The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-08-03 13:01:58

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

โปรแกรมออนไลนเ์ พ่ือเสรมิ พลงั ความรู้ของครู
สูก่ ารพัฒนาทักษะความรว่ มมือของนักเรียน

พระมหาอาพล ธนปญโฺ (ชยั สารี)

ดุษฎีนิพนธ์น้ีเป็นสว่ นหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสตู รศึกษาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต
สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา

คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั
พทุ ธศกั ราช 2565

โปรแกรมออนไลนเ์ พ่ือเสรมิ พลงั ความรู้ของครู
สูก่ ารพัฒนาทักษะความรว่ มมือของนักเรียน

พระมหาอาพล ธนปญโฺ (ชยั สารี)

ดุษฎีนิพนธ์น้ีเป็นสว่ นหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสตู รศึกษาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต
สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา

คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั
พทุ ธศกั ราช 2565

ONLINE PROGRAM TO EMPOWER TEACHERS’ KNOWLEDGE TO
DEVELOP STUDENTS’ COLLABORATIVE SKILLS

PHRAMAHA AMPOL DHANAPAÑÑO (CHAISAREE)

A DISSERTATION SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS
FOR THE DOCTOR DEGREE OF EDUCATION

PROGRAM IN EDUCATIONAL ADMINISTRATION
FACULTY OF EDUCATION

MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY
2022







บทคัดยอ่

หัวขอ้ ดษุ ฎนี ิพนธ์ : โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะ
ความร่วมมอื ของนักเรียน
ชือ่ นักศกึ ษา
ชอื่ ปรญิ ญา : พระมหาอาพล ธนปญโฺ (ชัยสาร)ี
สาขาวิชา : ศกึ ษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
ปีพุทธศักราช : การบรหิ ารการศึกษา
อาจารย์ท่ีปรึกษา : 2565
: พระครูสุธีจริยวฒั น์, ผศ.ดร.

การวิจัยในครั้งนมี้ ีจุดมงุ่ หมายเพ่ือพัฒนา โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลังความร้ขู องครูสู่
การพัฒนาทักษะความร่วมมือของนักเรียน โดยผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยการวิจัยและพัฒนา
(Research and Development : R&D) ด้วยแนวคิด “พัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครู แล้วครูนาผล
การเรียนรู้ไปพัฒนานักเรียน” ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ครู
เก่ียวกับทักษะความร่วมมือ และ 2) โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความรว่ มมือ
ใหก้ ับนักเรียน โครงการแรกมคี มู่ ือเพ่ือใช้พฒั นาครูดว้ ยหลกั การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 6 ชุด คือ ค่มู ือเพื่อ
การเรียนรเู้ ก่ียวกบั นิยาม ความสาคัญ ลักษณะ แนวการพัฒนา ขั้นตอนการพัฒนา และการประเมนิ
ทักษะความร่วมมือ โครงการท่ีสองมีคู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อเป็นแนวทางให้ครูนาผลการเรียนรู้สู่การ
พฒั นานักเรยี น ผลการทดลองใช้โปรแกรมออนไลน์ ดังกล่าวในโรงเรยี นปรยิ ตั ธิ รรมท่กี าหนดเป็นพ้ืนที่
ทดลอง พบว่า หลังการพัฒนาครูตามโครงการแรก ครูมีผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90
และมผี ลการเรียนรหู้ ลงั การพัฒนาสงู กว่ากอ่ นการพฒั นาอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิ และหลังการพัฒนา
นักเรียนตามโครงการท่ีสอง นักเรียนมผี ลการประเมินทักษะความร่วมมือ หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อน
การพัฒนาอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติ แสดงว่าโปรแกรมออนไลน์ ที่ถือว่าเป็นนวตั กรรมทางการศึกษา
จากการวิจัยน้มี ีประสิทธิภาพท่ีสามารถนาไปเผยแพร่เพ่ือใชก้ ับโรงเรียนปรยิ ตั ธิ รรมแหง่ อ่นื ได้

คาสาคญั : ทักษะความรว่ มมอื , โปรแกรมออนไลน์, เสริมพลังความรูข้ องครู, โรงเรียนปรยิ ตั ิธรรม



ABSTRACT

Dissertation Topic : Online Program to Empower Teachers’ Knowledge to
Develop Students’ Collaborative Skills
Student’s Name
Degree Sought : Phramaha Ampol Dhanapañño (Chaisaree)
Program : Doctor of Education
Anno Domini : Educational Administration
Advisor : 2022
: Phrakrusutheejariyawattana, Asst.Prof.Dr.

This research aims to develop and implement an online program to empower
teachers’ knowledge in students’ collaborative skills development using Research and
Development (R&D) methodology. It is based on the concept of “Develop teacher’s
learning, and implement the outcomes into student development”. It consists of two
projects as follows: 1) Collaborative skills learning for the teacher development
project, and 2) Implementing teacher’s collaborative skills learning outcomes with a
student project. The first project includes a set of six-manual for teacher development,
including definition, importance, characteristics, development approaches,
development steps, and evaluation of collaborative skills manuals. The second project
comes with the workshop manual for implementing the teacher’s learning outcomes
in student development. The online program was examined in a Pariyattidhamma
School selected as a research site. The findings reveal that after completing the first
teacher development project, the teachers had learning outcomes according to the
standard of 90/90. In addition, learning outcomes after the development project were
statistically significantly higher than attending the project. Moreover, after the second
project, the students’ collaborative skills assessment results were statistically
significantly higher than before. Therefore, the online program produced in this study
is an educational innovation that is effective and should be beneficial for other
Pariyattidhamma schools’ learning.
Keywords: Collaborative skills, Online program, Teacher learning, Pariyattidhamma
Schoo

กิตติกรรมประกาศ

ดุษฎีนิพนธ์เล่มนี้ สาเร็จลงได้เนื่องจากบุคคลหลายฝ่ายที่ได้ช่วยเหลือในครั้งน้ี ผู้วิจัยใคร่
ขอบพระคุณมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันที่ประสิทธิประสาทความรู้ทางการศึกษา ด้านการบริหาร
การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก

ขอกราบขอบพระคุณอธิการบดี คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ ที่ได้อานวยความสะดวกใน
การศกึ ษาตลอดหลักสตู ร และขอกราบขอบพระคุณพระครูสุธีจริยวัฒน์, ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ท่ใี ห้
ความอนุเคราะห์เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก ได้ให้คาปรึกษาตลอดจนตรวจสอบข้อพกพร่องต่าง ๆ
พรอ้ มทง้ั ให้ข้อเสนอแนะในการปรุงแก้ไขเน้ือหางานวิจัย ขอเจริญพรขอบคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
ไพศาล สุวรรณน้อย ท่ีกรุณาเป็นประธานคณะกรรมการสอบ ตลอดจนท่านผู้เชี่ยวชาญทุกท่านท่ี
กรุณาเสียสละเวลาอันมีค่ายิ่ง เพ่ือให้ข้อเสนอแนะในการตรวจสอบเครื่องมือวิจัยจนได้เครื่องมือท่ีมี
คณุ ภาพสาหรบั การวิจัย

ขอเจริญพรขอบคุณรองศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ สารรัตนะ ท่ีให้ คาแนะนาและ
ข้อเสนอแนะและคอยดูแลในการทาวิจัยเป็นอย่างดีตลอดมา ขอกราบขอบพระคุณพระครู
ธรรมาภิสมัย, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พระมหาศุภชัย สุภกิจฺโจ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. และเจริญ
พรขอบคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทูล ทาชา ที่เป็นแรงผลักดันจุดประกายแนวคิดในการศึกษา ให้
คาแนะนา พร้อมทั้งคอยให้กาลงั ใจ จนประสบความสาเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี

ขอกราบขอบพระคุณพระครูปรยิ ัตสิ ุวรรณวัฒน,์ ดร. เจ้าอาวาสวดั จาปาทอง, พระศรญี าณ
วงศ์, ดร. รองอธิการบดีมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย, พระศรีวชริ
โมลี ผอู้ านวยการโรงเรยี นบาลีสาธติ ศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วดั ศรษี ะเกษ ทอ่ี านวยความ
สะดวกในการทาวิจัย และขอเจรญิ พรขอบคุณ คุณแม่แก้ววิไล โล จากประเทศฝรั่งเศส คุณพอ่ หมอน
คุณแม่ทองสุข ชัยสารี ผู้ให้กาเนิด คุณแม่อารี ดวงพรม และญาติธรรมทุกท่านที่ค่อยอุปถัมภ์ ให้
กาลงั ใจ ใหค้ วามหว่ งใย ให้การสนบั สนนุ มาโดยตลอดตั้งแตเ่ ร่ิมเรยี นจนถงึ จบการศกึ ษา

ขอเจริญพรขอบคุณเจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขตอสี าน ผูบ้ รหิ าร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบาลสี าธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย วัดศรีษเกษ ทุกท่านที่ได้อานวยความสะดวก เสียสละเวลาให้ความร่วมมือในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลเป็นอย่างดียิ่ง ขอขอบคุณพระมหานิวัฒน์ มหาโชติวฑฺฒโน, ดร. ตลอดจนเพื่อน
นักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รุ่นท่ี 6 ทุกท่านที่คอยแนะนาและเป็น
กาลงั ใจแก่ผู้วิจัยเสมอมา

ทา้ ยทีส่ ดุ คุณงามความดแี ละประโยชนอ์ ันเกิดจากดุษฎนี ิพนธ์เล่มน้ี ผ้วู จิ ยั ขอใช้เป็นเครื่อง
สักการบูชาคุณพระรัตนตรัย คุณของมารดาบิดา ครูอาจารย์ที่ประสิทธิ์ประสาทความรู้ที่มีคุณค่าย่ิง
และขอแผ่คุณความดีนีใ้ หแ้ กเ่ พื่อนมนษุ ย์และสรรพสตั ว์ท้ังหลาย

พระมหาอาพล ธนปญฺโ (ชยั สารี)

สารบญั

หน้า
บทคัดยอ่ ภาษาไทย.............................................................................................. ง
บทคัดยอ่ ภาษาองั กฤษ......................................................................................... จ
กติ ติกรรมประกาศ............................................................................................... ฉ
สารบญั ................................................................................................................ ช
สารบัญตาราง...................................................................................................... ญ
สารบัญภาพ........................................................................................................ ฏ
บทท่ี
1 บทนา........................................................................................................ 1

1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา…………………………………..….……….….. 1
1.2 คาถามการวจิ ัย.................................................................................................. 8
1.3 วตั ถุประสงค์การวจิ ัย........................................................................................ 8
1.4 สมมติฐานการวจิ ัย............................................................................................ 9
1.5 กรอบแนวคิดของการวจิ ยั ในสาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา……………………….. 10
1.6 ขอบเขตการวจิ ยั ............................................................................................... 11
1.7 นิยามศพั ท์เฉพาะ.............................................................................................. 11
1.8 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รบั ................................................................................ 14

2 เอกสาร และงานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้อง................................................................ 16

2.1 หลักธรรมเพื่อคณุ ภาพและความสาเร็จของงานวิจัย…………………………….…….. 16
2.2 การวิจยั และพัฒนา : ระเบียบวธิ ีท่ีใช้ในการวิจยั ………………………………….……. 20
2.3 แนวคดิ เชิงทฤษฎเี ก่ยี วกับทักษะความรว่ มมอื (Collaboration Skills)…….….. 26
2.4 บรบิ ทของโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา-กลุ่มเปา้ หมายใน

การเผยแพร่นวัตกรรมจากผลการวจิ ัย.............................................................. 92
2.5 บรบิ ทของโรงเรียนบาลสี าธติ ศึกษามหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

จังหวัดหนองคาย : พืน้ ทที่ ดลอง (Experiment Area) ในการวจิ ยั .................. 105
2.6 กรอบแนวคดิ เพ่อื การวิจยั ................................................................................. 113

3 วิธดี าเนนิ การวจิ ยั …………………………………………………………………..………… 122

3.1 ขั้นตอนท่ี 1 การจัดทาค่มู ือประกอบโครงการ................................................... 123
3.2 ข้ันตอนที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพของค่มู ือและการปรับปรงุ แก้ไข................. 125
3.3 ขั้นตอนท่ี 3 การสรา้ งเคร่อื งมือเพ่อื การทดลองในภาคสนาม............................ 126
3.4 ข้ันตอนท่ี 4 การทดลองในภาคสนาม (Trial)………………………………………….…. 134
3.5 ข้ันตอนที่ 5 การเขยี นรายงานผลการวิจยั และการเผยแพร่ผลงานวจิ ัย............. 137
3.6 แผนดาเนนิ การวจิ ยั โดยภาพรวม....................................................................... 138



สารบญั (ต่อ)

บทที่ หน้า
4 ผลการดาเนนิ การวจิ ยั และการวิเคราะห์ขอ้ มลู ............................................ 139

4.1 ขั้นตอนที่ 1 ผลการจัดทาคมู่ ือประกอบโครงการ.............................................. 139
4.2 ขน้ั ตอนที่ 2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มอื และการปรับปรุงแกไ้ ข............ 142
4.3 ขั้นตอนที่ 3 ผลการสร้างเคร่อื งมอื เพื่อการทดลองในภาคสนาม....................... 146
4.4 ข้ันตอนที่ 4 ผลการทดลองในภาคสนาม (Trial)............................................... 158

5 โปรแกรมออนไลนเ์ พอ่ื การเรยี นรู้ของครสู ู่การเสรมิ สรา้ งทกั ษะ
ความร่วมมือของนกั เรยี น : นวัตกรรมจากการวิจยั และพัฒนา………….……. 187

5.1 คู่มือชุดที่ 1 ทศั นะเกยี่ วกับนิยามของทกั ษะความรว่ มมือ................................. 192
5.2 คู่มอื ชุดท่ี 2 ทัศนะเกีย่ วกบั ความสาคญั ของทักษะความร่วมมือ…..................... 202
5.3 คมู่ ือชุดที่ 3 ทศั นะเกยี่ วกบั ลักษณะของทักษะความรว่ มมือ……........................ 210
5.4 คู่มือชุดท่ี 4 ทัศนะเกย่ี วกบั แนวทางการพัฒนาทกั ษะความร่วมมือ................... 215
5.5 คมู่ ือชุดท่ี 5 ทศั นะเกย่ี วกับขั้นตอนการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมอื .................... 224
5.6 คู่มือชุดที่ 6 ทศั นะเกย่ี วกับการประเมินผลทักษะความรว่ มมอื ......................... 229
5.7 คู่มือประกอบโครงการครผู ู้สอนนาความรู้สกู่ ารพฒั นานักเรียน........................ 246

6 สรุป อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ.............................................................. 255

6.1 สรุปผลการวจิ ัย................................................................................................. 256
6.2 อภปิ รายผลวจิ ัย................................................................................................ 259
6.3 ขอ้ เสนอแนะจากผลวิจัย................................................................................... 266

บรรณานกุ รม............................................................................................ 268
ภาคผนวก................................................................................................ 278

ภาคผนวก ก รายชอ่ื และสถานภาพของครทู ่เี ป็นกล่มุ เปา้ หมายในการตรวจ
คู่มอื ครงั้ ท่ี 1................................................................................................... 279

ภาคผนวก ข หนงั สือของบัณฑิตวิทยาลยั เพ่อื ขอความรว่ มมอื จากครทู ีเ่ ป็น
กลุม่ เป้าหมายในการตรวจคู่มือ ครัง้ ที่ 1......................................................... 281

ภาคผนวก ค รายช่ือและสถานภาพของครทู ี่เปน็ กลุ่มเปา้ หมายในการตรวจ
คูม่ ือ คร้ังท่ี 2................................................................................................... 284

ภาคผนวก ง หนงั สอื ของบัณฑติ วทิ ยาลยั เพือ่ ขอความร่วมมือจากครทู ่เี ปน็
กลุ่มเป้าหมายในการตรวจคูม่ อื ครงั้ ที่ 2......................................................... 286

ภาคผนวก จ รายช่อื และสถานภาพของผูท้ รงคุณวุฒิในการตรวจสอบความ
สอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์การเรียนรใู้ นแบบทดสอบผลการ
เรียนรขู้ องครู................................................................................................... 289



สารบญั (ต่อ)

บทที่ หน้า

ภาคผนวก ฉ หนังสือของบัณฑติ วิทยาลัยเพ่อื ขอความร่วมมือจากผู้ทรงคุณวุฒิ
เพ่ือตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกบั วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นร้ใู น
แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู.................................................................... 291

ภาคผนวก ช แบบตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ สอบกบั วตั ถุประสงค์
การเรียนร้ใู นแบบทดสอบผลการเรยี นรคู้ รู...................................................... 293

ภาคผนวก ซ แบบทดสอบผลการเรียนร้ขู องครทู ่ีเปน็ Google Form................... 304
ภาคผนวก ฌ หนังสือจากบัณฑิตวิทยาลยั ถงึ โรงเรยี นเพ่ือขออนญุ าตทดลองใช้

แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของครูกับครูในโรงเรยี น......................................... 309
ภาคผนวก ญ หนงั สือของบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขอความรว่ มมือจากผู้ทรงคุณวุฒิ

เพือ่ ตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกับวัตถุประสงคก์ ารพฒั นาใน
แบบประเมินทักษะความรว่ มมือของนกั เรียน................................................. 311
ภาคผนวก ฎ รายช่ือและสถานภาพของผู้ทรงคณุ วฒุ ิในการตรวจสอบความ
สอดคล้องของขอ้ คาถามกับวัตถปุ ระสงค์การพฒั นาในแบบประเมนิ ทักษะ
ความรว่ มมอื ของนกั เรยี น................................................................................ 313
ภาคผนวก ฏ แบบตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกบั วัตถุประสงคก์ าร
พฒั นาในแบบประเมินทกั ษะความรว่ มมือของนกั เรียน................................... 315
ภาคผนวก ฐ แบบประเมินตนเองของนกั เรียนท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา
Google Form................................................................................................ 321
ภาคผนวก ฑ หนังสอื ของบัณฑิตวทิ ยาลัยเพ่อื ขอความรว่ มมือจากสถานศึกษา
เพื่อการทดลองใชแ้ บบประเมินทกั ษะทกั ษะความร่วมมอื ของนกั เรยี น........... 329
ภาคผนวก ฒ ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพนั ธ์ของความเช่อื ม่ันโดยใช้
วิธีของครอนบาคของแบบประเมนิ ทักษะความรว่ มมือของนักเรียน................ 331
ภาคผนวก ณ หนงั สือของบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขอความรว่ มมือจากสถานศึกษาที่
เป็นพ้ืนท่ีในการวจิ ัยเชิงทดลอง........................................................................ 335
ภาคผนวก ด รายช่อื และสถานภาพของครทู ่ีเปน็ กล่มุ ทดลอง................................ 337
ภาคผนวก ต ผลการวิเคราะห์เปรยี บเทียบผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครทู ่ี
เปน็ กลุ่มทดลองกอ่ นและหลงั การพฒั นาโดยใช้การทดสอบที (t-test)............ 339
ภาคผนวก ถ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมนิ ทักษะความรว่ มมือ
ของนักเรยี นกอ่ นและหลังการพัฒนาโดยใช้การทดสอบที (t-test).................. 341

ประวัติผู้วจิ ยั ............................................................................................. 343

สารบญั ตาราง

ตารางที่ หน้า

2.1 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-Net) ระดับชัน้ มัธยม

ศกึ ษาตอนตน้ (ม.3) ปกี ารศกึ ษา 2562……………………………………………………….……… 111

2.2 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พื้นฐาน (O-Net) ระดบั มธั ยม

ศกึ ษาตอนปลาย (ม.6) ปีการศึกษา 2562.................................................................... 112

2.3 แสดงเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-Net)

ระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ (ม.3).............................................................................. 112

2.4 แสดงเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-Net)

ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6).......................................................................... 112

2.5 แนวคดิ เชงิ ระบบของข้อเสนอทางเลอื กทห่ี ลากหลายในเชงิ วชิ าการหรอื ทฤษฎี

(Academic or theoretical Alternative Offerings) ที่ได้จากการศกึ ษา

วรรณกรรมท่เี ก่ียวข้องของผวู้ ิจยั : กรอบแนวคิดในการวจิ ัย........................................ 116

3.1 เกณฑ์การพจิ ารณาค่าความยากงา่ ย (p) ของขอ้ สอบ................................................... 129

3.2 เกณฑก์ ารพิจารณาคา่ อานาจจาแนก (r) ของข้อสอบ................................................... 130

3.3 แสดงกจิ กรรมและระยะเวลาในโครงการพฒั นาครูผสู้ อน 135

3.4 แสดงกิจกรรมและระยะเวลาในโครงการครูนาผลการเรยี นรูส้ ู่การพัฒนานกั เรียน....... 136

4.1 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกบั วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ใน

แบบทดสอบผลการเรียนรูข้ องครู................................................................................. 148

4.2 คะแนนจากการทดลองใช้ (Try-Out) แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของครู

กับครูทเ่ี ปน็ กลุม่ ตัวอยา่ งจานวน 30 ราย เพ่อื วเิ คราะห์ความยากงา่ ย

การกระจาย ความเชอื่ มัน่ ค่าอานาจจาแนกรายข้อ และค่าสัมประสทิ ธิ์

ความเช่อื ม่ันด้วยวธิ ีการของ Kuder-Richardson........................................................ 150

4.3 เกณฑก์ ารพจิ ารณาคา่ ความยากงา่ ย (p) ของขอ้ สอบ................................................... 152

4.4 เกณฑ์การพจิ ารณาค่าอานาจจาแนก (r) ของข้อสอบ................................................... 152

4.5 แสดงค่าความยากง่าย (p) คา่ อานาจจาแนก (r) และผลการพจิ ารณาคุณภาพ

ของขอ้ สอบรายข้อ........................................................................................................ 153

4.6 ผลการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกับวตั ถปุ ระสงคก์ ารพัฒนา

ในแบบประเมนิ ทักษะความร่วมมือของนักเรยี น........................................................... 156

4.7 ผลการวเิ คราะห์ค่าสมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟาของความเช่ือมนั่ ของแบบประเมนิ ทักษะ

ความร่วมมอื ของนกั เรียนจาแนกเป็นรายดา้ นและโดยรวม........................................... 158

4.8 ผลการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครทู ีเ่ ป็นกลุ่มทดลองกอ่ นการพัฒนา (Pre-test)........ 161

4.9 ผลการทดสอบผลการเรียนร้ขู องครทู ี่เป็นกลุม่ ทดลองหลังการพฒั นา (Post-test)........ 164

4.10 ผลการทดสอบคา่ ที (t-test) เปรียบเทียบความแตกตา่ งอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ

ระหว่างคะแนน “กอ่ น” และ “หลัง” การพัฒนาเพ่อื การเรียนรู้ของครู...................... 166



สารบญั ตาราง (ต่อ)

ตารางที่ หนา้

4.11 ผลการวิเคราะห์ผลการทดสอบผลการเรยี นรูข้ องครตู ามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90........ 168

4.12 คา่ เฉลย่ี (Mean : ) และคา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation :

S.D.) จากผลการประเมินทักษะความร่วมมอื ของนักเรียนกอ่ นการทดลอง

(Pre-test)……………………………………………………………………………………………….……… 170

4.13 ผลการประเมนิ ตนเองของครทู ีเ่ ป็นกลุ่มทดลองในการนาขอ้ เสนอทางเลือก

ทีเ่ ปน็ หลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ ีการ / กิจกรรมไปใชใ้ นการพัฒนาทักษะความ

ร่วมมือใหก้ ับนกั เรยี น.................................................................................................... 175

4.14 ผลการประเมนิ ตนเองของครทู ี่เปน็ กลุ่มทดลองในการนาขอ้ เสนอทางเลือก

ท่ีเป็นขัน้ ตอนการพฒั นาไปใชใ้ นการพัฒนาทักษะความรว่ มมอื ให้กับนักเรียน............. 179

4.15 คา่ เฉลย่ี (Mean : ) และค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation :

S.D.) จากผลการประเมินทักษะความรว่ มมอื ของนักเรยี นหลงั การทดลอง

(Post-test)................................................................................................................... 182

4.16 ผลการทดสอบค่าที (t-test) เปรยี บเทียบความแตกตา่ งอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติ

ระหว่างคะแนน “กอ่ น” และ “หลงั ” การทดลอง....................................................... 184

สารบญั ภาพ

ภาพท่ี หนา้

2.1 หลักธรรมเพอื่ คุณภาพและความสาเร็จในการทาวิจยั ……………………………………………. 20
2.2 แนวคิดและขนั้ ตอนการวจิ ัยและพฒั นาตามทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ...................... 22
2.3 แผนท่ตี ั้งโรงเรยี นบาลีสาธิตศึกษามหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วดั ศรีษะเกษ.............. 107
3.1 ขั้นตอนของการวิจัยและพฒั นาในงานวจิ ัย.................................................................... 123
3.2 กรอบแนวคิดในการจัดทาคมู่ อื เพื่อพฒั นาทักษะความร่วมมือ...................................... 125
4.1 แสดงปกของโปรแกรมออนไลน์และปกของค่มู อื ประกอบโครงการพฒั นา

เพอ่ื การเรียนรู้ของครูเกย่ี วกบั การพฒั นาทักษะความร่วมมือ........................................ 141
4.2 แสดงปกของคู่มอื ประกอบโครงการครูนาผลการเรยี นรู้ส่กู ารเสรมิ สร้างทกั ษะ

ความรว่ มมือใหแ้ ก่นกั เรยี น........................................................................................... 142
4.3 การตรวจสอบคุณภาพของคมู่ ือและการปรับปรงุ แก้ไข ณ โรงเรยี นประภัสสรวิทยา

วัดศรีนวล ขอนแก่น...................................................................................................... 143
4.4 การตรวจสอบคุณภาพของค่มู อื ณ โรงเรยี นบาลสี าธติ ศกึ ษา วดั เขตอดุ ม..................... 145
4.5 การตรวจสอบคุณภาพของคมู่ ือ ณ โรงเรยี นวัดโพธิสมภาร........................................... 145
4.6 การประชุมช้ีแจงรายละเอียดโครงการวิจยั และการทาแบบทดสอบของครู

ทเี่ ปน็ กลุ่มทดลองกอ่ นการพัฒนา (Pre-test) ณ โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรษี ะเกษ.................................................................. 159
4.7 ครูทเี่ ป็นกลุม่ ทดลองศกึ ษาคมู่ อื ประกอบโครงการท้ังสองโครงการโดย
หลกั การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง (Self-Learning)................................................................. 162
4.8 การประชมุ ชีแ้ จงระเบยี บวิธีวิจัยให้กบั ครทู ่ีเปน็ กลุ่มทดลอง.......................................... 170
4.9 ครทู ี่เป็นกล่มุ ทดลองนาผลการเรยี นรูส้ ู่การพฒั นานกั เรยี น........................................... 174

บทที่ 1

บทนา

1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา

โลกเปล่ยี นแปลงไปสเู่ ศรษฐกจิ ฐานความร้แู ละเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้วยความเจริญกา้ วหน้า
อย่างรวดเร็วของนวัตกรรม เทคโนโลยี และวิศวกรรม ซ่ึงทุกประเทศต่างให้ความสาคัญต่อการ
สร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อสรา้ งความเจรญิ มั่งค่ังทางเศรษฐกิจก่อให้เกดิ อาชีพและธรุ กจิ ใหม่ ๆ รวมถงึ
ยกระดับคุณภาพชีวติ ใหก้ บั ประชาชน การใหค้ วามสาคญั กับความแตกต่างทางการคา้ ความคิดใหม่ ๆ
หรือที่เรียกโดยภาพรวมว่าการสร้างสรรค์นวัตกรรมจึงมีส่วนช่วยสนับสนุนให้การด ำเนินธุรกิจของ
ประเทศเจรญิ เติบโตจากผลงานการวิจัยทง้ั ในประเทศและต่างประเทศจำนวนมากท่ีระบวุ ่าสมรรถนะ
หรือทักษะความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของบุคคลมีผลต่อความสาเร็จ สร้างความ
ได้เปรียบในการแข่งขันอย่างไร้ขีดจำกัด (ตรีทิพ บุญแย้ม, 2554) ทักษะสร้างสรรค์นวัตกรรมจึงเปน็
เสมือนกลยุทธ์ที่มุ่งเน้นความได้เปรียบทางการค้า การแข่งขัน และการลงทุนส่วนนวัตกรรมจะเป็น
เครื่องมือท่ีใช้เพ่ือความได้เปรียบในการแข่งขัน ทักษะสร้างสรรค์นวัตกรรมจึงเป็นหน่ึงในกลยุทธ์ที่
สาคัญเพื่อบรรลุความสาเรจ็ ในระยะยาว อีกทั้งทักษะสร้างสรรค์นวตั กรรมอาจเป็นความโน้มเอียงใน
การสร้างหรือการใช้กระบวนการหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ในระบบธุรกิจเพื่อความสาเร็จ (สมนึก เอื้อจิระ
พงษ์พนั ธ,์ 2553)

การพฒั นาประเทศส่คู วามสมดุลและยั่งยืน จะตอ้ งใหค้ วามสาคัญกับการเสรมิ สรา้ งทุนของ
ประเทศท่มี ีอยใู่ หเ้ ข้มแขง็ และมีพลังเพียงพอในการขับเคลื่อนกระบวนการพฒั นาประเทศ โดยเฉพาะ
การพัฒนาคนหรือทุนมนุษย์ให้เข้มแข็ง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคศตวรรษที่ 21 และ
การเสริมสร้างปัจจัยแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพของคน ท้ังในเชิงสถาบัน ระบบโครงสร้าง
ของสังคมใหเ้ ขม้ แขง็ สามารถเป็นภมู คิ มุ้ กนั ตอ่ การเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ท่จี ะเกิดข้ึนในอนาคตอยา่ งไรก็
ต า ม ส ถ า น ก า ร ณ์ ก า ร พั ฒ น า ท่ี ผ่ า น ม า ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ค น แ ล ะ สั ง ค ม ไ ท ย ห ล า ย ป ร ะ ก า ร
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2555) นอกจากน้ีแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559)
เป็นแผนระยะยาวภายใต้บทบัญญตั ิของพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไข
ปรับปรุง (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 เน้นนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ยึดทางสายกลางบนพื้นฐานของความสมดุลความ
พอเพยี ง มีเหตุผล มคี วามรอบรเู้ ท่าทันโลก ใชเ้ ปน็ แนวทางในการดาเนินชีวิตเพ่ือมงุ่ ให้เกิดการพัฒนา
ทยี่ ัง่ ยนื และความอยู่ดมี ีสขุ ของคนไทย โดยยึด “คน” เปน็ ศูนยก์ ลางการพฒั นา (สานักงานเลขาธิการ
สภาการศกึ ษา, 2553) และปัจจุบนั เปน็ ยคุ ของเศรษฐกิจฐานความรู้ท่ีอยู่ท่ามกลางขอ้ มูลข่าวสาร และ
สารสนเทศต่าง ๆ มากมาย การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ข่าวสารทำไดง้ า่ ยและรวดเรว็ ดงั น้ันการพฒั นามนษุ ย์ใหม้ ี
ทกั ษะทางด้านการอ่าน อา่ นไดค้ ลอ่ ง อ่านเกบ็ ประเดน็ ได้ จะสามารถนาไปสู่กระบวนการคิดท้งั ในมิติ
ด้านการคิดคานวณ และการคิดอย่างมีเหตุผล ซึ่งจะเห็นได้ว่าการอ่านมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการ
พัฒนาประเทศ (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน, 2552)

2

ทั้งน้ี สังคมโลกในศตวรรษท่ี 21 เป็นการปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์เกิดขึ้นได้โดยที่ทั้งสองคน
อาจจะไม่เคยเห็นหน้ากันมาก่อน แต่สามารถเป็นเพื่อนกันได้ ดังที่ Johnson and Johnson (2011,
อ้างถึงใน วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์, 2554,) ได้เขียนไว้ว่า “ในศตวรรษที่ 21 การ
สรา้ งมติ รภาพและการปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลในเชงิ บวกมีความสาคัญมากข้ึนเรือ่ ย ๆ ดงั เหน็ ได้จาก
ความนิยมของเครือข่ายสังคม ความสัมพันธ์ดังกล่าวเกิดมากขึ้นภายใต้สถานการณ์ 2 ลักษณะ คือ
ปฏิสัมพันธ์แบบตัวต่อตัว และแบบออนไลน์ความสัมพันธ์แบบออนไลน์มักเกิดจากเป้าหมายหรือ
วัตถุประสงค์ร่วมกัน ไม่ใช่เกิดขึ้นแบบไร้ทิศทาง สื่ออิเล็กทรอนิกส์มอบโอกาสให้คนเพิ่มจานวน
ความสัมพันธไ์ ด้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย “การเรยี นรแู้ บบร่วมมือและการแกไ้ ขความขดั แย้งทักษะท่ี
จาเปน็ แหง่ ศตวรรษที่ 21” ทักษะแหง่ อนาคตใหม่ การศกึ ษาเพือ่ ศตวรรษท่ี 21 แมจ้ ะอยู่กันคนละมุม
โลกแตก่ ส็ ามารถตดิ ตอ่ ส่ือสารกนั ได้ สรา้ งสมั พนั ธภาพกันได้ในโลกเสมือนจรงิ

อย่างไรกต็ ามเป้าหมายสาคัญของการพฒั นาโปรแกรมออนไลน์เพ่อื เสรมิ พลังความรู้ของครู
คือ การเสริมพลังความรู้ความสามารถในการสอนเนื้อหาวชิ าเฉพาะ ซ่ึงหมายรวมถึงความเข้าใจของ
ครเู กยี่ วกบั การเรียนรขู้ องผ้เู รียน และความรู้ในเนื้อหาวิชา (Van Driel and Berry, 2002) การพัฒนา
โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือของนักเรียน ดังท่ี
Loucks-Horsley, Love, Stiles, Katherine, and Hewson (2003) ได้พัฒนากรอบแนวคิดในการ
ออกแบบการพัฒนาวิชาชีพครู ซึ่งมีกระบวนการในการวางแผน 6 ข้ันตอน ได้แก่ การพิจารณา
วิสัยทัศน์และมาตรฐานต่าง ๆ การวิเคราะห์การเรียนรู้และข้อมูลอื่น ๆ ของผู้เรียน การกาหนด
เป้าหมาย การวางแผน การนาแผนไปปฏิบัติ และการประเมิน นอกจากน้ียังได้เสนอยุทธวิธีในการ
พฒั นาวิชาชีพครู ได้แก่ ความสอดคล้องกับหลักสูตรและการนาหลักสตู รไปใช้ การทางานรว่ มกัน การ
ตรวจสอบเก่ียวกับการสอนและการเรียนรู้ การมีประสบการณ์ในสถานการณ์จริง การฝึกปฏิบัติการ
สอน วิธีการและกลไกในการพัฒนาวิชาชีพครูผ่านการประชุมปฏิบัติการ การใช้เทคโนโลยีและการ
พัฒนาผู้มีหน้าท่ีในการพัฒนาครูซึ่งหมายรวมถึงอาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยง ให้มีความรู้ใน
เน้ือหา (Content Knowledge) และ ความรู้ในวิธีการสอน (Pedagogical Knowledge) และ
ความสามารถในการบูรณาการความรู้ท้ังสองประเภทในการจัดการเรียนการสอนท่ีทาให้ผู้เรียนเกิด
การเรยี นรู้ สาหรับความรู้ในเนอ้ื หาเป็นความรูใ้ นเนอื้ หาวิชาเฉพาะท่ีครูตอ้ งมีและอยู่ในระดับเพียงพอ
ในการสอน ส่วนความรู้ในวธิ กี ารสอนเป็นความรูเ้ กีย่ วกับหลกั สูตร จิตวิทยาการเรียนรู้ วิธสี อน เทคนิค
การสอน การวดั และประเมนิ ผล การสร้างและใชส้ ื่อการสอนและกลวิธกี ารจดั การเรียนรู้ ซึง่ ความรทู้ ัง้
สองอย่างนี้มคี วามสัมพันธ์กันอยา่ งใกล้ชิด ตวั อย่างเชน่ การที่ครูจะวินิจฉยั แนวคิดท่ีคลาดเคลือ่ นของ
ผเู้ รยี นไดอ้ ย่างถูกต้องต้องมคี วามรู้ในเน้ือหาอย่างลึกซึ้ง และตอ้ งรจู้ กั เทคนคิ การใชค้ าถาม รวมถงึ การ
เลือกและนาเสนอตัวแทนของแนวคิดวิทยาศาสตร์ท่ีจะสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจแนวคิด
ดังกล่าว เป็นต้น (Shulman, 1986) รวมถึงมีประเมินความรู้ความสามารถในการสอนเน้ือหาวิชา
เฉพาะทีเ่ ป็นท่นี ยิ มในงานวจิ ัยโดยใชห้ ลายวิธีประกอบกนั เพื่อช่วยตรวจสอบยืนยันและทาให้ได้ขอ้ มูลท่ี
ถูกตอ้ ง ไดแ้ ก่ การสัมภาษณ์ การใชแ้ ผนผังแนวคดิ การใชว้ ิดีทศั น์การสอน เพือ่ กระตุ้นให้ระลกึ ถึงการ
สอนของตนเองและวิเคราะหก์ ารสอนของตนเอง การใช้หลายวธิ ีประกอบกนั เพ่อื ช่วยตรวจสอบยืนยัน
และทาให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง (Triangulation) (Baxter and Lederman, 1999) ดังเช่นงานวิจัยของ
Smith and Neale (1991) ได้ประเมินความรู้ความสามารถในการสอนเน้ือหาวิชาเฉพาะของครู

3

ประจาการ โดยวิธีการประเมินพฤติกรรมการสอนก่อนและระหว่างการประชุมเชิงปฏิบัติการ โดย
วิเคราะห์จากวดิ ีทัศนก์ ารเรียนการสอนของครู การสัมภาษณ์ และการเขียนอนทุ ินของครู ข้อมูลที่ได้
จาก 3 แหลง่ ผวู้ จิ ัยถอดความจากบนั ทึกวิดีทัศนแ์ ละลงรหัส สรา้ งขอ้ สรุปซ่ึงบง่ ช้ีลกั ษณะการสอนเพ่ือ
ปรับเปล่ียนแนวคิด ครอบคลุมด้านเนื้อหา บทบาทครู บทบาทนักเรียน วัสดุประกอบการเรียนและ
กิจกรรมการเรียนรู้ ดังนนั้ การศึกษาจะมคี ณุ ภาพสงู เพียงใดยอ่ มขึ้นกับคณุ ภาพของครู เพราะคณุ ภาพ
ของครคู ือปัจจัยที่สาคัญท่ีสุดต่อคุณภาพการเรียนร้ขู องนกั เรยี น (The Organisation for Economic
Co-operation and Development : OECD, 2013)

โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา แผนกสามัญศึกษา เป็นสถานศึกษาท่ีมี
เป้าหมายในการมุ่งพัฒนาผู้เรยี นซ่ึงเป็นพระภกิ ษสุ ามเณรให้เป็นผู้มคี ุณธรรมมีความรปู้ ระพฤติปฏิบัติ
ตนตามพระธรรมวินัยเป็นศาสนทายาทที่ดีต่อพระพุทธศาสนา ดังน้ัน จึงเป็นหน้าที่ของผู้บริหาร
การศกึ ษาคณะสงฆ์นั้น ควรมีการจดั การเรียนการสอนแก่พระภกิ ษุและสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติ
ธรรม แผนกสามัญศึกษา ให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะถือว่าเป็นบทบาทและหน้าท่ีสาคัญของ
ผู้บริหารการศึกษาคณะสงฆ์ต้องให้ความใจใส่และมีความเข้าใจในการจัดการศาสนศึกษาให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุดเพ่ือสนองนโยบายในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและเพื่อให้พระภิกษุสามเณร
เป็นศาสนทายาทและเป็นพลเมือง พลโลก มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม และ จริยธรรม
สามารถพัฒนาตนเองให้บรรลุเป้าหมายชีวิตท้ังในระดับตนเอง สังคม ประเทศชาติ และพระศาสนา
สืบไปทุกวันนี้สังคมโลกพัฒนาไปมากแล้ว และก็สามารถสื่อสารกันได้เร็วมากการพัฒนาพระสงฆ์เรา
ใหม้ คี ณุ ภาพน้ันเป็นเรอ่ื งสาคญั อย่างยงิ่ จะต้องดแู ลและเอาใจใส่ทั้งในระบบการเรียนการสอน

การขยายโอกาสทางการศึกษาโดยรัฐบาล ท้ังนี้ เมื่อรัฐบาลได้ขยายโอกาสทางการศึกษา
อย่างกว้างขวางยิง่ ข้ึน ตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 17 ทใี่ หม้ กี ารศึกษา
ภาคบังคับจานวนเก้าปี โดยให้เด็กซ่ึงมีอายุย่างเข้าปีท่ีเจ็ด เข้าเรียนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานจนอายุ
ย่างเข้าปีที่สิบหก (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สานักนายกรัฐมนตรี, 2545) และ
พลอยทาให้จานวนผู้เข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสงฆ์ลดลงตามไปด้วย ซึ่งถือว่ารัฐบาลได้เปิดโอกาส
และกาหนดกฎเกณฑ์ให้พลเมืองได้มีโอกาสทางการศึกษามากขึ้น จึงเป็นเหตุผลที่ทาให้จานวน
พระภิกษแุ ละสามเณรที่เข้ามาศึกษาต่อในโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษาลดลงเปน็ อย่าง
มากเช่นเดยี วกัน

นอกจากน้ัน ผลดขี องพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติต่อการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ คือ
เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ข้ึน ก็เป็นการเปิดโอกาสให้สถาบัน
ศาสนามีสิทธิในการจัดการศึกษาอย่างชัดเจน โดยเฉพาะการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรยี นพระ
ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาและมีสิทธิรับสิทธิประโยชน์จากรัฐทั้งด้านการให้ความรู้ในการอบรม
เล้ียงดูบุคคลในความดูแล การได้รบั เงนิ อดุ หนนุ รวมท้ัง การลดหยอ่ นหรอื ยกเว้นภาษสี าหรับคา่ ใช้จ่าย
การศึกษาตามที่กฎหมายกาหนด ตลอดจนการเทียบโอนการเรียนรู้ท้ังที่เป็นรปู แบบเดียวกันหรอื ตา่ ง
รูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ที่นับว่าเอื้อและส่งเสริมสนับสนุน
การศึกษาของพระสงฆ์อย่างยิ่งถ้าพระสงฆ์ได้บริหารจัดการศาสนศึกษาอย่างเปิดกว้าง จัดการเรียน
การสอนได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพ และเป็นที่น่าเช่ือถือของสังคมอีกทั้งมีการประชาสัมพันธอ์ ยา่ ง
กว้างขวาง ก็มีความเป็นไปได้ว่า การจัดการศาสนศึกษาของพระสงฆ์ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม

4

แผนกสามัญศึกษา จะได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีท้ังจากพระภิกษุสามเณรและฆราวาสในการเข้า
ศึกษาในสถาบันการศึกษาทางพระพุทธศาสนามากข้ึนยง่ิ ไปกว่านั้น สิ่งที่ควรตระหนักกค็ ือว่า ปัญหา
สาคัญทีผ่ บู้ ริหารการศกึ ษาคณะสงฆ์ในโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา กาลงั เผชิญอย่กู ค็ ือ
ปัญหาเรื่องประสิทธิภาพและคุณภาพของผู้เรียนท่ีสาเรจ็ การศึกษาในแต่ละปี การศึกษา ท่ีต้องได้รับ
การพัฒนาอย่างเร่งด่วน ผู้บริหารการศึกษาคณะสงฆ์จึงจาเป็นต้อง ทราบปัญหาที่แท้จริงจาก
ผู้รับบริการ ได้แก่พระภกิ ษุสามเณรท่ีกาลังศึกษาในโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา ว่ามี
ความคิดเห็นต่อปัญหาในการเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาอย่างไร เพ่ือให้
ผู้บริหารการศึกษาคณะสงฆ์ได้รับทราบข้อเท็จจริงและนาไปสู่พัฒนาการเรียนการสอนแก่พระภิกษุ
สามเณรให้สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอย่างมี
ความรู้ ความสามารถ และศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน ไปให้ประสบความสาเร็จ มีคุณธรรม จริยธรรม
และบาเพ็ญตนใหเ้ กิดประโยชน์แก่ชาติ พระศาสนา พระมหากษตั ริย์สบื ไปเพ่ือใหพ้ ระภิกษสุ ามเณรได้
มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย นาไปพฒั นาสังคม เทา่ กบั ว่าเป็นการเปิดโลกทัศนใ์ นการอยูร่ ่วมกับคนอืน่ ในสังคม
ไดเ้ รียนรู้ อยา่ งมคี วามสุข สามารถนาเอาความรทู้ ้ังทางธรรมและทางโลกนาไปดารงชีวิตอย่างยั่งยืนจึงเป็น
อกี ชอ่ งทางหน่ึงในการพัฒนากลมุ่ โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรมให้มีประสิทธิภาพ (นิเทศ สนน่ั นารี, 2553)

ในปัจจุบันสภาพการดาเนินการและปัญหาการพัฒนาครมู ีหลายประการ เช่น ครูไม่ได้รับ
การพัฒนาอย่างเพียงพอและต่อเนอื่ ง ระยะเวลาการอบรมส่วนใหญ่จัด 2-3 วัน จานวนผู้เข้ารับการ
ฝกึ อบรมคอ่ นขา้ งมาก ระบบการพฒั นาครูประจาการมคี ณุ ภาพต่อเนอื่ งดว้ ยสาเหตุหลายประการ เชน่
วิทยากรขาดประสบการณต์ รงในการนาหลักสตู รไปใช้ เน้นเฉพาะเทคนคิ วธิ กี ารอย่างฉาบฉวยขาดการ
เน้นการพัฒนาทักษะการคิดและการประยุกต์ใช้กับครูเพื่อนาไปใช้ในสถานศึกษาของตนเองอย่าง
เหมาะสมจึงทาให้การพัฒนาครูไม่ประสบผลสาเร็จเท่าท่ีควร ซ่ึงเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีทาให้ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นตกต่า (สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2553)

จากผลการศึกษาความสาคัญของทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) จากทัศนะ
ของนักวิชาการและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้คือ Ryan (2018), lmacademics (2019), Kashyap
(2017), Elcom (2018), Nutcache (2019), Moseley (2019), Dobos (2017), Smart Sheet
(2019) และ Valdellon (2017) ได้กล่าวถึง ทักษะความร่วมมือ มีความสาคัญเป็นทักษะที่ช่วยเพ่ิม
ความสามารถในการทางานของแต่ละอาชพี น้นั ให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งประโยชนข์ องการทางานร่วมกัน
สาหรับเดก็ นกั เรยี น คณุ ครู และโรงเรียน มคี วามสาคัญเปน็ ทกั ษะท่ีช่วยให้เกิดการระดมสมอง สง่ เสริม
การให้คุณค่า เพิ่มการมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน ก่อให้เกิดนวัตกรรมที่รวดเร็ว เกิดการทางาน
ทางไกลทีม่ ีประสิทธิภาพมากยิ่งข้นึ การสรา้ งทักษะให้พนกั งานมคี วามพึงพอใจของพนกั งานทเ่ี พ่มิ มาก
ข้ึน สามารถมองเห็นภาพรวมขนาดใหญ่ มีความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเพิ่มมากข้ึน ช่วยพัฒนา
องคก์ รให้มคี วามยดื หย่นุ สร้างความผกู พนั ของทมี งานทาให้ให้ทมี งานมีสุขภาพที่ดี ทาให้การประชุมท่ี
มปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ ช่วยดึงดดู คนมคี วามสามารถสูง มกี ารเร่งความเรว็ ทางธุรกจิ มีอตั ราพนักงานที่
ทางานกับองคก์ รเปน็ เวลานานเพ่มิ สูงข้ึน สามารถทาให้เกิดแนวคดิ ใหม่ ๆ มกี ารรว่ มงานทีด่ ีกบั ผมู้ ีสว่ น
ไดส้ ่วนเสีย ทาใหเ้ กิดผลผลิตสว่ นบคุ คลที่เพ่ิมข้นึ และทาให้เกิดผลประโยชน์ท่ีเพม่ิ ขึ้น

จากผลการศกึ ษาแนวการพฒั นาเครื่องมือแบบสอบถาม เพ่ือสารวจการประเมินทกั ษะการ
เป็นผู้นาที่ทางานร่วมกัน จากคณะแพทยศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์และชุมชน แห่งมหาวิทยาลัย

5

วอชงิ ตันได้รบั ทนุ จากมูลนิธิ Robert Wood Johnson มาพัฒนาแบบสอบถามการประเมนิ ตนเองซึ่ง
สามารถชว่ ยเหลือผู้ทางานกบั ผอู้ ่ืนในการกาหนดฝึกความเป็นผนู้ าได้อย่างไร จากทศั นะของ Weaver
(2018) พบว่า จากการประเมินผลสาเร็จจากการพัฒนาทักษะความร่วมมือ (Assessment of
Collaboration Skills) การเปน็ ผู้นาทท่ี างานรว่ มกัน หมายความวา่ บุคคลมีทักษะทั้งในการทาความ
เข้าใจสิ่งท่ีเกิดข้ึนในกลุ่ม เพื่อช่วยกลุ่มในการก้าวไปสู่เป้าหมาย ดังน้ันผู้นาท่ีทางานร่วมกันมักจะมี
ความสามารถในการทาส่ิงต่อไปนี้ : ประเมินสภาพแวดล้อมสร้างความชัดเจน : มีวิสัยทัศน์และการ
ระดมกาลงั สร้างความไว้วางใจ การให้กาลงั ใจ และการพฒั นาคนมีส่วนรว่ มในการสะทอ้ นตนเองเป็น
ประจา

จากการศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) จากทัศนะ
ของนักวิชาการและแหล่งต่าง ๆ ดังน้ีคือ Campbell (2017), Stapper (2018), Boyer (2015),
Kashyap (2018), Robinson (2019), Conlan (2018), Lucco (2019), DeRosa (2018), Miller
(2014), และ Bogler (2016) ได้กล่าวถึงแนวทางในการพัฒนาทักษะความร่วมมือ คือ สามารถสร้าง
เหตุผลท่ีชัดเจนและมีความน่าสนใจ ส่ือสารกับสมาชิกเก่ียวกับความคาดหวัง กาหนดเป้าหมายของ
ทีม หาจุดแข็งของแต่ละคน ใช้ประโยชน์จากจุดเข็งของสมาชิกในทีม ส่งเสริมการทางานร่วมกัน
ระหวา่ งสมาชิกในทมี ส่งเสรมิ นวตั กรรม รกั ษาสญั ญาและใหเ้ กียรติกบั การร้องขอ ส่งเสรมิ ให้เขา้ สังคม
นอกท่ีทางาน มีการสร้าง"วัฒนธรรมการให้ของขวัญ" รู้จักแบ่งปันวิสัยทัศน์ อธิบายความคาดหวัง
ต้งั แต่เรม่ิ ตน้ สรา้ งตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ สรา้ งกลมุ่ งานข้ามสายงาน สรา้ งความสัมพนั ธ์แบบทีมหลังเลิก
งาน สนับสนุนการเปน็ ผูน้ า ตัง้ กฎพืน้ ฐานขนึ้ มา สร้างความคาดหวงั ทเ่ี ป็นไปไดจ้ ริงและชี้แจงเป้าหมาย
ให้ชัดเจน การจัดระเบียบกระบวนการ สร้างความเช่ือม่ัน สนับสนุนการเป็นผู้นา เคร่ืองมือช่วยการ
ทางานร่วมกัน ส่งเสริมการเปิดใจ ให้รางวัลกับนวัตกรรม ฉลองความสาเร็จของทีมให้ผู้คนรับรู้
สนับสนุนชุมชนที่เข้มแข็ง กระจายการมอบหมายหน้าท่ี สร้างสภาพแวดล้อมแห่งการร่วมมือภายใน
ทีม หลีกเล่ียงความสัมพันธ์ท่ีมากกว่าผู้ร่วมงาน กาหนดว่าการทางานร่วมกันมีความหมายต่อคุณ
อย่างไร อุปสรรคในการทางานกลุ่ม เสริมสร้างจิตวิญญาณแห่งความไว้วางใจ ลงทุนในการสร้าง
รูปแบบของความสัมพันธ์ในทีม ต้นแบบการสร้างพฤติกรรมการทางานร่วมกัน เน้นในทักษะท่ี มอบ
งานให้หวั หนา้ ทีมท่ีเน้นผลงานและมุ่งเน้นการสร้างความสมั พนั ธ์ เข้าใจบทบาทอย่างชัดเจนและความ
ไม่ชัดเจนของงานบางส่วน นาทีมงานเข้าร่วมการคัดเลือกพนักงานใหม่ คิดทบทวนเก่ียวกับ
สภาพแวดล้อม สนบั สนุนทีมงานทรี่ ่วมงานกนั ได้ดี เปิดช่องทางการส่ือสาร พยายามทาให้รู้ถึงมุมมอง
ส่วนบุคคล มีความรับผิดชอบ ทาให้การทางานร่วมกันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนทีม มีข้อควร
พิจารณาในการสร้างกลุ่ม การพัฒนาทักษะความร่วมมือ และมีวิธีแก้ปัญหาท่ีเกิดจากการทางาน
รว่ มกัน

โดยเหตุผลดังกล่าวผู้วิจัยจึงมีความเห็นว่าการพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลัง
ความร้ขู องครูสกู่ ารพฒั นาทักษะความร่วมมือของนักเรยี น จึงเปน็ การเตรียมความพร้อมของผู้เรียนสู่
โลกยุคเศรษฐกจิ ฐานความรู้และเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ท่ตี ้องพัฒนาผู้เรยี นให้มีทกั ษะสร้างสรรคด์ ้วยการ
จดั การเรียนรู้ที่เนน้ ให้ผ้เู รียนสามารถเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง ทง้ั นเ้ี พ่ือสนับสนุนเดก็ ไทยให้เติบโตเต็มตาม
ศักยภาพ เป็นผู้มีความคิด รู้เท่าทันเทคโนโลยี รู้จักตัวเอง รู้จักเลือกและสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ชาญ
ฉลาด ภาคภมู ใิ จในบริบทของตนเองมีคุณลกั ษณะของผู้ผลติ มองข้ามเทคโนโลยีใหม่ พฒั นานวตั กรรม

6

ที่สอดคลอ้ งกบั สงั คม เป็นผู้กาหนดการเปลี่ยนแปลง มีทักษะในการออกแบบสนิ ค้าหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ
ออกสู่ตลาด สร้างสรรคผ์ ลผลติ หรือนวตั กรรมท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ทของสังคมไทยเพอ่ื ให้สามารถยืนอยู่
ได้ด้วยตนเอง (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2557) โดยการออกแบบพัฒนาหลักสูตรโปรแกรมออนไลน์เพ่ือ
พัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือของนักเรียนให้เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนทางไกล
ผ่านระบบอินเทอรเ์ นต็ เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นการสร้างองค์ความรู้และการสร้างงานด้วยตนเอง
โดยจัดสภาพแวดล้อมเป็นการใชแ้ หล่งการเรยี นรู้ท่ีหลากหลายบนเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตท่ีผู้เรียนและ
ผู้สอนสามารถส่ือสาร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับ และนาเสนอผลงานได้ท้ังในมิติประสาน
เวลาและต่างเวลาไม่จากัดระยะทาง สถานท่ี และเวลาสามารถปรับปรุงเปล่ียนแปลงเนื้อหา หรือ
กิจกรรมให้สอดคล้องกับบริบทสถานการณ์ และความสนใจของผู้เรียนได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว
ประหยดั และไมส่ ิ้นเปลือง เปน็ การส่งเสรมิ การเรียนรู้ได้ตรงกับความต้องการของผู้เรยี น อานวยความ
สะดวกให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ท้ังที่เป็นห้องเรียน ชุมชน และที่
บ้าน เป็นการรวมกันระหว่างทฤษฎี ความแตกต่างระหว่างบุคคลและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โดย
อาศัยความสามารถของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรใ์ นการสรา้ งความรู้ (Knowledge Constructor)
เพอื่ ช่วยสนับสนุนให้ผ้เู รียนมีความกระตอื รือร้น มที ักษะในการเลอื กรับข้อมูลวิเคราะห์และสังเคราะห์
ข้อมูลอย่างเป็นระบบ (Alison et al. 2013; ปกรณ์ สุปินานนท์. 2551; ลดารัตน์ สงวรรณา; 2553)
เป็นการพฒั นาทกั ษะการเรียนรทู้ ่ีผ้เู รียนมีอิสระในการแลกเปลย่ี นเรียนรู้สรา้ งปฏิสมั พนั ธก์ ับผู้อืน่ การ
สืบสวนสอบสวนหาข้อเท็จจริง รู้จักดัดแปลง ทุก ๆ ส่ิงตามความต้องการ (James & Ron. 2010;
วิจารณ์ พานิช. 2555) โดยมีผู้สอนคอยให้คาแนะนาตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และวัตถุประสงค์
ของการออกแบบบทเรียนสร้างมุมมองแปลกใหม่ท้าทาย ทดลอง ค้นคว้าหาคาตอบและสร้างสรรค์
ผลผลติ ใหม่ ๆ ทม่ี คี ุณคา่ ตอ่ การดารงชีวติ ตามคุณลักษณะและธรรมชาติของผ้เู รียน

ปจั จบุ ัน สภาพปัญหาโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ซงึ่ สังกัดกองพทุ ธศาสน
ศึกษา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีปัญหาหลายประการ คือทั้งทางด้านประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ลของการศึกษา ท่มี ีมาตรฐานต่ากว่าระดับมาตรฐานการศึกษาของชาติ ท้ังดา้ นความรู้และ
ทกั ษะของผู้เรียน ด้านความสามารถในการการจัดการเรยี น การสอนของครูผู้สอน และด้านหลักสูตร
และส่ือการเรยี นการสอนทีเ่ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้ ทผ่ี ู้บรหิ าร สถานศึกษาเป็นผดู้ แู ลรวมถงึ ระบบบริหารจัด
การศึกษาที่ยังขาดคุณภาพ ซึ่งปัญหาต่าง ๆ เหล่าน้ีจึงส่งผล กระทบต่อคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ของโรงเรียนพระปริยัติ (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ).2549-
2552) และปัญหาอาจเกิดจากสาเหตุที่สาคัญอีกประการหน่ึง คือการ บริหารงานบุคลากร เพราะ
บุคลากรเป็นผู้ที่ดาเนินงานต่าง ๆ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโรงเรียน ปัญหาด้านบุคลากร ของ
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พบว่าเกิดปัญหาการบุคลากรขาดความร่วมมือ ปัญหา
บุคลากรขาดคุณภาพ ปัญหาการลาออกของครูผู้สอน ทาให้การเรียนการสอนไม่มีความต่อเน่ือง
ปัญหาการขาดแคลนครูทีม่ ีความรู้ความเขา้ ใจอย่างแทจ้ รงิ โดยเฉพาะวชิ าบังคับ หรือวิชาหลกั ปญั หา
ครูท่ีสอนมีวุฒิการศึกษาไม่ตรงกับวิชาท่ีสอนขาดการอบรมเก่ียวกับเน้ือหาหลักสูตร และเทคนิคการ
สอนแบบต่าง ๆ (พิชชาวรนิ ชนะคมุ้ . 2554) และนอกจากน้ันยงั พบว่าปญั หาเกิดจาก ครูและบุคลากร
ได้รบั คา่ ตอบแทนต่ากว่าวฒุ ิการศกึ ษา มสี ถานภาพท่ีไม่ชัดเจน ไมม่ คี วามมั่นคงในวิชาชพี ไม่ไดร้ บั การ
พัฒนาอย่างต่อเน่ือง สถานภาพเป็นเพียงลูกจ้างของวัด ขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่มีการ

7

พิจารณาความดีความชอบ เพ่ือเล่ือนข้ันเงินเดือนประจาปี ไม่มีการสอบบรรจุแข่งขันเหมือน
ข้าราชการครูทาให้ประสบปัญหาใน กระบวนการเรียนการสอนของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศึกษาไม่มีประสิทธิภาพ และไม่ได้ มาตรฐานเท่าที่ควร (กลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามญั ศกึ ษา, 2549)

จากปัญหาและความสาคัญท่ีกล่าวมาข้างต้น จึงทาให้ผู้วิจัยสนใจงานวิจัยและพัฒนา
(Research and Development : R&D) โปรแกรมออนไลนเ์ พ่ือเสรมิ พลังความรู้ของครูสู่การพัฒนา
ทักษะความร่วมมือของนกั เรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา โดยใชร้ ะเบยี บวิธีวิจัย
และพัฒนา (Research and Development : R&D) ตามทัศนะของวโิ รจน์ สารรัตนะ (2561) ทเี่ ห็น
ว่า นวัตกรรมท่ีพัฒนาขึ้นโดยกระบวนการวิจัยและพัฒนามีจุดมุ่งหมายเพื่อนาไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่
การพัฒนาคุณภาพของงานท่ีมีปรากฏการณ์หรือข้อมูลเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่ามีความจาเป็น
เกิดขึ้น เช่น เป็นผลสืบเนื่องจากการกาหนดความคาดหวังใหม่ท่ีท้าทายของหน่วยงาน หรือการ
เปล่ียนแปลงในกระบวนทัศนก์ ารทางานจากเก่าสู่ใหม่ทบ่ี ุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะใน
กระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหาร
การศึกษาเกิดขึ้นมากมาย ท่ีคาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แล้ว
กระตุ้นให้พวกเขานา -ความรู้เหล่านี้สู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การ
ปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลย่ิงขึ้น ตามแนวคิด “Knowledge +
Action = Power” หรือตามคากล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage
Them Do What They Know” หรือ “Link To On-The-Job Application” ซ่ึงจากลกั ษณะสาคัญ
ของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ดังกล่าว ผู้วิจัยเชื่อว่าจะสามารถ
ตอบสนองต่อความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น การวิจัยและพัฒนา จะช่วย
พัฒนาทักษะความร่วมมือของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ จึงทาให้ผู้วิจัยสนใจและมุ่งท่ีจะศึกษางานวิจัยและพัฒนาการพัฒนาโปรแกรมออนไลน์
เพื่อการเรียนรขู้ องครูสู่การพัฒนาทักษะความรว่ มมือของนักเรยี นในโรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนก
สามัญศึกษา และเชื่อมั่นว่างานวิจัยจะช่วยให้โรงเรียนพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนการ
เรียนรู้ทกั ษะความร่วมมอื ของนักเรยี นในโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษาอย่างเป็นระบบ

จากลักษณะสาคัญของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D)
ดังกล่าว ผูว้ จิ ยั เช่อื ว่าจะสามารถตอบสนองต่อความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหาดงั กล่าวข้างต้น
เพราะการวิจัยและพัฒนาจะช่วยพัฒนานวัตกรรมเพ่ือการเรียนรู้แบบออนไลน์ในยุคสังคมดิจิทัลให้
เกิดการเรียนรู้และการนาไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซ่ึงในยุคสมัยดิจิทัลในปัจจุบัน มี
ความสาคัญจาเป็นมากและเป็นเรื่องใหม่ท่ีครูผู้สอน (Teachers) จะต้องเรียนรู้และทาความเข้าใจ
เก่ียวกบั ทกั ษะความรว่ มมือ (Collaboration Skills) ซ่ึงเป็นทกั ษะสาคญั ทกั ษะหน่ึงสาหรับการศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 เพื่อนาไปสู่การพัฒนานักเรียน (Students) ซ่ึงเป็นเป้าหมายสุดท้าย (Ultimate
Goal) ของการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะโปรแกรมออนไลนเ์ พื่อพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือของครูสู่การพัฒนานักเรียนที่เป็นผลจากการวิจัยและพัฒนาจาก “กลุ่มทดลอง” ท่ีใช้ในการ
วิจัย คือ โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อาเภอเมืองหนองคาย จังหวัด
หนองคาย ซ่ึงเป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดกองพุทธศาสนศึกษา สานักงาน

8

พระพุทธศาสนาแห่งชาติ สามารถจะนาไปเผยแพร่เพ่ือใช้ให้เกิดประโยชน์ในกลุ่มประชากร
(Population) ซง่ึ เป็นเปา้ หมายอา้ งอิงในการนาผลการวิจยั ไปเผยแพร่เพอ่ื ใช้ให้เกิดประโยชน์หลังการ
วิจัยและพัฒนา คือ โรงเรียนโรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดกองพทุ ธศาสนศกึ ษา
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ “ทุกโรงท่ัวประเทศ” ได้ ตามหลักการของการวิจัยและพัฒนา
(Research and Development : R&D) ท่ีวิจัยและพัฒนานวัตกรรมใด ๆ ขึ้นมา แล้วนานวัตกรรม
นั้นไปทดลองใช้ในพื้นท่ีทดลองแห่งใดแห่งหนึ่งที่มีคุณลักษณะเป็นตัวแทนของประชากร เมื่อผลจาก
การทดลองพบวา่ นวัตกรรมน้ันมคี ุณภาพหรือมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ก็แสดงว่า สามารถ
เผยแพร่เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์กับประชากรท่ีเป็นกลุ่มอ้างอิงในการวิจัยได้ และย่ิงเป็นโปรแกรม
แบบออนไลน์ (Online Program) ที่พัฒนาข้ึนตามยุคสมัยดิจิทัลแบบใหม่ ไม่เป็นโปรแกรมแบบ
เอกสาร (Document Based Program) แบบยุคสมัยการพิมพ์แบบด้ังเดิม จะยิ่งทวีความเป็น
ประโยชน์ต่อการนานวัตกรรมที่พฒั นาข้ึนไปเผยแพร่เพ่ือใช้ประโยชน์ของประชากรท่ีเป็นกลุ่มอ้างอิง
ในการวิจัยได้อยา่ งกว้างขวาง อย่างประหยดั อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และเกดิ ประสิทธผิ ลไดม้ ากกวา่

1.2 คาถามการวจิ ัย

โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสรมิ พลงั ความรู้ของครูสกู่ ารพฒั นาทกั ษะความร่วมมอื ของนกั เรียน
ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ท่ีพัฒนาขึ้นโดยกระบวนการวิจัยและพัฒนาด้วย
แนวคิด “Knowledge + Action = Power” ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ 1) โครงการ
พัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครูเกี่ยวกับการพฒั นาทักษะความรว่ มมือ 2) โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่
การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือให้กับนักเรียน มีคู่มือประกอบแต่ละโครงการที่มีเน้ือหาสาระ
อะไรบา้ ง และหลังการใชค้ ู่มือประกอบแต่ละโครงการในภาคสนามด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชงิ ทดลอง ครู
ที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการดาเนินงานในโครงการแรกได้คะแนนจากการทดสอบความรู้เป็นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรือไม่ และมีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติหรือไม่ ผลการประเมินทักษะความร่วมมือของนักเรียนหลังการดาเนินงานใน
โครงการที่สองมีค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
หรือไม่ และมขี ้อเสนอแนะจากครทู เี่ ปน็ กลุ่มทดลองเพ่อื การปรบั ปรุงแก้ไขเน้ือหาสาระในคู่มอื อะไรอีก

1.3 วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย

การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพ่ือวิจัยและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพ่ือพัฒนาครูสู่การ
เสริมสร้างทักษะความร่วมมือของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา มี
วัตถปุ ระสงค์ดงั นี้

1.3.1 เพ่ือพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” ท่ี
ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครูเกี่ยวกับการพัฒนา
ทักษะความร่วมมือ 2) โครงการครนู าผลการเรียนรู้สูก่ ารเสริมสร้างทกั ษะความร่วมมือให้กับนักเรียน
โดยมคี ู่มือประกอบแตล่ ะโครงการ

1.3.2 เพอ่ื ประเมินความมีประสิทธิภาพของโปรแกรมออนไลน์จากผลการวิจัยเชิงทดลอง
ในภาคสนาม 2 ระยะ คือ การพัฒนาครู และครพู ัฒนานกั เรยี น

9

1.3.3 เพื่อระดมสมองของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองให้ทราบถึงข้อเสนอแนะเพือ่ การปรับปรงุ
แกไ้ ขโปรแกรมออนไลน์

1.4 สมมตฐิ านการวจิ ัย

การวิจัยและพฒั นาโปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลังความรู้ของครูสูก่ ารพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา
(Research and Development : R&D) ตามทัศนะของวิโรจน์ สารรตั นะ (2561) ท่ีเห็นว่า นวตั กรรม
ที่พัฒนาขึ้น โดยกระบวนการวิจัยและพัฒนามีจุดมุ่งหมายเพ่ือนาไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพัฒนา
คุณภาพของงานที่มีปรากฏการณ์หรือข้อมูลเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่ามีความจาเป็นเกิดขึ้น เช่น
เป็นผลสืบเนื่องจากการกาหนดความคาดหวังใหม่ท่ีท้าทายของหน่วยงาน หรือการเปล่ียนแปลงใน
กระบวนทัศน์การทางานจากเก่าสู่ใหม่ที่บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะในกระบวนทัศน์
ใหม่ และในปจั จุบนั มหี ลักการ แนวคดิ ทฤษฎีทถี่ อื เปน็ นวัตกรรมใหมท่ างการบริหารการศึกษาเกิดข้ึน
มากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานา
ความรู้เหล่าน้ีสู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลย่ิงข้ึน ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือ
ตามคากล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They
Know”หรือ “Link To On-The-Job Application” และด้วยแนวคิดที่ว่าการศึกษาวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้องในบทท่ี 2 ถือเป็นจุดเริ่มต้นท่ีสาคัญของการวิจัยและพัฒนา เพราะจะทาให้ได้โปรแกรม
ออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม
แผนกสามญั ศกึ ษา ทม่ี ีคุณภาพและประสทิ ธภิ าพ

ผลจากการศึกษาเอกสารและงายวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทท่ี 2 ผู้วิจัยได้กาหนดกรอบแนวคิด
เพอื่ พฒั นาครสู ู่การเสริมสรา้ งทักษะความรว่ มมอื ของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญ
ศึกษา ท่ีประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ คือ 1) โครงการพฒั นาการเรียนรู้ของครูเกีย่ วกับการ
พัฒนาทักษะความร่วมมือ และ 2) โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือ
ใหก้ บั นักเรียน

ในการดาเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้ดาเนินการจัดทาโครงการ จัดทาคู่มือ ตรวจสอบคุณภาพ
ของคู่มือ สร้างเคร่ืองมือเพ่ือใช้ในการวจิ ัย และทดลองในภาคสนาม จากข้ันตอนต่าง ๆ ของการวิจัย
คือ ข้ันตอนการจัดทาคู่มือประกอบโครงการ ขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพคู่มือและการปรับปรุง
แกไ้ ข 2 ระยะ ขั้นตอนการสรา้ งเคร่ืองมือเพ่ือการพัฒนา และขัน้ ตอนการพฒั นาในภาคสนาม ซ่ึงเปน็
ข้ันตอนการวิจัยที่เช่ือว่าจะทาให้ได้ผลการวิจัยที่มีคุณภาพ ดังนั้น จึงกาหนดสมมุติฐานการวิจัยว่า
โปรแกรมออนไลน์เพอ่ื การเรยี นรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือของนกั เรียนในโรงเรียนพระ
ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ที่ผ่านการพัฒนาในภาคสนามแล้วจะมีประสิทธิภาพจากผลการ
ประเมนิ 2 กรณี ดงั น้ี

1.4.1 ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการดาเนินงานใน
โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครูเก่ียวกับการพัฒนาทักษะความร่วมมือเป็นไปตามเกณฑ์

10

มาตรฐาน 90/90 และมีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
หรอื ไม่

1.4.2 ผลการประเมินทักษะความร่วมมือของนักเรียนตามโครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่
การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือให้กับนักเรียนมีค่าเฉล่ียของคะแนนหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการ
พัฒนาอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถิติ

1.5 กรอบแนวคิดของการวิจัยในสาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา

การวิจัยเร่ือง “โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือของนักเรียน” น้ีเป็นการวิจัยในหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหาร
การศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา
(Research and Development: R&D) มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ได้นวัตกรรมทางการศึกษาท่ีเป็น
โปรแกรมอบรมออนไลนด์ ว้ ยตนเองท่ีประกอบดว้ ย 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพอ่ื การเรียนรู้
ของครู และ 2) โครงการครูนาผลการเรียนสูก่ ารพัฒนาผเู้ รียน โครงการแรกมคี มู่ ือเพ่ือการอบรมด้วย
ตนเอง (Self-Training) ของครู โครงการทีส่ องมคี มู่ ือเชงิ ปฏิบัตกิ ารเพื่อครูนาไปใชเ้ ปน็ แนวการพัฒนา
ผู้เรียน โดยคาดหวังว่านวัตกรรมทางการศึกษาน้ี เมื่อผ่านกระบวนการวิจัยและพัฒนาหลายข้ันตอน
(Ri&Di) แลว้ นาไปทดลองใช้ในพ้นื ทท่ี ี่เป็นตัวแทนของประชากร เมอื่ ผลการทดลองพบวา่ นวตั กรรมนั้น
มปี ระสทิ ธภิ าพ ก็สามารถนาไปเผยแพร่ให้กบั ประชากรท่ีเปน็ พื้นท่ีเป้าหมายได้ใช้ประโยชนใ์ นวงกว้าง
ได้อย่างมีผลการวิจัยรองรับ ดังนั้น การวิจัยน้ีมีกรอบแนวคิดของการวิจัยในสาขาวิชาการบริหาร
การศกึ ษา ดังนี้

1.5.1 ในเชิงวชิ าการ มหี ลายประการ แตข่ อนามากล่าวถงึ ท่สี าคญั ดงั นี้
1.5.1.1 งานวิจัยน้ีให้ความสาคัญกับการศึกษาศตวรรษที่ 21 ซ่ึงมีความสาคัญเพราะ

เป็นสิ่งท้าทายต่อการบริหารการศึกษาในศตวรรษใหม่น้ี อันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในกระบวน
ทัศน์ทางการศกึ ษาที่แตกต่างจากศตวรรษที่ 20 ทกุ ดา้ น ทัง้ ดา้ นศาสตรก์ ารสอน หลักสูตร ทักษะการ
เรียนรู้ ทักษะของครู ทักษะที่คาดหวังให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ลักษระของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
บริบทของสถานศึกษา บริบทของห้องเรียน และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ บทบาทหน้าท่ีและภาวะ
ผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา (Churches, 2008; Driscoll, 2022;
and Kashyap, n.d.)

1.5.1.2 งานวิจัยนี้มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับสถานศึกษา ท่ีนักวิชาการให้
ความเหน็ ว่า การบริหารการศึกษาเกิดข้นึ ในระดับต่าง ๆ ตั้งแตส่ ่วนกลางถึงระดับสถานศึกษา แตก่ าร
บริหารการศึกษาระดับสถานศึกษา (คือ โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือช่ือเรียกอ่ืนๆ) มี
ความสาคัญเพราะเป็นฐานปฏิบัติที่จะทาให้การระดมทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรวัตถุให้เกิด
ประโยชน์ท่ีใช้งานได้จริง เป็นฐานปฏิบัติท่ีจะช่วยเสริมสร้างการสอนและการเรียนรู้ท่ีจะส่งผลให้
นักเรียนได้รับการศึกษาท่ีถูกต้องจากครูที่ถูกต้อง และเป็นฐานปฏิบัติที่จะสร้างอิทธิพลที่ส่งผลต่อ
นักเรียนให้เติบโตไปสู่เป้าหมายท่ีกาหนดโดยมีครูเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง ( Kashyap, n.d.)
สอดคล้องกับแนวคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management: SBM) ซึ่ง
เป็นรปู แบบการกระจายอานาจให้โรงเรยี นท่ีเป็นหน่วยหลักในการจัดการศกึ ษา (Edge, 2000)

11

1.5.1.3 การวิจัยนี้ใช้หลักการ “พัฒนาครู แล้วครูนาผลท่ีได้รับไปพัฒนาท่ีส่งผลต่อ
ผู้เรียน” ถือเป็นหลักการท่ีเป็นจุดเน้นของการบรหิ ารการศึกษา คือ การเสริมสร้างการสอนและการ
เรียนรู้ (The Focus of Educational Administration is the Enhancement of Teaching and
Learning) (Amadi, 2008) เป็นกระบวนการชว่ ยให้นกั เรยี นไดร้ ับการศึกษาทีถ่ ูกต้องจากครูท่ีถูกต้อง
( Enables the Right Pupils to Receive the Right Education from the Right Teachers)
(Dhammei, 2022) เป็นการกระตุ้นการพัฒนาโปรแกรมที่เหมาะสมสาหรับการสอนและการเรียนรู้
(Bamte, n.d.) เป็นไปตามหน้าที่ของการบริหารการศึกษาตามทัศนะของ Amadi (2008) ที่กล่าวถึง
หน้าที่เก่ียวกับหลักสูตร/การสอน (The Curriculum/Instructional Functions) หน้าท่ีเกี่ยวกับ
บุคลาก ร ( The Staff Personnel Functions) และ หน้าท่ีเก่ี ยว กั บนักเรียน ( The Student
Personnel Functions) และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการบรหิ ารการศึกษา คอื เพื่อใหก้ ารศึกษา
ที่เหมาะสมแกน่ กั เรียน (To Provide Proper Education to Students) เพอื่ ใหแ้ น่ใจว่ามกี ารพัฒนา
วิชาชีพของครู (To Ensure Professional Development among Teachers) และเพ่ือความมนั่ ใจ
ใ น ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ( To Ensure Qualitative Improvement of Education)
(Kashyap, n.d.) อันเน่ืองจากหลักการ “พัฒนาครู แล้วครูนาผลท่ีได้รับไปพัฒนาที่ส่งผลต่อผู้เรียน”
เป็นหลักการส่งเสริมบทบาทการเป็นผู้นาทางการศึกษาให้กบั ครูตามทัศนะของ Speck (1999) และ
Seyfarth (1999) ส่งเสริมต่อการทาหน้าที่ของผู้บริหารการศึกษาที่จะต้องสนับสนนุ คณะครูด้วยการ
ฝึกอบรมและให้คาแนะนาตามทัศนะของ University of Bridgeport (2022) และ Target Jobs
(n.d.) และส่งเสริมต่อแนวคิดพัฒนาวชิ าชีพของครูท่ีให้คานงึ ถึงการส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนซ่งึ เป็น
เป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) ของการศึกษาตามทัศนะของ Gusky (2000) และ Hoy and
Miskel (2001)

1.5.2 ในเชิงวิชาชีพ การวิจัยน้ีคานึงถึงมาตรฐานวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาและ
ผู้บริหารการศึกษาที่คุรุสภากาหนดตามมาตรฐานด้านความรู้ ในกรณีสามารถพัฒนาครูและบุคลากร
ให้สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนาความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎี
ไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และสร้างองค์ความรู้ในการบริหารจัดการการศึกษา
สามารถนากระบวนการทางการวิจัย การวัดและประเมินผล ไปใช้ในการบริหารจัดการการศึกษาได้
สามารถสง่ เสรมิ สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา และสามารถบรหิ ารจดั การข้อมูล
ข่าวสารไปสู่ผู้เรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษา และตามมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน ในกรณีปฏิบัติ
โดยคานงึ ถงึ ผลทีจ่ ะเกิดขึน้ กับการพฒั นาของบุคลากร ผเู้ รียน และชุมชน พัฒนาผรู้ ่วมงานใหส้ ามารถ
ปฏิบตั ิงานได้เต็มศักยภาพ พัฒนาและใชน้ วัตกรรมการบริหารจนเกดิ ผลงานท่ีมีคุณภาพสูง และสร้าง
โอกาสการพฒั นาได้ทกุ สถานการณ์ (The Teachers Council of Thailand, n.d.)

1.6 ขอบเขตการวิจัย

1.6.1 กลุ่มทดลอง (Experiment Group) ในการวิจัยและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อ
เสริมพลังความรขู้ องครูสกู่ ารพฒั นาทกั ษะความร่วมมือของนกั เรียนในโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนก
สามัญศึกษาน้ี คือ โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ อาเภอเมือง
หนองคาย จงั หวัดหนองคาย ซึ่งมีครูระดบั มัธยมศกึ ษา 11 ราย และมนี กั เรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาศึกษา

12

ตอนต้น จานวน 91 รูป นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 113 รูป รวม 204 รูป ระยะเวลา
ดาเนนิ การทดลองในภาคสนาม คอื ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

1.6.2 กลุ่มประชากร (Population) ซึ่งเป็นเป้าหมายอ้างอิงในการนาผลการวิจัยไป
เผยแพร่เพ่ือใช้ให้เกิดประโยชน์หลังการวิจัยและพัฒนา คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ
ศึกษา สังกดั กองพุทธศาสนศกึ ษา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ทุกโรงทัว่ ประเทศ จานวน 408
โรง สาหรับโรงเรียนบาลีสาธติ ศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วัดศรีษะเกษ อาเภอเมือง จังหวัด
หนองคาย เป็นสถานศึกษาท่ีผวู้ ิจยั ไดค้ ัดเลือกให้เปน็ กลมุ่ ทดลอง (Experiment Group) ในการวิจัยเท่านน้ั

1.7 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ

เพ่อื ให้เกิดความเข้าใจถูกตอ้ งและตรงกนั ผวู้ จิ ัยได้กาหนดนิยามศพั ท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย
ครัง้ นี้ ดงั นี้

1.7.1 โปรแกรมออนไลน์ หมายถึง ส่ือดิจิทัลที่เป็นเคร่ืองมือในการปฏิบัติการทางสังคม
(Social Tool) เพื่อใช้สื่อสารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์
โดยนาเอาคู่มือประกอบโครงการพัฒนาความรู้ 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาความรู้ของครู
เก่ียวกับการพัฒนาทักษะความร่วมมือ 2) โครงการครูนาความรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือ
ให้กับนักเรียน ลงเว็บไซต์เพ่ือให้ง่ายต่อการเข้าถึงคู่มือประกอบโครงการ และใช้โปรแกรม Zoom
Cloud เป็นโปรแกรมทีใ่ ช้ในการเรยี นการสอนและการประชุมแบบออนไลน์ เพอื่ ให้ง่ายและสะดวกต่อ
การประชุม พดู คุย ตดิ ต่อประสานงาน และเพื่อให้ง่ายต่อการรับ-สง่ ข้อมลู ความคิดเห็น ขอ้ เสนอแนะ
ต่าง ๆ มีการสร้างกลุ่ม Messenger ข้ึนมาเพ่ือให้สะดวก มีการสร้างข้อสอบออนไลน์พร้อมตรวจ
คาตอบด้วยผ่าน Google Form และมีการสร้างแบบประเมินทักษะการแกป้ ัญหาแบบประเมนิ คา่ สถิติ
5 ระดับ ด้วย Google Form หรือ Google Documents

1.7.2 ทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) หมายถึง การทางานกับคนอื่นซ่ึง
เป็นการจัดการแบบมีส่วนร่วมซ่ึงทั้งสองฝ่ายหรือมากกว่าน้ัน ต้องใช้การผสมผสานระหว่างมนุษย
สัมพนั ธ์ การแกป้ ัญหาและทักษะการสือ่ สาร เพื่อสรา้ งบางสง่ิ บางอยา่ ง คือ พฤติกรรมทีช่ ่วยคนสองคน
หรือมากกว่านั้นให้ทางานด้วยกันและทาหน้าท่ีได้ดีในกระบวนงานนั้น ๆ เพื่อเชื่อมประสานกันเป็น
ส่ิงจาเป็นไม่ว่าในท่ีทางานใด ๆ ช่วยให้บุคลากรสามารถประสานงานกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผล
การทางานร่วมกันเพื่อความสาเร็จต้องอาศัยจิตวิญญาณความร่วมมือและการเคารพซึ่งกันและกัน
เพ่ือบรรลุเปา้ หมายรว่ มกัน ในงานวจิ ัยน้ไี ด้กาหนดทักษะเพอื่ การประเมนิ ผลจากการพัฒนา 6 ทกั ษะ
แตล่ ะทักษะมีนยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะดงั นี้

1.7.3 การมวี ิสัยทศั นแ์ ละการลงมอื ทา (Visionary and Action) หมายถงึ การส่งเสรมิ
กระบวนการท่ีมีประสิทธิภาพในการค้นหาแรงบันดาลใจจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งเสริมการ
พัฒนาวิสัยทัศน์ร่วมกัน ซึ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคนมีส่วนในการกาหนดวิสัยทัศน์น้ี สร้างกรอบการ
ทางานโดยใช้การคิดอย่างเป็นระบบ ส่งเสรมิ การสรา้ งทีมผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียในการช่วยกันพฒั นาแผน
กลยุทธ์การปฏิบัติงาน และส่งเสริมความหลากหลาย และสร้างแผนปฏิบัติงานด้วยการกาหนด
ช่วงเวลาและหนา้ ทท่ี ี่ได้รับมอบหมายเพ่ือให้เป็นไปตามวิสยั ทศั น์

13

1.7.4 การสร้างความเช่ือมั่น (Building Trust) หมายถึง การ “พูดจริงทาจริง” ทาใน
สง่ิ ท่ีพดู ปกปอ้ งกลุ่มจากผู้ทเ่ี อาเปรยี บผอู้ ่ืนในการทางานร่วมกัน สรา้ งกระบวนการทม่ี ีความน่าเช่ือถือ
ในการทางานร่วมกัน เชื่อว่าความร่วมมือเกิดข้ึนจากบุคคลและองค์กรจากหลายภาคส่วน มีความรู้
และทักษะที่จาเป็นในการทางาน สามารถดึงดูดผู้อื่นให้ทางานร่วมกบั ฉัน และเชื่อมั่นว่าความเชื่อถอื
คือหลกั พน้ื ฐานในการรว่ มงานกบั ผ้อู นื่ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

1.7.5 การแบ่งปันพลังและสร้างแรงจูงใจ (Sharing Power and Influence)
หมายถึง การใช้พลงั อยา่ งมีความรับผิดชอบ แบง่ ปันพลงั เพ่ือเพมิ่ พลัง และการแบ่งปนั ความรู้ แบ่งปัน
พลังใหแ้ ก่ผูอ้ ืน่ เม่อื ทาได้ เมื่อฝกึ ฝนภาวะผ้นู ามกั จะพง่ึ พาการแกป้ ัญหาให้กับเพ่อื น แสดงออกถึงความ
มั่นใจให้ผู้อื่นได้เห็น และผู้ท่ีทางานร่วมกันในแต่ละกลุ่มมีระดับความรู้ ทักษะ และอานาจในการ
ตดั สนิ ใจทเี่ หมาะสม

1.7.6 การสร้างความสัมพันธ์ (Building Relationships) หมายถึง การเช่ือว่าการ
สร้างความเชื่อม่นั ในองค์กรและการให้ความเช่ือม่นั ต้องใช้เวลา เช่ือว่าคนท่ีเข้าร่วมกันทางานมีความ
เคารพอยา่ งสูงซ่งึ กนั และกัน มีความมุง่ มนั่ ที่จะสร้างความรู้สกึ ท่วี ่าบุคคลที่เขา้ ร่วมมคี วามเป็นเจ้าของ
องคก์ รรว่ มกัน มีการเปิดการสนทนา และมมุ มองที่แตกต่างกนั เป็นสิ่งทีเ่ ราใหค้ วามสาคญั เชื่อว่าความ
ขัดแย้งเป็นเร่ืองที่ยอมรับได้ โดยการทาให้ความขัดแย้งเป็นแหล่งสร้างนวัตกรรม และมีการจัดการ
ความคดิ ทแ่ี ตกตา่ งได้อย่างดี ด้วยวิธกี ารทีเ่ อ้ือตอ่ การมสี ่วนร่วมของทุกคน

1.7.7 การสะท้อนตนเอง (Self-Reflection) หมายถึง การรับรู้ถึงผลกระทบของ
อารมณ์ต่อการทางาน และการสร้าง “ความปลอดภัยทางจิตใจ” สามารถบอกจุดแข็ง จุดอ่อนของ
ตัวเองได้ ทางานเพ่ือเขา้ ใจมมุ มองของผู้อ่ืน เข้าใจการเปลี่ยนแปลงภายในกลมุ่ สร้างสภาพแวดล้อมที่
ปลอดภัยเพอ่ื การสอื่ สารอย่างเปดิ เผย และใชเ้ วลาในการสะท้อนตนเองและการปรบั ปรุงแนวทางปฏบิ ัติ

1.7.8 การตัดสินใจ (Decision-making) หมายถึง การมีความเข้าใจขอบเขตความ
รับผิดชอบและบทบาทอย่างชัดเจน สมาชิกในทีมมีความกระตือรือร้นท่ีจะเข้าร่วมในการตัดสินใจท่ี
สาคญั กระบวนการประชุมในทีมมีประสิทธภิ าพ มีกระบวนการดาเนินงานและกระบวนการตัดสินใจ
ท่ีชัดเจน มีความยืดหยุ่นและความประนีประนอมเมื่อมีการตัดสินใจเกิดข้ึน และส่งเสริมความคิด
สรา้ งสรรค์ นวัตกรรม และส่งเสรมิ การยอมรบั ความเสยี่ ง

1.7.9 คมู่ ือประกอบโครงการ หมายถงึ ชุดของข้อมูลท่มี ีองคป์ ระกอบต่าง ๆ ดงั น้ี คือ ชอื่
ของคู่มือ คาแนะนาการใช้คู่มือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่คาดหวังจากคู่มือ เน้ือหาท่ีนาเสนอใน
รูปแบบเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) แบ่งเน้ือหาเป็นช่วง ๆ แต่ละช่วงมีกิจกรรมให้
ทบทวน เชน่ การตั้งคาถามให้ตอบ การให้ระบุขอ้ สงั เกต การใหร้ ะบคุ าแนะนาเพือ่ การปรับปรุงแก้ไข
เปน็ ต้น สรปุ แบบประเมินผลตนเองทา้ ยชุด และรายชอ่ื เอกสารอ้างอิง

1.7.10 คู่มือประกอบโครงการพัฒนาความรู้ของครูเก่ียวกับการพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือให้กับนักเรียน หมายถึง ชุดของข้อมูลท่ีนาเสนอเนื้อหาเก่ียวกับนิยาม ความสาคัญ ลักษณะ
และแนวการพัฒนาทักษะความร่วมมือ โดยมีชื่อของคู่มือ คาแนะนาการใช้คู่มือ วัตถุประสงค์การ
เรียนรทู้ ่ีคาดหวงั จากค่มู อื เนอ้ื หาทน่ี าเสนอในรูปแบบเพ่ือการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning) แบ่ง
เนือ้ หาเปน็ ชว่ ง ๆ แตล่ ะช่วงมีกิจกรรมให้ทบทวน เชน่ การต้ังคาถามให้ตอบ การใหร้ ะบุข้อสงั เกต การ

14

ให้ระบุคาแนะนาเพ่ือการปรับปรุงแก้ไข มีแบบประเมินผลตนเองท้ายชุด และรายชื่อเอกสารอ้างอิง
เป็นต้น

1.7.11 คู่มือประกอบโครงการครูนาความรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือให้กับ
นักเรยี น หมายถงึ ชดุ ของขอ้ มลู ทีเ่ สนอเนื้อหาเก่ียวกับคาแนะนา และการกาหนดงานให้กับครูในการ
นาความรู้เกี่ยวกับนิยาม ความสาคัญ ลักษณะ และแนวการพัฒนาทักษะความร่วมมือ สู่การพัฒนา
ทกั ษะความรว่ มมือของนกั เรยี นในโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

1.7.12 เกณฑม์ าตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) หมายถงึ เกณฑ์ทีใ่ ช้วัดความ
มีประสิทธิภาพของคู่มือตอ่ การเสรมิ สร้างความรู้ในโครงการพัฒนาความรใู้ ห้กับครทู ่ีเป็นกลุ่มทดลอง
โดย 90 ตัวแรก หมายถึง รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ ของผูเ้ รียนทงั้ กล่มุ ท่ีไดจ้ ากการวัดด้วยแบบทดสอบ
วัดความรอบรู้หลังจากเรียนจากบทเรียนท่ีสร้างข้ึนจบลง 90 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละของจานวน
ผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบ (วัดความรอบรู้หลังการเรียนจากบทเรียนที่สร้างขึ้นจบลง) โดย
สามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านตามเกณฑว์ ัตถุประสงค์ทกุ วัตถปุ ระสงค์

1.8 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั

1.8.1 การวจิ ัยนส้ี ง่ เสริมตอ่ แนวคิดการเปน็ แผนงานวิจัยและชดุ โครงการวิจยั
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีนโยบายส่งเสริมการทา

วิทยานิพนธ์ของนกั ศึกษาในหลกั สูตรศึกษาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา ภายใต้
ร่มหรือกรอบของแผนงาน “การศึกษาศตวรรษท่ี 21 (21St Century Education)” โดยประยุกต์ใช้
แนวคิดของการจัดทาแผนงานวจิ ัยหรือชุดโครงการวจิ ัยมาใช้เป็นการภายในของหลักสูตร โดยเช่ือว่า
“การส่งเสริมให้ทางานวิจัยเป็นแผนงานวิจัยหรือชุดโครงการวิจัย จะมีประโยชน์ต่อการพัฒนาทาง
วิชาการหรือต่อการนาไปปฏิบตั ิที่ดกี ว่าการทางานวิจยั ในลกั ษณะเปน็ โครงการเดี่ยว” ซึ่งจะกอ่ ให้เกิด
ประโยชน์ดังคากล่าวของ โยธิน แสวงดี (ม.ป.ป.) อาจารย์ประจาสถาบันวิจัยประชากรและสังคม
มหาวิทยาลยั มหดิ ล ทว่ี า่ ชุดโครงการวจิ ัยเป็นการกล่มุ รวมของโครงการวิจัยยอ่ ยท่ีคน้ หาองคค์ วามรู้ใน
ส่ิงท่ีเอื้อต่อกันและกนั สามารถนาไปใช้ในการผลักดันให้เกิดสิ่งท่ีต้องการให้เกิดข้ึนได้ เป็นชุดความรู้
รวมทั้งหมดที่เมอื่ บูรณาการกันแลว้ จะสามารถไดค้ วามรู้เปน็ องคร์ วม (Holistic) ท่ีนาไปใชเ้ ปน็ พื้นฐาน
ในการคิดและประดิษฐต์ ามเป้าหมาย เพราะหากทาโครงการเด่ยี ว โครงการเดียวอาจไดแ้ ตค่ วามรู้โดด
ๆ นาไปพัฒนาหรือประดิษฐ์ไม่ได้ เพราะขาดองค์ความรู้บางอย่างบางตอนที่ไม่ทราบเพราะไม่ได้
ตรวจสอบหรือทาวิจัย ดงั นนั้ งานวจิ ยั นีจ้ ึงใหค้ วามสาคญั กบั ประเด็นหรือทกั ษะของการศึกษาศตวรรษ
ท่ี 21 ท่ีมีนักศึกษาคนอ่ืน ๆ ในหลักสูตรได้ทากันในลักษณะ 1 นักศึกษาต่อ 1 ทักษะศตวรรษที่ 21
หรอื ต่อ 1 ประเดน็ การศกึ ษาศตวรรษที่ 21

1.8.2 การารวิจัยน้ีใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่ส่งเสริมต่อแนวคิดของแผนงานวิจัยหรือชุด
โครงการวิจัย

ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ดังทัศนะของ โยธิน แสวงดี (ม.ป.ป.) ที่กล่าวว่าการทาวิจัย
แบบแผนงานวิจัยหรือชุดโครงการวิจัยส่วนมากจะเป็นการวิจัยและพัฒนา ( Research and
Development) เพราะต้องมีการค้นหาชุดความรู้และการวัดสถานะการเบ้ืองต้น (Formative
Evaluation) ที่มีตัวชี้วัดยืนยัน มีการพัฒนา การสร้าง การทดลองใช้ การวัดและการติดตาม การ

15

สังเกตการเปลี่ยนแปลงในตัวชี้วัด และมีการประเมินผล (Summative Evaluation) ตามตัวชี้วัด
นาไปสู่การเปลี่ยนแปลง (แตกต่าง เช่น ใช้ t-test เปรียบเทียบ) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อ
เปรียบเทียบก่อนและหลงั การปฏิบตั งิ าน

1.8.3 การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยท่ีให้สาคัญต่อแนวคิดการพัฒนาและประยุกต์
(Development)

ซ่ึงจะก่อให้เกิดประโยชน์ดังทัศนะของสานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ (2563) ที่
กลา่ วถึงงานวจิ ัยพฒั นาและประยุกตว์ ่า เปน็ การศกึ ษาคน้ คว้าเพอื่ หาความรู้ใหมๆ่ และมวี ัตถุประสงค์
เพ่อื นาความรนู้ นั้ ไปใช้อยา่ งใดอย่างหนึ่ง หรอื เปน็ การนาเอาความรแู้ ละวิธกี ารต่าง ๆ ทีไ่ ด้จากการวจิ ัย
ขนั้ พน้ื ฐานมาประยุกต์อีกตอ่ หนึ่ง หรือหาวธิ ีใหม่ๆ เพื่อบรรลุเปา้ หมายท่ไี ดร้ ะบไุ ว้แน่ชดั ล่วงหน้า เพ่อื
สร้างวัสดุ ผลิตภัณฑ์และเครื่องมือใหม่ เพื่อติดตั้งกระบวนการ ระบบและบริการใหม่ หรือเพ่ือการ
ปรับปรุงส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ันให้ดีขึ้น และตอบสนองต่อแนวคิดการขยายผลงาน วิ จัย
(Implementation) ท่ีหมายถึงการนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติ ให้สามารถประยุกต์
กบั งานหรอื ขยายผลได้อยา่ งเหมาะสม

1.8.4 การวิจยั นจี้ ะก่อประโยชน์กบั การวจิ ัยในสาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา ดังน้ี
1) ในเชิงวิชาการ คือ ให้ความสาคัญกับประเด็นที่เป็นการศึกษาศตวรรษที่ 21 มุ่ง

พัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับสถานศึกษา และใช้หลักการ “พัฒนาครู แล้วครูนาผลท่ีได้รับไป
พัฒนาผู้เรียน” 2) ในเชิงวิชาชีพ คานึงถึงมาตรฐานวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหาร
การศึกษาที่คุรุสภากาหนดตามมาตรฐานด้านความรู้และตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังมี
รายละเอียดกล่าวไว้ในหวั ข้อ 1.5 ของบทที่ 1 น้ี

บทท่ี 2
เอกสาร และงานวิจัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

การวิจัย เรื่อง “โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือของนักเรียน” มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด
“Knowledge + Action = Power” ท่ีประกอบด้วยโครงการและคู่มอื ประกอบโครงการ 2) ประเมนิ
ความมีประสิทธิผลของโปรแกรมออนไลน์จากผลการวิจัยเชิงทดลองในภาคสนาม 2 ระยะ คือ การ
พัฒนาครู และครูพัฒนานกั เรียน และ 3) ถอดบทเรยี นให้ทราบถงึ ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงแก้ไข
โปรแกรมออนไลน์ ดังนั้น เพ่ือให้มีความกระจ่างในแนวคิดและเชิงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยทั้ง
ระเบียบวิธีวิจัยท่ีใช้และแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับการเสริมสร้างทักษะความร่วมมือของนักเรียน
รวมท้ังแนวคิดการนาหลักธรรมมาใช้เพ่ือความมีคุณภาพและความสาเร็จของการทาวิจัย เพื่อนาไป
สร้างเป็นกรอบแนวคิดเพื่อการวจิ ัย รวมทั้งใช้ในการอ้างอิงและการอภิปรายผลในผลจากการวจิ ัยใน
ภายหลังด้วย ผวู้ ิจยั ขอนาเสนอผลการศึกษาวรรณกรรมทเี่ ก่ียวขอ้ งดงั นี้

2.1 หลกั ธรรมเพอ่ื ความมีคณุ ภาพและความสาเรจ็ ในการทาวจิ ยั
2.2 การวจิ ยั และพัฒนา : ระเบียบวธิ ีวจิ ัยทใ่ี ช้ในการวจิ ัย
2.3 แนวคิดเชงิ ทฤษฎีเก่ียวกบั ทักษะความร่วมมือ
2.4 บริบทของโรงเรยี นปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา-กลุ่มเปา้ หมายในการวจิ ัย
2.5 บริบทของโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย-กลุ่มทดลองในการ
วจิ ยั
2.6 กรอบแนวคดิ เพอ่ื การวจิ ัย

2.1 หลกั ธรรมเพ่ือคุณภาพและความสาเร็จในการทาวจิ ัย

ตามที่มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ได้กาหนดปรัชญาของมหาวิทยาลัยไว้ว่า
“ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา” (Academic Excellence based on
Buddhism) และเนื่องจากในงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยท่ีใช้การวิจัยและพัฒนา (Research and
Development : R&D) มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนานวัตกรรม โดยนวัตกรรมที่พัฒนาข้ึนมีจุดมุ่งหมาย
เ พ่ื อ น า ไ ป ใ ช้ พั ฒ น า ค น สู่ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง ง า น มี ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น รู ป แ บ บ
R1D1..R2D2..R3D3..RiDi มีขั้นตอนสุดท้ายเป็นการวิจัยเชิงทดลองในภาคสนามจริง มีจุดมุ่งหมาย
หลักเพ่ือทดสอบคุณภาพของนวัตกรรมในลักษณะ If X…Then Y และเพื่อการปรับปรุงแก้ไข
ข้อบกพร่องของนวัตกรรมนั้นด้วย ดังนั้น ในการดาเนินการวิจัยน้ี ผู้วิจัยเห็นว่าควรมีหลักธรรมที่เป็น
ขอ้ คดิ เตอื นใจตลอดระยะเวลาในการดาเนินงานวิจัย โดยเช่อื วา่ การนาหลกั ธรรมทีจ่ ะกลา่ วถงึ มาใช้จะ
ช่วยตอบสนองต่อปรัชญาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยดังกล่าวข้างต้น และช่วยเสริมสร้าง

17

ให้การดาเนินงานวิจัยเป็นไปอย่างมีคุณภาพและบรรลุผลสาเร็จ จึงขอนาหลักธรรมท่ีจะเป็นข้อคิด
เตอื นใจเพอื่ การวิจยั มากล่าวถึง ดงั น้ี

2.1.1 สงั คหวัตถุ 4
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต 2546) ได้กล่าวถึงสังคหวัตถุ 4 ประกอบด้วย 1) ทาน
การให้ คอื เอ้อื เฟ้อื เผ่อื แผ่ เสยี สละ แบง่ ปนั ช่วยเหลือกันดว้ ยส่ิงของตลอดถึงให้ความรู้และแนะนาส่ัง
สอน 2) ปิยวาจา หรือ เปยยวัชชะ วาจาเป็นท่ีรัก วาจาดูดดื่มน้าใจ หรือวาจาซาบซ้ึงใจ คือกล่าวคา
สภุ าพไพเราะอ่อนหวานสมานสามัคคี ใหเ้ กดิ ไมตรีและความรักใคร่นับถือ ตลอดถึงคาแสดงประโยชน์
ประกอบด้วยเหตุผลเป็นหลักฐานจูงใจให้นิยมยอมตาม 3) อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์ คือ
ขวนขวายช่วยเหลือกิจการ บาเพ็ญสาธารณประโยชน์ ตลอดถึงช่วยแก้ไขปรับปรุงส่งเสริมในทาง
จริยธรรม 4) สมานัตตตา ความมีตนเสมอ คือ ทาตนเสมอด้วยปลาย ปฏิบัติสม่าเสมอกันในชน
ท้ังหลาย และเสมอในสุขทุกข์โดยร่วมรับรู้ร่วมแก้ไข ตลอดถึงวางตนเหมาะแก่ฐานะ ภาวะ บุคคล
เหตุการณ์และส่ิงแวดลอ้ ม ถูกตอ้ งตามธรรมในแตล่ ะกรณี
ในงานวิจัยน้ี ผู้วิจัยได้ใช้หลักของสังคหวัตถุ 4 ดังกล่าวข้างต้น มาช่วยเป็นข้อคิดเตือนใจ
เพื่อให้งานวิจัยน้ีมคี ุณภาพและประสบความสาเร็จ ดังน้ี 1) ทาน เมื่อผู้ร่วมงานวิจัยมีความเดือดร้อน
ในด้านใด ได้ใหค้ วามชว่ ยเหลอื มีความสามคั คี เปน็ หนึ่งอนั เดยี วกนั 2) ปยิ วาจา เมือ่ มคี วามเดอื ดร้อน
ในการทางาน ได้ให้ความช่วยเหลือด้วยการพูดให้กาลังใจ ให้คาแนะนา ชี้แจงอย่างถูกต้องกับ
ผู้ร่วมงานวจิ ัยดว้ ยความไพเราะน่าฟงั 3) อตั ถจรยิ า เมื่อตอ้ งการความชว่ ยเหลือทางด้านแรงกาย กใ็ ห้
ความสาคัญ รวมมือช่วยแก้ไขปัญหาภายในการทางานร่วมกันด้วยความเต็มใจ 4) สมานัตตตา เม่ือ
เกิดปัญหาข้ึนในขณะร่วมทางานได้เข้าไปช่วยในการแก้ไขปัญหา เพ่ือให้เกิดความสาเร็จในงานวิจัย
ร่วมกัน ดังนั้น การนาหลักธรรมดังกล่าวมาน้ีมาช่วยเสริมหลักการทาวิจัยของผู้วิจัยให้เป็นด้วย
ความสาเร็จ ให้กาลังใจและให้คาแนะนา การช่วยเหลือเก้ือกูลกันซ่ึงกันและกัน และความเสมอต้น
เสมอปลาย จะส่งผลให้งานวจิ ัยนม้ี ีคุณภาพและประสบความสาเร็จ
2.1.2 สัปปุริสธรรม 7
พระธรรมกิตติวงศ (ทองดี สุรเตโช 2548: 170) ได้กล่าวถึง สัปปุริสธรรม 7 ประกอบด้วย
1) ธัมมัญญุตา การรู้จัก และเข้าใจในหลักการ ระเบียบ และกฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ ในสังคมที่
เก่ียวข้องกับการดาเนินชีวิต 2) อัตถัญญุตา การเป็นผู้รู้จักผลหรือประโยชน์ท่ีเกิดขึ้นจากการกระทา
สามารถรู้ถึงความมุ่งหมายของธรรมแต่ละอย่างได้ชัดเจน 3) อัตตัญญุตา ความรู้จักประมาณตนใน
เรอ่ื งต่าง ๆ ทงั้ ฐานะทางการเงิน และความเปน็ อยู่ ฐานะหรอื ตาแหน่งในหนา้ ที่การงาน รวมไปถึงรู้จัก
สภาพความคดิ และจิตใจของตน เม่ือรวู้ า่ ตนมกี าลัง มีความคิดอย่างไร มีอุปนิสยั อยา่ งไร เม่ือน้นั ย่อม
ที่จะสามารถวางตัวหรือปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมในสังคม 4) มัตตัญญุตา การเป็นคน
รจู้ กั ความพอดี หรอื ความพอเพียงในทกุ ๆ ดา้ น ทง้ั ความพอดีในตน ความพอเพยี งในชวี ิต รจู้ ักความ
พอดีในการพูด พอดีในการทางาน พอดีในการหาทรัพย์ และพอดีในการจ่ายทรัพย์ ด้วยการรู้จัก
ประมาณกาลังตนเอง 5) กาลญั ญุตา ผู้นาตอ้ งร้จู ักคณุ ค่าของกาลเวลา รู้วา่ เวลาใดทา และเวลาใดควร
หยุด รู้ว่าเวลาน้ีควรทาอะไร ไม่ควรทาอะไร พร้อมกับรู้จักประมาณเวลาท่ีใช้ขณะทางานให้มีอย่าง
เหมาะสม 6) ปรสิ ัญญุตา การเปน็ ผู้รจู้ กั ชมุ ชน ถนิ่ อาศัย หรือสงั คมท่ีตนอาศัยอยู่ รวมถงึ ร้จู กั วา่ ชุมชน

18

เหล่าน้ันมคี วามต้องการอะไร มคี วามเห็นหรอื ข้อตกลงอย่างไร 7) ปคุ คโลปรปรญั ญุตา การเปน็ ผู้รู้จัก
เลือกคบคน ใครควรคบหรอื ไมค่ วรคบและร้จู ักว่าคนแต่ละคนมีอปุ นิสัยใจคอท่ีแตกต่างกนั มคี ุณธรรม
ต่างกนั มีความประพฤติตา่ งกัน มหี น้าที่การงานต่างกัน ดังนนั้ จงึ ควรรูจ้ ักเลือกคบหาคนทคี่ วรคบ ทา
ให้ไดค้ นดี คนทางานเก่ง และเหมาะสมกบั งาน

ในงานวิจัยน้ี ผวู้ ิจยั ได้ใชห้ ลักของสปั ปรุ ิสธรรม 7 ดงั กล่าวขา้ งตน้ มาชว่ ยเปน็ ข้อคดิ เตือนใจ
เพือ่ ให้งานวิจยั นี้มีคุณภาพและความก้าวหน้า ดังนี้ 1) ธัมมัญญตุ า เมื่อผวู้ ิจยั ทาการวิจัย ต้องรจู้ กั เหตุ
ของปัญหาท่ีเกิดขึ้นเพื่อจะได้นาไปปรับปรงุ แก้ไข 2) อัตถัญญุตา ผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัยย่อมเป็นผู้ไดร้ บั
ผลหรอื ประโยชน์ท่ีเกิดข้นึ จากการวิจยั 3) อตั ตญั ญุตา ผวู้ จิ ยั ต้องร้จู กั ความสามารถในการทางานของ
ตนเอง ไม่ทาในสง่ิ ทตี่ นเองทาไม่ได้ หรอื เกนิ กาลงั 4) มัตตญั ญุตา เมอ่ื ทางานวิจัยต้องรู้จักความพอดใี น
การทา ต้องแบ่งเวลาในการทางานให้พอดีไม่มาเกินไป ไม่น้อยเกินไป 5) กาลัญญุตา ในการทาวิจัย
ต้องรู้จัดคุณค่าของเวลาในการทา เพราะเวลาในการวิจัยมีกรอบและมีขีดจากัด 6) ปริสัญญุตา
งานวิจัยจะสาเรจ็ ลุล่วงไปด้วยดีกต็ ้องมีองค์ประกอบที่ดี กล่าวคือ สถานที่ทาวิจัย ท่ีเหมาะสมและสปั
ปายะ 7) ปุคคโลปรปรัญญุตา เพื่อนร่วมทีมคือบุคคลที่จะช่วยให้งานสาเร็จได้ด้วยดี ต้องเลือกคบ
บุคคลที่สามารถนาไปสู่ความสาเร็จได้ ดังน้ัน การนาหลักธรรมดังกล่าวมาน้ีมาช่วยเสริมหลักการทา
วจิ ยั ของผูว้ ิจัยใหเ้ ป็นดว้ ยกา้ วหนา้ ใหง้ านดาเนนิ ไปทางทิศทางท่ีดีได้

2.1.3 พละ 4
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต. 2549: 47) ได้กล่าวถึง พละ 4 ประกอบด้วย
1) ปัญญาพละ กาลงั ความรู้อความฉลาด ซงึ่ ประกอบไปดว้ ย รูตน ว่าอยใู่ นฐานะอะไร มหี น้าท่ีอะไร ต
องทาอะไร รูคน วาแต่ละคนท่ีร่วมงานกันน้ันมีความสามารถด้านใด และใชงานได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม รูจักจริต ของเขาเพ่ือที่จะใช้งานเขาใหถูกกับจรติ นั้น รูงาน คือรอบรูงานท่ีตนทาเพ่ือจะได้
วางแผนและ ดาเนินงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2) วริ ยิ พละ กาลังใจจะตองมาคูกับปัญญา ตองมีคกู ัน
จึงจะสาเรจ็ ถาคนมีกาลงั ใจโดยไม่มีกาลังปัญญาด้วยจะเป็นคนบา้ บนิ่ ถามกี าลังปญั ญาแตข่ าดกาลังใจ
ก็เปน็ คนขลาด ถามีทงั้ กาลงั ปญั ญาและกาลังใจย่อมเป็นคนกลาหาญ นาไปสู่การกลา้ ตัดสนิ ใจ กลาได้
กลาเสีย ไม่กลัวความยากลาบากท่ีรออยู่เบื้องหน้าซึ่งผู้ใตบังคับบัญชายอมฝากชีวิตไวด้วยได้
3) อนวัชชพละ ความซื่อสัตยสุจริต หมายถึง นักบริหารต้อง ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตยสุจริต
ขยายความอีกก็ได้วา ไม่มีการหมกเม็ด ปกปิดความผิดใด ๆ ของตน เพราะหากผู้นาหรือผู้บริหารทา
ผิดหรือปกปิดความผิดตนแลวจะไม่มี ใครเช่ือถือ หรือเช่ือวาจะนาพาองคกรหรือสังคมไปได้อย่าง
ตลอดรอดฝ่ัง 4) สังคหพละ กาลังแห่งการสงเคราะห์หรอื มนษุ ยส์ ัมพนั ธน์ ้ี เป็นเคร่ืองมือแสดงให้เหน็
ถึงความจริงท่ีว่า ผู้นาน้ันจะทางานสาเร็จได้กด็ ้วยการอาศัยคนอ่ืน เมื่อไม่มีการสงเคราะห์หรอื มนุษย์
สมั พันธท์ ่ดี ี ก็ยอ่ มไม่มีใครช่วยทางาน การงานกส็ าเรจ็ ลงไม่ได้ ดังน้ัน ผนู้ าจะตอ้ งมสี งเคราะห์
ในงานวิจัยน้ี ผู้วิจัยได้ใช้หลักของพละ 4 ดังกล่าวข้างต้น มาช่วยเป็นข้อคิดเตือนใจเพื่อให้
งานวิจัยนี้มีคุณภาพและเกิดความมั่นใจในการทางาน 1) ปัญญาพละ การทางานร่วมกันจาเป็นอย่าง
ย่ิงที่จะต้องรู้จักความต้องการและความสามารถของผู้ร่วมงานและตนเอง พร้อมท้ังความอยากงาน
ของงานนั้น 2) วิริยพละ ผู้ทางานส่วนมากจะพบกับอุปสรรคหรือปัญหาในการทางานบ้างไม่มากก็
นอ้ ย จาเปน็ ตอ้ งมีกาลงั ใจและความเพียร ประกอบดว้ ยปัญญาประกอบดว้ ยเสมอ 3) อนวัชชพละ การ
ทาวจิ ยั จะตอ้ งมีความรบั ผิดชอบตอ่ งานที่ทา รักษาเวลา และมคี วามซอื่ ตรงต่อหน้าทก่ี ารงาน 4) สงั คห

19

พละ การทางานร่วมกันจะต้องมีการยอมรับในความคิดเห็นของผู้อื่น เคารพในความปรารถนาดีของ
คนอื่น และกลุ่มบุคคลทีจ่ ะทางานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายเปน็ ที่ยอมรับรว่ มกัน จึงจะนาปสเู่ ป้าหมายท่ตี งั้ ไว้

2.1.4 ปธาน 4
พระไตรปิฎก ฉบับ มหามกฏุ ราชวิทยาลยั (2552) กล่าวถึง ปธาน 4 ประกอบดว้ ย 1) สังวร
ปธาน คือ ความเพียรท่ีเกิดขึ้นแก่ผู้สารวมจักษุ 2) ปหานปธาน คือ ความเพียรที่เกิดขึ้นแก่ผู้ละ
กามวิตก 3) ภาวนาปธาน คือ ความเพียรที่เกิดข้ึนแก่ผู้เจริญสัมโพชฌงค์ 4) อนุรักขนาปธาน คือ
ความเพียรท่เี กิดข้ึนแกผ่ ตู้ ามรักษาสมาธิ
ในงานวิจยั นี้ ผู้วจิ ัยไดใ้ ชห้ ลักของ ปธาน 4 ดังกล่าวข้างต้น มาชว่ ยเป็นข้อคิดเตือนใจเพ่ือให้
งานวจิ ัยน้มี ีคณุ ภาพและประสบความสาเรจ็ ดังน้ี 1) สังวรปธาน ผู้วิจัย ในชว่ งทาการวิจัยต้องมีความ
เพียรเพื่อยังย้ังความเกียจคล้าน และความหมดกาลังใจท่ีจะดาเนินการทาวิจัยต่อให้ประสบ
ความสาเร็จ 2) ปหานปธาน เมือผู้วิจังลงพื้นท่ีในการทาวิจัย เมือเกิดปัญหา และสิ่งท่ีเป็นอุปสรรค
เกดิ ขึ้น ผ้วู ิจยั ต้องอาศัยความเพียรท่ีจะกาจัดส่ิงท่ีเป็นอุปสรรคเหล่าน้ใี ห้ออกไป 3) ภาวนาปธาน เมือ
ผ้วู ิจยั ทางานวิจัยได้ต้ังใจเพียรพยายามทาด้วยความตง้ั ใจเพ่อื ให้งานวิจยั สาเร็จไปด้วยดี 4) อนรุ กั ขนา
ปธาน เมอื่ ผ้วู จิ ัยสรปุ ผลการวิจัยได้มีความตั้งใจตัง้ มน่ั ในการทาวจิ ัยเพ่อื ให้งานวิจยั ทไ่ี ด้ทาออกมาดีและ
สมกับความตั้งใจ ดังน้ัน การนาหลักธรรมดังกล่าวมานม้ี าช่วยเสริมหลักการทาวิจัยของผู้วิจัยให้เปน็
ด้วยความสามคั คี ให้กาลังใจและให้คาแนะนา การช่วยเหลือเกื้อกลู กันซึ่งกนั และกนั และความเสมอ
ตน้ เสมอปลาย จะส่งผลใหง้ านวจิ ยั นี้มคี ุณภาพและประสบความสาเรจ็
2.1.5 อรยิ สัจ 4
ราชบัณฑิตยสถาน (2548) กล่าวถึง อริยสัจ 4 ประกอบด้วย 1) ทุกข์ คือ สภาพท่ีทนได้
ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ สภาพที่บีบค้ัน ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่ การเก่า)
มรณะ (การตาย การสลายไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอนั ไม่เป็นท่ีรัก การพลัดพรากจากสิ่งอนั
เป็นที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น กล่าวโดยย่อ ทุกข์ก็คืออุปาทานขนั ธ์ หรือขันธ์ 5
2) สมทุ ยั คือ สาเหตุทีท่ าใหเ้ กิดทุกข์ ได้แก่ ตณั หา 3 คอื กามตัณหา-ความทะยานอยากในกาม ความ
อยากได้ทางกามารมณ์, ภวตัณหา-ความทะยานอยากในภพ ความอยากเป็นโนน่ เป็นน่ี ความอยากท่ี
ประกอบด้วยภวทฏิ ฐหิ รือสัสสตทิฏฐิ และ วิภวตัณหา-ความทะยานอยากในความปราศจากภพ ความ
อยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ความอยากที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ 3) นิโรธ คือ ความดับ
ทุกข์ ได้แก่ ดับสาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ กล่าวคือ ดับตัณหาท้ัง 3 ได้อย่างส้ินเชิง 4) มรรค คือ แนว
ปฏิบัติท่ีนาไปสู่หรือนาไปถึงความดับทุกข์ มีองค์ประกอบอยู่แปดประการ คือ 1. สัมมาทิฏฐิ-ความ
เห็นชอบ 2. สัมมาสังกัปปะ-ความดาริชอบ 3. สัมมาวาจา-เจรจาชอบ 4. สัมมากัมมันตะ-ทาการงาน
ชอบ 5. สัมมาอาชีวะ-เล้ียงชีพชอบ 6. สัมมาวายามะ-พยายามชอบ 7. สัมมาสติ-ระลึกชอบ และ
8. สมั มาสมาธิ-ตัง้ ใจชอบ ซงึ่ รวมเรียกอีกชือ่ หน่ึงไดว้ ่า “มัชฌิมาปฏิปทา” หรือทางสายกลาง
ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ใช้หลักของ อริยสัจ 4 ดังกล่าวข้างต้น มาช่วยเป็นข้อคิดเตือนใจ
เพ่ือให้งานวิจัยน้ีมีคุณภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ ดังน้ี 1) ทุกข์ เม่ือปัญหาเกิดข้ึนก็คือเหตุที่เกิดขึ้น
จะต้องเรียนรู้กับส่ิงที่เกิดขึ้นอยู่น้ัน 2) สมุทัย เมื่อปัญหาเกิดข้ึนแล้วจะต้องมีการค้นหาสาเหตุของ
ปัญหาน้ันวา่ มีตน้ ตอ่ มาอยา่ งไร 3) นโิ รธ เรยี นรู้ศึกษา หาวิธีทจี่ ะแกป้ ญั หาท่เี กิดข้ึนแล้วว่ามีแนวทางที่

20

จะแกไ้ ขอย่างไร 4) มรรค เม่อื ไดแ้ นวทางในการแกป้ ัญหาที่เกิดขนึ้ ในงานแล้ว จะต้องแก้ไขปัญหาด้วย
สติ กล่าวคือตอ้ งไมป่ ระมาณ

โดยสรุป ในการดาเนินงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้นาเอา 5 หลักธรรมดังกล่าวข้างต้น มาใช้เป็น
ข้อคิดเตือนใจ ตลอดระยะเวลาในการดาเนินงานวิจัย เพ่ือให้การดาเนินงานวิจัยเป็นไปตาม
วตั ถุประสงค์และประสบผลสาเร็จดงั แสดงภาพประกอบที่ 2.1

สงั คหวัตถุ
4

อริยสิจ 4 หลกั ธรรมเพอ่ื สัปปุรสิ ธรรม
คณุ ภาพและ 7
ความสาเรจ็ ใน

การทาวิจัย

ปธาน 4 พละ 4

ภาพที่ 2.1 หลกั ธรรมเพ่ือความมีคุณภาพและความสาเร็จในการทาวิจยั

2.2 การวจิ ยั และพฒั นา : ระเบียบวธิ ีวจิ ยั เพ่อื ใชใ้ นการวิจัย

ในการวิจัยน้ี ผู้วิจัยใช้แนวคิด แนวปฏิบัติ และกรณีศึกษาเพื่อการวิจัยและพัฒนา
(Research and Development: R&D) ตามทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ (2561) โดยเนื้อท่ีจะ
นาเสนอตอ่ ไปข้างลา่ งน้ี ไดร้ บั อนญุ าตจากผเู้ ขียนแลว้ ดังน้ี

การวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D) มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา
ผลผลิต (Product) ในทางธุรกจิ อาจเรยี กว่า“ผลิตภัณฑ์”ทเี่ ปน็ ตัวสินค้า ในทางการศกึ ษาอาจเรียกว่า
“นวัตกรรม” ที่อาจเป็นวัตถุ (Material) หลักการ (Principle) แนวคิด (Concept) หรือทฤษฎี
(Theory) ทีส่ ะทอ้ นให้เห็นถงึ เทคนิค กระบวนการ หรือวธิ ีการเพอ่ื การปฏิบัติ

นวัตกรรมทพ่ี ฒั นาขน้ึ โดยกระบวนการวจิ ยั และพฒั นามจี ดุ มุ่งหมายเพอ่ื นาไปใชพ้ ฒั นาคนสู่
การพัฒนาคุณภาพของงาน ที่มีปรากฎการณ์หรือข้อมูลเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่ามีความจาเป็น
(Need) เกิดขนึ้ ซึง่ อาจเป็นผลสืบเนอื่ งจากการกาหนดความคาดหวังใหม่ท่ที ้าทายของหน่วยงาน หรอื
เกิดการเปล่ียนแปลงในกระบวนทัศน์การทางานจากเก่าสู่ใหม่ที่บุคลากรขาดความรู้ความเ ข้าใจและ

21

ทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ หรือเกิดจากการปฏิบัติงานที่ไม่บรรลุผลสาเร็จตามท่ีคาดหวังมาอย่าง
ยาวนาน จงึ ต้องการนวัตกรรมใหมม่ าใช้ หรืออาจเปน็ ผลสืบเน่ืองจากปัจจัยอน่ื ๆ แล้วแต่กรณี

การวิจัยและพฒั นา มีกระบวนการในรปู แบบ R1D1..R2D2..R3D3..RiDi มีขั้นตอนสุดท้าย
เป็นการวจิ ยั กอ่ นทดลอง (Pre-Experiment) หรอื กง่ึ ทดลอง (Quasi-Experiment) ในภาคสนามจริง
มีจุดมุ่งหมายหลักเพ่ือทดสอบคุณภาพของนวัตกรรมในลักษณะ If X…Then Y และเพ่ือการปรบั ปรุง
แก้ไขข้อบกพร่องของนวัตกรรมน้ันด้วย จากนั้นจึงนาไปเผยแพร่ในวงกว้างต่อไป โดยนวัตกรรมน้ัน
ผู้เขียนเห็นว่าอาจเป็นการนามาจากท่ีอ่ืน (Adopt) หรือมีการปรับมาจากที่อื่น (Adapt) หรือมีการ
ริเรมิ่ สร้างสรรคข์ ึน้ ใหม่ (Create)

แนวคิดและขนั้ ตอนการวจิ ัยและพัฒนา
ดังกล่าวข้างต้นว่าการวิจัยและพัฒนามีจุดม่งุ หมายเพื่อพัฒนานวัตกรรม มีจุดมุ่งหมายเพอ่ื
นาไปใช้พฒั นาคนส่กู ารพฒั นาคณุ ภาพของงาน ท่มี ีปรากฎการณ์หรอื ข้อมูลเชงิ ประจกั ษ์แสดงให้เห็นว่า
มีความจาเป็น (Need) เกิดขึ้น ซ่ึงอาจเป็นผลสืบเนอ่ื งจากการกาหนดความคาดหวงั ใหม่ที่ท้าทายของ
หน่วยงาน หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การทางานจากเก่าสู่ใหม่ หรือเกิดจากการ
ปฏิบัติงานที่ไม่บรรลุผลสาเร็จตามที่คาดหวังมาอย่างยืดเย้ือยาวนาน จึงต้องการนวัตกรรมใหม่มาใช้
หรอื อาจเป็นผลสืบเนอ่ื งจากปจั จัยอืน่ ๆ แล้วแต่กรณี
ในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษา
เกดิ ขึน้ มากมาย ทค่ี าดหวงั วา่ หากบคุ ลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แลว้ กระตนุ้ ให้พวก
เขานาความรเู้ หล่านี้ไปสู่การปฏิบตั ิ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าท่ี
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือ
ตามคากล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They
Know” หรือ “Link To On-The-Job Application” และด้วยแนวคิดท่ีว่าการศึกษาวรรณกรรมท่ี
เก่ียวข้องในบทที่ 2 ถือเป็นจุดเร่ิมต้นที่สาคัญของการวิจัยและพัฒนาเพราะจะทาให้ได้ “โปรแกรม
พัฒนา......” ที่ประกอบด้วยโครงการอย่างน้อย 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาความรู้ให้กับ
กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนา และโครงการนาความรูส้ กู่ ารปฏบิ ตั ดิ งั นั้น วิธดี าเนนิ การวิจัยในบทที่ 3 จึง
จะเร่ิมต้นด้วยการนาเอา “โปรแกรมพัฒนา...ที่ถือเป็นกรอบแนวคิดเพ่ือการวิจัย” นั้น เป็นตัวต้ังตน้
ตามด้วยข้ันตอนการวจิ ัยอ่ืน ๆ ดงั ภาพประกอบข้างล่าง

22

โปรแกรมพัฒนา..... ท่ถี ือเปน็ กรอบแนวคดิ เพือ่ การวจิ ัยท่ีพัฒนาไดจ้ ากบทท่ี 2

ขั้นตอนท่ี การตรวจสอบ “โปรแกรมพัฒนา.... ท่ีถือเป็นกรอบแนวคิดเพ่ือการวิจัย” ท่ีพัฒนาได้จาก
1 บทท่ี 2 และการปรบั ปรงุ แก้ไขตามข้อเสนอแนะ

ขัน้ ตอนที่ การจดั ทาคู่มือประกอบโปรแกรมใน 2 โครงการ คือ
2 • ค่มู ือประกอบโครงการพฒั นาความรใู้ ห้กบั กลมุ่ เปา้ หมายในการทดลอง
• คู่มือประกอบโครงการนาความร้สู ูก่ ารปฏบิ ตั ิ
ขั้นตอนที่
3 การตรวจสอบคณุ ภาพคมู่ ือประกอบโปรแกรมและการปรับปรงุ แกไ้ ข
• การตรวจสอบภาคสนามเบื้องตน้ และการปรับปรุงแก้ไข
ข้นั ตอนที่ • การตรวจสอบภาคสนามครง้ั สาคญั และการปรบั ปรงุ แก้ไข
4
การสรา้ งเครื่องมอื เพื่อการทดลองโปรแกรมในภาคสนามใน 2 โครงวการคือ
ขน้ั ตอนท่ี • เคร่อื งมอื ประกอบโครงการพัฒนาความรู้ให้กบั กลุม่ เป้าหมายในการทดลอง
5 • เคร่อื งมอื ประกอบโครงการนาความรูส้ ู่การปฏิบัติ

ข้ันตอนที่ การทดลองโปรแกรมในภาคสนาม
6 • โครงการพัฒนาความรู้ให้กับกล่มุ เป้าหมายในการทดลอง
• โครงการนาความรสู้ ู่การปฏิบตั ิ
สรปุ ผลการทดลอง และปรบั ปรุงแกไ้ ขโปรแกรมในโครงการทง้ั สอง

การเขยี นรายงานวจิ ยั
การเผยแพร่ผลการวิจยั

ภาพที่ 2.2 แนวคิดและข้นั ตอนการวจิ ัยและพฒั นาตามทศั นะของวิโรจน์ สารรัตนะ

คาอธิบาย
ข้ันตอนท่ี 1 การตรวจสอบกรอบแนวคิดเพ่ือการวิจัยและการปรับปรุงแก้ไข อาจใช้
เกณฑ์เพ่ือประกอบการพิจารณาอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่าง เช่น ความสอดคล้อง
(Congruency) ความถูกต้อง (Accuracy) ความเป็นประโยชน์ (Utility) เป็นต้น ประกอบด้วย 2
กจิ กรรมหลกั คอื
1. การตรวจสอบ “โปรแกรมพัฒนา... ท่ีถือเป็นกรอบแนวคิดเพื่อการวิจัย” ท่ีพัฒนาได้
จากบทท่ี 2 อาจดาเนินการโดยวิธกี ารใดวิธีการหนึ่ง หรือหลายวิธีผสมกนั ตามศักยภาพท่ีจะทาได้ เช่น
1) การสัมภาษณ์เชงิ ลกึ (In-depth Interview) ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ ท้งั ทางวชิ าการและทางการปฏิบัติ เป็น
ใครและจานวนเท่าไรขึ้นกับเกณฑ์ท่ีจะกาหนด 2) การอภิปรายกลุ่มเป้าหมาย (Focus Group

Discussion) เป็นกลุ่มเป้าหมายท่ีมีจุดมุ่งหมายจะนาโปรแกรมไปเผยแพร่และใช้ประโยชน์ 3) การ
วิจัยเชิงสารวจ (Survey Study) เพื่อสอบถามความเห็นจากกลุ่มตัวอย่างของประชากรที่เป็น
กลุ่มเปา้ หมายท่จี ะนาโปรแกรมไปเผยแพรแ่ ละใช้ประโยชน์

2. การปรบั ปรุงแก้ไขโปรแกรมตามขอ้ เสนอแนะที่ได้รับ
ขนั้ ตอนท่ี 2 การจัดทาคมู่ ือประกอบโปรแกรม ในโครงการอย่างนอ้ ย 2 โครงการ คอื

23

1. คู่มือประกอบโครงการพัฒนาความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายในการทดลองเป็นความรู้
เก่ียวกับ “นวัตกรรม” ที่จะพัฒนาข้ึน และความรูเ้ กี่ยวกับ “งาน” ที่จะให้ปฏิบัติ จึงเป็นโครงการท่มี ี
กิจกรรมเก่ียวกับการฝึกอบรม การสัมมนา การศึกษาดูงานต้นแบบ การศึกษาด้วยตนเอง การศึกษา
เป็นกลมุ่ หรืออนื่ ๆ

2. คมู่ อื ประกอบโครงการนาความรสู้ ูก่ ารปฏิบัติของกลุ่มเปา้ หมายในการทดลอง เปน็ ค่มู อื
ที่แสดงให้เห็นถึงการวางแผนเพื่อการปฏบิ ัติไวล้ ่วงหนา้ มีการกาหนดจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน มีกิจกรรม
ดาเนินงาน มีการกาหนดระยะเวลาและขอบเขตของเวลา มีการบริหารจัดการ มีการติดตามและ
ประเมนิ ผลทหี่ ลากหลายมติ ิ

ข้ันตอนน้ถี อื เปน็ ภาระงานทห่ี นักสาหรบั ผ้วู ิจยั ตอ้ งใช้เวลาและความพยายามสงู อย่างน้อย
ก็ประมาณ 1 ภาคเรียน แต่ก็ข้ึนกับผลการทางานในระยะท่ีผ่านมาของผู้วิจัยด้วย หากในบทที่ 2
ผู้วิจัยได้ศึกษาวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องไว้ได้ดีก็จะทาให้มี “สารสนเทศ/ความรู้” ที่จะนามาจัดทาเป็น
คูม่ ือประกอบโปรแกรมที่เพียงพอ ทง้ั ในส่วนท่ีเกี่ยวกับ “นวัตกรรม” และเกยี่ วกบั “งาน” และขอให้
ข้อสังเกตด้วยว่า “คู่มือประกอบโปรแกรม” นี้ อาจเป็นคู่มือที่เป็นเอกสารตามที่นิยมใช้กันโดยทวั่ ไป
หรืออาจเป็นคู่มือเพ่ือ E-Learning เช่น แผ่นซีดีเพื่อศึกษาจากคอมพวิ เตอร์ เป็นต้น หรืออาจผสมกนั
หลากหลายลักษณะ

สาหรบั รปู แบบการเขียนโครงการ อาจเป็นรูปแบบเหตุผลสัมพนั ธ์ (Logical Framework)
หรือท่ีเรียกกันส้ัน ๆ ว่า Log Frame หรืออาจเป็นรูปแบบปกติ (Traditional) ที่ใช้กันโดยทั่วไปใน
หนว่ ยงานราชการ มีหวั ขอ้ เกี่ยวกบั หลกั การและเหตุผล วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ เป้าหมาย กิจกรรม
กลุม่ เป้าหมาย ระยะเวลา ทรพั ยากร และอืน่ ๆ

ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบโปรแกรมและการปรับปรุงแก้ไข 2 ระยะ ประกอบด้วย 2
กิจกรรมหลัก ซึ่งไม่ตายตัว ผู้วิจัยอาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม โดยยึดจุดมุ่งหมายเพ่ือการ
ตรวจสอบและการปรับปรงุ แกไ้ ข

1. การตรวจสอบภาคสนามเบื้องต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary Field
Checking and Revision) กับกลุ่มเป้าหมาย ผู้มีส่วนได้เสียและอ่ืน ๆ แล้วแต่ความเหมาะสมกับ
งานวิจัย จานวนหน่ึงประมาณ 5-10-15 ราย อาจด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
การอภิปรายกลุ่มเป้าหมาย (Focus Group Discussion) หรืออื่น ๆ แล้วแต่ความเหมาะสมมี
จุดมุ่งหมายเพ่ือตรวจสอบคุณภาพของโปรแกรมท่ีอาจใชเ้ กณฑค์ วามสอดคลอ้ ง (Congruency) ความ
ถกู ตอ้ ง (Accuracy) ความเปน็ ประโยชน์ (Utility) เปน็ ตน้

2. การตรวจสอบภาคสนามคร้ังสาคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field Checking
and Revision) กับกลุ่มเป้าหมาย ผู้มีส่วนได้เสีย และอ่ืน ๆ แล้วแต่ความเหมาะสมกับงานวิจัย
จานวนหน่ึงที่ไม่ซ้ากับข้อ 1 ประมาณ 10-15-20 ราย อาจด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth
Interview) การอภิปรายกลุ่มเป้าหมาย (Focus Group Discussion) หรืออ่ืน ๆ แล้วแต่ความ
เหมาะสม มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบคุณภาพของโปรแกรม ที่อาจใช้เกณฑ์พิจารณาเช่นเดียวกับขอ้
1 คอื ความสอดคลอ้ ง (Congruency) ความถกู ตอ้ ง (Accuracy) และความเปน็ ประโยชน์ (Utility)

ข้ันตอนท่ี 4 การสร้างเครื่องมือเพ่ือการทดลองโปรแกรมในภาคสนาม ควรมีแบบ
ประเมนิ 6 ประเภท คอื

24

1. แบบประเมนิ ปฏิกริ ิยา (Reaction) ของกล่มุ เป้าหมายในการทดลอง ในช่วงหลงั ส้ินสุด
การดาเนินงานของโครงการหนงึ่ ๆ เพือ่ ดูประสิทธิผลของโครงการและหาข้อบกพรอ่ งในการปรับปรุง
แก้ไข โดยอาจใช้วิธีการสัมภาษณ์ การระดมสมอง การถอดบทเรียน หรืออื่น ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูล
สะทอ้ นกลับ (Reflection) ตามความเหมาะสม

2. แบบประเมินความรู้ (Knowledge) หลังการดาเนินงานโครงการพัฒนาความรู้ของ
กลุ่มเป้าหมายในการทดลองเพ่ือให้ทราบว่ามมี ากเพียงพอท่ีจะนาไปสู่การปฏบิ ัติได้หรือไม่หลังจากมี
การดาเนนิ งานตามโครงการนี้แล้ว อาจใชเ้ กณฑ์มาตรฐาน 80/80 เป็นตัวชี้วัดว่าผ่านหรือไม่ผ่าน โดย
80 แรกหมายถงึ บคุ คลนัน้ ๆ ทาแบบประเมินความรู้ผา่ น 80% สว่ น 80 หลงั หมายถึงทั้งกล่มุ ทาแบบ
ประเมนิ ความรูผ้ า่ น 80%

3. แบบประเมินการนาความรู้สู่การปฏิบัติ (From Knowledge to Action) ของ
กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง ประเมินหลังจากดาเนินงานตามโครงการนาความรู้สู่การปฏิบัติไปแล้ว
ระยะหนึง่ โดยอาจมีการประเมนิ เป็นระยะ ๆ หรือเมื่อส้นิ สุดโครงการในตอนท้ายของการวจิ ัย

4. แบบประเมินการเปลี่ยนแปลง (Change) อาจใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบ
สังเกต แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู ภาพถา่ ย หรอื อืน่ ๆ ทแ่ี สดงให้เห็นถึงการเปลย่ี นแปลงในมิตติ ่าง ๆ เช่น การ
เปล่ียนแปลงในงานที่ปฏิบัติ การเปล่ียนแปลงในบรรยากาศองค์การ การเปล่ียนแปลงในเทคนิคหรือ
วธิ กี ารทางาน และอนื่ ๆ

5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นกับนักเรียน (Student Learning Outcome) ใน
กรณีที่โปรแกรมน้ันส่งผลถึงนักเรียนด้วย อาจเป็นแบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ทัศนคติ
หรืออ่ืน ๆ รวมทั้งความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อปรากฎการณ์ที่เกิดข้ึนจากการวิจัย แล้วแต่กรณี
แตห่ ากโปรแกรมน้นั ไมส่ ง่ ผลถงึ นักเรยี น ก็ไม่ตอ้ งมแี บบการประเมนิ นี้

6. แบบประเมินขอ้ บกพรอ่ งของนวัตกรรมทพี่ ัฒนาขน้ึ เพอ่ื นาผลจากการประเมนิ ไปใช้ใน
การปรับปรุงแก้ไขนวัตกรรมในช่วงท้ายของการวิจัย อาจใช้เครื่องมือที่หลากหลาย เช่น แบบ
สัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบบันทึก แบบอภิปรายกล่มุ เปน็ ต้น

เหตุผลที่สร้างเครื่องมือในข้ันตอนน้ี ก็เพื่อให้ได้เคร่ืองมือการประเมินท่ีมีความตรงเชิง
เน้อื หากบั โปรแกรมทไี่ ด้รบั การตรวจสอบยืนยนั แลว้ จากขน้ั ตอนที่ 3 โดยเครือ่ งมอื ที่สร้างขึน้ จะต้องมี
กระบวนการพฒั นาคุณภาพเชน่ เดียวกบั การวิจัยประเภทอนื่ ด้วยเชน่ กัน เชน่ การตรวจสอบความตรง
เชิงเน้ือหา โดยการสอบถามความเห็นจากผู้เช่ียวชาญหรอื ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง แล้ววิเคราะห์หาค่า IOC
รวมทัง้ การนาไปทดลองใช้เคร่อื งมอื (Try Out) เพือ่ หาค่าความเชอ่ื ม่นั (Reliability) เป็นต้น

ขนั้ ตอนท่ี 5 การทดลองโปรแกรมในภาคสนาม (Trial) มี 2 กจิ กรรมหลัก คือ
1. ดาเนินการทดลองใช้โปรแกรมกับกลุ่มเป้าหมายการทดลองในภาคสนาม เป็นการ
วิจัยก่อนทดลอง (Pre-Experiment) หรือกึ่งทดลอง (Quasi-Experiment) รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
เช่น แบบกลุ่มควบคุมไม่ได้สุ่มแต่มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (Nonrandomized
Control-Group Pretest-Posttest Design) แบบวิจัยอนุกรมเวลา (Time Series Design) แบบ
อนุกรมเวลามีกลุ่มควบคุม (Control-Group Time Series Design) เป็นต้น แล้วแต่ความเหมาะสม
ผู้วจิ ยั กค็ วรศึกษาระเบยี บวธิ วี ิจยั ของรูปแบบท่ีเลอื กนามาใช้ และมีการดาเนินงานตามระเบียบวิธีวิจัย
น้ันซ่ึงการทดลองนวัตกรรมท่ีผู้วิจัยพัฒนาข้ึนในสาขาบริหารการศึกษา ควรเป็นการทดลองใน

25

หน่วยงานหน่วยใดหน่วยหนง่ึ หากเปน็ โรงเรียนก็ควรเปน็ “โรงเรียนใดโรงเรียนหนงึ่ ” เพราะสามารถ
ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ดีกว่าการทดลองกับกลุ่มเป้าหมายท่ีกระจายในวงกว้าง เช่น ครู
หรือผู้บริหารโรงเรียนท่ีกระจายทั้งเขตพ้ืนที่การศึกษา เป็นต้น การทดลองโปรแกรมในภาคสนามนี้
ควรใช้ระยะเวลา 1 ภาคเรยี น เพ่ือให้มีเวลาเพยี งพอต่อการดาเนนิ งานในโครงการ 2 ประเภท คือ

-โครงการพัฒนาความรู้ของกลุ่มเป้าหมายในการทดลองในระยะเริ่มแรก ในข้ันตอนนี้
ผู้วิจัยควรคานึงการใช้รูปแบบการพัฒนาบุคลากรที่หลากหลายวิธี ไม่จากัดเฉพาะเร่ืองการฝึกอบรม
หรอื สมั มนาเทา่ นน้ั เช่น การศึกษาด้วยตนเอง การศกึ ษาร่วมกันเป็นกลุ่ม การระดมสมอง การนาเสนอ
และการอภิปราย การเปน็ พเ่ี ล้ียง การศึกษาดงู าน เปน็ ตน้ และควรใช้เวลาประมาณ 1 ใน 4 ของเวลา
ใน 1 ภาคเรยี น

-โครงการนาความรู้สู่การปฏิบัติสบื เนือ่ งจากโครงการแรก ในอดีตสาหรับศตวรรษที่ 20
ด้วยความเชื่อที่ว่า “Knowledge Is Power” จึงมีอิทธิพลต่อแนวคิดการพัฒนาบุคลากรใน
กระบวนการวิจัยและพฒั นาด้วย โดยกระทาในส่ิงที่เรียกวา่ “Train and Hope” มงุ่ เนน้ ให้บคุ ลากรมี
ความรู้อย่างเดียว แล้วหวังว่าพวกเขาจะนาความรู้น้ันไปสู่การปฏิบัติ โดยที่ผลจากการวิจัยพบว่ามี
โอกาสน้อยมากที่จะเป็นเช่นน้ัน ดังนั้น การวิจัยและพัฒนาในอดีตและอาจยังมีอยบู่ ้างในปัจจุบัน จึง
มักจบลงในระยะการพัฒนาความรู้ของกลุ่มเป้าหมายในการทดลองเท่าน้ัน แต่ในปัจจุบันสาหรับ
ศตวรรษที่ 21 แนวคิดดังกล่าวได้เปลี่ยนไป จาก “Knowledge Is Power” เป็น “Knowledge +
Action = Power” หรือ “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What
They Know” หรือ “Link To On-The-Job Application” ซ่ึงส่งผลต่อการกาหนดแนวคิดในการ
วิจัยและพัฒนาให้มีโครงการนาความรู้สู่การปฏิบัติด้วย เป็นโครงการที่ผู้วิจัยจะต้องมีการวางแผน
ล่วงหน้า จัดทาคู่มือประกอบล่วงหนา้ มีการกาหนดจุดมงุ่ หมายทีช่ ัดเจน มีกิจกรรมดาเนนิ งาน มีการ
บรหิ ารจดั การ มีการตดิ ตามและประเมินผลท่หี ลากหลายมติ ิ มีการกาหนดระยะเวลาและขอบเขตของ
เวลา โดยเวลาทใ่ี ชค้ วรประมาณ 3 ใน 4 ของเวลาใน 1 ภาคเรยี น

2. สรปุ ผลการทดลอง และปรังปรุงแกไ้ ขโปรแกรม โดยการสรปุ ผลนนั้ มีจุดมงุ่ หมายเพ่อื
ดูว่าโปรแกรมทพี่ ัฒนาขนึ้ น้นั มีคณุ ภาพส่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงทด่ี ีข้นึ ตามเกณฑท์ ่ีผู้วจิ ัยกาหนดในมิติ
ต่าง ๆ ตามเครอื่ งมือการประเมินทส่ี รา้ งข้ึนในขน้ั ตอนที่ 5 หรอื ไม่? ในกรณกี ารปรบั ปรงุ แก้ไขนัน้ เป็น
การปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมโดยพิจารณาข้อมูลจากการนาไปปฏิบัติจริง การสังเกต การบันทึก การ
สมั ภาษณ์ การถอดบทเรียน และอ่นื ๆ ท่ผี ู้วจิ ัยใช้ในทกุ ระยะของการดาเนนิ การทดลอง

ข้ันตอนท่ี 6 การเขียนรายงานการวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย การเขียนรายงาน
ผลการวจิ ัย (บทท่ี 4) ควรมดี งั นี้

1. ผลการตรวจสอบกรอบแนวคิดเพื่อการวจิ ยั และการปรบั ปรุงแก้ไข
2. ผลการจดั ทาค่มู ือประกอบโปรแกรม
- คู่มอื ประกอบโครงการพัฒนาความรู้ของกลมุ่ เปา้ หมายการทดลอง
- คมู่ ือประกอบโครงการนาความรสู้ ่กู ารปฏบิ ตั ิ
3. ผลการตรวจสอบโปรแกรมและการปรับปรงุ แกไ้ ข
- ผลการตรวจสอบภาคสนามเบ้ืองตน้ และการปรบั ปรงุ แก้ไข
- ผลการตรวจสอบภาคสนามครงั้ สาคัญและการปรบั ปรงุ แกไ้ ข

26

4. ผลการสร้างเครือ่ งมอื เพื่อการทดลองในภาคสนาม
- เคร่อื งมือสาหรบั โครงการพฒั นาความรขู้ องกลมุ่ เปา้ หมายการทดลอง
- เครอื่ งมอื สาหรบั โครงการนาความรสู้ ูก่ ารปฏิบัติ
- เครอื่ งมือประเมินขอ้ บกพร่องของนวัตกรรมท่พี ฒั นาขึ้น
5. ผลการทดลองโปรแกรมในภาคสนาม (Trial) เป็นการบรรยายถึงเหตุการณ์ทดลองใน
ภาคสนาม แสดงผลจากแบบประเมินตา่ ง ๆ ท่ีใช้
- ผลการทดลองโครงการพฒั นาความรูข้ องกลมุ่ เปา้ หมายการทดลอง
- ผลการทดลองโครงการนาความรสู้ ู่การปฏบิ ัติ
- ผลการประเมินข้อบกพรอ่ งของนวัตกรรมทพี่ ฒั นาข้ึน
6. ผลผลิตสุดท้าย (Final Product) ที่เกิดขน้ึ จากการวิจยั คือนวัตกรรมท่เี ป็น “โปรแกรม
พัฒนา....” ที่ได้รับการปรับปรงุ แก้ไขจากผลการประเมนิ ข้อบกพร่องของนวตั กรรมที่พฒั นาขึ้น กรณี
การเผยแพร่ผลงานวจิ ัย อาจดาเนนิ การได้หลายวธิ ี เชน่ การนาเสนอผลงานวจิ ยั ในการสัมมนาวชิ าการ
การตพี มิ พใ์ นวารสาร การจดั พมิ พค์ ่มู อื ประกอบโปรแกรมเปน็ เอกสารหรอื ตารา เปน็ ตน้

2.3 แนวคิดเชิงทฤษฎเี กี่ยวกบั ทักษะความร่วมมอื (Collaboration Skills)

ตามทัศนะของวโิ รจน์ สารรัตนะ (2561) ที่นามากล่าวถึงในข้อ 2.2 กล่าวว่า การวิจัยและ
พัฒนามีจุดมุ่งหมายเพอ่ื พัฒนานวตั กรรม แล้วนานวัตกรรมน้ันไปพัฒนาคนสู่การพัฒนาคุณภาพของ
งาน ทม่ี ปี รากฎการณ์หรือข้อมูลเชิงประจักษแ์ สดงใหเ้ ห็นวา่ มคี วามจาเปน็ (Need) เกดิ ขึน้ ซงึ่ อาจเป็น
ผลสืบเน่ืองจากการกาหนดความคาดหวังใหม่ท่ีท้าทายของหน่วยงาน หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงใน
กระบวนทัศนก์ ารทางานจากเก่าสู่ใหม่ หรือเกิดจากการปฏิบัติงานที่ไม่บรรลุผลสาเรจ็ ตามที่คาดหวงั
มาอย่างยืดเยื้อยาวนาน จึงต้องการนวัตกรรมใหม่มาใช้ หรืออาจเป็นผลสืบเน่ืองจากปัจจัยอ่ืน ๆ
แลว้ แตก่ รณี

ในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษา
เกิดข้นึ มากมาย ท่ีคาดหวังวา่ หากบคุ ลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แลว้ กระต้นุ ให้พวก
เขานาความรเู้ หล่าน้ไี ปสู่การปฏิบตั ิ (Action) ก็จะก่อใหเ้ กิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหนา้ ที่
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือ
ตามคากล่าวท่ีว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They
Know” หรือ Link To On-The-Job Application” และด้วยแนวคิดท่ีว่าการศึกษาวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สาคัญของการวิจัยและพัฒนาเพราะจะทาให้ได้ “โปรแกรม
พัฒนา” ที่ประกอบด้วยโครงการอย่างน้อย 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาความรู้ให้กับ
กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง และโครงการนาความรู้สู่การปฏิบัติ ด้วยการวิจัยและพัฒนา ซึ่งมี
กระบวนการในรูปแบบ R1D1..R2D2..R3D3..RiDi มีข้ันตอนสุดท้ายเป็นการวิจัยแบบก่อนทดลอง
(Pre-Experiment) หรือแบบก่ึงทดลอง (Quasi-Experiment) ในภาคสนามจริง มีจุดมุ่งหมายหลัก
เพ่ือทดสอบคุณภาพของนวัตกรรมในลักษณะ If X…Then Y และเพื่อการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพรอ่ ง
ของนวตั กรรมน้นั ดว้ ย จากน้นั จึงนาไปเผยแพรใ่ นวงกวา้ งต่อไป

27

สาหรับโครงการพัฒนาความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายในการทดลอง ผู้วิจัยจะต้องจัดทาคู่มือ
ประกอบโครงการขึ้นมาจานวนหนึ่ง เป็นคู่มือที่นาเสนอความรู้เกี่ยวกับ “นวัตกรรม” ท่ีจะพัฒนาขึน้
และความรเู้ กย่ี วกบั “งาน” ทจ่ี ะใหป้ ฏิบตั ิ รวมทงั้ โครงการนาความร้สู กู่ ารปฏบิ ัติของกลุ่มเปา้ หมายใน
การทดลอง ผู้วิจัยก็จะต้องจัดทาคู่มือเพื่อเป็นแนวทางให้มีการวางแผนเพ่ือการปฏิบัติของ
กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง ซ่ึงการจัดทาคู่มือประกอบโครงการทั้ง 2 โครงการดังกล่าวน้ี ถือเป็น
ภาระงานที่หนักท่ีผู้วิจัยจะต้องใช้เวลาและความพยายามสูง อย่างน้อยก็ประมาณ 1 ภาคเรียน แต่
หากในบทท่ี 2 ผู้วิจัยได้ศึกษาวรรณกรรมที่เก่ียวข้องไว้ได้ดีก็จะทาให้มี “สารสนเทศ/ความรู้” ท่ีจะ
จัดทาเป็นคูม่ ือประกอบทเ่ี พียงพอ

ดังนั้น การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในหัวข้อน้ี จึงมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ได้ทัศนะของ
นักวิชาการและหน่วยงานต่าง ๆ ที่ถือเป็นแนวคิดเชิงทฤษฎี (Theoretical Perspectives) เกี่ยวกับ
ทักษะความรว่ มมือ (Collaboration Skills) จากหลากหลายทัศนะ อนั จะเปน็ “สารสนเทศ/ความรู้”
ท่จี ะนาไปสู่การจัดทา “คูม่ ือ” ประกอบโครงการพฒั นาความร้ใู หก้ ับกล่มุ เป้าหมายในการทดลอง และ
โครงการนาความรู้สู่การปฏิบัติ ได้อย่างมีคุณภาพและอย่างมีประสิทธิผล โดยมีผลการศึกษาแนวคิด
เชิงทฤษฎี (Theoretical Perspectives) เก่ียวกับทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills)
ดงั ตอ่ ไปนตี้ ามลาดับ

2.3.1 ทัศนะเก่ียวกับนิยา มขอ งทักษะ ควา มร่วมมือ (The Definition of
Collaboration Skills)

Belgrad, Fisher, & Rayner (1995) กล่าวว่า การทางานร่วมกันและการทางานเป็นทีม
ต้องใช้การผสมผสานระหวา่ งมนุษยสัมพันธ์ การแก้ปัญหาและทักษะการส่ือสารท่ีจาเป็นสาหรับกลุ่ม
ในการทางานด้วยกันเพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกัน อาจได้เรียนรู้เก่ยี วกับการผสมผสานทักษะท่ีจาเป็น
มาก ๆ น้ีในขณะที่ทางานในฐานะส่วนหน่ึงของทีมวจิ ัยหรือในฐานะผู้บริหารขององค์กร การร่วมงาน
กบั คนอน่ื เพื่อเขียนและตพี ิมพบ์ ทความในวารสาร อยา่ งไรก็ตามทักษะเหล่าน้ีมคี วามสาคัญมากขึน้ เม่ือ
ทางานกับผูอ้ ่นื ในระยะยาวและแบบย่งั ยืน

Helsel (2017) ที่ปรกึ ษาทางธุรกิจ กลา่ วว่า ทกั ษะความร่วมมือเป็นการทางานตัง้ แต่สอง
คนข้ึนไปหรือมากกว่าน้ันร่วมกันทาบางส่ิงบางอย่างเพ่อื ให้ได้ผลลัพธ์ท่ีสาเร็จตามเป้าหมาย สมบูรณ์
แบบ เรว็ กว่า การทางานเพียงผ้เู ดียว

หลังจากสังเกตเห็นหลายทีมท่ีทางานร่วมกัน ด้วยลักษณะงานของ Helsel เอง (บริษัทที่
ปรึกษา/โปรแกรมจัดการข้อมูล TipHive) ก็พบว่าทักษะบางประการที่มีความสาคัญสาหรับการ
ทางานร่วมกนั ท่ีดี ได้แก่ 1. การเปิดเผยตรงไปตรงมา 2. ความอ่อนน้อมถ่อมตน 3. ความเต็มใจท่ีจะ
รบั ขอ้ เสนอแนะ 4. ความสามารถในการวิจารณ์เชิงสร้างสรรค์ 5. ความสามารถในการสือ่ สารความคิด
อย่างชัดเจน 6. ความสามารถในการเป็นผู้นาหรือผู้ตาม 7. ความน่าเชื่อถือ 8. การประนีประนอม
9. การยอมรับ 10. ความสามารถในการรับฟัง 11. จิตวิญญาณของทีม 12. ความนับถือ 13. ความ
ขยันหม่ันเพียร 14. ความตรงตอ่ เวลา

Firestone (n.d.) ศาสตราจารย์ University of California, Berkeley กล่าวว่า คนท่ีมี
เพ่ือนร่วมงานอาจต้องทางานร่วมกับผู้อ่ืนเพือ่ ทาโครงการใดโครงการหนงึ่ ให้สาเร็จ ไม่ว่าจะเป็นการ
เขียนรายงานท่ีสาคัญไปจนถึงการจัดช้ันวางขายสินค้า การทางานร่วมกันเช่นน้ีก็ต้องใช้ทักษะการ

28

ทางานร่วมกัน ทักษะการทางานร่วมกัน เป็นพฤติกรรมท่ีช่วยคนสองคนหรือมากกว่านั้นให้ทางาน
ด้วยกันและทาหนา้ ท่ีได้ดีในกระบวนงานน้นั ๆ ครสู ามารถฝกึ อบรมทกั ษะของการทางานร่วมกันให้กับ
นักเรียนเพ่ือให้ การทางานกลุ่มให้สาเร็จไม่เพียง แต่ในห้องเรียนเท่านั้น แต่ยังหมายถึงใน
สภาพแวดลอ้ มการทางานจริง สภาพแวดลอ้ มทางสังคม และด้านอน่ื ๆ ของชวี ิต

ทกั ษะพืน้ ฐานของการทางานร่วมกันนนั้ คลา้ ยกบั ทกั ษะการสื่อสาร ซ่ึงโดยท่วั ไปแลว้ จะเกิด
การเรียนรู้ได้ดีที่สดุ ในวยั เด็กเล็กและสามารถพัฒนาทักษะเพิ่มได้เม่ือโตข้ึน แล้วทกั ษะของการทางาน
ร่วมกันคืออะไร? การทางานร่วมกันโดยท่ัวไปแล้วจะขึ้นอยู่กับความสามารถในการปรับการทางาน
ของตนเองให้เข้ากับผู้อื่น คือ รับฟังสิ่งท่ีผู้อ่ืนต้องพูด การแสดงความคิดเห็น และร่วมแสดงความ
คิดเหน็ กบั ผอู้ น่ื

Ryan (2018) นักเขียนอิสระและนักวิจัยอิสระ กล่าวว่า พจนานุกรมด้านธุรกิจได้นิยาม
ของความร่วมมือว่า “การจัดการแบบมีส่วนร่วมซึ่งท้ังสองฝ่ายหรือมากกว่านั้น (ซึ่งอาจมีหรือไม่มี
ความสมั พันธก์ ่อนหนา้ นี)้ ทางานรว่ มกันเพื่อบรรลเุ ปา้ หมายร่วมกัน” ท้งั นี้ การทางานรว่ มกัน คอื การ
ทางานเป็นทีมในระดับท่ีสูงขึ้น การทางานร่วมกันช่วยให้ภารกิจบรรลุเป้าหมายได้ด้วยวิธีการที่มี
ประสิทธิผล

การทางานร่วมกันในท่ีทางานมีประโยชน์หลายอย่าง ซ่ึงข้อเขียนของบล็อก Huffington
Post ได้ให้เหตุผลว่า สภาพแวดล้อมการทางานร่วมกันเป็นหัวใจสาคัญของท่ีทางานสมัยใหม่ เม่ือ
หลายทีมหรือหลายแผนกสามารถทางานร่วมกันได้ ก็จะสามารถใช้ประโยชน์จากจุดแข็งและทักษะ
ของทกุ คนได้

ทีมงานสามารถนาองคก์ รหรอื โครงการไปสคู่ วามสาเร็จไดด้ ้วยความร่วมมอื ท่ีมีประสิทธิผล
ผู้จัดการเองก็มีกลยุทธ์ในการทาให้ทุกคนได้ใกล้ชิดกันและสนับสนุนให้พวกเขาทางานไ ด้อย่ างมี
ประสิทธิผลยิ่งข้ึน ซึ่งเป็นเป้าหมายที่ใช่ว่าจะทาได้ง่าย แต่ก็ยังสามารถขับเคลื่อนไปได้หากทาตาม
คาแนะนาขา้ งต้น

ในเว็บไซต์ของ Indeed Career Guide (2019) เว็บไซต์เก่ียวกับการสมัครงาน กล่าว
ว่า ความรว่ มมือ หมายถึง การทางานรว่ มกบั บุคคลหน่งึ คนข้นึ ไปเพอื่ จัดการโครงการหรืองานให้เสร็จ
สมบูรณ์ หรือพัฒนาแนวคิดหรือกระบวนการน้ัน การทางานร่วมกันในสถานที่ทางานเกิดข้ึนเมื่อคน
สองคนหรือมากกว่านั้น ทางานด้วยกันเพื่อบรรลุเป้าหมายท่ีเป็นประโยชน์ต่อทีมหรือบริษัท การ
ทางานร่วมกันในท่ีทางานต้องใช้ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทักษะการส่ือสาร การแบ่งปัน
ความรู้และกลยุทธ์ และสามารถเกิดขึ้นได้ในสานักงานแบบท่ัวไป หรือระหว่างทีมงานท่ีไม่ได้ทางานใน
สานักงาน

การทางานเป็นทีมไม่เพียงแต่ทาให้ประสิทธิภาพของงานเพ่ิมข้ึน แต่ยังช่วยเสริมสร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพนักงาน บ่อยคร้ังเมื่อพนักงานทางานร่วมกันจะเกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลมากกว่าการทางานคนเดียวโดยลาพัง การร่วมมือกันเป็นอย่างดีกับเพื่อนร่วมงานยัง
สามารถเพิ่มแรงจูงใจและความผูกพันในที่ทางานได้ นอกจากนี้การแบ่งปันแนวคิดและการระดม
สมองยังมีประโยชน์ต่อการพัฒนาวิธีแก้ปัญหาท่ีมีลักษณะเฉพาะ ท้ังน้ี การทางานร่วมกันอย่างมี
ประสิทธิผลก็มีอยู่หลายวิธี ซึ่งทักษะและเทคนิคท่ีใช้เมื่อทางานร่วมกันก็จะนาไปสู่ประสิทธิภาพและ
ความสาเรจ็ มากยิ่งข้ึน

29

ในเวบ็ ไซตข์ อง Mind Tools (n.d.) เวบ็ ไซต์เกี่ยวกบั ทกั ษะการจัดการความเป็นผู้นา ได้
กล่าวว่า ความร่วมมือ หมายถึง การทางานร่วมกับผู้คนในธุรกิจนั้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน
แม้ว่าจะคล้ายกับการทางานเป็นทีม แต่ลักษณะของความรว่ มมือไม่ได้เป็นแบบลาดับขั้น นั่นคือ ทุก
คนมีสถานะเท่าเทียมกันโดยไม่นับลาดับความอาวุโส (แม้จะมีการเลือก 1 คนให้เป็นผู้ดูแลจัดการ
โครงการ) คุณสามารถทางานร่วมกับสมาชิกในทีมของคุณเองหรือจากแผนกอ่ืน ๆ รวมถึงผู้รับเหมา
ลกู ค้า หรือแม้แต่องค์กรอ่นื ๆ ได้

ทาไมตอ้ งทางานรว่ มกัน
ปจั จบุ นั นายจา้ งหลาย ๆ แห่งไดก้ ลา่ วอ้างว่าการทางานร่วมกนั เป็นทักษะท่ีสาคัญอกี อย่าง
หนงึ่ ของพนักงาน คาถามก็คือ แลว้ ทาไมจึงสาคญั ขนาดน้ัน?
ประการแรก เป็นวิธีท่ีดีมากในการสนับสนุนให้ผู้คนแบ่งปันความรู้และทรัพยากร
ตัวอย่างเช่น คุณสามารถนาไปใช้เสริมแรงให้การเจรจาต่อรอง เพื่อประสานกลยุทธ์ หรือสร้าง
ผลิตภัณฑ์ใหม่
ประการท่ีสอง ทาให้เกิดโอกาสอันดีสาหรับการทางานข้ามทักษะและเครือข่าย และยัง
สามารถพัฒนาระดบั ความผูกพันของพนักงานได้ด้วย ซง่ึ มผี ลการศึกษาท่ีแสดงให้เหน็ ว่า คนที่ทางาน
รว่ มกันจะจดจ่อกับงานของพวกเขานานกวา่ คนทท่ี างานคนเดียวถึงรอ้ ยละ 64
การทางานร่วมกันเป็นประโยชน์ต่อองค์กร สามารถช่วยให้เกิดความคุ้มค่า ความคิด
สร้างสรรค์ และการแข่งขันได้มากข้ึน โดยผลการศึกษาข้างต้นยังพบว่าองค์กรท่ีส่งเสริมการทางาน
ร่วมกันนนั้ มีแนวโนม้ ทจ่ี ะปฏิบัติงานไดด้ ีข้นึ ห้าเทา่
ในเว็บไซต์ของ Aiim (n.d.) กล่าวว่า การทางานร่วมกันเป็นวิธีการทางานโดยท่ีหลาย
คนทางานดว้ ยกนั เพื่อวัตถปุ ระสงคร์ ่วมกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ทางธุรกิจ
สงิ่ ท่เี กย่ี วข้องกับการทางานรว่ มกันในระดับของกรอบแนวคดิ ได้แก่ :
1. ความตระหนกั -เรากลายเปน็ ส่วนหนง่ึ ของหน่วยการทางานท่ีมีวัตถุประสงคร์ ่วมกัน
2. แรงจงู ใจ -เราขบั เคล่ือนเพอ่ื ให้ได้รบั ฉันทามตใิ นการแก้ปญั หาหรอื พัฒนา
3. การเชอื่ มประสานด้วยตนเอง -เมือ่ จาเป็น เราก็ตัดสินใจในฐานะของคน ๆ หนงึ่
4. การมีส่วนรว่ มทา -เรามีสว่ นรว่ มในการทางานรว่ มกันและเราคาดหวังใหค้ นอนื่ มสี ว่ น
ร่วมดว้ ย
5. การไกลเ่ กล่ยี -เราเจรจาและร่วมมอื กัน และหาจุดก่ึงกลาง
6. การพึง่ พาอาศยั กนั -เราแบง่ ปันและเราคาดหวังวา่ จะได้การแบง่ ปนั เป็นการแลกเปลี่ยน
แบบพง่ึ พากนั
7. การสะท้อนผล -เราคิดและพจิ ารณาทางเลือกอ่ืน
8. การมสี ่วนร่วมคดิ -เรามีส่วนร่วมในเชงิ รุกมากกวา่ รอและดู
การทางานรว่ มกันขนึ้ อยกู่ ับการเปิดเผยตรงไปตรงมาและการแบง่ ปนั ความรู้ รวมถึงระดับ
ของการมุ่งเนน้ และความรับผิดชอบในส่วนขององค์กรธรุ กจิ ซ่ึงควรมีหลักธรรมาภบิ าลเพ่อื ใช้กับการ
กาหนดและยกเลิกพ้ืนทก่ี ารทางานของทมี ด้วยการมอบหมายความรับผิดชอบในการรวบรวมผลลัพธ์
ทเ่ี กิดขนึ้ จากการทางานรว่ มกัน

30

Doyle (2019) ผู้เช่ียวชาญด้านการหางานให้กับ The Balance Careers กล่าวว่า คา
จากัดความของคาว่า “ความร่วมมือ” หมายถึง การทางานกับคนอื่นเพ่ือสร้างหรือผลิตบางสิ่ง
บางอยา่ ง

การทางานรว่ มกันท่ปี ระสบความสาเร็จนน้ั ต้องอาศัยจิตวญิ ญาณของความร่วมมือและการ
เคารพซ่ึงกันและกัน โดยท่ัวไปแล้วนายจ้างจะมองหาพนักงานที่ทาหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพใน
ฐานะสว่ นหนึ่งของทีม และยนิ ดที ่จี ะสร้างสมดลุ ระหว่างความสาเรจ็ ส่วนบคุ คลกบั เป้าหมายของกลุ่ม

ในบางกรณี สมาชิกของทีมที่ทางานร่วมกันจะมาจากแผนกเดียวกันเพ่ือประสานงาน
กิจกรรมให้ต่อเน่ือง ในบางสถานการณ์ มีการรวมตัวกันของทีมระหว่างแผนกเพ่ือจัดตั้งทีมข้ามสาย
งานท่ีได้รบั ภารกิจให้ทาโครงการพิเศษให้เสร็จภายในระยะเวลาท่ีกาหนด

องคป์ ระกอบของการทางานร่วมกนั ทปี่ ระสบความสาเร็จ
แนวคิดของการทางานร่วมกันดูเหมือนงา่ ย ซ่ึงไม่ได้หมายความเพียงแค่ “ทางานด้วยกนั ”
แต่มีอะไรมากกว่านั้น หากคุณทางานกับผู้อ่ืนในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง ให้คานึงถึงองค์ประกอบของการ
ทางานร่วมกนั ท่ีดดี ังตอ่ ไปนี้:
1. กาหนดคาจากดั ความและข้อตกลงทช่ี ัดเจนเกีย่ วกับบทบาทของห้นุ ส่วนในกระบวนการ
ทางานรว่ มกัน
2. สื่อสารภายในทีมอย่างเปิดอย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา อย่าหวงข้อมูลที่จาเป็นต่อการ
ปฏบิ ัติงาน
3. เห็นตรงกันในด้านเป้าหมายและวิธีการในการทาโครงการหรืองานให้สาเร็จ อย่าเพ่ิง
เดินหน้าต่อจนกว่าสมาชกิ ทกุ คนจะเห็นชอบ
4. ให้การยอมรับและเคารพการมีส่วนร่วมของผู้ทางานร่วมกันทั้งหมด การให้เครดิต
คนทางานถอื เปน็ สิ่งสาคัญ
5. ร่วมกันระบุอุปสรรคและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การทางานเป็นทีมเป็น
สิง่ จาเปน็ เสมอ
6. วางเป้าหมายของกลุ่มไว้เหนือความพึงพอใจและการยอมรับส่วนบุคคล โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งถ้าคุณเป็นผู้นา ส่ิงสาคัญคือต้องให้ผลลัพธ์ที่คาดหวังของโครงการเป็นส่ิงสาคัญที่สุด การ
ทางานรว่ มกันไมใ่ ชก่ ารทาตามเป้าหมายของใครคนใดคนหนง่ึ
7. ย่อมรับในความผิดพลาดและพร้อมให้อภัยผู้อื่น การแสดงความไม่พอใจหรือบ่อน
ทาลายความพยายามของสมาชกิ คนอน่ื ๆ ในทีม ถือเป็นการทาให้เกดิ ความขัดแย้ง
Zahid (2018) อาจารย์สอนพิเศษท่ี York University และผู้จัดการอาวุโสที่ Flentis
Corporation กล่าวว่า แทบจะทุกงานอาชีพในปัจจุบัน ต้องใช้ทักษะเชื่อมประสานกันบางอย่างจาก
สมาชิกในทมี เพื่อรว่ มกันทางานโดยใช้ทักษะการทางานร่วมกนั ทาให้ความรว่ มมอื กลายเป็นทักษะท่ี
จาเป็นในแทบทุกภาคส่วนของการทางาน
อะไรคือทักษะการทางานร่วมกันในท่ีทางาน? ทักษะการทางานร่วมกันช่วยให้พนักงาน
สามารถประสานงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล การทางานร่วมกันเพื่อความสาเร็จต้องอาศัยจิต
วิญญาณความร่วมมือและการเคารพซึ่งกันและกัน โดยทั่วไปแล้วนายจ้างจะหาคนทางานท่ีจะเป็น
ฟันเฟอื งในทีม และยนิ ดีท่จี ะสรา้ งสมดุลระหว่างความสาเรจ็ สว่ นตวั กบั เปา้ หมายของกลุ่ม

31

ฝ่ายที่ต้องทางานร่วมกัน มีไม่ก่ีกรณี ท่ีสมาชิกของทีมซึ่งทางานร่วมกันจะมาจากแผนกที่
ลักษณะงานคล้ายกนั ซึ่งต้องดาเนินการตามกิจกรรมต่อเนอื่ งที่ต้องมกี ารประสานงานกัน แต่ในกรณี
ส่วนใหญ่ จะเป็นการรวมตัวกันของทมี ระหว่างแผนกเพ่อื จัดต้ังทมี ขา้ มสายงานที่ไดร้ ับมอบหมายให้ทา
โครงการพิเศษให้เสร็จภายในระยะเวลาท่ีกาหนด การทางานร่วมกันสามารถเกิดขึ้นได้ระหว่างคู่
ปฏิบตั งิ านหลายประเภทในระดับผู้บังคบั บญั ชาและผูใ้ ตบ้ ังคับบญั ชา

ทักษะความร่วมมือไม่ได้เกิดขึ้นระหว่างพนักงานในบริษัทเดียวกันเสมอไป ผู้ให้บริการ
สามารถทางานร่วมกบั ลกู คา้ เพ่ือรับทราบเป้าหมาย และผขู้ ายสามารถร่วมมือกับลูกค้าเพ่อื ผลิตสินค้า
หรือบริการ การทางานรว่ มกันยังสามารถเกิดข้ึนระหวา่ งบุคคลท่ีอยู่นอกขอบเขตการจา้ งงานของตน
ได้ เช่น ห้นุ สว่ นทางธรุ กจิ ลูกค้า ผู้รับบริการ ผู้รับเหมา อาสาสมคั รและซพั พลายเออร์

องคป์ ระกอบของทกั ษะการทางานร่วมกนั เพื่อความสาเร็จ
1. กาหนดและยอมรบั บทบาทของผู้รว่ มงานอยา่ งชัดเจนในกระบวนการทางาน
2. ส่ือสารภายในทีมอยา่ งเปดิ เผย เพื่อแบง่ ปนั ขอ้ มูลที่จาเป็นต่อการทางาน
3. เห็นชอบในเปา้ หมายและวธิ ีการในการทาโครงการหรอื งานใหส้ าเรจ็
4. การยอมรับและเคารพการมสี ่วนร่วมของผ้ทู างานรว่ มกันทั้งหมด
5. ระบอุ ุปสรรคและแก้ไขปญั หาทเ่ี กดิ ขึน้ รว่ มกนั
6. วางเป้าหมายของกลุ่มไวเ้ หนือความพงึ พอใจและการยอมรบั ส่วนบุคคล
7. ยอ่ มรับในความผดิ พลาดและพรอ้ มใหอ้ ภยั ผู้อน่ื
ในเวบ็ ไซตข์ อง My Hub (2018) เว็บไซตก์ ารเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการส่อื สารและการมสี ่วน
ร่วม ไดก้ ล่าวว่า การทางานท่เี ช่ือมประสานกนั และการทางานรว่ มกนั เป็นสิง่ จาเป็นไมว่ ่าในที่ทางานใด ๆ
ไม่ว่าจะเปน็ เพ่ือนร่วมงานสองคนที่ปฏิสัมพันธ์กันเพื่อทางานให้เสร็จ หรือทีมงานข้ามแผนกที่ร่วมกนั
ทาโครงการใดโครงการหนึง่ การทางานรว่ มกันของพนกั งานก็เปน็ คุณลักษณะหนง่ึ ทพ่ี บในทุกธุรกิจท้ัง
ขนาดใหญแ่ ละขนาดเล็ก อย่างไรกต็ าม การทางานร่วมกนั ในท่ที างานมักไดร้ ับการอนญุ าตเสมอ ซงึ่ จะ
เหน็ ไดจ้ ากการท่ีนายจา้ งกาหนดใหพ้ นักงานต้องทางานร่วมกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและสร้างผลลัพธ์ที่
เป็นความสาเร็จ ทักษะการทางานร่วมกันท่ีมีประสิทธิภาพจาเป็นต้องได้รับการปลูกฝังและพัฒนา
แล้วทีมของคุณมีทักษะการทางานร่วมกันท่ีต้องใช้ในที่ทางานหรือไม่ มาดูกันว่าทักษะเหล่าน้ันคือ
อะไรและจะส่งเสริมในธุรกิจของคุณได้อย่างไร แต่ก่อนอื่นต้องนิยามความร่วมมือในที่ทางานที่มี
ประสทิ ธิภาพก่อน
ตวั อย่างการทางานร่วมกนั ในทีท่ างาน
ตอนน้ีเราได้ระบุวัฒนธรรมขององค์กรที่จาเป็นในการสนับสนุนการทางานร่วมกันใน
สถานท่ีทางานท่ีมีประสิทธิภาพ รวมถึงทักษะที่พนักงานผู้ประสานงานแต่ละคนต้องมี จึงขอนาเสนอ
ตัวอย่างของการทางานรว่ มกันที่มีประสิทธิภาพในท่ีทางาน ซ่ึงเราจะดูจากสถานการณ์หนึ่งที่เกิดขน้ึ
ทุกวันท่ีพบได้ท่ัวไปในองค์กรส่วนใหญ่ เพื่อแสดงให้เห็นว่าการทางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพก็
อาจใชไ้ ด้กบั ธรุ กจิ ของคณุ
สถานการณใ์ นทที่ างาน : การพฒั นากลยทุ ธ์ใหม่ทางการตลาด
บริษัทสว่ นใหญ่มีกลยทุ ธท์ างการตลาดอย่แู ล้ว ดงั นั้นลองสมมตใิ ห้บริษัทของคุณก็มีกลยุทธ์
ดงั กลา่ วพร้อมตอ่ การพจิ ารณาทบทวนแล้ว คณุ จะทาอยา่ งไรเพื่อบรรลภุ ารกิจตามกลยุทธน์ ี้ ? สาหรับ

32

ธุรกิจส่วนใหญก่ ารทบทวนกลยทุ ธ์จะเริ่มจากการเลือกพนักงานที่มีบทบาทสาคัญสองสามคน ซึ่งโดย
ปกติจะเป็นผู้ท่ีอยู่ในสานักงานในวนั นน้ั ให้ดาเนินการจัดประชุมทางอีเมลเพอ่ื ทบทวนกลยุทธ์ท่ีมีอยู่
ด้วยการส่งเอกสารฉบับรา่ งกลบั ไปกลับมาภายในบริษทั ไมต่ ้องสงสัยเลยวา่ จะมคี วามผิดพลาดเกิดขึ้น
บ้างระหว่างการสือ่ สารเนื่องจากความเข้าใจผิดเก่ียวกบั บทบาทและความรบั ผิดชอบ แตก่ ไ็ มต่ ้องกังวล
กับเรื่องน้ี เพราะในตอนท้ายก็จะเข้าใจกันได้ เมื่อกลยุทธ์ใหม่ได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการ
แล้ว เอกสารประกาศของบริษัทก็จะถูกส่งไปยังอีเมลของพนักงานทุกคนพร้อมสาเนาเอกสารแจกให้
สง่ิ เหล่าน้ีฟงั ดูเหมอื นว่าเป็นเรือ่ งจริงที่เกิดข้นึ กับธุรกิจของคุณหรอื ไม่? แน่นอนวา่ ไม่ใช่เรอ่ื งแปลก แต่
กระบวนการทางานน้ีใช้ได้ผลอย่างไรในธุรกิจที่มีทักษะการทางานร่วมกันในสถานท่ีทางานท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพ ประกอบดว้ ย

1. การจัดต้ังทีมงานโครงการ โดยใช้ข้อมูลพนักงานจากระบบอินทราเน็ตซึ่งระบุสาขา
ความเช่ยี วชาญและองค์ความรใู้ นด้านต่าง ๆ ซ่ึงทมี งานโครงการจะถกู แต่งตัง้ จากตวั แทนข้ามแผนก มี
การมอบหมายและตกลงในบทบาทและความรับผิดชอบท่ีชัดเจนโดยทมี งานโครงการ

2. มกี ารสร้างพ้นื ท่ีโครงการให้ใชร้ ว่ มกันบนระบบออนไลน์ของสานกั งาน การเข้าถงึ จะถูก
จากัดใหก้ บั สมาชกิ ของทีมงานโครงการเท่านน้ั และไมว่ ่าสมาชิกในทีมจะอยู่ท่ไี หน พวกเขากส็ ามารถ
ใชพ้ ืน้ ทโ่ี ครงการเพือ่ แบ่งปนั ขอ้ มูลเชิงลึก สารสนเทศ ขอ้ มลู และแนวคิดทเี่ กดิ จากการระดมสมองได้

3. มีการจัดทาแผนงานโครงการและช่วงเวลาดาเนินการ การระบุลาดับเหตุการณ์และ
ความรับผิดชอบหลัก ๆ การเผยแพร่แผนงานโครงการบนพนื้ ที่โครงการในระบบอินทราเน็ต สมาชิก
ในทีมสามารถรายงานความคืบหน้าและแจง้ ขอ้ มูลโดยตรงต่อสมาชกิ คนอ่ืน ในประเดน็ ต่าง ๆ โดยตรง
แบบทันที โดยใช้ตารางจัดการงานของโปรแกรม Microsoft ท่ีมีอยู่ในพื้นที่โครงการในระบบ
อินทราเน็ต ข้อคิดเห็นของพนักงานจะถูกสารวจผ่านระบบอินทราเน็ต การขอคาแนะนาจากกลุ่ม
พนักงานในระดับที่แตกต่างกันนนั้ ไม่ได้เป็นเพยี งความคิดท่ีดีในแง่ของการได้มาซึ่งผลผลิตท่ีดีข้ึน แต่
ยังช่วยเพ่ิมความผูกพันของพนักงานกับผู้บริหาร และเป็นที่ทราบกันดีว่าพนกั งานที่มีความผูกพนั ก็มี
แนวโน้มที่จะมีความสุขและเกิดประสิทธิผลมากขึ้น ดังนั้น ขอให้แน่ใจว่าได้ตรวจสอบความคิดเห็น
ของพนักงานผา่ นแบบสอบถามในระบบอินทราเนต็

4. มีการพัฒนาฉบับรา่ งของกลยุทธ์ทางการตลาด แทนท่ีจะส่งแผน ฯ ท่ีปรับแก้ไปมาทาง
อีเมล การใช้โปรแกรม MS Word หรือ Google Doc ที่มีอยู่ในพื้นที่โครงการในระบบอนิ ทราเน็ตจะ
ช่วยใหส้ มาชิกในทีมสามารถทางานกับร่างกลยุทธ์ ฯ นัน้ ได้พรอ้ มกนั แบบทนั ที และจดั การเอกสารให้
เป็นปจั จุบันโดยอตั โนมตั ิ ซึ่งสมาชกิ ทกุ คนม่นั ใจได้ว่าพวกเขากาลังใช้งานข้อมูลท่ีเป็นปจั จบุ นั ท่ีสุด

5. มีการสรุปกลยุทธ์ทางการตลาดและอนุมัติโดยคณะกรรมการ แทนท่ีจะพิมพ์และ
แจกจ่ายกลยทุ ธท์ ี่สมบูรณ์นี้ให้กับทกุ ทีมและบุคลากรท่ีเกยี่ วข้อง เอกสารจะถกู เผยแพร่บนอินทราเน็ต
และพนักงานทุกคนจะได้รับแจ้งผ่านทางกระดานข่าวของอินทราเน็ต จากนั้นกลยุทธ์ฉบับเต็มก็
สามารถเข้าถงึ หรือดาวน์โหลดโดยตรงจากอนิ ทราเนต็ ไดต้ ามต้องการ

Rouse (2016) นักเขียนด้านเทคนิคและผู้อานวยการของ WhatIs.com กล่าวว่า ความ
ร่วมมือ เป็นความพยายามร่วมกันของบุคคลหลายคนหรือกลุ่มทางาน เพ่ือทาให้งานหรือโครงการ
ประสบความสาเร็จ โดยทว่ั ไปแลว้ การทางานรว่ มกนั ภายในองค์กรจะเกยี่ วข้องกบั ความสามารถของ
คนสองคนขึ้นไปในการพจิ ารณาและมสี ว่ นรว่ มในเอกสารหรอื เน้ือหาอ่นื ๆ ผ่านเครือขา่ ย

33

ความสามารถในการทางานร่วมกันและการส่ือสารในองค์กร กาลังกลายเป็นสิ่งจาเป็น
สาหรับการปรับตัวทางธุรกิจ การทางานร่วมกันขององค์กรอาจครอบคลุมการใช้แพลตฟอร์มการ
ทางานร่วมกันเคร่ืองมือเครือข่ายทางสังคมขององค์กร อินทราเน็ตขององค์กร และอินเทอร์เน็ต
สาธารณะ

การทางานร่วมกนั บนคลาวด์ช่วยให้พนักงานทางานดว้ ยกันในดา้ นเอกสารและข้อมูลอน่ื ๆ
ที่จัดเกบ็ อยู่ที่อน่ื และนอกขอบเขตไฟร์วอลล์ของบรษิ ัท พนกั งานใช้แพลตฟอร์มบนคลาวด์เพือ่ แบ่งปัน
แก้ไขและทางานด้วยกันในโครงการต่าง ๆ การทางานร่วมกันบนคลาวด์ช่วยให้คนสองคนข้ึนไป
สามารถทางานในภารกิจโครงการหนึง่ ๆ ไดพ้ รอ้ มกนั

ช่วงเวลาในการทางานร่วมกันอาจไม่ตรงกนั กไ็ ด้ ในกรณีท่งี านนน้ั ไมจ่ าเป็นต้องส่ือสารและ
ทางานด้วยกันในเวลาเดยี วกนั การทางานร่วมกันทเ่ี กิดขึน้ ในเวลาเดียวกนั หรือท่ีรู้จกั ในช่ือการทางาน
ร่วมกันแบบทนั ที (เรียลไทม)์ นน้ั เป็นการทผี่ ทู้ างานดว้ ยกนั ลงมอื ทางานนน้ั ๆ ในเวลาเดยี วกัน

ความคล่องตัวขององค์กร (ความสามารถในการทางานจากสถานท่ีต่าง ๆ โดยส่ือสารผ่าน
โน้ตบุ๊กแท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน) ก็กลายเป็นส่ิงเคยชินสาหรับทั้งนายจ้างและลูกจ้างอย่างรวดเร็ว
ผู้คนทางานจากท่ีบ้าน ขณะเดินทาง และช่องทางอ่ืน ๆ ท้ังในและนอกเวลาทางาน และจะสามารถ
ทางานร่วมกับเพอื่ นรว่ มงานได้จากทุกอุปกรณ์ท่ีใช้งานอยู่ การทางานร่วมกันผ่านช่องทางที่เคลื่อนท่ี
ได้นีต้ อ้ งใชแ้ พลตฟอร์มและโปรแกรมท่ไี มต่ อ้ งพ่วงกับเครื่องมอื เสรมิ ใด ๆ

การทางานร่วมกันตามบริบท เป็นการใส่โปรแกรมทางธุรกิจ เช่นโปรแกรมประมวลผลคา
การส่งข้อความทันทีภายในองค์กร (EIM) ปฏิทินที่ใช้ร่วมกันและซอฟต์แวร์อื่น ๆ ลงในส่วนต่อ
ประสานของผใู้ ช้แบบรวมศูนย์ท่ีใชเ้ ทคโนโลยีการแสดงตนเพือ่ เสรมิ การทางานรว่ มกนั วธิ ีการดงั กล่าว
ช่วยให้ผ้ใู ชส้ ามารถส่ือสารและแบ่งปันทรพั ยากรใด ๆ ได้ทันทีที่ตอ้ งการจาแอพพลิเคชนั ใด ๆ ก็ได้ ซึง่
มีจุดประสงค์คือการทาให้การทางานร่วมกันทางออนไลน์เป็นไปอย่างเรยี บง่ายและใช้งานไม่ต่างจาก
การทางานกับผู้คนที่อยใู่ นหอ้ งเดยี วกนั ขณะเดียวกนั ก็เป็นการเพ่ิมขีดความสามารถในการทางานกับ
ผู้คนไมว่ ่าจะอยทู่ ใ่ี ดในโลก

ในเว็บไซต์ของ The Supportive Classroom (n.d.) กล่าวถึง ทักษะความร่วมมือ ว่า
บรรทัดฐานของช้ันเรียนแสดงถึงพฤติกรรมที่คาดหวงั ที่สนับสนุนแนวคิดหลักของความไวว้ างใจ การ
แบ่งปัน การเป็นเจ้าของ และการเคารพ โดยทักษะการทางานร่วมกันเป็นวิธีเฉพาะท่ีคาดหวังให้
นักเรียนประพฤติตนเพื่อบรรลุบรรทัดฐานของช้ันเรียน หลังจากพัฒนาบรรทัดฐานของช้ันเรียนแล้ว
จงึ มีการประเมนิ การจัดลาดับความสาคญั และสอนทกั ษะการทางานรว่ มกัน

ทักษะความร่วมมอื ไดร้ ะบวุ ่าเปน็ การส่งเสริมแนวคิดหลักและสนับสนุนบรรทดั ฐานของช้ัน
เรยี น โดยทีมผสู้ อนประสบความสาเร็จในการใช้ทักษะการทางานร่วมกนั ในทักษะท่กี ล่าวถึงวิธีการท่ี
นักเรียนและครูควรมีปฏิสัมพันธ์เพ่ือตระหนักถึงบรรทัดฐานของช้ันเรียน สิ่งเหล่าน้ีถือว่ายังไม่
ครบถว้ นสมบรู ณ์ โดยช้ันเรียนอาจต้องเพิ่มทกั ษะอ่นื ๆ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการอยา่ งเต็มท่ี

นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการระบุและจัดลาดับความสาคัญทักษะการทางานร่วมกัน
ยกตัวอยา่ งเชน่ ดว้ ยการอภิปรายและเขียนรายการพฤติกรรมที่สนับสนุนบรรทัดฐานในชน้ั เรียน หรือ
โดยการทางานร่วมกับครูเพ่อื เลือกทักษะจากรายการดังกล่าว การเลือกทักษะการทางานรว่ มกันเพ่ือ
สอนเปน็ เพยี งการเลอื กว่าจะเรมิ่ ต้นที่ใด ซึ่งท้ายทสี่ ดุ แล้ว บรรทดั ฐานของชั้นเรยี นทนี่ ักเรียนยงั ปฏิบัติ

34

ได้ไม่คล่อง รวมถึงทักษะการทางานรว่ มกนั ท่ีจะสนับสนนุ จะต้องได้รับการสอนและสร้างให้เกิดเปน็
คณุ ลักษณะในด้านทกั ษะของนักเรยี น

ทีมผู้สอนควรจัดช่วงเวลาการสอน 20-30 นาทีในแต่ละสัปดาห์สาหรับการสอนเบ้ืองต้น
เกย่ี วกบั ทกั ษะการทางานรว่ มกัน เปา้ หมายคอื การแนะนาทกั ษะใหม่ ๆ หนึ่งทักษะในแตล่ ะสปั ดาห์

ทมี ผู้สอนควรระบุกิจกรรมท่ีมีการปฏสิ ัมพนั ธ์ในแต่ละวนั อย่างน้อยหน่ึงกิจกรรม (กิจกรรม
เป็นคู่ กิจกรรมกลุ่มยอ่ ย) ซ่ึงนักเรยี นสามารถฝึกฝนโดยใช้ทักษะการทางานรว่ มกัน กิจกรรมสามารถ
กาหนดขึ้นจากวชิ าใด ๆ ก็ได้ (เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี การอ่าน) ตราบใดที่เปิด
โอกาสใหน้ ักเรียนฝกึ ฝนทกั ษะการทางานร่วมกัน หลงั จากทากจิ กรรมท่ตี ้องปฏสิ มั พนั ธก์ นั แลว้ ตอ้ งใช้
เวลาเพ่ิมอีก 5 นาทีเพ่ือให้นักเรียนประมวลผลว่าพวกเขาใช้ทักษะได้ดีเพียงใดในระหว่างกิจกรรม
และหากจาเป็นก็ใหก้ าหนดเปา้ หมายสาหรับการปรบั ปรุงแก้ไข

กล่าวโดยสรุป นิยามของทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) จากทัศนะดังกล่าว
ขา้ งต้น หมายถึง การทางานกับคนอ่ืนซงึ่ เปน็ การจัดการแบบมีส่วนรว่ มซึ่งทั้งสองฝ่ายหรอื มากกว่านั้น
ต้องใช้การผสมผสานระหว่างมนุษยสัมพันธ์ การแก้ปัญหาและทักษะการส่ือสาร เพ่ือสร้างบางสิ่ง
บางอย่าง คือ พฤติกรรมท่ีช่วยคนสองคนหรือมากกว่าน้ันให้ทางานด้วยกันและทาหน้าที่ได้ดีใน
กระบวนงานนนั้ ๆ เพือ่ เชื่อมประสานกันเปน็ ส่งิ จาเป็นไมว่ ่าในที่ทางานใด ๆ ช่วยให้บุคลากรสามารถ
ประสานงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล การทางานร่วมกันเพ่ือความสาเร็จต้องอาศัยจิตวิญญาณ
ความร่วมมือและการเคารพซึ่งกนั และกนั เพ่ือบรรลุเป้าหมายร่วมกัน โดยมีองค์ประกอบของทักษะ
การทางานรว่ มกนั เพ่ือความสาเรจ็ ดังนี้ เชน่

-กาหนดและยอมรับบทบาทของผรู้ ว่ มงานอย่างชดั เจนในกระบวนการทางาน
-เหน็ ชอบในเปา้ หมายและวิธีการในการทาโครงการหรืองานให้สาเร็จ
-ระบุอปุ สรรคและแกไ้ ขปญั หาท่เี กิดขน้ึ รว่ มกัน
-ส่ือสารภายในทีมอยา่ งเปิดอยา่ งเปดิ เผยตรงไปตรงมา อยา่ หวงขอ้ มลู ที่จาเป็นต่อการปฏิบตั งิ าน
-เห็นตรงกันในด้านเป้าหมายและวิธีการในการทาโครงการหรืองานให้สาเร็จ อย่าเพิ่ง
เดนิ หนา้ ตอ่ จนกวา่ สมาชิกทกุ คนจะเห็นชอบ
-ให้การยอมรับและเคารพการมีส่วนร่วมของผู้ทางานร่วมกันท้ังหมด การให้เครดิต
คนทางานถือเปน็ สงิ่ สาคัญ
-ร่วมกันระบุอุปสรรคและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การทางานเป็นทีมเป็น
สิ่งจาเปน็ เสมอ
-วางเป้าหมายของกลุ่มไว้เหนือความพึงพอใจและการยอมรับส่วนบุคคล โดยเฉพาะอย่าง
ยง่ิ ถา้ คณุ เปน็ ผ้นู า สงิ่ สาคัญคือต้องใหผ้ ลลัพธท์ ค่ี าดหวงั ของโครงการเปน็ สิ่งสาคญั ท่ีสุด การ
ทางานร่วมกันไม่ใชก่ ารทาตามเปา้ หมายของใครคนใดคนหนง่ึ
-ย่อมรับในความผิดพลาดและพร้อมให้อภยั ผู้อ่ืน การแสดงความไม่พอใจหรือบ่อนทาลาย
ความพยายามของสมาชิกคนอนื่ ๆ ในทีม ถือเปน็ การทาใหเ้ กิดความขดั แยง้
-ความตระหนกั -เรากลายเป็นส่วนหน่งึ ของหน่วยการทางานท่ีมวี ตั ถุประสงคร์ ว่ มกนั
-แรงจูงใจ -เราขับเคลื่อนเพือ่ ใหไ้ ด้รับฉันทามติในการแก้ปัญหาหรอื พัฒนา
-การเชื่อมประสานดว้ ยตนเอง -เมือ่ จาเป็น เราก็ตัดสนิ ใจในฐานะของคน ๆ หน่งึ

35

-การพ่ึงพาอาศัยกนั -เราแบง่ ปันและเราคาดหวังวา่ จะได้การแบง่ ปนั เปน็ การแลกเปลย่ี น
แบบพึ่งพากนั
-การสะทอ้ นผล -คิดและพิจารณาทางเลือกอ่นื
-จติ วญิ ญาณของทมี
-ความตรงตอ่ เวลา
2.3.2 ทัศนะเกี่ยวกับความสาคัญของทักษะความร่วมมือ (The Importance of
Collaboration Skills)
Contributor (2019) กลา่ วถึง ความสาคญั ของทกั ษะความรว่ มมือไวว้ า่ เมือ่ กล่าวถงึ การ
จา้ งพนักงานรายช่ัวโมง มาตรฐานดา้ นอุตสาหกรรมและกฎขอ้ บงั คบั เป็นส่ิงแรก ๆ ท่ีต้องคานึงถึง ต้อง
พิจารณาว่าจะคานวณค่าจ้างเป็นรายชั่วโมงหรือตามอัตราจ้างท่ีกาหนดไว้ จะจัดการค่าจ้างให้
ครอบคลุมกับภาษีท่ีรัฐบาลกาหนดได้อย่างไรบ้าง สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นเรื่องสาคัญและต้องพิจารณา
อยา่ งรอบคอบ
งานของนักเขียนจะมีประโยชน์หากนาไปแบ่งปันให้กับสมาชิกในทีมและสนับสนุน ใ ห้
ทางานร่วมกัน ตัวอย่าง เช่น หากนักเขียนผู้นี้ร่วมงานกับฝ่ายกราฟฟิกดีไซน์ นักพัฒนาเว็บไซต์และ
ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นการตลาด ผลก็จะออกมาดีย่งิ ข้นึ เปน็ ต้น
ในเว็บไซต์ของ lmacademics (2019) กล่าวถึง ความสาคัญของทักษะความรว่ มมอื ไว้
ว่า เป็นการรวมกันของ 2 แนวคิดที่มีความต่างกนั เล็กน้อย ได้แก่ ทีมเวิร์ค (Teamwork) ซึ่งหมายถงึ
การทางานร่วมกันของสมาชิกในทีมท่ีมีเป้าหมายเดียวกัน และ Collaboration ซึ่งหมายถึง การ
ทางานร่วมกนั แมจ้ ะมีเป้าหมายต่างกนั แต่เมอ่ื งานสาเร็จสมาชิกทุกคนได้ประโยชน์รว่ มกัน เราจะเร่ิม
เห็นวา่ พนักงานทม่ี ีทีมเวิร์คทด่ี แี ละทักษะการทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ที่ดจี ะชว่ ยใหอ้ งคก์ รมบี รรยากาศท่ีน่า
ทางานและเป็นแรงบันดาลใจให้พนักงานทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึนด้วย ส่วนในโรงเรียน
เองก็มีการสอนใหน้ ักเรยี นไดท้ างานร่วมกนั กบั เพือ่ น ๆ มากขน้ึ และเนน้ ในด้านแนวทางความพยายาม
ในการทางานรว่ มกนั
Kashyap (2017) กล่าวว่า วลีพื้นฐานของการทาธรุ กิจทุกวันนีค้ ือ “เราต้องร่วมมือกัน”
การทางานรว่ มกนั ในองค์กรคอื สัญญาณของทีมทม่ี ีประสิทธภิ าพ เพราเปน็ การทางานร่วมกันระหว่าง
สองฝา่ ยหรอื มากกวา่ นน้ั เพอ่ื ใหผ้ ลออกมาดีที่สดุ ส่ิงท่จี าเปน็ มากที่สดุ ในทีมคอื การมปี ระสิทธิภาพและ
ยังเป็นมุมมองที่สาคัญภายในองค์กร การทางานร่วมกันในองค์กร (Workplace Collaboration) จะ
เป็นตัวชว่ ยกระจายงานให้ทุกคนอย่างเท่าเทยี มกัน ป้องกันไมใ่ ห้คนใดคนหนงึ่ ในทมี มภี าระงานท่ีมาก
เกินไป “อย่าให้การร่วมงานท่ีไร้ประสิทธิภาพเป็นอุปสรรคของความสาเร็จ” เมื่อคุณมีการทางาน
ร่วมกันเป็นทมี (Team Collaboration) มักจะได้เห็นผลลพั ธท์ ด่ี ีออกมาเสมอเนือ่ งจากไมต่ อ้ งกังวลว่า
ทีมจะทางานร่วมกันได้หรือไม่ การทางานเป็นทีม (Working in Team) ทาให้พนักงานมีความ
รบั ผดิ ชอบมากขน้ึ และชว่ ยเพิม่ แรงบันดาลใจในการทางานแกพ่ นักงานอกี ด้วย
ในเวบ็ ไซตข์ อง Elcom (2018) กลา่ วถึงเร่อื งของทกั ษะความร่วมมือว่า การทางานร่วมกัน
ในท่ีทางานไม่ใช่เร่ืองใหม่ แต่ถึงกระนั้นกลับเป็นเรื่องท่ีทวีความสาคัญมาขึ้นเร่ือย ๆ ในยุคใหม่น้ี
เน่ืองจากเราสามารถเช่ือมต่อคนทั้งโลกได้ เทคโนโลยีการเก็บข้อมูลออนไลน์ (Cloud Computing)
และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้พนักงานสามารถทางานกับเพ่ือนร่วมงาน

36

(Collaborate with Colleagues) ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน ช่วยเสริมสร้างกาลังคนท่ีมีความรู้
ความสามารถและเกี่ยวข้องกับงานโดยเฉพาะได้มากขึ้น อย่างไรก็ตามการทางานร่วมกันน้ันเกิดขึ้น
มากในโลกออนไลน์มากกว่าการทางานแบบเจอกันต่อหน้าต่อตาในองค์กร ในบทความนี้เราจะ
เจาะลึกถึงสาเหตวุ ่าทาไมการทางานรว่ มกันในองค์กรจงึ เป็นเรอ่ื งสาคัญและประโยชน์หลัก ๆ ท่ีเราจะ
ได้และส่งิ ทค่ี ุณต้องรู้

ในเว็บไซต์ของ Nutcache (2019) กล่าวว่าหนึ่งในปัจจัยสาคัญที่มีส่วนช่วยให้แต่ละ
ธุรกิจประสบความสาเร็จได้ข้ึนอยู่กับว่าพนักงานสามารถทางานร่วมกันเป็นทีมได้หรือไม่ ด้วยการ
แข่งขันท่ีสูงข้ึน การสนับสนุนให้องค์กรมีความคิดสร้างสรรค์ก็ย่ิงเป็นเร่ืองจาเป็นเพื่อการเพิ่มผลผลิต
และสง่ เสรมิ ความสัมพนั ธอ์ ันดแี กเ่ หลา่ พนักงาน

การทางานเปน็ ทมี ทาให้พนกั งานทางานไดร้ วดเรว็ และมีประสิทธิภาพมากขนึ้ เมื่อเทียบกับ
คนที่ทางานโปรเจคเด่ียว การทางานรว่ มกนั ยังช่วยส่งเสริมให้พนกั งานต่างมคี วามรับผิดชอบสูงขน้ึ ซงึ่
มาพรอ้ มกบั การมีแรงบนั ดาลใจเพ่มิ มากข้นึ เมือ่ ได้ทางานรว่ มกนั อยา่ งแทจ้ ริง

ยังมีอกี หลายมุมมองที่บ่งบอกวา่ การทางานร่วมกันนน้ั มปี ระโยชน์ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. การระดมสมอง (Brainstorming) -การทางานรว่ มกนั ทาใหส้ มาชิกในทีมสามารถทางานไป
ในทิศทางเดียวกันและร่วมกันหาทางทาเป้าหมายให้สาเร็จโดยการคิด การระดมสมอง และการ
ร่วมกนั ออกความเหน็ ในแง่มุมต่าง ๆ เพ่ือช่วยหาวธิ แี ก้ไขปญั หา
2. การให้คุณค่า (Providing Value) -การมีเป้าหมายร่วมกันจุดประกายให้สมาชิกแต่ละคน
เข้าใจในความสาคัญของหน้าท่ีตนอย่างหนักแน่น การที่ทีมเห็นคุณค่าของการร่วมมือกันทางานเพ่ือ
บรรลุจุดประสงค์เดียวกันทาให้สมาชิกเข้าใจเหตุผลที่มีความหมายในการทางานร่วมกัน ทั้งในระดับ
ทมี และระดับองคก์ รต่างก็ไดผ้ ลประโยชนจ์ ากตรงนี้
3. การมีสว่ นร่วมอย่างเทา่ เทยี มกนั (Equal Partaking) -การทางานรว่ มกนั จะช่วยให้ทุกคนมี
โอกาสได้รว่ มเป็นส่วนหน่ึงและสามารถแสดงความคดิ เห็นไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี มกัน

Moseley (2019) กล่าววา่ เนือ่ งจากคนเรามชี ดุ ทกั ษะที่มคี วามเชยี่ วชาญเพ่มิ มากขึน้ การ
ปฏิบัติงานร่วมกันจึงกลายเป็นเรื่องสาคัญมากกว่าที่ผ่านมา แต่ความจริงแล้วหมายความว่าอย่างไร?
อะไรคือการทางานรว่ มกนั กันแน?่

แม้คาว่า “ความร่วมมือ” (collaboration) จะกลายเป็นเสมือนวลีนิยมขององค์กร แต่ก็
ไม่ใช่ถ้อยคาที่ฟังแล้วเบ่ือหูแตอ่ ย่างใด ในทางตรงกันข้าม การทางานรว่ มกันในองค์กรคือสิ่งที่จะชว่ ย
ใหท้ มี ประสบความสาเรจ็ เป็นสิ่งทีอ่ ธิบายได้ง่าย ๆ เชน่ น้ีเอง

ความร่วมมือ (collaboration) คือการท่ีกลุ่มคนได้ใช้ความชานาญของตนในการร่วมงาน
กันเพื่อให้บรรลุผลและได้รับผลประโยชน์จากเป้าหมาย โปรเจค หรือภารกิจที่มีร่วมกนั ก็เหมือนกับ
ช่างภาพท่ีทางานกับนกั ออกแบบในการถ่ายปกนติ ยสาร หรอื ฝ่ายเทคโนโลยีซึง่ ปกติแล้วจะถกู เรียกตัว
มาทางานกับฝา่ ยการตลาดและร่วมกนั ทางานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายรายไตรมาสอยู่เป็นประจาเป็นต้น
พูดอีกแบบหน่ึงก็คือการทางานร่วมกันเป็นกระบวนการของการทางานกลุ่ม แต่ก็ยังถือเป็นทักษะท่ี
เกิดจากการเรียนรู้ด้วย หากคุณสามารถทางานกับผู้อื่นได้ดี น่ันก็จะส่งผลดีต่อผลงานโปรเจคกลุ่มที่จะ
ตามมา


Click to View FlipBook Version