปริมาณน้าเสีย ขยะชุมชน และการใช้
ทรพั ยากรเพิม่ ข้ึน และมผี ลต่อการบริการระบบสาธารณปู โภคและสาธารณูปการทอี่ าจไมท่ ่ัวถงึ และเพียงพอกับ
ความตอ้ งการท่ีเพ่มิ ขึน้
๓ . การก้าวหน้ าท างเท คโน โลยีใน แง่มุมต่าง ๆ เป็น ไปแบบ ก้าวกระโดด (Big Bang of
Technology) อัตราการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต การเติบโตของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเชิงพาณิชย์ และการเข้า
แข่งขันของผู้เล่นในตลาด ล้วนทาให้เทคโนโลยีเข้าสู่ชีวติ ประจาวันของคนทั่วไปได้ง่ายขน้ึ ว่องไวข้ึน ในราคาท่ี
เออื้ มถึงได้ง่ายข้ึน และส่งผลกระทบต่อเราอยา่ งหลีกเล่ียงไมไ่ ด้ ทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ วิถีชวี ติ และสังคม ไปจนถึงมิติ
ทางกฎหมายและการเมือง เปล่ียนวิถีชีวิตของเราตั้งแต่วิธีการสื่อสาร การส่ังซ้ือสินค้า การเรียกรถโดยสาร
สาธารณะ การรักษาผู้ป่วย หรือการใช้หุ่นยนต์แทนแรงงานคนในกระบวนการผลิตอย่างกว้างขวาง
ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีท่ีก้าวกระโดดจะทาให้อารยธรรมของมนุษย์เปลย่ี นไปโดยส้ินเชิง อีกทั้งยังคาดว่า
ปี ค.ศ. 2040 จะเกดิ ปรากฏการณ์ทเี่ รียกว่า ‘Singularity’ อนั เป็นจุดพลิกประวัติศาสตรข์ องมนุษยชาติเพราะ
ปัญญาประดิษฐ์จะเก่งกว่ามนุษย์ ดังน้ัน ความรู้และการศึกษาคือส่ิงที่จาเป็นในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง
ดงั กล่าว
๔. การเปล่ียนแปลงเชิงโครงสร้างประชากร ปัจจุบันเรากาลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพราะคนเกิด
น้อยลงมากและเทคโนโลยีการแพทย์สมัยใหม่ทาให้คนมีอายุยืนข้ึนในปี ค.ศ. 2040 หรืออีก ๒๓ ปีข้างหน้า
โลกจะมีสัดส่วนประชากรที่อายุสูงกว่า ๖๐ ปี ถึงร้อยละ ๒๐ เทียบกับเพียงร้อยละ ๑๒ ในปี ค.ศ. 2015

๔ - ๒๕

แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สังคมผู้สูงอายุจะเป็นความท้าทายทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างตลาดแรงงาน
โครงสรา้ งการบรโิ ภคการออม ภาระด้านการคลังและรายจ่ายดา้ นสวสั ดกิ าร ตลอดจนคุณภาพชวี ิตของผู้สูงอายุ
ทต่ี ้องดแู ลตวั เองในวยั ชรา และที่สาคญั สงั คมผู้สงู อายุจะทาให้บรบิ ททางการเมืองเปล่ียนแปลงไปด้วย เนื่องจาก
ฐานเสียงผู้สูงอายุจะสาคัญมากขึน้ และจะเน้นเร่ืองการรักษาสิทธิประโยชน์และสวัสดิการของตนเองเป็นหลัก
คานงึ ถึงอนาคตของคนรนุ่ ตอ่ ไปน้อยลง การดาเนินนโยบายปฏิรปู เศรษฐกจิ และสังคมจะทาได้ยากขนึ้

๕. ค่านิยมทางสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไป ไม่ว่าจะเกิดจากความก้าวหน้าและรวดเร็วของส่ือเทคโนโลยี
การเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตกไม่ว่าจากสื่อโทรทัศน์ ภาพยนตร์ หนังสือ หรืออินเตอร์เน็ตก็ตาม ทาให้
ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี วัฒนธรรมท่ดี ีงาม และพฤตกิ รรมของคนในสังคมไทยเปล่ียนไป เนอื่ งจากคนใน
สังคมไม่สามารถปรับตัวและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้สภาพแวดล้อมในอดีตกับ
ปัจจุบันแตกต่างกันมาก ในปัจจุบันมีส่ิงยั่วยุ สถานบันเทิงเริงรมย์ต่าง ๆ ศูนย์การค้า ปัญหาสารเสพติด และ
ความรุนแรง ซ่ึงสง่ ผลให้วยั รุ่นอาจใช้ชีวติ ที่หลงผิด จนอาจก่อให้เกิดเป็นปญั หาอาชญากรรมทางสงั คมได้ ทาให้
มีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี ยากจน ไม่มีโอกาสศึกษาต่อ ต้องหาเล้ียงชีพโดยไม่สุจริต เกิดความฟุ้งเฟ้อเพื่อต้องการให้
ตนเองทัดเทยี มกับผอู้ ่ืน และในที่สดุ กเ็ กิดคา่ นยิ มทางเพศทผี่ ิด ๆ เช่น การมคี วามคดิ ว่า การขายบรกิ ารทางเพศ
เป็นสง่ิ ทห่ี ารายไดใ้ หแ้ กต่ นเองไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว เป็นตน้

การวเิ คราะห์ TOWS Analysis
จากข้อมลู จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคกุ คาม นามาสู่การวเิ คราะห์วัตถุประสงค์เชงิ กลยทุ ธเ์ พอ่ื การ
บรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ได้ผลสรุปใน ๔ ด้าน คือ
๑) กลยทุ ธเ์ ชงิ รกุ ควร ส่งเสริมการบรกิ ารทางการแพทย์ และพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทีส่ วยงามนา่ อยู่ท่ี

สง่ เสริมการท่องเทย่ี วเชิงสุขภาพ
๒) กลยทุ ธเ์ ชงิ แก้ไข ควร พัฒนากลไกและเครือขา่ ยเพ่ือการประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคิดเศรษฐกจิ สีเขียวส่กู าร

ผลิตและการบรโิ ภคทเ่ี ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม
๓) กลยุทธ์เชงิ ป้องกัน ควร สรา้ งความตระหนักในคุณคา่ ของทรัพยากรธรรมชาติและส่งเสริมองค์

ความรูแ้ ละการใช้ประโยชน์ทรพั ยากรอย่างชาญฉลาด
๔) กลยทุ ธ์เชิงรับ ควร อนรุ กั ษแ์ ละฟนื้ ฟคู ณุ ภาพทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม รว่ มกับการบูร

ณาการภูมิปญั ญาท้องถนิ่ และกลมุ่ เครอื ข่ายทุกภาคส่วนในพื้นท่สี ู่กระบวนการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
การวิเคราะห์ SOAR Analysis
ภายใตจ้ ดุ แข็ง และโอกาส นามาสู่การวเิ คราะหเ์ ป้าหมายและผลลัพธ์ทีค่ าดหวงั ไดด้ งั นี้
๑) สภาพแวดล้อมได้รับการออกแบบและพัฒนาให้สวยงามน่าอยู่ ผลลัพธ์ท่ีคาดหวัง น้ามีคุณภาพ
ท่ดี ี ขึ้น อากาศอย่ใู นเกณฑ์มาตรฐาน ภมู ทิ ศั นส์ วยงามดว้ ยพื้นทส่ี เี ขียวและไมม่ ขี ยะของเสีย
๒) ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการดูแลรักษา ผลลัพธ์ที่คาดหวัง คือน้ามีเพียงพอต่อการอุปโภค-บริโภค
และมอี งค์กรบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่งแวดลอ้ มอย่างยัง่ ยืน
๓) เทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถ่ินได้รับการพัฒนาและเผยแพร่สู่สังคมอย่างเท่าทัน ผลลัพธ์ท่ี
คาดหวังคือ ชุมชนเรียนรู้เท่าทนั เทคโนโลยีทีก่ ้าวหน้าคู่กับวิถีชวี ิตวัฒนธรรมชุมชน

๔ - ๒๖

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๗. ทิศทางและนโยบายการพฒั นาของจงั หวดั ชลบรุ ี
พื้นที่จังหวัดชลบุรี เป็นเป้าหมายเชิงพื้นท่ีในแผนภาพรวมการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) ที่ไดจ้ ัดทาข้นึ ตามมาตรา ๒๙ ของพระราชบัญญัตเิ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก พ.ศ.
๒๕๖๑ ที่กาหนดให้สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สานักงาน) จัดทา
แผนภาพรวมฯ และเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (คณะกรรมการนโยบาย)
และได้กาหนดเป้าหมายการพัฒนาเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับการพัฒนาประเทศ ระดับการพัฒนาพ้ืนท่ี เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และระดับการพัฒนาพ้ืนที่ ๓ จังหวัด (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และ ระยอง) โดยมี
ตวั ช้วี ัดของการพัฒนา ดงั นี้

เปา้ หมายระดับประเทศ
(๑) เปน็ พน้ื ที่แรกท่ีมกี ารพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นระบบ มีกฎหมาย องค์กรดาเนนิ การ และ
มีภารกจิ ชัดเจน เป็นตวั อยา่ งของการพฒั นาพืน้ ที่อ่นื ๆ ในอนาคต
(๒) รายไดป้ ระชาชาตขิ ยายตัวไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๕ ตอ่ ปี
(๓) สะสมและนาเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ในการสร้างรายได้และสร้างความสะดวกให้กับคนไทย ทุก
คนทกุ ระดบั
เป้าหมายระดับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง) การยกระดับการ
ลงทุนในทุกดา้ นไม่ต่ากว่า ๑.๕ ล้านล้านบาท ใน ๕ ปีแรก เพ่ือให้เกิดฐานเทคโนโลยีใหม่ของประเทศ และเกิด
การพฒั นาคน ความรู้และเทคโนโลยี ให้ก้าวทันโลกอนาคต
เป้าหมายระดับจังหวัด
เป้าหมายจังหวัดชลบุรี เป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงคุณภาพและการศึกษา เป็นศูนย์กลางทางการเงิน และ
การวิจัยและพัฒนา ภายใน ๑๐ ปี
เพ่ือตอบเป้าหมายดังกล่าวจึงมีโครงการต่าง ๆ ท่ีถูกพัฒนาข้ึนในจังหวัดชลบุรี ตัวอย่างเช่น ในปี พ.ศ.
๒๕๖๑ ได้มีการประกาศเขตส่งเสริมนิคมอุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นท่ี EEC ๑๙ แห่ง ทาให้พื้นที่ใหม่รองรับ
อุตสาหกรรมเป้าหมายอีก ๒๖,๒๐๕ ไร่ ทั้งน้ีต้ังอยู่ในจังหวัดชลบุรี ๑๒ แห่ง เขตส่งเสริมเพื่อกิจการพิเศษ
ประกอบด้วย ๑) เขตสง่ เสริมนวัตกรรมระเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor
Innovation: EECi) ในพื้นท่ีอุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอากาศ อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ขนาดพื้นท่ี ๑๒๐
ไร่ เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมและชมุ ชน ด้วยการพัฒนาวิจยั และนวัตกรรม โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม ๓
สนามบิน แนวเส้นโครงการเร่ิมจากสนามบินดอนเมืองผ่านสถานีกลางบางซื่อ มักกะสัน ลาดกระบัง สุวรรณ
ภูมิฉะเชิงเทรา ชลบุรี พัทยา และสิ้นสุดท่ีบริเวณใต้อาคารผู้โดยสารหลังที่ ๓ ของสนามบินอู่ตะเภา
ประกอบด้วย ๑๐ สถานี ระยะทางรวม ๒๒๐ กิโลเมตร พ้ืนท่ีตลอดแนวโครงการฯ ต้ังแตส่ นามบนิ ดอนเมืองถึง
สนามบนิ อู่ตะเภารวม ๗,๕๘๓ ไร่ โครงการเขตสง่ เสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทลั (EECd) ตั้งอยูบ่ ริเวณ
อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ขนาดพื้นที่ ๗๐๙ ไร่ เพื่อขยายและปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานด้านดิจิทัลเดิม
รองรับการเปน็ Data Hub ของอาเซยี น และ เขตส่งเสรมิ ศูนย์นวัตกรรมการแพทย์ครบวงจร ที่ตั้ง อาเภอบาง
ละมุง จังหวัดชลบุรี พื้นท่ี ๕๖๖ ไร่ เป็นศูนย์กลางของกิจกรรมส่งเสริมด้านนวัตกรรมการวิจัยขั้นสูงและ

๔ - ๒๗

แผนสิง่ แวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

นวัตกรรมทางดา้ นการแพทยแ์ ละยงั เป็นศนู ยก์ ลางพัฒนาสุขภาพพลานามยั เพื่อรองรับการก้าวสู่สังคมผู้สงู อายุ
ของประเทศไทย

ตามแผนพัฒนาจังหวัดชลบุรี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ฉบับทบทวน ๒๕๖๔ ได้วางเป้าหมายการ
พัฒนาจังหวัดคือ “ฐานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมชั้นนาของอาเซียน แหล่งท่องเท่ียวชายทะเลนานาชาติ แหล่ง
ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ประตูสู่เศรษฐกิจโลก สังคมแห่งการเรียนรู้ มีภูมิคุ้มกันทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมเป็นฐานการพัฒนาที่มคี ุณภาพและย่งั ยนื ” แบง่ ออกเปน็ ๖ แนวทาง ประกอบด้วย

๑) ยกระดบั การพัฒนานวตั กรรมอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีท่เี ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม
๒) ยกระดับใหเ้ ป็นเมอื งท่องเท่ียวนานาชาติ มีมาตรฐานระดับสากล
๓) สร้างเสริมนวตั กรรมสเู่ กษตรมูลคา่ สงู
๔) ยกระดับประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐและเอกชน โครงสร้างพื้นฐานและคมนาคม

รองรับเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
๕) พฒั นาคนและชุมชนให้สังคมม่นั คง มคี ุณภาพและยัง่ ยืนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๖) บริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ กดิ ความสมดลุ และมีสว่ นรว่ มอย่างย่งั ยืน
จากการวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม ประกอบด้วย สภาวะความท้าทายของโลก ได้แก่ ความมั่นคงทาง
อาหาร สุขภาวะท่ีดี และการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศโลก รวมถึงสถานการณก์ ารพฒั นา จานวนประชากร
ระบบเศรษฐกิจ รวมถึงสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของจังหวัดชลบุรี เป็นแรงกดดันของ
พ้ืนท่ี (Pressure: P) ในขณะท่ีศักยภาพของพ้ืนท่ีมีระดับการรองรับ (Carrying Capacity: C) ในตัวช้ีวัด ๘
ประเด็น ที่พบว่าเกินขีดความสามารถในการรองรับไป ๕ ประเด็น คือ การมีอยู่ของอาหาร สมดุลน้า น้าเสีย
การปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ และการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีพื้นท่ีเพาะปลูกไม่เพียงพอต่อปริมาณความ
ต้องการเพื่อการดารงชีพ ในขณะท่ีพ้ืนท่ีมีแรงกดดันสูงและระดับความสามารถในการรองรับของพ้ืนท่ีได้เกิน
ขีดความสามารถในการรองรับในบางประเดน็ ดังท่ีได้กล่าวในตอนต้น ซึง่ จังหวัดชลบุรีและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
ได้ มี ค ว า ม พ ย า ย าม ใน ก า ร แ ก้ ไข ปั ญ ห า ด้ ว ย ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ งแ ว ด ล้ อ ม
(Governance: G) และมีการกาหนดทิศทางการพัฒนาพ้ืนที่เพ่ือเกิดคุณภาพชีวิตและสภาพแวดล้อมที่ดีของ
ประชาชนในพื้นท่ี ข้อมูลทั้งหมดเหล่าน้ีนาไปสู่การวิเคราะห์ SWOT/TOWS และ SOAR ท่ีใช้ในการกาหนด
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ โดยผลการวิเคราะห์ดังกล่าวนามาสู่การ
ถา่ ยทอดกจิ กรรมโครงการมาสแู่ ผนระดับระดบั จังหวัด ซึง่ จังหวดั ชลบุรเี ป็นส่วนหนง่ึ ของพ้ืนท่พี ัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออก ท่ีต้องมีแผนการดาเนินงานเชิงปฏิบตั ิที่ส่งเสริมสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายของแผนสิง่ แวดล้อมใน
พน้ื ท่ีพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก ระยะที่ ๒ ตอ่ ไป
๘. แผนสง่ิ แวดล้อม จังหวัดชลบุรี (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
๘.๑ หลักการและเหตุผล
แผนส่ิงแวดล้อมในระดับจังหวัด มุ่งเน้นส่งเสริมโครงการ/กิจกรรมด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมในระดบั พน้ื ที่ ท่ีตอบสนองต่อการบรรลุเปา้ หมายของแผนส่ิงแวดลอ้ มในภาพรวมของพื้นทเี่ ขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ ภายใต้สถานการณ์ภาวะกดดัน ความสามารถในการรองรับของพ้ืนท่ี และ

๔ - ๒๘

แผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ี ท่ีส่งเสริมและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาทั้งใน
ระดบั ภูมิภาคและระดับจงั หวดั ต่อไป

๘.๒ วสิ ยั ทศั น์
“ศนู ยก์ ลางการศกึ ษาและพักผอ่ นเพอ่ื สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมสวยงามน่าอยู่

ประตูสูก่ ารท่องเที่ยวเชิงคณุ ภาพภายใต้เศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่เปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม”
๘.๓ วัตถุประสงค์

๑. พัฒนาสภาพแวดล้อมที่สวยงามน่าอยู่ท่ีส่งเสรมิ ทน่ี าไปสู่การท่องเทย่ี วเชิงสุขภาพ
๒. อนุรักษแ์ ละฟน้ื ฟู และพัฒนาคณุ คา่ ของทรัพยากรธรรมชาตทิ ีห่ ลากหลายสกู่ ารใช้ประโยชน์

ทรพั ยากรอยา่ งย่ังยืน
๓. พัฒนากลไกและเครือขา่ ยเพอื่ การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียวสู่การผลติ และการบรโิ ภค

ทีเ่ ป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม
๘.๔ เปา้ ประสงค์

๑. สงิ่ แวดล้อมได้รบั การบาบัดและจดั การให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
๒. ทรัพยากรธรรมชาตใิ นพน้ื ทไ่ี ดร้ บั การอนุรักษ์ ฟ้นื ฟู และมกี ารใชป้ ระโยชนอ์ ย่างมนั่ คง สมดลุ

และเปน็ ธรรม
๓. ประชาชนในพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก ได้รบั การสง่ เสรมิ นวัตกรรมและ

ความสามารถในการพ่ึงตนเองในการบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ
และอุบัตภิ ยั
๔. ระบบและกลไกในการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมมีการขบั เคลื่อนด้วย
กระบวนการมสี ่วนรว่ มอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ทง้ั น้ี จังหวัดชลบรุ ีมีโครงการเฉพาะประเดน็ และพ้ืนที่เพม่ิ เติมจากแผนภาพรวม มีเป้าประสงคใ์ น
ระดับจังหวัด ทีส่ นบั สนุนเปา้ ประสงค์ในแผนภาพรวม ดังนี้
๑. สภาพแวดลอ้ มไดร้ บั การออกแบบและพฒั นาให้สวยงามนา่ อยูแ่ ละปลอดภยั
๒. ทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลายได้รบั การฟื้นฟูดแู ลและใช้ประโยชน์อย่างยงั่ ยนื
๓. วิถชี วี ติ วฒั นธรรมชุมชนได้รับการพัฒนาให้เท่าทนั เทคโนโลยีท่กี ้าวหน้าและสังคมท่ีทนั สมัย
๘.๕ ยุทธศาสตรแ์ ผนสิ่งแวดลอ้ ม จังหวดั ชลบรุ ี (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
ในการดาเนินกิจกรรมโครงการแผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะท่ี ๒ มุ่งเน้น
การบริหารจัดการในภาพรวม ซึ่งโครงการ/กิจกรรมในประเด็นที่สาคัญ ได้ดาเนินการครอบคลุมท้ัง ๓ จังหวัด
ในแผนภาพรวม เช่น การจัดการทรัพยากรน้า ก๊าซเรือนกระจก การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
การเพ่ิมประสิทธภิ าพการบริหารจดั การและกลไกการมสี ่วนร่วมเพ่ือขับเคลือ่ นแผนสู่การปฏิบัติ เปน็ ต้น และมี
โครงการ/กิจกรรมท่ีมีความสาคัญเฉพาะพื้นที่ท่ีดาเนินการภายใต้แผนสิ่งแวดล้อม จังหวัดชลบุรี (ระยะที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ เพ่ือสนับสนุนการบรรลุเป้าหมาย และเป้าประสงค์ของแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีเขต
พฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออกระยะที่ ๒ ประกอบด้วย ๔ ยุทธศาสตร์สาคัญคอื
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การจดั การสิ่งแวดลอ้ มเพ่ือคณุ ภาพชีวติ ท่ีเปน็ สขุ

๔ - ๒๙

แผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่งั ยืน
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การสรา้ งศักยภาพชุมชนพ่งึ ตนเองและรบั มือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและ

อุบตั ิภยั
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจดั การและกลไกการมสี ่วนรว่ มเพื่อขับเคลอ่ื นแผนสู่

การปฏิบัติ

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการส่ิงแวดล้อมเพื่อคุณภาพชีวิตท่ีเป็นสุข มี ๓ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ ๑.๑
การจัดการน้าเสีย ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการระบบบาบัดน้าเสีย การ
พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อลดปริมาณน้าเสยี และการนากลับมาใช้ กลยุทธ์ท่ี ๑.๓ การจัดการขยะและกากของเสีย
อุตสาหกรรม ประกอบด้วย ๑ แผนงาน ได้แก่ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการขยะชุมชน และกลยุทธท์ ี่ ๑.๔
การพัฒนาส่ิงแวดล้อมเมืองและชุมชนน่าอยู่ตามภูมินิเวศ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การสร้างความ
สวยงามและความรม่ รนื่ ของเมืองและชุมชน โดยมี ๖ ตัวชว้ี ัดทสี่ าคัญ ได้แก่ (๑) คุณภาพน้าผิวดินโดยเฉลย่ี อยู่
ในระดับพอใช้ (ระดับ ๓) (๒) มีระบบบาบัดน้าเสียเพ่ิมขึ้น (๓) มีการดาเนินการในการลดสาร VOCs.ในเขต
นิคมอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง (๔) มีการดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกหลักวิชาการไม่น้อยกว่าร้อยละ
๕๐ (๕) สัดส่วนการนาของเสียกลับไปใช้ใหม่ ร้อยละ ๓๐ ของปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนรวม และ (๖) เพิ่ม
พ้นื ทสี่ ีเขียวเมืองตามเกณฑ์มาตรฐาน (๑๐ ตร.ม./คน) ท้ังนีก้ ลยุทธ์ที่ ๑.๒ จะมกี ารขบั เคล่ือนในระดับภาพรวม
๓ จังหวัด

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน มี ๓ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี ๒.๑ การใช้
ประโยชน์ที่ดินที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การพัฒนาเคร่ืองมือเพ่ือเพ่ิม
ประสิทธิภาพการใชท้ ี่ดินที่เป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อมแนวทางปฏิบัติ กลยุทธ์ที่ ๒.๓ การจัดการความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ กล
ยุทธ์ที่ ๒.๔ การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพ
การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง โดยมี ๔ ตัวช้ีวัดที่สาคัญ ได้แก่ (๑) มีมาตรการป้องกัน ดูแล รักษา
และฟ้ืนฟูในระบบนิเวศ ป่าบก ป่าชายเลน พ้ืนที่ชุ่มน้า (๒) มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมเช่ือมโยง
กันเพ่ิมข้ึน (๓) มีการส่งเสริมนวัตกรรมการแปรรูปและเพ่ิมมูลค่าจากความหลากหลายทางชีวภาพ (๔) มี
กิจกรรมรักษาและฟ้ืนฟูสิ่งแวดล้อมทะเลและชายฝั่ง และ พัฒนาแหล่งอนุบาลสัตว์น้าชายฝั่งและป่าชายเลน
ทง้ั น้กี ลยุทธ์ที่ ๒.๒ จะมกี ารขับเคลื่อนในระดับภาพรวม ๓ จังหวัด

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างศักยภาพชุมชนพึ่งตนเองและรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และอุบัติภัย มี ๓ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การเพ่ิมพื้นท่ีแหล่งดูดซับและกักเก็บก๊าซเรือนกระจก การส่งเสริมการมีส่วน
ร่วมของทุกภาคส่วนในการปรับตัวต่อการรองรับการ กลยุทธ์ที่ ๓.๓ การจัดการภัยพิบัติ อุบัติภัย โรคระบาด
และสภาวะสุดขั้วจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพ
การจัดการอุบัติภัยและภัยพิบัติ มี ๒ ตัวชี้วัดท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(เทยี บเทา่ ) ในพนื้ ท่ีลดลง ตามเป้าหมายท่ีกาหนดในแผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๗๓

๔ - ๓๐

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

(๒) จานวนประชากรที่เสียชีวิต สูญหาย ได้รับบาดเจ็บ หรือโยกย้ายที่อยู่เน่ืองจากอุบัติภัย หรือได้รับ
ผลกระทบจากอบุ ัตภิ ัยลดลง ทัง้ นีก้ ลยุทธท์ ่ี ๓.๑ จะมีการขบั เคลอื่ นในระดับภาพรวม ๓ จงั หวดั

ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการและกลไกการมีส่วนร่วมเพ่ือขับเคลื่อน
แผนสู่การปฏิบัติ มี ๓ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ ๔.๒ การขับเคลื่อนแผนสู่การดาเนินงาน ประกอบด้วย ๒
แผนงาน คือ เพ่ิมประสิทธิภาพการขับเคล่ือนแผน และการส่งเสริมสนับสนุนการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ กล
ยุทธ์ ๔.๓ การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ตามหลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ
หมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว และเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน ประกอบด้วย ๑ แผนงาน ได้แก่ สนับสนุนการ
วิจัยและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามหลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และ
เศรษฐกจิ สีเขียว โดยมีตัวช้ีวดั ท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ (๑) มกี ารพัฒนาเทคโนโลยีเพ่อื บรกิ ารชมุ ชน (๒) มเี วที หรือชอ่ ง
ทางการส่ือสารแลกเปล่ียนข้อมูลและความคิดเห็นร่วมกันทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง และ (๓) มีแนวทางการ
พัฒนา งานวิจัย งานวิจัยท้องถ่ิน เทคโนโลยี นวัตกรรม และใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เกื้อหนุนต่อ
คุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท้ังนี้กลยุทธ์ที่ ๔.๑ จะมีการขับเคลื่อนในระดับภาพรวม ๓
จงั หวัด

๔ - ๓๑

แผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาค

๘.๖ เป้าหมายและตัวชว้ี ดั ที่นาไปส่กู ารกาหนดยทุ ธศาสตรข์ องแผนส่งิ แวดล

ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน

๑. การจัดการ ๑.๑ การจัดการน้าเสยี ๑.๑.๑ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจัดการระบบบ

สิ่งแวดล้อมเพือ่ คุณภาพ นา้ เสยี

ชีวติ ท่เี ปน็ สขุ ๑.๑.๒ การพฒั นาเทคโนโลยีเพื่อลดปรมิ าณ

และนากลบั มาใช้

๑.๒ การจัดการมลพษิ ทาง ๑.๒.๑ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การมลพษิ ท
อากาศ อากาศ

๑.๓ การจัดการขยะ ๑.๓.๑ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการจัดการขยะชมุ

๑.๔ การพฒั นาสิ่งแวดลอ้ ม ๑.๔.๑ สรา้ งความสวยงามและความรม่ รน่ื ข
เมืองและชมุ ชนน่าอยู่ตามภูมิ เมอื งและชุมชน
นิเวศ

๔-

คตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ลอ้ ม หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ เป้าหมาย ตวั ชีว้ ัด
หน่วยงานหลัก: อบจ./ - แม่นา้ และชายฝั่ง มี -คุณภาพนา้ ผิวดินโดยเฉลย่ี อยู่
บาบัด อปท. / อจน. คณุ ภาพน้าที่ดขี ้ึน ในระดบั พอใช้ (ระดบั ๓) A
ณนา้ เสีย หนว่ ยงานสนบั สนนุ : -มีระบบบาบดั นา้ เสยี เพิ่มขึ้น
ทาง DEPA/ สสภ.๑๓ คณุ ภาพอากาศอยใู่ นระดับ
มชน คพ./ depa / ERTC / มาตรฐาน -มีการดาเนินการในการลดสาร
สอ.จว. /คพ.. / อจน. VOCs.ในเขตนิคม
ของ หน่วยงานหลกั : กนอ. / การจดั การขยะมลู ฝอย/กาก อตุ สาหกรรมอยา่ งต่อเนอ่ื ง
กรอ. / อปท. ของเสียอันตรายทไี่ ดร้ บั การ
หนว่ ยงานสนบั สนนุ : อบจ. จดั การไมถ่ กู หลกั วชิ าการ -มีการดาเนินการจัดการขยะ
/สอ.ฉช./อก.จ./สสภ.๑๓ / ลดลง มูลฝอยทถ่ี ูกหลักวิชาการไม่
คพ. / ทสจ. นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๕๐ K
การเพิ่มพื้นท่ีสเี ขียวและ - สัดส่วนการนาของเสีย
หนว่ ยงานหลกั : อบจ. / คานึงถึงภมู ิทัศน์ทสี่ วยงาม กลับไปใช้ใหม่ รอ้ ยละ ๓๐
เมืองพัทยา ของปริมาณขยะมลู ฝอยชมุ ชน
อบจ.ชลบรุ ี/ทสม. / อปท. / รวม A
สถาบนั การศึกษา
หน่วยงานสนับสนนุ : สถ / - เพม่ิ พ้นื ท่ีสีเขยี วเมอื งตาม
สสภ. ๑๓ / ทสจ. / เอกชน เกณฑ์มาตรฐาน (๑๐ ตร.ม./
ลงทนุ ท้งั หมดอปท./ SCG คน) A
/ สกสว. / วช. / วว.
(แหล่งทนุ )

หนว่ ยงานหลกั : มทร.ตะวัน
ออก

๓๒

แผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาค

ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน

๒. การจดั การ ๒.๑ การใชป้ ระโยชน์ที่ดินท่ี ๒.๑.๑ พัฒนาเครือ่ งมอื เพอ่ื เพ่ิมประสิทธภิ า
ทรัพยากรธรรมชาติ เปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ใชท้ ่ีดินทเี่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม
อย่างยง่ั ยนื

๒.๓ การจัดการความ ๒.๓.๑ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจดั การความ
หลากหลายทางชวี ภาพ หลากหลายทางชวี ภาพ

๒.๔ การจดั การทรพั ยากรทะเล ๒.๔.๑ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการจัดการทรัพยา

และชายฝั่ง ทะเลและชายฝ่งั

๓ การสร้างศกั ยภาพ ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจาก ๓.๒.๑ เพม่ิ พ้ืนท่แี หลง่ ดูดซับและกกั เก็บก๊าซ
ชมุ ชนพึง่ ตนเองและ
รับมอื ต่อการ การเปล่ยี นแปลงสภาพ กระจก
เปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศและอบุ ัตภิ ยั ภมู ิอากาศ ๓.๒.๓ สง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคส่ว

การปรบั ตวั ต่อการรองรับการเปลีย่ นแปลงส

ภูมอิ ากาศ

๔-

คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

หน่วยงานรับผดิ ชอบ เป้าหมาย ตัวช้ีวดั
หนว่ ยงานสนบั สนุน: วช./
วว./อบจ./อปท.

าพการ หน่วยงานหลัก: อปท. / - สง่ เสริมการใช้ประโยชน์ เพิ่มพ้ืนทเ่ี กษตรยั่งยืน ร้อยละ
อจน. ท่ดี ินท่เี หมาะสมกบั ๑๐
ากรทาง หน่วยงานสนับสนุน: สอ. การเกษตร
ซเรอื น ขบ. - มมี าตรการป้องกัน ดแู ล
วนใน หน่วยงานหลกั : อส./อปท./ -การส่งเสรมิ ความ รักษา และฟ้ืนฟูในระบบนิเวศ
สภาพ กปม. / มูลนิธิอีสฟอรม่ั ๒๑ หลากหลายทางชวี ภาพ ใน ป่าบก ปา่ ชายเลน พื้นทช่ี ุม่ นา้
/ อบจ. / มทร.ตะวันออก พืน้ ท่ปี ่าไม้ ปา่ ชายเลน - มีแหล่งทอ่ งเท่ยี วเชงิ นิเวศ
หนว่ ยงานสนับสนนุ : ทสม. พ้ืนที่ชมุ่ นา้ ใหม้ ี และวฒั นธรรมเชือ่ มโยงกัน
/ วช./ วว./ ททท.. / อปท. ความสามารถใหบ้ ริการ เพิม่ ขน้ึ
(แหลง่ ทุน) นิเวศต่อสงั คมไดอ้ ย่าง - มีการส่งเสริมนวัตกรรมการ
เหมาะสม แปรรปู และเพม่ิ มูลคา่ จาก
หน่วยงานหลกั : อบจ. ความหลากหลายทางชีวภาพ
- ทรพั ยากรทางทะเลและ - มกี จิ กรรมรกั ษาและฟ้ืนฟู
หนว่ ยงานหลัก: อส. /ปม./ ชายฝ่ังได้รบั การอนรุ ักษ์และ ส่ิงแวดล้อมทะเลและชายฝั่ง
ทช./ พม./อปท. /กนอ. / ฟืน้ ฟูใหค้ งความอุดม และ พัฒนาแหล่งอนบุ าลสัตว์
กรอ. สมบูรณ์ นา้ ชายฝง่ั และปา่ ชายเลน I J
มทร.ตะวันออก/ - การปลอ่ ยก๊าซเรือน - ปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซ
กระจกในพื้นทล่ี ดลง คาร์บอนไดออกไซด์
(เทียบเทา่ ) ในพื้นท่ีลดลง ตาม
เปา้ หมายท่ีกาหนดใน แผนที่
นาทางการลดกา๊ ซเรอื นกระจก

๓๓

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาค

ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน

๓.๓ การจดั การภัยพบิ ตั ิ ๓.๓.๑ การเตรียมความพร้อมในการรบั มอื ก
อบุ ตั ภิ ัย โรคระบาด และ พบิ ตั ิ
สภาวะสุดขว้ั จากการ
เปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ

๔ การเพม่ิ ๔.๒ การขับเคลอ่ื นแผนสู่การ ๔.๒.๑ เพิ่มประสทิ ธิภาพการขบั เคล่ือนแผน
ประสทิ ธภิ าพการ ดาเนินงาน
บรหิ ารจดั การและ ๔.๒.๒ สง่ เสรมิ สนับสนุนการนาแผนไปส่กู า
กลไกการมีส่วนร่วม ปฏิบตั ิ
เพือ่ ขับเคลือ่ นแผนสู่
การปฏบิ ตั ิ

๔-

คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

หน่วยงานรับผดิ ชอบ เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัด
ม.บูรพา /ศวทช พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๗๓ C
หน่วยงานสนบั สนนุ :
เครอื ข่ายเกษตรกรรมย่งั ยืน
/ สนง. BOI/ สอ.จ/ SCG /
วช. /อบก./สพภ. / วว./
อบจ. (แหล่งทุน) / ทน./
ทช./อส./ชป./อบก.
(แหลง่ ขอ้ มูล)

กับภยั หนว่ ยงานหลัก: ปภ.จว. / การลดและป้องกันการเกดิ -จานวนประชากรทเี่ สียชีวิต

คพ. / กนอ. / อก. / ทช. / อบุ ัติภัย รวมท้ังผลกระทบ สูญหาย ไดร้ ับบาดเจบ็ หรอื
ทสจ. /หน่วยงาน จากอุบัติภัย โยกยา้ ยท่อี ยเู่ นอื่ งจากอุบัตภิ ยั
สนบั สนุน: อบจ./ หรอื ได้รบั ผลกระทบจาก
สถาบันการศกึ ษา อบุ ัตภิ ยั ลดลงA, E, F

ERTC / อปท.

น หน่วยงานหลัก: NT / สก -การสนบั สนุนให้ประชาชน มกี ารพฒั นาเทคโนโลยเี พ่อื

พอ. / อปท. และชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการ บรกิ ารชมุ ชน
บรหิ ารจัดการสงิ่ แวดล้อมมี

ความต่อเนอ่ื ง

- มเี วที หรือช่องทางการ

าร ทุกภาคส่วนเข้าใจ เขา้ ถึง สือ่ สารแลกเปล่ยี นข้อมูลและ

หนว่ ยงานหลกั : มทร.ภาค เปา้ หมายแผนการบรหิ าร ความคิดเห็นร่วมกันทุกภาค
ตะวันออก จัดการทรพั ยากรธรรมชาติ สว่ นอยา่ งต่อเน่ือง
หน่วยงานสนบั สนุน: วช./ และส่ิงแวดลอ้ มที่ย่ังยืนเพอ่ื

๓๔

แผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาค

ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน

กลยุทธ์ท่ี ๔.๓ การสง่ เสรมิ การ ๔.๓.๑ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา

วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยที ่ี ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ตามหล

เหมาะสม ตามหลกั การ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และ

เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกจิ เศรษฐกิจสีเขยี ว

หมุนเวยี น เศรษฐกิจสเี ขียว

และเปา้ หมายการพัฒนาท่ี

ยัง่ ยนื

หมายเหต:ุ A พฒั นาหรอื นามาจากตวั ชว้ี ัดภายใต้แผนจัดการคณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖

B ประยุกต์หรอื นามาจากตัวชว้ี ัดภายใตแ้ ผนวสิ าหกจิ องค์การจดั การน้าเสยี พ.ศ. ๒๕๖๐

C ระดับการลดการปลดปล่อยรอ้ ยละ ๒๕ ประยุกต์จาก แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนก

D จากข้อมลู การปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน EEC พบว่าในปี ๒๕๖๒ เทา่ กบั ๕๐.๗๓ Mt

พืน้ ท่ปี ่าเพ่ิม ๒ ลา้ นไร่ จากคา่ เฉลย่ี พน้ื ท่ีป่าในความสามารถในการดดู ซับก๊าซเรอื นกร

E ประยุกตห์ รอื นามาจากตัวช้ีวัดภายใต้แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท

F ประยกุ ตจ์ ากตัวชีว้ ดั ภายใตเ้ ป้าหมายการพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื (SDG targets, indicato

G ภาคผนวก การเปรยี บเทียบ “แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ารองรับการพฒั

สิง่ แวดล้อมในพน้ื ทีพ่ ฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก ระยะท่ี ๒

H นิเวศบริการด้านการดดู ซับน้าของพนื้ ที่ปา่ ที่มีสัดส่วนการดูดซับนา้ ฝนลงไปในสว่ นลกึ

I ประยกุ ต์จากตัวช้ีวัดภายใตค้ ู่มอื การแนวทางการดาเนนิ งานภายใตภ้ ารกิจทไ่ี ด้ปรบั ปร

J เทียบเคยี งกับพน้ื ทปี่ า่ ชายเลนในพน้ื ที่ ๓ จงั หวดั (ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ระยอง) ในปี พ.

K เทยี บเคียงกับขอ้ มลู การกาจัดขยะของประเทศรายได้สูงถึงรายไดต้ า่ ใน Wilson, et

๔-

คตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

หน่วยงานรับผิดชอบ เปา้ หมาย ตัวช้วี ดั

ภาคเี ครอื ข่าย ขับเคลือ่ นรว่ มกัน

หนว่ ยงานหลกั : มทร.ตะวัน การพฒั นาและบูรณาการ มแี นวทางการพัฒนา งานวจิ ยั

ลกั การ ออก ความรู้สูก่ ารใชป้ ระโยชน์ งานวิจยั ทอ้ งถิ่น เทคโนโลยี

หนว่ ยงานสนับสนนุ : วช./ ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่าง นวัตกรรม และใชป้ ระโยชน์
จากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินที่
ภาคเี ครือข่าย สมดุลและชาญฉลาด เกือ้ หนุนตอ่ คณุ ภาพ

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

ส่ิงแวดลอ้ ม

๖๔

๐-๒๕๖๔ (ทบทวนครั้งที่ ๑)

กระจกของประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๗๓

tCO2eq (อบก.) ซ่ึงหากต้องการพืน้ ที่แหล่งดดู ซบั ก๊าซเรือนกระจกลง รอ้ ยละ ๒๕ เท่ากบั ตอ้ งมี
ระจก ๖.๓๓ ตัน/ไร่ (พงษ์ศกั ดิ์ วิทวสั ชุติกุล, ๒๕๖๔)

ที่ ๑๒

ors)

ฒนาเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก”โดย สานกั งานทรัพยากรนา้ แห่งชาติ (๒๕๖๒) และแผน

กของชนั้ ดินแลว้ แปรสภาพเป็นนา้ ใตด้ ินร้อยละ ๒๕ (SCG, ม.ม.ป.)
รงุ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่
.ศ. ๒๕๕๖ ซ่งึ มพี ืน้ ที่ ๒๘,๕๕๘ ไร่
al. (2013)

๓๕

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๘.๗ แนวทางปฏบิ ัติ

ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การจัดการสง่ิ แวดล้อมเพ่ือคุณภาพชีวติ ที่เป็นสขุ

กลยทุ ธ์ ๑.๑ การจัดการน้าเสีย

แผนงาน ๑.๑.๑ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การระบบบาบดั นา้ เสยี

แผนงาน ๑.๑.๒ การพัฒนาเทคโนโลยเี พื่อลดปริมาณนา้ เสีย และการนากลับมาใช้

เปา้ หมาย ๑. แม่น้าและชายฝ่ัง มคี ุณภาพนา้ ที่ดีข้ึน

ตวั ชีว้ ัด: - คุณภาพน้าผิวดนิ โดยเฉลี่ยอยใู่ นระดบั พอใช้ (ระดบั ๓) A

- มีระบบบาบัดน้าเสียเพิ่มข้ึน

แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

๑.๑.๑ การเพิม่ ประสิทธภิ าพ ๑.๑.๑.๑ สง่ เสริมการจดั ทาและดาเนินงานตามแผนแม่บทการ หน่วยงานหลกั : อบจ./

การจัดการระบบบาบดั นา้ เสยี จัดการคณุ ภาพนา้ เชงิ ล่มุ น้าระดับจงั หวัด โดยใชเ้ ทคโนโลยที ่ี อปท. / อจน.
เหมาะสม เชน่ การพฒั นาปรับปรงุ คุณภาพน้า คลองตาหรุ หน่วยงานสนบั สนนุ :
(อปท โดยรอบ) (การศกึ ษาความเปน็ ไปได้ (FS) ของ DEPA/ สสภ.๑๓
โครงการ) เปน็ ต้น รวมถึงการพัฒนาระบบบาบดั นา้ เสียใหม้ ี คพ./ERTC /สอ.จว. /
ประสทิ ธภิ าพในการจดั การ การตดิ ตามเฝา้ ระวงั คุณภาพน้า อจน.
ด้วยเครอื่ งมอื ตรวจวดั คณุ ภาพนา้ แบบอัจฉรยิ ะในพ้นื ทีค่ ลอง

พานทอง คลองตาหรุ พ้ืนทร่ี อยตอ่ เมืองพัทยา หนองปรอื นา

จอมเทยี ม บางละมุง และงการพัฒนา ปรับปรงุ และขยายการ

ใหบ้ รกิ ารระบบบาบดั นา้ เสยี (ทต.บางเสร,่ ทต.เสมด็ ทต.อ่าง

ศลิ า ทต.บ้านสวน ทต.บางทราย ทม.ชลบรุ )ี

กลยุทธ์ท่ี ๑.๒ การจดั การมลพษิ ทางอากาศ

แผนงาน ๑.๒.๑ การเพิ่มประสิทธภิ าพการจัดการมลพิษทางอากาศ

เป้าหมาย ๑. คุณภาพอากาศอยู่ในระดบั มาตรฐาน

ตวั ชว้ี ดั - จานวนวันที่ PM10 ในอากาศไมเ่ กินมาตรฐาน รอ้ ยละ ๙๙
- มีการดาเนนิ การในการลดสาร VOCs เขตควบคมุ มลพิษอย่างต่อเน่อื ง

แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ

แผนงานที่ ๑.๒.๑ การเพ่ิม ๑.๒.๑.๑ ควบคุม ตดิ ตามและตรวจสอบมลพิษทางอากาศ หนว่ ยงานหลัก: กนอ. /

ประสทิ ธภิ าพการจดั การมลพิษ เชน่ รณรงคส์ รา้ งความรว่ มมอื โรงงานดาเนนิ การตามมาตรการ กรอ. / อปท.
ทางอากาศ
Code of Practice – CoP เพอ่ื การจัดการ VOCs ตาม หน่วยงานสนับสนนุ :

แนวทางของกรมโรงงานอตุ สาหกรรม และยกย่องสถาน อบจ. /สอ.ฉช./อก.จ./

ประกอบการและอุตสาหกรรม ตน้ แบบในการรกั ษาคณุ ภาพ สสภ.๑๓ / คพ. / ทสจ.
อากาศอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

๔ - ๓๖

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

กลยทุ ธท์ ี่ ๑.๓ การจดั การขยะและกากของเสียอุตสาหกรรม

แผนงานท่ี ๑.๓.๑ การเพิ่มประสทิ ธิภาพการจดั การขยะชุมชน

แผนงานท่ี ๑.๓.๒ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการขยะอุตสาหกรรม มูลฝอยติดเช้ือ และกาก

ของเสยี อนั ตราย

เปา้ หมาย: การจดั การขยะมูลฝอย/กากของเสยี อนั ตรายที่ได้รบั การจดั การไมถ่ ูกหลักวชิ าการ

ลดลง

ตัวช้ีวดั : - มีการดาเนินการจัดการขยะมลู ฝอยที่ถูกหลักวชิ าการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

- สดั สว่ นการนาของเสยี กลบั ไปใชใ้ หม่ ร้อยละ ๓๐ ของปริมาณขยะมลู ฝอยชมุ ชนรวม

แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ

๑.๓.๑ การเพิ่มประสิทธิภาพ ๑.๓.๑.๑ ดาเนนิ การกาจดั ขยะแบบครบวงจร เช่น กอ่ สร้าง หนว่ ยงานหลัก: อบจ. /

การจดั การขยะชุมชน ระบบกาจดั ขยะมลู ฝอย cluster ๒ (อ.บางละมุง และ อ.สัต เมอื งพัทยา
หบี ) จงั หวดั ชลบุรี และการบริหารจดั การขยะอันตรายชุมชน หนว่ ยงานสนับสนนุ :

สถ / สสภ. ๑๓ / ทสจ.

/ เอกชนลงทนุ ทง้ั หมด

๑.๓.๑.๒ สง่ เสริมการจดั การขยะตน้ ทางและการสรา้ ง หนว่ ยงานหลกั : อบจ. /
เครอื ข่าย เช่น ๑) สง่ เสรมิ การจดั การขยะต้นทางและการสรา้ ง อปท. /
เครือข่าย ๒) นวัตกรรมสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ จากของเสียภาคเกษตร สถาบนั การศึกษา
ชมุ ชน และภาคการผลติ ของวสิ าหกิจชุมชน (BCG หน่วยงานสนับสนนุ :
Economy) โดยนารอ่ งในพ้ืนทีอ่ า่ วอดุ ม ทสจ. / สสภ.๑๓ /
สกสว. / วช. / วว.
(แหล่งทุน)

๔ - ๓๗

แผนสิ่งแวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

กลยทุ ธ์ที่ ๑.๔ การพัฒนาส่ิงแวดลอ้ มเมอื งและชุมชนน่าอยู่ตามภมู ินเิ วศ

แผนงานท่ี ๑.๔.๑ สรา้ งความสวยงามและความรม่ รน่ื ของเมืองและชุมชน

เป้าหมาย การเพมิ่ พ้ืนที่สีเขยี วและคานึงถึงภูมทิ ศั น์ทส่ี วยงาม

ตัวชว้ี ัด เพ่มิ พนื้ ที่สีเขยี วเมืองให้ไดต้ ามเกณฑม์ าตรฐานเบ้ืองตน้ (๑๐ ตร.ม./คน)

แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ

๑.๔.๑ สร้างความสวยงามและ ๑.๔.๑.๑ ส่งเสริมการเพ่มิ พ้นื ท่สี เี ขียวย่ังยนื เชน่ การพฒั นา หน่วยงานหลกั : มท

ความร่มรืน่ ของเมอื งและชุมชน ปรบั ภูมิทศั น์จากเขาสทู่ ะเล:เขาฉลากเลยี บอ่างเกบ็ นา้ ห้วย ร.ตะวนั ออก

สุครพี สู่ชายฝง่ั ทะเล เพื่อทาเปน็ แผนตน้ แบบพฒั นาพน้ื ท่เี ขา หน่วยงานสนับสนนุ :
พ้ืนทป่ี ่า พ้ืนทชี่ ุ่มนา้ พ้ืนที่ชมุ ชนกับธรรมชาติ และพน้ื ท่ี วช./ วว./อบจ./อปท.
ชายฝ่ัง ทัง้ หมดของจังหวัดชลบรุ ี มีพัฒนาปรบั ภมู ทิ ศั น์จัด

เส้นทาง สร้างจดุ ทอ่ งเทยี่ วเพิ่มจดุ เช็คอินการท่องเทย่ี วและ

กฬี า บริเวณบ่อทาบญุ เขาฉลาก ปรบั ภมู ทิ ศั น์จดั เส้นทาง สรา้ ง

จุดท่องเทย่ี วเพม่ิ จดุ เชค็ อินการท่องเทย่ี วอา่ งเก็บนา้ บางพระ

พัฒนาปรับภูมิทศั น์จดั เส้นทาง สรา้ งจุดท่องเที่ยวเพ่ิมจุด

เช็คอนิ การท่องเทยี่ วห้วยสคุ รพี รวมถึงปรบั ภูมทิ ศั นจ์ ดั เสน้ ทาง

สร้างจุดทอ่ งเที่ยวเพม่ิ จดุ เชค็ อินการท่องเทย่ี วชมุ ชนท้ายบ้าน

ออกสชู่ ายฝ่ังทะเล เป็นตน้

ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยง่ั ยืน

กลยุทธ์ที่ ๒.๑ การใชป้ ระโยชน์ทด่ี ินท่ีเป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม

แผนงานท่ี ๒.๑.๑ พฒั นาเครอ่ื งมือเพื่อเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการใช้ทด่ี นิ ที่เป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม

เป้าหมาย ๑. การส่งเสริมการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ เพ่ือการเกษตรยั่งยนื

ตวั ช้ีวดั - พนื้ ท่เี กษตรย่งั ยืนเพ่ิมข้นึ (ป่ากนิ ได้:-ระบบวนเกษตร)

แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ

๒.๑.๑ พัฒนาเครื่องมือเพ่ือเพิ่ม ส่งเสริมการถา่ ยทอดเทคโนโลยีสาหรบั ผู้ประกอบการ หนว่ ยงานหลกั : อปท. /

ประสิทธิภาพการใช้ท่ีดินที่เป็น อตุ สาหกรรมเกษตรชีวภาพบนฐานการใช้น้าทง้ิ จากโรงบาบดั อจน.

มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม น้าเสียชมุ ชนและสาหรบั บุคลากรผู้ควบคุมระบบบาบดั นา้ เสีย หน่วยงานสนับสนนุ :

ชมุ ชนแบบผสมผสาน เพ่อื ให้เกดิ การหมนุ เวยี นน้ากลับไปใช้ สอ.ขบ.

โดยนารอ่ งในพ้นื ที่ ทม. แสนสุข

๔ - ๓๘

แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

กลยุทธท์ ่ี ๒.๓ การจดั การความหลากหลายทางชีวภาพ

แผนงานท่ี ๒.๓.๑ การเพ่มิ ประสิทธภิ าพการจดั การความหลากหลายทางชีวภาพ

เป้าหมาย: การส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพ ในพ้ืนท่ีป่าไม้ ป่าชายเลน พ้ืนท่ีชุ่มน้า ให้มี

ความสามารถใหบ้ ริการนเิ วศตอ่ สงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

ตัวชวี้ ดั - มีมาตรการปอ้ งกนั ดูแล รักษา และฟนื้ ฟใู นระบบนเิ วศ ป่าบก ป่าชายเลน พน้ื ทช่ี ุม่ นา้

- มแี หลง่ ท่องเที่ยวเชิงนเิ วศและวฒั นธรรมเช่ือมโยงกนั เพ่ิมขน้ึ

- มกี ารสง่ เสริมนวัตกรรมการแปรรูปและเพม่ิ มลู คา่ จากความหลากหลายทางชวี ภาพ

แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ

๒ . ๓ . ๑ ก า ร เ พิ่ ม ๒.๓.๑.๑ ส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ หนว่ ยงานหลัก: อส./

ประสิทธิภาพการจัดการ เชน่ การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ศึกษาพัฒนา อปท./กปม. / มลู นธิ ิอสี

ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง นิเวศป่าต้นน้าในจังหวัดชลบุรที สี่ ่งเสรมิ บทบาทการใหบ้ รกิ ารนิเวศ ฟอรัม่ ๒๑ / อบจ.
ชวี ภาพ ของปา่ ตอ่ ชมุ ชนใกล้เคียง
หน่วยงานสนับสนนุ :

ทสม.

๒.๓.๑.๒ ส่งเสริมการเพ่ิมมลู ค่าความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น หน่วยงานหลกั : มท

๑) ส่งเสริมการสร้างเศรษฐกิจการท่องเท่ียวชุมชนเชิงนิเวศ ร.ตะวันออก
สุขภาพ นวัตวิถี และ วัฒนธรรมพื้นบ้าน วัฒนธรรมประมง หนว่ ยงานสนับสนนุ :
พ้ืนบ้าน และชุมชนบนเกาะ นาร่องในพ้ืนท่ีชายฝั่งบริเวณชุมชน วช./ วว./ ททท.. /
ท้ายบ้าน และชุมชนพ้ืนที่ชายฝั่งท่ัวท้ังจังหวัดชลบุรี ๒) การ อปท. (แหลง่ ทุน)
ทอ่ งเท่ียวชมุ ชนเชงิ นิเวศ เศรษฐกิจชีวภาพ (BCG) และ วฒั นธรรม

พื้นบ้านพัฒนาเพิ่มพ้ืนที่สีเขียวให้เป็นแหล่งท่องเท่ียวใหม่ชุมชน

เข้มแข็ง เป็นป่าไผ่แบบไทย (Thai Bamboo Forest) รวมถึง

ผลิตภัณฑ์ ไผ่ ต้นแบบซุ้มกาแฟไผ่ของไทย เพ่ือการค้าในประเทศ

และการส่งออก พื้นที่ บอ่ ทอง จงั หวัดชลบรุ ี

กลยทุ ธ์ที่ ๒.๔ การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่

แผนงานท่ี ๒.๔.๑ การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการจดั การทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่งั

เป้าหมาย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั ไดร้ บั การอนรุ ักษแ์ ละฟืน้ ฟใู หค้ งความอุดมสมบรู ณ์

ตัวชี้วัด มีกิจกรรมรักษาและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมทะเลและชายฝั่ง และ พัฒนาแหล่งอนุบาลสัตว์น้า

ชายฝ่งั และป่าชายเลน

แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

๒.๔.๑ การเพิม่ ประสิทธิภาพ ๒.๔.๑.๑ วางแผนการใชป้ ระโยชนเ์ ชิงพ้นื ท่ีทางทะเล โดยมี หน่วยงานหลกั : อบจ.

การจดั การทรพั ยากรทางทะเล การบูรณาการการจดั การอย่างเปน็ ระบบของพนื้ ท่บี นบกและ

และชายฝงั่ ทางทะเล เพื่อการฟืน้ ฟทู รพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่

๔ - ๓๙

แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ การสรา้ งศักยภาพชุมชนพึ่งตนเองและรับมอื ต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและ

อุบตั ิภยั

กลยทุ ธ์ที่ ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ

แผนงานท่ี ๓.๒.๑ การเพ่ิมพน้ื ทแี่ หล่งดูดซบั และกกั เกบ็ ก๊าซเรอื นกระจก

แผนงานท่ี ๓.๒.๓ การส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนในการปรับตัวตอ่ การรองรับการ

เปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ

เป้าหมาย: ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทยี บเท่าในบรรยากาศลดลง

ตวั ชวี้ ัด: ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (เทยี บเทา่ ) ในพ้ืนทล่ี ดลง ตามเป้าหมายท่ี

กาหนดในแผนท่นี าทางการลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๓

แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรับผิดชอบ

๓.๒.๑ การเพมิ่ พ้ืนท่ีแหลง่ ดดู ๓.๒.๑.๑ สนบั สนนุ การเพ่ิมความอดุ มสมบรู ณข์ องป่าเพื่อเพม่ิ หน่วยงานหลกั : อส. /

ซับและกกั เกบ็ กา๊ ซเรือนกระจก แหล่งดูดซับกา๊ ซเรือนกระจก ในดา้ นการศึกษาและขยายผล ปม./ทช./ พม./อปท. /
เชน่ ๑) ศึกษาและขยายผลการสรา้ งความชุ่มชนื้ และเพิม่ กนอ. /กรอ. / มทร.ตะ
ปริมาณน้าในพ้นื ทีต่ ้นน้า ฟ้นื ฟปู ลกู เสรมิ ป่าพืน้ ทีก่ ลางนา้ วนั ออก/
(พืน้ ทเ่ี อกชนเพ่ิมไมย้ นื ต้น) และปลายน้า ของอา่ งเกบ็ นา้ หนว่ ยงานสนบั สนนุ :
บางพระ ๒) ศึกษาการเพิ่มพนื้ ทส่ี ีเขยี วเพอ่ื เปน็ แหล่งดดู ซับ เครือขา่ ยเกษตรกรรม
และกักเก็บก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์อย่างมีประสิทธิภาพเขา ยง่ั ยืน / สนง. BOI /
ฉลาก อา่ งเก็บนา้ บางพระ พ้ืนที่บางพระศกึ ษา และพัฒนา สอ.จ/ SCG /วช. /
พื้นทีส่ เี ขียวอื่นท้งั หมดของจงั หวดั ชลบรุ ี แบบมสี ว่ นร่วมของ อบก./สพภ. / วว./อบจ.
ภาคประชาสังคมและสถาบันการศึกษาเพ่อื ใชเ้ ป็นแมแ่ บบใน (แหลง่ ทุน) / ทน./ทช./
การพัฒนาพ้นื ท่ีศึกษาอื่น อส./ชป./

อบก.(แหล่งข้อมูล)

๓.๒.๓ การสง่ เสริมการมสี ว่ น ๓.๒.๓.๑ ส่งเสรมิ การรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ หน่วยงานหลกั : ม.

รว่ มของทกุ ภาคสว่ นในการ เชน่ ติดตามการเปลย่ี นแปลงแหล่งทรัพยากรทางทะเลชลบรุ ี บูรพา /

ปรบั ตัวต่อการรองรับการ จากการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ศวทช

เปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ หน่วยงานสนบั สนนุ :

อบก. / วช.

๔ - ๔๐

แผนสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

กลยุทธ์ที่ ๓.๓ การจัดการภัยพิบัติ อุบตั ิภยั โรคระบาด และสภาวะสุดข้วั จากการเปลี่ยนแปลงสภาพ

ภมู ิอากาศ

แผนงานที่ ๓.๓.๑ การเพมิ่ ประสิทธภิ าพการจดั การอุบตั ิภัยและภัยพบิ ัติ

เปา้ หมาย: การลดและป้องกันการเกดิ อบุ ตั ิภัย รวมท้ังผลกระทบจากอุบตั ภิ ยั

ตัวชี้วดั : จานวนประชากรท่ีเสียชีวติ สญู หาย ไดร้ ับบาดเจ็บ หรือโยกย้ายที่อยู่เน่ืองจากอุบัติภัย หรือ

ไดร้ บั ผลกระทบจากอุบตั ิภยั ลดลง

แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หน่วยงานรับผิดชอบ

๓.๓.๑.๓ การบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องเพ่ือใช้ในการจัดการ หนว่ ยงานหลกั : ปภ.จว.

อุบัติภัย เช่น การบริหารจัดการเชิงพ้ืนที่ เพ่ือลดความขัดแย้ง / คพ. / กนอ. / อก. /

การขนสง่ และการปนเป้อื นสารเคมีจากอบุ ัตภิ ยั เกาะสชี งั และ ทช. / ทสจ.

เพอ่ื ป้องกนั อบุ ัติภัยในพื้นท่วี างตสู้ นิ ค้า หน่วยงานสนับสนนุ :

อบจ./สถาบนั การศกึ ษา

/ ERTC / อปท.

ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการและกลไกการมสี ว่ นร่วมเพื่อขับเคลือ่ นแผนสกู่ าร

ปฏิบัติ

กลยทุ ธ์ท่ี ๔.๒ การขับเคล่อื นแผนสู่การดาเนินงาน

แผนงานที่ ๔.๒.๑ เพ่มิ ประสิทธิภาพการขับเคล่ือนแผน

แผนงานที่ ๔.๒.๒ การสง่ เสรมิ สนับสนุนการนาแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ

เป้าหมาย: ๑) การสนับสนุนใหป้ ระชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมมี

ความตอ่ เน่ือง

๒) ทกุ ภาคส่วนเขา้ ใจ เข้าถงึ เปา้ หมายแผนการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและ

สงิ่ แวดลอ้ มทยี่ งั่ ยนื เพ่ือขับเคลื่อนรว่ มกัน

ตวั ชี้วัด: - มกี ารพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อบรกิ ารชมุ ชน

- มเี วที หรือช่องทางการสื่อสารแลกเปล่ียนข้อมลู และความคิดเห็นรว่ มกนั ทุกภาคส่วน

อย่างต่อเนอื่ ง

แผนงาน แนวทางการปฏบิ ัติ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ

๔.๒.๑ เพิ่มประสทิ ธภิ าพการ ๔.๒.๑.๑ การจดั ทาข้อเสนอเชงิ นโยบายและฐานขอ้ มูล เชน่ หน่วยงานหลกั : NT /

ขับเคลือ่ นแผน ติดตง้ั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศด้วยระบบ 5G เพือ่ บริการ สกพอ. / อปท.

ชุมชนและสังคม จานวน ๒ จุด คอื อ.สตั หีบ และ อ.บางละมงุ

๔.๒.๒ การส่งเสรมิ สนบั สนุน ๔.๒.๒.๑ ส่งเสรมิ การเรียนรสู้ ู่สังคม โดยการสนับสนุนความ หน่วยงานหลัก: มทร.

การนาแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ หลากหลายของกลมุ่ เครือขา่ ยภาคประชาสังคมเพือ่ การรวบรวม ภาคตะวนั ออก
สารสนเทศภูมปิ ัญญา ทีเ่ ป็นอตั ลกั ษณข์ อง พื้นที่ชลบุรี และ หน่วยงานสนับสนนุ :
บางพระศึกษา วช./ภาคเี ครือข่าย

๔ - ๔๑

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

กลยุทธท์ ี่ ๔.๓ การสง่ เสรมิ การวจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม ตามหลักการเศรษฐกจิ ชีวภาพ

เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว และเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยนื

แผนงานที่ ๔.๓.๑ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตาม

หลกั การเศรษฐกจิ ชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวยี น และเศรษฐกิจสเี ขียว

เป้าหมาย: การพัฒนาและบูรณาการความรู้สู่การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุล

และชาญฉลาด

ตัวชี้วัด: มีแนวทางการพฒั นา งานวจิ ยั งานวจิ ัยท้องถนิ่ เทคโนโลยี นวัตกรรม และใช้ประโยชน์

จากภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ทเ่ี ก้อื หนุนตอ่ คุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หน่วยงานรับผดิ ชอบ

๔.๓.๑ สนับสนนุ การวจิ ยั และ ๔.๓.๑.๑ สง่ เสริมการศกึ ษาและวจิ ยั เช่น การพฒั นาศึกษา หนว่ ยงานหลกั : มทร.ตะ

พฒั นาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ และรวบรวมองคค์ วามรภู้ มู ิปญั ญาท้องถิน่ คน ชมุ ชน และ วนั ออก

ส่ิงแวดล้อม ตามหลกั การ พ้นื ทต่ี น้ แบบสร้างองคค์ วามรู้ นวัตกรรมบนฐานชมุ ชนพนื้ ที่ หนว่ ยงานสนับสนนุ :
เศรษฐกจิ ชวี ภาพ เศรษฐกิจ ชลบรุ ี และบางพระศกึ ษา วช./ภาคีเครอื ข่าย
หมุนเวยี น และเศรษฐกจิ สเี ขยี ว

๘.๘ งบประมาณแผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ยุทธศาสตร์ท่ี กลยุทธ์ รวม

๑ ๒ ๓ ๔ (ล้านบาท)

๑ ๑๓๕.๐๐ ๓.๐๐ ๓,๐๑๐.๖๐ ๒๐.๐๐ ๓,๑๖๘.๖๐

๒ ๙.๐๐ ๔๒.๐๐ ๑.๐๐ ๕๒.๐๐

๓ ๒๒.๐๐ ๓.๕๐ ๒๕.๕

๔ ๘๒.๐๐ ๕.๐๐ ๘๗

รวม (ลา้ นบาท) ๑๔๔.๐๐ ๑๐๗.๐๐ ๓,๐๖๑.๑๐ ๒๑.๐๐ ๓,๓๓๓.๑๐

แผนสง่ิ แวดลอ้ ม จังหวัดชลบรุ ี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ มจี านวนโครงการท้ังสิ้น ๒๔ โครงการท่ขี ับเคลือ่ น
เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ของแผนฯ โดยมีงบประมาณ รวมท้ังส้ิน ๓,๓๓๕.๑๐ ล้านบาท โดยมีโครงการเร่งด่วน
จานวน ๑ โครงการ งบประมาณ ๕.๐๐ ลา้ นบาท

๔ - ๔๒

แผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภา

๘.๙ โครงการเร่งด่วน (Flagship Project)

แผนส่ิงแวด

ลาดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕๖๕-๒๕๖๗
(ล้านบาท)

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ การสร้างศักยภาพชุมชนพ่ึงตนเองและรับมือต่อการเปลย่ี นแปลงส

กลยทุ ธ์ที่ ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ

แผนงานท่ี ๓.๒.๑ การเพมิ่ พน้ื ที่แหล่งดดู ซับและกักเกบ็ กา๊ ซเรอื นกระจก

แนวทางที่ ๑ การเพิ่มความอุดมสมบูรณข์ องปา่ เพ่ือเพิม่ แหลง่ ดูดซับก๊าซเรอื นกระจก

ชบ๕๔.* โครงการศึกษาและขยายผลการ ๕.๐๐ 
สรา้ งความช่มุ ชื้นและเพม่ิ
ปริมาณนา้ ในพื้นที่ตน้ น้า ฟื้นฟู
ปลูกเสรมิ ป่าพ้นื ท่กี ลางน้า (พื้นที่
เอกชนเพิม่ ไมย้ ืนต้น) และปลาย
นา้ ของอ่างเกบ็ นา้ บางพระ

รวมทง้ั หมด ๑ โครงการ ๕.๐๐ ลา้ นบาท

หมายเหต:ุ อักษรเข้มในหนว่ ยงานหลัก หมายถงึ ผรู้ ับผดิ ชอบหลัก

* หมายถึง โครงการที่เสนอจากเวทกี ารประชุมโดยหนว่ ยงานภาครัฐ ได้

** หมายถึง โครงการทเ่ี สนอจากเวทกี ารประชมุ โดยภาคีเครือข่าย

*** หมายถึง โครงการท่ีเสนอโดยหนว่ ยงานผูร้ บั ผิดชอบและมงี บประมาณแล้ว

**** หมายถึง โครงการตามแผนของหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้องในการจัดการทรัพยากรธรรม



าคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ดลอ้ ม จังหวดั ชลบุรี ผู้รบั ผดิ ชอบ

ระยะเวลา (ป)ี หน่วยงานหลัก หน่วยงานสนบั สนนุ
๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐

สภาพภูมอิ ากาศและอบุ ัตภิ ยั

   อส. /ปม./ทช./ พม./อปท. / เครอื ขา่ ยเกษตรกรรมย่ังยืน

กนอ. /กรอ. / สนง. BOI/ สอ.จ/ SCG /

วช. /อบก./สพภ.

มชาติและสง่ิ แวดล้อม ซึ่งจะดาเนนิ การในช่วงระยะเวลาปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
๔-๑

แผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภา

๘.๑๐ โครงการภายใตแ้ ผนส่ิงแวดล้อม จังหวัดชลบรุ ี
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ การจดั การสงิ่ แวดล้อมเพ่ือคณุ ภาพชีวติ ท่เี ปน็ สขุ

ลาดบั โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ๒
(ล้านบาท)

กลยุทธท์ ี่ ๑.๑ การจดั การน้าเสีย

แผนงานท่ี ๑.๑.๑ เพ่มิ ประสิทธภิ าพการจัดการระบบบาบดั นา้ เสยี

แนวทางท่ี ๒ การเพ่ิมประสิทธิภาพระบบบาบดั นา้ เสีย ณ แหล่งกาเนดิ

๑.* โครงการเฝา้ ระวงั คณุ ภาพน้า ดว้ ยเคร่อื งมือ ๑๐.๐๐

ตรวจวัดคณุ ภาพน้าแบบอัจฉรยิ ะ ในพื้นทค่ี ลอง

พานทอง คลองตาหรุ พ้ืนที่รอยต่อเมืองพัทยา

หนองปรอื นาจอมเทยี ม บางละมงุ

๒..* โครงการพัฒนาปรบั ปรุงคณุ ภาพน้า คลองตาหรุ ๕.๐๐

(อปท โดยรอบ) (การศึกษาความเป็นไปได้ (FS)

ของโครงการ)

๓.* โครงการพฒั นา ปรับปรงุ และขยายการใหบ้ ริการ ๑๒๐.๐๐ 

ระบบบาบัดนา้ เสยี (ทต.บางเสร่, ทต.เสม็ด ทต.

อา่ งศลิ า ทต.บ้านสวน ทต.บางทราย ทม.ชลบรุ ี)

กลยุทธท์ ี่ ๑.๒ การจดั การมลพิษทางอากาศ

แผนงานที่ ๑.๒.๑ เพิ่มประสทิ ธิภาพการจดั การมลพิษทางอากาศ

แนวทางท่ี ๑ การควบคุม ตดิ ตามและตรวจสอบมลพิษทางอากาศ

๔.* โครงการรณรงคส์ ร้างความร่วมมือโรงงาน ๓.๐๐

ดาเนินการตามมาตรการ Code of Practice – (ประมาณการปีละ

CoP เพอ่ื การจัดการ VOCs ตามแนวทางของกรม ๖ แสนบาท)



าคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ระยะเวลา (ปี) ผู้รับผิดชอบ
หน่วยงานหลกั หนว่ ยงาน
๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๒๕๖๘-๒๕๗๐
สนบั สนุน

 อบจ./อปท. DEPA/ สสภ.๑๓

 อปท. /อจน. คพ./ depa /
สสภ.๑๓

     อบจ. / อปท. ERTC /สอ.จว. /
คพ.. / สสภ.๑๓ /
อจน.

   กนอ. / กรอ. / อบจ. /สอ.ฉช./
อปท. อก.จ./สสภ.๑๓ /
๔-๒ คพ. / ทสจ.


Click to View FlipBook Version