The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-08-03 13:01:58

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

276

Rovinelli, R.J., & Hambleton, R.K. (1977). On the use of content specialists in the
assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of
Educational Research, 2, 49-60.

Ryan, O. (2018). The importance of collaboration skills in the workplace. Retrieved
June 18, 2019, from https://bit.ly/2Fq5hNs

Samdahl, E. (2017). Do your business leaders model collaborative behaviors?.
Retrieved June 26, 2019, from https://bit.ly/2LIsGhr

Sampson, M. (2010). Defining collaboration: Collaboration as "human behavior" (sense
1). Retrieved June 26, 2019, from https://bit.ly/2Ywb662

Seyfarth, J.T. (1999). The Principal: New leadership for new challenges. NJ: Prentice
Hall.

Shulman, L.S. (1986). Those who understand: Knowledge growth in teaching.
Educational Researcher, 15(2), 4–14.

Smart Sheet (2019). How workplace collaboration can change your company.
Retrieved June 21, 2019, from https://bit.ly/2PzHb9r

Smith, D. C., & Neale, D. C. (1991). The construction of subject-matter knowledge in
primary science teaching. In J. Brophy (Ed.), Advances in Research on
Teaching. (Vol. 2, pp. 187-244). Greenwich, CT: JAI Press.

Speck, M. (1999). The principalship: Building a learning community. NJ: Prentice Hall.
Stapper, B. (2018). Nine ways to build a more collaborative team. Retrieved August 5,

2019, from https://bit.ly/2GMutxO
Target Jobs. (n.d.). Education administrator: job description. Retrieved from

https://targetjobs.co.uk/careers-advice/job-descriptions/education-
administrator-job-description
Team, T. (2017). 7 Steps to successful collaboration between you and your

stakeholders. Retrieved August 24, 2020, from https://bit.ly/2FPBS1D
The Organisation for Economic Co-operation and Development. (2013). PISA 2012

Results: What Makes Schools Successful? Resources, Policies and Practices,
PISA: OECD Publishing.
The Supportive Classroom (n.d.). Collaborative skills. Retrieved September 5, 2019,
from https://bit.ly/2lxAPcI

277

The Teachers Council of Thailand. (n.d.). Educational professional standards.
Retrieved from https://maekongwa.thai.ac/client-
upload/maekongwa/download/.pdf

Thesis Thailand. (2020, November 19). ความหมายของ t-test Dependent และ t-test

Independent. Retrieved October 22, 2021 from https://bit.ly/2Zec0Xa
Turner, R. & Carlson, L.A. (2003). Indexes of item-objective congruence for

multidimensional items. International Journal of Testing 3(2):163-171.
DOI:10.1207/S15327574IJT0302_5
Ubben, G.C., Hughes, L.W., & Norris, C.J. (2001). The principal: Creative leadership for
effective schools. 4th edition. Boston: Allyn and Bacon.
UCLA: Statistical Consulting Group. (2016, August 22). What Does Cronbach’s Alpha
Mean?. Retrieved June 30, 2021 from https://bit.ly/2XO0gKA
University of Bridgeport. (2022, May 19). What does an education administrator do?
Retrieved from https://www.bridgeport.edu/news/what-does-an-education-
administrator-do/
Valdellon, L. (2017). 11 Key business benefits of team collaboration (& why you should
work on your teamwork). Retrieved June 21, 2019, from https://bit.ly/2ocs3hI
Van Driel J. H., & Berry A. (2002). Teacher professional development focusing on
pedagogical content knowledge. Educational Researcher, 41(1), 26-28.
Weaver, L. (2018). Collaborative Leadership Self-Assessment Tools. Retrieved July 20,
2020, from https://bit.ly/31MALsC
Wisdom Max Center Company Limited (2015). การเรยี นร้แู บบผู้ใหญ่ (Adult learning) คือ
อะไร มหี ลกั การอย่างไร. Retrieved June 19, 2021, from https://bit.ly/2ZmQLT3
Zahid, A. (2018). What are collaboration skills?. Retrieved June 10, 2019, from
https://bit.ly/2XPRo0I

ภาคผนวก

279

ภาคผนวก ก
รายชือ่ และสถานภาพของครทู เ่ี ป็นกลมุ่ เปา้ หมายในการตรวจคมู่ อื คร้งั ท่ี 1

โรงเรียนประภสั สรวิทยา วัดศรีนวล 280

ท่ี ช่อื -ชอ่ื สกลุ วชิ าท่สี อน ชน้ั ที่สอน
ม.3
1 พระครูสุตธรรมวจิ ารณ์ ภาษาบาลี ม.1

2 พระมหาสมคิด สนตฺ จิตฺโต วนิ ัยบัญญัติ ม.2, ม.6
ม.4-6
3 พระมหานวน สญฺญโม ภาษาบาลี ม.2, ม.3
ม.1, ม.2
4 พระครูสมุห์กรกช สริ ภิ ทฺโท การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
ม.4, ม.6
5 พระมหาพงษเ์ พช็ ร วชริ เมธี กระทธู้ รรม ม.4, ม.6
ม.4 - 6
6 พระฉตั รชยั จนฺทปตุ ฺโต สังคมศกึ ษา

7 พระมหาภานุวฒั น์ สิทฺธิเมธาวี ภาษาบาลี

8 นายสมาน แวน่ แก้ว ภาษาไทย

9 นายธนาคร ทองอ้ม กระทู้ธรรม

10 นายธนวฒั น์ แสนคาวงษ์ ภาษาอังกฤษ

281

ภาคผนวก ข
หนงั สอื ของบณั ฑิตวทิ ยาลยั เพื่อขอความรว่ มมอื จากครูที่เปน็ กลุ่มเปา้ หมายใน

การตรวจคูม่ ือ คร้งั ที่ 1

282

283

284

ภาคผนวก ค
รายชือ่ และสถานภาพของครทู ี่เป็นกลมุ่ เปา้ หมายในการตรวจคมู่ อื คร้งั ท่ี 2

โรงเรียนบาลสี าธิตศกึ ษา วัดเขตอุดม 285

ท่ี ช่ือ-ช่ือสกุล วิชาทสี่ อน ช้ันท่สี อน
ม.1-3
1 นายประพนั ธ์ สขุ จะชารี สังคมศึกษา ม.1-3
ม.1-3
2 นายนันทวัฒน์ พันนารตั น์ ภาษาบาลี ม.1-3
ม.1-3
3 พระครสู ุจิตธรรมานนั ท์ ภาษาไทย ม.1-3
ม.1-3
4 พระมหานวนิ ฐานวโร สุขศกึ ษา ม.1-3

5 นายธรี ะวิทย์ ยาทองไชย วิทยาศาสตร์ ชั้นทส่ี อน
ม.1-6
6 น.ส.วนดิ า โกศิลา การงานอาชพี ม.1-6
ม.1-6
7 น.ส.ศิริกลั ยา องอาจ คณิตศาสตร์ ม.4-6
ม.4-6
8 นายเอกรฐั สนุ ทรชัย ภาษาองั กฤษ ม.5-6
ม.4
โรงเรยี นวดั โพธสิ มภาร ม.1-6

ท่ี ชื่อ-ชอ่ื สกุล วิชาที่สอน

1 พระครูประพฒั นธ์ รรมาภรณ์ สุขศกึ ษา

2 พระมหาประทปี อภิวฒโฺ น,ดร. ภาษาบาลี

3 พระมหาสมพงษ์ สุจิตโฺ ต ธรรมะ

4 น.ส.ช่อฤดี โหงษา ฟสิ ิกส์

5 น.ส.สภุ าพร สงิ หมาตย์ ประวตั ศิ าสตร์

6 น.ส.ราไพ แววศรี คณิตศาสตร์

7 นายองอาจ เสาวรยี ์ คณิตศาสตร์

8 น.ส.อรญั ญา พงษไ์ พรตั น์ การงานอาชีพ

286

ภาคผนวก ง
หนงั สอื ของบณั ฑิตวทิ ยาลยั เพื่อขอความรว่ มมอื จากครูที่เปน็ กลุ่มเปา้ หมายใน

การตรวจคูม่ ือ คร้งั ที่ 2

287

288

289

ภาคผนวก จ
รายชอื่ และสถานภาพของผู้ทรงคุณวฒุ ิในการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของ

ขอ้ คาถามกับวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ ในแบบทดสอบครู

290

รายชอ่ื และสถานภาพของผู้ทรงคุณวฒุ ิในการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกบั
วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ ในแบบทดสอบครู

ชอ่ื -ชื่อสกุล คุณวฒุ ิ สถานที่ทางาน

พระครูวิรยิ ปญั ญาภวิ ัฒน์, กศ.ม.(หลกั สูตรและการสอน) ผูอ้ านวยการวทิ ยาลยั สงฆ์

ผศ.ดร. มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม สรุ นิ ทร์

ค.ด.(หลักสตู รและการเรยี นการสอน) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง

มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม กรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขต

สรุ ินทร์

ดร.พินิจ อุไรรกั ษ์ ค.ม.(การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา) ครวู ทิ ยฐานะ ครูชานาญการ

จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิเศษ

ปร.ด.(วจิ ัยการศกึ ษา) กลุ่มสาระการเรียนรู้

มหาวิทยาลัยรามคาแหง วิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี

โรงเรียนลาปลายมาศ

จังหวดั บุรรี ัมย์

ดร.สริ ินันท์ สุรไพฑูรย์ แซ่ผงุ ศศ.ม.(บรรณรักษศาสตร์และสารสนเทศ ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการ

ศาสตร)์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พเิ ศษ

ปร.ด. (หลักสตู รและการสอน) สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ มัธยมศกึ ษา เขต 25

ดร.นัตยา หล้าทนู ธรี กุล ศษ.ม. (หลักสูตรและการเรียนการสอน) ศึกษานิเทศก์ชานาญการ

มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ พิเศษ

ปร.ด. (หลกั สตู รและการเรียนการสอน) สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด

มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ขอนแก่น

ผศ.ดร.จตภุ ูมิ เขตจัตุรัส ค.ม.(การวจิ ัยทางการศึกษา) ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์

ค.ด.(การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา) สาขาวิชาวดั และประเมินผล

จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย การศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแกน่

291

ภาคผนวก ฉ
หนังสอื ของบัณฑติ วทิ ยาลัยเพอ่ื ขอความรว่ มมือจากผ้ทู รงคณุ วุฒเิ พ่อื
ตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกบั วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ ใน

แบบทดสอบครู

292

293

ภาคผนวก ช
แบบตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกบั วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้
(Index of Item-Objective Congruence: IOC) ในแบบทดสอบครู

สาหรบั ผทู้ รงคณุ วุฒิ

294

แบบตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกับวตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้
(Index of Item - Objective Congruence: IOC) ในแบบทดสอบครู

สาหรบั ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ

คาชี้แจง

ในการทาวิจัยเร่ือง “โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะ
ความร่วมมือของนักเรียน” (Online Program to Empower Teachers’ Knowledge to Develop
Students’ Collaborative Skills.) โดยระเบียบวิธีวิจัยและพฒั นา (Research and Development)
ผูว้ ิจัยได้สรา้ ง “แบบทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครเู ก่ียวกบั การพฒั นาทักษะความร่วมมอื ” ข้ึน

โดยแบบทดสอบดังกล่าว มีวัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้ครูมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย
(Cognitive Domain) ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือ
สตปิ ัญญาตามแนวคิดของ Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤตกิ รรมในขอบเขตน้ีออกเปน็ 6 ระดบั
เรียงจากพฤติกรรมท่ีสลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคดิ
ขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้
(Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating)

ผู้วิจัยได้สร้างข้อทดสอบตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 6 ระดับดังกล่าวเป็นแบบปรนัย 4
ตัวเลือก ในเน้ือหาท่ีเขียนไว้ในคู่มือเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเองของครู เก่ียวกับนิยาม ความสาคัญ
คณุ ลักษณะ แนวทางการพฒั นา ขน้ั ตอนการพัฒนา และการประเมินผลทกั ษะความร่วมมือ

จึงใคร่ขอความกรุณาท่านโปรดพิจารณาข้อทดสอบในแบบทดสอบข้างล่าง แล้วทา
เครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ ง +1 หรอื 0 หรอื -1 โดย

+ 1 หมายถงึ ข้อทดสอบมีความสอดคล้องกบั วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้
0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคลอ้ งของข้อทดสอบกับวตั ถุประสงค์การเรยี นรู้
-1 หมายถึง ข้อทดสอบไม่มคี วามสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้
ขณะเดียวกนั ใคร่ขอความกรุณาท่านโปรดให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกบั การใช้ภาษาในขอ้ ทดสอบที่เหน็ ว่า
ไมเ่ หมาะสม ว่าควรปรบั ปรุงแก้ไขเป็นอยา่ งไร

ขอขอบคุณ

พระมหาอาพล ชัยสารี
นักศึกษาปรญิ ญาเอกสาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา

วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ ข้อสอบ

วตั ถุประสงค์การเรียนรเู้ กยี่ วกับนยิ ามของทักษะความรว่ มมือ

ความจา 1) ข้อใดกลา่ วถึงนิยามของทกั ษะความรว่ มมอื ไดถ้ กู ต้อง

ก. การสร้างกาลงั ใจให้ตนเอง

ข. การทางานใหส้ าเรจ็ ด้วยตวั เอง

ค. การจัดการแบบมสี ว่ นรว่ มซึง่ ท้งั สองฝ่ายหรอื มากกวา่ นนั้ *

ง. การสร้างมนษุ ยสมั พันธท์ ่ดี ี

ความเขา้ ใจ 2) ขอ้ ใดอธบิ ายถึงนยิ ามของทักษะความร่วมมือ ทม่ี คี วามชดั เจนมากท่สี ุด

ก. การรักษาความลับขัน้ สดุ ยอด

ข. การทางานร่วมกันเปน็ การทางานต้งั แตส่ องคนข้ึนไปเพื่อใหไ้ ดผ้ ลลัพธท์ ่ีสาเร

ค. การอาศยั ผ้อู ่ืนเพ่อื ทาโครงการใดโครงการหนง่ึ ให้สาเร็จ

ง. การได้รบั ผลประโยชน์ร่วมกนั ระหว่างฝา่ ยใดฝ่ายหนงึ่

การประยุกต์ 3) การสร้างความรักสามัคคีใหเ้ กิดขน้ึ ในหมคู่ ณะตามแนวทางการสรา้ งทักษะค

ขอ้ ใด

ก. การร่วมงานกบั ผู้อ่ืนโดยอาศัยการระดมสมอง*

ข. การวางแผนคิดวเิ คราะหห์ าต้นเหตขุ องปญั หา

ค. การแสดงความคิดเหน็ ในเชิงบวก

ง. การสรา้ งแรงจูงใจ โดยการมอบของรางวลั

การวิเคราะห์ 4) ทัศนะนกั วิชาการ คาวา่ “การจดั การแบบมสี ่วนรว่ ม” ตรงกบั ทกั ษะใดในศ

ก. ทกั ษะด้านการสอ่ื สารสารสนเทศ

ข. ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์

ค. ทกั ษะด้านความรว่ มมือ*

ง. ทกั ษะการเรียนรูแ้ บบชน้ี าตนเอง

ความเห็นของ 295
ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
+1 0 -1 ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรุงแก้ไขภาษา

ร็จตามเป้าหมาย*
ความร่วมมือ ควรปฏิบตั ิตาม

ศตวรรษท่ี 21

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ขอ้ สอบ

การประเมนิ 5) จากการศกึ ษานิยามทักษะความร่วมมือตามทัศนะของนักวิชาการ ทา่ นค

รว่ มมือใหเ้ กิดข้ึนกับนักเรยี นไดห้ รือไม่

ก. ได้ เพราะตอ้ งใชท้ กั ษะเชือ่ มประสานกันบางอยา่ งจากทีมงาน เพ่อื ใหบ้ รร

ข. ได้ เพราะนกั เรยี นมีความรคู้ วามเขา้ ใจในเรือ่ งนีแ้ ล้ว

ค. ไมไ่ ด้ เพราะนักเรียนไมเ่ กิดการยอมรับ

ง. ไมไ่ ด้ เพราะไม่ได้หมายถึงความร่วมมอื เลย

การสร้างสรรค์ 6) จากนยิ ามทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) ทกั ษะในขอ้ ใดไม่ใช

“ความร่วมมอื ”

ก. การรบั ฟังความคิดเหน็ ผู้อ่นื (open-minded)

ข. การสรา้ งทีมงานอย่างเข็มแขง็ (teamwork)*

ค. การสร้างความนา่ เชื่อถือ (credibility)

ง. การโน้มนา้ วจิตใจผอู้ น่ื อยา่ งมีเหตผุ ล (convince)

วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรูเ้ กย่ี วกับความสาคัญของทักษะความร่วมมอื

ความจา 7) ขอ้ ใดไมใ่ ชค่ วามสาคญั ของทกั ษะความรว่ มมอื

ก. ทมี เวิรค์ (teamwork)

ข. การระดมสมอง (Brainstorming)

ค. การมสี ่วนรว่ มอยา่ งเทา่ เทยี มกัน (Equal Partaking)

ง. การวางแผนอย่างมชี ้ันเชิง (Planning)*

ความเขา้ ใจ 8) “ความสาเร็จ” (Success) สามารถแบ่งออกเปน็ สว่ นเล็ก ๆ ทม่ี คี วามสาคัญ

ทางานคล่องตัวขนึ ช่วยพฒั นาความสัมพนั ธ์ของสมาชกิ ในทมี เพ่มิ ผลผลิต แล

จากข้อความน้ีข้อใดกลา่ วถกู ต้อง

ก. การทางานร่วมกันในองค์กรเปน็ สงิ่ ทไ่ี มม่ ปี ระสิทธภิ าพ

ข. การทางานร่วมกบั ผู้อื่นที่มีความคิดเหมอื นกนั ในบางครง้ั

ความเห็นของ 296
ผทู้ รงคณุ วุฒิ
+1 0 -1 ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา

คดิ ว่าสามารถพัฒนาทักษะการ

รลเุ ปา้ หมาย*

ช่องคป์ ระกอบในการสรา้ ง

ญเท่า ๆ กนั ซ่ึงช่วยใหก้ าร
ละประสิทธภิ าพใหด้ ยี ่งิ ขนึ ”

วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ ข้อสอบ

การประยุกต์ ค. ความสาเร็จ สร้างเสริมพลังใหท้ มี ให้มปี ระสทิ ธิภาพได*้
การวเิ คราะห์ ง. การทางานร่วมกันในองค์กรคอื สงิ่ ที่จะช่วยใหเ้ กดิ นวตั กรรมใหม่ ๆ
การประเมนิ
การสรา้ งสรรค์ 9) เม่ือเกิดเหตุการณโ์ รคระบาด (โควดิ -19) ในปจั จบุ นั ท่านสามารถนาทกั ษะ
อย่างไร
ก. ให้ความช่วยเหลือรัฐบาลโดยการบริจาคสิง่ ของ
ข. ใหค้ วามร่วมมือกบั ทีมแพทยใ์ นการหยดุ เช้อื ไวรัส*
ค. ประสานงานหน่วยงานเพอื่ ขอรบั บรจิ าคสง่ิ ของ
ง. พบปะผ้คู นเพื่อแจ้งขา่ วสารจากรฐั บาล
10) “ในสถานการณป์ ัจจบุ ันทามกลางความแกต่างทางความคดิ ความแตกแย
นามาซึง่ ความไมส่ งบสขุ ” จากข้อความนี้ สื่อถงึ การขาดทักษะด้านใด
ก. ทกั ษะการรู้เทา่ ทนั สื่อ
ข. ทกั ษะการช้นี าตนเอง
ค. ทักษะความร่วมมือ*
ง. ทกั ษะการปรับตัว
11) หากตอ้ งการให้นกั เรียนเกิดความรูค้ วามเข้าใจความสาคัญของทักษะความ
ครูผสู้ อน ควรท่จี ะปลูกฝงั ในสงิ่ ใด
ก.การเขา้ ใจคนอื่น
ข.การจริงใจตอ่ กัน
ค.การทางานเปน็ ทมี *
ง.การมีความขยนั หมน่ั เพยี ร
12) จากทัศนะนกั วิชาการ คาทีว่ ่า “ความร่วมมือสรา้ งความผกู พนั ธ์ของพนกั ง
Employees)” ข้อความนต้ี รงตามหลกั สงั คหวัตถุ 4 ในเรอ่ื งใด
ก. ทาน

ความเห็นของ 297
ผูท้ รงคุณวฒุ ิ
+1 0 -1 ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรงุ แก้ไขภาษา

ะความร่วมมอื ไปประยุกตใ์ ช้

ยกของสงั คมหลายกรณี ซง่ึ

มร่วมมอื ในฐานทท่ี ่านเปน็

งาน (Engaged

วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ ขอ้ สอบ

ข. ปิยวาจา

ค. อตั ถจรยิ า

ง. สมานตั ตตา*

วัตถุประสงคก์ ารเรยี นร้เู กี่ยวกับลกั ษณะของทกั ษะความรว่ มมอื

ความจา 13) ผนู้ าทีม่ ที ักษะความร่วมมอื ทด่ี ี มีลักษณะอย่างไร

ก. มคี วามมุงมั่นตง้ั ใจ

ข. มีจุดประสงคเ์ ป็นความพยายามรว่ มกันอย่างมาก

ค. ได้รบั ผลตอบแทนท่มี ปี ระเมินประสิทธิภาพ

ง. มีจุดประสงคท์ ี่ชดั เจน เป็นแบบอยา่ งพฤตกิ รรมการร่วมมอื กันอย่างมีประสิท

ความเข้าใจ 14) ข้อใดไมใ่ ชล่ ักษณะของทักษะความร่วมมือ

ก. การมอบหมาย การจดั การการประชมุ

ข. การรเู้ ทา่ ทนั โลกยคุ ใหม่ตลอดเวลา*

ค. การส่ือสารและสร้างสภาพแวดลอ้ มที่ปลอดภยั เพอ่ื การสื่อสารอยา่ งเปิดเผย

ง. ระดมความคดิ เพ่อื แกไ้ ขปญั หา

การประยุกต์ 15) ลกั ษณะของทกั ษะความรว่ มมือ จะสามารถนาไปปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมขอ

ก. พฤติกรรมความก้าวรา้ ว

ข. พฤติกรรมการเอาแตใ่ จ

ค. พฤติกรรมข้โี วยวาย

ง. พฤตกิ รรมการเห็นแก่ตัว*

การวเิ คราะห์ 16) “ผู้นาทใ่ี ห้ความสาคัญกบั คนและความรู้สึกของคนเปน็ หลกั มฐี านะสมาช

การ เนน้ สร้างบรรยากาศการทางานทเี่ ป็นมิตร” ขอ้ ความนีบ้ ่งถงึ การสร้างผู้นา

ก. การสรา้ งผูน้ าแบบเสยี สละ

ข. การสรา้ งผนู้ าแบบเผดจ็ การ

ความเหน็ ของ 298
ผู้ทรงคุณวุฒิ
+1 0 -1 ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงแกไ้ ขภาษา

ทธิภาพ*


องนักเรยี นในด้านใด

ชิกคนหนงึ่ ไม่เน้นการควบคมุ สง่ั
าลักษณะใด

วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขอ้ สอบ

ค. การสร้างผู้นาแบบการมีสว่ นรว่ ม*

ง. การสร้างผูน้ าแบบการมคี วามรับผิดชอบ

การประเมนิ 17) ข้อใดเป็นลักษณะหรอื คณุ ลักษณะของคนทม่ี ีทักษะความร่วมมอื

ก. สรา้ งเครอื ขา่ ยทีแ่ ข็งแกร่ง และการสอื่ สารในทีม*

ข. บุคคลทีมงุ่ เนน้ ประโยชน์ส่วนตัวเปน็ หลัก

ค. มีความคดิ เห็นทีเ่ ดด็ เด่ียว

ง. มีบคุ ลกิ ทโ่ี ดดเด่นเพยี งผเู้ ดียว

การสร้างสรรค์ 18) ลกั ษณะของทกั ษะความร่วมมอื ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ในทางพระพทุ ธศาสน

ก. อตั ตัตถะ ประโยชนต์ น

ข. อุภยัตถะ ประโยชน์ร่วมกัน*

ค. ปรตั ถะ ประโยชน์ผ้อู ่ืน

ง. ปรมัตถะ ประโยชนส์ ูงสุด

วตั ถุประสงคก์ ารเรียนร้เู กี่ยวกับแนวการพฒั นาของทกั ษะทักษะความร่วมมอื

ความจา 19) ขอ้ ใดกลา่ วถงึ แนวทางพฒั นาของทกั ษะความร่วมมือได้ถกู ตอ้ งทส่ี ุด

ก. การสร้างสภาพแวดล้อมแหง่ การรว่ มมอื ภายในทีมและหลกี เลย่ี งความสัมพ

ข. เปิดชอ่ งทางการสือ่ สาร ทางเทคโนโลยแี บบไร้พรมแดน

ค. รูเ้ ท่าทนั การเปล่ยี นแปลงของโลกหรือโลกาภิวัตน์

ง. สร้างความนวัตกรรมเพ่อื เรียนรู้สงิ่ ใหม่ ๆ

ความเขา้ ใจ 20) “ไมใ่ ชเ่ รือ่ งแปลกอะไรทีก่ ารทางานระบบทีมนันจะเกิดความขดั แยง้ ขนึ ส

ควรคานึงถึงมากกว่าก็คอื การบริหารจัดการความขัดแย้งให้เหมาะสมเพื่อแก

องค์กรควรท่จี ะแก้ปญั หาใดเปน็ ลาดบั แรก

ก. เปดิ ช่องทางการส่อื สาร

ข. การหลกี เล่ยี ง

ความเห็นของ 299
ผทู้ รงคณุ วุฒิ
+1 0 -1 ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา

นาในด้านใด

พนั ธท์ มี่ ากกวา่ ผู้ร่วมงาน*
ส่ิงที่องค์กรตลอดจนหวั หน้าทีม
ก้ปัญหาดังกล่าว” จากข้อ ผู้นา

วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขอ้ สอบ

การประยุกต์ ค. การร่วมมือกัน*
การวเิ คราะห์ ง. สร้างการแขง่ ขนั

การประเมิน 21) ข้อใดไม่ใชแ่ นวทางการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือ
การสร้างสรรค์ ก. หาจดุ แขง็ ของแตล่ ะคน (Identify Their Individuals’ Strengths)
ข. ฉลองความสาเร็จของทมี ใหผ้ ู้คนรับรู้ (Celebrate Teams Success Pub
ค. ส่งเสรมิ การเปดิ ใจ (Encourage Open-Mindedness)
ง. ความไมเ่ ทา่ เทียมกันในการมีสว่ นร่วม (Unequal Contributions)*
22) “สิ่งท่ีสาคัญท่สี ุดคือการทางานร่วมกัน เม่ือทาได้ดีจะช่วยเพิ่มความตื่นเ
ผู้คนรสู้ กึ วา่ ไม่ได้ปฏิบตั ติ ามใคร จนนาไปส่คู วามมุ่งมนั่ ” จากขอ้ ความขา้ งต้นม
ก. ความรว่ มมือนาไปสู่ความสาเร็จเพยี งผ้เู ดยี ว
ข. การทางานเป็นทมี ทาให้ขาดความมัน่ ใจ
ค. การทางานเปน็ ทมี ไม่เสริมสร้างจิตวญิ ญาณแหง่ ความไว้วางใจ
ง. ความสาเร็จสร้างพลงั แหง่ ความร่วมมอื ได้*
23) เมือ่ ทา่ นศึกษาแนวทางพฒั นาทักษะความรว่ มมือแล้ว ต้องการทจี่ ะเลอื กห
พิจารณาอย่างไร
ก. ความสมบรู ณ์ของรา่ งกาย ข. หนา้ ตาของบคุ คล
ค. คาพูดทีอ่ ่อนหวาน ง. หาจุดแข็งของแต่ละคน*
24) แนวทางพัฒนาทกั ษะความร่วมมือ ท่ีว่า “จากความสาเร็จสว่ นบคุ คลเป
ตรงกบั ประโยชน์ 3 ระดับในทางพระพทุ ธศาสนาข้อใดมากทส่ี ดุ
ก. ปรมัตถะ คอื ประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ *
ข. สัมปรายิกตั ถะ คอื ประโยชน์เบือ้ งหนา้
ค. ทฏิ ฐธัมมิกัตถะ คอื ประโยชน์ปัจจบุ นั
ง. อตั ถะ คอื ประโยชนส์ ว่ นตน

ความเห็นของ 300
ผทู้ รงคณุ วุฒิ
+1 0 -1 ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา

blicly)

เต้นใหค้ นทางาน และจะทาให้
มคี วามหมายวา่ อยา่ งไร

หัวหนา้ ห้องของนักเรยี นควร
ป็นใหเ้ ปน็ ความสาเร็จของทีม”

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ ข้อสอบ

วตั ถุประสงค์การเรียนร้เู ก่ยี วกบั ขั้นตอนการพัฒนาของทกั ษะทกั ษะความร่วมมือ

ความจา 25) ข้อใดกลา่ วถงึ ข้ันตอนการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื ได้ถกู ต้องทีส่ ุด

ก. การพฒั นาวิสัยทัศน์ ออกแบบ สารวจ กาหนดบริบท สนับสนนุ และรวบรว

ข. การแสดงวสิ ัยทัศน์ใหช้ ดั เจน สร้างรูปแบบการดาเนินการ กาหนดกรอบสา

ค. ความเข้าใจ การใช้งาน และการสร้างขอ้ มลู ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

ง. การเอาชนะอุปสรรค กาหนดความรบั ผดิ ชอบ การมีเปา้ หมายในทิศทางเด

ความเข้าใจ 26) ขน้ั ตอนในการพฒั นาทักษะความรว่ มมือ ต้องคานึงถงึ ส่งิ ใดเปน็ ประการแร

ก. มอบหมายความรับผิดชอบ (Assign responsibilities)

ข. สรา้ งแผนภาพแสดงกระบวนการทางาน (Create a product flow diagr

ค. การส่งเสริมทักษะการเป็นผูน้ าร่วมกัน (Collaborative Leadership Skil

ง. ระดมสมองสาหรับทกุ ๆ สิง่ (Brainstorm everything that needs to g

การประยุกต์ 27) หากจะใชข้ น้ั ตอนการพฒั นาทักษะความร่วมมอื เพือ่ พัฒนานกั เรยี นให้เกดิ

ขน้ั ตอนใดไปใช้

ก.ทาความรู้จกั กับทมี ของคณุ (Get to know your team)

ข.สร้างภาวะผนู้ า (Establish leadership)*

ค.จดั กจิ กรรมสร้างความผูกพันในทมี (Organize team bonding activities)

ง.วางแผนไปพร้อมกบั สมาชิกในทมี (Plan along with the team)

การวเิ คราะห์ 28) ขั้นตอนการพฒั นาทักษะความรว่ มมอื คาท่วี ่า “การมเี ป้าหมายในทศิ ทาง

ตรงกบั ทักษะใดในศตวรรษที่ 21

ก. ทักษะเชิงนวตั กรรม (Innovation Skills)

ข. ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ (Creativity Skills)

ค. ทกั ษะด้านความร่วมมอื (Collaboration Skills)*

ง. ทกั ษะการรเู้ ท่าทนั สื่อ (Media Literacy Skills)

ความเห็นของ 301
ผทู้ รงคณุ วุฒิ
+1 0 -1 ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา

วม
าหรับการจดั ตาแหน่ง

ดยี วกนั *
รก

ram)
lls)
get done)*
ดความเปน็ ผนู้ าควรเลือก

)
งเดยี วกนั (Agree Direction)”

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ขอ้ สอบ

การประเมนิ 29) ในขน้ั ตอนการพฒั นาทักษะความร่วมมือ ใจความสาคญั ของการทางานเป

ก. การเอาชนะอปุ สรรค (Overcome Barriers)

ข. การหาสมาชกิ (Recruit Members)

ค. การมีเปา้ หมายในทิศทางเดยี วกนั (Agree Direction)*

ง. กาหนดความรบั ผดิ ชอบ (Clarify Responsibilities)

การสร้างสรรค์ 30) เมอ่ื จดั กจิ กรรมใดกิจกรรมหน่งึ ขนึ้ มาแลว้ ปรากฏวา่ สมาชกิ ในทมี ทาหนา้

ทา่ นคิดวา่ ขาดกระบวนการใดตามขั้นตอนการพัฒนาทักษะความร่วมมอื

ก. ระดมสมองสาหรับทกุ ๆ สง่ิ ในโครงการ (Brainstorm everything that n

ข. จดั การข้อมูล แบ่งออกเปน็ กลุ่ม ๆ (Categorise tasks into logical group

ค. ออกแบบแผนการทางานระยะส้ันในแตล่ ะข้นั ตอน (Compile the milest

ง. มอบหมายความรบั ผดิ ชอบ (Assign responsibilities)*

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้เกย่ี วกับการประเมินผลของทักษะทักษะความรว่ มมอื

ความจา 31) ข้อใดคือความสาคัญในการประเมินความสาเร็จการพฒั นาทกั ษะความร่วม

ก. การมีภาวะผูน้ าทีม่ ที ักษะการทางานรว่ มกับผอู้ นื่ *

ข. การประเมนิ ทักษะการร้ตู ามมาตรฐานเทคโนโลยีการศกึ ษา

ค. การสร้างความชัดเจนด้านภาวะผู้นาท่มี ีไม่สามารถทางานร่วมกับผอู้ นื่ ได้

ง. การคิดถงึ ประโยชน์ส่วนตนมากกวา่ ประโยชนส์ ่วนรวม

ความเข้าใจ 32) แบบประเมนิ ผลสาเร็จทกั ษะความรว่ มมือ ควรมีองค์ประกอบทส่ี าคญั อย

ก. ใชค้ วามรเู้ พื่อสร้างกระบวนการใหม่ ตดิ ต่อสอ่ื สาร คน้ หาข้อมลู ท่ีหลากหล

ข. การทางานร่วมกัน ลกั ษณะของสมาชิก รู้จกั บริบท การสรา้ งความสัมพันธ

ค. การคน้ หา ค้นคว้าข้อมลู วเิ คราะห์ และใชข้ ้อมูล

ง. การแกป้ ญั หา หรือหาแนวทางวิถที างานใหม่ ๆ

ความเห็นของ 302
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
+1 0 -1 ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แก้ไขภาษา

ปน็ ทีม ตรงกับขอ้ ใดมากที่สุด

าทสี่ มบูรณบ์ ้างไมส่ มบูรณ์บา้ ง

needs to get done)
ps)
tone plan)

มมือ

ย่างไร
ลาย
ธ์*

วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ ข้อสอบ

การประยุกต์ 33) แบบประเมินคู่มือการพัฒนาความรู้แก่ครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมม
การวิเคราะห์
การประเมิน นาไปประยุกตใ์ ช้กบั นกั เรยี นในด้านใดดีทสี่ ดุ
การสร้างสรรค์
ก. ดา้ นความคดิ ข. ด้านความเป็นผูน้ า*

ค.ด้านความรอบรู้ ง.ดา้ นความเปน็ ผู้ตาม

34) ข้อใดอธบิ ายถูกต้องเก่ยี วกับการประเมนิ ผลสาเร็จจากการพฒั นาทักษะคว

ก. เปน็ แบบสอบถามเพ่ือใชใ้ นการประเมนิ ทักษะความร่วมมือ*

ข. เปน็ แบบสอบถามเพอื่ การเรยี นรู้ทจี่ ะรับรแู้ ละยอมรับการเปลี่ยนแปลง

ค. เป็นแบบสอบถามเพ่ือการคน้ หา ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ และใช้ข้อมลู

ง. เป็นแบบสอบถามเพ่อื ศกึ ษาพฤตกิ รรมและการตัดสินใจเปลี่ยนแปลงของบ

35) การประเมนิ ความสาเร็จการความร่วมมือ สามารถประเมินความเป็นผ้นู า

ก. ได้ เพราะเป็นแบบประเมินความรู้ของผ้นู า

ข. ได้ เพราะถูกออกแบบมาเพอื่ ประเมินความมภี าวะผ้นู าโดยเฉพาะ*

ค. ไมไ่ ด้ เพราะไมไ่ ดถ้ ูกออกแบบมาเพอื่ ประเมินภาวะผ้นู า

ง. ไม่ได้ เพราะเป็นแบบประเมนิ ที่เข้าใจยากไม่บ่งชีถ้ งึ ความเปน็ ผนู้ า

36) แบบประเมินคู่มอื การพัฒนาความรู้แกค่ รูสู่การพัฒนาทกั ษะความร่วมม

และนาไปใช้กบั นักเรียนแลว้ ท่านคดิ ว่าควรเกิดคณุ ลักษณะใดกับนักเรยี นมาก

ก. มคี วามภมู ธิ รรมมากขน้ึ

ข. มอี งคค์ วามร้ดู า้ นศตวรรษที่ 21

ค. มีภูมิค้มุ กนั ในการดารงชีวติ ในปัจจบุ นั

ง. มคี วามเป็นภาวะผนู้ า และเกิดความสามัคค*ี

ความเห็นของ 303
ผ้ทู รงคุณวุฒิ
+1 0 -1 ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรับปรงุ แกไ้ ขภาษา

มือแก่นักเรียนน้ี ท่านสามารถ

วามรว่ มมอื

บคุ คล
าไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด

มือแกน่ ักเรียนน้ี เม่ือท่านศกึ ษา
กที่สุด

304

ภาคผนวก ซ
แบบทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครทู ี่เปน็ Google Form

305

1. เข้าทาแบบทดสอบ โดยการคลกิ ลงิ้ ค์ https://bit.ly/39gurMk
หรือสแกน QR CODE

2. ครกู รอกขอ้ มลู สว่ นตวั

306

3. ครูทาแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 และ 2

307

4. แบบทดสอบหน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 และ 4

308

5. แสดงแบบทดสอบหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 และ 6

309

ภาคผนวก ฌ
หนังสือจากบัณฑติ วทิ ยาลยั ถึงโรงเรยี น
เพ่อื ขออนญุ าตทดลองใชแ้ บบทดสอบครูกบั ครใู นโรงเรียน

310

311

ภาคผนวก ญ
หนังสือของบณั ฑติ วทิ ยาลยั เพอ่ื ขอความร่วมมอื จากผู้ทรงคุณวฒุ ติ รวจสอบ
ความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกบั วตั ถปุ ระสงคก์ ารพัฒนาในแบบประเมิน

ทกั ษะความรว่ มมอื ของนักเรยี น

312

313

ภาคผนวก ฎ
รายช่อื และสถานภาพของผูท้ รงคณุ วฒุ ิในการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของ
ข้อคาถามกับวตั ถปุ ระสงค์การพัฒนาในแบบประเมินทักษะความร่วมมือของ

นักเรียน

314

รายช่อื และสถานภาพของผทู้ รงคุณวฒุ ใิ นการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของข้อคาถามกบั
วัตถปุ ระสงค์การพัฒนาในแบบประเมนิ ทกั ษะความรว่ มมือของนักเรยี น

ชอ่ื -ชอ่ื สกลุ คณุ วฒุ ิ สถานทท่ี างาน
พระศรญี าณวงศ์, ดร. ค.ม. (การบริหารการศึกษา) รองอธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬา
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
พระเมธปี รยิ ัตธิ าดา, ดร. ค.ด. (การบริหารจัดการการศึกษา) หนองคาย
พระครูวินยั ธรวรรธนา มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม
ญาณวโร, ดร. พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศึกษา) ผ้อู านวยการโรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วดั อัมพวนั จังหวดั หนองคาย
ดร.ภาณุวชั ร ปรุ ณะศริ ิ ศษ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) เจา้ อาวาสวดั ป่าพทุ ธญาณรังษี จังวดั
มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขอนแก่น
ดร.ปาณจติ ร สกุ ุมาลย์ ปร.ด. (การบริหารและภาวะผ้นู าทาง
การศกึ ษา) ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ
มหาวทิ ยาลัยภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื สานกั งานเขตพน้ื การศึกษา
กศ.ม.(การวจิ ัยการศึกษา) มัธยมศึกษาบรุ ีรมั ย์
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
ปร.ด.(วจิ ยั วัดผลและสถิติการศึกษา) อาจารย์
มหาวิทยาลยั บรู พา มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
ค.ม.(วจิ ยั และประเมนิ ผลการศึกษา) วทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย วทิ ยาเขตขอนแก่น
กศ.ด.(วิจยั และประเมินผลการศกึ ษา)
มหาวิทยาลยั นเรศวร

315

ภาคผนวก ฏ
แบบตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกับวตั ถุประสงคก์ ารพฒั นา

ในแบบประเมนิ ทกั ษะความรว่ มมือของนกั เรยี น
สาหรบั ผู้ทรงคณุ วุฒิ

316

แบบตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกับวัตถปุ ระสงค์การพฒั นา
ในแบบประเมินทักษะความร่วมมือของนกั เรยี น
สาหรบั ผทู้ รงคณุ วุฒิ

คาชแ้ี จง

ในการทาวิจัยเร่ือง “โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะ
ความร่วมมือของนกั เรยี น” (Online Program to Empower Teachers' Knowledge to Develop
Students' Collaborative Skills.) โดยระเบียบวิธีวจิ ยั และพัฒนา (Research and Development)
ผู้วิจัยได้สร้าง “แบบประเมินคุณลักษณะที่เกิดข้ึนกับนักเรียน” ขึ้น โดยเป็นผลจากการศึกษา
คุณลักษณะของบุคคลที่มีทักษะความร่วมมือจากทัศนะของ Sampson (2010), Goman (2017),
Samdahl (2017), Cran (2017), Meinert (2017) และจากผลจากการศึกษาแบบประเมินผลการ
พัฒนาทักษะความร่วมมือ จากทัศนะ Weaver (2018) Kellerman (2007) และ Archibald,
Trumpower & MacDonald (2014) ไดแ้ บบประเมนิ ท่ีมีขอ้ คาถามดงั แสดงในตารางขา้ งล่าง

ผู้วิจัยใคร่ขอความกรุณาท่าน โปรดพิจารณาข้อคาถามในแบบสอบถามข้างล่าง แล้วทา
เครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ ง +1 หรอื 0 หรือ -1 โดย

+ 1 หมายถงึ ข้อคาถามมีความสอดคลอ้ งกบั นยิ ามศัพท์เฉพาะในด้านนนั้ ๆ
0 หมายถงึ ไมแ่ นใ่ จในความสอดคลอ้ งกับนยิ ามศัพทเ์ ฉพาะในด้านนนั้ ๆ
-1 หมายถงึ ขอ้ คาถามไม่มคี วามสอดคล้องกับนยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะในด้านนั้น ๆ
ขณะเดียวกัน ใคร่ขอความกรุณาท่านโปรดให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการใช้ภาษาในข้อ
คาถามทเ่ี ห็นวา่ ไม่เหมาะสม ว่าควรปรับปรุงแก้ไขเป็นอยา่ งไร

ขอขอบคุณ

พระมหาอาพล ชัยสารี
นักศึกษาปรญิ ญาเอกสาขาวชิ าการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตอีสาน


Click to View FlipBook Version