The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-08-03 13:01:58

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

176

ตารางที่ 4.13 (ตอ่ )

ขอ้ เสนอหลกั การ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ ีการ / กิจกรรม ค่าความถแี่ สดงระดับการนาไปปฏิบตั ิ
เพอ่ื การนาไปปฏบิ ตั ิ 012345

8. กระจายการมอบหมายหน้าท่ี (Spread the Delegation of 1217
Tasks)
1226
ทศั นะของ Conlan (2018)
1. กาหนดว่าการทางานร่วมกันมีความหมายต่อคุณอย่างไร 2234

(Define What Collaboration Means to You) 236
2. กาจัดอุปสรรคในการทางานกลุ่ม (Clear Out Obstacles to
1 10
Group Work) 2342
3. เสริมสร้างจิตวิญญาณแห่งความไว้วางใจ (Foster a Spirit of
1 10
Trust)
ทศั นะของ Boyer (2015) 146
1. สนับสนนุ การเปน็ ผู้นา (Provide Leadership Support) 29
2. ตง้ั กฎพน้ื ฐานขึ้นมา (Set Ground Rules)
3. สร้างความคาดหวงั ท่เี ปน็ ไปได้จริงและชี้แจงเป้าหมายให้ชัดเจน 1 10

(Establish Realistic Expectations & Clarify Goals) 1127
4. การจดั ระเบยี บกระบวนการ (Organize the Process)
5. สรา้ งความเชอื่ มัน่ (Build Trust) 245
ทศั นะของ Lucco (2019) 2252
1. ลงทุนในการสร้างรูปแบบของความสัมพันธ์ในทีม (Invest in 2333

Signature Relationship Practices) 119
2. ต้นแบบการสร้างพฤติกรรมการทางานร่วมกัน (Model
1118
Collaborative Behavior)
3. สรา้ ง "วัฒนธรรมการให้ของขวัญ" (Create a "Gift Culture") 1217
4. เน้นในทักษะทีจ่ าเป็น (Ensure the Requisite Skills)
5. สนับสนุนชุมชนท่ีเข้มแข็ง (Support a Strong Sense of 155
1136
Community)
6. มอบงานให้หัวหน้าทีมท่ีเน้นผลงานและมุ่งเน้นการสร้าง 119

ความสมั พันธ์ (Assign Team Leaders That are Both Task-
Oriented and Relationship-Oriented)
7. สร้างการเก็บสะสมความสัมพันธ์ (Build on Heritage
Relationships)
8. เข้าใจบทบาทอยา่ งชดั เจนและความไม่ชัดเจนของงานบางส่วน
(Understand Role Clarity and Task Ambiguity)
ทัศนะของ Stapper (2018)
1. แบ่งปันวิสยั ทศั น์ (Share a Vision)
2. อธบิ ายความคาดหวงั ตง้ั แตเ่ ร่ิมต้น (Set Expectations Early)
3. สร้างตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จ (Establish Metrics)

177

ตารางที่ 4.13 (ตอ่ )

ข้อเสนอหลกั การ / แนวคิด / เทคนคิ / วิธกี าร / กิจกรรม คา่ ความถีแ่ สดงระดับการนาไปปฏบิ ตั ิ
เพื่อการนาไปปฏิบตั ิ 012345

4. ใชป้ ระโยชนจ์ ากจดุ แขง็ (Capitalize on Strengths) 3332
5. ส่งเสริมแนวคดิ ใหม่ ๆ (Encourage New Ideas) 1217
6. สร้างกลมุ่ งานข้ามสายงาน (Create Cross-Functional Work
119
Groups)
7. รักษาสัญญา (Keep Your Promises) 11
8. สร้างความสัมพันธ์แบบทีมหลังเลิกงาน (Build Team 38

Relationships After Work) 1 10
9. ฉลองความสาเร็จของการทางานร่วมกัน (Celebrate
11
Collaboration)
ทัศนะของ DeRosa (2018) 11
1. นาทีมงานเข้าร่วมการคัดเลือกพนักงานใหม่ (Involve Your 1127

Team in Hiring) 1 10
2. มีความโปร่งใส (Be Transparent)
3. ใช้ทีมขา้ มสายงาน (Implement Cross-Functional Teams) 11
4. คิดทบทวนเก่ียวกับสภาพแวดล้อม (Think About Your
1 10
Environment)
5. สนับสนุนทีมงานที่ร่วมงานกันได้ดี (Encourage Cohesive 119

Teams) 11
ทศั นะของ Bogler (2016)
1. การสร้างสภาพแวดล้อมการทางานร่วมกัน (Creating a 1 10

Collaborative Environment) 155
2. ข้ อ ค ว ร พิ จ า ร ณ า ใ น ก า ร ส ร้ า ง ก ลุ่ ม (Group Forming
1136
Considerations)
3. การพัฒนาทักษะความร่วมมือ (Developing Collaborative 119
2334
Skills)
4. วิธีแก้ปัญหาท่ีเกิดจากการทางานร่วมกัน (How to Solve

Collaboration Problems)
ทศั นะของ Campbell (2017)
1. สร้างเหตุผลที่ชัดเจนและมีความน่าสนใจ (Create a Clear

and Compelling Cause)
2. ส่ือสารกับสมาชิกเก่ียวกับความคาดหวัง (Communicate

Expectations)
3. กาหนดเป้าหมายของทีม (Establish Team Goals)
4. ใช้ประโยชน์จากจุดเข็งของสมาชิกในทีม (Leverage Team-

Member Strengths)

178

ตารางท่ี 4.13 (ตอ่ )

ขอ้ เสนอหลกั การ / แนวคดิ / เทคนคิ / วิธกี าร / กจิ กรรม ค่าความถ่แี สดงระดบั การนาไปปฏิบัติ
เพ่ือการนาไปปฏิบตั ิ 012345

5. ส่งเสริมการทางานร่วมกันระหว่างสมาชิกในทีม (Foster 1217
Cohesion Between Team Members)
119
6. ส่งเสรมิ นวตั กรรม (Encourage Innovation) 137
7. รักษาสัญญาและให้เกียรติกับการร้องขอ (Keep Promises
11
and Honor Requests)
8. ส่งเสริมให้เข้าสังคมนอกที่ทางาน (Encourage People to 29

Socialize Outside of Work)
9. มีการรบั รู้ ใหร้ างวลั และฉลองให้กบั พฤติกรรมการทางาน

รว่ มกัน (Recognize, Reward and Celebrate
Collaborative Behavior)

จากตารางที่ 4.13 เห็นได้ว่า ในการนาเอาข้อเสนอทางเลือกที่เป็นหลักการ / แนวคิด /
เทคนิค / วิธกี าร / กิจกรรมไปใช้ในการพฒั นาทักษะความรว่ มมือใหก้ ับนกั เรียนมีลกั ษณะที่สงั เกตได้
วา่ ครทู เ่ี ปน็ กลุ่มทดลองไดน้ าเอาหลกั การ / แนวคดิ / เทคนิค / วธิ ีการ / กจิ กรรมไปใชใ้ นการพัฒนา
ทักษะความร่วมมอื ให้กบั นักเรียนทุกขอ้ เสนอทางเลอื กในระดบั ปานกลางถึงระดับมากทสี่ ดุ (หมายเลข
3-5) มีเพียงเลก็ น้อยท่นี าเอาไปใช้ในการพฒั นาระดบั นอ้ ย (หมายเลข 2) และมีขอ้ สงั เกตว่าข้อเสนอท่ี
มีการนาเอาไปใช้ในการพัฒนาระดับมากท่ีสุด (หมายเลข 5) 10 อันดับแรก คือ 1) รักษาสัญญา
(Keep Your Promises) 2) ชัดเจนเก่ียวกับเป้าหมายของทีมและบริษัท (Be Clear on the Team
and Company Goals) 3 ) สร้าง สภาพ แว ดล้อ มแห่ง ก าร ร่ว มมือ ภายใน ทีม ( Creating a
Collaborative Team Environment) 4) กาหนดบทบาทให้ชัดเจน (Establish Roles Clearly)
5) สร้างความคาดหวังท่ีเป็นไปได้จริงและช้ีแจงเป้าหมาย (Establish Realistic Expectations &
Clarify Goals) 6) พัฒนาความเชอ่ื มั่น (Develop Trust) 7) สง่ เสริมการเปดิ ใจ (Encourage Open-
Mindedness) 8) กาจัดอุปสรรคในการทางานกลุ่ม (Clear Out Obstacles to Group Work)

9) พยายามทาให้รู้ถึงมุมมองส่วนบุคคล (Dive into Individual Perspectives) 10) เคร่ืองมือช่วย
การทางานรว่ มกัน (Collaboration Tools)

3.3) การนาข้อเสนอทางเลือกท่ีเปน็ ข้ันตอนการพฒั นาไปใช้ในการพัฒนาทักษะ
ความรว่ มมอื ให้กบั นักเรยี น

นอกจากให้ครูที่เป็นกลุ่มทดลองประเมินตนเองว่า หลังจากการนาผลการเรียนรู้สู่
การพัฒนานกั เรียนตลอดระยะเวลา 2 เดือนทีผ่ า่ นมาไดน้ าเอาหลักการ / แนวคิด / เทคนคิ / วธิ ีการ
/ กิจกรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะความร่วมมือให้กับนักเรียนในระดับใดแล้ว ยังให้ครูท่ีเป็นกลุ่ม
ทดลองไดป้ ระเมินตนเองว่า ได้นาเอาขอ้ เสนอทางเลือกที่เป็นข้ันตอนการพฒั นาจากทศั นะใดไปปฏิบัติ
หรอื ได้นาเอาแแนวคิดทไ่ี ดร้ ับจากทัศนะของแต่ละแหล่งไปประยุกตใ์ ช้เป็นแนวปฏิบัติของทา่ นเอง ดงั
มีผลการประเมนิ ตนเองในตารางท่ี 4.14

179

ตารางท่ี 4.14 ผลการประเมินตนเองของครูที่เป็นกลุ่มทดลองในการนาข้อเสนอทางเลือกที่เป็น
ขัน้ ตอนการพฒั นาไปใช้ในการพฒั นาทักษะความร่วมมือให้กบั นกั เรียน

ขอ้ เสนอทางเลือกที่เปน็ ขั้นตอนการพฒั นา ความถีใ่ นการนาไป
ปฏิบตั ิ
ทัศนะของ Elorus Team in Workspace (2018) มี 6 ขนั้ ตอน 2
1. ทาความรู้จักกบั ทมี ของคุณ (Get to know your team)
2. สรา้ งภาวะผู้นา (Establish leadership) 2
3. จัดกิจกรรมสร้างความผูกพันในทีม (Organize team bonding
2
activities)
4. วางแผนไปพร้อมกบั สมาชิกในทมี (Plan along with the team)
5. ช่ืนชมเมื่อประสบความสาเรจ็ (Celebrate victories)
6. เรียนรู้จากความล้มเหลวไปพร้อมกัน ( Learn together from

failures)
1. ทศั นะของ Collaborative Outcomes Inc (n.d.) มี 7 ขนั้ ตอน
2. การสร้างกลยุทธ์ทางธุรกิจร่วมกันและเป้าหมายท่ีมีร่วมกัน

(Collaborative Business Strategy and Shared Goal)
3. การสร้างกระบวนการประชุมที่เต็มไปด้วยพลังแห่งการทางานรว่ มกนั

(Collaborative Team Dynamics Meeting Process)
4. การส่งเสริมการทางานร่วมกันภายในองค์กร (Inner Collaboration

Work)
5. การส่งเสรมิ ทักษะการทางานรว่ มกัน (Collaboration Skills)
6. ก าร สร้าง คว ามสัมพัน ธ์ แห่ ง ก าร ทาง าน ร่ว มกั น ภายใน ที ม

(Collaborative Team Relationships)
7. การส่งเสริมทักษะการเป็นผู้นาร่วมกัน (Collaborative Leadership

Skills)
8. การสร้างกลยทุ ธ์ด้านผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Strategy)
ทศั นะของ Linton (n.d.) มี 5 ข้นั ตอน
1. การเอาชนะอุปสรรค (Overcome Barriers)
2. การหาสมาชกิ (Recruit Members)
3. การมีเปา้ หมายในทิศทางเดียวกัน (Agree Direction)
4. กาหนดความรับผดิ ชอบ (Clarify Responsibilities)
5. สนบั สนุนการทางานร่วมกัน (Support Collaboration)

180

ตารางท่ี 4.14 (ตอ่ )

ขอ้ เสนอทางเลอื กท่ีเปน็ ขน้ั ตอนการพัฒนา ความถ่ีในการนาไป
ปฏิบัติ
ทัศนะของ Team (2017) มี 7 ขนั้ ตอน คือ 3
1. คานึงถึงผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียท้ังหมด (Determine all key
2
stakeholders)
2. สรา้ งบทบาททช่ี ัดเจนใหก้ ับแตล่ ะคน (Establish clear roles)
3. ระบุองค์ประกอบพน้ื ฐานของโครงการ (Identify the basic

elements)
4. พัฒนาแนวความคดิ ของโครงการ (Develop your concept)
5. ใหค้ วามสาคญั กบั ตน้ แบบโครงการ (Tackle the content)
6. ออกแบบใหเ้ หน็ ภาพ (Address the visual design)
7. การพัฒนาตอ้ งใชเ้ วลา (Allow time for development)
ทศั นะของ Madsen (2015) มี 5 ข้นั ตอน คอื
1. กาหนดโครงการขน้ึ มา (Define the project)
2. ระดมสมองสาหรับทุก ๆ สิ่งในโครงการ (Brainstorm everything

that needs to get done)
3. จัดการข้อมูล แบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ (Categorise tasks into logical

groups)
4. ออกแบบโครงสรา้ งของการทางาน (Create a product breakdown

structure)
5. สร้างแผนภาพแสดงกระบวนการทางาน (Create a product flow

diagram)
6. ออกแบบแผนการทางานระยะส้ันในแต่ละข้ันตอน (Compile the

milestone plan)
7. มอบหมายความรับผิดชอบ (Assign responsibilities)

จากตารางท่ี 4.14 เหน็ ไดว้ า่ ในการนาเอาข้อเสนอทางเลือกท่ีเป็นขั้นตอนในการพฒั นาไป
ใช้ในการพัฒนาทกั ษะความร่วมมือให้กบั นักเรยี นน้นั มลี กั ษณะท่ีสงั เกตได้ว่า ครทู เ่ี ป็นกลุ่มทดลองได้
นาเอาโมเดลข้นั ตอนจากทัศนะของทกุ แหลง่ ไปใชเ้ ปน็ แนวทางการพฒั นาของตนเอง ทัศนะละ 2 หรือ
3 ราย แสดงใหเ้ หน็ วา่ ครทู ี่เปน็ กลมุ่ ทดลองต่างมีทัศนะตอ่ โมเดลการพฒั นาอย่างเปน็ อิสระของตนเอง
แต่ก็มีข้อสังเกตว่า ไม่มีครูที่เป็นกลุ่มทดลองรายใดท่ีได้นาเอาแนวคิดจากหลายทัศนะไปปรับหรือ
ประยุกตใ์ ชเ้ ป็นของตนเองขึน้ มาใหม่ ซึ่งอาจเนอ่ื งจากว่าแตล่ ะทัศนะนัน้ มแี นวคิดทแ่ี ตกตา่ งกนั ไม่อาจ
นามาประยุกต์ใช้ร่วมกันได้ หรืออาจเนื่องจากว่าครูที่เป็นกลุ่มทดลองเห็นว่ามีความสะดวกที่จะ
เลือกใช้ทศั นะใดทศั นะหน่ึงมากกวา่ ท่จี ะต้องนามาประยุกตใ์ ชจ้ ากหลายทัศนะ

181

ในแบบประเมินตนเองของครูที่เป็นกลุ่มทดลองดังกล่าว นอกจากการประเมินถึงการนา
ขอ้ เสนอทางเลอื กท่ีเปน็ หลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธกี าร / กจิ กรรม และข้นั ตอนการพัฒนา ไป
ใช้ในการพัฒนาทักษะการรสู้ ารสนเทศให้กับนักเรียนแล้ว ยังได้สอบถามความเห็นในประเด็นต่าง ๆ
ในลกั ษณะเป็นการสะทอ้ นผล (Reflection) จากการปฏบิ ตั ิด้วย ดงั น้ี

3.4) ความเห็นของครทู เ่ี ป็นกลุ่มทดลองเก่ยี วกับปัจจัยท่ีสง่ ผลในทางบวกต่อการ
พฒั นาทกั ษะความร่วมมอื แก่นักเรยี น มดี งั น้ี

-เขา้ ใจการทางานเป็นทมี
-เกิดองคค์ วามรเู้ กีย่ วกบั ทักษะความรว่ มมอื ของนักเรยี น
-พฒั นาแนวความคิดของโครงการ
-เข้าใจการแบง่ ปันหนา้ ท่ี
3.5) ความเห็นของครูที่เป็นกลุ่มทดลองเกี่ยวกับปัญหาหรืออุปสรรคต่อการ
ปฏบิ ตั งิ าน มีดงั น้ี
-ยังขาดทักษะ และความเขา้ ใจ
-ขาดทกั ษะการใช้งานเทคโนลียี
3.6) ความเห็นของครูที่เป็นกลุ่มทดลองเก่ียวกับวิธีการที่ท่านนามาใช้ในการ
แก้ไขปัญหาหรอื อุปสรรค มีดังน้ี
-ปรับทศั นะคติ แนวคดิ เกี่ยวกบั การเรยี นรู้ทักษะความรว่ มมือ
-ต้องมีความร้แู ละความสนใจในการศึกษาหาความรู้เพม่ิ เตมิ จากแหลง่ ต่าง ๆ
3.7) ความเห็นของครูที่เป็นกลุ่มทดลองเก่ียวกับบทเรียนสาคัญที่ได้รับจากการ
ปฏบิ ัตงิ าน มีดงั นี้
-ทกั ษะ ความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับคสามรว่ มมอื และความสามัคคี เป็นส่งิ สาคญั ใน
การพัฒนาทักษะความร่วมมอื ใหก้ บั นกั เรียน
-ทกั ษะความร่วมมอื เปน็ สิง่ จาเป็นตอ่ การศึกษาในศตวรรษท่ี 21
3.8) ข้อเสนอแนะแนวการพัฒนาทักษะความร่วมมือที่สาคัญท่ีเห็นว่าจะทาให้
การพัฒนาทกั ษะนีใ้ ห้เกดิ ข้นึ กับนักเรยี นอย่างได้ผลดี มีดงั นี้
-ให้ความสาคัญเกี่ยวกับทักษะความร่วมมือ เป็นทักษะที่จาเป็นต่อการพัฒนาการ
เรยี นรู้และการดาเนนิ ชวี ิตของนกั เรยี น
-ใหค้ วามสาคญั ต่อการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือกบั นกั เรยี น
4) ผลการตรวจสอบเพอื่ หาขอ้ บกพร่องของคู่มือหลังการทดลองเสร็จสน้ิ ลง
หลังจากสิ้นสดุ การนาผลการเรยี นรู้สู่การพฒั นาทกั ษะความร่วมมือให้กับนักเรียนแลว้ ครูท่ี
เป็นกลมุ่ ทดลองไดร้ ว่ มกบั อภิปรายถงึ ข้อบกพรอ่ มของคมู่ ือแตล่ ะชุดเพอ่ื การปรับปรุงแกไ้ ข ดงั นี้
4.1) การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความ
เปน็ ประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ มีข้อเสนอแนะ ดังน้ี
-โดยรวมคู่มือมีเนื้อหาท่ีมีสาระ และมีกระบวนการแนวคิดต่าง ๆ โดยรวมเน้ือหาเป็น
ประโยชน์ต่อการนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้
4.2) การปรับปรุงแก้ไขดา้ นภาษา มีข้อเสนอแนะ ดังน้ี

182

-ไมม่ ขี อ้ เสนอแนะ
4.3) การปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนาเสนอ มีข้อเสนอแนะ ดงั น้ี
-โดยรวมรูปแบบการนาเสนอในรปู แบบของกจิ กรรมถามเพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจ
เพ่อื ให้ไดก้ ระตนุ้ ความคิด และการมีส่วนร่วม มีขอ้ อเสนอแนะให้ใช้รูปแบบการนาเสนอที่หลากหลาย
การตกแต่งหัวขอ้ ข้อความใหโ้ ดดเด่น มคี วามนา่ สนใจ มีสีสันสวยงาม ควรเพ่ิมส่ือ รปู ภาพตา่ ง ๆ
4.4) อืน่ ๆ มีข้อเสนอแนะ ดังน้ี
-ควรลาดับเนื้อหาให้ชดั เจนจากเก่าไปใหม่

5) การประเมินทักษะความรว่ มมือของนกั เรียนท่เี ปน็ กลุม่ ทดลองหลงั การพฒั นา (Posttest)
จากการประเมินผลการพัฒนานักเรียนกับนักเรียนท่ีเป็นกลุ่มทดลอง “หลัง” การพัฒนา
(Posttest) จานวน 204 ราย โดยใช้แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับท่ีผู้วิจัย
สร้างข้ึน ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าเฉลี่ย (Mean : ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation : S.D.) ดงั ตารางที่ 4.15

ตารางที่ 4.15 ค่าเฉล่ีย (Mean : ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.)
จากผลการประเมนิ ทักษะความร่วมมือของนักเรียนก่อนการทดลอง (Pretest)

รายการลักษณะของทกั ษะความรว่ มมือทป่ี ระเมิน ผลการประเมนิ
S.D.
การมวี ิสัยทัศนแ์ ละการลงมอื ทา (Visionary and Action)
1) ฉนั ส่งเสรมิ กระบวนการท่ีมปี ระสิทธภิ าพในการค้นหาแรงบันดาลใจจากกลมุ่ ผ้มู ีส่วนได้ 4.52 0.50

สว่ นเสีย 4.46 0.50
2) ฉนั ส่งเสรมิ การพฒั นาวสิ ยั ทศั นร์ ว่ มกนั ซงึ่ ผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสียทุกคนมสี ่วนในการกาหนด
4.52 0.50
วิสยั ทัศนน์ ี้ 4.50 0.50
3) ฉนั สรา้ งกรอบการทางานโดยใช้การคิดอย่างเป็นระบบ
4) ฉันส่งเสริมการสร้างทีมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการช่วยกันพัฒนาแผนกลยุทธ์การ 4.46 0.50

ปฏิบัติงาน และสง่ เสรมิ ความหลากหลาย 4.57 0.50
5) ฉันสร้างแผนปฏิบัติงานด้วยการกาหนดช่วงเวลาและหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายเพื่อให้ 4.43 0.50

เปน็ ไปตามวสิ ยั ทศั น์
การสร้างความเชอื่ มัน่ (Building Trust)
6) ฉนั “พูดจรงิ ทาจรงิ ” หมายถึงว่าฉันทาในสิง่ ทพ่ี ูด
7) ฉนั ปกปอ้ งกลมุ่ จากผู้ท่ีเอาเปรียบผู้อ่นื ในการทางานร่วมกัน

183

ตารางท่ี 4.15 (ต่อ)

รายการลักษณะของทักษะความรว่ มมือท่ีประเมนิ ผลการประเมิน
S.D.
8) ฉนั สรา้ งกระบวนการท่ีมีความน่าเช่อื ถือในการทางานรว่ มกนั
9) ฉันเช่อื วา่ ความร่วมมอื เกิดข้ึนจากบุคคลและองค์กรจากหลายภาคสว่ น 4.47 0.50
10) ฉันมีความร้แู ละทกั ษะทีจ่ าเปน็ ในการทางาน สามารถดึงดดู ผู้อน่ื ใหท้ างานร่วมกบั ฉัน 4.49 0.50
11) ฉนั เชอ่ื มน่ั วา่ ความเชือ่ ถือคอื หลักพ้นื ฐานในการร่วมงานกับผูอ้ ่ืนอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4.44 0.50
การแบ่งปันพลงั และสร้างแรงจงู ใจ (Sharing Power and Influence) 4.49 0.50
12) ฉนั ใช้พลังอย่างมคี วามรับผิดชอบ
13) ฉนั แบง่ ปันพลังเพอ่ื เพมิ่ พลงั และการแบง่ ปันความรู้ 4.54 0.50
14) ฉันแบ่งปันพลังใหแ้ ก่ผอู้ นื่ เมอื่ ทาได้ 4.55 0.50
15) เม่ือฝกึ ฝนภาวะผู้นา ฉนั มกั จะพึ่งพาการแกป้ ัญหาใหก้ บั เพ่ือน 4.56 0.50
16) ฉันแสดงออกถึงความมั่นใจให้ผูอ้ น่ื ไดเ้ หน็ 4.40 0.49
17) ผู้ทีท่ างานรว่ มกันในแต่ละกลุ่มมรี ะดับความรู้ ทักษะ และอานาจในการ 4.48 0.50
4.51 0.50
ตดั สินใจท่ีเหมาะสม
การสร้างความสัมพันธ์ (Building Relationships) 4.54 0.50
18) ฉันเช่ือว่าการสร้างความเชื่อม่นั ในองค์กรและการใหค้ วามเชอ่ื มัน่ ต้องใชเ้ วลา 4.51 0.50
19) ฉันเช่อื ว่าคนทเี่ ข้ารว่ มกันทางานมีความเคารพอย่างสูงซง่ึ กันและกนั 4.51 0.50
20) ฉนั มีความมุ่งมนั่ ท่ีจะสร้างความร้สู กึ ทีว่ า่ บุคคลท่เี ข้ารว่ มมคี วามเป็นเจา้ ของ
4.46 0.50
องคก์ รรว่ มกัน 4.43 0.50
21) ฉนั มีการเปิดการสนทนา และมมุ มองทแ่ี ตกต่างกนั เปน็ สง่ิ ทีเ่ ราให้ความสาคัญ
22) ฉนั เชือ่ วา่ ความขัดแยง้ เปน็ เรือ่ งท่ียอมรบั ได้ โดยการทาให้ความขดั แยง้ เป็น 4.53 0.50

แหล่งสร้างนวัตกรรม 4.52 0.50
23) ฉนั มีการจดั การความคิดทแี่ ตกต่างได้อย่างดี ด้วยวิธีการทเ่ี อื้อตอ่ การมสี ว่ นร่วม
4.47 0.50
ของทกุ คน 4.46 0.50
การสะท้อนตนเอง (Self-Reflection) 4.54 0.50
24) ฉนั รับรถู้ งึ ผลกระทบของอารมณต์ ่อการทางาน และการสร้าง “ความปลอดภยั 4.52 0.50
4.54 0.50
ทางจติ ใจ”
25) ฉนั สามารถบอกจดุ แขง็ จุดออ่ นของตวั เองได้ 4.53 0.50
26) ฉนั ทางานเพ่ือเขา้ ใจมมุ มองของผู้อ่ืน
27) ฉนั เข้าใจการเปลย่ี นแปลงภายในกล่มุ 4.46 0.50
28) ฉันสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทปี่ ลอดภัยเพือ่ การสือ่ สารอยา่ งเปิดเผย
29) ฉนั ใช้เวลาในการสะทอ้ นตนเองและการปรบั ปรุงแนวทางปฏบิ ัติ
การตดั สนิ ใจ (Decision-making)
30) สมาชกิ ทุกคนในทมี ของฉันมคี วามเข้าใจขอบเขตความรับผิดชอบและบทบาท

อยา่ งชดั เจน
31) สมาชิกในทีมของฉนั มคี วามกระตือรือรน้ ท่จี ะเข้ารว่ มในการตัดสนิ ใจท่ีสาคญั

184

ตารางท่ี 4.15 (ตอ่ )

รายการลักษณะของทักษะความร่วมมือทปี่ ระเมนิ ผลการประเมนิ
S.D.
32) กระบวนการประชุมในทีมของฉนั มีประสิทธิภาพ
33) ทีมของฉันมกี ระบวนการดาเนินงานและกระบวนการตดั สินใจท่ชี ัดเจน 4.58 0.49
34) สมาชกิ ในทมี ของฉนั มีความยดื หยนุ่ และความประนปี ระนอมเมอื่ มีการตดั สนิ ใจ 4.46 0.50
4.45 0.50
เกิดขนึ้
35) ในทมี ของฉันส่งเสริมความคดิ สร้างสรรค์ นวัตกรรม และส่งเสริมการยอมรบั 4.47 0.50

ความเสย่ี ง 4.50 0.08
โดยรวม

จากตารางที่ 4.15 เหน็ ได้วา่ นักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองได้รับการประเมนิ ผลหลงั ทีค่ รผู ู้สอน
ทีเ่ ป็นกลมุ่ ทดลองได้นาความรู้สู่การพัฒนาผู้เรียน (Posttest) มคี า่ เฉล่ยี (Mean) โดยรวมเทา่ กบั 4.50
และมีค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เทา่ กบั 0.08

6) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมินทักษะความร่วมมือของนักเรียนก่อน
และหลงั การพฒั นาโดยใช้การทดสอบที (t-test)

จากผลการประเมินทักษะความร่วมมือของนักเรยี น “ก่อน”การพัฒนามีค่าเฉลี่ย (Mean)
โดยรวมเท่ากับ 3.50 และมคี ่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 0.09 และจากผลการ
ประเมิน “หลัง” การพัฒนามคี า่ เฉลย่ี (Mean) โดยรวมเท่ากับ 4.50 และมคี า่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation) เท่ากับ 0.08 เม่ือวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมินก่อนและหลังการ
พฒั นาโดยใชก้ ารทดสอบที (t-test) แบบไม่เปน็ อิสระจากกัน (Dependent) ปรากฏผลการวิเคราะห์
ข้อมูลในตารางที่ 4.16

ตารางที่ 4.16 ผลการทดสอบค่าที (t-test)

การทดสอบ จานวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง S.D. t
ก่อน 204
หลงั 204 3.50 0.09 121.14*
4.50 0.08
* p < 0.05

185

จากตารางที่ 4.16 เห็นไดว้ ่า นกั เรียนท่ีเปน็ กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลย่ี จากการทดสอบหลัง
การพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่า โปรแกรม
ออนไลน์เพื่อเสริมพลังความรูข้ องครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือของนักเรียน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นท่ี
ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาเพอื่ การเรยี นรู้ของครู และโครงการครูนาผลการเรียนรู้
สูก่ ารพฒั นานกั เรียน โดยโครงการแรกมีคู่มือประกอบ 6 ชดุ โครงการที่สองมีคู่มอื ประกอบ 1 ชุดน้ัน
มีประสทิ ธภิ าพท่ีสามารถจะนาไปใช้เพื่อพัฒนาครูใหเ้ กิดการเรยี นรู้ และครสู ามารถนาผลการเรียนรู้สู่
การพัฒนานักเรียนท่ีเป็นกลุ่มทดลองให้เกิดทักษะความร่วมมือได้อย่างมีผลทดสอบทางการวิจัย
รองรับ และแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือของนักเรียน ที่ผู้วิจัยพัฒนาข้ึนดังกล่าว สามารถนาไปเผยแพร่เพ่ือให้กลุ่มประชากรที่เป็น
เป้าหมายดังท่ีกล่าวไว้ในหัวข้อขอบเขตการวิจัยในบทท่ี 1 ได้นาไปใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย คือ
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ทุกโรงทั่วประเทศ จานวน 408 โรง มีครูจานวน 4,388
รปู /คน และมีนักเรยี น 32,399 รปู

สรปุ

ตามแนวคิดของระเบียบวธิ ีวิจัยและพฒั นา (Research and Development : R&D) ตาม
ทัศนะของวโิ รจน์ สารรตั นะ (2561) ทเ่ี หน็ ว่า นวัตกรรมท่ีพัฒนาขึ้นโดยกระบวนการวิจยั และพัฒนามี
จุดมุ่งหมายเพื่อนาไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพฒั นาคุณภาพของงานท่ีมีปรากฏการณ์ หรือข้อมูลเชิง
ประจกั ษแ์ สดงใหเ้ ห็นวา่ มคี วามจาเปน็ เกดิ ข้ึน เชน่ เปน็ ผลสืบเนอื่ งจากการกาหนดความคาดหวงั ใหม่ที่
ท้าทายของหน่วยงาน หรือการเปล่ียนแปลงในกระบวนทัศน์การทางานจากเกา่ สู่ใหม่ท่ีบุคลากรขาด
ความรูค้ วามเข้าใจและทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบันมหี ลักการ แนวคดิ ทฤษฎที ่ีถือเป็น
นวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกิดข้ึนมากมาย ท่ีคาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามี
ความรู้ (Knowledge) แลว้ กระตุ้นให้พวกเขานา - ความรู้เหล่านี้สกู่ ารปฏิบตั ิ (Action) กจ็ ะกอ่ ให้เกิด
พลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าท่ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งข้ึนตาม
แนวคิด “Knowledge + Action = Power” ดังคากล่าวท่ีว่า “Make Them Know What To Do,
Then Encourage Them Do What They Know” หรือ “Link To On-The-Job Application”
และตามแนวคิดการพัฒนาวิชาชีพครู (Teacher Professional Development) ท่ีจะต้องคานึงถึง
ความมีประโยชนต์ ่อนกั เรยี นซึ่งเปน็ เป้าหมายสงู สุด (Ultimate Goal) (Gusky, 2000; Hoy & Miskel,
2001) หรืออีกนัยหน่ึงคือ ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนเป็นเป้าหมายสูงสุดของกิจกรรมใด ๆ ของการ
พั ฒ น า วิ ช า ชี พ ค รู ( Student achievement should be the ultimate goal of any teacher
professional development activities.) (Kampen, 2019)

จากลักษณะสาคัญของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D)
ดังกลา่ ว ผู้วจิ ัยเชอื่ ว่าในการวิจัยครงั้ น้ีจะช่วยพัฒนานวตั กรรมเพือ่ การอบรมตนเองแบบออนไลนใ์ นยุค
สังคมดิจิทัลให้เกิดการเรียนรู้และการนาไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งในยุคสมัยดิจิทลั
ในปัจจุบัน มีความสาคัญจาเป็นมากและเป็นเร่ืองใหม่ท่ีครู (Teachers) จะต้องเรียนรู้และทาความ
เข้าใจเก่ียวกับทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) ซึ่งเป็นทักษะสาคัญทักษะหนึ่งสาหรับ
การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือนาไปสู่การพัฒนานักเรียน (Students) ซ่ึงเป็นเป้าหมายสุดท้าย
(Ultimate Goal) ของการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะโปรแกรมออนไลน์เพ่ือพัฒนา
ทักษะความร่วมมอื ของครูสู่การพฒั นานักเรยี นท่ีเปน็ ผลจากการวิจัยและพฒั นาจาก “กลุ่มทดลอง” ท่ี

186

ใช้ในการวิจัย คือ ครูและนักเรียนในโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัด
ศรีษะเกษ อาเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ซึ่งเป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ
ศกึ ษา สงั กดั กองพุทธศาสนศึกษา สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ สามารถจะนาไปเผยแพร่เพื่อใช้
ให้เกิดประโยชน์ในกลุ่มประชากร (Population) ซ่ึงเป็นเป้าหมายอ้างอิงในการนาผลการวิจัยไป
เผยแพร่ เพ่ือใช้ให้เกิดประโยชน์หลังการวิจัยและพฒั นา คือ ครูและนักเรียนในโรงเรียนโรงเรียนพระ
ปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา สงั กัดกองพุทธศาสนศกึ ษา สานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ ทกุ โรง
ท่ัวประเทศได้ ตามหลักการของการวิจัยและพัฒนาท่ีวิจัยและพัฒนานวัตกรรมใด ๆ ขึ้นมา แล้วนา
นวัตกรรมนั้นไปทดลองใช้ในพื้นท่ีทดลองแห่งใดแห่งหน่ึงที่มีคุณลักษณะเป็นตัวแทนของปร ะ ชากร
เม่อื ผลจากการทดลองพบวา่ นวัตกรรมนั้นมคี ุณภาพหรือมีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑท์ ีก่ าหนด กแ็ สดงวา่
สามารถเผยแพร่เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์กับประชากรท่ีเป็นกลุ่มอ้างอิงในการวิจัยได้ และย่ิงเป็น
โปรแกรมแบบออนไลน์ (Online Program) ทพี่ ฒั นาขน้ึ ตามยุคสมัยดิจิทัลแบบใหม่ ไมเ่ ปน็ โปรแกรม
แบบเอกสาร (Document Based Program) แบบยุคสมัยการพิมพ์แบบด้ังเดิม จะยิ่งทวีความเป็น
ประโยชน์ต่อการนานวัตกรรมที่พฒั นาข้ึนไปเผยแพร่เพื่อใช้ประโยชนข์ องประชากรท่ีเป็นกลุ่มอา้ งองิ
ในการวจิ ัยได้อยา่ งกว้างขวาง อยา่ งประหยดั อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และเกดิ ประสิทธผิ ลไดม้ ากกวา่

จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยท่ีมุ่งพัฒนาโปรแกรมอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์
“โปรแกรมออนไลน์เพ่ือพัฒนาทักษะความร่วมมือของครูสู่การพัฒนานักเรียน” ที่ประกอบด้วย
โครงการ 2 โครงการ คือ โครงการพฒั นาเพือ่ การเรียนรูข้ องครู และโครงการครูนาผลการเรียนรู่สูก่ าร
พัฒนาทักษะความร่วมมือให้กับนักเรียน และได้กาหนดสมมุติฐานการวิจัย ดังนี้ 1) ครูมีผลการ
ทดสอบหลังการพัฒนาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2) ครมู ีผลการเรียนรู้หลงั การพัฒนาสูงกว่า
ก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และ 3) นักเรียนมีผลการประเมินทักษะความร่วมมือหลัง
การพัฒนาสงู กวา่ ก่อนการพฒั นาอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ

ผลจากการดาเนินการวจิ ัยตามที่กาหนดในบทที่ 3 และจากรายงานผลการวิจัยที่นาเสนอ
ในบทท่ี 4 น้ี พบว่า ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมุติฐานการวิจัยที่กาหนดไว้ ดังน้ี 1) คู่มือที่พัฒนาข้ึน
สามารถใช้พัฒนาครูให้เกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 โดยเมื่อพิจารณาจากเกณฑ์
มาตรฐาน 90 ตัวแรก คือ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ย
เท่ากับ 33.27 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เม่ือคิดเป็นร้อยละแล้วได้ 92.42 ซึ่งมีค่าสูงกว่า
เกณฑ์ที่กาหนดไว้รอ้ ยละ 90 เมอื่ พจิ ารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตวั หลัง คอื รอ้ ยละของจานวนครู
ท่สี ามารถทาแบบทดสอบไดผ้ ่านทกุ วัตถุประสงค์การเรยี นรู้จากจานวนครทู ้ังหมด 11 ราย พบวา่ มคี รู
ร้อยละ 95.45 ท่ีสามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงมีค่าที่สูงกว่าเกณฑ์ที่
กาหนดไวร้ อ้ ยละ 90 2) คมู่ อื ทพี่ ัฒนาข้ึนสามารถใช้พัฒนาครูให้มีผลการเรียนรู้หลงั การพฒั นาสูงกว่า
ก่อนการพฒั นาอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.05 และ 3) คูม่ อื ทีพ่ ัฒนาขึ้นสามารถทาใหค้ รูนาผล
การเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียนท่ีมีผลการประเมินทักษะความรว่ มมอื ของนักเรียนหลังการพัฒนาสงู
กว่าก่อนการพฒั นาอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิระดบั 0.05

บทท่ี 5

โปรแกรมออนไลน์เพือ่ การเรยี นรู้ของครูส่กู ารเสรมิ สร้างทักษะความ

ร่วมมอื ของนักเรียน : นวตั กรรมจากการวิจัยและพฒั นา

จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่มุ่งพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพ่ือการเรียนรู้ของครูสู่การ
เสริมสร้างทักษะความร่วมมือของนกั เรยี น ท่ีประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ โครงการพฒั นา
เพอื่ การเรยี นรูข้ องครู และโครงการครูนาผลการเรียนรู่สกู่ ารพฒั นาทกั ษะความร่วมมอื ใหก้ ับนักเรียน
และได้กาหนดสมมุติฐานการวิจัย ดังนี้ 1) ครูมีผลการทดสอบหลังการพัฒนาเป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐาน 90/90 2) ครูมผี ลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสงู กว่าก่อนการพัฒนาอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติ
และ 3) นักเรียนมีผลการประเมินทักษะความร่วมมือหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมี
นยั สาคญั ทางสถติ ิ ซึ่งผลจากการดาเนนิ การวิจยั ตามที่กาหนดในบทที่ 3 และจากรายงานผลการวิจัยท่ี
นาเสนอในบทที่ 4 น้ี พบว่า ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมุติฐานการวิจัยท่ีกาหนดไว้ ดังนี้ 1) คู่มือท่ี
พัฒนาข้ึนสามารถใช้พัฒนาครูให้เกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 โดยเม่ือพิจารณาจาก
เกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรก คือ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนน
เฉล่ียเท่ากับ 33.27 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เม่ือคิดเป็นร้อยละแล้วได้ 92.42 ซ่ึงมีค่าสงู
กวา่ เกณฑท์ ่กี าหนดไว้รอ้ ยละ 90 เม่อื พจิ ารณาจากเกณฑม์ าตรฐาน 90 ตวั หลัง คอื ร้อยละของจานวน
ครูทีส่ ามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้จากจานวนครูทง้ั หมด 11 ราย พบว่า มี
ครูรอ้ ยละ 95.45 ที่สามารถทาแบบทดสอบได้ผา่ นทุกวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ ซง่ึ มีค่าทีส่ งู กว่าเกณฑ์ท่ี
กาหนดไวร้ อ้ ยละ 90 2) คมู่ อื ท่ีพฒั นาขน้ึ สามารถใช้พัฒนาครูให้มีผลการเรียนร้หู ลังการพัฒนาสูงกว่า
กอ่ นการพัฒนาอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05 และ 3) คมู่ ือทพี่ ัฒนาขึน้ สามารถทาใหค้ รูนาผล
การเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียนที่มีผลการประเมินทักษะความร่วมมอื ของนักเรียนหลังการพัฒนาสงู
กว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตริ ะดับ 0.05

คู่มือท่ีพัฒนาข้ึนดังกล่าว รวมทั้งแบบประเมินตนเองถึงระดบั การนาข้อเสนอทางเลือกเชงิ
วิชาการหรอื เชงิ ทฤษฎีไปใช้ในการพัฒนานกั เรยี นของครู แบบทดสอบผลการเรียนรูข้ องครู และแบบ
ประเมนิ ทักษะความร่วมมือของนักเรียน ผู้วจิ ยั ไดอ้ ัพโหลดไวใ้ นเว็บไซต์แล้ว ดังน้ี

1) ค่มู ือ ดูได้จากเว็บไซต์ https://online.anyflip.com/okgwj/segl/mobile/
2) แบบประเมนิ ตนเองถึงระดบั การนาขอ้ เสนอทางเลอื กเชงิ วชิ าการหรอื เชงิ ทฤษฎไี ปใชใ้ น
การพฒั นานักเรียนของครู ดูได้จากเว็บไซต์ https://bit.ly/37CwzB2
3) แบบทดสอบผลการเรยี นร้ขู องครู ดูได้จากเวบ็ ไซต์ https://bit.ly/39gurMk
4) แบบประเมนิ ทักษะความร่วมมือของนกั เรยี น ดไู ด้จากเวบ็ ไซต์ https://bit.ly/3N33uhd
อยา่ งไรกต็ าม ในบทท่ี 5 นี้ ผวู้ ิจัยได้นาเอาคู่มอื ประกอบโครงการพัฒนาเพ่ือการเรยี นรู้ของ
ครู และโครงการครนู าผลการเรียนรู่สกู่ ารพฒั นาทักษะความรว่ มมอื ให้กับนักเรียนมาแสดงไว้ด้วย ดงั นี้

188

189

คานา

โปรแกรมออนไลน์เพ่ือพัฒนาครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือของนักเรียน น้ี เป็น
นวตั กรรมทางการศึกษาทพี่ ัฒนาขึ้นโดยกระบวนการวิจยั และพัฒนา (Research and Development
: R&D) ซ่ึงมีจุดมุ่งหมายเพ่ือนาไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงาน อันสืบเนื่องมาจาก
การกาหนดความคาดหวังใหมท่ ่ีท้าทายของหน่วยงาน หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การ
ทางานจากเก่าสู่ใหม่ และในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการศึกษา
เกิดข้ึนมากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แล้วนาความรู้
เหล่าน้ีสู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือตามคา
กลา่ วท่วี ่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They Know
” หรอื “Link To On-The-Job Application”

จากหลักการของการวิจัยและพัฒนาดังกล่าว ทาให้ได้โปรแกรมออนไลน์เพ่ือพัฒนาครูสู่
การพัฒนาทกั ษะความรว่ มมือของนกั เรียนที่ประกอบด้วยสองโครงการ คอื 1) โครงการพฒั นาความรู้
แก่ครูผู้สอน และ 2) โครงการครูผู้สอนนาความรู้สู่การพัฒนานักเรียน ในส่วนของโครงการพัฒนา
ความรู้แก่ครูผู้สอน ประกอบด้วยหลักการ แนวคิด และทฤษฎีใน 6 ประเด็น คือ 1) นิยาม
2) ความสาคญั 3) ลักษณะ 4) แนวทางการพฒั นา 5) ข้นั ตอนการพฒั นา และ 6) การประเมนิ ผล ซ่งึ
แต่ละประเด็น ได้นามาสร้างเป็นคู่มือเพ่ือการเรียนรู้ของครูที่เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-
Learning) จานวน 6 ชุด ที่คาดหวังให้ครูเกิดความรู้ความเข้าใจและนาไปเป็นแนวทางการพัฒนา
ให้แก่นักเรียนต่อไปตามโครงการครูผู้สอนนาความรู้สู่การพฒั นานักเรียน ซ่ึงจะมีคู่มือเชิงปฏิบัติการ
ประกอบด้วยอีก 1 ชุด

โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การพัฒนาทักษะ ความร่วมมือของนักเรียน ดัง ก ล่าว
ข้างต้น พัฒนาขึ้นตามหลักการพัฒนาครูที่ว่า “การพัฒนาครูเรื่องใด ๆ จะต้องคานึงถึงความมี
ประโยชน์ต่อนักเรียนซ่ึงเป็นเป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) ของการศึกษาและการบริหาร
การศกึ ษา” และตามมาตรฐานการปฏิบัตงิ านทคี่ ุรุสภากาหนดว่า “ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมโดยคานงึ ถึงผลท่ีจะ
เกิดข้ึนกับการพฒั นาของบุคลากร ผู้เรียน และชุมชน มุ่งมั่นพัฒนาผู้รว่ มงานให้สามารถปฏิบตั ิงานได้
เต็มศักยภาพ พฒั นาและใช้นวตั กรรมการบรหิ ารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสงู ขน้ึ เป็นลาดับ และสร้าง
โอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์” ดังน้ัน จึงคาดหวังว่า หลังจากท่านศึกษาเพ่ือการเรียนรู้จาก
คู่มอื แต่ละชุดแลว้ จะได้นาความรไู้ ปพัฒนานกั เรียนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลต่อไป

พระมหาอาพล ธนปญฺโ (ชัยสารี)

190

สารบญั

โครงการและคมู่ อื หน้า

1. ค่มู ือประกอบโครงการพัฒนาความรูแ้ กค่ รผู ู้สอน……………………………......................... 1

1.1 คมู่ อื ชุดท่ี 1 ทัศนะเกี่ยวกับนยิ ามของทกั ษะความร่วมมอื มอี งคป์ ระกอบ คอื

วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ คาชแ้ี จง ทัศนะเกยี่ วกบั นยิ าม แบบประเมนิ ตนเอง และ

เอกสารอา้ งองิ ……………………………........................................................................................... 2

1.2 คมู่ ือชุดท่ี 2 ทัศนะเกี่ยวกบั ความสาคญั ของทักษะความร่วมมือ มอี งคป์ ระกอบ

คือ วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ คาช้แี จง ทัศนะเก่ียวกบั ความสาคญั แบบประเมนิ ตนเอง และ

เอกสารอ้างองิ …………………………………………………………………………………………………………….. 13

1.3 คู่มอื ชุดที่ 3 ทัศนะเก่ยี วกบั ลักษณะทแี่ สดงถึงทักษะความร่วมมอื มอี งคป์ ระกอบ

คือ วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ คาชี้แจง ทัศนะเกยี่ วกับลักษณะ แบบประเมินตนเอง และ

เอกสารอา้ งอิง…………………………………………………………………………………………………………….. 22

1.4 คมู่ อื ชุดท่ี 4 ทัศนะเก่ยี วกับแนวทางการพัฒนาทักษะความรว่ มมอื มีองคป์ ระกอบ

คือ วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ คาชแี้ จง ทัศนะเกี่ยวกบั แนวทางการพฒั นา แบบประเมนิ ตนเอง

และเอกสารอา้ งองิ ……………………………………………………………………….................................... 28

1.5 คมู่ อื ชุดท่ี 5 ทัศนะเก่ยี วกับขัน้ ตอนการพฒั นาทักษะความร่วมมอื มอี งค์ประกอบ

คือ วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ คาชีแ้ จง ทัศนะเกย่ี วกับขั้นตอนการพัฒนา แบบประเมนิ ตนเอง

และเอกสารอ้างองิ ……………………………………………………………………………………………………….. 39

1.6 คมู่ อื ชุดท่ี 6 ทัศนะเก่ียวกบั การประเมินผลทักษะความร่วมมอื มอี งคป์ ระกอบ คอื

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ คาชีแ้ จง ทศั นะเกยี่ วกับการประเมนิ ผล แบบประเมนิ ตนเอง และ

เอกสารอ้างองิ …………………………………………………………………………………………………………….. 45

2. คมู่ อื ประกอบโครงการครูผสู้ อนนาความรู้สู่การพัฒนานักเรยี น……………………………..… 64

2.1 คมู่ ือเพ่ือการปฏบิ ตั กิ ารในการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมอื ของนักเรียน มี

องคป์ ระกอบ คือ วัตถุประสงคเ์ พอื่ การปฏบิ ัติ และแนวปฏิบัติ…………………………………………. 65

191

192

5.1 คู่มอื ชุดท่ี 1 ทัศนะเกีย่ วกับนิยามของทักษะความรว่ มมือ

วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้

หลงั จากการศึกษาคูม่ อื ชุดนีแ้ ลว้ ทา่ นมีพฒั นาการด้านพุทธิพิสยั (Cognitive Domain) ซ่งึ
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ี
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยกุ ต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1) บอกคณุ สมบตั ิ จับคู่ เขยี นลาดบั อธบิ าย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรอื ระบนุ ยิ ามของ
ทักษะความร่วมมอื ได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรียงนยิ ามของทกั ษะความร่วมมอื ได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เช่ือมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
นยิ ามของทักษะความร่วมมือ ได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลนิยามของทักษะ
ทกั ษะความรว่ มมอื ได้

5) วัดผล เปรียบเทียบ ตคี ่า ลงความเห็น วิจารณ์นยิ ามของทกั ษะความร่วมมือ ได้
6) รวบรวม ออกแบบ จดั ระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการนิยามของทักษะความ
รว่ มมอื ได้
โดยมนี ิยามของทักษะความรว่ มมือจากทศั นะที่นามากล่าวถึงแต่ละทศั นะได้ ดังน้ี
1) นยิ ามของทักษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Belgrad, Fisher, & Rayner
2) นิยามของทักษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Helsel
3) นยิ ามของทักษะความร่วมมือ ตามทัศนะของ Firestone
4) นยิ ามของทักษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Ryan
5) นิยามของทักษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Indeed career guide
6) นิยามของทักษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ Mind Tools
7) นิยามของทกั ษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ Aiim
8) นยิ ามของทักษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ Doyle
9 นยิ ามของทกั ษะความรว่ มมอื ตามทศั นะของ Zahid
10) นิยามของทกั ษะความร่วมมือ ตามทัศนะของ My Hub
11) นยิ ามของทักษะความรว่ มมือ ตามทัศนะของ Rouse
12) นยิ ามของทักษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ The Supportive Classroom

193

คาชแี้ จง

1. โปรดศึกษาเนอ้ื หาเก่ียวกับนยิ ามของทักษะความรว่ มมอื จากทัศนะทีน่ ามากลา่ วถึง แต่
ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทาความเข้าใจท่ีสามารถอธิบายกบั ตัวเองได้ว่า เขาให้นิยามวา่
อยา่ งไร

2. หลงั จากการศึกษาเน้อื หาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเขา้ ใจของทา่ นอีกครั้ง
จากแบบประเมินผลตนเองในตอนทา้ ยของคูม่ อื

3. เน้ือหาเก่ียวกับนยิ ามของทักษะความร่วมมือ จากทัศนะท่ีนามากล่าวถึงแต่ละทศั นะมี
แหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังของแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษา
รายละเอียดของทศั นะเหลา่ น้ัน ซ่ึงตน้ ฉบับเป็นบทความภาษาองั กฤษ ท่านสามารถจะสืบคน้ ต่อได้จาก
เวบ็ ไซต์ที่ระบุไวใ้ นแหล่งอ้างองิ นัน้ ๆ

ทัศนะเกีย่ วกับนิยามของทกั ษะความร่วมมือ

1. Belgrad, Fisher, & Rayner อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า ม หา วิ ท ยา ลั ย University Of
NEBRASKA-LINCOLN ให้นิยามของทักษะความร่วมมือว่า การทางานรว่ มกันและการทางานเปน็ ทีม
ต้องใช้การผสมผสานระหว่างมนษุ ยสัมพันธ์ การแก้ปัญหาและทักษะการสื่อสารที่จาเป็นสาหรับกลมุ่
ในการทางานด้วยกนั เพ่ือบรรลุเป้าหมายร่วมกนั อาจได้เรียนรู้เกีย่ วกบั การผสมผสานทักษะท่ีจาเปน็
ในขณะที่ทางานในฐานะส่วนหน่ึงของทีมวิจัยหรือในฐานะผู้บริหารขององค์กร การร่วมงานกับคนอ่นื
เพื่อเขียนและตีพิมพ์บทความในวารสาร อย่างไรก็ตามทักษะเหล่านี้มีความสาคัญมากขึ้นเม่ือทางาน
กบั ผู้อื่นในระยะยาวและแบบยง่ั ยนื

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจนิยามของความร่วมมอื ตามทัศนะของ
Belgrad, Fisher, & Rayner วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................

2. Helsel ผู้ร่วมก่อต้ังเครื่องมือการทางานร่วมกัน TipHive.com ให้นิยามของทักษะ
ความร่วมมอื ว่าทักษะการทางานร่วมกนั เป็นการทางานต้งั แตส่ องคนขนึ้ ไปหรือมากกว่านั้นรว่ มกันทา
บางส่งิ บางอยา่ งเพือ่ ใหไ้ ด้ผลลพั ธ์ที่สาเรจ็ ตามเป้าหมาย สมบรู ณแ์ บบ เรว็ กว่า การทางานเพยี งผู้เดียว
และพบว่าทักษะบางประการท่ีมีความสาคัญสาหรับการทางานร่วมกันที่ดี ได้แก่ 1.การเปิดเผย
ตรงไปตรงมา 2.ความอ่อนน้อมถ่อมตน 3.ความเต็มใจท่ีจะรับข้อเสนอแนะ 4.ความสามารถในการ
วจิ ารณเ์ ชิงสรา้ งสรรค์ 5.ความสามารถในการสื่อสารความคิดอย่างชดั เจน 6.ความสามารถในการเป็น

194

ผูน้ าหรือผู้ตาม 7.ความนา่ เชือ่ ถอื 8.การประนปี ระนอม 9.การยอมรับ 10.ความสามารถในการรับฟัง
11.จิตวิญญาณของทีม 12.ความนบั ถอื 13.ความขยันหม่นั เพยี ร 14.ความตรงตอ่ เวลา

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจนิยามของความรว่ มมอื ตามทัศนะของ
Helsel วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3. Firestone ศาสตราจารย์ University of California, Berkeley ให้นิยามของทักษะ
ความร่วมมือ ว่าคนท่ีมีเพื่อนร่วมงานอาจต้องทางานร่วมกับผู้อื่นเพื่อทาโครงการใดโครงการหนึ่งให้
สาเรจ็ ไมว่ ่าจะเป็นการเขยี นรายงานท่ีสาคญั ไปจนถงึ การจัดชั้นวางขายสนิ ค้า การทางานรว่ มกันเชน่ น้ี
ก็ต้องใช้ทักษะการทางานร่วมกัน ทักษะการทางานร่วมกัน เป็นพฤติกรรมท่ีช่วยคนสองคนหรือ
มากกว่านั้นให้ทางานด้วยกันและทาหนา้ ที่ได้ดีในกระบวนงานน้ัน ๆ ครูสามารถฝึกอบรมทักษะของ
การทางานรว่ มกันให้กับนักเรียนเพื่อให้ การทางานกลมุ่ ให้สาเร็จไมเ่ พียงแต่ในห้องเรียนเท่านั้น แตย่ ัง
หมายถึงในสภาพแวดล้อมการทางานจรงิ สภาพแวดล้อมทางสงั คม และดา้ นอน่ื ๆ ของชวี ิต

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจนิยามของความร่วมมอื ตามทัศนะ
ของ Firestone ว่าอยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

4. Ryan นักเขียนอิสระและนักวิจัยอิสระ ให้นิยามของทักษะความรว่ มมอื ว่าเป็น “การ
จัดการแบบมีส่วนร่วมซ่ึงทั้งสองฝ่ายหรือมากกว่าน้ัน (ซ่ึงอาจมีหรือไม่มีความสัมพันธ์ก่อนหน้าน้ี)
ทางานรว่ มกนั เพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกนั ” ท้ังนี้ การทางานรว่ มกนั คือ การทางานเป็นทีมในระดับที่
สงู ขึ้น การทางานรว่ มกันช่วยใหภ้ ารกิจบรรลุเป้าหมายไดด้ ้วยวิธกี ารที่มปี ระสิทธิผล

ทมี งานสามารถนาองคก์ รหรอื โครงการไปสู่ความสาเร็จได้ดว้ ยความรว่ มมอื ที่มีประสิทธิผล
ผู้จัดการเองก็มีกลยุทธ์ในการทาให้ทุกคนได้ใกล้ชิดกันและสนับสนุนให้พวกเขาทางานได้อย่างมี
ประสิทธิผลยิ่งข้ึน ซึ่งเป็นเป้าหมายที่ใช่ว่าจะทาได้ง่าย แต่ก็ยังสามารถขับเคล่ือนไปได้หากทาตาม
คาแนะนาข้างต้น

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจนิยามของความร่วมมอื ตามทัศนะ
ของ Ryan ว่าอย่างไร ?

195

……………………………………………………………………………………………..............................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

5. Indeed Career Guide เว็บไซต์เก่ียวกับการจัดหางาน ให้นิยามของทักษะความ
รว่ มมือ ว่าการทางานร่วมกนั หมายถงึ การทางานร่วมกับบุคคลหนง่ึ คนข้นึ ไปเพื่อจัดการโครงการหรือ
งานให้เสร็จสมบูรณ์ หรือพัฒนาแนวคิดหรือกระบวนการน้ัน การทางานร่วมกันในสถานท่ีทางาน
เกิดข้ึนเมื่อคนสองคนหรือมากกว่าน้ัน ทางานด้วยกันเพื่อบรรลุเป้าหมายที่เป็นประโยชน์ต่อทีมหรือ
บริษัท การทางานรว่ มกันในท่ีทางานตอ้ งใช้ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทกั ษะการสอ่ื สาร การ
แบ่งปันความร้แู ละกลยุทธ์ และสามารถเกิดข้นึ ได้ในสานกั งานแบบท่ัวไป หรือระหว่างทีมงานทไ่ี มไ่ ด้
ทางานในสานักงาน

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจนิยามของความร่วมมือ ตามทัศนะ
ของ Indeed Career Guide ว่าอย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

6. Mind Tools เว็บไซต์เก่ียวกับการฝึกอบรมการบริหารจัดการและการเป็นผู้นา ให้
นิยามของทักษะความร่วมมือ ว่าการทางานร่วมกัน หมายถึง การทางานร่วมกับผู้คนในธุรกิจน้ัน
เพอื่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายร่วมกัน แม้วา่ จะคล้ายกบั การทางานเป็นทีม แตล่ กั ษณะของความร่วมมือไม่ได้
เป็นแบบลาดับขั้น นั่นคือ ทุกคนมีสถานะเท่าเทียมกันโดยไม่นบั ลาดับความอาวุโส (แม้จะมีการเลือก
1 คนให้เปน็ ผู้ดูแลจดั การโครงการ) คณุ สามารถทางานร่วมกับสมาชิกในทมี ของคุณเองหรอื จากแผนก
อ่ืน ๆ รวมถงึ ผรู้ ับเหมา ลูกคา้ หรือแมแ้ ตอ่ งค์กรอ่ืน ๆ ได้

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจนิยามของความร่วมมอื ตามทัศนะ
ของ Mind Tools ว่าอย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

7. Aiim เว็บไซต์เก่ียวกับสมาคมการจัดการข้อมูลอัจฉริยะ ให้นิยามของทักษะความ
ร่วมมือ ว่าการทางานร่วมกัน หมายถึง การทางานร่วมกับผู้คนในธุรกิจนั้นเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย

196

ร่วมกัน แมว้ ่าจะคล้ายกับการทางานเปน็ ทีม แต่ลักษณะของความรว่ มมือไมไ่ ด้เป็นแบบลาดับขัน้ นนั่
คือ ทุกคนมีสถานะเท่าเทียมกันโดยไม่นับลาดับความอาวุโส (แม้จะมีการเลือก 1 คนให้เป็นผู้ดูแล
จัดการโครงการ) คุณสามารถทางานร่วมกับสมาชิกในทีมของคุณเองหรือจากแผนกอ่ืน ๆ รวมถึง
ผูร้ บั เหมา ลูกค้า หรือแม้แตอ่ งคก์ รอื่น ๆ ได้

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของความร่วมมอื ตามทัศนะ
ของ Aiim วา่ อย่างไร ?
……………………………………………………………………………………………............................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
8. Doyle ผูเ้ ชย่ี วชาญด้านการคน้ หางานของ The Balance Careers ให้นยิ ามของทักษะ
ความร่วมมือ ว่า “การทางานร่วมกัน” หมายถึง การทางานกับคนอื่นเพื่อสร้างหรือผลิตบางสิ่ง
บางอย่าง
องค์ประกอบของการทางานร่วมกันท่ีประสบความสาเรจ็
แนวคิดของการทางานร่วมกันดูเหมือนง่าย ซ่ึงไมไ่ ด้หมายความเพียงแค่ “ทางานด้วยกนั ”
แต่มีอะไรมากกว่าน้ัน หากคุณทางานกับผู้อ่ืนในเรื่องใดเร่ืองหน่ึง ให้คานึงถึงองค์ประกอบของการ
ทางานร่วมกันที่ดีดังต่อไปนี้ : 1. กาหนดคาจากัดความและข้อตกลงที่ชัดเจนเก่ียวกับบทบาทของ
หุ้นส่วนในกระบวนการทางานร่วมกัน 2.สื่อสารภายในทีมอย่างเปิดอย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา อย่า
หวงข้อมลู ทจ่ี าเป็นตอ่ การปฏิบัติงาน 3.เหน็ ตรงกนั ในด้านเปา้ หมายและวธิ ีการในการทาโครงการหรือ
งานให้สาเร็จ อยา่ เพิ่งเดินหน้าต่อจนกว่าสมาชิกทุกคนจะเห็นชอบ 4. ใหก้ ารยอมรับและเคารพการมี
ส่วนรว่ มของผู้ทางานร่วมกนั ท้ังหมด การใหเ้ ครดิตคนทางานถือเปน็ สิง่ สาคญั 5. รว่ มกันระบุอปุ สรรค
และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การทางานเป็นทีมเป็นส่ิงจาเป็นเสมอ 6. วางเป้าหมายของ
กลุม่ ไว้เหนือความพงึ พอใจและการยอมรับส่วนบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณเป็นผู้นา ส่ิงสาคัญคือ
ต้องให้ผลลพั ธ์ที่คาดหวงั ของโครงการเปน็ สง่ิ สาคัญที่สุด การทางานร่วมกันไม่ใชก่ ารทาตามเป้าหมาย
ของใครคนใดคนหนึ่ง 7. ยอ่ มรบั ในความผดิ พลาดและพร้อมใหอ้ ภัยผู้อ่นื การแสดงความไม่พอใจหรือ
บ่อนทาลายความพยายามของสมาชกิ คนอ่นื ๆ ในทีม ถอื เปน็ การทาใหเ้ กดิ ความขัดแยง้
โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจนิยามของความร่วมมือ ตามทัศนะของ
Doyle วา่ อยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

9. Zahid อาจารย์สอนพิเศษท่ี York University และผู้จัดการอาวุโสท่ี Flentis
Corporationให้นิยามของทักษะความร่วมมือ ว่าทุกอาชีพในปัจจุบัน ต้องใช้ทักษะเช่ือมประสานกนั
บางอย่างจากสมาชิกในทีม เพ่ือร่วมกันทางานโดยใช้ทักษะการทางานร่วมกัน ทาให้ความร่วมมือ

197

กลายเป็นทักษะที่จาเป็นในแทบทุกภาคส่วนของการทางาน 1. องค์ประกอบของทักษะการทางาน
ร่วมกันเพื่อความสาเร็จ 2. กาหนดและยอมรับบทบาทของผู้ร่วมงานอย่างชัดเจนในการทางาน 3.
สื่อสารภายในทีมอย่างเปิดเผย เพื่อแบ่งปันข้อมูลท่ีจาเป็นตอ่ การทางาน 4.เห็นชอบในเป้าหมายและ
วิธีการในการทาโครงการหรืองานให้สาเร็จ 5.การยอมรับและเคารพการมีส่วนร่วมของผู้ทางาน
ร่วมกันทั้งหมด 6.ระบุอุปสรรคและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นร่วมกัน 7.วางเป้าหมายของกลุ่มไว้เหนือ
ความพึงพอใจและการยอมรบั สว่ นบคุ คล 8.ยอ่ มรับในความผิดพลาดและพรอ้ มใหอ้ ภัยผู้อนื่

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจนิยามของความร่วมมอื ตามทัศนะของ
Zahid ว่าอยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………...................................
...........................................................................................................................................
10. My Hub เว็บไซต์การเพิ่มประสิทธิภาพการส่ือสารและการมีส่วนร่วม ให้นิยามของ
ทักษะความร่วมมือ ว่าการทางานที่เชื่อมประสานกันและการทางานร่วมกันเป็นสิ่งจาเป็นไม่ว่าในที่
ทางานใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนร่วมงานสองคนท่ีปฏิสัมพันธ์กันเพื่อทางานให้เสร็จ หรือทีมงานข้าม
แผนกท่ีร่วมกันทาโครงการใดโครงการหนึ่ง การทางานร่วมกันของพนกั งานก็เป็นคุณลักษณะหน่ึงท่ี
พบในทุกธุรกิจทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก อย่างไรก็ตาม การทางานร่วมกนั ในที่ทางานมกั ได้รับการ
อนุญาตเสมอ ซ่ึงจะเห็นได้จากการท่ีนายจ้างกาหนดให้พนักงานต้องทางานร่วมกันอย่างมี
ประสิทธิภาพและสร้างผลลัพธ์ท่ีเป็นความสาเรจ็ ทักษะการทางานรว่ มกนั ท่มี ีประสิทธภิ าพจาเป็นต้อง
ได้รับการปลูกฝงั และพฒั นา แลว้ ทมี ของคณุ มีทักษะการทางานร่วมกนั ที่ตอ้ งใช้ในท่ีทางานหรือไม่ มา
ดูกันว่าทักษะเหล่านั้นคืออะไรและจะส่งเสริมในธุรกจิ ของคุณได้อย่างไร แต่ก่อนอื่นต้องนิยามความ
ร่วมมือในทท่ี างานที่มปี ระสทิ ธิภาพกอ่ น

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจนิยามของความรว่ มมือ ตามทัศนะของ
My Hub วา่ อยา่ งไร ?

…………………………………………………………………………………………….....................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

11. Rouse นักเขียนด้านเทคนิคและผู้อานวยการของ WhatIs.com ให้นิยามของทักษะ
ความร่วมมอื วา่ การทางานรว่ มกันเปน็ ความพยายามร่วมกันของบุคคลหลายคนหรือกลุ่มทางาน เพอื่
ทาให้งานหรือโครงการประสบความสาเร็จ โดยท่ัวไปแล้ว การทางานร่วมกันภายในองค์กรจะ
เกี่ยวข้องกับความสามารถของคนสองคนข้ึนไปในการพิจารณาและมีส่วนร่วมในเอกสารหรือเน้ือหา
อ่ืน ๆ ผา่ นเครือขา่ ย

198

ความสามารถในการทางานรว่ มกนั และการสอื่ สารในองคก์ ร กาลังกลายเปน็ สิ่งจาเป็นสาหรับ
การปรับตัวทางธุรกิจ การทางานร่วมกันขององค์กรอาจครอบคลุมการใช้
แพลตฟอร์มการทางานร่วมกันเครื่องมือเครอื ข่ายทางสังคมขององค์กร อินทราเน็ต
ขององคก์ ร และอินเทอรเ์ น็ตสาธารณะ

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของความรว่ มมอื ตามทัศนะ
ของ Rouse ว่าอย่างไร ?
……………………………………………………………………………………………........................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
12. The Supportive Classroom เว็บไซต์เกี่ยวกับการสนับสนุนการเรียนรู้ ให้นิยาม
ของทักษะความร่วมมือ ว่า เป็นบรรทัดฐานของชั้นเรียนแสดงถึงพฤติกรรมท่ีคาดหวังที่สนับสนุน
แนวคิดหลักของความไว้วางใจ การแบ่งปัน การเป็นเจ้าของ และการเคารพ โดยทักษะการทางาน
ร่วมกันเป็นวิธีเฉพาะท่ีคาดหวังให้นักเรียนประพฤติตนเพ่ือบรรลุบรรทัดฐานของช้ันเรียน หลังจาก
พัฒนาบรรทัดฐานของช้ันเรียนแล้ว จึงมีการประเมิน การจัดลาดับความสาคัญ และสอนทักษะการ
ทางานร่วมกัน เป็นการส่งเสริมแนวคิดหลักและสนับสนุนบรรทัดฐานของช้ันเรียน โดยทีมผู้สอน
ประสบความสาเรจ็ ในการใช้ทักษะการทางานร่วมกัน ในทกั ษะที่กล่าวถึงวธิ ีการทน่ี กั เรยี นและครูควร
มีปฏิสัมพันธ์เพ่ือตระหนักถึงบรรทัดฐานของชั้นเรียน สิ่งเหล่าน้ีถือว่ายังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ โดยช้ัน
เรียนอาจต้องเพ่มิ ทกั ษะอ่ืน ๆ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการอย่างเตม็ ที่

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจนิยามของความรว่ มมือ ตามทัศนะ
ของ The Supportive Classroom วา่ อย่างไร ?
…………………………………………………………………………………………….............................
....................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................

แบบประเมนิ ตนเอง

โปรดทบทวนความรูค้ วามเข้าใจของทา่ นอีกครั้งจากแบบประเมินผลตนเองน้ี
1) ท่านเข้าใจนิยามทักษะความร่วมมือตามทัศนะของ Belgrad, Fisher, & Rayner ชัดเจนดี
แลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Belgrad,
Fisher, & Rayner กลา่ วถึงนิยามของทกั ษะความรว่ มมือวา่ อยา่ งไร ?
2) ทา่ นเขา้ ใจนิยามทกั ษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ Helsel ชดั เจนดีแลว้ หรอื ไม่

199

[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Helsel
กล่าวถึงนิยามของทักษะความรว่ มมือวา่ อยา่ งไร ?
3) ทา่ นเข้าใจนยิ ามทกั ษะความรว่ มมือตามทศั นะของ Firestone ชดั เจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยังไม่ชัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Firestone
กลา่ วถึงนิยามของทกั ษะความร่วมมอื วา่ อยา่ งไร ?
4) ทา่ นเขา้ ใจนิยามทกั ษะความรว่ มมอื ตามทศั นะของ Ryan ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยงั ไม่ชดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อีกครง้ั แล้วตอบคาถามในใจวา่ Ryan กลา่ วถึง
นิยามของทักษะความรว่ มมือวา่ อย่างไร ?
5) ท่านเข้าใจนิยามทักษะความร่วมมือตามทัศนะของ Indeed Career Guide ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Indeed
Career Guide กลา่ วถงึ นยิ ามของทกั ษะความรว่ มมอื ว่าอย่างไร ?
6) ทา่ นเข้าใจนยิ ามทกั ษะความร่วมมือตามทศั นะของ Mind Tools ชดั เจนดีแลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อีกครงั้ แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Mind Tools
กลา่ วถึงนิยามของทกั ษะความรว่ มมอื ว่าอยา่ งไร ?
7) ทา่ นเขา้ ใจนยิ ามทกั ษะความรว่ มมือตามทศั นะของ Aiim ชัดเจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดพี อ โปรดกลับไปศกึ ษาใหมอ่ ีกคร้ัง แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Aiim กลา่ วถึง
นิยามของทกั ษะความร่วมมือวา่ อย่างไร ?
8) ทา่ นเขา้ ใจนยิ ามทักษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Doyle ชดั เจนดีแลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Doyle
กล่าวถงึ นิยามของทกั ษะความรว่ มมือว่าอยา่ งไร ?
9) ท่านเขา้ ใจนยิ ามทักษะความร่วมมอื ตามทศั นะของ Zahid ชดั เจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Zahid
กล่าวถึงนยิ ามของทกั ษะความรว่ มมือว่าอยา่ งไร ?
10) ท่านเขา้ ใจนยิ ามทักษะความร่วมมือตามทัศนะของ My Hub ชดั เจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ

200

หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า My Hub
กล่าวถงึ นยิ ามของทักษะความรว่ มมอื ว่าอย่างไร ?
11) ท่านเขา้ ใจนยิ ามทกั ษะความร่วมมอื ตามทศั นะของ Rouse ชดั เจนดีแลว้ หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Rouse
กล่าวถึงนิยามของทักษะความร่วมมือวา่ อยา่ งไร ?
12) ท่านเขา้ ใจนยิ ามทักษะความรว่ มมือตามทศั นะของ The Supportive Classroom ชดั เจนดี
แลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า The
Supportive Classroom กล่าวถึงนยิ ามของทักษะความรว่ มมอื ว่าอย่างไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอยี ดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับทเี่ ป็นภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เว็บไซตข์ องแตล่ ะแหลง่ ได้ ดังนี
1. Belgrad, Fisher & Rayner:

https://www.unl.edu/gradstudies/current/development/collaboration-teamwork
2. Helsel: https://www.quora.com/What-are-collaborative-skills
3. Firestone: https://study.com/academy/lesson/collaborative-skills-definition-

lesson-quiz.html
4. Ryan: https://www.deputy.com/blog/the-importance-of-collaboration-skills-in-the-

workplace
5. Indeed career guide:

https://www.indeed.com/viewjob?t=remote+opportunity+full+stack+sr+ruby+rails
+engineer&jk=d9fe002af3fbe40f&_ga=2.142618613.1528744249.1529942970-
190791013.1529447607
6. Mind Tools: https://www.mindtools.com/pages/article/collaborate-
successfully.htm
7. Aiim: https://www.aiim.org/What-is-Collaboration
8. Doyle: https://www.thebalancecareers.com/collaboration-skills-with-examples-
2059686
9. Zahid: https://www.jobssection.com/what-collaboration-skills/
10. My Hub: https://www.myhubintranet.com/collaboration-skills/
11. Rouse: https://whatis.techtarget.com/definition/collaboration

201

12. The Supportive Classroom:
https://www.uvm.edu/~wfox/CollaborativeSkills.html

เอกสารอ้างอิง
Aiim (n.d.). What is collaboration?. Retrieved June 10, 2019, from https://bit.ly/2Y08Bst
Belgrad, W., Fisher, K., & Rayner, S. (1995). Collaboration & teamwork. Retrieved June

10, 2019, from https://bit.ly/2xK0KAv
Doyle, A. (2019). Collaboration skills: Definition, list, and examples. Retrieved June 10,

2019, from https://bit.ly/2xNjq5m
Firestone, M. ( n.d.) . Collaborative skills: Definition & explanation. Retrieved June 10,

2019, from https://bit.ly/2XNBOI8
Helsel, M. (2017). Collaborative skills. Retrieved June 10, 2019, from

https://bit.ly/31BM9Ep
Indeed career guide (2019). Collaboration skills: Definition and examples. Retrieved

June 10, 2019, from https://indeedhi.re/32qopEd
Mind Tools (n.d.). How to collaborate successfully. Retrieved June 10, 2019, from

https://bit.ly/2SfVVZu
My Hub, T. (2018). Collaboration Skills: Does your team have what it takes?. Retrieved

June 10, 2019, from https://bit.ly/2Yb9oao
Rouse, M. (2016). Collaboration. Retrieved June 10, 2019, from https://bit.ly/2JwKn0S
Ryan, O. ( 2 0 1 8 ) . The importance of collaboration skills in the workplace. Retrieved

June 10, 2019, from https://bit.ly/2Fq5hNs
The Supportive Classroom ( n.d.) . Collaborative skills. Retrieved September 5, 2019,

from https://bit.ly/2lxAPcI
Zahid, A. ( 2 0 1 8 ) . What are collaboration skills?. Retrieved June 10, 2019, from

https://bit.ly/2XPRo0I

202

5.2 ค่มู อื ชุดที่ 2 ทัศนะเกีย่ วกบั ความสาคัญของทักษะความร่วมมือ

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้

หลังจากการศึกษาคู่มอื ชุดนีแ้ ล้ว ท่านมพี ฒั นาการดา้ นพุทธิพิสยั (Cognitive Domain) ซ่งึ
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมที่
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจา (Remembering) ความเขา้ ใจ (Understanding) การประยุกตใ์ ช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดงั นี้

1) บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุ
ความสาคญั ของทกั ษะความรว่ มมอื ได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรียงความสาคญั ของทักษะความรว่ มมอื ได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
ความสาคญั ของทกั ษะความรว่ มมือ ได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลความสาคัญของ
ทกั ษะความรว่ มมือได้

5) วดั ผล เปรียบเทยี บ ตีค่า ลงความเหน็ วจิ ารณ์ความสาคญั ของทักษะความรว่ มมือ ได้
6) รวบรวม ออกแบบ จดั ระเบียบ สรา้ ง ประดษิ ฐ์ หรือวางหลกั การความสาคญั ของทักษะ
ความร่วมมือได้
โดยมคี วามสาคัญของทกั ษะความรว่ มมอื จากทศั นะท่ีนามากลา่ วถงึ แต่ละทัศนะได้ ดงั น้ี
1) ความสาคัญของทกั ษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ Contributor
2) ความสาคญั ของทกั ษะความร่วมมือ ตามทศั นะของ Lmacademics
3) ความสาคัญของทักษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Kashyap
4) ความสาคัญของทักษะความร่วมมือ ตามทศั นะของ Elcom
5) ความสาคญั ของทกั ษะความรว่ มมือ ตามทศั นะของ Nutcache
6) ความสาคัญของทกั ษะความร่วมมือ ตามทศั นะของ Moseley
7) ความสาคัญของทักษะความรว่ มมือ ตามทัศนะของ Dobos
8) ความสาคัญของทักษะความร่วมมือ ตามทัศนะของ Smart Sheet
9) ความสาคญั ของทักษะความรว่ มมือ ตามทัศนะของ Valdellon

คาชแ้ี จง

1. โปรดศึกษาเน้ือหาเกี่ยวกับความสาคัญของทักษะความร่วมมือ จากทัศนะที่นามา
กลา่ วถึง แตล่ ะทศั นะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะตอ้ งทาความเขา้ ใจที่สามารถอธบิ ายกบั ตัวเองไดว้ ่า เขา
ใหค้ วามสาคัญวา่ อย่างไร

2. หลงั จากการศกึ ษาเนอ้ื หาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเขา้ ใจของทา่ นอีกครั้ง
จากแบบประเมินผลตนเองในตอนท้ายของค่มู อื

203

3. เนื้อหาเกี่ยวกับความสาคัญของทักษะความร่วมมือ จากทัศนะที่นามากล่าวถึงแต่ละ
ทศั นะมแี หล่งอ้างองิ ตามทแี่ สดงไวใ้ นตอนท้ายหลงั ของแบบประเมินผลตนเอง หากทา่ นตอ้ งการศึกษา
รายละเอยี ดของทศั นะเหล่าน้ัน ซงึ่ ตน้ ฉบับเป็นบทความภาษาองั กฤษ ทา่ นสามารถจะสบื ค้นตอ่ ได้จาก
เว็บไซตท์ ่รี ะบุไวใ้ นแหลง่ อา้ งองิ นั้น ๆ

ทศั นะเก่ียวกบั ความสาคญั ของทักษะความร่วมมอื

1. Contributor นกั คดิ นกั เขยี นของ deputy.com กลา่ วถึงความสาคญั ของทักษะความ
ร่วมมอื ไวว้ ่า เมอ่ื กลา่ วถงึ การจ้างพนกั งานรายช่วั โมง มาตรฐานดา้ นอตุ สาหกรรมและกฎข้อบงั คับเป็น
สง่ิ แรก ๆ ทีต่ ้องคานงึ ถงึ ตอ้ งพิจารณาวา่ จะคานวณค่าจ้างเปน็ รายชั่วโมงหรือตามอัตราจ้างทก่ี าหนด
ไว้ จะจัดการคา่ จ้างให้ครอบคลุมกับภาษีทรี่ ัฐบาลกาหนดได้อย่างไรบ้าง สงิ่ เหลา่ นล้ี ้วนเป็นเรื่องสาคัญ
และตอ้ งพิจารณาอยา่ งรอบคอบ งานของนักเขียนจะมีประโยชน์หากนาไปแบ่งปนั ใหก้ ับสมาชกิ ในทีม
และสนับสนุนให้ทางานร่วมกัน ตัวอย่าง เช่น หากนักเขียนผู้นี้ร่วมงานกับฝ่ายกราฟฟิกดีไซน์
นักพฒั นาเวบ็ ไซตแ์ ละผเู้ ชยี่ วชาญด้านการตลาด ผลกจ็ ะออกมาดยี ิง่ ขึน้ เป็นต้น

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจความสาคัญของความร่วมมอื ตามทัศนะ
ของ Contributor ว่าอย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

2. lmacademics เว็บไซต์เก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ กล่าวถึงความสาคัญของทักษะ
ความร่วมมือไว้ว่า เป็นการรวมกันของ 2 แนวคิดท่ีมีความต่างกันเล็กน้อย ได้แก่ ทีมเวิร์ค
(teamwork) ซึ่งหมายถึง การทางานร่วมกันของสมาชิกในทีมที่มีเป้าหมายเดียวกั น และ
collaboration ซ่ึงหมายถึง การทางานร่วมกนั แม้จะมีเป้าหมายต่างกัน แต่เมื่องานสาเร็จสมาชิกทุก
คนไดป้ ระโยชนร์ ว่ มกัน เราจะเร่มิ เห็นวา่ พนักงานท่ีมีทมี เวริ ์คท่ีดีและทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่นที่ดี

จะช่วยให้องค์กรมีบรรยากาศที่น่าทางานและเป็นแรงบันดาลใจให้พนักงานทางานไดอ้ ย่าง
มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย ส่วนในโรงเรียนเองก็มีการสอนให้นักเรียนได้ทางานร่วมกันกับ
เพ่ือน ๆ มากข้นึ และเนน้ ในด้านแนวทางความพยายามในการทางานร่วมกัน

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจความสาคัญของความรว่ มมอื ตามทศั นะของ
lmacademics ว่าอยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

3. Kashyap ผู้ก่อตั้งและซีอีโอของ ProofHub กล่าวถึงความสาคัญของทักษะความ
รว่ มมือไวว้ ่า วลีพ้ืนฐานของการทาธุรกจิ ทุกวันน้คี ือ “เราตอ้ งรว่ มมอื กัน” การทางานร่วมกนั ในองค์กร
คือสัญญาณของทีมท่ีมีประสิทธิภาพ เพราะเป็นการทางานร่วมกันระหว่างสองฝ่ายหรือมากกว่าน้ัน

204

เพื่อให้ผลออกมาดีท่ีสุด สิ่งที่จาเป็นมากท่ีสุดในทีมคือการมี ประสิทธิภาพและยังเป็นมุมมองที่สาคัญ
ภายในองคก์ ร การทางานร่วมกันในองค์กร (Workplace Collaboration) จะเปน็ ตวั ชว่ ยกระจายงาน
ให้ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ป้องกันไม่ให้คนใดคนหน่ึงในทีมมีภาระงานที่มากเกินไป “อย่าให้การ
ร่วมงานท่ีไรป้ ระสิทธิภาพเป็นอุปสรรคของความสาเร็จ” เมื่อคุณมีการทางานร่วมกนั เป็นทีม (Team
Collaboration) มักจะไดเ้ หน็ ผลลัพธ์ท่ีดีออกมาเสมอเน่อื งจากไม่ต้องกงั วลว่าทมี จะทางานร่วมกันได้
หรือไม่ การทางานเป็นทีม (Working in Team) ทาใหพ้ นกั งานมคี วามรบั ผิดชอบมากขนึ้ และชว่ ยเพ่ิม
แรงบนั ดาลใจในการทางานแกพ่ นกั งานอกี ดว้ ย

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจความสาคญั ของความรว่ มมอื ตามทัศนะของ
Kashyap วา่ อยา่ งไร ?

…………………………………………………………………………………....................................................................
................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

4. Elcom เว็บไซต์เก่ียวกับการพัฒนาระบบอินทราเน็ต กล่าวถึงความสาคัญของทักษะ
ความร่วมมือไว้ว่า การทางานร่วมกันในท่ีทางานไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ถึงกระนั้นกลับเป็นเรื่องที่ทวี
ความสาคัญมาขึ้นเรื่อย ๆ ในยุคใหม่นี้ เนื่องจากเราสามารถเชื่อมต่อคนท้ังโลกได้ เทคโนโลยีการเกบ็
ข้อมูลออนไลน์ (Cloud computing) และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเป็นเครื่องมือท่ีช่วยให้พนักงาน
สามารถทางานกับเพ่ือนร่วมงาน (Collaborate With Colleagues) ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ช่วยเสริมสร้างกาลังคนท่ีมีความรู้ความสามารถและเกี่ยวข้องกับงานโดยเฉพาะได้มากขึ้น อย่างไรก็

ตามการทางานร่วมกนั นน้ั เกิดข้ึนมากในโลกออนไลน์มากกว่าการทางานแบบเจอกัน
ต่อหน้าต่อตาในองค์กร ในบทความน้ีเราจะเจาะลึกถึงสาเหตุว่าทาไมการทางาน
รว่ มกันในองคก์ รจึงเปน็ เรอ่ื งสาคัญและประโยชน์หลกั ๆ ทเ่ี ราจะได้และสง่ิ ทคี่ ณุ ตอ้ งรู้

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจความสาคัญของความรว่ มมือ ตามทศั นะของ Elcom
วา่ อยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
.

5. Nutcache เว็บไซต์เก่ียวกับการจัดหางาน กล่าวถึงความสาคัญของทักษะความ
ร่วมมือไว้ว่า การทางานเป็นทีมทาให้พนักงานทางานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากข้ึนเมื่อเทียบ
กบั คนทท่ี างานโปรเจคเดย่ี ว การทางานร่วมกันยังช่วยสง่ เสริมให้พนักงานต่างมีความรับผิดชอบสูงข้ึน
ซ่ึงมาพร้อมกับการมีแรงบันดาลใจเพ่ิมมากข้ึนเม่ือได้ทางานร่วมกันอย่างแท้จริงและ มีประโย ชน์
ดังต่อไปน้ี การระดมสมอง (Brainstorming) การให้คุณค่า (Providing Value) การมีส่วนร่วมอย่าง
เท่าเทยี มกัน (Equal Partaking)

205

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสาคัญของความรว่ มมือ ตามทัศนะ
ของ Nutcache ว่าอยา่ งไร ?

…………………………………………………………………………………………….................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

6. Moseley นักคิดนักเขียนเกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร กล่าวถึงความสาคัญของทักษะ
ความรว่ มมอื ไว้วา่ “การทางานร่วมกัน” (Collaboration) จะกลายเป็นเสมอื นวลนี ยิ มขององค์กร แต่
ก็ไมใ่ ช่ถอ้ ยคาที่ฟงั แลว้ เบ่ือหแู ต่อย่างใด ในทางตรงกนั ขา้ ม การทางานร่วมกันในองค์กรคือสง่ิ ที่จะช่วย
ให้ทีมประสบความสาเร็จ เปน็ ส่ิงท่ีอธิบายได้ง่าย ๆ เชน่ นี้เอง การทางานรว่ มกัน (Collaboration) คอื
การที่กลุ่มคนได้ใช้ความชานาญของตนในการร่วมงานกันเพื่อให้บรรลุผลและได้รบั ผลประโยชน์จาก
เปา้ หมาย โปรเจค หรือภารกจิ ท่มี ีร่วมกนั ก็เหมือนกบั ชา่ งภาพท่ีทางานกบั นักออกแบบในการถ่ายปก
นิตยสาร หรือฝ่ายเทคโนโลยีซึ่งปกติแล้วจะถูกเรยี กตัวมาทางานกับฝ่ายการตลาดและร่วมกันทางาน
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายรายไตรมาสอยู่เป็นประจาเป็นต้น พูดอีกแบบหนึ่งก็คือการทางานรว่ มกันเป็น
กระบวนการของการทางานกลุ่ม แต่ก็ยังถือเป็นทักษะท่ีเกิดจากการเรียนรู้ด้วย หากคุณสามารถ
ทางานกับผอู้ ่ืนไดด้ ี นัน่ กจ็ ะส่งผลดีต่อผลงานโปรเจคกลุ่มทจี่ ะตามมา

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสาคัญของความร่วมมือ
ตามทศั นะของ Moseley วา่ อยา่ งไร ?

…………………………………………………………………………………………….................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
7. Dobos นักแต่งเพลงและผู้สร้างภาพยนตร์ กล่าวถงึ ความสาคัญของทักษะความร่วมมือไว้ว่า
การทางานร่วมกับผู้อ่ืนที่มีความคิดเหมือนกันแต่ทักษะต่างกันหรือมีประสบการณ์คนละด้านล้วนแต่
ให้ประโยชน์กับคุณโดยตรง สมาชิกในทีมที่มีความรู้เชิงลึก มีประสบการณ์เฉพาะด้าน มีมุมมองการ
แกป้ ัญหาทแี่ ตกตา่ ง ลว้ นแตส่ อนใหค้ ุณไดข้ อ้ มูลความรู้ใหม่ ๆ ขณะเดียวกนั คุณและสมาชกิ คนอืน่ ๆ ก็
ไดแ้ ลกเปลี่ยนความรู้ความสามารถของตนในการทางานกบั ผู้อ่นื ดว้ ย ลองจนิ ตนาการวา่ หากคุณกาลัง
ตัดต่อวีดีโออยู่แล้วคุณเจอปัญหาเกี่ยวกับการเช่ือมต่อเสียงซ่ึงคุณต้องแก้ปัญหาเพ่ือจะได้ทางานต่อ
แม้สามารถหาทางแก้ได้ในอนิ เตอร์เน็ตได้กจ็ ริง แต่การเสียเวลาไปกับการอ่านบทความหรือดูวีดีโอจะ
ทาใหค้ วามคิดท่ีกาลังลืน่ ไหลสะดุดลง อาจกินเวลานานหลายนาทีหรืออาจจะเปน็ ชั่วโมงกเ็ ปน็ ได้ และ
ก็จะทาให้คุณหลุดจาก “ห้วง”ความคิดอันสร้างสรรค์น้ันไปเลย การมีสมาชิกในทีม 2 คนอาจจะมี

โอกาสแก้ปัญหาได้ 2 เท่า แต่ถ้าในทีมมี 10 คนก็จะยิ่งเพ่มิ โอกาสได้เป็น 10 เท่า ซ่ึงจะ
ช่วยใหค้ ณุ แกป้ ัญหาไดใ้ นทันทีตรงนนั้ เลย และไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยอะไรเพม่ิ เติมดว้ ย

206

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสาคัญของความร่วมมือ
ตามทัศนะของ Moseley วา่ อยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

8. Smart Sheet เวบ็ ไซต์เก่ียวกบั การวางแผนงาน กลา่ วถึงความสาคญั ของทักษะความ
ร่วมมือไว้ว่า เป้าหมายท่ีมีร่วมกันในการร่วมงานภายในองค์กรคือการเพิ่มความสาเร็จให้กับโปรเจค
แต่ “ความสาเร็จ” (Success) สามารถแบ่งออกเป็นส่วนเล็ก ๆ ท่ีมีความสาคัญเท่า ๆ กันซ่ึงช่วยให้
การทางานคลอ่ งตัวข้นึ ช่วยพฒั นาความสัมพนั ธ์ของสมาชกิ ในทมี เพมิ่ ผลผลิต และประสิทธภิ าพให้ดี
ย่ิงขึ้น ต่อไปน้ีจะเป็นตัวอย่างของประโยชน์ที่ได้จากการทางานร่วมกันในองค์กร 1. นวัตกรรมท่ี
รวดเร็วกว่า (Faster-Paced Innovation) 2. การทางานทางไกลที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(Increased Efficiency for Remote Teams) 3. การสร้างทักษะให้พนักงาน (Employee Skill-
Building) 4. ความพึงพอใจของพนักงานท่ีเพ่ิมมากข้ึน (Increased Employee Satisfaction)
5. การเห็นภาพรวมขนาดใหญ่ (Big-Picture View) 6. ความพึงพอใจของลูกค้าเพ่ิมมากขึ้น (More
Satisfied Customers)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสาคญั ของความรว่ มมอื ตาม
ทัศนะของ Smart Sheet ว่าอย่างไร ?

…………………………………………………………………………………………….................................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

9. Valdellon ผจู้ ดั การฝา่ ยการตลาดของเว็บไซต์ Wrike กลา่ วถึงความสาคัญของทักษะ
ความร่วมมือไวว้ า่ นคี่ ือประโยชน์ 11 ขอ้ ทเ่ี ราคัดหามาให้เห็นวา่ เหตุใดทีมท่ีดีจึงความสาคญั ต่อองค์กร
ในการทางานแตล่ ะวนั ซง่ึ ไดแ้ ก่

- ช่วยพฒั นาองค์กรใหม้ ีความยดื หยุ่น (Improved Flexibility of the Organization)
- ความผูกพนั ธ์ของพนักงาน (Engaged Employees)
- พนักงานมีสขุ ภาพทดี่ ี (Healthier Employees)
- การประชุมทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขขึ้น (More Productive Meetings)
- ชว่ ยดึงดูดคนมคี วามสามารถสูง (More Attractive to Top Talent)
- การเรง่ ความเรว็ ทางธุรกจิ (Accelerated Business Velocity)
- อัตราพนักงานที่ทางานกับองคก์ รเป็นเวลานานเพมิ่ สูงขึ้น (Higher Retention Rates)
- แนวคดิ ใหม่ ๆ (Innovative Ideas)
- การร่วมงานที่ดกี บั ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย (Better Alignment with Stakeholders)
- ผลผลติ ส่วนบุคคลท่ีเพ่ิมขึน้ (Enhanced Individual Productivity)

207

- ผลประโยชนท์ ีเ่ พม่ิ ขน้ึ (Increased Profitability)
โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสาคัญของความร่วมมือ ตาม
ทัศนะของ Valdellon วา่ อยา่ งไร ?

…………………………………………………………………………………………….............................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แบบประเมินตนเอง

โปรดทบทวนความรคู้ วามเขา้ ใจของท่านอีกครง้ั จากแบบประเมินผลตนเองน้ี
1) ทา่ นเข้าใจความสาคญั ทักษะความร่วมมอื ตามทศั นะของ Contributor ชัดเจนดีแลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อกี ครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Contributor
กล่าวถึงความสาคัญของทักษะความรว่ มมอื ว่าอยา่ งไร ?
2) ท่านเข้าใจความสาคัญทักษะความร่วมมือตามทัศนะของ Lmacademics ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แ ล้วตอบคาถามในใจว่า
Lmacademics กลา่ วถงึ ความสาคญั ของทักษะความรว่ มมือวา่ อยา่ งไร ?
3) ทา่ นเข้าใจความสาคัญทกั ษะความร่วมมือตามทัศนะของ Kashyap ชัดเจนดีแลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Kashyap
กล่าวถงึ ความสาคัญของทกั ษะความร่วมมือว่าอยา่ งไร ?
4) ทา่ นเข้าใจความสาคญั ทักษะความร่วมมือตามทัศนะของ Elcom ชัดเจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Elcom
กลา่ วถึงความสาคัญของทักษะความรว่ มมือว่าอยา่ งไร ?
5) ทา่ นเขา้ ใจความสาคัญทกั ษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ Nutcache ชดั เจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Nutcache
กล่าวถงึ ความสาคัญของทักษะความรว่ มมอื วา่ อยา่ งไร ?
6) ทา่ นเขา้ ใจความสาคญั ทกั ษะความร่วมมือตามทศั นะของ Moseley ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Moseley
กลา่ วถงึ ความสาคัญของทกั ษะความรว่ มมือวา่ อย่างไร ?
7) ทา่ นเขา้ ใจความสาคัญทักษะความรว่ มมือตามทัศนะของ Dobos ชดั เจนดแี ลว้ หรือไม่

208

[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Dobos
กล่าวถึงความสาคญั ของทักษะความร่วมมอื ว่าอยา่ งไร ?
8) ท่านเข้าใจความสาคัญทักษะความร่วมมือตามทัศนะของ Smart Sheet ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหมอ่ กี คร้ัง แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Smart Sheet
กลา่ วถงึ ความสาคัญของทักษะความรว่ มมอื ว่าอยา่ งไร ?
9) ท่านเข้าใจความสาคญั ทักษะความรว่ มมือตามทศั นะของ Valdellon ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Valdellon
กลา่ วถงึ ความสาคัญของทักษะความรว่ มมอื วา่ อย่างไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศกึ ษารายละเอยี ดของแตล่ ะทัศนะจากตน้ ฉบับทเี่ ปน็ ภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เว็บไซตข์ องแตล่ ะแหล่งได้ ดงั นี
1. Contributor : https://www.deputy.com/blog/the-importance-of-collaboration-

skills-in-the-workplace
2. Lmacademics : https://www.lmacademics.com/blog/importance-teamwork-

collaboration-skills/
3. Kashyap : https://www.proofhub.com/articles/importance-team-collaboration-

workplace
4. Elcom : https://www.elcom.com.au/resources/blog/the-importance-of-

collaboration-in-todays-workplace
5. Nutcache : https://www.nutcache.com/blog/the-importance-of-collaboration-in-

the-workplace/
6. Moseley : https://blog.jostle.me/blog/why-collaboration-is-important
7. Dobos : https://usv.edu/blog/importance-collaboration-teamwork-creative-

industry/
8. Smart Sheet : https://www.smartsheet.com/how-workplace-collaboration-can-

change-your-company
9. Valdellon : https://www.wrike.com/blog/business-benefits-of-team-collaboration/

เอกสารอ้างองิ
Contributor, G. (2019). The importance of collaboration skills in the workplace.

Retrieved June 18, 2019, from https://bit.ly/2Fq5hNs

209

Dobos, J. ( 2 0 1 7 ) . The importance of collaboration and teamwork in the creative
industry. Retrieved June 18, 2019, from https://bit.ly/2Tm1UKR

Elcom (2018). The importance of collaboration in today's workplace. Retrieved June
18, 2019, from https://bit.ly/2JMfVif

Kashyap, S. ( 2 0 1 7 ) . Importance of team collaboration at workplace. Retrieved June
18, 2019, from https://bit.ly/2GicDCz

lmacademics (2019). Importance of teamwork and collaboration skills. Retrieved June
18, 2019, from https://bit.ly/2GiDQF6

Moseley, C. (2 0 1 9 ) . 7 Reasons why collaboration is important. Retrieved June 1 8 ,
2019, from https://bit.ly/30DWgb6

Nutcache (2 0 1 9 ). The importance of collaboration in the workplace. Retrieved June
18, 2019, from https://bit.ly/2sw7wa4

Smart Sheet ( 2 0 1 9 ) . How workplace collaboration can change your company.
Retrieved June 21, 2019, from https://bit.ly/2PzHb9r

Valdellon, L. (2017). 11 Key business benefits of team collaboration (& why you should
work on your teamwork). Retrieved June 21, 2019, from https://bit.ly/2ocs3hI

210

5.3 คมู่ อื ชุดที่ 3 ทัศนะเกยี่ วกับลกั ษณะของทักษะความรว่ มมอื

วตั ถุประสงค์การเรียนรู้

หลงั จากการศกึ ษาคมู่ อื ชุดนแี้ ลว้ ท่านมพี ฒั นาการด้านพทุ ธิพิสยั (Cognitive Domain) ซึ่ง
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ี
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดข้ันต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1) บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุลักษณะ
ของทกั ษะความร่วมมอื ได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรียงลกั ษณะของทักษะความรว่ มมือได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง

ลกั ษณะของทกั ษะความรว่ มมือ ได้
4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลความสาคัญของ

ทักษะทกั ษะความรว่ มมอื ได้
5) วดั ผล เปรยี บเทียบ ตีคา่ ลงความเหน็ วิจารณ์ลกั ษณะของทกั ษะความร่วมมือ ได้
6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการลักษณะของทักษะ

ความรว่ มมอื ได้
โดยมีลกั ษณะของทักษะความรว่ มมอื จากทัศนะท่นี ามากล่าวถึงแตล่ ะทัศนะได้ ดังนี้
1) ลกั ษณะเก่ยี วกับทักษะความร่วมมือ ตามทศั นะของ Samdahl
2) ลักษณะเกย่ี วกบั ทักษะความรว่ มมือ ตามทศั นะของ Cran
3) ลักษณะเก่ียวกับทักษะความร่วมมอื ตามทศั นะของ Sampson
4) ลักษณะเกี่ยวกับทกั ษะความรว่ มมือ ตามทศั นะของ Meinert
5) ลกั ษณะเกีย่ วกับทักษะความรว่ มมือ ตามทัศนะของ Goman

คาชีแ้ จง

1. โปรดศกึ ษาเนอ้ื หาเก่ียวกับลักษณะหรอื คุณลกั ษณะของคนที่มีทกั ษะความร่วมมือ จาก
ทัศนะที่นามากล่าวถึง แต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทาความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับ
ตวั เองได้วา่ เขาให้ลกั ษณะว่าอย่างไร

2. หลังจากการศกึ ษาเนื้อหาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเขา้ ใจของทา่ นอีกครั้ง
จากแบบประเมินผลตนเองในตอนทา้ ยของคู่มอื

3. เน้ือหาเกี่ยวกับลักษณะหรือคุณลักษณะของคนท่ีมีทักษะความร่วมมือ จากทัศนะท่ี
นามากล่าวถึงแต่ละทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามท่ีแสดงไว้ในตอนท้าย หลังของแบบประเมินผลตน เอง

211

หากท่านต้องการศึกษารายละเอียดของทัศนะเหล่าน้ัน ซ่ึงต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่าน
สามารถจะสบื คน้ ตอ่ ได้จากเว็บไซตท์ ีร่ ะบไุ วใ้ นแหลง่ อา้ งอิงนน้ั ๆ

ทัศนะเก่ยี วกับลกั ษณะที่แสดงถงึ ทักษะความรว่ มมอื

1. Samdahl รองประธานฝ่ายการตลาดของเว็บไซต์ I4CP กล่าวถึงลักษณะของทักษะ
ความร่วมมือไวว้ ่า การทางานร่วมกันอย่างมีจุดประสงค์ต้องการผู้นาที่เป็นแบบอย่างพฤติกรรมการ
ร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นสิ่งที่พบในองค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงมากกว่าขององค์กรที่มี
ประสิทธิภาพตา่ ถึง 3 เท่า พฤติกรรมการร่วมมือกันประกอบด้วย: 1. การมอบหมาย (Delegating)
2. การจัดการการประชุม (Managing Meetings) 3. สร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยเพื่อการ
สื ่อ ส า ร อ ย ่า ง เ ป ิด เ ผ ย (Creating an environment that makes it safe to openly
communicate) 4. การสื่อสาร (Communicating)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจลักษณะหรือคุณลักษณะของ
ความร่วมมือ ตามทัศนะของ Samdahl ว่าอย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………...................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

2. Cran ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ NextMapping กล่าวถึงลักษณะของทักษะความร่วมมือไว้ว่า
ทีมท่ีทางานร่วมกันอย่างสูงสามารถเป็นบรรทัดฐานทางวัฒนธรรมในฐานะแนวคิดหรือคาพูด แต่ถ้า
ไม่ไดน้ าไปปฏิบตั มิ ันกไ็ ม่ได้ขับเคล่ือนผลลพั ธ์ ต่อไปนีค้ ือส่ิงทีจ่ ะทาให้รูว้ า่ ทั้งบรรทดั ฐานทางวัฒนธรรม
ของการทางานร่วมกันเป็นทีมและพฤติกรรมสว่ นบคุ คลของการทางานร่วมกันน้นั มคี วามสอดคล้องกัน
อยา่ งไร:

-บคุ คลในทมี ถกู เน้นใหร้ ับขอ้ มูลจากหลายมมุ มอง
-ผนู้ าทมี ของทุกแผนกทาการสอื่ สารและร่วมกันทาหนา้ ทเ่ี ปน็ กล่มุ
-ระดมความคดิ เพ่อื แกไ้ ขปญั หา
-การทางานร่วมกันไดร้ ับผลตอบแทนและถกู วัดในการประเมนิ ประสิทธิภาพ
โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจลักษณะหรือคุณลักษณะของความร่วมมือ ตาม
ทัศนะของ Cran วา่ อยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………................................................
................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

3. Sampson นั ก คิ ด นั ก เ ขี ย น ข อ ง The Michael Sampson Company Limited
กล่าวถึงลักษณะของทักษะความร่วมมือไวว้ ่า “การทางานร่วมกัน หมายถึง คนท่ีทางานกับคนอ่ืน ๆ

212

เพ่ือผลลัพธ์ร่วมกัน” โดยไม่มีการกล่าวถึงเทคโนโลยีในคานยิ ามนเี้ ลย แต่ปัญหาท่ีมีต่อคาจากัดความ
ของฉันข้างตน้ กค็ อื มนั ฟังดกู ว้างมาก ครอบคลมุ ทกุ อยา่ งทเี่ รากระทาต่องานร่วมกบั คนอื่น!

คานิยามล่าสุดจาก Wikipedia สาหรบั การทางานรว่ มกนั (ซงึ่ ถูกอ้างอิงบอ่ ยคร้งั ) เพม่ิ ด้วย
การเกลาสานวนเลก็ นอ้ ยเพอื่ ขจดั ปัญหาที่ว่า “นิยาม-ครอบคลุมทกุ อยา่ ง-แต่-ความหมาย-เหมอื นไม่มี
ความหมาย:

“การทางานร่วมกันเป็นกระบวนการแบบวนซาที่คนหรือองค์กรจานวนสองหรือมากกวา่
ทางานดว้ ยกนั ตรงจุดที่มเี ป้าหมายร่วมกนั -ตวั อยา่ งเช่น ความพยายามทใี่ ช้สตปิ ัญญาที่สร้างสรรค์เป็น
นิสัย-โดยการแบ่งปันความรู้ การเรียนรู้และการสร้างฉันทามติ” (Collaboration is a recursive
process where two or more people or organizations work together in an intersection
of common goals–for example, an intellectual endeavor that is creative in nature)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจลักษณะหรอื คุณลักษณะของความ
รว่ มมอื ตามทัศนะของ Sampson วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

4. Meinert บรรณาธิการบริหารนิตยสาร HR Magazine สหรัฐอเมริกา กล่าวถงึ ลักษณะ
ของทักษะความร่วมมือไว้ว่า "การทางานร่วมกันอย่างมีจุดประสงค์เป็นความพยายามร่วมกันอย่าง
มากของบริษัทต่าง ๆ ในการมุ่งเน้นการทางานร่วมกันในผลลัพธ์ทางธุรกิจ เพ่ือฝึกอบรมบุคคลากร
และผู้จดั การเก่ียวกบั วธิ ีการทางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพและเพ่ือให้ปลอดภัยในการรายงานถึง
การทางานร่วมกันที่มากจนเกินไป" Oakes กล่าว “เราพบว่าองค์กรท่ีมีประสิทธิภาพสูงดาเนินการ
อย่างจริงจังและสรา้ งโปรแกรมทช่ี ว่ ยพัฒนาเทคนคิ การทางานร่วมกัน"

นักวิจัยท่ี I4CP ได้ศึกษาวิธีการทางานร่วมกันขององค์กรมากกว่า 1,100 แห่ง โดยความ
ร่วมมือกับ Rob Cross รองศาสตราจารย์ด้านความเป็นผู้นาระดับโลกที่ Babson College ใน
Babson Park, Massachusetts และผู้ร่วมเขียนบทความหน่ึงใน Harvard Business Review
ประจาปี 2559 เรื่องการทางานร่วมกัน โดยระบุ 4 วิธที ผ่ี ูน้ าในบรษิ ทั ที่มีประสิทธิภาพสูงใช้สร้างความ
ม่ันใจในการทางานร่วมกันทีม่ ีประสิทธผิ ลมากขนึ้ ในองคก์ รดงั นี้ :

1. สรา้ งต้นแบบพฤตกิ รรมการทางานร่วมกนั (Model Collaborative Behaviors)
2. สรา้ งเครอื ข่ายทแ่ี ขง็ แกรง่ (Build Strong Networks)
3. ส่งเสริมการทางานร่วมกันทั่วทั้งองค์กร (Encourage Collaboration Across the

Enterprise)
4. จัดโครงสร้างงานเพ่ือหลีกเล่ียงการทางานมากเกินไป (Structure the Work to Avoid

Overload)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจลกั ษณะหรือคุณลักษณะของความร่วมมือ ตามทศั นะ
ของ Meinert ว่าอยา่ งไร ?

213

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

5. Goman Ph.D.เป็นนักเขียนและนักบรรยายระดับนานาชาติ สหรัฐอเมริกา กล่าวถึง
ลักษณะของทักษะความร่วมมือไว้ว่า การทางานร่วมกันมีความสาคัญมากข้ึนกว่าเดิมใน
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่วุ่นวายในปัจจุบัน ในความเป็นจริง การอยู่รอดอย่างมากของบริษัท อาจ
ขึ้ น อ ยู่ กั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ร ว ม ศั ก ย ภ า พ ข อ ง บุ ค ล า ก ร แ ล ะ คุ ณ ภ า พ ข อ ง ข้ อ มู ล ท่ี มี เ ข้ า กั บ
ความสามารถและความเต็มใจในการแบ่งปันความร้โู ดยตลอดทงั้ องคก์ ร งานวจิ ัยล่าสุดของ Deloitte
ในเรื่อง Future of Work พบว่า 65% ของผู้บริหารระดับสูงที่สารวจ มีวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ใน
การเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรของพวกเขาโดยมุ่งเน้นไปท่ีการเชื่อมโยง การสื่อสาร และการทางาน
ร่วมกัน 1. “ทลาย” การทางานแบบไซโล (Silo “Busting”) 2. การสร้างความไว้วางใจ (Building
Trust) 3.ปรับภาษากายให้สอดคล้อง (Aligning Body Language) 4. ส่งเสริมความหลากหลาย
(Promoting Diversity) 5. การฝึกฝนทักษะด้าน “อารมณ์” ให้คม (Sharpening “Soft” Skills)
6. การสรา้ ง “ความปลอดภัยทางจิตใจ” (Creating “Psychological Safety”)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจลักษณะหรือคุณลักษณะของความร่วมมือ
ตามทัศนะของ Goman ว่าอยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แบบประเมนิ ตนเอง

โปรดทบทวนความรูค้ วามเขา้ ใจของทา่ นอกี คร้งั จากแบบประเมินผลตนเองนี้
1) ทา่ นเข้าใจลักษณะหรือคุณลกั ษณะของคนท่มี ีทักษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ Samdahl
ชดั เจนดีแลว้ หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Samdahl
กล่าวถึงลกั ษณะหรอื คุณลักษณะของคนทมี่ ีทกั ษะความรว่ มมือว่าอยา่ งไร ?
2) ท่านเข้าใจลกั ษณะหรือคุณลกั ษณะของคนท่มี ีทักษะความรว่ มมือตามทัศนะของ Cran
ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหมอ่ กี คร้ัง แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Cran กล่าวถงึ
ลกั ษณะหรือคณุ ลักษณะของคนทีม่ ีทักษะความร่วมมือว่าอย่างไร ?
3) ทา่ นเขา้ ใจลกั ษณะหรือคณุ ลกั ษณะของคนทมี่ ีทกั ษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ Sampson
ชดั เจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ

214

หากยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหมอ่ กี ครงั้ แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Sampson
กลา่ วถึงลักษณะหรอื คณุ ลักษณะของคนทีม่ ีทกั ษะความรว่ มมอื วา่ อย่างไร ?
4) ท่านเข้าใจลกั ษณะหรือคุณลักษณะของคนท่มี ีทักษะความร่วมมือตามทศั นะของ Meinert
ชัดเจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศึกษาใหมอ่ ีกครัง้ แล้วตอบคาถามในใจว่า Meinert
กล่าวถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ ลกั ษณะของคนท่ีมีทักษะความร่วมมอื ว่าอยา่ งไร ?
5) ท่านเข้าใจลักษณะหรอื คุณลกั ษณะของคนที่มีทกั ษะความร่วมมอื ตามทศั นะของ Goman
ชดั เจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศกึ ษาใหมอ่ กี ครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Goman
กลา่ วถงึ ลักษณะหรอื คณุ ลักษณะของคนทม่ี ีทักษะความรว่ มมือว่าอยา่ งไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศกึ ษารายละเอยี ดของแตล่ ะทัศนะจากตน้ ฉบับที่เปน็ ภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เวบ็ ไซต์ของแตล่ ะแหลง่ ได้ ดังนี
1. Samdahl : https://www.i4cp.com/productivity-blog/do-your-business-leaders-

model-collaborative-behaviors
2. Cran : https://nextmapping.com/4-behaviors-of-highly-collaborative-teams/
3. Sampson : https://michaelsampson.net/2010/05/04/collaboration-sense1/
4. Meinert : https://www.shrm.org/hr-today/news/hr-magazine/1117/pages/how-to-

be-a-collaborative-leader.aspx
5. Goman : https://www.forbes.com/sites/carolkinseygoman/2017/07/11/six-crucial-

behaviors-of-collaborative-leaders/?sh=5a75225f8cbe
เอกสารอ้างอิง
Cran, C. (2017). Top 4 behaviors of highly collaborative teams. Retrieved June 26, 2019,

from https://bit.ly/2ygnJ6x
Goman, C.K. (2017). Six crucial behaviors of collaborative leaders. Retrieved June 26,

2019, from https://bit.ly/32TjfAS
Meinert, D. (2017). How to be a collaborative leader. Retrieved June 26, 2019, from

https://bit.ly/2gEZ3fv
Samdahl, E. (2017). Do your business leaders model collaborative behaviors?.

Retrieved June 26, 2019, from https://bit.ly/2LIsGhr
Sampson, M. (2010). Defining collaboration: Collaboration as "human behavior" (sense

1). Retrieved June 26, 2019, from https://bit.ly/2Ywb662

215

5.4 คูม่ ือชุดที่ 4 ทศั นะเก่ียวกบั แนวทางการพฒั นาทักษะความรว่ มมอื

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้

หลังจากการศึกษาคู่มือชุดนแ้ี ล้ว ท่านมพี ฒั นาการดา้ นพทุ ธิพสิ ยั (Cognitive Domain) ซ่งึ
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เก่ียวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมที่
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจา (Remembering) ความเขา้ ใจ (Understanding) การประยกุ ต์ใช้ (Applying) การวเิ คราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดงั นี้

1) บอกคุณสมบัติ จบั คู่ เขยี นลาดับ อธบิ าย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุแนวการ
พัฒนาทักษะความรว่ มมือได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรยี งแนวการพัฒนาทกั ษะความร่วมมอื ได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
แนวการพฒั นาของทักษะความร่วมมอื ได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลแนวการพัฒนา
ทักษะความรว่ มมือได้

5) วดั ผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วจิ ารณ์แนวการพฒั นาทกั ษะความร่วมมือได้
6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการแนวการพัฒนาทกั ษะ
ความร่วมมอื ได้
โดยมแี นวทางการพฒั นาทักษะความรว่ มมือ จากทัศนะทีน่ ามากลา่ วถึงแตล่ ะทัศนะได้ ดงั น้ี
1) แนวทางการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือ ตามทัศนะของ Robinson
2) แนวทางการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Miller
3) แนวทางการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือ ตามทัศนะของ Kashyap
4) แนวทางการพัฒนาทกั ษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ Conlan
5) แนวทางการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทศั นะของ Boyer
6) แนวทางการพัฒนาทักษะความร่วมมือ ตามทัศนะของ Lucco
7) แนวทางการพัฒนาทักษะความร่วมมือ ตามทัศนะของ Stapper
8) แนวทางการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทศั นะของ DeRosa
9) แนวทางการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Bogler
10) แนวทางการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือ ตามทัศนะของ Campbell

คาช้แี จง

1. โปรดศึกษาเนื้อหาเก่ียวกับแนวทางการพัฒนาทักษะความร่วมมือ จากทัศนะที่นามา
กลา่ วถงึ แต่ละทศั นะ โดยแตล่ ะทัศนะท่านจะตอ้ งทาความเขา้ ใจท่ีสามารถอธบิ ายกับตัวเองได้ว่า เขา
ให้แนวทางการพัฒนาว่าอย่างไร

216

2. หลงั จากการศกึ ษาเน้อื หาแตล่ ะทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีกคร้ัง
จากแบบประเมนิ ผลตนเองในตอนท้ายของค่มู ือ

3. เน้ือหาเกย่ี วกับแนวทางการพฒั นาทกั ษะความร่วมมอื จากทัศนะทนี่ ามากล่าวถึงแต่ละ
ทัศนะมีแหล่งอา้ งองิ ตามท่ีแสดงไวใ้ นตอนท้ายหลังของแบบประเมินผลตนเอง หากท่านตอ้ งการศึกษา
รายละเอียดของทศั นะเหลา่ น้นั ซง่ึ ตน้ ฉบับเปน็ บทความภาษาอังกฤษ ทา่ นสามารถจะสบื ค้นตอ่ ได้จาก
เวบ็ ไซตท์ ี่ระบุไวใ้ นแหลง่ อา้ งอิงนน้ั ๆ

ทศั นะเกย่ี วกบั แนวทางการพัฒนาทักษะความร่วมมอื

1. Robinson เป็นนักจิตวิทยาธุรกิจและโค้ชผู้บริหาร บริษัท Seattle กล่าวถึงแนวทาง
พัฒนาทักษะความร่วมมือไว้ว่า ผู้บริหารมีหน้าที่ทาให้ทีมทางานเสร็จทันเวลาให้บริการหรือ ทาให้
บริษัทดาเนนิ การไปตามเป้าหมาย การจะทาให้สิ่งตา่ ง ๆ งานราบร่ืน จาเปน็ ต้องรู้ปญั หาที่เกิดข้ึนของ
งานแต่ละแผนก แต่การลงไปจัดการกับเร่ืองเล็กน้อย และการช้ีนาท่ีมากเกินไปมักส่งผลไม่ดีต่อ
ผลิตผลและเปา้ หมายสว่ นใหญ่ขององค์กร การจะให้งานสาเร็จตอ้ งประกอบด้วย

1) สร้างสภาพแวดล้อมแห่งการร่วมมือภายในทีม (Creating a Collaborative Team
Environment) กาหนดบทบาทให้ชัดเจน (Establish Roles Clearly) ชัดเจนเกี่ยวกับเป้าหมายของ
ทีมและบริษัท (Be Clear on the Team and Company Goals) พัฒนาความเช่ือม่ัน (Develop
Trust) คาดหวงั การสื่อสารแบบไม่มขี ้อจากดั (Expect Open Communication)

2) หลีกเลยี่ งความสมั พนั ธท์ ่มี ากกว่าผู้รว่ มงาน (Avoid Crossing the “Just a Coworker”
Line)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจแนวทางพัฒนาทักษะความรว่ มมอื
ตามทัศนะของ Robinson วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

2. Miller ศาสตราจารย์ด้านการแพทย์ระบาดวิทยาและสาธารณสุข University of
Maryland กล่าวถึงแนวทางพัฒนาทกั ษะความร่วมมือไว้วา่ การทางานรว่ มกนั เปน็ เหมอื นฟันเฟืองใน
เคร่ืองยนต์ของทีม แนวทางท่ีทีมบรรลุเป้าหมายเป็นเคร่ืองแสดงให้เห็นว่าพวกเขาส่ือสารกันได้ดี
เพียงใด รวมถงึ การตอบโตก้ ับปญั หาเพื่อบรรลุเป้าหมาย ทั้งหมดนม่ี ันเกี่ยวขอ้ งกบั พฤติกรรม คุณต้อง
แสดงให้เห็นว่าทีมน้ันมีคุณค่า การสื่อสารน้ันจึงมีความสาคัญอย่างมากสามารถวัดผลงานแบบเป็น
รปู ธรรมไดด้ ว้ ย

วิธีที่ชัดเจนจะสามารถรักษาประสิทธิภาพระดับสูงไว้ได้ หรือจะสร้างวิธีการเพ่ิมเติมเพื่อให้ทมี
ทางานรว่ มกันได้ และ 5 ขอ้ ต่อไปนีเ้ ปน็ ส่ิงทีค่ วรพจิ ารณาในฐานะผู้นาทมี

1. เปดิ ช่องทางการสื่อสาร (Open Communication Lines)
2. พยายามทาใหร้ ถู้ งึ มุมมองส่วนบุคคล (Dive into Individual Perspectives)
3. มีความรบั ผดิ ชอบ (Expect Accountability)

217

4. ทาให้การทางานเป็นส่วนหน่ึงของการขับเคลื่อนทีม (Make Collaboration a Part of
Your Team Dynamic)

5. กาหนดมติและความรว่ มมือ (Define Consensus and Collaboration)
โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจแนวทางพฒั นาทักษะความรว่ มมือ ตาม
ทัศนะของ Miller วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………..............................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

3. Kashyap กอ่ ต้งั และซีอโี อของ ProofHub กล่าวถึงแนวทางพัฒนาทกั ษะความร่วมมือ
ไวว้ ่า การจะสรา้ งการเติบโตของทีมที่ทางานรว่ มกันได้อย่างไร สงิ่ ทค่ี วรทาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพให้กับทีม
ทีท่ างานร่วมกัน นค่ี อื เคล็ดลับในการสร้างสถานทที่ างานรว่ มกันเพ่อื ทางานท่ียากขนึ้

ขนั้ ตอนท่ี 1: หาจดุ แข็งของแตล่ ะคน (Identify Their Individuals’ Strengths)
ขั้นตอนที่ 2: สร้างความคาดหวังที่เปน็ ไปได้จรงิ และชี้แจงเป้าหมาย (Establish Realistic
Expectations & Clarify Goals)
ข้ันตอนท่ี 3: เครือ่ งมอื ช่วยการทางานรว่ มกัน (Collaboration Tools)
ขนั้ ตอนที่ 4: ส่งเสรมิ การเปดิ ใจ (Encourage Open-Mindedness)
ข้นั ตอนที่ 5: ให้รางวลั กับนวัตกรรม (Reward Innovation)
ขั้นตอนท่ี 6: ฉลองความสาเร็จของทีมให้ผู้คนรับรู้ (Celebrate Teams Success
Publicly)
ขน้ั ตอนท่ี 7: สนับสนนุ ชมุ ชนทเ่ี ข้มแขง็ (Support a Strong Sense of Community)
ขั้นตอนที่ 8: กระจายการมอบหมายหนา้ ท่ี (Spread the Delegation of Tasks)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวทางพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือ ตามทศั นะ
ของ Kashyap วา่ อยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………..............................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

4. Conlan ผู้เช่ียวชาญด้านสถิติ กล่าวถึงแนวทางพัฒนาทักษะความร่วมมือไว้ว่า
“วัฒนธรรมการทางานรว่ มกันท่ียอดเย่ียมสามารถสร้างสภาพแวดล้อมท่ีผู้คนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
โดยคนเหล่านั้นต้องการสร้าง ‘สมองส่วนกลาง’ ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีความคิดดี ๆ ของแต่ละบุคคลมารวมกนั
คาพูดนี้กล่าวโดย Thea Spitzer ผู้เขียนหนังสือ “พลังแห่งความร่วมมือ : ข้อมูลเชิงลึกจาก Silicon
Valley สู่การเติบโตของกลุ่มคนท่ีประสบความสาเร็จเสริมสร้างพนั ธมิตร และเพิ่มศักยภาพของทีม”
“สิ่งที่สาคัญที่สุดคอื การทางานรว่ มกัน เมือ่ ทาได้ดจี ะช่วยเพิ่มความต่นื เต้นให้คนทางาน และจะทาให้
ผู้คนรู้สึกว่าไม่ได้ปฏิบัติตามใคร จนนาไปสู่ความมุ่งมั่น” นี่คือข้อมูลเชิงลึกในการสร้างวัฒนธรรมการ
ทางานรว่ มกัน

218

1. กาหนดว่าการ ทาง านร่ว มกัน มีความหมายต่อ คุณอย่างไร ( Define What
Collaboration Means to You)

2. กาจัดอปุ สรรคในการทางานกลมุ่ (Clear Out Obstacles to Group Work)
3. เสริมสรา้ งจิตวญิ ญาณแห่งความไวว้ างใจ (Foster a Spirit of Trust)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวทางพัฒนาทักษะความร่วมมือ ตาม
ทัศนะของ Conlan วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………..............................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

5. Boyer ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณฑ์และการตลาด NUTCACHE กล่าวถึงแนวทางพัฒนา
ทักษะความร่วมมือไว้ว่า การส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทางานท่ีดี และนั่นส่งผลถึงความพงึ พอใจ
ในการทางานด้วย แตม่ นั ก็เป็นงานทีท่ า้ ทายเพราะการเสริมสภาพแวดลอ้ มแห่งการทางานร่วมกันเป็น
การเปลี่ยนวิธีการคิด และกระบวนทัศน์ จากเดิมที่มุ่งเน้นความสาเร็จส่วนบุคคล เปลี่ยนเป็นมุ่งเน้น
ความสาเร็จของทีม เคล็ดลับต่อไปน้ีจะช่วยเสริมความสามารถขององค์กรในการทางานท่ีซับซ้อน
ย่งิ ข้ึน

1. สนับสนุนการเป็นผ้นู า (Provide Leadership Support)
2. ตง้ั กฎพน้ื ฐานขน้ึ มา (Set Ground Rules)
3. สร้างความคาดหวังที่เป็นไปได้จริงและชี้แจงเป้าหมายให้ชัดเจน (Establish Realistic
Expectations & Clarify Goals)
4. การจัดระเบยี บกระบวนการ (Organize the Process)
5. สร้างความเชือ่ มน่ั (Build Trust)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวทางพัฒนาทักษะความร่วมมือ ตาม
ทศั นะของ Boyer วา่ อยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………..............................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

6. Lucco ผู้อานวยการ Clear Point Strategy สหรัฐอเมริกา กล่าวถึงแนวทางพัฒนา
ทกั ษะความร่วมมือไว้ 8 วิธกี ารทางานร่วมกนั ใหป้ ระสบความสาเรจ็

1. ลงทนุ ในการสรา้ งรูปแบบของความสัมพนั ธ์ในทีม (Invest in Signature Relationship
Practices)

2. ตน้ แบบการสร้างพฤตกิ รรมการทางานรว่ มกัน (Model Collaborative Behavior)
3. สร้าง "วฒั นธรรมการให้ของขวัญ" (Create a "Gift Culture")
4. เนน้ ในทักษะทจี่ าเป็น (Ensure the Requisite Skills)

219

5. สนับสนนุ ชมุ ชนทีเ่ ข้มแขง็ (Support a Strong Sense of Community)
6. มอบงานให้หัวหน้าทีมที่เน้นผลงานและมุ่งเน้นการสร้างความสัมพนั ธ์ (Assign Team
Leaders That are Both Task-Oriented and Relationship-Oriented)
7. สร้างการเก็บสะสมความสัมพันธ์ (Build on Heritage Relationships)
8. เข้าใจบทบาทอย่างชัดเจนและความไม่ชัดเจนของงานบางส่วน (Understand Role
Clarity and Task Ambiguity)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวทางพัฒนาทักษะความร่วมมือ ตาม
ทัศนะของ Lucco ว่าอยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………..............................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

7. Stapper CEO ของบริษัท Nonstop Signs กล่าวถึงแนวทางพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือไว้ว่า เคล็ดลับสาหรับสรา้ งทมี เพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพในการทางานของธรุ กจิ ประกอบดว้ ย

1. แบ่งปนั วิสยั ทศั น์ (Share a Vision)
2. อธบิ ายความคาดหวังตั้งแต่เร่ิมตน้ (Set Expectations Early)
3. สร้างตัวชว้ี ัดความสาเรจ็ (Establish Metrics)
5. ใชป้ ระโยชน์จากจดุ แข็ง (Capitalize on Strengths)
6. สง่ เสริมแนวคิดใหม่ ๆ (Encourage New Ideas)
7. สรา้ งกลุ่มงานขา้ มสายงาน (Create Cross-Functional Work Groups)
8. รกั ษาสญั ญา (Keep Your Promises)
9. สร้างความสมั พนั ธ์แบบทีมหลงั เลิกงาน (Build Team Relationships After Work)
10. ฉลองความสาเร็จของการทางานร่วมกนั (Celebrate Collaboration)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวทางพัฒนาทักษะความร่วมมือ
ตามทัศนะของ Stapper วา่ อยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………..............................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
8. DeRosa ผู้จัดการ บริษัท OnPoint Consulting Darleen กล่าวถึงแนวทางพัฒนา
ทักษะความร่วมมือไว้ว่า ความร่วมมือในทีม กลายเป็นหนึ่งในตัวขับเคล่ือนหลักสาหรับนวตั กรรมใน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ วิธีการคือการแบ่งปันแนวคิดและทางานร่วมกันเพอ่ื พัฒนาแนวทางแก้ไขปัญหา
เฉพาะ ทีมแสดงให้เห็นว่าพวกเขามีความสามารถในการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและใช้
ประโยชนจ์ ากทรัพยากรได้หลากหลาย เหมาะสาหรับความท้าทายทางธุรกิจที่หลากหลายในปจั จุบนั
โดยมีแนวทางการพัฒนาดังนี้
1. นาทีมงานเข้าร่วมการคัดเลือกพนักงานใหม่ (Involve Your Team in Hiring)

220

2. มีความโปรง่ ใส (Be Transparent)
3. ใชท้ ีมขา้ มสายงาน (Implement Cross-Functional Teams)
4. คดิ ทบทวนเกีย่ วกับสภาพแวดลอ้ ม (Think About Your Environment)
5. สนบั สนนุ ทมี งานทร่ี ่วมงานกนั ได้ดี (Encourage Cohesive Teams)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวทางพัฒนาทักษะความร่วมมือ
ตามทศั นะของ DeRosa วา่ อยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

9. Bogler ผู้กอ่ ต้ังและ CEO ของบรษิ ทั Project Pals Miriam Bogler กลา่ วถึงแนวทาง
พัฒนาทักษะความรว่ มมือไว้ว่า โรงเรียนใช้การเรียนรู้ท่ีเนน้ โครงการเป็นหลัก แม้ว่ามันอาจดูเหมือน
เป็นแค่กระแส แต่ก็เกิดขึ้นจากการพฒั นาวิธกี ารสอนในช่วง15 ปีที่ผ่านมา ซ่ึงเปล่ียนจากวิธีการสอน
แบบเฉ่ือยชาในรูปแบบเดิม ๆ กลายเป็นผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ข้ึนเอง ซ่ึงวิธีน้ี
เปล่ียนแปลงรูปแบบการสอนไปตลอดกาล แต่การปฏิบัติจริงน้ันทาได้ยากเนื่องจากเหตุผลหลาย
ประการ อย่างเช่นการทาอย่างไรให้ครูและนักเรียนปรับวิธีการเรียนการสอนแบบใหม่น้ี แม้แต่
โรงเรียนท่ีมีความพร้อมในด้านทรัพยากรในระดบั สูงก็ล้มเหลวในการจัดโครงการต่าง ๆ หากโรงเรียน
และครูไม่ได้เตรียมการเพื่อให้นกั เรยี นได้ทางานร่วมกัน ความสาเร็จของการจัดการเรียนรแู้ บบมีสว่ น
รว่ ม จะต้องประกอบดว้ ย

1. ก า ร ส ร้ า ง ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ก า ร ท า ง า น ร่ ว ม กั น ( Creating a Collaborative
Environment)

2. ขอ้ ควรพิจารณาในการสรา้ งกลุ่ม (Group Forming Considerations)
3. การพัฒนาทักษะความรว่ มมอื (Developing Collaborative Skills)
4. วิธแี ก้ปัญหาที่เกดิ จากการทางานรว่ มกัน (How to Solve Collaboration Problems)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวทางพัฒนาทักษะความร่วมมือ ตาม
ทัศนะของ Bogler ว่าอย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

10. Campbell นักจิตวิทยา กลา่ วถึงแนวทางพฒั นาทักษะความร่วมมือไว้วา่ การทางาน
ร่วมกัน (Collaboration) เป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างธุรกิจขนาดเล็ก ทีมงานพัฒนางานได้ดีใน
สภาพแวดล้อมท่ที าใหพ้ วกเขาสามารถสื่อสารและทางานรว่ มกนั เมอ่ื สภาพแวดล้อมของบรษิ ัทมงุ่ เน้น
ไปทีก่ ารทางานร่วมกนั สมาชกิ ในทีมจะรสู้ ึกว่าตนเองเป็นสว่ นหนึ่งของบางสิ่งทีย่ ่งิ ใหญม่ ากกวา่ ตัวพวก
เขา วิธีท่ีดีในการเปลี่ยนจากการที่พวกเขาทางานคนเดียวเป็นทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม คือการจัดให้
สมาชิกแตล่ ะคนร่วมในงานกลมุ่ นีค่ อื วธิ ีงา่ ย ๆ ในการฝึกฝนการทางานรว่ มกันภายในทีม

221

1. สรา้ งเหตุผลท่ีชดั เจนและมีความน่าสนใจ (Create a Clear and Compelling Cause)
2. สอ่ื สารกบั สมาชิกเกย่ี วกบั ความคาดหวงั (Communicate Expectations)
3. กาหนดเป้าหมายของทีม (Establish Team Goals)
4. ใช้ประโยชนจ์ ากจุดเข็งของสมาชกิ ในทีม (Leverage Team-Member Strengths)
2. ส่งเสริมการทางานร่วมกนั ระหวา่ งสมาชิกในทมี (Foster Cohesion Between Team

Members)
3. สง่ เสรมิ นวัตกรรม (Encourage Innovation)
4. รักษาสญั ญาและใหเ้ กยี รติกับการร้องขอ (Keep Promises and Honor Requests)
5. ส่งเสริมให้เข้าสังคมนอกท่ีทางาน (Encourage People to Socialize Outside of

Work)
6. มีการรับรู้ ให้รางวัล และฉลองให้กับพฤติกรรมการทางานร่วมกัน (Recognize,

Reward and Celebrate Collaborative Behavior)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวทางพัฒนาทักษะความร่วมมือ ตาม
ทัศนะของ Campbell ว่าอย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

แบบประเมินตนเอง

โปรดทบทวนความร้คู วามเขา้ ใจของท่านอกี ครั้งจากแบบประเมนิ ผลตนเองน้ี
1) ท่านเขา้ ใจแนวทางพฒั นาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทศั นะของ Robinson ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่

[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหมอ่ ีกครง้ั แล้วตอบคาถามในใจว่า S Robinson กล่าวถึง

แนวทางพัฒนาทกั ษะความร่วมมือวา่ อยา่ งไร ?
2) ทา่ นเข้าใจแนวทางพัฒนาทักษะความรว่ มมือตามทัศนะของ Miller ชดั เจนดีแล้วหรือไม่

[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศกึ ษาใหม่อีกคร้งั แล้วตอบคาถามในใจว่า Miller กล่าวถึงแนวทาง

พัฒนาทักษะความรว่ มมอื ว่าอยา่ งไร ?
3) ท่านเขา้ ใจแนวทางพัฒนาทกั ษะความร่วมมอื ตามทศั นะของ Kashyap ชัดเจนดแี ล้วหรอื ไม่

[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Kashyap กล่าวถึง

แนวทางพัฒนาทกั ษะความรว่ มมือว่าอย่างไร ?
4) ท่านเข้าใจแนวทางพฒั นาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Conlan ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ

222

หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Conlan กล่าวถึง
แนวทางพฒั นาทักษะความร่วมมือว่าอย่างไร ?

5) ท่านเข้าใจแนวทางพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Boyer ชัดเจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชัดเจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อกี ครงั้ แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Boyerกลา่ วถงึ แนวทาง

พฒั นาทักษะความร่วมมอื วา่ อย่างไร ?
6) ทา่ นเข้าใจแนวทางพัฒนาทกั ษะความร่วมมือตามทศั นะของ Lucco ชดั เจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อกี ครงั้ แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Lucco กล่าวถึงแนวทาง

พัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื วา่ อยา่ งไร ?
7) ทา่ นเข้าใจแนวทางพฒั นาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Stapper ชดั เจนดีแลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Stapper กล่าวถึง

แนวทางพัฒนาทกั ษะความร่วมมอื ว่าอยา่ งไร ?
8) ทา่ นเขา้ ใจแนวทางพฒั นาทักษะความรว่ มมือตามทศั นะของ DeRosa ชดั เจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า DeRosaกล่าวถึง

แนวทางพัฒนาทักษะความร่วมมอื วา่ อย่างไร ?
9) ทา่ นเข้าใจแนวทางพัฒนาทักษะความรว่ มมือตามทัศนะของ Bogler ชัดเจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคาถามในใจว่า Bogler กล่าวถึง

แนวทางพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื ว่าอย่างไร ?
10) ท่านเขา้ ใจแนวทางพัฒนาทักษะความร่วมมือตามทศั นะของ Campbell ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Campbell กล่าวถึง

แนวทางพัฒนาทกั ษะความร่วมมือว่าอย่างไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอยี ดของแตล่ ะทัศนะจากตน้ ฉบับที่เป็นภาษาองั กฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เว็บไซตข์ องแตล่ ะแหลง่ ได้ ดงั นี

1. Robinson : http://leadershipconsulting.com/how-to-create-a-collaborative-
approach-at-work/

2. Miller : https://emergenetics.com/blog/team_collaboration/
3. Kashyap : https://www.proofhub.com/articles/collaborative-working-

environment
4. Conlan : https://www.digbusinesslearning.com/how-to-build-a-collaborative-

workplace-culture/

223

5. Boyer : https://www.mikogo.com/2015/07/15/building-collaborative-team/
6. Lucco : https://www.clearpointstrategy.com/how-to-build-successful-teams/
7. Stapper :https://www.forbes.com/sites/forbesagencycouncil/2018/10/18/nine-

ways-to-build-a-more-collaborative-team/?sh=256bea65355e
8. DeRosa : https://www.business2community.com/leadership/how-to-build-a-

culture-of-collaboration-02134227
9. Bogler : https://www.projectpals.com/project-based-learning-blog/how-to-

improve-students-collaboration-skills
10. Campbell : https://www.entrepreneur.com/article/302126
เอกสารอ้างองิ
Bogler, M. ( 2 0 1 6 ) . How to improve student collaboration skills. Retrieved August 8,

2019, from https://bit.ly/2ZIL2SF
Boyer, S. ( 2 0 1 5 ) . 5 Tips to building a collaborative team. Retrieved August 5, 2019,

from https://bit.ly/1N2ePvd
Campbell, S. ( 2 0 1 7 ) . 10 Simple ways to build a collaborative, successful work

environment. Retrieved August 5, 2019, from https://bit.ly/2fTWHMZ
Conlan, C. (2018). How to build a collaborative workplace culture. Retrieved August

8, 2019, from https://bit.ly/2YuEuum
DeRosa, D. (2018). How to build a culture of collaboration. Retrieved August 8, 2019,

from https://bit.ly/2qLohOk
Kashyap, S. (2018). 8 Steps to collaboration to work in a collaborative environment.

Retrieved August 5, 2019, from https://bit.ly/2yG15F8
Lucco, J. ( 2 0 1 9 ) . How to build successful teams with 8 collaborative approaches.

Retrieved August 8, 2019, from https://bit.ly/2yIRcXf
Miller, M. (2014). 5 Ways to foster increased team collaboration. Retrieved August 8,

2019, from https://bit.ly/2ZJF9EP
Robinson, C. (2019). How to create a collaborative approach at work. Retrieved August

8, 2019, from https://bit.ly/2KlFQ1H
Stapper, B. (2018). Nine ways to build a more collaborative team. Retrieved August 5,

2019, from https://bit.ly/2GMutxO

224

5.5 คมู่ ือชดุ ที่ 5 ทศั นะเก่ียวกบั ข้นั ตอนในการพฒั นาทักษะความรว่ มมือ

วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้

หลงั จากการศกึ ษาคู่มือชุดนี้แล้ว ทา่ นมพี ฒั นาการดา้ นพทุ ธพิ ิสัย (Cognitive Domain) ซึ่ง
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ี
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดข้ันต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า ดังน้ี คือ
ความจา (Remembering) ความเขา้ ใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดังนี้

1) บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุขั้นตอน
การพัฒนาทกั ษะความร่วมมือได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรียบเรียงข้ันตอนการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เช่ือมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
ข้ันตอนการพฒั นาทกั ษะความร่วมมอื ได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลขั้นตอนการพฒั นา
ทักษะความรว่ มมือได้

5) วัดผล เปรียบเทียบ ตีคา่ ลงความเห็น วิจารณ์ข้นั ตอนการพฒั นาทักษะความร่วมมอื ได้
6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการข้ันตอนการพัฒนา
ทกั ษะความร่วมมือได้
โดยมีขั้นตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมือ จากทัศนะท่ีนามากล่าวถึงแต่ละทัศนะได้
ดงั นี้
1) ขน้ั ตอนในการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Weaver
2) ข้ันตอนในการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทศั นะของ Collaborative Outcomes
Inc
3) ข้ันตอนในการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื ตามทศั นะของ Linton
4) ขั้นตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมือ ตามทศั นะของ Team
5) ขั้นตอนในการพฒั นาทกั ษะความร่วมมือ ตามทศั นะของ Madsen

คาชีแ้ จง
1. โปรดศกึ ษาเนื้อหาเก่ียวกับขัน้ ตอนในการพัฒนาทักษะความรว่ มมอื จากทศั นะท่ีนามา

กลา่ วถงึ แตล่ ะทัศนะ โดยแตล่ ะทัศนะท่านจะตอ้ งทาความเข้าใจท่ีสามารถอธบิ ายกับตัวเองไดว้ ่า เขา
ให้ขั้นตอนการพัฒนาว่าอย่างไร

2. หลงั จากการศกึ ษาเน้ือหาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเขา้ ใจของทา่ นอีกครั้ง
จากแบบประเมนิ ผลตนเองในตอนท้ายของคู่มอื

225

3. เนื้อหาเกี่ยวกับขั้นตอนในการพฒั นาทักษะความร่วมมือ จากทัศนะที่นามากล่าวถงึ แต่
ละทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังของแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการ
ศกึ ษารายละเอียดของทัศนะเหล่านน้ั ซงึ่ ต้นฉบบั เปน็ บทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะสืบค้นต่อ
ไดจ้ ากเว็บไซต์ท่รี ะบุไวใ้ นแหลง่ อ้างองิ น้ัน ๆ

ทัศนะเกี่ยวกับขน้ั ตอนในการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมือ

1. Weaver CEO และผนู้ าเชงิ กลยุทธศ์ นู ย์การเรียนรู้ Tamarack กล่าวถึงขนั้ ตอนในการ
พัฒนาทกั ษะความรว่ มมือไว้ 6 ขั้นตอนในการพฒั นาวฒั นธรรมการทางานรว่ มกนั และสรา้ งทีมอันทรง
ประสิทธภิ าพภายในองคก์ รไวด้ ังนี้

1. ทาความรจู้ ักกับทมี ของคณุ (Get to know your team)
2. สร้างภาวะผนู้ า (Establish leadership)
3. จดั กิจกรรมสรา้ งความผกู พันในทีม (Organize team bonding activities)
4. วางแผนไปพร้อมกบั สมาชกิ ในทมี (Plan along with the team)
5. ชนื่ ชมเมือ่ ประสบความสาเร็จ (Celebrate victories)

6. เรยี นรู้จากความลม้ เหลวไปพรอ้ มกัน (Learn together from failures)
โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจขันตอนในการพัฒนาทักษะความ
รว่ มมอื ตามทัศนะของ Weaver วา่ อยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

2. Collaborative Outcomes Inc เว็บไซต์เกีย่ วกับการฝกึ ทกั ษะความรว่ มมอื กล่าวถึง
ขนั้ ตอนในการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื ไว้ 7 ขนั้ ตอนในการสรา้ งทกั ษะการทางานร่วมกันว่า ขน้ั ตอน
เหลา่ นี้คือสตู รสาเร็จในการสร้างสิง่ แวดล้อมทด่ี ีการทางานร่วมกนั เพอื่ บรรลเุ ป้าหมายท่ีมีรว่ มกนั หรือ
อาจนาขั้นตอนเหลา่ นไ้ี ปใชใ้ นการพัฒนาเปา้ หมายเฉพาะทางให้กับทมี

1. การสร้างกลยุทธ์ทางธรุ กิจรว่ มกันและเป้าหมายท่มี รี ่วมกนั (Collaborative Business
Strategy and Shared Goal)

2. การสร้างกระบวนการประชุมทเ่ี ต็มไปดว้ ยพลังแห่งการทางานร่วมกนั (Collaborative
Team Dynamics Meeting Process)

3. การส่งเสริมการทางานรว่ มกนั ภายในองค์กร (Inner Collaboration Work)
4. การส่งเสริมทักษะการทางานรว่ มกัน (Collaboration Skills)
5. การสร้างความสัมพันธ์แห่งการทางานร่วมกันภายในทีม (Collaborative Team
Relationships)
6. การสง่ เสรมิ ทักษะการเป็นผู้นารว่ มกัน (Collaborative Leadership Skills)
7. การสรา้ งกลยุทธ์ด้านผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย (Stakeholder Strategy


Click to View FlipBook Version