แผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ความสามารถในการรองรับในประเด็นดังกล่าวยังคงมีอยู่สูงก็อาจสามารถสนับสนุนให้เกิดขึ้นได้ หากเม่ือ
พิจารณาแล้วเป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจโดยรวมอย่างมาก ดังนั้นประเด็นน้ีการเชื่อมโยงในแผนจึงควรเป็นไป
โดยจดั ทาฐานขอ้ มลู ทีเ่ ขา้ ถึงได้ อย่างงา่ ยสะดวกและรวดเรว็ แกป้ ญั หาผลกระทบทเ่ี กดิ ขึน้ โดยการมีสว่ นร่วม
จากทิศทางการสนับสนุนของรัฐบาลในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) เพื่อยกระดับการพัฒนา
ประเทศไปสู่ยุค “ไทยแลนด์ 4.0” มีโครงการขนาดใหญ่เกิดข้ึนมากมาย ในการน้ีเมื่อพิจารณาถึงการบริหาร
จดั การภาครัฐแลว้ หากมีผลกระทบตามชนิดและขนาดของโครงการตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม ท่ีต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม (EIA หรือ EHIA) เป็นรายโครงการ
โดยกระบวนการพิจารณาอนญุ าตไดม้ ีข้ันตอนการดาเนินการอยา่ งชัดเจนแลว้ การเช่ือมโยงไปส่กู ารจัดทาแผน
สิ่งแวดล้อมจึงอาจจะมีการพิจารณามาตรการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสะสมจากการท่ีอนุญาตให้มีโครงการ
ลักษณะเดียวกันหลายๆ โครงการท่ีแม้จะแต่ละโครงการมีการลดผละกระทบผ่านเกณฑ์มาตรฐานหลายอย่าง
แต่เมื่อรวมผลกระทบอาจเกดิ ปัญหาในพน้ื ที่ได้ โดยเฉพาะในเขตท่ีมีความสามารถในการรองรบั ต่า
ดังน้ันในการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมระยะท่ี ๒ นี้ จึงเป็นการศึกษาที่ลงรายละเอียดที่มากข้ึน จากการ
จดั ทาแผนด้านสิ่งแวดล้อมท่ีผ่านมาท่ีเน้นประเด็นปญั หาทเ่ี กิดข้ึนในพนื้ ท่ีแลว้ มาทาการจัดกลมุ่ รวบรวม นาไปสู่
การจัดทาแนวทาง โครงการเพ่ือแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน และรัฐบาลมีนโยบายที่ชัดเจนท่ีจะพัฒนาพ้ืนท่ีนี้ให้เป็น
พ้ืนท่ีอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากในช่วงหลายสิบปีท่ีผ่านมาประเทศไทยมีการลงทุนโครงการใหญ่ ๆ มีการลงทุน
ในยุค“อีสเทริ น์ ซีบอร์ด" ทาให้ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการพฒั นาน้ีได้ ขน้ั ตอนการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมระยะท่ี ๒
น้ีจึงได้พิจารณานอกจากประเด็นปัญหาท่ีเกิดขึ้น จากสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมแล้ว ยัง
เช่ือมโยงนาแนวทางการจัดการโดยเน้นตามภูมินิเวศ ความสามารถในการรองรับ การบริหารจัดการท่ีผ่านมา
การมีส่วนร่วม และริเร่ิมการจัดทาฐานข้อมูลด้านส่ิงแวดล้อม การจัดการองค์ความรู้ เพื่อให้เป็นฐานในการ
บริหารจดั การพนื้ ท่ตี อ่ ไป ภาคใต้การพัฒนาตามฐานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มให้เปน็ ไปอย่างยั่งยนื
๒ - ๒๙
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๔. การติดตามประเมินผลการดาเนนิ งานตามแผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ เป็นแผนภาพรวมหรือ
กรอบแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ี EEC ท่ีมุ่งหวังให้แผนสิ่งแวดล้อม
เป็นส่วนหนึ่งที่สาคัญในการพัฒนาพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษท่ีทันสมัยที่สุดในภูมิภาคอาเซียน ประเทศไทยมีขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศเพิ่มข้ึน หลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางเกิดความสมดุล และมุ่งสู่
เปา้ หมายของการพัฒนาท่ยี ั่งยืน
การติดตามการดาเนินงานโครงการตามแผนสิ่งแวดล้อมระยะที่ ๑ ผ่านหนังสือขอความอนุเคราะห์ใน
การตอบข้อคาถาม (ตามระบบติดตามแผนสิ่งแวดลอ้ ม ระยะท่ี ๑) เข้าถึงไดจ้ าก http://eecmis.onep.go.th/
มีผลการติดตามการดาเนินงานโครงการภายใต้แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.
๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ ดงั นี้
ผลการรายงานโครงการท้ังหมด ๘๖ โครงการ โดยจาแนกเป็นโครงการในยุทธศาสตร์ที่ ๑ ร้อยละ
๓๑.๔๐ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ร้อยละ ๑๖.๒๘ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ ร้อยละ ๙.๓๐ และยุทธศาสตร์ท่ี ๔ ร้อยละ ๔๓.๐๒
ทง้ั น้ีสถานะดา้ นงบประมาณของโครงการฯภายใต้แผนสิง่ แวดลอ้ มฯ มีโครงการที่ได้รับงบประมาณแล้วจานวน
๕๐ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๑๔ ของโครงการท้ังหมด (๘๖ โครงการ) โครงการที่ไม่ได้รับงบประมาณ
จานวน ๙ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๗ ของโครงการท้ังหมด โครงการท่ียังไมย่ ่ืนของบประมาณจานวน ๒
โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๒.๓๓ ของโครงการทั้งหมด โครงการท่ีไม่ได้ย่ืนของบประมาณจานวน ๒๓ โครงการ
คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๗๔ ของโครงการท้ังหมด และโครงการที่เอกชนลงทุนจานวน ๒ โครงการ คิดเป็นร้อยละ
๒.๓๓ ของโครงการท้ังหมด สถานะการดาเนินงานของโครงการฯภายใต้แผนสิ่งแวดล้อมฯ มีโครงการที่
ดาเนินการแล้วเสรจ็ จานวน ๓๑ โครงการ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๖.๐๕ ของโครงการทั้งหมด อยู่ระหวา่ งดาเนนิ การ/
ก่อสร้าง จานวน ๑๘ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๙๓ อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมและออกแบบ
รายละเอียด จานวน ๓ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๓.๔๙ ของโครงการทั้งหมด ยังไม่ได้ดาเนินการ ๓ โครงการ
คิดเป็นร้อยละ ๓.๔๙ ของโครงการท้ังหมด โครงการที่ไม่ได้ดาเนินการ จานวน ๒๑ โครงการ คิดเป็นร้อยละ
๒๔.๔๒ ของโครงการทั้งหมด และโครงการท่ีขอยกเลิก จานวน ๑๐ โครงการ คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๖๓ ของ
โครงการทัง้ หมด
๕ .๑ ผลสัมฤทธ์ิของแผน สิ่งแวดล้อมใน เขตพั ฒ น าพิ เศษ ระยะท่ี ๑ ต่อ สถาน การณ์
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
จากผลการติดตามแผนสิ่งแวดล้อม ระยะท่ี ๑ มีโครงการท่ีได้รับอนุมัติงบประมาณ จานวน ๕๐
โครงการ โดยมีผลสัมฤทธ์ิท่ีเกิดจากโครงการต่าง ๆ ทป่ี ระเมินไดจ้ ากผลผลติ และผลลัพธ์ไดด้ งั นี้
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การจดั การคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มทด่ี ี
การจัดการน้าเสีย ท่ีสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้าเสียเมืองพัทยา (ซอยวัดหนองใหญ่)
ได้ไม่น้อยกว่า ๑๕๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร และช่วยให้คุณภาพน้าดีข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ ในปี
พ.ศ. ๒๕๖๖ ที่โครงการจะแล้วเสร็จ อย่างไรก็ตามมีโครงการท่ีถูกยกเลิกในด้านการจัดการน้าเสียชุมชน
๒ - ๓๐
แผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ในขณะทแี่ นวโนม้ ปริมาณนา้ เสยี มีเพม่ิ มากขึ้น ดังนนั้ จงึ เป็นประเดน็ ที่ควรพจิ ารณาในการต้ังโครงการในระยะที่
๒
การจัดการขยะมูลฝอย มีเป้าหมายการฝังกลบของเสียเป็นศูนย์ โดยชุมชนมีการนาขยะมูลฝอยไปใช้
ประโยชน์ ส่งผลให้ไม่มีขยะตกค้างสะสมที่เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง สาหรับการจัดการกากของเสียอันตรายมี
โรงงานอุตสาหกรรมได้รับการถ่ายทอดความรู้ คาแนะนา และการประยุกต์ใช้หลักการ 3Rs จานวน ๕๐
โรงงาน และมีการตรวจสอบ ติดตามคุณภาพส่ิงแวดล้อมและเฝ้าระวังการปล่อยมลพิษ อุบัติภัยจากสารเคมี
และการลักลอบทงิ้ สารเคมี
การจัดการมลพิษทางอากาศในพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมมาบตาพุด เพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน ส่งผลให้มี
ฐานข้อมูลการระบายและการปรับลดการระบายมลพิษทางอากาศ Nox SO2 ตามหลักเกณฑ์ ๘๐/๒๐ และ
ฐานข้อมูลการระบายสารอินทรีย์ระเหยง่าย จากแหล่งกาเนิดประเภทโรงงานในพื้นท่ีมาบตาพุด และพ้ืนท่ีที่มี
การปรับลดอัตราการระบายมลพิษตามหลักเกณฑ์ ๘๐/๒๐ มีรายงานการศึกษาสถานภาพการจัดการมลพิษ
ทางอากาศในพ้ืนที่อุตสาหกรรมมาบตาพุด และบุคคลากรภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบด้าน
อากาศได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถในการใช้แบบจาลองอากาศ เช่น AERMOD (สานักงานคณะ
กรรมการนโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก, ๒๕๖๓)
ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การสง่ เสรมิ คุณภาพส่ิงแวดล้อมเมืองและชมุ ชนนา่ อยู่
การสรา้ งสภาพแวดล้อมเมอื งที่น่าอยู่ ประชาชนไดร้ ับการฝึกอบรมเพม่ิ พื้นที่ปา่ ในเมือง การเพาะชาและ
การได้รับกล้าไม้ในการเพาะปลูก เรียนรู้การกักเก็บคาร์บอนจากแปลงสาธิต ช่วยในการเพิ่มพ้ืนที่ป่าในเมือง
สามารถเข้ามาใช้ประโยชน์ได้จากการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และมีเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระดับ ๔ จานวน ๓
พ้ืนที่
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ การส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมและสรา้ งความรับผิดชอบตอ่ สังคมและสิ่งแวดล้อม
การมีส่วนร่วมในการลดการใช้ถุงพลาสติกและงดใช้กล่องโฟม การใช้นวัตกรรมในผลิตภัณฑ์ท่ีเป็น
ต้นแบบท่ีปลอดภัยและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมสามารถใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เกิดความตระหนักและ
จิตสานกึ ในการรักษาสงิ่ แวดล้อม
ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
การฟ้ืนฟูป่าและพื้นท่ีต้นน้า มีการปลูกป่าจานวน ๕,๐๐๐ ไร่ เพิ่มพ้ืนท่ีแหล่งน้าสาหรับสัตว์ป่าขนาด
ขนาด ๒๑,๐๑๒.๕๐ ลูกบาศก์เมตร จานวน ๕ แห่ง เพิ่มพ้ืนท่ีแหล่งอาหาร ให้เหมาะสมกับปริมาณชนิดและ
จานวนของสตั วป์ ่า
การจัดการทรัพยากรน้า ด้วยการสูบผันน้าคลองสะพาน-อ่างเก็บน้าประแสร์เพ่ิมความจุกักเก็บของ
แหล่งนา้ ของพน้ื ท่ี EEC เพิม่ ข้นึ ๓.๐๒ ลา้ นลกู บาศก์เมตร
จากผลการดาเนินงานของโครงการในแผนสิ่งแวดล้อมระยะท่ี ๑ ถึงแม้ว่าจะสามารถช่วยเพ่ิมศักยภาพ
ในการจัดการน้าเสีย ขยะมูลฝอย และคุณภาพอากาศให้ดีขึ้น อย่างไรก็ตามเม่ือทาการเปรียบเทียบกับอัตรา
การเกิดน้าเสีย ปริมาณขยะมูลฝอย ที่จะเกิดขึ้นในปีพ.ศ. ๒๕๗๐ แล้วยังจาเป็นต้องได้รับการจัดการอย่าง
ต่อเน่ือง เช่นเดียวกับทรัพยากรน้าที่มีปริมาณเพ่ิมขึ้นแต่ก็ยังไม่เพียงพอกับความต้องการใช้น้าท่ีเพ่ิมข้ึน และ
ส่งเสริมการเพิ่มพื้นท่ีสีเขียวได้เพียงส่วนหนึ่งในขณะที่การสร้างแหล่งกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็น
๒ - ๓๑
แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
วาระสาคัญของโลก ดังน้ันประเด็นคุณภาพสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติดังกล่าวก็ยังจาเป็นท่ีจะต้อง
ได้รบั การจัดการอย่างต่อเนื่องในแผนส่ิงแวดลอ้ มระยะท่ี ๒
๕.๒ ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแกไ้ ขของโครงการในแผนสง่ิ แวดล้อมในพนื้ ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙)
ประเด็นปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแกไ้ ขในการดาเนินโครงการมี ๕ ประเด็นหลกั ดังน้ี
๑. งบประมาณ พบปัญหาด้านเอกสารการจัดทาคาของบประมาณ การเปล่ียนแปลง/รายละเอียด
กิจกรรมโครงการ ควรให้ความสาคัญกับการจัดสรรงบประมาณของโครงการฯ ที่ครอบคลุมการศึกษาความ
เหมาะสมของพ้ืนท่ีด้วย และจัดทางบประมาณบูรณาการในภาพรวมของการพัฒนาในรูปแบบของแผนปฏิบัติ
การดา้ นการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของประเทศ (แผนระดับที่ ๓) นาเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือให้เห็น
ความเห็นชอบ นอกจากน้ีกิจกรรม/โครงการยังสามารถของบประมาณผ่านการสนับสนุนความรับผิดชอบต่อ
สังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร (CSR) ของหน่วยงานเอกชน ในส่วนของงบประมาณของ อปท. ควรมีการ
จดั สรรเพ่อื มาสนบั สนนุ การดาเนินการดา้ นส่ิงแวดลอ้ มให้มากขน้ึ
๒. บคุ ลากร พบปัญหาความเช่ียวชาญและจานวนบุคลากรในการดาเนินงาน ควรมีการพัฒนาศักยภาพ
ของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง และจัดทาระบบการข้ึนทะเบียนผู้ตรวจประเมิน โดยกาหนดคุณสมบัติ คุณวุฒิ
การศึกษา รวมทั้งออกระเบียบการจ่ายค่าตอบแทนที่เหมาะสม เพ่ือสร้างแรงจูงใจจากผู้เช่ียวชาญในสาขา
วิชาชีพตา่ ง ๆ
๓. ข้อมูล/ความรู้ พบปัญหาการประมวลผลข้อมูล เนื่องจากการขาดความสมบูรณ์ของข้อมูล ควร
พฒั นาระบบข้อมูลให้เชอ่ื มโยงกบั ฐานขอ้ มูล ปรับปรุงเกณฑ์ ตัวช้ีวดั จัดทาแบบจาลองคณิตศาสตรค์ ุณภาพน้า
และประมวลผลจดุ แขง็ จุดอ่อนของพืน้ ทเ่ี พ่ือนาไปส่กู ารพัฒนาแก้ปัญหาต่อไป
๔. ปัญหาเชิงนโยบาย พบปัญหาการนานโยบายการพัฒนาในระดับภาคไปสู่การวางแผนการใช้
ประโยชน์ท่ีดินและโครงสร้างพ้ืนฐานในระดับพ้ืนที่ และโครงการท่ีกาหนดภายใต้แผนส่ิงแวดล้อมฯ ไม่ได้ถูก
บรรจุอยู่ในแผนการดาเนินงานของหน่วยงาน ควรดาเนินการช้ีแจงรายละเอียด สร้างความเข้าใจโดยมีการจัด
ประชุมชี้แจงรายละเอียดของแผนส่ิงแวดล้อมฯ ให้กับหน่วยงานและภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องรับทราบข้อมูลและ
สามารถดาเนนิ งานในสว่ นทเี่ ก่ยี วข้องให้เป็นไปในทิศทางเดียวกนั
๕. ความร่วมมือ เกิดปัญหาการบูรณาการกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ควรสร้างความตระหนักให้ทุกภาค
ส่วนทีเ่ ก่ียวข้องในพ้ืนท่ี ได้รู้สกึ ถึงความเปน็ เจ้าของโครงการ และจัดประชุมหารอื หนว่ ยงานและคณะกรรมการ
ทเี่ ก่ียวข้องในเพือ่ สร้างความเขา้ ใจ
๖. พื้นที่ดาเนินการ เกิดปัญหาในด้านความเหมาะสมของพ้ืนท่ีเพ่ือดาเนินกิจกรรมโครงการ ควร
พิจารณาพนื้ ทอี่ ่ืน ๆ ท่มี ศี ักยภาพเหมาะสมในดาเนนิ การ
การจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
เป็นแผนระดบั ท่ี ๓ มีแนวคดิ ทิศทางและเปา้ หมายทีส่ อดคล้องกับแผนระดบั ที่ ๑ คือยุทธศาสตรช์ าติ และแผน
ระดับท่ี ๒ และระดับที่ ๓ ท่ีเกี่ยวข้อง มีดังนี้
๒ - ๓๒
แผนสิง่ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๖. ปจั จัยแวดล้อมทมี่ ีผลตอ่ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
๖.๑ ความสอดคล้องของแผนระดบั ต่างๆ
การจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ –
๒๕๗๐ เป็นแผนระดับที่ ๓ มีแนวคิด ทิศทางและเป้าหมายที่สอดคล้องกับแผนระดับท่ี ๑ คือยุทธศาสตร์ชาติ
และแผนระดบั ท่ี ๒ และระดบั ที่ ๓ ทีเ่ กีย่ วข้อง มีดงั นี้
๑. แผนระดบั ท่ี ๑ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
ขบั เคล่ือนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติที่ ๕ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ประกอบด้วย ๖ ประเด็น คือ (๑) สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว (๒) สร้างการเติบโต
อย่างย่งั ยนื บนสังคมเศรษฐกิจทางทะเล (๓) สร้างการเติบโตอย่างย่ังยืนบนสงั คมทเ่ี ป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
(๔) พัฒนาเมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเน่ือง
(๕) พัฒนาความมั่นคงทางน้า พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ (๖) ยกระดับกระบวนทัศน์
เพ่ือกาหนดอนาคตประเทศ
๒. แผนระดับท่ี ๒
แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
ไดน้ าแผนระดับที่ ๒ ท่ีเกีย่ วขอ้ งมาพิจารณาประกอบการจดั ทาแผน ดงั น้ี
(๑) แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ มี ๒๓ ประเดน็ ท่เี ก่ยี วข้องคือ ประเดน็ ๑๘ ด้านการ
เติบโตอย่างยั่งยืน ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ คุ้มครอง ฟื้นฟู และสร้างฐานทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งยั่งยืน เพอื่ ส่งเสรมิ ความหลากหลายทางชีวภาพให้มีระบบนิเวศที่สมดุล เพอ่ื สนับสนุนการเพ่ิม
พื้นท่ีสีเขียวทั้งในเขตเมืองและชุมชน และเพื่อส่งเสริมการลงทุนและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการผลิตและการ
บริโภคไปสู่ความย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง การเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ การบริหารจัดการมลพิษทั้งระบบ และการพัฒนาและดาเนินการโครงการที่ยกระดับกระบวนทัศน์
เพ่ือกาหนดอนาคตประเทศให้พัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมอย่างมีคุณภาพ
ตามแนวทางการเติบโตอย่างย่งั ยืนท่ีเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม โดยมีเป้าหมายระดบั ประเดน็ คือ สภาพแวดล้อม
ของประเทศมคี ุณภาพดีขนึ้ อย่างยัง่ ยืน
(๒) แผนการปฏิรูปประเทศ มี ๑๓ ด้าน และเก่ียวข้องโดยตรงในด้านท่ี ๖ ด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ซึ่งมีแผนขับเคล่ือนกิจกรรมปฏิรูปท่ีส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อ
ประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ (Big Rock ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม) ได้แก่ ๑) กิจกรรม BR601
เพ่ิมและพัฒนาพ้ืนที่ป่าไม้ให้ไดต้ ามเป้าหมาย ๒) กิจกรรม BR602 การบริหารจัดการเขตทางทะเลและชายฝั่ง
รายจังหวัด ๓) กจิ กรรม BR602 การบรหิ ารจัดการนา้ เพ่ือสร้างเศรษฐกจิ ชมุ ชนในพ้ืนท่ีนอกเขตชลประทาน ๔)
กิจกรรม BR602 ปฏิรูประบบบริหารจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อมในเขตควบคุมมลพิษให้ได้ตามมาตรฐาน
เป้าหมายยอ่ ยคือ ยกเลิกเขตควบคุมมลพิษมาบตาพุด และบางส่วนในแผนขับเคล่ือนกิจกรรมปฏิรปู ท่ีส่งผลให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ (Big Rock ด้านสาธารณสุข) กิจกรรม BR0702 เรื่องการ
ปฏิรูปเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเสริมสร้างสุข ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การป้องกันและ
๒ - ๓๓
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ดูแลรักษาโรคไม่ติดต่อสาหรับประชาชนและผู้ป่วย โดยเป้าหมายย่อยที่ ๕ คือข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ระดับมหภาคและแนวทางเฉพาะด้าน ในการป้องกันและลดอันตรายจากอาหารและสารเคมีทีก่ ่อให้เกดิ โรคไม่
ตดิ ตอ่
(๓) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ มี ๑๐
ยุทธศาสตร์หลัก ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือ
ยุทธศาสตร์ ท่ี ๔ ประกอบด้วย (๑) การรักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สร้างสมดุลของการอนุรักษ์และใช้
ประโยชน์อย่างย่ังยืนและเป็นธรรม (๒) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้า เพ่ือให้เกิดความ
มั่นคง สมดุล และย่ังยืน (๓) แก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อม (๔) ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคท่ีเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม (๕) สนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (๖) บริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงด้านภัยพิบัติ (๗) พัฒนาระบบการบริหาร
จดั การและกลไกแก้ไขปญั หาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (๘) การพฒั นาความรว่ มมือ
ดา้ นส่ิงแวดล้อมระหว่างประเทศ
(๔) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมน่ั คงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) สว่ นท่ี
เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม คือ นโยบายท่ี ๑๑ รักษาความมั่นคงของ
ฐานทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๓. แผนระดบั ท่ี ๓
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ไดน้ า
แผนระดับที่ ๓ ท่ีเก่ียวข้องมาพจิ ารณาประกอบการจดั ทาแผน ทส่ี าคญั คือ
(๑) แผนภาพรวมเพ่ือการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕ ซ่ึง
มีวัตถุประสงค์ เพ่ือส่งเสริมการพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทันสมัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพ่ิมขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพอื่ ใหม้ โี ครงสร้างพน้ื ฐานและระบบสาธารณูปโภคทีม่ ีประสทิ ธิภาพมี
ความต่อเนื่อง ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวกและเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบโดยสมบูรณ์ เพื่อพัฒนา
เมืองให้น่าอยมู่ ีความทันสมยั ระดับนานาชาติท่ีเหมาะสมต่อการอยู่อาศยั อย่างสะดวกปลอดภยั เขา้ ถึงได้โดยท่ัว
หน้า สามารถประกอบกิจการอยา่ งมีคุณภาพและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก และเพ่ือเสริมสร้างบทบาทของประเทศไทยในฐานะประตูของภูมิภาคเอเชียในบริบทโลก
โดยกาหนดเป้าหมายการพัฒนาในแต่ละจังหวัด ดังน้ี จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นเมืองน่าอยู่และศูนย์กลาง
โลจิสติกส์ (logistics hub) เช่ือมโยงภาคตะวันออกกับประเทศเพ่ือนบ้าน เช่น กัมพูชา ลาว และจีนภายใน
๑๐ ปี จังหวัดชลบรุ ี เป็นเมอื งทอ่ งเที่ยวเชิงคณุ ภาพและการศกึ ษาเปน็ ศูนย์กลางทางการเงนิ และการวจิ ยั และ
พัฒนาภายใน ๑๐ปี จังหวัดระยอง เป็นเมืองนวัตกรรมการวิจัยและพัฒนา และการท่องเท่ียวเกษตรภายใน
๑๐ ปี
(๒) แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔) มีเป้าหมายการพัฒนา
เพ่ือให้จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดปราจีนบุรี ให้เป็นฐานเศรษฐกิจชั้นนาของ
อาเซียน โดยรักษาฐานเศรษฐกิจเดิมที่มีอยู่ให้เติบโตอย่างยั่งยืน และสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เพ่ือเพิ่ม
ขีดความสามารถในการแข่งขันและสนับสนุนให้ประเทศเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ โดยเน้นการพัฒนาท่ีมี
๒ - ๓๔
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ศักยภาพสูง ไดแ้ ก่ พื้นที่การผลิตและบริการ เมืองศูนย์กลางความเจริญในภมู ภิ าค เชน่ พ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษที่
ดีและทันสมัยที่สุดในภูมิภาคตะวันออก เป็นแหล่งผลิตอาหารและผลไม้เพ่ือการส่งออก เป็นแหล่งท่องเที่ยว
มาตรฐานระดับนานาชาติ มีทรัพยากรธรรมชาติได้รับการฟ้ืนฟูและบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ และ
ประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ไี ด้รบั บริการสาธารณสขุ ทไี่ ดม้ าตรฐานและสง่ เสรมิ ให้มีการเรียนร้ตู ลอดช่วงชวี ติ
(๓) แผนแม่บทรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๙๓ ซึ่งประเทศ
ไทยตั้งเป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจกในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ร้อยละ ๒๐ - ๒๕ จากกรณีดาเนินการตามปกติ
เร่ิมดาเนินการ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ กาหนดให้บรรลุเป้าหมาย ลดก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่า ๑๑๑ ล้านตัน
คารบ์ อนไดออกไซด์เทียบเทา่ (MtCO2eq)
การวิเคราะห์สถานการณ์ท่ีมีผลต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้วิธี SWOT
Analysis ซง่ึ เปน็ การประเมนิ สถานการณ์ปัจจัยภายในและภายนอกในพืน้ ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก ซึ่ง
แยกออกเป็นการวิเคราะห์พื้นท่ีในภาพรวมของ ๓ จังหวัด ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และการ
วิเคราะห์รายจังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง โดยก ารประเมิน
สถานการณ์ภายในพ้ืนที่เป็นวิเคราะห์ในเชิงจุดแข็งและจุดอ่อน โดยแยกประเด็นพิจารณาตามหลักการ
พิจารณาทุนชุมชน ซ่ึงประกอบด้วยประเด็นพิจารณาใน ๕ ด้าน คือ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านกายภาพ
ด้านมนุษย์ ด้านสังคม และด้านการเงิน ในขณะที่การประเมินสถานการณ์ภายนอกพ้ืนที่เป็นการวิเคราะห์ใน
เชิงโอกาสและข้อจากัดของพื้นที่ซึ่งจะเป็นผลกระทบในระดับโลกท่ีเกิดจากกระแสการเปล่ียนแปลงทาง
เศรษฐกจิ สังคม และสิ่งแวดล้อมและมีผลมาสูท่ ้องถิ่น ผลการวิเคราะห์สรุปไดด้ ังน้ี
๗. การวเิ คราะห์ SWOT ของพ้นื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
การประเมินสภาพแวดลอ้ มภายใน
๑) จดุ แขง็
๑.๑) ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
(๑) มีทาเลที่ตั้งอยู่ในแนวเขตเส้นศูนย์สูตรซึ่งบริเวณท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ของความ
หลากหลายทางชีวภาพ ทาให้มีระบบนิเวศธรรมชาตทิ ่ีหลากหลาย จากท่ีสูง ป่าต้นน้า ลงไปส่ทู ี่ราบชายฝั่ง ที่มี
พ้ืนท่ีชุ่มน้าสาคัญ ประกอบด้วยแม่น้าสายสาคัญเช่น บางปะกง ระยอง ประแสร์ มีชายหาดท่ียาว รวมถึงป่า
ชายเลน ทะเลและเกาะ ซง่ึ เปน็ แหล่งท่องเทีย่ วที่สาคัญของประเทศ
(๒) เป็นแหล่งผลิตพืชอาหารโดยเฉพาะเมล็ดพันธุ์ข้าวและผลไม้เศรษฐกิจที่สาคัญของ
ประเทศสาคัญ เชน่ ทเุ รยี น มังคุด ลองกอง
(๓) เป็นแหลง่ ประมงชายฝ่งั และประมงน้าลึกท่สี าคญั ของประเทศ
๑.๒) ดา้ นกายภาพ
(๑) มีทาเลท่ีตง้ั ทีเ่ ปน็ ศูนยก์ ลางการเชือ่ มโยงไปสูป่ ระเทศในภูมิภาคอาเซยี น และเอเชียใต้
(๒) มจี ดุ ท่าเรอื นา้ ลึกชัน้ นาของภูมิภาคเอเชยี
(๓) มีความพร้อมทางโครงสร้างพ้ืนฐานสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่เอ้ือต่อการพัฒนา
รวมทั้งมีการบริการด้านการแพทย์ที่ดีเลิศในภูมิภาคทาให้เป็นโอกาสของพื้นท่ีในการขยายการให้บริการดูแล
ผสู้ ูงอายุ
๒ - ๓๕
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
(๔) มีการลงทุนโครงการพัฒนาตามนโยบายการพัฒนาของประเทศการเช่ือมต่อสนามบิน
และท่าเรือ ทาให้ดึงดูดการลงทุน การจ้างงาน การท่องเที่ยว เข้ามาในพ้ืนที่ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทาง
เศรษฐกิจให้กับพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และทาให้พ้ืนท่ีมีศักยภาพและความพร้อมสูงท่ีจะเป็น
“ประตเู ศรษฐกิจ” เพอื่ เปิดตลาดการค้าไปสู่ภูมภิ าคอื่น ๆ ของโลก
๑.๓) ดา้ นมนุษย์
(๑) มีปราชญ์ชุมชน และต้นแบบการดาเนินวิถีชีวิตแบบย่ังยืนท่ีเป็นท่ีรู้จักมานาน เช่น ศูนย์
เรียนรูว้ นเกษตร ผใู้ หญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม และศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เป็น
ตน้
(๒) มีองค์กรที่จัดต้ังขึ้นตามกฎหมายท่ีมีบทบาทในการดาเนินการด้านการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ีอย่างชัดเจน เช่น สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวนั ออก (สกพอ.) สานกั งานสิง่ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (สสภ. ๑๓) สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังอ่าวไทยฝั่งตะวันออก ศูนย์ควบคุมมลพิ ษ
จงั หวัดระยอง เปน็ ตน้
๑.๔) ดา้ นสังคม
(๑) มีการดาเนินการในรูปแบบสงั คม เช่น ภาคประชาสังคมที่เข้มแข็งในการอนุรักษ์ดูแลและ
รักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ผ่านการสร้างเครือข่าย เช่น สภาลุ่มน้า เครือข่ายเกษตรอินทรีย์
กล่มุ ประมงพนื้ บา้ น กลุ่มตดิ ตามเฝ้าระวังคุณภาพน้าผวิ ดิน กลมุ่ เพอื่ นตะวันออก เป็นต้น
(๒) มวี ฒั นธรรมประเพณที หี่ ลากหลายในทอ้ งถน่ิ
(๓ ) มีการส่งเสริมสนับ สนุ นกลุ่มสตรีในการดูแลและเฝ้าระวังด้าน การจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
(๔) มีกลุ่มเยาวชนในสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษา หรือ
บุคลากรในหน่วยงานได้รบั การ up-re-new skill
๑.๕) ด้านการเงนิ
(๑) มีการลงทุนภาคอุตสาหกรรม ซ่ึงเป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมส่งออกสร้างรายได้
ใหก้ ับท้องถ่ินและเพมิ่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
(๒) มแี หล่งเงนิ ทุนสนับสนนุ เชน่ กองทุนรอบโรงไฟฟา้ กองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม EEC เป็นต้น
๒) จุดอ่อน
๒.๑) ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
๑) มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นฐานการผลิตทาให้ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติเส่ือม
โทรมและเกดิ ปัญหามลพิษทางสิง่ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่
- คุณภาพน้าผิวดินในพ้ืนท่ีส่วนใหญ่อยู่ในระดับเสื่อมโทรมและมีความเชื่อมโยงกับ
คณุ ภาพนา้ ทะเลชายฝง่ั ในบางบริเวณที่เริ่มเสือ่ มโทรม
- คุณภาพนา้ ใต้ดนิ มีการปนเป้ือนควรได้รับการตดิ ตามเฝ้าระวงั
๒ - ๓๖
แผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
- ขยะมูลฝอย ขยะทะเล มูลฝอยติดเช้ือ มีปริมาณสูงข้ึน ระบบการจัดการขยะยังไม่
ครอบคลมุ พน้ื ท่ี
- มีการลกั ลอบทิง้ กากอุตสาหกรรม
- ปริมาณน้าเสียมีเพิ่มมากขึ้น แต่การจัดการน้าเสีย รวมถึงมีระบบกาจัดน้าเสียยังไม่
ครอบคลุมพื้นทแี่ ละขาดประสทิ ธิภาพท่ีดี
- คุณภาพอากาศในบางบรเิ วณเส่ือมโทรมและมีคา่ VOCs เกนิ กวา่ คา่ มาตรฐาน
- ทรัพยากรน้าไม่เพยี งพอกับความต้องการทีเ่ พิ่มข้ึนอาจนาไปสู่ปัญหาการจัดสรรน้าให้ทุก
ภาคสว่ น
- การเปลยี่ นแปลงการใช้พน้ื ท่ีบรเิ วณชายฝ่งั สง่ ผลตอ่ ปัญหาการกัดเซาะชายฝัง่
- ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นท่ีลดลง โดยภาพรวมของพืน้ ท่ีอยู่ในระดบั เปราะบาง
ซึ่งห ากปล่อยให้ ดาเนิน ต่อไปโดยไม่มีมาตรการรองรับก็จะน า ไปสู่การสู ญ เสี ยความ
หลากหลายทางชีวภาพ ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ังทีไ่ มส่ ามารถฟ้ืนฟูกลับมาใหม่ได้
- อบุ ัติภยั เรอื่ งรอ้ งเรียนทางสิ่งแวดล้อมในพืน้ ทยี่ ังมอี ยู่อยา่ งต่อเนอ่ื ง
๒) ทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับเกินขีดความสามารถในการรองรับ
ในบางประเด็น ได้แก่ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปริมาณน้าเสีย ปริมาณขยะมูลฝอย ทรัพยากรน้า การใช้
ประโยชนท์ ด่ี นิ และความหลากหลายทางชวี ภาพ
๓) การเปล่ียนแปลงการใช้ท่ีดิน ท่ีส่งผลให้พ้ืนที่เกษตรกรรมลดลงอย่างต่อเนื่อง รวมถึง
ประสทิ ธภิ าพในการบริหารจดั การพ้นื ท่เี กษตรกรรมทล่ี ดลงด้วย
๔) ความไม่เพียงพอของน้าจืดกับความต้องการเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินการผลิตทางการ
เกษตรและการพัฒนาอตุ สาหกรรม
๕) การเปลี่ยนแปลงด้านสภาพอากาศ (มลภาวะ อุณหภูมิ และน้าฝน) มีผลต่อผลผลิตทาง
การเกษตร
๖) การเปล่ียนแปลงการใช้ที่ดินชายฝั่ง ส่งผลต่อการสูญหายของพื้นที่ประมงชายฝ่ัง รวมถึง
กิจกรรมชายฝง่ั มีผลกระทบต่อคณุ ภาพและความหลากหลายของส่ิงมชี ีวิตในทะเล
๒.๒) ด้านกายภาพ
(๑) นโยบายการพัฒนาในพื้นที่ให้ความสาคัญด้านเศรษฐกิจนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อม ส่งผลต่อการขยายตัวของพื้นท่ีพัฒนาเมอื งและอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน ในขณะที่พ้ืนที่ธรรมชาติ
และพ้ืนที่เกษตรกรรมลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่ขาดการสนับสนุนแนวทางและมาตรการรองรับที่เหมาะสมและ
ชัดเจน
(๒) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สูง แต่ปัญหาส่ิงแวดล้อม การสูญเสียพ้ืนที่ป่าไม้และ
เกษตรกรรม มอี ยู่อยา่ งตอ่ เนื่อง
(๓) โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ในพ้ืนที่ แม้ว่าการดาเนินโครงการขนาดใหญ่จะมีการจัดทา
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม พร้อมท้ัง นาเสนอมาตรการป้องกันและลดผลกระทบที่จะเกิดข้ึน
๒ - ๓๗
แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
จากโครงการ แต่การรักษาคุณภาพทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมให้คงสภาพเดิมตามมาตรการที่กาหนด
เปน็ สงิ่ ทีไ่ มส่ ามารถชดเชยไดอ้ ย่างสมบูรณ์
(๔) ขาดระบบฐานขอ้ มูลดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมท่มี ีประสิทธภิ าพและ
เป็นมาตรฐานเดียวกันรวมถึงไม่มีความครอบคลุมและไม่มีการบูรณาการร่วมกันกับฐานข้อมูลอื่นทาให้ไม่
สามารถนาไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์เพื่อเป็นเครือ่ งมือในการแก้ปัญหาส่งิ แวดล้อมได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
(๕) ขาดแนวทางและการสนับสนุนการนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมมาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
จากปัญหามลพษิ ทีเ่ กดิ ขึ้นอย่างทวั่ ถงึ
๒.๓) ดา้ นมนษุ ย์
(๑) การสนบั สนนุ ส่งเสรมิ การดาเนนิ ชวี ติ ชมุ ชนแบบยง่ั ยนื ยังขาดความชดั เจน
(๒) ภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องส่วนใหญ่ขาดจริยธรรมและสานึกรู้ทางสิ่งแวดล้อม ท้ัง
ภาคอุตสาหกรรม ชุมชน เกษตรกรรม เจ้าหนา้ ที่ทอ้ งถิ่น ในการดูแล รักษา ป้องกัน ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม เช่น การลักลอบท้ิงกากของเสียอันตราย การลักลอบทิ้งน้าเสียสู่แหล่งน้าสาธารณะ การ
เพิ่มขึ้นของขยะทะเล
(๓) โครงสร้างประชากรที่เป็นสังคมสูงวัย วัยแรงงานลดลงหากไม่มีการปรับใช้เทคโนโลยี
อย่างเหมาะสม ส่งเสริมการพัฒนาและสร้างทักษะ (Re/Up-Skill) อย่างเพียงพอ จะทาให้เกิดภาวะขาด
แรงงานท่ีมีทักษะ ในขณะท่ีแรงงานท่ีไม่ต้องการทักษะอาจต้องพึ่งพาแรงงานต่างชาติเพิ่มมากขึ้นนาไปสู่การ
ขยายตัวของการเคล่ือนย้ายแรงงานและทาให้รูปแบบสังคมไทยเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน
อัตราส่วนพ่งึ พิงของผูส้ งู อายตุ ่อวยั แรงงาน และภาระค่าใชจ้ ่ายด้านสุขภาพของผสู้ ูงอายเุ พิ่มสูงขึน้
(๔) มีกลุ่มเปราะบาง หรือแรงงานที่อยู่นอกระบบขาดโอกาสได้รับการศึกษา up-re-new
skill
๒.๔) ดา้ นสงั คม
(๑) แผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ได้รับความสาคัญจากองค์กร
หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งในการนาไปสกู่ ารปฏิบัตอิ ยา่ งจรงิ จงั
(๒) แผนการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ยังไม่สามารถส่งเสริมการมีส่วนร่วม
จากทุกภาคส่วนไดอ้ ยา่ งแท้จริง
๒.๕) ดา้ นการเงนิ
(๑) ไม่มีงบประมาณ และแนวทางการสนับสนุนส่งเสริมกลุ่มกิจกรรมการดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในขณ ะที่กองทุนท่ีเก่ียวข้องที่มีอยู่ไม่เอื้อต่อการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมอย่างแท้จริง
๒ - ๓๘
แผนสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
การประเมนิ สภาพแวดล้อมภายนอก
๓) โอกาส
๑) กระแสการพัฒนาระดับโลกท่ีเรียกร้องให้มีการดาเนินการตามเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน
(Sustainable Development Goals: SDGs) และประเทศท่ีดาเนินการตามพันธะสัญญาของโลก เพื่อเป็น
แนวทางในการขบั เคลอ่ื นวาระการพัฒนาทยี่ ่งั ยืนสู่การปฏิบัติ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๗๓ การสร้างความ
ม่นั คงทางอาหาร เป็นเป้าหมายหนึ่งของการพัฒนาที่ย่ังยนื ซ่ึงยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ กาหนด
เร่ืองการส่งเสริมภาคเกษตรกรรม เป็นประเด็นสาคัญ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน โดยมปี ระเด็น
สาคญั ดังน้ี
- การรกั ษาพืน้ ท่ีเกษตรกรรมทม่ี อี ยไู่ มใ่ ห้ลดนอ้ ยลงไปมากกวา่ เดิม
- การส่งเสริมการเกษตรย่ังยนื เพมิ่ ประสิทธิภาพในการพึง่ ตนเอง
- การส่งเสริมความสามารถในการเข้าถึงองค์ความรู้ ข้อมูล และกรณีศึกษาความสาเร็จจากภาค
วชิ าการทั้งในมหาวิทยาลยั และเครอื ข่ายปราชญช์ าวบ้าน
๒) แนวโน้มการเปล่ียนแปลงด้านสุขภาพระดับโลกจะส่งผลต่อการกาหนดทิศทางการพัฒนาของ
หลายประเทศในโลก ซงึ่ โอกาสในการส่งเสริมสุขภาพท่ีดมี ีประเดน็ สาคัญ ดงั น้ี
- การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีสวยงาม รักษาความหลากหลายทางชีวภาพที่ส่งเสริมกิจกรรมและ
คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มที่ดตี อ่ สุขภาพของประชากรในเมือง
- การส่งเสริมเกษตรยั่งยืนในภาคเกษตรกรรมช่วยสร้างแหล่งอาหารปลอดภัย พร้อมท้ังส่งเสริม
ความมั่นคงทางอาหารในพนื้ ท่ี และ
- โอกาสในการพฒั นาดา้ นการท่องเทยี่ วเชงิ สขุ ภาพและบริการทางการแพทยใ์ นพ้นื ท่ี
๓) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกลายเป็นประเด็นสาคัญท่ีทุกประเทศต้อง
ร่วมมือกนั ลดและบรรเทาปัญหาและผลกระทบท่จี ะเกดิ ขน้ึ รว่ มกนั
๔) ประเทศมีโอกาสในการพัฒนาท่ีจะลดผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ประกอบดว้ ยประเด็น ตอ่ ไปน้ี
- การเปล่ียนรูปการใช้พลังงานจากฟอสซิลไปสู่การใช้พลังงานทดแทนด้านต่าง ๆ
เป็นทิศทางการพฒั นาด้านสาขาพลังงานในอนาคต
- การเพ่มิ พื้นทีส่ ีเขียวและความหลากหลายทางชีวภาพในพ้ืนท่เี กษตรกรรมให้มคี วามหลากหลาย
ทางชีวภาพที่ใกล้เคียงกับลักษณะของป่าธรรมชาติเป็นอีกโอกาสในการเพ่ิมพ้ืนท่ีป่าและเพ่ิม
ความสามารถในการบริการนิเวศด้านน้าท่าและน้าใต้ดิน ที่ส่งเสริมการพัฒนาได้อย่างมีสมดุล
ตามธรรมชาติการปรับเปล่ียนกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม การใช้ผลิตภัณฑ์ การเพ่ิม
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรม และการใช้พลังงานทดแทนใน
ภาคอุตสาหกรรมสามารถลดกา๊ ซเรือนกระจก
- การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในการคมนาคมขนส่ง การใช้พลังงานไฟฟ้าแทนน้ามัน
เชอ้ื เพลิงในการขนส่ง และการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพสาหรับยานพาหนะช่วยลดปริมาณการปล่อย
ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์
๒ - ๓๙
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๕) กระแสการพัฒนาที่ส่งเสริมเป้าหมายการพัฒนาโดยใช้หลักการ BCG (Bio-Circular-Green
Economy: BCG) เปน็ โอกาสลดแรงกดดันจากมาตรการกีดกันทางการค้า ด้วยการกาหนดแนวทางการพัฒนา
ดว้ ย
- การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ (Bio economy) ด้วยการสนับสนุนพลังงานทางเลือก โดยการ
ปรับเปลีย่ นรูปแบบพลงั งานและการขนสง่ จากเชอื้ เพลงิ ฟอสซิลเป็นพลังงานหมนุ เวยี น และ
- การสง่ เสรมิ การพฒั นาเศรษฐกจิ ชีวภาพในภาคเกษตรกรรม
- การพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular economy) ด้วยการส่งเสริมเทคโนโลยีสะอาดและ
การนากลบั มาใช้ใหม่ในภาคอุตสาหกรรมและการลดของเสีย และการส่งเสรมิ อุตสาหกรรมการ
ผลิตใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากลในด้านต่าง ๆ (Green economy)
๖) ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ ให้ความสาคัญต่อการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่
เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ซ่ึงโอกาสในการฟื้นฟูและรักษาคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้สมดุล
กบั การพัฒนา ซึ่งต้องการมาตรการส่งเสริมการฟ้ืนฟู ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะ
ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษที่เข้มข้นท้ังมาตรการและกิจกรรม และครอบคลุมพ้ืนที่พัฒนาท้ังหมดเป็นพิเศษกว่า
พืน้ ทอี่ ่ืน
๗) กระแสสังคมผู้สูงอายุ เป็นความจาเป็นท่ีต้องเร่งการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้เต็มตามศักยภาพ
ประกอบด้วย กลุ่มผู้สูงวัยที่ยังมีสุขภาพดีเพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือสังคมได้ ในขณะเดียวกัน
สภาวการณ์ดังกล่าวอาจนามาซึ่งโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ท่ีตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุ นอกจากน้ัน
ความท้าทายของประเทศในการดูแลกลุ่มผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยท่ีไม่สามารถเข้าถึงสินค้าตามความจาเป็น
พื้นฐาน โดยเฉพาะประชากรในภาคเกษตรกรรม ซึ่งการน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ
ดาเนินชีวิตเป็นโอกาสที่จะช่วยส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงอายุโดยเฉพาะการทาการเกษตรตามแนวทางเกษตรทฤษฏี
ใหมใ่ นภาคเกษตรกรรมสามารถเพ่ิมประสิทธภิ าพในการพึ่งพาตนเอง
๘) กระแสการค้าโลกท่ีได้รับอิทธิพลจากนโยบายและอนุสัญญาระหว่างประเทศ ผ่านมาตรการลด
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น แนวโน้มเศรษฐกิจการเมืองที่สัมพันธ์เชื่อมโยงกับ
นโยบายระหว่างประเทศโดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาภายใต้การบริหารของโจ ไบเดน ผลักดันนโยบาย
ส่ิงแวดล้อมทีใ่ ห้ความสาคัญกับการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกผา่ นกลไกความตกลงและการกาหนดเงื่อนไข
ทางการค้าท่ีไม่ใช่ภาษี ทาให้ประเทศไทยต้องพัฒนากระบวนการผลิตและสินค้าท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมที่
สอดคล้องตามมาตรฐานสากล ในขณะเดียวกัน ยังมีกระแสความร่วมมือระหว่างองค์กร สถาบัน ในพ้ืนท่ี กับ
องค์กรระหว่างประเทศในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม เช่น องค์กรความรว่ มมือระหว่าง
ประเทศของเยอรมัน (Deutsche Gesellschaft für Internationale Zusammenarbeit : GIZ) ในด้านการ
จดั การขยะ
๙) พระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้ระบุองค์กรในการบริหารจัดการทรัพยากรน้าของ
ประเทศ ครอบคลุม ๓ ระดับ คือระดับชาติ ได้แก่ คณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ (กนช.) ระดับลุ่มน้า
ได้แก่ คณะกรรมการลุ่มน้า และระดับองค์กรผู้ใช้น้า ซึ่งเป็นการรวมตัวกันของกลุ่มบุคคลธรรมดา หรือนิติ
บุคคล ท่ีใช้น้าในบริเวณใกล้เคียงกันและอยู่ในเขตลุ่มน้าเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีการจัดทาผังน้า ตาม พรบ.
๒ - ๔๐
แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ใช้ไปประกอบในการวางและจัดทาผังเมืองรวม ของกรมโยธาธิการและผังเมือง และ
องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
๑๐) ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ท่ีมุ่งไปสู่การใช้เทคโนโลยรี ะดับสูงใน
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิต ท่ีแตกต่างจากอุตสาหกรรมแบบเดิม ทาให้มีโอกาสที่จะใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่
อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุด อีกท้ังยังมีการนาของเสียกลับมาใช้ในกระบวนการผลิต
ซึ่งจะชว่ ยลดของเสียและลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม
๑๑) การมุ่งเน้นอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ตาม
อุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-curve) ก่อให้เกิดการพัฒนาพ้ืนที่อย่างเป็นรูปธรรม เกิดการจ้างงาน และสร้าง
รายได้ให้กับคนในท้องถิ่น รวมถึงเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน และส่งผลต่อภาพรวมการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกจิ ไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื
๑๒) แหล่งเงินทุนจากภายนอกสนับสนุนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้แก่ การ
สนับสนุนของสานักงานคณะกรรมการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกด้าน มูลฝอยติดเชื้อแก่องค์การบริหาร
สว่ นจงั หวดั ระยอง งบไทยเขม้ แขง็ ที่สนบั สนนุ จงั หวัดชลบรุ แี ละพืน้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
๔) ภัยคุกคาม
๑) การพัฒนาท่ีนาไปสู่การใช้ประโยชน์ท่ีดินในพื้นที่อย่างไม่เป็นระบบ ส่งผลให้เกิดปัญหาความไม่
ม่ันคงทางอาหาร และอาจนาไปสู่ปัญหาการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ซึ่งสัมพันธ์กับสถานการณ์การ
ใชป้ ระโยชน์ทีด่ นิ โดยเฉพาะภาคเกษตรกรรมทม่ี แี นวโน้มลดลงอยา่ งตอ่ เนื่อง ประกอบกบั โครงสรา้ งประชากรที่
เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุทาให้วัยแรงงานลดลงและขาดความพร้อมในการปรับตัวในการใช้เทคโนโลยี นอกจากน้ัน
ยงั มีข้อจากัดในการจดั การด้านตลาด ในขณะท่ีสถาบันเกษตรกรในรูปแบบต่าง ๆ ทม่ี ีอย่ยู ังไม่สามารถทาหน้าท่ี
ในการสนับสนุนได้อย่างเข้มแข็งเพียงพอ ประกอบกับความไม่แน่นอนในด้านสภาวะอากาศและภัยพิบัติที่ผัน
ผวนเปน็ ความเส่ียงในเรื่องผลผลิตทางอาหารในพนื้ ท่ี ทาให้ความสามารถในการพึ่งตนเองมีนอ้ ยเป็นภาระของ
รัฐ นอกจากน้ีการพัฒนาที่ไม่สามารถควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินได้อาจส่งผลให้เกิดการกระจายตัวแบบไร้
ทศิ ทาง การลงทุนระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐานที่ไม่ทั่วถงึ และครอบคลุม และความขดั แยง้ ในการใช้ประโยชนท์ ี่ดินที่
อาจก่อใหเ้ กดิ ปญั หาสิง่ แวดลอ้ ม
๒) สถานการณ์ด้านสุขภาพและสุขภาวะ ท่ีสังคมปัจจุบันมีพฤติกรรมการบริโภคของสังคมเมือง
เปลี่ยนตามการขยายตัวของพ้ืนที่เมืองที่รวดเร็ว เป็นสาเหตุหลักของภาวการณ์ป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อ
ในขณะที่การแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19 อาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารหากต้องนาเข้าอาหาร
จากภายนอกพืน้ ที่ และนาไปส่ภู าวะขาดแคลนในทสี่ ดุ
๓) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพและทรัพย์สิน และสร้าง
ความเส่ือมโทรมตอ่ ทรัพยากรธรรมและสิ่งแวดล้อมจากอุบตั ิภยั ทางธรรมชาติทร่ี นุ แรงและมคี วามถ่มี ากขึ้น
๔) จานวนประชากรแฝงและนักท่องเทย่ี ว มีผลต่อทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละคุณภาพของส่ิงแวดลอ้ ม
๕) การรวมกลุ่มเป็นประชาคมอาเซียนทาให้มีการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานจะเอ้ืออานวยให้
การเดินทางติดต่อกันสะดวกมากขึ้นส่งผลให้ประชากรจากประเทศเพื่อนบ้านอพยพเข้ามาต้ังถ่ินฐานใน
๒ - ๔๑
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ประเทศเพือ่ เป็นแรงงานทาให้เกิดประชากรแฝงจานวนมากและการเพมิ่ ขนึ้ ของนักท่องเท่ียวทาให้มปี ริมาณน้า
เสยี ขยะชุมชนและการใชท้ รพั ยากรเพม่ิ ขน้ึ และมผี ลตอ่ การบริการระบบสาธารณูปโภค
๘. การวเิ คราะห์ TOWS และ SOAR เพ่ือกาหนดวตั ถุประสงค์ และเป้าประสงค์ ของแผน
จากสถานการณ์การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม ของพ้ืนท่ีในเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวนั ออก เปน็ ข้อมูลพื้นฐานในการกาหนดวัตถปุ ระสงค์ โดยการพิจารณาวตั ถปุ ระสงคท์ ี่เปน็ กลยุทธ์เชิงรกุ จาก
สถานการณ์ที่เป็นจุดแข็งร่วมกับโอกาส ในขณะเดียวกันจุดแข็งและโอกาสนาไปสู่การกาหนดเป้าประสงค์และ
ผลลัพธ์ที่ต้องการจากการดาเนินงานตามแผน ในขณะที่การพิจารณากลยุทธ์เชิงรับจากสถานการณ์ท่ีเป็น
จุดอ่อนร่วมกับภัยคุกคาม กลยุทธ์เชิงป้องกันจากสถานการณ์ที่เป็นจุดแข็งร่วมกับภัยคุกคาม และกลยุทธ์เชิง
แก้ไขจากสถานการณ์ท่ีเป็นจัดอ่อนร่วมกับโอกาส ซ่ึงผลการกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้าประสงค์ จากการ
การวิเคราะห์ TOWS และ SOAR จะเป็นกรอบการพิจารณากาหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแผนงานการ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ดงั นี้
๘.๑ การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์
จากการวิเคราะหจ์ ุดอ่อน จุดแขง็ โอกาส และภัยคกุ คาม นาไปสูก่ ารกาหนดวัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธไ์ ดด้ ังน้ี
๑) กลยุทธเ์ ชงิ รกุ เป็นการส่งเสริมโอกาสและพฒั นาจดุ แขง็ คอื
- ส่งเสริมความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมให้เป็นอัตลักษณ์และ
สอดคล้องกบั ภูมนิ เิ วศของพนื้ ที่
- ส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้ด้าน BCG พร้อมท้ังสนับสนุนการดาเนินงานสู่การผลิตทั้ง
ภาคอตุ สาหกรรม เกษตรกรรม และบริการและทอ่ งเทีย่ ว
- ส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-curve) จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญา
ท้องถ่ิน เชน่ อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม อุตสาหกรรมการท่องเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ
๒) กลยทุ ธ์เชิงรบั เปน็ การปรบั ปรุงแกไ้ ขจุดออ่ น คอื
- สนับสนุนการฟ้ืนฟูคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับการบูรณาการภูมิ
ปัญญาท้องถ่ิน และกลุ่มเครือข่ายทุกภาคส่วนในพ้ืนท่ีสู่กระบวนการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม
๓) กลยทุ ธเ์ ชิงป้องกนั เปน็ การรับมอื กับอุปสรรค คอื
- ส่งเสริมการปรับปรุง พัฒนา และส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อตกลงที่
สง่ เสริมต่อการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเพ่ิมความหลากหลาย
ทางชีวภาพในพ้ืนท่ีเพือ่ รับมือกบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสร้างฐานความม่ันคง
ทางอาหารทีเ่ ป็นอัตลกั ษณข์ องพืน้ ท่ี และสร้างภูมิคมุ้ กนั ตนเอง
- ส่งเสริมความรู้ความเท่าทนั เพื่อรองรับผลกระทบจากท้งั การเปล่ียนแปลงด้านสภาพแวดล้อม
และเศรษฐกิจการเมือง
๔) กลยุทธ์เชงิ ปรับปรุงแกไ้ ข เป็นการใชโ้ อกาสลดจุดออ่ น คอื
๒ - ๔๒
แผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
- พัฒนากลไกการบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งภายในและนอกพ้ืนที่ ในการใช้
เทคโนโลยีและนวัตกรรม ฐานข้อมูล แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน ในการวางแผนและบรหิ าร
จดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมและเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถในการรองรับ
- ส่งเสริมการพัฒนาและบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่เศรษฐกิจ BCG เพ่ือการรักษาความ
อดุ มสมบรู ณ์ของทรพั ยากรธรรมชาตคิ ุณภาพส่งิ แวดล้อมทดี่ ีของชมุ ชน
๘.๒ การกาหนดเปา้ ประสงค์ และผลลพั ธ์ทีค่ าดหวงั
จากข้อมูลการวิเคราะห์จุดแข็ง และโอกาสของพ้ืนท่ี (SOAR) นาไปสู่การกาหนดส่ิงที่อยากให้
เกิดข้ึนในอนาคตในเชิงสร้างสรรค์ ในพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีจุดแข็งในการมีทุนทาง
ทรัพยากรธรรมชาติ ทุนทางกายภาพ ทุนทางมนุษย์ ทุนทางสังคม และทุนทางการเงิน ท่ีดี ในขณะที่มีโอกาส
ในการพัฒนาความรู้ท้องถ่ินและการพัฒนาท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ซ่ึงสามารถกาหนดเป้าประสงค์และ
ผลลัพธ์ที่คาดหวงั จากการจดั ทาแผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะที่ ๒ ดังน้ี
๑) สง่ิ แวดลอ้ มไดร้ ับการบาบัดและจัดการให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน
โดยมีผลลัพธ์ที่คาดหวัง คือ คุณภาพนา้ และคุณภาพอากาศอยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน ในขณะท่ี
สภาพแวดล้อมมีภูมิทัศน์ที่ความสวยงามปราศจากขยะและของเสีย อันจะส่งเสริมอุตสาหกรรมตามแนว
ทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว รวมถึงภาคการท่องเที่ยวและ
บรกิ ารเชงิ นเิ วศ วฒั นธรรม และสขุ ภาพ
๒) ทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนท่ีได้รับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และมีการใช้ประโยชน์อย่างสมดุล
และเปน็ ธรรม
โดยมีผลลัพธ์ท่ีคาดหวัง คือ ทรัพยากรดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์และเพียงพอต่อการสร้าง
แหล่งอาหารในพื้นที่ ทรัพยากรน้ามีเพียงพอต่อการอุปโภค-บริโภค ทรัพยากรป่าไม้ พื้นท่ีช่มุ น้าและท้องทะเล
ยังคงมีความหลากหลายทางชวี ภาพท่สี ามารถให้บรกิ ารนิเวศตอ่ สังคมได้อย่างเหมาะสม
๓) ประชาชนในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้รับการส่งเสริมนวัตกรรมและ
ความสามารถในการพ่งึ ตนเองในการบรรเทาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและอบุ ตั ภิ ยั
โดยมีผลลัพธท์ ่ีคาดหวัง คอื ชมุ ชนมอี งค์ความรแู้ ละความสามารถในการยกระดบั ต่อยอดภูมิ
ปัญญาท้องถ่ินสู่การพึ่งตนเองได้อย่างย่ังยืน รวมถึงมีนวัตกรรมเพ่ือสร้างฐานความมั่นคงทางอาหารของพื้นท่ี
และการสร้างภูมิคุ้มกันตอ่ การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศและอุบัตภิ ัย และอยู่ร่วมกบั อุตสาหกรรมอย่างปกติ
สขุ
๔) ระบบและกลไกในการบรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมมกี ารขับเคลอื่ น
ดว้ ยกระบวนการมีสว่ นร่วมอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
โดยมีผลลัพธ์ที่คาดหวัง คือ มีเคร่ืองมือกลไก ในการขับเคล่ือนการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ที่สนับสนุนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ด้วยองค์ความรู้ เทคโนโลยี
ฐานข้อมูล กฎหมาย และกฎ/ระเบียบ/ข้อตกลง มีองค์กรบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่มี
ภาคประชาสงั คมเป็นห้นุ ส่วนในการดาเนนิ งาน
๒ - ๔๓
แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๙. แนวคิดและหลกั การ
แผนสิ่งแวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ ได้ใช้แนวคิด
และหลักการในการจัดทาแผนฯ ประกอบด้วย เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลกั การ BCGs และ หลกั การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม มีรายละเอียดดงั นี้
๙.๑ เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (SDGs)
จากการที่ประเทศได้ร่วมรับรอง “วาระการพัฒนาปี ๒๐๓๐ ว่าด้วยการพัฒนาท่ียั่งยืน” เป้าหมายการ
พัฒนาอย่างยั่งยืนได้ถูกนามาใช้กาหนดกรอบเป้าหมายหลักของการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงนามาสู่การ
กาหนดกรอบแนวคิดในการกาหนดเป้าหมายของแผนสง่ิ แวดล้อมระยะที่ ๒ ท่ีมีความสอดคล้องและตอบสนอง
ต่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีแนวทางที่สาคัญสาหรับการดาเนินโครงการเพ่ือการป้องกันฟ้ืนฟู การ
บริหารจัดการ และวางแผนรองรับสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม คือ (๑) การลด
ปริมาณการบริโภค (๒) ปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีหรือรูปแบบการผลิตหรือบริโภค และ (๓) การเพิ่มพื้นที่ต้นไม้
โดยมีวิธีการท่ีเหมาะสมสาหรับดาเนินงานในแต่ละเขตจัดการตามภูมินิเวศ ที่มีผลลัพธ์ท่ีนาไปสู่การลดการ
ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศ ซึ่งตอบสนองเป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
โดยเฉพาะประเด็นที่ ๑๘ การเติบโตอยา่ งยั่งยนื ทมี่ วี ัตถปุ ระสงค์เพื่อการอนรุ ักษ์ คมุ้ ครอง ฟน้ื ฟู และสร้างฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน ส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพให้มีระบบนิเวศท่ีสมดุล
สนับสนุนการเพิ่มพื้นท่ีสีเขียวทั้งในเขตเมืองและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมการลงทุนและเปล่ียนแปลงพฤติกรรม
การผลิตและการบริโภคไปสู่ความยั่งยืน และสอดคลอ้ งกบั ดชั นีชวี้ ัดการพฒั นาท่ียั่งยืน (ภาพท่ี ๘ – ๑) โดย
ภมู ินิเวศป่าไม้ ป่าชายเลน พ้ืนท่ีชุ่มน้า ทะเลและเกาะ เป็นพ้ืนที่ธรรมชาติท่ีเป็นต้นทุนพ้ืนฐานของพ้ืนท่ี
ต้องการ การป้องกันฟื้นฟู และการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม ที่เป็นการรักษาสภาพแวดล้อมและความ
หลากหลายทางชีวภาพ ให้ทาหน้าที่ให้บริการระบบนิเวศต่อสิ่งมีชีวิตได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เป็นแนวทาง
ตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนเป้าหมายที่ ๑๔ อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลอย่าง
ยง่ั ยนื และเป้าหมายที่ ๑๕ การใชป้ ระโยชนท์ ยี่ งั่ ยืนของระบบนิเวศทางบก
เขตจัดการภูมินิเวศเกษตรกรรม การส่งเสริมเกษตรย่ังยืน การปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ส่ง
ผลลัพธท์ ่ีดหี ลากหลายด้าน ทั้งในเร่ืองการเพ่ิมประสิทธภิ าพการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ การกกั เก็บน้าใต้ผิว
ดินและน้าใต้ดิน ซึ่งเป็นการบริหารจัดการน้าภายในพ้ืนท่ีและลดการพ่ึงพาน้าจากนอกพ้ืนท่ีไปพร้อมกัน
นอกจากน้ันก็ส่งผลต่อการเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพตามธรรมชาติ นาไปสู่การตอบสนองเป้าหมายการ
พฒั นาท่ีย่งั ยนื เป้าหมายท่ี ๒ ขจัดความอดอยากและความม่ันคงทางอาหาร เปา้ หมายที่ ๖ การจัดการน้าอย่าง
ยั่งยนื และเป้าหมายท่ี ๑๒ สรา้ งรูปแบบการผลิตและการบรโิ ภคท่ียัง่ ยนื
เขตจัดการภูมินิเวศเมืองและชุมชน ที่เป็นศูนย์รวมของกิจกรรมการบริโภคท่ีเป็นสาเหตุของการปล่อย
กา๊ ซเรือนกระจก จงึ ต้องการกิจกรรมท่ีนาไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก พร้อมกับพื้นท่ีสาหรับการดูด
ซบั ก๊าซดังกล่าว ประกอบด้วย การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมอื ง ทั้งเพื่อการนันทนาการและการบริโภค เชน่ เกษตร
อินทรีย์ในเมือง ในส่วนของขยะ และน้าเสียในเมือง มุ่งเน้นการบริหารจัดการที่ลดการปล่อยท่ีต้นทางให้น้อย
ที่สุด และการนากลับมาใช้ใหม่ให้มากท่ีสุด (3R: reuse reduce recycle) มุ่งสู่ Zero Waste ท่ีเป็นพ้ืนฐาน
ประกอบกบั 3R: rethink redesign regulation ท่ีเป็นกรอบคิดใหม่ ซ่งึ จะนาไปสู่การตอบสนองเป้าหมายการ
๒ - ๔๔
แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพื้นที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
พฒั นาท่ีย่ังยืนเป้าหมายท่ี ๑๑ สรา้ งเมืองและการตั้งถิน่ ฐานทป่ี ลอดภัย พร้อมกับเปา้ หมายที่ ๑๒ สรา้ งรปู แบบ
การผลิตและการบรโิ ภคทีย่ ่ังยนื
เขตจัดการภูมินิเวศอุตสาหกรรม เป็นแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยตรงต้องการแนวคิดใหม่เพื่อการ
บริหารจัดการอย่างชัดเจน ปัจจุบันให้ความสาคัญในแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) เพื่อ
การดาเนินงานในการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตามเป้าหมายท่ี ๙ ส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรม ท่ีสอดคล้อง
กับเป้าหมายท่ี ๑๒ สร้างรปู แบบการผลิตและการบริโภคทยี่ ง่ั ยืน
ในขณะเดียวกัน ภาพรวมของพื้นท่ีต้องการมาตรการท่ีส่งเสริมการบริหารจัดการ การส่งเสริมพลังงาน
ทดแทน ในพื้นท่ีแต่ละเขตจัดการตามภูมินิเวศ และจาเป็นต้องมีการพัฒนาการศึกษาวิจัย สร้างฐานข้อมูลและ
เครือข่ายการมีส่วนร่วมในทุกระดับ ที่นาไปสู่การตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมายที่ ๗
ให้ทกุ คนเข้าถงึ พลงั งานทีย่ ่งั ยนื ได้ตามกาลังของตน และเป้าหมายท่ี ๑๓ เร่งแกป้ ัญหาโลกรอ้ น
๙.๒ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Philosophy: SEP) เป็นแนวทาง
การดาเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติท่ีอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึงความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี ตลอดจนใช้ความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐานการ
ดารงชีวิต การป้องกันให้รอดพ้นจากวิกฤติ และให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืนภายใต้กระแส
โลกาภิวตั น์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เศรษฐกจิ พอเพยี งจึงเป็นแนวทางปฏิบตั ิไดข้ องประชาชนในทุกระดับ
ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับรัฐ โดยความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครวั มุ่งเน้นให้อยู่
ร่วมกันอย่างมีความสุข พ่ึงพาตนเองได้ ความพอเพียงระดับชุมชน มีการรวมกลุ่มกันทาประโยชน์เพื่อส่วนร่วม
รวมท้งั การใช้ภูมิปัญญาท้องถิน่ และทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมาสรา้ งประโยชน์ทอี่ ย่างเหมาะสมเพ่ือ
สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ความพอเพียงในภาคธุรกิจเอกชน โดยเร่ิมจากทาธุรกิจที่มุ่งผลประโยชน์ในระยะยาว
แสวงหาผลตอบแทนบนพื้นฐานของการแบ่งปันและความเป็นธรรม รวมถึงมีความซื่อสตั ย์รับผิดชอบต่อสังคม
และป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และความพอเพียงระดับประเทศ คือการวางรากฐานให้ประชาชนอยู่
อย่างพอมีพอกินและพ่ึงตนเองได้ มีการรวมกลุ่มของชุมชนเพ่ือแลกเปล่ียนความรู้ สืบทอดภูมิปัญญา
สร้างเครือข่ายความเช่ือมโยง (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๐) โดย
ใช้เครื่องมือตาม พรบ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๘ และ พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ส่งเสริมการรวมกลุ่มในภาค
ชมุ ชน เป็นวิสาหกจิ ชุมชนเพื่อสร้างรายได้ และการพึ่งพาตนเองของครอบครวั ชุมชน และระหว่างชุมชน ให้มี
การนาทรัพยากรและภูมิปัญญาในท้องถ่นิ มาพัฒนาและผลิตเป็นสินค้าหรือบริการ ซ่ึงจะเป็นการเชอ่ื มโยงไปสู่
การยกระดบั การประยกุ ต์ใช้แนวคิดเศรษฐกจิ ชวี ภาพในชมุ ชน
นอกจากนี้ SEP ยังช่วยกาหนดเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาท่ีย่ังยืน คือ การพัฒนาท่ีสุดท้ายต้อง
มุ่ง “ความสุข” และ “ประโยชน์สุข” ของสังคม ซึ่งหลักคิดนี้จะช่วยให้การพัฒนาท่ีเกิดข้ึนมิได้เกิดข้ึนแบบ
เพียงแค่ใหม้ ี แต่เกดิ ข้ึนเพ่อื ใหเ้ กดิ ความสุขและประโยชน์สุขของสงั คม
ดังนั้น ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงมีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน แต่มีความ
เป็นรูปธรรมมากกว่าท้ังนี้เน่ืองจากมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับพ้ืนท่ีและ
บุคคลได้ ดังเช่น พ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ท่ีมีความหลากหลายของภูมินิเวศ ได้แก่ ภูมินิเวศทะเล
และเกาะ ภูมินิเวศป่า เขตจัดการภูมินิเวศเกษตร เป็นต้น จึงสามารถน้อมนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
๒ - ๔๕
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
พัฒนาโดยอาศัยองค์ความรู้เพ่ือลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและก่อให้เกิด
ของเสียนอ้ ยที่สดุ
๙.๓ เศรษฐกิจชีวภาพ-หมุนเวียน-สีเขียว (Bio – Circular – Green economy: BCG ) เป็นการ
พัฒนาเศรษฐกจิ แบบองค์รวมท่ีผสมผสานการพัฒนาเศรษฐกจิ ๓ มติ ิไปพร้อมกนั ไดแ้ ก่ เศรษฐกิจชวี ภาพ (Bio
economy) มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรชีวภาพเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยเน้นการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง
เช่ือมโยงกับเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) คานึงถึงการนาวัสดุต่าง ๆ กลับมาใช้ประโยชน์ให้มาก
ที่สุด และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ซึ่งเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการพัฒนา
เศรษฐกิจเท่าน้ัน แต่ต้องพัฒนาควบคู่ไปกับการพัฒนาสังคมและการรักษาสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุลให้เกิด
ความม่ันคงและยง่ั ยืนไปพรอ้ มกัน
การกาหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๙
ประกอบด้วย ๔ ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑: สรา้ งความยั่งยืนของฐานทรัพยากรและความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ดว้ ยการจดั สมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ ยุทธศาสตร์ที่ ๒: การพัฒนาชุมชนและ
เศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็งด้วยทุนทรัพยากร อัตลักษณ์ ความคิดสร้างสรรค์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ใช้
ศักยภาพของพ้ืนที่โดยการระเบิดจากภายใน เน้น ‘ความหลากหลายทางชีวภาพ’ และ ‘ความหลากหลายทาง
วฒั นธรรม’ ยกระดับมูลค่าในห่วงโซ่การผลิตสินค้าและบริการให้มีมูลค่าสูงข้ึน ยุทธศาสตร์ที่ ๓: ยกระดับการ
พัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้เศรษฐกิจ BCG ให้สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืนด้วยความรู้ เทคโนโลยี และ
นวตั กรรม มาให้ความสาคญั กับระบบการผลิตที่เปน็ มิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม แบบ ‘ทานอ้ ยได้มาก’ และยุทธศาสตร์
ท่ี ๔: เสริมสร้างความสามารถในการตอบสนองต่อกระแสการเปล่ียนแปลงของโลก สร้างภูมิคุ้มกันและ
ความสามารถในการตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงของโลกอย่างเท่าทนั เพ่ือบรรเทาผลกระทบ
อุตสาหกรรมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและเป็นฐานการสร้างมูลค่าเพ่ิมขนาดใหญ่ของ
ประเทศ โดยอาศัยความก้าวหน้าทางวิทยาการระดับสูงสาหรับผลิตสินค้าและบรกิ ารมลู ค่าสูงและการพัฒนาที่
เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตลอดจนการเสริมความเข้มแข็งของทุนทางสังคมทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา
และวัฒนธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงมีความเหมาะสมในการนา BCG Model ให้ผูกโยง
กับห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) ของ ๔ อุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-curves) หลัก ได้แก่ อุตสาหกรรม
การเกษตรและอาหาร อุตสาหกรรมพลังงานและวัสดุ อุตสาหกรรมสุขภาพและการแพทย์ และอุตสาหกรรม
การทอ่ งเท่ยี วและบรกิ าร
๙.๔ หลักการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะที่ ๑ ได้ใช้หลักการบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ที่สอดคล้องตามแผนจัดการคุณภาพส่ิงแวดล้อม (พ.ศ.๒๕๖๐ -
๒๕๖๔) ซ่ึงเปน็ หลกั การที่ยงั คงมคี วามสาคญั และเทา่ ทันกับสถานการณ์ส่ิงแวดล้อมในปัจจบุ ัน ภายใตห้ ลักการ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมดังกลา่ ว จงึ ยังคงเหมาะสมสาหรับใช้เปน็ หลักการสาคัญของ
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ระยะที่ ๒ มี ๘ หลักการสาคญั มีรายละเอียด ดงั น้ี
(๑) การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นหลักการพัฒนาที่ให้ความสาคัญต่อส่ิงแวดล้อม โดยสร้างความสมดุล
ระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจกับการดแู ลรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๒ - ๔๖
แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
(๒) การบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศ เป็นการพิจารณาความสัมพันธ์เชิงระบบหรือองค์รวม เพื่อ
การดารงอยู่ของระบบนิเวศอย่างสมดุล ภายใต้การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติที่
ตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์อยา่ งยง่ั ยืน
(๓) การระวังไว้ก่อน เป็นการสร้างระบบภูมิคุ้มกันเพ่ือรับมือกับผลกระทบที่จะเกิดข้ึนในอนาคต
โดยเฉพาะพ้นื ทีท่ ม่ี รี ะบบนิเวศท่เี ปราะบางและพืน้ ทเี่ ส่ียง
(๔) ผู้ก่อมลพิษเปน็ ผู้จา่ ย และ ผู้ได้รับประโยชน์เป็นผู้จา่ ย เป็นการนาเคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร์
มาใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยสร้างแรงจูงใจและภาระ
รับผิดชอบเพ่ือลดการก่อมลพิษส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
(๕) ความเป็นหุ้นสว่ นของรัฐ – เอกชน เป็นหลักการที่ใช้สร้างการร่วมรับผิดชอบและควรนามาใช้
ควบคู่กับหลักการก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย เพื่อส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนในการจัดการ
สง่ิ แวดลอ้ มมากขนึ้
(๖) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นหลักการลดอัตราการใช้ทรัพยากรต่อหน่วย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดการเพ่ิมผลิตภาพการใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพมาก
ยิง่ ขึ้น และลดปรมิ าณการเกิดมลพิษโดยรวมจากกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ดงั กลา่ ว
(๗) การขยายความรับผิดชอบแก่ผู้ผลิต เป็นหลักการเพิ่มขอบเขตความรับผิดชอบของผู้ผลิตให้
ครอบคลุมในแต่ละช่วงของวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์ เพ่ือให้ผู้ผลติ มีการปรับปรุงกระบวนการผลิต
และสง่ ผลใหค้ ณุ ภาพสง่ิ แวดล้อมดีขึน้
(๘) ธรรมาภิบาล เป็นหลักการที่มุ่งเน้นให้เกิดความยั่งยืนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนการกระจาย
อานาจท่ียึดหลักการพ้ืนที่ – หน้าที่ – การมีส่วนร่วม การบังคับใช้กฎหมายอย่างมี
ประสิทธภิ าพและเปน็ ธรรม ความโปรง่ ใสในกระบวนการตดั สนิ ใจ
๑๐. แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
จากผลการวิเคราะห์สถานการณ์ การประเมินศักยภาพในการรองรับ สถานภาพการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การประเมินผลการดาเนินงานของแผนส่ิงแวดล้อม ระยะที่ ๑ และ
ข้อคิดเห็นจากการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ได้นามาวิเคราะห์ SWOT/TOWS และ SOAR analysis
ร่วมกับแนวคิดและหลักการในการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ โดยมรี ายละเอียดของแผนฯ ดังนี้
๑๐.๑ วสิ ัยทศั น์
“สรา้ งสมดุลของการพัฒนากบั การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอย่างยัง่ ยนื ”
๑๐.๒ พันธกิจ
จากการวิเคราะห์ระดับภาวะกดดันร่วมกับระดับความสามารถในการรองรับทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อมที่สอดคลอ้ งกับภูมนิ ิเวศ สามารถกาหนดพันธกิจได้ ดังนี้
๒ - ๔๗
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๑. รักษาสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในเขตจัดการภูมินิเวศท่ีมีความสามารถใน
การรองรับสูง โดยเน้นเขตภูมินิเวศพื้นท่ีชุ่มน้า และภูมินิเวศป่าชายเลน ด้วยการรักษาระดับสถานการณ์
ความสามารถในการรองรับในปัจจุบัน การปรับปรุงการใช้ประโยชน์ และระบบบริหารจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
๒. เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการสิ่งแวดล้อม ในเขตจัดการภูมินเิ วศท่ีมี
ความสามารถในการรองรับปานกลาง โดยเน้นภูมินิเวศทะเลและเกาะ และเขตเมืองและชุมชน ท่ีมีปัญหาด้าน
สิ่งแวดล้อมด้วยการปรับปรุงระดับความสามารถการบริหารจัดการส่ิงแวดล้อม และการส่งเสริมการพัฒนา
เศรษฐกจิ ทส่ี อดคลอ้ งเหมาะสมกบั ภูมสิ งั คม
๓. ลดระดับการพึ่งพาและฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในเขตจัดการภูมินิเวศ
ท่ีมีความสามารถในรองรับต่า โดยเน้นภูมินิเวศเขตป่าไม้ เขตเกษตรกรรม และเขตอุตสาหกรรม
ด้วยการเปล่ียนแปลงรูปแบบการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ตามหลกั การเศรษฐกจิ ชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน
และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG: Bio-Circular-Green Economy) การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างสมเหตุสมผล และปกป้อง คุ้มครอง ฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมีการจัดการมลพิษ
สง่ิ แวดลอ้ มร่วมกัน
๑๐.๓ วตั ถุประสงค์
๑. ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท่ีสอดคล้องกับภูมินิเวศของพ้ืนที่ตาม
แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียวท้ังในภาคเกษตรกรรม
ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ
๒. อนรุ ักษ์และฟ้นื ฟูทรพั ยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ เพ่ือเป็นฐานการ
พัฒนาเมือง ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ อย่างคุ้มค่าและเป็นธรรมภายใต้ความสมดุล
ของระบบนเิ วศ
๓. สง่ เสริมสนบั สนนุ วิถีชวี ติ เมือง และชุมชนพึง่ ตนเอง จากภูมิปัญญาท้องถนิ่ และนวัตกรรม เพื่อสร้างฐาน
ความม่นั คงทางอาหารของพ้ืนที่ และการสรา้ งภูมคิ ุม้ กันตอ่ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและอบุ ัติภยั
๔. พัฒนา ปรับปรุง เคร่ืองมือกลไก ในการขับเคล่ือนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ท่สี นับสนุนการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วน ด้วยองค์ความรู้ เทคโนโลยี ฐานข้อมลู กฎหมาย และกฎ/
ระเบียบ/ขอ้ ตกลง
๑๐.๔ เป้าประสงค์
๑. ส่ิงแวดลอ้ มได้รับการบาบัดและจัดการใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐาน
๒. ทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนท่ีได้รับการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และมีการใช้ประโยชน์อย่างมั่นคง สมดุลและ
เปน็ ธรรม
๓. ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้รับการส่งเสริมนวัตกรรมและความสามารถในการ
พงึ่ ตนเองในการบรรเทาผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและอุบตั ิภัย
๔. ระบบและกลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีการขับเคลื่อนด้วย
กระบวนการมสี ว่ นร่วมอย่างมีประสทิ ธิภาพ
๒ - ๔๘
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๑๐.๕ ยุทธศาสตร์แผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
ภายใต้แผนสงิ่ แวดล้อมในพนื้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ประกอบดว้ ย ๔
ยทุ ธศาสตร์สาคัญคือ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ การจัดการส่ิงแวดล้อมเพ่ือคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ สุข
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การจดั การทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่งั ยืน
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างศักยภาพชุมชนพึ่งตนเองและรบั มอื ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศและ
อุบัตภิ ยั
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การและกลไกการมสี ว่ นรว่ มเพอ่ื ขบั เคลือ่ นแผนสู่
การปฏบิ ตั ิ
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การจัดการส่ิงแวดล้อมเพ่ือคุณภาพชีวิตที่เป็นสุข ให้ความสาคัญต่อการลดปริมาณ
ของเสียที่เกิดข้นึ ในทกุ ขั้นตอน สนับสนุนการนากลับมาใช้ใหม่ มีการควบคุมติดตาม ตรวจสอบ ป้องกันปัญหา
ส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดขึ้น ณ แหล่งกาเนิด มีการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม พัฒนาระบบฐานข้อมูล และมีระบบการ
จัดการแบบครบวงจรในการจัดการของเสียท่ีเกิดขึ้น รวมทั้งการสร้างความสวยงามและความร่มรื่นของเมือง
และชุมชน โดยให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการ โดยมีเป้าหมายของยุทธศาสตร์คือ การจัดการเพ่ือ
สิ่งแวดล้อมที่ดี อันจะสนับสนุนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นสุข และมี ๔ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ ๑.๑ การจัดการน้าเสีย
ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การเพม่ิ ประสิทธิภาพการจัดการระบบบาบัดนา้ เสีย การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ
ลดปริมาณน้าเสีย และการนากลับมาใช้ กลยุทธ์ที่ ๑.๒ การจัดการมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย ๑
แผนงาน คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการมลพิษทางอากาศ กลยุทธ์ที่ ๑.๓ การจัดการขยะและกากของ
เสียอุตสาหกรรม ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการขยะชุมชน การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการจัดการขยะอุตสาหกรรม มูลฝอยติดเช้ือ และกากของเสียอันตราย และกลยุทธ์ที่ ๑.๔ การ
พัฒนาส่ิงแวดล้อมเมืองและชุมชนน่าอยู่ตามภูมินิเวศ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การสร้างความสวยงาม
และความร่มร่ืนของเมืองและชุมชน โดยมี ๑๒ ตัวช้ีวัดที่สาคัญ ได้แก่ (๑) มีการดาเนินการในการจัดการ
คุณภาพน้าผิวดิน (๒) ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของแหล่งน้าผิวดินท่ีมีคุณภาพน้าดีข้ึน (๓) การมีแผนบริหารจัดการน้า
เสียเชิงระบบ (๔) ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของการฟื้นฟูและพัฒนาเครื่องมือการจัดการน้าเสีย อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) ร้อยละท่ีเพิ่มขี้นของโครงการบริหารจัดการระบบน้าเสียอย่างมีประสิทธิภาพ ๖) จานวนวันที่ PM10 ใน
อากาศไม่เกินมาตรฐาน ร้อยละ ๙๙ (๗) มีการดาเนินการในการลดสาร VOCs เขตควบคุมมลพิษอย่าง
ต่อเนื่อง (๘) มีการดาเนินงานเพ่ือให้ขยะมูลฝอยชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกหลักวิชาการ (๙) สัดส่วนการ
นาของเสียกลับไปใช้ใหม่ ร้อยละ ๓๐ ของปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนรวม (๑๐) ปริมาณขยะทะเลลดลงจน
เหลือปริมาณใกล้เคียงกับปี ๒๕๕๗ (๑๑) กากของเสียอันตรายทั้งหมดเข้าสู่ระบบการจัดการที่ถูกต้อง และ
(๑๒) เพมิ่ พืน้ ทส่ี เี ขียวเมอื งให้ไดต้ ามเกณฑม์ าตรฐานเบอื้ งต้น (๑๐ ตร.ม./คน)
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ให้ความสาคัญต่อการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และ
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ มีการจัดทาฐานข้อมูล เพื่ออนุรักษ์ ฟื้นฟูและวางแผน รวมถึงการ
บริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ท้ังยังมีการส่งเสริมให้เกิดการเพ่ิมมูลค่าจากความหลากหลายทาง
ชีวภาพ เพื่อรักษาความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดความสมดุลและเป็นธรรม โดยมีเป้าหมาย
๒ - ๔๙
แผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ของยุทธศาสตร์คือ ฐานทรัพยากรธรรมชาติ ได้รับการส่งเสริม การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และมีการใชป้ ระโยชน์อย่าง
สมดุล เป็นธรรม และยั่งยืน และมี ๔ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ ๒.๑ การใช้ประโยชน์ท่ีดินที่เป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดล้อม ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การพัฒนาเคร่ืองมือเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ที่ดินที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ ๒.๒ การจัดการทรัพยากรน้า ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพิ่มประสิทธิภาพการ
จัดการน้า กลยุทธ์ท่ี ๒.๓ การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ กลยุทธ์ที่ ๒.๔ การจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝ่ัง ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง โดยมี
๑๑ ตวั ช้ีวดั ท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) เพ่ิมพ้ืนที่เกษตรย่ังยนื (ป่ากินได้:-ระบบวนเกษตร) เพิ่มขึ้น (๒) เพ่ิมประสิทธิใน
การกักเก็บน้าใต้ผิวดิน และน้าใต้ดิน ในพื้นที่เกษตรกรรม ตามพื้นท่ีเกษตรกรรมยั่งยืนที่เพ่ิมขึ้น (๓) ร้อยละท่ี
เพิ่มข้ึนของการนาน้าเสียท่ีผ่านการบาบัดแล้วนากลับมาใช้ประโยชน์ (๔) มีการป้องกัน ดูแล รักษา และฟื้นฟู
ในระบบนิเวศ ป่าบก ป่าชายเลน พ้ืนที่ชุ่มน้า พื้นท่ีเกษตรกรรมย่ังยืนอย่างมีส่วนร่วมเพ่ิมขึ้น (๕) มีแหล่งที่
รักษาความหลากหลายทางชีวภาพเพ่ิมข้ึน (๖) มฐี านข้อมูลความหลากหลายทางชวี ภาพ (๗) มีแหล่งทอ่ งเที่ยว
เชิงนิเวศและวัฒนธรรมและเชื่อมโยงกันเพ่ิมขึ้น (๘) มีจานวนนวัตกรรมการแปรรูปและเพิ่มมูลค่าจากความ
หลากหลายทางชีวภาพ (๙) พ้ืนที่ป่าชายเลนไม่น้อยกว่าในปี ๒๕๕๖ (๑๐) พื้นท่ีปะการังได้รับการฟ้ืนฟู และ
ปะการงั ท่ีมีชวี ิตเพมิ่ ข้นึ และ (๑๑) แหลง่ หญา้ ทะเลทไ่ี ด้รบั การฟื้นฟู
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างศักยภาพชุมชนพ่ึงตนเองและรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และอบุ ัติภัย ให้ความสาคัญต่อชุมชนมอี งคค์ วามรู้และความสามารถในการยกระดับต่อยอดภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นสู่
การพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการสร้างภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมอิ ากาศและอบุ ัติภัย การใชเ้ ทคโนโลยีท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม เพิม่ แหล่งดูดซับก๊าซเรือนกระจก และ
มีการประยุกต์ใช้หลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว โดยมีเป้าประสงค์ของ
ยุทธศาสตร์คือ ชุมชนได้รับการส่งเสริมความสามารถ และมีศักยภาพในการพ่ึงตนเองและพร้อมรับมือต่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศและอุบัติภัย และมี ๓ กลยทุ ธ์ คือ กลยุทธ์ท่ี ๓.๑ การสนบั สนุนชุมชนพึ่งตนเอง
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คือ การเพิ่มประสิทธิภาพกลไกการ
ขับเคล่ือนชุมชนพ่ึงตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจาก
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย ๓ แผนงาน ได้แก่ การเพ่ิมพื้นท่ีแหล่งดูดซับและกักเก็บก๊าซ
เรอื นกระจก การผลกั ดันมาตรการในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของทุกภาค
ส่วนในการปรับตัวต่อการรองรับ กลยุทธ์ที่ ๓.๓ การจัดการภัยพิบัติ อุบัติภัย โรคระบาด และสภาวะสุดขั้ว
จากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบด้วย ๑ แผนงาน คอื การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการอุบัติภัย
และภัยพิบัติ โดยมี ๕ ตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ (๑) มีชุมชนพ่ึงตนเองเพ่ิมขึ้น โดยที่ชุมชนพึ่งตนเองมีการ
ดาเนินการใน ๕ กิจกรรม คือ (ก) มีโครงการสร้างความตระหนักต่อส่ิงแวดล้อม (ข) มีกลุ่ม เครือข่าย องค์กร
ชุมชนในการจัดการ (ค) มีแผนงาน โครงการ กิจกรรมในการจัดการทรัพยากร (ง) มีกลุ่มเกษตรอินทรีย์ กลุ่ม
ป่าครอบครัว และกลุม่ วนเกษตร มกี ารใช้ประโยชน์ทรัพยากรทย่ี ัง่ ยนื (จ) มีองคค์ วามรู้ ภูมปิ ัญญา ปรบั ตวั การ
สร้างนวัตกรรมในการจัดการส่ิงแวดล้อม (๒) ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (เทียบเท่า) ในพ้ืนท่ี
ลดลง ตามเป้าหมายที่กาหนดใน แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๓ (๓) มีระบบ
๒ - ๕๐
แผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
เตือนภัยและการจัดการภัยในพ้ืนท่ีเส่ียง (๔) จานวนองค์กรหรือเครือข่ายด้านอุบัติภัยในชุมชนเพ่ิมข้ึน (๕)
จานวนประชากรที่เสียชีวิต สูญหาย ได้รับบาดเจ็บ หรือต้องโยกย้ายท่ีอยู่เนื่องจากอุบัติภัย หรือได้รับ
ผลกระทบจากอุบัติภยั ลดลง
ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและกลไกการมีส่วนร่วมเพ่ือขับเคล่ือน
แผนส่กู ารปฏิบัติ ใหค้ วามสาคญั ต่อเครอื่ งมอื และกลไก ในการขับเคลือ่ นการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม ที่สนับสนุนการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วน ด้วยองค์ความรู้ เทคโนโลยี ฐานข้อมูล กฎหมาย และ
กฎ/ระเบียบ/ข้อตกลง มีการส่งเสริมการศึกษาและวิจัย มีองค์กรบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อมท่ีมีภาคประชาสังคมเป็นหุ้นส่วนในการดาเนินงาน มีเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์คือ มีระบบและ
กลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ดว้ ยกระบวนการมีสว่ นรว่ มอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
เพ่อื ขับเคลอ่ื นแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ และมี ๓ กลยทุ ธ์ คอื กลยุทธ์ที่ ๔.๑ การพัฒนาศกั ยภาพในการบรหิ ารจัดการ
และกลไกการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่ การทบทวนและปรับปรุงกฎ ระเบียบ กฎหมาย
และแผนท่ีเอ้ือต่อการบริหารจัดการ และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมที่เป็นธรรม กลยุทธ์ท่ี ๔.๒ การขับเคล่ือน
แผนสู่การดาเนินงาน ประกอบด้วย ๓ แผนงาน คือ เพ่ิมประสิทธิภาพการขับเคลื่อนแผน การส่งเสริม
สนับสนุนการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ และการทบทวน ติดตาม กลยุทธ์ ๔.๓ การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา
เทคโนโลยที ่ีเหมาะสม ตามหลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสเี ขยี ว และเป้าหมายการ
พัฒนาท่ียั่งยืน ประกอบด้วย ๒ แผนงาน ได้แก่สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ตามหลักการเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว และวิจัยนวัตกรรมเพ่ือ
พัฒนาบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ตามเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน โดยมีตัวชี้วัดท่ีสาคัญ
ไดแ้ ก่ (๑) มีกลไก เคร่อื งมือ สาหรับการบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมที่ส่งเสริมการมสี ่วนรว่ ม
จากทุกภาคส่วน (๒) มีองค์กรบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน (๓) จานวน
กิจกรรมด้านส่ิงแวดล้อมที่ได้รับการขับเคลื่อนโดยภาคีเครือข่าย (๔) มีกิจกรรมสนับสนุนภาคีเครอื ข่ายองค์กร
ให้มีศักยภาพในการเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในระดับท่ี ๔ (ความร่วมมือ) มีจานวน และมีสัดส่วนมากขึ้น
(๕) มีเวที หรือช่องทางการส่ือสารแลกเปล่ียนข้อมูลและความคิดเห็นร่วมกันทุกภาคส่วนอย่างต่อเน่ือง (๖) มี
แนวทางการส่งเสริมปัจจัยความสาเร็จอันนาไปสู่การนาแผนไปสู่การปฏิบัติ (๗) มีการรายงานผลการทบทวน
แผนการพฒั นาในพ้ืนทอ่ี ย่างต่อเน่ือง (๘) มแี นวทางการพัฒนา งานวิจยั งานวิจัยทอ้ งถิน่ เทคโนโลยี นวัตกรรม
และใช้ประโยชนจ์ ากภมู ิปัญญาท้องถ่ินทเี่ ก้ือหนุนตอ่ คณุ ภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
โดยสรุปแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) ประกอบด้วย ๔
ยุทธศาสตร์ ๑๔ กลยทุ ธ์ และ ๒๒ แผนงาน
๒ - ๕๑
แผนสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาค
๑๐.๖ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน เป้าหมาย และตัวช้ีวดั
ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน
๑. การจัดการสิง่ แวดลอ้ มเพื่อ ๑.๑ การจดั การน้าเสีย ๑.๑.๑ การเพิม่ ประสิทธิภาพการ
คุณภาพชีวติ ท่เี ปน็ สุข จดั การระบบบาบัดน้าเสีย
๑.๑.๒ การพฒั นาเทคโนโลยีเพ่ือลด
ปรมิ าณน้าเสยี และการนากลับมา
ใช้
๑.๒ การจัดการมลพิษทาง ๑.๒.๑ การเพ่มิ ประสิทธิภาพการ
อากาศ จดั การมลพิษทางอากาศ
๑.๓ การจดั การขยะและ ๑.๓.๑ การเพ่ิมประสิทธภิ าพการ
กากของเสยี อุตสาหกรรม จดั การขยะชมุ ชน
๒-
คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หน่วยงานรับผดิ ชอบ เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด
หนว่ ยงานหลัก: สสภ.๑๓ /อปท. / น้าผิวดินมีคณุ ภาพดขี ึน้ การดาเนินการในการจัดการ
อบจ. / คพ. / อจน. คณุ ภาพน้าผวิ ดินเพิม่ ขึ้น
หน่วยงานสนับสนุน: อปท. / นา้ เสียได้รับการจัดการอย่าง ร้อยละทเี่ พ่ิมขึ้นของแหลง่ น้า
ทสจ. / คพ. ถูกหลกั วิชาการ ผวิ ดนิ ทีม่ ีคณุ ภาพนา้ ดขี ึน้
สสภ.๑๓ / คกก. ลมุ่ น้า / ทสจ. /
กรอ./ อปท. / ทสจ. / คพ. การมีแผนบรหิ ารจดั การน้า
เสยี เชิงระบบ
หน่วยงานหลัก: คพ. / ทน. / กรอ.
/ กนอ. ร้อยละท่ีเพม่ิ ข้ึนของการฟ้ืนฟู
และพัฒนาเครือ่ งมือการ
หนว่ ยงานสนับสนุน: กนอ. / สภา คณุ ภาพอากาศอย่ใู นระดบั จัดการน้าเสีย อยา่ งมี
อตุ สาหกรรม / ทสจ. / สสภ.๑๓ มาตรฐาน ประสทิ ธิภาพ
/ SCG
กรอ. / สอท. /.อปท. ร้อยละที่เพม่ิ ขึ้นของโครงการ
บรหิ ารจดั การระบบน้าเสีย
หน่วยงานหลกั : กรอ. / คพ. อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
หนว่ ยงานสนับสนนุ : กนอ. /
อกจ. / สอ.จ. / DEPA / กรอ. / จานวนวนั ท่ี PM10 ใน
กนอ. / สอ.จ. / สภาอตุ สาหกรรม อากาศไม่เกินมาตรฐาน
ร้อยละ ๙๙
หนว่ ยงานหลกั : อบจ./เอกชน / การมุ่งสกู่ ารไมม่ ขี ยะของเสีย
ทสจ. / สสภ.๑๓ / อปท. / ทช. (Zero Waste) มีการดาเนินการในการลด
หนว่ ยงานสนับสนนุ : พน. / สส. สาร VOCs เขตควบคุม
มลพิษอย่างต่อเน่ือง
/ อปท. / กรอ. / กนอ. / ทสจ.
มีการดาเนินงานเพือ่ ใหข้ ยะ
มูลฝอยชมุ ชนได้รับการจดั การ
อย่างถกู หลักวิชาการ
๕๒
ยทุ ธศาสตร์ แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาค
กลยุทธ์ แผนงาน
๑.๓.๒ การเพิ่มประสิทธภิ าพการ
จดั การขยะอตุ สาหกรรม มลู ฝอยติด
เช้ือ และกากของเสียอันตราย
๑.๑.๔ การพฒั นา ๑.๔.๑ สร้างความสวยงามและความ
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน รม่ รืน่ ของเมืองและชุมชน
น่าอยู่ตามภูมินิเวศ
๒. การจัดการ ๒.๑ การใชป้ ระโยชน์ทดี่ ิน ๒.๑.๑ การพัฒนาเครอื่ งมือเพ่ือเพ่ิม
ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยั่งยนื ที่เป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม ประสทิ ธิภาพการใช้ทด่ี ินทเ่ี ป็นมิตร
กับส่ิงแวดลอ้ ม
๒.๒ การจดั การทรัพยากร ๒.๒.๑ การเพมิ่ ประสิทธิภาพการ
๒-
คตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ เป้าหมาย ตวั ช้วี ดั
/ เครือข่ายประชาสงั คม
อปท. / สสภ.๑๓ / SCG สดั ส่วนการนาของเสยี กลับไป
ใชใ้ หม่ ร้อยละ ๓๐ ของ
หนว่ ยงานหลกั : กรอ. ปริมาณขยะมลู ฝอยชมุ ชนรวม
หนว่ ยงานสนบั สนนุ : สสภ.๑๓
/ ทสจ. / กนอ. / คพ. / อกจ. กากของเสยี อันตรายทง้ั หมด
/ อปท. เขา้ สู่ระบบการจัดการที่
ถกู ตอ้ ง
หนว่ ยงานหลกั : อปท./ สผ./ การเพ่มิ พน้ื ทีส่ ีเขยี วและ
อบจ. คานงึ ถึงภูมทิ ัศน์ที่ ปริมาณขยะทะเลลดลง จน
สวยงาม เหลอื ปรมิ าณใกล้เคยี งกบั ปี
หนว่ ยงานสนับสนุน: ๒๕๕๗
สถาบันการศกึ ษา / สส. / เพ่ิมพน้ื ที่สเี ขยี วเมอื งให้ได้
ทสจ. / อปท. /ทสม. ตามเกณฑม์ าตรฐานเบื้องตน้
(๑๐ ตร.ม./คน)
หน่วยงานหลัก: ยผ./สศก. / การส่งเสรมิ เกษตรยั่งยืนใน เพ่มิ พน้ื ท่ีเกษตรยั่งยนื (ปา่ กิน
อส. / ปม. / MDES. พ้นื ทกี่ ารใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ ได้:-ระบบวนเกษตร) เพิ่มข้ึน
หน่วยงานสนับสนุน: กษ.จว. / ประเภทเกษตรกรรม
อปท. / ภาคเี ครือขา่ ยยผ. / เพม่ิ ประสิทธใิ นการกกั เก็บนา้
ยผ. จว. / สปก. / กษ. น้ามีเพียงพอตอ่ การอปุ โภค
หน่วยงานหลัก: ทน./ชป.
๕๓
แผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ที่เขตพฒั นาพเิ ศษภาค
ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน
น้า จดั การน้า
๒.๓ การจดั การความ ๒.๓.๑ การเพมิ่ ประสิทธภิ าพการ
หลากหลายทางชวี ภาพ จัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
๒.๔ การจดั การทรพั ยากร ๒.๔.๑ การเพิ่มประสิทธภิ าพการ
ทางทะเลและชายฝัง่ จัดการทรัพยากรทางทะเลและ
๒-
คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ เป้าหมาย ตวั ชีว้ ัด
บริโภค รกั ษาระบบนเิ วศ ใต้ผิวดนิ และน้าใต้ดนิ ใน
กรอ. / อปท. /ชป.จว. การเกษตร อุตสาหกรรม พ้นื ทเ่ี กษตรกรรม ตามพ้ืนที่
หนว่ ยงานสนับสนุน: กนอ. / บรกิ ารและท่องเทย่ี ว เกษตรกรรมยง่ั ยืนทเี่ พมิ่ ข้ึน
สภาอุตสาหกรรม / สอท.ทน.
/ พด. ร้อยละท่เี พม่ิ ขึ้นของการนา
นา้ เสียท่ผี ่านการบาบัดแลว้ นา
กลับมาใช้ประโยชน์
หน่วยงานหลัก: ทช. /ทน. / ป่าไม้ ป่าชายเลน พ้ืนทีช่ ุ่ม มกี ารป้องกัน ดแู ล รกั ษา
พน. / สผ. / พม. น้า มีความหลากหลายทาง และฟนื้ ฟูในระบบนเิ วศ ป่าบก
หนว่ ยงานสนบั สนุน: สผ. / ชวี ภาพทีด่ ี ป่าชายเลน พ้ืนท่ีชุ่มน้า พื้นท่ี
อส. / ปม. / เกษตรกรรมย่ังยนื อยา่ งมสี ่วน
สถาบนั การศึกษา / อปท. / ปอ้ งกันและฟื้นฟูทรัพยากร ร่วมเพ่มิ ขึ้น
เครอื ขา่ ยประชาสงั คมพม. / ทางทะเลและชายฝั่งใหค้ ง
ททท. / สทกจ./ สสภ.๑๓ / มีแหลง่ ท่รี กั ษาความ
สศก. / เครือข่ายเพอ่ื น หลากหลายทางชีวภาพ
ตะวนั ออก / เพม่ิ ขนึ้
หนว่ ยงานหลัก: ศวทอ./ทช. มฐี านข้อมูลความหลากหลาย
ทางชวี ภาพ
มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนเิ วศ
และวฒั นธรรมและเชือ่ มโยง
กนั เพิ่มขึ้น
มีจานวนนวตั กรรมการแปร
รูปและเพิ่มมูลค่าจากความ
หลากหลายทางชีวภาพ
พน้ื ทีป่ ่าชายเลนไม่น้อยกว่า
ในปี ๒๕๕๖
๕๔
ยุทธศาสตร์ แผนสงิ่ แวดล้อมในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาค
กลยุทธ์ แผนงาน
ชายฝัง่
๓. การสร้างศักยภาพชมุ ชน ๓.๑ การสนับสนนุ ชุมชน ๓.๑.๑ การเพิ่มประสิทธภิ าพกลไก
พงึ่ ตนเองและรับมือต่อการ พง่ึ ตนเองตามหลักปรัชญา การขับเคลอื่ นชมุ ชนพงึ่ ตนเองตาม
เปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ของเศรษฐกจิ พอเพียง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และอุบตั ภิ ยั
๓.๒ การบรรเทา ๓.๒.๑ การเพ่ิมพ้นื ท่แี หล่งดูดซับ
ผลกระทบจากการ และกกั เก็บก๊าซเรือนกระจก
๒-
คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ เปา้ หมาย ตัวช้ีวดั
ความอุดมสมบูรณ์
หน่วยงานสนบั สนนุ : ทช. / พน้ื ที่ปะการังได้รับการฟื้นฟู
คพ. / อสทล. / เครือขา่ ย และปะการังท่มี ชี วี ิตเพม่ิ ขึ้น
ประมงชายฝง่ั / ศวทอ.
แหลง่ หญา้ ทะเลท่ีไดร้ ับการ
ฟ้ืนฟู
หน่วยงานหลกั : ภาคีเครอื ข่าย ชมุ ชนมีองค์ความร้แู ละ มีชุมชนพงึ่ ตนเองเพ่ิมข้ึน โดย
เกษตรยง่ั ยนื / อปท. / สศก. ความสามารถในการยกระดบั ทชี่ มุ ชนพึ่งตนเองมีการ
6 /สานักงาน กปร. / พด / ต่อยอดภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ สู่ ดาเนินการใน ๕ กิจกรรม คือ
กรมวิชาการเกษตรหน่วยงาน การพงึ่ ตนเอง (๑) มโี ครงการสร้างความ
สนบั สนุน: กษ. จว. / สอ.จ. / ตระหนักตอ่ สง่ิ แวดล้อม (๒) มี
Depa / ทสจ. / ปราชญ์ ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ กลมุ่ เครอื ขา่ ย องค์กรชมุ ชน
ชุมชน / ศูนย์ศึกษาการ เทียบเทา่ ในบรรยากาศลดลง ในการจดั การ (๓) มแี ผนงาน
พัฒนาเขาหินซ้อน / มทร. โครงการ กจิ กรรมในการ
ตะวันออก/ สส. / จัดการทรพั ยากร (๔) มีกลมุ่
ทสม. / อปท. เกษตรอินทรยี ์ กลุ่มปา่
ครอบครัว และกลุ่มวนเกษตร
หน่วยงานหลัก: อส./ ปม. มกี ารใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรที่
หนว่ ยงานสนับสนุน: อปท. ยง่ั ยืน และ (๕) มอี งค์ความรู้
ภูมปิ ัญญา ปรับตวั การสรา้ ง
นวัตกรรมในการจัดการ
ส่ิงแวดล้อม
ปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซ
คาร์บอนไดออกไซด์
๕๕
แผนส่งิ แวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาค
ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน
เปล่ียนแปลงสภาพ ๓.๒.๒ การผลักดันมาตรการในการ
ภมู อิ ากาศ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
๓.๒.๓ การส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วม
ของทุกภาคส่วนในการปรับตัวตอ่
การรองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ
๓.๓ การจดั การภัยพบิ ัติ ๓.๓.๑ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการ
อุบัตภิ ยั โรคระบาด และ จดั การอุบตั ภิ ยั และภยั พิบตั ิ
สภาวะสดุ ขว้ั จากการ
เปลยี่ นแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศ
๔ การเพิ่มประสิทธิภาพการ ๔.๑ การพฒั นาศักยภาพ ๔.๑.๑ การทบทวนและปรับปรงุ กฎ
บรหิ ารจดั การและกลไกการมี ในการบรหิ ารจดั การและ ระเบยี บ กฎหมาย และแผนที่เอื้อ
ส่วนร่วมเพื่อขับเคล่อื นแผนสู่ กลไกการมีสว่ นร่วม ตอ่ การบริหารจัดการ
การปฏิบัติ
๒-
คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หน่วยงานรับผดิ ชอบ เปา้ หมาย ตวั ชีว้ ัด
(เทยี บเท่า) ในพื้นทล่ี ดลง
หนว่ ยงานหลกั : สกพอ. / การลดและป้องกันการเกดิ ตามเป้าหมายท่ีกาหนดใน
อบก. / พน. หนว่ ยงาน อบุ ตั ิภัย รวมทง้ั ผลกระทบจาก แผนท่ีนาทางการลดก๊าซ
สนบั สนนุ : อบก. / อปท. / อบุ ตั ิภัย เรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๔ -
สนง.จงั หวัด / สสภ.๑๓ / สก ๒๕๗๓
พอ. มีการศึกษา ปรับปรุง พฒั นา
หนว่ ยงานหลกั : สพภ./อบก. / กฎ ระเบยี บ ท่ีเปน็ อุปสรรค มีระบบเตอื นภยั และการ
สกพอ. ตอ่ การบรหิ ารจัดการ จัดการภัยในพ้ืนที่เสย่ี ง
หน่วยงานสนับสนนุ : สสภ.๑๓ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
/ ทสจ. / สภาอตุ สาหกรรม / จานวนองค์กรหรอื เครอื ขา่ ย
กนอ. / กษ./ กรอ / อปท. ดา้ นอุบัตภิ ัยในชุมชนเพ่ิมขึ้น
หน่วยงานหลกั : ปภ. / คพ. /
กรอ. / กนอ. / อก. / กรอ. จานวนประชากรท่ีเสียชีวติ
หน่วยงานสนบั สนนุ : กรอ. / สญู หาย ได้รบั บาดเจบ็ หรอื
กนอ. / เครือข่าย จป. / คพ. ตอ้ งโยกยา้ ยทอ่ี ย่เู น่อื งจาก
/ อปท. / ERTC อุบตั ิภัย หรอื ไดร้ ับผลกระทบ
จากอบุ ัตภิ ัยลดลง
หน่วยงานหลัก: กรอ /ทน. /
อปท. / สถ. / ทสจ. มกี ลไก เครอื่ งมอื สาหรับ
หนว่ ยงานสนับสนนุ : สอท. / การบรหิ ารจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาติ
สงิ่ แวดลอ้ มทสี่ ่งเสริมการมี
๕๖
ยุทธศาสตร์ แผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาค
กลยทุ ธ์ แผนงาน
๔.๑.๒ การสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมที่
เป็นธรรม
๔.๒ การขับเคลอ่ื นแผนสู่ ๔.๒.๑ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการ
การดาเนินงาน ขบั เคลอื่ นแผน
๒-
คตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ เปา้ หมาย ตัวชว้ี ดั
สงิ่ แวดลอ้ ม ส่วนร่วมจากทุกภาคสว่ น
ม.บรู พา / วช. / ยผ. / สส. /
สผ. / คพ. / อปท.
หน่วยงานหลัก: สสภ. ๑๓ / การเพิ่มบทบาทหนา้ ทีใ่ น มอี งคก์ รบรหิ ารจัดการ
ทสจ. ระดบั พ้ืนทใี่ นการบริหาร ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ง
หน่วยงานสนบั สนุน: สอ.ท. / จัดการทรพั ยากรธรรมชาติ แวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยืน
ทสม. / สส /เครอื ข่ายเพือ่ น และสิ่งแวดล้อม
ตะวันออก / ภาคเี ครอื ขา่ ย จานวนกจิ กรรมด้าน
การสนบั สนุนให้ประชาชน ส่งิ แวดลอ้ มทีไ่ ด้รบั การ
และชมุ ชนมีส่วนร่วมในการ ขับเคล่ือนโดยภาคีเครือข่าย
บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมมี
ความต่อเนอ่ื ง มกี ิจกรรมสนบั สนุนภาคี
เครือข่ายองค์กรให้มีศกั ยภาพ
ทกุ ภาคสว่ นเขา้ ใจ เขา้ ถึง ในการเขา้ สกู่ ระบวนการมีส่วน
เป้าหมายแผนการบริหาร รว่ มในระดับที่ ๔ (ความ
จดั การทรพั ยากรธรรมชาติ ร่วมมอื ) มจี านวน และมี
และส่ิงแวดลอ้ มท่ยี งั่ ยืนเพ่อื สดั ส่วนมากข้ึน
ขบั เคลอ่ื นร่วมกนั
มเี วที หรอื ช่องทางการ
หนว่ ยงานหลัก: สผ. / สกพอ. แผนฯ ระยะ ๒ มกี าร สอ่ื สารแลกเปลี่ยนขอ้ มูลและ
/ อปท. / ทสจ. / ทสม. / ทสจ. ขับเคลอ่ื นสูก่ ารปฏิบตั ิ ความคดิ เห็นรว่ มกันทุกภาค
/สส.(ดาเนนิ การโดย ทสม. สว่ นอย่างต่อเน่อื ง
มแี นวทางการสง่ เสริมปัจจัย
ความสาเร็จอนั นาไปส่กู ารนา
แผนไปสูก่ ารปฏบิ ัติ
๕๗
ยทุ ธศาสตร์ แผนส่งิ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
กลยุทธ์ แผนงาน
๔.๒.๒ การสง่ เสริมสนับสนุนการ
นาแผนไปส่กู ารปฏิบัติ
๔.๒.๓ การทบทวน ติดตาม การ
ดาเนินงานฯ
๔.๓ การส่งเสรมิ การวิจัย ๔.๓.๑ สนับสนุนการวจิ ยั และพัฒนา
และพฒั นาเทคโนโลยีที่ ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
เหมาะสม ตามหลักการ ตามหลักการเศรษฐกจิ ชีวภาพ
เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวียน และเศรษฐกจิ สี
เศรษฐกิจหมุนเวยี น เขยี ว
เศรษฐกจิ สเี ขียว และ
เปา้ หมายการพัฒนาที่
๒-
คตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หนว่ ยงานรับผิดชอบ เปา้ หมาย ตวั ชีว้ ดั
สนบั สนุนงบโดย สทจ.) / มีการรายงานผลการทบทวน
สสภ ๑๓ แผนการพัฒนาในพ้นื ท่ีอยา่ ง
ตอ่ เน่อื ง
หนว่ ยงานสนับสนนุ :
หน่วยงานที่เกย่ี วข้อง /สอท. /
หอการคา้ / ภาคีเครือข่าย /
สอ. ฉช. / อปท. / สผ. /
เครือข่ายประชาสงั คม
หน่วยงานหลกั : ทสจ./
เครอื ขา่ ยเพือ่ นตะวันออก /
ภาคเี ครอื ข่าย / สกพอ.
หนว่ ยงานสนบั สนนุ : อปท. /
ทสม./โรงเรียน
หน่วยงานหลัก: ERTC
หน่วยงานสนับสนนุ : สกพอ.
หนว่ ยงานหลัก: depa / ททท. การพัฒนาและบูรณาการ มีแนวทางการพัฒนา
/ สศก. / สศช./ มทร.ตะวนั ความรู้สูก่ ารใช้ประโยชน์ งานวิจยั งานวจิ ยั ท้องถ่นิ
ออก / สถ.จ. / อปท. / ทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่าง เทคโนโลยี นวตั กรรม และใช้
ปราชญ์ชาวบ้าน / สอท. สมดุลและชาญฉลาด ประโยชน์จากภูมิปญั ญา
ทอ้ งถนิ่ ท่เี กอ้ื หนุนต่อคณุ ภาพ
หน่วยงานสนับสนุน: วช. / ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
สกสว. / สสส. / สิ่งแวดล้อม
๕๘
แผนสงิ่ แวดล้อมในพนื้ ที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนงาน
ย่ังยืน
๔.๓.๒ วจิ ยั นวัตกรรมเพือ่ พัฒนาบน
ฐานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม ตามเป้าหมายการ
พฒั นาที่ยง่ั ยืน
๒-
คตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
หน่วยงานรบั ผิดชอบ เป้าหมาย ตัวช้วี ัด
สถาบันการศกึ ษา / วช. /
หอการค้า / สทกจ. /
สถาบันการศึกษา /สวก. /
depa /สถาบันการศกึ ษา /
สกพอ. / สผ. / สสภ. ๑๓ /
ทสม. / สส. / สถาบันการศึกษา
หน่วยงานหลกั : ศวบอ. /อว.
สว่ นหน้า
หน่วยงานสนับสนุน: ทช. /
สกสว. / วช. / สวก. / สพภ.
/สถาบันการศกึ ษา
๕๙
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
๑๐.๗ แนวทางปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการสง่ิ แวดล้อมเพื่อคณุ ภาพชีวติ ท่เี ป็นสุข
กลยุทธ์ ๑.๑ การจัดการนา้ เสยี
แผนงาน ๑.๑.๑ การเพ่มิ ประสิทธิภาพการจัดการระบบบาบัดนา้ เสีย
แผนงาน ๑.๑.๒ การพัฒนาเทคโนโลยเี พื่อลดปรมิ าณน้าเสยี และการนากลับมาใช้
เปา้ หมาย ๑. น้าผวิ ดนิ มีคณุ ภาพดขี ึน้
๒. น้าเสียได้รับการจัดการอย่างถูกหลักวิชาการ
ตัวช้ีวัด: - การดาเนนิ การในการจดั การคุณภาพน้าผวิ ดนิ เพมิ่ ขึ้น
- รอ้ ยละท่ีเพ่ิมขึ้นของแหลง่ น้าผวิ ดินมคี ณุ ภาพน้าดขี ้ึน
- การมีแผนบริหารจดั การนา้ เสียเชิงระบบ
- ร้อยละทเี่ พิ่มขน้ึ ของการฟนื้ ฟแู ละพฒั นาเครือ่ งมือการจดั การน้าเสียอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
- รอ้ ยละท่เี พม่ิ ขนึ้ ของโครงการบรหิ ารจดั การระบบน้าเสยี อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หน่วยงานรับผดิ ชอบ
๑.๑.๑ การเพ่ิม ๑.๑.๑.๑ สง่ เสริมการจัดทาแผนแม่บทการจัดการคณุ ภาพนา้ ระดับจังหวดั หนว่ ยงานหลัก: สสภ.๑๓
ประสิทธิภาพการจัดการ และระดับพ้นื ทอ่ี ีอีซี โดยใช้เทคโนโลยที เี่ หมาะสม รวมท้งั การสรา้ งกลไกใน หน่วยงานสนับสนุน:
ระบบบาบัดนา้ เสยี การขับเคลื่อนแผน การสนับสนุนให้ทกุ ภาคสว่ นทีเ่ กี่ยวขอ้ งนาแผนไปปฏิบัติ อปท. / ทสจ. / คพ.
อย่างจรงิ จังและการติดตามแผน
๑.๑.๒ การพัฒนา ๑.๑.๑.๒ สง่ เสริมการจดั การน้าเสยี ชุมชนในลุ่มน้าเชงิ ระบบ ท้งั ตน้ นา้ (การ หนว่ ยงานหลกั : อปท. /
เทคโนโลยีเพ่ือลดปรมิ าณ ลดการปล่อยจากแหล่งกาเนิด) กลางน้า (ศกั ยภาพของระบบรวมรวมและ อบจ. / คพ. / อจน.
น้าเสยี และการนา บาบัดนา้ เสียของเมอื ง ชุมชน และอุตสาหกรรม) และปลายน้า (การนาน้า หนว่ ยงานสนบั สนุน: สสภ.
กลับมาใช้ เสยี ท่ผี ่านการบาบัดกลบั มาใช้) โดยการสารวจและจัดทาแผนที่เส้นทางน้า ๑๓ / คกก. ลมุ่ นา้ / ทสจ.
และจดั ทาแหล่งกาเนดิ น้าเสียเพอื่ แก้ไขปัญหามลพษิ ทัง้ ระบบลุม่ น้า รวมทั้ง
ส่งเสรมิ การจัดการนา้ เสียชุมชนริมทางนา้ ธรรมชาตแิ ละริมชายฝั่งทะเลท่ีมี หนว่ ยงานหลกั : สสภ.๑๓
ความเสอื่ มโทรม ๗ ลาน้า ไดแ้ ก่คลองตาหรุ จะงหวดั ชลบรุ ี คลองพานทอง หน่วยงานสนบั สนนุ :
คลองนครเนอื่ งเขต คลองทา่ ไข่ แมน่ ้าบางปะกง จังหวดั ฉะเชิงเทรา แม่น้า กรอ./อปท. / ทสจ. / คพ.
ระยอง แม่น้าประแสร์ จังหวดั ระยอง ครอบคลมุ ๔๖ อปท. หน่วยงานหลกั : สสภ.๑๓
๑.๑.๑.๓ จดั ให้มีระบบการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพแหล่งน้าผวิ ดนิ แบบ หน่วยงานสนับสนนุ :กรอ./
อจั ฉรยิ ะในพนื้ ท่ีอีอีซี และบรู ณาการข้อมลู ร่วมกบั โครงการเมอื งอัจฉริยะ อปท. / ทสจ. / คพ.
หนว่ ยงานหลกั : คพ. /
๑.๑.๑.๔ สนับสนุนการจดั ทาระบบฐานขอ้ มลู และพัฒนาเคร่ืองมอื ติดตาม ทน. / กรอ.
ตรวจสอบ และเฝ้าระวงั คณุ ภาพน้าจากแหล่งกาเนิดแบบอัจฉรยิ ะและ หน่วยงานสนบั สนุน: กนอ.
บูรณาการข้อมูลรว่ มกับโครงการเมืองอัจฉริยะ / สภาอุตสาหกรรม / ทสจ.
๑.๑.๒.๑ ส่งเสรมิ การบาบัดนา้ เสยี ในคูคลองโดยระบบธรรมชาติ และใช้
เทคโนโลยีที่เหมาะสมและเป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มในการอนุรักษ์แหล่งนา้
เชิงนเิ วศตามแนวพระราชดาริ เช่น ระบบพ้นื ทชี่ ุ่มน้าบงึ ประดิษฐ์ (system
of constructed wetland) กังหนั ชัยพฒั นา การปลกู พชื ดูดซับสารโลหะ
๒ - ๖๐
แผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนงาน แนวทางการปฏิบัติ หน่วยงานรับผิดชอบ
หนกั ในนา้ เปน็ ต้น / สสภ.๑๓ / SCG
๑.๑.๒.๒ พัฒนา ขบั เคลื่อน และผลักดนั การใช้และนาเทคโนโลยีการ หนว่ ยงานหลัก: กนอ.
จดั การน้าตามหลักการเศรษฐกิจหมุนเวยี นในภาคอุตสาหกรรม หน่วยงานสนับสนุน: กรอ.
/ สอท. /.อปท.
๑.๑.๒.๓ สนับสนุนระบบรวบรวมและบาบดั น้าเสยี ให้ครอบคลมุ พื้นท่เี มือง หน่วยงานหลกั : คพ. /
และชมุ ชน และรองรับการขยายตัวของโครงการพัฒนาภายใตข้ ีด ทน. / กรอ.
ความสามารถในการรองรบั ของระบบนเิ วศ โดยเพิ่มประสิทธภิ าพระบบ หน่วยงานสนับสนุน:กนอ.
รวบรวมและบาบัดน้าเสียที่มีอยเู่ ดิม และสง่ เสริมระบบรวบรวมและระบบ / สภาอตุ สาหกรรม / ทสจ.
บาบดั นา้ เสียชุมชนออกจากรางรับน้าฝน จัดทาระบบการจัดการนา้ เสียเพือ่ / สสภ.๑๓ / SCG
ของบประมาณดาเนนิ การ ต้องมีการศกึ ษาความเปน็ ไปได้ (FS) อยา่ ง
เหมาะสม ในกรณที ี่ได้รบั งบประมาณแลว้ การบรหิ ารจัดการต้องเป็นไป หน่วยงานหลัก: สสภ.๑๓
ตามเงอ่ื นไขที่ยื่นขอรบั งบประมาณ ดังนั้น ควรมกี ารเสรมิ สร้างศักยภาพใน หน่วยงานสนบั สนุน:กรอ./
การจดั การระบบใหต้ อ่ เน่ือง และมคี ู่มอื การบรหิ ารจดั การระบบทชี่ ดั เจน อปท. / ทสจ. / คพ.
๑.๑.๒.๔ จดั การน้าเสียจากแหลง่ กาเนดิ ชุมชน โดยการสง่ เสริมการจดั ทา
ระบบบาบัดนา้ เสยี ในครัวเรือนของชุมชน การตดิ ตามตรวจสอบ
แหล่งกาเนดิ นา้ เสียที่พักอาศยั รวม บ้านเรอื น ร้านอาหาร และการจดั ทา
แผนการติดตามควบคมุ การจดั การระบบบาบัดน้าเสียของที่อย่อู าศยั เช่น
หม่บู ้านจัดสรร การเคหะแหง่ ชาติ ที่ไมเ่ ขา้ ขา่ ยต้องจัดทารายงานผลกระทบ
สงิ แวดลอ้ ม (EIA)
กลยุทธท์ ี่ ๑.๒ การจัดการมลพิษทางอากาศ
แผนงาน ๑.๒.๑ การเพ่มิ ประสิทธิภาพการจดั การมลพิษทางอากาศ
เปา้ หมาย: ๑. คณุ ภาพอากาศอย่ใู นระดับมาตรฐาน
ตวั ช้ีวัด: - จานวนวนั ที่ PM10 ในอากาศไม่เกินมาตรฐาน ร้อยละ ๙๙
- มกี ารดาเนนิ การในการลดสาร VOCs เขตควบคมุ มลพิษอย่างต่อเน่ือง
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ัติ หน่วยงานรบั ผิดชอบ
แผนงานท่ี ๑.๒.๑ การ ๑.๒.๑.๑ ควบคุมการปลอ่ ย VOCs ในพ้นื ทอ่ี ุตสาหกรรมเพ่ือลด หนว่ ยงานหลกั : กรอ.
เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการ ผลกระทบต่อสุขภาพและคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม
จดั การมลพษิ ทาง หนว่ ยงานสนับสนุน:
อากาศ ๑.๒.๑.๒ ควบคมุ ตดิ ตามและตรวจสอบการแพรก่ ระจายของมลพิษ
ทางอากาศจากแหลง่ กาเนิดด้วยเทคโนโลยขี ั้นสูง และสรา้ งแรงจงู ใจ กนอ. / อกจ. / สอ.จ.
โดยการยกยอ่ งสถานประกอบการและอตุ สาหกรรมตน้ แบบในการ หนว่ ยงานหลกั : คพ.
รักษาคณุ ภาพอากาศอย่างตอ่ เนอ่ื ง
หนว่ ยงานสนบั สนุน:
๑.๒.๑.๓ สร้างกลไกเพอ่ื สนบั สนนุ การจัดการ เช่น การนามาตรการ
ทางเศรษฐศาสตรส์ งิ่ แวดล้อมตามแนวคดิ PES และ PPP มาสรา้ ง DEPA / กรอ. / กนอ. /
สอ.จ. / สภา
อตุ สาหกรรม
หนว่ ยงานหลกั : คพ.
หน่วยงานสนบั สนนุ :
๒ - ๖๑
แผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ัติ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ
แรงจงู ใจในการพฒั นากองทนุ จัดการสิ่งแวดล้อมภาคตะวนั ออก
DEPA / กรอ. / กนอ. /
สอ.จ. / สภา
อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ท่ี ๑.๓ การจัดการขยะและกากของเสยี อุตสาหกรรม
แผนงานท่ี ๑.๓.๑ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การขยะชุมชน
แผนงานที่ ๑.๓.๒ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะอุตสาหกรรม มูลฝอยติดเช้ือ และกาก
ของเสยี อันตราย
เป้าหมาย: ๑) การมุง่ ส่กู ารไม่มีขยะของเสยี (Zero Waste)
ตวั ชีว้ ัด: - มกี ารดาเนินงานเพ่ือให้ขยะมูลฝอยชมุ ชนไดร้ ับการจดั การอย่างถูกหลักวชิ าการ
- สัดสว่ นการนาของเสยี กลับไปใชใ้ หม่ ร้อยละ ๓๐ ของปริมาณขยะมลู ฝอยชมุ ชนรวม
- กากของเสียอนั ตรายท้ังหมดเขา้ สู่ระบบการจดั การที่ถูกต้อง
- ปรมิ าณขยะทะเลลดลง จนเหลอื ปริมาณใกล้เคยี งกับปี พ.ศ. ๒๕๕๗
แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ
๑.๓.๑ การเพิ่ม ๑.๓.๑.๑ ส่งเสริมการคัดแยกขยะและของเสียทตี่ น้ ทางและหว่ งโซ่ หน่วยงานหลกั : ทสจ. /
ประสิทธภิ าพการ (Material Waste Flow) โดยการจัดทาบัญชีรายการของเสยี และ สสภ.๑๓
จัดการขยะชมุ ชน สง่ เสริมเครอื ขา่ ยให้มธี นาคารขยะชมุ ชน โดยเฉพาะในพนื้ ทรี่ มิ น้าและ หน่วยงานสนบั สนุน: สส.
ชายฝั่งทะเล รวมท้งั การจดั การขยะทะเลทต่ี ้นทางและปลายทางเพือ่ / อปท. / กรอ. / กนอ.
ลดปญั หามลพษิ ขา้ มพรมแดน
๑.๓.๑.๒ เพ่ิมสัดส่วนการนาขยะกลบั ไปใชป้ ระโยชน์ โดยการส่งเสรมิ หนว่ ยงานหลัก: อบจ. /
การใชซ้ า้ (reuse) การนาขยะชมุ ชนกลบั มาใชใ้ หม่ (recycle) การใช้ ทสจ. / สสภ.๑๓
ประโยชนจ์ ากขยะชมุ ชนในการผลติ กระแสไฟฟา้ ชวี มวล (RDF) การ
ออกแบบและใชน้ วตั กรรมเพื่อแปรสภาพของเหลือใชใ้ ห้กลายเปน็ หน่วยงานสนับสนุน: SCG
ผลิตภณั ฑ์ท่ีมมี ลู คา่ (upcycling) เช่น การแปรของเหลอื ใช้ให้เปน็ / พน. / สส. / อปท. /
หนุ่ ยนต,์ กระเป๋า, หมวก ฯลฯ กรอ. / กนอ.
๑.๓.๑.๓ จัดทาระบบจดั การขยะเพือ่ ของบประมาณดาเนนิ การต้องมี หนว่ ยงานหลัก: กรอ.
การศึกษาความเป็นไปได้ (FS) อย่างเหมาะสม และจดั หาพน้ื ที่กาจัด หนว่ ยงานสนับสนนุ :
ขยะโดยการฝงั กลบหรอื ระบบเตาเผาขยะ ซ่งึ อาจเกดิ การคดั คา้ นจาก สสภ.๑๓ / ทสจ. / กนอ.
ภาคประชาชน ดงั นนั้ เพ่ือลดปัญหาในการจดั หาพ้นื ท่ีกาจดั ขยะ จงึ / คพ. / อกจ. / อปท.
ควรมกี ารจัดการขยะท่ตี น้ ทางและการนาขยะกลับมาใชใ้ หม่ อันจะมงุ่
ไปสกู่ ารเป็น Zero Waste
๑.๓.๒ การเพม่ิ ๑.๓.๒.๑ พฒั นาชุมชนตน้ แบบมงุ่ สู่ Zero waste และขยายผลพืน้ ที่ หนว่ ยงานหลกั : กรอ.
ประสทิ ธภิ าพการ ตน้ แบบปลอดขยะไปสสู่ ถานประกอบการและภาคอุตสาหกรรม หน่วยงานสนบั สนุน:สสภ.
จดั การขยะ ๑๓ / ทสจ. / กนอ. /
อุตสาหกรรม มลู ฝอย คพ. / อกจ. / อปท.
๒ - ๖๒
แผนสิ่งแวดล้อมในพนื้ ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนงาน แนวทางการปฏิบัติ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ
ติดเช้ือ และกากของเสยี ๑.๓.๒.๑ สร้างเครอ่ื งมอื กลไกเพือ่ สนับสนนุ การจัดการกากของเสีย หน่วยงานหลัก: กรอ.
อนั ตราย อตุ สาหกรรม โดยการสารวจสถานการณก์ ารปนเปอ้ื นกาก
อุตสาหกรรมและสารพษิ (Brownfield redevelopment) เพอ่ื หน่วยงานสนบั สนุน: คพ.
กาหนดพืน้ ทแ่ี ละมาตรการการแกไ้ ข ฟื้นฟู การติดตามและรายงาน / อก.จ. / กนอ.
เส้นทางการขนย้ายกากของเสียอนั ตรายโดยระบบอตั โนมัติ และจดั ตัง้
ศนู ย์กลางบริหารจดั การกากของเสียอุตสาหกรรมแบบเบด็ เสร็จ
รวมถึงจัดการพน้ื ท่โี ดยใชเ้ ทคโนโลยขี ้ันสงู ในการจัดการของเสียตนเอง
ในพนื้ ท่ี เชน่ ศูนยแ์ ลกเปล่ียนของเสยี (Waste exchange center)
กลยทุ ธท์ ี่ ๑.๔ การพัฒนาสิง่ แวดล้อมเมืองและชมุ ชนนา่ อยู่ตามภมู ินเิ วศ
แผนงานท่ี ๑.๔.๑ สรา้ งความสวยงามและความร่มรน่ื ของเมืองและชุมชน
เป้าหมาย: ๑) การเพ่ิมพ้นื ทสี่ เี ขียวและคานึงถงึ ภูมิทัศนท์ ีส่ วยงาม
ตัวช้ีวดั : เพิม่ พ้ืนที่สเี ขียวเมืองใหไ้ ดต้ ามเกณฑม์ าตรฐานเบ้ืองตน้ (๑๐ ตร.ม./คน)
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ
๑.๔.๑ สร้างความ ๑.๔.๑.๑ สนบั สนุนการจดั ทาและการดาเนินการตามแผนและผงั เพอื่ หนว่ ยงานหลกั : อปท.
สวยงามและความรม่ รน่ื สร้างความสวยงามและความร่มรน่ื ของเมอื งและชมุ ชน ในระดบั ต่าง ๆ หน่วยงานสนบั สนนุ :
ของเมืองและชมุ ชน ท่ีสอดคล้องกับภมู นิ เิ วศในพ้ืนที่ เช่น การจดั ทาแผนและผงั ส่งิ แวดลอ้ ม สถาบันการศกึ ษา
ภูมิทศั นข์ องพื้นทก่ี ารจัดทาผงั ภมู นิ ิเวศระดบั พน้ื ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาค
ตะวันออกและระดบั ทอ้ งถิ่น การจดั ทาแผนจดั การสง่ิ แวดล้อมชุมชน
ดว้ ยผังภมู นิ เิ วศ การผลกั ดนั ผังพนื้ ท่ีเฉพาะให้เป็นไปตามผงั ภูมนิ เิ วศใน
ระดบั ท้องถน่ิ
๑.๔.๑.๒ ส่งเสรมิ การเพม่ิ พ้ืนทส่ี เี ขยี วในเมอื งและในพนื้ ทต่ี า่ ง ๆ ดงั น้ี หนว่ ยงานหลัก: สผ.
(๑) พืน้ ทสี่ เี ขียวสาธารณะ เช่น สวนสาธารณะ (๒) พืน้ ทส่ี เี ขยี ว หนว่ ยงานสนับสนนุ :สส.
อรรถประโยชน์ เช่น พื้นทสี่ เี ขียวสว่ นบคุ คล พื้นท่สี เี ขยี วในสถาบัน / ทสจ. / อปท.
พ้ืนที่สีเขยี วในพ้นื ทีส่ าธารณปู การ พ้ืนทแ่ี นวกันชนกับพ้นื ท่ี
อตุ สาหกรรม (๓) พนื้ ทสี่ เี ขียวที่เปน็ รวิ้ ยาวตามสาธารณปู การ เชน่
พน้ื ทรี่ ิมน้า ริมเส้นทางคมนาคม รมิ ชายฝ่ัง (๔) พืน้ ท่สี เี ขียวเพือ่
เศรษฐกจิ ของชมุ ชน เช่น แหล่งผลติ อาหาร ประเภท ไรน่ า สวนผลไม้
พ้ืนทเ่ี พาะเลย้ี งสัตว์น้า (๕) พืน้ ที่สเี ขียวธรรมชาติ เช่น เนินเขา พรุ
พืน้ ท่ีชมุ่ น้า (๖) พน้ื ทีส่ เี ขียวท่ยี งั ไม่มกี ารใชป้ ระโยชน์ เช่น ทีป่ ลอ่ ยรก
ร้าง
๑.๔.๑.๓ สง่ เสรมิ การเพ่มิ พ้นื ทส่ี เี ขียวในเมอื งทงั้ ในพืน้ ทส่ี าธารณะ หนว่ ยงานหลัก: อปท. /
และในพื้นท่ีเอกชน และสร้างและพฒั นาองค์ความรูใ้ นการดแู ลรักษา อบจ.
ตน้ ไม้ในเมอื ง และผลักดนั ให้หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งนาความร้ไู ปใชใ้ น หน่วยงานสนบั สนนุ :
การดูแลรกั ษาตน้ ไม้ในเมอื ง รวมท้งั การจดั ทาบญั ชขี ้อมลู ต้นไม้ใหญ่ สส./ทสจ./ทสม.
และฝึกอบรมรุกขกรในทอ้ งถ่นิ
๒ - ๖๓
แผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ การจดั การทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่งั ยนื
กลยทุ ธท์ ี่ ๒.๑ การใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม
แผนงานท่ี ๒.๑.๑ การพัฒนาเครื่องมือเพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพการใช้ทดี่ นิ ที่เป็นมติ รกับ
ส่งิ แวดล้อม
เปา้ หมาย: ๑) การสง่ เสริมเกษตรยั่งยนื ในพนื้ ทกี่ ารใช้ประโยชนท์ ด่ี ินประเภทเกษตรกรรม
ตัวชวี้ ัด: - เพม่ิ พ้นื ที่เกษตรย่งั ยืน (ปา่ กินได:้ -ระบบวนเกษตร) เพ่มิ ขึน้
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ
แผนงานที่ ๒.๑.๑ การ ๒.๑.๑.๑ กาหนดแนวทางการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ที่เปน็ มติ ร หนว่ ยงานหลัก: ยผ. /
พัฒนาเครอ่ื งมอื เพอ่ื เพ่มิ กับสิง่ แวดล้อม โดยการผลักดันใหม้ กี ารใชป้ ระโยชนท์ ี่ดินทเ่ี หมาะสม สศก.
ประสิทธภิ าพการใช้ กบั ประเภทของทีด่ ิน เพ่ือปกปอ้ ง คุ้มครองแหล่งเกษตรกรรมสาคญั หนว่ ยงานสนับสนุน:
ที่ดนิ ที่เป็นมิตรกับ ของพืน้ ทใี่ หเ้ ป็นครวั ของโลกและคมุ้ ครองพนั ธ์พุ ืชเศรษฐกจิ ท่ีสาคญั กษ.จว. / อปท. / ภาคี
สิง่ แวดลอ้ ม ของพน้ื ที่ รวมถงึ สรา้ งแรงจงู ใจเพือ่ พฒั นาตอ่ ยอดเพ่ิมมลู ค่าผลผลติ เครือข่ายยผ.
ทางการเกษตร โดยเฉพาะเกษตรอินทรยี ์ จากการบรหิ ารจดั การการ
ผลติ สินคา้ เกษตรตามแผนทเ่ี กษตรเพ่อื การบรหิ ารจดั การเชิงรุก
(Zoning by Agri-Map) และกาหนดพน้ื ทท่ี มี่ ีศกั ยภาพเปน็ เขต
เกษตรกรรมย่ังยืน หรอื ขยายและเพ่มิ ประสทิ ธิภาพพนื้ ที่แนวกันชนสี
เขยี ว (buffer zone)
๒.๑.๑.๒ สง่ เสริมมาตรการเพอ่ื สรา้ งแรงจูงใจในการใช้ทีด่ นิ ท่ีเป็นมติ ร หนว่ ยงานหลกั : สศก. /
กบั ส่ิงแวดล้อม เชน่ ส่งเสรมิ สนบั สนุนเกษตรกรได้รบั การรองรบั ปม.
มาตรฐานปา่ ไม้ (Forest Standard Certification) ประเทศไทย และ หน่วยงานสนบั สนุน:กษ.
การปฏบิ ัติการทางการเกษตรทดี่ ีและเหมาะสม (Good Agricultural
Practices: GAP) รวมท้ังมาตรการแรงจงู ใจทางเศรษฐศาสตรด์ า้ น
ภาษีเพื่อส่งเสริมการดูแลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
และการประกาศเกียรตคิ ณุ สาหรบั หนว่ ยงาน องค์กร บคุ คล
ภาคอตุ สาหกรรม และอสงั หารมิ ทรัพยท์ ่ีดาเนนิ กจิ กรรมทเ่ี ป็นมติ รกบั
สิ่งแวดล้อม
๒ - ๖๔
แผนส่งิ แวดลอ้ มในพนื้ ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
กลยทุ ธท์ ่ี ๒.๒ การจัดการทรัพยากรน้า
แผนงานท่ี ๒.๒.๑ การเพ่มิ ประสิทธิภาพการจดั การน้า
เปา้ หมาย: น้ามเี พยี งพอต่อการอุปโภค บริโภค รักษาระบบนิเวศ การเกษตร อตุ สาหกรรม บริการ
และท่องเท่ียว
ตวั ชี้วดั - เพิ่มประสิทธใิ นการกกั เก็บน้าใต้ผวิ ดิน และนา้ ใต้ดนิ ในพื้นทเี่ กษตรกรรม ตามพนื้ ท่ี
เกษตรกรรมยัง่ ยนื ทีเ่ พม่ิ ข้นึ
- รอ้ ยละทเี่ พิม่ ขึน้ ของการนานา้ เสียที่ผา่ นการบาบัดแล้วนากลับมาใชป้ ระโยชน์
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หน่วยงานรับผิดชอบ
๒.๒.๑ การเพม่ิ ๒.๓.๑.๑ พัฒนาเพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพแหลง่ ทรพั ยากรน้าท่มี ีอยู่ หน่วยงานหลัก: ทน./
ประสิทธภิ าพการจดั การน้า เดมิ ในพื้นทแ่ี ละพัฒนาเพม่ิ แหล่งทรพั ยากรนา้ แหลง่ ใหม่ทีม่ ี ชป.
ศักยภาพในพ้ืนที่ โดยการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการกกั เก็บนา้ ของ
แหล่งน้า รวมทงั้ คูคลอง ในเขตและนอกเขตชลประทาน การ
อนุรกั ษ์ฟน้ื ฟูแหล่งนา้ และพน้ื ท่ชี มุ่ นา้ โดยคานงึ ถึงระบบนเิ วศ
๒.๓.๑.๒ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการจดั การน้าในภาคเมอื งและชมุ ชน หนว่ ยงานหลกั : อปท. /
โดยการสนบั สนุนการพฒั นาแหลง่ กกั เกบ็ นา้ ขนาดเล็กเพอ่ื ชุมชน ชป.จว.
ศึกษาสารวจและพัฒนาพนื้ ทร่ี บั นา้ ของเมอื ง เพอ่ื รบั มอื กบั ความ หน่วยงานสนับสนนุ :
แปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ การสง่ เสรมิ การใช้วัสดุท่ีน้า ทน./พด.
สามารถซึมผ่านไดใ้ นโครงการพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน การฟ้ืนฟู
ระบบคู คลองทง้ั ด้านปริมาณและคณุ ภาพในพน้ื ที่ โดยคานงึ ถึง
ระบบนเิ วศตลอดรมิ คลอง เชน่ ในพื้นทท่ี ่จี าเป็นตอ้ งสร้างเข่อื น
หรือคันควรลดพืน้ ดาดแข็งและพิจารณาใชโ้ ครงสรา้ งทางธรรมชาติ
รวมกบั โครงสร้างทางวศิ วกรรม
๒.๓.๑.๓ เพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั การนา้ ในภาคอตุ สาหกรรม โดย หน่วยงานหลกั : กรอ.
การรณรงค์ให้โรงงานอุตสาหกรรมกกั เกบ็ บ่อนา้ ของตนเอง และ หน่วยงานสนบั สนนุ :
การรณรงค์ผลักดันโรงงานในพนื้ ที่ปรบั ระบบการผลิตทล่ี ดการใช้ กนอ. / สภาอตุ สาหกรรม
นา้ และเพม่ิ การนานา้ เสยี กลับมาใชห้ มุนเวยี นในระบบเพมิ่ ข้นึ / สอท.
๒ - ๖๕
แผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
กลยทุ ธท์ ี่ ๒.๓ การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
แผนงานท่ี ๒.๓.๑ การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการจดั การความหลากหลายทางชวี ภาพ
เป้าหมาย ปา่ ไม้ ปา่ ชายเลน พ้ืนที่ชมุ่ น้า มีความหลากหลายทางชวี ภาพที่ดี
ตวั ชว้ี ดั - มกี ารป้องกัน ดูแล รกั ษา และฟื้นฟูในระบบนิเวศ ป่าบก ปา่ ชายเลน พื้นทชี่ มุ่ นา้ พน้ื ที่
เกษตรกรรมย่ังยนื อย่างมีส่วนรว่ มเพ่มิ ขนึ้
- มแี หล่งที่รักษาความหลากหลายทางชีวภาพเพม่ิ ข้นึ
- มีฐานขอ้ มูลความหลากหลายทางชวี ภาพ
- มีแหลง่ ทอ่ งเที่ยวเชงิ นิเวศและวฒั นธรรมและเช่ือมโยงกนั เพม่ิ ข้นึ
- มีจานวนนวัตกรรมการแปรรูปและเพ่ิมมูลคา่ จากความหลากหลายทางชีวภาพ
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ
๒.๓.๑ การเพิม่ ๒.๓.๑.๑ อนุรักษ์ ฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพท้ังทางบกและ หนว่ ยงานหลัก: ทช. /
ประสิทธภิ าพการจดั การ ทางทะเล เช่น การอนุรักษ์ และฟื้นฟูพ้ืนที่ชุ่มน้า การอนุรักษ์และ ทน.
ความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ พัฒนาพืชท้องถิ่น โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจประจาถ่ิน การศึกษา หน่วยงานสนับสนุน:
พัฒนานิเวศป่าต้นน้ารอยต่อป่า ๕ จังหวัด ที่ส่งเสริมบทบาทการ ส ผ . / อ ส . / ป ม . /
ใหบ้ ริการนิเวศของปา่ ต่อสตั ว์ป่าและชมุ ชนใกลเ้ คยี ง ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า /
อปท. / เครือข่ายประชา
สังคม
๒.๓.๑.๒ สร้างและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมที่ หนว่ ยงานหลกั : พน. /
สอดคล้องกับวิถีชุมชน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยการศึกษารวบรวม สผ.
ข้อมูลอัตลักษณ์ของพื้นที่เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับการ หน่วยงานสนับสนุน:
ท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศและวัฒนธรรม เกษตร และสุขภาพจาก พม. / ททท. / สทกจ./
ฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น ชุมชนชายฝ่ังและปาก สสภ.๑๓ / อปท.
แมน่ า้ บางปะกง และเขตพื้นทเ่ี มืองเก่า และย่านชมุ ชนเก่า
๒.๓.๑.๓ ส่งเสริมนวัตกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชนในสถาน หน่วยงานหลัก: พม.
ประกอบการหรือองค์กรธุรกิจในแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ เพ่ือเพิ่ม หนว่ ยงานสนับสนนุ :
มูลคา่ จากความหลากหลายทางชวี ภาพ สศก. / เครือขา่ ยเพ่ือน
ตะวันออก / ททท. /
สทกจ.
๒ - ๖๖
แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
กลยุทธท์ ่ี ๒.๔ การจัดการทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง
แผนงานที่ ๒.๔.๑ การเพิม่ ประสิทธภิ าพการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
เป้าหมาย: ป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังให้คงความอุดมสมบรู ณ์
ตวั ช้วี ดั - พ้นื ทป่ี ่าชายเลนไม่นอ้ ยกว่าในปี พ.ศ.๒๕๕๖
- พน้ื ทป่ี ะการงั ไดร้ ับการฟืน้ ฟู และปะการงั ทีม่ ชี ีวติ เพิม่ ขึ้น
- แหลง่ หญา้ ทะเลที่ได้รับการฟนื้ ฟู
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ัติ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ
แผนงานที่ ๒.๔.๑ การ ๒.๔.๑.๑ วางแผนการใช้ประโยชน์เชิงพน้ื ทที่ างทะเล (Marine หนว่ ยงานหลัก: ศวทอ.
เพิม่ ประสิทธิภาพการ Spatial Planning) โดยมีการศกึ ษาและวเิ คราะหเ์ ชงิ พื้นท่ีทางทะเล หน่วยงานสนับสนุน:
จัดการทรัพยากรทาง ใหเ้ ชือ่ มโยงมติ ดิ า้ นทรัพยากร นิเวศทางทะเล สิ่งแวดลอ้ ม มลพิษ เพ่ือ ทช. / คพ.
ทะเลและชายฝง่ั บรู ณาการการจัดการอยา่ งเป็นระบบของพืน้ ที่บนบกและทางทะเล
และการจดั ทาระบบประเมนิ แบบ real time เพ่อื ติดตาม และเฝ้า
ระวังมลพิษส่ิงแวดล้อมโดยเฉพาะพื้นที่ทะเลและชายฝัง่ ทม่ี ีความ
เปราะบางและอ่อนไหว เพอื่ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพการฟ้นื ฟูทรพั ยากร
ทางทะเลและชายฝงั่ บรเิ วณแนวเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
๒.๔.๑.๒ ศึกษา พฒั นา ตอ่ ยอด และเผยแพร่ความรแู้ ละจดั ทา หนว่ ยงานหลัก: ทช.
ฐานขอ้ มูลระบบสารสนเทศ (Big data) ทรพั ยากรทางทะเลและ หน่วยงานสนับสนนุ :
ชายฝ่ังและรณรงคเ์ ผยแพร่ เพ่อื เป็นข้อมูลในการฟนื้ ฟทู รัพยากรทาง อสทล. / เครือขา่ ย
ทะเลและชายฝัง่ ทย่ี งั่ ยนื บริเวณแนวเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ประมงชายฝ่งั / ศวทอ.
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสรา้ งศกั ยภาพชุมชนพ่ึงตนเองและรับมอื ต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและ
อบุ ตั ภิ ัย
กลยุทธท์ ี่ ๓.๑ การสนับสนุนชมุ ชนพ่ึงตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แผนงานที่ ๓.๑.๑ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพกลไกการขบั เคล่ือนชมุ ชนพงึ่ ตนเองตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
เป้าหมาย: ชุมชนมีองค์ความรู้และความสามารถในการยกระดับตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินสกู่ าร
พง่ึ ตนเอง
ตัวชี้วัด: มีชุมชนพึ่งตนเองเพิ่มข้ึน โดยท่ีชุมชนพึ่งตนเองมีการดาเนินการใน ๕ กิจกรรม คือ
(๑) มีโครงการสร้างความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม (๒) มีกลุ่ม เครือข่าย องค์กรชุมชน
ในการจัดการ (๓) มีแผนงาน โครงการ กิจกรรมในการจัดการทรัพยากร (๔) มีกลุ่ม
เกษตรอินทรีย์ กลุ่มป่าครอบครัว และกลุ่มวนเกษตร มีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่
ย่ังยืน และ (๕) มีองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ปรับตัว การสร้างนวัตกรรมในการจัดการ
สงิ่ แวดลอ้ ม
๒ - ๖๗
แผนสิ่งแวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ัติ หน่วยงานรับผดิ ชอบ
๓.๑.๑ การเพม่ิ ประสิทธิภาพ ๓.๑.๑.๑ สง่ เสริมสนบั สนนุ การจดั ทาระบบข้อมูลเครอื ขา่ ย หนว่ ยงานหลัก: ภาคี
กลไกการขับเคลอ่ื นชมุ ชน เกษตรยงั่ ยนื เพอ่ื การพึ่งตนเอง ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ เครือขา่ ยเกษตรยงั่ ยืน /
พึง่ ตนเองตามหลกั ปรัชญา พอเพียง อปท. / สศก. 6
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง หน่วยงานสนบั สนนุ : กษ.
๓.๑.๑.๒ สร้างต้นแบบการประยุกตแ์ ละขยายผลการนาหลัก จว. / สอ.จ. / Depa
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการจัดการสง่ิ แวดล้อมที่ หน่วยงานหลกั : สานกั งาน
ยั่งยนื ในทุกกจิ กรรม ทั้งในชุมชน สถานประกอบการ โรงงาน กปร.
อุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวมทงั้ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ เพื่อ หนว่ ยงานสนับสนนุ : ทสจ.
ถา่ ยทอด ต่อยอดความรูจ้ ากภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นและวัฒนธรรม / ปราชญ์ชมุ ชน / ศูนย์
ชุมชนสู่การพึง่ ตนเอง ศกึ ษาการพฒั นาเขาหนิ
๓.๑.๑.๓ ส่งเสรมิ การจดั ทาหนง่ึ อาเภอ หนึ่งเครือขา่ ยเกษตร ซอ้ น / มทร. ตะวนั ออก
ทฤษฏใี หม่ หน่วยงานหลกั : พด /
กรมวิชาการเกษตร
หน่วยงานสนบั สนนุ :สส. /
ทสจ./ทสม./อปท.
กลยทุ ธ์ที่ ๓.๒ การบรรเทาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ
แผนงานท่ี ๓.๒.๑ การเพิ่มพ้นื ท่แี หล่งดดู ซับและกกั เกบ็ ก๊าซเรอื นกระจก
แผนงานท่ี ๓.๒.๒ การผลกั ดันมาตรการในการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก
แผนงานที่ ๓.๒.๓ การสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในการปรบั ตัวตอ่ การรองรับการ
เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
เปา้ หมาย: ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทียบเทา่ ในบรรยากาศลดลง
ตัวชี้วัด: ปริมาณการปล่อยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ (เทยี บเทา่ ) ในพนื้ ท่ลี ดลง ตามเปา้ หมายท่ี
กาหนดในแผนทนี่ าทางการลดกา๊ ซเรือนกระจก พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๓
แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรับผิดชอบ
๓.๒.๑ การเพม่ิ พืน้ ท่ี ๓.๒.๑.๑ สนบั สนนุ การเพิม่ พ้นื ทป่ี ่าทง้ั ภาครัฐและเอกชนเพื่อเป็น หน่วยงานหลกั : อส./ ปม.
แหล่งดูดซับและกักเก็บ แหล่งดดู ซับและกักเก็บเรอื นกะจก หนว่ ยงานสนบั สนนุ :
กา๊ ซเรอื นกระจก อปท.
๓.๒.๑.๒ สนับสนุนการเพม่ิ ความชนื้ ในปา่ โดยการสรา้ งฝายตน้ นา้ หนว่ ยงานหลัก: อส./ ปม.
ลาธารตามแนวพระราชดาริ การปลกู เสรมิ เพมิ่ ความหลากหลายทาง หน่วยงานสนับสนนุ :
ชวี ภาพและชน้ั เรือนยอด อปท.
๓.๒.๑.๓ เพ่มิ ประสิทธภิ าพการซมึ ซบั น้าในระบบนเิ วศป่าไม้ดว้ ย หน่วยงานหลัก: อส./ ปม.
ระบบคลองไสไ้ ก่ คคู ลองก้างปลาตามแนวพระราชดาริ หนว่ ยงานสนบั สนนุ :
อปท.
๓.๒.๒ การผลกั ดนั ๓.๒.๒.๑ สนบั สนนุ การขับเคล่ือนการลดกา๊ ซเรอื นกระจก ตาม หนว่ ยงานหลัก: สกพอ.
๒ - ๖๘
แผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หน่วยงานรับผิดชอบ
มาตรการในการลดการ หลักการเศรษฐกจิ ชีวภาพ เศรษฐกิจหมนุ เวยี น และเศรษฐกจิ สเี ขยี ว หน่วยงานสนบั สนนุ : อบก.
ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ในภาคอุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม เกษตรกรรม เมอื งและชุมชน
๓.๒.๒.๒ ส่งเสริมการใช้พลงั งานที่เปน็ มิตรตอ่ สงิ่ แวดล้อมในภาคการ หนว่ ยงานหลกั : พน. /
๓.๒.๓ การสง่ เสรมิ การ ขนสง่ ภาคอุตสาหกรรม ภาคเมืองและชมุ ชน ตามมติคณะรัฐมนตรี อบก.
มีส่วนรว่ มของทกุ ภาค เร่ืองแผนทนี่ าทางการลดกา๊ ซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. หนว่ ยงานสนบั สนนุ : สก
ส่วนในการปรับตวั ตอ่ ๒๕๖๔ – ๒๕๗๓ พอ.
การรองรบั การ ๓.๒.๓.๓ สนบั สนนุ การพฒั นาเมอื งให้เป็นเมอื งคารบ์ อนต่า หนว่ ยงานหลกั : อบก.
เปลย่ี นแปลงสภาพ หนว่ ยงานสนบั สนนุ :
ภูมิอากาศ ๓.๒.๓.๑ สง่ เสรมิ การปรบั ตวั และพฒั นาต่อยอดการใชป้ ระโยชน์ อปท. / สนง.จังหวดั /สสภ.
ทรพั ยากรสเู่ ศรษฐกิจชีวภาพ และสง่ เสรมิ การแลกเปลย่ี นซือ้ ขาย ๑๓
คาร์บอนเครดติ ระหว่างภาคอตุ สาหกรรมกับภาคเกษตรกรรม หน่วยงานหลกั : สพภ.
อบก. / สกพอ.
หนว่ ยงานสนบั สนนุ : สสภ.
๑๓ / ทสจ./
สภาอุตสาหกรรม /กนอ. /
กษ./ กรอ / อปท.
กลยทุ ธ์ที่ ๓.๓ การจัดการภัยพบิ ตั ิ อุบัติภยั โรคระบาด และสภาวะสุดข้ัวจากการเปลีย่ นแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศ
แผนงานที่ ๓.๓.๑ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจัดการอุบัตภิ ัยและภัยพบิ ตั ิ
เป้าหมาย: การลดและปอ้ งกนั การเกิดอุบตั ิภยั รวมท้งั ผลกระทบจากอบุ ัติภัย
ตวั ชีว้ ดั : - มีระบบเตอื นภยั และการจัดการภยั ในพน้ื ทเี่ สย่ี ง
- จานวนองคก์ รหรอื เครือข่ายด้านอบุ ตั ิภัยในชมุ ชนเพิ่มข้ึน
- จานวนประชากรท่ีเสยี ชีวิต สูญหาย ไดร้ ับบาดเจบ็ หรอื ตอ้ งโยกย้ายทอี่ ยเู่ นอื่ งจากอุบตั ภิ ัย
หรอื ไดร้ บั ผลกระทบจากอุบตั ิภัยลดลง
แผนงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ
๓.๓.๑ การเพิ่ม ๓.๓.๑.๑ จัดให้มีแผนการจัดการภัยพิบัติและอุบัติภัยที่ หน่วยงานหลกั : ปภ. / คพ.
ประสทิ ธภิ าพการจดั การ ครอบคลุมภัยที่สลับซับซ้อนและสถานการณ์ท่ีเลวร้ายท่ีสุด ทั้ง หน่วยงานสนับสนุน: กรอ. /
อุบตั ภิ ยั และภยั พิบัติ จากภัยธรรมชาติ โรคระบาด อุบัติภัยสารเคมี ภัยเชิงผสม กนอ. / เครอื ขา่ ย จป.
ระหวา่ งภยั ธรรมชาตกิ ับอบุ ัตภิ ัยสารเคมี (natural-technologic
risks: natech) และภัยเชิงระบบอื่น ๆ (systemic risks) ตลอด
วงจรการจัดการภัยพิบัติ (ได้แก่ การจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน
และการเผชิญเหตุ การฟ้ืนตัว และการเตรียมความพร้อม) โดย
คานึงถึงบริบทเฉพาะ เช่น (๑) อุบัติภัยตามแนวเส้นทางการ
ขนส่ง ทางบก ทางราง ทางน้า และทางอากาศ รวมถึงการสร้าง
๒ - ๖๙
แผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
แผนงาน แนวทางการปฏิบตั ิ หนว่ ยงานรับผิดชอบ
ความเข้มแข็งของท้องถ่ินตามแนวเส้นทางการขนส่ง (๒)
อุบัติภัยในพื้นท่ีวางตู้สินค้า (๓) การวิเคราะห์ ศึกษา ควบคุม
ความเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาเมืองและชุมชนที่ส่งผลต่อ
ปัญหาภยั พิบตั แิ ละอุบัตภิ ัย ทง้ั น้ี ในการจดั ทาแผนการจัดการภยั
พิบัตแิ ละอบุ ัติภัยจะชว่ ยลดความเสย่ี งจากภยั ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ รวมถงึ
เพิ่มประสิทธิภาพในการรับมือ และฟื้นฟูอย่างยั่งยืน ซ่ึงมีความ
สอดคล้องกับแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๕๘
๓.๓.๑.๒ จัดให้มีแผนการจัดการและแผนปฏิบัติการสาหรับภัย หนว่ ยงานหลกั : ปภ. / คพ.
เฉพาะด้าน เชน่ ภัยทเี่ กีย่ วกับนา้ หน่วยงานสนับสนุน: กรอ. /
(นา้ ทว่ ม น้าแลง้ ) ที่ครอบคลุมภาคการเกษตรสาคัญในพืน้ ที่ เช่น กนอ. / เครอื ขา่ ย จป.
พชื สวนและผลไม้
๓.๓.๑.๓ จัดทาฐานข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการจัดการ หน่วยงานหลัก: กรอ. /
อบุ ัติภยั และภัยพิบัติทุกประเภท เช่น สนบั สนนุ ให้มีระบบ IT ใน กนอ.
การประเมินความเสี่ยงและการคาดการณพ์ ้ืนทเี่ สี่ยงภัย เพอื่ เป็น หนว่ ยงานสนับสนนุ : คพ. /
ข้อมูลในจัดทาแผนรองรับกรณีฉุกเฉิน ซึ่งจะช่วยสนับสนุน อปท. / ERTC
ยุทธศาสตรก์ ารลดความเสี่ยง การเพ่ิมประสิทธิภาพในการฟื้นฟู
รวมถึงการบูรณาการการจัดการในภาวะฉุกเฉิน ในแผนป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘
๓.๓.๑.๔ ขยายผลการนาร่องการบังคับใช้กฎหมายการ หนว่ ยงานหลัก: อก. / กรอ.
ปลดปล่อยและเคล่ือนย้ายมลพิษ (PRTR) ให้ครอบคลุมพ้ืนท่ีอีอี / กนอ.
ซี หน่วยงานสนับสนนุ : คพ. /
อปท. / ERTC
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การและกลไกการมสี ่วนร่วมเพ่ือขบั เคลือ่ นแผนส่กู าร
ปฏิบัติ
กลยุทธ์ท่ี ๔.๑ การพัฒนาศักยภาพในการบรหิ ารจดั การและกลไกการมสี ว่ นรว่ ม
แผนงานท่ี ๔.๑.๑ การทบทวนและปรับปรุงกฎ ระเบยี บ กฎหมาย และแผนท่ีเอ้ือต่อการบรหิ าร
จัดการ
แผนงานท่ี ๔.๑.๒ การสง่ เสริมการมสี ่วนร่วมทเ่ี ปน็ ธรรม
เป้าหมาย ๑) มีการศึกษา ปรับปรงุ พฒั นากฎ ระเบียบ ที่เปน็ อปุ สรรคต่อการบริหารจดั การ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
๒) การเพ่ิมบทบาทหน้าท่ใี นระดบั พนื้ ท่ีในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ้ ม
๒ - ๗๐