The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ 2) พ.ศ. 2565 - 2570

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ONEP-EEC, 2021-12-21 05:22:35

แผนสิ่งแวดล้อมฯ ระยะที่ 2 พ.ศ. 2565 - 2570

แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ 2) พ.ศ. 2565 - 2570

Keywords: แผนสิ่งแวดล้อม,พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

เพอื่ ผลกั ดันใหเ้ กดิ การดาเนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์และแนวทางการปฏิบัติของแผนฯ และสามารถเกิดผล
ในทางปฏิบัติ บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ได้ จาเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากทุก
ภาคส่วน โดยมีแนวทางการขบั เคล่ือนแผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ไปสูก่ ารปฏิบัติ และบรรลุผลสาเร็จได้ดงั นี้

๒. ประเด็นท่มี คี วามสาคัญในระดบั พ้ืนที่ซ่ึงควรดาเนินการเร่งด่วน (Flagship Projects) และผลกั ดันใน
ระดบั นโยบาย

การจัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระยะท่ี ๒ ได้มีการจัดลาดับ
ความสาคัญของโครงการ โดยให้ความสาคัญกับประเด็นปัญหาท่ีคั่งค้างในพ้ืนท่ีซ่ึงพิจารณาจากโครงการ
เร่งด่วนท่อี ยู่ในแผนส่งิ แวดล้อมในพื้นทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี๑) พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ที่ยัง
ไม่ได้ดาเนินการ โดยเห็นสมควรให้นามาผลักดันเป็นโครงการเร่งด่วนในแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการจัดการ แก้ไขปัญหา
ทรัพยากรธรรมกรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ระดับจังหวัด ร่วมกับการพิจารณาความสาคัญจากข้อมูล
การวิเคราะห์แรงกดดันท่ีจะส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่ สถานการณ์และ
แนวโน้มของระดับความรุนแรงท่ีเพิ่มข้ึน และระดับความสามารถในการรองรับของพื้นท่ี ซึ่งพบว่าการจัดการ
น้าเสีย ขยะ คุณภาพอากาศโดยเฉพาะในประเด็นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และความสมดุลของ
ทรัพยากรน้า เป็นปัญหาที่พบอย่างต่อเน่ืองและมีแนวโน้มที่รุนแรงข้ึน จึงมีความจาเป็นเร่งด่วนเพ่ือการ
บรรเทาแกไ้ ขปญั หา โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี

๒.๑ น้าเสีย
หลกั การ
จากสถานการณ์น้าเสียชุมชน พบว่า ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีปริมาณน้าเสียชุมชน
๔๔๗,๒๑๕ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ คาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น ๙๑๓,๖๒๔ ลูกบาศก์เมตรต่อ
วัน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ในส่วนของจังหวัดฉะเชิงเทรา มีปริมาณน้าเสีย ๑๐๗,๔๓๖.๙๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
คาดการณ์ว่าจะเพ่ิมเป็น ๑๔๙,๐๖๔ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ จังหวัดชลบุรี มีปริมาณน้าเสีย
๒๓๐,๖๖๓.๔๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คาดการณ์ว่าจะเพิ่มเป็น ๔๘๗,๕๖๖ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ในปี พ.ศ.
๒๕๗๐ และจังหวัดระยอง มีปริมาณน้าเสีย ๑๐๙,๑๑๔.๓๕ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คาดการณ์ว่าจะเพิ่มเป็น
๒๗๖,๙๙๓ ลูกบาศกเ์ มตรต่อวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐
จากการเฝ้าระวังคุณภาพน้าในแหล่งน้าผิวดิน (แม่น้าและคลองสาขา) ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ศึกษา ๓ จังหวัด คือ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง โดย
สานักงานสงิ่ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓ (ชลบุร)ี ได้ทาการประเมินคุณภาพน้าผิวดิน พบวา่ แหล่งนา้ ผิวดินทม่ี ีคุณภาพ
อยู่ในเกณฑ์เส่ือมโทรม ได้แก่ คลองนครเนื่องเขต คลองท่าไข่ จังหวัดฉะเชิงเทรา คลองตาหรุ จังหวัดชลบุรี
และแม่น้าระยอง แม่น้าประแสร์ จังหวัดระยอง ในขณะท่ี แหล่งน้าผิวดินท่ีมีคุณภาพน้าเส่ือมโทรมมาก ได้แก่
คลองพานทอง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา

๗-๔

แผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

นอกจากน้ัน สถานการณ์คุณภาพน้าทะเลและชายฝั่งในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

เมื่อพิจารณาค่าดัชนีคุณภาพน้าทะเล (MWQI) พบว่า คุณภาพน้าทะเลอยู่ในเกณฑ์ดีมาก คิดเป็น ร้อยละ ๒

เกณฑ์ดี รอ้ ยละ ๕๔ พอใชร้ ้อยละ ๒๗ เส่อื มโทรม รอ้ ยละ ๑๕ เส่ือมโทรมมาก รอ้ ยละ ๒ โดยพืน้ ที่ทม่ี ีคุณภาพ

น้าทะเลเสื่อมโทรม พบบริเวณท่าเรือ แหล่งชุมชนหนาแน่น แหล่งเพาะเล้ียงสัตว์น้า และแหล่งท่องเที่ยวที่มี

คลองไหลผ่านมาจากชุมชน ท้ังนี้ คุณภาพน้าผิวดินมีอิทธิพลต่อคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งในพื้นที่ ดังนั้นการ

จดั การน้าเสียที่ยงั ไม่คลอบคลุมในทุกพน้ื ท่ี จึงเป็นปัจจัยหน่ึงที่สัมพันธ์กบั ปญั หาคุณภาพน้าทะเลชายฝ่ังท่เี ส่ือม

โทรมลง

จากข้อมูลระบบบาบดั นา้ เสียชุมชนในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่า ในจังหวัดฉะเชิงเทรา

มีเพียงเทศบาลตาบลบางคล้าท่ีพ้ืนท่ีบริการของระบบบาบัดน้าเสียครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐ ของพื้นที่เทศบาล

อยา่ งไรกต็ ามระบบดังกล่าวมคี วามเสียหาย เช่น ระบบชารุด สถานีสบู ชารุด อุปกรณช์ ารุด ฯลฯ รวมถึงปัญหา

จากน้าเค็มจากภายนอกไหลเข้าระบบทาให้เคร่ืองจักรและระบบท่อส่งน้าเสียชารุดเร็ว ในส่วนของจังหวัด

ชลบุรี และจังหวัดระยอง พบว่า ระบบรวบรวมน้าเสียยังไม่ครอบคลุมพ้ืนท่ีทั้งหมดประกอบกับแนวโน้มของ

ปรมิ าณน้าเสียที่เพิ่มขนึ้ จากการเพิ่มขึ้นของประชากรในพ้นื ที่ทาใหป้ ัญหาน้าเสยี ยงั คงมีอยู่ในพ้ืนทีอ่ ย่างต่อเนือ่ ง

โดยแหล่งน้าธรรมชาติในพื้นท่ีส่วนใหญ่มีค่าดัชนีคุณภาพน้าผิวดิน (WQI) ในระดับ ๓ หรือ ระดับพอใช้ และมี

แนวโน้มท่ีจะเส่ือมโทรมเพิ่มมากข้ึน ดังนั้น การแก้ไขปัญหาเร่ืองน้าเสียจึงมีความสาคัญสมควรท่ีต้องเร่ง

ดาเนนิ งานเพอ่ื สรา้ งคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มและคุณภาพชวี ติ ของประชาชนในพืน้ ทท่ี ด่ี ตี ่อไป

แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ มีโครงการ

เร่งด่วนท่ีเกี่ยวข้องกับประเด็นการแก้ไขปัญหาด้านน้าเสีย รวม ๑๐ โครงการ รวมงบประมาณ ๒,๔๒๒.๔๑

บาท

โครงการเรง่ ด่วนในการแกไ้ ขปัญหานา้ เสียอย่างเปน็ ระบบ

ลาดบั โครงการ ชื่อโครงการ งบประมาณ

ท่ี (ลา้ นบาท)

๑. ๑. EEC โครงการจดั ทาและติดตามแผนแมบ่ ทการจดั การคณุ ภาพนา้ เชิงลมุ่ นา้ ระดับจังหวดั ๑๖.๕
โดยใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม

๒. ๒. EEC โครงการจดั การน้าเสยี ชมุ ชนริมทางนา้ ธรรมชาติและริมชายฝงั่ ทะเลทีม่ คี วามเสื่อม ๒๗
โทรม (๗ ลาน้า ๔๒ อปท.)

๓. ๓. EEC โครงการจดั ทาระบบฐานข้อมูล และพัฒนาเครื่องมือ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และเฝา้ ๑๔
ระวัง คุณภาพนา้ จากแหลง่ กาเนิดแบบอจั ฉริยะและบรู ณาการข้อมลู รว่ มกบั

โครงการเมอื งอัจฉรยิ ะ

๔. ๔. EEC โครงการบาบดั น้าเสียในคคู ลอง และในพืน้ ท่ีท่ีมศี ักยภาพ เชน่ สถานศึกษา วดั ๑๘
พ้ืนทเ่ี อกชน ฯลฯ โดยระบบธรรมชาติ และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมและเปน็ มติ รกบั

สิ่งแวดลอ้ ม เพอ่ื การอนรุ กั ษ์แหล่งนา้ เชิงนิเวศตามแนวพระราชดาริ เชน่ ระบบ

พน้ื ทีช่ มุ่ นา้ บงึ ประดษิ ฐ์ (system of constructed wetland) กังหันชยั พัฒนา

เป็นต้น

๕. ๕. EEC โครงการพฒั นา ขบั เคล่ือน และผลักดัน การใช้และนาเทคโนโลยกี ารจดั การนา้ ๘

๗-๕

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ลาดบั โครงการ ชอ่ื โครงการ งบประมาณ

ที่ (ล้านบาท)

ตามหลักการเศรษฐกจิ หมุนเวียนในภาคอตุ สาหกรรม

๖. ๑. ฉช โครงการพฒั นาระบบรวบรวมและบาบดั นา้ เสียรวม เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา ๓๐

จงั หวดั ฉะเชิงเทรา

๗. ๒. ฉช โครงการจดั หาและตดิ ตั้งเคร่ืองมือตรวจวัดคณุ ภาพนา้ อัตโนมตั ิ เพอ่ื ติดตาม ๒๙.๓๑

ตรวจสอบ และเฝ้าระวงั แม่น้าบางประกง คลองนครเนือ่ งเขต คลองทา่ ไข่ คลอง

พานทอง และคลองท่าลาด

๘. ๓. ฉช โครงการเฝ้าระวงั การปนเป้อื นของแหล่งน้า ล่มุ นา้ (อา่ งเก็บน้า หนอง บึง) ด้วย ๑๒

เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมจากความเปน็ กรดสูงและการปนเป้ือนโลหะหนกั ในลุ่มน้า

แม่โจน อาเภอพนมสารคาม

๙. ๑. รย โครงการกอ่ สรา้ งระบบรวบรวมและระบบบาบดั นา้ เสยี รวมอาเภอปลวกแดง (พ้นื ท่ี ๓๕๐.๐

จดั การนา้ เสียตาบลปลวกแดง)

*อยรู่ ะหว่างการขอรับงบประมาณปี ๒๕๖๖

๑๐. ๒. รย โครงการกอ่ สรา้ งระบบรวบรวมและระบบบาบดั นา้ เสยี ในพืน้ ท่เี ขตควบคมุ มลพิษ ๑,๙๑๗.๖

จงั หวัดระยอง

- เพมิ่ ประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การน้าเสียในเขตควบคุมมลพษิ ทต บ้าน

ฉาง ทม. มาบตาพุด ทน ระยอง (๙๕๘.๘ ล้านบาท) (อยู่ระหว่างการขอ

งบประมาณ)

- ก่อสร้างระบบรวมรวมและระบบบาบัดน้าเสยี ในพนื้ ท่ีเขตควบคมุ มลพษิ

จงั หวดั ระยอง ทน. ระยอง (๓๘๓.๘ ลา้ นบาท) (อย่รู ะหวา่ งการของบประมาณ)

- ปรับปรงุ และเพมิ่ ประสิทธิภาพระบบบาบดั นา้ เสยี ทม.มาบตาพดุ (๕๐๒ ลา้ น

บาท) (อยู่ระหวา่ งการออกแบบ)

- ก่อสรา้ งระบบรวมรวมและระบบบาบัดน้าเสีย ทต.บา้ นฉาง (๗๓ ล้านบาท)

(อยู่ระหวา่ งการของบประมาณ)

รวมโครงการเรง่ ด่วนในการจดั การน้าเสยี ๑๐ โครงการ ๒,๔๒๒.๔๑

หมายเหตุ: - EEC คือ โครงการภายใต้แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ –

๒๕๗๐

- ฉช. คือ โครงการภายใตแ้ ผนส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั ฉะเชงิ เทรา

- รย. คือ โครงการภายใต้แผนสิง่ แวดลอ้ มจงั หวดั ระยอง

๒.๒ ขยะ

หลกั การและเหตุผล

สถานการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มี

ประมาณ ๑.๖๘ ล้านตัน มีปริมาณขยะมูลฝอยท่ีกาจัดไม่ถูกต้อง ร้อยละ ๒๗.๖๔ โดยในจังหวัดฉะเชิงเทรา

ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน ๐.๒๗ ล้านตัน จังหวัดชลบุรี ๑.๐๕ ล้านตัน และจังหวัดระยอง มีปริมาณ ๐.๓๕

ล้านตัน ทั้งนี้ ในจังหวัดฉะเชิงเทราปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัดไม่ถูกต้องมากที่สุด คือ ๐.๒๒ ล้านตัน คิดเป็น

๗-๖

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ร้อยละ ๘๐.๔๓ ของปริมาณขยะที่เกิดข้ึน จากข้อมูลปริมาณขยะท่ีเกิดขึ้นในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ๔,๘๙๙ ตนั ต่อวัน คาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้น
เป็น ๗,๑๒๖ ตันต่อวันในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เช่นเดียวกับปริมาณขยะมูลฝอยระดับจังหวัด จังหวัดฉะเชิงเทรา
ชลบุรี ระยอง มปี ริมาณขยะ ๘๙๒ ๓,๐๑๘ และ๙๘๙ ตัวต่อวัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และจะเพิ่มขน้ึ เป็น ๑,๑๖๓
๓,๘๐๓ ๒,๑๖๑ ตันตอ่ วัน ตามลาดับ ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐

ในส่วนของมูลฝอยติดเชื้อ ในปีพ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า มีปริมาณมูลฝอยติดเช้ือ ๒,๐๕๖.๙๑ ตัน/ปี หรือ
คิดเป็น ๕.๖๓ ตันต่อวัน โดยสถานการณ์มูลฝอยติดเช้ือมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น โดยสาเหตุหลักท่ีสาคัญคือการแพร่
ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่เกิดข้ึนตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นมา ในขณะที่ความสามารถในการกาจัด
ปจั จุบัน โดยองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั ระยองเปน็ หน่วยงานที่ดาเนินการรับกาจัดมูลฝอยตดิ เชื้อท้งั ในเขตและ
นอกเขตจังหวัดระยองด้วยระบบเตาเผาได้มาตรฐานตามหลักวิชาการ สามารกาจัดได้ ๓.๖ ตันต่อวัน และอยู่
ระหว่างดาเนินการอีกหน่ึงแห่งมีความสามารถกาจัดได้ ๗ ตันต่อวัน (อยู่ระหว่างการปรับแก้แบบ) หาก
พิจารณาปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่ต้องกาจัดในปัจจุบันประมาณ ๕.๖ ตันต่อวัน แต่ความสามารถในการกาจัด
ของระบบอยู่ท่ี ๓.๖ ตันตอ่ วนั จึงมีมลู ฝอยติดเช้ือตกค้างอยู่ ๒ ตนั ตอ่ วัน แต่หากมกี ารก่อสร้างระบบเตาเผามูล
ฝอยตดิ เชือ้ ขนาด ๗ ตนั ต่อวันแลว้ เสร็จก็สามารถรองรบั มลู ฝอยติดเชือ้ ในปัจจุบันเพียงพอ

ในประเด็นขยะทะเล จากการดาเนินงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจัดการเก็บขยะตกค้าง
ในระบบนิเวศชายฝ่ัง ได้แกบ่ รเิ วณชายหาด แนวปะการัง และปา่ ชายเลน พบวา่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
มีปริมาณขยะตกค้างในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จานวน ๑๐,๖๑๗ ช้ิน หรือเท่ากับ ๒,๗๓๖
กิโลกรัม ประกอบกับขอ้ มลู ระหวา่ งปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ถงึ ๒๕๕๙ พบว่า ปริมาณขยะทะเลในจงั หวดั ชลบุรี
มแี นวโนม้ ลดลง ส่วนจังหวดั ระยองมีแนวโนม้ เพ่มิ ขน้ึ (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, ๒๕๖๐)

กรณีสถานการณ์กากของเสียอันตรายในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มี
ปริมาณกากของเสียอนั ตราย ๗๔๔,๖๙๖.๕๘ ตนั โดยในจังหวัดระยองมีปรมิ าณกากของเสียอันตรายมากท่ีสุด
คือ ๔๓๒,๓๓๘.๓๔ ตัน จังหวัดชลบุรีมีปริมาณ ๒๓๗,๔๖๕.๓๗ ตัน และน้อยที่สุดคือจังหวัดฉะเชิงเทรา
๗๔,๘๙๒.๘๗ ตนั ทงั้ นีพ้ บทิศทางการเปลย่ี นแปลงของปริมาณกากของเสยี อนั ตรายมีทิศทางเพ่ิมมากขนึ้

หากพิจารณาถึงขีดความสามารถในการรองรับขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ท้ังในภาพรวมและรายจังหวัด พบว่า ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีกาจัดไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ในพ้ืนท่ีภาพรวม
ของ EEC คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๖ ส่วนจังระยอง และชลบุรี มีปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัดไม่ถูกต้องตามหลัก
วิชาการ ที่ร้อยละ ๐.๙ และ ๒๓.๒ ซ่ึงเป็นอัตราท่ียังถือว่าอยู่ในเกณฑ์ความสามารถในการรองรับ มีเพียง
จังหวัดฉะเชิงเทราท่ีมีปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัดไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ท่ีร้อยละ ๘๐.๔ ซึ่งเป็นอัตราที่
เกนิ ขีดความสามารถในการรองรับของขยะมลู ฝอยในพืน้ ที่

ดังน้ัน การแก้ไขปัญหาเรื่องขยะจึงมีความสาคัญสมควรท่ีต้องเร่งดาเนินงานเพ่ือสร้างคุณภาพ
สง่ิ แวดลอ้ มและคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในพื้นทท่ี ี่ดตี ่อไป

๗-๗

แผนส่งิ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ และแผน
ระดับจังหวัดมีโครงการเร่งด่วนที่เก่ียวข้องกับประเด็นการแก้ไขปัญหาด้านขยะ รวม ๗ โครงการ รวม
งบประมาณ ๒,๔๒๕.๔๐ บาท

โครงการเร่งด่วนในการแกไ้ ขปญั หาขยะอย่างเปน็ ระบบ

ลาดบั โครงการ ช่อื โครงการ งบประมาณ
(ลา้ นบาท)
ที่ ๒,๓๕๐

๑. ๗.EEC โครงการกาจดั ขยะครบวงจรในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก ๔.๕
-ขยายผลต้นแบบศนู ยก์ าจดั ขยะครบวงจรไปยงั จังหวดั ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี และ ๑๕
๗.๕
ระยอง จานวน ๖ ศูนย์ กาจดั ขยะ (๖,๐๐๐ ตนั /วนั ) ผลติ ไฟฟ้า ๑๒๐ MW/วนั ๕
๔๓.๑๕
หรือ ๒,๘๐๐ MV/วนั ดังนี้ ๐.๒๕
๒,๔๒๕.๔๐
๑) โรงไฟฟ้ารับปรมิ าณขยะ ๗๐๐ ตัน/วัน ผลติ ไฟได้ ๑๕ MW จ.ฉะเชิงเทรา

เพอื่ กาจัดขยะรายวนั ของ จ. ฉะเชงิ เทรา

๒) โรงไฟฟา้ รับปรมิ าณขยะ ๑,๕๐๐ ตนั /วนั ผลติ ไฟได้ ๓๐ MW จ.ชลบุรี

เพอื่ กาจัดขยะรายวันของ จ. ชลบุรี

๓) โรงไฟฟ้ารบั ปริมาณขยะ ๕๐๐ ตนั /วนั ผลติ ไฟได้ ๑๐ MW จ.ชลบรุ ี เพือ่

กาจดั ขยะรายวันของ จ. ชลบรุ ี

๔) โรงไฟฟา้ รบั ปรมิ าณขยะ ๕๐๐ ตนั /วัน ผลิตไฟได้ ๑๐ MW จ.ระยอง เพอ่ื

กาจัดขยะรายวันของ จ. ระยอง

๕) โรงไฟฟ้ารับปรมิ าณขยะ ๓๐๐ ตัน/วัน ผลติ ขยะสะสม ๑,๕๐๐ ตัน ผลติ

ไฟฟา้ ได้ ๓๕ MW เพ่อื กาจัดขยะสะสมรายวันของ จ.ชลบุรี และสะสมของ จ.

ฉะเชงิ เทรา และระยอง

๖) โรงไฟฟา้ รับปริมาณขยะ ๒๖๐ ตัน/วนั ผลติ ขยะสะสม ๗๕๐ ตนั ผลติ

ไฟฟ้าได้ ๒๐ MW เพ่ือกาจดั ขยะสะสมรายวนั ของ จ.ฉะเชิงเทรา และสะสมของ จ.

ชลบุรี และระยอง

๒. ๘.EEC โครงการส่งเสรมิ การรวบรวมขยะชุมชนสกู่ ระบวนการผลิตกระแสไฟฟา้ ชวี มวล
(RDF)

๓. ๙.EEC โครงการสง่ เสริมการคัดแยกของเสียที่ต้นทางและห่วงโซ่ (Material Waste Flow)
และออกแบบและใชน้ วัตกรรมเพอื่ แปรสภาพของเหลอื ใช้ สร้างเครอื ขา่ ยโดยมุง่ เน้น

การนาไปใชป้ ระโยชน์สงู สุด

๔. ๑๐. EEC โครงการส่งเสริมเครอื ขา่ ยให้มีธนาคารขยะชมุ ชน ในพืน้ ท่ีรมิ น้าและชายฝ่ังทะเล
๕. ๑๑.EEC โครงการพฒั นาชุมชนตน้ แบบมุ่งสู่ Zero waste และขยายผลพนื้ ทต่ี น้ แบบปลอด

ขยะไปสู่สถานประกอบการและภาคอตุ สาหกรรม

๖. ๓. รย. โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบกาจดั ขยะมูลฝอยตดิ เช้ือ เขตบรกิ ารสุขภาพท่ี ๖

อบจ. ระยอง

๗. ๔. รย. โครงการชุมชนรว่ มในช่วยกนั คดั แยกขยะ

รวมโครงการเร่งด่วนในการจัดการขยะ ๗ โครงการ

๗-๘

แผนสิ่งแวดล้อมในพืน้ ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

หมายเหตุ: - EEC คือ โครงการภายใต้แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ –
๒๕๗๐

- รย. คือ โครงการภายใตแ้ ผนสง่ิ แวดลอ้ มจังหวัดระยอง

๒.๓ คณุ ภาพอากาศ

ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงทุกหน่วยงานต้องดาเนินการตามกจิ กรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการ

เปลี่ยนแปลงตอ่ ประชาชนอยา่ งมีนัยสาคัญ (Big Rock) นาไปสู่การปฏิบัติตามหลักความสัมพนั ธ์เชงิ เหตแุ ละผล

(Causal Relationship) เพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติของแต่ละช่วงเวลา ๕ ปี

โดยแผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุงจะดาเนินการคู่ขนานไปกับเล่มแผนการปฏิรูปประเทศฉบับเดิม ท่ี

ประกาศใช้เมื่อเดือนเมษายน ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่เป็นกิจกรรมในลักษณะภารกิจปกติของหน่วยงาน ทั้งน้ี

แผนการปฏริ ูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีเป้าประสงคเ์ พอ่ื ใหท้ รัพยากรธรรมชาติ และ

สง่ิ แวดล้อม ไดร้ ับการดูแล รกั ษา และฟนื้ ฟอู ยา่ งเปน็ ระบบ มีประสทิ ธภิ าพ และมคี วามสมบรู ณ์ยง่ั ยืน เป็นฐาน

การพัฒนาประเทศทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งเกิดความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ โดย

กาหนดกิจกรรมปฏิรูปประเทศท่ีจะส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ (Big Rock)

โดยมีประเด็นกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับปฏิรูประบบการบริหารจัดการเขตควบคุมมลพิษ กรณีเขตควบคุมมลพิษ

มาบตาพุด

จากข้อมูลติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ ๙ ชนิด ในพ้ืนท่ีจังหวัด

ระยอง (กรมควบคุมมลพิษ) พบสารที่มีค่าเกินกว่าค่ามาตรฐาน ๓ ชนิด คือ Benzene 1,3–Butadieneและ

1,2 – Dichloromethane หากพิจารณาแนวโนม้ ของค่าเฉล่ียรายปีของสารอินทรียร์ ะเหยง่าย ปี พ.ศ. ๒๕๕๙

– ๒๕๖๓ ของสารอินทรีย์ระเหยง่าย ๓ ชนิด พบว่า 1,3–Butadiene และ 1,2 – Dichloromethane มี

แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ในส่วนของสาร Benzene มีการเปลี่ยนแปลงของค่าเฉลี่ยในแต่ละปีไม่คงที่ ทั้งนี้ คุณภาพ

อากาศมอี ทิ ธพิ ลสาคญั ต่อคุณภาพชีวติ ของประชาชนในพ้ืนที่

ดังนั้น การแก้ไขปัญหาและดูแลคุณภาพอากาศจึงมีความสาคัญสมควรท่ีต้องเร่งดาเนินงานเพื่อสร้าง

คณุ ภาพสงิ่ แวดล้อมและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นทท่ี ีด่ ีต่อไป

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ มีโครงการ

เร่งด่วนท่ีเกีย่ วข้องกับประเด็นการแก้ไขปัญหาและดูแลคุณภาพอากาศ ๑ โครงการ รวมงบประมาณ ๑๕.๐๐

ล้านบาท

ลาดับ โครงการท่ี ช่อื โครงการ งบประมาณ

(ลา้ นบาท)

๑ ๖.EEC โครงการควบคมุ การปลอ่ ย VOCs ในพ้นื ที่อตุ สาหกรรมเพอื่ ลดผลกระทบตอ่ ๑๕.๐๐
สขุ ภาพและคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม

หมายเหตุ: - EEC คือ โครงการภายใต้แผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ –

๒๕๗๐

๗-๙

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพนื้ ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๒.๔ การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก
จากข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก พบว่าใน ปี พ.ศ.
๒๕๖๒ มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก คิดเป็น ๕๐.๗๓
ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยเป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคพลังงาน ปริมาณ ๒๕.๒๕
ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๔๙.๗๖ ภาคการขนส่ง ๑๖.๘๒ ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๑๕ ภาคกระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์
๔.๙๐ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๙.๖๕ ภาคการจัดการของเสีย ๒.๘๙ ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๕.๗๐ และภาคเกษตร ป่าไม้และการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ๐.๘๘
ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ ๑.๗๔ หากพิจารณาข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน
รายจงั หวดั พบวา่
จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ปริมาณ ๕.๗๖ ล้าน
ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุดในภาคพลังงาน ปริมาณ ๓.๑๙
ลา้ นตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเทา่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕๕.๓๓
จังหวัดชลบุรี มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ปริมาณ ๒๓
ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุดในภาคการขนส่ง ปริมาณ
๑๓.๖๙ ลา้ นตันคารบ์ อนไดออกไซด์เทียบเทา่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๙.๕๔
จังหวัดระยอง การปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับ Basic+ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ปริมาณ ๒๑.๙๗ ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุดในภาคพลังงาน ปริมาณ ๑๔.๐๑
ล้านตนั คารบ์ อนไดออกไซด์เทยี บเท่า คิดเปน็ ร้อยละ ๖๓.๗๘
หากพจิ ารณาแนวโน้มการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกในกรณปี กตขิ องพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก
ข้อมลู จากองค์การบรหิ ารจดั การก๊าซเรือนกระจก พบว่า
จังหวัดฉะเชิงเท รา ผลการคาดการณ์ ใน กรณี ปกติปริมาณ ก๊าซเรือนกระจกในอนาคต
ปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ระดับ Basic+ จะมีปริมาณ ๖.๘๙ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า เพ่ิมข้ึน ร้อยละ
๑๙.๖๕ จากปี พ.ศ. ๒๕๖๒
จังหวัดชลบุรี ผลการคาดการณ์ในกรณีปกติปริมาณก๊าซเรือนกระจกในอนาคตปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ระดับ
Basic+ จะมีปริมาณ ๓๐.๑๕ ลา้ นตนั คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า เพิ่มข้ึนร้อยละ ๒๓.๗๑ จากปี พ.ศ. ๒๕๖๒
จังหวัดระยอง ผลการคาดการณ์ในกรณีปกติปริมาณก๊าซเรือนกระจกในอนาคตปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ระดับ
Basic+ จะมีปริมาณ ๒๔.๔๒ ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า เพิ่มข้ึน ร้อยละ ๑๑.๑๓ จากปี พ.ศ.
๒๕๖๒
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นประเด็นสาคัญท่ีท่ัวโลกให้ความสาคัญ โดยเฉพาะข้อตกลงจากการ
ประชุม COP26 ที่มีเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) ภายในปี ค.ศ. 2050
ดังน้ัน การลดและบรรเทาปัญหาการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จึงมีความสาคัญสมควรที่ต้องเร่งดาเนินงานเพื่อ
สนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการควบคุมอุณหภูมิของโลกไม่ให้สูงเกิน ๒ องศาเซลเซียส อันจะนาไปสู่ภัยพิบัติ

๗ - ๑๐

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ท่ีรุนแรงของมนุษยชาติ แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ –
๒๕๗๐ และแผนระดับจังหวดั มโี ครงการเร่งดว่ นที่เก่ยี วข้องกับประเดน็ การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก ๔ โครงการ
รวมงบประมาณ ๘๔.๘๓ บาท

โครงการเรง่ ด่วนเพ่อื ลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก

ลาดบั โครงการ ชื่อโครงการ งบประมาณ

ท่ี (ลา้ นบาท)

แผนงานที่ ๓.๒.๑ การเพ่ิมพื้นท่ีแหล่งดดู ซบั และกกั เกบ็ กา๊ ซเรือนกระจก

๑. ๑.ชบ โครงการศกึ ษาและขยายผลการสร้างความช่มุ ช้ืนและเพิม่ ปรมิ าณนา้ ในพนื้ ที่ต้นน้า ๕

ฟนื้ ฟูปลูกเสรมิ ป่าพื้นทก่ี ลางน้า (พนื้ ทเ่ี อกชนเพิ่มไม้ยืนต้น) และปลายน้า ของอ่าง

เก็บน้าบางพระ

แผนงานท่ี ๓.๒.๒ ผลกั ดันมาตรการในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

๒. ๑๒.EEC โครงการขบั เคลอื่ นและสง่ เสรมิ การลดก๊าซเรือนกระจก ตามหลกั การเศรษฐกิจ ๑๒
ชวี ภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น และเศรษฐกจิ สเี ขยี ว ในภาคพลังงาน ภาค

เกษตรกรรม ภาคกระบวนการอุตสาหกรรมและการใชผ้ ลิตภัณฑ์ และภาคของเสีย

๓. ๑๓.EEC โครงการส่งเสรมิ เมอื งคารบ์ อนต่า ๔๕.๓
๔. ๑๔.EEC โครงการสง่ เสริมการแลกเปล่ียนซอื้ ขายคารบ์ อนเครดิตระหว่างภาคอุตสาหกรรม ๒๒.๕๒๗

กับภาคเกษตรกรรม

รวมโครงการเร่งด่วนในการลดกา๊ ซเรอื นกระจกทงั้ หมด ๔ โครงการ ๘๔.๘๓

หมายเหตุ: - EEC คือ โครงการภายใต้แผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ –

๒๕๗๐

- ชบ. คือ โครงการภายใต้แผนสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวัดชลบรุ ี

๓. การขบั เคลือ่ นแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนทเี่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
การขับเคลื่อนแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ไปสู่การ

ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และบรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ จาเป็นต้องอาศัยความ
ร่วมมือจากทุกภาคส่ วนเพ่ื อให้การจัด การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของป ระเ ทศมีทิศทางการ
ดาเนินงานที่มุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน ดังน้ัน แผนสิ่งแวดล้อมในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.
๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ได้กาหนดกลไกในการขับเคล่ือน และการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ ซ่ึงควรดาเนินการ
เรง่ ด่วนและผลกั ดันในระดบั นโยบาย (Flagship Projects) รวมถึงการติดตามประเมนิ ผล ดงั นี้

๓.๑ กลไกในการขับเคลอ่ื นและการแปลงแผนไปสูก่ ารปฏิบัติ
การขับเคล่ือนแผนส่ิงแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ไปสู่การ
ปฏบิ ตั ิใหป้ ระสบผลสาเร็จ ควรมกี ลไกในการขบั เคลือ่ นและการแปลงแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

๗ - ๑๑

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๑. ผลักดันแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
โดยส่งให้คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) รวบรวมและนาเสนอ
คณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (กพอ.) พิจารณาให้ความเหน็ ชอบ

๒. สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในฐานะที่ได้รับมอบ
ให้จัดทาแผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ ดาเนินการ
ถ่ายทอดและสร้างความเข้าใจในบทบาทของแต่ละภาคส่วน เผยแพร่และช้ีแจงรายละเอียดของแผน
ส่ิงแวดล้อมฯ รวมท้ัง ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ เน้นทาความเข้าใจแกภาคส่วนต่าง ๆ เพ่ือร่วม
ขับเคลื่อนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในภาพรวมของพ้ืนท่ี EEC ให้มีประสิทธิภาพ
ย่ิงขึ้น ซ่ึงจะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการถ่ายทอดแผนส่ิงแวดล้อมฯ ไปสูการปฏิบัติไดมีประสิทธิภาพ
มากยิง่ ข้ึน

๓. ผลักดันโครงการเร่งด่วน (Flagship) เป็นโครงการท่ีสาคัญเร่งด่วนท่ีต้องดาเนินการ เพ่ือใช้
ประกอบการขอสนบั สนนุ งบประมาณ รวมทัง้ เรง่ ดาเนนิ การโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณไว้แลว้

๔. การศึกษา จัดทาแผน วางแผน ออกแบบ ติดต้ังเครื่องมือ และริเริ่มการสร้างเครือข่าย
เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพ้ืนที่ รวมทั้งการพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เก่ียวข้องเพื่อเป็นฐาน
การดาเนนิ งานด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนท่ีต่อไป

๕. กจิ กรรมโครงการท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณและดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง อาจทาให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงสถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนที่ เพ่ือให้เป็นแผนท่ีสามารถปรับเปล่ียน
รองรับความเปล่ียนแปลงได้ (Rolling plan) ควรมีการพิจารณาปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานกจิ กรรม
โครงการในช่วงแรกของแผนฯ เพ่ือให้ปรับเปลี่ยนกิจกรรม โครงการที่เหมาะสมในช่วงหลังของแผนฯ ต่อไป
โดยควรจะดาเนนิ การในปี พ.ศ. ๒๕๖๗

๖. กิจกรรมโครงการตามแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ –
๒๕๗๐ จะทาให้พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีส่ิงแวดล้อมท่ีดี ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการอนุรักษ์
ฟน้ื ฟู และมกี ารใช้ประโยชนอ์ ย่างม่ันคง สมดุล ในขณะท่ปี ระชาชนในพ้นื ทมี่ ีความสามารถในการดาเนินชวี ิตใน
พ้ืนท่ีได้เป็นปกติสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ภายใต้การสนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดลอ้ มด้วยระบบและกลไกท่ีมปี ระสิทธิภาพ และการมีสว่ นร่วมอยา่ งแท้จริง ท้ังน้ีหากมกี ิจกรรม โครงการ
ทมี่ ีการดาเนนิ งานยังไมค่ รบถ้วนสมบรู ณ์จะต้องมีการจดั ทาแผนสง่ิ แวดลอ้ มระยะต่อไป
๔. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

๔.๑ การทบทวนและปรับปรุงกฎ ระเบียบ บทบาท และอานาจหนา้ ที่ของหน่วยงานท่เี กยี่ วข้อง
จากการวิเคราะห์ข้อร้องเรียนปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการพัฒนาในพ้ืนท่ีที่ไม่เหมาะสม เช่น การตั้งโรงงาน
ในพื้นที่ต้นน้าลาธาร หรือการอนุญาตให้โรงงานที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (โรงงานประเภทที่ ๑๐๕ และ
๑๐๖) ต้ังได้โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม หรืออานาจการเป็นเจ้าพนักงานตาม
กฎหมายในการตรวจสอบความถูกต้องในการดาเนินงานในโรงงานที่จากัดอยู่เฉพาะบางหน่วยงาน ทาให้การ
ติดตามตรวจสอบมีความล่าช้าไม่ทันต่อเหตุการณ์ จึงมีข้อเสนอจากที่ประชุมในหลายเวทีให้มีการเสนอเพ่ือ

๗ - ๑๒

แผนสิ่งแวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ขอให้มีการทบทวนปรับปรุง เพื่อให้การรักษาคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ลเพิ่มมากขน้ึ โดยมมี าตรการทค่ี วรทบทวนปรับปรุงดงั ต่อไปน้ี

มาตรการทางกฎหมายและการบังคบั ใช้กฎหมาย ประกอบด้วย
- การยกเลิกกฎหมาย ที่ไม่สอดคล้อง และ เอ้ืออานวย ให้เกิดปัญหา เช่น ไม่ควรอนุญาต ให้ทาการ
กาจัดขยะ ตามประเภทโรงงานที่ ๑๐๕ และ ๑๐๖ ในพ้ืนที่ต้นน้าลาธาร พื้นท่ีสีเขียว หรือพื้นท่ีการทา
เกษตรกรรม เป็นต้น ตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตทิ ่ี ๔/๒๕๕๙ เร่อื ง การยกเวน้ การใช้บงั คับ
กฎกระทรวงใหใ้ ช้บังคับผังเมืองรวมสาหรับการประกอบกิจการบางประเภท เช่น กิจการโรงงานลาดับที่ ๑๐๕:
โรงงานคัดแยกและฝังกลบสิ่งปฏิกูล วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (เช่น หลุมฝังกลบขยะ) กิจการโรงงานลาดับที่ ๑๐๖
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ไมใ่ ช้แล้ว หรือของเสียจากโรงงานมาผลิตเป็น
วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยผ่านกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม (โรงงานรีไซเคิล) และกิจการอื่นท่ี
เกย่ี วขอ้ งกับการประกอบกจิ การกาจัดมลู ฝอย
- การศึกษาและปรับปรุงระยะถอยร่นของท่ีต้ังโรงงานจากแหล่งน้าธรรมชาติให้มีรัศมีที่เหมาะสม ซ่ึง
ควรมากกว่า ๕๐๐ เมตร ในกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายผังเมืองรวม ซึ่งจากข้อเสนอแนะในท่ีประชุมมี
ข้อเสนอให้มีการกาหนดระยะถอยร่นของโรงงาน จากพ้ืนท่ีอนุรักษ์ทางด้านสิ่งแวดล้อม ป่าไม้ ป่าชายเลน
แหล่งพนื้ ท่ตี น้ นา้ และแหล่งเกษตรกรรม ความมน่ั คงทางด้านอาหาร ในรศั มีมากกวา่ ๕ กิโลเมตร
- ควรให้โรงงานทุกประเภท จัดทาข้อมูลกระบวนการดาเนินงาน และรายงานต่อองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ หรือเผยแพรต่ อ่ สาธารณะอยา่ งต่อเน่ือง
- ควรเพ่ิม บทบาทการเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายที่มีหน้าที่กากับ ติดตามตรวจสอบความ
ถูกต้อง ในการดาเนินงานของโรงงาน ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างชัดเจน ซ่ึงที่ผ่านมาองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถเข้าไปดาเนินการติดตาม ตรวจสอบ และกากับการดาเนินงานในกรณีเกิดเหตุ
ร้องเรียนไดท้ ันเวลา
- ควรศึกษาแนวทางการปฏิบตั ิ กรอบการใชง้ บประมาณ ทสี่ ง่ เสรมิ การบูรณาการท้ังในเชิงพื้นท่ี และเชิง
กจิ กรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
มาตรการแรงจงู ใจ ประกอบด้วย
- ควรศกึ ษาและการประยกุ ตใ์ ชม้ าตรการตามหลักผกู้ ่อมลพิษให้เป็นผจู้ ่ายในพืน้ ที่
- ควรมีมาตรการสร้างแรงจูงใจทางด้านการยกเว้นภาษีสาหรับ บุคคล องค์กร ท่ีมีกิจกรรมการสร้าง
พ้นื ท่สี ีเขยี วถาวร เชน่ เดยี วกบั การสง่ เสรมิ การลงทนุ ในภาคอุตสาหกรรม
- ควรส่งเสริมแรงจูงใจทางสังคม เช่น รางวัลเชิดชูเกียรติ แก่บุคคล องค์กร หรือกิจการต่าง ๆ สู่
สาธารณะอย่างตอ่ เนื่อง
- แนวทางการจัดตั้งองค์กรหรือสถาบันอิสระ เพ่ือดาเนินงานด้านการบูรณาการจัดการส่ิงแวดล้อมใน
พืน้ ทภ่ี าคตะวันออก
- แนวทางการจัดตั้งกองทุนภาคประชาสังคม เพ่ือการส่งเสริมการดาเนินงานการบูรณาการจัดการ
สิ่งแวดลอ้ มในพ้ืนที่ภาคตะวันออก

๗ - ๑๓

แผนส่ิงแวดล้อมในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๔.๒ การพฒั นาแนวทางการสง่ เสรมิ บทบาทการดาเนนิ งานของภาคประชาชนในการอนุรักษ์และใช้
ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งแท้จรงิ

จากข้อคิดเห็นของเวทีการรับฟังความคิดเห็นที่สะท้อนถึงปัญหาและอุปสรรค ในความไม่สาเร็จใน
กระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีผ่านมา ส่วนหน่ึงเกิดจากปัญหากระบวนการมีส่วน
ร่วมในการจัดทาแผนไม่ได้ส่งเสริมให้เกิดการดาเนินงานตามแผนท่ีจัดทาขึ้นอย่างแท้จริง และหากต้องการให้
แผนส่ิงแวดล้อมไปสู่การปฏิบัติตามความคาดหวัง จาเป็นต้องยกระดับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้ไปถึง
การร่วมคิด ร่วมจัดทา ร่วมดาเนินงาน และไปสู่การร่วมรับผลประโยชน์ ซ่ึงจะทาให้เกิดความรู้สึกในการเป็น
เจ้าของแผนร่วมกัน และเพ่ือให้การดาเนินงานไปสู่เป้าหมายร่วมกัน จึงได้นาเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมใน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากการศึกษาสถานการณ์การมีส่วนรว่ มของประชาชนในพ้ืนที่
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกภายใต้กรอบ ๒ ภาคส่วนหลัก คือ ภาครัฐ และภาคส่วนอ่ืน ๆ ได้ข้อสรุป
โดยสังเขปว่าการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จาเป็นต้องมี “จริยธรรม” และ
“จิตสานึก” ในการรับผิดชอบต่อสิทธิบทบาทในการทาหน้าที่จัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ให้
เกดิ ความสมดุล รบั ประโยชน์อย่างยั่งยืน เรยี นรูป้ รับตวั ให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้อยา่ งสอดคล้องเหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อมระบบนิเวศธรรมชาติ โดยไม่สร้างผลกระทบก่อให้เกดิ ความเสียหาย ความเสือ่ มโทรม และความ
มัน่ คงของระบบนเิ วศธรรมชาตนิ ั้น

๔.๓ การสง่ เสริมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการถอดบทเรยี นภาคประชาชนในการอนรุ กั ษแ์ ละใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ

จากการศึกษาข้อมูลสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีจังหวัดฉะเ ชิงเทรา
จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง ได้พบ ได้รับทราบข้อมูล ได้สังเกตการณ์กิจกรรม ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้กับ
กลุม่ ชมรม องค์กรภาคประชาสังคมบางสว่ นในพื้นที่ ได้พบเห็นความร่วมมอื ของทุกภาคส่วนในการปฏิบตั ิการ
ในการติดตามสถานการณ์ ในการศกึ ษาผลกระทบ ในการตรวจระวัง ในการประสานความรว่ มมือ แก้ไขปัญหา
และสร้างสรรค์สังคมเพ่ือสิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่งเป็นองค์ความรู้ท่ีเป็นประโยชน์และควรได้รับการรวบรวมและ
เผยแพร่ให้เกิดการเรียนรู้ในสังคม โดยสรุปศักยภาพความร่วมมือของกลุ่มประชาสังคมเพื่อเป็นแนวทางการ
ถอดบทเรยี นได้ ดงั นี้

๑) ความสานึกรับผิดชอบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะผู้ได้รับประโยชน์จาก
ทรัพยากร และความจาเป็นต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากดั ให้มีใช้ตลอดไป โดยแนวคิดการบาบัด และการ
นากลับมาใช้ใหม่ เช่น กรณีบริษัท ไดก้ิน คอมเพรสเซอร์ อินดัสทรีส์ จากัด กรณีชมรมรักษ์เขาชะเมา เห็น
คณุ คา่ มนษุ ยก์ ับธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และวฒั นธรรม

๒) ริเริ่มดาเนินการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเพราะได้รับบทเรียนจากสภาพ
วิกฤติ วิถีการดาเนินชีวิตต้องพ่ึงพิงใช้ประโยชน์ทรัพยากรมาโดยตลอด เช่น การใช้น้าจากแหล่งน้าธรรมชาติ
ต่อมาทรัพยากรไม่มีให้ใช้ได้ดังเดิมเพราะความเส่ือมโทรม จึงเป็นบทเรียนชุมชนถ้าไม่ร่วมมือกันบารุงรักษา
ดแู ล ฟน้ื ฟู ชุมชนตอ้ งไดร้ ับผลกระทบรนุ แรงมากข้นึ เช่น กรณชี ุมชนบ้านแลง

๗ - ๑๔

แผนส่งิ แวดล้อมในพื้นท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๓) จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามภูมิปัญญา วัฒนธรรมท้องถ่ินที่สืบทอดต่อกันมา วิถี
ชุมชนที่อยู่อย่างใกล้ชิดกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่อเน่ืองมาอย่างยาวนาน ชุมชนเป็นนักนิเวศ
ท้องถ่ินได้เรียนรู้ระบบนิเวศท้องถ่ิน สั่งสมภูมิปัญญาในการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด และให้
เหมาะสมกบั สถานการณ์ เชน่ กรณชี มุ ชนบา้ นเขาดิน

๔) เรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้ดีขึ้นและเอื้อประโยชน์อย่างยั่งยืน
วิถีดาเนินชีวิตอยู่บนฐานความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นความผูกพันมนุษย์กับ
ส่ิงแวดล้อม เช่น กรณีแนวคิดการแก้ไขปัญหาและอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านสองคลอง และการปรับโครงสร้าง
สวนยางพาราเป็นระบบวนเกษตรโดยปลกู พชื ผสมผสานใต้ไม้ยางพารา

๕) ปรับวถิ กี ารใชป้ ระโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มให้สอดคล้องเหมาะสม ชุมชนเรยี นรูแ้ ละ
ปรับตวั ใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปล่ยี นแปลงทเี่ กิดข้ึน เชน่ กรณกี ลุ่มเพาะเลยี้ งปลากะพง กรณชี มุ ชนคลองลาวน

ศักยภาพความร่วมมือของภาคส่วนดังที่ได้ทาการศึกษาสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อมในพ้ืนท่ีท้ังจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง ดังกล่าวมีความเป็นรูปธรรมในทาง
ปฏิบัติท่ีเกิดข้ึนในระดับเฉพาะเหตุ เฉพาะประเด็น เฉพาะพ้ืนท่ี เป็นข้อมูลสาคัญในการนาไปสู่การพัฒนา
แนวคิดการสง่ เสริมสนับสนุนกระบวนการมสี ่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มได้อย่าง
มีนัยสาคัญ โดยเฉพาะในด้านสิทธิ ด้านการกระจายอานาจ กระตุ้นความร่วมมือด้านการหนุนเสริมการ
บริหารงานภาครัฐ ดา้ นการส่งเสริมการเรียนรู้เพอ่ื การจัดการสิง่ แวดลอ้ มเชิงคุณภาพและอย่างยง่ั ยืน

๔.๔ การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมเพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการบริหาร
จัดการทรัพยากร ในการขบั เคลอ่ื นแผนและการสง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วม

การวางแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐
มุ่งเน้นการยกระดับการมีส่วนร่วมของทกุ ภาคส่วนให้อยู่ในระดบั การเปน็ หุ้นสว่ น และเป็นความปรารถนาอยา่ ง
สูงสุดที่ต้องการผลักดันขับเคลื่อนแผนการจัดการส่ิงแวดล้อมน้ีได้นาไปสู่การปฏิบัติการได้อย่างแท้จริงอย่างมี
ประสิทธิภาพ เพ่ือเป็นการหนุนเสริมกลไกและเคร่ืองมือท่ีมีอยู่แต่เดิมให้หลุดพ้นจากข้อจากัด สามารถ
ขับเคล่ือนแผนการดาเนินการโดยการมีส่วนร่วมได้ในระดับท่ีสูงย่ิงข้ึน และให้เกิดการจัดการเชิงบูรณาการ
แผนงาน งบประมาณ บุคลากร เคร่อื งมือ และปจั จยั สนับสนุนตา่ ง ๆ ในความรับผดิ ชอบของหน่วยงานองค์กร
ต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย ซ่ึงต่างมีภารกิจบทบาทหน้าท่ีที่มีกรอบความจาเป็นเฉพาะของแต่ละหน่วยงาน/องค์กร
จากการศึกษาและวิเคราะห์แล้วในปัจจุบันกระบวนการ กลไกและเครื่องมือในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมยังคงมีปัญหา เพื่อให้การจัดทาแผนการจัดการส่ิงแวดล้อมในพ้ืนทที่ ่ีมีการพัฒนาพิเศษแตกต่าง
จากพ้ืนท่ีอื่น ๆ ของประเทศ จึงสมควรเร่งรัดพัฒนาให้เกิดกลไกและเครื่องมือโดยเสนอเป็นข้อเสนอแนะทาง
นโยบายเฉพาะพน้ื ที่นี้ ดงั นี้

๑) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดต้ัง“ภาคีเครือข่ายองค์กรบูรณาการ” ขึ้น เป็นกลไกหนุนเสริม
ประสทิ ธิภาพขับเคลื่อนแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม เพอื่ ทาหน้าท่เี ป็นแกนกลางในการ
สื่อสาร แลกเปล่ียนเรียนรู้ ประสานความร่วมมือ ช่วยลดทอนความทับซ้อนแผนงานกิจกรรมในระดับพ้ืนท่ี
ช่วยสานความเช่ือมโยงภารกิจ ขจัดความขัดแย้ง สานการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและปัจจัยให้เกิดประโยชน์

๗ - ๑๕

แผนสิง่ แวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สูงสุด และทาให้เกิดการจัดการทรัพยากรเชิงภูมินิเวศได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยโครงสร้างภาคีเครือข่าย
องค์กรบูรณาการ ประกอบด้วยทุกภาคส่วน รัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา ท้องถ่ิน ประชาคม องค์กรพัฒนา
และองค์กรชุมชน ในสัดส่วนที่เปน็ หุน้ ส่วนกันอยา่ งเสมอภาคบนฐานคิดเพอื่ คุณคา่ และคุณภาพสิง่ แวดล้อมเพ่ือ
ชวี ติ และมีสถานะท่ีภาครฐั ยอมรับสนับสนนุ บทบาทหนา้ ท่อี ยา่ งมีนยั สาคญั

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสานักงานส่ิงแวดล้อมภาคท่ี ๑๓ เป็นผู้ประสานท้ัง
๓ จังหวัด เพ่ือดาเนินการแต่งต้ังคณะทางาน โดยให้มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานหรือท่ีได้รับมอบหมาย
จากผู้ว่าราชการ และภาคส่วนทเี่ ก่ียวขอ้ งเป็นคณะทางาน เพ่ือหารือประเด็นการบริหารจดั การโดยเครือข่ายใน
ทอ้ งถิ่น โครงสร้างกลไก เครื่องมือ กระบวนการการมีส่วนรว่ ม องค์กรบูรณาการการจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม โดยให้
สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ เป็นหน่วยงานเสนองบประมาณสนับสนุนภาคีเครือข่ายองค์กรบูรณาการ
ต่อเนือ่ งตามระยะเวลาตามแผน

ทางเลือกท่ี ๒ ท้งั นี้หากการการจัดต้งั ภาคีเครอื ขา่ ยองค์กรบูรณาการซ่ึงเป็นองค์กรใหม่จะต้องใช้
ระยะเวลาในการพิจารณาจัดตั้งเห็นสมควรมีทางเลือกในการปรับปรุงองค์กรท่ีมีปัจจุบัน คือ การจัดต้ัง
คณะอนุกรรมการภาคีเครือข่ายองค์กรบูรณาการการจัดการสิ่งแวดล้อม ภายใต้คณะกรรมการบริหารการ
พัฒนาเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (กบอ.) โดยมีหน้าท่ีและองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการเช่นเดยี วกับ
ภาคเี ครือขา่ ยองคก์ รบรู ณาการ

แนวทางการดาเนนิ การ:
(๑) สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทาหนังสือเสนอให้
คณะกรรมการบริหารการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (กบอ.) แต่งต้ังเพ่ิมเติมคณะอนุกรรมการ
เครือข่ายองค์กรบูรณาการการจัดการสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา ๑๑ (๑๐) ของ พรบ. เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑
(๒) องค์ประกอบกรรมการขับเคลื่อนครอบคลุมหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ภาคเอกชน
ภาคอุตสาหกรรม ตัวแทน EEC ภาคองค์การปกครองท้องถิ่น ภาคประชาสังคม ภาคสถาบันการศึกษา
ผู้ทรงคณุ วุฒิด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่อี ยใู่ นพืน้ ทไี่ มเ่ กนิ สองคน รวมทงั้ สนิ้ ไม่ควรเกิน ๑๕ คน
(๓) เพ่ือทาหน้าที่เป็นแกนกลางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสานความร่วมมือ ช่วย
ลดทอนความทับซ้อนแผนงานกิจกรรมในระดับพ้ืนท่ี ช่วยสานความเชื่อมโยงภารกิจ ขจัดความขัดแย้ง สาน
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรและปัจจัยให้เกิดประโยชน์สูงสุด กาหนดทิศทางและนโยบายด้านคลังข้อมูล
ส่งิ แวดล้อมภาคตะวันออกและสถาบันจัดการความรู้ และทาให้เกิดการจัดการทรัพยากรเชงิ ภูมนิ ิเวศได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
๒) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มี “กองทุนการจัดการสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออก” ท่ีมีรูปแบบแตกต่าง
จากกองทุนของภาครฐั เพื่อเป็นเครอ่ื งมอื สง่ เสริมสนับสนุนโครงการกิจกรรมในระดับพน้ื ทสี่ ามารถเข้าถึงแหล่ง
ทนุ เพ่ือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้ทันต่อสถานการณ์ เสริมสร้างประสิทธิภาพการดูแล
รักษา ฟื้นฟู อนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ความหลากหลายได้อย่างย่ังยืน โดยกองทุนภายใต้งบประมาณ
ราชการ รัฐเป็นผู้รับผิดชอบควบคุมการใช้จ่าย ซ่ึงมีข้อจากัด ดังนั้น กองทุนการจัดการส่ิงแวดล้อมในรูปแบบ

๗ - ๑๖

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ของภาคประชาสังคมจะมคี วามคล่องตวั และเป็นกลไกชว่ ยลดดุลดา้ นงบประมาณ ที่ทกุ ภาคส่วนสามารถเข้าถึง
เพ่ือใช้ในการจัดการสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีความยืดหยุ่น ทุกภาคส่วนควรเร่งระดมความคิดระดมกองทุนจาก
แหลง่ ทุนต่าง ๆ เช่น การสนบั สนนุ จากภาครัฐ เอกชน งบ CSR. การพัฒนาแรงจูงใจด้านเศรษฐศาสตร์ เปน็ ต้น
โดยดาเนินการต่อเนื่องตามระยะเวลาตามแผน โดยให้คณะทางานตามภาคีเครือข่ายองค์กรบูรณาการ เป็นผู้
พจิ ารณาจัดตงั้ กองทนุ และกาหนดระเบยี บ กฎ การดาเนินงานของกองทนุ

ทางเลือกที่ ๒ ปัจจุบันการบริหารจัดการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีการจัดตั้ง
กองทุนพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นทุนสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ ชุมชน
และประชาชนที่อย่ภู ายในหรอื ที่ไดร้ บั ผลกระทบจากการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก โดย

(๑) เสนอให้มีการแก้ไขเพ่ิมเติม การใช้จ่ายเพ่ือกิจการด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ตามมาตรา ๖๔ แห่ง พรบ. เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ โดย สผ ประสานเพอ่ื ให้
สกพอ. ดาเนินการ หรือ ๒) ให้ สกพอ. กาหนดนิยามของการพัฒนาพื้นที่หรือชุมชน ในมาตรา ๖๔ (๑) ให้มี
ความชัดเจน โดยรวมถึงการใช้จ่ายเงินกองทุนเพ่ือกิจการด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
เป็นการเฉพาะเพ่ือให้การพัฒนาพื้นที่ทั้ง ๓ จังหวัดมีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมควบคู่กับ
การพฒั นาเพ่ือให้เปน็ ไปอยา่ งยั่งยนื

๓) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มี “สถาบันจัดการความรู้” เพื่อเป็นการหนุนเสริมกระบวนการจัดการ
ความรู้ การเรียนรู้ การสร้างนวัตกรรมในกระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เป้าหมายคือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีจริยธรรมสานึกด้านส่ิงแวดล้อม พัฒนาสังคม
คุณธรรมเพ่ือประสิทธิภาพในการพัฒนาสังคมสีเขียว โดยการสนับสนุนการใช้ความรู้เพ่ือการสร้างคุณภาพคน
ชุมชน ให้เกิดความรับผิดชอบต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และการใช้ประโยชนเ์ พ่ือคุณภาพ
ชวี ิตอย่างย่ังยืน โดยส่งเสรมิ สนบั สนุนกระบวนการเรียนรู้ในระดับชุมชน สรา้ งองค์ความรูผ้ ่านการวิจัยเชงิ พืน้ ท่ี
การวิจัยชุมชน โดยการประสานความร่วมมือองค์กรชุมชน กลุ่ม เครือข่าย สถาบันการศึกษาในพื้นที่ โดย
ดาเนินการต่อเน่ืองตามระยะเวลาตามแผน และให้คณะทางานตามภาคีเครือข่ายองค์กรบูรณาการ เป็น
ผู้ดาเนนิ การ

ทางเลือกที่ ๒ สนับสนุนให้สถาบันการศึกษาในพ้ืนที่ ท่ีมีการศึกษา สร้างองค์ความรู้ในปัจจุบัน
จดั ต้ังสถาบันจัดการความรดู้ ้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมในพื้นที่ภาคตะวันออก เพื่อเป็น
การศึกษา จดั การความรู้ การสร้างนวัตกรรมในกระบวนการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม โดย

(๑) สผ. เสนอให้ สกพอ. สนับสนุนการจัดตั้งสถาบันจัดการควา มรู้ด้านการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ตามทิศทางและนโยบายของคณะอนกุ รรมการเครือข่ายองค์กรบูรณาการ
การจัดการสิ่งแวดล้อม เพ่ือส่งเสริมงานวิชาการของคณะกรรมการนโยบายฯ ตามมาตรา ๑๕ (๑) แห่ง พรบ.
เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ รวมท้งั

(๒ ) ให้ สกพ อ. ประส าน วช. เพื่ อสนับสนุน งบป ระมาณ งานวิจัยด้านการจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมในพืน้ ทีใ่ หก้ ับสถาบันการศึกษา (อว. ส่วนหน้า)

๗ - ๑๗

แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๔) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มี “คลังข้อมูลส่ิงแวดล้อมภาคตะวันออก” เพ่ือเป็นกลไกในการประสาน
รวบรวมขอ้ มลู ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เปน็ ฐานการวเิ คราะห์และสร้างความเข้าใจรว่ มในการศกึ ษา
ตดิ ตาม เฝ้าระวัง การส่งเสริมสนับสนนุ ให้เกิดการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งเก็บข้อมลู ของหน่วยงาน องค์กรตา่ ง
ๆ รวมท้ังการสนับสนุนเครื่องมือในการเก็บข้อมูลท่ีจาเป็นเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมท่ัวถึง รวบรวมเป็น
ฐานข้อมูล จัดระบบข้อมูล วิเคราะห์ และพัฒนาเคร่ืองมือกลไกเพื่อการส่ือสารให้ทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึง
และนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่าง คลอบคลุม
รวดเร็ว ทันเหตุการณ์และมีประสิทธิภาพ โดยดาเนินการต่อเนื่องตามระยะเวลาตามแผน และให้คณะทางาน
ตามภาคเี ครือข่ายองค์กรบรู ณาการ เปน็ ผ้ดู าเนนิ การ

ทางเลอื กที่ ๒ สนับสนนุ ให้คณะกรรมการพฒั นาเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก จัดตั้งคลังข้อมูล
ส่ิงแวดล้อมภาคตะวันออก โดยเพ่ือให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการนาเข้าข้อมูล และสามารถเข้าถึง และ
นาไปใชป้ ระโยชน์ในการวางแผนการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมไดอ้ ยา่ งครอบคลุม รวดเร็ว ทัน
เหตุการณ์ และมปี ระสทิ ธภิ าพ โดย

สผ. เสนอให้ สกพอ. ร่วมกับ สสภ. ๑๓ จัดต้ังคลังข้อมูลส่ิงแวดล้อมภาคตะวันออก ตามทิศทาง
และนโยบายของคณะอนุกรรมการเครือข่ายองค์กรบูรณาการการจัดการส่ิงแวดล้อม เพื่อส่งเสริมงานวิชาการ
ของคณะกรรมการนโยบาย ตามมาตรา ๑๕ (๑) แห่ง พรบ.เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ โดย
บรู ณาการรว่ มกบั ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพ่อื การบริหารจดั การ ที่ สผ. ได้รเิ ริม่ ไว้

๙.๒ ประเด็นที่มีความสาคัญในระดับพื้นท่ีท่ีควรดาเนินการเร่งรัดและผลักดันในระดับนโยบาย
(Flagship Projects)

การแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท่ีเกิดขึ้นไม่สามารถจะจัดการในทุกเรื่อง
ไปพรอ้ มกนั ได้ จาเป็นต้องวางแผนและดาเนนิ การแก้ไขปัญหาท่ีมลี าดับความสาคัญ คือ ๑) โครงการเร่งด่วนท่ี
อยู่ในแผนสิ่งแวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ท่ียังไม่ได้ดาเนินการ ๒)
โครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ ๓) โครงการท่ีสอดคล้องกับกิจกรรมปฏิรูปท่ีส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อประชาชน
อย่างมีนัยสาคัญ (Big Rock ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม) ๔) โครงการท่ีสอดคล้องกับผลการ
วเิ คราะหแ์ รงกดดัน สถานการณ์หรอื การคาดการณ์ที่มีแนวโน้มของระดับความรุนแรงที่เพิ่มขึ้น และประเด็นท่ี
เกินขีดความสามารถในการรองรับของพ้ืนที่ ๕) โครงการที่มุ่งเน้นการส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของทุก
ภาคส่วน และสร้างความรู้ ความเข้าใจ เพื่อให้เกิดการมีส่วนรว่ มในการขับเคลื่อนแผน ๖) โครงการท่ีเก่ียวกับ
การจัดการน้าเสยี และการจัดการขยะ และ ๗) โครงการท่ีเสนอมาจากหนว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบมีงบประมาณแล้ว
รวมท้ังโครงการท่ีบรรจุในแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน/แผนบูรณาการ ดังนั้น เพ่ือให้หน่วยงานที่
เก่ียวข้องสามารถดาเนินการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของแผนฯ จึงได้
เสนอโครงการสาคัญเร่งด่วน (Flagship Projects) ทั้งในแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ และแผนสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด เพ่ือให้ได้รับการแก้ไขและผลักดันใน
ระดบั นโยบายให้เกิดขน้ึ อย่างเป็นรปู ธรรม

๗ - ๑๘

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๕.การติดตามประเมินผล
การติดตามประเมินผลการดาเนินงานภายใต้แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ ประกอบด้วย ข้นั ตอนการติดตามประเมนิ ผล โดยจะแบ่งช่วงระยะเวลาการติดตามเป็น
๒ ระยะ ไดแ้ ก่ ช่วงแรก การตดิ ตามประเมินผลตามเป้าหมายของแผนสิง่ แวดลอ้ มฯ ในระยะ ๒ ปี หลังจากการ
ประกาศใช้แผนส่ิงแวดล้อมฯ เพ่ือแก้ไขปัญหาและอุปสรรค เพื่อนาไปปรับปรุงวิธีการดาเนินงานตามแผนงาน
โครงการให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน โดยให้ทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องส่วนร่วมในการปรับปรุงแผน และช่วงหลัง
การติดตามประเมินผลตามเป้าหมาย เม่ือส้ินสุดระยะเวลาของแผนฯ (๖ ปี) เพื่อรวบรวมปัญหา อุปสรรคจาก
การดาเนินงานตามแนวทางการปฏิบัติที่ได้เสนอไว้ในแผนสิ่งแวดล้อมฯ มาใช้ประกอบการจัดทาแผน
ส่ิงแวดลอ้ มฯ ในอนาคต ซึ่งการติดตามประเมินผลในช่วงหลัง โดยใช้ระบบตดิ ตามระบบติดตามการดาเนินงาน
ตามแผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ไดท้ ี่ eec-mis.onep.go.th

๗ - ๑๙

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ส่วนท่ี ๗

ระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
(Management Information System: MIS)

๑. บทนา
ระบบสารสนเทศเป็นเคร่ืองมือท่ีมีความสาคัญในการนาไปใช้ในการพัฒนาพ้ืนที่ทั้งในระดับ ชุมชน

ท้องถ่ิน ระดับประเทศ หรือระดบั โลก เพ่ือให้เกิดการพัฒนาในด้านต่างๆ บนบริบทของขอ้ เท็จจริงจากข้อมูลที่
ได้มกี ารจัดเก็บและประมวลผล สาหรับพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ถือเป็นพ้ืนที่ท่ีมีความหลากหลาย
ตามลกั ษณะภูมินิเวศ การบรหิ ารจัดการพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับความเป็นไปของแต่ละบริบท
ของพ้ืนท่ี จงึ มีความจาเป็นต้องอาศยั ขอ้ มลู ขอ้ เท็จจริงต่าง ๆ ท่เี กดิ ขึ้นในทกุ บริบทรอบด้านของพ้ืนที่มาใช้ชว่ ย
สนับสนุนการตัดสินใจในการวางแผน และแก้ไขปัญหา ที่จะนาไปสู่การกาหนดแผนและนโยบายในด้านต่างๆ
ท่ีสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ีได้ดี และมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ทางคณะทางานฯ มีความมุ่งหวังให้เกิด
การบูรณาการของข้อมูลในพ้ืนที่ที่ถูกจัดเก็บจากหน่วยงานต่างๆ ท้ังในส่วนของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค
ประชาสังคม รวมทั้งมุ่งหวังให้ทุกภาคส่วนสามารถ “เข้าใจ” “เข้าถึง” ความจริงของปัญหาในพ้ืนท่ี และ
สามารถ “พัฒนา” พ้ืนท่ีได้อย่างยั่งยืน บนพื้นฐานของข้อมูลและสารสนเทศเดียวกัน อนั จะนาไปสู่การบริหาร
จัดการพน้ื ท่ใี ห้เกดิ การพัฒนาอยา่ งย่ังยืน ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาอย่างย่ังยนื ต่อไป
๒. ภาพรวมทางานของระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพอ่ื การบริหารจดั การ

สาหรับภาพรวมการทางานของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสิ่งแวดล้อมเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก ที่ถูกพัฒนาในรูปแบบเว็บแอปพลิเคชันสาหรับใช้ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ท้งั ๓ จงั หวัด ได้แก่ จงั หวัดฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี และระยอง มรี ายละเอยี ด (ภาพท่ี ๗ - ๑)

๗-๑

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้นื ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ภาพที่ ๗ - ๑ กรอบแนวคิดระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสิง่ แวดลอ้ ม
 การควบคุมการเขา้ ถึงและการใชง้ านระบบสารสนเทศ
สาหรับการควบคุมการเข้าถึงและการใช้งานระบบสารสนเทศจะทาการกา หนดสิทธ์ิการเข้าถึงของ
ผู้ใช้งานในระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสิ่งแวดล้อมน้ันแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนด้วยกัน ได้แก่ ระบบการ
กาหนดสทิ ธิ์ในการเข้าถงึ รายงานสถานการณ์ การนาเข้าข้อมูล ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ และระบบในการ
กาหนดสทิ ธิใ์ นการเขา้ ถึงระบบติดตามแผนสง่ิ แวดลอ้ ม ระยะท่ี ๑ และ ระยะท่ี ๒
ในส่วนของการกาหนดสิทธ์ิการเข้าถึง รายงานสถานการณ์ การนาเข้าข้อมูล ระบบสนับสนุนการ
ตดั สนิ ใจ จะเปน็ ระบบเดียวกัน ซึง่ จะแบ่งระดับของสทิ ธิก์ ารเข้าถึงเป็น ๔ ระดับด้วยกนั ประกอบดว้ ย ประเภท
ผู้ดูแลระบบ ประเภทเจ้าหน้าที่แบบจากัดสิทธ์ิบางประการ ประเภทผู้ใช้ทั่วไปที่ลงทะเบียน และประเภทผู้ใช้
ทัว่ ไปที่ไม่ได้ลงทะเบียน สาหรบั ระบบจัดการสทิ ธ์ิของผู้ใชน้ นั้ สามารถเขา้ ถงึ ได้ด้วยสิทธ์แิ บบผู้ดูแลระบบเท่านั้น
โดยผู้ดูแลระบบสามารถกาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงระบบย่อยต่างๆ ได้ ผู้ดูแลระบบสามารถกาหนดสิทธิ์ในการ
เข้าถึงข้อมูลของแต่ละผู้ใช้งานได้ตามความเหมาะสม โดยที่ผู้ดูแลระบบจะถูกกาหนดให้สามารถเข้าถึงได้ทุก
โมดูลและระบบย่อย ส่วนผู้ใช้งานประเภทหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่/ตัวแทนเครือข่ายภาคประชาสังคมและ
ผ้ใู ชง้ านทั่วไปที่ลงทะเบียนจะถูกกาหนดสิทธิใ์ ห้สามารเขา้ ถงึ ไดเ้ ฉพาะบางโมดลู หรือบางระบบย่อยเท่าน้ัน เว้น
แต่ผู้ดูแลระบบจะพิจารณากาหนดสิทธ์ิเพิ่มเติมให้ตามความเหมาะสมและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจที่มีความ
เกี่ยวข้องกับแต่ละระบบ ส่วนระบบกาหนดสิทธิ์การเข้าถงึ ระบบติดตามการดาเนินงานตามแผนสิ่งแวดล้อมใน
พื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ท้ังในส่วนระยะท่ี ๑ และระยะที่ ๒ จะแตกต่างกับระบบการเข้าถึงโมดูล
ต่างๆ เนื่องจากขั้นตอนการได้สิทธ์ิการเข้าถึงมาจากการส่งรายช่ือจากหน่วยงานและทางผู้ดูแลระบบเป็นผู้
ลงทะเบียนให้เท่าน้ัน โดยในระบบนี้ผู้ดูแลระบบจะสามารถจัดการกับผู้ใช้ได้ โดยผู้ใช้ท่ีถูกลงทะเบียนจะ
สามารถสืบคน้ โครงการ แผนงานที่เคยกรอกไว้ของตนเองเพ่ือเขา้ ไปปรบั ปรงุ สถานภาพของโครงการต่อไป

๗-๒

แผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๒.๑ ข้อมลู พืน้ ฐานสารสนเทศภมู ศิ าสตร์
ข้อมูลพ้ืนฐานสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นข้อมูลที่ถูกจัดเก็บในรูปแบบ Shapefile ที่สามารถนามาใช้กับ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จานวน ๕ หมวด ประกอบด้วยชุดข้อมูลขอบเขตการปกครอง ชุดข้อมูลแหล่งน้า
ชุดข้อมูลมลพิษ ชุดข้อมูลภัยธรรมชาติ และชุดข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน รวมทั้งสิ้น ๓๗ ชั้นข้อมูล โดยได้
จากการรวบรวมจากหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบ และปรับปรุงข้อมูลให้มีความเป็นปัจจุบัน จากนั้นจึงนามา
จัดเกบ็ ในเคร่ืองแม่ข่ายที่ติดตั้ง GeoServer เพื่อให้ระบบต่าง ๆ สามารถเรยี กใชข้ ้อมูลและแสดงผลในรูปแบบ
แผนทไ่ี ด้
๒.๒ ขอ้ มลู สถานการณท์ รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ข้อมูลสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประกอบด้วยข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวมข้อมูล
ของหนว่ ยงานภาครฐั ทีม่ ีหนา้ ทีร่ ับผิดชอบทาการจดั เกบ็ และรายงานข้อมลู สถานการณ์ไว้ รวมทั้งส้นิ ๑๙ หมวด
ช้ันข้อมูล ประกอบด้วย ข้อมูลคุณภาพน้าผิวดิน ข้อมูลคุณภาพน้าบาดาล ข้อมูลคุณภาพน้าทะเลและชายฝั่ง
ข้อมูลการจัดการน้าเสียชุมชน ข้อมูลคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอย ข้อมูล
สิ่งแวดลอ้ มเมอื ง ข้อมูลสิง่ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ข้อมลู โครงการด้านการพัฒนา/การคมนาคมขนส่ง
ข้อมูลพื้นท่ีป่าไม้ ข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ ข้อมูลเหตุฉุกเฉินและเร่ืองร้องเรียน ข้อมูลสถานการณ์
ทรัพยากรดิน ข้อมูลสถานการณ์การใช้ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลทรัพยากรแร่ ข้อมูลพลังงาน ข้อมูลพ้ืนท่คี ุ้มครอง
สง่ิ แวดล้อมและเขตควบคุมมลพิษ ขอ้ มูลแหล่งกาเนิดมลพิษ และข้อมูลทรัพยากรนา้ และพ้ืนที่ชุ่มน้า/อ่างเก็บ
น้า
๒.๓ ข้อมลู จากแหลง่ ข้อมูลเปิดของภาครัฐ (API)
ขอ้ มูลจากแหล่งข้อมลู เปดิ ของภาครัฐ (API) จะเปน็ ข้อมลู ท่ีถูกจัดเก็บโดยหน่วยงานภาครฐั และเผยแพร่
ให้กับผู้ท่ีสนใจใช้ในรูปแบบของ JSON ที่มีตาแหน่งพิกัดของสถานีตรวจวัดแต่ละแห่ง โดยข้อมูลเหล่านี้จะถูก
นาไปใช้ประกอบการพัฒนาระบบรายงานสถานการณ์ส่ิงแวดล้อมด้านต่างๆ แบบใกล้เวลาจริง (Near real-
time) ซึ่งได้แก่ ระบบรายงานสถานการณ์ปริมาณน้าผิวดิน ระบบรายงานสถานการณ์คุณภาพน้าบาดาล
ระบบรายงานสถานการณ์คณุ ภาพอากาศ และระบบสนับสนุนการตดั สินใจ รวมทง้ั สน้ิ ๒๕ ช้ันขอ้ มูล
๒.๔ ข้อมลู จากบรกิ ารขอ้ มลู จากเคร่อื งมือตรวจวดั
ขอ้ มูลจากบริการข้อมูลจากเครื่องมือตรวจวัด จะเป็นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพส่ิง (Internet
of Things: IoTs) ท่ีได้จากการบริการของเครือข่ายที่เปิดเป็นข้อมูลเปิดให้บริการในรูปแบบของ JSON
ประกอบด้วยข้อมูลปริมาณน้าท่าจากสถานีตรวจวัดปริมาณน้าท่าอัตโนมัติ ราย ๑๕ นาที จานวน ๙ สถานี
และข้อมลู คณุ ภาพน้าผวิ ดินจากสถานีตรวจวดั คุณภาพนา้ อัตโนมัติทใี่ ห้บรกิ าร จานวน ๓ สถานี รวมท้งั ส้ิน ๑๓
ช้นั ขอ้ มลู
๒.๕ แนวทางการนาเขา้ ขอ้ มูลจากหนว่ ยงานทร่ี ับผิดชอบรายงานส่ิงแวดล้อมและเครือขา่ ยภาค
ประชาสังคม
แนวทางการนาเข้าข้อมูลส่วนน้ีอาจขอความร่วมมือการนาเข้าข้อมูลสู่ระบบโดยหน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายงานสง่ิ แวดล้อมและเครอื ข่ายภาคประชาสังคม ประกอบด้วย ขอ้ มูลความหลากหลายทางชีวภาพ ขอ้ มลู ป่า

๗-๓

แผนสง่ิ แวดล้อมในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ครอบครัว ข้อมูลเกษตรอินทรีย์ ข้อมูลปริมาณของน้า (การมีส่วนร่วมประชาชน) ข้อมูลคุณภาพอากาศโดย
ประชาชน ข้อมูลสถานการณ์คุณภาพน้าทะเล ข้อมูลคุณภาพน้าผิวดิน ข้อมูลพื้นที่สีเขียว และข้อมูลแผน
ส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๑) พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔ จานวนท้ังสิ้น ๙ ชั้น
ขอ้ มลู

๒.๖ การไหลของข้อมูลในระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการสิ่งแวดลอ้ ม (Environmental
Management Information System’s Data Flow Diagram)

สาหรับภาพรวมของการไหลของข้อมูลท่ีอยู่ในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมดังแสดงใน
ภาพท่ี ๗ - ๒ โดยเร่ิมจากผู้ใช้ได้ทาการลงทะเบียนร้องขอสิทธิในการเข้าถึง ผู้ดูแลระบบทาการอนุมัติและ
ยืนยัน จากน้ันผู้ใช้ท่ีได้สิทธิ์ตามท่ีผู้ดูแลกาหนดจะสามารถเข้าถึงข้อมูลในระบบได้ เมื่อผู้ใช้มีการนาเข้าข้อมูล
ข้อมูลดังกล่าวจะถูกนาไปจัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูล และถูกดึงไปใช้เม่ือมีผู้ใช้ทาการร้องขอผ่านระบบต่อไป โดย
รายละเอยี ดของการไหลของข้อมลู ในแต่ละระบบย่อยมีดังตอ่ ไปน้ี

ภาพท่ี ๗ - ๒ รายละเอียดของการไหลของข้อมลู ในแต่ละโมดลู
๓. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรพั ยากรและสงิ่ แวดล้อม

การเข้าสู่ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมสามารถเข้าสู่ระบบได้ ๒ ช่องทาง
ได้แก่ เว็บแอปพลิเคชันและไลน์แอปพลิเคชัน โดยการเข้าผ่านเว็บแอปพลิเคชันสามารถเข้าได้จาก URL ของ
เว็บไซต์ และการเขา้ ผ่านไลน์แอปพลิเคชันสามารถเข้าได้จากไลน์ทางการของ EEC-ONEP โดยการเข้าสู่ระบบ
ผ่านไลน์แอปพลิเคชันจะคล้ายกับการเข้าผ่านหน้าเว็บแอปพลิเคชันเพียงแค่ปรับเปล่ียนการเข้าใช้ให้เช่ือมโยง
กบั แอปพลิเคชันไลน์เท่านั้น ซึ่งผใู้ ช้งานสามารถทราบถึงข้ันตอนในการเข้าสู่ระบบได้จากคมู่ ือระบบสารสนเทศ

๗-๔

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ในสว่ นระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มนจี้ ะเป็นส่วนหลักที่ใชต้ ิดตอ่ กับ
ผ้ใู ช้งานแตล่ ะประเภทตามสิทธใ์ิ นการเข้าถงึ ข้อมูลทีผ่ ู้ดูแลระบบได้กาหนดไว้ ซึง่ ประกอบไปด้วยส่วนติดต่อผใู้ ช้
๔ กล่มุ หลกั ด้วยกัน ประกอบดว้ ย สว่ นระบบรายงานสถานการณ์สิ่งแวดลอ้ ม สว่ นของระบบนาเข้าข้อมูล สว่ น
ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ และส่วนของระบบติดตามแผนสิ่งแวดล้อม โดยท่ีในส่วนของระบบนาเข้า
ข้อมูล และระบบรายงานสถานการณส์ ิ่งแวดล้อม จะมีกล่มุ ของชุดข้อมลู ทเี่ หมือนกนั ประกอบดว้ ย

๓.๑ กล่มุ ท่ี ๑ ระบบรายงานสถานการณส์ งิ่ แวดล้อม
๑. โมดูลปริมาณน้า ในโมดูลน้ีจะประกอบไปด้วย ๒ ระบบย่อย ได้แก่ ระบบรายงาน

สถานการณ์ปริมาณน้าผิวดิน และระบบรายงานสถานการณ์ปริมาณน้าท้ิง/น้าเสีย โดยมีการนาเข้าข้อมูลจาก
ข้อมูลเปิดของหน่วยงานภาครัฐผ่าน API ข้อมูลสถิติเก่ียวกับปริมาณน้าในอดีตท่ีผ่านมาท่ีเผยแพร่จาก
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่น สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ ส่วนข้อมูลท่มี าจากการรายงานสถานการณ์น้าของ
หน่วยงานในพ้ืนท่ี เครือขา่ ยภาคประชาสงั คม จะสามารถเข้าถึงได้เฉพาะผู้ดแู ลระบบ ผู้ที่นาเข้าข้อมลู และผใู้ ช้
ที่ได้รบั สิทธใ์ิ นการเข้าถึงข้อมลู จากผู้ดแู ลระบบเท่าน้นั เพ่อื ใช้ประเมนิ สถานการณ์ปรมิ าณนา้ ต่อไป

 ระบบรายงานสถานการณ์ปริมาณน้าผิวดิน เป็นระบบท่ีรวบรวมข้อมูลจากสถานีตรวจวัด
สภาพอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาที่บริการข้อมูลเปิด API ประกอบด้วยข้อมูลปริมาณ
น้าฝน อณุ หภมู ิ ความช้นื สัมพัทธ์ ความกดอากาศ และความเรว็ ลม ซึ่งผ้ใู ช้สามารถเข้าถึงได้
จากเว็บไซต์ https://data.tmd.go.th/api/index1.php ข้อมูลภาพกลุ่มเมฆจากเรดาห์
น้าฝน ของ Rain Viewer เข้าถึงได้จาก https://www.rainviewer.com/api.html ข้อมูล
ที่ได้จากอุปกรณ์ตรวจวัดระดับน้าแบบอัตโนมัติทั้ง ๙ สถานี ข้อมูลเชิงพื้นที่อื่นๆ เช่น อ่าง
เก็บน้า แหล่งน้า เส้นลาน้าสายหลัก และเส้นลาน้าสายรอง โดยข้อมูลดังกล่าวน้ีถูกจัดเก็บ
รวบรวม และนามาแสดงผลอยู่ในรูปของ แผนที่ กราฟ และตาราง ท่ีมีความเชื่อมโยงกัน
ข้อมูลทอ่ี ยใู่ นระบบสามารถสืบค้นยอ้ นหลงั ๑๔ วัน จากวันปัจจุบนั

 ระบบรายงานสถานการณ์ปริมาณน้าทิ้ง/น้าเสีย ในส่วนนจี้ ะเป็นการแสดงผลข้อมลู สถิติการ
จัดการน้าเสียชุมชนของหน่วยงานเทศบาลที่รับผิดชอบในแต่ละโรงบาบัดน้าเสีย ร่วมกับ
ข้อมูลเชิงพ้ืนที่ ได้แก่ ข้อมูลตาแหน่งระบบบาบัดน้าเสีย เส้นแนวท่อระบบบาบัดน้าเสีย
ขอบเขตการใหบ้ ริการของระบบบาบัดน้าเสีย และแหล่งกาเนิดมลพิษ ซ่ึงผูใ้ ช้ทไ่ี ด้รบั สทิ ธใิ์ น
การเขา้ ถึงขอ้ มลู เทา่ นนั้ จึงจะสามารถเรยี กดูข้อมลู สถติ ิของพื้นท่ีได้

๒. โมดูลคุณภาพน้า ในโมดูลนี้จะประกอบไปด้วย ๔ ระบบย่อย ได้แก่ ระบบรายงาน
สถานการณ์คุณภาพน้าผิวดิน ระบบรายงานสถานการณ์คุณภาพน้าท้ิง/น้าเสีย ระบบรายงานสถานการณ์
คุณภาพนา้ ทะเลและชายฝั่ง และระบบรายงานสถานการณค์ ุณภาพนา้ บาดาล รายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี

 ระบบงานงานสถานการณ์คุณภาพน้าผิวดิน ในส่วนระบบน้ีจะเป็นการรายงานสถานการณ์
คุณ ภ าพ น้ าผิ วดิ น จ ากข้อ มูล ส ถิติ ที่ ได้ ร ว บ ร วม มาจ ากก ารต รว จ วัด แล ะวิ เค ราะห์ ขอ ง
หน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง แสดงผลร่วมกับข้อมูลเชิงพื้นท่ี ได้แก่ ข้อมูลอ่างเก็บน้า
ข้อมูลจากการบริการข้อมูลตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดินแบบอัตโนมัติ จุดเฝ้าระวังคุณภาพ

๗-๕

แผนส่ิงแวดล้อมในพนื้ ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

น้าจากสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๓ และตาแหน่งจุดตรวจวัดตัวอย่างคุณภาพน้า ซ่ึง
ผใู้ ช้ที่ได้รบั สิทธิ์ในการเขา้ ถงึ ขอ้ มูลเท่าน้ันจงึ จะสามารถเรยี กดูข้อมูลสถิตขิ องพ้ืนที่ได้
 ระบบรายงานสถานการณ์คุณภาพน้าท้ิง/น้าเสีย ในส่วนนี้จะเป็นการแสดงผลข้อมูลสถิติ
คุณภาพของน้าก่อนและหลังการบาบัดท่ีตรวจวัดโดยหน่วยงานองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น (อปท.) แสดงผลร่วมกับตาแหน่งระบบบาบัดน้าเสีย เส้นท่อระบบบาบัดน้าเสีย
ขอบเขตระบบบาบดั น้าเสยี และตาแหน่งแหล่งเกิดมลพิษ ซ่ึงผู้ใช้ท่ีได้รบั สทิ ธใ์ิ นการเข้าถึง
ข้อมลู เทา่ น้นั จึงจะสามารถเรยี กดขู ้อมูลสถิติของพ้นื ท่ีได้
 ระบบรายงานสถานการณ์คุณภาพน้าทะเลและชายฝ่ัง ในสว่ นน้ีจะเป็นการแสดงผลข้อมูล
สถิติคุณภาพของน้าทะเลและชายฝ่ังที่จัดเก็บและวิเคราะห์โดยหน่วยงานสานักงาน
ส่งิ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ และรายงานผลใหก้ ับกรมควบคุมมลพิษ แสดงผลร่วมกับข้อมูลเชิง
พื้นท่ี ได้แก่ จุดตรวจวัดคุณภาพน้าทะเล การใช้ประโยชน์ที่ดินป่าชายเลน และ
แหล่งกาเนิดมลพิษ ซ่ึงผู้ใช้ที่ได้รับสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลเท่านั้นจึงจะสามารถเรียกดู
ข้อมูลสถิตขิ องพน้ื ท่ีได้
 ระบบรายงานสถานการณ์คุณภาพน้าบาดาล ระบบติดตามสถานการณ์คุณภาพน้าใต้ดิน
รวบรวมข้อมูลจากข้อมูล API ของกรมทรัพยากรน้าบาดาลข้อมูลประกอบด้วย ค่าการนา
ไฟฟ้า ความเป็นกรดด่าง อุณหภูมิ ความขุ่น และความเค็ม ร่วมกับข้อมูลเชิงพื้นท่ี ได้แก่
ตาแหน่งบอ่ สังเกตการณ์ และการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน โดยผูใ้ ช้สามารถเรยี กดูข้อมูลย้อนหลัง
๑๔ วันของแต่ละบ่อสงั เกตการณไ์ ด้
๓. โมดูลคุณภาพอากาศ เป็นระบบรายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศแบบเรียลไทม์ใน
รูปแบบแดชบอร์ด และแผนท่ีออนไลน์ โดยใช้ข้อมูลเปิดของกรมควบคุมมลพิษในรูปแบบของ API ที่สามารถ
แสดงผลข้อมูลคุณภาพอากาศตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ ประกอบด้วย Air Quality Index
ค่า PM2.5 (µg/m³) ค่า PM10 (µg/m³) ค่า CO (ppm) ค่า O3 (ppb) ค่า SO2 (ppb) และค่า NO2 (ppb)
รว่ มกับขอ้ มูลเชิงพนื้ ท่ี ไดแ้ ก่ แหล่งกาเนดิ มลพิษ จดุ ความรอ้ น และจดุ ตรวจวัดคุณภาพอากาศในพน้ื ท่ี
๔. โมดูลทรัพยากรชีวภาพ ประกอบด้วย ๔ ระบบย่อย ได้แก่ ๑) ระบบรายงานข้อมูลพ้ืนท่ีสี
เขียวสาธารณะ ๒) ระบบรายงานข้อมูลป่าครอบครัว ๓) ระบบรายงานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ ๔)
ระบบรายงานข้อมูลเกษตรอินทรีย์ ซึ่งข้อมูลท่ีนามารายงานจะเป็นการนาเข้าข้อมูลจากเครือข่ายภาคประชา
สังคมในพ้ืนท่ี โดยทั้ง ๔ ระบบย่อยจะแสดงถึงปริมาณขอ้ มูลสีเขียวสาธารณะ ข้อมูลปา่ ครอบครัว ข้อมูลความ
หลากหลายทางชีวภาพ และข้อมูลเกษตรอินทรีย์ในแต่ละพ้ืนท่ีสาหรับใช้รายงานสถานการณ์พื้นที่สีเขียวและ
ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อใช้สาหรับวางแผนบริหารจัดการพื้นท่ีต่อไป ในส่วนของระบบนาเข้าข้อมูล
พื้นท่ีสเี ขยี วนั้นเบ้ืองต้นจะเป็นการนาเขา้ ข้อมูลพน้ื ที่สเี ขียวประเภทพ้ืนที่สีเขียวยั่งยืน (พ้ืนท่ีสเี ขียวท่ีมีไม้ยืนต้น)
และพ้ืนท่ีสีเขียวประเภทสาธารณะ (สวนสาธารณะ) ที่นาเข้าโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียมในการนาเข้าเพ่ือจะได้
ข้อมลู พ้นื ท่ีสเี ขียวที่ปรบั ปรุงเปน็ ปัจจบุ นั มากท่สี ุด

๗-๖

แผนส่งิ แวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

 ระบบรายงานข้อมูลพ้ืนที่สีเขียวสาธารณะ ในระบบน้ีจะเป็นการรายงานสรุปประเภทและ
สัดส่วนของพื้นท่ีสีเขียวสาธารณะในแต่ละจังหวัด โดยแสดงผลรว่ มกับขอบเขตพ้ืนท่ีสีเขียว
สาธารณ ะ พื้นที่สีเขียวย่ังยืนในเทศเทศบาล และตาแหน่งที่เกิดจุดความร้อน
ระบบรายงานข้อมลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ ในระบบนี้จะแสดงผลรายงานของการพบ
ความหลากหลายทางชีวภาพของแต่ละพื้นที่ ร่วมกับแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ ได้แก่ ข้อมูล
ปา่ ไม้ปี ๒๕๖๓ ข้อมลู ตาแหน่งชนิดพนั ธ์ุสาคัญหายากและชีวภาพ ตาแหน่งแหล่งธรรมชาติ
และตาแหน่งพน้ื ท่ีชมุ น้า

 ระบบรายงานข้อมูลป่าครอบครัว ในระบบนี้จะแสดงรายงานข้อมูลจานวนและขนาดของ
แปลงป่าครอบครัว การใช้ประโยชน์ และการกระจายตวั ของป่าครอบครวั

 ระบบรายงานข้อมูลเกษตรอินทรีย์ ในระบบน้ีจะแสดงรายงานขอ้ มลู จานวน ขนาด และการ
กระจายตวั ของแปลงเกษตรอนิ ทรยี ์ในพื้นท่ี

๕. โมดูลอื่นๆ ประกอบด้วย ระบบรายงานปริมาณขยะ ในระบบนี้จะแสดงรายงานข้อมูล
ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในพื้นท่ี รวมถึงรายละเอียดเพิ่มเติมจากหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพื่อแสดง
ข้อมูลจานวนประชากร ปริมาณขยะเฉลี่ยในพื้นที่ และปริมาณขยะแต่ละประเภทที่เกิดข้ึนในพ้ืนท่ีเป็นระบบ
รายงานปริมาณขยะท่ีได้จากการรวบรวมข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษและสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี ๑๓
(ชลบุรี) ในพื้นท่ีซ่ึงแสดงผลร่วมกับข้อมูลเชิงพ้ืนที่ได้แก่ ขอบเขตพ้ืนท่ีบริหารจัดการขยะมูลฝอย และตาแหน่ง
ศนู ย์กาจัดขยะ

๓.๒ กลมุ่ ที่ ๒ ระบบนาเข้าข้อมูลส่งิ แวดลอ้ ม
ในกลุ่มของระบบนาเข้าข้อมูลสิ่งแวดล้อมประกอบไปด้วย ๕ โมดูลด้วยกัน ได้แก่ โมดูลปริมาณน้า
โมดูลคณุ ภาพน้า โมดูลคุณภาพอากาศ และโมดูลทรัพยากรชีวภาพ และโมดูลอ่ืนๆ ซึ่งทงั้ ๕ โมดูลจะดึงขอ้ มูล
ที่มีอยู่จากฐานข้อมูล (ส่วนที่สอง) มาวิเคราะห์และแสดงผลสาหรับสนับสนุนการตัดสินใจในแต่ละด้าน ซึ่งผู้ท่ี
สามารถเข้าใช้งานได้จาเป็นต้องมกี ารลงทะเบียนผ่านระบบและผู้ดูแลระบบอนุมัติให้มีสิทธ์ิในการเข้าถึงข้อมูล
ไดเ้ ทา่ นั้น

๑. โมดูลปริมาณน้า ในโมดูลน้ีจะประกอบไปด้วย ๒ ระบบย่อย ได้แก่ ระบบนาเข้าปริมาณ
นา้ ผวิ ดิน (การมสี ่วนร่วมของประชาชน) และระบบนาเขา้ ปริมาณน้าทิ้ง/น้าเสยี โดยมีการนาเขา้ ขอ้ มูลจากการ
มีสว่ นร่วมของประชาชนท่ีรว่ มรายงานสถานการณ์น้าในพน้ื ท่ี

 ระบบนาเข้าปริมาณน้าผิวดิน (การมีส่วนร่วมของประชาชน) สาหรับระบบการนาเข้า
ปริมาณน้าผิวดินจะเป็นการนาเข้าข้อมูลโดยเครือข่ายภาคประชาสังคม เพื่อใช้ในการ
รายงานสถานการณ์ระดับน้าท่ีเกิดขึ้นในพนื้ ที่ สาหรับนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจของ
หนว่ ยงานภาครฐั และท้องถน่ิ ในการบริหารจดั การนา้ และภยั ต่าง ๆ

 ระบบนาเข้าปริมาณน้าทิ้ง/น้าเสีย ในระบบนี้จะเป็นการนาเข้าข้อมูลปริมาณน้าทิ้ง/น้า
เสีย ท่ีเกิดข้ึนในแต่ละพื้นที่ โดยผู้ใช้สามารถเลือกนาเข้าข้อมูลปริมาณน้าท้ิง/น้าเสียท่ี

๗-๗

แผนสงิ่ แวดล้อมในพืน้ ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

เกิดขน้ึ จริง พรอ้ มกับระบุตาแหน่งของปริมาณน้าทิ้ง/นา้ เสียท่ีเกดิ ขึน้ ในพื้นท่ี หรือนาเข้า
จานวนอาคาร เพอื่ ให้ระบบชว่ ยคานวณคา่ ประมาณการของการเกดิ น้าเสียในพ้นื ที่ได้
๒. โมดูลคุณภาพน้า จะประกอบด้วย ระบบนาเข้าข้อมูลคุณภาพน้าผิวดิน ระบบนาเข้า
ขอ้ มูลคุณภาพน้าท้ิง/น้าเสีย ระบบนาเข้าข้อมูลคุณภาพน้าทะเลและชายฝ่ัง และระบบนาเข้าข้อมูลคุณภาพน้า
บาดาล
 ระบบนาเข้าข้อมูลคุณภาพน้าผิวดิน นาเข้าข้อมูลคุณภาพน้าผิวดินประกอบด้วยส่วน
นาเข้าซึ่งผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลตาแหน่งของจุดตรวจวัด พารามิเตอร์ท่ีตรวจวัด เช่น
ออกซิเจนละลายน้า ปริมาณออกซิเจนท่ีจุลินทรีย์ต้องการ Total Coliform Bacteria
Coliform Bacteria แอมโมเนีย ฟอสฟอรัสทั้งหมด ของแข็งทั้งหมด ของแข็งแขวนลอย
อุณหภูมิ (C) pH ไนเตรด ฟีนอลทองแดง นิคเกิล แมงกานีส สังกะสี แคดเมียม
โครเมียมชนิดเฮ็กซาวาเล้นท์ ตะก่ัว ปรอททั้งหมด สารหนู ไซยาไนด์ กัมมันตภาพรังสี
สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ชนิดที่มีคลอรีนท้ังหมด (Total Organochlorine Pesticides)
ดีดีที บีเอชซีชนิดแอลฟา (Alpha-BHC) ดิลดริน (Dieldrin) อัลดริน (Aldrin) เฮปตา
คอร์ (Heptachlor) และเฮปตาคลอรอ์ ปี อกไซด์ (Heptachlorepoxide) เอนดรนิ
 ระบบนาเข้าข้อมูลคุณภาพน้าทิ้ง/น้าเสีย ผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลลงในฟอร์ม
ประกอบด้วย ข้อมูลตาแหน่งของจุดตรวจวัด สถานที่ วันที่รายงาน และพารามิเตอร์ที่
ต้องการจัดเก็บ เช่น จานวนอาคารชุด/บ้านพัก (หลัง) จานวนโรงแรม (แห่ง) จานวน
หอพัก (แห่ง) จานวนสถานบริการ (แห่ง) จานวนบ้านจัดสรร (แห่ง) จานวนโรงพยาบาล
(แห่ง) จานวนภัตตาคาร/ร้านอาหาร (แห่ง) จานวนตลาด (แห่ง) ห้างสรรพสินค้า (แห่ง)
จานวนสานักงาน (แหง่ ) จานวนโรงเรียน (แห่ง) สถานีบรกิ ารนา้ มนั (แห่ง) วดั (แหง่ ) ศนู ย์
ราชการ (แห่ง) คลินิก (แห่ง) ซึ่งระบบจะคานวณ ปริมาณน้าเสีย (ลิตร/วัน) ออกมาให้
โดยอัตโนมตั ิ
 ระบบนาเข้าข้อมูลคุณภาพน้าทะเลและชายฝ่ัง ผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูล ประกอบด้วย
ค่าดีโอ (mg/l) ปริมาณแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (MPN/๑๐๐ml) ฟอสเฟต-
ฟอสฟอรัส (μg-P/l) ไนเตรท-ไนโตรเจน (μg-N/l) อุณหภูมิ (ºC) สารแขวนลอย ค่าความ
เป็นกรด ด่าง ปริมาณแอมโมเนีย (μg-N/l) ค่ามาตรฐานคุณภาพน้าทะเล ปริมาณสาร
ตะกัว่ (μg/l) ได้
 ระบบนาเข้าข้อมูลคุณภาพน้าบาดาล ผู้ใช้สามารถนาเข้าข้อมูลรายละเอียดของสถานี
ตรวจวัดคุณภาพน้าบาดาล โดยบันทึกคุณภาพน้าบาดาล แบ่งเป็นกลุ่ม ลักษณะทางการ
ภาพและเคมี ประกอบด้วย สีของน้า (NTU) ความขุ่น (ADMI) ค่าความเป็นกรด-ด่าง ค่า
การนาไฟฟ้า (μS/cm) ปริมาณแคลเซียม (mg/L) แมกนีเซียม (mg/L) โซเดียม (mg/L)
โพแทสเซียม (mg/L) เหล็ก (mg/L) แมงกานีส (mg/L) ซัลเฟต (mg/L) คลอไรด์ (mg/L)
ฟลูออไรด์ (mg/L) ไนเตรต (mg/L) ปริมาณสารทั้งหมด (mg/L) และโลหะหนักและ

๗-๘

แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นทีเ่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สารพิษ ประกอบด้วย ทองแดง (mg/L) สังกะสี (mg/L) สารหนู (mg/L) ตะก่ัว (mg/L)
แคดเมียม (mg/L) โครเมียม (mg/L) ปรอท (mg/L) ซีลีเนียม (mg/L) นิกเกิล (mg/L)
เงนิ (mg/L) แบเรียม (mg/L) ไซยาไนด์ (mg/L)
๓. โมดูลคุณภาพอากาศ สาหรับโมดูลการนาเข้าข้อมูลคุณภาพอากาศนี้จะเป็นการนาเข้า
โดยประชาชนในพื้นท่ีทีส่ นใจส่งข้อมูลเชิงคณุ ภาพของคุณภาพอากาศ เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐสามารถนาไปใช้
ประกอบการวางแผนบริหารและจัดการความเสย่ี งในการเกิดผลกระทบทเ่ี กิดจากคุณภาพอากาศได้
๔. โมดูลทรัพยากรชีวภาพ ประกอบด้วย ๔ ระบบย่อย ได้แก่ ๑) ระบบนาเข้าข้อมูลพ้ืนที่
สีเขียวสาธารณะ ๒) ระบบนาเข้าข้อมูลป่าครอบครัว ๓) ระบบนาเข้าข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ
๔) ระบบนาเข้าข้อมูลเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นการนาเข้าข้อมูลจากเครือข่ายภาคประชาสังคมในพื้นท่ี โดยทั้ง ๔
ระบบย่อยจะแสดงถึงปริมาณข้อมูลสีเขียวสาธารณะ ข้อมูลป่าครอบครัว ข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ
และข้อมูลเกษตรอินทรีย์ในแต่ละพื้นที่สาหรับใช้รายงานสถานการณ์พ้ืนท่ีสีเขียวและความหลากหลายทาง
ชีวภาพเพือ่ ใชส้ าหรบั วางแผนบรหิ ารจัดการพ้นื ทต่ี อ่ ไป
 ระบบนาเข้าข้อมูลพ้ืนท่ีสเี ขยี วสาธารณะ ผ้ใู ช้สามารถสร้างข้อมูลรูปแบบแปลงของพื้นท่ีสี
เขียวสาธารณะ พร้อมทงั้ ระบุรายละเอียดของพื้นที่ โดยระบบจาทาการคานวณเนือ้ ที่ของ
พ้ืนที่สีเขียวสาธารณะใหอ้ ัตโนมตั ิ
 ระบบนาเข้าป่าครอบครัว เป็นระบบท่ีผู้ใช้สามารถทาบันทึกกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนกับพ้ืนที่ป่า
ครอบครัวของตนเอง รวมทั้งสามารถระบขุ อบเขตการใชป้ ระโยชน์ของปา่ ครอบครวั ได้ ซ่ึง
ผูด้ ูแลระบบสามารถเขา้ ไปจดั การรายการข้อมลู ประเภทชนิดพชื แตล่ ะประเภทได้
 ระบบนาเข้าข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ สามารถกรอกรายละเอียดชนิดของความ
หลากหลายทพ่ี บ พร้อมตาแหนง่ และรูปภาพ
 ระบบนาเข้าข้อมูลเกษตรอินทรีย์ ในระบบนาเข้านี้ผู้ใช้สามารถสร้างข้อมูลด้วยการวาด
แปลงหรือพ้ืนท่ี ตามประเภทของกิจกรรมที่ทาออกเป็นสามด้าน ได้แก่ ๑) การเพาะปลูก
๒) ปศสุ ตั ว์ ๓) การประมง
๕. โมดลู อ่ืน ๆ ไดแ้ ก่ ระบบนาเข้าข้อมูลขยะ
 ระบบนาเข้าข้อมูลขยะ ในระบบนี้ผ้ใู ชง้ านสามารถนาเขา้ ขอ้ มูลปรมิ าณขยะท่ีจดั เก็บได้ในพ้ืนท่ี
ในแตล่ ะหมวดของประเภทขยะ เช่น การนาขยะไปใช้ประโยชน์ ขยะท่ัวไป ขยะอนิ ทรยี ์ ขยะรี
ไซเคิล ขยะอันตราย รวมถึงสามารถคาดการณ์การเกิดขยะจากจานวนประชากร การบริหาร
จดั เกบ็ ขยะทเี่ กิดขึ้นในพ้นื ที่ เปน็ ต้น
๓.๓ กลุ่มที่ ๓ ระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ
ในกลุ่มของระบบสนับสนุนการตัดสินใจน้ี จะประกอบไปด้วยระบบสนับสนุนการตัดสินใจย่อยอีก
๔ ระบบด้วยกัน ได้แก่ ภาพรวม นา้ ผิวดนิ มลพษิ ทางอากาศ และอุณหภูมแิ ละพ้ืนทีส่ เี ขยี ว (ภาพที่ ๑๒ - ๗๑)
 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจภาพรวม ในระบบน้ีผู้ใช้สามารถเลือกดูชั้นข้อมูลเชิงพ้ืนที่ตามท่ี
สนใจเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในเรื่องท่ีต้องการได้ โดยในระบบนี้จะเป็นการรวมรวม

๗-๙

แผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ข้อมูลเชิงพ้ืนที่ท่ีรวมกับข้อมูลการรายงานสถานการณ์ ร่วมกับข้อมูลที่ไม่ใช่เชิงพื้นท่ี เช่น
ข้อมูลสถิติต่างๆ เช่น สถิติประชากร และข้อมูลคาดการณ์และแนวโน้มสถานการณ์ ที่
ประกอบไปด้วย ข้อมูลการคาดการณ์ประชากรทั้งในสภาวะปกติ และสภาวะจากผลกระทบ
ของการระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ การคาดการณ์ความต้องการใช้น้า การ
คาดการณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้า การคาดการณ์ปริมาณน้าเสียชุมชน การคาดการณ์ปริมาณ
ขยะมูลฝอย การคาดการณ์ปริมาณของเสียที่จะเกิดข้ึน การคาดการณ์ปริมาณน้าดิบ การ
คาดการณ์เศรษฐกิจ การคาดการณ์แรงงานไทย การคาดการณ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน
กรณี BAU และการคาดการณก์ ารใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ เปน็ ต้น
 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจด้านน้าผิวดิน ในระบบนี้ผู้ใช้สามารถเลือกชั้นข้อมูลที่เก่ียวข้อง
กับการตัดสินใจวางแผนการจัดการน้าผิวดิน ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลปริมาณน้าฝน ข้อมูลการ
กระจายตัวของปริมาณน้าฝนรายสัปดาห์ ข้อมูลเรดาร์น้าฝนแบบใกล้เวลาจริง ข้อมูลการใช้
ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลขอบเขตภูมินิเวศ หรือ พร้อมทั้งช้ันข้อมูลสนับสนุนอ่ืนๆ เพื่อใช้
ประกอบการวางแผนบรหิ ารจัดการน้าในพ้นื ท่ีใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพต่อไป
 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจด้านมลพิษทางอากาศ ในระบบนี้ผู้ใช้สามารถเลือกแสดงผลชั้น
ข้อมูลคุณภาพอากาศในช่วงเวลาและพารามิเตอร์ที่สนใจเพ่ือให้เห็นการกระจายตัวของ
คุณภาพอากาศในพ้ืนท่ี ร่วมกับชั้นข้อมูลอื่นๆ เพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจวางแผนจัดการ
แกไ้ ขปัญหามลพิษทางอากาศได้ดยี ่ิงข้ึน
 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจด้านอุณหภูมิและพ้ืนท่ีสีเขียว ในระบบนี้ผู้ใช้สามารถเลือกดูชั้น
ขอ้ มูลการกระจายตัวของพื้นที่สเี ขยี วในแตล่ ะพื้นท่ี เพอ่ื ประกอบการประเมินความเหมาะสม
ของสัดส่วนพ้ืนที่สีเขียวในพื้นท่ีว่าควรเพิ่มพ้ืนที่สีเขียวในบริเวณใดบ้าง นอกจากนี้ยังมีการ
แสดงผลการกระจายตัวของข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพเพ่ือให้ผู้ใช้สามารถอนุรักษ์/
สงวนพื้นท่ีให้คงอยู่ต่อไป และระบบน้ียังสามารถแสดงผลการกระจายตัวของพ้ืนท่ีเพาะปลูก
แบบเกษตรอินทรีย์ได้เพื่อดูภาพรวมของความหลากหลายของการเพาะปลูก ท่ีแสดงถึง
ศักยภาพของพื้นท่ีในการเพาะปลูกและความสามารถในการเกิดความม่ันคงทางอากาหาร
แบบปลอดภัยได้
๓.๔ กลมุ่ ที่ ๓ ระบบตดิ ตามแผนสิ่งแวดล้อม
ในส่วนของระบบติดตามแผนสิ่งแวดล้อมจะเป็นระบบสาหรับใช้ในการติดตามการดาเนินงานของ
โครงการภายใต้แผนส่ิงแวดล้อม ระยะท่ี ๑ และระยะที่ ๒ ซึ่งในระบบจะมีส่วนหลัก ๆ อยู่ ๓ ส่วนด้วยกัน
ได้แก่ ส่วนหน้ารายงานสรุปของสถานการณ์ดาเนินงานของโครงการภายใต้แผนสิ่งแวดล้อม ระยะที่ ๑ และ
ระยะที่ ๒ ส่วนการรายงานผลการติดตามโครงการ และส่วนที่ ๒ ส่วนของการนาเข้าโครงการภายใต้แผน
สิ่งแวดล้อม ทั้งระยะที่ ๑ และระยะท่ี ๒ ทั้งนี้ในการเข้าถึงข้อมูลส่วนของระบบติดตามแผนส่ิงแวดล้อมจะ
อนุญาตเฉพาะผู้ใช้ที่ถูกกาหนดสิทธ์ิจากผู้ดูแลระบบเพ่ือให้สามารถเข้าใช้งานได้เท่าน้ัน โดยผู้ใช้งานสามารถ
เลือกเขา้ สูร่ ะบบติดตามแผนสง่ิ แวดล้อม ระยะท่ี ๑ หรอื ระบบติดตามแผนสิง่ แวดลอ้ ม ระยะที่ ๒ ได้

๗ - ๑๐

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพ้ืนท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

๓.๕ ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพอ่ื การบริหารจดั การฯ ไปสรู่ ะบบ
ขอ้ มูลสิง่ แวดลอ้ มอัจฉริยะ

ระบบการรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลข้อมูล (Management Information System:
MIS) ถูกพัฒนาข้ึนตามโครงการจัดทาแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒
พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ เพ่ือส่งเสริมการขับเคล่ือนกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ มในพน้ื ทีพ่ ัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จงั หวดั ฉะเชิงเทรา จงั หวดั ชลบรุ ี และจังหวดั ระยอง

เพื่อให้การบริหารจัดการ ขับเคล่ือน และพัฒนาระบบ MIS ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเน่ือง
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพต่อไป จงึ ตอ้ งพิจารณาแนวทางกาหนดโครงสรา้ งการบริหารจดั การระบบข้อมลู MIS ดังนี้

๑. สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม คอื ผู้รเิ รมิ่ ดาเนนิ การให้มรี ะบบ
ขอ้ มลู MIS ดังนั้นจงึ มีบทบาทหนา้ ทใ่ี นการเปน็ ผบู้ รหิ าร ดแู ล และพฒั นาระบบ MIS อยา่ งต่อเนื่อง เพื่อทาการ
เผยแพร่ระบบต่อสาธารณะ

๑.๑ ประสานบรู ณาการความร่วมมือกับหน่วยงานและภาคประชาสงั คม ในเร่อื งของข้อมูล
๑) ข้อมูลที่เป็นลักษณะของการรายงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่นประจาเดือน ไตรมาศ

หรือประจาปี ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐ ในส่วนน้ี ต้องประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน
เจ้าของข้อมูลเป็นระยะ และทาการใสข่ ้อมูลตามกาหนดรูปแบบการบันทึกข้อมูลให้เขา้ สรู่ ะบบ MIS ได้โดยตรง
และใชข้ อ้ มูลร่วมกัน

๒) ข้อมูลจากสถานีตรวจวัดอัตโนมัติ (IoT) ในส่วนนี้ ต้องประสานเพ่ือขออนุมัติในการเข้าถึง
ขอ้ มูล (API หรอื JSON) จากหนว่ ยงานเจา้ ของสถานตี รวจวัด ท้ังนี้ ควรตรวจสอบการดงึ ขอ้ มูลมาใชใ้ นระบบน้ี
เป็นระยะ เช่น ปีละ ๑ - ๒ ครัง้ ตามลักษณะของข้อมลู

๓) ขอ้ มูลท่ีต้องการในพื้นท่ี แต่ยังไม่มีหน่วยงานใดดาเนินงานรวบรวมและจัดเก็บ เช่น ขอ้ มูล
พ้ืนที่ป่าครอบครัว พื้นที่เกษตรอินทรีย์ ฯลฯ ในส่วนน้ี เจ้าของข้อมูลจะเป็นภาคประชาสังคมที่เป็นเจ้าของ
กิจกรรมนั้น ๆ ซึ่งในการรวบรวมข้อมูล หากได้รับความช่วยเหลือจากภาคประชาสังคมเจ้าของกิจกรรมที่
ต้องการข้อมูล เป็นผู้นาเข้าข้อมูลเอง จะช่วยให้การรวบรวมข้อมูลทาได้รวดเร็วมากขึ้น ทั้งนี้ข้อมูลส่วนนี้เป็น
การนาเข้าเบื้องต้นไม่มีเครื่องมือที่มีมาตรฐานมากนัก ข้อมูลท่ีได้จึงใช้ประกอบทิศทางการวางแผนบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในภาพรวม

๑.๒ พิจารณากาหนดรูปแบบการใช้ประโยชน์ระบบข้อมูล MIS เช่น การเป็นสมาชิกในการเข้าถึง
ข้อมูล ระดับข้อมลู ทสี่ มาชิกแต่ละประเภทจะสามารถเข้าถึงได้ รวมทงั้ การพจิ ารณาชนิดข้อมูลที่จาเป็นอ่ืน ๆ ท่ี
สมควรมแี ละเปน็ ประโยชนต์ ่อการบรหิ ารจัดการสงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก

๒. เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากระบบดังกล่าว จาเป็นต้องมีหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดูแลและ
ขับเคลื่อนระบบในพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง โดย
ภารกิจสาคัญประการแรก คือ การประสานภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่เพ่ือให้มีคณะกรรมการคลังข้อมูลเพ่ือการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออก เพ่ือทาหน้าที่บริหารจัดการข้อมูลและใช้ประโยชน์
จากคลังข้อมูลโดยการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง ทั้งนี้ ข้อมูลที่

๗ - ๑๑

แผนส่ิงแวดลอ้ มในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

นามาเผยแพร่ในฐานข้อมูลน้ีมาจากหลายหน่วยงาน องค์กร ฯลฯ เพ่ือประกอบการวางนโยบายด้ าน
สิ่งแวดล้อม ไม่สามารถอ้างอิงทางกฎหมายได้ จาเป็นต้องตรวจสอบความถูกต้องกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ
กอ่ น โดยมีโครงสรา้ งและกระบวนการ ดงั นี้

๒.๑ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมสนับสนุนและ
ประสานการนาระบบ MIS ไปสู่การปฏิบัติ โดยกาหนดให้มีผู้ขับเคลื่อนระบบในระดับพ้ืนที่ และบูรณาการ
ความรว่ มมือในการดูแลระบบร่วมกบั หน่วยงานผ้ขู บั เคลื่อน

๒.๒ สานักงานส่ิงแวดล้อมภาค ท่ี ๑๓ (สสภ. ๑๓) เป็นหน่วยงานของสานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รับผิดชอบปฏิบตั ิการในพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ทาหน้าทใ่ี นการ
นาระบบขอ้ มลู MIS ไปสู่การขบั เคลือ่ น และประสานบริหารจดั การโดยการมสี ่วนร่วม

๑) ประสานภาคีเครือข่ายองค์กรบูรณาการจัดการสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออก และกรรมการ
คลังข้อมูลส่ิงแวดลอ้ มภาคตะวันออก ซ่ึงมีการจดั ต้ังขนึ้ ตามยุทธศาสตร์การพฒั นากลไกการมีส่วนร่วมตามแผน
สง่ิ แวดล้อมในพ้ืนท่ีพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ระยะท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ เพ่ือการวางระบบการบริหาร
จดั การระบบข้อมลู MIS ในส่วนท่ีเก่ียวข้อง

๒) แนวทางการวางระบบการบรหิ ารจัดการระบบขอ้ มูล MIS รว่ ม เพื่อการทาหน้าท่ี
- ประสานความร่วมมือในการรวบรวมข้อมูลและนาเขา้ ข้อมลู
- ตดิ ตามตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมลู และทาการปรับปรุงอยา่ งต่อเน่ือง
- พัฒนาประเด็นการใช้ประโยชน์จากคลังข้อมูล เช่น การพัฒนาแบบจาลองเพื่อเตือน
ภัยส่ิงแวดล้อม ประเด็นเร่งด่วนด้านสิ่งแวดล้อมหรือเพื่อประกอบการตัดสินใจใน
ประเด็นท่ีสาคัญ
- เผยแพร่ขอ้ มลู เพอ่ื การรับรู้ของสาธารณะอยา่ งท่ัวถงึ

๗ - ๑๒

แผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

บรรณานกุ รม

กรมควบคุมมลพิษ. (๒๕๖๑). รายงานสถานการณแ์ ละการจัดการปญั หามลพิษทางอากาศและเสยี ง ปี ๒๕๖๑.
กระทรงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม.

กรมควบคุมมลพิษ. (๒๕๖๒). ข้อมูลสถานการณ์ขยะมลู ฝอยของจังหวดั . [สบื คน้ เม่ือ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๔]
จากเว็บไซต์ https://thaimsw.pcd.go.th/report3.php

กรมควบคุมมลพิษ. (๒๕๖๒). ระบบสารสนเทศดา้ นการจัดการขยะมลู ฝอยชมุ ชน. [สืบค้นเม่อื ๒๓ มกราคม
๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ https://thaimsw.pcd.go.th/search.php?keyword
=&action%5B%5D=1&action%5B%5D=2&province=24&year=๒๕๖๒

กรมควบคุมมลพิษ. (๒๕๖๒). รายงานสถานการณแ์ ละการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสยี ง ปี ๒๕๖๒.
กระทรงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

กรมควบคุมมลพิษ. (๒๕๖๒). รายงานสถานการณแ์ ละคณุ ภาพอากาศประเทศไทย. [สบื ค้นเม่อื ๒๓ มกราคม
๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ http://air4thai.pcd.go.th/webV2/download.php

กรมชลประทาน. (๒๕๕๙-๒๕๖๒). ตารางสรปุ สภาพนา้ ในอ่างเกบ็ นา้ ขนาดใหญ่และขนาดกลาง. [สบื ค้นเม่ือ
๒๑ มกราคม ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ http://app.rid.go.th:88/reservoir/

กรมชลประทาน. (๒๕๖๒). รายงานแผนแมบ่ ทการพัฒนาลุ่มน้าระดับจงั หวดั . [สืบค้นเม่ือ ๑๒ มกราคม
๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ http://opm.rid.go.th/page/article/411?slug=รายงานลุม่ น้าจังหวดั

กรมชลประทาน. (๒๕๖๔). ระบบฐานข้อมลู นา้ ในอา่ งเก็บน้า. [สืบค้นเมอ่ื ๒๒ มกราคม ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์
http://app.rid.go.th:88/reservoir/rsvmiddle

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง. (๒๕๕๖). เกาะในจังหวดั ฉะเชงิ เทรา. [สบื คน้ เมื่อ ๒๕ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔]
จากเว็บไซต์ https://km.dmcr.go.th/th/c_1/s_186/d_7431

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ . (๒๕๕๖). เกาะในจังหวดั ชลบุรี. [สบื ค้นเมือ่ ๒๕ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔] จาก
เว็บไซต์ https://km.dmcr.go.th/th/c_1/s_186/d_7422

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ . (๒๕๕๖). เกาะในจังหวัดระยอง. [สบื คน้ เมื่อ ๒๕ มถิ ุนายน ๒๕๖๔] จาก
เวบ็ ไซต์ http://km.dmcr.go.th/th/c_1/s_186/d_7419

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (๒๕๕๖). นิยามและความหมาย. ระบบฐานข้อมลู กลางและมาตรฐาน
ข้อมลู ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. [สบื ค้นเมอื่ ๑๘
ตุลาคม ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ https://km.dmcr.go.th/th/c_52/d_236

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (๒๕๕๙). สถานภาพแนวปะการงั ในไทย. [สืบค้นเม่ือ ๒๒ มกราคม
๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ https://km.dmcr.go.th/th/c_3/d_1650

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง. (๒๕๖๐). สถานภาพแหล่งหญ้าทะเลไทย. [สืบคน้ เม่ือ ๒๑ มกราคม
๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ https://km.dmcr.go.th/th/c_4/d_775

บรรณานกุ รม - ๑

แผนส่ิงแวดล้อมในพ้ืนทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั . (ม.ป.ป). ข้อมลู พนื้ ทป่ี ่าชายเลน. [สืบค้นเมื่อ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๔] จาก
เวบ็ ไซต์ https://marinegiscenter.dmcr.go.th/mis/develop/?q=mangrove_
area#.YArmEOgzZPY

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ . (ม.ป.ป.). รายงานรวบรวมข้อมูล ฐานข้อมูลการกัดเซาะชายฝ่ังรายจงั หวัด
๒๓ จงั หวัด. [สบื คน้ เม่ือ ๒๕ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์
https://www.dmcr.go.th/detailLib/2394/

กรมทรัพยากรนา้ บาดาล (ม.ป.ป.) [สืบค้นเม่ือ ๒๐มกราคม ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์
http://app.dgr.go.th/newpasutara/xml/map_well.html

กรมทรัพยากรน้าบาดาล. (๒๕๖๓). รายงานสถานการณ์น้าบาดาลประเทศไทย ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒. สานัก
อนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรน้าบาดาล กรมทรัพยากรน้าบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดลอ้ ม. กรงุ เทพมหานคร.

กรมทรัพยากรน้าบาดาล. (๒๕๖๔). สรุปรายงานสถานการณ์น้าบาดาลประเทศไทย ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๓.
สานักอนุรกั ษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรนา้ บาดาล กรมทรพั ยากรน้าบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ ม. กรุงเทพมหานคร.

กรมประชาสัมพันธ.์ (๒๕๖๓). TGO ลงนามความรว่ มมอื กับ ๓ จงั หวดั เร่งพัฒนาพื้นท่ี EEC มุ่งสเู่ มือง
เศรษฐกิจคาร์บอนตา่ . [สบื คน้ เมอื่ ๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์
https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG201125180954433

กรมปา่ ไม้. (๒๕๖๒). เนือ้ ที่ป่าไม้. [สบื คน้ เม่ือ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ ศนู ยส์ ารสนเทศ สานัก
แผนงานและสารสนเทศ กรมป่าไม้ (forest.go.th)

กรมปา่ ไม้. (๒๕๖๒). เนือ้ ทป่ี า่ ไม้ของประเทศไทย แยกรายจังหวัด ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๖๑. [สบื คน้ เม่อื ๑๗
มกราคม ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ http://forestinfo.forest.go.th/Content.aspx?id=80

กรมป่าไม้. (๒๕๖๒). ปา่ สงวนแหง่ ชาต.ิ [สบื ค้นเมือ่ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ ศูนยส์ ารสนเทศ สานัก
แผนงานและสารสนเทศ กรมปา่ ไม้ (forest.go.th)

กรมพัฒนาทด่ี นิ . (๒๕๖๑). การใช้ทดี่ นิ รายจงั หวดั . [สืบค้นเมือ่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์
http://www1.ldd.go.th/WEB_OLP/report_research_E.html

กรมอนามยั . (๒๕๖๑). ประชมุ พฒั นาระบบบรกิ ารอนามัยสิ่งแวดล้อมตาม พรบ.การสาธารณสขุ ๒๕๓๕ และ
ชมุ ชนเข้มแขง็ เพ่อื รองรบั พน้ื ที่ระเบียงเศรษฐกจิ ตะวันออก (EEC). [สืบคน้ เม่อื ๔ กุมภาพันธ์
๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ http://audit.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/anamai_
web/ewt_w3c/ ewt_news.php?nid=11398&filename=index

กรมอนามัย. (๒๕๖๒). ปรมิ าณมูลฝอยจาแนกรายเขตบริการสขุ ภาพ. [สบื คน้ เม่ือ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๔] จาก
เว็บไซต์ http://envmanifest.anamai.moph.go.th/?wasteRegion

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม. (๒๕๖๑). (ร่าง) แผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ที่ระเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษ
ภาคตะวนั ออก สาหรับการประชุมหารอื วนั ท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๑ ณ จังหวัดชลบุร.ี

บรรณานุกรม - ๒

แผนสิ่งแวดล้อมในพืน้ ทเ่ี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม. (๒๕๖๒). แผนสง่ิ แวดล้อมในพื้นที่เขตพฒั นาพิเศษภาค
ตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔.

กองจัดการกากของเสียและสารอันตราย. (๒๕๖๓). แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยเก่าบนเกาะเสม็ด จังหวัด
ระยอง. กรมควบคมุ มลพิษ. มิถนุ ายะ ๒๕๖๓.

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม. (มปป.). เทศบาลตาบลเกาะสีชัง. [สืบค้นเมื่อ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๔] จาก
เว็บไซต์ https://www.kohsichang.go.th/ services/กองสาธารณสุข/

บริษัท ไทยเอ็นไวรอนเม้นท์ จากัด. (๒๕๖๓). รายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับสมบูรณ์
เลม่ ที่ ๒ : บทท่ี๓ – บทท่ี ๕ (ฉบับปกปดิ ขอ้ มลู ท่ีมกี ฎหมายคมุ้ ครอง). โครงการ VK Golden Bay.

พงษ์ศกั ดิ์ วทิ วัสชตุ ิกุล และ วารินทร์ จิระสขุ ทวกี ุล. (๒๕๓๙). การวเิ คราะห์โครงสร้างและการทางานตาม
หน้าที่ของป่าชุมชนทบ่ี า้ นแลง จังหวัดระยอง. กลุ่มลุม่ นา้ ส่วนวิจยั และพัฒนาส่ิงแวดล้อมป่าไม้
สานักวิชาการปา่ ไม้ กรมป่าไม้ (๐๙๓๙๐๔).

ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม. (๒๕๖๔). รายงานผลการดาเนินงานของโครงการจัดการมลพิษจาก
แหล่งกาเนิดท่ีส่งผลต่อการปนเปื้อนในดิน น้าใต้ดิน และแหล่งน้าในพ้ืนท่ีชุมชน. กรมส่งเสริม
คุณภาพสิง่ แวดล้อม.

สถาบันทรพั ยส์ ินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (๒๕๖๐). รายงานการวเิ คราะห์แนวโนม้ เทคโนโลยี
และอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ. โครงการ
พัฒนาผู้ประกอบการดา้ นทรพั ยส์ ินทางปญั ญาและนวัตกรรม.

สรนั ยา เฮงพระพรหม. (๒๕๕๒). โลกร้อนกบั โรคระบาด. วารสารวิจยั ระบบสาธารณสขุ , 3(3), 363-369.
สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.). (๒๕๖๒). ทาไมต้อง อีอิซี. [สืบค้น

เมือ่ ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ https://www.eeco.or.th/th/government-initiative
สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก. (๒๕๖๑). แผนการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินใน

ภาพรวม. [สบื คน้ เม่ือ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์
https://www.eeco.or.th/th/overall-land-use-plan/.
สานกั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก. (๒๕๖๑). แผนภาพรวมเพ่ือการพัฒนาเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕.
สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก. (๒๕๖๑). แผนภาพรวมเพื่อการพฒั นาเขต
พัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๕.
สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก. (๒๕๖๑). แผนภาพรวม เพอ่ื การพัฒนาเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔. [สบื ค้นเมื่อ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔] จาก
เวบ็ ไซต์ https://www.eeco.or.th/th/filedownload/1478/cf4092afd2456bb1
สานกั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (๒๕๖๒). อุตสาหกรรมเป้าหมาย. [สืบคน้
เม่อื ๑๓ มกราคม ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ https://www.eeco.or.th/th/education-and-human-
resource-development

บรรณานกุ รม - ๓

แผนสิง่ แวดล้อมในพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สานกั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก. (๒๕๖๔). แผนผงั การใชป้ ระโยชน์ในที่ดิน
และแผนผงั การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พ.ศ. ๒๕๖๒. [สบื คน้ เมอื่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ https://eeco.or.th/th/news-
release-pr/212

สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออกและกรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง. (๒๕๖๑).
ข้อกาหนด/มาตรการ การใช้บังคบั แผนผงั การพัฒนาเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก. กรงุ เทพฯ :
สานกั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก.สานกั งานทรัพยากรนา้ แหง่ ชาต.ิ
(๒๕๖๑). แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรนา้ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐). [สืบคน้ เมอื่ ๔
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ https://wr.pwa.co.th/data/_
uploaded/file/Law/MasterPlan20years_๒๕๖๑to2580.pdf

สานกั งานคณะกรรมการนโยบายคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (๒๕๖๓). รายงาน
การศึกษาสถานภาพการจดั การมลพิษทางอากาศในพ้ืนทอ่ี ุตสาหกรรมมาบตาพุดและศักยภาพใน
การขยายตวั ของอตุ สาหกรรมตามศักยภาพในการรองรับดา้ นคณุ ภาพอากาศของพน้ื ท่ี และ
ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายสาหรบั การพัฒนาอุตสาหกรรมในพืน้ ท่ีมาบตาพดุ อยา่ งยั่งยืน. กรงุ เทพฯ:
สานกั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก.

สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม. (ม.ป.ป). พนื้ ทชี่ ุ่มนา้ ของไทย. [สืบค้นเมอ่ื ๔
กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์
http://wetlands.onep.go.th/wetland/wetlandforthai/status/about

สานกั งานสถิตแิ ห่งชาติ. (๒๕๖๓). สรุปผลการสารวจภาวะการทางานของประชากรเดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
[สืบค้นเม่อื ๑๓ มกราคม ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/
สารวจ/ดา้ นสงั คม/แรงงาน/ภาวะการทางานของประชากร.aspx

สานกั งานสถิติแห่งชาติ. (๒๕๖๔). สถิตปิ ระชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ. [สืบค้นเม่ือ ๓๐ มกราคม
๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ www.statbbi.nso.go.th

สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ (๒๕๖๐). แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับ
ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔). [สบื คน้ เมอื่ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์
https://www.nesdc.go.th/ewt_news.php?nid=6420&filename=develop_issue

สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ. (๒๕๖๐). ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙.
[สืบคน้ เมื่อ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ http://nscr.nesdb.go.th/ยุทธศาสตรช์ าติ/

สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ. (๒๕๖๑). ผลติ ภัณฑภ์ าคและจงั หวัด แบบปริมาณลกู โซ่
ฉบบั พ.ศ. ๒๕๖๑ (Gross Regional and Provincial Product Chain Volume Measures
2018 Edition). [สบื ค้นเมอ่ื ๑๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓] จากเวบ็ ไซต์
https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=gross_regional

บรรณานุกรม - ๔

แผนสิง่ แวดล้อมในพื้นท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๖๒). แผนพฒั นาภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๐ –
๒๕๖๕ ฉบบั ทบทวน. [สืบค้นเม่ือ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7527

สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต.ิ (๒๕๖๓). ข้อมลู สถติ ิ. [สืบคน้ เมื่อ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๔]
จากเวบ็ ไซต์ https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=social.

สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต.ิ (๒๕๖๓). แนวทางการประเมนิ สิ่งแวดลอ้ ม ระดับ
ยุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร.

สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ. (๒๕๖๓). หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั SDGs.
[สืบคน้ เมื่อ ๒๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔] จากเวบ็ ไซต์ https://sdgs.nesdc.go.th/ปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง.

สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาต.ิ (๒๕๖๔). ผลติ ภัณฑ์มวลรวมในประเทศรายไตรมาส.
[สบื ค้นเมอ่ื วันที่ ๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๔] เขา้ ถึงจาก
https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=qgdp_page

สานกั งานสงิ่ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓. (๒๕๕๗). รายงานสถานการณค์ ุณภาพสิ่งแวดล้อมภาคตะวนั ออก ปี ๒๕๕๗.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม.

สานกั งานสงิ่ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓. (๒๕๕๘). รายงานสถานการณค์ ุณภาพสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออก ปี ๒๕๕๘.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม.

สานักงานส่ิงแวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓. (๒๕๕๙) รายงานสถานการณ์คณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มภาคตะวันออก ปี ๒๕๕๙.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

สานกั งานส่งิ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓. (๒๕๖๐). รายงานสถานการณค์ ุณภาพสิง่ แวดล้อมภาคตะวันออก ปี ๒๕๖๐.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม.

สานักงานส่ิงแวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓. (๒๕๖๑). รายงานสถานการณ์คุณภาพสงิ่ แวดล้อมภาคตะวนั ออก ปี ๒๕๖๑.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม.

สานกั งานสิ่งแวดลอ้ มภาคที่ ๑๓. (๒๕๖๒). รายงานสถานการณค์ ุณภาพสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออก ปี ๒๕๖๒.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม.

สานักงานสง่ิ แวดลอ้ มภาคท่ี ๑๓. (๒๕๖๓). รายงานสถานการณ์คุณภาพส่งิ แวดล้อมภาคตะวันออก ปี ๒๕๖๓.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม.

องค์การบรหิ ารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน). (๒๕๖๔). โครงการจดั การสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อลด
ก๊าซเรอื นกระจกในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC). การประชมุ คณะทางานการพฒั นา
แนวทางและมาตรการในการลดกา๊ ซเรอื นกระจก. ครัง้ ที่ ๓ – ๒๕๖๔.

Allen, M.R., Shine, K.P., Fuglestvedt, J.S. et al. A solution to the misrepresentations of CO2-
equivalent emissions of short-lived climate pollutants under ambitious
mitigation. npj Clim Atmos Sci, 1(16)

บรรณานกุ รม - ๕

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพ้ืนทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

Boa, H. et al. (2020). Resources and Environmental Pressure, Carrying Capacity, and
Governance. A Case Study of Yangtze River Economic Belt, Sustainability.12, 1576.

IPCC. (2021). Climate Change 2021: The Physical Science Basis – Contribution of Working
Group I to the Sixth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate
Change. Intergovernmental Panel on Climate Change 2021.

United Nations Thailand. (2013). เปา้ หมายการพฒั นาอยา่ งยั่งยืนของประเทศไทย. [สบื ค้นเม่ือ ๒๑
มกราคม ๒๕๖๔] จากเว็บไซต์ https://www.un.or.th/globalgoals/th/the-goals/

World Health Organization . 2013. Draft comprehensive global monitoring framework and
targets for the prevention and control of noncommunicable diseases. Available
online at: https://apps.who.int/iris/handle/10665/105633

World Health Organization. (2018). Noncommunicable diseases. Available online at:
https://www.who.int/news-room/factsheets/detail/noncommunicable-diseases

บรรณานกุ รม - ๖

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ภาคผนวก ก

ความเช่อื มโยงแผนงานที่เกีย่ วข้อง
แผนงานที่ ๑.๑.๑ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการระบบบาบัดน้าเสีย มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี, (ร่าง) แผนแม่บทการบริหาร
จัดการน้าเสียชุมชนของประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ,แผนแม่บทการบริหารจัดการน้า,แผนยุทธศาสตร์
มท. ,รายงานผลการดาเนินงาน ปี ๒๕๖๓ ของ สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ )ี

แนวทางท่ี ๑ การจัดทาแผนแม่บทการจัดการน้าเสียเชิงลุ่มน้า มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนวิสาหกิจองค์การจัดการน้าเสีย พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ , แผน
ยทุ ธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

แนวทางที่ ๒ การเพ่ิมประสิทธิภาพระบบบาบัดน้าเสีย ณ แหล่งกาเนิด มีการดาเนินงานของ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนวิสาหกิจองค์การจัดการน้าเสีย พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ ,
ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผนการจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ , รายงานผลการ
ดาเนินงานปี ๒๕๖๓ (ของ สสภ. ๑๓)
แผนงานที่ ๑.๑.๒ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อลดปริมาณน้าเสีย และการนากลับมาใช้ มีการดาเนินงานของ
หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ งตามแผนปฏิบัติราชการ ไดแ้ ก่ แผนวิสาหกจิ องคก์ ารจัดการน้าเสีย พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔

แนวทางที่ ๑ การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มีการดาเนินงานของ
หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้องตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ไดแ้ ก่ แผนวสิ าหกจิ องคก์ าร จัดการนา้ เสีย พ.ศ.๒๕๖๐- ๒๕๖๔
แผนงานท่ี ๑.๒.๑ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมลพิษทางอากาศ มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่
เกย่ี วขอ้ งตามแผนปฏิบัติราชการ ไดแ้ ก่ แผนจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) (ฉบบั ทบทวน) , แผน
ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก พ.ศ.
๒๕๖๐ – ๒๕๖๔

แนวทางที่ ๑ การควบคุม ติดตามและตรวจสอบมลพิษทางอากาศ มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ี
เกย่ี วขอ้ งตามแผนปฏิบตั ริ าชการ ไดแ้ ก่ แผนปฏบิ ัตริ าชการกรมควบคุมมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๕
แผนงานที่ ๑.๓.๑ การเพ่ิมประสิทธภิ าพการจัดการขยะชุมชน มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตาม
แผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) (ฉบับทบทวน) , แผนพัฒนา
ท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ขององการบริหารส่วนจังหวัดระยอง , รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปี
๒๕๖๓ , แผนกรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสิง่ แวดล้อมระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๘ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๓)
, แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. ๒๕๖๕) กรมควบคุมมลพิษ , ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผน
จดั การมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐ -๒๕๖๔

แนวทางท่ี ๑ การกาจัดขยะครบวงจร มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามแผนปฏิบัติ
ราชการ ไดแ้ ก่ แผนปฏบิ ตั ิราชการระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕) ของกรมควบคุมมลพษิ

ก-๑

แผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แนวทางท่ี ๒ การจัดการขยะตน้ ทางและการสรา้ งเครือข่าย มกี ารดาเนนิ งานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. ๒๕๕๙– ๒๕๖๔)
ของกรมควบคมุ มลพษิ
แผนงานที่ ๑.๓.๒ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะอุตสาหกรรม มูลฝอยติดเชื้อ และกากของเสีย
อันตราย มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนจังหวัดฉะเชิงเทรา
(พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) (ฉบับทบทวน) , แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ขององการบริหารส่วน
จังหวัดระยอง , ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐ -๒๕๖๔ , แผน
ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก พ.ศ.
๒๕๖๐ – ๒๕๖๔

แนวทางท่ี ๑ การพัฒนาและขยายผลชุมชนปลอดขยะ มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เกยี่ วข้องตาม
แผนปฏิบตั ิราชการ ได้แก่ ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
, แผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก
พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
แผนงานที่ ๑.๔.๑ การสร้างความสวยงามและความร่มรืน่ ของเมืองและชุมชน มีการดาเนนิ งานของหน่วยงาน
ที่เก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕) ตามกรอบ
แผนปฏบิ ัตกิ ารกรมโยธาธิการและผงั เมอื ง

แนวทางท่ี ๒ การส่งเสริมการเพิ่มพ้ืนท่ีสีเขียวยั่งยืน มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้องตาม
แผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี,
แผนยุทธศาสตร์กรมป่าไม้ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙, แผนปฏิบัติราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อมพ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙
แผนงานท่ี ๒.๑.๑ การพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ท่ีดินที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการ
ดาเนนิ งานของหน่วยงานที่เกยี่ วข้องตามแผนปฏิบัตริ าชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการรายปีของสานักงานการ
ปฏิรูปท่ีดนิ เพ่อื เกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พ.ศ. ๒๕๖๕)

แนวทางท่ี ๑ การส่งเสริมเกษตรย่ังยืนและเพ่ิมพ้ืนท่ีกันชนสีเขียว มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการปี ๒๕๖๕ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, แผน
ยทุ ธศาสตรก์ รมป่าไม้ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙

แนวทางท่ี ๒ การส่งเสริมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้องตาม
แผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม ระยะ ๒๐ ป พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓) , แผนปฏิบัติการประจาปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ สานักงานคณะกรรมการนโยบาย
เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก, แผนปฏบิ ัตกิ ารกรมโยธาธิการและผังเมอื งระยะ ๒๐ ปี
แผนงานที่ ๒.๒.๑ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการน้า มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้องตาม
แผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ ยุทธศาสตร์สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘) , แผน
ยทุ ธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ , แผนปฏบิ ัตริ าชการของกรมทรพั ยากรนา้ บาดาลระยะ ๕

ก-๒

แผนส่งิ แวดล้อมในพนื้ ทีเ่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) , แผนปฏิบัติราชการของกรมทรัพยากรน้า ระยะ ๕ ปี (วาระแรก ๓ ปี พ.ศ.
๒๕๖๓ – ๒๕๖๕)

แนวทางที่ ๑ การเพิ่มศักยภาพการกักเก็บน้าในพื้นที่ของตนเอง มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่
เก่ยี วขอ้ งตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)

แนวทางที่ ๒ การจัดการน้ามุ่งสู่การพ่ึงตนเอง มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตาม
แผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการกรมทรัพยากรน้า พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕ , ยุทธศาสตร์สานักงาน
ทรพั ยากรน้าแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘)
แผนงานที่ ๒.๓.๑ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ มีการดาเนินงานของ
หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งตามแผนปฏิบตั ิราชการ ไดแ้ ก่ แผนปฏิบัติการราชการของกรมวชิ าการเกษตร ระยะ ๕ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) , แผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ภาคกลาง ภาค
ตะวนั ออกและภาคตะวันตก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔

แนวทางท่ี ๑ การอนุรักษ์และฟ้ืนฟูความหลากหลายทางชีวภาพ มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่
เกย่ี วขอ้ งตามแผนปฏบิ ัติราชการ ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)

แนวทางที่ ๒ การส่งเสรมิ การเพิ่มมูลค่าความหลากหลายทางชีวภาพ มกี ารดาเนนิ งานของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการสานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ พ.ศ.
๒๕๖๓-๒๕๖๕)
แผนงานท่ี ๒.๔.๑ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง มีการดาเนินงานของ
หน่วยงานที่เก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) (องค์การ
บริหารส่วนจังหวัดระยอง), แผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาคกลาง ภาค
ตะวนั ออกและภาคตะวันตก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ (สานักงานส่งิ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบุร)ี )

แนวทางที่ ๑ การทาฐานข้อมูลและระบบเฝ้าระวัง มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้องตาม
แผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการกรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓ –
๒๕๖๕) (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั )
แผนงานที่ ๓.๑.๑ การเพ่ิมประสิทธิภาพกลไกการขับเคลื่อนชุมชนพึ่งตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ ยุทธศาสตร์กรมส่งเสรมิ การ
ปกครองทอ้ งถนิ่ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ (กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิ่น)

แนวทางท่ี ๑ การสร้างต้นแบบและกลไกตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการดาเนินงานของ
หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบตั ิการราชการ (พ.ศ. ๒๕๖๕) ของกรมการพฒั นา
ชุมชน (กรมการพฒั นาชมุ ชน)
แผนงาน ๓.๒.๑ การเพิ่มพื้นที่แหล่งดูดซับและกักเก็บก๊าซเรือนกระจก มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่
เก่ยี วข้องตามแผนปฏิบตั ิราชการ ได้แก่ ยุทธศาสตรก์ รมปา่ ไม้ ระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ (กรมป่าไม)้

ก-๓

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แนวทางท่ี ๑ การเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของป่าเพื่อเพ่ิมแหล่งดูดซับก๊าซเรือนกระจก มีการดาเนินงาน
ของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ
พนั ธ์พุ ชื ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓ –๒๕๖๕) (กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธ์ุพืช)
แผนงานท่ี ๓.๒.๒ การผลักดนั มาตรการในการลดการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก มกี ารดาเนินงานของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผนการจัดการมลพิษ พ.ศ.
๒๕๖๐-๒๕๖๔ (กรมควบคุมมลพิษ) , แผนยุทธศาสตร์องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ
มหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๔ (องคก์ ารบริหารจัดการก๊าซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน))

แนวทางท่ี ๑ การเพ่ิมประสิทธิภาพกลไกการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก มีการดาเนินงานของ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการกรมควบคุมมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๕ (กรม
ควบคมุ มลพษิ )

แนวทางที่ ๒ การส่งเสริมการใช้พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
(กระทรวงอุตสาหกรรม) , แผนวิสาหกิจ กนอ. (การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) , แผนปฏิบัติราชการ
ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕ (กรมโรงงานอุตสาหกรรม)
แผนงานท่ี ๓.๒.๓ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการปรับตัวต่อการรองรับการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการ
สานักงานพฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕) (สานักงานพฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ) ,
ยทุ ธศาสตรจ์ ัดการมลพษิ ๒๐ ปี และแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ (กรมควบคุมมลพิษ)

แนวทางท่ี ๑ การสง่ เสริมการรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ มีการดาเนินงานของหนว่ ยงานที่
เก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนยุทธศาสตร์ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) (สานักงาน
พัฒนาเศรษฐกิจจากฐานรากชุมชน) , แผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมภาค
กลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวนั ตก พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ (สานักงานส่งิ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบุร)ี ) , แผน
กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสิง่ แวดล้อม ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) (กรมส่งเสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม)
แผนงานท่ี ๓.๓.๑ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการอุบัติภัยและภัยพิบัติ มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่
เก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผนการจัดการมลพิษ พ.ศ.
๒๕๖๐-๒๕๖๔ (กรมควบคุมมลพิษ) , แผนปฏิบัติราชการกรมควบคุมมลพษิ พ.ศ. ๒๕๖๕ (กรมควบคมุ มลพษิ )
, แผนยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ (กรมป้องกันและบรรเทาสา
ธารณภยั )

แนวทางที่ ๑ การจัดทาแผนและฐานข้อมูลการจัดการภัยพิบัติและอุบัติภัย มีการดาเนินงานของ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕ (กรม
โรงงานอุตสาหกรรม)

ก-๔

แผนส่งิ แวดล้อมในพน้ื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แผนงานที่ ๔.๑.๑ การทบทวนและปรบั ปรุงกฎ ระเบียบ กฎหมาย และแผนท่ีเออื้ ต่อการบริหารจัดการ มีการ
ดาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการ ทส. พ.ศ. ๒๕๖๕-
๒๕๖๙ (สานกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมจังหวัด)

แนวทางที่ ๑ การทบทวน และปรับปรุงกฎหมายด้านส่ิงแวดล้อมของภาครัฐท่ีเก่ียวข้อง มีการ
ดาเนินงานของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ ยุทธศาสตร์จัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผน
จัดการมลพษิ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ (กรมควบคุมมลพิษ)

แนวทางที่ ๒ การพัฒนากฎ ระเบียบของชุมชน มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตาม
แผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. ๒๕๖๕) ของกรมการพัฒนาชุมชน (กรมการพัฒนา
ชุมชน)
แผนงานท่ี ๔.๑.๒ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมที่เป็นธรรม มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตาม
แผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ (สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อมจงั หวดั )

แนวทางที่ ๑ การสร้างการมีส่วนร่วมและเผยแพร่ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ของเครือข่าย มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนยุทธศาสตร์การ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔
สานักงานส่งิ แวดลอ้ มภาคที่ ๕ ๖ ๗ ๘ ๑๓ (สานกั งานสงิ่ แวดลอ้ มภาคที่ ๑๓ (ชลบุร)ี )
แผนงานท่ี ๔.๒.๑ การเพ่ิมประสิทธิภาพการขับเคลื่อนแผน มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตาม
แผนปฏิบตั ริ าชการ ไดแ้ ก่ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (สานักงานคณะกรรมการนโยบาย
เขตพิเศษภาคตะวันออก) , แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดล้อม)
แผนงานที่ ๔.๒.๒ การส่งเสรมิ สนับสนนุ การนาแผนไปสู่การปฏบิ ัติ มีการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
ตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการ ทส. พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙ (สานักงานทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ มจงั หวดั )
แผนงานท่ี ๔.๒.๓ การทบทวน ติดตาม การดาเนินงานฯ มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตาม
แผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ รายงานผลการดาเนินงานปี ๒๕๖๓ (ยกตัวอย่างโครงการท่ี สสภ.๑๓ ดาเนินการ)
(สานกั งานสิง่ แวดล้อมภาคท่ี ๑๓ (ชลบรุ )ี )
แผนงานท่ี ๔.๓.๑ การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ตามหลักการ
เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว มีการดาเนินงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้องตาม
แผนปฏิบัติราชการ ไดแ้ ก่ แผนปฏิบัติราชการสานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕)
(สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร)

แนวทางท่ี ๑ การส่งเสริมการศึกษาและวิจัย มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตามแผนปฏิบัติ
ราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ระยะ ๓ ป (พ.ศ. ๒๕๖๓ –
๒๕๖๕) (กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพนั ธุพชื )

ก-๕

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพืน้ ท่ีเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แผนงานท่ี ๔.๓.๒ การวิจัยนวัตกรรมเพื่อพัฒนาบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามเป้าหมาย
การพัฒนาท่ีย่ังยืน มีการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตามแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ แผนปฏิบัติ
ราชการกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง ระยะ ๓ ปี(พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) (ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเล
และชายฝ่ังอ่าวไทยฝ่ังตะวันออก), แผนยุทธศาสตร์ ทส. ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) (กระทรวง
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม)
รายละเอียดดังตารางความเชือ่ มโยงแผนงานที่เกีย่ วข้อง

ตารางท่ี ก - ๑ ความเช่ือมโยงแผนงานทีเ่ กี่ยวข้อง

โครงการใหม่ แผนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง หน่วยงาน
แผนงานที่ ๑.๑.๑ การเพมิ่ ยุทธศาสตรก์ ารจดั การมลพิษ ๒๐ ปี กรมควบคมุ มลพิษ
ประสิทธิภาพการจัดการ - อปท.และชุมชนต้องจดั การน้าเสียไดด้ ว้ ยตนเองอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ระบบบาบัดนา้ เสีย - เพ่ิมประสิทธิภาพในการตรวจสอบ และควบคมุ แหล่งกาเนดิ กรมควบคมุ มลพิษ
(รา่ ง) แผนแม่บทการบรหิ ารจัดการน้าเสียชมุ ชนของประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐-
๒๕๗๙ สานักงานทรัพยากร
มาตรการทเ่ี ก่ียวข้อง ได้แก่ ๑) การจัดการน้าเสียชุมชน ณ แหล่งกาเนดิ ๒) การ นา้ แห่งชาติ (สทนช.)
เพ่ิมศักยภาพการบรหิ ารจดั การน้าเสียชมุ ชน ๓) การพัฒนากฎหมาย
กฎระเบยี บ ๔) การสง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ ม กระทรวงมหาดไทย
แผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การน้า /กรมโยธาธิการและ
ดา้ นท่ี ๔ การจดั การ คณุ ภาพน้า และอนรุ ักษ์ ทรัพยากรน้า ผังเมือง/กระทรวง
พฒั นาและเพ่มิ ประสทิ ธิภาพระบบรวบรวมและระบบบาบัดนา้ เสยี รวมของ สาธารณสขุ
ชุมชน การนาน้าเสยี กลับมาใช้ใหม่ ปอ้ งกันและลดการเกดิ นา้ เสยี ต้นทาง การ
ควบคุมปรมิ าณ การไหลของน้าเพื่อรักษาระบบนเิ วศ พรอ้ มทั้งพ้ืนฟูแม่น้า ลา สานักงาน
คลอง และแหล่งนา้ ธรรมชาติท่มี ีความสาคัญในทุกมิติ เพอ่ื การอนรุ ักษ์ ฟน้ื ฟู สง่ิ แวดลอ้ มภาคที่
และใชป้ ระโยชน์ทัว่ ประเทศ ๑๓ (ชลบุรี)
แผนยุทธศาสตร์ มท. ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ การเพ่ิมศกั ยภาพการพัฒนา
สภาพแวดล้อมสู่อนาคต
๒.๑.๕ บรหิ ารจดั การนา้ เสียอยา่ งเป็นระบบ (หลกั กรมโยธาธิการและผงั เมือง
สนับสนุน กระทรวงสาธารณสขุ )
รายงานผลการดาเนนิ งานปี ๒๕๖๓ ของ สานักงานส่ิงแวดลอ้ มภาคที่ ๑๓
(ชลบุรี)ตวั อยา่ งโครงการ
๑. ตดิ ตามประเมนิ ผลประสิทธภิ าพระบบบาบัดนา้ เสียรวมชมุ ชนและระบบ
บาบดั น้าเสยี แบบกลมุ่ อาคาร

แนวทางที่ ๑ การจดั ทาแผน แผนวิสาหกิจองคก์ ารจัดการน้าเสยี พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ องคก์ ารจัดการน้า
แม่บทการจัดการนา้ เสยี เชิง ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การบรหิ ารจดั การน้าเสียอย่างบรู ณาการ กลยุทธ์ท่ี ๑ การ เสีย
ลมุ่ น้า จดั การนา้ เสยี ในพน้ื ทล่ี ุ่มนา้ วิกฤติยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการ
จดั การนา้ เสียองค์กรปกครองสว่ น ท้องถิน่ กลยทุ ธ์ท่ี ๒.๒ ให้คาปรึกษาด้านการ
จดั การน้าเสยี ชมุ ชนใหก้ ับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ /จัดทาแผนระบบบาบดั น้า
เสีย ๔ แหง่
แผนยุทธศาสตรก์ รมชลประทาน พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔

ก-๖

แผนสิ่งแวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แนวทางที่ ๒ การเพม่ิ แผนยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑. การพฒั นาแหล่งน้าและเพ่มิ พื้นที่ชลประทานตาม กรมชลประทาน
ประสทิ ธิภาพระบบบาบัด ศักยภาพลกั ษณะลมุ่ น้า(Basin–based Approach) กลยุทธท์ ี่ ๑.๑ ทบทวนแผน
นา้ เสีย ณ แหล่งกาเนดิ แมบ่ ทการพัฒนาตามลมุ่ นา้ และจัดการนา้ ตามศกั ยภาพพื้นที่ภาคและลุ่มน้า องค์การจดั การนา้
โดยให้ความสาคัญกบั การบูรณาการในการพัฒนาในระดบั ลุ่มน้าย่อยตาม เสยี
แผนงานท่ี ๑.๑.๒ การ แนวทาง IWRM โดย คานึงถงึ ความสมดลุ ทางสังคม ส่งิ แวดลอ้ ม และบรบิ ท
พัฒนาเทคโนโลยีเพ่อื ลด ความ เปลย่ี นแปลง (Basin–based Approach) กรมควบคุมมลพิษ
ปรมิ าณน้าเสยี และการนา แผนวสิ าหกจิ องค์การจัดการนา้ เสีย พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔
กลบั มาใช้ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ การบรหิ ารจดั การน้าเสยี อย่างบูรณาการ สานกั งาน
แนวทางที่ ๑ การพัฒนา ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการจัดการนา้ เสียองค์กรปกครองส่วน ส่ิงแวดลอ้ มภาคท่ี
เทคโนโลยีท่เี หมาะสมและ ท้องถนิ่ ๑๓ (ชลบรุ )ี
เป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม กลยทุ ธ์ท่ี ๒ การฟน้ื ฟู พัฒนาและบริหารจัดการระบบบาบดั น้าเสยี ของ องคก์ ร องคก์ ารจัดการน้า
แผนงานที่ ๑.๒.๑ การเพม่ิ ปกครองส่วนท้องถิ่น อปท. ตัวอย่างโครงการตดิ ตามและตรวจสอบ เสีย
ประสทิ ธิภาพการจัดการ ประสิทธภิ าพของระบบบาบดั นา้ เสยี ท้งั ในและนอกเขตพื้นทีจ่ ดั การนา้ เสีย
มลพิษทางอากาศ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ การพัฒนางานวิจยั และนวตั กรรมการจัดการน้าเสีย
กลยทุ ธ์ท่ี ๖ การพฒั นานวัตกรรมการจัดการน้าเสีย
กลยทุ ธ์ที่ ๗ การพฒั นาองคก์ รสู่การเปน็ หน่วยงานดจิ ทิ ัล
๑. จดั ต้ังศูนย์กลางนวตั กรรมด้านนา้ เสีย
๒. พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือ การจัดการน้าเสีย
ยุทธศาสตรก์ ารจัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผนการจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐-
๒๕๖๔
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ การปอ้ งกันและลดการเกดิ มลพิษท่ีตน้ ทาง
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการบาบดั กาจดั ของเสยี และควบคุมมลพิษ
จากแหล่งกาเนิด
ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการมลพษิ
รายงานผลการดาเนินงานปี ๒๕๖๓ (ของ สสภ. ๑๓)
๑. โครงการติดตามประเมินผลประสิทธิภาพระบบบาบดั นา้ เสยี รวมชุมชนและ
ระบบบาบัดนา้ เสีย แบบกลุ่มอาคาร
แผนวสิ าหกิจองคก์ ารจัดการนา้ เสยี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
กลยุทธ์ท่ี ๔ การนานา้ เสียทผี่ า่ นการบาบัดแล้วนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่

แผนวิสาหกจิ องค์การ จัดการน้าเสยี พ.ศ.๒๕๖๐- ๒๕๖๔ องคก์ ารจัดการน้า
ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การเพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั การน้าเสีย อปท. ตัวอยา่ ง เสีย
โครงการตดิ ตามและตรวจสอบประสทิ ธิภาพของระบบบาบดั น้าเสียทง้ั ในและ
นอกเขตพื้นทจ่ี ดั การนา้ เสีย สานกั งานจงั หวดั
แผนจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) (ฉบบั ทบทวน) ฉะเชิงเทรา
ประเดน็ การพัฒนาท่ี ๕ : อนุรกั ษ์ ฟื้นฟู และบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ มอย่างบูรณาการ มีประสิทธภิ าพ และเป็นธรรม ตอบสนองต่อ
การพฒั นาที่ยั่งยนื วตั ถปุ ระสงคข์ ้อที่ ๒ ส่ิงแวดล้อมด้าน นา้ อากาศ ขยะมลู
ฝอย และของเสียอันตราย ได้รับการบริหารจดั การอยา่ งมสี ่วนร่วม เป็นระบบ

ก-๗

แผนสง่ิ แวดล้อมในพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แนวทางท่ี ๑ การควบคมุ และมปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือแกไ้ ข ลด และขจดั มลพิษท่ีอาจชว่ ยส่งผลกระทบตอ่ สานกั งาน
ติดตามและตรวจสอบ ส่งิ แวดล้อมและพร้อมรบั มือตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภยั สิ่งแวดลอ้ มภาคท่ี
มลพษิ ทางอากาศ ธรรมชาติ ๑๓ (ชลบุรี)
แผนยุทธศาสตร์การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ภาคกลาง ภาค
แผนงานท่ี ๑.๓.๑ การเพม่ิ ตะวนั ออกและภาคตะวนั ตก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ กรมควบคุมมลพิษ
ประสทิ ธภิ าพการจดั การ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ กลยทุ ธ์ท่ี ๑ พัฒนากลไกทมี่ ีประสทิ ธิภาพ เพอื่ ลดปริมาณการ
ขยะชุมชน ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก กลยทุ ธ์ที่ ๒เตรยี มความพร้อมและพัฒนาขดี สานกั งานจังหวัด
ความสามารถในการปรับตัวและรบั มือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและ ฉะเชงิ เทรา
ภัยธรรมชาติ
แผนปฏบิ ัติราชการกรมควบคมุ มลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๕ องคก์ ารบริหารสว่ น
ประเดน็ สาคัญการจดั การคุณภาพอากาศและเสยี ง โดยมีโครงการคือ จังหวดั ระยอง
๑. โครงการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหามลพษิ ทางอากาศและเสียง
๒. โครงการตรวจสอบและบงั คบั ใช้กฎหมายกบั ยานพาหนะ สานกั งาน
แผนจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) (ฉบบั ทบทวน) สิ่งแวดลอ้ มภาคที่
ประเดน็ การพัฒนาที่ ๕ : อนุรกั ษ์ ฟ้ืนฟู และบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ๑๓ (ชลบรุ ี)
และสิง่ แวดล้อมอย่างบูรณาการ มปี ระสทิ ธิภาพ และเป็นธรรม ตอบสนองตอ่
การพัฒนาท่ียั่งยืน วัตถุประสงคข์ อ้ ท่ี ๒ สง่ิ แวดล้อมดา้ น น้า อากาศ ขยะมลู กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพ
ฝอย และของเสียอนั ตราย ไดร้ ับการบริหารจดั การอย่างมีสว่ นรว่ ม เป็นระบบ สิ่งแวดล้อม
และมีประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื แก้ไข ลด และขจดั มลพิษทีอ่ าจชว่ ยส่งผลกระทบตอ่
ส่ิงแวดลอ้ มและพรอ้ มรับมอื ตอ่ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภยั กรมควบคมุ มลพิษ
ธรรมชาติ
แผนพัฒนาท้องถ่นิ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ขององการบริหารสว่ นจงั หวัด กรมควบคมุ มลพิษ
ระยอง
ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ : ปองกนั อนุรกั ษ์ ฟ้ืนฟู และควบคุมการใช้
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มบนพ้ืนฐานของการมสี ว่ นรว่ ม แนวการ
พัฒนา ๔. บริหารจัดการสง่ิ ปฏิกลู มูลฝอย และกากอตุ สาหกรรมจาก
แหลง่ กาเนิด รวมทัง้ มีระบบการจัดการท่ีถกู ต้องตามหลักสุขาภิบาล
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปี ๒๕๖๓
โครงการประสานความรว่ มมอื ในการกากบั ติดตามการดาเนินงานตามแผน
จดั การ
ขยะมลู ฝอยและของเสียอันตราย
แผนกรมส่งเสริมคุณภาพส่งิ แวดล้อมระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๘ (ฉบับ
ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๓)
ประเด็นสาคญั ที่ ๒ การจัดการขยะท่ีตน้ ทางโดยประชาชน
แผนปฏบิ ัตริ าชการรายปี (พ.ศ. ๒๕๖๕) กรมควบคมุ มลพษิ
การจัดการขยะมลู ฝอยและของเสียอนั ตรายชมุ ชน โครงการปอ้ งกันและแก้ไข
ปญั หามลพิษจากขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตรายชุมชน
ยุทธศาสตรก์ ารจัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐ -
๒๕๖๔
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ เพ่ิมประสิทธภิ าพในการบาบัด กาจัดของเสยี และควบคุม

ก-๘

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แนวทางที่ ๑ การกาจัดขยะ มลพิษจากแหลง่ กาเนิด การจดั การขยะมลู ฝอยชุมชน ของเสียอันตรายชุมชน กรมควบคมุ มลพิษ
ครบวงจร และมลู ฝอยติดเชอื้ กรมควบคุมมลพิษ
แผนปฏิบัตริ าชการระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕) ของกรมควบคุมมลพษิ
แนวทางท่ี ๒ การจดั การ การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอนั ตราย
ขยะตน้ ทางและการสรา้ ง ๑. โครงการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หามลพษิ จากขยะมลู ฝอยและของเสยี อันตราย
เครือข่าย กจส.
๒. โครงการพัฒนาและปรับปรงุ มาตรฐาน มาตรการ เกณฑก์ ารปฏิบัติในการ
จัดการคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มและควบคุมมลพิษจากแหลง่ กาเนดิ
๓. โครงการตดิ ตาม ตรวจสอบ เฝา้ ระวงั และเตอื นภยั คุณภาพสิง่ แวดล้อม
แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. ๒๕๕๙– ๒๕๖๔)
เปา้ หมายที่ ๖ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ มีการคดั แยกขยะมูลฝอยและของเสยี
อันตรายชุมชนท่ีตน้ ทาง ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๕๐ ของจานวนองค์กรปกครองสว่ น
ทอ้ งถิ่นท่ัวประเทศ ภายในปี๒๕๖๔
มาตรการส่งเสริมการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยและของเสยี อันตราย
ประชาสัมพันธใ์ หค้ วามรสู้ รา้ งความตระหนักให้เยาวชน และประชาชนเข้ามามี
สว่ นร่วมในการจดั การขยะมูลฝอยต้งั แตต่ น้ ทาง จนถึงการกาจัดข้ันสุดท้าย

แผนงานที่ ๑.๓.๒ การเพ่มิ แผนจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) (ฉบบั ทบทวน) สานกั งานจงั หวดั
ประสทิ ธภิ าพการจัดการ ประเดน็ การพัฒนาท่ี ๕ : อนรุ ักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ฉะเชงิ เทรา
ขยะอุตสาหกรรม มลู ฝอย และสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งบรู ณาการ มีประสิทธภิ าพ และเป็นธรรม ตอบสนองตอ่
ติดเชื้อ และกากของเสยี การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื วตั ถปุ ระสงค์ข้อท่ี ๒ ส่งิ แวดล้อมด้าน นา้ อากาศ ขยะมูล องค์การบรหิ ารสว่ น
อนั ตราย ฝอย และของเสยี อันตราย ได้รับการบริหารจัดการอย่างมีสว่ นร่วม เป็นระบบ จงั หวดั ระยอง
และมปี ระสิทธิภาพ เพ่ือแกไ้ ข ลด และขจัดมลพิษทอี่ าจช่วยสง่ ผลกระทบตอ่
แนวทางท่ี ๑ การพฒั นา ส่งิ แวดลอ้ มและพรอ้ มรบั มือตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศและภยั กรมควบคุมมลพิษ
ธรรมชาติ สานักงาน
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ขององการบรหิ ารส่วนจังหวัด สง่ิ แวดลอ้ มภาคท่ี
ระยอง ๑๓ (ชลบุรี)
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : ปองกนั อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และควบคุมการใช้ กรมควบคุมมลพิษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมบนพื้นฐานของการมีส่วนรว่ ม แนวการ
พฒั นา ๔. บรหิ ารจัดการสง่ิ ปฏิกลู มูลฝอย และกากอตุ สาหกรรมจาก
แหลง่ กาเนดิ รวมทง้ั มีระบบการจดั การท่ีถูกต้องตามหลกั สุขาภิบาล
ยทุ ธศาสตร์การจดั การมลพิษ ๒๐ ปี และแผนจดั การมลพษิ พ.ศ. ๒๕๖๐ -
๒๕๖๔
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ เพ่ิมประสิทธิภาพในการบาบัด กาจดั ของเสีย และควบคุม
มลพษิ จากแหล่งกาเนิด การจัดการกากอุตสาหกรรม การจัดการสารอนั ตรายใน
ภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
แผนยุทธศาสตรก์ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ภาคกลาง ภาค
ตะวนั ออกและภาคตะวนั ตก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ กลยทุ ธ์ท่ี ๒ การจดั การขยะมูลฝอยและของเสยี อนั ตรายเชิงรกุ
ยุทธศาสตร์การจัดการมลพษิ ๒๐ ปี และแผนจดั การมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐ -

ก-๙

แผนสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

และขยายผลชุมชนปลอด ๒๕๖๔ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ เพม่ิ ประสิทธิภาพในการบาบัด กาจดั ของเสีย และ สานกั งาน
ขยะ ควบคุมมลพิษจากแหลง่ กาเนิด ซ่งึ มีการจัดการขยะมลู ฝอยชุมชน ของเสีย ส่ิงแวดลอ้ มภาคที่
อนั ตรายชมุ ชน และมูลฝอยตดิ เชื้อ ๑๓ (ชลบุรี)
แผนงานที่ ๑.๔.๑ การสร้าง แผนยทุ ธศาสตร์การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ภาคกลาง ภาค กรมโยธาธิการและ
ความสวยงามและความร่ม ตะวันออกและภาคตะวนั ตก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ผงั เมอื ง
รืน่ ของเมอื งและชมุ ชน ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ กลยทุ ธ์ที่ ๒ การจดั การขยะมลู ฝอยและของเสียอันตรายเชงิ รุก กระทรวงมหาดไทย
โดยมีมาตรการท่ีเนน้ ใหช้ ุมชนลดขยะ
แนวทางท่ี ๒ การส่งเสรมิ แผนปฏิบัติราชการระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕) ตามกรอบแผนปฏิบัติ องค์การบริหารสว่ น
การเพมิ่ พ้ืนท่สี ีเขยี วยั่งยนื การ จงั หวดั ชลบุรี
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง
แผนงานท่ี ๒.๑.๑ การ กลยุทธท์ ่ี ๒ ดา้ นการควบคุมและสง่ เสรมิ การพัฒนาอยา่ งเป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดล้อม กรมปา่ ไม้
พัฒนาเครอ่ื งมือเพ่อื เพมิ่ ๒.๑ แผนงานเสริมสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม
ประสทิ ธภิ าพการใช้ทดี่ ินท่ี อยา่ งยัง่ ยืน ๒.๒ แผนงานจดั การผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาวะ กระทรวง
เป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม ภูมอิ ากาศและภยั พบิ ัติ ทรพั ยากรธรรมชาติ
แนวทางที่ ๑ การสง่ เสรมิ กลยทุ ธท์ ่ี ๓ ด้านการสนับสนนุ การพัฒนาเพือ่ ส่งเสรมิ ศักยภาพการแขง่ ขันทาง และส่ิงแวดล้อม
เกษตรย่ังยนื และเพมิ่ พ้ืนที่ เศรษฐกิจ ๓.๑ แผนงานจดั ทาผงั ประเทศเพอื่ การพัฒนาประเทศในเชิงกายภาพ
ใหส้ อดคล้องกบั แผนงานเชงิ นโยบาย (National Physical Development สานกั งานการปฏิรปู
Plan) ๓.๒ แผนงานเพิ่มศกั ยภาพของเมอื งโดยการพัฒนาเมอื ง กลยทุ ธ์ที่ ๔ ที่ดินเพอื่
ดา้ นการรองรบั ความเป็นอยูท่ ีเ่ หมาะสมในสงั คมอยา่ งเท่าเทยี ม ๔.๑ แผนงาน เกษตรกรรม
สนับสนนุ พฒั นาเมืองสาหรับทุกคน (City for All) กระทรวงเกษตรและ
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด สหกรณ์
ชลบรุ ี กระทรวงเกษตรและ
ยทุ ธศาสตรก์ ารจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม พัฒนาพ้นื ที่สีเขยี วสาหรบั เป็นปอดของ สหกรณ์
ประชาชนใหย้ ่ังยืน
แผนยุทธศาสตร์กรมป่าไม้ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ สง่ เสรมิ ธุรกจิ ป่าไม้และป่าเศรษฐกจิ จากปา่ ปลกู และ
การส่งเสริมชมุ ชนในเมือง/ชมุ ชนชนบทเป็นพ้ืนที่สเี ขียว
แผนปฏบิ ัติราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มพ.ศ. ๒๕๖๕-
๒๕๖๙
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ บรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์
อย่างสมดุล
กลยทุ ธ์ ๕ : สงวน อนุรักษ์ ฟน้ื ฟู ใหเ้ กดิ ความสมบูรณเ์ ชงิ พน้ื ท่ี
โครงการ ๑๐ : โครงการเพ่ิมพื้นทส่ี ีเขยี ว
แผนปฏิบัติราชการรายปขี องสานกั งานการปฏริ ูปท่ดี ินเพอื่ เกษตรกรรม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พ.ศ. ๒๕๖๕)
แผนปฏิบัติราชการ เรื่องการบริหารจัดการทีด่ ินเพือ่ เกษตรกรรมอยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ แผนปฏิบัตริ าชการ เร่อื งการเพมิ่ ศกั ยภาพพืน้ ทีเ่ พอื่ เกษตรกรรม
ในเขตปฏิรูปท่ีดนิ
แผนปฏิบัติราชการปี ๒๕๖๕ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กลยทุ ธ์ท่ี ๔ บรหิ ารจัดการทรพั ยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและ

ก - ๑๐

แผนสง่ิ แวดลอ้ มในพืน้ ท่เี ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

กนั ชนสีเขยี ว ยงั่ ยนื กรมปา่ ไม้
แผนยุทธศาสตร์กรมปา่ ไม้ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙
แนวทางที่ ๒ การส่งเสริม ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ สง่ เสรมิ ธรุ กจิ ปา่ ไมแ้ ละป่าเศรษฐกจิ จากปา่ ปลูก และ กรมสง่ เสรมิ คุณภาพ
การพฒั นาเมืองอัจฉรยิ ะ การส่งเสรมิ ชมุ ชนในเมอื ง/ชุมชนชนบทเป็นพ้ืนที่สเี ขยี ว กลยทุ ธ์ที่ ๓ : ส่งเสรมิ สงิ่ แวดล้อม
และสนบั สนนุ การปลูกต้นไม้ทีม่ ีมลู ค่า ซ่งึ เก่ยี วข้องในแนวทางการดาเนนิ งานใน
แผนงานที่ ๒.๒.๑ การเพิ่ม ด้านวิธีการปลูกทฤษฎีเศรษฐกจิ พอเพยี ง หรอื ระบบวนเกษตร สานกั งาน
ประสทิ ธิภาพการจัดการน้า แผนกรมสง่ เสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดล้อม ระยะ ๒๐ ป พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐ (ฉบับ คณะกรรมการนโยบ
ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓ ายเขตพฒั นาพิเศษ
ประเดน็ ที่ ๓ การส่งเสรมิ เมอื งสง่ิ แวดล้อมยัง่ ยนื ภาคตะวันออก
แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ สานกั งาน
คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก กรมโยธาธกิ ารและ
ผังเมือง
1. โครงการพฒั นาและขับเคล่อื นเขตพัฒนาพิเศษภาค สานกั งานทรพั ยากร
ตะวนั ออก กจิ กรรม : การพัฒนาเมืองอัจฉรยิ ะ สิ่งแวดลอ้ มเมอื งและสาธารณสุข น้าแหง่ ชาติ (สทนช.)

แผนปฏบิ ัตกิ ารกรมโยธาธิการและผงั เมืองระยะ ๒๐ ปี กรมชลประทาน
กลยทุ ธ์ ๓.๒ แผนงานเพ่ิมศักยภาพของเมอื งโดยการพัฒนาเมือง โดยมโี ครงการ
ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งคือ โครงการส่งเสรมิ การพัฒนาและจดั การเมอื งอจั ฉรยิ ะ (Smart กรมทรัพยากรน้า
City) ในจงั หวดั พ้ืนทีเ่ ป้าหมาย ๗ จังหวัด บาดาล
กรมทรพั ยากรนา้
ยุทธศาสตร์สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘)
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้าตลอดโซ่อุปทานทมี่ ี
ประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื การตอบสนองความต้องการใช้น้าอย่างสมดุล ยทุ ธศาสตร์ที่
๒ การพัฒนากลไกในการแก้ไข ปอ้ งกันและบรรเทาปัญหา เพอ่ื การบรหิ าร
จัดการทรัพยากรนา้ ทงั้ ในภาวะปกติและวิกฤตอย่างมีประสิทธภิ าพ ยุทธศาสตร์
ท่ี ๓ การเสริมสร้างความเข้มแขง็ และความรว่ มมอื ในการบริหารจดั การ
ทรพั ยากรนา้ ของประเทศเพอื่ ความย่ังยืน ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ การพฒั นาสมรรถนะ
องคก์ รใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ
แผนยทุ ธศาสตร์กรมชลประทาน พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ พัฒนาแหล่งน้าและเพมิ่ พื้นที่ชลประทานตามศกั ยภาพของล่มุ
นา้ ให้เกิดความสมดลุ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ บริหารจดั การนา้ อยา่ งบรู ณาการให้
เพียงพอ ท่ัวถึง และเปน็ ธรรม ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ ดาเนนิ การปอ้ งกันและบรรเทา
ภัยอนั เกิดจากนา้ ตามภารกิจอย่างเหมาะสม ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างการมี
สว่ นรว่ มในกระบวนการพัฒนาแหล่งน้า และการบริหารจัดการน้า
แผนปฏบิ ัตริ าชการของกรมทรัพยากรน้าบาดาลระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ –
๒๕๗๐)
เป้าหมายการพัฒนาดา้ นที่ ๒ อนรุ ักษแ์ ละฟ้ืนฟูน้าบาดาล
แผนปฏิบัติราชการของกรมทรัพยากรน้า ระยะ ๕ ปี (วาระแรก ๓ ปี พ.ศ.
๒๕๖๓ – ๒๕๖๕)
เปา้ หมายบรกิ าร ดา้ นที่ ๒ อนรุ ักษ์ พัฒนา ปรับปรุง และฟื้นฟแู หลง่ นา้ และ
ระบบกระจายน้าเพอ่ื ตอบสนองความต้องการใช้น้าในพน้ื ที่เกษตรนา้ ฝน

ก - ๑๑

แผนส่งิ แวดลอ้ มในพื้นทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แนวทางท่ี ๑ การเพิม่ รวมถึงการรกั ษาสมดุลระบบนเิ วศและพืน้ ท่ชี ุ่มน้า กระทรวง
ศักยภาพการกักเก็บน้าใน แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ทรพั ยากรธรรมชาติ
พื้นที่ของตนเอง ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ สร้างสมดุลและยั่งยืนดา้ นทรัพยากรน้าให้กบั ประชาชน และสิง่ แวดล้อม
อย่างทว่ั ถึงและรกั ษาระบบนเิ วศ
แนวทางท่ี ๒ การจัดการน้า เปา้ ประสงค์ท่ี ๓.๑ : สร้างสมดลุ ระหว่างตน้ ทนุ นา้ ทมี่ อี ยแู่ ละน้าท่ีถกู ใชไ้ ปให้ กรมทรัพยากรนา้
มุง่ สกู่ ารพ่ึงตนเอง เหมาะสมกับบริบทและความต้องการของประชาชนไดอ้ ย่างเต็มประสิทธิภาพใน
ทุกพนื้ ท่ี สานักงานทรัพยากร
แผนงานท่ี ๒.๓.๑ การเพ่ิม กลยุทธ์๖ : อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาแหลง่ น้าและระบบกระจายนา้ เพือ่ การจดั สรร น้าแห่งชาติ (สทนช.)
ประสทิ ธภิ าพการจดั การ น้า
ความหลากหลายทาง ใหส้ ามารถตอบสนองความตอ้ งการใช้น้าอยา่ งเป็นธรรมและย่ังยืน กรมวิชาการเกษตร
ชีวภาพ แผนปฏบิ ัติราชการกรมทรัพยากรนา้ พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕ สานกั งาน
เป้าหมายที่ ๑ ประปาสัมปทาน และระบบประปาหมูบ้าน ได้รบั การกากับดูแล ส่ิงแวดลอ้ มภาคท่ี
ติดตามประเมนิ คุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน การใช้นา้ มีประสิทธภิ าพ ๑๓ (ชลบุรี)
เปา้ หมายที่ ๒ อนรุ ักษ์ พฒั นา ปรบั ปรงุ และฟน้ื ฟูแหล่งน้า และระบบกระจาย
นา้ เพอื่ ตอบสนองความต้องการใช้นา้ ในพื้นทเ่ี กษตรน้าฝนรวมถงึ การรักษาสมดุล
ระบบนิเวศและพน้ื ที่ชุม่ นา้
เปา้ หมายท่ี ๓ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการระบายน้าคาดการณ เตรยี มการและจัดการ
สภาวะวกิ ฤต รวมถงึ การรองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศโลก
เป้าหมายท่ี ๔ พัฒนากลไก มาตรการ แผนปฏิบตั ิการ กฎหมาย เพ่ือการบรหิ าร
จดั การนา้ และการกากับ ดแู ล ควบคมุ ให้เปน็ ไปตามกฎหมาย
เปา้ หมายที่ ๕ พฒั นา ความร่วมมอื นวตั กรรม งานวจิ ัย เทคโนโลยีเกี่ยวกับ
ทรัพยากรนา้
ยทุ ธศาสตร์สานักงานทรัพยากรนา้ แห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘)
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ การบริหารจัดการทรพั ยากรนา้ ตลอดโซอ่ ปุ ทานทีม่ ี
ประสทิ ธิภาพ เพ่ือการตอบสนองความตอ้ งการใช้นา้ อย่างสมดุล ยุทธศาสตร์ท่ี
๒ การพัฒนากลไกในการแกไ้ ข ปอ้ งกนั และบรรเทาปัญหา เพ่อื การบริหาร
จดั การทรัพยากรน้าท้ังในภาวะปกติและวิกฤตอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ยุทธศาสตร์
ท่ี ๓ การเสรมิ สร้างความเข้มแข็งและความรว่ มมอื ในการบริหารจัดการ
ทรัพยากรนา้ ของประเทศเพือ่ ความยง่ั ยนื ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การพฒั นาสมรรถนะ
องคก์ รใหเ้ ป็นทยี่ อมรบั ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ
แผนปฏิบัติการราชการของกรมวชิ าการเกษตร ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ –
๒๕๖๔)
กลยทุ ธ์ท่ี ๓ วจิ ัยและพัฒนาเกษตรชีวภาพ เพ่ือการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ปกป้อง
คมุ้ ครองสร้างมูลคา่ เพิ่ม และใช้ประโยชนจ์ ากความหลากหลายทางชีวภาพ
แผนยทุ ธศาสตร์การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ภาคกลาง ภาค
ตะวันออกและภาคตะวันตก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ กลยทุ ธ์ท่ี ๓ การอนุรกั ษ์และฟื้นฟูทรพั ยากรธรรมชาติและ
ความหลากหลายทางชีวภาพ แนวทาง อนรุ กั ษ์และฟ้ืนฟรู ะบบนเิ วศน์ปา่ บกและ
ปา่ ชายเลนโดยการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคสว่ น อนุรักษ์ชนิดพันธุ์ทอ้ งถิน่ และ
ป้องกันการรกุ รานชนิดพันธุต์ ่างถิ่น

ก - ๑๒

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แนวทางที่ ๑ การอนรุ กั ษ์ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) กรมทรัพยากรทาง
และฟนื้ ฟูความหลากหลาย ประเด็นปฏริ ปู ท่ี ๓ ความหลากหลายทางชีวภาพ ประเด็นยอ่ ย ปฏิรูประบบ ทะเลและชายฝงั่
ทางชีวภาพ ขอ้ มูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศเพ่ือการอนุรกั ษ์คุ้มครอง สานกั งานพฒั นา
แนวทางที่ ๒ การสง่ เสรมิ ใชป้ ระโยชน์และแบ่งปนั ผลประโยชน์ที่เป็นธรรม เศรษฐกิจจากฐาน
การเพิม่ มูลค่าความ แผนปฏบิ ัติราชการสานักงานพฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ พ.ศ. ๒๕๖๓- ชีวภาพ
หลากหลายทางชีวภาพ ๒๕๖๕)
ด้านท่ี ๑ การสรา้ งความเข้มแขง็ ให้เศรษฐกจิ ชมุ ชนและภาคธรุ กิจบนฐานการใช้ องคก์ ารบรหิ ารสว่ น
แผนงานที่ ๒.๔.๑ การเพิม่ ประโยชนแ์ ละอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทางชีวภาพอย่างย่ังยืน จงั หวดั ระยอง
ประสทิ ธภิ าพการจัดการ ด้านที่ ๒ การจดั ทาฐานขอ้ มลู และองค์ความร้คู วามหลากหลายทางชีวภาพเพ่อื
ทรัพยากรทางทะเลและ การปกป้อง คุ้มครอง อนุรักษ์และการใชป้ ระโยชน์เชิงพาณชิ ย์ สานักงาน
ชายฝัง่ ดา้ นท่ี ๓ การสง่ เสริมและสนับสนุนการมสี ว่ นร่วมกบั ภาคส่วนต่างๆ ในการ สิ่งแวดลอ้ มภาคท่ี
อนุรกั ษ์และใชป้ ระโยชนค์ วามหลากหลายทางชีวภาพ ๑๓ (ชลบุร)ี
แนวทางที่ ๑ การทา
ฐานข้อมูลและระบบเฝา้ แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั กรมทรพั ยากรทาง
ระวงั ระยอง ทะเลและชายฝั่ง
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ : ปองกัน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และควบคุมการใช้
แนวทางที่ ๒ การวางแผน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วม แนวทางการ กรมทรัพยากรทาง
การจัดการพื้นทที่ างทะเล พัฒนาที่ ๑) เพ่มิ พนื้ ท่ีสีเขียว สาหรบั ป่าทุกประเภท เช่น ป่าบก ป่าหาด ปาชาย ทะเลและชายฝ่งั
เลน และป่าเมอื ง โดยการมีส่วนร่วมของชมุ ชนและทกุ ภาคส่วน แนวทางการ กรมส่งเสรมิ การ
แผนงานที่ ๓.๑.๑ การเพิ่ม พัฒนาท่ี ๒) อนรุ ักษ์ ฟ้นื ฟู วิจัยและพฒั นาทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง
รวมถึงการกัดเซาะชายฝง่ั และมกี ารใช้ประโยชนอย่างเหมาะสมเกิดสมดุลตอ่
ระบบนิเวศ
แผนยุทธศาสตร์การจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ภาคกลาง ภาค
ตะวนั ออกและภาคตะวนั ตก พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ กลยทุ ธ์ท่ี ๓ การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรพั ยากรธรรมชาติและ
ความหลากหลายทางชีวภาพ แนวทาง อนุรักษ์และฟื้นฟรู ะบบนเิ วศน์ปา่ บกและ
ปา่ ชายเลนโดยการมีสว่ นร่วมจากทกุ ภาคส่วน
แผนปฏิบัติราชการกรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓
– ๒๕๖๕)
แผนปฏบิ ัตริ าชการเรื่องท่ี ๑ ยกระดบั การบริหารจดั การทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝงั่ สูค่ วามยงั่ ยืน แนวทางการพฒั นาที่ ๑๑ เครือข่ายเฝ้าระวงั ติดตาม และ
จัดทาระบบเตอื นภัยธรรมชาติ แผนปฏิบัติราชการเร่อื งท่ี ๓ สง่ เสริมและพฒั นา
ดา้ นวิชาการ เทคโนโลยแี ละองค์ความรู้ แนวทางการพัฒนาท่ี ๑ จัดทาและ
พัฒนาฐานขอ้ มูลเกย่ี วกบั ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่งั แนวทางการพัฒนาที่
๒ ศึกษา วจิ ยั และพฒั นาองค์ความรู้ดา้ นทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เพ่ือ
นาไปใชป้ ระโยชนด์ า้ นการแกไ้ ขปัญหาของประเทศ
แผนปฏบิ ัตริ าชการกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓
– ๒๕๖๕)
แผนปฏบิ ัติราชการเร่ืองที่ ๑ ยกระดบั การบริหารจดั การทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝง่ั สคู่ วามย่งั ยนื
ยทุ ธศาสตร์กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิน่ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙

ก - ๑๓

แผนสิง่ แวดลอ้ มในพน้ื ที่เขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ประสิทธภิ าพกลไกการ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การเสรมิ สรา้ งการปกครองทอ้ งถ่นิ ใหเ้ ข้มแขง็ ดว้ ยระบอบการ ปกครองทอ้ งถิน่
ขับเคลื่อนชุมชนพึง่ ตนเอง ปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ และหลัก
ตามหลกั ปรชั ญาของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กรมการพัฒนา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ชุมชน
แนวทางท่ี ๑ การสรา้ ง แผนปฏิบัติการราชการ (พ.ศ. ๒๕๖๕) ของกรมการพัฒนาชุมชน
ต้นแบบและกลไกตามหลกั ประเด็นการพัฒนา เรื่องท่ี ๑ สรา้ งสรรค์ชมุ ชนพึ่งตนเองได้ แนวทางการพัฒนา:
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ ๑.๑ บริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศและเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่ือการพัฒนา แนว
พอเพยี ง ทางการพัฒนา: ๑.๒ สรา้ งผ้นู าเป็นพลงั ในการพัฒนาชมุ ชน แนวทางการพัฒนา:
๑.๓ สง่ เสรมิ การบรหิ ารจดั การชมุ ชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

แผนงาน ๓.๒.๑ การเพิ่ม ยุทธศาสตรก์ รมป่าไม้ ระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ กรมปา่ ไม้
พ้นื ท่ีแหล่งดดู ซบั และกกั ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ ปอ้ งกันรักษาพนื้ ทีป่ ่าทีเ่ หลือให้คงอยูแ่ ละย่ังยืน กรมอุทยานแห่งชาติ
เกบ็ กา๊ ซเรอื นกระจก ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ ฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
แนวทางที่ ๑ การเพ่ิมความ แผนปฏิบัติราชการกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ์ ืช ระยะ ๓ ปี (พ.ศ.
อดุ มสมบูรณ์ของปา่ เพอ่ื เพ่ิม ๒๕๖๓ –๒๕๖๕) กรมควบคมุ มลพิษ
แหลง่ ดดู ซับกา๊ ซเรอื น แผนปฏบิ ัตริ าชการ ด้านอนุรกั ษ์ และฟ้นื ฟูพ้ืนท่ปี า่ อนรุ กั ษใ์ ห้มีสภาพป่าสมบรู ณ องคก์ ารบริหาร
กระจก ด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพการเฝา้ ระวังพ้นื ท่ปี ่าอนุรักษเ์ พ่อื ลดภยั คุกคามต่อ จดั การกา๊ ซเรอื น
ระบบนิเวศ กระจก (องค์การ
แผนงานที่ ๓.๒.๒ การ ป่าไม้ละสตั ว์ป่า ดา้ นการพฒั นาศกั ยภาพพ้ืนท่ีป่าอนุรกั ษ์ในการให้บรกิ ารด้าน มหาชน)
ผลกั ดันมาตรการในการลด นเิ วศอย่างสมดลุ
การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก ยุทธศาสตร์การจัดการมลพษิ ๒๐ ปี และแผนการจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐- กรมควบคมุ มลพิษ
๒๕๖๔
แนวทางท่ี ๑ การเพิ่ม ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ การป้องกันและลดการเกิดมลพิษท่ีตน้ ทาง
ประสิทธภิ าพกลไกการลด แผนยทุ ธศาสตร์องค์การบรหิ ารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)
พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๔
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สนับสนุนทุกภาคส่วนในการลดก๊าซเรอื นกระจกดว้ ย
กลไกตา่ ง ๆ
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ พัฒนาระบบสารสนเทศ และการจดั การองค์ความรู้
ด้านการจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก
ตัวอย่างโครงการ
๑. โครงการขยายผลการพัฒนาโครงการลดกา๊ ซเรือนกระจกภาคสมัครใจ
(Flagship Project)
๒. โครงการพัฒนากลไกและระบบรับรองกจิ กรรมลดก๊าซเรือนกระจก
๓. โครงการประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกทล่ี ดได้จากการดาเนินงานของภาคี
ภาครฐั และภาคเอกชน (Flagship Project)
๔. โครงการพัฒนาตลาดคาร์บอนของประเทศไทย (Flagship Project)
๕. โครงการจดั ทาข้อมูลปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกระดับเมือง และ
ปรับปรงุ ขอ้ มลู บัญชกี ๊าซเรอื นกระจกของประเทศไทย
แผนปฏบิ ัติราชการกรมควบคุมมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๕
๑. โครงการตรวจสอบและบงั คบั ใช้กฎหมายกบั ยานพาหนะ

ก - ๑๔

แผนส่ิงแวดล้อมในพ้นื ท่เี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ระยะท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ๒. โครงการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพศูนย์ปฏิบตั ิการพิทักษ์สิง่ แวดลอ้ ม กระทรวง
๓. โครงการติดตาม ตรวจสอบ เฝ้าระวงั และเตอื นภัยคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม อุตสาหกรรม
แนวทางท่ี ๒ การส่งเสรมิ ๔. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการมลพิษและ การนิคม
การใชพ้ ลังงานที่เป็นมิตรต่อ องคก์ ร อุตสาหกรรมแหง่
ส่งิ แวดลอ้ ม ๕. โครงการสร้างการรบั รู้ การสอื่ สาร และการประชาสมั พันธ์ ประเทศไทย
๖. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบรหิ ารจดั การมลพิษและ
แผนงานท่ี ๓.๒.๓ การ องค์กร กรมโรงงาน
สง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงอตุ สาหกรรม พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ อุตสาหกรรม
ทุกภาคสว่ นในการปรับตัว ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การสง่ เสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมใหเ้ ปน็ มิตรกบั สังคมและ
ต่อการรองรบั การ สิง่ แวดล้อม สานักงานพัฒนา
เปล่ยี นแปลงสภาพ แผนวสิ าหกิจ กนอ. เศรษฐกจิ จากฐาน
ภมู อิ ากาศ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ : Green Strategy พัฒนาและบรหิ ารจัดการแบบมีส่วนรว่ ม ชีวภาพ
และเปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อมสูค่ วามย่ังยืน
แนวทางที่ ๑ การสง่ เสริม แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕ กรมควบคุมมลพิษ
การรองรับการเปลี่ยนแปลง โครงการส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีความปลอดภัยในอุตสาหกรรมชีวภาพ
สภาพภูมิอากาศ โครงการเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถและการสนับสนุนมาตรการลดก๊าซเรือน สานกั งานพฒั นา
กระจกภาคอุตสาหกรรม เศรษฐกิจจากฐาน
โครงการสง่ เสรมิ สถานประกอบการเขา้ สอู่ ตุ สาหกรรมสเี ขยี ว (เทคโนโลยี รากชมุ ชน
สะอาด/ระบบการจัดการส่งิ แวดลอ้ ม) สานักงาน
โครงการส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมสเี ขียวด้านการลดปรมิ ารน้าในโรงงาน สง่ิ แวดลอ้ มภาคท่ี
อตุ สาหกรรม ในพืน้ ที่ลุ่มนา้ ชายฝั่งทะเลตะวนั ออก บางปะกง และพ้ืนที่ใกล้เคยี ง ๑๓ (ชลบุรี)
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลติ ทส่ี ะอาดระดบั รายสาขา
แผนปฏิบัติราชการสานักงานพัฒนาเศรษฐกจิ จากฐานชีวภาพ พ.ศ. ๒๕๖๓-
๒๕๖๕)
ด้านท่ี ๑ การสรา้ งความเข้มแขง็ ให้เศรษฐกิจชุมชนและภาคธรุ กจิ บนฐานการใช้
ประโยชน์และอนรุ ักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างย่ังยืน
ดา้ นที่ ๒ การจดั ทาฐานขอ้ มูลและองคค์ วามรคู้ วามหลากหลายทางชวี ภาพเพ่อื
การปกป้อง คุ้มครอง อนรุ กั ษแ์ ละการใชป้ ระโยชน์เชงิ พาณชิ ย์
ด้านที่ ๓ การส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมกับภาคส่วนต่างๆ ในการ
อนุรักษ์และใชป้ ระโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ
ยุทธศาสตรจ์ ัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผนจดั การมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ การพัฒนาระบบการบริหารจดั การมลพษิ ส่งเสรมิ การมีสว่ น
รว่ มและเครือขา่ ยของภาคส่วนตา่ งๆ ในการจดั การมลพิษ
แผนยุทธศาสตร์ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)
กลยทุ ธท์ ่ี ๒ สง่ เสริมการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมสู่ความยั่งยืน
กลยทุ ธ์ที่ ๔ จดั การทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งคุม้ คา่
แผนยทุ ธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมภาคกลาง ภาค
ตะวนั ออก และภาคตะวนั ตก พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ การป้องกัน ลดผลกระทบและปรบั ตัวรองรับการเปลยี่ นแปลง
สภาพภมู ิอากาศและภยั ธรรมชาติ

ก - ๑๕

แผนสิง่ แวดล้อมในพนื้ ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (ระยะที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

แผนกรมส่งเสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) กรมส่งเสรมิ คุณภาพ
ประเดน็ สาคัญที่ ๔ การเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งเพอ่ื รองรับการเปล่ยี นแปลง สิง่ แวดลอ้ ม
สภาพภมู อิ ากาศ

แผนงานที่ ๓.๓.๑ การเพมิ่ ยทุ ธศาสตร์การจัดการมลพษิ ๒๐ ปี และแผนการจดั การมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐- กรมควบคมุ มลพิษ
ประสทิ ธภิ าพการจัดการ ๒๕๖๔
อุบัติภยั และภัยพิบตั ิ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการบาบดั กาจัดของเสีย และควบคุมมลพิษ กรมควบคุมมลพิษ
จากแหล่งกาเนดิ
แนวทางท่ี ๑ การจัดทาแผน ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การมลพษิ กรมปอ้ งกันและ
และฐานข้อมลู การจดั การ แผนปฏบิ ัติราชการกรมควบคมุ มลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๕ บรรเทาสาธารณภยั
ภัยพบิ ัติและอบุ ัตภิ ัย ตวั อยา่ งโครงการ
๑. โครงการเพ่ิมประสทิ ธิภาพศนู ยป์ ฏิบัติการพิทกั ษ์สงิ่ แวดล้อม กรมโรงงาน
แผนงานที่ ๔.๑.๑ การ ๒. โครงการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย แผน มาตรฐาน อตุ สาหกรรม
ทบทวนและปรับปรงุ กฎ ๓. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจดั การมลพิษและ
ระเบยี บ กฎหมาย และแผน องคก์ ร สานักงาน
ทเ่ี อ้ือตอ่ การบรหิ ารจดั การ ๔. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบริหารจัดการมลพิษและ ทรพั ยากรธรรมชาติ
องคก์ ร และสงิ่ แวดลอ้ ม
แนวทางที่ ๑ การทบทวน แผนยทุ ธศาสตรก์ รมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ จังหวัด
และปรบั ปรุงกฎหมายดา้ น - ยุทธศาสตร์ที่๑ เพิม่ ศักยภาพการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภัย การ
สง่ิ แวดลอ้ มของภาครฐั ท่ี ชว่ ยเหลือ สงเคราะหแ์ ละฟ้ืนฟใู ห้มีประสทิ ธิภาพและมมี าตรฐานตามหลกั สากล กรมควบคมุ มลพิษ
แผนปฏบิ ัติราชการประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
แผนปฏบิ ัติราชการ (ตามยุทธศาสตร์ กรอ.) ที่ ๒ กากับดแู ลและเฝ้าระวงั ธรุ กิจ
อตุ สาหกรรมให้มคี วามปลอดภยั และเป็นมิตรต่อส่งิ แวดล้อม
๑) พัฒนาระบบการกากับดแู ลและเฝา้ ระวงั ธุรกิจอตุ สาหกรรมให้เป็นมาตรฐาน
เดียว
๒) เฝ้าระวังและตรวจสอบสงิ่ แวดลอ้ ม ความปลอดภัย วัตถุอนั ตรายและ
สารเคมี ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายและ
ข้อตกลงระหวา่ งประเทศ
๓) พัฒนาระบบฐานข้อมลู และเตือนภยั มลพิษอตุ สาหกรรม
แผนปฏบิ ัติราชการ ทส. พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๙
โครงการยกระดับความร่วมมอื การรักษาสมดุลทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อมทกุ ภาคสว่ น
๑. โครงการใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ ใหเ้ หมาะสมกบั ศกั ยภาพของพนื้ ที่และเปน็ มิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม
๒. โครงการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรนา้ สาธารณะและพ้นื ทชี่ ุ่มนา้ แบบมีส่วนรว่ ม
๓. โครงการจดั สรรทรัพยากรน้าตามกฎหมาย
ยุทธศาสตรจ์ ัดการมลพษิ ๒๐ ปี และแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการมลพิษ การใชม้ าตรการทาง
เศรษฐศาสตร์และมาตรการทางสังคม การเพิ่มประสิทธภิ าพดา้ นกฎหมาย

ก - ๑๖


Click to View FlipBook Version