The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Khumhathaichanok, 2022-01-16 07:49:48

คู่มือครูวิทยาศาสตร์ป.5 เล่ม1

คู่มือครูวิทย์ป.5 เล่ม1

Keywords: ืครู,วิทย์เล่ม

คมู่ อิื ครู รายวชิ าพน้ื ฐาน ๕ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี

ววทิ ทิ ยยาาศศาาสสตตรร์ ์

เลเม่ ลม่ ๑๑

ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑



คมู อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร
ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๕ เลม ๑

กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร

ตามมาตรฐานการเรยี นรแู ละตัวช้ีวดั กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

จดั ทาํ โดย
สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

กระทรวงศกึ ษาธิการ



คําช้แี จง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจัดทําตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู
แกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเนนเพื่อตองการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถท่ีทัดเทียมกับ
นานาชาติ ไดเ รยี นรูวิทยาศาสตรท เ่ี ช่ือมโยงความรกู บั กระบวนการในการสบื เสาะหาความรูและการแกปญหาท่ี
หลากหลาย มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติเพื่อใหผูเรียนไดใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
ทักษะแหงศตวรรษท่ี ๒๑ ซ่ึงในปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนไปน้ี โรงเรียนจะตองใชหลักสูตรกลุมสาระ
การเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สสวท. จึงไดจัดทําหนังสือเรียนท่ีเปนไปตามมาตรฐาน
การเรยี นรูและตวั ช้วี ดั ของหลกั สตู รเพื่อใหโ รงเรียนไดใชส ําหรบั จัดการเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น

คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
เลมน้ี สสวท. ไดพัฒนาขึ้น เพ่ือนําไปใชประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษา
ปท่ี ๕ เลม ๑ โดยภายในคมู อื ครปู ระกอบดวยผังมโนทัศน ตัวชี้วัด ขอแนะนําการใชคูมือครู ตารางแสดงความ
สอดคลอ งระหวา งเนื้อหาและกจิ กรรมในหนังสือเรียนกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู
วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีมุงเนนการพัฒนาทักษะรอบดาน ทั้งการอาน การสํารวจตรวจสอบ
การฝก ปฏิบัติ การปฏบิ ัติการทดลอง การสืบคนขอมูล และการอภิปราย โดยมีเปาหมายใหนักเรียนพัฒนาท้ัง
ดานความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษท่ี ๒๑ จิตวิทยาศาสตร กระบวนการ
สืบเสาะหาความรู ทักษะการคิด การอาน การส่ือสาร การแกปญหา ตลอดจนการนําความรูไปใชใน
ชีวิตประจําวันอยางมีคุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมแหงการเปลี่ยนแปลงใน
ศตวรรษที่ ๒๑ อยางมีความสุข ในการจัดทําคูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ ๕
เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ
นกั วชิ าการ และครูผสู อน จากสถาบันการศึกษาตาง ๆ จงึ ขอขอบคณุ ไว ณ ท่ีน้ี

สสวท. หวังเปนอยางย่ิงวาคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ ๕ เลม ๑
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ จะเปนประโยชนแกครูและผูเกี่ยวของทุกฝาย ที่จะชวยใหการจัด
การศึกษาดานวิทยาศาสตรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีขอเสนอแนะใดท่ีจะทําใหคูมือครูเลมนี้
สมบรู ณย ่งิ ข้ึน โปรดแจง สสวท. ทราบดว ย จกั ขอบคุณย่งิ

(ศาสตราจารยชกู ิจ ลมิ ปจ ํานงค)
ผอู ํานวยการสถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบัญ

หน้า

คาชแ้ี จง

เป้าหมายของการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์......................................................................................... ก

คณุ ภาพของผู้เรยี นวิทยาศาสตร์ เมอ่ื จบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6......................................................................... ข

ทกั ษะทสี่ ำคัญในกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ ..........................................................................................................ง

ผงั มโนทัศน์ (concept map) รายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ 1............................... ซ

ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1............................................................................ ฌ

ขอ้ แนะนาการใช้คมู่ ือครู...................................................................................................................................ฎ

การจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษา ............................................................................น

การจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นการสืบเสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์.............................................................น

การจดั การเรียนการสอนท่สี อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์ .................................................................ป

และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์............................................................................................. ฝ

ตารางแสดงความสอดคล้องระหวา่ งเนอ้ื หาและกจิ กรรม ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เล่ม 1...........................ภ

กับตัวชวี้ ัดหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

รายการวัสดอุ ุปกรณ์วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1....................................................................................................ร

หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั 1

ภาพรวมการจดั การเรยี นรปู้ ระจาหน่วยท่ี 1 การเรียนรสู้ ่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว ...................................................1

บทท่ี 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์..........................................................................................3

บทนี้เรม่ิ ตน้ อย่างไร ..................................................................................................................................... 6

เรอ่ื งท่ี 1 เส้นทางของขยะจากมอื เรา......................................................................................................... 13

กจิ กรรมที่ 1 จัดกระทาและสอ่ื ความหมายข้อมูลและสร้างแบบจาลองไดอ้ ย่างไร........................ 18

กิจกรรมทา้ ยบทที่ 1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์......................................................................... 36

แนวคาตอบในแบบฝึกหดั ท้ายบท 38

บรรณานุกรมหนว่ ยท่ี 1 การเรียนรูส้ ิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั 44

หน่วยที่ 2 แรงและพลงั งาน สารบญั

ภาพรวมการจดั การเรียนรปู้ ระจาหน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน หน้า
บทท่ี 1 แรงลพั ธ์และแรงเสียดทาน 45
บทนีเ้ รมิ่ ตน้ อย่างไร 45
เรือ่ งที่ 1 แรงลพั ธ์ 47
50
กจิ กรรมท่ี 1 หาแรงลพั ธ์ท่ีกระทาต่อวตั ถุได้อยา่ งไร 56
เรื่องท่ี 2 แรงเสยี ดทาน 60
79
กจิ กรรมท่ี 2 แรงเสยี ดทานมีผลต่อวตั ถอุ ย่างไร 83
กจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 1 แรงลัพธแ์ ละแรงเสยี ดทาน 100
แนวคาตอบในแบบฝกึ หัดท้ายบท 102
บทที่ 2 เสียง 105
บทนเี้ ริ่มต้นอยา่ งไร 108
เร่ืองท่ี 1 เสยี งกับการไดย้ นิ 112
116
กจิ กรรมที่ 1.1 เสยี งเคลื่อนท่ีได้อย่างไร 133
กิจกรรมที่ 1.2 เสียงสงู เสียงต่า เกดิ ได้อยา่ งไร 151
กิจกรรมท่ี 1.3 เสียงดัง เสียงค่อย ขึ้นอยู่กับอะไร 168
กจิ กรรมที่ 1.4 มลพษิ ทางเสียงเปน็ อยา่ งไร 180
กิจกรรมทา้ ยบทท่ี 2 เสยี ง 182
แนวคาตอบในแบบฝกึ หัดท้ายบท 184
บรรณานกุ รมหน่วยที่ 2 แรงและพลงั งาน

หน่วยที่ 3 การเปลีย่ นแปลงของสาร สารบัญ

ภาพรวมการจดั การเรยี นรู้ประจาหน่วยที่ 3 การเปลี่ยนแปลงของสาร หนา้
บทท่ี 1 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ
บทน้เี ริ่มตน้ อย่างไร 185
เรอื่ งท่ี 1 การเปลย่ี นสถานะ 185
187
กิจกรรมท่ี 1.1 น้าแขง็ มีการเปลี่ยนแปลงสถานะอย่างไร 190
กิจกรรมที่ 1.2 น้าผลไม้เปน็ เกลด็ นา้ แขง็ ได้อย่างไร 196
กจิ กรรมท่ี 1.3 พมิ เสนมกี ารเปลย่ี นสถานะอย่างไร 200
เรื่องที่ 2 การละลาย 215
กิจกรรมที่ 2 การละลายเปน็ อยา่ งไร 230
กิจกรรมทา้ ยบทที่ 1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ 246
แนวคาตอบในแบบฝกึ หัดทา้ ยบท 250
บทท่ี 2 การเปล่ียนแปลงทางเคมี 265
บทน้ีเริม่ ต้นอย่างไร 267
เร่อื งท่ี 1 การเปล่ียนทางเคมี 272
กิจกรรมที่ 1.1 การเปลยี่ นแปลงทางเคมคี ืออะไร 275
กจิ กรรมที่ 1.2 ร้ไู ดอ้ ยา่ งไรวา่ เกดิ การเปลีย่ นแปลงทางเคมี 279
กจิ กรรมทา้ ยบทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางเคมี 283
แนวคาตอบในแบบฝกึ หดั ท้ายบท 294
บทท่ี 3 การเปลย่ี นแปลงทีผ่ ันกลบั ได้และผันกลบั ไมไ่ ด้ 313
บทนี้เรม่ิ ตน้ อย่างไร 315
เร่อื งที่ 1 การเปลย่ี นแปลงที่ผันกลบั ได้และผันกลับไมไ่ ด้ 319
กจิ กรรมที่ 1 ผันกลบั ไดแ้ ละผันกลบั ไม่ได้เปน็ อยา่ งไร 322
กจิ กรรมท้ายบทท่ี 3 การเปลี่ยนแปลงทผ่ี ันกลบั ไดแ้ ละผนั กลบั ไมไ่ ด้ 326
แนวคาตอบในแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 330
346
348

บรรณานุกรมหนว่ ยท่ี 3 การเปลย่ี นแปลงของสาร สารบญั
แนวคาตอบในแบบทดสอบทา้ ยเล่ม
บรรณานกุ รม หนา้
คณะทางาน 352
353
364
366

ก คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

เปา้ หมายของการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สารวจ
ตรวจสอบ และการทดลองเก่ียวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติแล้วนาผลท่ีได้มาจัดระบบหลักการ แนวคิด
และทฤษฎี ดังน้ันการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจ์ ึงมุ่งเน้นให้นักเรียนได้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากที่สุด
นั่นคอื ใหเ้ กิดการเรียนรู้ทง้ั กระบวนการและองค์ความรู้

การจดั การเรียนรวู้ ิทยาศาสตรใ์ นสถานศึกษามีเปา้ หมายสาคัญ ดงั นี้
1. เพอ่ื ให้เขา้ ใจแนวคดิ หลกั การ ทฤษฎี กฎและความรพู้ นื้ ฐานของวทิ ยาศาสตร์
2. เพอ่ื ให้เขา้ ใจขอบเขตธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์ และข้อจากดั ของวทิ ยาศาสตร์
3. เพ่อื ให้มีทักษะทสี่ าคญั ในการสบื เสาะหาความรูแ้ ละพฒั นาเทคโนโลยี
4. เพื่อให้ตระหนักถึงการมีผลกระทบซึ่งกันและกันระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ

สง่ิ แวดล้อม
5. เพื่อนาความรู้ แนวคิดและทักษะต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ

สงั คมและการดารงชวี ติ
6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการ ทักษะใน

การสือ่ สาร และความสามารถในการประเมินและตดั สนิ ใจ
7. เพ่ือให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์

⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรุง เดอื นมถิ ุนายน 2562

คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1 ข

คณุ ภาพของนักเรียนวิทยาศาสตร์ เมื่อจบชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6

นักเรียนท่ีเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ควรมีความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์
ดงั น้ี

1. เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของส่ิงมีชีวิต รวมท้ังความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตใน
แหล่งท่ีอยู่ การทาหนา้ ทขี่ องสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช และการทางานของระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์

2. เข้าใจสมบัติและการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปล่ียนสถานะของสสาร การละลาย
การเปล่ยี นแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงที่ผันกลบั ไดแ้ ละผันกลบั ไมไ่ ด้ และการแยกสารอยา่ งงา่ ย

3. เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงต่างๆ ผลท่ี
เกิดจากแรงกระทาตอ่ วัตถุ วงจรไฟฟา้ อย่างง่าย ปรากฏการณเ์ บ้ืองตน้ ของเสยี ง และแสง

4. เข้าใจปรากฏการณ์การขึ้นและตก รวมถึงการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ องค์ประกอบ
ของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การขึ้น
และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน์ของเทคโนโลยี
อวกาศ

5. เข้าใจลักษณะของแหล่งน้า วัฏจักรน้า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง น้าค้างแข็ง หยาดน้าฟ้า
กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิดซากดึกดาบรรพ์ การเกิดลมบก
ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ
ปรากฏการณเ์ รือนกระจก

6. ค้นหาข้อมูลอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประเมนิ ความน่าเชื่อถอื ตัดสินใจเลือกข้อมลู ใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะ
ในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทางานร่วมกัน เข้าใจสิทธิและหน้าที่
ของตน เคารพสิทธขิ องผูอ้ นื่

7. ต้ังคาถามหรือกาหนดปัญหาเก่ียวกับส่ิงที่จะเรียนรู้ตามที่กาหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเน
คาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคาถามหรือปัญหาที่จะสารวจตรวจสอบ
วางแผนและสารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการ
เก็บรวบรวมข้อมลู ทั้งเชงิ ปริมาณและคุณภาพ

8. วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีมาจากการสารวจตรวจสอบใน
รูปแบบที่เหมาะสม เพ่ือสื่อสารความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบได้อย่างมีเหตุผลและหลักฐาน
อ้างอิง

9. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตามความ
สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ
คดิ เห็นผ้อู ื่น

10. แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ จน
งานลลุ ่วงเป็นผลสาเร็จ และทางานร่วมกบั ผูอ้ ่นื อย่างสรา้ งสรรค์

ฉบับปรบั ปรงุ เดอื นมถิ นุ ายน 2562 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ค คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1

11. ตระหนักในคุณคา่ ของความร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรแู้ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ในการดารงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้นและศึกษาหาความรู้
เพมิ่ เติม ทาโครงงานหรอื ช้ินงานตามท่ีกาหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ

12. แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อมอยา่ งรู้คุณค่า

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื นมถิ นุ ายน 2562

ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ง

ทักษะที่สาคญั ในการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ทักษะสาคัญที่ครูครูจาเป็นต้องพัฒนาให้เกิดข้ึนกับนักเรียนเมื่อมีการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เชน่ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills)

การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์จาเป็นต้องใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อนาไปสู่
การสืบเสาะค้นหาผ่านการสังเกต ทดลอง สร้างแบบจาลอง และวิธีการอ่ืนๆ เพื่อนาข้อมูล สารสนเทศและ
หลักฐานเชิงประจักษ์มาสร้างคาอธิบายเก่ียวกับแนวคิดหรือองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร์ ประกอบด้วย

ทกั ษะการสังเกต (Observing) เปน็ ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผสั อยา่ งใดอย่างหน่ึง หรือ
หลายอย่างสารวจวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไม่ลงความคิดเห็นของ
ผ้สู งั เกต ประสาทสัมผสั ทัง้ 5 ไดแ้ ก่ การดู การฟงั เสียง การดมกล่นิ การชมิ รส และการสัมผัส

ทักษะการวัด (Measuring) เป็นความสามารถในการเลือกใช้เคร่ืองมือในการวัดปริมาณต่าง ๆ
ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของส่ิงต่าง ๆ จากเครื่องมือที่เลือกใช้ออกมาเป็น
ตวั เลขได้ถูกต้องและรวดเรว็ พรอ้ มระบหุ นว่ ยของการวัดไดอ้ ย่างถูกต้อง

ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) เป็นความสามารถในการคาดการณ์อย่างมี

หลักการเก่ียวกับเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ โดยใช้ข้อมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ที่เคย

เก็บรวบรวมไวใ้ นอดตี

ทักษะการจาแนกประเภท (Classifying) เป็นความสามารถในการแยกแยะ จดั พวกหรือจดั กลุ่ม
สิ่งต่าง ๆ ที่สนใจ เช่น วัตถุ ส่ิงมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาออกเป็น
หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑ์หรือลักษณะร่วมลักษณะใดลักษณะ
หนึ่งของสิง่ ต่าง ๆ ที่ตอ้ งการจาแนก

ทักษะการหาความสัมพันธ์ของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ
คือ พื้นที่ท่ีวัตถุครอบครอง ในที่น้ีอาจเป็นตาแหน่ง รูปร่าง รูปทรงของวัตถุ สิ่งเหล่าน้ีอาจมีความสัมพันธ์กัน
ดังนี้

การหาความสมั พนั ธร์ ะหว่างสเปซกับสเปซ เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง
สัมพั น ธ์กัน ระห ว่างพ้ื น ท่ี ท่ี วัตถุต่างๆ
(Relationship between Space and Space) ครอบครอง

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื นมถิ นุ ายน 2562 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

จ คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

การหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปซกับเวลา เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง
(Relationship between Space and Time) สัมพันธ์กันระหว่างพื้นที่ที่วัตถุครอบครอง

เมอื่ เวลาผ่านไป
ทักษะการใช้จานวน (Using Number) เป็นความสามารถในการใช้ความรู้สึกเชิงจานวน และ
การคานวณเพอื่ บรรยายหรอื ระบุรายละเอยี ดเชิงปรมิ าณของสิ่งทีส่ ังเกตหรือทดลอง

ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing and Communicating Data)
เป็นความสามารถในการนาผลการสงั เกต การวัด การทดลอง จากแหล่งตา่ ง ๆ มาจัดกระทาให้อยใู่ นรูปแบบที่
มีความหมายหรือมคี วามสัมพันธก์ นั มากขึน้ จนง่ายต่อการทาความเขา้ ใจหรือเหน็ แบบรูปของข้อมูล นอกจากน้ี
ยังรวมถึงความสามารถในการนาข้อมูลมาจัดทาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ
สมการ การเขียนบรรยาย เพื่อส่อื สารใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจความหมายของขอ้ มลู มากข้ึน

ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) เป็นความสามารถในบอกผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ สถานการณ์
การสังเกต การทดลองท่ีได้จากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณ์ท่ี
แม่นยาจึงเป็นผลมาจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดท่ีถูกต้อง การบันทึก และการจัดกระทากับข้อมูลอย่าง
เหมาะสม

ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เป็นความสามารถในการคิดหาคาตอบ
ล่วงหน้าก่อนดาเนินการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐานคาตอบที่คิด
ล่วงหน้าที่ยังไม่รู้มาก่อน หรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมาก่อน การต้ังสมมติฐานหรือคาตอบที่คิดไว้
ล่วงหน้ามักกล่าวไว้เป็นข้อความท่ีบอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเป็นไปตามที่
คาดการณไ์ วห้ รอื ไมก่ ็ได้

ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เป็นความสามารถในการ
กาหนดความหมายและขอบเขตของสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีอยูใ่ นสมมตฐิ านของการทดลอง หรอื ท่เี ก่ียวข้องกับการทดลอง
ให้เขา้ ใจตรงกัน และสามารถสงั เกตหรือวัดได้

ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เป็นความสามารถในการ
กาหนดตัวแปรต่าง ๆ ท้ังตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้คงที่ ให้สอดคล้องกับสมมติฐาน
ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้น ซ่ึงอาจ
ส่งผลต่อผลการทดลอง หากไม่ควบคุมให้เหมือนกันหรือเท่ากัน ตัวแปรท่ีเกี่ยวข้องกับการทดลอง ได้แก่
ตัวแปรตน้ ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคมุ ใหค้ งที่ ซง่ึ ล้วนเป็นปจั จัยท่เี ก่ียวข้องกบั การทดลอง ดงั นี้

ตวั แปรตน้ (Independent Variable) หมายถึง ส่ิงทเี่ ป็นต้นเหตุทาให้เกดิ การเปลยี่ นแปลง จึงต้อง
จัดสถานการณใ์ ห้มีสิ่งน้ีแตกตา่ งกนั

ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง ส่ิงที่เป็นผลจากการจัดสถานการณ์บางอย่างให้
แตกตา่ งกนั และเราตอ้ งสังเกต วดั หรือติดตามดู

⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรับปรงุ เดอื นมิถนุ ายน 2562

คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ฉ

ตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้คงที่ (Controlled Variable) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ท่ีอาจส่งผลต่อการจัด
สถานการณ์ จึงต้องจัดสิ่งเหล่านี้ให้เหมือนกันหรือเทา่ กัน เพ่ือให้มั่นใจว่าผลจากการจัดสถานการณ์เกิดจากตัว
แปรตน้ เท่านน้ั

ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบด้วย 3 ข้ันตอน คือ การออกแบบการ
ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเป็นความสามารถในการ
ออกแบบและวางแผนการทดลองได้อยา่ งรอบคอบ และสอดคล้องกับคาถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึง
ความสามารถในการดาเนินการทดลองได้ตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได้ละเอียด
ครบถ้วน และเท่ียงตรง

ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interpreting and Making Conclusion)
ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของข้อมูลท่ีมีอยู่ ตลอดจน
ความสามารถในการสรุปความสัมพนั ธ์ของข้อมูลทั้งหมด

ทักษะการสร้างแบบจาลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสร้างและใช้สิ่งที่ทา
ข้ึนมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณ์ท่ีศึกษาหรือสนใจ เช่น กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ
ภาพเคล่ือนไหว รวมถึงความสามารถในการนาเสนอข้อมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจในรูป
ของแบบจาลองแบบต่าง ๆ

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills)

ราชบัณฑิตยสถานได้ระบุทักษะที่จาเป็นแห่งศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงสอดคล้องกับสมรรถนะท่ีควรมีในพลเมือง
ยุคใหม่รวม 7 ด้าน (สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557)
ในระดบั ประถมศึกษาจะเนน้ ให้ครูครสู ่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนมีทกั ษะ ดังต่อไปนี้

การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใช้เหตุผลที่หลากหลาย
เหมาะสมกับสถานการณ์ มีการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ ประเมินหลักฐานและข้อคิดเห็นด้วยมุมมองท่ี
หลากหลาย สังเคราะห์ แปลความหมาย และจัดทาข้อสรุป สะท้อนความคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้
ประสบการณแ์ ละกระบวนการเรียนรู้

การแก้ปัญหา (Problem Solving) หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาท่ีไม่คุ้นเคย หรือ
ปญั หาใหม่ โดยอาจใช้ความรู้ ทกั ษะ วิธีการและประสบการณ์ทเ่ี คยรู้มาแล้ว หรือการสบื เสาะหาความรู้ วธิ ีการ
ใหม่มาใช้แก้ปัญหาก็ได้ นอกจากนี้ยังรวมถึงการซักถามเพื่อทาความเข้าใจมุมมองท่ีแตกต่าง หลากหลาย
เพ่อื ใหไ้ ดว้ ิธแี ก้ปัญหาท่ดี ียิ่งขนึ้

การสื่อสาร (Communications) หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารได้อย่างชัดเจน เชื่อมโยง
เรียบเรียงความคิดเเละมุมมองต่าง ๆ แล้วส่ือสารโดยการใช้คาพูด หรือการเขียน เพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจได้

ฉบบั ปรับปรงุ เดือนมิถนุ ายน 2562 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ช คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

ห ล ากห ล าย รูป แ บ บ แ ล ะวั ต ถุป ระส งค์น อกจ ากนี้ ยั งรว ม ไป ถึงการ ฟั งอย่ างมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพ่ื อให้ เข้าใจ
ความหมายของผ้สู ่งสาร

ความร่วมมือ (Collaboration) หมายถึง ความสามารถในการทางานร่วมกับคนกลุ่มต่าง ๆ ท่ี
หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพและให้เกียรติ มีความยืดหยุ่นและยินดีที่จะประนีประนอม เพ่ือให้บรรลุ
เป้าหมายการทางาน พรอ้ มทง้ั ยอมรับและแสดงความรับผิดชอบต่องานท่ีทาร่วมกัน และเห็นคุณคา่ ของผลงาน
ที่พัฒนาข้นึ จากสมาชกิ แต่ละคนในทมี

การสร้างสรรค์ (Creativity) หมายถึง การใช้เทคนิคที่หลากหลายในการสร้างสรรค์แนวคิด เช่น
การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาต่อยอดแนวคิดเดิม หรือได้แนวคิดใหม่ และ
ความสามารถในการกลนั่ กรอง ทบทวน วิเคราะห์ และประเมินแนวคิด เพ่ือปรับปรงุ ให้ได้แนวคิดที่จะส่งผลให้
ความพยายามอยา่ งสร้างสรรค์นเ้ี ปน็ ไปได้มากท่ีสุด

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology
(ICT)) หมายถึง ความสามารถในการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือเป็นเครื่องมือสืบค้น จัด
กระทา ประเมินและสื่อสารข้อมูลความรู้ตลอดจนรู้เท่าทันสื่อโดยการใช้สื่อต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมมี
ประสทิ ธิภาพ

⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดอื นมิถนุ ายน 2562

คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1 ซ

ผังมโนทศั น์ (concept map)
รายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ 1

เน้อื หาการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เลม่ 1

ประกอบด้วย

หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้สิ่งตา่ ง ๆ หน่วยท่ี 2 แรงและพลงั งาน หนว่ ยที่ 3 การเปล่ียนแปลง
รอบตวั ไดแ้ ก่ ของสาร

ไดแ้ ก่ แรงลัพธ์ ไดแ้ ก่
เสน้ ทางของขยะ การเปล่ียนสถานะ
จากมอื เรา แรงเสียดทาน
การละลาย

เสยี งกับการไดย้ ิน การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

การเปลี่ยนแปลงที่ผัน
กลับได้และผันกลบั ไมไ่ ด้

ฉบับปรับปรุง เดือนมถิ ุนายน 2562 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ฌ คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1
ตัวชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1

ตัวช้ีวดั ชัน้ ปี สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ว 2.1 ป.5/1  การเปล่ียนสถานะของสสารเป็นการเปล่ียนแปลงทาง

อธบิ ายการเปลยี่ นสถานะของสสาร เมือ่ ทาให้ กายภาพ เมื่อเพิ่มความร้อนให้กับสสารถึงระดับหนึ่งจะ

สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิง ทาให้สสารที่เป็นของแข็งเปล่ียนสถานะเป็นของเหลว

ประจกั ษ์ เรียกว่า การหลอมเหลวและเม่ือเพ่ิมความร้อนต่อไป

จนถึงอีกระดับหนึ่งของเหลวจะเปลี่ยนเป็นแก๊ส เรียกว่า

การกลายเป็นไอ แต่เม่ือลดความร้อนลงถึงระดับหนึ่ง

แก๊สจะเปล่ียนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การ

ควบแน่น และถ้าลดความร้อนต่อไปอีกจนถึงระดับหนึ่ง

ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรียกว่า การ

แข็งตัว สสารบางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะจาก

ของแข็งเป็นแก๊สโดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว เรียกว่า

การระเหิด ส่วนแก๊สบางชนดิ สามารถเปล่ียนสถานะเป็น

ของแขง็ โดยไม่ผา่ นการเป็นของเหลว เรยี กว่า การระเหิด

กลบั

ว 2.1 ป.5/2  เม่ือใส่สารลงในน้าแล้วสารน้ันรวมเปน็ เนอื้ เดียวกันกับน้า

อธิบายการละลายของสารในน้า โดยใช้ ทั่วทุกส่วน แสดงว่าสารเกิดการละลาย เรียกสารผสมที่

หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ได้วา่ สารละลาย

ว 2.1 ป.5/3  เม่ือผสมสาร 2 ชนิดข้ึนไปแล้วมีสารใหม่เกิดขึ้นซ่ึงมี

วเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงของสารเมือ่ เกิดการ สมบัติต่างจากสารเดิมหรือเมื่อสารชนิดเดียวเกิดการ

เปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใช้หลักฐานเชิง เปลี่ยนแปลงแล้วมีสารใหม่เกิดขึ้นการเปล่ียนแปลงนี้

ประจักษ์ เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซ่ึงสังเกตได้จากมีสี

หรือกล่ินต่างจากสารเดิม หรือมีฟองแก๊ส หรือมีตะกอน

เกดิ ขึ้นหรอื มีการเพมิ่ ขนึ้ หรอื ลดลงของอุณหภมู ิ

ว 2.1 ป.5/4  เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว สารสามารถเปลี่ยนกลับ

วเิ คราะห์และระบุการเปลีย่ นแปลงท่ีผนั กลบั ได้ เป็นสารเดิมได้ เป็นการเปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับได้ เช่น การ

และการเปล่ียนแปลงท่ีผนั กลบั ไม่ได้ หลอมเหลว การกลายเป็นไอการละลาย แต่สารบางอย่าง

เกิ ดการเป ล่ี ยนแป ลงแล้ วไม่ สามารถเป ลี่ ยน กลั บ เป็ น

สารเดิมได้เป็นการเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับไม่ได้ เช่น การ

เผาไหม้ การเกิดสนิม

ว 2.2 ป.5/1  แรงลพั ธเ์ ป็นผลรวมของแรงทีก่ ระทาตอ่ วัตถุ โดยแรงลัพธ์

อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงใน ของแรง 2 แรงที่กระทาต่อวัตถุเดียวกันจะมีขนาด

แนว เท่ากับผลรวมของแรงท้ังสองเมื่อแรงทั้งสองอยู่ในแนว

⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรงุ เดือนมถิ นุ ายน 2562

คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1 ญ

ตวั ชวี้ ัดชน้ั ปี สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

เดียวกนั ที่กระทาต่อวัตถุในกรณีท่วี ตั ถุอยู่นิง่ เดียวกันและมีทิศทางเดียวกันแต่จะมีขนาดเท่ากับ

จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ผลต่างของแรงท้ังสองเม่ือแรงทั้งสองอยู่ในแนวเดียวกัน

ว 2.2 ป.5/2 แต่มีทิศทางตรงข้ามกัน สาหรับวัตถุที่อยู่นิ่งแรงลัพธ์ที่

เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทาต่อวัตถุที่อยู่ กระทาต่อวัตถมุ คี ่าเปน็ ศนู ย์

ในแนวเดียวกนั และแรงลัพธ์ท่ีกระทาต่อวัตถุ  การเขียนแผนภาพของแรงท่กี ระทาตอ่ วตั ถุสามารถเขียน

ว 2.2 ป.5/3 ได้โดยใช้ลูกศร โดยหัวลูกศรแสดงทิศทางของแรง และ

ใชเ้ ครือ่ งชงั่ สปริงในการวัดแรงท่ีกระทาตอ่ วัตถุ ความยาวของลูกศรแสดงขนาดของแรงทก่ี ระทาต่อวัตถุ

ว 2.2 ป.5/4  แรงเสียดทานเป็นแรงที่เกิดข้ึนระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ

ระ บุ ผ ล ข อ งแ รงเสี ย ด ท าน ที่ มี ต่ อ ก าร เพื่อต้านการเคล่ือนที่ของวัตถุนั้น โดยถ้าออกแรงกระทา

เปล่ยี นแปลงการเคลอ่ื นท่ีของวตั ถุจากหลักฐาน ต่อวัตถุท่ีอยู่นิ่งบนพื้นผิวหน่ึงให้เคลื่อนท่ี แรงเสียดทาน

เชิงประจกั ษ์ จากพื้นผิวน้ันก็จะต้านการเคล่ือนท่ีของวัตถุ แต่ถ้าวัตถุ

ว 2.2 ป.5/5 กาลังเคล่ือนที่แรงเสียดทานก็จะทาให้วัตถุนั้นเคล่ือนที่ช้า

เขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรง ลงหรือหยดุ น่งิ

ทอ่ี ยู่ในแนวเดียวกนั ที่กระทาตอ่ วตั ถุ

ว 2.3 ป.5/1  การได้ยินเสียงต้องอาศัยตัวกลาง โดยอาจเป็นของแข็ง

อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลางจาก ของเหลว หรอื อากาศ เสยี งจะสง่ ผา่ นตัวกลางมายังหู

หลักฐานเชงิ ประจักษ์

ว 2.3 ป.5/2  เสยี งที่ได้ยนิ มีระดับสูงต่าของเสียงต่างกันข้ึนกับความถี่ของ

ระบตุ วั แปร ทดลอง และอธบิ ายลกั ษณะและ การส่ันของแหล่งกาเนิดเสียง โดยเม่ือแหล่งกาเนิดเสียงสั่น

การเกดิ เสียงสงู เสยี งตา่ ด้วยความถี่ต่าจะเกิดเสยี งต่าแต่ถ้าสั่นด้วยความถสี่ ูงจะเกิด

ว 2.3 ป.5/3 เสียงสูง ส่วนเสยี งดงั ค่อยทไ่ี ด้ยินขึ้นกับพลังงานการสั่นของ

ออกแบบการทดลองและอธบิ ายลกั ษณะและ แหล่งกาเนิดเสียง โดยเมื่อแหล่งกาเนิดเสียงส่ันด้วย

การเกดิ เสียงดัง เสียงค่อย พลังงานมากจะเกดิ เสียงดงั แต่ถ้าแหลง่ กาเนดิ เสียงสั่นด้วย

ว 2.3 ป.5/4 พลังงานนอ้ ยจะเกิดเสียงคอ่ ย

วัดระดบั เสียงโดยใช้เคร่อื งมือวัดระดับเสยี ง  เสียงดังมาก ๆ เป็นอันตรายต่อการได้ยินและเสียงท่ี

ว 2.3 ป.5/5 ก่อให้เกิดความราคาญเป็นมลพิษทางเสียงเดซิเบลเป็น

ตระหนกั ในคุณคา่ ของความรู้เร่ืองระดับเสียง หน่วยทีบ่ อกถงึ ความดังของเสยี ง

โดยเสนอแนะแนวทางในการหลีกเลีย่ งและลด

มลพิษทางเสยี ง

ฉบับปรับปรุง เดือนมิถุนายน 2562 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ฎ คูม่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1

ขอ้ แนะนาการใช้คู่มือครู

ค่มู ือครเู ล่มนี้จดั ทาขน้ึ เพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมสาหรับครู ในแต่ละหน่วยการเรียนรูน้ ักเรยี น
จะได้ฝกึ ทกั ษะจากการทากิจกรรมต่าง ๆ ท้ังการสังเกต การสารวจ การทดลอง การสืบค้นข้อมลู การอภิปราย
การทางานร่วมกัน ซึ่งเป็นการฝึกให้นักเรียนช่างสงั เกต รู้จักต้งั คาถาม รจู้ ักคิดหาเหตุผล เพอื่ ตอบปัญหาต่าง ๆ
ได้ด้วยตนเอง ท้ังน้ีโดยมีเป้าหมายเพ่ือให้นักเรียนได้เรยี นรู้และค้นพบด้วยตนเองมากทส่ี ุด ดังนั้นในการจดั การ
เรียนรู้ครูจึงเป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนนักเรียนให้รู้จักสืบเสาะหาความรู้จากส่ือและแหล่งการ
เรียนรู้ต่าง ๆ และเพิ่มเติมข้อมูลท่ีถูกต้องแก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีทักษะจากการศึกษาหาความรู้ด้วย
ตนเอง

เพื่อให้เกิดประโยชน์จากคู่มือครูเล่มนี้มากที่สุด ครูควรทาความเข้าใจในรายละเอียดของแต่ละหัวข้อ
และขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ดังนี้

1. สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

สาระการเรียนรู้แกนกลางเป็นสาระการเรียนรู้เฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีปรากฏใน
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดไว้เฉพาะส่วนท่ีจาเป็นสาหรับเป็นพื้นฐาน
เก่ียวข้องกับชีวิตประจาวัน และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน โดยสอดคล้องกับสาระและ
ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของนักเรียน ในทุกกิจกรรมจะมีสาระสาคัญ ซ่ึงเป็นเน้ือหาสาระ
ทป่ี รากฏอย่ตู ามสาระการเรียนรโู้ ดยสถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม

สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เพิ่มสาระเทคโนโลยี ซึ่งประกอบด้วยการ
ออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคานวณ ท้ังน้ีเพ่ือเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระ
ทางคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชิงวศิ วกรรม ตามแนวคดิ สะเต็มศกึ ษา

2. ภาพรวมการจดั การเรียนรปู้ ระจาหนว่ ย

ภาพรวมการจัดการเรียนรู้ประจาหน่วยมีไว้เพ่ือเช่ือมโยงเนื้อหาสาระกบั มาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัดท่ีจะได้เรียนในแต่ละกิจกรรมของหน่วยนั้น ๆ และเป็นแนวทางให้ครูครูนาไปปรับปรุงและ
เพิ่มเติมตามความเหมาะสม

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

แต่ละหน่วยการเรียนรู้นักเรียนจะได้ทากิจกรรมอย่างหลากหลาย ในแต่ละส่วนของหนังสือเรียนทั้ง
ส่วนนาบท นาเร่ือง และกิจกรรมมีจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับตัวช้ีวัดช้ันปีเพ่ือให้ นักเรียนเกิด
การเรียนรู้ โดยยึดหลักให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการแก้ปัญหา การสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ในชีวิตและ
ในสถานการณ์ใหม่ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี มีเจตคติ คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
สามารถอย่ใู นสังคมไทยได้อย่างมีความสุข

⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรงุ เดือนมิถุนายน 2562

คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ฏ

4. บทนม้ี ีอะไร

ส่วนท่ีบอกรายละเอียดในบทนัน้ ๆ ซ่งึ ประกอบดว้ ยชื่อเรื่อง คาสาคัญ และชอ่ื กจิ กรรม เพ่ือครจู ะ
ได้ทราบองค์ประกอบโดยรวมของแตล่ ะบท

5. สื่อการเรียนรู้และแหลง่ เรยี นรู้

ส่วนที่บอกรายละเอียดส่ือการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ท่ีต้องใช้สาหรับการเรียนในบท เร่ือง และ
กิจกรรมน้ัน ๆ โดยส่ือการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ประกอบด้วยหน้าหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม
และอาจมีโปรแกรมประยุกต์ เว็บไซต์ ส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ือโสตทัศนูปกรณ์หรือตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการ
ทางวทิ ยาศาสตร์เพ่ือเสรมิ สรา้ งความมั่นใจในการสอนปฏบิ ัตกิ ารวทิ ยาศาสตรส์ าหรับครู

6. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

ทักษะท่ีนักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็น
ทักษะที่นักวิทยาศาสตร์นามาใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู้ ส่วนทักษะแห่ง
ศตวรรษท่ี 21 เป็นทักษะที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ
เพอ่ื ใหท้ ันต่อการเปล่ียนแปลงของโลก

ฉบบั ปรับปรุง เดอื นมิถุนายน 2562 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ฐ คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

วดี ทิ ศั น์ตวั อย่างการปฏิบัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์สาหรับครูเพ่ือฝึกฝนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ต่าง ๆ มดี ังน้ี

รายการวีดทิ ศั น์ตัวอย่างการ ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code

ปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์

วดี ิทศั น์ การสงั เกตและการลง การสังเกตและการลง http://ipst.me/8115

ความเหน็ จากข้อมูล ความเหน็ จากข้อมลู

ทาได้อยา่ งไร

วดี ทิ ัศน์ การวดั ทาไดอ้ ย่างไร การวดั http://ipst.me/8116

วีดทิ ศั น์ การใช้ตวั เลข การใช้จานวน http://ipst.me/8117
ทาได้อยา่ งไร

วีดิทศั น์ การจาแนกประเภท การจาแนกประเภท http://ipst.me/8118
ทาได้อยา่ งไร

วีดทิ ศั น์ การหาความสัมพนั ธ์ การหาความสมั พันธ์ http://ipst.me/8119
ระหว่างสเปซกบั สเปซ ระหวา่ งสเปซกับสเปซ http://ipst.me/8120
ทาได้อย่างไร http://ipst.me/8121
http://ipst.me/8122
วีดิทศั น์ การหาความสมั พันธ์ การหาความสัมพันธ์
ระหวา่ งสเปซกับเวลา ระหว่างสเปซกับเวลา
ทาได้อยา่ งไร

วีดทิ ัศน์ การจัดกระทาและสอ่ื การจดั กระทาและส่ือ
ความหมายข้อมลู ความหมายข้อมูล
ทาได้อย่างไร

วดี ทิ ัศน์ การพยากรณ์ การพยากรณ์
ทาได้อยา่ งไร

⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรงุ เดอื นมถิ ุนายน 2562

คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ฑ

รายการวีดิทัศน์ตวั อย่างการ ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code
ปฏบิ ัติการวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ http://ipst.me/8123

วดี ทิ ศั น์ ทาการทดลองได้ การทดลอง
อยา่ งไร

วดี ิทัศน์ การต้งั สมมตฐิ านทาได้ การตั้งสมมตฐิ าน http://ipst.me/8124
อย่างไร

วดี ิทัศน์ การกาหนดและ การกาหนดและควบคุม http://ipst.me/8125
ควบคมุ ตวั แปรและ ตวั แปรและ
การกาหนดนิยามเชิง การกาหนดนิยามเชิง
ปฏบิ ตั กิ ารทาได้ ปฏิบัตกิ าร
อย่างไร
การตคี วามหมายข้อมลู และ http://ipst.me/8126
วีดทิ ศั น์ การตีความหมาย ลงข้อสรปุ
ขอ้ มูลและลงข้อสรปุ
ทาได้อยา่ งไร

วดี ิทศั น์ การสรา้ งแบบจาลอง การสรา้ งแบบจาลอง http://ipst.me/8127
ทาได้อยา่ งไร

ฉบับปรับปรงุ เดือนมิถุนายน 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ฒ คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

7. แนวคดิ คลาดเคล่ือน

ความเช่ือ ความรู้ หรือความเข้าใจที่ผิดหรือคลาดเคล่ือนซึ่งเกิดขึ้นกับนักเรียน เน่ืองจาก
ประสบการณ์ในการเรยี นรู้ที่รับมาผิดหรือนาความร้ทู ี่ได้รับมาสรุปตามความเข้าใจของตนเองผิด แล้ว
ไม่สามารถอธิบายความเข้าใจนั้นได้ ดังนั้นเมื่อเรียนจบบทนี้แล้วครูควรแก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนของ
นกั เรยี นให้เป็นแนวคดิ ที่ถูกต้อง

8. บทนี้เริ่มต้นอยา่ งไร

แนวทางสาหรับครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดด้วยตนเอง
รู้จักค้นคว้าหาเหตุผล ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนนั้น ๆ โดยและให้นักเรียน
ตอบคาถามสารวจความรู้ก่อนเรียน จากนั้นครูสังเกตการตอบคาถามของนักเรียนและยังไม่เฉลย
คาตอบที่ถูกต้อง เพ่อื ใหน้ ักเรยี นไปหาคาตอบจากเรื่องและกิจกรรมต่าง ๆ ในบทนัน้

9. เวลาทใี่ ช้

การเสนอแนะเวลาทีใ่ ช้ในการจัดการเรยี นการสอนวา่ ควรใช้ประมาณก่ีชัว่ โมง เพ่ือชว่ ยให้ครูครไู ด้
จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตามครูอาจปรับเปลี่ยน เวลาได้ตาม
สถานการณแ์ ละความสามารถของนักเรียน

10. วสั ดุอปุ กรณ์

รายการวัสดุอุปกรณ์ทั้งหมดทั้งหมดสาหรับการจัดกิจกรรม โดยอาจมีทั้งวัสดุส้ินเปลือง อุปกรณ์
สาเรจ็ รูป อุปกรณ์พื้นฐาน หรืออื่น ๆ

11. การเตรยี มตวั ลว่ งหน้าสาหรบั ครู เพ่อื จดั การเรยี นรใู้ นครง้ั ถัดไป

การเตรียมตัวล่วงหน้าสาหรับการจัดการเรียนรู้ในคร้ังถัดไป เพื่อครูจะได้เตรียมส่ือ อุปกรณ์
เคร่ืองมือต่าง ๆ ที่ต้องใช้ในกิจกรรมให้อยู่ในสภาพท่ีใช้การได้ดีและมีจานวนเพียงพอกับนักเรียน โดย
อาจมีบางกจิ กรรมตอ้ งทาล่วงหน้าหลายวัน เช่น การเตรยี มถุงปรศิ นาและข้าวโพดคั่วหรอื สิง่ ท่กี ินได้
ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ

นักเรยี นในระดับช้นั ประถมศึกษา มีกระบวนการคิดท่ีเป็นรูปธรรม ครูจงึ ควรจดั การเรียนการ
สอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติหรือทาการทดลองด้วยตนเอง ซึ่งเป็นวิธีหน่ึงที่นักเรียนจะได้มี
ประสบการณต์ รง ดงั นัน้ ครูครจู งึ ตอ้ งเตรียมตัวเองในเรือ่ งตอ่ ไปนี้

11.1 บทบาทของครู ครูจะต้องเปล่ียนบทบาทจากการเป็นผู้ช้ีนาหรือผู้ถ่ายทอดความรู้เป็นผู้
ช่วยเหลือ โดยส่งเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่งการ
เรียนรู้ต่าง ๆ และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่นักเรียน เพ่ือให้นักเรียนได้นาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้
สรา้ งสรรคค์ วามรู้ของตนเอง

11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน ครูควรเตรียมนักเรียนให้มีความพร้อมในการทา
กิจกรรมต่าง ๆ แต่บางคร้ังนักเรียนไม่เข้าใจและอาจจะทากิจกรรมไม่ถูกต้อง ดังนั้นครูจึง
ต้องเตรียมตัวเอง โดยทาความเข้าใจในเร่ืองต่อไปนี้

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนมิถุนายน 2562

คูม่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ณ

การสืบค้นข้อมูลหรือการค้นคว้าด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถามจากผู้รู้ในท้องถ่ิน
ดูจากรูปภาพแผนภูมิ อ่านหนังสือหรือเอกสารเท่าที่หาได้ นั่นคือการให้นักเรียนเป็นผู้หา
ความรแู้ ละพบความรูห้ รอื ข้อมูลด้วยตนเอง ซึ่งเปน็ การเรียนรู้ดว้ ยวธิ แี สวงหาความรู้

การนาเสนอ มีหลายวิธี เช่น ให้นักเรียนหรือตัวแทนกลุ่มออกมาเล่าเรื่องท่ีได้รับ
มอบหมายให้ไปสารวจ สังเกต หรือทดลองหรอื อาจให้เขียนเป็นคาหรือเป็นประโยคลงใน
แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอ่ืนตามความเหมาะสม นอกจากน้ีอาจให้วาดรูป หรือตัด
ขอ้ ความจากหนังสือพิมพ์ แลว้ นามาติดไวใ้ นหอ้ ง เป็นตน้

การสารวจ ทดลอง สืบค้นข้อมูล สร้างแบบจาลองหรืออ่ืน ๆ เพ่ือสร้างองค์ความรู้
เป็นสิ่งสาคัญยิ่งต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ครูครูสามารถให้นักเรียนทากิจกรรมได้ท้ังใน
ห้องเรียน นอกห้องเรียนหรือท่ีบ้าน โดยไม่จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ราคาแพง
อาจใช้อุปกรณ์ที่ดัดแปลงจากสิ่งของเหลือใช้ หรือใช้วัสดุธรรมชาติ ข้อสาคัญ คือ ครูครู
ต้องให้นักเรียนทราบว่า ทาไมจึงต้องทากิจกรรมนั้น และจะต้องทาอะไร อย่างไร ผลจาก
การทากิจกรรมจะสรุปผลอย่างไร ซึ่งจะทาให้นักเรียนได้ความรู้ ความคิด และทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรพ์ รอ้ มกับเกดิ ค่านยิ ม คณุ ธรรม เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ด้วย

12. แนวการจดั การเรียนรู้

แนวทางสาหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่มุ่งส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดด้วย
ตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผลและสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการนาเอาวิธีการต่าง ๆ ของกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ไปใช้ วิธีการจัดการเรียนรู้ที่ สสวท. เห็นว่าเหมาะสมท่ีจะนานักเรียนไปสู่เป้าหมายที่กาหนด
ไว้ก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซ่ึงมีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ การมองเห็นปัญหา การสารวจ
ตรวจสอบ และอภิปรายซกั ถามระหว่างครกู ับนักเรียนเพ่ือนาไปสู่ข้อมูลสรุป
ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม

นอกจากครูจะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามคู่มือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามความ
เหมาะสมเพ่อื ให้บรรลุจดุ ม่งุ หมาย โดยจะคานงึ ถงึ เรอ่ื งต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้

12.1 นกั เรียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกจิ กรรมการ
เรียนรู้ตลอดเวลาด้วยการกระตุ้นให้นักเรียนลงมือทากิจกรรมและอภิปรายผล โดยครูอาจ
ใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น การใช้คาถาม การเสริมแรงมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เพ่ือให้การเรียน
การสอนนา่ สนใจและมชี ีวติ ชีวา

12.2 การใช้คาถาม เพื่อนานักเรียนเข้าสู่บทเรียนและลงข้อสรุป โดยไม่ใช้เวลานานเกินไป ท้ังนี้
ครูต้องวางแผนการใช้คาถามอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใช้คาถามท่ีมีความยากง่าย
พอเหมาะกบั ความสามารถของนักเรียน

12.3 การสารวจตรวจสอบซ้า เป็นสิ่งจาเป็นเพื่อให้ได้ข้อมูลที่น่าเช่ือถือ ดังน้ันในการจัดการเรียนรู้
ครูควรเนน้ ย้าให้นกั เรยี นได้สารวจตรวจสอบซา้ เพ่อื นาไปสูข่ ้อสรปุ ท่ถี กู ตอ้ งและเช่อื ถอื ได้

ฉบับปรับปรุง เดอื นมถิ นุ ายน 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ด คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1

13. ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ

ข้อเสนอแนะสาหรับครูที่อาจเป็นประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ เช่น ตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์
ที่เหมาะสมหรือใช้แทน ข้อควรระวัง วิธีการใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทากิจกรรม
เพื่อลดข้อผิดพลาด ตัวอยา่ งตาราง และเสนอแหล่งเรยี นรู้เพอ่ื การค้นคว้าเพ่มิ เติม

14. ความรเู้ พ่ิมเติมสาหรบั ครู

ความรู้เพิ่มเติมในเน้ือหาที่สอนซ่ึงจะมีรายละเอียดที่ลึกขึ้น เพื่อเพิ่มความรู้และความม่ันใจ
ในเร่ืองท่ีจะสอนและแนะนานักเรียนท่ีมีความสามารถสูง แต่ครูต้องไม่นาไปสอนนักเรียนในช้ันเรียน
เพราะไมเ่ หมาะสมกับวยั และระดบั ชัน้

15. อยา่ ลมื นะ

สว่ นที่เตือนไม่ให้ครูเฉลยคาตอบที่ถกู ต้อง ก่อนที่จะได้รับฟังความคิดและเหตุผลของนกั เรียน
เพื่อให้นักเรียนได้คิดด้วยตนเองและครูจะได้ทราบว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องน้ันอย่างไร
บา้ ง โดยครคู วรให้คาแนะนาเพ่ือให้นักเรียนหาคาตอบได้ด้วยตนเอง นอกจากน้ันครูควรใหค้ วามสนใจ
ตอ่ คาถามของนกั เรยี นทุกคนดว้ ย

16. แนวการประเมินการเรยี นรู้

การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีได้จากการอภิปรายในชั้นเรียน คาตอบของนักเรียนระหว่าง
การจัดการเรียนรู้และในแบบบันทึกกิจกรรม รวมทั้งการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทไ่ี ด้จากการทากิจกรรมของนักเรียน

17. กจิ กรรมทา้ ยบท
ส่วนทใี่ หน้ กั เรยี นได้สรุปความรู้ ความเขา้ ใจ ในบทเรยี น และไดต้ รวจสอบความรูใ้ นเน้ือหาที่

เรียนมาทั้งบท หรอื อาจตอ่ ยอดความรใู้ นเรอ่ื งนน้ั ๆ

ข้อแนะนาเพ่ิมเตมิ

1. การสอนอา่ น
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของคาว่า “อ่าน” หมายถึง ว่าตาม

ตวั หนังสือ ถ้าออกเสียงด้วย เรียกว่า อ่านออกเสียง ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อ่านในใจ หรอื อีกความหมาย
ของคาว่า “อ่าน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพ่ือให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ ตีความ
เช่น อ่านรหสั อา่ นลายแทง

ปีพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ได้กล่าวถึงความสาคัญของการอ่านไว้ว่า การอ่านเป็นทักษะที่สาคัญ
จาเป็นต้องเน้นและฝึกฝนให้แก่นักเรียนเป็นอย่างมาก เนื่องจากการอ่านเป็นกระบวนการสาคัญที่ทาให้ผู้อ่าน
สร้างความหมายหรือพัฒนาการวิเคราะห์ ตีความในระหว่างอ่าน ผู้อ่านจะต้องร้หู ัวเรื่อง รู้จุดประสงค์การอ่าน
มี ค ว าม รู้ท างภ าษ าใก ล้ เคี ย งกั บ ภ า ษ าที่ ใช้ ใน ห นั งสื อ ท่ี อ่ าน แล ะจ าเป็ น ต้ องใช้ ป ระส บ ก ารณ์ เดิ มที่ เป็ น
ประสบการณ์พื้นฐานของผู้อ่าน ทาความเข้าใจเร่ืองที่อ่าน ทั้งน้ีนักเรียนแต่ละคนอาจมีทักษะในการอ่านที่

⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรงุ เดือนมถิ ุนายน 2562

คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ต

แตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น ประสบการณ์เดิมของนักเรียน ความสามารถด้านภาษา
หรือความสนใจเร่อื งทอี่ ่าน ครูควรสังเกตนักเรียนว่านักเรียนแต่ละคนมีความสามารถในการอ่านอยูใ่ นระดับใด
ซึง่ ครจู ะตอ้ งพจิ ารณาทงั้ หลักการอ่าน และความเข้าใจในการอา่ นของนกั เรยี น

การรู้เร่อื งการอ่าน (Reading literacy) หมายถงึ การเขา้ ใจข้อมูล เน้ือหาสาระของสิง่ ที่อา่ น การใช้
ประเมินและสะท้อนมุมมองของตนเองเก่ยี วกับสง่ิ ที่อ่านอย่างต้ังใจเพ่อื บรรลเุ ปา้ หมายสว่ นตัวของตนเองหรือ
เพ่ือพัฒนาความร้แู ละศกั ยภาพของตนเองและนาความรู้และศกั ยภาพน้ันมาใช้ในการแลกเปลีย่ นเรียนร้ใู น
สงั คม (PISA, 2018)

กรอบการประเมนิ ผลนกั เรียนเพือ่ ใหม้ สี มรรถนะการอา่ นในศตวรรษท่ี 21 ตามแนวทางของ PISA สามารถ
สรปุ ไดด้ ังแผนภาพด้านลา่ ง

จากกรอบการประเมินดังกลา่ วจะเหน็ ไดว้ า่ การรเู้ ร่ืองการอ่านเปน็ สมรรถนะท่สี าคัญที่ครูควรสง่ เสรมิ ให้
นักเรียนมคี วามสามารถให้ครอบคลุม ตั้งแต่การค้นหาข้อมูลในส่ิงทอ่ี ่าน เข้าใจเนอ้ื หาสาระที่อ่านไปจนถึง
ประเมนิ ค่าเนือ้ หาสาระที่อา่ นได้ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จาเปน็ ต้องอาศัยการอ่านเพ่อื หาขอ้ มูล
ทาความเข้าใจเน้ือหาสาระของส่งิ ท่อี ่าน รวมท้ังประเมนิ สิ่งทอ่ี า่ นและนาเสนอมมุ มองของตนเองเกย่ี วกบั สงิ่ ท่ี
อ่าน นกั เรยี นควรได้รบั ส่งเสริมการอ่านดังต่อไปนี้

1. นกั เรียนควรไดร้ บั การฝกึ การอา่ นข้อความแบบต่อเนือ่ งจาแนกข้อความแบบต่าง ๆ กัน เช่น การบอก
การพรรณนา การโตแ้ ยง้ รวมไปถงึ การอ่านขอ้ เขยี นที่ไม่ใช่ข้อความต่อเนื่อง ไดแ้ ก่ การอ่านรายการ
ตาราง แบบฟอรม์ กราฟ และแผนผงั เปน็ ต้น ซ่งึ ข้อความเหล่านีเ้ ป็นสงิ่ ท่นี กั เรยี นได้พบเห็นใน
โรงเรยี น และจะต้องใชใ้ นชีวิตจริงเม่ือโตเป็นผู้ใหญ่ ซึ่งในคู่มอื ครูเล่มน้ีต่อไปจะใช้คาแทนขอ้ ความทงั้ ที่
เป็นข้อความแบบต่อเน่ืองและข้อความที่ไม่ใช่ขอ้ ความต่อเนื่องว่าสงิ่ ที่อ่าน (Text)

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดือนมถิ นุ ายน 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ถ คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1

2. นักเรียนควรได้รับการฝกึ ฝนให้มีความสามารถในการประเมนิ ส่ิงทอ่ี า่ นวา่ มีความเหมาะสมสอดคล้อง
กับลักษณะของขอ้ เขียนมากน้อยเพียงใด เชน่ ใชน้ วนิยาย จดหมาย หรอื ชวี ะประวตั ิเพอ่ื ประโยชน์
สว่ นตัว ใชเ้ อกสารราชการหรือประกาศแจ้งความเพื่อสาธารณประโยชน์ ใช้รายงานหรอื คมู่ อื ต่างๆ
เพ่อื การทางานอาชีพ ใช้ตาราหรือหนงั สอื เรียน เพอ่ื การศึกษา เปน็ ตน้

3. นกั เรยี นควรไดร้ บั การฝกึ ฝนให้มสี มรรถนะการอ่านเพ่ือเรียนรู้ ในด้านตา่ ง ๆ ต่อไปนี้
3.1 ความสามารถทจ่ี ะคน้ หาเนอ้ื หาสาระของสิ่งที่อ่าน (Retrieving information)
3.2 ความสามารถท่ีจะเข้าใจเนื้อหาสาระของสิง่ ที่อา่ น (Forming a broad understanding)
3.3 ความสามารถในการแปลความของสง่ิ ที่อ่าน (Interpretation)
3.4 ความสามารถในการประเมนิ และสามารถสะท้อนความคดิ เห็นหรือโตแ้ ยง้ จากมมุ มองของตน
เก่ียวกบั เนอ่ื หาสาระของสิ่งท่ีอ่าน (Reflection and evaluation the content of a text)
3.5 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะท้อนความคดิ เห็นหรอื โตแ้ ย้งจากมุมมองของตน
เกีย่ วกับรปู แบบของส่ิงท่ีอ่าน (Reflection and evaluation the form of a text)

ทงั้ นี้ สสวท. ขอเสนอแนะวธิ กี ารสอนแบบต่าง ๆ เพื่อเปน็ การฝึกทักษะการอ่านของนกั เรยี น ดังน้ี

 เทคนคิ การสอนแบบ DR-TA (The Directed Reading-Thinking Activity)
การสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ฝึกกระบวนการคิด กลั่นกรองและตรวจสอบข้อมูลท่ีได้จากการอ่าน

ด้วยตนเอง โดยให้นักเรียนคาดคะเนเนื้อหาหรือคาตอบล่วงหน้าจากประสบการณ์เดิมของนักเรียน โดยมี
ขนั้ ตอนการจัดการเรียนการสอน ดังน้ี

1. ครจู ดั แบง่ เนือ้ เรือ่ งท่จี ะอ่านออกเป็นสว่ นย่อย และวางแผนการสอนอ่านของเนอื้ เรอ่ื งท้ังหมด
2. นาเข้าส่บู ทเรยี นโดยชักชวนใหน้ ักเรยี นคิดว่านักเรยี นรู้อะไรเกย่ี วกับเร่อื งท่ีจะอ่านบ้าง
3. ครูใหน้ ักเรยี นสงั เกตรปู ภาพ หัวข้อ หรอื อนื่ ๆ ทเี่ กี่ยวกับเน้อื หาทจ่ี ะเรยี น
4. ครูตั้งคาถามให้นักเรียนคาดคะเนเน้ือหาของเรื่องท่ีกาลังจะอ่าน ซ่ึงอาจให้นักเรียนคิดว่าจะได้เรียน

เกย่ี วกบั อะไร โดยครูพยายามกระตุ้นให้นักเรยี นไดแ้ สดงความคดิ เห็นหรือคาดคะเนเนื้อหา
5. ครูอาจให้นักเรียนเขียนส่ิงที่ตนเองคาดคะเนไว้ โดยจะทาเป็นรายคนหรือเป็นคู่ก็ได้ หรือครูนา

อภปิ รายแลว้ เขียนแนวคิดของนกั เรยี นแตล่ ะคนไว้บนกระดาน
6. นักเรียนอ่านเน้ือเรื่อง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายว่าการคาดคะเนของตนเอง

ตรงกับเน้ือเรื่องท่ีอ่านหรือไม่ ถ้านักเรียนประเมินว่าเร่ืองท่ีอ่านมีเน้ือหาตรงกับที่คาดคะเนไว้ให้
นักเรียนแสดงขอ้ ความทสี่ นับสนนุ การคาดคะเนของตนเองจากเน้ือเรื่อง
7. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน โดยครูวิเคราะห์ว่านักเรียนแต่ละคนสามารถใช้การคาดคะเนด้วย
ตนเองอย่างไรบ้าง
8. ทาซ้าข้ันตอนเดิมในการอ่านเนื้อเร่ืองส่วนอื่น ๆ เมื่อจบท้ังเร่ืองแล้ว ครูปิดเร่ืองโดยการทบทวน
เนื้อหาและอภิปรายถงึ วธิ ีการคาดคะเนของนักเรยี นท่คี วรใชส้ าหรับการอา่ นเรื่องอื่น ๆ

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดอื นมถิ ุนายน 2562

คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ท

 เทคนคิ การสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning)
การสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้เช่ือมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่อย่างเป็นรูปธรรม

และเป็นระบบ โดยผ่านตาราง 3 ช่อง คือ K-W-L (นกั เรยี นรู้อะไรบ้างเกี่ยวกบั เร่ืองท่ีจะอ่าน นักเรยี นตอ้ งการรู้
อะไรเก่ียวกับเรื่องท่ีจะอ่าน นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากเร่ืองท่ีอ่าน) โดยมีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน
ดงั น้ี

1. นาเข้าสู่บทเรียนด้วยการกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยการใช้คาถาม การนาด้วยรูปภาพหรือ
วีดิทศั นท์ เ่ี กย่ี วกบั เนื้อเรือ่ ง เพอ่ื เช่อื มโยงเข้าสูเ่ รอ่ื งทจ่ี ะอ่าน

2. ครูทาตารางแสดง K-W-L และอธิบายข้ันตอนการทากิจกรรมโดยใช้เทคนิค K-W-L ว่ามีขั้นตอน
ดงั น้ี
ข้ันที่ 1 กิจกรรมก่อนการอ่าน เรียกว่า ข้ัน K มาจาก know (What we know) เป็นขั้นตอนที่ให้
นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องท่ีจะอ่าน แล้วบันทึกสิ่งท่ีตนเองรู้ลงใน
ตารางช่อง K ขั้นตอนน้ีช่วยให้นักเรียนรู้ว่าตนเองรู้อะไรแล้วต้องอ่านอะไร โดยครูพยายาม
ตง้ั คาถามกระตุ้นให้นกั เรยี นได้แสดงความคิดเห็น
ขนั้ ท่ี 2 กิจกรรมระหว่างการอ่าน เรียกว่า ขั้น W มาจาก want (What we want to know) เป็น
ข้ันตอนที่ให้นักเรียนต้ังคาถามเก่ียวกับส่ิงที่ต้องการรู้เก่ียวกับเร่ืองท่ีกาลังจะอ่าน โดยครูและ
นกั เรยี นร่วมกันกาหนดคาถาม แลว้ บนั ทึกสงิ่ ที่ตอ้ งการรู้ลงในตารางช่อง W
ข้ันที่ 3 กิจกรรมหลังการอ่าน เรียกว่า ข้ัน L มาจาก learn (What we have learned) เป็น
ข้ันตอนที่สารวจว่าตนเองได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการอ่าน โดยหลังจากอ่านเน้ือเรื่อง นักเรียน
หาข้อความมาตอบคาถามท่ีกาหนดไว้ในตารางช่อง W จากน้ันนาข้อมูลท่ีได้จากการอ่านมา
จดั ลาดับความสาคัญของข้อมูลและสรุปเน้ือหาสาคัญลงในตารางช่อง L

3. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรุปเน้อื หา โดยการอภิปรายหรือตรวจสอบคาตอบในตาราง K-W-L
4. ครูและนักเรียนอาจรว่ มกันอภิปรายเกีย่ วกับการใช้ตาราง K-W-L มาชว่ ยในการเรยี นการสอนการอ่าน
 เทคนิคการสอนแบบ QAR (Question-answer relationship)
การสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความเข้าใจในการจัดหมวดหมู่ของคาถามและต้ังคาถาม เพื่อให้ได้มา
ซ่ึงแนวทางในการหาคาตอบ ซึ่งนักเรียนจะได้พิจารณาจากข้อมูลในเนื้อเรื่องท่ีจะเรียนและประสบการณ์เดิม
ของนกั เรียน โดยมีขน้ั ตอนการจดั การเรยี นการสอน ดังนี้
1. ครูจัดทาชุดคาถามตามแบบ QAR จากเรื่องท่ีนักเรียนควรรู้หรือเร่ืองใกล้ตัวนักเรียน เพ่ือช่วยให้นักเรียน

เขา้ ใจถงึ การจัดหมวดหมู่ของคาถามตามแบบ QAR และควรเชื่อมโยงกับเร่ืองทจี่ ะอ่านต่อไป
2. ครูแนะนาและอธิบายการสอนแบบ QAR โดยครูควรชี้แจงนักเรียนเกี่ยวกับการอ่านและการต้ังคาถาม

ตามหมวดหมู่ ได้แก่ คาถามที่ตอบโดยใช้เนื้อหาจากเร่ืองท่ีอ่าน คาถามที่ต้องคิดและค้นคว้า คาถามท่ี
ไมม่ คี าตอบโดยตรง ซ่งึ จะต้องใชค้ วามรเู้ ดิมและสิ่งทผี่ เู้ ขยี นเขียนไว้
3. นกั เรยี นอ่านเน้อื เรอื่ ง ต้ังคาถามและตอบคาถามตามหมวดหมู่ และรว่ มกนั อภิปรายเพอื่ สรุปคาตอบ
4. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการใชเ้ ทคนคิ นี้ด้วยตนเองไดอ้ ย่างไร

ฉบับปรับปรงุ เดอื นมิถนุ ายน 2562 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ธ คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

5. ครแู ละนักเรยี นอาจร่วมกนั อภปิ รายเก่ียวกบั การใช้ตาราง K-W-L มาช่วยในการเรียนการสอนการอ่าน

2. การใชง้ านสื่อ QR CODE

QR CODE เป็นรหัสหรือภาษาที่ต้องใช้โปรแกรมอ่านหรือสแกนข้อมูลออกมา ซึ่งต้องใช้งานผ่าน

โทรศัพท์เคล่ือนที่หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ติดตั้งกล้องไว้ แล้วอ่าน QR Code ผ่านโปรแกรมต่าง ๆ เช่น

LINE (สาหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่) Code Two QR Code Reader (สาหรับคอมพิวเตอร์) Camera (สาหรับ

ผลติ ภณั ฑข์ อง Apple Inc.)

ขน้ั ตอนการใชง้ าน

1. เปิดโปรแกรมสาหรบั อ่าน QR Code

2. เล่อื นอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ เชน่ โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี แท็บเลต็ เพือ่ ส่องรูป QR Code ไดท้ ั้งรปู

3. เปดิ ไฟลห์ รอื ลิงก์ที่ขึน้ มาหลงั จากโปรแกรมได้อ่าน QR CODE

**หมายเหตุ อุปกรณท์ ่ใี ช้อ่าน QR CODE ต้องเปิด Internet ไวเ้ พื่อดงึ ขอ้ มูล

3. การใช้งานโปรแกรมประยุกตค์ วามจริงเสริม (ภาพเคล่ือนไหว 3 มิติ)

โปรแกรมประยุกต์ความจริงเสริม (Augmented reality) เป็นโปรแกรมท่ีสร้างข้ึนเพื่อเป็นส่ือเสริม

ช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาสาระของบทเรียนอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น สาหรับระดับประถมศึกษาปีท่ี 5 จะ

ใช้งานผ่านโปรแกรมประยุกต์ “วทิ ย์ ป.5” ซ่ึงสามารถดาวนโ์ หลดไดท้ าง Play Store หรือ Apps Store

**หมายเหตุ เน่ืองจากโปรแกรมมีขนาดไฟล์ที่ใหญ่ประมาณ 150 เมกะไบต์ หากพ้ืนท่ีจัดเก็บไม่เพียงพออาจ

ตอ้ งลบข้อมลู บางอยา่ งออกก่อนตดิ ตั้งโปรแกรม

ขน้ั ตอนการติดตั้งโปรแกรม

1. เขา้ ไปท่ี Play Store ( ) หรือ Apps Store ( )

2. คน้ หาคาว่า “AR วิทย์ ป.5”

3. กดเขา้ ไปท่โี ปรแกรมประยกุ ตท์ ี่ สสวท. พัฒนา

4. กด “ตดิ ตง้ั ” และรอจนตดิ ตง้ั เรยี บรอ้ ย

5. เข้าสู่โปรแกรมจะปรากฏหน้าแรก จากนั้นกด “วิธีการใช้งาน” เพ่ือศึกษาการใช้งานโปรแกรม

เบอื้ งต้นดว้ ยตนเอง

6. หลังจากศึกษาวิธีการใช้งานด้วยตนเองแล้ว กด “สแกน AR”

และเปิดหนังสอื เรียนหนา้ ท่มี ีสัญลกั ษณ์ AR

7. ส่องรูปท่ีอยู่บริเวณสัญลักษณ์ AR โดยมีระยะห่างประมาณ 10

เซนติเมตร และเลือกดภู าพในมุมมองตา่ ง ๆ ตามความสนใจ

⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรุง เดือนมถิ ุนายน 2562

ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 น

การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษา

นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแล้วมีความอยากรู้อยากเห็น
เกยี่ วกับส่ิงต่างๆ รอบตวั และเรยี นรู้ได้ดที ่สี ุดด้วยการค้นพบ จากการลงมือปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเองโดยอาศัยประสาท
สัมผัสทั้งห้า ดังน้ันการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาตอนต้น จึงควรให้โอกาสนักเรียนมีส่วนร่วม
ในการลงมือปฏิบตั ิ การสารวจตรวจสอบ การค้นพบ การตั้งคาถามเพ่ือนาไปสกู่ ารอภิปราย การแลกเปลี่ยนผล
การทดลองด้วยคาพูด หรอื ภาพวาด การอภปิ รายเพ่ือสรุปผลร่วมกัน สาหรบั นักเรยี นในระดับชั้นประถมศกึ ษา
ตอนปลาย (ป.4-ป.6) มีพัฒนาการทางสติปัญญาจากข้ันการคิดแบบรูปธรรมไปสู่ข้ันการคิดแบบนามธรรม
มีความสนใจในส่ิงต่าง ๆ รอบตัว และสนใจว่าสิ่งต่าง ๆ ถูกประกอบเข้าด้วยกันอย่างไร และทางานอย่างไร
นักเรียนในช่วงวัยน้ีต้องการโอกาสท่ีจะมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมกลุ่มโดยการทางานแบบร่วมมือ ดังนั้นจึง
ควรส่งเสริมให้นักเรียนทาโครงงานวิทยาศาสตร์ร่วมกันซ่ึงจะเป็นการสร้างความสามัคคี และประสานสัมพันธ์
ระหวา่ งนักเรียนในระดับน้ีดว้ ย

การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นการสืบเสาะหาความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์

การสืบเสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ หมายถึงวิธีการท่ีนักวิทยาศาสตร์ใช้เพื่อศึกษาส่ิงต่าง ๆ รอบตัวอย่าง
เป็นระบบ และเสนอคาอธิบายเกี่ยวกับสิ่งท่ีศึกษาด้วยข้อมูลท่ีได้จากการทางานทางวิทยาศาสตร์ มีวิธีการอยู่
หลากหลาย เช่น การสารวจ การสืบคน้ การทดลอง การสร้างแบบจาลอง

นักเรียนทุกระดับชัน้ ควรไดร้ ับโอกาสในการสืบเสาะหาความร้ทู างวทิ ยาศาสตรแ์ ละพัฒนาความสามารถในการ
คิดและแสดงออกด้วยวิธีการท่ีเชื่อมโยงกับการสืบเสาะหาความรู้ซึ่งรวมท้ังการตั้งคาถาม การวางแผนและดาเนินการ
สืบเสาะหาความรู้ การใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการรวบรวมข้อมูล การคิดอย่างมีวิจารณญาณและมี
เหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพยานหลักฐานและการอธิบาย การสร้างและวิเคราะห์คาอธิบายที่หลากหลาย
และการสื่อสารข้อโตแ้ ย้งทางวิทยาศาสตร์

การจัดการเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะหาความรู้ ควรมีหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบมีความต่อเน่ืองกัน
จากท่เี นน้ ครูเปน็ สาคญั ไปจนถึงเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ โดยแบ่งได้ดงั นี้

• การสืบเสาะหาความรู้แบบครูเป็นผู้กาหนดแนวทาง (Structured inquiry) ครูเป็นผู้ตั้งคาถามและบอก
วธิ ีการให้นักเรยี นคน้ หาคาตอบ ครชู ้ีแนะนกั เรียนทกุ ข้ันตอนโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

• การสืบเสาะหาความรู้แบบท้ังครูและนักเรียนเป็นผู้กาหนดแนวทาง (Guided inquiry) ครูเป็นผู้ตั้งคาถาม
และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจตรวจสอบให้กับนักเรียน นักเรียนจะเป็นผู้ออกแบบการทดลอง
ดว้ ยตัวเอง

• การสืบเสาะหาความรู้แบบนักเรียนเป็นผู้กาหนดแนวทาง (Open inquiry) นักเรียนทากิจกรรมตามท่ีครู
กาหนด นักเรยี นพัฒนาวิธี ดาเนินการสารวจ ตรวจสอบจากคาถามท่ีครูต้ังข้ึน นักเรียนต้ังคาถามในหัวข้อที่
ครเู ลอื ก พรอ้ มท้งั ออกแบบการสารวจตรวจสอบด้วยตนเอง

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื นมิถุนายน 2562 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

บ คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1

การสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในหอ้ งเรียน
เราสามารถจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในห้องเรียนโดยจัดโอกาสให้ นักเรียนได้สืบเสาะหาความรู้ทาง

วิทยาศาสตร์ตามที่หลักสูตรกาหนด ด้วยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตร์สืบเสาะ แต่อาจมี
รปู แบบท่หี ลากหลายตามบรบิ ทและความพร้อมของครูและนักเรียน เช่น การสืบเสาะหาความรูแ้ บบปลายเปิด
(Open inquiry) ที่นักเรียนเป็นผู้ควบคุมการสืบเสาะหาความรู้ของตนเองต้ังแต่การสร้างประเด็นคาถาม
การสารวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายส่ิงที่ศึกษาโดยใช้ข้อมูล (Data) หรือหลักฐาน (Evidence)
ที่ได้จากการสารวจตรวจสอบ การประเมินและเช่ือมโยงความรู้ท่ีเกี่ยวข้องหรือคาอธิบายอื่นเพื่อปรับปรุง
คาอธิบายของตนและนาเสนอต่อผู้อ่ืน นอกจากน้ี ครูอาจใช้การสืบเสาะหาความรู้ที่ตนเองเป็นผู้กาหนดแนว
ในการทากจิ กรรม (Structured inquiry) โดยครูสามารถแนะนานักเรียนไดต้ ามความเหมาะสม

การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ครูสามารถออกแบบการสอนให้มีลักษณะ
สาคญั ของการสบื เสาะ ดังน้ี

ภาพ วัฏจกั รการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ในห้องเรียน

⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดอื นมถิ นุ ายน 2562

คูม่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ป

การจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกบั ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์
และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เป็นลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตร์ท่ีมีความแตกต่างจากศาสตร์อ่ืน ๆ
เป็นค่านิยม ข้อสรุป แนวคิด หรือคาอธิบายที่บอกว่า วิทยาศาสตร์คืออะไร มีการทางานอย่างไร
นักวิทยาศาสตร์คือใคร ทางานอย่างไร และงานด้านวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์อย่างไรกับสังคม ค่านิยม
ข้อสรุป แนวคิด หรือคาอธบิ ายเหลา่ น้ีจะผสมกลมกลืนอยู่ในตวั วิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และการ
พัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น ความเข้าใจเก่ียวกับธรรมชาติ
ของวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ึนอยู่กับระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนและ
ประสบการณ์ที่ครูจดั ให้แก่นักเรียน ความสามารถในการสังเกตและการสื่อความหมายของนกั เรียนในระดับน้ี
ค่อย ๆ พัฒนาข้ึน ครูควรอานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และแนวคิด
ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน นักเรียนในระดับน้ีเร่ิมท่ีจะเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์คืออะไร วิทยาศาสตร์ทางาน
อย่างไร และนักวิทยาศาสตร์ทางานกันอย่างไรโดยผ่านการทากิจกรรมในห้องเรียน จากเรื่องราวเก่ียวกับ
นกั วิทยาศาสตร์ และจากการอภิปรายในหอ้ งเรียน

นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซึ่งกาลังพัฒนาฐานความรู้โดยใช้การสังเกตมากขึ้น สามารถ
นาความรู้มาใช้เพอ่ื กอ่ ใหเ้ กดิ ความคาดหวังเกย่ี วกับสิ่งต่าง ๆ รอบตวั โอกาสการเรยี นรู้สาหรับนักเรยี นในระดบั นี้
ควรเน้นไปที่ทักษะการต้ังคาถามเชิงวิทยาศาสตร์ การสร้างคาอธิบายที่มีเหตุผลโดยอาศัยพยานหลักฐานที่
ปรากฏ และการส่ือความหมายเก่ียวกับความคิดและการสารวจตรวจสอบของตนเองและของนักเรียนคนอ่ืนๆ
นอกจากน้ีเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์สามารถเพิ่มความตระหนักถึงความหลากหลายของคนในชุมชน
วิทยาศาสตร์ นักเรียนในระดับนี้ควรมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ช่วยให้เขาคิดอย่างมีวิจารณญาณเก่ียวกับ
พยานหลกั ฐานและความสมั พันธร์ ะหวา่ งพยานหลกั ฐานกับการอธิบาย

การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนแต่ละระดับชัน้ มีพฒั นาการเปน็ ลาดับดังนี้

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 สามารถ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 สามารถ
• ตั้งคาถาม บรรยายคาถาม เขยี นเก่ียวกับคาถาม • ออกแบบและดาเนินการสารวจตรวจสอบเพื่อ
• บั นทึ กข้อมู ลจากประสบการณ์ ส ารวจ
ตอบคาถามทไี่ ด้ต้งั ไว้
ตรวจสอบช้นั เรยี น • ส่ือความหมายความคิดของเขาจากสิ่งที่
• อภิปรายแลกเปลยี่ นหลกั ฐานและความคิด
• เรยี นรู้วา่ ทุกคนสามาเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ได้ สงั เกต
• อา่ นและการอภิปรายเรือ่ งราวต่าง ๆ เก่ียวกับ

วทิ ยาศาสตร์

ฉบับปรบั ปรุง เดือนมถิ นุ ายน 2562 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ผ คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 สามารถ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 สามารถ
• ทาการทดลองอย่างง่าย ๆ
• ต้งั คาถามทส่ี ามารถตอบไดโ้ ดยการใช้ • ใหเ้ หตผุ ลเก่ยี วกบั การสังเกต การสอื่
ฐานความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์และการสังเกต
ความหมาย
• ทางานในกลมุ่ แบบรว่ มมือเพื่อสารวจ • ลงมือปฏบิ ัตกิ ารทดลองและการอภปิ ราย
ตรวจสอบ • คน้ หาแหล่งข้อมลู ท่เี ชื่อถือได้และบรู ณาการ

• ค้นหาข้อมูลและการส่อื ความหมายคาตอบ ข้อมูลเหลา่ นัน้ กับการสังเกตของตนเอง
• ศกึ ษาประวตั กิ ารทางานของนักวทิ ยาศาสตร์
• สรา้ งคาบรรยายและคาอธบิ ายจากสงิ่ ท่ี
สงั เกต

• นาเสนอประวัติการทางานของ
นักวทิ ยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 สามารถ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 สามารถ

• สารวจตรอบสอบ • สารวจตรอบสอบท่เี นน้ การใช้ทักษะทาง
วทิ ยาศาสตร์
• ตง้ั คาถามทางวทิ ยาศาสตร์
• รวบรวมข้อมลู ที่เก่ียวข้อง การมองหาแบบ
• ตีความหมายข้อมลู และคิดอย่างมี แผนของขอ้ มูล การสอื่ ความหมายและการ
วิจารณญาณโดยมหี ลกั ฐานสนบั สนนุ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้
คาอธิบาย
• เข้าใจความแตกต่างระหว่างวิทยาศาสตร์
• เขา้ ใจธรรมชาติวทิ ยาศาสตร์จากประวตั กิ าร และเทคโนโลยี
ทางานของนักวิทยาศาสตรท์ ่ีมคี วามมานะ
อตุ สาหะ • เข้าใจการทางานทางวิทยาศาสตร์ผา่ น
ประวัติศาสตรข์ องนักวิทยาศาสตรท์ กุ เพศ
ที่มีหลายเช้ือชาติ วัฒนธรรม

สามารถอ่านข้อมูลเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะหาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์และการจัดการเรยี นรูท้ ่ีสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จากค่มู อื การใชห้ ลักสตู ร

http://ipst.me/8922

⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นมิถุนายน 2562

คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1 ฝ

การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

แนวคดิ สาคัญของการปฏริ ูปการศึกษาตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และ
ที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเปิด
โอกาสให้นักเรียนคิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
เต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน
หอ้ งเรยี น เพราะสามารถทาให้ครปู ระเมนิ ระดบั พัฒนาการการเรียนรขู้ องนักเรียนได้

กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสารวจภาคสนาม กิจกรรมการสารวจ
ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาค้นคว้า กิจกรรมศึกษาปัญหาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร์ อย่างไร
ก็ตามในการทากิจกรรมเหล่าน้ีต้องคานึงว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพแตกต่างกัน นักเรียนจึงอาจทางาน
ชนิ้ เดียวกันได้สาเร็จในเวลาท่ีแตกต่างกัน และผลงานที่ได้กอ็ าจแตกต่างกนั ดว้ ย เมอื่ นักเรยี นทากิจกรรมเหลา่ นี้
แล้วก็ต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ช้ินงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติต่าง ๆ เจตคติทาง
วทิ ยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความรัก ความซาบซ้ึง กิจกรรมท่ีนักเรียนได้ทาและผลงานเหล่านี้ต้องใช้
วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกันเพ่ือช่วยให้สามารถประเมินความรู้ความสามารถและความรู้สึก
นึกคิดที่แท้จริงของนักเรียนได้ การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อมีการประเมินหลายๆ ด้าน
หลากหลายวิธี ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับชีวติ จริง และตอ้ งประเมินอย่างตอ่ เน่ือง เพื่อจะได้ข้อมูลท่ี
มากพอที่จะสะท้อนความสามารถที่แท้จรงิ ของนักเรียนได้

จดุ ม่งุ หมายหลกั ของการวดั ผลและประเมินผล

1. เพ่ือค้นหาและวินิจฉัยว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาวิทยาศาสตร์ มีทักษะความชานาญใน
การสารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างไรและในระดับใด เพื่อเป็น
แนวทางให้ครูสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนได้
อย่างเต็มศักยภาพ

2. เพอ่ื ใช้เป็นขอ้ มูลยอ้ นกลับสาหรบั นักเรยี นว่ามีการเรยี นรู้อย่างไร
3. เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียน และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของนักเรียน
แต่ละคน
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพ่ือค้นหาและวินิจฉัย การประเมิน
เพ่ือปรบั ปรุงการเรียนการสอน และการประเมินเพือ่ ตัดสินผลการเรียนการสอน
การประเมนิ เพ่ือค้นหาและวินิจฉัย เป็นการประเมินเพ่ือบ่งช้กี ่อนการเรียนการสอนว่า นักเรียนมีพ้ืน
ฐานความรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะ เจตคติ และแนวคิดที่คลาดเคลื่อนอะไรบ้าง การประเมินแบบนี้สามารถบ่งชี้
ได้ว่านักเรียนคนใดต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษในเร่ืองที่ขาดหายไป หรือเป็นการประเมินเพื่อพัฒนา
ทักษะที่จาเป็นก่อนที่จะเรียนเร่ืองต่อไป การประเมินแบบน้ียังช่วยบ่งชี้ทักษะหรือแนวคิดท่ีมีอยู่แล้วของ
นักเรยี นอีกดว้ ย การประเมินเพ่ือปรบั ปรุงการเรยี นการสอน เปน็ การประเมนิ ในระหว่างชว่ งทมี่ กี ารเรียนการสอน การ

ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนมถิ นุ ายน 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

พ คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

ประเมินแบบนี้จะช่วยบ่งชี้ระดับท่ีนักเรียนกาลังเรียนอยู่ในเรื่องท่ีได้สอนไปแล้ว หรือบ่งชี้ความรู้ของนักเรียนตาม
จุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีได้วางแผนไว้ เป็นการประเมินที่ให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนและกับครูว่าเป็นไปตาม
แผนการทวี่ างไว้หรอื ไม่ ข้อมลู ที่ไดจ้ ากการประเมนิ แบบน้ไี มใ่ ชเ่ พอ่ื เป้าประสงค์ในการใหร้ ะดับคะแนน แต่เพือ่ ชว่ ยครู
ในการปรับปรงุ การสอน และเพอื่ วางแผนประสบการณ์ต่างๆ ทีจ่ ะให้กบั นกั เรียนต่อไป

การประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอน เกิดข้ึนเม่ือสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว ส่วนมากเป็น “การ
สอบ” เพื่อให้ระดับคะแนนแก่นักเรียน หรือเพ่ือให้ตาแหน่งความสามารถของนักเรียน หรือเพ่ือเป็นการบ่งช้ี
ความก้าวหน้าในการเรียน การประเมินแบบนี้ถือว่ามีความสาคัญในความคิดของผู้ปกครองนักเรียน ครู ผู้บริหาร
อาจารย์แนะแนว ฯลฯ แต่ก็ไม่ใช่เป็นการประเมินภาพรวมท้ังหมดของความสามารถของนักเรยี น ครูต้องระมัดระวัง
เมอ่ื ประเมนิ ผลรวมเพอ่ื ตดั สนิ ผลการเรียนของนักเรยี น ทัง้ นี้เพื่อให้เกดิ ความสมดลุ ความยุตธิ รรม และเกดิ ความตรง

การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับสิ่งอ้างอิง ส่วนมากการประเมินมักจะ
อ้างอิงกลุ่ม (Norm reference) คือเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุ่มหรือ
คะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ การประเมินแบบกลุ่มนี้จะมี “ผู้ชนะ” และ “ผู้แพ้” อย่างไรก็ตามการประเมินแบบ
อิงกลุ่มน้ีจะมีนักเรียนครึ่งหน่ึงที่อยู่ต่ากว่าระดับคะแนนเฉล่ียของกลุ่ม นอกจากนี้ยังมีการประเมินแบบอิงเกณฑ์
(Criterion reference) ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑ์ที่ตั้งเอาไว้โดยไม่คานึงถึง
คะแนนของนักเรียนคนอ่ืนๆ ฉะนั้นจุดมุ่งหมายในการเรียนการสอนจะต้องชัดเจนและมีเกณฑ์ท่ีบอกให้ทราบว่า
ความสามารถระดับใดจึงจะเรียกว่าบรรลุถึงระดับ “รอบรู้” โดยท่ีนักเรียนแต่ละคน หรือชั้นเรียนแต่ละชั้น หรือ
โรงเรียนแต่ละโรงจะได้รับการตัดสินว่าประสบผลสาเร็จก็ต่อเมื่อ นักเรียนแต่ละคน หรือช้ันเรียนแต่ละช้ัน หรือ
โรงเรียนแต่ละโรงได้สาธิตผลสาเร็จ หรือสาธิตความรอบรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือตามเกณฑ์ที่ต้ังไว้ ข้อมูล
ที่ใช้สาหรับการประเมินเพื่อวินิจฉัย หรือเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอน
สามารถใช้การประเมินแบบอิงกลุ่มหรืออิงเกณฑ์ เท่าที่ผ่านมาการประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอนจะใช้
การประเมนิ แบบอิงกล่มุ

แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การเรียนรู้จะบรรลุตามเปา้ หมายของการจัดกิจกรรมการเรียนร้ทู ่ีวางไว้ ควรมีแนวทางดังต่อไปนี้
1. วัดและประเมินผลทั้งความรู้ความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม

คา่ นิยมดา้ นวทิ ยาศาสตร์ รวมท้งั โอกาสในการเรียนร้ขู องนักเรียน
2. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลต้องสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนร้ทู ่ีกาหนดไว้
3. เก็บขอ้ มลู จากการวัดและประเมินผลอยา่ งตรงไปตรงมา และตอ้ งประเมินผลภายใตข้ ้อมลู ท่มี ีอยู่
4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนต้องนาไปสู่การแปลผลและลงข้อสรุปที่

สมเหตสุ มผล
5. การวัดและประเมนิ ผลตอ้ งมีความเที่ยงตรงและเป็นธรรม ท้ังในดา้ นของวิธีการวัดและโอกาสของการประเมนิ

⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรับปรงุ เดือนมถิ ุนายน 2562

คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ฟ

วธิ กี ารและแหลง่ ข้อมลู ที่ใชใ้ นการวดั ผลและประเมนิ ผล

เพื่อใหก้ ารวัดผลและประเมินผลได้สะท้อนความสามารถท่ีแทจ้ ริงของนักเรยี น ผลการประเมินอาจ
ได้มาจากแหล่งข้อมูลและวิธีการตา่ งๆ ดงั ต่อไปนี้

1. สงั เกตการแสดงออกเปน็ รายบคุ คลหรือรายกลุ่ม
2. ช้ินงาน ผลงาน รายงาน
3. การสัมภาษณท์ ้ังแบบเปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ
4. บันทึกของนักเรียน
5. การประชมุ ปรกึ ษาหารือรว่ มกันระหวา่ งนักเรยี นและครู
6. การวัดและประเมนิ ผลภาคปฏิบตั ิ
7. การวดั และประเมนิ ผลดา้ นความสามารถ
8. การวัดและประเมินผลการเรยี นร้โู ดยใชแ้ ฟม้ ผลงาน

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื นมถิ ุนายน 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ภ คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1

ตารางแสดงความสอดคลอ้ งระหว่างเน้ือหาและกิจกรรม ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เล่ม 1
กับตัวชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

หน่วยการเรยี นรู้ ช่อื กจิ กรรม เวลา ตัวชวี้ ดั
หนว่ ยที่ 1 การ (ช่ัวโมง) -
เรยี นรสู้ ิ่งต่าง ๆ บทที่ 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
รอบตัว เรื่องท่ี 1 เสน้ ทางของขยะจากมือเรา 1
1
หนว่ ยที่ 2แรงและ กิจกรรมท่ี 1 จดั กระทาและส่อื ความหมาย 3
พลงั งาน ขอ้ มลู และสรา้ งแบบจาลองไดอ้ ยา่ งไร
กจิ กรรมท้ายบทท่ี 1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 0.5

บทที่ 1 แรงลพั ธแ์ ละแรงเสียดทาน 0.5 • อธบิ ายวธิ กี ารหาแรงลัพธข์ อง
เร่อื งท่ี 1 แรงลพั ธ์ 0.5 แรงหลายแรงในแนวเดียวกันท่ี
3 กระทาต่อวตั ถุในกรณีทวี่ ัตถุอยู่
กจิ กรรมที่ 1 หาแรงลพั ธ์ท่ีกระทาต่อวตั ถุได้
อย่างไร น่ิงจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์
เรอ่ื งที่ 2 แรงเสยี ดทาน 0.5 • เขียนแผนภาพแสดงแรงที่
กิจกรรมท่ี 2 แรงเสียดทานมีผลตอ่ วัตถุ 2.5 กระทาต่อวัตถุท่ีอย่ใู นแนว
อย่างไร
กิจกรรมท้ายบทท่ี 1 แรงลพั ธ์และแรงเสยี ดทาน เดียวกันและแรงลัพธ์ที่กระทา
0.5 ต่อวัตถุ

• ใช้เครื่องชัง่ สปริงในการวัดแรงที่
กระทาต่อวัตถุ

• ระบุผลของแรงเสียดทานท่ีมตี ่อ
การเปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่
ของวัตถุจากหลกั ฐานเชิง
ประจกั ษ์

• เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสียด
ทานและแรงที่อยู่ในแนว
เดียวกันที่กระทาต่อวตั ถุ

• อธิบายการไดย้ ินเสยี งผ่าน
ตวั กลางจากหลักฐานเชิง
ประจกั ษ์

• ระบตุ วั แปร ทดลอง และอธบิ าย
ลักษณะและการเกิดเสียงสูง

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรุง เดือนมถิ ุนายน 2562

คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ม

หนว่ ยการเรยี นรู้ ชอ่ื กจิ กรรม เวลา ตัวชี้วดั
(ชว่ั โมง)
หนว่ ยท่ี 3 การ บทท่ี 2 เสียง เสียงต่า
เปลีย่ นแปลงของสาร เร่ืองท่ี 1 เสียงกบั การได้ยิน 1 • ออกแบบการทดลองและอธบิ าย
1
กจิ กรรมท่ี 1.1 เสยี งเคลื่อนที่ได้อย่างไร 2 ลักษณะและการเกิดเสียงดัง
กจิ กรรมท่ี 1.2 เสียงสูง เสยี งตา่ เกิดได้อยา่ งไร 2 เสยี งค่อย
กิจกรรมท่ี 1.3 เสยี งดัง เสยี งค่อย ขึน้ อยกู่ ับ 2 • วดั ระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวดั
อะไร 2 ระดับเสียง
กจิ กรรมท่ี 1.4 มลพษิ ทางเสียงเปน็ อยา่ งไร 1 • ตระหนักในคุณค่าของความรู้
กิจกรรมท้ายบทท่ี 2 เสยี ง เรอื่ งระดับเสยี งโดยเสนอแนะ
0.5 แนวทางในการหลีกเล่ียงและลด
บทที่ 1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ 0.5 มลพิษทางเสียง
เร่อื งท่ี 1 การเปลีย่ นสถานะ 1 • อธบิ ายการไดย้ ินเสยี งผ่าน
1 ตัวกลางจากหลักฐานเชิง
กิจกรรมท่ี 1.1 น้าแขง็ มีการเปลีย่ นสถานะ ประจักษ์
อยา่ งไร • ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบาย
กจิ กรรมที่ 1.2 น้าผลไมเ้ ปน็ เกลด็ นา้ แข็งได้ ลักษณะการเกิดเสยี งสงู เสยี งต่า
อย่างไร • ออกแบบการทดลองและอธบิ าย
ลักษณะการเกิดเสียงดัง เสยี ง
ค่อย
• วัดระดับเสียงโดยใช้เคร่ืองมือวัด
ระดับเสียง
• ตระหนักในคุณค่าของความรู้
เรอ่ื งระดับเสียงโดยเสนอแนะ
แนวทางในการหลีกเล่ียงและลด
มลพิษทางเสียง
• อธิบายการเปล่ยี นสถานะของ
สสาร เมือ่ ทาใหส้ สารร้อนขน้ึ
หรือเย็นลง โดยใช้หลกั ฐานเชิง
ประจกั ษ์
• อธบิ ายการละลายของสารในน้า
โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์

ฉบับปรับปรงุ เดอื นมิถนุ ายน 2562 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ย คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

หนว่ ยการเรียนรู้ ช่ือกิจกรรม เวลา ตัวช้วี ัด
(ชวั่ โมง)
กจิ กรรมที่ 1.3 พมิ เสนมีการเปลยี่ นสถานะ
อย่างไร 1
เรื่องท่ี 2 การละลาย
กจิ กรรมที่ 2 การละลายเป็นอย่างไร 1
กิจกรรมท้ายบทท่ี 1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ 1
1

บทท่ี 2 การเปลีย่ นแปลงทางเคมี 1 • วเิ คราะห์การเปลี่ยนแปลงของ
เรอ่ื งที่ 1 การเปลี่ยนแปลงทางเคมี 1 สารเม่ือเกิดการเปลย่ี นแปลงทาง
1 เคมี โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
กจิ กรรมท่ี 1.1 การเปลี่ยนแปลงทางเคมีคือ
อะไร 1 • วเิ คราะห์และระบุการ
กจิ กรรมที่ 1.2 รู้ได้อย่างไรว่าเกดิ การ เปลีย่ นแปลงทผ่ี ันกลบั ได้และ
เปลย่ี นแปลงทางเคมี 1 การเปลยี่ นแปลงทีผ่ นั กลับไม่ได้
กจิ กรรมท้ายบทที่ 2 การเปล่ียนแปลงทางเคมี 1
บทท่ี 3 การเปล่ียนแปลงทีผ่ ันกลบั ได้และผนั กลับไม่ได้ 1
เรื่องท่ี 1 การเปล่ยี นแปลงท่ผี ันกลบั ได้และผันกลับไมไ่ ด้ 1
กจิ กรรมท่ี 1 ผนั กลบั ได้และผันกลับไม่ได้เป็น
อย่างไร 1
กจิ กรรมท้ายบทที่ 3 การเปล่ียนแปลงทผี่ นั กลบั ไดแ้ ละผัน
กลับไม่ได้ 40
รวมจานวนช่ัวโมง

หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาที่ใช้ และสิ่งท่ีต้องเตรยี มลว่ งหนา้ นัน้ ครสู ามารถปรบั เปล่ยี นเพิ่มเติมไดต้ ามความ
เหมาะสมของสภาพท้องถน่ิ

⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรุง เดอื นมิถนุ ายน 2562

คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ร

รายการวสั ดอุ ุปกรณว์ ิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

ลาดับที่ รายการ จานวน/กลมุ่ จานวน/ห้อง จานวน/คน

หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้สงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัว

1 กระดาษปรฟู๊ 1 แผน่
1 กล่อง
2 ดนิ สอสี 1 อัน
1 แทง่
3 ไมบ้ รรทัด 1 อนั
1 ุถุง
4 ดินสอ 1 ม้วน

5 ตลบั เมตรหรอื ไม้เมตร

6 ลกู ปดั

7 เชือกไหมพรม

8 นา้ มนั หอมระเหย เชน่ เมนทอล 1 ขวด

หน่วยที่ 2 แรงและพลงั งาน

1 เคร่อื งช่งั สปรงิ 3 อัน
1 ถงุ
2 ถุงทราย 500 กรัม 1 มว้ น
1 แผน่
3 เชือกฟอกขาว 1 เลม่
1 ใบ
4 กระดาษแข็งขนาด A4 1 อัน
1 ชดุ
5 กรรไกร 1 ใบ
1 ถัง
6 ถุงพลาสติกมหี หู ิ้ว
1 มว้ น
7 ไมบ้ รรทัด 1 อนั
2 อัน
8 สอ้ มเสียงพร้อมไม้เคาะ 2 ใบ
1 เสน้
9 ภาชนะใส่นา้ 1 อนั

10 นา้ สี

11 เสน้ เอ็น

12 เขม็ หมุด

13 ลวดเสยี บกระดาษ

14 แกว้ พลาสตกิ

15 สายวดั

16 ไมบ้ รรทดั พลาสตกิ แขง็

ฉบบั ปรับปรุง เดือนมิถนุ ายน 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ล คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1

ลาดับที่ รายการ จานวน/กลมุ่ จานวน/หอ้ ง จานวน/คน
2 ใบ 1 เครอ่ื ง
17 ขวดแก้ว 1 อัน
10 เมล็ด
18 ไม้เคาะ 1 ใบ

19 เมลด็ ถวั่ เขยี ว 1 เครอ่ื ง
1 แผน่
20 กลอ่ งกระดาษ 1 ชดุ

21 วทิ ยุ

22 เครือ่ งวัดระดบั เสยี งหรอื แอพพลิเคชัน่ วัดระดับเสยี ง

23 กระดาษโปสเตอร์

24 ปากกาเคมคี ละสี

หนว่ ยท่ี 3 การเปล่ียนแปลงของสาร

1 น้าแขง็ ก้อนเล็ก ๆ 1 กิโลกรัม
1 ถงุ
2 ถงุ พลาสติกใส 1 เสน้
1 กระป๋อง
3 ยางรัดของ 1 ชดุ
1 กลกั
4 กระป๋องทรายสาหรับดบั ไฟ 1 ขวด
1 ขวด/กระป๋อง
5 ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 15 กรัม
1 ใบ
6 ไม้ขีดไฟ 12 ใบ
ุ1 คัน
7 ขวดรปู กรวย ขนาด 250 ml 5 ใบ
5 คัน
8 นา้ ผลไม้ 10 กรัม
5 กรัม
9 เกลือแกง 5 ml
10 กรมั
10 อ่างพลาสติก 5 ml

11 แกว้ พลาสติกใส

12 ชอ้ นโลหะ

13 บีกเกอร์ ขนาด 250 ml

14 ชอ้ นตักสารเบอร์ 2

15 พมิ เสน

16 แปง้ มนั

17 นา้ มนั พชื

18 น้าตาลทราย

19 เอทิลแอลกอฮอล์

⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดือนมถิ ุนายน 2562

ค่มู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 ว

ลาดับที่ รายการ จานวน/กลมุ่ จานวน/หอ้ ง จานวน/คน
20 จานหลมุ โลหะ 1 อัน
21 ชอ้ นพลาสติก 3 คนั
22 นา้ ปนู ใส 10 ml
23 แอมโมเนียมคลอไรด์ 10 กรมั
24 สารละลายผงฟู 10 ml
25 นา้ สม้ สายชู 10 ml
26 ผงฟู 10 กรมั
27 ปนู ขาว 10 กรมั
28 บีกเกอร์ ขนาด 125 ml 3 ใบ
29 ขวดแก้วปากแคบ 1 ขวด
30 แทง่ แก้วคน 3 อนั
31 กระบอกตวง ขนาด 100 ml 2 อัน
32 พาราฟนิ 10 กรมั
33 กระดาษ 1 แผน่
34 ถ้วยกระเบ้ืองทนไฟ 1 ถว้ ย
35 ปากคีบ 1 อนั
36 แบบพมิ พ์ 2 อัน

ฉบับปรับปรุง เดือนมิถนุ ายน 2562 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

1 คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนร้สู งิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั

หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว

ภาพรวมการจัดการเรยี นรูป้ ระจาหนว่ ยท่ี 1 การเรียนรสู้ ิ่งต่าง ๆ รอบตวั

บท เรือ่ ง กิจกรรม ลาดบั การจัดการเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ัด

บทที่ 1 ทกั ษะ เรือ่ งท่ี 1 เสน้ ทาง กิจกรรมที่ 1 จดั • ก า ร เรี ย น รู้ ส่ิ งต่ า ง ๆ -
กระบวนการทาง ของขยะจากมือ กระทาและสื่อ ร อ บ ตั ว อ า จ ต้ อ ง อ า ศั ย
วิทยาศาสตร์ เรา ความหมายข้อมูลและ ทักษะกระบวนการทาง
สร้างแบบจาลองได้ วิทยาศาสตร์
อย่างไร
• การจัดกระทาและส่ือ
ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล เป็ น
ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์อย่างหนึ่งซ่ึง
เป็นการนาข้อมูลมาจัด
กระทาให้อยู่ในรูปแบบที่
ชดั เจน เขา้ ใจง่าย

• การสร้างแบบจาลองเป็น
การสร้างบางส่ิงบางอย่าง
ข้ึนมาเป็นตัวแทนของสิ่ง
ต่าง ๆ โดยมีจุดประสงค์
เพื่ อ ส่ื อ ส าร บ รรย าย
อธิบาย หรือพยากรณ์ส่ิง
นนั้ ๆ

ร่วมคดิ รว่ มทา

⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรับปรุง เดอื นมิถุนายน 2562

คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรูส้ ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั 2

ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื นมถิ ุนายน 2562 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

3 คูม่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นร้สู ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว

บทท่ี 1 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

จุดประสงคก์ ารเรียนรปู้ ระจาบท บทนมี้ ีอะไร
เมอ่ื เรียนจบบทน้ี นักเรียนสามารถ
1. อธิบายและใช้ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมาย เรือ่ งที่ 1
กิจกรรมท่ี 1
ขอ้ มูล
2. อธิบายและใช้ทักษะการสร้างแบบจาลองในการ

นาเสนอแนวคดิ ต่าง ๆ
3. ใช้การพยากรณ์ในการคาดการณส์ ่ิงตา่ ง ๆ

เวลา 5.5 ชวั่ โมง
แนวคดิ สาคญั

การจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล การสร้าง
แบบจาลองและ การพยากรณ์เป็นทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ซ่ึงสามารถนามาใช้ในการสืบเสาะหาความรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื ตอบคาถามท่ีอยากรู้เกี่ยวกบั สง่ิ ต่าง ๆ

สือ่ การเรยี นรแู้ ละแหล่งเรียนรู้ หน้า 1-23 เส้นทางของขยะจากมือเรา
หนา้ 1-21 จัดกระทาและส่ือความหมายข้อมูลและ
1. หนังสือเรียน ป. 5 เล่ม 1 สร้างแบบจาลองไดอ้ ยา่ งไร
2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป. 5 เล่ม 1

⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรุง เดอื นมิถุนายน 2562

ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรูส้ งิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั 4

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21

รหัส ทักษะ กิจกรรมที่
1
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสังเกต 
S2 การวัด 
S3 การใชจ้ านวน
S4 การจาแนกประเภท 
S5 การหาความสัมพันธร์ ะหวา่ ง 

 สเปซกับสเปซ 
 สเปซกับเวลา 
S6 การจดั กระทาและส่อื ความหมายขอ้ มูล
S7 การพยากรณ์
S8 การลงความเห็นจากข้อมลู
S9 การต้งั สมมติฐาน
S10 การกาหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ตั ิการ
S11 การกาหนดและควบคุมตัวแปร
S12 การทดลอง
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป
S14 การสรา้ งแบบจาลอง

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

C1 การสร้างสรรค์
C2 การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ
C3 การแก้ปัญหา
C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมอื
C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

หมายเหตุ: รหัสทักษะทปี่ รากฏนี้ ใชเ้ ฉพาะหนงั สือคูม่ ือครูเลม่ นี้

ฉบับปรบั ปรงุ เดอื นมถิ นุ ายน 2562 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

5 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว

แนวคิดคลาดเคลือ่ น

แนวคิดคลาดเคลื่อนท่ีอาจพบและแนวคดิ ท่ีถูกตอ้ งในบทท่ี 1 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ มีดงั ต่อไปน้ี

แนวคดิ คลาดเคลือ่ น แนวคดิ ท่ีถูกต้อง

แบบจาลองทส่ี ร้างขึน้ ต้องเหมือนของจริงมากท่ีสดุ แบบจาลองไม่จาเป็นต้องเหมือนของจรงิ มากท่ีสุด เน่ืองจาก
(ลฎาภา และลือชา, 2560) แบบจาลองเป็นการเลือกเป้าหมายบางอย่างจากของจรงิ นั้น ๆ
มาสอื่ สารหรอื อธิบายเทา่ น้นั ดังน้ันลกั ษณะบางอยา่ งของของจรงิ
ก็ไม่ไดแ้ สดงใหเ้ หน็ ในแบบจาลองทส่ี รา้ งขึ้น (ลฎาภา และลือชา,
2560)

แบบจาลองต้องเปน็ วัตถุหรือสิ่งของที่เปน็ รูปธรรมเทา่ นนั้ แบบจาลองไมจ่ าเปน็ ต้องเป็นวัตถุส่งิ ของที่เป็นรปู ธรรม เชน่
(ภรทพิ ย์, ชาตรี และพจนารถ, 2557) รปู ป้นั แผนภาพ แบบจาลองอาจเป็นนามธรรม เช่น คาพูด สตู ร
หรอื สมการตา่ ง ๆ ก็ได้ (ภรทิพย์, ชาตรี และพจนารถ, 2557)

ถ้าครูพบว่ามีแนวคิดคลาดเคลอ่ื นใดท่ยี งั ไม่ได้แก้ไขจากการทากจิ กรรมการเรยี นรู้ ครูควรจัดการเรียนรู้เพ่ิมเติมเพ่อื แก้ไข
แนวคิดทคี่ ลาดเคลื่อนให้ถกู ต้อง

⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับปรบั ปรงุ เดือนมิถนุ ายน 2562

คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรสู้ ่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว 6

บทน้เี รม่ิ ต้นอยา่ งไร (1 ชวั่ โมง) ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม

1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเก่ียวกับทักษะการจาแนกประเภท การใช้ ครูให้ความรู้เก่ียวกับร้อยละ โดยใช้ตาราง
จานวนและตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับทักษะการจัดกระทาและ ร้อยในการอคธิบราู รยั บ ฟั ง เห ตุ ผ ล ข อ ง
ส่ือความหมายข้อมูลโดยใช้สถานการณ์ต่อไปนี้ แต่ละวัน เราทาให้
เกิดขยะมูลฝอยมากมาย เช่น เศษอาหาร ถุงพลาสติก ขวดน้า นกั เรียนเปน็ สาคญั ครูยังไม่เฉลย
แบตเตอรี หลอดไฟ ขยะแบ่งตามประเภทของขยะได้ 4 ประเภท คาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้หา
ได้แก่ ขยะย่อยสลายได้ ขยะรีไซเคิล ขยะท่ัวไป และขยะอันตราย คาตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรม
หรือขยะพิษ ขยะแต่ละประเภทมีปริมาณแตกต่างกันคือ ขยะย่อย ต่าง ๆ ในบทเรียนน้ี
สลายได้มีร้อยละ 46 ขยะรีไซเคิลมีร้อยละ 42 ขยะท่ัวไปมีร้อยละ
9 และขยะอันตรายหรือขยะพิษมีร้อยละ 3 จากน้ันครูตรวจสอบ ถ้าขยะทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อย
ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ สลายได้ ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะ
คาถามดังนี้ อันตราย มีปริมาณรวมกนั ท้ังหมด 100 ส่วน
1.1 จากข้อมูลข้างต้น ขยะจาแนกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง ใช้อะไร จะเป็นขยะย่อยสลายได้ 46 ส่วน จาก 100
เปน็ เกณฑ์ในการจาแนก (ขยะจาแนกได้ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะ ส่วน หรือคิดเป็นร้อยละ 46 ของปริมาณ
ย่อยสลายได้ ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะอันตรายหรือขยะ ขยะทั้งหมด เป็นขยะรีไซเคิล 42 ส่วน จาก
พิษ โดยใชป้ ระเภทของขยะเป็นเกณฑ์) 100 ส่วน หรือคิดเป็นร้อยละ 42 ของ
1.2 ขยะท่ัวไปมีปริมาณน้อยกว่าขยะย่อยสลายได้ร้อยละเท่าใด ปริมาณขยะทั้งหมด เป็นขยะท่ัวไป 9 ส่วน
(รอ้ ยละ 37) จาก 100 ส่วน หรือคิดเป็นร้อยละ 9 ของ
1.3นักเรียนคิดว่าจากข้อมูลนี้ นักเรียนสามารถนามาจัดกระทาได้ ปริมาณขยะทั้งหมด เป็นขยะอันตราย 3
อย่างไรเพ่ือให้เข้าใจไดถ้ ูกตอ้ งและรวดเร็วขึ้น (นกั เรียนตอบตาม ส่วน จาก 100 ส่วน หรือคิดเป็นร้อยละ 3
ความเขา้ ใจ) ของปริมาณขยะทง้ั หมด

2. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการพยากรณ์และตรวจสอบความรู้ ถ้าในตาราง 1 ชอ่ ง แทน ขยะ 1 ส่วน
เก่ยี วกับการสร้างแบบจาลอง โดยใช้คาถามในการอภิปรายดงั นี้ จะแสดงปรมิ าณขยะแต่ละประเภทไดด้ ังน้ี
2.1 การพยากรณ์หมายถึงอะไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจซ่ึง
ควรตอบได้ว่าการพยากรณ์เป็นการคาดการณ์เหตุการณ์ท่ีจะ ขยะยอ่ ยสลายได้
เกิดขึ้นโดยอาศยั ประสบการณ์หรอื ข้อมลู ทร่ี วบรวมไว้)
2.2 นักเรียนรู้จักแบบจาลองหรือไม่ แบบจาลองมีลักษณะอย่างไร ขยะรีไซเคิล
บ้าง เหตุใดจึงคิดว่าสิ่งน้ันเป็นแบบจาลอง (นักเรียนตอบตาม
ความเข้าใจ) ขยะอนั ตราย ขยะทั่วไป
2.3 อะไรบ้างท่ีเป็นแบบจาลอง ยกตัวอย่าง (นักเรียนตอบตามความ
เข้าใจ)

ฉบับปรับปรงุ เดอื นมถิ นุ ายน 2562 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

7 คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สิง่ ต่าง ๆ รอบตวั

2.4 แบบจาลองสร้างข้ึนมาเพ่ือวัตถุประสงค์ใด (นักเรียนตอบตาม
ความเขา้ ใจ)

3. ครชู ักชวนนกั เรียนศึกษาเรือ่ งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดย
นักเรียนอ่านช่ือหน่วย และอ่านคาถามสาคัญประจาหน่วยใน
หนังสือเรียนดังน้ี “ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทาให้เรียนรู้
ส่ิงต่าง ๆ ได้อย่างไร” นักเรียนตอบคาถามตามความเข้าใจโดยครูยัง
ไม่ต้องเฉลยคาตอบ แต่จะให้นักเรียนย้อนกลับมาตอบอีกครั้ง
หลงั จากเรยี นจบหนว่ ยนีแ้ ล้ว

4. นักเรียนอ่าน ชื่อบท และจุดประสงค์การเรียนรู้ประจาบท ใน
หนังสือเรียนหน้า 1 จากน้ันครูตรวจสอบความเข้าใจด้วยคาถาม
ต่อไปนี้
4.1 บทน้ีนักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (ทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์)
4.2 จากจุดประสงค์การเรียนรู้เม่ือเรียนจบบทน้ี นักเรียนสามารถ
ทาอะไรได้บ้าง (สามารถอธิบายและใช้ทักษะการจัดกระทาและ
สอ่ื ความหมายข้อมูล ทักษะการสรา้ งแบบจาลองในการนาเสนอ
แนวคิดทางวิทยาศาสตร์และทักษะการพยากรณ์เพ่ือคาดการณ์
สิ่งต่าง ๆ)

5. นักเรียนอ่านชื่อบทและแนวคิดสาคัญ ในหนังสือเรียนหน้า 2
จากน้ันครูใช้คาถามว่า จากการอ่านแนวคิดสาคัญ นักเรียนคิดว่าจะ
ได้เรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง (ในบทน้ีจะได้เรียนเรื่องทักษะการจัด
กระทาและส่ือความหมายข้อมูล การสร้างแบบจาลองและทักษะการ
พยากรณ)์

6. ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตรูป และอ่านเน้ือเรอื่ งในหนังสือเรียนหน้า
3 โดยครูเลือกใช้วิธีการฝึกอ่านตามความเหมาะสมกับความสามารถ
ของนักเรียน แล้วตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน โดยใช้คาถาม
ดงั ตอ่ ไปนี้
6.1 จากรูปเป็นการนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับอะไร (เก่ียวกับประเภท
ของขยะ)
6.2 ขยะแบ่งได้กี่ประเภทอะไรบ้าง (4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อย
สลายได้ ขยะรีไซเคลิ ขยะทวั่ ไป และขยะอนั ตรายหรอื ขยะพษิ )

⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรุง เดอื นมิถุนายน 2562


Click to View FlipBook Version