The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sriparat, 2020-02-14 01:40:44

สารบัณฑิต

สารบัณฑิต

สารบณั ฑติ

รวมบทความและพระธรรมเทศนาของ
พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจนมหาเถร)
พระพรหมบณั ฑิต (ประยรู ธมฺมจิตโฺ ต)

คณะสงฆว์ ัดประยรุ วงศาวาส วรวหิ าร
มูลนธิ ิสริ ิวัฒนภักดี
โดย...

คณุ เจริญ-คุณหญิงวรรณา สิรวิ ัฒนภักดี และครอบครวั
พมิ พ์ถวายเปน็ มทุ ิตาในโอกาสที่

พระครูวินัยธรสุกรี สจุ ติ ฺโต ป.ธ.๕, พธ.บ., สส.ม.
ไดร้ บั พระราชทานต้งั สมณศกั ด์ิ เปน็ พระครูสัญญาบัตร

ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชน้ั พเิ ศษ
ในราชทินนามท่ี

พระครูสริ ิสารบณั ฑิต



(3)

คำ�ปรารภ

หนังสือเล่มน้ีได้รับความเมตตาจากพระเดชพระคุณ
พระพรหมบัณฑติ (ประยูร ธมมฺ จติ โฺ ต) เจา้ อาวาสวัดประยุร-
วงศาวาสวรวหิ าร เมตตาตง้ั ชอ่ื และเขยี นดว้ ยลายมอื ของพระเดช
พระคณุ เองวา่ “สารบณั ฑติ ” จดั พมิ พเ์ ปน็ ธรรมบรรณาการแกผ่ ู้
มารว่ มแสดงมทุ ติ าในโอกาสทข่ี า้ พเจา้ ไดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ
โปรดพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรผู้ช่วย
เจา้ อาวาสพระอารามหลวง ช้นั พเิ ศษ ในราชทนิ นามที่
พระครูสริ ิสารบัณฑติ

สารบัณฑิต ส่วนทห่ี นึ่งเปน็ ผลงานของพระเดชพระคุณ
หลวงพอ่ พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วโิ รจนมหาเถร) อดตี เจา้ อาวาส
วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร และพระอุปัชฌาย์ของข้าพเจ้า
พระเดชพระคณุ หลวงพอ่ พระพทุ ธวรญาณ ถอื วา่ เปน็ ปรมาจารย์
ของนกั เทศนว์ ดั ประยรุ วงศาวาสวรวหิ ารรปู หนง่ึ และมงี านนพิ นธ์
ท่สี ะท้อนอารมณ์ของผ้อู ่านด้วยความงดงามด้านภาษาวรรณ-
กรรมทีร่ วบรวมและถ่ายทอดสถานการณ์ต่างๆ เสมอื นอนุทิน
บนั ทกึ เรอ่ื งราวตา่ งๆ ของกาลเวลา ท�ำ ใหผ้ อู้ า่ นไดร้ บั หลากหลาย
รสจากการอ่าน ดังที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อได้เขียนค�ำ
อนุโมทนาไว้ในหนังสือ “เก็บเล็กผสมน้อย” ที่มีผู้ขออนุญาต
จดั พิมพไ์ ว้ตอนหนึง่ ว่า

(4) 

“ขา้ พเจา้ ยนิ ดอี นญุ าตดว้ ยความเตม็ ใจ และขออนโุ มทนา
ในกุศลเจตนาท่ีจะช่วยกันเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยการจัด
พมิ พ์หนงั สือธรรมะแจกเปน็ ธรรมทานในโอกาสพิเศษน้ี

อันประโยชน์ของการอ่านหนังสือท่ีจะมีมากหรือน้อยน้ัน
ก็สุดแตผ่ อู้ ่านเป็นสำ�คัญ คอื ถา้ อา่ นโดยใช้โยนิโสมนสกิ ารคือ
พจิ ารณาโดยอบุ ายอนั แยบคาย อนั ไดแ้ ก่ เขา้ ใจโดยถอ่ งแทแ้ ลว้
กไ็ ด้รับประโยชนม์ าก

ขา้ พเจา้ ชอบใจบทประพนั ธข์ องอาจารยโ์ รงเรยี นอสั สมั ชญั
ทท่ี า่ นกลา่ วไวว้ า่ “สองคนยลตามชอ่ งคนหนง่ึ มองเหน็ เปอื กตม
อีกคนตามแหลมคมมองเห็นดาวอย่พู ราวพราย

ดว้ ยเหตนุ ้ี ขา้ พเจา้ จงึ รวู้ า่ การอา่ นหนงั สอื ทจ่ี ะใหป้ ระโยชน์
มากหรือน้อยนั้น ข้อสำ�คัญย่อมขึ้นอยู่กับผู้อ่านเอง ผู้ได้รับ
ยกย่องว่าเขียนวรรณกรรมได้อยา่ งยอดเยย่ี ม คอื ทา่ นมหาปนิ่
มทุ กุ นั ต์ ไดเ้ ขยี นไวว้ า่ “เรอ่ื งของธรรมะนน้ั ตอ้ งขบใหแ้ ตก แยก
ให้ละเอียด จึงจะเกดิ รสชาติ เหมือนกันกบั การกนิ ถั่ว กอ่ นท่ี
จะกลนื ตอ้ งเค้ยี วใหล้ ะเอียด จงึ จะโอชารส”

ด้วยเหตนุ ้ี ทกุ คร้ังที่ทา่ นอา่ นหนงั สอื โปรดอยา่ ลมื นึกถึง
ถ่ัว”

สารบณั ฑติ สว่ นทส่ี องเปน็ ผลงานปาฐกถาและพระธรรม-
เทศนาของพระเดชพระคณุ พระพรหมบณั ฑติ (ประยรู ธมมฺ จิตฺโต)

(5)

กรรมการมหาเถรสมาคม และเจา้ อาวาสวดั ประยรุ วงศาวาส
รูปปัจจุบนั พระเดชพระคุณฯ เปน็ นักปราชญ์ เป็นราชบณั ฑติ
กติ ตมิ ศกั ด์ิ มชี อ่ื เสยี งในการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาหลากหลาย
รปู แบบ เปน็ ทย่ี อมรบั ในสงั คมของบณั ฑติ ชนทง้ั ในประเทศและ
ต่างประเทศ

พระเดชพระคณุ พระพรหมบณั ฑติ ไดเ้ สนอหลกั การในการ
เทศนาหรอื การเผยแผ่ดังความตอนหน่งึ ว่า

“วิธีการอาจจะหลากหลายรูปแบบและต่างกันตามลีลา
แตห่ ลกั การเทศนาหรอื การสอนธรรมตอ้ งมเี หมอื นกนั ทง้ิ ไมไ่ ด้
ถา้ ทง้ิ หลกั การเทศนา การเทศนแ์ มจ้ ะสนกุ แตอ่ าจจะเปน็ ตลก
คาเฟ่ ทา่ นอาจจะเทศนไ์ ดน้ า่ สนใจแตไ่ มม่ ใี ครศรทั ธา กไ็ มต่ า่ ง
จากสอนหนงั สอื ในโรงเรยี นทว่ั ไป ถา้ หากทา่ นสอนพทุ ธประวตั ิ
ไดส้ นกุ แตค่ นไมไ่ ดศ้ รทั ธาในพระพทุ ธเจา้ เพม่ิ ขน้ึ ทา่ นกไ็ มต่ า่ ง
จากครสู อนประวัตศิ าสตร์

เพราะฉะนน้ั การเทศนาจงึ มหี ลกั การเปน็ ส�ำ คญั เนอ่ื งจาก
การเรียนฝึกเทศน์ของท่านท้ังหลายเป็นเรื่องที่ต้องนำ�เอาไปใช้
เป็นการเรยี นเพื่อฝึกปฏบิ ัติ ท่านจะต้องจ�ำ หลกั การวิธีการให้
ไดก้ อ่ น เพราะท่านไม่ได้มาเรียนเพือ่ สักแต่วา่ รไู้ ว้ใชว่ า่ ใส่บ่า
แบกหาม ทา่ นเรียนเหมือนกับคนสอบใบขบั ข่ีรถยนต์ ตอ้ งรู้
กฎจราจร รู้วธิ ขี ับรถตามทฤษฎี จากนัน้ ตอ้ งไปหดั ขบั รถจริงๆ
ท่ถี นนใหญ”่

(6) 

ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ ว สารบณั ฑติ จงึ เปน็ การรวบรวมผลงาน
ของนกั ปราชญ์ ราชบณั ฑติ ใหป้ รากฏในบรรณพภิ พอกี เลม่ หนง่ึ

ขออนุโมทนาขอบพระคุณผู้มีพระคุณต่อข้าพเจ้าทุกท่าน
และขออนโุ มทนาเปน็ พเิ ศษตอ่ มลู นธิ สิ ริ วิ ฒั นภกั ดี โดยคณุ เจรญิ -
คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี และครอบครัว ที่อุปถัมภ์การ
จัดพิมพค์ รัง้ นี้

(พระครูสริ สิ ารบณั ฑิต)
ผูช้ ่วยเจา้ อาวาสวัดประยรุ วงศาวาสวรวิหาร
ผ้อู �ำ นวยการสำ�นกั งานสภามหาวทิ ยาลัย

(7)

ค�ำ อนุโมทนา

ในวโรกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ๕ ธันวาคม ๒๕๕๙
สมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพวรางกรู
ทรงพระกรณุ าโปรดพระราชทานสมณศักด์ิต้งั พระครูวนิ ยั ธร
สกุ รี สจุ ติ โฺ ต ป.ธ.๕, พธ.บ., สส.ม. ผชู้ ว่ ยเจา้ อาวาสวดั ประยรุ -
วงศาวาสวรวิหาร ผอู้ �ำ นวยการสำ�นกั งานสภามหาวทิ ยาลยั
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นพระครู
สญั ญาบตั รผชู้ ่วยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ช้นั พิเศษ ใน
ราชทินนามที่ พระครูสิริสารบัณฑิต และกำ�หนดเข้ารับ
พระราชทานสมณศักดิ์ พัดยศและผ้าไตร ในวันพุธที่ ๒๕
มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ศกนี้

พระครูสริ สิ ารบณั ฑติ ขณะยงั เปน็ สามเณร ไดเ้ ขา้ มา
ศกึ ษาเลา่ เรียนในสำ�นักวดั ประยรุ วงศาวาสวรวหิ าร เมือ่ ปี
๒๕๓๕ โดยมาพำ�นักอยทู่ ี่กฏุ ิสรุ ยิ าซึ่งข้าพเจ้าเป็นผูป้ กครอง
ในครง้ั นน้ั ตอ่ มาไดข้ อใหเ้ ธอยา้ ยไปอยคู่ ณะ ๙ ซง่ึ ในขณะนน้ั
ข้าพเจ้าเปน็ ผู้รกั ษาการเจา้ คณะผ้ปู กครองอยู่ เพอื่ ให้ชว่ ย
ดูแลคณะ ๙ ตั้งแต่บดั นนั้ เป็นต้นมา

(8) 

พระครูสิริสารบัณฑิตเป็นบัณฑิตโดยแท้เพราะเธอ
เป็นผู้ใฝ่การศึกษาจนสำ�เร็จปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต
จากมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และศกึ ษา
ต่อจนสำ�เร็จเป็นมหาบัณฑติ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ในสว่ นงานพเิ ศษทไี่ ดร้ บั มอบหมายนั้น เธอได้ท�ำ งาน
เกยี่ วกับเอกสารสงิ่ พมิ พ์มาตัง้ แต่สมยั เปน็ สามเณร โดยให้
ช่วยพิสูจน์อักษรต้นฉบับที่เป็นผลงานของข้าพเจ้า ต่อมา
ได้พัฒนาตนเองโดยการถอดคำ�บรรยาย และฝึกฝนจนมี
ความช�ำ นาญในการจดั ท�ำ ตน้ ฉบบั ในหนา้ ทบ่ี รรณาธกิ ารหนงั สอื
ทั้งท่ีจัดพิมพ์ในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
และท่วี ัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

ดงั นัน้ การท่ีเธอไดร้ บั พระราชทานตง้ั สมณศกั ดเ์ิ ปน็
พระครูสัญญาบตั ร ผชู้ ว่ ยเจา้ อาวาสพระอารามหลวงช้ันพเิ ศษ
ในราชทินนามมีคำ�วา่ สารบัณฑิต จงึ นับวา่ เหมาะสมกบั
ความรู้ความสามารถของเธอในด้านการเผยแผ่พระพุทธ-
ศาสนาผ่านเอกสารส่ิงพมิ พ์

ในวาระอนั เปน็ มงคลน้ี คณะสงฆว์ ดั ประยุรวงศาวาส
วรวิหาร ไดจ้ ัดพิมพห์ นงั สือ สารบัณฑติ ซึ่งรวบรวมผลงาน
ของพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระพุทธวรญาณ (มงคล

(9)

วิโรจนมหาเถร) และพระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมมฺ จิตฺโต)
เพอ่ื มอบเปน็ ธรรมบรรณาการแกผ่ มู้ ารว่ มแสดงมทุ ติ าสกั การะ

ขออำ�นาจแห่งคุณพระศรีรัตนตรัยจงอภิบาลรักษาให้
พระครสู ริ สิ ารบณั ฑติ เจรญิ ยง่ิ ขน้ึ ไปในพระบวรพทุ ธศาสนา
ตลอดกาลนาน เทอญ

(พระพรหมบัณฑิต)
กรรมการมหาเถรสมาคม
เจ้าอาวาสวดั ประยุรวงศาวาสวรวิหาร

เจ้าคณะภาค ๒
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

(10) 

สารบัณฑติ

ในวโรกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ทผ่ี า่ นมาน้ี
พระครูวนิ ัยธรสกุ รี สุจิตโฺ ต (ป.ธ.๕, พธ.บ., สส.ม.) ผชู้ ว่ ย
เจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหารผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน
สภามหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ได้รับพระราช-
ทานต้งั สมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบตั รผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสพระ
อารามหลวง ช้ันพเิ ศษ ในราชทนิ นามท่ี พระครสู ิรสิ ารบัณฑิต
และจะเข้ารบั ประทานสญั ญาบัตรพัดยศ ในวนั ท่ี ๒๕ มกราคม
๒๕๖๐ ณ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง จงั หวัดนครปฐม

พระครูสิริสารบัณฑิต เป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ได้รับแตง่ ต้ังเปน็ ผู้อำ�นวยการ
ส�ำ นกั งานสภามหาวทิ ยาลัย มีภาระหน้าที่รบั ผิดชอบดแู ลงาน
สภามหาวิทยาลยั และงานอ่นื ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ทา่ นได้
ปฏบิ ตั หิ น้าทีด่ ้วยดจี นเป็นท่ไี วว้ างใจของผบู้ ังคบั บญั ชา

สว่ นหนา้ ทใ่ี นวดั ประยรุ วงศาวาสวรวหิ าร และงานคณะสงฆ์
พระครสู ริ สิ ารบณั ฑติ ไดร้ บั มอบหมายใหช้ ว่ ยงานฝา่ ยเลขานกุ าร
ของวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร และเปน็ เจา้ หน้าที่ส�ำ นักงาน

(11)

เจา้ คณะภาค ๒ ชว่ ยประสานงานกบั คณะสงฆ์ในภารกิจต่างๆ
นอกจากนี้ ยงั ไดร้ ับความไว้วางใจเป็นพเิ ศษใหเ้ ปน็ ผู้ประสาน
งานและดำ�เนินการจัดพิมพ์หนังสือท้ังในส่วนของวัดและ
มหาวิทยาลัย

พระครูสิริสารบณั ฑิต ได้ทุ่มเทก�ำ ลงั กาย และสตปิ ัญญา
ตั้งใจสนองงานคณะสงฆ์ และมหาวทิ ยาลัย ด้วยความวริ ยิ ะ
อุตสาหะ ก่อให้เกิดหติ านุหิตประโยชนอ์ ยา่ งไพศาลตอ่ สังคม
ประเทศชาติ พระพุทธศาสนา และมหาวทิ ยาลัย เป็นอเนก
ประการ

การทพี่ ระครูสิรสิ ารบัณฑติ ได้รับพระราชทานสมศกั ดิ์
เป็นพระครูสัญญาบตั รผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชน้ั
พเิ ศษ ในนามมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั คร้ังนี้
จงึ นบั วา่ เปน็ เกยี รตยิ ศ เกยี รตศิ กั ด์ิ และเกยี รตคิ ณุ แกว่ งศต์ ระกลู
ของท่านพระครูเอง คณะสงฆ์ และมหาวิทยาลัย นำ�ความ
ปลาบปลื้มใจและปีติยินดีมาสู่เพื่อนสหธรรมิก ผู้ร่วมงาน
ญาติมติ ร และ ศษิ ยานุศิษยท์ ่เี คารพนับถือ

ขออ�ำ นาจคณุ พระศรรี ตั นตรยั และกศุ ลจรยิ าสมั มาปฏบิ ตั ิ
ทีไ่ ด้บำ�เพญ็ แล้ว จงมารวมกันเป็นพลวปัจจยั อำ�นวยพรให้

(12) 

พระครูสิริสารบัณฑิต เจริญงอกงามไพบูลย์ในบวรพระพุทธ-
ศาสนา และเจรญิ ยง่ิ ๆ ขน้ึ ไปในสมณธรรมตลอดกาลเปน็ นติ ย์
เทอญ

(พระราชวรเมธี, ดร)
รองอธกิ ารบดฝี ่ายบรหิ าร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผชู้ ว่ ยเจ้าอาวาส/ประธานองค์การศกึ ษา
วัดประยุรวงศาวาสวรวหิ าร

(13)

มุทติ า
พระครูสริ ิสารบัณฑติ
(พระมหาสกุ รี สจุ ิตโฺ ต)

พระครูสิรสิ ารบณั ฑติ
นามนมิ ิตสอ่ื สารการศึกษา
รอ้ ยกรองกานท์สาธุมุทติ า
เคารพรกั ศรทั ธาผ้กู ลา้ คม

เป็นผู้ชว่ ยเจา้ อาวาสฉลาดหลกั
งานประจักษ์มากคณุ ค่าสงา่ สม
วัดประยรุ ญาติปราชญช์ นั้ พรหม
ชนชน่ื ชมเกง่ แกน่ ธรรมพระสัมมา

วินยั ธรเกษยี ณเปลย่ี นชือ่ ใหม ่
ก้าวขึ้นสู่ตำ�แหน่งหวังไร้กงั ขา
ถวายอกตามรอยบาทพระศาสดา
บุญนำ�พาเรยี นรทู้ ศิ กจิ การ

ช่ือสกุ รี ดำ�คำ�ย้าํ ไมเ่ ปลีย่ น
จบเปรียญห้าประโยคสมโชคท่าน
ตำ�บลโพนแดนโนนกุงท่งุ ดอกจาน
บง่ บอกบา้ นของพระดศี รีสกล

(14) 

โบสถว์ หิ ารลานเจดียว์ ันน้สี ขุ
เหมือนสิ้นทุกขต์ ดั วงจรคลายร้อนพน้
พฤกษชาตแิ ยม้ ย้ิมอ่มิ กมล
ศษิ ยท์ กุ คนพลอยปลม้ื ดํา่ ด่มื แทน

กราบพระครูสิริสารบัณฑิต
ร้อยดวงจิตศิษย์ใกล้ไกลซงึ้ ใจแสน
มหาบัณฑติ เอกอุทะลุแกน
เสียงพณิ แคนบรรเลงขบั รบั เมธี

ยกพานแพมาลาสกั การะ
คารวะดว้ ยบทกลอนอักษรศรี
หวั หนา้ ฝ่ายมากมายงานทกุ ดา้ นม ี
บาทวิถีพัฒนาสถาบนั

จากผลงานถึงผลงานทุกด้านครบ
รักเคารพผูน้ ำ�ทางเกนิ สร้างสรรค์
สมตำ�แหน่งอารามใหญ่ได้จ�ำ นรรจ ์
สขุ นิรันดรสรา้ งฝนั ต่อ...รอเจ้าคณุ

รศ.ดร.สมชยั ศรนี อก (ช.ศรนี อก)

(15)

ประวัติสังเขป
พระครสู ิรสิ ารบัณฑติ

(สกุ รี สจุ ติ ฺโต)
ผชู้ ่วยเจา้ อาวาสวดั ประยุรวงศาวาส วรวหิ าร

ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั งานสภามหาวิทยาลยั
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

]

พระครูสิริสารบัณฑิต ฉายา สุจิตฺโต นามเดิม สุกรี
นามสกลุ ด�ำ ค�ำ วทิ ยฐานะ น.ธ.เอก, ป.ธ.๕, พธ.บ., สส.ม.
เกดิ เมอ่ื วนั ศกุ รท์ ่ี ๑๖ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๑๖ ณ บา้ นเลขที่
๑๓๔ หมู่ที่ ๙ บา้ นโนนกงุ ตำ�บลบา้ นโพน อำ�เภอเมอื ง
สกลนคร จงั หวดั สกลนคร (ปจั จบุ นั ต�ำ บลเชียงสือ อำ�เภอ
โพนนาแก้ว จงั หวดั สกลนคร)

ปัจจบุ นั ด�ำ รงตำ�แหนง่ ส�ำ คญั คอื
- ผ้ชู ่วยเจา้ อาวาสวัดประยรุ วงศาวาส วรวิหาร
- ผ้อู ำ�นวยการสำ�นักงานสภาพมหาวทิ ยาลัย

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

(16) 

บรรพชาอุปสมบท
บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ.

๒๕๓๑ ณ วัดศรีรัตนโนนกุง ตำ�บลบ้านโพน อำ�เภอเมือง
จงั หวัดสกลนคร มพี ระครสู ิริรตั นาภิบาล (นารี อตถฺ กาโม)
เจ้าคณะตำ�บลบ้านโพน และเจ้าอาวาสวัดศรีรัตนโนนกุง
อำ�เภอเมือง จงั หวดั สกลนคร เป็นพระอุปชั ฌาย์

อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เม่อื วนั ที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๕๓๗ ณ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร แขวงวัดกัลยาณ์
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร มีพระพุทธวรญาณ (มงคล
วิโรจโน) เจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เป็นพระ
อุปัชฌาย์ พระราชปริยัติดิลก (วิชิต อิสฺสโร) วัดประยุร-
วงศาวาสวรวหิ าร เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ และ พระสนุ ทร-
วหิ ารการ (เล่ือน ถาวรธมโฺ ม) วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
เปน็ พระอนุสาวนาจารย์

วฒุ ิการศึกษา

- สอบได้นักธรรมชั้นเอก สำ�นักเรียนวัดคลองวาฬ
ตำ�บลคลองวาฬ อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ เมอื่
พ.ศ. ๒๕๓๓

(17)

- สอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยค สำ�นักเรียนวัด
คลองวาฬ ตำ�บลคลองวาฬ อำ�เภอเมือง จังหวัดประจวบ-
คีรีขนั ธเ์ มอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๔

- สอบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๔ ประโยค ส�ำ นกั เรยี นวดั ประยรุ -
วงศาวาสวรวหิ าร แขวงวดั กลั ยาณ์ เขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร
เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๕

- สอบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๕ ประโยค ส�ำ นกั เรยี นวดั ประยรุ -
วงศาวาสวรวหิ าร แขวงวดั กลั ยาณ์ เขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร
เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๖

- สำ�เร็จปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) สาขา
รฐั ศาสตร์ เอกบรหิ ารรฐั กจิ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณ-
ราชวทิ ยาลัย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒

- สำ�เร็จปริญญาสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต
(สส.ม.) มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๗

ต�ำ แหนง่ การปฏิบตั งิ านคณะสงฆ์

- เป็นครสู อนพระปรยิ ตั ิธรรม สำ�นกั เรียนวัดประยุร
วงศาวาสวรวิหาร เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๗

- เปน็ เจา้ หน้าทีส่ ำ�นักงานเจา้ คณะภาค ๒ ทำ�หน้าท่ี
ในการจัดทำ�เอกสารประกอบการประชุมพระสังฆาธิการ

(18) 

ระดบั เจ้าคณะจังหวดั รองเจา้ คณะจังหวดั ในเขตปกครอง
คณะสงฆ์ ภาค ๒ ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ - ปัจจุบัน

- เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๕๘

ต�ำ แหนง่ การปฏบิ ตั งิ านในมหาวิทยาลยั มหาจฬุ า-
ลงกรณราชวทิ ยาลยั

- บรรจุแต่งต้ังเป็นบุคลากรประจำ�มหาวิทยาลัย-
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั เมอื่ พ.ศ. ๒๕๔๖

- เปน็ รกั ษาหวั หนา้ ฝา่ ยพธิ กี ารและงานประชมุ (รปู แรก)
เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๗

- เปน็ หัวหนา้ ฝา่ ยพิธีการและงานประชมุ เมอ่ื พ.ศ.
๒๕๔๙

- เปน็ รกั ษาการหวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารงานทว่ั ไป อกี ต�ำ แหนง่
เมือ่ พ.ศ. ๒๕๕๒

- เปน็ รักษาการหวั หนา้ ฝ่ายยานพาหนะ อีกตำ�แหน่ง
เมอื่ พ.ศ. ๒๕๕๔

- เป็นกรรมการและเลขานุการฝ่ายซ้อมรับปริญญา
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๕๔ -
ปจั จบุ นั

(19)

- เปน็ กรรมการและเลขานกุ ารคณะกรรมการฝา่ ยพธิ กี าร
จดั ประชมุ ชาวพทุ ธนานาชาติ เนอ่ื งในวันวิสาขบชู า วนั ส�ำ คัญ
สากลของโลก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ปจั จบุ ัน

- เปน็ รกั ษาการผอู้ �ำ นวยการกองกลาง และรกั ษาการ
ผู้อำ�นวยการสำ�นกั งานสภามหาวทิ ยาลยั อีกต�ำ แหนง่ เมอ่ื
พ.ศ. ๒๕๕๖

- เปน็ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั งานสภามหาวทิ ยาลยั (รปู แรก)
เมือ่ พ.ศ. ๒๕๕๗

สมณศกั ดิ์

- ไดร้ บั แตง่ ต้งั เป็นพระครฐู านานกุ รม ในพระพรหม-
บณั ฑติ (ประยูร ธมมฺ จิตฺโต) ศ.ดร. กรรมการมหาเถรสมาคม
เจา้ คณะภาค ๒ เจา้ อาวาสวดั ประยรุ วงศาวาสวรวหิ าร อธกิ ารบดี
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ท่ี พระครวู นิ ัยธร

- ได้รับพระราชทานต้ังสมณศักด์ิเป็นพระครูสัญญา-
บตั ร ผ้ชู ว่ ยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ช้นั พเิ ศษ ในราช-
ทินนามท่ี พระครูสิรสิ ารบณั ฑติ

(20) 

สารบญั

ค�ำ ปรารภ (๓)

ค�ำ อนุโมทนา โดย พระพรหมบณั ฑติ (๗)

สารบณั ฑิต โดย พระราชวรเมธ ี (๑๐)

มุทติ า โดย ช.ศรีนอก (๑๓)

เก็บเลก็ ผสมนอ้ ย ๑

โดย พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจนมหาเถรร)

หลกั การและวธิ กี ารเทศน์ ๓๐๑

โดย พระพรหมบณั ฑติ (ประยรู ธมมฺ จติ โต)

โสตถธิ รรมกถา วา่ ดว้ ยธรรมเพอ่ื ความสวสั ดี ๓๔๙

โดย พระพรหมบณั ฑติ

อตั ตโจทนกถา วา่ ดว้ ยการเตอื นตน ๓๖๕

โดย พระพรหมบณั ฑติ

เกบ็ เลก็ ผสมนอ้ ย

โดย

พระพทุ ธวรญาณ
(มงคล วโิ รจนมหาเถร)

2  เกบ็ เลก็ ผสมน้อย

กล้วยไม้ กาฝาก

ต้นไม้ ๒ ชนิด ที่มีลักษณะเหมือนกันคือต่างก็อาศัย
ต้นไม้อื่นเกาะ แต่ที่ต่างกันก็คือ กล้วยไม้รากไม่เป็นพิษ ไม่
แยง่ อาหารจากต้นไม้ทเี่ กาะ และมดี อกสวยงาม บางต้นราคา
แพงเป็นทป่ี รารถนาของคนทว่ั ไป นบั ว่าเปน็ ตน้ ไม้ทมี่ ีเสนห่ ์

ส่วนกาฝากรากเป็นพิษ มีปกติแย่งอาหารจากต้นไม้ที่
ไปเกาะและไม่มดี อกดวงอะไรทีน่ า่ อภริ มย์ชมช่ืน เป็นต้นไมท้ ี่
อาภพั ไมม่ ีใครปรารถนาเน่อื งจากรากทมี่ พี ษิ น่เี อง เมือ่ ไปเกาะ
ทตี่ ้นไมใ้ ดตน้ ไม้นนั้ ก็มีอันตอ้ งเหย่ี วแหง้ และตายไปในที่สุด

คนกลว้ ยไมเ้ ปน็ คนมเี สนห่ ์ เปน็ ลกู ใครพอ่ แมก่ โ็ ปรดปราน
เป็นศิษย์ใครครูบาอาจารย์ก็รักใคร่ เป็นพระอยู่วัดไหนก็ทำ�
ความเจริญให้แก่วัดนั้น เป็นพระที่มีประโยชน์ เคร่งครัดต่อ
พระธรรมวินัย สภุ าพเรยี บร้อย ทำ�ชอื่ เสยี งให้แก่วดั สมภารก็
สบายใจ

สว่ นคนกาฝาก เปน็ คนมพี ษิ เปน็ ลกู ใครพอ่ แมก่ เ็ ดอื ดรอ้ น
สร้างความเสื่อมเสียให้แก่วงศต์ ระกูล เปน็ ศิษยใ์ ครครูอาจารย์
กเ็ ออื มระอา ท�ำ ใหโ้ รงเรยี นเสยี ชอ่ื เสยี ง หากเปน็ พระกเ็ ปน็ พระ
ไมเ่ คร่งครดั ตอ่ พระธรรมวนิ ยั ไม่สนใจต่อกจิ วตั ร ข้คี รา้ นต่อ
การทำ�วัตรไหว้พระสวดมนต์ ไม่สภุ าพเรยี บร้อย ชอบนอกรีต
นอกรอย ดอ้ื รน้ั ท�ำ ใหว้ ดั เสอ่ื มเสยี ชอ่ื เสยี ง ท�ำ ใหส้ มภารหนกั ใจ

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  3 

จอมโจรองคุลิมาล

องคุลิมาลเดิมช่ืออหิงสกะ แปลว่าไม่เบียดเบียนใคร 
บิดาเป็นผู้ต้ังให้ ท้ังน้ีเพื่อให้เหตุร้ายกลายเป็นดี หรือที่เรียกว่า
ตัดไม้ข่มนาม เพราะเม่ือเกิดใหม่ๆ มีเหตุอัศจรรย์คือเคร่ือง
ศตั ราวุธภายในบา้ นมีประกายแสงแวววาว

ท่านบิดาซึ่งเป็นโหราจารย์ประจำ�ราชสำ�นัก ตรวจดู
ชะตาลูกชายก็ทราบว่าต่อไปลูกคนน้ี จะกลายเป็นโจรตัว
ฉกาจ จะฆ่าฟันประชาชนชาวเมืองล้มตายเป็นจำ�นวนมาก 
จึงใคร่จะฆ่าลูกชายคนน้ีเสีย เพ่ือตัดไฟแต่ต้นลม จึงนำ�ความ
เรื่องน้ีกราบทูลถวายพระราชาทรงทราบ แต่พระราชาไม่ทรง
เห็นดว้ ย เพราะการกระทำ�เช่นน้นั เป็นการตตี นไปก่อนไข้

ดรุณวยั  
อหิงสกะจึงรอดตายมาได้อย่างหวุดหวิด พออายุ ๑๖ ปี 

ท่านบิดาก็ส่งให้ไปศึกษาเล่าเรียนท่ีเมืองตักกสิลา ด้วยท่าน
บิดาตระหนักดีว่า “รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวิตคือ
การศกึ ษา”

อหงิ สกะไปอยกู่ บั อาจารยท์ ศิ าปาโมกข ์ ณ เมอื งตกั กสลิ า
เนื่องจากเธอเรียนหนังสือเก่ง ปฏิบัติอาจารย์ดี เรียกว่า ดีครบ

4  เกบ็ เล็กผสมนอ้ ย

วงจร คือ มีความรู้ดี มีความสามารถดี มีความประพฤติดี 
เธอจึงเป็นท่ีรักของอาจารย์มาก นี่คือจุดเริ่มแรกที่ทำ�ให้ศิษย์
ทอ่ี ยู่มาก่อนเกดิ ความริษยา

แรงริษยา 
หลวงวิจิตรวาทการ เคยถูกมรสุมของแรงริษยามา

อยา่ งหนัก ถึงกบั ระบายอารมณอ์ อกมาเป็นตัวอกั ษรวา่  
  “อันที่จริงคนเขาอยากให้เราดี
แต่ถา้ เดน่ ขน้ึ ทกุ ทีเขาหมน่ั ไส้
จงทำ�ดแี ต่อย่าเด่นจะเปน็ ภัย
ไมม่ ีใครอยากเหน็ เราเดน่ เกิน”

บรรดาศิษย์แบ่งออกกันเป็น ๓ พวก พากันทยอยเข้าไป
ยยุ งทา่ นอาจารย์ตามลำ�ดบั

พวกท ่ี ๑ เขา้ ไปยยุ งทา่ นอาจารยโ์ ดยกลา่ วหาวา่  อหงิ สกะ
จะทำ�ลายท่านอาจารย์ แล้วสถาปนาตัวเองข้ึนเป็นอาจารย์
แทน แตท่ า่ นอาจารยก์ ไ็ ม่เชื่อ

ต่อมาพวกท่ี ๒ ก็เข้าไปยุยงอีก คราวนี้ท่านอาจารย์
เชอ่ื คร่งึ ไมเ่ ช่อื ครงึ่

พอพวกที่ ๓ เข้าไปยุยง คราวนี้ท่านอาจารย์ก็เชื่อ
อยา่ งสนทิ  น่ีแหละทา่ นจึงได้วา่

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  5 

“อนั เสาหินแปดศอกตอกเปน็ หลัก
ไปมาผลักหนกั เขา้ เสายังไหว”
และวา่  
“จะป่วยกล่าวไปใยใจมนุษย์
คนชั่วฉดุ แล้วกค็ งไมต่ รงท่ี
ถงึ มมิ อมมัวหน้าก็ราคี
ท่จี ะดีอยู่นั้นอยา่ สงกา”

แผนก�ำจดั อหิงสกะ 
ท่านอาจารย์จึงได้วางแผนเพื่อกำ�จัดอหิงสกะ โดยลวง

ว่าจะมอบวิชาวิษณุมนต์ให้ ซ่ึงวิชาน้ียังไม่เคยสอนให้แก่ใคร
มาก่อนเลย แต่เพราะเป็นวิชาพิเศษจำ�ต้องอาศัยนิ้วมือมนุษย์
จำ�นวน ๑,๐๐๐ นว้ิ  มาเปน็ เครือ่ งประกอบพธิ ี

ตอนแรกอหิงสกะปฏิเสธ เพราะกลัวบาป แต่เพราะ
อาศัยเล่ห์ล้ินของอาจารย์พักเดียว อหิงสกะก็ยอมจำ�นน
นี่ก็เข้าตำ�ราที่บรมครูสุนทรภู่ท่านว่า “จะพลิกพลิ้วชิวหาเป็น
อาวธุ สังหารบตุ รเจา้ ลงกาใหอ้ าสญั ” นน่ั เทียว

6  เกบ็ เล็กผสมนอ้ ย

การฆา่ มนุษยเ์ พอ่ื เอาน้วิ มือ 
จำ�เดิมแต่นั้นมา แผนการอันลามกก็เร่ิมขึ้น อหิงสกะ

ผู้น่าสงสารก็ลงมือ ฆ่า ฆ่า ฆ่า ฆ่าทุกคนที่เขาพบ แล้วตัด
เอานิ้วมือมาร้อยเป็นพวงมาลัยสวมคอ ด้วยเหตุน้ีอหิงสกะ
จงึ ได้ช่อื ใหมว่ ่า “องคุลมิ าล” ซง่ึ แปลวา่  “ผู้มพี วงมาลัยน้ิวมือ”

ประชาชนตา่ งตระหนกตกใจขวัญหนีดฝี ่อไม่กล้าออกไป
ทำ�ไร่ไถนา ดังน้ัน ประชาชนจึงพากันทำ�ฎีกาถวายต่อพระเจ้า
ปเสนทโิ กศล พระองคจ์ งึ รบั สง่ั ใหเ้ จา้ หนา้ ทอ่ี อกปราบทง้ั จบั เปน็
และจบั ตาย

หัวอกพอ่ หัวอกแม่ 
ฝ่ายท่านภัคคะผู้เป็นบิดา และนางมันตานีผู้เป็นมารดา

ของโจรองคลุ มิ าล เมอ่ื ไดท้ ราบข่าวนี ้ กอ็ กสน่ั ขวัญแขวน เกรง
ว่าลูกจะได้รับอันตราย นางมันตานีจึงรีบติดตามหาลูกรัก
ทนั ทีโดยมิไดห้ ว่นั กลวั อะไรท้ังส้นิ

เพราะฉะน้ัน ท่านจึงได้ช่ือว่า “รักแท้คือแม่รัก รักขนาด
สุดใจกันทีเดียว ถึงแม้ลูกจะเลวทรามอย่างไร รักของแม่ก็ฆ่า
ลูกไม่ตายขายลกู ไมข่ าด”

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  7 

ความรักของแม ่
หญิงคนหนึ่งไปจ่ายตลาดสด สามีไปรับราชการ ปล่อย

ลูก ๒ คนไว้ที่บ้าน ขณะท่ีกำ�ลังเพลิดเพลินในการจ่ายตลาด
อยูน่ ั่นเอง ก็ได้ยนิ เสียงตะโกนว่า “ไฟไหม้ ไฟไหม้ ไฟไหม้”

หญิงคนน้ันตกใจ มองไปก็รู้ว่าไฟไหม้แถวบ้านของตัว
เอง นึกถึงลูก ๒ คน ถึงกับกระจาดหลุดจากสะเอว คร่ึงวิ่ง
คร่งึ เดิน พอถึงบ้านของตัวเองซ่งึ พระเพลิงกำ�ลังโหมอย่างหนัก 
พลางตะโกนเรียกลูกว่า “ลูกแม่อยู่ไหน ลูกแม่อยู่ไหน” แล้วก็
กระโจนฝ่ากองเพลิงเข้าไปในบ้าน ผลสุดท้ายเม่ือไฟสงบ
ก็เห็นสามแม่ลูกกอดกันกลม ตัวดำ�เป็นตอตะโก ตายอยู่ ณ
ที่นัน้ เอง

น่ีแหละความรักของแม่ รักแท้ท่ีแม่รัก จะหาความรัก
ชนิดนี้ไม่มีในท่ีอื่น นอกจากที่แม่เท่านั้น ก็ท่านล่ะรักแม่บ้าง
หรอื เปล่า

พระมาโปรด 
นางมันตานีเดินไปร้องไห้ไปด้วยเกรงว่าลูกจะถูกฆ่า 

เช้ามืดวันน้ันองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถทรงตรวจดูสัตว์โลก 
นางมันตานีกับโจรองคุลิมาลก็มาปรากฏในข่ายพระญาณ 

8  เกบ็ เล็กผสมนอ้ ย

ทรงพิจารณาทราบว่าถ้าพระองค์จะไม่เสด็จไปโปรดแล้ว โจร
องคุลิมาลก็จะต้องฆ่าแม่และโจรองคุลิมาลก็จะต้องเป็นโจร
ไปตลอดชาติ

แต่ถ้าพระองค์เสด็จไปโปรด โจรองคุลิมาลก็จะเลิกเป็น
โจร แล้วจะได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา และ
จะได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในกาลต่อไป ส่วนนางมันตานีก็จะ
ไมต่ อ้ งจบชวี ติ ลงเพราะนาํ้ มอื ของลกู ชาย

พุทธานภุ าพ 
ดงั นน้ั  ดว้ ยอ�ำ นาจของพระเมตตา ซง่ึ มเี ปย่ี มอยใู่ นพระองค์ 

จึงได้เสด็จออกจากพระคันธกุฎี มุ่งตรงไปยังที่อยู่ของจอมโจร
องคุลมิ าลทันที

พอโจรองคุลิมาลเห็นก็ดีใจว่า วันน้ีจะได้นิ้วมือครบ 
หน่ึงพันน้ิวตามท่ีอาจารย์กำ�หนดไว้พอดี จึงควงดาบว่ิงไล่ตาม
พระพทุ ธเจา้  แตว่ ง่ิ ไลต่ ามไปเทา่ ไรๆ กห็ าตามทนั ไม ่ จงึ ตะโกน
ร้องเรียกว่า “พระหยุดก่อน พระหยุดก่อน พระหยดุ กอ่ น”

พ ร ะ พุ ท ธ อ ง ค์ ต รั ส ต อ บ ว่ า  “ เ ร า ห ยุ ด แ ล้ ว  เ ธ อ สิ  
ยังไมห่ ยุด”

โจรองคุลิมาลจึงกล่าวว่า “พระคุณเจ้ากล่าวเท็จ เพราะ
เดินอยู่แทๆ้  บอกว่าหยดุ ไดอ้ ยา่ งไร”

พระพุทธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  9 

พระพุทธเจ้าจึงตรัสตอบว่า “ท่ีว่าเราหยุดนั้น คือหยุด
จากการทำ�บาป หยุดจากการทำ�ความชั่ว ส่วนเธอยังไม่หยุด 
เพราะยังฆา่  ยังทำ�บาปอย”ู่

จอมโจรกลบั ใจ 
พระดำ�รัสทุกคำ�ของพระพุทธเจ้า ชุ่มด้วยพระเมตตา

ท�ำ ใหเ้ กดิ อ�ำ นาจไหลเลอ่ื นเคลอ่ื นเขา้ จบั หวั ใจของโจรองคลุ มิ าล
เธอกลับได้สติทันที ท้ิงดาบแล้วตรงเข้าไปกอดพระยุคลบาท
ของพระบรมศาสดาด้วยนํ้าตาของมหาโจร ปฏิญาณตนเลิก
เปน็ โจร

พระพุทธองค์จึงประทานอุปสมบท ให้เป็นพระภิกษุใน
พระพุทธศาสนา ยามที่ท่านเข้าไปบิณฑบาต ประชาชนท่ี
พบเห็นท่านต่างพากันวิ่งหนี โดยพากันคิดว่าท่านปลอมบวช
มาเพอ่ื จะฆา่ พวกเขา เปน็ เหตใุ หท้ า่ นตอ้ งอดอาหารอยหู่ ลายวนั

สัจจกิรยิ าแหง่ ความผาสุก 
คราวหนึ่งท่านมีโอกาสทำ�น้ําพระพุทธมนต์ให้หญิง

มีครรภ์คนหนึ่ง ทำ�ให้หญิงคนน้ันคลอดบุตรได้โดยง่าย
ตั้งแต่นั้นมาช่ือเสียงของพระองคุลิมาลก็โด่งดัง เป็นท่ีเลื่อมใส
ของมหาชน มนต์ของทา่ นความว่า 

10  เกบ็ เล็กผสมนอ้ ย

“ยโตหํ ภคินิ อริยาย ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ
สญฺจิญฺจ ปาณํ ชีวิตา โวโรเปตา เตน สจฺเจน โสตฺถิ เต โหตุ 
โสตฺถิ คพภฺ สฺส”

แปลว่า “ดูก่อนน้องหญิง ตั้งแต่เราเกิดมาโดยอริยชาติ 
เจตนาที่จะแกล้งฆ่าสัตว์ มิได้มีแก่เราเลย ข้อนี้เป็นความจริง 
ด้วยอานุภาพแห่งสัจจวาจานี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่เธอ
และครรภข์ องเธอเถดิ ”

บรรลุพระอรหันต์ 
จำ�เดิมแต่นั้นมา ใครมีทุกข์ร้อนอะไรจะไปหาท่าน ท่าน

ก็เมตตาช่วยสงเคราะห์โดยมิได้รังเกียจ จึงมีผู้คนเคารพ
นับถือเป็นจำ�นวนมาก ท่านอาศัยความไม่ประมาทเร่งรีบ
ทำ�ความเพียรอย่างแรงกล้า ผลก็คือท่านได้บรรลุเป็นพระ
อรหนั ตใ์ นเวลาไม่นานนัก

วันหน่ึงท่านพักอยู่ในที่อันสงัดได้หวนรำ�ลึกถึงชีวิตเบื้อง
หลังของท่านซ่ึงมีท้ังความเศร้าและความสุข ด้วยความสังเวช
สลดใจระคนด้วยความปลื้มปีติที่ท่านได้พ้นจากกิเลสอันแสน
จะอลวนวุ่นวายนี้ไปได ้ แลว้ ท่านก็เปลง่ อทุ านเป็นคาถาว่า

“โย จ ปพุ เฺ พ ปมชชฺ ิตฺวา ปจฺฉา โส นปฺปมชชฺ ติ
โสมํ โลกํ ปภาเสต ิ อพฺภา มุตฺโตว จนทฺ ิมา”

พระพุทธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  11 

แปลว่า “ผู้ใดประมาทแล้วในเบ้ืองต้น แต่ภายหลัง
ไม่ประมาท ผู้น้ันได้ชื่อว่ายังโลกน้ีให้สว่าง เหมือนพระจันทร์
ท่ีพ้นแล้วจากหมอกฉะนน้ั ” พอกลา่ วจบท่านกน็ ิพพาน

คติสอนใจ 
เรื่องจอมโจรองคุลิมาลจบลงแล้ว แต่สำ�หรับข้อปฏิบัติ

ยงั ไมจ่ บจะตอ้ งศกึ ษากนั ตอ่ ไปอกี  เรอ่ื งนแ้ี มจ้ ะเกย่ี วกบั จอมโจร
ใจเหี้ยมแต่ก็มีธรรมข้อปฏิบัติตลอดท้ังเร่ือง ทุกท่านจึงไม่ควร
รงั เกยี จทจ่ี ะยกขึ้นมาปฏิบตั  ิ ดงั ทโ่ี บราณท่านกลา่ วว่า

 “แร้งเหมน็ สาบคาบแก้วมาใสก่ ร
ควรรบี ร้อนเร่งเอามาอย่าแสยง
ถึงเหมน็ สาบแรงร้ายกก็ ายแรง้
แก้วมแี สงอนั ละเอยี ดเกลยี ดทำ�ไม”
เรามาพจิ ารณาดขู อ้ ปฏบิ ตั ติ า่ งๆ ภายในเรอ่ื งทา่ นปโุ รหติ า
จารย์ ทำ�นายได้แม่นมาก สมกับทำ�งานอยู่ในราชสำ�นัก อีก
อย่างหนึ่งท่ีน่ายกย่อง สำ�หรับท่านปุโรหิตาจารย์ก็คือ ความ
ยตุ ิธรรม
เม่ือเห็นว่าลูกของท่านจะสร้างความเดือดร้อน เป็นภัย
ต่อบ้านเมือง ทา่ นก็ยอมสละจะฆา่ ลูกของท่าน เพือ่ ความปกติ

12  เก็บเล็กผสมน้อย

สุขของบ้านเมือง ผิดกับพ่อแม่บางคน เข้าข้างลูกตะพึดตะพือ 
ไม่ว่าจะผิดถกู อย่างใดไมฟ่ งั เสียง พอ่ แมป่ ระเภทนไ้ี มน่ ่านับถอื

ผู้ท่ีน่าสงสารท่ีสุดก็คืออาจารย์ทิศาปาโมกข์ ที่ถูกลูก
ศิษย์ต้มเสียจนเป่ือย แต่ก็น่าเห็นใจเพราะ “จะป่วยกล่าวไปใย
ใจมนุษย์ คนช่ัวฉุดแล้วก็คงไม่ตรงที่ ถึงมิมอมมัวหน้าก็ราคี 
ที่จะดีอยู่น้ันอย่าสงกา” อันน้ีจะเห็นได้ว่า ฤทธิ์ของลมปากน้ัน
ร้ายแรงจรงิ ๆ ว่ากว็ ่าเถอะ

พิษของลมปาก 

เมื่อพูดถึงกระบวนลมกันแล้ว ลมต่างๆ ที่มีอยู่หลาย
ประเภท เชน่  ลมทะเล ลมกรด ลมแดด ลมบก ตลอดถงึ ลมเพ
ลมพัด สารพัดกระบวนลมก็ยังไม่ร้ายแรงเท่ากับลมปาก คนที่
เสียผู้เสียคนเสียบ้านเสียเมืองเพราะลมปากก็มีไม่ใช่น้อย 
เพราะฉะนัน้  เรอ่ื งลมปาก จงระวงั กนั ไวใ้ ห้จงหนัก

จากเรื่อง จอมโจรองคุลิมาลน้ี ทำ�ให้ธรรมภาษิตท่ีว่า 
“อรติ โลกนาสิกา ความริษยายังโลกให้พินาศ” เด่นชัดข้ึน คิด
ดูเถอะคนดีแท้ๆ อย่างอหิงสกะ เป็นสุภาพบุรุษ แต่กลายเป็น
มหาโจรใจเหี้ยม นี่ก็เกิดมาจากแรงริษยา ผู้คนล้มตายกันเป็น
เรอื นพนั ก็เพราะสบื เนื่องมาจากแรงริษยา

๏ ๏ ๏

พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  13 

กลับตัวกลับใจ 

ดังนั้นเราทั้งหลายจงมาช่วยกันดับเพลิงริษยากันเถิด
จงคิดไว้เสมอว่า “โลกพินาศเพราะขาดมุทิตา โลกโสภา 
เพราะมุทิตาค้ําจุน” สาระสำ�คัญอีกอย่างหน่ึงในเร่ืองนี้ก็คือ
การกลับตัว ขนาดเป็นมหาโจรยังกลับตัวได้ เรายังไม่เป็นถึง
ขนาดนนั้ ท�ำ ไมจะกลับตวั ไม่ได้

อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ เคยเขียนไว้ว่า “เราเดินทาง
ผิด เราจะขืนเดินต่อไปทั้งผิดๆ กับการกลับมาเดินทางที่ถูก
อันไหนจะดีกว่ากัน เรานุ่งผ้าขาด ขืนนุ่งต่อไปท้ังๆ ท่ีขาด 
กบั เย็บปะเสยี ให้ดีแลว้ นุง่  อยา่ งไหนจะดกี วา่ กนั ”

เม่ือเราผิดมาแล้วอย่าขืนดันทุรังเร่ือยไป เร่ืองน้ี
พระพุทธเจ้าเคยผิดมาแล้ว สมัยเมื่อพระองค์เคยเป็นนักเลง 
ช่ือปุนาสิ ภายหลังได้ฟังคำ�ของบัณฑิตก็เลิกเป็นนักเลงได้ 
ดงั นน้ั  เรามาเริม่ ตน้ กลับตัวกนั เถดิ  เพราะยงั ไมส่ ายเกนิ ไป

เมื่อท่านอ่านเร่ืองนี้แล้วให้นึกถึงการรับประทานปลา 
เราควรเลือกรับประทานแต่เนื้อปลาส่วนที่เป็นก้างปลา ขี้ปลา
ทงิ้ มันไปเสีย ถ้าใครขืนไปรบั ประทานถอื ว่าเป็นกรรมของท่าน

๏ ๏ ๏

14  เก็บเลก็ ผสมน้อย

บ่วงกรรม

มีโยมคนหนึ่ง บ้านอยู่ข้างวัดกัลยาณ์เล่าให้ฟังว่า สมัย
ก่อนโน้น ที่ริมแม่นํ้าเจ้าพระยาตรงหน้าวัด มีบ้านเรือนแพอยู่ 
๓-๔ หลงั

เช้าวันหน่ึงเจ้าของแพกำ�ลังห่ันปลาอยู่บนเขียง ก็มี
แมวตัวหนึ่งเข้ามา เอาตีนเขี่ยจะกินปลา ขว้างของไล่ออกไป
สามสีค่ รง้ั มันกย็ งั วนเวียนมาอกี

เจ้าของแพโกรธจัดจับขาแมวไว้ แล้วก็เอามีดสับขาแมว
จนขาดกระเด็น เลือดกระฉูด มันร้องอย่างน่าเวทนา ทั้งด้ิน
พราดๆ ดนิ้ ไปจนตกนา้ํ ตายท่ีหัวแพ

ต่อมาอีกสามเดือนหญิงเจ้าของแพตั้งครรภ์ เมื่อคลอด
บุตรออกมา มือข้างซ้ายด้วน พอเด็กเร่ิมคลานได้ วันหน่ึง
คลานไปคลานมา เลยตกน้ําตายตรงหวั แพทแี่ มวตกตาย

เรื่องน้ีหลวงพ่อเส่งวัดกัลยาณ์ก็เคยเล่าให้ฟัง ซึ่งมี
เค้าเรอ่ื งตรงกัน

๏ ๏ ๏

พระพุทธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  15 

คำ�ว่าส�ำ เหร่

“ทา่ นอาจารยค์ รบั  ผมสงสยั ค�ำ วา่ ส�ำ เหร ่ ผมเคยถามพระ
ท่านก็บอกว่าท่านก็ไม่รู้เหมือนกัน แต่เคยได้ยินเขาเล่ากันมา
ว่า เม่ือก่อนท่ีตำ�บลนี้ มีตาเหล่อยู่ ๓ คน เลยเรียกว่าสามเหล่ 
ต่อมามันเพ้ียนเป็นสำ�เหร่ไป ท่านอาจารย์มีความเห็นอย่างไร
ครบั ในเรอ่ื งน”ี้

“อาจารย์ก็ไม่รู้เหมือนกัน แต่จะขอค้นดูในหนังสือ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ดูผลของการค้นก็ทราบ
วา่ คำ�ว่าส�ำ เหร่นั้น เปน็ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ดอกสีมชมพ”ู

๏ ๏ ๏

การท�ำ บญุ ศพ ๗ วนั

เ ม่ือมีผู้ไปถามท่านอาจารย์ป่ิน มุทุกันต์ ว่า “การ

 ทำ�บญุ  ๗ วนั  นบั กันอยา่ งไร ทไี่ ด้ยินมามกั ไม่ใคร่ตรงกนั ”
อาจารย์ปิ่น มุทุกันต์ อธิบายว่า “ควรนับตามแบบ

ราชการ คือทำ�ตรงกับวันตาย หมายความว่า ตายวันไหน ก็

16  เกบ็ เลก็ ผสมน้อย

ทำ�บุญตรงกับวันตาย เช่น ตายวันอาทิตย์ก็ทำ�บุญ ๗ วัน ใน
วนั อาทติ ย ์ ตายวนั จันทร์กท็ �ำ บุญ ๗ วัน ในวันจนั ทร์”

ผถู้ าม “สาธุ” หมดสงสัย
๏ ๏ ๏

ท�ำ ดีเมื่อใด ก็ฤกษด์ เี มือ่ นั้น

ชายคนหนึ่งไปหาพระอาจารย์ ท่านถามว่า “มาธุระ
อะไร” 

เขาตอบว่า “มาหาฤกษข์ ึ้นบ้านใหมค่ รับหลวงพ่อ”
ทา่ นถามวา่  “บา้ นเสรจ็ แลว้ หรือยงั ”
เขาตอบวา่  “เสรจ็ แลว้ ครับ”
ทา่ นถามอกี ว่า “บนั ไดละ่ มีแลว้ หรือยัง”
เขาตอบว่า “มีแลว้ ครบั ”
ท่านจึงบอกว่า “ถ้าเช่นนั้นขึ้นบ้านได้เลย นี่แหละฤกษ์
ดีแล้ว ไม่ตอ้ งหาอกี แลว้ ละ”

๏ ๏ ๏

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  17 

พระสงฆ์ไทยโกนคว้ิ

ท่านประสกอธิบายไว้ว่าไม่มีหลักฐานแน่นอน แต่มีเรื่อง
เล่ากันมาว่าพระสงฆ์ไทยเพิ่งจะมาโกนค้ิวเม่ือสมัยกรุงศรี
อยุธยาน่ีเอง สาเหตุเนื่องมาจากพระหนุ่มๆ ไปวาดลวดลาย
เจ้าชู้ยักคิ้วหล่ิวตา เก้ียวพาราสีสนมนางในของพระเจ้าแผ่น
ดินพระองค์ทรงกริ้ว จึงรับสั่งให้พระโกนค้ิว เพ่ือไม่ให้
ไมไ่ วย้ กั อกี ตอ่ ไป อนง่ึ พระอนิ เดยี  พระพมา่ ไมโ่ กนคว้ิ

๏ ๏ ๏

ลกั ษณะของการพดู เพอ้ เจอ้

การพูดพล่าม ได้แก่อาการท่ีพูดมากในเร่ืองท่ีเหลวไหล
ไร้สาระ อาการท่ีพูดพล่ามจนเสียประโยชน์ อาการที่พูด
ไม่รู้จักจบ เพื่อเข้าใจง่ายขอยกตัวอย่างคำ�พูดเพ้อเจ้อ เช่น 
การพดู เลน่ ส�ำ นวนอยา่ งไปถามคนทางเหนอื วา่  “นา้ํ ทางเหนอื นี้
เป็นอยา่ งไร”

แกตอบว่า “อ๋อ มันก็เหลวๆ เหมือนอย่างน้ําทางใต้
นัน่ แหละ”

18  เกบ็ เลก็ ผสมน้อย

ถามชาวปา่ ว่า “ลงุ ๆ แถวนีม้ เี สือไหม”
ลุงตอบว่า “ใครจะไปรู้เสือมีหรือเสือจน มันไม่เคยแบก
ถงุ เงินถุงทองมาใหน้ ี”่
“ไม่ใช่ ลุง เสือมันเคยมากินเป็ด กินไก่ ที่ลุงเล้ียงไว้บ้าง
หรอื เปล่า”
“เออ ก็มันไมม่ ากิน ใครจะห้วิ ไปใหม้ ันกินล่ะ”
ชาย ๒ คน รีบลากลับทันที เพราะขืนอยู่เป็นเกิดเรื่อง
แน่
บางคนสวดมนต์ผิดเพี้ยน เช่น สฺวากขาโต ก็สวดเป็น 
สฺวากขาใหญ่
เมอ่ื มคี นทว้ งกแ็ กว้ า่  “โตกบั ใหญก่ ม็ คี วามหมายเดยี วกนั ” 
บางทีแปลบาลีผิดไปจากแบบ เช่น นหารู แปลว่า ปลาไหล 
สัพพงั  แปลวา่  จอบ
พระไปเยี่ยมโยมที่บ้าน โยมพูดเสียคนเดียว หาช่องลา
ไม่ได้ พอดแี กไปหา้ มสนุ ขั ทีก่ ดั กนั  พระเลยไดช้ อ่ งลากลับบ้าน

๏ ๏ ๏

พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  19 

บททดสอบแมช่ ี

แม่ชีรูปหน่ึงมีนิสัยชอบคุยโอ้อวดว่าตนปฏิบัติธรรม
ได้สำ�เร็จอย่างนั้น ได้สำ�เร็จอย่างน้ี วันหนึ่งแม่ชีผู้นี้เข้าไปหา
ท่านเจ้าคุณพระศาสนโสภณ อดีตเจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยา-
ราม และพูดกับท่านเจ้าคุณว่า “ดิฉันละกิเลสได้มากแล้ว 
ความโกรธ ก็ละไดเ้ กือบหมดแล้ว”

ท่านเจ้าคุณคงจะรำ�คาญในการคุยโม้โอ้อวดของแก 
ท่านจึงย้อนถามว่า “จรงิ หรือแม่ช ี อตี อแหล”

เท่าน้นั เอง แม่ชีรูปน้นั ลุกข้นึ ช้หี น้าท่านเจ้าคุณแล้วพูดว่า
“ท่านเจ้าคุณน่ี พูดจาหยาบคาย” แล้วก็สะบัดก้นออกไปจาก
กฏุ ิทันที

ท่านเจ้าคุณหัวเราะแล้วสำ�ทับตามหลังไปว่า “แม่ชี นี่
เปน็ แคท่ ดสอบขั้นตน้ เท่าน้นั เองนะแม่ชี”

ท่านเจ้าคุณรูปนี้ เป็นชาวเพชรบุรี ท่านชอบแต่งโคลง
กลอน มีกลอนบทหนง่ึ เปน็ ทีร่ ู้จกั กันแพรห่ ลายกค็ อื

“นึกถงึ ความตายสบายนกั
มันหกั รักหักหลงในสงสาร
บรรเทามืดโมหันต์อันธกาล
ท�ำ ให้หาญหายสะด้งุ ไมย่ ุ่งใจ”

๏ ๏ ๏

20  เกบ็ เลก็ ผสมน้อย

ปฏภิ าณของหลาน

คุณตาเล้ียงแมวไว้ ๒ ตัว เจาะช่องฝาไว้ ๒ ช่อง ช่อง
หน่ึงใหญ่สำ�หรับให้แมวตัวใหญ่เข้าออก ส่วนช่องหนึ่งเล็กไว้
ส�ำ หรับให้แมวตัวเลก็ เข้าออก

วันหนึ่งหลานชายถามว่า “คุณตาครับ ทำ�ไมคุณตาต้อง
เจาะไวต้ งั้  ๒ ช่องละ่ ครบั ” คุณตากอ็ ธิบายใหฟ้ ัง

หลานชายออกความเห็นว่า “เจาะช่องใหญ่ช่องเดียว
ก็พอแล้วครับ เพราะทั้งแมวตัวเล็กตัวใหญ่ก็ออกช่องใหญ่
รวมกนั ได้ครับ โดยที่ไมต่ อ้ งเสยี ฝาทเี่ จาะถงึ  ๒ ชอ่ ง”

ตาบอกว่า “เออ จริงซิไอ้หลานชาย ตาเข้าใจผิดไป
หน่อย” ทค่ี บเด็กสรา้ งบ้านน้นั  คตินีค้ วรเลกิ ใช้ไดแ้ ล้ว

๏ ๏ ๏

พระพุทธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  21 

หนงั สือพมิ พ์ฉบับแรก

หนังสือพิมพ์รายวันฉบับแรกของไทย คือหนังสือพิมพ์
บางกอกรีคอรเ์ ดอร ์ ออกเมื่อวันท ี่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๔๑๑ 

จากหนังสอื พิมพ์เดลินิวส ์ ๑๑ เมษายน ๒๕๓๘
๏ ๏ ๏

ชีวิตตวั อยา่ ง

สมเด็จกรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ผู้ทรงคิดพระนาม
เฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่ ๕ ว่า “ปิยมหาราช” ทรงเป็น
พระโอรสในล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๔ พระมารดาของท่านมีนาม 
ว่า เจ้าจอมมารดาชุ่ม เป็นคนธรรมดาสามัญ พอล้นเกล้าฯ 
รชั กาลที่ ๔ สวรรคต กอ็ อกจากวังมาปลูกบา้ นอยกู่ บั ลูก

ท่านหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล พระธิดาของสมเด็จกรม-
พระยาดำ�รงราชานุภาพ ทรงเล่าว่า พระบิดาเป็นเสนาบดี
กระทรวงมหาดไทย ก่อนที่จะไปทำ�งานจะทรงเดินไปที่บ้าน
พระมารดาซ่ึงอยู่ติดกับวังของพระองค์ท่าน พอถึงบ้าน
พระมารดาก็ข้ึนไปกราบพระมารดา ถ้าพระมารดานั่งที่เก้าอี้

22  เก็บเล็กผสมน้อย

พระองค์ท่านจะทรงกราบท่ีเท้า ถ้าพระมารดานั่งพับเพียบ 
พระองค์ท่านก็จะทรงกราบท่ีตัก เสร็จแล้วก็ทรงถามว่า “แม่
ตอ้ งการอะไรบา้ ง จะซ้ือมาฝาก”

พระองค์ท่านจะปฏิบัติอย่างน้ีเป็นปกติ ท่ีพบโดยท่ัวไป
ลูกเรียนหนังสืออยู่กรุงเทพฯ ถ้าเขียนจดหมายขอเงินพ่อแม่
ก็จะเขียนว่า “กราบเท้าคุณพ่อคุณแม่ท่ีเคารพอย่างสูง” แต่
เมื่อกลบั ถงึ บา้ นแล้วไมเ่ คยกราบเทา้ ท่านเลย

จาก...หนังสือวารสารสามมุข
๏ ๏ ๏

โลภมากลาภหาย

ตระกูลหน่ึงมีสมาชิก ๓ คน คือ พ่อ แม่ และลูก ต่อมา
พ่อตายไปเกิดเป็นหงส์ทอง ตระกูลก็ยากจนลง เพราะขาด
หัวหน้าครอบครัว หงส์ทองระลึกชาติได้ สงสารครอบครวั  จงึ
ไปสลัดขนทองให้คร้งั ละ ๑ ขน ครอบครัวก็ได้อาศัยเล้ียงชีพ
ต่อไปพอสมควรแก่อัตภาพ

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  23 

ภายหลังแม่เกิดความโลภอยากจะได้ขนหมดท้ังตัว
เพื่อเอาไปขายตั้งหลักฐาน จึงปรึกษากับลูกสาวว่า “ธรรมดา
สัตว์เดรัจฉาน มีใจกลับกลอก จะหวังพึ่งพาในระระยาวไม่ได้ 
ควรท่ีจะจับหงส์ทองถอนขนทองออกมาทั้งหมด เพื่อรวบรวม
เอาไปขาย เอาทรัพย์มาเป็นทุนในการสร้างหลักฐาน” แต่
ลูกสาวคัดค้านไม่เห็นด้วย แต่แม่ไม่ฟังเสียงคัดค้านของ
ลกู สาว

วันหนึ่งหงส์ทองมาเย่ียมตามเคย แม่จึงจับหงส์ทองไว้
แล้วลงมือถอนขนหงส์ทองจนหมดทั้งตัว แต่อนิจจา เจ้ากรรม
ขนที่ถอนออกมากลายเป็นขนธรรมดา ไม่เป็นทอง จึงจับหงส์
ทองขังเอาไว้อีก โดยคิดว่าเม่ือขนงอกออกมาใหม่ คงจะเป็น
ทองตามเดิมแต่ก็ผิดคาด เพราะเมื่อขนงอกออกมาใหม่
ก็กลายเป็นขนธรรมดาหาเป็นทองไม่ ผลสุดท้ายตระกูลน้ี
ก็ยากจนลง ถึงกับต้องขอทานเขากิน นี่แหละโทษของ
ความโลภ

โบราณท่านหวังดีจึงมอบคาถากันโลภไว้ว่า “พอใจเท่า
ที่ม ี ยนิ ดีเท่าทไ่ี ด”้

๏ ๏ ๏

24  เก็บเล็กผสมน้อย

ใคร่ครวญแล้วจึงท�ำ ดกี วา่

ชาวนาเล้ียงพังพอนไว้ตัวหน่ึง วันหนึ่งออกไปไถนา 
ปล่อยให้พังพอนผู้ซ่ือสัตย์อยู่เฝ้าลูกซึ่งนอนอยู่ในเปล ตอนที่
พังพอนหลับไปก็มีงูเห่าแอบเลื้อยเข้าไปในเปลกัดลูกชาวนา
ในเปลตาย พังพอนต่ืนขึ้นมาจึงกระโจนเข้าไปกัดงู สู้กันไป
สกู้ ันมา ผลสดุ ท้ายงเู ห่าเสียท่า ถกู พงั พอนกัดตาย

ชาวนากลับจากไถนา เข้าไปรับขวัญลูก แต่ลูกกลาย
เป็นศพไปแล้ว คร้ันหันมาดูพังพอน เห็นท่ีปากของมันเต็มไป
ด้วยเลือด ก็คิดว่า คงจะเป็นเจ้าพังพอนตัวน้ีเองกัดลูกของแก
ตาย จึงเอาพร้าฟันไปท่ีตัวพังพอน ถูกพังพอนขาดเป็นสอง
ท่อน แล้วก็เดินมาด้วยความเสียใจ ทันทีก็ไปเห็นงูเห่านอน
ตายอยู่ริมฝาเรือน ก็เดาเหตุการณ์ได้โดยตลอด ชาวนาถึงกับ
ปลอ่ ยโฮ ออกมาอย่างน่าเวทนา

ชาวนาท่ีสูญเสียลูกน้อย และเสียพังพอนผู้ซ่ือสัตย์ ก็
เพราะขาดการใคร่ครวญให้รอบคอบ พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า
“นสิ มมฺ  กรณํ เสยฺโย แปลว่า ใคร่ครวญกอ่ นแล้วจงึ ทำ�ดกี วา่ ”

๏ ๏ ๏

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  25 

ส�ำ คญั ทีเ่ สา

ธรรมดาบ้านเรือน เสาเป็นส่วนประกอบท่ีสำ�คัญที่สุด
เพราะส่วนต่างๆ ของบ้านเรือน เช่น พ้ืนฝา หลังคา เป็นต้น 
กต็ อ้ งอาศัยยดึ เกาะอยู่กบั เสา มิฉะนนั้  ก็จะกลายเปน็ กองไม้ไป

อีกอย่างหนึ่งถ้าเสาโย้เย้ต้ังอยู่ไม่คงท่ี สิ่งต่างๆ ท่ี
ยึดเกาะติดอยู่กับเสา ก็จะโย้เย้กันไปหมด ฉันใด ภายใน
ครอบครัว พ่อก็เป็นเสาต้นหนึ่ง แม่ก็เป็นเสาต้นหนึ่ง ปู่ ย่า 
ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา ต่างก็เป็นเสาแต่ละต้น ถ้าเสาเหล่าน้ี
เกิดโย้เย้ เช่น พ่อขี้เมา แม่ชอบเล่นการพนัน ปู่ ย่า ตา ยาย 
ลุง ป้า น้า อา เป็นนักเลง เม่ือเป็นเช่นนี้ บรรดาลูกหลาน ก็
จะพลอยโย้เย้กลายเป็นคนข้ีเหล้า เมายา ชอบการพนัน และ
เปน็ นกั เลงตามไปดว้ ย

ฉะน้ัน จึงใคร่ขอร้องผู้หลักผู้ใหญ่ในครอบครัว จงเป็น
เสาที่ตรง อย่าได้โย้เย้เป็นอันขาด ครอบครัวของท่านก็
จะเจริญประเทศชาติบ้านเมืองก็จะก้าวหน้า ขอนักปกครอง
ทุกประเภททุกระดบั  อย่าลืมค�ำ วา่  “สำ�คญั ท่ีเสา”

๏ ๏ ๏

26  เก็บเลก็ ผสมน้อย

ทมี่ าของไขม่ กุ

หอยชนิดหน่ึง ขณะท่ีออกหากิน บังเอิญมีก้อนกรวด
ก้อนหินพลัดเข้าไปในปาก ก้อนหินก้อนกรวดเหล่านี้ ทำ�ให้
หอยเกิดความระคายเคืองเป็นอย่างย่ิง ด้วยเหตุนี้ธรรมชาติ 
จงึ ผลิตนํา้ ยาออกมาเคลอื บก้อนหนิ ก้อนกรวดเหลา่ น้นั  เคลือบ
มาเคลือบไป เคลือบไปเคลือบมา จนกระทั่งเกิดเป็นแสง
แวววาวและนี่แหละคือที่มาของส่ิงที่มีค่าที่เราเรียกกันว่า 
“ไขม่ ุก”

หากเราจะนำ�เรื่องน้ีมาเป็นตัวอย่างในทางปฏิบัติ คือ 
ให้รู้จักเคลือบอารมณ์แล้ว เราก็จะได้ไข่มุกเกิดขึ้นในดวงใจ
ของเรามากมาย ตัวอย่างเช่น ถ้าคนใช้ทำ�แก้วแตก เจ้านาย
ท่ีไม่รู้จักเคลือบอารมณ์ ก็จะดุด่าเฆี่ยนตีคนใช้ แล้วก็บ่นไป
๗ คืน ๗ วัน เจ้านายนั้นก็จะกลายเป็นทาสของกิเลสไปอย่าง
น่าสงสาร

แต่ถ้าเจ้านายผู้น้ันรู้จักเคลือบอารมณ์แล้ว ก็จะคิดว่า
เป็นธรรมดาของมันแตกได้ คนเรายังตายได้ หรือคิดว่าเรา
ก็เคยทำ�อะไรแตกหักมาแล้วเหมือนกัน ครั้นแล้วก็ช้ีแจง
ตักเตือนด้วยเมตตาอย่างน้ีก็จะทำ�ให้คนใช้ผู้น้ันเกิดความรัก 
ความนับถอื เจา้ นายผนู้ ั้นข้นึ มาอกี มากทเี ดียว

พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  27 

พระเวสสันดรก็เคยทรงใช้วิธีเคลือบอารมณ์นี้เหมือนกัน 
คือ ตอนที่พระองค์ประทานสองกุมารให้แก่ชูชกแล้ว ตาแก่
ก็ฉุดกระชาก เฆี่ยนตีสองกุมารต่อพระพักตร์อย่างไม่เกรง
พระทัยอันเป็นภาพที่สะเทือนพระทัยสุดท่ีจะประมาณ ถึงกับ
ทรงรํ่าๆ จะฆ่าเฒ่าชราตาชูชกเสียแล้ว แต่หากพระองค์ทรง
รู้จักเคลือบอารมณ์ คือ ทรงดำ�ริว่า เราก็ให้ลูกเป็นทานไปแล้ว 
เขาจะทำ�อะไรก็เป็นเรื่องของเขา อนึ่งเราก็หวังพระโพธิญาณ
ในภายภาคหน้า เมื่อดำ�ริดังนี้แล้วจึงเสด็จเข้าสู่พระอาศรม 
ต้ังพระทยั จะเชยชมพระบารมี

อานุภาพแห่งการเคลือบอารมณ์ได้ในลักษณะเช่นนี้ ผล
ก็คือพระองค์ได้เป็นพระพุทธเจ้าในกาลต่อมา ตกลงไข่มุก
กเ็ ปน็ ครูได้เหมอื นกัน

๏ ๏ ๏

28  เกบ็ เล็กผสมนอ้ ย

คุณพระชว่ ยไม่ได้

“โอย! คุณพระช่วยด้วย” หญิงคนหนึ่งตกลงไปในท่อ
ทเ่ี ขาเปิดฝาท่อท้งิ ไว้ รอ้ งข้นึ ดว้ ยความตกใจ

ยายซิ้มซึ่งอยู่ห้องแถวใกล้กับท่อถลันออกมาจากห้อง
แถวพลางบอกว่า “คุณพระช่วยไม่ได้หรอก เพราะเม่ือเช้านี้ 
คุณพระมาบิณฑบาต กต็ กลงไปในท่อนีเ้ หมือนกัน”

๏ ๏ ๏

สวัสดี

พ ระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนชีวะ) เป็นผู้บัญญัติ
คำ�ว่า สวัสดี ท่านเป็นชาวกรุงเทพฯ ได้อุปสมบทอยู่ท่ีวัด
สทุ ัศนเทพวราราม เกดิ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๒๒ 

๏ ๏ ๏


Click to View FlipBook Version