The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-08-03 13:01:58

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

226

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจขนั ตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมือ
ตามทัศนะของ Collaborative Outcomes Inc ว่าอยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3. Linton นักคิดนักเขียน กลา่ วถึงขนั้ ตอนในการพฒั นาทกั ษะความร่วมมอื ไว้ 5 ขน้ั ตอน
ในการทางานร่วมกนั ระหว่างองค์กรและการทางานเปน็ ทมี

1. การเอาชนะอปุ สรรค (Overcome Barriers)
2. การหาสมาชิก (Recruit Members)
3. การมเี ป้าหมายในทศิ ทางเดียวกนั (Agree Direction)
4. กาหนดความรับผิดชอบ (Clarify Responsibilities)
5. สนบั สนนุ การทางานร่วมกัน (Support Collaboration)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจขันตอนในการพฒั นาทักษะความร่วมมือ
ตามทศั นะของ Linton วา่ อยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. Team ผู้ก่อตั้ง tendocom กล่าวถึงข้ันตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมือไว้ว่า
ข้ันตอนทชี่ ว่ ยใหค้ ุณและผรู้ ่วมงานประสบความสาเร็จในการทางาน 7 ประการ ดังน้ี

1. คานงึ ถงึ ผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ท้ังหมด (Determine all key stakeholders)
2. สร้างบทบาทท่ีชดั เจนให้กบั แต่ละคน (Establish clear roles)
3. ระบอุ งคป์ ระกอบพน้ื ฐานของโครงการ (Identify the basic elements)
4. พฒั นาแนวความคิดของโครงการ (Develop your concept)
5. ใหค้ วามสาคัญกบั ตน้ แบบโครงการ (Tackle the content)
6. ออกแบบใหเ้ ห็นภาพ (Address the visual design)
7. การพัฒนาตอ้ งใช้เวลา (Allow time for development)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจขันตอนในการพัฒนาทักษะความรว่ มมอื
ตามทัศนะของ Team ว่าอยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

227

5. Madsen ศาสตราจารย์และประธานภาควิชาฟสิ ิกส์สุขภาพและวิทยาศาสตร์การวิจัย
University of California กล่าวถึงข้ันตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมือไว้ 7 ขั้นในการวางแผน
ความรว่ มมือ เพอ่ื สรา้ งแผนงานโครงการกบั ทีม

1. กาหนดโครงการข้ึนมา (Define the project)
2. ระดมสมองสาหรับทุก ๆ ส่ิงในโครงการ (Brainstorm everything that needs to
get done)
3. จดั การข้อมูล แบง่ ออกเปน็ กลุม่ ๆ (Categorise tasks into logical groups)
4. ออกแบบโครงสรา้ งของการทางาน (Create a product breakdown structure)
5. สร้างแผนภาพแสดงกระบวนการทางาน (Create a product flow diagram)
6. ออกแบบแผนการทางานระยะสั้นในแต่ละข้นั ตอน (Compile the milestone plan)
7. มอบหมายความรับผดิ ชอบ (Assign responsibilities)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจขันตอนในการพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือ ตามทศั นะของ Madsen ว่าอยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

แบบประเมนิ ตนเอง

โปรดทบทวนความรูค้ วามเข้าใจของท่านอกี ครง้ั จากแบบประเมนิ ผลตนเองน้ี
1) ท่านเข้าใจขั้นตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมือตามทัศนะของ Weaver ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Weaver
กล่าวถงึ ข้นั ตอนในการพฒั นาทกั ษะความร่วมมอื ว่าอย่างไร ?
2) ท่านเข้าใจขั้นตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมือตามทัศนะของ Collaborative
Outcomes Inc ชัดเจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า
Collaborative Outcomes Inc กล่าวถึงข้ันตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมือว่า
อย่างไร ?
3) ท่านเข้าใจข้ันตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมือตามทัศนะของ Linton ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดีพอ

228

หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคาถามในใจว่า Linton
กลา่ วถึงขัน้ ตอนในการพัฒนาทกั ษะความร่วมมือวา่ อย่างไร ?
1) ท่านเข้าใจขั้นตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมือตามทัศนะของ Team ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหมอ่ ีกคร้งั แล้วตอบคาถามในใจวา่ Team
กลา่ วถงึ ขั้นตอนในการพัฒนาทกั ษะความร่วมมอื วา่ อยา่ งไร ?
5) ทา่ นเข้าใจข้ันตอนในการพัฒนาทักษะความร่วมมอื ตามทศั นะของ Madsen ชัดเจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดพี อ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศกึ ษาใหม่อีกครงั้ แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Madsen
กลา่ วถึงขั้นตอนในการพฒั นาทักษะความร่วมมอื วา่ อยา่ งไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทศั นะจากต้นฉบับทเ่ี ป็นภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เว็บไซต์ของแต่ละแหล่งได้ ดังนี

1. Weaver :
https://www.princegeorge.ca/City%20Services/Documents/Social%20Planning/
Turf%20Trust%20Collboration%20Workshop_Liz%20Weaver%20April%2025%
20Participant%20Package.pdf

2. Collaborative Outcomes Inc : https://www.collaborativeoutcomesinc.com/7-
step-collaboration-process/

3. Linton : https://smallbusiness.chron.com/5-steps-cross-organizational-
collaboration-teamwork-18409.html

4. Team : https://tendocom.com/blog/7-steps-successful-collaboration-
stakeholders/

5. Madsen : https://www.kornferry.com/about-us/our-story/strategyexecution
เอกสารอ้างอิง
Collaborative Outcomes Inc (n.d.). 7 Step collaboration process. Retrieved August 23,

2020, from https://bit.ly/2QjR1ug
Linton, I. (n.d.). 5 Steps to cross organizational collaboration and teamwork. Retrieved

August 23, 2020, from https://bit.ly/32hIL3s
Madsen, S. (2015). Collaborative planning – 7 Steps to creating a project plan with

your team. Retrieved August 24, 2020, from https://bit.ly/2FTDMyn
Team, T. (2017). 7 Steps to successful collaboration between you and your

stakeholders. Retrieved August 24, 2020, from https://bit.ly/2FPBS1D
Weaver, L. (2018). Collaborative Leadership Self-Assessment Tools. Retrieved July 20,

2020, from https://bit.ly/31MALsC

229

5.6 คมู่ อื ชุดท่ี 6 ทัศนะเกย่ี วกบั การประเมนิ ทกั ษะความร่วมมอื

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

หลังจากการศึกษาคูม่ อื ชุดนแี้ ล้ว ทา่ นมพี ฒั นาการดา้ นพุทธพิ ิสยั (Cognitive Domain) ซ่งึ
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจาแนกพฤติกรรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมที่
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดข้ันต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า ดังน้ี คือ
ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดังนี้

1) บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลาดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จาแนก หรือระบุการ
ประเมนิ ทกั ษะความรว่ มมือได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรียบเรียงการประเมินทักษะความร่วมมอื ได้

3) แก้ปัญหา สาธิต ทานาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คานวณ หรือปรับปรุง
การประเมนิ ทักษะความรว่ มมือ ได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จาแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลการประเมนิ ทักษะ
ความรว่ มมือได้

5) วดั ผล เปรียบเทียบ ตคี ่า ลงความเหน็ วิจารณ์การประเมินทกั ษะความรว่ มมอื ได้
6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการประเมินทักษะความ
ร่วมมอื ได้
โดยมีแนวคิดการประเมินทักษะความร่วมมือ จากทัศนะท่ีนามากล่าวถึงแต่ละทัศนะได้
ดงั นี้
1) การประเมนิ ผลสาเร็จจากการพฒั นาทักษะความรว่ มมือ ตามทศั นะของ Weaver
2) การประเมนิ ผลสาเรจ็ จากการพัฒนาทกั ษะความร่วมมือ ตามทัศนะของ Kellerman
3) การประเมินผลสาเร็จจากการพัฒนาทักษะความรว่ มมอื ตามทศั นะของ Archibald,
Trumpower & MacDonald

คาช้ีแจง
1. โปรดศึกษาเนื้อหาเก่ียวกับการประเมินผลสาเร็จจากการพัฒนาทักษะความร่วมมือ

จากทัศนะที่นามากล่าวถึง แต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทาความเข้าใจท่ีสามารถอธิบาย
กบั ตัวเองได้ว่า เขาให้การประเมินผลสาเรจ็ จากการพฒั นาวา่ อยา่ งไร

2. หลงั จากการศกึ ษาเนอ้ื หาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีกครั้ง
จากแบบประเมนิ ผลตนเองในตอนท้ายของคูม่ อื

3. เนื้อหาเก่ียวกับการประเมินผลสาเร็จจากการพัฒนาทักษะความร่วมมือ จากทัศนะที่
นามากล่าวถึงแต่ละทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังของ แบบประเมินผลตน เอง

230

หากท่านต้องการศึกษารายละเอียดของทัศนะเหล่านั้น ซึ่งต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่าน
สามารถจะสบื คน้ ต่อได้จากเวบ็ ไซต์ทร่ี ะบุไว้ในแหลง่ อา้ งอิงนัน้ ๆ

ทัศนะเกีย่ วกบั การประเมนิ ผลสาเรจ็ จากการพัฒนาทักษะความรว่ มมอื

1. Weaver CEO และผู้นาเชิงกลยุทธศ์ ูนย์การเรยี นรู้ Tamarack กล่าวถงึ การประเมินผล
สาเร็จจากการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมือไว้ดังน้ี
ตอนที่ 1 แบบทดสอบการประเมินตนเองด้านภาวะผู้นาที่มีทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น
(Collaborative Leadership Assessing the Environment Self-Assessment Exercise)

1) ฉันใช้เครื่องมือประเมินผลในการเรียนรู้ความต้องการของชุมชนอย่างมีระบบ (I use
assessment tools in order to systematically learn the needs of the community.)

2) ฉันจะทาให้แน่ใจว่าเครื่องมือประเมินผลนั้นเหมาะกับข้อมูลที่ต้องการจะเก็บรวบรวม
( I ensure that an assessment tool is a good fit for the information that needs to be
collected.)

3) ฉันทาการวิเคราะห์ข้อมูลอยา่ งเหมาะสม (I undertake an appropriate analysis of
the data.)

4) ฉันมั่นใจในการตีความข้อมูลที่ได้รับผิดชอบ (I ensure responsible interpretation
of the data.)

5) ฉันมักจะเก็บข้อมูลก่อนจะลงมือทาในข้ันตอนอื่น (I gather information before
taking action.)

6) ฉันส่งเสริมให้ทุกคนค้นหาข้อมูลแทนท่ีจะเชื่อในสมมติฐาน (I encourage people to
act on information rather than assumptions.)

7) ฉันทาความเข้าใจกับปัญหาก่อนจะวางแผนหาวิธีการแก้ปัญหานั้น ๆ (I clarify the
problem before planning solutions.)

8) ฉันมองปัญหาในมุมมองที่แตกต่างกัน (I seek culturally different views of the
problem.)

9) ฉันใช้มุมมองที่เป็นระบบเพ่ือช่วยในการทาความเข้าใจคนในชุมชน (I use a systems
perspective to understand the community.)

10) ฉันมองปัญหาที่เกิดขึ้นในมุมมองที่แตกต่างกันก่อนจะแก้ไขมัน (I look at the
perceived problem from different angles before proceeding.)
ตอนท่ี 2 การสรา้ งความชัดเจนด้านภาวะผ้นู าที่มที ักษะการทางานร่วมกับผอู้ ืน่ : แบบทดสอบการ
ประเมินตนเองด้านการมีวิสัยทัศน์และการลงมือทา (Collaborative Leadership Creating
Clarity: Visioning and Mobilizing Self-Assessment Exercise)

1) ฉันสามารถอธิบายวิสัยทัศน์ซึ่งสามารถทาให้เกิดข้ึนได้ในอนาคต โดยการใช้ประโยชน์
จากส่ิงท่ีมีอยู่ให้คนในชุมชนได้ฟัง (I can describe a personal vision for my community that
offers a future achievable with the assets available.)

231

2) ฉันส่งเสริมกระบวนการท่ีมีประสิทธิภาพในการค้นหาแรงบันดาลใจอันหลากหลาย
ท่ามกลางกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (I facilitate an effective process for exploring the diverse
aspirations among community stakeholders.)

3) ฉนั สง่ เสริมการพัฒนาวิสัยทัศนร์ ่วมกัน ซง่ึ ผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียทุกคนมีสว่ นในการกาหนด
วสิ ยั ทศั น์นี้ (I facilitate the development of a shared community vision that is influenced
by the views of diverse stakeholders.)

4) ฉันเผยแพร่วิสัยทัศน์ท่ีมีร่วมกันไปในวงกว้าง (I communicate the shared vision
broadly.)

5) ฉันสร้างกรอบการทางานโดยใช้การคิดอย่างเป็นระบบ (I create a framework for
action using systems thinking.)

6) ฉันส่งเสริมการสร้างทีมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการช่วยกันพัฒนาแผนกลยุทธ์การ
ปฏบิ ัติงาน (I facilitate stakeholder teaming to develop strategic action plans.)

7) ฉันสร้างเงื่อนไขในการระดมสมองด้านกลยุทธ์และการปฏิบัติงาน (I create the
conditions for brainstorming the strategic issues and actions.)

8) ฉันสร้างแผนปฏิบัติงานด้วยการกาหนดช่วงเวลาและหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายเพ่ือให้
เ ป็ น ไ ป ต า ม วิ สั ย ทั ศ น์ข อ ง ชุ ม ช น (I build an action plan with time lines and assigned
responsibilities to enable the community vision to be achieved.)

9) ฉันส่งเสริมให้มีแผนการซื้อสารองและการวางแผนสาหรับข้ันตอนต่อไป I facilitate
achieving buy-in to the action plans and next steps.

10) ฉันปฏิบัติตามแผนปฏิบัติงานและทาเป้าหมายให้สาเร็จเสมอ (I follow up on
action plans to ensure completion.)

11) ฉันค้นหานวัตกรรมสาหรับแกป้ ัญหาท่ีพบบ่อยขณะเดียวกันก็ปฏิบัติงานเพ่ือให้บรรลุ
เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ (I seek innovative solutions for persistent problems encountered
while mobilizing to achieve the vision.)
ตอนที่ 3 แบบทดสอบตนเองด้านภาวะผู้นาที่มีทักษะการร่วมงานกับผู้อ่ืนในด้านการสร้างความ
เชอ่ื มั่น (Collaborative Leadership Building Trust Self-Assessment Exercise)

1) ฉันสร้างกระบวนการสื่อสารซึ่งจะช่วยให้ผู้คนรู้สึกปลอดภัยในการพูดส่ิงที่กาลังคิด
อ อ ก ม า (I build communication processes that make it safe for people to say what is
on their minds.)

2) ฉนั ปฏิเสธท่ีจะมสี ่วนรว่ มในการบวนการ “เตรียมความพรอ้ ม” (I refuse to engage in
“rigged” processes.)

3) ฉันปกป้องกลุ่มจากผู้ที่เอาเปรียบผู้อื่นในการทางานร่วมกัน (I protect the group
from those who would wield personal power over the collaborative process.)

4) ฉันสร้างกระบวนการท่ีมีความน่าเชื่อถือในการทางานร่วมกัน (I create credible
processes for collaborating.)

232

5) ฉันทาให้มั่นใจว่ากระบวนการฝึกฝนภาวะผู้นาท่ีมีทักษะการร่วมงานกับผู้อื่นนั้นเปิด
กว้างเสมอสาหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (I ensure that processes for exercising collaborative
leadership are open to all stakeholders.)

6) ฉนั ทาใหม้ ่ันใจวา่ กระบวนการดา้ นภาวะผู้นาที่มีทกั ษะการทางานรว่ มกับผู้อนื่ นน้ั มีความ
โปร่งใสตอ่ ผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสียทกุ คน (I ensure that the processes for collaborative leadership
are transparent to all stakeholders.)

7) ในช่วงระยะแรกของการสรา้ งภาวะผู้นาทมี่ ีทักษะการรว่ มงานกับผู้อนื่ ฉันสร้างกฎเกณฑ์
พืน้ ฐานให้กบั ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย (During the first stage of creating collaborative relationships,
I establish the common ground among the stakeholders.)

8) ฉันสร้างทักษะในการทางานร่วมกับผู้อื่นโดยให้ความสาคัญอย่างย่ิงต่อการสร้างความ
เชื่อถือในหมู่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมกัน (I approach collaboration by relying heavily on
building trust among stakeholders.)

9) ฉัน “พดู จรงิ ทาจริง” หมายถึงว่าฉนั ทาในสิง่ ทพี่ ูด (I “walk the talk”, i.e., I do what
I say I will do.)

10) ฉันแสดงให้เพื่อน ๆ เห็นว่า ฉันเช่ือมั่นว่าความเช่ือถือคือหลักพื้นฐานในการร่วมงาน
กับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ (I demonstrate to my peers that I believe that trust is the
foundation for successful collaboration.)
ตอนที่ 4 แบบทดสอบตนเองด้านภาวะผู้นาท่ีมีทักษะการทางานร่วมกับผู้อ่ืนในด้านการแบ่งปัน
พลังและสร้างแรงจูงใจ (Collaborative Leadership Sharing Power and Influence Self-
Assessment Exercise)

1) ฉันใชพ้ ลงั อย่างมคี วามรับผดิ ชอบ (I use my personal power responsibly.)
2) ฉันแบ่งปนั พลงั เพอื่ เพ่มิ พลงั (I share power as a means for increasing power.)
3) ฉันแบ่งปันพลังให้แก่ผู้อ่ืนเมื่อทาได้ (I share power with others whenever
possible.)
4) ฉนั เสนอบทบาททน่ี า่ ดึงดูดใจในการทาการตัดสินใจเกย่ี วกบั สง่ิ ที่สง่ ผลกระทบตอ่ พวกเข
(I offer people an active role in decision making about matters that affect them.)
5) เม่ือฝึกฝนภาวะผู้นา ฉันมักจะพ่ึงพาการแก้ปัญหาให้กับเพ่ือน (When exercising
leadership, I rely significantly on peer problem-solving.)
6) ฉนั แสดงออกถึงความมน่ั ใจให้ผู้อื่นไดเ้ หน็ (I promote self-confidence in others.)
7) ฉนั สร้างกระบวนการซงึ่ ช่วยทาให้ผู้มีส่วนไดเ้ สยี มนั่ ใจว่าการตดั สนิ ใจจะเป็นไปอย่างเท่า
เทยี มกนั (I create processes that ensure stakeholders an equal say in decision making.)
8) ฉันสนบั สนุนให้ผอู้ นื่ ทางานรว่ มกันเพ่ือเปลยี่ นแปลงสถานการณ์ซึง่ ส่งผลกระทบต่อพวก
เขา (I encourage others to act together to change circumstances that affect them.)
9) ฉันแสดงความม่ันใจนความสามารถของผู้อ่ืน (I express confidence in the
capabilities of others.)
10) ฉันใช้แรงจูงใจในการสร้างผลลัพธ์ท่ีดีเม่ือมีโอกาส (I use influence to produce
results whenever possible.)

233

11) ฉันเปิดโอกาสให้ผู้อ่ืนให้ฉันเป็นแรงจูงใจ I am open to being influenced by
others.
ตอนที่ 5 แบบทดสอบตนเองด้านภาวะผู้นาที่มีทักษะการทางานร่วมกันด้านการพัฒนาบุคคล
(Collaborative Leadership Developing People Self-Assessment Exercise)

1) ฉนั รับผิดชอบในการทาหน้าทโ่ี คช้ และเป็นที่ปรึกษาใหก้ บั ผู้อน่ื อย่างเตม็ ความสามารถ (I
take seriously my responsibility for coaching and mentoring others.)

2) ฉันใช้เวลาอย่างเหมาะสมในการช่วยพัฒนาบุคคล (I invest adequate amounts of
time doing people development.)

3) ฉันกาหนดบทบาทของตัวเองเมื่อทาหน้าที่เป็นโค้ช (I define my role when serving
as coach.)

4) ฉันทุ่มเทในการพัฒนาบุคคลที่มาจากหลากหลายภาคส่วน (I am committed to
developing people from diverse segments of the population.)

5) ฉันสร้างโอกาสสาหรับผู้คนในการเพ่ือประเมินทักษะความเป็นผู้นาของพวกเขา (I
create opportunities for people to assess their leadership skills.)

6) ฉันชว่ ยใหผ้ ้คู นคว้าโอกาสในการเรียนรทู้ ักษะใหม่ ๆ (I help people take advantage
of opportunities to learn new skills.)

7) ฉันมักหาทางในการช่วยให้ผู้คนประสบความสาเรจ็ กับงานของพวกเขามากข้ึน (I look
for ways to help others become more successful at their jobs.)

8) ฉันช่วยให้ผู้คนคว้าโอกาสในการเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ ๆ (I help people to take
advantage of opportunities for new experiences.)

9) ฉันคาดหวังในตัวบุคคลท่ีฉันเป็นท่ีปรึกษาให้พวกเขา (I establish my expectations
for the people I mentor.)

10) ฉนั มักจะถามผคู้ นที่มาขอคาปรึกษาถึงความคาดหวงั ของพวกเขา (I ask the people
I mentor to define their expectations.)

11) ฉันสร้างแผนการให้คาปรึกษาท่ีมีการตกลงร่วมกัน รวมถึงเกณฑ์ที่นาไปสู่ความสาเร็จ
(I create a mutually agreed-upon coaching plan, including criteria for success.)
ตอนที่ 6 แบบทดสอบตนเองด้านภาวะผู้นาท่ีมีทักษะการทางานร่วมกับผู้อ่ืนด้านการสะท้อน
ตนเอง (Collaborative Leadership Self Reflection Self-Assessment Exercise)

1) ฉันรับรู้ถึงผลกระทบของอารมณ์ต่อการทางาน (I recognize the effect of my
emotions on work performance.)

2) ฉันรับรู้ถึงผลกระทบของอารมณ์ต่อความสัมพันธ์ต่าง ๆ (I recognize the effect of
my emotions on relationships.)

3) ฉนั รบั รถู้ ึงผลกระทบสว่ นตวั ท่มี ตี อ่ การเปลย่ี นแปลงในกลมุ่ (I recognize my personal
impact on group dynamics.)

4) ฉนั สามารถบอกจดุ แขง็ ของตวั เองได้ (I can describe my strengths realistically.)
5 ) ฉั น ส า ม า ร ถ บ อ ก จุ ด อ่ อ น ข อ ง ตั ว เ อ ง ไ ด้ (I can describe my weaknesses
realistically.)

234

6) ฉันทางานเพอื่ เขา้ ใจมุมมองของผอู้ ่นื (I work to understand others’ perspectives.)
7) ฉันเข้าใจการเปลย่ี นแปลงภายในกลุ่ม (I read the dynamics of groups.)
8) ฉนั ฟังผอู้ ื่นอย่างตั้งใจ และทาให้ตวั เองมัน่ ใจว่าเข้าใจจรงิ (I listen to others actively,
checking to ensure my understanding.)
9 ) ฉั น เ ข้ า ใ จ อ วั จ น ภ า ษ า อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง (I read non-verbal communication
accurately.)
10) ฉนั ใช้เครือ่ งมือประเมนิ ตนเองอย่างเช่นแบบสารวจบุคลิกภาพในการสะท้อนตนเอง (I
use self-assessment tools such as personality inventories to inform my self-reflections.)
11) ฉนั ขอความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง เก่ียวกับผลกระทบด้านพฤตกิ รรมของฉนั (I seek
feedback from all relevant constituencies about my behavioral impact.)

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจแบบประเมนิ ผลสาเรจ็ จากการพัฒนา
ทักษะทกั ษะความรว่ มมือ ตามทัศนะของ Weaver ว่าอยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
1. Kellerman รองศาสตราจารย์รัฐศาสตรโ์ รงเรียนนายเรือ สหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการ
ประเมนิ ผลสาเร็จจากการพฒั นาทักษะความร่วมมอื ไวด้ ังนี้
ตอนท่ี 1 จดุ ประสงค์ของการทางานรว่ มกนั (Purpose of the Collaboration)
1) การทางานร่วมกันน้ันมขี ้นึ เพื่อแกไ้ ขปัญหาท่สี าคัญและซับซอ้ นท่ีเกดิ ข้ึนในชมุ ชนของเรา
ซ่ึงต้องอาศัยความร่วมมือกัน (The collaboration was established to address important,
complex issues in our community that require a comprehensive approach.)
2) การทางานร่วมกันให้วัตถุประสงค์เฉพาะที่ไม่ซ้ากันในชุมชน (The collaboration
serves a unique purpose that is not duplicated elsewhere in the community.)
3) เราต้องการสร้างความแข็งแกร่งและประโยชน์ให้กับชุมชน (We seek to build on
community strengths and assets.)
4) ความร่วมมือมีขึ้นเพื่อจูงใจและสร้างการเปลี่ยนแปลงในชุมชนซึ่งส่งผลกระทบต่อเด็ก
และครอบครัว (The collaboration seeks to influence and change community systems
that impact [children and families].)
ตอนที่ 2 ลกั ษณะของสมาชกิ (Membership Characteristics)
1) ความร่วมมือเกิดข้ึนจากบุคคลและองค์กรจากหลายภาคส่วน (The collaboration
includes people and organizations from diverse sectors.)
2) บุคคลคนและองค์กรซึ่งร่วมมือกันทางานจนประสบความสาเร็จมักเป็นผู้ที่มีส่วนร่วม
อ ย่ า ง แ ข็ ง ขั น ( People and organizations that are critical to the success of the
collaboration initiative are actively engaged.)

235

3) บคุ คลทีใ่ ห้ความร่วมมอื ในการทางานอยา่ งแขง็ ขัน คือบุคคลผซู้ ่ึงได้รบั ผลกระทบรวมไป
ถึงเป็นสมาชิกในชุมชนนั้น (People who would be most impacted by the work of the
collaboration, including community residents, are actively involved.)

4) ในขณะท่ีความคิดริเริ่มพัฒนาขึ้น เรายังคงมองหาพันธมิตรใหม่เพื่อร่วมงานเสมอหาก
จาเป็น (As the initiative develops, we continue to engage new partners, if required.)
ตอนที่ 3 ทาความรูจ้ กั ชุมชน (Getting to Know the Community)

1) ในการเรียนรู้เกี่ยวกับองค์กรที่สาคัญในชุมชน เครือข่ายและการประสานงานซ่ึง
เก่ียวข้องกับเด็กและครอบครัว เป็นความร่วมมือที่ต้องอาศัยเวลา (The collaboration has taken
the time to learn about key community organizations, networks and coalitions that
address issues associated with [children and families].)

2) สมาชิกในชุมชนมีการพูดคุยในส่ิงที่ตนรู้เกี่ยวกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน การให้บริการ
และทรัพยากรซึ่งสง่ เสริมพัฒนาการของเดก็ และเปลี่ยนแปลงบางส่ิงเพื่อผลลพั ธท์ิ ด่ี ียงิ่ ขึน้ (Members
have discussed their perceptions of current conditions, services and resources that
support [children’s development] and changes that would lead to improved
outcomes.)

3) ความร่วมมือนี้ต้องอาศัยบรรดาผู้ปกครองและสมาชิกในชุมชนมาร่วมพูดคุยเก่ียวกับ
สภาพการณ์ในปัจจุบัน การให้บริการและทรัพยากรซง่ึ ส่งเสริมพฒั นาการของเด็ก และเปล่ียนแปลง
บางสิ่งเพ่ือผลลัพธ์ิที่ดียิ่งขึ้น ( The collaboration has invited [parents and] community
residents to share their perceptions about current conditions, services and resources
that support [children’s development] and changes that would lead to improved
outcomes.)

4) ความร่วมมือนี้ได้มีการเก็บข้อมูลด้านสภาพความเป็นอยู่ของเด็กและครอบครัว ละ
ข้อมูลด้านความต้องการและทรัพยากรของชุมชน (The collaboration has collected and
assessed data about the [well-being of children and families] and information about
community needs and resources.)

5) การร่วมมือกันทาให้เกิดความเข้าใจในชุมชนเป็นอย่างดี เข้าใจในสมาชิก วัฒนธรรม
และคุณค่าของตัวชุมชน (The collaboration has a good understanding of the community
– its people, cultures, and values.)
ตอนท่ี 4 การวางแผนเพื่อสง่ ผลกระทบ (Planning for Impact)

1) ความร่วมมือไดพ้ ฒั นาวสิ ัยททศั นท์ ่มี รี ว่ มกันและหลักการทีใ่ ช้รว่ มกนั ในการทางาน (The
collaboration has developed a shared vision and principles to guide its work.)

2) วิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ของความร่วมมือน้ันถูกสร้างมาจากข้อมูลการประเมินความ
ต้องการและทรัพย์สินของชุมชนที่ได้ทาการสารวจ (The collaboration’s vision and strategic
plan are grounded in the findings of its assessment of community needs and assets.)

3) ความร่วมมือดังกล่าวได้กล่าวถึงทฤษฎกี ารเปล่ียนแปลงและผลลัพธ์ท่ีต้องการในระยะ
ยาวสาหรับเด็กและครอบครวั และยงั ระบถุ ึงเปา้ หมายท่ีสามารถทาการประเมนิ และสามารถบรรลุผล

236

ไ ด้ ( The collaboration has articulated a theory of change and identified long-term
outcomes [for children and families] and measurable, attainable goals.)

4) ความร่วมมือได้ช่วยระบุวัตถุประสงค์ในระยะสั้นและระยะกลาง ซ่ึงจะช่วยกาหนดการ
บรรลุเป้าหมายในระยะยาว (The collaboration has identified early to mid-term objectives
that will set the stage for the attainment of longer term goals.)

5) ความร่วมมือช่วยเลือกกลยุทธ์ที่น่าจะมีส่วนสาคัญในการทาให้ผลลัพธ์ดียิ่งข้ึนสาหรับ
เด็กและครอบครวั (The collaboration has selected strategies that are likely to contribute
significantly to improving outcomes [for children and families].)

6) ความร่วมมือช่วยเลือกกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับความสามารถและทรัพยากร (The
collaboration has selected strategies that are in keeping with its capacities and
resources.)
ตอนที่ 5 การนาไปใช้ใหเ้ กดิ ผล (Implementation)

1) สมาชกิ ในชุมชนเข้าใจและเห้นดว้ ยกบั เป้าหมายของเรา และเขา้ ใจอย่างถอ่ งแทว้ ่าอะไร
คือเป้าหมายของความร่วมมือน้ี (Members understand and agree with our goals, and have
a clear understanding of what the collaboration is trying to accomplish.)

2) ความร่วมมือจะนาไปสู่การท่ีผู้ปกครอง ผู้บริโภคและสมาชิกในชุมชนนากลยุทธ์ไปปรับ
ใ ช้ ( The collaboration finds ways to engage [parents, consumers and neighborhood
residents] in implementing strategies.)

3) แผนการดาเนนิ งานนี้จะรวมถงึ เป้าหมายระยะสน้ั ซ่ึงออกแบบมาเพอื่ เพิ่มโอกาสในการ
ประสบความสาเร็จกับเป้าหมายได้เร็ว (The implementation plan includes short-term
objectives, designed to provide opportunities for early successes.)

4) ความร่วมมือเกดิ ขน้ึ ได้จากการทางานในปริมาณท่ีเหมาะสมและการดาเนินงานท่ีถูกต้อง
(The collaboration has taken on the right amount of work at the right pace.)

5) เราใช้เวลาในการสะท้อนตนเองและการปรับปรุงแนวทางปฏิบัติ เราสามารถ
เปล่ยี นแปลงการปฏบิ ัตงิ านไดห้ ากจาเป็น (We take time for reflection and course correction,
making changes to our action plan as needed.)

6) สมาชกิ มีระดบั ความม่งุ มน่ั เพยี งพอ มกี ารร่วมแบง่ ปนั ความรบั ผดิ ชอบและทางานตาม
เปา้ หมายเสร็จดว้ ยดี (Members have a sufficient level of commitment; responsibilities
are shared and tasks are completed.)

7) บุคคลคนและองค์กรท่มี ีส่วนรว่ มได้รบั ประโยชน์จากการรว่ มมือคร้งั น้ี และก็ไดร้ ่วมเป็น
ส่ ว น ห น่ึ ง ข อง ค ว า ม ส า เ ร็จ ด้ ว ย กั น ( People and organizations that participate in the
collaboration benefit from being involved and have a stake in the collaboration’s
success.)

8) เมื่อมาถงึ การจดั ลาดับความสาคัญ องคก์ รของฉันมักคานงึ ถึงความรว่ มมอื เสมอ (When
setting its own priorities, my organization takes into account the work of the
collaboration)

237

10) การมรส่วนร่วมในการทางานร่วมกนั ช่วยเปล่ียนแปลงวิธีการทางานในองค์กรของฉัน
( Involvement in the collaboration is changing the way my organization undertakes its
own work.)
ตอนท่ี 6 การสรา้ งความสัมพันธ์ (Building Relationships)

1) การสร้างความเชื่อมั่นในองค์กรและการใหค้ วามเช่ือมั่นต้องใช้เวลา (We have taken
time to build trust among participating organizations and individuals.)

2) ผู้ท่ีเข้าร่วมมีความเคารพอย่างสูงซึ่งกันและกัน ทั้งในระดับองค์กรและระดับผู้คนท่ี
ทางานร่วมกัน สมาชิกแต่ละคนก็สนุกที่ได้ทางานร่วมกัน (There is a high level of mutual
respect and understanding among people and organizations involved in the
collaboration; members enjoy working together.)

3) มีความมุ่งมนั่ ที่จะสร้างความรู้สึกท่ีว่า บุคคลทเ่ี ข้ารว่ มมีความเปน็ เจ้าขององคก์ รร่วมกัน
(We strive to build a sense of shared ownership among participating organizations and
individuals.)

4) มีการเปิดการสนทนา และมุมมองที่แตกต่างกันเป็นสิ่งท่ีเราให้ความสาคัญ (Open
dialogue occurs and disparate views are valued.)

5) ความขัดแย้งเป็นเรื่องท่ียอมรบั ได้ มีการแก้ไขความขัดแย้งอย่างสรา้ งสรรค์ โดยการทา
ใ ห้ ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง เ ป็ น แ ห ล่ ง ส ร้ า ง น วั ต ก ร ร ม ( Conflicts are acknowledged, resolved
constructively and are used as a source of innovation.)

6) สร้างพลังให้เกิดข้ึนอย่างเปิดเผยและจริงใจ (Issues about power are addressed
openly and transparently.)

7) มีการจัดการความคิดท่ีแตกต่างได้อย่างดี ด้วยวิธีการทีเ่ อื้อต่อการมีส่วนร่วมของทุกคน
( Power differences are managed in ways that facilitate the active involvement of all
members.)

8) เรามีการรับรู้และสามารถยืนยันได้ว่าทุก ๆ คนมีส่วนร่วมกับองค์กร (We
acknowledge and affirm the contributions of individuals and organizations.)

9) เราจดจาและเฉลมิ ฉลองกับความสาเรจ็ (We recognize and celebrate our
accomplishments.)
ตอนที่ 7 การตัดสินใจ (Decision-making)

1) สมาชิกทุกคนในทีมแห่งความร่วมมือ มีความเข้าใจขอบเขตความรับผิดชอบและ
บทบาทของพวกเขาอย่างชดั เจน (All those involved in the collaboration have a clear sense
of their roles and responsibilities.)

2) สมาชิกในทีมมีความกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมในการตัดสินใจที่สาคัญ (Members
actively participate in making major decisions.)

3) กระบวนการประชุมของพวกเรามีประสิทธิภาพ (Our meeting processes are
effective.)

4) มีกระบวนการดาเนินงานและกระบวนการตัดสินใจท่ีชัดเจน (There is a clear
process for making decisions and implementing actions.)

238

5) สมาชิกในทีมแสดงให้เห็นถึงความยืดหยุ่นและความประนีประนอม เมื่อมีการตัดสินใจ
เกิดข้ึน (People demonstrate flexibility and the ability to compromise when decisions
are being made.)

6) เราส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และส่งเสริมการยอมรับความเสี่ยง (We
foster creative thinking, innovation and risk-taking.)
ตอนที่ 8 โครงสร้างองค์กร และการกากับดูแลองค์กร (Organizational Structure and
Governance)

1) โครงสร้างองค์กรแบบเน้นการทางานร่วมกันทาให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ
( The collaboration’s organizational structure facilitates effective governance and
management.)

2) มีความชัดเจนในเรอื่ งของการกาหนดความรับผิดชอบในทุก ๆ ส่วนงาน เช่น (กลุ่มงาน
ทร่ี บั ผิดชอบเรอื่ งงานเปน็ ช้ิน ๆ หรือการตัง้ คณะกรรมการท่ีดูแลเรอื่ งใหญ่ ๆ) (All groups (e.g. task
groups, committees, etc.) within the organizational structure have clear terms of
reference.)

3) ความรับผิดชอบต่องานมีความชัดเจน การรายงานผลการทางานก็มีความชัดเจน
(There are clear reporting and accountability mechanisms.)

4) เราได้สร้างข้อตกลงการทางาน กฎของการทางาน หรือบันทึกข้อความในการทางานที่
แสดงถงึ วสิ ัยทศั นท์ ี่มรี ว่ มกัน รวมถงึ วตั ถุประสงคข์ องงาน หลกั การ แผนการทางาน นโยบาย ในบันทึก
จะมีข้อตกลงที่เก่ยี วข้องกับการตัดสนิ ใจ เก่ียวกับผ้นู า และเรือ่ งของการเงนิ (We have developed
a charter, operating agreement or memorandum of understanding that outlines the
collaboration’s vision, purpose, principles, plans, policies and agreements about
leadership, decision-making and finances.)

5) ผู้ท่ีทางานร่วมกันในแต่ละกลุ่มมีระดับความรู้ ทักษะ และอานาจในการตัดสินใจที่
เหมาะสม (กล่าวคือจะต้องมีคนที่นาทีมอย่างน้อยหน่ึงคนในแต่ละกลุ่ม) (Participants in each
group within the collaboration have the appropriate level of knowledge, skills and
decision-making authority (i.e. the “right” people are at each table.)

6) สมาชิกในทมี มีความเขา้ ใจ ให้การสนบั สนุนรปู แบบในการกาหนดลาดับความสาคญั ของ
กลยุทธใ์ นแตล่ ะขอ้ รวมถงึ สนับสนุนและยอมรบั การตัดสนิ ใจในเร่ืองสาคญั (Members understand
and support the structures and processes used to set strategic priorities and make
major decisions.)

6) มีการปรับปรุงแก้ไขโครงสร้างองค์กรและวิธีการกากับดูแลให้เป็นปัจจุบัน เพื่อให้เห็น
ก าร พัฒ น าข อง คว ามร่ว มมือภายใน อ ง ค์ก ร ( Our organizational structures, including
governance, have been modified over time to reflect the development of our
collaboration.)
ตอนท่ี 9 ความเป็นผู้นา (Leadership)

239

1) มีการถ่ายทอดความเป็นผู้นา มีโอกาสในการพัฒนาทักษะความเป็นผู้นาให้กับสมาชิก
ทกุ คนในทมี (Leadership is shared, and there are opportunities for members to develop
their leadership skills.)

2) ผู้นามีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นในการทางาน สามารถส่ือสารวิสัยทัศน์ท่ียอดเยี่ยม
รวมถึงดึงดูดผู้อ่ืนให้ทางานร่วมกับผู้นา (Leaders have the required skills and knowledge,
and can communicate a compelling vision that engages others in the collaboration’s
work.)

3) การทางานร่วมกันทาให้ผู้นาท่ีอยู่ในระดับหัวหน้าหน่วยที่ประสบความสาเร็จ นั่นทาให้
เกดิ การประสบความสาเร็จในหลาย ๆ หนว่ ยงาน รวมถงึ ผลกั ดันให้เกิดผลลพั ธ์ทย่ี อดเย่ียม สนับสนุน
ซึ่งกันและกัน [สามารถส่งผลดีถึงครอบครัวของสมาชิกในหนว่ ยงานด้วย] (The collaboration has
successfully engaged community leaders in a number of sectors to act as champions
in support of improved outcomes [for children and families].)
ตอนท่ี 10 การสื่อสารและภาพลักษณ์ (Communication and Branding)

1) สมาชิกในกลุ่มมีการสื่อสารอย่างชัดเจนและเปิดเผย (People in this collaboration
communicate clearly and openly with one another.)

2) การสื่อสารเกิดขึ้นในการประชุมอย่างเป็นทางการและการพูดคุยแบบไม่เป็นทางการ
(Communication happens both at formal meetings and in informal ways.)

3) มีกระบวนการสาหรับสร้างการสื่อสารในระหว่างการประชุม ( There is an
established process for communication between meetings.)

4) พลังของความร่วมมือได้สร้างกลยุทธ์เพื่อให้สมาชิกขององค์กรและผู้มีส่วนได้เสียใน
ชุมชนรับทราบวิสัยทัศน์ แผนการทางาน การปฏิบัติงาน และคว ามสาเร็จของงาน (The
collaboration has implemented strategies for keeping member organizations and other
community stakeholders informed of its vision, plans, actions and successes.)

5) ข้อมูลท่ีเกี่ยวกับความคืบหน้าในการดาเนินงาน รวมถึงผลลัพธ์ท่ีได้อาจมีกา ร
เปล่ียนแปลง ข้อมูลเหล่าน้ีมีการส่ือสารอย่างสม่าเสมอแก่สมาชิกทุกคนในทีม (Information on
progress and changes in outcomes is communicated regularly to all members of the
collaboration and to the public.)

6) ความร่วมมือในการทางานมีความสัมพันธ์และเก่ียวข้องกับภาพลักษณ์ของทีม (เช่น ผู้
เสนอความเห็นชื่ออะไร ทีมใช้สัญลักษณ์อะไร ประเด็นสาคัญของข้อความที่ส่ือออกมาคืออะไร การ
สร้างภาพลักษณ์ร่วมกับองค์กรอ่ืน ๆ ด้วย ) (The collaboration has addressed issues related
to branding [e.g. the name of the initiative, logo, key messages, cobranding with
participating organizations, etc.])

7) มีการนาองค์ประกอบของการสร้างอตั ลักษณ์ไปใช้อยู่เสมอ ๆ (Brand elements are
used with permission and consistently applied.)

8) กิจกรรมท่ีองค์กรทาและกระบวนการทางานร่วมกันน้ันสอดคล้องกับคุณลักษณะหลัก
ของอตั ลักษณ์ (The collaboration’s activities and processes are congruent with its brand
characteristics.)

240

ตอนท่ี 11 ทรัพยากร (Resources)
1) เราไดร้ ะบุทักษะและทรัพยากรท่ีแต่ละคนตอ้ งมีเพอ่ื ใช้ในการทางานร่วมกนั (We have

identified the skills and resources that each individual or organization brings to the
collaboration.)

2) การมีส่วนร่วมของสมาชกิ รวมถึงองคก์ รตา่ ง ๆ ทาให้พวกเขาเหล่านั้นร่วมกันสนับสนุน
ทรัพยากรในการเรมิ่ โครงการ เช่น สนบั สนนุ ดา้ นเวลาทางาน ความเชีย่ วชาญ ความเปน็ ผ้นู า การเปน็
ผู้ติดต่อ เงิน และการสนับสนุนในรูปแบบต่าง ๆนอกเหนือจากนี้ (Participating individuals and
organizations contribute resources to the initiative such as time, expertise, leadership,
contacts, funds, and in-kind supports.)

3) การทางานร่วมกันได้รับการสนับสนุนทรัพยากรทางการเงิน และทรัพยากรด้านอ่ืน ๆ
จากหลากหลายแหง่ (The collaboration has access to financial and in-kind resources from
a number of sources.)

4) การทางานร่วมกันและความร่วมมือได้รับทรัพยากรท่ีเพียงพอกับความต้องการเพื่อให้
บรรลุวัตถุประสงค์ของงาน ทรัพยากรดังกล่าวรวมถึงเงินทุน พนักงาน วัสดุ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
และส่งิ อานวยความสะดวกต่าง ๆ (The collaboration has adequate resources to do what it
wants to accomplish, including sufficient funds, staff, materials, technical expertise and
facilities.)

5) เราสามารถเข้าถึงและใช้ทรัพยากรเพิ่ม เม่ือเราทางานร่วมกันได้ดี (We are able to
access and leverage additional resources as a result of working collaboratively.)

6) ในการทางานร่วมกัน ทีมมีเง่ือนไขและข้อตกลงที่ชัดเจนแก่สมาชิกทุกคนในเรื่องของ
การพฒั นาศกั ยภาพของทรพั ยากรทม่ี ี รวมถงึ การจดั สรรงบประมาณ (หากมีการใช้งบประมาณ) (The
collaboration has a clear protocol with members with regards to its resource
development and fund allocation (if any).)

7) ทีมงานมีความรเู้ ก่ียวกับการจดั สรรเงินทุนและทรัพยากรเพ่อื สรา้ งประโยชนส์ ูงสุดให้กับ
[เด็ก ครอบครัวอื่น ๆ และชุมชนข้างเคียง] (The collaboration is knowledgeable about
funding sources available to improve outcomes for [children, families and
neighborhoods] in the community.)

ตอนที่ 12 ความยง่ั ยืน (Sustainability)
1) เราทราบดีว่าการเปล่ียนแปลงสภาวะของชุมชนเกิดจากการสร้างความมุ่งมั่นในระยะ

ยาว และต้องได้รับการสนับสนุนทรัพยากรอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการพิจารณาว่าเราจะรักษาความ
ร่วมมือในการทางานนี้ไว้ได้อย่างไร (We Recognize that Changing Community Conditions
Requires Long Term Commitment of Resources and Actively Consider how to Sustain
our Collaborative Work.)

2) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากหลายภาคส่วนมีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนการสร้างความ
ร่วมมือ ผู้นาของชุมชนสามารถสร้างความคิดสร้างสรรค์และมีการสนับสนุนการสร้างความคิด

241

สร้างสรรค์ (The Collaboration Engages the Involvement and Support of a Broad Range
of Stakeholders, and Community Leaders who use Their Influence to Generate Support
for the Initiative.)

3) มีการทาปฐมนิเทศก่อนการทางานร่วมกนั สมาชกิ ในทีมทเ่ี ข้ามาใหมแ่ ละอาสาสมัครใน
ทีมได้รับการพัฒนาทักษะตามความจาเป็น (The Collaboration Provides Comprehensive
Orientation to New Members and Volunteers, and Skill Development, as Required, to
Facilitate Their Participation.)

4) มีแผนการทางานรว่ มกันในกรณีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงผู้นา (The Collaboration Plans
for Transitions in its Leadership.)

5) มแี ผนการทางานรว่ มกนั สาหรับการใช้ทรพั ยากรใหม้ ีความยงั่ ยนื (The Collaboration
has a Plan for Sustaining Resources.)

6) เรายังคงมีการรวบรวมข้อมูลที่จาเป็นที่เก่ียวข้องกับชุมชน นโยบาย เงินทุน และการ
พัฒนาในด้านต่าง ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อความคิดสร้างสรรค์ของเรา (We Continue to Gather
Pertinent Information about the Community, and Funding, Policy and other
Developments that May Impact on our Initiative.)
ตอนที่ 13 การเรยี นรู้และการประเมินผล (Learning and Evaluation)

1) มีการร่วมมือกันระหว่างชุมชนอนื่ ๆ ในการหาข้อมูลเก่ียวกับความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ท่ี
มีความคล้ายคลึงกัน มีการรวบรวมและแบ่งปันข้อมูลกันเก่ียวกับแนวทางปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ
( The Collaboration has Sought out Information from Similar Initiatives in other
Communities and Continues to Gather and Share Information about Effective
Practices.)

2) มีการสร้างรูปแบบการประเมินประสิทธิภาพของความร่วมมือ (The Collaboration
has Developed a Plan to Evaluate its Work.)

3) มีการวัดระดับความร่วมมอื เปน็ ระยะ ๆ เพ่ือตรวจสอบผลลัพธแ์ ละการทางานของกลมุ่
คนท่ีเกี่ยวข้องกับงาน ติดตามความคืบหน้า เพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย ( The Collaboration
Periodically Measures Community Outcomes Related to its Work to Monitor Progress
Towards Achievement of Goals.)

4) มกี ารแบง่ ชว่ งเวลาในการทบทวนสงิ่ ทเ่ี ราได้เรียนรู้จากการทางานรว่ มกนั ประสทิ ธิภาพ
ของการทางานร่วมกัน รวมไปถึงทบทวนกระบวนการทางานของเรา (We take Time Periodically
to Reflect on what we are Learning about Collaborative Work, Including the
Effectiveness of our Collaborative Structures and Processes.)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจแบบประเมินผลสาเร็จจากการพัฒนา
ทกั ษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Kellerman วา่ อย่างไร ?

242

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

2. Archibald, Trumpower & MacDonald ค ณ ะ ผู้ วิ จั ย University of Ottawa
Canada's กลา่ วถงึ การประเมินผลสาเรจ็ จากการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือไว้ดงั น้ี

แบบสารวจความสาเรจ็ ของความร่วมมอื ระหวา่ งอาชพี (ฉบับปรับปรงุ ) (The
Interprofessional Collaborative Competency Attainment Scale (Revised))

1) มีการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสมาชิกในทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ (Promote
Effective Communication among Members of an Interprofessional (IP)
Team)

2) มีการรับฟังความเห็นและข้อกังวลของสมาชิกในทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพอย่าง
จริงใจ (Actively listen to IP team members’ ideas and concerns)

3) มีการแสดงความคิดเห็นแบบไม่ด่วนตัดสิน (Express My Ideas and Concerns
Without Being Judgmental)

4) ให้คาแนะนาท่ีเป็นประโยชน์กับสมาชิกในทีมที่มาจากหลากหลายอาชีพ (Provide
Constructive Feedback to IP Team Members)

5) แสดงความคิดเห็นอย่างชัดเจน ด้วยวิธีการท่ีกระชับ (Express My Ideas and
Concerns in a Clear, Concise Manner)

6) ให้ทีมที่มาจากหลากหลายอาชีพได้พบกับสถานการณ์จริง (Seek out IP Team
Members to Address Issues)

7) ทางานร่วมกับทีมที่มาจากหลากหลายอาชีพเพื่อยกระดับความสัมพันธ์ในทีม (Work
Effectively with IP Team Members to Enhance Care)

8) เรียนรู้ร่วมกับทีมที่มาจากหลากหลายอาชีพเพื่อยกระดับความสัมพันธ์ในทีม (Learn
With, from and About IP Team Members to Enhance Care)

9) ระบุความสามารถของเราเพ่อื มองหาสง่ิ ที่เราจะสามารถมอบให้กับทมี ทมี่ าจาก
หลากหลายอาชพี ได้ (Identify and describe my abilities and contributions to
the IP team)

10) รับผิดชอบต่อส่ิงท่ีเรามอบให้กับทีมที่มาจากหลากหลายอาชีพได้ (Be Accountable
for My Contributions to the IP Team)

11) เขา้ ใจถงึ ความสามารถและสิ่งที่สมาชิกทกุ คนมอบให้กับทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ
ได้ (Understand the Abilities and Contributions of IP Team Members)

12) จดจาว่าทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ของคนอ่ืน ๆ เหมือนหรือแตกต่างกับเรา
อย่างไร (Recognize how Others’ Skills and Knowledge Complement and
Overlap with My Own)

243

13) ใช้วิธีการของการให้บริการเปน็ ศูนย์กลาง ในการประเมนิ ความสัมพันธ์ของทีมทีม่ าจาก
หลากหลายอาชพี (Use an IP Team Approach with the Patient to Assess the
Health Situation)

14) ใช้ทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพและการให้บริการเป็นศูนย์กลาง ในการบริการ (Use
an IP Team Approach with the Patient to Provide Whole Person Care)

15) ใช้วิธีการท่ีเรียกว่า ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง ในการตัดสินใจ (Include the
Patient/Family in Decision-Making)

16) รับฟังมุมมองของทีมทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ (Actively Listen to the
Perspectives of IP Team Members)

17) คานึงถึงแนวคิดของสมาชิกในทีมที่มาจากหลากหลายอาชีพ (Take Into Account
the Ideas of IP Team Members)

18) จัดการกับความขัดแย้งอย่างเหมาะสม (Address Team Conflict in a Respectful
Manner)

19) สร้างแผนพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในทีมท่ีมาจากหลากหลายอาชีพ
(Develop an Effective Care Plan with IP Team Members)

20) เจรจาเร่ืองความรับผิดชอบของแต่ละคนซ่ึงอาจจะมีการทับซ้อนกันเกิดข้ึน
(Negotiate Responsibilities within Overlapping Scopes of Practice

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจแบบประเมนิ ผลสาเร็จจากการพัฒนา
ทักษะความร่วมมือ ตามทัศนะของ Archibald, Trumpower, & MacDonald ว่า
อยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………........................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แบบประเมนิ ตนเอง

โปรดทบทวนความรู้ความเขา้ ใจของทา่ นอกี ครัง้ จากแบบประเมนิ ผลตนเองนี้
1) ทา่ นเข้าใจการประเมนิ ผลสาเร็จทักษะความร่วมมอื ตามทัศนะของ Weaver ชัดเจนดีแลว้
หรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยงั ไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศกึ ษาใหมอ่ กี ครั้ง แลว้ ตอบคาถามในใจวา่ Weaver
กล่าวถึงการประเมนิ ผลสาเร็จทกั ษะความรว่ มมือวา่ อย่างไร ?

244

2) ท่านเขา้ ใจการประเมนิ ผลสาเร็จทกั ษะความร่วมมือตามทศั นะของ Kellerman ชัดเจนดี
แล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดพี อ
หากยงั ไม่ชัดเจนดพี อ โปรดกลับไปศกึ ษาใหม่อกี ครั้ง แลว้ ตอบคาถามในใจว่า Kellerman
กล่าวถึงการประเมินผลสาเร็จทกั ษะความร่วมมอื ว่าอย่างไร ?

3) ทา่ นเข้าใจการประเมนิ ผลสาเรจ็ ทกั ษะความรว่ มมอื ตามทัศนะของ Archibald,
Trumpower, & MacDonald ชัดเจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไมช่ ัดเจนดพี อ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครง้ั แล้วตอบคาถามในใจวา่ Archibald,
Trumpower, & MacDonald กล่าวถึงการประเมนิ ผลสาเร็จทกั ษะความรว่ มมือว่า
อยา่ งไร ?

หมายเหตุ
หากต้องการศกึ ษารายละเอียดของแต่ละทศั นะจากต้นฉบับท่เี ป็นภาษาองั กฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เว็บไซต์ของแต่ละแหลง่ ได้ ดังนี
Weaver : https://www.princegeorge.ca/City%20Services/Documents/Social%20
Planning/Turf%20Trust%20Collboration%20Workshop_Liz%20Weaver%20April%2025
%20Participant%20Package.pdf
Kellerman : https://atrium.lib.uoguelph.ca/xmlui/bitstream/handle/10214/3115/
Kellerman_Collaboration_Assessment_Guide_and_Tool_complete_copy.pdf?sequenc
e=7&isAllowed=y
Archibald, Trumpower, & MacDonald : https://www.tandfonline.com/doi/abs/
10.3109/13561820.2014.917407

เอกสารอา้ งอิง
Archibald, D., Trumpower, D., & MacDonald, C. J. (2014). Validation of the

interprofessional collaborative competency attainment survey (ICCAS).
Journal of Interprofessional Care. 28(6):1-6.
Kellerman, M. (2007). Collaboration assessment guide and tool. Retrieved May 20,
2020, from https://bit.ly/2NVZ9Qb
Weaver, L. (2018). Collaborative Leadership Self-Assessment Tools. Retrieved July 20,
2020, from https://bit.ly/31MALsC

245

246

5.7 คมู่ อื ประกอบโครงการครผู ู้สอนนาความรูส้ กู่ ารพัฒนานกั เรียน

วัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ การปฏิบตั ิ

คู่มือเชิงปฏิบัติการประกอบโครงการครูนาความรู้สู่การพฒั นานักเรียนน้ี จัดทาข้ึนเป็นให้
ท่านได้ทราบถึงประเด็นต่าง ๆ ที่จะช่วยให้ท่านนาความรทู้ ี่ท่านไดร้ ับจากโครงการแรก คือ โครงการ
พัฒนาความรู้ของครูผู้สอนเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะความร่วมมือ ไปสู่การปฏิบัติ คือ การพัฒนา
นักเรียน ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ดงั น้ี

1) ทบทวนถึงคณุ ลักษณะหรอื ทกั ษะความรว่ มมอื ท่ีคาดหวังให้เกดิ ข้ึนกับนกั เรยี น หลังจาก
ได้รับการพัฒนาจากท่านตามโครงการครูผู้สอนนาความรู้สู่การพัฒนานักเรียน ในระยะ 2-3 เดือน
หลังจากนี้

2) ทบทวนถึงหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมท่ีเป็นทางเลือกที่
หลากหลายเพ่ือการพัฒนาทักษะความร่วมมือ จากทัศนะของนักวิชาการหรือหน่วยงานท่ีท่านได้
ศึกษามาจากคู่มือประกอบโครงการแรก คือ โครงการพัฒนาความรู้ของครูผู้สอนเกยี่ วกบั การพฒั นา
ทักษะความร่วมมือ เพื่อใช้เป็นแนวทางการพัฒนาของท่าน ซึ่งหากมีมากมาย อาจเลือกใช้แนว
ทางการพฒั นาท่ที า่ นเห็นวา่ สาคญั

3) ทบทวนถึงขั้นตอนการพัฒนาความร่วมมือ จากทัศนะของนักวิชาการหรือหน่วยงานท่ี
ท่านได้ศึกษามาจากคู่มือประกอบโครงการแรก คือ โครงการพัฒนาความรู้ของครูผู้สอนเก่ยี วกับการ
พัฒนาทักษะความร่วมมือ เพื่อใช้เป็นแนวทางการพัฒนาของท่านเอง ซึ่งอาจจะยึดถือตามทัศนะใด
ทศั นะหนึ่ง หรอื บูรณาการข้ึนใหมจ่ ากหลาย ๆ ทัศนะ

4) ระบุถึงหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมท่ีเป็นทางเลือกท่ีหลากหลาย
เพ่ือการพฒั นา และข้นั ตอนการพฒั นาท่ที ่านนาไปใช้ในการพัฒนานักเรยี น

6) ให้ข้อสังเกตถึงปัจจัยท่ีส่งผลในทางบวก และปัญหาหรืออุปสรรคต่อการปฏิบัตงิ านของ
ทา่ นในการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือ แกน่ ักเรยี น

7) ระบุถงึ วธิ ีการที่ท่านนามาใช้เพอื่ แกไ้ ขปัญหาหรอื อุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของท่านใน
การพัฒนาทักษะความรว่ มมอื แก่นกั เรียน

8) ระบถุ ึงบทเรยี นสาคัญทไี่ ดจ้ ากการการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมือ แกน่ กั เรยี น
9) ระบุถึงข้อเสนอแนะสาคัญเพื่อให้การพัฒนาทักษะความร่วมมือ แก่นักเรียนประสบ
ผลสาเร็จ

247

ทบทวนความรู้ความเขา้ ใจจากโครงการพฒั นาครผู ้สู อน
เพื่อพฒั นาทักษะความรว่ มมอื แกน่ ักเรยี น

1. ทบทวนคณุ ลักษณะหรือทักษะความรว่ มมอื ท่ีคาดหวังให้เกดิ ขน้ึ กับนกั เรียน

1.1 ความคาดหวังคุณลกั ษณะของนักเรยี นทม่ี ีทกั ษะความร่วมมือจากนานาทัศนะทาง

วิชาการ

Samdahl (2017) ให้ทัศนะว่า คนทีม่ ีทกั ษะความรว่ มมือ เปน็ คนทีม่ คี ณุ ลกั ษณะ ดงั น้ี
1) การมอบหมาย (Delegating)
2) การจดั การการประชมุ (Managing Meetings)
3) สร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยเพื่อการสื่อสารอย่างเปิดเผย ( Creating an
environment that makes it safe to openly communicate)
4) การสอ่ื สาร (Communicating)
Cran (2017) ใหท้ ัศนะว่า คนทม่ี ที กั ษะความรว่ มมือ เปน็ คนท่ีมคี ณุ ลักษณะ ดังน้ี
1) บคุ คลในทมี ถูกเนน้ ใหร้ บั ข้อมูลจากหลายมุมมอง
2) ผ้นู าทีมของทุกแผนกทาการสอ่ื สารและร่วมกันทาหน้าท่ี
3) หวั หนา้ ทมี นาขอ้ มูลที่ได้รบั จากการประชมุ หลกั ของ “หวั หนา้ ทมี ” กลับมายังทีมของตน
และแบ่งปนั สาระสาคญั
4) การทางานรว่ มกันไดร้ บั ผลตอบแทนและถกู วดั ในการประเมนิ ประสิทธภิ าพ
Sampson (2010) ให้ทัศนะว่า คนท่มี ีทักษะความร่วมมือ เปน็ คนท่ีมีคุณลักษณะ ดงั นี้
1) การแบง่ ปันความรู้ (Sharing Knowledge)
2) การเรยี นรู้ (Learning)
3) การสร้างฉันทามติ (Building Consensus)
4) งานที่ “ทาเพราะถูกบอกใหท้ า” (Do What You’re Told” Work)
5) การรว่ มมอื กัน (Cooperation)
6) การทางานทไ่ี ด้รบั มอบหมายร่วมกัน (Delegated Collaboration)
7) การทางานรว่ มกนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ (Creative Collaboration)
Meinert (2017) ให้ทัศนะว่า คนท่มี ีทกั ษะความรว่ มมอื เป็นคนที่มีคณุ ลักษณะ ดังน้ี
1) สร้างตน้ แบบพฤติกรรมการทางานรว่ มกัน (Model Collaborative Behaviors)
2) สรา้ งเครอื ขา่ ยทแ่ี ข็งแกร่ง (Build Strong Networks)

248

3) ส่งเสริมการทางานร่วมกันทั่วท้ังองค์กร (Encourage Collaboration Across the
Enterprise)

4) จดั โครงสรา้ งงานเพือ่ หลีกเลยี่ งการทางานมากเกนิ ไป (Structure the Work to Avoid
Overload)

Goman (2017) ให้ทศั นะว่า คนท่ีมีทกั ษะความรว่ มมอื เป็นคนท่ีมีคุณลกั ษณะ ดงั น้ี
1) “ทลาย” การทางานแบบไซโล (Silo “Busting”)
2) การสรา้ งความไวว้ างใจ (Building Trust)
3) ปรบั ภาษากายให้สอดคล้อง (Aligning Body Language)
4) สง่ เสรมิ ความหลากหลาย (Promoting Diversity
5) การฝกึ ฝนทกั ษะด้าน “อารมณ์” ใหค้ ม (Sharpening “Soft” Skills)
6) การสร้าง “ความปลอดภยั ทางจิตใจ” (Creating “Psychological Safety”)
1.2 ความคาดหวังคณุ ลักษณะของนักเรียนท่มี ที ักษะความร่วมมอื จากแบบประเมินผล

จากผลการศึกษาทัศนะเก่ียวกับลักษณะหรือคุณลักษณะที่แสดงถึงการมีทักษะความ
ร่วมมือของ Sampson (2010), Goman (2017) Samdahl (2017) Cran (2017) Meinert (2017)
และจากการศึกษาข้อคาถามในแบบสอบถามของ Weaver (2018) Kellerman (2007) Archibald,
Trumpower & MacDonald (2014) ได้ข้อคาถามเพื่อใช้ในแบบประเมินการบรรลุความคาดหวัง
จากการพฒั นาทกั ษะความร่วมมอื ของนักเรยี นในด้านต่าง ๆ ดงั น้ี

การมวี ิสัยทศั นแ์ ละการลงมือทา (Visionary and Action)
1) นักเรียนส่งเสริมกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการค้นหาแรงบันดาลใจจากกลุ่มผู้มี
สว่ นได้สว่ นเสยี
2) นักเรียนส่งเสริมการพัฒนาวิสัยทัศน์ร่วมกัน ซึ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคนมีส่วนในการ
กาหนดวิสัยทศั น์นี้
3) นักเรยี นสรา้ งกรอบการทางานโดยใช้การคดิ อย่างเป็นระบบ
4) นักเรียนส่งเสริมการสร้างทีมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการช่วยกันพัฒนาแผนกลยุทธ์การ
ปฏิบตั งิ าน และส่งเสริมความหลากหลาย
5) นักเรียนสร้างแผนปฏิบัติงานด้วยการกาหนดช่วงเวลาและหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย
เพื่อให้เปน็ ไปตามวสิ ัยทศั น์
การสร้างความเชื่อมน่ั (Building Trust)
1) นกั เรียน “พูดจรงิ ทาจรงิ ” หมายถึงว่านักเรยี นทาในสิ่งทพี่ ดู
2) นักเรียนปกป้องกลุ่มจากผู้ที่เอาเปรียบผูอ้ ืน่ ในการทางานรว่ มกัน
3) นักเรยี นสร้างกระบวนการที่มีความนา่ เชือ่ ถือในการทางานร่วมกัน

249

4) นกั เรยี นเช่ือวา่ ความร่วมมือเกิดข้นึ จากบุคคลและองค์กรจากหลายภาคสว่ น
5) นักเรยี นมคี วามร้แู ละทกั ษะท่จี าเป็นในการทางาน สามารถดงึ ดูดผูอ้ นื่ ใหท้ างานร่วมกับฉัน
6) นักเรียนเช่ือม่ันว่าความเชื่อถือคือหลักพื้นฐานในการร่วมงานกับผู้อ่ืนอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
การแบ่งปนั พลงั และสรา้ งแรงจูงใจ (Sharing Power and Influence)
1) นักเรียนใชพ้ ลังอยา่ งมีความรับผดิ ชอบ
2) นกั เรยี นแบ่งปันพลังเพื่อเพม่ิ พลงั และการแบง่ ปนั ความรู้
3) นกั เรยี นแบง่ ปันพลงั ใหแ้ กผ่ ู้อ่นื เม่ือทาได้
4) เมอื่ ฝกึ ฝนภาวะผนู้ า นกั เรียนมกั จะพ่ึงพาการแก้ปัญหาใหก้ ับเพ่อื น
5) นกั เรียนแสดงออกถึงความม่นั ใจใหผ้ ู้อื่นไดเ้ หน็
6) ผู้ท่ีทางานร่วมกันในแต่ละกลุ่มมีระดับความรู้ ทักษะ และอานาจในการตัดสินใจท่ี
เหมาะสม
การสรา้ งความสมั พนั ธ์ (Building Relationships)
1) นกั เรยี นเช่ือวา่ การสรา้ งความเชอ่ื ม่ันในองค์กรและการให้ความเช่อื มนั่ ตอ้ งใช้เวลา
2) นักเรียนเชอ่ื ว่าคนทีเ่ ขา้ รว่ มกันทางานมคี วามเคารพอย่างสงู ซึง่ กนั และกัน
3) นกั เรียนมีความม่งุ ม่นั ท่ีจะสร้างความรู้สึกท่วี ่าบุคคลท่ีเข้าร่วมมีความเปน็ เจ้าขององค์กร
ร่วมกัน
4) นักเรียนมกี ารเปิดการสนทนา และมุมมองทแี่ ตกตา่ งกนั เป็นสิง่ ท่ีเราใหค้ วามสาคญั
5) นักเรียนเชื่อว่าความขัดแย้งเป็นเร่อื งที่ยอมรับได้ โดยการทาให้ความขัดแย้งเป็นแหลง่
สร้างนวัตกรรม
6) นักเรียนมีการจัดการความคิดท่ีแตกต่างได้อย่างดี ด้วยวิธีการที่เอ้ือต่อการมีส่วนร่วม
ของทกุ คน
การสะท้อนตนเอง (Self-Reflection)
1) นกั เรยี นรบั รถู้ ึงผลกระทบของอารมณต์ อ่ การทางาน และการสรา้ ง “ความปลอดภยั ทาง
จติ ใจ”
2) นกั เรยี นสามารถบอกจุดแข็ง จุดออ่ นของตัวเองได้
3) นกั เรยี นทางานเพอื่ เขา้ ใจมุมมองของผ้อู ่ืน
นักเรยี นเข้าใจการเปลีย่ นแปลงภายในกล่มุ
4) นกั เรียนสรา้ งสภาพแวดลอ้ มที่ปลอดภัยเพ่อื การส่อื สารอยา่ งเปดิ เผย
5) นักเรียนใช้เวลาในการสะทอ้ นตนเองและการปรับปรุงแนวทางปฏบิ ตั ิ
การตัดสนิ ใจ (Decision-making)

250

1) สมาชิกทกุ คนในทมี ของนกั เรยี นมคี วามเขา้ ใจขอบเขตความรับผิดชอบและบทบาทอย่าง
ชัดเจน

2) สมาชิกในทมี ของนักเรียนมคี วามกระตือรือรน้ ท่ีจะเข้าร่วมในการตัดสินใจทสี่ าคัญ
3) กระบวนการประชมุ ในทมี ของนกั เรยี นมีประสิทธภิ าพ
4) ทีมของนักเรียนมกี ระบวนการดาเนนิ งานและกระบวนการตัดสินใจทีช่ ดั เจน
5) สมาชิกในทีมของนักเรียนมีความยืดหยุ่นและความประนีประนอมเมื่อมีการตัดสินใจ
เกดิ ข้นึ
6) ในทีมของนกั เรียนส่งเสริมความคดิ สร้างสรรค์ นวตั กรรม และสง่ เสริมการยอมรับความ
เส่ียง

2. ทบทวนหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมท่ีเป็นทางเลือกท่ีหลากหลายเพื่อ
การพัฒนาทกั ษะความร่วมมือ จากนานาทัศนะเชงิ วชิ าการ

Robinson (2019)
1) สร้างสภาพแวดล้อมแห่งการร่วมมือภายในทีม (Creating a Collaborative Team
Environment)
2) กาหนดบทบาทให้ชัดเจน (Establish Roles Clearly)
3) ชัดเจนเก่ียวกับเป้าหมายของทีมและบริ ษัท (Be Clear on the Team and
Company Goals)
4) พัฒนาความเชื่อมั่น (Develop Trust)
5) คาดหวงั การสอื่ สารแบบไม่มีข้อจากดั (Expect Open Communication)
6) หลีกเล่ียงความสัมพันธ์ท่ีมากกว่าผู้ร่วมงาน (Avoid Crossing the “Just a
Coworker” Line)
Miller (2014)
1) เปดิ ช่องทางการส่อื สาร (Open Communication Lines)
2) พยายามทาให้รู้ถงึ มุมมองส่วนบุคคล (Dive into Individual Perspectives )
3) คาดหวังความรบั ผดิ ชอบ (Expect Accountability)
4) ทาให้การทางานร่วมกันเป็นส่วนหน่ึงของการขับเคล่ือนทีม (Make Collaboration
a Part of Your Team Dynamic)
5) กาหนดมตแิ ละความร่วมมอื (Define Consensus and Collaboration)
Kashyap (2018)
1) หาจดุ แขง็ ของแตล่ ะคน (Identify Their Individuals’ Strengths)

251

2) สร้างความคาดหวังที่เป็นไปได้จริงและช้ีแจงเป้าหมาย (Establish Realistic
Expectations & Clarify Goals)

3) เครอ่ื งมือชว่ ยการทางานรว่ มกัน (Collaboration Tools)
4) ส่งเสริมการเปิดใจ (Encourage Open-Mindedness)
5) ให้รางวลั กับนวตั กรรม (Reward Innovation)
6) ฉลองความสาเร็จของทมี ให้ผ้คู นรับรู้ (Celebrate Teams Success Publicly)
7) สนบั สนนุ ชุมชนทีเ่ ข้มแขง็ (Support a Strong Sense of Community)
8) กระจายการมอบหมายหนา้ ที่ (Spread the Delegation of Tasks)
Conlan (2018)
1) ก าหน ดว่ าก ารทางานร่วมกัน มีคว ามหมายต่อคุณอ ย่าง ไร (Define What
Collaboration Means to You)
2) กาจดั อุปสรรคในการทางานกลุม่ (Clear Out Obstacles to Group Work)
3) เสรมิ สรา้ งจิตวิญญาณแห่งความไว้วางใจ (Foster a Spirit of Trust)
Boyer (2015)
1) สนับสนุนการเปน็ ผนู้ า (Provide Leadership Support)
2) ต้งั กฎพืน้ ฐานขนึ้ มา (Set Ground Rules)
3) สร้างความคาดหวังที่เป็นไปได้จริงและชี้แจงเป้าหมายให้ชัดเจน (Establish Realistic
Expectations & Clarify Goals)
4) การจัดระเบียบกระบวนการ (Organize the Process)
5) สร้างความเชอ่ื ม่นั (Build Trust)
Lucco (2019)
1) ลงทนุ ในการสรา้ งรปู แบบของความสัมพนั ธ์ในทมี (Invest in Signature Relationship
Practices)
2) ตน้ แบบการสรา้ งพฤตกิ รรมการทางานรว่ มกัน (Model Collaborative Behavior)
3) สรา้ ง “วัฒนธรรมการให้ของขวญั ” (Create a “Gift Culture”)
4) เนน้ ในทักษะทีจ่ าเปน็ (Ensure the Requisite Skills)
5) สนับสนนุ ชุมชนทเ่ี ขม้ แขง็ (Support a Strong Sense of Community)
6) มอบงานให้หัวหน้าทีมที่เน้นผลงานและมุ่งเน้นการสร้างความสัมพันธ์ (Assign Team
Leaders That are Both Task-Oriented and Relationship-Oriented)
7) สรา้ งการเก็บสะสมความสมั พนั ธ์ (Build on Heritage Relationships)
8) เข้าใจบทบาทอย่างชัดเจนและความไม่ชัดเจนของงานบางส่วน (Understand Role
Clarity and Task Ambiguity)
Stapper (2018)

252

1) แบ่งปนั วิสยั ทัศน์ (Share a Vision)
2) อธิบายความคาดหวังต้ังแต่เร่ิมตน้ (Set Expectations Early)
3) สรา้ งตัวชี้วดั ความสาเรจ็ (Establish Metrics)
4) ใช้ประโยชน์จากจดุ แข็ง (Capitalize on Strengths)
5) สง่ เสริมแนวคดิ ใหม่ ๆ (Encourage New Ideas)
6) สร้างกลมุ่ งานขา้ มสายงาน (Create Cross-Functional Work Groups)
7) รกั ษาสัญญา (Keep Your Promises)
8) สร้างความสมั พนั ธ์แบบทีมหลงั เลกิ งาน (Build Team Relationships After Work)
9) ฉลองความสาเรจ็ ของการทางานรว่ มกัน (Celebrate Collaboration)
DeRosa (2018)
1) นาทีมงานเข้ารว่ มการคัดเลือกพนกั งานใหม่ (Involve Your Team in Hiring)
2) มคี วามโปรง่ ใส (Be Transparent)
3) ใชท้ มี ข้ามสายงาน (Implement Cross-Functional Teams)
4) คิดทบทวนเกย่ี วกบั สภาพแวดล้อม (Think About Your Environment)
5) สนบั สนุนทมี งานทีร่ ่วมงานกันได้ดี (Encourage Cohesive Teams)
Bogler (2016)
1 ) ก า ร ส ร้ า ง ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ มก า ร ท า ง าน ร่ว มกั น (Creating a Collaborative
Environment)
2) ขอ้ ควรพิจารณาในการสรา้ งกลุ่ม (Group Forming Considerations)
3) การพัฒนาทักษะความร่วมมือ (Developing Collaborative Skills)
4) วิธีแกป้ ัญหาทเ่ี กดิ จากการทางานร่วมกัน (How to Solve Collaboration Problems)
Campbell (2017)
1) สรา้ งเหตผุ ลท่ชี ัดเจนและมีความน่าสนใจ (Create a Clear and Compelling Cause)
2) สอื่ สารกับสมาชกิ เกย่ี วกบั ความคาดหวงั (Communicate Expectations)
3) กาหนดเป้าหมายของทีม (Establish Team Goals)
4) ใช้ประโยชนจ์ ากจุดเขง็ ของสมาชิกในทมี (Leverage Team-Member Strengths)
5) ส่งเสริมการทางานร่วมกนั ระหว่างสมาชิกในทีม (Foster Cohesion Between Team
Members)
6) ส่งเสรมิ นวตั กรรม (Encourage Innovation)
7) รกั ษาสญั ญาและใหเ้ กยี รติกับการรอ้ งขอ (Keep Promises and Honor Requests)
8) ส่งเสริมใหเ้ ขา้ สงั คมนอกท่ที างาน (Encourage People to Socialize Outside of Work)
9) มีการรับรู้ ให้รางวัล และฉลองให้กับพฤติกรรมการทางานร่วมกัน (Recognize,
Reward and Celebrate Collaborative Behavior)

253

3. ทบทวนโมเดลขั้นตอนทางเลือกที่หลากหลายเพื่อการพัฒนาทักษะความร่วมมือ จากนานา
ทัศนะเชิงวิชาการ

Elorus Team in Workspace (2018)
1) ทาความรจู้ ักกบั ทีมของคุณ (Get to know your team)
2) สรา้ งภาวะผูน้ า (Establish leadership)
3) จัดกิจกรรมสร้างความผกู พนั ในทมี (Organize team bonding activities)
4) วางแผนไปพร้อมกับสมาชกิ ในทมี (Plan along with the team)
5) ชน่ื ชมเมื่อประสบความสาเร็จ (Celebrate victories)
6) เรียนรจู้ ากความลม้ เหลวไปพร้อมกนั (Learn together from failures)
Collaborative Outcomes Inc (n.d.)
1) การสร้างกลยทุ ธ์ทางธรุ กจิ รว่ มกนั และเป้าหมายท่ีมีรว่ มกัน (Collaborative Business
Strategy and Shared Goal)
2) การสรา้ งกระบวนการประชุมทีเ่ ต็มไปด้วยพลังแห่งการทางานรว่ มกัน (Collaborative
Team Dynamics Meeting Process)
3) การส่งเสริมการทางานรว่ มกันภายในองค์กร (Inner Collaboration Work)
4) การส่งเสรมิ ทักษะการทางานรว่ มกัน (Collaboration Skills)
5) การสรา้ งความสมั พันธ์แห่งการทางานร่วมกันภายในทมี (Collaborative Team
Relationships)
6) การสง่ เสรมิ ทักษะการเปน็ ผนู้ าร่วมกัน (Collaborative Leadership Skills)
7) การสรา้ งกลยุทธ์ด้านผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสีย (Stakeholder Strategy)
Linton (n.d.)
1) การเอาชนะอุปสรรค (Overcome Barriers)
2) การหาสมาชกิ (Recruit Members)
3) การมเี ป้าหมายในทศิ ทางเดียวกัน (Agree Direction)
4) กาหนดความรบั ผดิ ชอบ (Clarify Responsibilities)
5) สนบั สนนุ การทางานร่วมกัน (Support Collaboration)
Team (2017)
1) คานงึ ถึงผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ท้งั หมด (Determine all key stakeholders)
2) สร้างบทบาทท่ีชัดเจนใหก้ ับแต่ละคน (Establish clear roles)
3) ระบอุ งค์ประกอบพ้ืนฐานของโครงการ (Identify the basic elements)
4) พฒั นาแนวความคิดของโครงการ (Develop your concept)
5) ใหค้ วามสาคัญกับต้นแบบโครงการ (Tackle the content)
6) ออกแบบให้เห็นภาพ (Address the visual design)

254

7) การพัฒนาตอ้ งใชเ้ วลา (Allow time for development)
Madsen (2015)
1) กาหนดโครงการขึน้ มา (Define the project)
2) ระดมสมองสาหรับทุก ๆ สง่ิ ในโครงการ (Brainstorm everything that needs to get done)
3) จัดการข้อมูล แบ่งออกเปน็ กลมุ่ ๆ (Categorise tasks into logical groups)
4) ออกแบบโครงสรา้ งของการทางาน (Create a product breakdown structure)
5) สรา้ งแผนภาพแสดงกระบวนการทางาน (Create a product flow diagram)
6) ออกแบบแผนการทางานระยะสั้นในแต่ละขั้นตอน (Compile the milestone plan)
7) มอบหมายความรับผิดชอบ (Assign responsibilities)
หมายเหตุ
เม่ือท่านดำเนินการพัฒนาทักษะความร่วมมือ ครบตามระยะเวลาที่กาหนดแล้ว ขอ
ความกรุณาท่านโปรดตอบแบบประเมินผลการปฏิบัติ และสะท้อนผลการปฏิบัติ จาก Google
Formตามลิงคห์ รือ QR Code ดา้ นลา้ งนด้ี ้วย จักขอบพระคณุ ยง่ิ

************************************
แบบสอบถาม โครงการพฒั นาครผู ู้สอนเพอ่ื พัฒนาทักษะความร่วมมอื ให้กบั นักเรยี น

https://forms.gle/qGDCWTGqd8no5nH98

บทท่ี 6
สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

การวิจยั เรือ่ งโปรแกรมออนไลน์เพอ่ื เสริมพลงั ความรขู้ องครสู กู่ ารพัฒนาทักษะความร่วมมือ
ของนักเรียน น้ี ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ตามทัศนะ
ของวิโรจน์ สารรัตนะ (2561) ที่เห็นว่า นวัตกรรมที่พัฒนาข้ึนโดยกระบวนการวิจัยและพัฒนามี
จุดมุ่งหมายเพื่อนาไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงานที่มีปรากฏการณ์หรือข้อมูลเชิง
ประจักษแ์ สดงให้เห็นวา่ มคี วามจาเป็นเกิดข้ึน เช่น เปน็ ผลสบื เนอ่ื งจากการกาหนดความคาดหวังใหม่ท่ี
ท้าทายของหน่วยงาน หรือการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การทางานจากเก่าสู่ใหม่ท่ีบุคลากรขาด
ความรู้ความเข้าใจและทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบนั มหี ลักการ แนวคดิ ทฤษฎที ่ถี ือเป็น
นวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกิดขึ้นมากมาย ท่ีคาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามี
ความรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานาความรู้เหล่าน้ีสู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิด
พลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งข้ึน ตาม
แนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือตามคากล่าวท่ีว่า “Make Them Know What
To Do, Then Encourage Them Do What They Know” ห รื อ “ Link To On- The- Job
Application”

การวจิ ัยในครัง้ นม้ี ีวัตถุประสงคก์ ารวิจัย ดังน้ี 1) เพอื่ พฒั นาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด
“Knowledge + Action = Power” ท่ปี ระกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คอื 1) โครงการพฒั นาเพอ่ื
การเรียนรู้ของครูเก่ียวกับการพัฒนาทักษะความร่วมมือ 2) โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การ
เสริมสรา้ งทักษะความร่วมมือให้กับนกั เรยี น โดยมีคมู่ ือประกอบแต่ละโครงการ 2) เพ่อื ประเมินความ
มปี ระสทิ ธิภาพของโปรแกรมออนไลน์จากผลการวิจยั เชิงทดลองในภาคสนาม 2 ระยะ คือ การพัฒนา
ครู และครูพัฒนานักเรียน และ 3) เพ่ือระดมสมองของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองให้ทราบถึงข้อเสนอแนะ
เพื่อการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมออนไลน์

สมมุติฐานในการวิจัย มี 2 ประการ คือ 1) ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูท่ีเป็นกลมุ่
ทดลองหลังการดาเนินงานในโครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครูเก่ียวกับการพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 และ 2) ผลการประเมินทักษะความรว่ มมือของนกั เรียน
ตามโครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือให้กับนักเรียนมีค่าเฉล่ียของ
คะแนนหลงั การพัฒนาสูงกวา่ ก่อนการพฒั นาอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ

256

ในการวจิ ยั ไดก้ าหนดขอบเขตของการวจิ ัย ดงั น้ี 1) กลมุ่ ทดลอง (Experiment Group) ใน
การวจิ ยั และพฒั นาโปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลงั ความรขู้ องครูส่กู ารพัฒนาทกั ษะความร่วมมือของ
นักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาน้ี คือ โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลยั วดั ศรีษะเกษ อาเภอเมืองหนองคาย จังหวดั หนองคาย ซงึ่ มคี รูระดับมธั ยมศกึ ษา 11
ราย และมีนักเรียนระดับมัธยมศึกษาศึกษาตอนต้น จานวน 91 ราย นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
จานวน 113 ราย รวม 204 ราย ระยะเวลาดาเนินการทดลองในภาคสนาม คือ ภาคเรียนท่ี 1 ปี
การศึกษา 2564 และ 2) กลมุ่ ประชากร (Population) ซ่งึ เป็นเป้าหมายอ้างองิ ในการนาผลการวิจัย
ไปเผยแพร่เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์หลังการวิจัยและพัฒนา คือ ซึ่งเป็นเป้าหมายอ้างอิงในการนา
ผลการวิจัยไปเผยแพร่เพ่ือใช้ให้เกิดประโยชน์หลังการวิจัยและพัฒนา คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม
แผนกสามัญศึกษา สังกัดกองพทุ ธศาสนศึกษา สานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ ทกุ โรงทวั่ ประเทศ
จานวน 408 โรง สาหรับโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วัดศรีษะเกษ อาเภอ
เมือง จังหวดั หนองคาย เปน็ สถานศกึ ษาที่ผ้วู ิจยั ไดค้ ัดเลือกให้เปน็ กลมุ่ ทดลอง (Experiment Group)
ในการวิจัยเท่าน้ัน ตามหลักการของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ท่ี
วจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมใด ๆ ข้นึ มา แล้วนานวัตกรรมน้ันไปทดลองใชใ้ นพืน้ ทีท่ ดลองแห่งใดแหง่ หนึ่ง
ที่มีคุณลักษณะเป็นตัวแทนของประชากร เม่ือผลจากการทดลองพบวา่ นวัตกรรมนนั้ มคี ุณภาพหรือมี
ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ทก่ี าหนด ก็แสดงวา่ สามารถเผยแพร่เพอื่ การนาไปใชป้ ระโยชน์กบั ประชากร
ท่เี ปน็ กลมุ่ อ้างองิ ในการวจิ ยั ได้

การดาเนินงานวิจัย ประกอบด้วย 5 ข้ันตอนตามลาดับดังนี้ (1) การจัดทาคู่มือประกอบ
โครงการ (2) การตรวจสอบคุณภาพคู่มือ/หน่วยการเรียนรู้และการปรับปรุงแก้ไข (3) การสร้าง
เครื่องมือเพ่ือใช้ในการทดลองในภาคสนาม (4) การทดลองในภาคสนาม (5) การเขียนรายงานการ
วจิ ยั และเผยแพร่ผลการวจิ ัย โดยมีผลการวิจัยดังนี้

6.1 สรุปผลการวิจยั

จากการดาเนินงานวิจัย 5 ขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยสรุปผลการวิจัยและพัฒนา
โปรแกรมออนไลนเ์ พ่อื เสริมพลงั ความรู้ของครูสู่การพฒั นาทกั ษะความร่วมมือของนกั เรียน ได้ดงั นี้

6.1.1 โครงการและคู่มือประกอบโครงการ
6.1.1.1 โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครูเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะความ

ร่วมมือให้กับนักเรียน มีคู่มือประกอบโครงการ 6 ชุด โดยแต่ละชุดมีการนาเสนอเนื้อหาจากผล
การศึกษาวรรณกรรมทเ่ี กย่ี วข้อง ดงั น้ี

1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับนิยามของทักษะความร่วมมือจากทัศนะของ
นักวิชาการหรือหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้ What are collaboration skills? (Zahid, 2018),

257

Collaboration skills : Definition, list, and examples (Doyle, 2019), Collaborative skills:
Definition & explanation (Firestone, n.d.), Collaboration skills: Definition and examples.
(Indeed Career Guide, 2019), Collaborative skills (Helsel, 2017), How to collaborate
successfully (Mind Tools, n.d.), The importance of collaboration skills in the workplace
(Ryan, 2 0 1 8 ), Collaboration & teamwork (Belgrad, Fisher, & Rayner, 1 9 9 5 ), What is
collaboration? (Aiim, n.d.), และ Collaboration (Rouse, 2016)

2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของทักษะความร่วมมือจากทัศนะของ
นัก วิ ชาก าร หรือหน่ว ยง าน ต่าง ๆ ดัง นี้ The importance of collaboration skills in the
workplace ( Ryan, 2 0 1 8 ) , Importance of teamwork and collaboration skills
(lmacademics, 2019), Importance of team collaboration at workplace (Kashyap, 2017),
The importance of collaboration in today's workplace (Elcom, 2018), The importance
of collaboration in the workplace ( Nutcache, 2 0 1 9 ) , 7 Reasons why collaboration is
important ( Moseley, 2 0 1 9 ) , The importance of collaboration and teamwork in the
creative industry ( Dobos, 2 0 1 7 ) , How workplace collaboration can change your
company (Smart Sheet, 2019) และ 11 Key business benefits of team collaboration (&
why you should work on your teamwork) (Valdellon, 2017)

3) คู่มือเพ่ือการเรยี นรูเ้ กีย่ วกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะความร่วมมือจากทศั นะของ
นักวิชาการหรือหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้ Do your business leaders model collaborative
behaviors? ( Samdahl, 2 0 1 7 ) , Top 4 behaviors of highly collaborative teams ( Cran,
2017), Defining collaboration: Collaboration as "human behavior" (sense 1) (Sampson,
2010), How to be a collaborative leader (Meinert, 2017) และ Six crucial behaviors of
collaborative leaders (Goman, 2017)

4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับแนวการพัฒนาทักษะความร่วมมือจากทัศนะของ
นักวิชาการหรือหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้ 10 Simple ways to build a collaborative, successful
work environment (Campbell, 2 0 1 7 ), Nine ways to build a more collaborative team
( Stapper, 2 0 1 8 ) , 5 Tips to building a collaborative team ( Boyer, 2 0 1 5 ) , 8 Steps to
collaboration to work in a collaborative environment (Kashyap, 2018), How to create
a collaborative approach at work ( Robinson, 2 0 1 9 ) , How to build a collaborative
workplace culture (Conlan, 2018), How to build successful teams with 8 collaborative
approaches (Lucco, 2019), How to build a culture of collaboration (DeRosa, 2018), 5

258

Ways to foster increased team collaboration ( Miller, 2 0 1 4 ) , แ ล ะ How to improve
student collaboration skills (Bogler, 2016)

5) คมู่ อื เพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับขนั้ ตอนการพฒั นาทักษะความรว่ มมือจากทัศนะของ
นักวิชาการหรือหน่วยงานต่าง ๆ ดังน้ี Collaborative Leadership Self-Assessment Tools
( Weaver, 2 0 1 8 ) , 7 Step collaboration process ( Collaborative Outcomes Inc, n.d.), 5
Steps to cross organizational collaboration and teamwork ( Linton, n.d.), 7 Steps to
successful collaboration between you and your stakeholders ( Team, 2 0 1 7 ) แ ล ะ
Collaborative planning-7 Steps to creating a project plan with your team (Madsen, 2015)

6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะความร่วมมือจากทัศนะของ
นักวิชาการหรือหน่วยงานต่าง ๆ ดังน้ี Collaborative Leadership Self-Assessment Tools
(Weaver, 2 0 1 8 ), Collaboration assessment guide and tool (Kellerman, 2 0 0 7 ), และ
Validation of the interprofessional collaborative competency attainment survey (ICCAS)
(Archibald, Trumpower & MacDonald, 2014)

6.1.1.2 โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือให้กับ
นักเรียน มีคู่มือเชิงปฏิบัติการเพ่ือให้ครูได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะความร่วมมือให้กับ
นักเรียน นาเสนอสรุปประเด็นสาคัญเกี่ยวกับ 1) ลักษณะหรือคุณลักษณะของทักษะความร่วมมือที่
คาดหวังให้เกิดกับนักเรียน 2) แนวทางการพัฒนาทักษะความร่วมมือ และ 3) ข้ันตอนการพัฒนา
ทักษะความร่วมมือ ในตอนท้ายของคู่มือมีแบบประเมินตนเองของครูต่อการนาข้อเสนอแนะแนว
ทางการพัฒนาและขนั้ ตอนการพฒั นาเชงิ วิชาการหรือเชิงทฤษฎีไปใช้ และการให้ความเห็นตอ่ จุดเด่น
จุดด้อยของคู่มือทุกชุด รวมทั้งความคิดเห็นในลักษณะเป็นการสะท้อนผล (Reflection) จากการ
ปฏิบัติ

6.1.1.3 ข้อบกพร่องของคู่มือที่ได้จากการตรวจสอบ และได้รับการปรับปรุงแก้ไข
แล้ว มดี งั น้ี

1) การตรวจสอบภาคสนามเบื้องตน้ (ระยะท่ี 1) มีขอ้ บกพรอ่ งทไ่ี ดร้ ับปรับปรงุ แก้ไข
แล้ว ดงั น้ี

-เนื้อหาบางสว่ นเมอ่ื อา่ นแล้วไมส่ ามารถเขา้ ใจความหมาย
-บางสานวนยังเปน็ ภาษาทีย่ ังไม่มีการวิเคราะหใ์ ห้เป็นสานวนภาษาไทย
2) การตรวจสอบภาคสนามครั้งสาคัญ (ระยะที่ 2) มีข้อบกพร่องที่ได้รับปรับปรุง
แกไ้ ขแล้ว ดงั น้ี
-ควรมีการเขยี นภาษาองั กฤษกากับไว้ สาหรบั ศัพทภ์ าษาองั กฤษท่เี ป็นศัพทเ์ ฉพาะ

259

-ควรมีการแต่งสานวนการแปลภาษาให้สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้
3) การตรวจสอบหลังการพัฒนาความรู้ให้แก่ครู มีขอ้ บกพรอ่ งที่ไดร้ ับปรับปรงุ แก้ไข
แลว้ ดงั นี้
-ควรมีการนาเสนอภาพประกอบในแต่ละเร่ือง และควรมีการเนน้ คาข้อความทสี่ าคัญ
4) การตรวจสอบหลังการทดลองในภาคสนาม มีข้อบกพร่องท่ีได้รับปรับปรุงแก้ไขแล้ว
ดังนี้
-ควรจะมกี ารสรปุ เนื้อหามคี วามกะทัดรัด
6.1.1.4 ประสทิ ธิภาพของคูม่ อื ประกอบโครงการตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90
จากผลการทดสอบความรู้ของครูหลังการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาเพอ่ื การเรียนรู้
ของครูเก่ียวกับการพัฒนาทักษะความร่วมมือ ประกอบด้วยเพื่อแสดงให้ทราบว่าคู่มือประกอบ
โครงการที่ใช้ในการพัฒนาครูมีประสิทธิภาพหรอื ไม่นั้น พบว่า คู่มือประกอบโครงการตามมาตรฐาน
90/90 ดังนี้ (1) กรณี 90 ตัวแรก พบว่า มีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 33.27 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36
คะแนน เม่ือคดิ เป็นรอ้ ยละแลว้ ได้ 92.42 ซ่งึ มคี า่ ร้อยละที่สูงกว่าเกณฑ์ทกี่ าหนดไวร้ ้อยละ 90 แสดงวา่
การเสนอเนือ้ หาในคู่มือประกอบโครงการทกุ ชุดมปี ระสิทธิภาพที่สามารถนาไปใชพ้ ัฒนาครูให้เกิดการ
เรียนรู้ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด (2) กรณี 90 ตัวหลัง พบว่า มีครูร้อยละ 95.45 ท่ีสามารถทา
แบบทดสอบได้ผา่ นทกุ วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ ซง่ึ เปน็ คา่ รอ้ ยละที่สูงกว่าเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้รอ้ ยละ 90
แสดงว่า การเสนอเนื้อหาในคู่มอื ประกอบโครงการทุกชุดมปี ระสิทธิภาพท่ีสามารถนาไปใช้พัฒนาครู
ให้เกิดการเรยี นรู้ไดต้ ามเกณฑ์ท่ีกาหนด

6.1.1.5 ประสิทธิภาพของโปรแกรมออนไลน์ที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างทักษะความ
ร่วมมอื ใหก้ บั นักเรียน

จากผลการประเมินทักษะความร่วมมือของนักเรียนหลังการดาเนนิ ตามโครงการครูนา
ผลการเรยี นรู้สกู่ ารเสริมสร้างทกั ษะความร่วมมือให้กับนักเรยี น เพ่อื แสดงให้เห็นวา่ ภาพโดยรวมของ
โปรแกรมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้น เม่ือครูนาเอาไปปฏิบัติตามแล้ว มีประสิทธิภาพที่ส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงในคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของนกั เรียน “หลัง” การพัฒนาสูงกวา่ “ก่อน” การพัฒนา
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติหรือไม่น้ัน ผลการวิจัย พบว่า คู่มือที่พัฒนาข้ึนสามารถทาให้ครูนาผลการ
เรียนรู้สู่การพัฒนานักเรยี นท่ีมีผลการประเมินทักษะความรว่ มมือของนักเรียนหลังการพัฒนาสูงกว่า
ก่อนการพฒั นาอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตริ ะดบั 0.05

6.2 อภิปรายผล

จากรายงานผลการวิจยั และจากผลการวิจยั ท่ีสรุปดงั กล่าวขา้ งต้น ผู้วิจยั ขอนามาอภิปรายผล ดงั นี้

260

6.2.1 จากผลการวิจัยที่พบว่าโปรแกรมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นในงานวิจัยนี้มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ์และตามตามสมมุติฐานการวิจยั ทีก่ าหนดไว้ คือ 1) คู่มอื ทพี่ ัฒนาขนึ้ สามารถใช้พฒั นาครูให้
เกิดการเรียนรูต้ ามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 โดยเม่อื พจิ ารณาจากเกณฑม์ าตรฐาน 90 ตวั แรก คือ รอ้ ย
ละของคะแนนเฉล่ียของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 33.27 คะแนนจาก
คะแนนเตม็ 36 คะแนน เม่ือคิดเปน็ รอ้ ยละแล้วได้ 92.42 ซงึ่ มคี า่ สูงกวา่ เกณฑท์ ่ีกาหนดไว้ร้อยละ 90
เมื่อพิจารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลัง คือ ร้อยละของจานวนครูที่สามารถทาแบบทดสอบได้
ผ่านทุกวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้จากจานวนครูท้งั หมด 11 ราย พบว่า มีครูรอ้ ยละ 95.45 ท่สี ามารถทา
แบบทดสอบได้ผา่ นทุกวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ ซงึ่ มีค่าท่ีสงู กวา่ เกณฑ์ท่ีกาหนดไวร้ อ้ ยละ 90 2) คู่มือที่
พฒั นาขนึ้ สามารถใช้พัฒนาครใู ห้มีผลการเรยี นร้หู ลงั การพัฒนาสงู กว่าก่อนการพฒั นาอยา่ งมนี ยั สาคัญ
ทางสถิติทร่ี ะดับ 0.05 และ 3) ค่มู อื ท่พี ัฒนาขึ้นสามารถทาให้ครูนาผลการเรยี นรู้สกู่ ารพัฒนานกั เรียน
ที่มีผลการประเมินทักษะความร่วมมือของนักเรียนหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติระดับ 0.05 ทั้งนี้อาจเน่ืองจากเหตุผลในเร่ืองการพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพ่ือ
สง่ เสรมิ ทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือสาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ดงั กล่าว สอดคลอ้ งกับ
ผลงานวิจัยของ ละเอียด วงศ์ภูมิเมือง และอารยา ปิยะกุล (2564) ที่เห็นว่าโปรแกรมฝึกอบรมเพ่ือ
ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ มีจานวน 14 กิจกรรม โดยส่งเสริมทักษะการแก้ปญั หาแบบ
รว่ มมือ 2 องค์ประกอบ ได้แก่ ทกั ษะกระบวนการทางสังคม (ทักษะความรว่ มมอื ทักษะการใช้มุมมอง
และทักษะการใช้กฎเกณฑท์ างสังคม) และทักษะกระบวนการคิด (ทักษะการควบคุมงาน และทักษะ
การเรียนรู้และการสร้างองค์ความรู้) ผลการประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมฝึกอบรมเพ่ือ
ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ มีคะแนนเฉลี่ยแต่ละกิจกรรมอยู่ระหว่าง 4.2-5.0 และมี
คะแนนเฉลี่ยรวมทุกกิจกรรมเท่ากับ 4.58 มีระดับความเหมาะสมของโปรแกรมฝึกอบรมอยู่ในระดบั
มากที่สุด และสอดคล้องกับทัศนะของ Doyle (2019) ที่กล่าวว่าการทางานกับคนอื่นเพ่ือสร้างหรือ
ผลิตบางส่ิงบางอย่างการทางานร่วมกันท่ีประสบความสาเร็จนั้นต้องอาศัยจิตวิญญาณของความ
ร่วมมือและการเคารพซ่ึงกันและกนั และสอดคล้องกับทัศนะของ Zahid (2018) ที่กล่าวว่า แทบจะ
ทกุ งานอาชีพในปจั จุบนั ตอ้ งใชท้ กั ษะเชอ่ื มประสานกันบางอย่างจากสมาชิกในทมี เพอื่ ร่วมกันทางาน
โดยใช้ทักษะการทางานร่วมกัน ทาให้ความร่วมมือกลายเป็นทักษะที่จาเป็นในแทบทุกภาคส่วนของ
การทางาน อะไรคือทักษะการทางานร่วมกันในท่ีทางาน ทักษะการทางานร่วมกันช่วยให้พนักงาน
สามารถประสานงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล การทางานร่วมกันเพ่ือความสาเร็จต้องอาศัยจิต
วิญญาณความร่วมมือและการเคารพซ่ึงกันและกัน โดยท่ัวไปแล้วนายจ้างจะหาคนทางานท่ีจะเป็น
ฟนั เฟืองในทมี และยนิ ดที จี่ ะสร้างสมดุลระหวา่ งความสาเรจ็ ส่วนตัวกบั เป้าหมายของกลุม่ เป็นไปตาม
ความคาดหวังของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (2563) ในนโยบายสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 ม่งุ ม่ันในการพฒั นาการศึกษาข้นั

261

พ้ืนฐานใหเ้ ปน็ “การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานวธิ ีใหม่ วธิ ีคณุ ภาพ” โดยพฒั นาผ้เู รยี นใหม้ ีสมรรถนะและทักษะ
ด้านนวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และการ
เลอื กศึกษาต่อเพ่อื การมีงานทาและพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ให้เปน็ ครูยคุ ใหม่ มีศักยภาพ
ในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าท่ีได้ดี มีความรู้
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง รวมทั้งมีจิต
วญิ ญาณความเปน็ ครู

6.2.2 กระบวนการวิจัยและพัฒนาในงานวจิ ัยนี้ ให้ความสาคัญกับกระบวนทัศน์ใหม่ของ
การพัฒนาครู คือ การพัฒนาวิชาชีพของเป็นการทาบางอย่างเพ่ือให้ครูได้รับเนื้อหามากข้ึน ให้มี
ศักยภาพทจ่ี ะทาการสอนไดอ้ ย่างมีประสิทธผิ ลมากขนึ้ โดยเปน็ การกระทาท่คี านงึ ถงึ ผลทจ่ี ะเกิดขึ้นกับ
ผู้เรียน ซ่ึงแนวคิดตามกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาวชิ าชีพของครนู ้ีสอดคล้องกับทัศนะของ สาย
สุดา ขันธเวช (2561) ที่กล่าวว่า การเรียนรูด้ ้วยตนเองมีแนวคิดพืน้ ฐานมาจากทฤษฎีกลุ่มมนษุ ยน์ ยิ ม
(Humanism) ซงึ่ มีความเชื่อเร่อื งความเป็นอสิ ระ และความเป็นตวั ของตัวเองของมนุษย์ ทุกคนเกิดมา
พร้อมกับความดีมีความเป็นอสิ ระ และสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างไมม่ ีขีดจากัด มีความ
รับผิดชอบต่อตนเองและต่อผู้อื่น ในฐานะที่ผู้เรียนเป็นปัจเจกบุคคล และมีแนวคิดว่า มนุษย์ทุกคนมี
ศักยภาพ และมีความโน้มเอียงที่จะใส่ใจ ใฝ่รู้ ขวนขวายเรียนรู้ด้วยตนเอง มนุษย์สามารถรับผิดชอบ
พฤตกิ รรมของตนเองและถือว่าตนเองเปน็ คนทมี่ คี ่า และสอดคล้องกับทัศนะของ ณัฏฐพล ทปี สุวรรณ
(2562) ท่ีกล่าววา่ ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ เพือ่ พฒั นาทุก
มิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มี
พัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น
มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ ซึ่งสอดคล้องกับ
ทัศนะของ กมล รอดคล้าย (2560) ที่กล่าวว่า การศึกษาเป็นสิทธิข้ันพ้ืนฐานของคนไทยทุกคน ที่รัฐ
ต้องจัดให้เพ่ือพัฒนาคนไทยทุกช่วงวัยให้มีความเจริญงอกงามทุกด้าน เพื่อเป็นต้นทุนทางปัญญาท่ี
สาคัญในการพัฒนาทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะในการประกอบสัมมาชีพ และการดารงชีวิต
ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างเป็นสุขอันจะนาไปสู่เสถียรภาพ และความมั่นคงของสังคมและ
ประเทศชาติท่ีต้องพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานาประเทศในเวทีโลก ท่ามกลางกระแสการ
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกศตวรรษท่ี 21 สอดคล้องกับทัศนะของ อาริยา ธีรธวัช (2560) ที่
กลา่ ววา่ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของชาตใิ นการสรา้ งทรัพยากรมนุษย์ให้มีขีดความสามารถ และ
ศักยภาพต้ังแต่วัยเด็ก เม่ือโลกก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ต้องยอมรับว่าการศึกษาเป็นหน่งึ ในเร่ืองท่ีท้า
ทายตอ่ การคดิ คน้ แนวการสอน ทเ่ี ชือ่ มโยงกบั ความเป็นผู้นาคา่ นยิ ม และสร้างความเป็นพลเมอื งให้กับ
เยาวชนรุ่นใหม่ ซ่ึงถือเป็นกลไกสาคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศและสังคมโลกอนาคต เป็นไปตาม
ความคาดหวังของ การที่จะสามารถดารงตนให้อยู่รอดได้ในกระแสโลกาภิวัตน์ และเผชิญกับ

262

เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยผู้สอน และผู้เรียนจะต้องมีสมรรถนะที่สาคัญ อันได้แก่ความสามารถในการ
ส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี นอกเหนือจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านเน้ือหาสาระซ่ึง
เครือ่ งมือ และสอดคล้องกับทัศนะของ พรชนิตว์ ลนี าราช (2560) ซ่งึ ในบริบทที่เทคโนโลยสี ารสนเทศ
มีการเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ และในยุคที่รัฐบาลไทยให้ความสาคัญกับสภาพแวดล้อมดิจิทัล ซึ่ง
การเรียนรู้ดิจิทัลจึงเป็นประเด็นสาคัญเน่ืองจากประเทศไทยยังไม่ปรากฏมาตรฐานการเรียนรู้
เทคโนโลยีดิจิทัลที่ชัดเจนท่ีจะสามารถนาไปใชเ้ ปน็ บรรทัดฐานในการศึกษา และการสอนในระดับต่าง ๆ
และเป็นไปตามความคาดหวังของ กระทรวงศึกษาธิการ (2563) ท่ีกล่าวว่า นโยบายด้านการจัด
การศึกษาเพื่อเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยใช้ทักษะดิจิทัล เป็นเครื่องมือในการ
บริหารจัดการ การใหบ้ รกิ ารและการเรียนร้อู ย่างมีประสิทธิภาพ โดยนาเอาเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุน
การเรียนรู้ แก่ผู้เรียนทุกระดับการจัดการศึกษา เป็นมาตรการในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยดี ิจิทัล ใน
การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรยี นพฒั นาวิธีการเรียนรขู้ องตนเอง ตามความต้องการและความถนดั ของ
ผู้เรียน สามารถสร้างสังคมฐานความรู้ (Knowledge-Based Society) ของตนเอง เพื่อให้เกิดการ
เรยี นรู้อย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวิต

6.2.3 การพัฒนาทักษะความร่วมมือสาหรับนักเรียนมีความสาคัญสาหรับศตวรรษท่ี 21
ท้ังนี้เพราะเป็นการจัดการเรียนรูโดยร่วมกันสร้างรูปแบบโดยเน้นที่องคความรู ทักษะเพื่อใชในการ
ดารงชีวติ ความเจริญก้าวหนาทางสือ่ และเทคโนโลยี มุง่ เนนถงึ นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การคิด
อย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหาการส่อื สาร และการรว่ มมอื ทางาน อีกทัง้ เปน็ การเสรมิ สร้างทักษะ
การทางานเป็นทีม (Teamwork) ให้ประสบผลสาเร็จได้อย่างลงตัว ซ่ึงแนวคิดเก่ียวกับความสาคัญ
ของทกั ษะความร่วมมอื นี้สอดคลอ้ งกับทศั นะของ วรางคณา ทองนพคณุ (2561) ทก่ี ลา่ ววา่ การเรยี นรู
ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตรในการจัดการเรียนรูโดยร่วมกันสร้างรูปแบบ
และแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 โดยเน้นท่ีองค
ความรู ทักษะเพอื่ ใชในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลีย่ นแปลงในปจจุบัน โดยจะอางถงึ รูปแบบ
(Model) ท่พี ัฒนามาจากเครือขายองคกรความรว่ มมือเพือ่ ทกั ษะแหงการเรยี นรูในศตวรรษที่ 21 และ
สอดคล้องกับคากล่าวของสานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (2560) ที่กล่าวว่าโลกในศตวรรษท่ี 21
ที่มีความเจริญก้าวหนาทางสื่อและเทคโนโลยี ทาใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านไม่วาจะเป็นดา้ น
การเมือง เศรษฐกิจและสงั คมรวม ท้งั ด้านการศึกษาในศตวรรษทีผ่ ่านมาการจดั การศกึ ษาของประเทศ
ไทยมุงเน้นการผลิตคนเพ่ือตอบสนองระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมอุตสาหกรรม กลายเป็นเร่ืองที่ลา
สมัยเมื่อเปรียบเทียบกับการจัดการศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 ทีเ่ นนนวัตกรรม มุงใหผู้เรยี นมีคุณลักษณะ
และทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วยทักษะและคุณลักษณะ 3Rs 8Cs รวมท้ัง
สอดคล้องกับทัศนะของ มารศรี แนวจาปา และคณะ (2561) ท่ีกล่าวว่า การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21

263

ทั้ง 5 ด้าน คือ ความคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหาการส่ือสาร และการ
ร่วมมือทางาน จะต้องพัฒนาใน 6 ด้านต่อไปนี้คือ ด้านผู้สอน ด้านวิธีสอนและการจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอน ด้านการวัดผล และการประเมินผล ดา้ นผ้เู รยี น ด้านบรรยากาศในการจัดการเรียนการ
สอน และด้านผู้บริหารท่ีจะเป็นผู้กาหนดนโยบายรวมถึงต้องเป็นผู้ติดตามการจัดการศึกษาว่าเปน็ ไป
ตามเกณฑ์มาตรฐานของหลักสูตรหรือไม่ แล้วควรกาหนดให้มีแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้
สอดคล้อง และเหมาะสมกับการจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ดังที่ Helsel (2017) ท่ีปรึกษาทาง
ธรุ กจิ กลา่ วว่า ทักษะความรว่ มมือเป็นการทางานตงั้ แต่สองคนขนึ้ ไปหรือมากกวา่ น้ันร่วมกนั ทาบางส่ิง
บางอย่างเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ท่ีสาเร็จตามเป้าหมาย สมบูรณ์แบบ เร็วกว่า การทางานเพียงผู้เดียว
สอดคล้องกบั My Hub (2018) ไดก้ ล่าววา่ การทางานทเ่ี ช่ือมประสานกนั และการทางานรว่ มกันเป็น
ส่ิงจาเป็นไม่ว่าในที่ทางานใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นเพือ่ นร่วมงานสองคนที่ปฏิสัมพันธ์กันเพื่อทางานให้เสรจ็
หรือทีมงานข้ามแผนกที่ร่วมกันทาโครงการใดโครงการหน่ึง การทางานร่วมกันของพนักงานก็เป็น
คุณลักษณะหนึ่งที่พบในทุกธุรกิจท้ังขนาดใหญแ่ ละขนาดเล็ก ดังน้ัน การทางานกับคนอ่ืนซึ่งเป็นการ
จัดการแบบมสี ่วนรว่ มซงึ่ ทั้งสองฝ่ายหรอื มากกว่าน้นั ต้องใช้การผสมผสานระหว่างมนุษยสมั พนั ธ์ การ
แก้ปัญหาและทักษะการสื่อสาร เพื่อสร้างบางส่ิงบางอย่าง คือ พฤติกรรมท่ีช่วยคนสองคนหรือ
มากกว่าน้ันให้ทางานด้วยกันและทาหน้าที่ได้ดีในกระบวนงานนั้น ๆ เพื่อเชื่อมประสานกันเป็น
สิ่งจาเป็นไม่ว่าในท่ีทางานใด ๆ ช่วยให้บุคลากรสามารถประสานงานกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผล
การทางานร่วมกันเพื่อความสาเร็จต้องอาศัยจิตวิญญาณความร่วมมือและการเคารพซ่ึงกันและกัน
เพ่ือบรรลเุ ปา้ หมายร่วมกนั

6.2.4 แนวทางในการพัฒนาทักษะความร่วมมือของนกั เรียนจากทัศนะของนักวชิ าการท่ี
นามากลา่ วถงึ ในการวิจัยน้ี ถือเปน็ ขอ้ เสนอแนะแนวการพัฒนาจากนานาชาติ เพราะได้จากการศึกษา
นานาทัศนะที่มีผู้นาเสนอแนวคิดไว้ทางอินเทอร์เน็ตจากหลากหลายประเทศ มีหลากหลายแนวทาง
เชน่ ทศั นะเก่ยี วกบั ขั้นตอนการพฒั นา (Steps) จากทัศนะของ Robinson (2019) ทก่ี ลา่ วถึงแนวทาง
พัฒนาการทางานแบบร่วมมือกันเป็นทีมว่าในฐานะผู้บริหารเป็นหน้าท่ีของคุณที่จะทาให้ทีมทางาน
เสรจ็ ทันเวลา ให้บรกิ ารหรือ ทาให้บรษิ ัทดาเนินการไปตามเป้าหมาย การทาให้สิ่งต่าง ๆ ราบรน่ื คุณ
จาเป็นต้องรู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในทุก ๆ เวลาของแต่ละแผนก แต่การลงไปจัดการกับเร่ืองเล็ก ๆ และ
การชี้นาที่มากเกินไปมักส่งผลไมด่ ีต่อผลิตผลและเป้าหมายส่วนใหญข่ ององค์กร ผู้บริหารมักมีคาถาม
ว่า “จะทาอย่างไรในการนาทีมด้วยฐานะท่ีอยู่กึ่งกลางระหว่างเผด็จการและการนาทีมให้สาเร็จ”
กุญแจสาคัญคือการสร้างสภาพแวดล้อมของทีมท่ีทางานร่วมกันได้ดีแทนการเพ่ิมผลผลิตผ่านการ
จัดการท่ีมีความยิบย่อย พนักงานของคุณจะสร้างประสิทธิผลและมีแรงจูงใจ คุณยังสามารถรักษา
อานาจและรักษาขอบเขตระหว่างกันไว้ได้ด้วย ทัศนะเกี่ยวกับวิธีการ (Ways) เพื่อการพัฒนา เช่น
ทัศนะของ Miller (2014) ท่ีกล่าวถึงแนวทางพฒั นาความร่วมมือว่า การหาจุดที่เหมาะสมสาหรับทมี

264

ประสทิ ธภิ าพสูงนน้ั ไม่ใช่กับการรวบรวมคนเก่ง ๆ เขา้ ด้วยกนั เพราะหากทมี ไม่สามารถทางานร่วมกัน
ได้ ความสามารถระดับสูงเหล่าน้นั กจ็ ะเสียเปล่า บทความจาก HR Zone, Brian Bacon ของ หน่วย
พฒั นาผู้นา มหาวทิ ยาลัย Oxford กลา่ ววา่ “แนวทางท่ที มี คยุ กนั น่ันแหละจะเป็นตวั ตัดสนิ ว่าพวกเขา
จะทาได้ดีแค่ไหน หากไม่มีความเคารพกันกจ็ ะไม่มีการทางานรว่ มกัน” (Collaboration is the Cog
in the Engine of Team Performance) การทางานร่วมกันเป็นเหมือนฟันเฟืองในเคร่ืองยนต์ของ
ทีม แนวทางที่ทีมบรรลุเป้าหมายเป็นเคร่อื งแสดงให้เห็นว่าพวกเขาสื่อสารกันได้ดีเพียงใด รวมถึงการ
ตอบโต้กับปัญหาเพ่ือบรรลุเป้าหมาย ทั้งหมดน่ีมันเก่ียวข้องกับพฤติกรรม คุณต้องแสดงให้เห็นว่าทีม
นั้นมีคุณค่า การสื่อสารนั้นจึงมีความสาคัญอย่างมากสามารถวัดผลงานแบบเป็นรูปธรรมได้ ทัศนะ
เกี่ยวกับแนวคิด (Ideas) เพ่ือการพัฒนา เช่น ทัศนะของ Kashyap (2018) ท่ีกล่าวถึงการสร้างความ
คาดหวังท่ีเป็นไปได้จริงและชี้แจงเป้าหมาย (Establish Realistic Expectations & Clarify Goals)
ความคาดหวังที่เป็นไปได้จรงิ พวกเขาจะสามารถเน้นไปทง่ี านและมสี ว่ นร่วมในการตดั สินใจได้มากข้ึน
ทั้งทีมได้รับโอกาสในการแบ่งปันความคิดและได้การสนับสนุนในเวลาเดียวกัน จะชี้แจงเป้าหมายท่ี
ชัดเจนให้สมาชิกแต่ละคนได้อยา่ งไร 1) ทบทวนบทบาท 2) ตรวจสอบความรับผิดชอบ 3) ถามความ
คาดหวังที่ชดั เจนจากพวกเขา 4) มกี ารเรยี นรูข้ า้ มแผนก และทัศนะเกี่ยวกับกลยุทธ์ (Strategies) เพอื่
การพัฒนา เช่น ทัศนะของ Conlan (2018) ที่กล่าวถึงการสร้างวัฒนธรรมการทางานร่วมกัน เขา
กลา่ ววา่ มนั เปน็ มากกวา่ การทลายกาแพงหรือการสร้างแผนงานบนกระดาน เพราะมนั คอื การสร้างชุด
ความคิด “วัฒนธรรมการทางานรว่ มกนั ทีย่ อดเยย่ี มสามารถสรา้ งสภาพแวดล้อมทผ่ี ้คู นชว่ ยเหลือซงึ่ กัน
และกัน โดยคนเหล่านั้นต้องการสร้าง 'สมองส่วนกลาง' ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีความคิดดี ๆ ของแต่ละบุคคลมา
รวมกัน เช่น กาหนดว่าการทางานร่วมกันมีความหมายต่อคุณ กาจัดอุปสรรคในการทางานกลุ่ม
เสริมสร้างจติ วิญญาณแหง่ ความไว้วางใจ เป็นตน้ ดังนั้น ในการนาเอาข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา
ทักษะความร่วมมือของนักเรียน จากทัศนะของนักวิชาการไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ควรจะต้องศึกษา
แนวทางการปฏิบัติให้ชัดเจน เป็นกระบวนการ เป็นข้ันตอนที่ถูกต้องเพ่ือให้เกิดความสอดคล้องกับ
บริบทของแต่ละงาน นอกจากนั้น แนวทางการพัฒนาในยคุ ของเทคโนโลยีดิจิทลั เช่นในปจั จุบัน ยงั จะ
มนี ักวชิ าการนาเสนอแนวคิดใหม่ ๆ เพ่มิ ข้ึนอีก

6.2.5 การจัดทาคู่มือประกอบโครงการ ซึ่งหลังจากการจัดทาแล้ว ผู้วิจัยมีข้ันตอนในการ
ตรวจสอบคุณภาพก่อนดาเนินงานทดลองในภาคสนาม 2 ครั้ง และในช่วงทดลองในภาคสนามอีก 2
คร้ัง ได้รับข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับแก้ไขที่สาคัญ คือ เนื้อหาบางส่วนเม่ืออ่านแล้วไม่สามารถเข้าใจ
ความหมายบางสานวนยังเป็นภาษาท่ียังไม่มีการวิเคราะห์ให้เป็นสานวนภาษาไทย ควรมีการเขียน
ภาษาอังกฤษกากับไว้ สาหรับศัพท์ภาษาองั กฤษท่ีเป็นศพั ทเ์ ฉพาะ ควรมกี ารแตง่ สานวนการแปลภาษา
ให้สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้ ควรมีการนาเสนอภาพประกอบในแต่ละเร่ือง และควรมีการเน้นคา
ขอ้ ความทส่ี าคัญควรจะมกี ารสรุปเน้อื หามีความกะทัดรัด ผวู้ จิ ยั ได้นาข้อเสนอแนะมาปรับปรงุ ในคู่มือ

265

ดังนี้ ด้านการปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ ผู้วิจัยได้ปรบั ปรงุ ในส่วนของเนอ้ื หาความถูกต้อง มีการเรียบเรียง
เนื้อหาให้มีความกระชับและเน้นการเป็นประโยชน์ในการนาไปใช้มากยิ่งข้ึน ด้านการปรับปรุงแก้ไข
ด้านภาษา ผวู้ ิจัยไดม้ ีการเรียบเรยี งสานวนการแปลภาษาใหเ้ ขา้ เข้าใจงา่ ยย่ิงข้นึ ดา้ นการปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ด้านรูปแบบการนาเสนอ ผู้วิจัยได้ปรับปรุงรูปแบบการนาเสนอให้น่าสนใจ ใช้ภาพสัญ ลักษณ์ เพื่อ
ดงึ ดูดความสนใจและปรบั ข้อความเนน้ คาให้อ่านได้ชดั เจนมากขนึ้ ตรวจสอบการสะกดคา ทงั้ น้ีผู้วิจัย
ได้แก้ไขตามคาแนะนาในคู่มือเรียบร้อยแล้ว สอดคล้องกับงานวิจยั ของ สุเทพ ไชยวุฒิ เกตุมณี มากมี
และศิริมาศ โกศัลย์พิพัฒน์ (2560) ได้ศึกษาการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาคู่มือการบริหารจัดการงาน
วิชาการของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า คู่มือการบริหารจัดการ
งานวิชาการของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ประกอบด้วยการบริหารจัดการตาม
วงจรคณุ ภาพเดม่งิ (PDCA) มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับดีทงั้ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านรูปเลม่ ของคู่มือ ด้านเนอ้ื หา
ของคู่มือ และด้านการนาไปใช้ ผลการใช้คู่มือ พบว่า คณาจารย์คณะครุศาสตร์ มีความพึงพอใจต่อ
คู่มือการบริหารจัดการงานวิชาการของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ในภาพรวมอยู่
ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านรูปเล่มของคู่มือ ด้านเนื้อหาของคู่มือ และด้านการนาคู่มือไปใช้
สอดคล้องกับงานวิจัยของ ณฐพัฒน์ ถุงพลอย (2564) ได้ศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับ การพัฒนาคู่มือการ
บรหิ ารกจิ การนักเรียนของโรงเรียน สังกัดสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 11 ในจังหวัด
สุราษฎรธ์ านี ผลการวิจยั พบว่า สภาพการบริหารกิจการนักเรยี น โดยรวมอยู่ในระดบั มาก เรียงลาดับ
คือ การบริหารงานกิจการนักเรียน การประเมินผลการดาเนินงานกิจการนักเรียน การวางแผนงาน
กิจการนักเรียน การส่งเสริมพัฒนาให้นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม การดาเนินการส่งเสริม
ประชาธิปไตยในโรงเรียน และการดาเนินงานระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน การพัฒนาคู่มือการ
บริหารกิจการนักเรยี น พบว่า คู่มือประกอบด้วย หลักการและเหตผุ ล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กรอบ
เน้ือหา งานกิจการนักเรียน หลักการจัดกิจการนักเรียน ความสาคัญของการบริหารงานกิจการ
นักเรียน กระบวนการบริหารงานกิจการนักเรียน หลักการบริหารงานกิจการนักเรียน ขอบข่ายการ
บริหารงานกิจการนักเรียน กฎหมาย ระเบียบและเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับงานกิจการนักเรียน การ
ประเมินผลการบรหิ ารกิจการนกั เรียน ความสอดคล้อง ของคมู่ ือ อยู่ระหว่าง 0.80-1.00 การประเมิน
ความเหมาะสมของคู่มือ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงตามลาดับ คือด้านรูปแบบ ด้านการใช้ภาษา
ดา้ นการออกแบบ ด้านประโยชน์จากการนาคู่มอื ไปใชด้ า้ นเนื้อหา ดา้ นรูปเลม่ และด้านความเปน็ ไปได้
และสอดคล้องกับงานวิจยั ของ ชลธาร สมาธิ สมเกตุ อทุ ธโยธา และบุญเลิศ คาปนั (2561) การพฒั นา
คู่มือการบริหารจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษา และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ของโรงเรยี นสบเมยวทิ ยาคม จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอนผลการศึกษาพบว่า แนวทางการบริหารจดั การศึกษา
เรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ของโรงเรียนไม่มีความชัดเจน

266

และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการดาเนินงานไม่มีความเขา้ ใจในแนวคิด หลักการ และหลักเกณฑ์การจดั
การศกึ ษาทวิศกึ ษา องคป์ ระกอบของคู่มอื การบริหารจดั การศึกษาเรียนร่วมหลกั สูตรอาชีวศึกษาและ
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทวิศกึ ษา) ของโรงเรียนสบเมยวิทยาคม จงั หวัดแม่ฮ่องสอน ประกอบดว้ ยตอน
ที่ 1 แนวทางการดาเนินการจัดการศึกษา ตอนที่ 2 แนวทางการจัดโครงสรา้ งหลกั สตู ร ตอนท่ี 3 แนว
ทางการจัดการเรียนการสอน และ ประสิทธิภาพของคู่มือการบรหิ ารจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตร
อาชวี ศึกษาและมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทวศิ ึกษา) ของโรงเรยี นสบเมยวิทยาคม จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน มี
เนื้อหาเขา้ ใจง่ายเนือ้ หาสาระเหมาะสมครอบคลุม สามารถนาไปปฏิบัตไิ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพ พร้อม
ท้ังอธิบายบทบาทหน้าท่ีการปฏิบัติงานของครูผู้สอน นักเรียน และบุคลากรที่เก่ียวข้องอย่างชัดเจน
สาหรับเครื่องมือและแบบฟอร์ม มีการจัดทารายละเอียดเป็นข้ันตอนเหมาะแก่การนาไปใช้งานเป็น
ประโยชนต์ ่อการบริหารจัดการตามบรบิ ทในสถานศึกษา

6.3 ข้อเสนอแนะ

6.3.1 ข้อเสนอแนะเพอื่ การนาไปใช้ มดี ังนี้
6.3.1.1 สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ควรนาผลจากการวิจัยและพัฒนา

โปรแกรมออนไลน์นี้ไปเผยแพร่เพอ่ื ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์กับกลุ่มประชากรเป้าหมาย และควรมีนโยบาย
แบบมีส่วนร่วมกับหน่วยงานอื่นที่มีการพัฒนา และครูปริยัติธรรมแผนกธรรม แผนกบาลี และครูทุก
สังกัด ให้สามารถจัดการเรียนการสอนโดยใช้โปรแกรมออนไลน์ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในทุก
สภาวการณ์ปัจจบุ นั

6.3.1.2 กองพุทธศาสนศึกษาและคณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศึกษา ควรมีการพัฒนาการเรียนการสอนเก่ียวกับการใช้โปรแกรมออนไลน์ ซ่ึงมีความสาคัญ
และเป็นประโยชน์สาหรับการเรียนรูใ้ นยุคปัจจุบัน โดยส่งเสริมให้โรงเรียนจัดหลักสูตรสถานศึกษาท่ี
เปิดกว้าง เพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมในการศึกษา และนาส่ือการเรียนรู้ มาประยุกต์ใช้กับการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้พฒั นาด้านทักษะความร่วมมือ ให้ผู้เรียนมีความรู้และมีทักษะในการเรียนรู้ให้
ทันต่อการเปล่ียนแปลง และนาไปใช้กับครูในโรงเรียนแห่งอ่ืน ในสังกัดของสักงานพระพุทธศาสนา
แหง่ ชาติไดท้ กุ โรงเรียนท่ัวประเทศ

6.3.1.3 สานักเขตการศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา ควรสนบั สนนุ ให้มกี าร
นิเทศการเรียนการสอนเป็นประจา โดยการใช้คู่มือโปรแกรมออนไลน์ และผลักดันให้ครูใช้นวตั กรรม
การศึกษาต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาตนเองของครู และส่งเสริมสมรรถนะการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ด้วยการ
ประสานความรว่ มมือทางวชิ าการ สู่การปฏิบัติ การพัฒนาตนเองและสะท้อนผลเป็นระยะ ๆ

267

6.3.1.4 ผ้บู ริหารโรงเรยี น ควรสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ให้ครบู ูรณาการปรับปรุงหรอื ประยุกต์
รปู แบบการเสริมพลงั ความรู้ของครสู ู่การพฒั นาทักษะความร่วมมือของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติ
ธรรม แผนกสามัญศกึ ษา อยา่ งกว้างขวางและแพร่หลาย

6.3.1.5 ครู ควรมีทักษะความร่วมมือเป็นอย่างดี มีการระดมความคิด และเปิดโอกาส
ใหน้ ักเรยี นได้แสดงความสามารถและศกั ยภาพใหเ้ ตม็ ที่ โดยจะตอ้ งจดั กระบวนการเรียนรู้ให้บรรลุตาม
วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ให้ได้มากท่ีสุด พร้อมทั้งการนารูปแบบการพัฒนาทักษะความร่วมมือของ
นักเรียน ไปปรับใช้และพัฒนาทักษะของตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ครูได้รับความรู้ใหม่เก่ียวกับ
เครื่องมอื แนวคดิ และกระบวนในการสอน

6.3.2 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวิจยั ต่อไป มีดงั น้ี
6.3.2.1 ควรส่งเสริมใหผ้ ู้บริหารและครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

มีการทาวิจัยเกี่ยวกับโปรแกรมออนไลน์เพ่ือเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือ
ของนักเรียนอย่างต่อเน่ือง และเป็นการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้เกิดข้ึนกับสถานศึกษา โดยเฉพาะ
การพัฒนาเทคนิควิธีการสอนของครูในหลากหลายรูปแบบ และร่วมสร้างสรรค์เป็นนวัตกรรมการ
จัดการเรียนรู้ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาสู่การเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best
Practice)

6.3.2.3 งานวิจัยน้ีได้ก่อให้เกิดการเรียนรู้จากการวิจัยและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์
เพ่ือพัฒนาทักษะความร่วมมือของนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นการ
เสริมพลงั ความรู้ของครูจากการปฏิบัติท่ีมคี ุณคา่ และความหมาย ท่ีสามารถจะนาไปเปน็ ข้อคิดเตือนใจ
ต่อการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาบุคลากรจากแนวคิดเก่าหรือแนวปฏิบัติเก่า ไปสู่การวิจัยและพัฒนา
ทกั ษะอื่น ๆ ท่สี าคัญสาหรับการศกึ ษาสตวรรษที่ 21 ได้

บรรณานุกรม

กมล รอดคล้าย. (2560). แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579. สืบคน้ เมอื่ 8 พฤษภาคม 2565,
จาก https://bit.ly/2YIO7EY.

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2563). นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการปงี บประมาณ 2564.
กรงุ เทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2563). ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรอ่ื ง นโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เพม่ิ เตมิ ). สบื ค้นเมอื่ 10 พฤษภาคม
2565, จาก https://bit.ly/3nBwXBM

กลุม่ โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา. (2549). ข้อมลู สารสนเทศ.เอกสารอัดสาเนา.
กองพทุ ธศาสนศึกษา. (2557). ค่มู ือปฏิบัติงานโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรมแผนกสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ :

โรงพมิ พ์สานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาต.ิ
กองพุทธศาสนศกึ ษา. (2563). ขอ้ มูลการจัดการศึกษาโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ปี

การศกึ ษา 2563 (ครังท่ี 1). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์สานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ.
กองพุทธศาสนศกึ ษา. (2563). ประกาศประธานกรรมการการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั

ศึกษา (ฉบบั ท่ี1) เร่ือง หน้าที่และอานาจของสานักงานการศกึ ษาพระปรยิ ัติธรรม แผนก
สามัญศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พส์ านกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ.
กองพุทธศาสนศกึ ษา.(2555). ประกาศคณะกรรมการการศึกษาพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษาว่า
ด้วยกลมุ่ โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพส์ านักงาน
พระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ.
กติ ติ ธรี ศานต.์ (2539). เทคนิคการบรหิ ารโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา ม.ต้น-ม.ปลาย.
กรงุ เทพฯ : กรมการศาสนา
ณฐพัฒน์ ถงุ พลอย. (2564). การพัฒนาคู่มือการบรหิ ารกิจการนกั เรียนของโรงเรยี นสงั กัดสานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 ในจงั หวดั สุราษฎร์ธานี. วารสารวจิ ัย
มหาวิทยาลยั เวสเทิรน์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 7(1), 49-61.
ณัฏฐพล ทปี สุวรรณ. (2562). นโยบายปฏริ ูปการศึกษา. สืบคน้ เม่ือ 9 พฤษภาคม 2565, จาก
https://bit.ly/2p0NB5d.
นภาพร สงิ หทตั . (ม.ป.ป.). คุณลักษณะท่ีดีของเครื่องมอื ในการวจิ ัย. สบื ค้นเมือ่ 22 ตุลาคม 2564,
จาก https://bit.ly/3E35x09

269

นิเทศ สนั่นนารี. (2553). “ความคิดเหน็ ของพระภกิ ษุ-สามเณรที่มตี ่อการเรยี นการสอนพระปริยัติ
ธรรมแผนกสามญั ศึกษา ของพระภิกษุสามเณร:ศึกษาเฉพาะกรณคี ณะสงฆ์ ภาค 9”
รายงานการวิจัย. ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขต
ขอนแก่น.

เปรื่อง กุมทุ . (2519). เทคนิคการเขยี นบทเรียนโปรแกรม. กรงุ เทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.

พรชนิตว์ ลนี าราช. (2560). ทักษะเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการเรียนร.ู้ วารสารห้องสมดุ , 61 (2), 76-92.
พระธรรมกติ ตวิ งศ. (ทองดี สุรเตโช. 2548). ภาษาธรรม. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพเลียงเชยี ง.
พระธรรมโกศาจารย์. (ประยูร ธมมจิตโต. 2549). พทุ ธวธิ ีบริหาร. (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 4). กรุงเทพฯ : มหาจุฬา

ลงกรณราชวทิ ยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต). 2546. พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พมิ พค์ ร้งั ที่

12). กรงุ เทพฯ: กรมการศาสนา.
พิมพพ์ นั ธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสขุ . (2558). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ :

จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
ไพฑรู ย์ สินลารตั น์ และคณะ. (2557). เติบโตเต็มตามศกั ยภาพสู่ศตวรรษท่ี 21 ของการศึกษาไทย.

กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มนตรี แย้มกสิกร (2551). เกณฑ์ประสิทธภิ าพในงานวจิ ัยและพัฒนาส่ือการสอน : ความแตกต่าง

90/90 Standard และ E1/E2 (How to use efficiency criterion in media research
and development : The Difference between 90/90 Standard and E1/E2 ).
วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 19(1), 1-16.
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . (2552). การกอ่ ตงั โรงเรียนบาลีสาธติ ศึกษา.60 ปโี รงเรยี น
บาลสี าธิตศกึ ษา มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย
มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย. 2552. พระไตรปฎิ ก. กรงุ เทพมหานคร : รุง่ แสงการพิมพ์
มานพ พลไพลิน, (2535). หลกั การศกึ ษาพระไตรปิฎก. กรงุ เทพมหานคร : แคนซัสพริน้ ต้งิ .
มารศรี แนวจาปา และคณะ. (2561). แนวทางการพัฒนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนกั ศกึ ษา
มหาวิทยาลัยราชภฏั อุบลราชธาน.ี วารสารศรวี นาลัยวิจยั , 8(2), 109-116.
โยธิน แสวงด.ี (ม.ป.ป.). แผนงานวจิ ยั และชุดโครงการวิจัย: การเขยี นโครงการวิจัยแบบบูรณาการเพอ่ื
ขอทนุ สาหรับการวิจยั เชิงปฏิบัตกิ ารในพืนท่ี (Area Based Research).
https://rdo.psu.ac.th/th/images/D3/PR-news/2563/Research/YOTIN-
AreaBasedResearch.ppt

270

ราชบัณฑติ ยสถาน. (2548). พจนานุกรมศพั ทศ์ าสนาสากล ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 2).
แกไ้ ขเพ่ิมเติม). กรุงเทพฯ : อรุณการพมิ พ์. หนา้ 65-66.

โรงเรียนบาลีสาธติ ศกึ ษามหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. (2562). รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2562. หนองคาย : การ
บรหิ ารงานวิชาการ.(เอกสารอดั สาเนา)

ละเอยี ด วงศภ์ มู เิ มือง และอารยา ปยิ ะกลุ . (2564). การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพ่ือส่งเสริมทักษะ
การแกป้ ัญหาแบบรว่ มมอื สาหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น. วารสารสงั คมศาสตร์
และมานษุ ยวิทยาเชงิ พทุ ธ, 6 (11), 114-126.

วรพจน์ วงศ์กิจรุง่ เรือง และ อธปิ จิตตฤกษ์. (2554). การเปรยี บเทียบกรอบความคิดสาหรับทกั ษะ
การเปรียบเทยี บกรอบความคิดสาหรบั ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21”, ทกั ษะแห่งอนาคตใหม่
เพอื่ การศึกษาในศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ : Open world.

วรางคณา ทองนพคุณ. (2561). ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 ความทา้ ทายในอนาคต 21. สืบคนเมื่อ 10

พฤษภาคม 2565, จาก http://education. pkur.ac.th.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสร.ี (2563). โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม. สบื ค้นเม่ือ 26 ธันวาคม 2563, จาก

https://bit.ly/2JogV00
วิจารณ์ พานชิ . (2555). วถิ สี รา้ งการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ : มูลนธิ สิ ดศรี-สฤษด์ิ

วงศ.์
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2561). การวิจัยทางการบรหิ ารการศึกษา: แนวคดิ แนวปฏบิ ตั ิ และกรณศี กึ ษา.

(e-Book). (พิมพค์ รงั้ ที่ 4). กรุงเทพฯ : ทพิ ยวสิ ุทธิ์.
ศิริชัย กาญจนวาสี, ทวีวฒั น์ ปิตยานนท์ และดเิ รก ศรีสโุ ข (2551). การเลือกใช้สถติ ิที่เหมาะสม

สาหรบั การวิจยั . (พมิ พค์ ร้ังที่ 5). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
สมนกึ เอ้ือจริ ะพงษพ์ ันธ์. (2553). การจดั การความรู้กบั นวัตกรรม. กรงุ เทพฯ: สามลดา.
สายสุดา ขนั ธเวช. (2561). ทักษะแสวงหาความรู้ดว้ ยตัวเอง. สืบคน้ เมอื่ 9 พฤษภาคม 2565, จาก

https://bit.ly/2OWqil5.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). แนวทางการจดั การ

เรียนรเู้ พ่อื พัฒนาทกั ษะการคิดวิเคราะห์. กรุงเพทฯ : โรงพิมพ์เดียสแควร.์
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน. (2563). นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้

พ้นื ฐานปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565. กรุงเทพฯ : สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขนั้ พ้ืนฐาน
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ สานกั นายกรฐั มนตร.ี พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรงุ เทพฯ: พรกิ หวานกราฟฟิก.

271

สานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ. (2563). โครงการวจิ ัย/ชดุ โครงการวจิ ยั .
https://nriis.go.th/FileUpload/AttatchFile/News/256110291020186004256.docx

สานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2546). คู่มอื ปฏิบตั งิ านสานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ
2546. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์กรมการศาสนา.

สานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา. (2552). สรปุ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลเพ่อื
การนาเสนอผลการประเมินภายนอกไปใช้ สถานศึกษาทีม่ ีวัตถปุ ระสงคพ์ เิ ศษ : โรงเรียน
พระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา. กรงุ เทพฯ : เอกสารอดั สาเนา.

สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-
2559) : ฉบบั สรปุ . กรุงเทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟิก.

สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแหงชาติ. กรงุ เทพฯ : การศึกษาโรงพิมพ
พริกหวานกราฟฟก จากัด.

สุชาติ ประสิทธริ์ ัฐสินธ์ุ. (2546). ระเบียบวธิ ีการวจิ ัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครัง้ ท่ี 12). กรุงเทพฯ:
บริษทั เฟอื่ งฟ้า พริน้ ต้ิง.

สเุ ทพ ไชยวฒุ ิ เกตมุ ณี มากมี และศิริมาศ โกศัลย์พพิ ัฒน์. (2560). ได้ศกึ ษาการวิจัยเก่ียวกับ การ
พัฒนาคู่มือการบรหิ ารจัดการงานวิชาการของคณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ
เชียงใหม่ วารสารพิฆเนศวรส์ าร. 13(2), 130-147.

2. วิทยานิพนธ์

ตรีทิพ บญุ แยม้ . (2554). “ปัจจัยเชงิ สาเหตพุ หุระดบั ทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ พฤตกิ รรมสรา้ งนวัตกรรม ระดับ
บุคคลและระดบั กลุ่มงานเพอื่ สร้างนวัตกรรมผลิตภณั ฑ์ในบรษิ ัทเอกชนของไทย.” ปรญิ ญา
นิพนธ์ วท.ด. (การวจิ ยั พฤตกิ รรมศาสตร์ประยกุ ต์). บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรี
นครนิ ทรวิโรฒ.

พิชชาวริน ชนะคุ้ม .(2554). การประเมินผลการศึกษาโรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษาใน
กรงุ เทพมหานคร . ปรญิ ญานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ นโยบายสาธารณะ .
มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

ลดารัตน์ สงวรรณา. (2553). “ผลการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยบทเรียนออนไลนแ์ บบเวบ็ เควสท.์
เร่ือง ทฤษฎกี ราฟเบอื งตน้ ทมี่ ตี ่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถในการคิดอยา่ ง
มีวจิ ารณญาณ ของนักเรยี นชันมธั ยมศึกษาปีที่ 5.” ปริญญานพิ นธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา).
กรงุ เทพฯ: บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ.

อารยิ า ธรี ธวชั . (2560). การวิจัยเชงิ ปฏิบัติการแบบมสี ่วนรว่ มเพอ่ื พัฒนาทกั ษะศตวรรษท่ี 21 สาหรับ
ครู ในวทิ ยาลัยเทคโนโลยีควุ านนั ท์. ดุษฎนี ิพนธป์ รญิ ญาศึกษาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต,

272

สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา, บณั ฑิตวทิ ยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย.
สืบค้นเมอ่ื 2 พฤษภาคม 2565, จาก https://bit.ly/2mATLrK.

3. ภาษาองั กฤษ

Aiim (n.d.). What is collaboration?. Retrieved June 10, 2019, from https://bit.ly/2Y08Bst
Aiken, L. (1985). Poychological testing and assessment (5th ed.). Baston: Allyn and

Bacon.
Amadi, E.C. (2008). Introduction to educational administration; A module. Harey

Publications.
Archibald, D., Trumpower, D., & MacDonald, C. J. (2014). Validation of the

interprofessional collaborative competency attainment survey (ICCAS).
Journal of Interprofessional Care. 28(6):1-6.
Bamte. (n.d.). Educational administration - Meaning, authoritarian and democratic
educational management. Retrieved from
http://bawmte.blogspot.com/2018/05/educational-administration-
meaning.html
Baxter, J. A., & Lederman, N. G. (1999). Assessment and measurement of pedagogical
content knowledge. In J. Gess-Newsome, & N. G. Lederman (Eds.), Examining
pedagogical content knowledge (pp. 147-161).
Belgrad, W., Fisher, K., & Rayner, S. (1995). Collaboration & teamwork. Retrieved June
10, 2019, from https://bit.ly/2xK0KAv
Bogler, M. (2016). How to improve student collaboration skills. Retrieved August 8,
2019, from https://bit.ly/2ZIL2SF
Boyer, S. (2015). 5 Tips to building a collaborative team. Retrieved August 5, 2019, from
https://bit.ly/1N2ePvd
Caldwell, B.J., & Spinks, J.M. (1990). The self-managing school. London: Taylor &

Francis Ltd.

Campbell, S. (2017). 10 Simple ways to build a collaborative, successful work
environment. Retrieved August 5, 2019, from https://bit.ly/2fTWHMZ

Chaichanawirote U. & Vantum, C. (2017). Evaluation of Content Validity for Research
Instrument. Journal of Nursing and Health Sciences. 11 (2), 105-111.

273

Churches, A. (2010, January). 21st century pedagogy. Retrieved from
https://www.researchgate.net/figure/21-st-Century-Pedagogy-Churches-A-
2008_fig5_307753183

Collaborative Outcomes Inc (n.d.). 7 Step collaboration process. Retrieved August 23,
2020, from https://bit.ly/2QjR1ug

Conlan, C. (2018). How to build a collaborative workplace culture. Retrieved August 8,
2019, from https://bit.ly/2YuEuum

Contributor, G. (2019). The importance of collaboration skills in the workplace.
Retrieved June 18, 2019, from https://bit.ly/2Fq5hNs

Cran, C. (2017). Top 4 behaviors of highly collaborative teams. Retrieved June 26,
2019, from https://bit.ly/2ygnJ6x

DeRosa, D. (2018). How to build a culture of collaboration. Retrieved August 8, 2019,
from https://bit.ly/2qLohOk

Dhammei, T. (2022, January 15). Educational administration: Concepts of educational
administration and principles of educational administration. Retrieved from
https://onlinenotebank.wordpress.com/2022/01/15/concepts-and-principles-
of-educational-administration/

Dobos, J. (2017). The importance of collaboration and teamwork in the creative
industry. Retrieved June 18, 2019, from https://bit.ly/2Tm1UKR

Doyle, A. (2019). Collaboration skills: Definition, list, and examples. Retrieved June 10,
2019, from https://bit.ly/2xNjq5m

Driscoll, M. (2022, September 7). Education in the 21st century.
https://thinkstrategicforschools.com/education-21st-century/

Edge, K. (2000). School-based management. Paper for the Education Reform &
Management Thematic Group, HDNED, World Bank [August 2000].
http://web.worldbank.org/archive/website00238I/WEB/PDF/SBMQ_AF.PDF

Elcom (2018). The importance of collaboration in today's workplace. Retrieved June
18, 2019, from https://bit.ly/2JMfVif

Firestone, M. (n.d.). Collaborative skills: Definition & explanation. Retrieved June 10,
2019, from https://bit.ly/2XNBOI8

274

Goman, C.K. (2017). Six crucial behaviors of collaborative leaders. Retrieved June 26,
2019, from https://bit.ly/32TjfAS

Guskey, T.R. (2000). Professional development in education: in search of the optimal
mix. In T.R. Guskey, and M. Huberman (eds.), Professional development in
education: New paradigms and practices. New York: Teachers College Press.

Gusky, T.R. (2000). Evaluating professional development. CA: Corwin Press, Inc.
Helsel, M. (2017). Collaborative skills. Retrieved June 10, 2019, from

https://bit.ly/31BM9Ep
Heron, J. (1996). Co-operative inquiry: Research into the human condition. CA: SAGE

Publication Inc.
Hopkins, K.D. & Stanley, J. C. (1983). Educstional and psychological measurement

and evaluation (6th ed.). Englewool Cliffs, N.J.: Prentice-Hall.
Hoy, W.K. & Miskel, C.G. (2001). Educational administration: Theory, research, and

practice. 6th edition. NY: McGraw-Hill.
Indeed career guide (2019). Collaboration skills: Definition and examples. Retrieved

June 10, 2019, from https://indeedhi.re/32qopEd
Kampen, M. (April 24, 2019). 5 Ways To Make Teacher Professional Development

Effective [With Examples]. Retrieved March 30, 2022 from
https://www.prodigygame.com/main-en/blog/teacher-professional-
development/
Kashyap, D. (n.d.). Educational administration: Meaning, nature and other details.
Retrieved from https://www.yourarticlelibrary.com/educational-
management/educational-administration/educational-administration-meaning-
nature-and-other-details/63730
Kashyap, S. (2017). Importance of team collaboration at workplace. Retrieved June
18, 2019, from https://bit.ly/2GicDCz
Kashyap, S. (2018). 8 Steps to collaboration to work in a collaborative environment.
Retrieved August 5, 2019, from https://bit.ly/2yG15F8
Kellerman, M. (2007). Collaboration assessment guide and tool. Retrieved May 20,
2020, from https://bit.ly/2NVZ9Qb

275

Linton, I. (n.d.). 5 Steps to cross organizational collaboration and teamwork. Retrieved
August 23, 2020, from https://bit.ly/32hIL3s

lmacademics (2019). Importance of teamwork and collaboration skills. Retrieved June
18, 2019, from https://bit.ly/2GiDQF6

Loucks-Horsley, S., Love, N. Stiles, K. E., Mundry, S.,Hewson, P. W. (2003). Designing
professional development for teachers of science and mathematics (2nd
ed.). Thousand Oaks, CA: Corwin Press, Inc.

Lucco, J. (2019). How to build successful teams with 8 collaborative approaches.
Retrieved August 8, 2019, from https://bit.ly/2yIRcXf

Madsen, S. (2015). Collaborative planning – 7 Steps to creating a project plan with
your team. Retrieved August 24, 2020, from https://bit.ly/2FTDMyn

Meinert, D. (2017). How to be a collaborative leader. Retrieved June 26, 2019, from
https://bit.ly/2gEZ3fv

Miller, M. (2014). 5 Ways to foster increased team collaboration. Retrieved August 8,
2019, from https://bit.ly/2ZJF9EP

Mind Tools (n.d.). How to collaborate successfully. Retrieved June 10, 2019, from
https://bit.ly/2SfVVZu

Moseley, C. (2019). 7 Reasons why collaboration is important. Retrieved June 18, 2019,
from https://bit.ly/30DWgb6

My Hub, T. (2018). Collaboration Skills: Does your team have what it takes?. Retrieved
June 10, 2019, from https://bit.ly/2Yb9oao

Naiyatip Teerapuk. (n.d.). Research tools. Retrieved October 25, 2021 from
http://naiyatip-research.blogspot.com/p/research-tools.html

Nutcache. (2019). The importance of collaboration in the workplace. Retrieved June 18,
2019, from https://bit.ly/2sw7wa4

Polit, D. F. & Beck, C. T. (2012). Nursing research: Generating and assessing evidence
for nursing practice. Philadelphia, PA: Wolters Kluwer Health / Lippincott
Williams& Wilkins.

Robinson, C. (2019). How to create a collaborative approach at work. Retrieved August
8, 2019, from https://bit.ly/2KlFQ1H

Rouse, M. (2016). Collaboration. Retrieved June 10, 2019, from https://bit.ly/2JwKn0S


Click to View FlipBook Version