The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sriparat, 2020-02-14 01:40:44

สารบัณฑิต

สารบัณฑิต

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  229 

บิดาแห่งวันเวลา

“อิมโฮเทป” เขาเป็นหัวหน้าผู้พิพากษา แพทย์หลวง จน
กระทั่งได้เป็น “ฟาโรห์” แห่งโซเซอร์ เขาเป็นคนแรกท่ีคิดค้น
ปฏทิ ินข้ึนใช้เม่อื  พ.ศ. ๒๗๘๐ ป ี กอ่ นครสิ ตศ์ กั ราช

๏ ๏ ๏

เปรตเจา้ ระเบียบ 

เปรตตนหนึ่งเห็นคนนอนหลับในศาลาท่ีวัดแห่งหนึ่ง 
ไม่มีระเบียบ มองแล้วไม่สวยงาม มันจึงจัดการนำ�คนเหล่าน้ัน
มานอนเรยี งกันใหม่อยา่ งเปน็ ระเบยี บ

แต่ในขณะท่ีมันสำ�รวจความเป็นระเบียบอยู่น้ัน มัน
สังเกตเห็นฯว่า ศีรษะและเท้าของคนเหล่าน้ันยังไม่เท่ากัน มัน
จึงจัดการดึงศีรษะของคนเหล่าน้นั ใหเ้ ทา่ กนั ก่อน

แต่พอเดินไปทางปลายเท้าก็พบว่ายังไม่เท่ากันอีกมันก็
จัดการดึงเท้าของคนเหล่าน้ันให้เท่ากัน คร้ันเดินสำ�รวจไป
ทางศีรษะของคนเหล่านั้น ก็พบว่ายังไม่เท่ากันอีกจึงจัดการ
ดึงให้ศีรษะคนเหลา่ นัน้ ใหเ้ ทา่ กนั อีกครัง้ หนง่ึ

230  เก็บเล็กผสมน้อย

ในคืนนั้นเปรตตนน้ันทำ�อย่างน้ันทำ�อย่างน้ีตลอดท้ังคืน 
แต่ก็ไม่สามารถจัดระเบียบของคนเหล่านอนหลับเหล่าน้ัน
ใหไ้ ด้ดงั ใจเลย

เร่ืองน้ีช้ีให้เห็นว่า ไม่มีอะไรเป็นไปดังใจเราได้ทุกอย่าง
ถา้ รจู้ ักปรบั ใจใหเ้ ปน็ ระเบยี บ ก็จะไมเ่ หนด็ เหน่ือยเหมือนเปรต
ตนน้ี

๏ ๏ ๏

กาลญั ญตุ า

คำ�น้ีมีความหมายว่า รู้ว่าเวลาไหนควรทำ�อะไร และ
ทำ�ให้ตรงเวลา ทำ�ให้เป็นเวลา ทำ�ให้พอเวลา ทำ�ให้เหมาะ
เวลา ทำ�ให้ถูกเวลา

๏ ๏ ๏

พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  231 

ท่ีมาของลูกประคำ� ๑๐๘

ลูกประคำ�จำ�นวน ๑๐๘ น้ี มาจากพุทธคุณ ธรรมคุณ 
สังฆคุณ คือพุทธคุณ ๕๖ นับเรียงตัวอักษรเร่ิมแต่ อิติปิ โส 
ภควา อรหงั  เรื่อยไปจนถงึ  ภควาติ

ธรรมคณุ  ๓๘ นบั เรยี งตวั อกั ษรเชน่ กนั เรม่ิ แต ่ สว� ากขฺ าโต 
ภควตา ธมโฺ ม จนถึง เวทติ พฺโพ วิญญฺ หู ีติ

สังฆคุณ ๑๔ นับเรียงเฉพาะท่อนต้น เร่ิมแต่ สุปฏิปนฺโน 
ภควโต สาวกสงโฺ ฆ

เพราะฉะนน้ั เมอ่ื รวมพทุ ธคณุ  ๕๖ ธรรมคณุ  ๓๘ สงั ฆคณุ  
๑๔ จงึ รวมเป็น ๑๐๘ 

น่คี อื ท่มี าของลกู ประค�ำ  ๑๐๘ ด้วยประการฉะนี้
๏ ๏ ๏

232  เก็บเล็กผสมนอ้ ย

ทม่ี าของรังนก

รังนกที่เรารู้จักกันที่จริงแล้วเป็นนํ้าลายของนกที่สำ�รอก
ออกมาผสมกับขนแล้วจับตัวแข็งกลายเป็นรังนก ประมาณ
เดือนกุมภาพันธ์ เมษายน สิงหาคม เป็นช่วงท่ีเริ่มเก็บรังนก
ได้ เดือนเมษายนเป็นช่วงท่ีเริ่มวางไข่ ก่อนท่ีจะวางไข่ นกเริ่ม
ทำ�รังใหม่ ระยะนี้ต่อมน้ําลายของนกจะผลิตน้ําลายออกมา
มากเป็นพิเศษ

๏ ๏ ๏

ประวตั ขิ องพทุ ธมณฑล

เม่ือสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี 
(ท่านผู้น้ีเป็นนายกนานถึง ๘ สมัย) ระยะหนึ่งตกอยู่ใน พ.ศ. 
๒๕๐๐ ถือกันว่าก่ึงพุทธกาล เพราะเชื่อกันว่าพุทธศาสนาของ
เราน้ีจะมีอายุ ๕,๐๐๐ ปี ก็จะศูนย์สิ้นศาสนา นี่เป็นคำ�ทำ�นาย
ของพระอรรถกถาจารย ์ ไมใ่ ชข่ องพระพุทธเจ้า

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  233 

คณะรัฐมนตรีจึงประชุมปรึกษาหารือกันว่าเม่อื ก่งึ พุทธ-
กาล เช่นน้ีจะทำ�อะไรเพื่อเป็นอนุสรณ์ ที่ประชุมตกลงกันว่า
ควรสร้างพุทธมณฑลซึ่งเป็นศูนย์รวมส่ิงสำ�คัญทางพระพุทธ-
ศาสนา ที่ประชุมตกลงเป็นเอกฉันท์เริ่มต้นก็หาท่ีได้ทางบาง-
กระทึก ตำ�บลศาลายา อำ�เภอนครไชยศรี จังหวัดนครปฐม 
เปน็ เนือ้ ท ่ี ๒,๕๐๐ ไร่ (ตรงกับ พ.ศ. ๒๕๐๐)

วาระต่อไปก็ปรึกษากันอีกว่าก่ึงกลางของพุทธมณฑล
จะสร้างอะไรดี ตกลงกันว่าควรสร้างพระพุทธรูปเอาปางที่
สวยที่สุดในระหว่างพระพุทธรูป ๖๐ กว่าปาง ได้ปางลีลาคือ 
ท่าเดินที่สวยงามตอนท่ีเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
หลังจากโปรดพระพุทธมารดาแล้ว (ปางน้ีบางท่านเรียกเพี้ยน
ไปว่าปางก�ำ แพงเขย่ง)

กรมศิลปากรเป็นผู้สร้างพระปางนี้มีลักษณะประทับยืน
ยกพระหัตถ์ซ้ายป้องไปข้างหน้าพระหัตถ์ขวาแนบพระวรกาย 
พระบาทซ้ายก้าวไปข้างหน้า หล่อด้วยทองสำ�ริด สูง ๒,๕๐๐ 
กระเบียด (ตรงกับ พ.ศ. ๒๕๐๐)

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระนาม
พระพทุ ธรปู องคน์ ว้ี า่  “พระศรศี ากยทศพลญาณ ประธานพทุ ธ-
มณฑลสุทรรศน์”

๏ ๏ ๏

234  เกบ็ เลก็ ผสมนอ้ ย

ดอกไม้สื่อรกั

กุหลาบเป็นดอกไม้ท่ีสวยงามสง่ากว่าดอกไม้ชนิดอ่ืนๆ 
ในบรรดาดอกไม้ท่ีผู้หญิงโปรดปรานจึงมีดอกกุหลาบรวมอยู่
ด้วยเสมอ และดอกกุหลาบสีแดงก็ยังเป็นส่ือแห่งความรัก
อีกด้วย ต้นกุหลาบท่ีโตท่ีสุดในโลกอยู่ที่เมืองทูมป์สโตน ในรัฐ
อริโซนา สหรัฐอเมริกา ลำ�ต้นของมันมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 
๔๐ นิว้  และสูง ๙ ฟุต

๏ ๏ ๏

เทคนคิ การถา่ ยรูปยุคปัจจบุ ัน

ในอนาคตฟิล์มถ่ายรูปอาจหมดความหมาย เชื่อไหมว่า
บริษัทที่จำ�หน่ายฟิล์มถ่ายรูปท่ีทุ่มโฆษณากันเป็นล้านๆ อาจ
จะต้องเลิกแข่งขันกันในไม่ช้านี้ก็ได้ เพราะว่าศตวรรษนี้เรา
สามารถถ่ายรูปโดยไม่ต้องใช้ฟิล์มกันแล้ว นอกจากไม่ต้องใช้
ฟลิ ม์ แลว้  เมอ่ื ถา่ ยเสรจ็ กย็ งั เอาไปฉายดทู างโทรทศั นไ์ ดอ้ กี ดว้ ย

จากหนังสือพมิ พเ์ ดลนิ ิวส์
๏ ๏ ๏

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  235 

ยงิ ปนื นดั เดียวได้นกสองตัว

ลิโป้เป็นขุนทัพยอดฝีมือรบเก่งท่ีสุดในยุคสามก๊ก เม่ือ
คราวที่เหล่าขุนศึกรวมตัวเป็นพันธมิตรไปปราบตั้งโต๊ะ ต้ังโต๊ะ
ส่งลิโป้ออกรับศึกหน้าด่านหูลูกวน ทหารเอกในข้างพันธมิตร
มมิ ผี ใู้ ดต้านทานฝมี อื ลิโป้ได้

แม้กระท่ังเตียวหุย กวนอู เล่าป่ี สามยอดฝีมือร่วมกัน
รมุ รบลิโป้ผ้เู ดยี ว ยงั เสมอไมแ่ พ้ไมช่ นะ และลโิ ป้จะสูจ้ ะถอยก็
สามารถรุกถอยได้อย่างเสรี ลิโป้รบเก่งก็จริง แต่ด้อยกลอุบาย 
ไม่เก่งเร่ืองยุทธศาสตร์ยุทธวิธี ดังน้ันแม้ว่าจะเคยตั้งตัวเป็น
ใหญไ่ ด ้ แต่ในทสี่ ุดก็พา่ ยโจโฉ 

ทหารโจโฉจับตัวลโิ ปเ้ ป็นเชลย มดั อกแอน่ เข้ามาพบโจโฉ
ลิโป้กลัวตายอ้อนวอนเสียงอ่อยว่า “ท่านโจโฉท่ีเคารพ คู่แข่ง
ท่ีน่ากังวลของท่าน ไม่มีคนไหนมีฝีมือสู้รบเก่งกาจกว่าข้าน้อย
อีกแล้ว บัดน้ีข้าน้อยก็สวามิภักดิ์ต่อท่านแล้ว ทั่วหล้านี้ท่าน
จึงไม่ต้องกังวลอีกต่อไป ถ้าท่านนำ�กองทัพทหารราบ ข้าน้อย
จะน�ำ กองทพั ทหารมา้ การปราบปรามทว่ั หลา้ กง็ า่ ยดาย ประดจุ
เปา่ ข้ีเถา้ ”

โจโฉได้ฟังจึงลังเลเห็นว่ามีเหตุผลดีเหมือนกัน กำ�ลัง
ใคร่ครวญว่าจะจัดการลิโป้อย่างไรดี จะฆ่าเสียหรือจะชุบเล้ียง

236  เก็บเลก็ ผสมน้อย

ไว้ใช้ปราบปรามศึกคนอ่ืน เล่าป่ียืนอยู่ข้างๆ พูดแสดงความ
เห็นข้ึนว่า “ท่านโจโฉท่านไม่เห็นจุดจบของเตงหงวนและตั้ง
โตะ๊ หรอื ” ค�ำ พดู เพยี งประโยคเดยี วนเี้ อง ลโิ ป้จงึ หัวขาดทนั ที

ลิโป้เคยเป็นทหารของเตงหงวน นับถือเตงหงวนเป็น
บิดาบุญธรรม ต่อเม่ือต้ังโต๊ะใช้ทรัพย์สินและม้าเร็วเอาเข้าล่อ 
ลิโป้กลับทรยศฆ่าเตงหงวนทันที แล้วก็ไปกราบต้ังโต๊ะเป็นพ่อ
คนใหม่

แต่เมื่อขัดแย้งกันเรื่องสาวงามนางเตียวเสี้ยน ลิโป้ก็ฆ่า
ต้ังโต๊ะพ่อบุญธรรมคนที่สองของตนอีก สรุปแล้วคือลิโป้เลี้ยง
ไม่เชื่องโจโฉจึงประหารเสีย แต่เร่ืองน้ี เล่าป่ีแนะนำ�โจโฉจาก
ใจจรงิ หรอื ไมย่ งั น่าสงสัย

เล่าปี่มีแผนการระยะยาวเพ่ือชิงความเป็นใหญ่ในใจ 
ตอนน้ันถึงแม้จะพ่ึงพาอาศัยโจโฉอยู่ แต่วางแผนเสมอว่า
สักวันหนึ่งจะต้องโค่นโจโฉให้ได้ ลิโป้ก็เป็นขุนศึกที่กล้าแข็ง
อีกคนหน่ึง มีจังหวะดีก็ควรจะกำ�จัดเสีย ขณะนั้นเล่าป่ียังอ่อน
ก�ำ ลงั ท�ำ ลายลโิ ป้ไม่ได้แต่กส็ ามารถยมื มอื โจโฉฆา่ ลโิ ปไ้ ด้

อีกประการหนึ่งหากปล่อยให้โจโฉชุบเลี้ยงลิโป้ โจโฉจะ
ยิ่งเข้มแข็งดังพยัคฆ์ติดปีก เมื่อโจโฉร่วมมือกับลิโป้ ใครใน
แผ่นดินจะรับมือไหว มิสู้ยิงนัดเดียวได้นกสองตัว ยุโจโฉเพียง
ประโยคเดียวได้ผลท้ังกำ�จัดลิโป้ และป้องกันไม่ให้โจโฉมี
ทหารเอกที่เข้มแขง็ ขน้ึ อีก 

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  237 

น่ีแลตัวอย่างการใช้ผู้อื่นลงมือในยุคสามก๊ก ท่านผู้มี
ปัญญาพงึ สดับเถดิ

๏ ๏ ๏

คลองสาทรไมใ่ ช่สาธร

สาทรแปลว่าเอ้ือเฟ้ือ เจ้าสัวยม (ชื่อจริง โพยม) เป็น
ผลู้ งทนุ ลงแรงสรา้ งตอ่ มาไดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกลา้ ฯ
พระราชทานบรรดาศักด์ิเป็น “หลวงสาทรราชายุทธ” นี่แหละ
ที่มาของช่ือคลองสาทรและถนนสาทร

๏ ๏ ๏

ตน้ สกั ใหญท่ ่ีสุดในโลก

ตน้ สกั นอ้ี ยทู่ ว่ี นอทุ ยานสกั ใหญ ่ บา้ นปางเจอื  ต�ำ บลนา้ํ ใคร้ 
อำ�เภอน้ําปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยถูกค้นพบคร้ังแรกเมื่อ 

238  เก็บเลก็ ผสมน้อย

พ.ศ.๒๔๗๐ มีความสูงประมาณ ๔๗ เมตร อายุของสักต้นนี้
ประมาณ ๑,๕๐๐ ปี ขนาดความโต ๑,๐๐๓ ซ.ม. 

จากหนังสอื พมิ พ์เดลินิวส ์
วนั ศุกรท์ ี่ ๒๑ มิถนุ ายน ๒๕๓๙
๏ ๏ ๏

ร่มชูชพี

ชายชาวฝร่ังเศสผู้หนึ่งช่ือ หลุยส์ เลโนร์ มาร์ค เป็น
ผู้ประดิษฐ์ร่มชูชีพอันแรกขึ้น เม่ือ ๑๐๐ ปี ก่อนจะมีเคร่ืองบิน 
ร่มชูชีพอนั แรกน้ ี ออกแบบเพ่อื ชว่ ยคนท่กี ระโดดจากตึกไฟไหม้
ให้ปลอดภัย

๏ ๏ ๏

พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  239 

เปรยี ญคฤหสั ถ์

สมยั รตั นโกสนิ ทรม์ คี ฤหสั ถอ์ ยสู่ องทา่ นไดร้ บั พระราชทาน
พัดเปรียญแต่งต้ังเป็นกรณีพิเศษคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม
สมมตอมรพนั ธก์ุ บั พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระจนั ทบรุ นี ฤนาถ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมสมมตอมรพันธุ์ทรงศึกษาภาษา
บาลีจนมีความเช่ียวชาญทรงแปลนิบาตชาดกถวายรัชกาลท่ี 
๕ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๔๗ นิบาตชาดก ก็คือนิทานชาดกหรือเร่ือง
ราวของการบำ�เพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ในชาติต่างๆ ก่อน
ที่จะมาตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแบ่งเป็นหมวดๆ เรียก
ว่า ‘นิบาต’ มีทั้งหมด ๘๐ นิบาต (รวมกับชาติที่บำ�เพ็ญบารมี
สำ�คัญ ๑๐ อย่างมีพระเวสสันดรเป็นชาติสุดท้าย ซึ่งเรียกว่า
มหานิบาต ก็นับเป็น ๘๑ นิบาตพอดี) ไม่ทราบว่ากรมสมมตฯ 
ท่านทรงแปลชาดกไหนผมไม่มีเวลาตรวจสอบ แต่ว่ากันว่า
สำ�นวนแปลพระองคเ์ ฉียบขาดนัก 

สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส
ทรงตรวจสำ�นวนแปลแล้วมีพระมติว่ากรมสมมตฯทรงมีความ
เชี่ยวชาญภาษาบาลีเท่ากับภูมิ ๕ ประโยค ในหลวงรัชกาลที่ 
๕ ทรงปรารถนาจะยกย่องให้เป็นที่ปรากฏ จึงโปรดเกล้าฯ ให้
สร้างพัดเปรียญ ๕ ประโยค ขนาดเล็กกว่าพัดเปรียญของ

240  เก็บเลก็ ผสมน้อย

พระภิกษุเป็นพัดพ้ืนแพรแดง ปักด้ินเล่ือมเป็นริ้ว พระราชทาน
ใหเ้ ป็นเกยี รต ิ

ต่อมาถึงรัชกาลที่ ๗ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระเจ้าบรม
วงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทรงแปลจันทกุมารชาดก
หน่ึงในจำ�นวนพระเจ้าสิบชาติ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการบำ�เพ็ญ
ขันติบารมีของโพธิสัตว์นามว่า จันทกุมาร ทรงแปลแล้ว
ประทานใหบ้ ัณฑิตยสภา พมิ พร์ วมไว้ในหนังสือนิบาดชาดก

มหาเถารสมาคมมีสมเด็จพระสังฆราชเป็นประธานได้
ตรวจสำ�นวนแปลแล้ว ยกย่องว่ากรมพระจันทบุรีฯ ทรงมีภูมิรู้
ถึงเปรียญ ๕ ประโยค พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลท่ี ๗ จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพัดเปรียญ ๕ ประโยค
ขนาดเล็ก พระราชทานให้เป็นเครื่องหมายเกียรติยศ เม่ือ
วันที ่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๓ 

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุ-
ภาพซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งราชบัณฑิตยสภาสมัยนั้น ได้ยกย่อง
พระองค์ตอนหนึ่งไว้ว่า “ควรกล่าวโดยเฉพาะถึงเจ้าพ่ียาเธอ 
กรมพระจันทบุรีนฤนาถที่ได้ทรงรับแปลจันทกุมารชาดก 
เพราะคนท้ังหลายยังไม่ทราบว่าได้ทรงพากเพียรเรียนภาษา
บาลี จนสามารถแปลได้ดีถึงผู้มีศักด์ิเป็นเปรียญ ผู้อ่านจะพึง
เห็นว่าได้ทรงแต่งดีกว่าผู้เป็นเปรียญท่ีเคยแปลมาแล้วเห็นจะ
หลายส�ำ นวน” 

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  241 

พระนิพนธ์อันอมตะอีกเล่มหนึ่งของเสด็จในกรมองค์น้ี
คือปทานุกรมบาลี-อังกฤษ-สันสกฤต ทรงรวบรวมและแก้ไข
จากฉบับเดิมของนายชิลเดอร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ในคราวอายุครบ ๕ รอบ
ของหม่อมหลวงบัว กิตยิ ากร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒

ในประวัติศาสตร์การศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทย ก็
มีคฤหัสถ์ท่ีไม่ได้สอบไล่แต่ได้รับแต่งตั้งเป็นมหาเปรียญเพียง
สองท่านเท่านี้แหละครับ ถ้าหากจะมีอีกนอกเหนือกว่านี้เป็น
ได้แค่ ‘มหาเปรยี ญเถื่อน’

ยุทธจกั รดงขม้ิน โดย เสถยี รพงษ ์ วรรณปก
๑ ตุลาคม ๒๕๓๒

๏ ๏ ๏

ปลาหมอตายเพราะปาก

ทนายความชอ่ื ชาญชยั ไปตา่ งประเทศพดู เลน่  ๆ กบั เพอ่ื น
วา่  “ในกระเปา๋ มลี กู ระเบดิ ” เจา้ หนา้ ทส่ี นามบนิ ไดย้ นิ เขา้  เขา้ ไป
ถามเขากย็ งั พดู เลน่ ไปอกี วา่  “มลี กู ระเบดิ อยใู่ นกระเปา๋ ” (ความ
จริงไมม่ )ี  เขาถูกตดั สนิ จ�ำ คุก ๑ ปี

242  เกบ็ เลก็ ผสมนอ้ ย

ประวตั ิธงไตรรงค์

เริ่มมีตั้งแต่รัชกาลท่ี ๖ วันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ 
แทนธงช้าง ตอนเสด็จชัยนาททอดพระเนตรเห็นบ้านหลังหน่งี
ติดธงช้างหงายท้อง จึงทรงประกาศให้เปล่ียนธงช้างเป็นธง
ไตรรงคต์ ง้ั แต่น้ันมา

๏ ๏ ๏

หลักในการครองเรอื น

ภายในครอบครัว ระหว่างสามีภรรยา ถ้าต่างคนต่างมี
ความอดทนรู้จักยับย้ังชั่งใจ รู้จักถนอมน้ําใจกัน มีปัญหาอะไร
เกดิ ขึ้น กค็ ่อยๆ พูดจาพาทกี ัน หาเหตตุ กลงกนั ดว้ ยสันตวิ ธิ ี

อันวิธีการอย่างนี้จะทำ�ให้บรรยากาศในครอบครัวอบอุ่น 
มีความสุขมาก ชาวพุทธท่ีแท้จะทำ�อะไร ต้องไม่ตกเป็นทาส
ของความโกรธ จะว่ากล่าวสั่งสอนใคร ก็กล่าวแต่โดยดี มี
เมตตาปรารภประโยชนส์ ุขเป็นท่ตี ง้ั  

คราวเกิดเรื่องกัน ควรชิงกันยอมแพ้เสียข้างหน่ึง เร่ือง
จะยุติลงได้ การยอมแพ้นั้นในสายตาของชาวโลก อาจหาว่า

พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  243 

เปน็ คนขข้ี ลาดตาขาว แตใ่ นสายตาของนกั ธรรม กลบั ใหเ้ กยี รติ
ว่าเป็นผู้ชนะ ดังท่ีท่านว่ากันว่า “แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร” 
หรอื  “แพ้แบบพระ ชนะแบบมาร”

ชาวพุทธท่ีดีแท้ต้องรู้จักให้อภัย เพราะการให้อภัย
เป็นการให้ที่ลงทุนน้อย แต่ได้กำ�ไรมากมาย การให้อภัยจัด
เป็นทานชน้ิ ยอดเหนอื กวา่ ทานใดๆ

ผู้ท่ีมีน้ําใจให้อภัยเป็นนิจ ย่อมมีชีวิตสูงค่า ซึ่งชาวโลก
เรียกว่า “พระ” คือ “พระอภัย” อภัยทานเป็นเภสัชขนานเอก
ที่จะถ่ายถอนความอาฆาตพยาบาทจองเวรให้หลุดพ้นจาก
จติ ใจ เพือ่ ให้ชีวิตได้ประสบสขุ สมหวงั ดังปรารถนา

ฉะน้ันสามีภรรยาจึงควรฝึกฝนตนเองให้รู้จักอภัยแก่กัน
และกันแต่อภัยจะเกิดขึ้นได้ย่อมต้องอาศัยขันติความอดทน
เป็นรากฐานขันติมีประโยชน์มากมายดังกล่าวมา จึงขอเชิญ
ชวนท่านทั้งหลายได้ช่วยกันปลูกขันติธรรม ให้งอกงามบน
อาณาจกั รใจอย่าไดห้ ยดุ ยง้ั

๏ ๏ ๏

244  เกบ็ เล็กผสมน้อย

คุณธรรมนํ้าใจ

ความมีคุณธรรมน้ําใจในคนเรา กับความไม่มีคุณธรรม
นํ้าใจแตกต่างกันมาก คนท่ีมีคุณธรรมนํ้าใจ มักมีกิริยาพาที 
ท่าทางน่ิมนวลสุภาพอยู่เสมอ แม้ว่าจะยังไม่แสดงออกมาให้
ปรากฏเห็นแก่ใครๆ ก็ตาม แต่ว่ามองแล้วชวนมอง ชวน
เคารพเลอ่ื มใส

ทั้งน้ีเพราะบุคคลน้ัน ย่อมฉายรัศมีมาทางกิริยาท่าทาง
ต่างๆ อยู่แล้วน่ันเอง ซ่ึงแตกต่างจากคนไม่มีคุณธรรมน้ําใจ 
ในใจ แม้จะยังไม่แสดงออกมา คือความเห็นแก่ตัว ความ
ทารุณโหดร้าย ความพยาบาทริษยาต่างๆ เหล่าน้ีให้เห็น
ก็ตาม แต่ทว่าใบหน้ากิริยาท่าทาง ก็จะส่อบอกให้คนทั้งหลาย
รู้ สังเกตไดช้ ดั ว่าคบยากหรอื ไมน่ า่ คบคา้ สมาคมด้วย

๏ ๏ ๏

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  245 

คนมีน้าํ ใจและคนไมม่ นี าํ้ ใจ

คนมีคุณธรรมนํ้าใจ ไม่น่ิงดูดาย ประพฤติบำ�เพ็ญตนให้
เป็นประโยชน์แก่บุคคลอื่นหรือแก่ส่วนรวม ช่วยเหลืออะไรกัน
ได้ก็ช่วยเหลือ เป็นต้นว่าอาจจะช่วยด้วยกำ�ลังแรงกำ�ลังใจ 
แม้แต่การไปเยี่ยมคนเจ็บไข้ได้ป่วย หรือญาติผู้ใหญ่ที่เคารพ
นับถือมิตรสหายท่ีอยู่ไกล นานๆ ก็หาโอกาสไปเย่ียมเยือน 
และมสี ง่ิ ของอะไรติดมอื ไปเป็นของก�ำ นัลดว้ ย

ส่วนคนไม่มีคุณธรรมน้ําใจ บางคนเม่ือจากพ่อแม่ ญาติ
พ่ีน้องผู้ใหญ่ไปแล้ว ก็เงียบหายไปเลย ไม่มีการเยี่ยมเยือน ไม่
ส่งข่าวคราวสอบถาม แสดงว่ามคี วามคับแคบ ไมม่ นี ํ้าใจ

บางคนก็ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เช่นการทำ�บุญ
สุนทานการบำ�เพ็ญกุศลต่างๆ การจัดงานปีใหม่ การพัฒนา
สิ่งต่างๆ ท่ีจะเกิดต่อส่วนรวม สมควรจะเสียสละจัดทำ�กันได้
แต่ก็หลบหลีกเลี่ยงเสีย มิหนำ�ซำ้�ยังเจรจาว่ากล่าวให้เกิด
ความเสียๆ หายๆ อีก แสดงว่าเป็นคนเห็นแก่ตัว ปราศจาก
คุณธรรมที่ก่อประโยชน์แก่บุคคลอ่ืน และส่วนรวม เรียกว่า 
เป็นคนไมม่ ีคุณธรรมน้าํ ใจ

๏ ๏ ๏

246  เก็บเลก็ ผสมนอ้ ย

ศลิ ปะการแสดงนํ้าใจ

การแสดงน้ําใจต่อผู้อ่ืนเป็นศิลปะแห่งการดำ�เนินชีวิต 
ทุกคนปรารถนาให้เพื่อนฝูง ญาติสนิทมิตรสหาย ตลอดจน
ผู้บังคับบัญชารักใคร่ การเช่นน้ันจะเกิดได้ ผู้น้ันจะต้องเป็น
ผู้ท่ีมีนํ้าใจอันดีงาม ไม่เกียจคร้าน ไม่นิ่งดูดาย โอกาสใดควร
จะแสดงนํ้าใจให้ผู้อื่นเห็นได้ก็ควรปฏิบัติ จึงจะเป็นบุคคลท่ี
น่ารกั  ไม่มีใครรงั เกยี จ

สรุปแล้วทุกคนควรมีนํ้าใจต่อกัน คือลูกต้องมีนํ้าใจต่อ
พ่อแม่ ศิษย์ต้องมีนํ้าใจต่อครูอาจารย์ ในทำ�นองเดียวกัน พ่อ
แม่ก็ต้องมีนํ้าใจต่อลูก ครูอาจารย์ก็ต้องมีนํ้าใจต่อศิษย์ สามี
ภรรยามติ ร ต้องมนี ํ้าใจตอ่ กนั และกัน

ใครเกี่ยวข้องกันสถานไหน เมื่อมีโอกาสก็ควรแสดง
น้ําใจต่อกันตามสมควร โดยเฉพาะคราวเขาเจ็บไข้ได้ป่วย 
ทุกข์ยากลำ�บาก หากมีโอกาสได้แสดงน้ําใจแล้ว ก็สร้างความ
ประทบั ใจไปนาน

ฉะน้ันคุณธรรมนํ้าใจน้ี จึงเป็นข้อควรปฏิบัติเพื่อจะยัง
บุคคลผู้ปฏิบัติให้เป็นท่ีรักใคร่ช่ืนชมของคนท่ัวๆ ไป พระ
พทุ ธองค์ทรงส่ังสอนธรรมข้อหนึ่ง คือ “อัตถจริยา” ได้แก่การ
ที่บุคคลประพฤติหรือบำ�เพ็ญประโยชน์แก่ผู้อื่นหรือส่วนรวม
เรียกว่า “มีคณุ ธรรมนํ้าใจ”

๏ ๏ ๏

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  247 

ไมตรี

“จะปรารถนาสารพัดในปฐพี เอาไมตรีแลกได้ดังใจจง” 
ข้าพเจ้าชอบภาษิตน้ีมาก แม้จะเป็นข้อความส้ันๆ แต่มีความ
หมายลกึ ซงึ้  เป็นคตจิ ับใจนกั

จริงอยู่ โดยท่ัว ๆ ไป เงินทองเป็นของที่สามารถใช้แลก
เปลี่ยนสิ่งต่างๆ ได้ตามความต้องการ ถึงกับบางท่านได้แต่ง
ภาษิตรับรองไว้ว่า “มีเงินทองเจรจาได้ มีไม้มีไร่ปลูกเรือนงาม” 
หรือว่า “มีเงินจะไร้อะไรกับของ มีทองจะไร้อะไรกับแหวน” 
แต่ท่านลองคิดดูเถิด สิ่งของที่ได้มาจากเงินทอง กับสิ่งของ
ทีไ่ ด้มาจากไมตรจี ติ  มีคณุ คา่ ต่างกนั มาก

คนเราลงได้มีไมตรีจิตต่อกันแล้ว จะต้องการอะไรก็หา
ให้ได้สิ่งท่ียากก็กลับเป็นง่าย เร่ืองที่ใหญ่ก็กลับเป็นเล็ก ทุก
อย่างดีหมดอย่างท่ีเขาว่า “รักกันก็สารพันว่าดี แต่พอเกลียด
กนั เข้าซีอัปรยี ์สารพัน”

มีเร่ืองเล่ากันมาว่า ครั้งสมัยแผ่นดินพระจุลจอมเกล้าฯ 
ข้าราชการช้ันผู้ใหญ่คนหน่ึง พร้อมด้วยเพ่ือนอีก ๒ คน 
เข้าไปยิงสัตว์ในป่า เกิดหลงทางกลับไม่ได้ เดินวกไปเวียนมา 
เกือบๆ จะมืดอยู่แล้ว บังเอิญพบบ้านเข้าหลังหนึ่ง ต่างดีใจ
รบี พากนั แวะเข้าไป

248  เกบ็ เลก็ ผสมนอ้ ย

เจ้าของบ้านผู้อารีย์ ก็กุลีกุจอจัดแจงต้อนรับขับสู้ด้วย
ไมตรีจิตเรียกลูกชายให้ไปตักน้ําให้อาบ เรียกภรรยามาหุงหา
อาหารใหร้ ับประทาน พร้อมทง้ั จดั ที่นอนใหเ้ สร็จ

อาคันตุกะท้ัง ๓ รู้สึกซาบซึ้งในไมตรีจิตเป็นท่ีย่ิง ไม่นึก
เลยว่าชาวป่าจะมีนํ้าใจเช่นน้ี นี้แหละเข้าหลักท่ีว่า “ข้างนอก
ขรุขระ แต่ข้างในสะสวย” ซ่ึงดีกว่าชาวเมืองบางคน “ท่ีข้าง
นอกสุกใส แตข่ า้ งในไม่ได้เรอื่ ง” 

ตอนหน่ึงหัวหน้าอาคันตุกะเอ่ยข้ึนว่า “ลุงต้องการให้ฉัน
ชว่ ยเหลืออะไรบา้ ง บอกมาเถิด ไมต่ ้องเกรงใจ” 

“อย่างอ่ืนก็ไม่ต้องการอะไรดอก” เจ้าของบ้านตอบ 
“อยากจะใหเ้ จา้ ลกู ชาย เขาไดเ้ ขา้ ไปอยกู่ รงุ เทพฯ เทา่ นน้ั แหละ
เขาว่าเจริญดจี ริงๆ ฉันเองเกิดมาจนป่านน้ี เกอื บๆ จะเขา้ โลง
อยแู่ ล้ว ยังไมเ่ คยเหน็ กรุงเทพฯ เลย” พูดพรอ้ มกับหวั เราะ 

“ดีทีเดียว ฉันก็อยู่กรุงเทพฯ เหมือนกัน ถ้าลุงไม่ขัดข้อง
ฉันจะพาไปอยู่ด้วย และจะชุบเลี้ยงให้เต็มที่ลุงไม่ต้องห่วง” 
แลว้ กห็ ยบิ นามบัตรมอบให ้ ๑ แผน่  

เด็กคนน้แี หละต่อมาได้เป็นข้าราชการช้นั สูงในกระทรวง
แห่งหนึ่ง และมีหลักฐานม่ันคงอยู่ในกรุงเทพฯ อบอุ่นอยู่ใน
ออ้ มอกของพ่อแม ่ ซึง่ ทา่ นไดร้ บั เลย้ี งไวด้ ้วย

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  249 

นี่คือผลไมตรีจิต ท่ีชาวป่าทำ�ไว้คร้ังกระโน้น ซ่ึงพอดีมา
ตรงกับสุภาษิตที่ว่า “อันบุญกรรมทำ�ไว้แต่ปางหลัง เป็นพืชยัง
ปางนใ้ี หม้ ีผล” 

เพ่ือให้วิสาขบูชาปีนี้ ได้ผ่านไปอย่างมีความหมายของ
ชาวพุทธทั้งหลาย ขอจงร่วมใจกันแผ่ไมตรีจิต อย่าได้คิดโกรธ
เกลียดและริษยาพยาบาทซ่ึงกันและกันเลย ชาวโลกจะได้อยู่
กันด้วยความผาสุก เพราะโลกร่มเย็นดับเข็ญได้ด้วยไมตรี 
โปรดภาวนาไว้เสมอว่า “จะปรารถนาสารพดั ในปฐพี เอาไมตรี
แลกไดด้ งั ใจจง” 

๏ ๏ ๏

คนแจวเรอื จ้าง

เม่ือหลายปีมาแล้ว ข้าพเจ้าได้โดยสารเรือจ้างไปในกิจ
นิมนต์แห่งหน่ึง คนแจวเรือเป็นชายชรา แต่ดูยังแข็งแรง เป็น
คนร่าเริง คุยสนกุ  แจวพลางคุยพลางตลอดทาง

ตอบหน่งึ ถามแกว่า “โยมมีครอบครัวหรอื ปา่ ว”
“มีครับ ภรรยาก็มี ลูกก็มี แต่อย่าเอ่ยถึงเขาเลยครับ ฟื้น
ฝอยหาตะเขบ็ ”

250  เก็บเล็กผสมน้อย

ซักแกว่า “อ้าว เป็นอยา่ งไรเล่า โยม”

แกว่า “อุตส่าห์เลี้ยงเขามาจนโตด้วยเรือลำ�นี้ ส่งเสียจน
ได้ดิบได้ดี เป็นใหญ่เป็นโต แต่เขาลืมพ่อ เหมือนต้นไม้ได้น้ํา
ค้างแล้วก็ปล้ืมลืมนํ้าเดิม พูดแล้วมันชํ้าใจ แต่บัดนี้ผมก็ตัดใจ
ไดแ้ ลว้  เลือดก้อนหนงึ่ ผมตดั ได้”

ข้าพเจ้าฟังด้วยความเศร้าใจ ลูกหนอลูกทำ�ไมจึงเป็น
เช่นนี้เพื่อให้แกลืมความหลัง ข้าพเจ้าจึงเอ่ยชมแกว่า “โยม
ทานยาอะไร จงึ แข็งแรงอยา่ งน้ี” 

“ยาไม่มีดอกครับ” แกตอบ “แต่ผมมีคาถาสำ�หรับ
ภาวนาหลวงพ่อท่านให้ไว้นานแล้ว ท่านว่า เสกอยู่เสมอทำ�ให้
แข็งแรงอายยุ นื ” ขา้ พเจา้ ชักสนใจ ออกปากขอทนั ที

โยมชอบใจหัวเราะอย่างเบิกบาน พูดว่า “ได้ครับ คาถา
ของผม จำ�ง่าย ใชส้ ะดวก”

ใจเย็น หนา้ ยิม้  อายยุ นื  แขง็ แรง ไรโ้ รค โชคดี

“น่ีแหล่ะครับดีจริง ๆ ผมขอรับรอง เพราะผมใช้ได้ผล
มาแล้ว”

จนกระท้ังบัดนี้ ข้าพเจ้ายังไม่ลืม ชายชราคาถาขลังผู้
น้นั  

พระพุทธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  251 

หากเร่ืองนี้จะเกิดประโยชน์แก่ท่านผู้อ่านบ้างแล้วไซร้ 
ข้าพเจ้าขอถวายเป็นพุทธบูชา ในวาระสมัยแห่งอภิลักขิตกาล
วสิ าขบชู านดี้ ้วยคารวะอย่างสูง

๏ ๏ ๏

เรอื ลำ�เดียวมี ๓ ล้าน

เด็กสองคนกำ�ลังเล่นน้ํากันอยู่แลเห็นคนสองคนแจวเรือ
ประทุนมาตามลำ�น้ําจึงตะโกนเรียก “ไอ้แกละ มึงดูซี หัวล้าน
ทงั้ หัวทง้ั ทา้ ย”

ทันทีคนที่น่ังในประทุนโผล่ออกมาพร้อมตะโกนว่า “น้ีก็
อกี ล้านนงึ นะไอห้ นู”

เด็กสองคนร้องขึ้นพร้อมกันว่า “โอ เรือประทุนลำ�นี้มีตั้ง 
๓ ล้านแน่ะ”

๏ ๏ ๏

252  เกบ็ เล็กผสมน้อย

แมค่ า้ กล้วยป้ิง

“เฮ ้ โชต ิ สวัสดี ล้อื หายไปไหนเสยี นานไมเ่ ห็นหนา้ เลย”
“เอ้อ สวัสดี ชอบ อั๊วไปทำ�งานต่างจังหวัดเวลาน้ีกลับมา
อย่บู า้ นตามเดมิ แลว้ ”
สองคนนี้ชอบพูดลื้อๆ อั๊วๆ จนเคยปากตั้งแต่สมัยเป็น
นักเรียนอยู่โรงเรียนเดียวกัน เขารักกันมากเที่ยวด้วยกัน กิน
นอนด้วยกัน เห็นโชติที่ไหนก็เห็นชอบที่น้ัน นับว่าเป็นเพ่ือน
คู่หูกันทีเดียวเหมือนกับหูสองข้างอยู่คู่กันตลอดเวลา ใครหนอ
เป็นผู้บัญญัติศัพท์นี้ข้ึนมา ช่างเหมาะจริงๆ ข้าพเจ้าผู้เขียน
ขอ้ สดุดที ่านผูน้ ั้นด้วยความจริงใจ
“เออ โชติ เราเข้าไปน่ังพักท่ีม้าหินโคนต้นไทรน้ันเถอะ 
จะได้คยุ กันใหห้ นำ�ใจเลยทีเดยี ว”
“นี่ชอบ ลื้อดูซี ท่ีต้นไทรน้ีมีป้ายแผ่นใหญ่เบ้อเร่อเท่อ
ตดิ อยู่แผน่ หนงึ่  ลือ้ ลองอา่ นดสู ”ิ
“คนไทยชอบความสะอาดไม่ทิ้งของเร่ียราดให้อุจาด
นยั นต์ า”
“เข้าท่าดี เข้าทีด้วย” ชอบอ่านเสียงดังพร้อมท้ังอุทาน
ดว้ ย

พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  253 

“ชอบ อั๊วว่าคงเป็นอิทธิพลของแผ่นป้ายน่ีเองท่ีบันดาล
ให้บริเวณน้ี สะอาดสะอ้าน สวยงาม นี่ถ้าสถานที่ทั่วๆ ไปมี
สภาพสะอาดเช่นนี้ เมืองไทยเราคงเจริญข้ึนมากทีเดียว เออ 
ชอบ อ๊ัวจะเล่าอะไรให้ฟังสักเร่ืองหน่ึง คือ เมื่อหลายปีมาแล้ว 
มีข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ ๒ คน ไปดูงานท่ีสวิสเซอร์แลนด์ตอน
เช้าเขาพากันออกจากโรงแรม เดินชมภูมิประเทศของเขา คน
หนึ่งควักบุหร่ีมาจุดสูบ แต่หาที่ท้ิงก้านไม้ขีดไม่ได้ เพราะพ้ืนที่
ของเขาสะอาดเหลือเกินไม่มีขยะมูลฝอย เลยละอายใจไม่กล้า
ท้ิงจงึ นำ�เอาใสก่ ระเป๋ากางเกง เอามาทิง้ ทีโ่ รงแรมทพ่ี ัก

ทีนี้หันมาดูเมืองไทยบ้าง คราวหน่ึงอ๊ัวขับรถตามหลังรถ
เบนซ์คันหนึ่งไปปรากฏว่าคนในรถเก๋งคันงามคันนั้นท้ิงเศษ
อาหาร ลงมาบนถนน อั๊วเห็นกับตารู้สึกฉุนกึกขึ้นมาทันที คน
อะไรข่ีรถคันงามแต่ใจทรามชะมัด อย่างนี้ต้องตบให้หัวหมุน
เป็นลูกข่าง มันถึงจะสาแกใจ คนประเภทนี้ เมื่อไหร่จึงจะ
หมดไปจากเมอื งไทยเรากไ็ มร่ ซู้ ิ”

“เออ โชติ เรามาพูดถึงเร่ืองส่วนตัวกันบ้างเถอะ น่ี โชติ 
ลื้อยังสูบบุหร่ีอยูห่ รือเลิกแล้ว”

“อ๋อ เลิกมาหลายเดือนแล้ว”
“อะไรเป็นเหตุให้ล้ือเลิกบุหรี่ได้”
“อ๋อดว้ ยเหตุ ๓ ประการคอื  

254  เกบ็ เลก็ ผสมนอ้ ย

๑. กลวั เป็นมะเร็ง
๒. เพ่ือปฏบิ ตั ิตามนโยบายทางราชการ
๓. เพอ่ื เปน็ ตัวอยา่ งแก่ลูกๆ เพราะอ๊ัวถือคตติ ามท่ที ่าน
สอนไว้ว่า “รักลูกถูกวิธีจงทำ�ดีให้ลูกดู” และอีกคติหน่ึงก็คือ
“ท�ำ ตวั อย่างให้ดูเพยี งครั้งเดยี ว ดีกวา่ สอนต้งั  ๑๐ ครงั้ ”
“ดีใจด้วยโชติ อ๊ัวดีใจด้วยที่ล้ือเลิกบุหรี่ได้ เวลาน้ีทาง
ราชการกำ�ลังเร่งรณรงค์ขอร้องให้ประชาชนเลิกสูบบุหร่ีเป็น
การใหญ่ถึงกับพาดพิงมาถึงวงการคณะสงฆ์ด้วย ตัวอย่าง
แผ่นโฆษณาเชิญชวนแผ่นหน่ึงใจความว่า “การถวายบุหร่ีแก่
พระภกิ ษสุ งฆเ์ ปน็ บาป”
ข้อความน้ีพระสงฆ์จะสะดุ้งหรือเปล่าก็ไม่รู้ เพราะยัง
เห็นท่านสูบกันเกร่อ บางรูปติดเอามาก ๆ ถึงกับฉันอาหาร
คาวเสร็จ ท่านจะต้องจุดบุหร่ีสูบแล้วฉันอาหารหวานต่อ เห็น
แล้วก็ต้องปลงอนิจจัง
อาจารย์เสฐียรพงษ์ วรรณปก เล่าว่า ชาวพุทธในลังกา
ถ้าพระเณรรูปไหนสูบบุหร่ีจะไม่ไหว้ ไม่นับถือทันที หาว่าพระ
เณรรปู นั้นมคี วามผิดอย่างฉกาจฉกรรจ์ถึงข้นั ปาราชิกทีเดยี ว
โชติ อั๊วอยาก เห็นประเทศไทยของเราเป็นอย่าลังกา
บา้ ง”

พระพุทธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  255 

“อือ อั๊วเห็นด้วย” ชอบรับคำ� “เออ เราเข้าเร่ืองของเรา
ตอ่ เถอะ นช่ี อบ แมอ่ ด๊ี เทพธดิ าของลอ้ื นะ่  เวลานเ้ี ปน็ อยา่ งไรบา้ ง”

“อ๋อ แม่อ๊ีดนะหรือ เธอเปลี่ยนชื่อใหม่แล้วว่าอรไท อั๊ว
เห็นว่าเป็นชื่อที่ไพเราะและแปลกดี จึงแอบไปถามท่านมหา
ที่วัด ท่านบอกว่าอรไทแปลว่านางผู้มีสกุล หรือนางผู้เป็นใหญ่ 
หลังจากเธอออกจากโรงเรียนแล้วก็มาช่วยแม่ป้ิงกล้วยขาย
อย่างเป็นล่ำ�เป็นสัน ปรากฏว่าร้านของเธอขายดิบขายดี 
เพราะเธอขายกล้วยด้วย ขายยมิ้ ดว้ ย

หน้าเธอน้ีมีรอยย้ิมตลอดเวลาไม่เคยเห็นหน้าเง้าหน้างอ
ท้ังน้ีอาจจะเป็นด้วยว่าเธอยึดสุภาษิตที่ว่า “ย้ิมไว้ใจสดชื่น 
อายยุ ืนไร้โรคา รูปร่างงามโสภา เป็นเสน่หแ์ กป่ วงชน”

และอีกบทหน่ึงของท่านบรมครูสุนทรภู่ท่ีว่า “จะเล่า
เรียนวิชาทางค้าขาย อย่าปากร้ายพูดจาอัชฌาสัย จะซ้ือง่าย
ขายดีมกี �ำ ไร ดว้ ยเขาไม่เคอื งจิตคดิ ระอา”

โชติ อั๊วว่าแม่อรไทคนนี้มีเสน่ห์มากๆ ใครๆ ก็มาหลง
รักเธอ แต่ผลสุดท้ายทุกคนก็แพ้เจ้ากมล ลูกชายคนเดียวของ
ท่านกำ�นันโกศลเศรษฐีในอำ�เภอนี้ ท่านมีทั้งโรงสีโรงนํ้าแข็ง มี
ทน่ี าทสี่ วนเยอะแยะ

ดังน้ันลูกชายของท่านจึงเป็นดาวดวงเด่น ท่านกำ�นันก็
ปล้มื ใจทมี่ ีลูกดีเพราะโบราณทา่ นกล่าวว่า

256  เกบ็ เลก็ ผสมน้อย

มีลกู ดีเปน็ ศรีสง่าหนา้
ญาติวงศ์พงศาก็ผ่องใส
ท้ังเพ่อื นญาติมติ รสหายท่ใี กล้ไกล
กพ็ อใจสรรเสรญิ เจริญพร
แม้ท่านกำ�นันท่านจะมีลูกเพียงคนเดียวแต่ก็ภูมิใจว่า ดี
ว่ามีลูกหลายคนแต่หาดีไม่ได้สมกับที่ท่านกล่าวว่า “มีลูกดี
เพียงหน่ึงถึงจะน้อย ดีกว่าร้อยลูกชั่วให้มัวหมอง” ด้วยเหตุน้ี
แหละจึงปรากฏว่ามีหญิงสาวมาหลงรักเจ้ากมลมากมายมีทั้ง
แม่สอ่ื แมช่ กั มาตดิ ตอ่ จนเรยี กว่าหวั บนั ไดไม่แหง้ กนั เลยทเี ดยี ว
ท่านกำ�นันโกศลมีสายตายาวไกล โดยพิจารณาเห็นว่า
แม่อรไทคนนี้รูปร่างก็สวยแม้จะจนด้วยฐานะไม่ดีแต่เธอก็มี
คุณสมบัติสูงมากหากได้เธอมาเป็นสะใภ้แล้วก็จะเหมาะสม
ที่สุดเข้าขั้นกิ่งทองใบหยกทีเดียว ท่านกำ�นันจึงนำ�เรื่องไป
ปรึกษาลูกชายๆ ก็ดีใจตอบตกลงทันที เพราะเจ้าตัวก็จ้องตา
เป็นมนั อยู่แลว้
ผลสุดท้ายแม่อรไทก็ได้เข้ามาอยู่ในบ้านของท่านกำ�นัน
โกศลในฐานะภรรยาของนายกมล และในฐานะของศรีสะใภ้
ของท่านกำ�นันโกศล แม่อรไทก็พาแม่ไปอยู่ด้วย เธออยู่ตึก
หลงั หน่ึงบรเิ วณเดยี วกับบ้านของกำ�นนั อยูพ่ รอ้ มสามแี ละแม่
เน่ืองจากเธอเป็นคนมีมีอัธยาศัยดีไม่ว่าใครจะเป็นญาติ
ก็ตามไม่ใช่ญาติก็ตาม เม่ือมาหาแล้วเธอจะต้อนรับขับสู้เป็น

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  257 

อย่างดี โดยยึดถือคติท่ีว่า “ประเพณีไทยแท้แต่โบราณ ใครมา
ถึงเรอื นชานตอ้ งต้อนรบั ”

เพราะว่าดีของเธอน่ีเองใครๆ ก็รักเธอ ย่ิงกำ�นันด้วย
แล้วถึงกับหลงด้วยว่าเธอเข้าใจปฏิบัติ ไปไหนกลับมาต้องซ้ือ
ของติดมือมาฝากมาฝากท่านกำ�นันฝากสามี อย่างนี้ใครล่ะ
จะลมื เธอได้ลงคอ

อีกอย่างหนึ่งท่ีน่ายกย่องคือเธอเป็นคนใจบุญ หม่ันสวด
มนต์ไหว้พระ และใส่บาตรทุกเช้า ใครจะทำ�บุญอะไรเธอมัก
จะร่วมด้วยเสมอ เธอมีทายาทอยู่ ๒ คนดัวยกัน ชาย ๑ คน 
หญงิ  ๑ คน เธอมาอยู่บา้ นนไี้ ด ้ ๓ ป ี แมก่ ็ตาย เธอก็ได้จดั งาน
ศพใหแ้ มอ่ ยา่ งสมเกียรติทกุ ประการ

“เออ โชติ ล้อื ไดฟ้ งั เร่ืองนี้แลว้ รูส้ กึ อยา่ งไรบ้าง”

“อ๋อ ก็พลอยปลมื้ ปีติไปโชควาสนาบารมขี องเธอดว้ ยซี”

“น่ี โชติ ความดีของเธอยังไม่หมดยังมีอีกนะ ว่าถึง
ความกตัญญูแล้วนับว่าเธอเป็นยอดทีเดียว เธอรักแม่ของเธอ
มาก เมอ่ื แมย่ งั มีชวี ติ อย่กู เ็ ฝา้ ปรนนิบัตเิ ปน็ อยา่ งดี

เม่ือแม่เธอตายลงก็ได้สร้างถาวรวัตถุต่างๆ ถวายอุทิศ
บญุ ใหแ้ ม ่ อาหารอะไรทแ่ี มช่ อบกส็ รรหามาใสบ่ าตรพระ ภายใน
หอ้ งนอนของเธอมรี ปู ของแมก่ บั เธอก�ำ ลงั ปง้ิ กลว้ ยขาย ใตภ้ าพมี

258  เก็บเล็กผสมน้อย

หนังสือจารึกไว้ว่า “แม่ค้ากล้วยปิ้ง แม่สำ�อาง ลูกอรไท แม่จ๋า 
ลกู รกั แม่ และคิดถงึ แม่เหลือเกนิ  แมจ่ ๋า”

๏ ๏ ๏

นกยางเจ้าเลห่ ์

"ลุงๆ ทำ�ไมลุงจึงหงอยเหงาเศร้าสร้อยอยู่นี่ล่ะ” ปลา
ตวั หนึ่งถามนกยางทเี่ กาะอย่ ู ณ บนตน้ ไม้ใกลส้ ระ

“ไม่ให้หงอยได้อย่างไร เพราะสงสารพวกเจ้าน่ะซี” นก
ยางตอบ “เพราะในไมช่ า้ นน้ี า้ํ จะแหง้ หมดสระพวกเจา้ กจ็ ะตอ้ ง
ตายหมด”

ปลาตกใจอ้อนวอนขอให้นกยางช่วย นกยางตอบว่า
“ข้าจะช่วยเจา้ เอาบญุ ”

นับตั้งแต่วันนั้นมานกยางเจ้าเล่ห์ก็คาบปลาครั้งละตัว
สองตัวนำ�ไปกินท่ีต้นไม้ใกล้สระอีกแห่งหนึ่งจนกระท่ังหมด
สระเหลอื แตป่ ตู วั เดียว

ปูเฝ้าดูอากัปกิริยาของนกยางแล้วรู้สึกไม่น่าไว้ใจ ด้วย
ไหวพริบไม่ประมาทตอนท่นี กยางจะคาบปูไป ปูก็คีบนกยางไว้

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  259 

เพ่ือความปลอดภัย นกยางหางเชิดบินพาปูไปที่ต้นไม้ ปูเห็นท่ี
โคนต้นไม้มีแต่ก้างปลาเกลื่อนไปหมด ก็รู้ได้ทันทีว่านกยาง
เล่นไม่ซ่ือ จึงบอกนกยางว่า “ทำ�ไมไม่เอาข้าพเจ้าไปปล่อยลง
สระล่ะ”

นกยางตอบว่า “เอาไปปล่อยให้โง่นะซี ข้าปล่อยเจ้าเข้า
ทอ้ งของขา้ ไมด่ กี ว่าหรอื ”

ปูจึงคีบนกยางหนักขึ้นพลางสำ�ทับว่า “ถ้าไม่เอา
ข้าพเจ้าไปปล่อยลงสระ ขา้ พเจา้ จะคบี คอทา่ นใหข้ าดทีเดียว”

นกยางจำ�ต้องยอมจำ�นนพาปูไปปล่อยท่ีสระ ก่อนจะถึง
นํ้าปูกล่าวว่า “เจ้านกยางเจ้าเล่ห์เจ้าอยู่ไปก็หนักแผ่นดินก่อ
ความเดือดร้อนให้ผู้อื่นเจ้าตายเสียเถอะ” ว่าแล้วปูก็หนีบคอ
นกยางเจ้าเล่หข์ าดใจตายอยู ่ ณ ทนี่ นั่ เอง

๏ ๏ ๏

จระเข้ไมม่ ีลนิ้ จรงิ หรือ

ว่ากันว่าจระเข้ไม่มีลิ้น เพราะถูกกระต่ายถีบจนล้ินขาด 
มีเร่ืองเล่ากันมาว่า จระเข้ตัวหนึ่งงับกระต่ายเอาไว้ได้ ก่อนที่
มันจะกนิ ก็ค�ำ ราม ฮอื ๆๆ

260  เกบ็ เลก็ ผสมนอ้ ย

กระต่ายเจ้าปัญญาก็บอกจระเข้ว่า “ร้องฮือๆๆ ข้าพเจ้า
ไม่กลัวหรอก ต้องรอ้ งฮาๆๆ”

จระเขห้ ลงเชอ่ื อา้ ปากรอ้ ง “ฮาๆๆ” กระตา่ ยไดท้ กี ระโดด
ถีบลิ้นจระเข้ขาด ขณะเดียวกันจระเข้ก็งับหางกระตายขาด 
เพราะฉะน้นั  จระเข้ไมม่ ลี ิน้  และกระต่ายก็หางกดุ ต้ังแต่น้ันมา

แต่ในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ในวันเสาร์ที่ ๔ มีนาคม 
พ.ศ. ๒๕๓๘ ว่า ความจริงจระเข้มีล้ินแต่แลบไม่ได้กระดกไม่
ไดเ้ รอ่ื งจรงิ เปน็ อยา่ งไรขอทา่ นไปพสิ จู นไ์ ดท้ ฟ่ี ารม์ จระเขจ้ งั หวดั
สมุทรปราการ นน้ั เถิด

๏ ๏ ๏

เรอ่ื งหนอนขีเ้ มา

หนอนตัวหนึ่งคลานไปคลานมา คลานไปเจอกับเจ้า
หยดสุราท่ีชายเพื่อนกันสองคนซึ่งจากกันไปช้านาน เมื่อมา
พบกนั เข้าก็ดีใจจึงเล้ยี งเหลา้ กนั เปน็ การฉลอง

หนอนจึงคลานเข้าไปกินหยดเหล้าที่ชายสองคนทำ�
หกไว้ มันดูดกินด้วยความอร่อยจนท้องกาง ด้วยความเมา

พระพุทธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  261 

มันคลานต่อไปจนถึงกองอุจจาระตัวมันยุบลงไปพระกอง
อุจจาระเปียก มันเข้าใจว่าเป็นเจ้าโลกแล้ว ดูซี ขนาดแผ่นดิน
ยังตา้ นทานตัวเราไม่ไดถ้ ึงกบั ยุบตวั ลง เราเปน็ เจ้าโลกแน ่ พอดี
ขณะน้นั มีช้างเชอื กหน่ึงเดินมาพอได้กลิน่ อุจจาระก็เดินหนี

หนอนเหน็ เชน่ นน้ั กเ็ ขา้ ใจวา่ ชา้ งกลวั จงึ รอ้ งทา้ ชา้ งวา่  “เจ้า
ก็กลัวมาพบประสบข้า ผู้แกล้วกล้าเก่งกาจองอาจหาญ แน่ะ 
ช้างเอย่ เคยเก่งไมเ่ กรงราญ มาประหารรุกรบจะหลบใย”

ช้างได้ยินก็คิดว่า “ชิๆ เจ้าหนอนนี่ช่างบังอาจมาท้าได้ 
เราเหม็นอุจจาระดอก จึงเลี่ยงไป มันหาว่าเรากลัวจำ�ต้องให้
มันเห็นฤทธิ์เราเสียบ้าง” ว่าแล้วช้างก็เดินเข้าไปใกล้หนอนร้อง
สำ�ทับว่า “หนอนเอ๋ยหนอน ข้ามาน่ีเพ่ือบ้ีเจ้า งวงงาเท้าไม่
ต้องใช้เพราะไม่สม จักขย้ีชีวาเจ้าด้วยอาจมลงทับถมตัวเจ้า
ให้เข้ากัน” ว่าแล้วช้างก็ถ่ายอุจจาระเผละลงไปบนตัวหนอน 
หนอนเจา้ โลกในความฝนั ก็จบชวี ิตลงดว้ ยประการฉะนี้

๏ ๏ ๏

262  เก็บเล็กผสมนอ้ ย

ฉลาดแกมโกง

เจา้ แกว้ เหน็ ยายมง่ิ แมค่ า้ ขายขนมถว้ ยตะไล มนั นกึ อยาก
จะกินเหลือเกิน แต่ไม่มีเงินจะซื้อ แต่มันฉลาดแกมโกง จึง
เดนิ เข้าไปหายาย “ยายๆ ทำ�ไมแกม้ ยายจึงตอบอยา่ งน้ีล่ะ”

ยายม่งิ กว็ ่า “ก็ฟันของยายหักหมดนะซี แกม้ จึงตอบ”
เจ้าแก้วจึงว่า “อ่อดีแล้วยาย ฉันมีวิธีท่ีทำ�ให้ฟันของยาย
ให้ดีได้ ยายจะเอาไหม
“กด็ ีซี” ยายตอบ
เจ้าแก้วก็ออกลวดลาย “ยายๆ ตอนนี้ฉันกำ�ลังหิว ไม่มี
แรงจะท�ำ ฟนั ของยายใหด้ ไี ด้ ต้องขอฉนั กินขนมก่อนนะ”
ยายกำ�ลังดีใจจะกลับเป็นสาวขึ้น จึงยอมให้เจ้าแก้วกิน
ขนมถ้วยเสียจนทอ้ งกาง
“เอาละยายฉันพร้อมแล้ว ไหนยายอ้าปากซิ” ยายดีใจ
อา้ ปากจนกว้าง
“โอ้ ยายอย่างนี้ฉันทำ�ไม่ได้หรอก เพราะฟันของยาย
หลุดนี่ไม่ใช่หัก ฉันท�ำ ไม่ไดๆ้ ”
ยายม่ิงบ่นพึมพำ� “เราเกิดมาจนหัวหงอก ก็เพ่ิงมาถูก
เดก็ หลอกวันนเี้ อง ซวยจรงิ ๆ”

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  263 

มันเข้าตำ�ราโบราณว่า “ผีมันหลอกช่างผีตามทีมัน คน
เหมือนกันหลอกกันเองมันน่ากลัวเกรงนัก” เสียขนมน่ะไม่ว่า 
แตม่ นั เสียรนู้ ่ีสิ มนั น่าเจ็บใจนัก และซา้ํ รา้ ยเสียรเู้ ด็กเสียดว้ ย

๏ ๏ ๏

สมเด็จโต ปะทะคารม กบั แขกแพะ

วันหน่ึงศิษย์วัดระฆังเข้าไปฟ้องสมเด็จฯ ว่า “หลวงพ่อ
ครับ แขกที่ข้างวัด มันปล่อยให้แพะที่มันเล้ียงไว้มากินใบโพธ์ิ
ทน่ี ำ�มาจากพทุ ธคยา ประเทศอินเดียหมดแล้ว”

สมเด็จฯ ท่านลงมาจากกุฏิแล้วเข้าไปต่อว่าเจ้าแขก
คนน้ัน แต่ต้องสงบคำ�เมื่อเจ้าแขกมันย้อนว่า “ต้นโพธิ์ต้นนี้
คนละต้นที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ต้นท่ีประทับตรัสรู้อยู่ท่ีประเทศ
อนิ เดียนูน่ ”

ในวันต่อมาเจ้าแขกเล้ียงแพะก็เข้ามาฟ้องสมเด็จฯ ว่า 
“ศิษย์ของสมเด็จฯ กล่ันแกล้ง โดยนำ�เน้ือหมูลงไปคลุกใน
กระทะ”

264  เกบ็ เลก็ ผสมน้อย

สมเด็จฯ ได้ทีปลอบใจแขกเลี้ยงแพะว่า “หมูตัวนี้มัน
คนละตวั กบั ที่พระเจา้ ห้าม เหมอื นตน้ โพธิน์ น้ั ละ่ ”

เจา้ แขกเลยไมก่ ลา้ ตดิ ใจเอาความกับสมเดจ็ ฯ อีกตอ่ ไป
๏ ๏ ๏

แมว ๕ หมา ๔ 
เปน็ กาลกณิ ีจริงหรือ

บัณฑิตคนหนึ่งไปเย่ียมเพ่ือนบ้านเห็นกำ�ลังนำ�ลูกสุนัข
ใส่เขง่ จึงถามวา่  “น่คี ณุ จะน�ำ สุนัขนไี่ ปไหน”

“เอาไปปลอ่ ยทว่ี ัด” เพ่ือนตอบ
บัณฑิตสงสัยจึงถามว่า “เอ ก็สุนัขทั้ง ๔ ตัวน่ะน่ารัก น่า
เอ็นดู ท�ำ ไมคุณจะปลอ่ ยไปเสยี หล่ะ”
เพ่ือนช้ีแจงว่า “โบราณท่านถือว่า แมว ๕ หมา ๔ ห้าม
เล้ยี งเปน็ กาลกณิ ี ใครเล้ยี งไวเ้ ปน็ อปั มงคล”
บัณฑิตขออนุญาตรับสุนัขท้ัง ๔ ตัวมาเลี้ยงเอง สุนัขท้ัง 
๔ โตวนั โตคนื  เพราะการไดร้ บั การเลย้ี งดอู ยา่ งด ี มนั รกั เจ้าของ
มากไปไหนกต็ ามไปด้วย

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  265 

วันหนึ่งบัณฑิตออกจากบ้าน เจ้าสุนัขท้ัง ๔ ก็ล้อมหน้า
ล้อมหลังตามไปเป็นพรวน ขณะนั้นเองงูเห่าตัวหนึ่งพุ่งตัวออก
มาจากพงหญ้า ทำ�ท่าจะกัดบัณฑิต สุนัขตัวหนึ่งกระโจน
เข้าไปกัดคองูเห่า อีก ๓ ตัวก็กระโจนเข้าไปรุมกัดงูเห่าตัวน้ัน 
จนกระท่งั ตายอย ู่ ณ ตรงนั้นเอง

บัณฑิตดีใจเป็นท่ีสุด เข้าไปโอบกอดสุนัขท้ัง ๔ ด้วยน้ํา
ตา แล้วพูดว่า “เออข้ารอดตายมาได้คราวน้ี ก็เพราะพวกเจ้า
ช่วยป้องกันมิฉะนั้นแล้ว ข้าต้องตายแน่ๆ ฉะน้ันโบราณว่า 
แมว ๕ หมา ๔ เปน็ กาลกิณนี ั้นไมจ่ ริง ขา้ ไมเ่ ช่อื ”

๏ ๏ ๏

คนมอื ด้วนลักกระทะ

คนมือด้วนไปลักกระทะ เจ้าของกระทะจับได้คาหนัง
คาเขานำ�ตัวมาสถานีตำ�รวจ ให้เจ้าหน้าที่ตำ�รวจตัดสิน ชาย
มือด้วนปฏิเสธเสียงแข็งพร้อมกับชูแขนสองข้างข้นึ เหนือศีรษะ
“ดูซิครับท่านมือผมด้วนท้ังสองข้างอย่างน้ี จะลักกระทะของ
ท่านได้อย่างไร ผมมันซวยแท้ๆ ทถี่ กู กลา่ วหาทีไ่ ม่เป็นจริง”

266  เก็บเลก็ ผสมน้อย

เจ้าหน้าท่ีรับสมอ้าง “เออ จริงของแก มือไม้อย่างน้ีจะ
ลักกระทะได้ยังไง” พลางหันไปทางเจ้าของกระทะพูดว่า “แก
นี่บาปหนา ไปโทษคนพิการหาว่าเขาเป็นขโมย ดังนั้นข้าพเจ้า
ขอรับให้กระทะใบนี้เป็นของขวัญแก่แก ที่ถูกกล่าวหาโดยไม่
เปน็ ธรรม”

เจ้าของกระทะเสียหน้าบ่นพึมพำ� “เรามันเคราะห์ร้าย 
กระทะเราแทๆ้  กลบั กลายตกเปน็ ของคนอืน่ ”

เจ้าขโมยมือด้วนดีใจตรงเข้าไปที่กระทะเอาแขนด้วน
สอดเข้าไปในหูกระทะยกครอบศีรษะพร้อมกับผิวปากด้วย
ความโชคดเี ดนิ ดุ่มๆ ออกไปทนั ที

“เดี่ยวๆ หยุดก่อนๆ ไหนบอกว่ามือด้วนลักกระทะไม่ได้
ไงละ่  อยา่ งนี้ต้องเข้าคกุ ” เจา้ หนา้ ที่กล่าว

เรือ่ งน้ีสอนให้รู้วา่ ปฏภิ าณไหวพรบิ น้ันช่วยได้เสมอ
๏ ๏ ๏

พระพุทธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  267 

เหตเุ กดิ ท่ีโรงละคร

ท่านผู้อ่านอย่าเพิ่งเข้าใจผิดคิดไปว่าโรงละครแห่งชาติที่
ตั้งตระหง่านเป็นสง่าอยู่ใกล้สนามหลวงหลังน้ัน เพราะเร่ืองนี้
เกิดขึน้ ทีช่ นบทแห่งหน่ึง

ท่านเจ้าของบ้านจะประกอบพิธีแก้บนจึงหาละครชาตรี
มาแสดงวันน้ัน แสดงเรื่องสังข์ทอง ตอนพระสังข์ถูกถ่วงน้ํา 
เพชฌฆาตท่ีทำ�หน้าที่นำ�พระสังข์ไปถ่วงตัวดำ� รูปร่างใหญ่โต
น่าเกรงขาม

ส่วนพระสังข์น้ันตัวเล็กเอวบางร่างน้อยเม่ือรู้ตัวว่าจะถูก
ถ่วงน้ําก็ตกใจว่ิงหนี ปากก็ร้องตะโกนให้คนช่วย แถมวิ่งเตลิด
ออกไปนอกโรง เข้าไปกอดขาแม่ค้าขายขนมถ้วยตะไล ที่มา
ยืนดูอยู่ด้วย โดยแกถือไม้คานท่ีหาบกระจาดขนมถ้วยตะไล 
ท่าทางเหมือนท้าวเวสสุวัณอย่างไรอย่างนั้น ปากก็ร้อง
อ้อนวอน “ยายจ๋าช่วยหนูด้วย ยายช่วยหนูด้วย เขาจะเอาหนู
ไปถว่ งน้ํา”

ยายแมค่ า้ แสนจะสงสารหนนู อ้ ยเปน็ ก�ำ ลงั  พอเพชฌฆาต
ตรงเข้ามาย้ือยุดฉุดแขนสังข์ทอง ยายแม่ค้าแกลืมตัวยกไม้
คานฟาดลงบนหัวเพชฌฆาตเต็มแรง พลางสำ�ทับเสียงล่ัน
“น่ีแน่ะไอใ้ จรา้ ย มึงนะมึง รงั แกแม้กระท้งั เด็กตวั เล็กๆ”

268  เก็บเลก็ ผสมน้อย

ผลแกถูกจับไปโรงพักฐานทำ�ร้ายผู้อ่ืน โดยปรับพร้อม
เสยี ค่าสนิ ไหมอีกจ�ำ นวนหนงึ่

คติธรรมเรื่องนี้คือ อันดับหนึ่ง การท่ียายขายขนมถ้วย
ตะไลทำ�ไปเช่นน้ัน เพราะขาดสติ โดยแกลืมนึกไปว่านั่นเป็น
เร่ืองสมมุติ ถือเป็นเร่ืองจริงจงึ เกดิ เรอ่ื งขึ้น

อันดับสองยายคนนั้นแกใช้กรุณาผิดที่หวังดีผิดเวลา จึง
ต้องพาให้เสียเงิน ทั้งน้ีแกลืมคติธรรมที่ว่า “สติมาปัญญาก็
เกดิ  ถ้าสติเตลิดก็เกิดปัญหา”

ดังน้ันพระท่านจึงสอนว่า “สติ สพฺพตฺถ ปตฺถิยา สติจำ�
ปรารถนาในท่ที งั้ ปวง”

แม้แต่ในโรงละครก็อย่าลมื สติ
๏ ๏ ๏

เรื่องของยอดนกั เทศน์

ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)
นักเทศน์เรืองนาม อดีตเจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส วันหน่ึงท่าน
ขน้ึ เทศนบ์ นธรรมาสน์

พระพุทธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  269 

เมื่อเทศน์จบเสร็จท่านก็ยังนิ่งอยู่บนธรรมาสน์น่ันเอง 
จนโยมสงสยั จงึ ขน้ึ ไปถามทา่ นวา่  “เทศนจ์ บแลว้  ท�ำ ไมหลวงพอ่
จงึ ไมล่ งจากธรรมาสนเ์ ลา่ ครบั ”

ทา่ นจึงตอบว่า “ จะลงได้ยังไง เพราะขาฉันหกั น”ี่
ปรากฏว่าขณะท่ีท่านข้ึนธรรมาสน์ ขาท่านไปกระทบกับ 
บันไดธรรมาสน์เลยขาหักไป แต่ท่านมีความอดทนเป็นยอด
ท่านแสดงอาการปรกติ ประคองเทศนไ์ ปจนจบ
ต่อมามีคนเรียนถามท่านว่า “เจ้าคุณขาหักแล้วยังเทศน์
ได้หรือ”
ทา่ นตอบวา่  “ขาฉันหักแตธ่ รรมไมไ่ ด้หักนี่”
ทา่ นมรณภาพปี พ.ศ. ๒๔๔๖ ณ ทวี่ ดั บรมนวิ าส

๏ ๏ ๏

ไอบ้ ้า กบั  ทา่ นคึกฤทธ์ิ

พระภิกษุพระยานรรัตนราชมานิต ซ่ึงคนทั่วไปเรียกท่าน
ว่า เจ้าคุณนอ เจ้าคุณนรรัตน์ ท่านเป็นพระที่อยู่อย่างเงียบๆ 
ไม่ออกธุดงค์ตามป่าตามเขา ท่านธุดงค์เงียบๆ อยู่ในวัด
เทพศิรนิ ทรต์ ามแบบของท่าน

270  เก็บเลก็ ผสมน้อย

เจ้าคุณนอ ท่านโด่งดังก็เพราะความเงียบ ท่านพูดน้อย
เขียนน้อย อยู่ในวัด แต่ท่านทำ�มาก ท่านอยู่เงียบๆ อยู่ในกุฏิ
แคบๆ ของท่านแต่ผู้เดียว แต่มีเสียงลืออกไปว่าท่านเป็น
อรหันตแ์ ล้ว

วันหน่ึงท่านอาจารย์หม่อมราชวงศ์คึกฤทธ์ิ ปราโมช ไป
พบท่านเจ้าคุณนอ ที่วัดเทพศิรินทร์ แล้วจึงเข้าไปกราบท่าน
แล้วจึงเรียนถามท่านว่า “ไต้เท้า สำ�เร็จเป็นพระอรหันต์แล้ว
จริงหรอื ครบั ”

ท่านดึงหคู กึ ฤทธเิ์ ข้าไปใกลๆ้  แล้วกระซิบว่า “ไอบ้ า้ ”
๏ ๏ ๏

หลวงพอ่ บดุ ดา ถาวโร

คราวหน่ึงหลวงพ่อไปจำ�พรรษาท่ีจังหวัดระยอง วันหน่ึง
ท่านมีธุระต้องเดินทางไปกุฏิหลังหนึ่ง หนทางที่จะไปต้องข้าม
สะพานไม้ไป ปรากฏว่ามีสุนัขตัวหนึ่งนอนขวางทางอยู่ แทนที่
หลวงพ่อจะไล่สุนัขให้ลุก ทั้งยังไม่เดินข้ามอีกด้วย ท่านกลับ
เดนิ ลงไปลุยโคลนขา้ งล่าง (เรื่องคล้ายหลวงพ่อโต)

พระพุทธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  271 

อีกคราวหนึ่ง ท่านได้รับนิมนต์ไปเทศน์คู่กับท่านเจ้าคุณ
องค์หน่ึงเป็นเปรียญ ๘ ประโยค ท่านเจ้าคุณถามหลวงพ่อ
วา่  “จะเทศเรอ่ื งอะไร”

หลวงพ่อตอบว่า “จะเทศนเ์ รอื่ งตวั โกรธ”
ทา่ นเจา้ คณุ ถามตอ่ ไปวา่  “หนา้ ตาตวั โกรธมนั เปน็ อยา่ งไร”
หลวงพ่อตอบว่า “หน้าตาตัวโกรธมันก็เหมือนส้นตีน
นแ่ี หละ”
ท่านเจ้าคุณโกรธหัวฟัดหัวเหวี่ยงไม่ยอมเทศน์กับหลวง
พอ่ อีกต่อไป หลวงพอ่ เลยต้องเทศนอ์ งค์เดยี วจนจบ
เม่ือลงธรรมาสน์แล้วหลวงพ่อก็กราบท่านเจ้าคุณพร้อม
กับอธิบายว่า “ผมแสดงเพ่ือให้เห็นจริงเห็นจังว่าความโกรธนั้น
ทำ�ให้หน้าแดงมือไม้สั่น จนต้องเลิกเทศน์ อย่างท่านเจ้าคุณ
นแี่ หละ”
เร่ืองกย็ ุตลิ งเพียงแคน่ ี้

๏ ๏ ๏

272  เกบ็ เล็กผสมน้อย

เทวดากับหนอน

ชาย ๒ คน เป็นเพื่อนกันคนหน่ึงมีนิสัยดีมีศีลธรรมชอบ
ท�ำ บุญกุศลเสมอ ส่วนอกั คนหนง่ึ ตรงขา้ มกนั  นิสยั ไมด่ ี ไม่ชอบ
ทำ�บุญกุศลอะไร ชอบเที่ยวเตร่ กินเหล้าเมายา แต่ถึงกระนั้น 
ท้ัง ๒ คนกย็ ังรกั ใคร่กัน

ต่อมาเมื่อคนทั้ง ๒ ตาย คนที่มีศีลธรรมไปเกิดเป็น
เทวดาในสวรรค์ ส่วนอีกคนที่ไม่ไหนไปเกิดเป็นหนอนอยู่ใน
ส้วม (สว้ มโบราณสมัยเกา่ )

วันหน่ึงเทวดานึกถึงเพ่ือน จึงสอดส่องทิพยเนตรลงมา
ก็ทราบว่าไปเกิดเป็นหนอน สงสารอยากจะให้มาเกิดอยู่
ด้วยกัน จึงลงจากสวรรค์ไปหาหนอน ชวนให้ไปเกิดท่ีสวรรค์ 
โดยชี้แจงวา่

“ที่สวรรค์นั้นสวยงามสมบูรณ์ด้วยความสุข อาหารก็เป็น
ทิพย์ ต้องการอะไรเนรมิตได้ ตามความต้องการ จึงขย้ันขยอ
เพอ่ื ใหห้ นอนพอใจ ท่จี ะไปสวรรค์ดว้ ย”

แต่เทวดาต้องผิดหวัง เพราะหนอนปฏิเสธ โดยอ้างว่า
“ที่น่ีดีกว่าสวรรค์ทุกประการ ว่าด้วยเร่ืองอาหารการกินแล้ว
บริบูรณ์มาก ไม่ต้องไปเสียเวลาเนรมิต เพราะมีผู้เนรมิตให้ 
เดย๋ี วเผละ่  เดียวเผละ่  รับไมห่ วาดไมไ่ หว

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  273 

ข้าพเจ้าขอบใจท่านมากที่มีความหวังดีต่อข้าพเจ้า 
อุตส่าหล์ งมาชักชวนถึงที่น่ี”

เทวดาตอ้ งกลบั วิมานด้วยความผิดหวัง
เรื่องน้ีเป็นข้อเปรียบเทียบ เหมือนกับคนท่ีชอบประพฤติ
ไปในทางอบายมุข ใครจะช่วยแนะนำ�ให้เลิกก็ไม่สนใจ หรือ
คนท่ีชอบทำ�บาปอกุศล เขาแนะนำ�ให้เข้าวัดฟังธรรม ก็ไม่
สนใจ กเ็ หมือนหนอนในเรอ่ื งน่ันเอง

๏ ๏ ๏

หัวลา้ นใจน้อย

เชา้ วนั หนง่ึ ทา่ นปลดั ฟ ู ทา่ นอยคู่ ณะ ๖ วดั ประยรุ วงศาวาส 
เมอ่ื ฉนั เชา้ เสร็จแล้ว ก็มาน่ังอยู่ทีห่ น้าต่างรมิ ถนนทางเดนิ

คุณหลวงประดิษฐการประสิทธ์ิ ท่านจะไปทำ�งานท่ีกรม
เจ้าท่า เดินผ่านมาทางนั้น จึงร้องทักท่านปลัดฟูว่า “ท่านปลัด
ครบั ท�ำ ไมทา่ นไมท่ �ำ รา้ นใหฟ้ กั ทองมนั ไตล่ ะครบั  จะไดม้ ลี กู ดกๆ”

ท่านปลัดฟูไม่พูดอะไร เพียงแต่หัวเราะหึๆ พอตกตอน
บ่าย ท่านปลดั ฟูส่งั ใหล้ ูกศษิ ย์ถอนเถาฟกั ทองทง้ิ หมด

274  เกบ็ เล็กผสมน้อย

ทง้ั นเ้ี ปน็ ดว้ ยวา่  ค�ำ วา่  “รา้ น” ของคณุ หลวงนน้ั  มนั กระทบ
กระเทือนไปถึง “ล้าน” ของท่านปลัดฟูอย่างรุนแรง เพราะ
ศีรษะของท่านน้ัน มีลักษณะเข้าขั้นเป็นชะโดตีแปลงเลย
ทเี ดยี ว

๏ ๏ ๏

อนุโมทนา แด ่ พระเทพโสภณ

ทนั ทที า่ นไดร้ บั ขา่ ววา่  ทา่ นเจา้ คณุ พระราชวรมนุ  ี (ประยูร 
ธมฺมจิตโต ป.ธ. ๙) ได้รับพระราชทานเล่ือนสมณศักดิ์ ท่ี พระ
เทพโสภณ ข้าพเจ้ารู้สึกดีใจเป็นท่ีสุดทั้งนี้เพราะสมความ
ปรารถนาที่ตั้งไว้มานานแล้วซึ่งก็พอดีมาสอดคล้องกับท่ี
พระพุทธเจ้าดำ�รัสไว้ว่า ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขํ ปรารถนา
สิ่งใดไม่ได้สมปรารถนาก็เป็นทุกข์ แต่คราวนี้เหตุการณ์
ตรงกันข้ามคือ ยมฺปิจฺฉํ ลภติ ตมฺปิ สุขํ ปรารถนาสิ่งใด ได้
สิ่งนนั้ สมปรารถนาก็เป็นสุข

อนึ่ง การที่เจ้าคุณพระราชวรมุนี ได้รับเลื่อนสมณศักด์ิ 
ครั้งนี้ นับเป็นความเหมาะสมด้วยประการทั้งปวง ด้วยว่าท่าน

พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)  275 

เจ้าคุณเป็นพระท่ีมีความรู้ดี มีความสามารถดี และมีความ
ประพฤตดิ  ี เรยี กวา่ มคี รบวงจร ซง่ึ พระประเภทนห้ี าไดไ้ มง่ า่ ยนัก

คุณธรรมอีกอย่างของท่านเจ้าคุณคือ ความอ่อนน้อม
ความสุภาพเรียบร้อยยิ้มแย้มแจ่มใส และมีปรกติอย่างที่เรียก
กันว่า “คมในฝัก” คือมีความรู้ความสามารถดี แต่ยังไม่ถึง
เวลาก็ยังไม่แสดงให้ปรากฏ ปฏิปทาของท่านเจ้าคุณมีลักษณะ
ตรงกบั โครงโลกนิติบทหน่งึ เฉพาะทอ่ นต้นวา่

นาคมี พี ษิ เพี้ยง สุริโย
เลื้อยบ่ทำ�เดโช  แชม่ ชา้

มพี ระเถระผใู้ หญท่ า่ นหนง่ึ ไดก้ รณุ ามาชมตอ่ หนา้ ขา้ พเจา้
ว่า วัดประยุรฯ นี้ดีนะมีพระชนิดเพชรงามๆ เยอะ ล้วนแต่
เป็นเพชรน้ําหน่ึงท้ังน้ัน ข้าพเจ้าฟังแล้วครึ้มในใจว่า ยังมีเพชร
อีกหลายเม็ดซ่ึงพร้อมท่ีจะเล่ือนอันดับข้ึนไปเป็นเพชรน้ําหน่ึง
อกี ตอ่ ไป

การได้รับตำ�แหน่งพระเทพโสภณ ครั้งนี้มิใช่ว่าจะนำ�มา
ซึ่งเกียรติยศช่ือเสียงเฉพาะท่านผู้ท่ีได้รับเท่านั้นก็หาไม่ แต่
ยังแผ่ขยายออกไปอย่างกว้างขวางสู่วัด สู่วงศาคณาญาติ สู่
เพ่ือนสหธรรมิก และสู่ทายกทายิกาสาธุชนท้ังหลายอีกเป็น
จำ�นวนมาก

276  เก็บเล็กผสมน้อย

ข้าพเจ้าภูมิใจที่วัดประยุรฯ ของเราได้รับพระราชาคณะ
ชนั้ เทพ เกิดขน้ึ มาประดบั วดั อกี องค์หน่งึ

ของอวยพรให้ท่านเจ้าคุณพระเทพโสภณ จงดำ�รงอยู่ใน
สมณเพศด้วยความร่มเย็นเป็นสุข เพ่ือจะได้ช่วยกันจรรโลง 
ส่งเสริมพระพุทธศาสนา และเป็นศรีสง่าคู่กับวัดประยุรวงศา-
วาส ต่อไป

๏ ๏ ๏

อนุโมทนา แด่ 
พระครูวิวิธธรรมโกศล

พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ปรากฏอยู่ในธัมมจักกัปปวัตตน-
สูตร อันว่าด้วยเรื่องของทุกขอริยสัจ ตอนหน่ึงว่า ยมฺปิจฺฉํ น 
ลภต ิ ตมปฺ  ิ ทกุ ขฺ ํ แปลวา่  ปรารถนาสง่ิ ใดไมไ่ ดส้ ง่ิ นน้ั สมปรารถนา
ก็เป็นทุกข์ ดังนั้นในทำ�นองตรงกันข้าม เมื่อปรารถนาสิ่งใด
แล้ว ไดส้ ิ่งนนั้ สมปรารถนากเ็ ป็นสุข

ในเรื่องน้ีข้าพเจ้าได้ตั้งความปรารถนาไว้นานแล้วว่า จะ
สนับสนุนเธอรูปน้ใี ห้เจริญย่งิ ๆ ข้นึ  เพ่อื จะได้ช่วยกันเป็นกำ�ลัง
ของวัด ของศาสนา และของประชาชน

พระพทุ ธวรญาณ (มงคล วโิ รจโน)  277 

บัดน้ีส่ิงนี้ก็พลันสำ�เร็จขึ้นมาแล้ว โดยที่เธออยู่ในฐานะ
นักเทศน์ที่มีชื่อเสียง อันนับว่าเป็นศักดิ์เป็นศรี และเป็นเกียรติ
แก่วัดมาก ท้ังนี้ก็เพราะอาศัยที่เธอมีองค์คุณของพระธรรม-
กถึก ๕ ประการด้วยกนั  คือ

มีความรู้พอเพียง
เสียงมกี ังวาน
ปฏิภาณวอ่ งไว
จิตใจสะอาด
มารยาทเรียบรอ้ ย
นอกจากน้ีเธอยังเป็นนักเสียสละ ใจคอกว้างขวาง ชอบ
ช่วยเหลือผู้อื่นอยู่เสมอ ตัวเองมิได้เป็นเปรียญแต่ก็ได้ชุบเลี้ยง
ศิษย์ให้ได้เป็นมหาเปรียญหลายรุ่น และหลายรูปด้วยกัน ถึง
ข้ันเป็นเปรียญธรรม ๙ ประโยค ก็มี เรียกว่าไม่ทำ�ตนเป็น
เพียงปฏิคาหก คือ ผู้รับเพียงอย่างเดียว ยังบำ�เพ็ญตนให้เป็น
ทายกผู้ให้อยูเ่ สมอเป็นนิจศิลอกี ด้วย
คุณธรรมท่ีเด่นอีกอย่างหนึ่งของเธอก็คือ ความกตัญญู 
ซึ่งเธอปฏิบัติด้วยดีตลอดมา ด้วยเหตุนี้แหละการท่ีพระครู
ปลัดชัยวัฒน์ ธมฺมวฑฺฒโน ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น
พระครูสัญญาบัตร ท่ี พระครูวิวิธธรรมโกศล ในครั้งน้ีจึง
เปน็ การเหมาะสมโดยประการท้ังปวง
ข้าพเจ้าดใี จทส่ี มปรารถนา จงึ ขออนโุ มทนา

๏ ๏ ๏

278  เกบ็ เลก็ ผสมน้อย

บุญบนั ดาล: พระพิจิตรธรรพาที

พระครูวิวิธธรรมโกศล (ชัยวัฒน์ ธมฺมวฑฺฒโน) ซ่ึงได้รับ
พระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โปรด
เกล้าฯ พระราชทานสมณศักด์ิ ให้เป็นพระราชาคณะ ท่ี “พระ
พิจิตรธรรมพาที” นับเป็นเร่ืองอัศจรรย์ ท่ีเหนือจากเร่ือง
ธรรมดา 

ท้ังน้ีเน่ืองจากพระองค์ทรงพอพระราชหฤทัยในพระ
ธรรมเทศนาที่เธอแสดงถวาย ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท 
ในงานพระบรมศพสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี

เหตุการณ์ครั้งน้ี ถือว่าเป็นเกียรติประวัติชั้นยอด ซึ่ง
ไมเ่ คยปรากฏมาก่อนแต่อดตี กาล

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ทรงมีพระเนตรพระกรรณ
แหลมคม ทรงสนพระทัย และซาบซ้ึงในรสพระธรรมเป็น
อยา่ งย่งิ  สมกบั สุภาษติ ที่ทา่ นผู้หนง่ึ ได้ประพนั ธ์ไว้ว่า

สองคนยลตามช่อง คนหน่งึ มองเห็นโคลนตม
อีกคนตาแหลมคม มองเหน็ ดาวอยพู่ ราวพราย
ดังนั้นพระองค์จึงทรงพระราชทานตำ�แหน่งสมณศักดิ์
อันมีเกียรติให้แก่เธอ เพ่ือบูชาความดี ซ่ึงตรงกับพระบาลีท่ีว่า 
ปคคณฺเห ปคฺคหารหํ พึงยกยอ่ งผู้ทค่ี วรยกย่อง


Click to View FlipBook Version