The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-08-03 13:01:58

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

87

0.96) และปัจจัยท่ีสองมีค่า (α = 0.94) การประเมินประสิทธิภาพก่อนการทางานร่วมกันและหลัง
การทางานรว่ มกนั มีค่า (α = 0.98) การเปล่ยี นโครงสรา้ งจากสองปัจจัยไปเป็นหนึง่ ปัจจยั แสดงให้เห็น
ว่ามีการแทรกแซงความเข้าใจของนกั เรียนในหลักสูตรสหสาขาวชิ า การส่งเสรมิ การทางานร่วมกันใน
การศึกษาระดับนี้มีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์ ดังนั้นคะแนนของ (ICCAS) จึงเช่ือถือได้และสามารถ
คาดการณ์ผลลัพธ์โดยคานึงถึงทัศนคติท่ีมี ต่อการบรรลุเป้าหมายในระดับมืออาชีพ แบบสารวจ
ดงั กล่าวมหี ัวข้อคาถามในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี
ชุดท่ี 1 แบบสารวจความสาเร็จของความร่วมมือระหว่างอาชีพ (ICCAS-Interprofessional
Collaborative Competencies Attainment Survey)
ตอนที่ 1 การสอ่ื สาร (Communication)

1. สง่ เสรมิ การส่ือสารท่ีมีประสิทธภิ าพระหว่างสมาชิกทม่ี ีอาชีพหลากหลาย (ทมี ที่มาจาก
ห ล า ก ห ล า ย อ า ชี พ ) ( Promote Effective Communication Among Members of an
Interprofessional (IP) Team*)

2. รบั ฟังความคดิ เหน็ และคาเตือนของสมาชกิ ในทีมที่มาจากหลากหลายอาชพี (Actively
Listen to IP Team Members’ Ideas and Concerns)

3. แสดงความคดิ เห็นและข้อกังวลโดยไมด่ ว่ นตัดสิน (Express My Ideas and Concerns
Without Being Judgmental)

4. ให้ขอ้ เสนอแนะท่สี รา้ งสรรค์แกท่ มี ท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ (Provide Constructive
Feedback to IP Team Members)

5. แสดงความคิดเห็นและข้อกังวลอย่างชัดเจนและรัดกุม (Express My Ideas and
Concerns in a Clear, Concise Manner)
ตอนท่ี 2 ความร่วมมือ (Collaboration)

1. พยายามสร้างทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพเพ่ือแก้ไขปัญหา (Seek out IP Team
Members to Address Issues)

2. ทางานกบั ทีมทมี่ าจากหลากหลายอาชีพได้มีประสิทธภิ าพ (Work Effectively with IP
Team Members to Enhance Care)

3. เรียนรู้จากสมาชิกในทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ เพ่ือเพ่ิมความสัมพันธ์ (Learn
with, from and About IP Team Members to Enhance Care)
ตอนท่ี 3 บทบาทและความรับผิดชอบ (Roles And Responsibilities)

1. ระบุความสามารถของเราและพูดถึงสงิ่ ทีส่ ามารถใหก้ ับทมี ท่มี าจากหลากหลายอาชีพได้
(Identify and Describe My Abilities and Contributions to the IP Team)

2. เรารับผิดชอบต่อการมีส่วนร่วมในทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ (Be Accountable
for My Contributions to the IP Team)

3. เข้าใจความสามารถและการมีส่วนร่วมของสมาชิกในทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ
(Understand the Abilities and Contributions of IP Team Members)

4. ร้วู า่ ทกั ษะและความร้ขู องผู้อืน่ มคี วามเหมอื นหรอื คล้ายคลึงกับเราอย่างไร (Recognize
how Others’ Skills and Knowledge Complement and Overlap With My)

88

ตอนที่ 4 แนวทางของความร่วมมือแบบยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง (Collaborative
Patient/Family-Centred Approach)

1. ใช้ทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพในการทาความร่วมมือแบบยึดผู้รับบริการเป็น
ศูนย์กลางเพื่อประเมินสถานการณ์ (Use an IP Team Approach with the Patient to assess
the Health Situation)

2. ใช้ทมี ทม่ี าจากหลากหลายอาชีพในการทางานกับผรู้ ับบริการเพ่อื ใหบ้ รกิ ารแต่ละบุคคล
(Use an IP Team Approach with the Patient to Provide Whole Person Care)

3. ใช้วิธีแบบผู้รับบริการเป็นศูนย์กลางในกระบวนการตัดสินใจ (Include the
Patient/Family in Decision-Making)
ตอนที่ 5 การจดั การความขัดแย้ง และแนวทางแก้ไข (Conflict Management/Resolution)

1. รับฟังมุมมองของสมาชิกในทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ (Actively Listen to the
Perspectives of IP Team Members)

2. คานึงถึงแนวคิดของสมาชิกแต่ละคนของทีมที่มาจากหลากหลายอาชีพ (Take Into
Account the Ideas of IP Team Members)

3. จดั การกับความขดั แยง้ ของทีมโดยไมใ่ ห้เกิดความบาดหมาง (Address Team Conflict
In a Respectful Manner)
ตอนท่ี 6 การสร้างทีม (Team Functioning)

1. พัฒนาแผนการบริการและการดูแลที่มีประสิทธิภาพให้กับสมาชิกในทีมท่ีมาจาก
หลากหลายอาชพี (Develop an Effective Care*** Plan With IP Team Members)

2. มีการเจรจาและต่อรองกับสมาชิก ในเร่อื งของความรับผิดชอบของงานที่มีการทับซ้อน
กัน (Negotiate Responsibilities Within Overlapping Scopes of Practice)
ชุดท่ี 2 แบบสารวจความสาเร็จของความร่วมมือระหว่างอาชีพ (ฉบับปรับปรุง) ( The
Interprofessional Collaborative Competency Attainment Scale (Revised))

1. มกี ารส่งเสริมความรว่ มมือระหวา่ งสมาชกิ ในทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ (Promote
Effective Communication among Members of an Interprofessional (IP) Team)

2. มีการรับฟังความเห็นและข้อกังวลของสมาชิกในทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพอย่าง
จริงใจ (Actively listen to IP team members’ ideas and concerns)

3. มีการแสดงความคิดเห็นแบบไม่ด่วนตัดสิน (Express My Ideas and Concerns
Without Being Judgmental)

4. ให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์กับสมาชิกในทีมที่มาจากหลากหลายอาชีพ (Provide
Constructive Feedback to IP Team Members)

5. แสดงความคิดเห็นอย่างชัดเจน ด้วยวิธีการท่ีกระชับ (Express My Ideas and
Concerns in a Clear, Concise Manner)

6. ให้ทีมที่มาจากหลากหลายอาชีพได้พบกับสถานการณ์จริง (Seek out IP Team
Members to Address Issues)

89

7. ทางานร่วมกับทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพเพื่อยกระดับความสัมพันธ์ในทีม (Work
Effectively with IP Team Members to Enhance Care)

8. เรียนรู้ร่วมกับทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพเพื่อยกระดับความสัมพันธ์ในทีม (Learn
With, from and About IP Team Members to Enhance Care)

9. ระบุความสามารถของเราเพื่อมองหาสิ่งที่เราจะสามารถมอบให้กับทีมที่มาจาก
หลากหลายอาชพี ได้ (Identify and describe my abilities and contributions to the IP team)

10. รับผดิ ชอบตอ่ ส่งิ ที่เรามอบให้กบั ทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชพี ได้ (Be Accountable
for My Contributions to the IP Team)

11. เขา้ ใจถึงความสามารถและสิง่ ทส่ี มาชกิ ทุกคนมอบใหก้ บั ทมี ทมี่ าจากหลากหลายอาชีพ
ได้ (Understand the Abilities and Contributions of IP Team Members)

12. จดจาว่าทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ของคนอื่น ๆ เหมือนหรือแตกต่างกับเรา
อย่างไร (Recognize how Others’ Skills and Knowledge Complement and Overlap with
My Own)

13. ใช้วิธีการของการให้บริการเป็นศูนย์กลาง ในการประเมินความสัมพันธ์ของทีมท่ีมา
จากหลากหลายอาชีพ (Use an IP Team Approach with the Patient to Assess the Health
Situation)

14. ใช้ทมี ทีม่ าจากหลากหลายอาชีพและการให้บริการเป็นศนู ย์กลาง ในการบรกิ าร (Use
an IP Team Approach with the Patient to Provide Whole Person Care)

15. ใช้วิธีการที่เรียกว่า ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง ในการตัดสินใจ (Include the
Patient/Family in Decision-Making)

16. รับฟังมุมมองของทีมทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ (Actively Listen to the
Perspectives of IP Team Members)

17. คานึงถึงแนวคิดของสมาชิกในทีมที่มาจากหลากหลายอาชีพ (Take Into Account
the Ideas of IP Team Members)

18. จดั การกับความขัดแย้งอย่างเหมาะสม (Address Team Conflict in a Respectful
Manner)

19. สร้างแผนพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ
(Develop an Effective Care Plan with IP Team Members)

20. เจรจาเร่ืองความรับผิดชอบของแต่ละคนซึ่งอาจจะมีการทับซ้อนกันเกิดขึ้น
(Negotiate Responsibilities within Overlapping Scopes of Practice)

กล่าวโดยสรุป จากนิยามของทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) หมายถึง การ
ทางานกับคนอื่นซึ่งเปน็ การจัดการแบบมีสว่ นรว่ มซึง่ ท้ังสองฝา่ ยหรือมากกวา่ นนั้ ต้องใชก้ ารผสมผสาน
ระหว่างมนษุ ยสัมพันธ์ การแก้ปญั หาและทกั ษะการส่อื สาร เพอ่ื สร้างบางส่ิงบางอยา่ ง คือ พฤตกิ รรมท่ี
ช่วยคนสองคนหรือมากกว่านั้นให้ทางานด้วยกันและทาหน้าที่ได้ดีในกระบวนงานนั้น ๆ เพื่อเชื่อม
ประสานกนั เป็นส่ิงจาเปน็ ไม่วา่ ในท่ีทางานใด ๆ ช่วยใหบ้ คุ ลากรสามารถประสานงานกบั ผอู้ ืน่ ได้อย่างมี
ประสิทธิผล การทางานร่วมกันเพือ่ ความสาเร็จต้องอาศัยจิตวญิ ญาณความร่วมมือและการเคารพซ่ึง

90

กันและกัน เพ่ือบรรลุเป้าหมายร่วมกัน และจากการศึกษาคุณลักษณะของบุคคลที่มีทักษะความ
ร่วมมือจากทัศนะของ Sampson (2010), Goman (2017), Samdahl (2017), Cran (2017),
Meinert (2017) และจากผลจากการศึกษาแนวคิดการประเมินทักษะความร่วมมือจากทัศนะ
Weaver (2018) Kellerman (2007) และ Archibald, Trumpower & MacDonald (2014) ได้
กาหนดทกั ษะเพอื่ การประเมนิ ผลจากการพัฒนา 6 ทกั ษะ แต่ละทกั ษะมนี ยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะดังนี้

1. การมีวิสัยทัศน์และการลงมือทา (Visionary and Action) หมายถึง การส่งเสริม
กระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการค้นหาแรงบันดาลใจจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งเสริมการ
พัฒนาวิสัยทัศน์ร่วมกัน ซึ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคนมีส่วนในการกาหนดวิสัยทัศน์นี้ สร้างกรอบการ
ทางานโดยใชก้ ารคิดอย่างเป็นระบบ ส่งเสรมิ การสร้างทีมผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียในการช่วยกันพัฒนาแผน
กลยุทธ์การปฏิบัติงาน และส่งเสริมความหลากหลาย และสร้างแผนปฏิบัติงานด้วยการกาหนด
ชว่ งเวลาและหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายเพ่ือใหเ้ ป็นไปตามวิสัยทัศน์

2. การสร้างความเช่ือมั่น (Building Trust) หมายถึง การ “พูดจริงทาจริง” หมายถึง
ว่าทาในส่ิงที่พูด ปกป้องกลุ่มจากผู้ท่ีเอาเปรียบผู้อ่นื ในการทางานร่วมกนั สร้างกระบวนการท่ีมีความ
นา่ เชื่อถอื ในการทางานร่วมกัน เช่อื ว่าความร่วมมือเกิดขึ้นจากบุคคลและองคก์ รจากหลายภาคสว่ น มี
ความรู้และทักษะที่จาเป็นในการทางาน สามารถดึงดูดผู้อ่ืนให้ทางานร่วมกับฉัน และเชื่อมั่นวา่ ความ
เชอื่ ถือคอื หลักพ้ืนฐานในการร่วมงานกบั ผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ

3. การแบ่งปันพลังและสร้างแรงจูงใจ (Sharing Power and Influence) หมายถึง
การใช้พลงั อยา่ งมคี วามรับผิดชอบ แบ่งปันพลังเพื่อเพิม่ พลัง และการแบ่งปนั ความรู้ แบง่ ปนั พลงั ใหแ้ ก่
ผู้อื่นเม่ือทาได้ เมื่อฝึกฝนภาวะผู้นามักจะพง่ึ พาการแก้ปัญหาให้กบั เพือ่ น แสดงออกถึงความมั่นใจให้
ผู้อ่ืนได้เห็น และผู้ท่ีทางานร่วมกันในแต่ละกลุ่มมีระดับความรู้ ทักษะ และอานาจในการตัดสินใจท่ี
เหมาะสม

4. การสร้างความสัมพันธ์ (Building Relationships) หมายถึง การเชื่อว่าการสร้าง
ความเช่ือม่นั ในองคก์ รและการให้ความเชือ่ มน่ั ตอ้ งใชเ้ วลา เชอ่ื วา่ คนทเี่ ข้ารว่ มกนั ทางานมีความเคารพ
อยา่ งสูงซึง่ กนั และกนั มีความมงุ่ ม่นั ทจ่ี ะสรา้ งความรู้สกึ ทีว่ า่ บุคคลทเ่ี ข้าร่วมมีความเปน็ เจา้ ขององค์กร
รว่ มกัน มกี ารเปิดการสนทนา และมมุ มองทีแ่ ตกต่างกันเปน็ สิ่งท่เี ราให้ความสาคัญ เช่ือว่าความขดั แย้ง
เปน็ เรอ่ื งทยี่ อมรับได้ โดยการทาให้ความขัดแย้งเปน็ แหลง่ สร้างนวตั กรรม และมีการจดั การความคิดท่ี
แตกต่างไดอ้ ย่างดี ดว้ ยวธิ กี ารท่เี อ้ือต่อการมีส่วนรว่ มของทุกคน

5. การสะท้อนตนเอง (Self-Reflection) หมายถงึ การรับรู้ถงึ ผลกระทบของอารมณ์ตอ่
การทางาน และการสร้าง “ความปลอดภัยทางจิตใจ” สามารถบอกจุดแข็ง จุดอ่อนของตัวเองได้
ทางานเพื่อเข้าใจมมุ มองของผูอ้ ืน่ เขา้ ใจการเปล่ียนแปลงภายในกลุ่ม สรา้ งสภาพแวดลอ้ มทป่ี ลอดภัย
เพ่ือการสอ่ื สารอย่างเปิดเผย และใชเ้ วลาในการสะท้อนตนเองและการปรบั ปรงุ แนวทางปฏิบตั ิ

6. การตัดสินใจ (Decision-making) หมายถึง การมีความเข้าใจขอบเขตความ
รับผิดชอบและบทบาทอย่างชัดเจน สมาชิกในทีมมีความกระตือรือร้นท่ีจะเข้าร่วมในการตัดสินใจที่
สาคญั กระบวนการประชมุ ในทีมมีประสิทธภิ าพ มีกระบวนการดาเนนิ งานและกระบวนการตัดสินใจ
ที่ชัดเจน มีความยืดหยุ่นและความประนีประนอมเมื่อมีการตัดสินใจเกิดข้ึน และส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ นวัตกรรม และส่งเสรมิ การยอมรับความเสยี่ ง

91

จากนิยามศัพท์เฉพาะของประเด็นหลักเพื่อการประเมินผลทักษะ ความร่วมมือ
(Collaboration Skills) ดังกล่าว ผู้วิจัยได้นามาใช้เป็นแนวในการสร้างข้อคาถามในแบบประเมินผล
การบรรลุความคาดหวงั จากการพัฒนาในลักษณะเป็นแบบประเมินตนเอง (Self-Assessment) แบบ
มาตรประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดย 5 หมายถึง มีคุณลักษณะตามข้อคาถามน้ันในระดบั
มากท่ีสุด 4 หมายถึง มีคุณลักษณะตามข้อคาถามนั้นในระดับมาก 3 หมายถึง มีคุณลักษณะตามข้อ
คาถามน้ันในระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีคุณลักษณะตามข้อคาถามนั้นในระดับน้อย และ 1
หมายถึง มคี ณุ ลักษณะตามข้อคาถามนน้ั ในระดับน้อยที่สุด ดงั น้ี

คุณลักษณะท่แี สดงถึงทักษะความร่วมมือ ระดับความเหน็ ของทา่ น
5 43 2 1
การมวี สิ ัยทศั นแ์ ละการลงมอื ทา (Visionary and Action)
1) ฉันส่งเสริมกระบวนการทมี่ ีประสิทธภิ าพในการคน้ หาแรงบนั ดาลใจจากกลมุ่ ผมู้ ี
สว่ นได้สว่ นเสยี
2) ฉันส่งเสรมิ การพฒั นาวิสยั ทศั น์ร่วมกนั ซ่งึ ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียทกุ คนมีสว่ นในการ
กาหนดวสิ ยั ทศั น์นี้
3) ฉันสร้างกรอบการทางานโดยใชก้ ารคิดอยา่ งเป็นระบบ
4) ฉันส่งเสรมิ การสร้างทมี ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ในการชว่ ยกันพฒั นาแผนกลยุทธก์ าร
ปฏบิ ตั งิ าน และสง่ เสรมิ ความหลากหลาย
5) ฉันสรา้ งแผนปฏบิ ัติงานด้วยการกาหนดชว่ งเวลาและหนา้ ทที่ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
เพอ่ื ให้เปน็ ไปตามวสิ ัยทศั น์
การสรา้ งความเชอื่ มั่น (Building Trust)
6) ฉัน “พดู จริงทาจริง” หมายถึงวา่ ฉนั ทาในส่ิงที่พดู
7) ฉันปกป้องกลมุ่ จากผทู้ ่เี อาเปรยี บผอู้ นื่ ในการทางานร่วมกนั
8) ฉันสร้างกระบวนการทมี่ ีความน่าเชอ่ื ถอื ในการทางานรว่ มกัน
9) ฉันเชอ่ื ว่าความรว่ มมอื เกิดขึ้นจากบุคคลและองค์กรจากหลายภาคสว่ น
10) ฉันมคี วามรแู้ ละทกั ษะท่ีจาเป็นในการทางาน สามารถดึงดดู ผู้อืน่ ให้ทางาน
รว่ มกับฉนั
11) ฉันเชอ่ื มัน่ วา่ ความเช่อื ถอื คือหลักพ้ืนฐานในการรว่ มงานกับผูอ้ ่นื อย่างมี
ประสิทธภิ าพ
การแบง่ ปันพลังและสร้างแรงจูงใจ (Sharing Power and Influence)
12) ฉันใชพ้ ลงั อยา่ งมีความรบั ผดิ ชอบ
13) ฉันแบ่งปันพลังเพ่อื เพิ่มพลัง และการแบง่ ปนั ความรู้
14) ฉันแบ่งปนั พลังให้แก่ผอู้ นื่ เมอ่ื ทาได้
15) เมือ่ ฝึกฝนภาวะผู้นา ฉันมกั จะพึ่งพาการแก้ปญั หาให้กับเพ่อื น
16) ฉันแสดงออกถงึ ความม่ันใจให้ผ้อู นื่ ได้เหน็
17) ผู้ท่ีทางานร่วมกันในแต่ละกลมุ่ มรี ะดบั ความรู้ ทักษะ และอานาจในการ
ตดั สนิ ใจที่เหมาะสม
การสร้างความสมั พนั ธ์ (Building Relationships)
18) ฉันเชอ่ื ว่าการสร้างความเชือ่ มน่ั ในองคก์ รและการใหค้ วามเชอื่ ม่นั ตอ้ งใช้เวลา
19) ฉันเชอ่ื ว่าคนท่ีเข้ารว่ มกันทางานมคี วามเคารพอยา่ งสงู ซงึ่ กันและกัน

92

คุณลักษณะทีแ่ สดงถึงทักษะความร่วมมอื ระดบั ความเห็นของทา่ น
5 43 2 1
20) ฉันมีความมงุ่ มั่นทจ่ี ะสรา้ งความรสู้ ึกทีว่ า่ บคุ คลที่เข้ารว่ มมคี วามเป็น
เจา้ ขององคก์ รร่วมกัน
21) ฉันมีการเปิดการสนทนา และมมุ มองท่แี ตกตา่ งกนั เป็นสิ่งทเี่ ราให้
ความสาคญั
22) ฉันเชอื่ ว่าความขดั แยง้ เปน็ เรื่องที่ยอมรบั ได้ โดยการทาให้ความขดั แยง้
เปน็ แหลง่ สร้างนวตั กรรม
23) ฉันมีการจัดการความคิดที่แตกต่างไดอ้ ยา่ งดี ดว้ ยวธิ ีการทเ่ี ออื้ ตอ่ การมี
ส่วนรว่ มของทกุ คน
การสะท้อนตนเอง (Self-Reflection)
24) ฉันรับรถู้ ึงผลกระทบของอารมณ์ต่อการทางาน และการสร้าง “ความ
ปลอดภัยทางจติ ใจ”
25) ฉันสามารถบอกจุดแขง็ จดุ อ่อนของตวั เองได้
26) ฉันทางานเพ่อื เข้าใจมุมมองของผ้อู ่นื
27) ฉันเข้าใจการเปลีย่ นแปลงภายในกลุ่ม
28) ฉันสรา้ งสภาพแวดล้อมท่ปี ลอดภัยเพ่อื การสื่อสารอยา่ งเปิดเผย
29) ฉันใชเ้ วลาในการสะท้อนตนเองและการปรบั ปรุงแนวทางปฏิบตั ิ
การตดั สนิ ใจ (Decision-making)
30) สมาชกิ ทุกคนในทีมของฉนั มคี วามเข้าใจขอบเขตความรับผดิ ชอบและ
บทบาทอยา่ งชดั เจน
31) สมาชกิ ในทมี ของฉันมีความกระตอื รอื ร้นทจ่ี ะเขา้ รว่ มในการตัดสินใจทส่ี าคญั
32) กระบวนการประชุมในทีมของฉนั มปี ระสิทธิภาพ
33) ทีมของฉนั มีกระบวนการดาเนินงานและกระบวนการตดั สินใจท่ชี ัดเจน
34) สมาชิกในทมี ของฉันมีความยืดหยนุ่ และความประนีประนอมเมอ่ื มีการ
ตดั สนิ ใจเกิดข้ึน
35) ในทีมของฉันส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์ นวัตกรรม และส่งเสริมการ
ยอมรับความเสย่ี ง

2.4 บริบทของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา-กลุ่มเป้าหมายในการ
เผยแพรน่ วัตกรรมจากผลการวจิ ยั

2.4.1 ประวัตคิ วามเปน็ มาของโรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
การศกึ ษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา นน้ั เปน็ การศึกษารปู แบบหนง่ึ ของการศึกษา
คณะสงฆ์เป็นการศึกษาที่รัฐกาหนดให้มีข้ึนตามความประสงค์ของคณะสงฆ์ (กองพุทธศาสนศึกษา,
2557: 1) ซ่ึงมีมูลเหตุสืบเนอ่ื งมาจากการจัดตั้งโรงเรียนบาลมี ธั ยมศึกษา และบาลีวิสามญั ศกึ ษา สานัก
เรยี นวัด กล่าวคอื ภายหลงั จากท่ีการศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยสงฆ์ทงั้ สองแห่ง คอื มหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวทิ ยาลัย และมหาวิทยาลยั มหามกุฎราชวิทยาลัย ซึง่ เปดิ ดาเนนิ การมาต้งั แต่ปี พ.ศ. 2432

และ พ.ศ. 2489 ตามลาดับ ได้เจริญก้าวหน้ามากขึ้น ทางมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ได้จัดแผนกมัธยมขึ้นมาเรียกว่า โรงเรียนบาลีมัธยมศึกษา กาหนดให้มีการเรียนบาลีนักธรรม และ

93

ความรู้ช้ันมธั ยม โดยรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาช้ันปีที่ 4 ต่อมาเมื่อโรงเรียนบาลีมัธยมศึกษาได้แพร่ขยาย
ออกไปยงั ตา่ งจังหวดั หลายแหง่ มีภิกษุและสามเณรเรียนกนั มาก ทางคณะสงฆ์โดยองค์การศึกษาจึงได้
กาหนดให้เรียกโรงเรียนประเภทนี้ใหม่ว่า โรงเรียนบาลีวิสามัญศึกษาสานักวัด โดยมติสังฆมนตรีและ
กระทรวงศกึ ษาธิการกไ็ ด้ออกระเบยี บกระทรวงใหโ้ รงเรยี นบาลวี สิ ามญั ศึกษาสานักเรยี นวดั เปิดทาการ
สอบสมทบในช้ันตัวประโยค คือชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 ได้ตั้งแต่ปี พ.ศ.
2500 เป็นต้นมา และเม่ือสอบได้แล้วก็ยังจะได้รับประกาศนียบัตรจากกระทรวงศึกษาธิการอีกด้วย
ด้วยเหตนุ ้ีจงึ ทาใหพ้ ระภกิ ษุและสามเณรนยิ มเรยี นกันเป็นจานวนมาก โรงเรยี นประเภทน้จี งึ แพรห่ ลาย
ออกไปยงั จงั หวัดตา่ ง ๆ อย่างกว้างขวาง จนทาให้ทางการคณะสงฆ์เกรงว่าการศกึ ษาธรรมและบาลีจะ
เส่อื มลง เพราะพระภกิ ษุและสามเณรต่างมุ่งศึกษาวิชาทางโลกมากไป เป็นเหตุใหต้ ้องละทิ้งการศึกษา
ธรรมและบาลีเสยี แตท่ างคณะสงฆ์กย็ ังพจิ ารณาเหน็ ความจาเป็นทางการศกึ ษาวิชาทางโลกอยู่ ดงั นน้ั
แม่กองบาลีสนามหลวง พระธรรมปัญญาบดี (กองพุทธศาสนศึกษา, 2557:1) จึงได้ต้ังคณะกรรมการ
ปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีขึน้ ใหม่ มีวิชาบาลี วิชาธรรม และวิชาทางโลก
เรียกว่า บาลีศึกษาสามัญศึกษา และปริทัศน์ศึกษา และได้ประกาศใช้เม่ือ พ.ศ. 2507 พร้อมกับได้
ยกเลิกระเบียบของคณะสังฆมนตรีว่าด้วยการศึกษาของโรงเรยี นบาลวี ิสามญั ศกึ ษา สานกั เรยี นวัดเสีย
และกาหนดให้พระภิกษุสามเณรเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีที่คณะสงฆ์ได้จัดขึ้นใหม่ แต่การณ์
ปรากฏต่อมาว่า การต้ังสานักเรียนตามแบบโรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกบาลใี หมน่ ม้ี นี ้อย นักเรยี น
ก็นิยมเรียนกันน้อย เพราะพระภิกษุสามเณรส่วนใหญ่ยังพอใจที่จะเรียน โดยได้รับประกาศนียบัตร
จากกระทรวงศึกษาธิการอยู่ ดังน้ันนักเรียนในโรงเรียนดังกล่าว จึงได้พากันเข้าชื่อกันเป็นนักเรียน
ราษฎร์ของวัด ซึ่งตั้งขึ้นโดยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการบ้าง สมัครสอบเทียบบ้าง เข้าเป็นนักเรียน
ผู้ใหญ่บ้าง ทาให้การศึกษาของคณะสงฆ์ในช่วงระยะเวลานั้นเกิดความสับสนเป็นอันมาก (กองพุทธ
ศาสนศกึ ษา 2557)

ขณะเดยี วกันได้มีผแู้ ทนราษฎรไดย้ นื่ เร่ืองราวขอใหก้ ระทรวงศึกษาธิการเปิดการสอบสมทบ
ในช้นั ประโยคใหแ้ กพ่ ระภิกษุสามเณร แตก่ รมการศาสนาร่วมกบั กรมต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้องไดพ้ ิจารณาลง
ความคิดเห็นร่วมกันว่าควรจะตั้งโรงเรียนขึ้นประเภทหนึ่ง เพ่ือสนองความต้องการของพระภิกษุ
สามเณร โดยให้เรียนทั้งวิชาธรรมและวิชาสามัญศึกษาควบคู่กันไป โดยไม่มีการสอบสมทบแต่ให้
กระทรวงศึกษาธกิ ารดาเนนิ การสอบเอง และโดยพระปรารภของสมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ สมเด็จ
พระสังฆราช สกลสงั ฆปรินายก (จวน อฏุ ฐายีมหาเถระ) วา่ “การศกึ ษาทางโลกเจริญกา้ วหนา้ มากข้ึน
ตามความเปล่ียนของโลก การศกึ ษาพระปริยัตธิ รรมกจ็ าเป็นตอ้ งอนุวตั รไปตามความเปลย่ี นแปลงของ
โลกบ้าง จึงเห็นสมควรท่ีจะมีหลักสูตรในการเรียนพระปริยัติธรรมเพมิ่ ขึ้นอีกแขนงหน่งึ คือหลักสูตร
พระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ทั้งน้ี เพื่อให้ผู้ศึกษาได้มีโอกาสบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ได้ทั้ง
ทางโลกและทางธรรมควบคู่กันไป” ในที่สุดกระทรวงศึกษาธิการจึงได้ประกาศใช้ระเบียบกระทรวง
ศึกษาธิการว่าด้วยโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ข้ึนเม่ือวันที่ 20 กรกฎาคม 2514
(มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2552)

ปัจจุบันมีการศึกษาสงฆ์มีอยู่ 3 แผนก ได้แก่ แผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญ
ศึกษา แผนกธรรม และแผนกบาลีน้ันเป็นการจัดการศึกษาเฉพาะด้านหลักธรรมคาสอนใน
พระพุทธศาสนาล้วน ๆ ไม่มีวิชาสามัญศึกษาเข้าไปปะปน ส่วนแผนกสามัญศึกษานั้นเป็นการจั ด

94

การศึกษาท่ีผสมผสานกันท้ังหลักสูตรแผนกธรรม แผนกบาลี และหลักสูตรสามัญศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการเข้าด้วยกัน แต่หลักสูตรแผนกธรรม-บาลีไม่เข้มข้นมากนัก แต่ก็ยังมีเน้ือหา
มากกว่าวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียน ดังน้ันโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาจึงเป็น
หลกั สตู รทเ่ี หมาะสมกับเยาวชนยุคปัจจบุ นั เพราะสามารถบรู ณาการนาเอาการศกึ ษาสงฆ์ทัง้ 3 แผนก
มาหลอมเป็นหน่ึงเดียว ซ่ึงเป็นการศึกษาแผนกเดียวท่ีทุกคนยอ่ มรับวา่ เป็นการศึกษาข้ันพน้ื ฐานของ
คณะสงฆ์ตาม พ.ร.บ. การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และปจั จบุ นั ได้มี พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาพระ
ปริยตั ิธรรม พ.ศ. 2562 (วกิ พิ เี ดียสารานกุ รมเสรี, 2563)

ปัจจุบันโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ท่ัวประเทศ จานวน 408 โรง และ
กลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จานวน 14 กลุ่ม ประกอบด้วย (กองพุทธศาสน
ศกึ ษา, 2563)

กลุม่ ที่ 1 กรุงเทพมหานคร, นครปฐม, ปทุมธานี จานวน 14 โรง
กลุ่มท่ี 2 ยะลา, สตูล, นครศรีธรรมาราช, สุราษฎร์ธานี, ชุมพร, สงขลา, ตรัง, ระนอง,
กระบ่ี จานวน 20 โรง
กลุ่มที่ 3 สพุ รรณบรุ ี, กาญจนบรุ ี, ราชบรุ ,ี ประจวบครี ีขนั ธ์, พระนครศรีอยุทธยา, อ่างทอง,
ลพบรุ ี, สิงหบ์ ุรี, ชัยนาท, อทุ ัยธานี จานวน 19 โรง
กลุ่มท่ี 4 นครสวรรค์, กาแพงเพชร, เพชรบรู ณ์, สุโขทัย, อตุ รดติ ถ,์ พิษณโุ ลก, พิจติ ร, ตาก
จานวน 25 โรง
กลมุ่ ท่ี 5 เชยี งใหม่, ลาพูน, แมฮ่ อ่ งสอน จานวน 42 โรง
กลุ่มท่ี 6 ลาปาง, เชียงราย, พะเยา, แพร่, นา่ น จานวน 61 โรง
กลุ่มที่ 7 หนองบวั ลาภู, เลย, ขอนแก่น จานวน 47 โรง
กลุ่มท่ี 8 อุดรธานี, หนองคาย, สกลนคร, บงึ กาฬ จานวน 42 โรง
กลมุ่ ท่ี 9 อุบลราชธานี, อานาจเจรญิ , ยโสธร, มกุ ดาหาร จานวน 35 โรง
กล่มุ ท่ี 10 มหาสารคาม, ร้อยเอด็ , กาฬสินธ์ุ, นครพนม จานวน 43 โรง
กล่มุ ท่ี 11 นครราชสีมา, ชัยภูมิ, บรุ ีรมั ย์, ศรษี ะเกษ, สุรินทร์ จานวน 41 โรง
กลมุ่ ที่ 12 ฉะเชงิ เทรา, นครนายก, ชลบรุ ี, ระยอง, ปราจีนบุรี, สระแกว้ , ตราด จานวน 13
โรง
กลมุ่ ท่ี 13 (นกิ ายจนี ) กรงุ เทพมหานคร, เชยี งราย, ชลบรุ ี จานวน 3 โรง
กลุ่มที่ 14 (อนัมนกิ าย) กรุงเทพมหานคร, อดุ รธานี, สงขลา จานวน 3 โรง
2.4.2 รปู แบบการศึกษา
หลักสูตร โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ใช้หลักสูตรแกนการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน 2551 โดยมี 8 กลุ่มสาระได้แก่ ภาษาไทย, คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์, สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม, สุขศึกษาและพละศึกษา, ศิลปะ, การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี,
ภาษาต่างประเทศ และมีวิชาพระปริยัติธรรม ประกอบด้วย วิชาบาลี และวิชาธรรมวินัย เป็นวิชา
เฉพาะในส่วนของวิชาสามัญใดที่ขัดแย้งต่อพระธรรมวินัย หรือไม่เหมาะต่อสมณะเพศ ได้มีการ
ปรับปรุงแกไ้ ข และทาความตกลงกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2.4.3 การบริหารจัดการศึกษา

95

กฎหมาย ระเบียบ ที่เกีย่ วขอ้ งโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา ดาเนนิ การตาม
กฎหมาย กฎกระทรวง ระเบียบ ดงั น้ี

2.4.3.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข (เพิ่มเติม) พ.ศ.
2545 มาตรา 12 กาหนดว่า นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้บุคคล
ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรมหาชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิ์ในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม
กฎกระทรวง มาตรา 14 บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบัน
ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซ่ึงสนับสนุน หรือจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีสิทธิ์
ไดร้ ับสทิ ธปิ ระโยชน์ตามควรแก่กรณี ดงั ตอ่ ไปนี้

1) การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซึ่งอยใู่ น
ความดูแลรับผดิ ชอบ

2) เงินอดุ หนุนจากรฐั สาหรบั การจัดการศึกษาข้ันพ้นื ฐานตามที่กฎหมายกาหนด
3) การลดหย่อนหรอื ยกเว้นภาษสี าหรบั คา่ ใช้จ่ายการศกึ ษาตามทีก่ ฎหมายกาหนด
2.4.3.2 กฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิในการจัดการศึกษาโดยสถาบนั พระพุทธศาสนา พ.ศ.
2548
2.4.3.3 ระเบียบสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ว่าด้วยโรงเรียนพระปริยัติธรรม
แผนกสามัญศึกษา พ.ศ. 2546
2.4.3.4 ประกาศคณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ.
2555 จานวน 6 ฉบบั ดงั นี้
1) ว่าดว้ ยกลุ่มโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
2) ว่าด้วยพนักงานศาสนการด้านการศึกษา
3) วา่ ด้วยขนาดของโรงเรยี น และกรอบอัตรากาลงั พนกั งานศาสนการดา้ นการศกึ ษา
4) วา่ ดว้ ยคณะกรรมการโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
5) ว่าด้วยคณะกรรมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการโรงเรียนพระ
ปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
6) ว่าด้วยระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ
ศึกษา
2.4.3.5 พระราชบัญญัติการศึกษาพระปริยัติธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒
ปัจจุบันการศึกษาของคณะสงฆ์ นอกจากจะมุ่งเน้นเร่ืองการศึกษาพระปริยัติธรรม
แผนกธรรมและแผนกบาลีแล้ว ยังมุ่งเน้นด้านการศึกษาวิชาสามัญท่ีเป็นพื้นฐานจาเป็นสาหรับการ
เรยี นรู้ของบคุ ลากรทวั่ ๆ ไปด้วย เพระการทพี่ ระภิกษุสามเณรได้เรียนรู้พระปรยิ ัติธรรมควบคู่กับวิชา
สามัญชว่ ยให้เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจในสงั คมปจั จุบนั ท่เี ปล่ียนแปลงไปอยา่ งรวดเร็วยิ่งข้ึน อนั มผี ลทาให้
สามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเผยแผ่หลักธรรมคาสอนได้เหมาะสมกับสถานการ
บา้ นเมืองในปัจจบุ นั อีกดว้ ย กรมการศาสนา (ปจั จบุ นั ขึ้นต่อสานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ) จงึ ได้
จัดต้ังโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะสงฆ์ เพื่อส่งเสริมและ

96

สนับสนุนให้พระภิกษุสามเณรได้ศึกษาพระปริยัติธรรมควบคู่กับการศึกษาวิชาสามัญ เพ่ือให้เกิด
ประโยชนเ์ กอ้ื กลู ตอ่ การศึกษาของชาติและพระพุทธศาสนาสืบไป (กองศาสนศึกษา, 2557)

โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษานี้ เป็นฐานรองรับการศึกษาใน
ระดบั อุดมศกึ ษาต่อไป เป็นรายการศึกษาท่ีจะขน้ึ สรู่ ะดับมหาวิทยาลัยและประกาศนียบัตรมีศักด์ิและ
สิทธ์ิเช่นเดียวกับโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการทุกประการ จึงมีผู้นิยมตั้งโรงเรียนมากข้ึน
ตามลาดับ (มาณพ พลไพรินทร์.2535: 26) ฉะน้ัน กระทรวงศึกษาธิการ อาศัยอานาจตามประกาศ
คณะปฏิวัติ ฉบบั ที่ 216 ลงวันท่ี 29 กนั ยายน พ.ศ. 2515 ไดอ้ อกระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าด้วย
โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ. 2514 (กองศาสนศึกษา 2557) ในปี 2545 มีการ
ตราพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มาตรา 45 กาหนดให้มีสานักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติข้ึนและพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอานาจหน้าที่ของส่วน
ราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม กอง พ.ศ. 2545 มาตรา 195
กาหนดให้โอนอานาจหน้าท่ี ของกรมการศาสนาบางส่วนมาเป็นของสานักงานพระพุทธศาสนา
แห่งชาติ ดังน้ัน การจัดต้ังโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจาก
สานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ กองศาสนศกึ ษา สานกั นายกรัฐมนตรี และดว้ ยความเหน็ ชอบของ
คณะสงฆ์ วัดที่สามารถจัดตั้งโรงเรียนได้ต้องปฏิบัติตามระเบียบสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ภายใต้การกากับดูแลของนายกรัฐมนตรีทาหน้าที่เพียงอนุมัติการจัดต้ังและให้การส่งเสริมสนับสนุน
เทา่ นนั้

2.4.4 ผมู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งกบั โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา
โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา เปน็ การจัดการศึกษาเพ่อื ให้พระภกิ ษสุ ามเณร
ได้เรียนรู้ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงปัจจุบันสานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติเป็นผู้ดูแล
รับผดิ ชอบการศึกษาของสงฆ์ ประเภทนภี้ ายใต้การควบคมุ ของสภาการศึกษาคณะศึกษาคณะสงฆ์ ซ่ึง
มีสมเด็จพระสังฆราชเป็นประธานและยังมีคณะกรรมการการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศกึ ษา กลุ่มโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ดังน้ี

2.4.4.1 สภาการศกึ ษาสงฆ์
สภาการศึกษาของคณะสงฆ์เป็นองค์กรท่ีจัดตั้งขึ้นตามคาสั่งของมหาเถรสมาคม เมื่อ
พ.ศ. 2512 ประกอบด้วยสมเด็จพระสังฆราชทรงเป็นประธาน แม่กองบาลี และแม่กองธรรม
สนามหลวงเป็นรองประธาน 2 รูปนายกสภามหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย เลขาธิการสภาการศึกษา
ของคณะสงฆ์ และผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน 9 ท่าน ท่ีสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้งตามคากราบทูลของ
สภาการศึกษาคณะสงฆ์ หนา้ ท่สี าคัญของสภาการศกึ ษาของคณะสงฆ์ คอื ควบคุมและสง่ เสริมการจัด
การศึกษาของคณะสงฆ์ โดยมีอานาจพิจารณาให้ความเห็นชอบนโยบายงานโครงการต่าง ๆ
นอกจากน้ียังมีหน้าท่ีพิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตร และแบบเรียนตามโครงการศึกษาทุกระดับ
พิจารณาปัญหาเกี่ยวกับการศึกษาตลอดจนพิจารณาเร่ืองอ่ืน ๆ ที่เก่ียวกับการศึกษาตามที่มหาเถร
สมาคมมอบหมาย ท้ังน้ีอานาจแต่งตั้งกรรมการทาหนา้ ท่ีอย่างใดอยา่ งหน่ึงเก่ยี วกับการศึกษาอกี ด้วย
(กติ ติ ธีรศานต.์ 2539: 15)
2.4.4.2 สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ

97

สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานท่ีต้ังข้ึนใหม่ตามพระราชบัญญัติ
ปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม ปพี ทุ ธศกั ราช 2545 ซงึ่ มฐี านะเปน็ กรมขึ้นตรงตอ่ นายกรฐั มนตรีโดยให้
มอี านาจหนา้ ท่ี ดงั ต่อไปนี้ (สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ. 2546)

1) ดาเนินการตามกฎหมายวา่ ด้วยคณะสงฆ์ กฎหมายว่าด้วยการกาหนดวิทยฐานะ
ผู้สาเร็จการศกึ ษาวิชาการพระพุทธศาสนารวมท้งั กฎหมายและระเบยี บท่เี ก่ียวขอ้ ง

2) รับสนองงาน ประสานงานและถวายการสนับสนุนกิจการของคณะสงฆ์การ
บริหาร การปกครอง

3) เสนอแนวทางกาหนดนโยบายและมาตรการในการค้มุ ครองพระพุทธศาสนา
4) ส่งเสริม ดูแล รกั ษาและทานุบารุงศาสนสถานและศาสนวัตถุทางพระพทุ ธศาสนา
5) พฒั นาพุทธมณฑลให้เป็นศูนยก์ ลางทางพระพทุ ธศาสนา
6) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือ
ไดร้ บั มอบหมาย
7) ทานุบารุง ส่งเสรมิ การพทุ ธศาสนศึกษาเพอ่ื พัฒนาความรูค้ ู่คุณธรรม
8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของสานักงาน หรือ
ตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
สาหรบั หน่วยงานราชการสานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาตินนั้ ประกอบดว้ ย กองกลาง
กองพุทธศาสนศึกษา กองพุทธศาสนสถาน สานักงานพุทธมณฑล สานักงานศาสนสมบัติ สานักงาน
เลขาธกิ ารมหาเถรสมาคม
2.4.4.3 กองพทุ ธศาสนศึกษา
เป็นหน่วยงานท่ีสังกัดสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติท่ีทาหน้าที่การบริหารงาน
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยตรง ซ่ึงมีหน้าที่ดังน้ี (สานักงานพระพุทธศาสนา
แห่งชาติ. 2546)
1) ประสานและดาเนินการเก่ียวกับการควบคุม ดูแล จัดการศึกษาวิชาการ
พระพุทธศาสนา การจัดการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา และรับผิดชอบงาน
การศกึ ษาของคณะสงฆ์ การศึกษาสงั เคราะห์ และการศกึ ษาอ่ืน ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การศาสนา
2) ดาเนินการเก่ียวกับการจัดทาส่ือการเรียนการสอนด้านศาสนาวิเคราะห์ทาง
วิชาการตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั พระพทุ ธศาสนา เป็นแหล่งความรูท้ ีม่ ีระบบและอา้ งองิ ได้
3) สนบั สนนุ การพฒั นาบุคลากรในการศกึ ษาทกุ ระดับรวมทง้ั การนิเทศ ติดตามและ
ประเมนิ ผลการศกึ ษาทุกประเภท
4) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนบั สนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องหรือ
ไดร้ ับมอบหมาย

2.4.5 คณะกรรมการการศึกษาพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

98

คณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ประกอบด้วย ผู้อานวยการ
สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ เปน็ ประธานกรรมการ รองผู้อานวยการสานักงานพระพทุ ธศาสนา
แห่งชาติ เป็นรองประธานกรรมการ ผู้แทนแม่กองธรรมสนามหลวง ผู้แทนแม่กองบาลีสนามหลวง
ผู้แทนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผู้แทนมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ผู้แทน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ผู้แทนกรม
วิชาการ ผแู้ ทนสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ผแู้ ทนสานักงานคณะกรรมการข้าราชการ
ครู และผู้แทนกลุ่มโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา จานวนไม่เกนิ 5 รปู /คน เป็นกรรมการ
ผู้อานวยการกองพุทธศาสนาศึกษา เป็นกรรมการและเลขานุการกรรมการที่เป็นผู้แทนกลุ่มโรงเรียน
พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษามีอานาจหนา้ ท่ีดังนี้ (สานักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ, 2546)

2.4.5.1 กาหนดนโยบายและแผนการจัดการศึกษาของโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนก
สามญั ศึกษา

2.4.5.2 กาหนดมาตรฐานโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
2.4.5.3 กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการจักตั้ง ขยาย หรือยุบเลิกโรงเรียนพระ
ปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
2.4.5.4 กาหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรเงินอุดหนุนให้โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศกึ ษา
2.4.5.5 กาหนดตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และอตั ราครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
2.4.5.6 ควบคุมดูแล จัดการศกึ ษาให้มีการศกึ ษาพระปริยตั ิธรรมเปน็ หลัก และป้องกนั
มิใหม้ ีการเปลี่ยนแปลงพระธรรมวนิ ัยใหผ้ ิดไปจากหลักธรรมวินยั ในพระไตรปิฎก
2.4.5.7 ใหค้ าแนะนาส่งเสริมการจดั การศึกษา
2.4.5.8 พิจารณาวินิจฉัยคาร้องทุกข์ของผู้รับใบอนุญาต, ผู้จัดการ,ครูใหญ่, อาจารย์
ใหญ่, ผู้อานวยการ, ผู้ช่วยครูใหญ่,ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่, ผู้ช่วยผู้อานวยการ, ครู และบุคลากรทางการ
ศึกษา
2.4.5.9 ตรวจสอบการดาเนินงานของโรงเรยี นพระปริยัติ แผนกสามัญศึกษาตลอดจน
หลักฐาน เอกสารต่าง ๆ ทุกประเภท ถ้าปรากฏมีความบกพร่องให้พิจารณาเสนอสานักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ เพ่ือขอความเห็นชอบจากประธานสภาการศึกษาของคณะสงฆ์ เม่ือได้รับ
ความเห็นชอบแลว้ สานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาตมิ อี านาจส่ังยบุ เลิกโรงเรยี นได้
2.4.5.10 วินิจฉัย ชี้ขาด ปัญหาข้อขดั ขอ้ งในการปฏิบตั ติ ามระเบียบน้ี
2.4.5.11 ออกระเบียบ คาสง่ั ประกาศเกี่ยวกับการจดั การศึกษาของโรงเรยี นพระปรยิ ัติ
ธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
2.4.5.12 แต่งต้ังคณะอนุกรรมการและประธรรมกลุ่มโรงเรียนให้ปฏิบัติหน้าท่ีตาม
คณะกรรมการการศึกษาโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา มอบหมาย

2.4.6 กลุ่มโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

99

กลมุ่ โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา ประกอบด้วย ผจู้ ัดการ หรอื ผ้อู านวยการ
โรงเรยี นละ 1 รูป เป็นกรรมการโดยตาแหน่ง ผู้ทรงคณุ วฒุ ไิ ม่เกิน 5 รปู หรอื คน ผูแ้ ทนครไู มเ่ กนิ 5 รปู
หรือคน เลขานุการกลุ่มโรงเรียน และผู้ช่วยเลขานุการกลุ่มโรงเรียน ให้เอกประธานกลุ่มโรงเรียน
จานวน 1 รูป รองประธานกลุ่มโรงเรียน จานวน 1 รูป กรณีมีโรงเรียนมากกว่า 20 โรง ให้มีรอง
ประธานกลุ่มโรงเรียนในสัดส่วน 20 โรงต่อ 1 รูป โดยคัดเลือกจากกรรมการโดยตาแหน่งสาหรับ
เลขานกุ ารกลุม่ โรงเรยี น ใหป้ ระธานกลมุ่ โรงเรียนเปน็ ผู้คดั เลอื ก และผชู้ ่วยเลขานกุ ารกลุ่มโรงเรียน ให้
ผอู้ านวยการสานักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัดที่สานกั งานกลุ่มโรงเรียนตัง้ อยู่เปน็ ผคู้ ัดเลือก (กองพุทธ
ศาสนศกึ ษา, 2555)

คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มโรงเรียนมีอานาจหน้าที่ดงั นี้ (กองพทุ ธศาสนศึกษา, 2555)
1. กาหนดนโยบายและแผนพฒั นาโรงเรยี นภายในกลมุ่ โรงเรียน
2. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การพัฒนาคุณภาพในการบรหิ ารงานโรงเรียนและงานวชิ าการ
3. กากับ ติดตาม ตรวจสอบ การบรหิ ารจดั การโรงเรยี นภายในกลมุ่ โรงเรียน
4. ให้คาแนะนาและแกไ้ ขปญั หาการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นภายในกลุ่มโรงเรียน
5. เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่อคณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศกึ ษา
6. ปฏบิ ตั ิงานอ่ืนตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
สรุป หน่วยงานท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
ประกอบด้วย สภาการศึกษาสงฆ์ ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมและส่งเสริมการจัดการศึกษาของคณะสงฆ์
สานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติมีหนา้ ที่รับสนองงาน ประสานงาน ส่งเสริม ดูแล ทานุบารุงศาสน
สถานและศาสนวัตถุ และกองพุทธศาสนาศึกษาท่ีทาหน้าที่ดูแลการบริหารงานโรงเรียนพระปริยัติ
ธรรม แผนกสามัญศึกษาโดยตรง นอกจากน้ียังมีส่วนเกยี่ วข้องอน่ื ๆ ได้แก่ คณะกรรมการการศึกษา
โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา และคณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มโรงเรยี น
และในปัจจุบันได้มีตราพระราชบัญญัติการศึกษาพระปริยัติธรรม พ.ศ. 2562 และได้มี
ประกาศประธานกรรมการการศึกษาพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา (ฉบับท่ี1) เร่ือง หน้าที่และ
อานาจของสานักงานการศึกษาพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา (กองพุทธศาสนศึกษา, 2563)
ผนวก ก โครงสรา้ งและลาดับการบังคบั บัญชา
1. สานักงานการศึกษา พระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

1.1 สานกั อานวยการ
1.2 สานกั เขตการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
1.3 กลมุ่ ตรวจสอบภายใน
2. สานกั อานวยการ
2.1 กองบรหิ ารงานกลาง
2.2 กองเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.3 กองนโยบายและแผนการจัดการศกึ ษา
2.4 กองนิตกิ าร
2.5 กองบริหารทะเบียนและวดั ผล

100

2.6 กองวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา
3. สานกั เขตการศกึ ษาพระปริยัติธรรมแผนกสามญั ศึกษา

3.1 กองอานวยการ
3.2 กองเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3.3 กองนโยบายและแผนการจดั การศึกษา
3.4 กองประเมนิ ผล การจัดการศกึ ษา
3.5 กองส่งเสริมและพฒั นาการจัดการศึกษา
3.6 สถานศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษา ในสังกัด เขต 1-14
ผนวก ข หน้าทแี่ ละอานาจ
1. สานกั งานการศึกษา
2. สานักอานวยการ
2.1 กองบริหารงานกลาง มีหน้าท่ีและอานาจในการบริหารงานท่ัวไป งานสารบรรณ
งานเอกสาร งานบริหารงานบุคคล งานสวสั ดกิ าร งานการเงินและบญั ชี งานอาคารสถานที่ งานจัดซ้อื
จัดจ้างและพัสดุ งานวิเทศสัมพันธ์ งานกิจการพิเศษ งานช่วยอานวยการ งานจัดต้ังสถานศึกษาพระ
ปริยัติธรรม ขยายช้ันเรียน เปิดห้องเรียนสาขา ยุบ ยุบรวม ย้ายท่ีต้ัง เปล่ียนชื่อ หยุดดาเนินการ
ชั่วคราว หรือเลิกดาเนินการ งานอื่นที่ไมไ่ ดอ้ ยู่ในความรับผิดชอบของงานใด และงานอ่ืนตามท่ีได้รบั
มอบหมาย
2.2 กองเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าท่ีและอานาจในการบริหารงานเทคโนโลยี
วเิ คราะห์ วางแผนและออกแบบ ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ งานขอ้ มลู สารสนเทศ ปรับปรุงแกไ้ ข
ให้ถูกต้องและทันสมัย งานจัดสร้าง ปรับปรุงเครื่องมือในการวัดผลประเมินผล งานสารสนเทศเพื่อ
การบริหาร งานจัดทาระบบการจัดเกบ็ การประมวลผล และการใชป้ ระโยชน์ข้อมูล งานส่อื สารองค์กร
งานเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลขององค์กร งานประชาสัมพันธ์ งานเสริมสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีขององค์กร
และงานอื่นตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
2.3 กองนโยบายและแผนการจัดการศึกษา มีหน้าท่ีและอานาจในการวางแผน
ยุทธศาสตร์ แผนงานและงบประมาณ งานวิเคราะห์ จัดทานโยบายและแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
งานจัดทาแผนการใช้จ่ายประจาปีงานวิเคราะห์และวางระบบการติดตามแผนงานหรือโครงการ งาน
ประเมินผลงานหรอื โครงการ งานติดตามและประเมนิ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ งานวิเคราะห์จัดทา
แผนบรหิ ารความเสย่ี งและงานอื่นตามท่ีได้รบั มอบหมาย
2.4 กองนิติการ มีหน้าท่ีและอานาจในการบริหารงานด้านนิติกรรม งานคดีความงาน
ร้องเรยี นงานอุทธรณ์ร้องทุกข์ งานดา้ นกฎหมาย และงานอ่นื ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
2.5 กองบริหารทะเบียนและวัดผล มีหน้าที่และอานาจในการบริหารการวัดผล
ประเมินผล งานจัดทาแผน โครงการระเบียบและหลักเกณฑ์ในการวัดผลประเมินผล งานสถานที่สอบ
งานกาหนดแนวทางการสอบ งานควบคมุ กากับดูแลการวดั ผลประเมินผล งานทะเบียนทเี่ กีย่ วข้องกับ
การวดั ผลประเมนิ ผล งานจดั ทารวบรวมข้อมูลสถิติ งานจดั ทาทะเบียนรูปแบบเอกสารและคารอ้ งต่าง ๆ
และงานอื่นตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย

101

2.6 กองวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา มีหนา้ ทแ่ี ละอานาจในงานด้านวิชาการ จดั ทา
แผนงานวิชาการงานพัฒนาวิจัยและปรับปรุงหลักสูตรงานวิทยบริการ งานผลิตรวบรวมจัดหาแหล่ง
ความรู้ งานมาตรฐานการศกึ ษากาหนดมาตรฐานการศึกษา งานประกนั คุณภาพงานติดตามตรวจสอบ
และประเมนิ ผลการดาเนินงานด้านการศึกษา งานกจิ การผู้เรยี นงานคณุ ธรรมจรยิ ธรรม งานสวสั ดิการ
นกั เรยี นและงานอ่นื ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย

3. สานักเขตการศึกษาพระปรยิ ัติธรรมแผนกสามัญศกึ ษา
3.1 กองอานวยการ มีหน้าที่และอานาจในการบริหารงานท่ัวไป งานสารบรรณงาน

เอกสารงานบริหารงานบุคคล งานสวัสดิการการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา งานมาตรฐาน
วิชาชีพและจรรยาบรรณงานการเงินและบัญชี งานอาคารสถานท่ี งานจัดซื้อจัดจ้างและพัสดุงาน
กิจการพิเศษ งานจัดตั้งสถานศกึ ษาพระปริยัติธรรม ขยายชั้นเรยี นเปิดห้องเรยี นสาขา ยบุ ยบุ รวม ย้าย
ท่ีตั้ง เปลี่ยนชื่อ หยุดดาเนินการชั่วคราวหรือเลิกดาเนินการ งานนิติกรรมและสัญญา งานวินัยและ
อุทธรณ์ร้องทุกข์ งานช่วยอานวยการและประสาน งานอื่นที่ไม่ได้อยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
และงานอืน่ ตามที่ได้รบั มอบหมาย

3.2 กองเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าท่ีและอานาจในการบริหารงานเทคโนโลยี
วเิ คราะห์ วางแผนและออกแบบระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ งานขอ้ มูลสารสนเทศ ปรับปรงุ แก้ไข
ให้ถูกต้องและทันสมัย งานจัดสร้าง ปรับปรุงเคร่ืองมือในการวัดผลประเมินผล งานสารสนเทศเพื่อ
การบรหิ าร งานจัดทาระบบการจดั เก็บการประมวลผลและการใชป้ ระโยชน์ขอ้ มูล งานสื่อสารองค์กร
งานเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลขององค์กร งานประชาสัมพันธ์ งานเสริมสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีขององค์กร
งานพฒั นาสือ่ และรูปแบบนวัตกรรมในการจัดการศกึ ษาและงานอน่ื ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย

3.3 กองนโยบายและแผนการจัดการศึกษา มีหน้าท่ีและอานาจในการวางแผน
ยุทธศาสตร์ แผนงานและงบประมาณในสานกั เขต งานวิเคราะห์ จัดทานโยบายและแผนพัฒนาการจัด
การศึกษา งานจัดทาแผนการใช้จ่ายประจาปี งานวิเคราะห์และวางระบบการติดตามแผนงานหรือ
โครงการ งานประเมินผลงานหรือโครงการ งานติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณ งาน
วเิ คราะหจ์ ัดทาแผนบรหิ ารความเสีย่ ง และงานอน่ื ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย

3.4 กองประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา มหี น้าทแี่ ละอานาจในการวเิ คราะห์ และวางแผน
ระบบติดตามประเมินผลแผนงานหรือโครงการ งานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาพระปริยัติธรรม งานส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาพระปริยัติธรรม งาน
ระบบประกันคุณภาพการศึกษา งานทะเบียนและสถิติที่เกี่ยวข้องกับการวัดผลประเมินผล งาน
ฐานข้อมลู สารสนเทศของสถานศกึ ษาพระปริยัตธิ รรมงานจัดทารวบรวมขอ้ มูลสถิติ งานจัดทาทะเบียน
รูปแบบเอกสารหลักฐานทางการศกึ ษา และงานอ่นื ตามท่ีได้รบั มอบหมาย

3.5 กองส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษา มีหน้าที่และอานาจในการดาเนินการ
เกยี่ วกบั งานสง่ เสรมิ การจดั การศึกษาหลากหลายรูปแบบ งานศาสตร์ของพระราชา งานตามโครงการ
พระราชดาริ งานอนามยั สถานศึกษาพระปริยัตธิ รรมงานกิจการนักเรียน งานพัฒนาสง่ เสรมิ ศักยภาพ
นกั เรียน งานคุณธรรมจริยธรรม งานสวสั ดิการ งานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน งานพัฒนาการศึกษา
เชิงรุก งานส่งเสริมการจดั การเรยี นร้เู ชงิ รกุ และงานอ่นื ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

102

3.6 สถานศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา มีหน้าท่ีและอานาจในการจัดทา
แผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนของคณะกรรมการการศึกษาพระปรยิ ัตธิ รรม
และของสานักงานการศึกษาพระปริยัติธรรม จัดตั้งงบประมาณและรับผิดชอบจากการใช้จ่าย
งบประมาณ จัดการเรียนการสอนสภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง
พร้อมทั้งออกระเบียบ ประกาศ คาส่ัง หรือแนวปฏิบัติต่าง ๆ ตามท่ีกฎหมายกาหนด กากับ ติดตาม
ประเมินผลงานและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนการพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา
และดาเนินงานทางวินัยกับครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษาพระปริยัติธรรม จัดให้มี
ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาพระปริยัติธรรมและให้ความรว่ มมือในการประเมินคุณภาพ
การศึกษาจากหน่วยงานภายนอก รวมท้ังการรายงานผลการประเมินตอ่ คณะกรรมการ ปฏิบัติหน้าที่
อ่นื เก่ียวกบั กจิ การภายในสถานศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรม และงานอน่ื ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย

3.6.1 กลุม่ บริหารงานทว่ั ไป มีหน้าทีแ่ ละอานาจในการดาเนนิ การพฒั นาระบบและ
เครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ การประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา การวางแผนการ
บริหารงานการศึกษา งานวิจัยเพ่ือพัฒนานโยบายและแผนการจัดการศึกษาการจัดระบบการบรหิ าร
และพัฒนาองค์กร การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานงาน งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การ
ดาเนินงานธุรการ การดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม การจัดทาสามะโนผู้เรียน การรับ
นักเรียน การเสนอความเห็นเก่ียวกับเร่ืองการจัดต้ังสถานศึกษาพระปริยัติธรรมขยายช้ันเรียน เปิด
ห้องเรียนสาขา ยุบ ยุบรวม ย้ายที่ต้ัง เปล่ียนชื่อ หยุดดาเนินการช่ัวคราวหรือเลิกดาเนินการ การ
ประสานการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
การทัศนศึกษางานกิจการนักเรียน การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา การส่งเสริม สนับสนุนและ
ประสานการจัดการศึกษาของบคุ คล ชมุ ชน องค์กรหนว่ ยงานและสถาบันสงั คมอ่นื ท่จี ดั การศึกษา งาน
ประสานราชการกับส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น การรายงานผลการปฏิบัติงาน การจัดระบบการ
ควบคุมภายในหน่วยงาน แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนักเรียน
และงานอื่นท่ไี ด้รบั มอบหมาย

3.6.2 กลุ่มงานบริหารงานงบประมาณ มีหน้าที่และอานาจในการดาเนินการจัดทา
แผนงบประมาณ และคาขอจดั ต้งั งบประมาณเพอื่ เสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั จัดทาแผนปฏิบัตกิ ารใช้
จ่ายเงนิ ตามท่ไี ดร้ ับจัดสรรงบประมาณจากหน่วยงานตน้ สังกัดการอนุมัตกิ ารใช้จา่ ยงบประมาณท่ีได้รับ
จดั สรร การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ การรายงานผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ การ
ตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใชง้ บประมาณ การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้ผลผลิตจาก
งบประมาณ การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา การปฏิบัติงานอ่ืนใดตามท่ีได้รับ
มอบหมายเกี่ยวกบั กองทนุ เพอื่ การศึกษา การบริหารจัดการทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา การวางแผนพัสดุ
การกาหนดรปู แบบรายการ หรือคุณลักษณะเฉพาะของครภุ ณั ฑ์ หรือส่ิงก่อสรา้ งที่ใช้เงนิ งบประมาณ
เพื่อเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกดั การพัฒนาระบบขอ้ มลู และสารสนเทศเพ่ือการจัดทาและจัดหาพัสดุ
การจัดหาพัสดุ การควบคุมดูแล บารุงรักษาและจาหน่ายพัสดุ การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน
การเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจ่ายเงิน การนาเงินส่งคลัง การจัดการ

103

จัดทาบัญชีการเงิน การจัดทารายงานทางการเงินและงบการเงนิ การจัดทาหรือจัดหาแบบพิมพบ์ ัญชี
ทะเบยี น และรายงานและงานอ่ืนทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

3.6.3 กลุ่มงานบริหารงานบุคคล มีหน้าที่และอานาจในการดาเนินการวางแผน
อัตรากาลัง การจัดสรรอัตรากาลังครูและบุคลากรทางการศึกษา การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง การ
เปลี่ยนตาแหนง่ ให้สูงข้ึน การย้ายครูและบคุ ลากรทางการศึกษา การดาเนินการเก่ยี วกับการเลื่อนขน้ั
เงินเดือน การลาทุกประเภท การประเมินผลการปฏิบัติงาน การดาเนินการทางวินัยและการลงโทษ
การส่ังพักและการสั่งให้พน้ จากครูและบุคลากรทางการศึกษาไว้กอ่ น การรายงานการดาเนินการทาง
วินัยและการลงโทษ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ การออกจากครูและบุคลากรทางการศึกษา การ
จัดระบบและการจัดทาทะเบียนประวัติ การจัดทาบัญชีรายช่ือและให้ความเห็นเก่ียวกับการเสนอขอ
พระราชทานเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ การส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะครูและบุคลากรทางการศึกษา
การส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ การ
ส่งเสริมวินยั คุณธรรมและจริยธรรมสาหรับครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา การรเิ ร่มิ สง่ เสรมิ การขอรับ
ใบอนุญาต การพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาการดาเนินการทเี่ กยี่ วกับการบรหิ ารงานบคุ คลให้
เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการน้ัน และงานอนื่ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

3.6.4 กลุ่มงานวิชาการ มีหน้าท่ีและอานาจในการดาเนินการพัฒนาหรือการ
ดาเนินการเก่ียวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น การวางแผนงานด้านวิชาการ
การจัดการเรียนการสอนการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล
และดาเนินการเทยี บโอนผลการเรียนการวจิ ัยเพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษา การพัฒนาและสง่ เสริมให้
มีแหล่งเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา การแนะแนวการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและ
มาตรฐานการศกึ ษา การส่งเสริมชุมชนให้มคี วามเขม้ แข็งทางวชิ าการ การประสานความร่วมมือในการ
พัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาพระปริยัติธรรมและองค์กรอ่ืน การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการ
แก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานสถานประกอบการและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา การจัดทา
ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกบั งานด้านวิชาการ การคัดเลือกหนงั สือ แบบเรียน การพัฒนาและการ
ใชส้ ่ือเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา และงานอืน่ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

4. กลุ่มตรวจสอบภายใน มีหน้าท่ีและอานาจในการวางระบบตรวจสอบ และควบคุม
ภายในตรวจสอบ วิเคราะห์และประมวลผลโดยติดตามตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้านการเงนิ
การบัญชี และการพัสดุ การบรหิ าร การจัดการประมวลผล การดาเนินงานตามแผนงาน โครงการและ
กิจกรรมให้เป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายท่ีกาหนด การบริหารความเสี่ยง และการอื่นตามที่ได้รับ
มอบหมาย

ผนวก ค เขตการศกึ ษาพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา (เขต 1-14)
1. เขต 1 ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม ปทุมธานี สมุทรปราการ
นนทบรุ ี สมทุ รสาคร และสมุทรสงคราม มโี รงเรยี นจานวน 14 โรง
2. เขต 2 ประกอบด้วย จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา กระบี่ ตรัง
ระนอง พงั งา ภเู กต็ พทั ลงุ สตลู ยะลา ปตั ตานี และนราธวิ าส มโี รงเรียนจานวน 20 โรง
3. เขต 3 ประกอบดว้ ย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบรุ ี สระบุรี สิงห์บรุ ี ชัยนาท
อุทยั ธานี สพุ รรณบรุ ี ราชบรุ ี เพชรบุรี กาญจนบุรี และประจวบครี ีขันธ์ มโี รงเรยี นจานวน 19 โรง

104

4. เขต 4 ประกอบด้วย จังหวัดนครสวรรค์ กาแพงเพชร สุโขทัย พิษณุโลก อุตรดิตถ์
พจิ ิตร ตาก และเพชรบูรณ์ มีโรงเรียนจานวน 24 โรง

5. เขต 5 ประกอบดว้ ย จังหวัดเชยี งใหม่ ลาพูน และแมฮ่ อ่ งสอน มีโรงเรยี นจานวน 42 โรง
6. เขต 6 ประกอบดว้ ย จงั หวดั แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย และลาปาง มโี รงเรยี นจานวน
61 โรง
7. เขต 7 ประกอบดว้ ย จังหวัดขอนแก่น เลย และหนองบวั ลาภู มโี รงเรยี นจานวน 45 โรง
8. เขต 8 ประกอบด้วย จังหวัดหนองคาย อุดรธานี สกลนคร และบึงกาฬ มีโรงเรียน
จานวน 42 โรง
9. เขต 9 ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร อานาจเจริญ และมุกดาหาร มี
โรงเรียน จานวน 35 โรง
10. เขต 10 ประกอบดว้ ยจงั หวดั ร้อยเอด็ มหาสารคาม กาฬสนิ ธุ์ และนครพนม มโี รงเรียน
จานวน 43 โรง
11. เขต 11 ประกอบด้วยจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และชัยภูมิ มี
โรงเรยี นจานวน 41 โรง
12. เขต 12 ประกอบด้วยจังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก ชลบุรี
ระยอง จนั ทบุรแี ละตราด มีโรงเรียนจานวน 13 โรง
13. เขต 13 คณะสงฆจ์ นี นกิ าย ทว่ั ราชอาณาจักร
14. เขต 14 คณะสงฆอ์ นมั นิกาย ท่ัวราชอาณาจกั ร
กล่าวโดยสรุป โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาน้ี เป็นการศึกษาของคณะสงฆ์
นอกจากจะมุ่งเน้นเรื่องการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรมและแผนกบาลีแล้ว ยังมุ่งเน้นด้าน
การศึกษาวิชาสามัญที่เป็นพื้นฐานจาเป็นสาหรับการเรียนรู้ของบุคลากรทั่ว ๆ ไปด้วย เพระการที่
พระภิกษุสามเณรได้เรียนรู้พระปริยัติธรรมควบคู่กับวชิ าสามญั ช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจในสังคม
ปัจจุบันที่เปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็วยง่ิ ข้นึ อันมีผลทาให้สามารถนาความรู้ที่ได้รบั ไปประยกุ ต์ใช้ใน
การเผยแผ่หลักธรรมคาสอนได้เหมาะสมกับสถานการบ้านเมืองในปัจจุบัน และยังเป็นฐานรองรับ
การศึกษาในระดับอุดมศึกษา เป็นรายการศึกษาที่จะขึ้นสู่ระดับมหาวิทยาลัยและประกาศนียบัตรมี
ศักด์ิและสิทธิ์เช่นเดียวกับโรงเรียนในสังกัดกระทรวง ศึกษาธิการทุกประการ ฉะนั้น
กระทรวงศึกษาธิการ อาศัยอานาจตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.
2515 ได้ออกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ.
2514 ในปี 2545 มีการตราพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มาตรา 45
กาหนดใหม้ ีสานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติข้นึ และพระราชกฤษฎกี าโอนกิจการบริหารและอานาจ
หน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญตั ิปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม กอง พ.ศ. 2545
มาตรา 195 กาหนดให้โอนอานาจหน้าที่ ของกรมการศาสนาบางส่วนมาเป็นของสานัก งาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ พร้อมทั้งมีหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศึกษาประกอบด้วย สภาการศึกษาสงฆ์ ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมและส่งเสริมการจัดการศึกษาของ
คณะสงฆ์ สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติมีหน้าที่รับสนองงาน ประสานงาน ส่งเสริม ดูแล ทานุ
บารุงศาสนสถานและศาสนวัตถุ และกองพุทธศาสนาศึกษาที่ทาหน้าที่ดูแลการบริหารงานโรงเรียน

105

พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาโดยตรง นอกจากนี้ยังมสี ่วนเกี่ยวข้องอ่ืน ๆ ได้แก่ คณะกรรมการ
การศกึ ษาโรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา และคณะกรรมการบริหารกลมุ่ โรงเรียน และใน
ปัจจุบันได้มีตราพระราชบัญญัติการศึกษาพระปริยัติธรรม พ.ศ. 2562 และได้มีประกาศประธาน
กรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา (ฉบับที่1) เรื่อง หน้าท่ีและอานาจของ
สานักงานการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ท่ีมีโครงสร้างและลาดับการบังคับบัญชา,
หนา้ ท่ีและอานาจ, เขตการศกึ ษาพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา (เขต 1-14) เปน็ ต้น

2.5 บริบทของโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัด
หนองคาย: พ้นื ท่ีในการทดลอง (Experiment Area) ในการวิจยั

2.5.1 ชื่อสถานศึกษา (ไทย) โรงเรยี นบาลสี าธติ ศกึ ษามหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
2.5.2 ชือ่ สถานศึกษา (องั กฤษ) Baleesathissuksa Mahajulalongkornrajavidyalaya
School
2.5.3 ประวัติความเป็นมาการก่อตั้งโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลยั วัดศรีษะเกษ จงั หวัดหนองคาย
การศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา นนั้ เปน็ การศึกษารูปแบบหน่ึงของการศึกษา
คณะสงฆ์เป็นการศึกษาที่รัฐกาหนดให้มีข้ึนตามความประสงค์ของคณะสงฆ์ (พระราชวรมุนี 2521 :
355 อ้างถึงใน กองพุทธศาสนศึกษา, 2557: 1) ซ่ึงมีมูลเหตุสืบเนื่องมาจากการจัดตั้งโรงเรียนบาลี
มธั ยมศกึ ษา และบาลวี ิสามญั ศึกษา สานกั เรียนวัด กลา่ วคอื ภายหลงั จากทก่ี ารศกึ ษาในมหาวิทยาลัย
สงฆ์ท้ังสองแห่ง คือ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย ซ่ึงเปิดดาเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2432 และ พ.ศ. 2489 ตามลาดับ ได้เจริญก้าวหนา้ มาก
ขึ้น ทางมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้จัดแผนกมัธยมขึ้นมาเรียกว่า โรงเรียนบาลี
มัธยมศึกษา กาหนดให้มกี ารเรยี นบาลีนกั ธรรม และความรชู้ น้ั มัธยม โดยรับผ้ทู ่ีสาเร็จการศึกษาช้ันปีที่
4 ต่อมาเม่ือโรงเรียนบาลีมัธยมศึกษาได้แพร่ขยายออกไปยงั ต่างจังหวัดหลายแห่งมภี ิกษุและสามเณร
เรยี นกนั มาก ทางคณะสงฆ์โดยองค์การศึกษาจงึ ได้กาหนดให้เรียกโรงเรียนประเภทนี้ใหม่วา่ โรงเรียน
บาลีวิสามัญศึกษาสานักวัด โดยมติสังฆมนตรีและกระทรวงศึกษาธิการก็ได้ออกระเบียบกระทรวงให้
โรงเรียนบาลวี สิ ามัญศึกษาสานกั เรียนวัดเปิดทาการสอบสมทบในชั้นตวั ประโยค คือ ช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศกึ ษาช้นั ปีที่ 3 ไดต้ ้ังแต่ปี พ.ศ. 2500 เปน็ ต้นมา และเมอื่ สอบได้แลว้ ก็ยังจะได้รับ
ประกาศนียบัตรจากกระทรวงศึกษาธิการอีกด้วย ด้วยเหตุนี้จึงทาให้พระภิกษุและสามเณรนิยมเรยี น
กนั เป็นจานวนมาก โรงเรียนประเภทนี้จึงแพร่หลายออกไปยังจงั หวดั ตา่ ง ๆ อยา่ งกวา้ งขวาง และได้มี
การจัดตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ขึ้น 4 แห่งทั่วประเทศ หน่ึงในน้ันคือ โรงเรียน
บาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัด
หนองคาย ประกาศอย่างเป็นทางการ เม่ือวันท่ี 15 เดือน ธันวาคม พุทธศักราช 2513 ต้ังอยู่ สถาน
ที่ตั้ง ตั้งอยู่เลขที่ 1167 หมู่ท่ี 5 วัดศรีษะเกษ ถนนประจักษ์ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัด
หนองคาย รหัสไปรษณีย์ 43000 โทรศพั ท์ 0-4241-1777 สังกดั สานกั งาน : พระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ
จานวนบุคลากรท้ังหมด 11 รูป/คน เจ้าหน้าหน้าที่ 2 คน จานวนนักเรียนท้ังหมด 204 รูป จาแนก
เป็นระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 91 รูป ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 113 รปู

106

2.5.4 วิสยั ทศั น์ (Vision)
โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ อาเภอเมือง จังหวัด
หนองคาย มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม เรียนอย่างมีความสุข บริหารจัดการอย่างเป็น
ระบบ พัฒนาศกั ยภาพของบคุ ลากร สบื สานวัฒนธรรมประเพณีท้องถ่ิน พฒั นาคนดีคืนสูส่ งั คม ศกึ ษา
น้อมนาพระธรรมวนิ ัย ดาเนนิ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จัดการศึกษาเพอ่ื ยกระดับสู่ประชาคมอาเซยี น
2.5.5 พนั ธกจิ (Mission)
ด้านคุณภาพของผู้เรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น
1. ส่งเสริมผู้เรียนให้มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณ
ตามเกณฑข์ องแตล่ ะระดับชั้น
2. ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถในการวเิ คราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแก้ปญั หา
3. ส่งเสรมิ ผเู้ รียนให้มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
4. ส่งเสรมิ ผู้เรยี นให้มีความกา้ วหน้าทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
5. สง่ เสรมิ ผเู้ รยี นใหม้ ผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นและพฒั นาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ
6. สง่ เสริมผเู้ รยี นใหม้ ีความพรอ้ มในการศึกษาต่อ การฝกึ งานหรือการทางาน
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รยี น
1. ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามที่สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัดกับ
กฎหมายและวัฒนธรรมอนั ดีของสังคม
2. ส่งเสริมผู้เรียนใหค้ วามภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย
3. สง่ เสรมิ ผู้เรยี นให้การยอมรบั ท่จี ะอยูร่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4. สง่ เสริมผู้เรยี นให้สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจิตสังคม
ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผู้บริหารสถานศกึ ษา
1. บริหารแบบมีเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ และ พันธกิจ ท่ีสถานศึกษากาหนดชดั เจน
2. บรหิ ารการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา

2.1 บริหารการวางแผนและดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบ
ด้านทุกกลมุ่ เปา้ หมาย และดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม

2.2 บริหารและสนับสนุนการวางแผนและดาเนินงานพัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความ
เชยี่ วชาญทางวิชาชีพ

2.3 บรหิ ารการวางแผนการบริหารและการจดั การข้อมลู สารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ
2.4 บริหารการวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อ การ
จดั การเรยี นร้อู ยา่ งมีคณุ ภาพ
3. สนบั สนนุ การมสี ว่ นร่วมของผู้เกีย่ วขอ้ งทุกฝ่าย และการรว่ มรบั ผดิ รบั ชอบต่อผลการจัด
การศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพและได้มาตรฐาน

107

4. บริหารการกากบั ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจดั การศกึ ษา

ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ

1. สถานศึกษามกี ระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสใหผ้ เู้ รียนทกุ คนมสี ว่ นร่วม

2. สถานศึกษามกี ารจดั การเรยี นการสอนทย่ี ึดโยงกบั บริบทของชุมชนและทอ้ งถน่ิ

3. สถานศึกษามีการตรวจสอบและประเมินความร้คู วามเขา้ ใจของผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ

และมปี ระสทิ ธิภาพ

2.5.6 คาขวัญ ปรัชญา สี ตน้ ไม้ และพระพทุ ธรปู ประจาโรงเรยี น

คาขวญั ของโรงเรยี น : รู้รักษามคั คี ใฝ่ดี ใฝ่รู้ เชิดชูคุณธรรม

ปรัชญาของโรงเรยี น : ปญญฺ า โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต “ปัญญา เป็นแสงสว่างในโลก”

พระพทุ ธรปู ประจาโรงเรียน : หลวงพอ่ องคห์ ลวง

ตน้ ไมป้ ระจาโรงเรยี น : ต้นสาละ

สปี ระจาโรงเรยี น : ชมพู

อักษรยอ่ ของโรงเรยี น (ไทย) : บศ.มจร.นค.

อักษรย่อของโรงเรยี น (อังกฤษ) : BS.MJR.NK

2.5.7 ที่ตั้งโรงเรยี น

ภาพที่ 2.3 แผนที่ตงั้ โรงเรยี นบาลสี าธติ ศกึ ษามหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ
ตราสญั ลกั ษณข์ องโรงเรยี น

พระจุลมงกุฎ (พระเกีย้ ว)

108

พระราชลัญจกรประจาพระองค์ พระบาทสมเด็จพระปรมนทรมหาจุฬาลงกรณ พระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ด้านหลังมีรูป ธรรมจักรวางเป็นฉากเบื้องหลัง รูปวงกลมครอบ
ธรรมจกั รสว่ นกลางเป็นพระเกี้ยว เป็นพระราช ลัญจกร ประจาพระองคพ์ ระบาทสมเด็จพระปรมนทรม
หาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 5 รอบกรอบ ด้านบนมีอักษรภาษาไทยว่า :
โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา รอบกรอบดานล้างมีอักษรว่า : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัด
หนองคาย

2.5.8 กระบวนการดาเนินงานการพัฒนาคณุ ภาพของโรงเรยี น
ปัจจุบนั โรงเรียนบาลีสาธติ ศกึ ษามหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วดั ศรีษะเกษ สงั กดั กองพุทธ
ศาสนศึกษา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จัดการเรียนการสอนต้ังแต่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ในการจดั การศึกษาของโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษาฯ วัดศรีษะเกษ มคี วามมงุ่ ม่ันท่ีจะ
เปลี่ยนแปลงไปสู่การ พัฒนาตามแนวทางการปฏิรูปการศกึ ษา เพื่อใหก้ ารจดั การศึกษามีคุณภาพและ
ประสิทธภิ าพโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษาฯ วดั ศรษี ะเกษ จงึ ได้กาหนดกลยุทธก์ ารพฒั นาการศึกษาโดยมี
กรอบกฎหมายท่ีสาคัญทางการศึกษานโยบายของ รัฐบาลยุทธศาสตร์สู่ การปฏิบัติของ
กระทรวงศึกษาธิการ กลยุทธ์ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและกลยุทธ์ของ
สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติเปน็ แนวทางในการพัฒนา
การกาหนดวิสัยทัศน์ของโรงเรียนเป็นวิสัยทัศน์ที่เกิดจากการระดมความคิดเห็นจาก
บุคลากรทุก ฝ่ายมีพันธกิจท่ีกาหนดขึ้นเพือ่ สนับสนนุ ให้วิสัยทัศน์ที่วางไว้บรรลุความเป็นความจริงได้
และเกดิ ประโยชน์ ตามเปา้ ประสงค์ รวมทัง้ การนาแผนกลยทุ ธ์ไปสกู่ ารปฏิบัติโดยใชก้ รอบแนวคิดตาม
หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง เพ่อื ใหแ้ ผนเกิดประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผลสงู สุด
ภารกิจหลัก เนื่องจากโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษาฯ วัดศรีษะเกษ เป็นหน่วยงานท่ีอยู่ภายใต้
การกากับดูแลของ มหาเถรสมาคม สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีหน้าท่ีดาเนินการให้เปน็ ไป
ตามอานาจหนา้ ที่ของคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
จัดทานโยบายแผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนให้สอดคล้องกับนโยบาย
มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน และความต้องการของท้องถน่ิ
วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอดุ หนุนทัว่ ไปของโรงเรยี น และจดั สรรงบประมาณทไี่ ด้รบั ให้แต่ละ
กลุ่มงานรับทราบ และกากับ ตรวจสอบ ติดตาม การใช้จ่ายงบประมาณของโรงเรียนส่งเสริม
สนับสนุน และ พัฒนาหลักสูตรร่วมกับบุคลากรและผู้มีส่วนเก่ียวข้อง กากับ ดูแล ติดตาม และ
ประเมินผลการจัดการ เรียนการสอนของบุคลากรให้บรรลุตามหลักสูตร ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และ
รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศึกษาของนักเรียนในเขตบรกิ ารประสานการระดมทรัพยากรดา้ น
ต่าง ๆ รวมท้ังทรัพยากรบุคคล เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนการจัดและการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน
จัดระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา และประเมินผลการศึกษาของนักเรยี น
ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัย และการพัฒนาการศึกษา ของบุคลากรในโรงเรียนประสาน
ส่งเสริมการดาเนินงานของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและผู้มีส่วนเกย่ี วข้องปฏิบัติหน้าท่อี ่ืน
เก่ียวกับกิจการภายในเขตบริการของโรงเรียนท่ีมิได้ระบุให้เป็นหน้าที่ของผู้ใดโดยเฉพาะหรือ
ปฏบิ ัติงานอนื่ ที่ไดร้ บั มอบหมายจัดการศึกษาใหพ้ ระภิกษุสามเณรระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ใหไ้ ด้รับ

109

การพัฒนาและมีความพร้อมในการ เข้าเรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ส่งเสริมนกั เรยี นที่เรียนจบ
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ให้มีโอกาสศกึ ษาตอ่ สงู ขึ้น ตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ

2.5.9 สภาพปจั จุบนั ปัญหาและความตอ้ งการของสถานศึกษา
1. ผลการประเมินภายนอก
ขอ้ เสนอแนะเพอื่ พฒั นาสถานศกึ ษาจาก สมศ

1) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะท่ีจาเป็นตามหลักสูตร กลุ่มสาระวิชา
พระธรรมวินยั และภาษาบาลี

2) ครคู วรได้รับการศึกษาอบรม พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีความรู้ดา้ นการทางานแบบบูรณาการ
การเรียนรแู้ บบโครงงาน การเรียนรูแ้ บบแผนผงั

3) สถานศึกษาควรส่งเสรมิ และพัฒนานวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้และสื่ออปุ กรณก์ าร
เรยี นท่เี อ้อื ต่อการเรยี นรู้ เพอื่ นามาพฒั นาการเรยี นการสอนของครู สง่ เสริมให้มีการเรยี นการสอนโดย
ใช้สอื่ ผลิตสอื่ วจิ ยั สือ่

สภาพปญั หาความต้องการจาเปน็
เป็นสภาพปัญหาจากการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกด้วยเทคนิค SWOT
เพื่อนาไปสู่การกาหนดความต้องการจาเป็นในการแก้ปัญหา และพัฒนาภารกิจหลักและภารกิจรอง
และการงานตามนโยบายทเ่ี กี่ยวขอ้ งระดับตา่ ง ๆ สรุปได้ดงั นี้ ประเดน็ สาคัญ
จุดแขง็
1. ผเู้ รยี น มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมอนั พงึ ประสงค์ มีสมั มาคารวะ ช่วยเหลอื ผู้อื่น
ซ่ือสัตย์สุจริต รู้จักออมทรัพย์ประหยัดอดออม บาเพ็ญประโยชน์ในสถานศึกษาโดยการทาความ
สะอาด และนอกสถานทโ่ี ดยการผกู ผ้าประดบั ตา่ ง ๆ
2. สถานศึกษาจัดให้มีโครงการพิเศษประสบผลสาเร็จที่ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
เพือ่ แก้ปัญหาดา้ นการใช้จา่ ยโดยใชโ้ ครงการออมทรัพยแ์ ละการประหยัด ปญั หาดา้ นความสะอาดและ
มีระเบียบโดยใช้โครงการรักษาสภาพแวดล้อมและอนุรักษ์ธรรมชาติ ปัญหาด้านการรักษาวินัยและ
คณุ ธรรมโดยใชโ้ ครงการฝกึ อบรมคุณธรรมและจรยิ ธรรม
3. ครูมีคุณธรรมจริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียน
ผปู้ กครอง อทุ ศิ เวลาในการสอน และพัฒนาผู้เรยี นไดเ้ ตม็ ศักยภาพ
4. สถานศึกษาส่งเสริมความสัมพันธ์ และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา
ผู้บริหารมภี าวะผ้นู า และมีความสามารถในการบริหารจดั การ
จดุ ออ่ น
1. ดา้ นผลการจัดการศกึ ษา

1) การพัฒนาใหผ้ ู้เรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสงู ขึน้ ในทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2) การประเมินความพึงพอใจดา้ นอัตลักษณแ์ ละเอกลักษณ์
2. ด้านการบริหารการศกึ ษา
1) การพฒั นาบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา
2) การพฒั นาสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา

110

3. ด้านการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ
1) การพฒั นาการเรยี นการสอน
2) การสอนซอ่ มเสรมิ และการวิจัยในชนั้ เรียน

4. ด้านการประกนั คุณภาพภายใน
1) การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาท่ีต่อเนือ่ ง

โอกาส
สถานศึกษามีคณะกรรมการโรงเรียนและชุมชนให้ความร่วมมือทั้งด่านความคิดและ
แรงงาน และทนุ ทรัพย์ เพ่ือการพัฒนาการศึกษา ประกอบกับได้จดั ภัตตาหาร เชา้ -เพล แกผ่ เู้ รยี น
อุปสรรค
พ่อแม่หรือญาติของผู้เรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ทาให้มีปัญหาต่อการซื้ออุปกรณ์การ
เรียนและมีปัญหาตอ่ การจัดการศึกษา
2. ผลการทดสอบปลายปี
ผลการสอบ O-NETของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ค่าเฉล่ยี กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่
3 มีคา่ เฉลีย่ เทา่ กบั 36.00 ซ่ึงต่ากวา่ คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ คือ 55.14 เมอื่ พจิ ารณารายสาระการ
เรียนรู้ พบว่าควรเร่งพัฒนาเนื่องจากมีผลการทดสอบของสาระการเรียนรู้มีค่าเฉล่ียต่ากว่าคะแนน
เฉลยี่ ระดับประเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 18.93 ซ่ึงต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ 26.73 เมื่อ
พิจารณารายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาควรเร่งพัฒนา เน่ืองจากมีผลการ
ทดสอบของสาระการเรยี นร้มู ีค่าเฉล่ียตา่ กวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 28.89 ซึ่งต่ากว่าคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ คือ 30.07 เมื่อ
พิจารณารายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาควรเร่งพัฒนา เน่ืองจากมีผลการ
ทดสอบของสาระการเรียนรู้มีค่าเฉลยี่ ตา่ กว่าคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 28.00 ซึ่งต่ากว่าคะแนน
เฉลี่ยระดบั ประเทศ คอื 33.25 เม่อื พจิ ารณารายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ทีส่ ถานศึกษา
ควรเร่งพัฒนา เน่ืองจากมีผลการทดสอบของสาระการเรียนรู้มีค่าเฉล่ียต่ากว่าคะแนนเฉล่ีย
ระดับประเทศ
ผลการสอบ O-NETของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2561
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ค่าเฉล่ียกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี
6 มคี า่ เฉล่ยี เท่ากับ 29.25 ซงึ่ ตา่ กวา่ คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ คอื 42.21 เมอื่ พิจารณารายสาระการ
เรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาควรเร่งพัฒนา เน่ืองจากมีผลการทดสอบของสาระการ
เรียนรมู้ ีคา่ เฉลย่ี ตา่ กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

111

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ค่าเฉล่ียกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.07 ซึ่งต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ 25.41 เม่ือ
พิจารณารายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ท่ีสถานศึกษาควรเร่งพัฒนา เน่ืองจากมีผลการ
ทดสอบของสาระการเรียนร้มู ีค่าเฉลย่ี ต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ค่าเฉล่ียกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 22.07 ซึ่งต่ากว่าคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ คือ 29.20 เม่ือ
พิจารณารายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาควรเร่งพัฒนา เน่ืองจากมีผลการ
ทดสอบของสาระการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยตา่ กวา่ คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ค่าเฉล่ียกลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 26.00 ซ่ึงต่ากว่าคะแนน
เฉลยี่ ระดับประเทศ คือ 35.70 เมือ่ พจิ ารณารายสาระการเรยี นรู้ พบวา่ สาระการเรียนรทู้ ส่ี ถานศึกษา
ควรเร่งพัฒนา เน่ืองจากมีผลการทดสอบของสาระการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยต่ากว่าคะแนนเฉลี่ย

ระดบั ประเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.12 ซ่ึงต่ากว่าคะแนน
เฉลี่ยระดับประเทศ คือ 29.20 เมอ่ื พจิ ารณารายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรทู้ ส่ี ถานศึกษา
ควรเร่งพัฒนา เน่ืองจากมีผลการทดสอบของสาระการเรียนรู้มีค่าเฉล่ียต่ากว่าคะแนนเฉลี่ย
ระดับประเทศ

โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษาฯ วัดศรีษะเกษ บริหารจัดการภายใต้วิสัยทัศน์ ของโรงเรียนฯ
บริหารจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ โดยมีพันธกิจและเป้าประสงค์ในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันโดยพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะวิชาการ ทักษะ
ชีวิต ทักษะวิชาชีพ ตามคุณลักษณะในศตวรรษท่ี 21 พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมือ
อาชีพ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการศึกษาที่เป็นมาตรฐาน และพัฒนาระบบบริหารจัด
การศึกษาแบบบูรณาการ โดยประสานความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กร

และเครือข่ายนานาชาติ

ตารางที่ 2.1 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-Net) ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษา
ตอนตน้ (ม.3) ปีการศกึ ษา 2562

รายวชิ า ระดับโรงเรียน คะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ

ภาษาไทย 36.00 ระดบั สงั กัด 55.14
คณติ ศาสตร์ 18.93 26.73
วิทยาศาสตร์ 25.89 43.57 30.07
ภาษาองั กฤษ 28.00 20.47 33.25
27.42
26.77

112

ตารางท่ี 2.2 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-Net) ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (ม.6) ปีการศกึ ษา 2562

รายวชิ า ระดบั โรงเรียน คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ

ภาษาไทย 29.25 ระดับสังกดั 42.21
สงั คมศึกษา ฯ 26.00 35.70
คณิตศาสตร์ 16.07 31.49 25.41
วทิ ยาศาสตร์ 22.07 30.93 29.20
ภาษาอังกฤษ 21.12 16.01 29.20
24.05
21.63

ตารางที่ 2.3 แสดงเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-Net) ระดับช้ัน
มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.3)

รายวิชา ปีการศกึ ษา 2560 คะแนนเฉลย่ี ปีการศึกษา 2562

ภาษาไทย 48.29 ปีการศึกษา 2561 55.14
คณติ ศาสตร์ 26.30 26.73
วทิ ยาศาสตร์ 32.28 54.42 30.07
ภาษาองั กฤษ 30.45 30.04 33.25
36.10
29.45

ตารางที่ 2.4 แสดงเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-Net) ระดบั ชั้น
มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)

รายวชิ า ปกี ารศึกษา 2560 คะแนนเฉลีย่ ปีการศึกษา 2562
ปีการศกึ ษา 2561 42.21
ภาษาไทย 49.25
สังคมศึกษา ฯ 34.70 47.31 35.70
คณติ ศาสตร์ 24.53 25.41
วทิ ยาศาสตร์ 29.37 35.16 29.20
ภาษาอังกฤษ 28.31 30.72 29.20
30.51
31.41

113

โดยสรุป จากข้อความข้างต้น เมื่อพิจารณาความสาคัญเป้าหมายของการศึกษาคณะสงฆ์
ไทย ด้านหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้ ด้านการบรหิ ารและการจัดการ และด้านบคุ ลากร เป็นสิง่ ท่ี
สาคัญและมีประโยชน์ต่อโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเป็นอย่างมาก และ
แสดงถงึ บริบทของโรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรมแผนกสามญั ศกึ ษาขา้ งตน้ จะเหน็ วา่ นโยบายของสานักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ มุ่งเน้นให้นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ เพ่ิมโอกาสในการ
พฒั นานกั เรียนตรงตามศกั ยภาพและความถนดั ของตนเอง สง่ เสริมการจัดการศึกษาให้ผูเ้ รียนมีความรู้
มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจาเป็นของโลกในศตวรรษท่ี 21 อย่างครบถ้วน พัฒนาผู้เรียนให้มี
สมรรถนะและทักษะด้านการอา่ น คณิตศาสตร์ การคิดข้ันสูง นวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดจิ ิทัล และพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการโดยใช้พืน้ ทเ่ี ปน็ ฐาน มนี วัตกรรมเป็นกลไกหลกั ในการขับเคล่ือน
บนฐานขอ้ มูลสารสนเทศทีถ่ กู ต้อง ทันสมยั และการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น ส่งผลใหโ้ รงเรียนมีการ
พัฒนาผู้เรียน หลกั สตู รและกระบวนการจดั การเรยี นการสอน แหลง่ เรยี นรู้ สภาพแวดล้อมและพฒั นา
นวัตกรรมเพือ่ การจัดการเรียนรู้ที่เอ้ืออานวยให้ผู้เรยี นสามารถ เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอด
ชีวิต การมีทักษะความร่วมมือ จึงมีความสาคัญอย่างย่ิงและเป็นประโยชน์ในการพัฒนาครูและ
บุคลากรทางการศึกษา เพื่อเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัยและเพอ่ื นาไป
พฒั นานกั เรียนให้ทนั ต่อสมัยโลกาภิวัตน์ และนักเรยี นเกดิ ทักษะความร่วมมือ เพื่อนาไปพัฒนาตนเอง
และนาไปใช้ประโยชน์ได้ ทาให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาและดาเนนิ การวิจยั การพัฒนาโปรแกรม
ออนไลน์เพ่อื พฒั นาครูสู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือของนกั เรียน โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ด้วยกระบวนการวิจัยและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพ่ือพัฒนาครูสู่การ
เสริมสร้างทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) เพ่ือตอบสนองนโยบายในการพัฒนาครูสู่ครู
มอื อาชีพและเสรมิ สร้างทักษะให้นักเรียนเปน็ บุคคลแหง่ การเรียนรู้ พัฒนาตนเองได้อย่างเตม็ ศักยภาพ
มุง่ ส่กู ารเปน็ พลเมืองที่ดีในยุคโลกาภิวัตน์ และจะก่อใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงตามจุดม่งุ หมายที่ร่วมกัน
กาหนด เกิดการเรยี นรแู้ ละความรใู้ หมร่ ะหวา่ งผู้วิจยั และผูร้ ว่ มวิจยั ต่อไป

2.6 กรอบแนวคดิ เพ่ือการวจิ ยั

ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการวิจัยน้ี คือ วิจัยและพัฒนา (Research and Development :
R&D) เป็นนวัตกรรมที่พัฒนาข้ึนโดยกระบวนการวิจัย และพัฒนามีจุดมุ่งหมาย-เพ่ือนาไปใช้พัฒนา
บคุ ลากรสูก่ ารพฒั นาคุณภาพของงานที่มีปรากฏการณ์ หรือขอ้ มลู เชิงประจกั ษ์แสดงใหเ้ ห็นว่ามีความ
จาเปน็ เกดิ ข้ึน เชน่ เปน็ ผลสืบเน่อื งจากการกาหนดความคาดหวังใหม่ทที่ ้าทายของหน่วยงาน หรือการ
เปลยี่ นแปลงในกระบวนทัศนก์ ารทางานจากเก่าสู่ใหม่ ทีบ่ ุคลากรขาดความรู้ความเขา้ ใจและทักษะใน
กระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหาร
การศึกษาเกิดข้ึนมากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แล้ว
กระตุ้นให้พวกเขานาความรู้เหล่าน้ีสู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การ
ปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ตามแนวคิด “Knowledge +
Action = Power” หรือตามคากล่าวท่ีว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage
Them Do What They Know” หรือ “Link To On-The-Job Application” และด้วยแนวคิดท่ีว่า
การศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้องในบทท่ี 2 ถือเป็นจุดเร่มิ ตน้ ที่สาคัญของการวิจยั และพัฒนา

114

เพราะจะทาให้ได้โปรแกรมออนไลนเ์ พื่อการเรียนรู้ของครสู ู่การพัฒนาทักษะความรว่ มมือของนักเรียน
ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ประกอบดว้ ยโครงการ 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรยี นรูข้ องครู มี
คู่มอื ประกอบโครงการจานวน 6 ชุด คือ (1) คูม่ อื เพ่อื การเรยี นรเู้ ก่ียวกับนยิ ามของทักษะความร่วมมือ
(2) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของทักษะความร่วมมือ (3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับ
ลักษณะของทักษะความร่วมมือ (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับแนวการพัฒนาทักษะความร่วมมือ
(5) คมู่ ือเพอ่ื การเรียนรเู้ กี่ยวกบั ขน้ั ตอนการพัฒนาทกั ษะความร่วมมอื (6) คู่มือเพอ่ื การเรยี นรู้เกี่ยวกับ
การทักษะความร่วมมือ และ 2) โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน มีคู่มือประกอบ
โครงการจานวน 1 ชดุ คือ (1) คูม่ อื เชงิ ปฏบิ ัติการเพ่อื การพัฒนานกั เรียน

ในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ผู้วิจัยได้ศึกษาหลักการ แนวคิด
และทฤษฎีจากทัศนะของนักวิชาการหรอื หน่วยงานทจ่ี ะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาทักษะการเรียนรู้
แบบชีน้ าตนเองของนกั เรยี นใน 6 ประเดน็ คือ

1. นิยามของทักษะความรว่ มมอื 10 แหล่ง คอื Zahid (2018), Doyle (2019), Firestone
(n.d.), Indeed Career Guide (2019), Helsel (2017), Mind Tools (n.d.), Ryan (2018),
Belgrad, Fisher, & Rayner (1995), Aiim (n.d.), Rouse (2016)

2. ความสาคัญในการพัฒนาทักษะความร่วมมือ 9 แหล่ง คือ Ryan (2018),
lmacademics (2019), Kashyap (2017), Elcom (2018), Nutcache (2019), Moseley (2019),
Dobos (2017), Smart Sheet (2019) และ Valdellon (2017)

3. ลักษณะของทักษะความร่วมมือ 5 แหล่ง คือ Samdahl (2017),Cran (2017),
Sampson (2010), Meinert (2017), และ Goman (2017)

4. แนวทางการพัฒนาทักษะความร่วมมือ 10 แหล่ง คือ Campbell (2017), Stapper
(2018), Boyer (2015), Kashyap (2018), Robinson (2019), Conlan (2018), Lucco (2019),
DeRosa (2018), Miller (2014), และ Bogler (2016)

5. ขั้นตอนการพัฒนาทักษะความร่วมมือ ศึกษาจาก 5 แหล่ง Weaver (2018),
Collaborative Outcomes Inc (n.d.), Linton (n.d.), Team (2017) และ Madsen (2015)

6. การประเมินการบรรลุผลสาเร็จในการพัฒนาทักษะความร่วมมือ ศึกษาจาก 3 แหล่ง
คอื Weaver (2018), Kellerman (2007), Archibald, Trumpower & MacDonald (2014)

จากทัศนะของนักวิชาการหรือหน่วยงานเก่ียวกับการพัฒนาทักษะความร่วมมือใน 6
ประเด็นดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยได้นาเอาข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาท่ีเป็นหลักการ / แนวคิด /
เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรม มากาหนดเป็นข้อเสนอแนะที่เป็นปัจจัยป้อนเข้า (Input) และนาเอา
ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาที่เป็นโมเดลขั้นตอน (Step Model) มากาหนดเป็นข้อเสนอแนะที่
เป็นกระบวนการ (Process) รวมท้ังนาเอาลักษณะหรือคุณลักษณะท่ีคาดหวังจากผลการพัฒนามา
กาหนดเป็นข้อเสนอแนะท่ีเป็นปัจจัยป้อนออก (Output) เพื่อแสดงให้เห็นถึงแนวคิดเชิงระบบ
(System Approach) ของข้อเสนอทางเลือกท่ีหลากหลายในเชิงวิชาการหรือทฤษฎี (Academic or
theoretical Alternative Offerings) ที่ได้จากการศึกษาวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องของผู้วิจัย เป็น
ข้อเสนอทางเลือกที่หลากหลายท่ีคาดหวังว่าหลังจากโครงการพฒั นาครูผู้สอนแล้ว ครูผู้สอนจะเลือก
นาเอาทางเลือกที่แต่ละคนเห็นวา่ เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นประโยชน์ และสอดคล้องกับบริบทของตวั

115

นักเรียน กับระยะเวลา กับสถานท่ี หรือกับระดับช้ันเรียน อย่างทบทวนไปมาในข้อเสนอทางเลือกที่
หลากหลายเหล่านี้ เพ่ือเพิ่มโอกาสเลือกทางเลือกที่หลากหลายมากขึ้น อย่างสม่าเสมอและอย่าง
ตอ่ เนือ่ ง ตลอดระยะเวลาของการนาความรู้ของครูสู่การพฒั นานักเรยี น ถอื เป็นกรอบแนวคิดเพื่อการ
วิจัย (Conceptual Framework) ในการวิจยั คร้ังน้ี ดังแสดงในตารางที่ 2.5

ตารางที่ 2.5 แนวคิดเชิงระบบของข้อเสนอทางเลือกท่ีหลากหลายในเชิงวิชาการหร
วรรณกรรมที่เกี่ยวขอ้ งของผ้วู จิ ยั : กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั

ขอ้ เสนอแนะทีเ่ ปน็ ปจั จยั ปอ้ นเขา้ (Input) ข้อเสนอแนะทเ่ี ป

หลักการ / แนวคิด / เทคนคิ / วิธกี าร / กจิ กรรม / โมเดลขนั้ ตอน
ทางเลือกทห่ี ลากหลายเพอื่ การพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื เพือ่ การพฒั

Robinson (2019) Elorus Team in Work
1. สรา้ งสภาพแวดล้อมแห่งการรว่ มมอื ภายในทีม (Creating a 1. ทาความรู้จกั กับทีมขอ

Collaborative Team Environment) 2. สรา้ งภาวะผนู้ า (Esta
2. กาหนดบทบาทใหช้ ัดเจน (Establish Roles Clearly) 3. จัดกิจกรรมสร้างความ
3. ชัดเจนเกี่ยวกับเปา้ หมายของทีมและบริษัท (Be Clear on the Team
bonding activities)
and Company Goals)
4. พฒั นาความเชือ่ มน่ั (Develop Trust) 4. วางแผนไปพร้อมกบั ส
5. คาดหวังการสือ่ สารแบบไมม่ ีขอ้ จากัด (Expect Open team)

Communication) 5. ชืน่ ชมเมื่อประสบควา
6. หลีกเลย่ี งความสัมพันธ์ทมี่ ากกว่าผู้รว่ มงาน (Avoid Crossing the
6. เรียนรจู้ ากความล้มเห
“Just a Coworker” Line) from failures)
Miller (2014)
1. เปดิ ช่องทางการส่อื สาร (Open Communication Lines) Collaborative Outco
1. การสรา้ งกลยทุ ธ์ทางธ
2. พยายามทาให้รถู้ งึ มุมมองส่วนบุคคล (Dive into Individual
Perspectives) (Collaborative Bus

3. คาดหวังความรบั ผดิ ชอบ (Expect Accountability) 2. การสร้างกระบวนการ
4. ทาใหก้ ารทางานรว่ มกันเปน็ สว่ นหน่ึงของการขบั เคล่ือนทมี (Make ทางานรว่ มกนั (Colla

Collaboration a Part of Your Team Dynamic) Meeting Process)
3. การสง่ เสรมิ การทางาน
5. กาหนดมติและความรว่ มมอื (Define Consensus and
Collaboration) Collaboration Wor

116
รือทฤษฎี (Academic or Theoretical Alternative Offerings) ที่ได้จากการศึกษา

ป็นกระบวนการ (Process) ขอ้ เสนอแนะท่ีเปน็ ผลลพั ธ์ (Output)

นทางเลือกทห่ี ลากหลาย คุณลักษณะทคี่ าดหวัง

ฒนาทกั ษะความร่วมมือ จากการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื

kspace (2018) Samdahl (2017)

องคณุ (Get to know your team) 1. การมอบหมาย (Delegating)

ablish leadership) 2. การจัดการการประชุม (Managing Meetings)

มผกู พนั ในทีม (Organize team 3. สรา้ งสภาพแวดลอ้ มทปี่ ลอดภัยเพอ่ื การสื่อสารอยา่ ง

) เปดิ เผย (Creating an environment that makes it

สมาชิกในทีม (Plan along with the safe to openly communicate)

4. การสือ่ สาร (Communicating)

ามสาเร็จ (Celebrate victories) Cran (2017)

หลวไปพร้อมกัน (Learn together 1. บคุ คลในทีมถูกเน้นให้รับข้อมูลจากหลายมมุ มอง

2. ผู้นาทีมของทกุ แผนกทาการส่อื สารและร่วมกันทาหน้าที่

omes Inc (n.d.) 3. หวั หน้าทมี นาข้อมลู ทีไ่ ดร้ บั จากการประชมุ หลกั ของ

ธุรกจิ รว่ มกนั และเปา้ หมายทีม่ ีรว่ มกนั “หัวหน้าทมี ” กลับมายังทีมของตนและแบ่งปัน

siness Strategy and Shared Goal) สาระสาคญั

รประชมุ ทเ่ี ต็มไปด้วยพลังแหง่ การ 4. การทางานร่วมกันได้รับผลตอบแทนและถูกวัดในการ

aborative Team Dynamics ประเมินประสิทธิภาพ

นร่วมกันภายในองค์กร (Inner
rk)

ตารางที่ 2.5 (ต่อ)

ข้อเสนอแนะท่ีเป็นปจั จยั ป้อนเข้า (Input) ข้อเสนอแนะท่เี

หลกั การ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ ีการ / กิจกรรม / โมเดลขนั้ ตอน

ทางเลอื กที่หลากหลายเพื่อการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือ เพอ่ื การพัฒ

Kashyap (2018) 4. การสง่ เสริมทักษะการท
1. หาจดุ แขง็ ของแต่ละคน (Identify Their Individuals’ Strengths) 5. การสร้างความสัมพันธ์แ
2. สร้างความคาดหวังทเี่ ป็นไปไดจ้ ริงและชแ้ี จงเป้าหมาย (Establish Realistic
(Collaborative Team
Expectations & Clarify Goals) 6. การส่งเสริมทักษะการเป
3. เครือ่ งมอื ช่วยการทางานร่วมกัน (Collaboration Tools)
4. ส่งเสรมิ การเปิดใจ (Encourage Open-Mindedness) Leadership Skills)
5. ให้รางวัลกับนวตั กรรม (Reward Innovation) 7. การสร้างกลยุทธด์ ้านผู้ม
6. ฉลองความสาเร็จของทีมใหผ้ ้คู นรับรู้ (Celebrate Teams Success
Strategy)
Publicly) Linton (n.d.)
7. สนับสนุนชมุ ชนท่ีเขม้ แขง็ (Support a Strong Sense of Community) 1. การเอาชนะอปุ สรรค (O
8. กระจายการมอบหมายหน้าท่ี (Spread the Delegation of Tasks) 2. การหาสมาชิก (Recruit
Conlan (2018) 3. การมเี ปา้ หมายในทศิ ทา
1. กาหนดวา่ การทางานร่วมกนั มีความหมายต่อคณุ อยา่ งไร (Define What 4. กาหนดความรบั ผิดชอบ
5. สนบั สนุนการทางานร่วม
Collaboration Means to You) Team (2017)
2. กาจัดอุปสรรคในการทางานกลมุ่ (Clear Out Obstacles to Group Work) 1. คานึงถึงผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเ
3. เสริมสร้างจติ วิญญาณแหง่ ความไว้วางใจ (Foster a Spirit of Trust)
stakeholders)
2. สรา้ งบทบาทท่ชี ัดเจนให

117

เปน็ กระบวนการ (Process) ขอ้ เสนอแนะทเ่ี ป็นผลลัพธ์ (Output)
อนทางเลือกทีห่ ลากหลาย
ฒนาทกั ษะความรว่ มมอื คุณลักษณะท่ีคาดหวงั
ทางานรว่ มกัน (Collaboration Skills)
แห่งการทางานรว่ มกนั ภายในทีม จากการพัฒนาทักษะความร่วมมือ
m Relationships)
ปน็ ผนู้ ารว่ มกัน (Collaborative Sampson (2010)
1. การแบ่งปันความรู้ (Sharing Knowledge)
มสี ่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder 2. การเรียนรู้ (Learning)
3. การสร้างฉันทามติ (Building Consensus)
Overcome Barriers) 4. งานที่ “ทาเพราะถูกบอกใหท้ า” (Do What You’re Told”
t Members)
างเดยี วกัน (Agree Direction) Work)
บ (Clarify Responsibilities) 5. การร่วมมือกนั (Cooperation)
มกัน (Support Collaboration) 6. การทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายรว่ มกนั (Delegated

เสยี ทงั้ หมด (Determine all key Collaboration)
7. การทางานร่วมกนั อย่างสร้างสรรค์ (Creative Collaboration)
ห้กบั แตล่ ะคน (Establish clear roles) Meinert (2017)
1. สรา้ งต้นแบบพฤตกิ รรมการทางานรว่ มกนั (Model

Collaborative Behaviors)
2. สร้างเครอื ขา่ ยท่ีแขง็ แกรง่ (Build Strong Networks)
3. ส่งเสรมิ การทางานรว่ มกันทวั่ ท้งั องค์กร (Encourage

Collaboration Across the Enterprise)
4. จดั โครงสร้างงานเพอ่ื หลีกเลี่ยงการทางานมากเกินไป

(Structure the Work to Avoid Overload)

ตารางที่ 2.5 (ตอ่ )

ข้อเสนอแนะทเี่ ป็นปัจจัยปอ้ นเข้า (Input) ข้อเสนอแนะท่เี

หลกั การ / แนวคิด / เทคนคิ / วิธีการ / กจิ กรรม / โมเดลขนั้ ตอน

ทางเลือกทีห่ ลากหลายเพื่อการพฒั นาทักษะความรว่ มมือ เพอื่ การพัฒ

Boyer (2015) 3. ระบุองคป์ ระกอบพ้นื ฐา
1. สนับสนนุ การเป็นผู้นา (Provide Leadership Support) elements)
2. ตง้ั กฎพ้นื ฐานข้ึนมา (Set Ground Rules)
3. สร้างความคาดหวังท่เี ป็นไปได้จริงและชีแ้ จงเป้าหมายให้ชัดเจน (Establish 4. พัฒนาแนวความคิดของ
5. ให้ความสาคญั กบั ต้นแบ
Realistic Expectations & Clarify Goals) 6. ออกแบบให้เหน็ ภาพ (A
4. การจัดระเบียบกระบวนการ (Organize the Process) 7. การพัฒนาตอ้ งใช้เวลา (
5. สร้างความเชื่อม่ัน (Build Trust) Madsen (2015)
Lucco (2019) 1. กาหนดโครงการข้ึนมา (
1. ลงทนุ ในการสรา้ งรปู แบบของความสัมพันธใ์ นทีม (Invest in Signature 2. ระดมสมองสาหรับทุก ๆ

Relationship Practices) everything that nee
2. ต้นแบบการสรา้ งพฤติกรรมการทางานรว่ มกัน (Model Collaborative 3. จดั การขอ้ มูล แบ่งออกเ

Behavior) logical groups)
3. สรา้ ง "วัฒนธรรมการใหข้ องขวญั " (Create a "Gift Culture")
4. เนน้ ในทักษะที่จาเปน็ (Ensure the Requisite Skills) 4. ออกแบบโครงสร้างขอ
5. สนบั สนุนชุมชนท่เี ขม้ แข็ง (Support a Strong Sense of Community) breakdown structu
6. มอบงานใหห้ วั หน้าทมี ทีเ่ นน้ ผลงานและม่งุ เนน้ การสร้างความสมั พันธ์ (Assign
5. สรา้ งแผนภาพแสดงก
Team Leaders That are Both Task-Oriented and Relationship- product flow diagr
Oriented)
7. สรา้ งการเก็บสะสมความสมั พนั ธ์ (Build on Heritage Relationships) 6. ออกแบบแผนการทาง
(Compile the mile

7. มอบหมายความรบั ผดิ

118

เปน็ กระบวนการ (Process) ขอ้ เสนอแนะทเี่ ปน็ ผลลพั ธ์ (Output)
อนทางเลือกทห่ี ลากหลาย
ฒนาทกั ษะความรว่ มมอื คุณลกั ษณะทคี่ าดหวัง
านของโครงการ (Identify the basic
จากการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมอื
งโครงการ (Develop your concept)
บบโครงการ (Tackle the content) Goman (2017)
Address the visual design) 1. “ทลาย” การทางานแบบไซโล (Silo “Busting”)
(Allow time for development) 2. การสรา้ งความไวว้ างใจ (Building Trust)
3. ปรับภาษากายให้สอดคลอ้ ง (Aligning Body Language)
(Define the project) 4. สง่ เสริมความหลากหลาย (Promoting Diversity
ๆ ส่งิ ในโครงการ (Brainstorm 5. การฝึกฝนทกั ษะด้าน “อารมณ์” ให้คม (Sharpening “Soft”
eds to get done)
เปน็ กลุม่ ๆ (Categorise tasks into Skills)
6. การสรา้ ง “ความปลอดภัยทางจิตใจ” (Creating

“Psychological Safety”)

องการทางาน (Create a product
ure)
กระบวนการทางาน (Create a
ram)
งานระยะสั้นในแต่ละขั้นตอน
estone plan)
ดชอบ (Assign responsibilities)

ตารางท่ี 2.5 (ต่อ) ขอ้ เสนอแนะทเ่ี ป
โมเดลขั้นตอน
ขอ้ เสนอแนะทีเ่ ปน็ ปจั จยั ปอ้ นเขา้ (Input) เพ่ือการพฒั
หลกั การ / แนวคดิ / เทคนคิ / วิธีการ / กิจกรรม /
ทางเลอื กท่ีหลากหลายเพ่อื การพัฒนาทักษะความรว่ มมอื
8. เขา้ ใจบทบาทอย่างชัดเจนและความไมช่ ัดเจนของงานบางส่วน
(Understand Role Clarity and Task Ambiguity)
Stapper (2018)
1. แบง่ ปันวิสยั ทศั น์ (Share a Vision)
2. อธิบายความคาดหวังตัง้ แตเ่ รม่ิ ต้น (Set Expectations Early)
3. สรา้ งตวั ช้ีวัดความสาเร็จ (Establish Metrics)
4. ใชป้ ระโยชน์จากจุดแข็ง (Capitalize on Strengths)
5. สง่ เสริมแนวคดิ ใหม่ ๆ (Encourage New Ideas)
6. สรา้ งกล่มุ งานขา้ มสายงาน (Create Cross-Functional Work
Groups)
7. รกั ษาสญั ญา (Keep Your Promises)
8. สรา้ งความสัมพนั ธแ์ บบทีมหลงั เลิกงาน (Build Team Relationships
After Work)
9. ฉลองความสาเร็จของการทางานร่วมกนั (Celebrate Collaboration)
DeRosa (2018)
1. นาทีมงานเขา้ รว่ มการคดั เลอื กพนักงานใหม่ (Involve Your Team in
Hiring)
2. มีความโปร่งใส (Be Transparent)
3. ใช้ทีมข้ามสายงาน (Implement Cross-Functional Teams)

ปน็ กระบวนการ (Process) 119
นทางเลือกทีห่ ลากหลาย
ฒนาทักษะความรว่ มมือ ข้อเสนอแนะที่เปน็ ผลลัพธ์ (Output)
คุณลกั ษณะที่คาดหวัง

จากการพัฒนาทกั ษะความร่วมมือ

ตารางท่ี 2.5 (ตอ่ ) ข้อเสนอแนะทเี่ ป
โมเดลขั้นตอน
ข้อเสนอแนะที่เป็นปจั จัยปอ้ นเข้า (Input) เพือ่ การพัฒ
หลักการ / แนวคดิ / เทคนคิ / วิธกี าร / กิจกรรม /
ทางเลอื กที่หลากหลายเพือ่ การพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื
4. คิดทบทวนเกยี่ วกบั สภาพแวดล้อม (Think About Your
Environment)
5. สนับสนนุ ทีมงานที่ร่วมงานกนั ได้ดี (Encourage Cohesive Teams)
Bogler (2016)
1. การสรา้ งสภาพแวดล้อมการทางานรว่ มกัน (Creating a
Collaborative Environment)
2. ข้อควรพจิ ารณาในการสรา้ งกลุม่ (Group Forming Considerations)
3. การพฒั นาทักษะความรว่ มมอื (Developing Collaborative Skills)
4. วธิ แี กป้ ญั หาทีเ่ กิดจากการทางานร่วมกนั (How to Solve
Collaboration Problems)
Campbell (2017)
1. สรา้ งเหตุผลทชี่ ดั เจนและมคี วามนา่ สนใจ (Create a Clear and
Compelling Cause)
2. ส่ือสารกบั สมาชกิ เกีย่ วกับความคาดหวัง (Communicate
Expectations)
3. กาหนดเปา้ หมายของทมี (Establish Team Goals)

120

ปน็ กระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะที่เปน็ ผลลัพธ์ (Output)
นทางเลือกทีห่ ลากหลาย คุณลกั ษณะที่คาดหวัง
ฒนาทักษะความรว่ มมือ
จากการพัฒนาทกั ษะความร่วมมือ

ตารางที่ 2.5 (ต่อ) ขอ้ เสนอแนะทเ่ี ป
โมเดลข้นั ตอน
ขอ้ เสนอแนะทเี่ ปน็ ปัจจยั ปอ้ นเข้า (Input) เพอ่ื การพัฒ
หลักการ / แนวคดิ / เทคนคิ / วธิ ีการ / กจิ กรรม /
ทางเลือกทหี่ ลากหลายเพ่ือการพฒั นาทกั ษะความร่วมมอื
4. ใชป้ ระโยชน์จากจุดเข็งของสมาชิกในทีม (Leverage Team-
Member Strengths)
5. ส่งเสรมิ การทางานรว่ มกันระหวา่ งสมาชกิ ในทมี (Foster
Cohesion Between Team Members)
6. ส่งเสรมิ นวตั กรรม (Encourage Innovation)
7. รักษาสญั ญาและให้เกียรติกบั การร้องขอ (Keep Promises and
Honor Requests)
8. ส่งเสรมิ ใหเ้ ข้าสังคมนอกทที่ างาน (Encourage People to
Socialize Outside of Work)
9. มกี ารรบั รู้ ใหร้ างวลั และฉลองใหก้ ับพฤตกิ รรมการทางานรว่ มกนั
(Recognize, Reward and Celebrate Collaborative Behavior)

121

ปน็ กระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะที่เปน็ ผลลัพธ์ (Output)
นทางเลือกทีห่ ลากหลาย คุณลกั ษณะทค่ี าดหวัง
ฒนาทักษะความรว่ มมือ
จากการพัฒนาทกั ษะความร่วมมือ

บทที่ 3

วิธดี าเนินการวิจยั

การวิจัยและพัฒนา เร่ือง “โปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนา
ทักษะความร่วมมือของนักเรียน” ครั้งน้ี ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and
Development: R&D) ตามทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ (2561) ที่เห็นว่า นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นโดย
กระบวนการวิจัยและพัฒนามีจุดมงุ่ หมายเพ่ือนาไปใช้พฒั นาบุคลากรส่กู ารพัฒนาคุณภาพของงานที่มี
ปรากฏการณ์หรือข้อมูลเชงิ ประจักษแ์ สดงให้เห็นวา่ มคี วามจาเปน็ เกดิ ขึ้น เช่น เปน็ ผลสบื เนื่องจากการ
กาหนดความคาดหวังใหม่ที่ท้าทายของหน่วยงาน หรือการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การทางาน
จากเก่าสู่ใหม่ท่ีบุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบันมี
หลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกิดข้ึนมากมาย ท่ีคาดหวัง
ว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานาความรู้เหล่าน้ีสู่การ
ปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าท่ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลย่ิงข้ึน ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือตามคากล่าวท่ีว่า
“Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They Know” ห รือ
“Link To On-The-Job Application” และดว้ ยแนวคดิ ทว่ี ่าการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในบทท่ี
2 ถือเปน็ จดุ เรม่ิ ต้นทีส่ าคญั ของการวิจัยและพฒั นา เพราะจะทาให้ไดข้ อ้ มูลสารสนเทศเพ่ือพัฒนาเป็น
โปรแกรมออนไลน์ (Online Program) ท่ีมีองค์ประกอบสาคัญ คือ โครงการ (Project) และแต่ละ
โครงการมีองค์ประกอบท่ีสาคัญคือ คู่มือเพื่อการเรียนรู้ หรือ คู่มือเพื่อการปฏิบัติ (Modules for
learning or Modules for Practice) ท่มี ีลักษณะเป็นแบบสาเร็จรูปเพื่อการศึกษาด้วยตนเอง (Self-
Learning)

ผลจากการศึกษาวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องในบทท่ี 2 ผู้วิจัยได้กาหนดกรอบแนวคิดเพ่ือการ
วิจัยของโปรแกรมออนไลน์เพ่ือการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือของนักเรียน ที่
ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ (1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู มีคู่มือเพ่ือการเรียนรู้
ประกอบโครงการ จานวน 6 ชุด คือ (1) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับนิยามของทักษะความร่วมมือ
(2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับความสาคัญของทักษะความร่วมมือ (3) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกบั
ลกั ษณะหรือคณุ ลักษณะของคนทีม่ ีทกั ษะความรว่ มมือ (4) คมู่ อื เพือ่ การเรยี นรู้เกี่ยวกับแนวการพฒั นา
ทักษะความร่วมมือ (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะความร่วมมือ (6) คู่มือ
เพอื่ การเรยี นร้เู กยี่ วกับการทกั ษะความร่วมมอื (2) โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การพฒั นานักเรียน
มีคู่มือเพ่ือการปฏิบัติประกอบโครงการจานวน 1 ชุด คือ (1) คู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะ
ความรว่ มมือของนักเรยี น

โปรแกรมออนไลน์ดังกล่าว ผู้วิจัยได้สร้างเว็บไซต์ แล้วฝากลิงค์ไว้ที่เว็บไซต์ของ
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตอสี าน เพือ่ ใหง้ ่าย รวดเร็ว และสะดวกตอ่ การเขา้ ถึงคู่มือ

123

คือ เว็บไซต์ https://online.anyflip.com/okgwj/segl/mobile/ ท่ีผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดข้อมูล
นาไปศึกษาได้ทันที

ดังนั้น วิธีดาเนินการวิจัยในบทท่ี 3 จึงมีรายละเอียดขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาโปรแกรม
ออนไลนเ์ พ่อื การเรยี นรู้ของครูสู่การพัฒนาทกั ษะความร่วมมือของนกั เรยี น ประกอบด้วยขั้นตอนของ
การวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D)เร่ิมตั้งแต่การศึกษาวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ในลักษณะเป็น R1D1..R2D2..R3D3..RiDi มีข้ันตอนสุดท้ายเป็นการวิจัยเชิง
ทดลอง ดังภาพที่ 3.1 และมคี าอธิบายรายละเอียดของแตล่ ะข้ันตอนดังน้ี

การวิจัย (Research - R) การพฒั นา (Development - D)

R1 - การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) D1 – พัฒนาเป็นกรอบแนวคิดการวิจัยและเปน็ เน้อื หาเพ่อื
เพื่อศึกษาแนวคิดเชงิ ทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งใบบทที่ 2 จจดั ดั ททาาเปเปน็ ็นคคู่มมู่ ืออื ปแรละะกแอบบบโคทรดงสกอาบรขปอรงะโกปอรบแคกมู่รมือ

R2 – การอภปิ รายกลุม่ เปา้ หมาย (Focused Group D2 – ปรับปรุงแกไ้ ขในข้อบกพรอ่ งของค่มู อื จากผลการ
Discussion) เพ่อื ตรวจสอบข้อบกพรอ่ งของคูม่ ือและ อภิปรายกลมุ่ เปา้ หมาย (Focused Group Discussion) ครงั้
ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ครง้ั ท่ี 1 ที่ 1

R3 – การอภปิ รายกลุ่มเปา้ หมาย (Focused Group D3 – ปรบั ปรงุ แกไ้ ขในขอ้ บกพร่องของคู่มอื จากผลการ
Discussion) เพอ่ื ตรวจสอบขอ้ บกพรอ่ งของคูม่ ือและ อภิปรายกลุ่มเปา้ หมาย (Focused Group Discussion) ครง้ั
ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ครง้ั ท่ี 2 ที่ 2

R4 – การทดสอบประสิทธิภาพคู่มือประกอบโครงการของ D4 – ทดสอบการบรรลผุ ลการทดลองใช้คู่มือประกอบ
โปรแกรมกับกลุม่ เป้าหมายในการพฒั นา โดยหลกั การอบรม โครงการของโปรแกรมกับกลุ่มเป้าหมายในการพฒั นา โดยใช้
ออนไลนด์ ้วยตนเอง (Online Self-Training) และจัดใหม้ กี าร เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 และปรับปรงุ แก้ไขในข้อบกพร่องของ
ตรวจสอบข้อบกพรอ่ งของคูม่ ือและข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม คู่มือ รวมทงั้ ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติมจากผลการตรวจสอบ

R5 - การวิจยั เอกสาร (Documentary Research) เพอ่ื ศึกษา D5 - สร้างและพัฒนาคุณภาพของแบบประเมินผลสาเร็จจาก
ทัศนะตอ่ การประเมินผลจากการพฒั นาเพ่ือการสร้างแบบ การพฒั นา เปน็ แบบมาตรประมาณคา่ (Rating Scale) 5
ประเมนิ ผลสาเรจ็ จากการพฒั นา ระดบั

R6 – การวิจัยเชิงทดลองแบบมีกล่มุ ทดลอง 1 กลมุ่ ทดสอบ D6 – ทดสอบการบรรลุผลการทดลองใช้คูม่ ือประกอบ
กอ่ นและหลัง (One Group Pretest-Posttest Design) เพื่อ โครงการของโปรแกรมกบั กลุม่ เปา้ หมายในการพัฒนาที่
ทดสอบประสทิ ธภิ าพของค่มู ือประกอบโครงการของโปรแกรม เก่ยี วขอ้ ง โดยเปรียบเทยี บผลก่อนและหลงั การทดลองโดยการ
กบั กลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาท่เี ก่ียวข้อง และจดั ใหม้ กี าร ทดสอบที (t-test) และปรบั ปรงุ แกไ้ ขในขอ้ บกพรอ่ งของคู่มอื
ตรวจสอบข้อบกพร่องของคมู่ ือและขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม รวมทัง้ ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ จากผลการตรวจสอบ

ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนของการวจิ ยั และพัฒนาในงานวิจัย

คาอธิบายในแตล่ ะขน้ั ตอน
3.1 ขน้ั ตอนที่ 1 การจัดทาคมู่ ือประกอบโครงการ

ผลจากการศึกษาวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องในบทท่ี 2 ผู้วิจัยได้กาหนดกรอบแนวคิดเพ่ือการ
วิจัย ของโปรแกรมออนไลน์เพือ่ เสริมพลงั ความรู้ของครูส่กู ารพัฒนาทักษะความรว่ มมอื ของนักเรยี น ที่

124

ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการน้ัน ผู้วิจัยได้นากรอบแนวคิดเพื่อการวิจัยดังกล่าว มาเป็นแนวทาง
ในการจดั ทาคูม่ อื ประกอบ ดังน้ี

3.1.1 โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครูเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะความร่วมมือ
ประกอบด้วย คู่มือเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning Modules) เพราะงานวจิ ัยน้ี มีข้ันตอน
การวิจัยเชิงทดลองที่ต้องการทดสอบให้ทราบผลในความมีประสิทธิภาพของคู่มือท่ีจัดทาขึ้น ไม่ให้มี
อิทธพิ ลหรือมกี ารแทรกแซงหรือมีการสอดแทรกจากผวู้ ิจัยที่นอกเหนือจากท่ีกาหนดไว้ในคู่มอื อันจะ
ทาให้ผลจากการทดสอบความมีประสิทธิภาพของคู่มือมีความเบ่ียงเบนไป และหลังจากการพัฒนา
หากพบว่าคู่มือมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนดแล้ว ก็สามารถนาไปเผยแพร่ใช้กับกลุ่มประชากร
เป้าหมายในวงกวา้ งไดอ้ ย่างประหยัดและทวั่ ถึง จานวน 6 ชุด คอื

1. คู่มอื เพือ่ การเรยี นร้เู ก่ยี วกับนิยามของทกั ษะความรว่ มมอื
2. ค่มู อื เพอื่ การเรียนรู้เกี่ยวกบั ความสาคัญของทกั ษะความร่วมมือ
3. คมู่ ือเพ่ือการเรียนรเู้ กยี่ วกบั ลกั ษณะทแี่ สดงถงึ ทักษะความรว่ มมอื
4. คมู่ ือเพื่อการเรียนร้เู กี่ยวกับแนวการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือ
5. คู่มอื เพอื่ การเรียนรู้เกย่ี วกบั ข้นั ตอนการพฒั นาทกั ษะความร่วมมือ
6. คู่มือเพอื่ การเรียนร้เู กีย่ วกับการประเมนิ ทักษะความร่วมมอื
3.1.2 โครงการครูผู้สอนนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือให้กับ
นกั เรยี น ประกอบดว้ ยคู่มอื เพอ่ื การปฏบิ ตั จิ านวน 1 ชุด คือ คมู่ อื เชงิ ปฏิบัตกิ ารเพือ่ พฒั นาทกั ษะความ
รว่ มมือของนกั เรยี น
คู่มอื ประกอบโครงการ มีลักษณะเปน็ ชุดของขอ้ มูลเพ่ือการพัฒนาครูดว้ ยวธิ ีการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง (Self-Learning) และนาเสนอเน้ือหาที่เก่ียวข้องกับภารกิจของความเป็นครู คือ การพัฒนา
ทักษะความร่วมมือ ให้กับนักเรียนในงานวิจัยน้ี เป็นคู่มือประกอบโครงการที่คานึงถึงจิตวิทยาการ
เรียนรู้ของผู้ใหญ่ (Adult Learning) ที่เห็นว่าผู้ใหญ่ (ในงานวิจัยน้ี คือ ครู) การเรียนรู้จะมุ่งไปท่ี
ชีวิตประจาวนั (Life-centered) หรือเน้นที่งานหรือการแก้ปัญหา (Task-centered) น่ันคือผู้ใหญจ่ ะ
ยอมรับและสนใจกิจกรรมการเรียนรู้ของเขา หากเขาเช่ือและเห็นว่าการเรียนรู้น้ัน ๆ จะช่วยให้เขา
ทางานได้ดีขึ้นหรือช่วยแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันของเขา การจัดหลักสูตรเพ่ือการเรียนการสอน
ผู้ใหญ่จึงควรจะอาศัยสถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัวของเขา และเป็นการเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ
ซึ่งมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงของเขาด้วย (Wisdom Max Center Company Limited,
2015) โดยมีองค์ประกอบของคู่มือดังน้ี ช่ือของคู่มือ คาแนะนาการใช้คู่มอื วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ท่ี
คาดหวงั จากคู่มือ เน้อื หาท่นี าเสนอในรูปแบบเพ่อื การเรียนรู้ด้วยตนเอง (แบ่งเนื้อหาเปน็ ช่วง ๆ แต่ละ
ช่วงมีกิจกรรมให้ทบทวน เช่น การต้ังคาถามให้ตอบ การให้ระบุข้อสังเกต การให้ระบุคาแนะนาเพือ่
การปรับปรุงแก้ไข เป็นต้น) แบบประเมินผลตนเอง และรายชื่อเอกสารอ้างอิง ท้ังน้ีกรอบแนวคิดใน
การจัดทาคู่มอื ประกอบโครงการท้งั 2 โครงการ แสดงไดด้ ังภาพท่ี 3.2 ตอ่ ไปนี้

โครงการพัฒนาครูเพ่ือการเรียนรู้ 125

คูม่ อื เพื่อการเรียนรู้เก่ียวกบั นิยาม โครงการนาความรู้สกู่ ารพัฒนา
ของทักษะความรว่ มมือ นักเรยี น
ค่มู อื เพอ่ื การเรยี นรู้เกีย่ วกับลักษณะ
ของทกั ษะความรว่ มมือ คมู่ ือเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื พฒั นา
ทักษะความร่วมมอื ของนักเรยี น
คู่มอื เพอื่ การเรยี นรเู้ กยี่ วกับลกั ษณะหรอื

คณุ ลักษณะของคนทมี่ ีทักษะความ
รคว่ ู่มมือมเพืออื่ การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั แนวการ
พฒั นาทักษะความร่วมมอื

คูม่ ือเพอ่ื การเรียนรู้เก่ยี วกับขัน้ ตอน
การพัฒนาทกั ษะความรว่ มมือ

คูม่ ือเพื่อการเรยี นร้เู ก่ียวกับการ
ประเมนิ ทกั ษะความร่วมมอื

ภาพที่ 3.2 กรอบแนวคดิ ในการจัดทาคมู่ ือเพอ่ื พัฒนาทักษะความรว่ มมอื

3.2 ขนั้ ตอนท่ี 2 การตรวจสอบคณุ ภาพของคู่มือและการปรบั ปรงุ แก้ไข

ขั้นตอนนี้เป็นการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือทั้งสองโครงการ คือ (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกี่ยวกับนิยามของทักษะความร่วมมือ (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของทักษะความ
รว่ มมือ (3) คมู่ ือเพือ่ การเรียนรเู้ กีย่ วกับลักษณะท่ีแสดงถงึ ทกั ษะความรว่ มมอื (4) คู่มอื เพอ่ื การเรียนรู้
เก่ียวกับแนวการพัฒนาทักษะความร่วมมือ (5) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกีย่ วกับขั้นตอนการพฒั นาทักษะ
ความร่วมมือ (6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะความร่วมมือ ในโครงการพัฒนา
ความร้ขู องครูผู้สอน และ (1) คู่มือเชงิ ปฏิบัตกิ ารเพ่ือพัฒนาทกั ษะความรว่ มมอื ของผู้เรยี น ในโครงการ
ครูผสู้ อนนาความร้สู ู่การพัฒนานักเรียน 2 ระยะดังนี้

ระยะท่ี 1 การตรวจสอบภาคสนามเบ้ืองต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary
Field Testing and Revision)

การตรวจสอบภาคสนามเบ้ืองต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary Field Checking
and Revision) เปน็ การตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ โดยการอภิปราย
กลุม่ (Focused Group Discussion) โดย (1) ผวู้ ิจยั ใช้เว็บไซต์ที่สร้างขน้ึ ส่งคู่มือประกอบโครงการให้
กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนประภัสสรวิทยา วัดศรีนวล จานวน 10 ราย (ดูรายชื่อใน

126

ภาคผนวก) ไดศ้ ึกษาล่วงหนา้ 10 วนั (2) ผู้วิจัยไปพบปะดว้ ยตัวเองกับกลุ่มเปา้ หมาย (Face to Face)

ในการอภปิ รายกลุ่มเพ่ือตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ เพ่ือให้ได้ข้อเสนอแนะท่ีจะเป็นประโยชน์ตอ่ การ

ปรับปรงุ แก้ไขในเบื้องต้นก่อนนาไปตรวจสอบและปรับปรุงครัง้ สาคญั ในระยะท่ี 2

ในการตรวจสอบ มีประเด็นดังน้ี 1) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา โดย

คานงึ ถงึ ความถกู ตอ้ ง (Accuracy) และความเปน็ ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนาไปใช้ 2) ขอ้ เสนอแนะ

เพื่อการปรับปรุงแกไ้ ขด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนาเสนอ 4)

อื่น ๆ โดยใช้แบบตรวจสอบ ดงั น้ี

แบบตรวจสอบคณุ ภาพของคู่มือเพ่ือการปรับปรงุ แก้ไข

ประเดน็ ในการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แก้ไข

1. เนื้อหาที่นาเสนอในคู่มือชุดน้ี โดยคานึงถึงความ

ถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์

(Utility) ตอ่ การนาไปใช้

2. การใช้สานวนภาษาและการเรียบเรียงแนวคิด ง่าย

ต่อความเข้าใจ

3. รูปแบบการนาเสนอเนื้อหาจูงใจใหอ้ ยากอ่าน อยาก

ทาความเข้าใจในเน้ือหาและนาไปปฏบิ ัติ

4. อื่น ๆ

ระยะที่ 2 การตรวจสอบภาคสนามครั้งสาคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field

Testing and Revision)

การตรวจสอบภาคสนามครั้งสาคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field Testing And

Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการท้ัง 2 โครงการ ภายหลังท่ีผ่านการ

ตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขในระยะที่ 1 แล้ว ด้วยวิธีการอภิปรายกลุ่ม (Focused Group

Discussion) โดยวิธีการเช่นเดียวกับระยะที่ 1 คือ (1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ที่สร้างข้ึนส่งคู่มือประกอบ

โครงการให้กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา วัดเขตอุดม และโรงเรียนวัดโพธิ

สมภาร รวมจานวน 15 ราย (ดูรายชอ่ื ในภาคผนวก) ไดศ้ ึกษาล่วงหน้า 10 วนั (2) ผู้วิจยั ไปพบปะด้วย

ตวั เองกับกลุ่มเป้าหมาย (Face to Face) ในการอภปิ รายกล่มุ เพ่ือตรวจสอบคุณภาพของคู่มอื เพอ่ื ให้

ได้ข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงแก้ไขในเบ้ืองต้นก่อนนาไปใช้กับกลุ่มทดลองใน

ภาคสนาม ซ่ึงในการตรวจสอบ มีประเด็นการตรวจสอบเช่นเดียวกับระยะท่ี 1 คือ 1) ข้อเสนอแนะ

เพ่ือการปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์

(Utility) ต่อการนาไปใช้ 2) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพ่ือการ

ปรับปรงุ แกไ้ ขดา้ นรปู แบบการนาเสนอ 4) อน่ื ๆ โดยใช้แบบตรวจสอบชดุ เดียวกบั ชดุ ท่ีใชใ้ นระยะที่ 1

3.3 ขัน้ ตอนที่ 3 การสรา้ งเครอื่ งมอื เพ่ือการทดลองในภาคสนาม

ผลจากการดาเนินการตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการท้ัง 2 โครงการ จาก
ข้ันตอนท่ี 2 ทาให้ได้โปรแกรมออนไลน์เพ่ือการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือของ
นักเรียนในโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ที่มีความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ แต่อย่างไรก็ตาม ในขั้นตอนการทดลองใช้คู่มือในภาคสนามกับ

127

กลุ่มทดลองนั้น (ขั้นตอนท่ี 4) ต้องมีเคร่ืองมือเพ่ือใช้ในการประเมินประสิทธิภาพของการใช้คู่มือใน
โครงการท้งั สอง ดังนน้ั ผวู้ ิจัยจงึ ได้สร้างเครื่องมอื ขึ้น เพ่อื ใช้ในขัน้ ตอนการทดลองในภาคสนาม ดังน้ี

3.3.1 เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการวิจยั
-แบบตรวจสอบคุณภาพของคู่มือเพื่อการปรับปรุงแก้ไข 2 ช่วงเวลา คือ “หลังการ
พัฒนาครู” และ “หลังครูนาผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน” มีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบ
ปลายเปดิ (Open-ended Questionnaire) เพอื่ ใชใ้ นการระดมสมองของครู มีประเด็นการตรวจสอบ
เช่นเดยี วกบั ท่ีใชใ้ นการตรวจสอบภาคสนามระยะท่ี 1 และระยะท่ี 2
-แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู มีจุดมุ่งหมายเพ่ือใช้ประเมินประสิทธิภาพของคู่มือ
ประกอบโครงการท่ี 1 หลงั การพัฒนาครูที่เปน็ กลุ่มทดลอง จานวน 6 ชดุ คอื (1) คมู่ ือเพ่อื การเรียนรู้
เก่ียวกับนิยามของทักษะความร่วมมือ (2) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับความสาคัญของทักษะความ
รว่ มมือ (3) คู่มอื เพื่อการเรยี นรู้เกีย่ วกบั ลักษณะท่ีแสดงถงึ ทักษะความร่วมมือ (4) คู่มอื เพอื่ การเรียนรู้
เก่ียวกับแนวการพัฒนาทักษะความรว่ มมือ (5) คู่มือเพื่อการเรียนรเู้ ก่ียวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะ
ความร่วมมือ (6) คู่มือเพ่ือการเรยี นรเู้ กยี่ วกับการประเมินทักษะความร่วมมอื ว่าสามารถใช้พัฒนาให้
ครูทีเ่ ปน็ กลุม่ ทดลองมีความรู้หลงั การพัฒนาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ที่กาหนดหรือไม่ และ
มผี ลการเรียนรหู้ ลงั การพฒั นาสูงกว่ากอ่ นการพฒั นาอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิตหิ รือไม่
-แบบประเมนิ ทักษะความร่วมมอื ของนักเรยี น มจี ดุ มงุ่ หมายเพื่อใช้ประเมนิ ประสทิ ธิภาพ
ของการนาผลการเรียนรู้สู่การปฏิบัติของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลอง ว่าสามารถนาผลการเรียนรู้ไปสู่การ
พัฒนานักเรียนให้เกิดผลการพัฒนาตามท่ีคาดหวังหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิตหิ รอื ไม่
3.3.2 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ
เคร่ืองมือชุดท่ี 1 คือ แบบตรวจสอบเพื่อการปรบั ปรุงแกไ้ ขคู่มือที่ใช้ในการวิจัย “หลังการ
พัฒนาครูผ้สู อน” และชุดที่ 2 คือ แบบตรวจสอบเพอ่ื การปรับปรงุ แกไ้ ขคู่มอื ท่ีใช้ในการวิจัย “หลงั ครู
นาผลการเรยี นรู้สกู่ ารพัฒนานักเรยี น” ไมน่ าไปตรวจสอบคุณภาพ เพราะมีประเด็นการตรวจสอบเพ่ือ
หาข้อบกพรอ่ งเพื่อการปรับปรงุ แก้ไขทช่ี ัดเจน จงึ มีเครือ่ งมือท่จี ะนาไปตรวจสอบคุณภาพ 2 ชดุ ดงั น้ี
1) แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีลักษณะเป็นแบบปรนัย มี 4

ตวั เลอื ก มีจุดม่งุ หมายเพอ่ื ใช้ทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองหลงั การวิจยั ในภาคสนาม

ตามโครงการท่ี 1 ว่ามีผลการเรียนรู้ตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 หรือไม่ และมีผลการเรียนรู้หลังการ

พัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติหรือไม่ โดยข้อสอบในแบบทดสอบผลการ

เรียนรู้ของครูที่ใช้ในงานวิจัยน้ี มุ่งการวัด 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ในเน้ือหาเกี่ยวกับ 1) นิยาม

2) ความสาคัญ 3) ลักษณะ 4) แนวการพัฒนา 5) ขัน้ ตอนการพัฒนา และ 6) การประเมินทักษะความ

รว่ มมือ โดยแต่ละวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้มีขอ้ สอบ 6 ขอ้ วดั ทกั ษะการคดิ ขน้ั ตา่ กวา่ ไปหาทักษะการคิด

ข้นั สงู กวา่ คอื ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying)

การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) รวมขอ้ สอบท้ัง

ฉบบั 36 ขอ้ (ดูแบบทดสอบในภาคผนวก ซ)
แบบทดสอบที่สร้างข้นึ นาไปตรวจสอบความตรงเชงิ เนื้อหา (Content Validity) เพื่อให้ได้

เครื่องมือวัดได้ตรงกับส่ิงท่ีต้องการวัดหรือตรงกับวัตถุประสงค์ท่ีต้องการวัด (Polit & Beck, 2012)

128

ตามทัศนะของ Chaichanawirote and Vantum (2017) ทาได้โดยการพิจารณาความสอดคลอง
ของขอคาถามกับนยิ ามเชงิ ปฏิบัติการและทฤษฎีของสิง่ ท่ีตอ้ งการวัด โดยผูว้ จิ ยั นาเครื่องมือวิจัยท่ีร่าง
ไว้ให้ผู้เชี่ยวชาญท่ีเกี่ยวข้องกับแนวคิดท่ีต้องการวัด จานวน 3-5 คน พิจารณาว่าข้อคาถามมีความ
สอดคล้องกับนิยามเชิงปฏิบัติการหรือไม่และใหคะแนนตามวิธีการคานวณค่าความตรงซงึ่ มหี ลายวธิ ี
เช่น ดัชนีความสอดคล องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค (IOC: Indexes of Item-Objective
Congruence) ดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI: Content Validity Index) ดชั นคี วามตรงตามเนื้อหา
ท้ังฉบับ (S-CVI: Content Validity Index for Scale) และค่าเฉลี่ยของสัดส่วนความสอดคล้อง
(ACP: Average Congruency Percentage) ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้ดัชนีความสอดคล องของข้อ
คาถามกับวัตถุประสงค (IOC: Indexes of Item-Objective Congruence) ซึ่งจากการศึกษา พบว่า
พัฒนาข้ึนโดย Rovinelli and Hambleton (1977) เป็นการประเมินความสอดคล้องระหว่าง 1 ข้อ
คาถามกับ 1 วัตถุประสงค์ แต่ในระยะต่อมา Carlson (2000 cited in Turner & Carlson, 2003)
ได้พัฒนาแนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามและวัตถุประสงค์ท่ีปรับใหม่ (The
adjusted Index of Item-Objective Congruence) เป็นการหาความสอดคล้องของ 1 ข้อคาถาม
กับชดุ ของวัตถุประสงค์

ในงานวิจัยน้ี ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามกับ
วตั ถุประสงค์ตามทศั นะของ Rovinelli and Hambleton เพราะข้อสอบในแบบทดสอบผลการเรียนรู้
ของครูที่ใช้ในงานวิจยั นี้ มุง่ การวัดวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ในเนื้อหาเก่ียวกบั 1) นยิ าม 2) ความสาคัญ
3) ลกั ษณะ 4) แนวการพฒั นา 5) ข้นั ตอนการพัฒนา และ 6) การประเมินทักษะความรว่ มมอื โดยแต่
ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้วัดทักษะการคิดข้ันต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า คือ ความจา
(Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) โดยในการตรวจสอบความ
สอดคลอ้ งของขอ้ สอบกบั วัตถุประสงค์การเรยี นร้ใู นแต่ละเนอ้ื หาจากแบบทดสอบซง่ึ มี 6 วตั ถุประสงค์
การเรยี นรู้ แต่ละวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรูม้ ีข้อสอบ 6 ข้อ รวมขอ้ สอบท้ังฉบับ 36 ข้อ ใช้ผู้ทรงคณุ วุฒิท่ี
มีความเชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน และ/หรือ การวัดและประเมินผลการศึกษา จานวน 5
ราย (ดูรายชื่อในภาคผนวก จ) โดยให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1
หมายถึง ข้อคาถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง และ -1 หมายถึง ข้อ
คาถามไม่มีความสอดคล้อง ผลท่ีได้รับจากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญ นามาวิเคราะห์หาค่า IOC
จากสตู ร

IOC = R
เมื่อ IOCNแทนดัชนคี วามสอดคล้อง
R แทนผลรวมของคะแนนความคิดเหน็ จากผเู้ ช่ยี วชาญ
N แทนจานวนผู้เชีย่ วชาญ
โดยท่ี +1 แน่ใจว่าสอดคลอ้ ง
0 ไมแ่ นใ่ จว่าสอดคล้อง
-1 แน่ใจวา่ ไมส่ อดคล้อง

129

โดยกาหนดเกณฑ์ค่า IOC ที่ระดับเท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อคาถามน้ันมี
ความสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017)

หลังจากน้ัน แบบทดสอบน้ีจะนาไปทดลองใช้ (Try-out) กับครูผู้สอนในโรงเรียนพระธาตุ
วิทยา, โรงเรียนพระปริยัติธรรมวดั บ้านบอน, และในโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรมวดั อัมพวัน รวมจานวน
30 ราย ผลการพัฒนาใช้แบบทดสอบดังกล่าว นามาวิเคราะห์หาค่าสถิติเพื่อตรวจสอบคุณภาพของ
ขอ้ สอบรายขอ้ และของแบบทดสอบดังนี้

1) คุณภาพของข้อสอบรายข้อ ใช้เกณฑ์ค่าความยากง่าย (Difficulty) ใช้สัญลักษณ์ (p)
และคา่ อานาจจาแนก (Discrimination) ใช้สญั ลักษณ์ (r) พจิ ารณาร่วมกัน ดังน้ี

-ระดบั ความยากง่าย (p) หมายถึง สดั สว่ นของจานวนผทู้ ่ีตอบข้อสอบได้ถกู ต้องต่อจานวน
ผู้ที่ตอบข้อสอบท้ังหมด หรือหมายถึงจานวนร้อยละของผู้ตอบข้อสอบนั้น ๆ ถูก เช่น ค่า p =0.30
แสดงว่าจานวนผู้ตอบ 100 คน มีผู้ท่ีตอบข้อน้ัน ๆ ถูก 30 คน ค่าความยากง่ายจะมีค่าระหว่าง 0 ถึง
1.00 ใช้สตู รดังนี้ คอื ความยากง่าย (p) = จานวนผู้ตอบถกู (n) / จานวนผู้เข้าสอบ (N))

ในการพิจารณาค่าความยากงา่ ยนน้ั ถา้ ข้อสอบมคี ่าความยากงา่ ยสงู เชน่ p = 0.95 แสดง
ว่า มีผู้ตอบถูกจานวนมาก จึงถือว่าเป็นข้อสอบที่ง่าย แต่ในทางกลับกัน ถ้าข้อสอบมีผู้ตอบถูกน้อย
เช่น p = 0.15 แสดงว่า เป็นขอ้ สอบที่ยาก ข้อสอบที่ดจี ะมรี ะดบั ความยากง่าย เท่ากับ 0.5 ซง่ึ จะทาให้
เกิดค่าอานาจการจาแนกสูงสุดและมีความเท่ียงสูง อย่างไรก็ตามในการสอบวัดความรู้ผลการเรียน
โดยทั่วไป มักนยิ มให้มีขอ้ สอบที่มรี ะดบั ความยากง่ายในระดับต่าง ๆ ปะปนกันไป โดยจัดใหม้ ีข้อสอบ
มีค่าความยากง่ายพอเหมาะ (p มีค่าใกล้เคียง 0.5) เป็นส่วนใหญ่ รวมท้ังให้มีข้อสอบที่ค่อนข้างยาก
และคอ่ นขา้ งงา่ ยอีกจานวนหนงึ่ แตถ่ า้ เปน็ การสอบแขง่ ขันเพ่ือคัดเลือกผู้ท่มี ีความรู้ความสามารถควร
มีสัดส่วนของข้อสอบที่ยากสูงข้ึน ท้ังนี้ ข้อสอบท่ีดีควรมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.20-0.80 ใน
ข้อสอบประเภท 4 ตัวเลือก สว่ นข้อสอบประเภทถูก-ผดิ คา่ ความยากง่าย ควรอยู่ระหวา่ ง 0.60-0.95
โดยมีเกณฑ์การพิจารณาค่าความยากง่าย (p) ของข้อสอบรายข้อ ดังตาราง 3.1 (ล้วน สายยศ และ
องั คณา สายยศ, 2543 และ เยาวดี รางชัยกลุ วบิ ลู ยศ์ รี, 2552)

ตารางที่ 3.1 เกณฑก์ ารพจิ ารณาคา่ ความยากงา่ ย (p) ของขอ้ สอบ

คา่ ความยากง่าย (p) แปลความ การพิจารณา

0.00-0.19 ยากมาก ควรปรบั ปรุงหรือตดั ทิง้
0.20-0.39 คอ่ นข้างยาก พอใชไ้ ด้
0.40-0.60 ยากง่ายปานกลาง ใช้ได้
0.61-0.80 ค่อนข้างงา่ ย พอใช้ได้

0.81-1.00 งา่ ยมาก ควรปรับปรุงหรอื ตัดทิ้ง

-อานาจจาแนก (r) หมายถึง ความสามารถของข้อสอบในการจาแนกหรือแยกให้เห็น
ความแตกต่างระหว่างผู้สอบที่มีผลสัมฤทธ์ิต่างกัน เพ่ือที่จะใช้พยากรณ์หรือบ่งช้ีความแตกต่างที่
เหน็ ชดั ในดา้ นความสามารถ เช่น จาแนกคนเก่งกับคนอ่อนจากกันได้ โดยถอื วา่ คนเก่งควรทาข้อสอบ

130

ข้อน้ันได้ ส่วนผู้ที่อ่อนไม่ควรทาข้อสอบข้อนั้นได้อานาจจาแนก (r) ของข้อสอบ จะมีค่าต้ังแต่- 1 ถึง

+1 ค่าอานาจจาแนกทด่ี ี ควรมีค่าตัง้ แต่ 0.2 ขน้ึ ไป กรณที ่คี า่ อานาจจาแนก (r) ตดิ ลบ แสดงวา่ ขอ้ สอบ

ข้อน้ันจาแนกกลับ คนเก่งทาไม่ได้ แต่คนอ่อนทาได้ ถือว่าเป็นข้อสอบท่ีไม่ดีควรตัดทิ้ง (นภาพร

สิงหทัต, ม.ป.ป.) มสี ูตรในการคานวณ ดงั น้ี
r = RH – RL
N/2
r = คา่ อานาจจาแนกของข้อสอบข้อหนึ่ง ๆ
RH = จานวนผตู้ อบในกลุ่มสงู (เก่ง) ท่ีตอบขอ้ นน้ั
RL = จานวนผตู้ อบในกลมุ่ ต่า (อ่อน) ที่ตอบข้อนัน้ ถูก
N = จานวนผู้ตอบทัง้ หมดในกลมุ่ สูงและกล่มุ ตา่
มีเกณฑก์ ารการพิจารณาค่าอานาจจาแนก (r) ของข้อสอบรายขอ้ ดงั ตาราง 3.2

ตารางท่ี 3.2 เกณฑก์ ารพิจารณาคา่ อานาจจาแนก (r) ของข้อสอบ

อานาจจาแนก (r) การพจิ ารณา

0.60-1.00 อานาจจาแนกดีมาก
0.40-0.59 อานาจจาแนกดี
0.20-0.39 อานาจจาแนกพอใช้
0.10-0.19 อานาจจาแนกต่า (ควรปรับปรุงหรือตดั ทงิ้ )
-1.00-0.09 อานาจจาแนกตา่ มาก (ควรปรับปรุงหรอื ตดั ทิง้ )

2) คุณภาพของแบบทดสอบ พิจารณาจากเกณฑ์ความเชื่อมั่นและความยากง่ายของ
แบบทดสอบดงั น้ี

-ความเชือ่ ม่นั ของแบบทดสอบ (Reliability) หมายถึง ความคงทใี่ นการวัด กล่าวคือ ไม่
วา่ จะวดั กค่ี รง้ั ๆ กต็ ามจะได้ผลคงท่ีเสมอ อปุ มาเหมอื นตาช่ังที่สามารถบอกน้าหนักของวตั ถกุ ้อนหนึ่ง
เท่าเดิม ไม่ว่าจะเอาวัตถุก้อนนั้นมาช่ังก่ีคร้ังก็ตาม ตาช่ังน้ันก็จะมีความเชื่อม่ันสูง โดยค่าสัมประสิทธ์ิ

ของความเชื่อม่ันของแบบทดสอบใด ๆ มีค่าอยู่ระหว่าง .00 ถึง 1.00 ย่ิงมีค่าใกล้ 1.00 เท่าใดก็ย่ิงมี
ความเชื่อม่ันสูงขึ้นเท่าน้ัน ในงานวิจัยน้ี ใช้วิธีของ Kuder-Richardson ซ่ึงเป็นการทดสอบโดยวิธีหา
ความคงท่ีภายในว่าแบบทดสอบแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ และมี
ความสัมพันธ์กับแบบทดสอบท้ังฉบับอย่างไร ไม่เป็นการหาโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์
เนื่องจากแบบทดสอบท่ีใช้มีการให้คะแนนแต่ละข้อเป็นแบบ 0, 1 คือตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิด
ให้ 0 คะแนน โดยอาศัยการวัดหรือการสอบเพียงครั้งเดียว วิธีการคานวณมีสองแบบ (Hopkins &
Stanley, 1983; Aiken, 1985)

(1) ใช้สตู ร KR - 20 ในกรณมี ีการวิเคราะหห์ าคา่ ความยากรายข้อไวแ้ ลว้ ดังน้ี
rtt = [k/(k-1)] [1 - (ผลรวม pq)/S2]
เม่ือ k คอื จานวนข้อ


Click to View FlipBook Version