The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-08-03 13:01:58

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

พระมหาอำพล-ชัยสารี-ดุษฎีนิพนธ์-ฉบับสมบูรณ์00

131

p คือ ค่าความยากของแตล่ ะข้อ
q=1-p
S2 คอื ความแปรปรวนของคะแนนรวมท้งั ฉบับท่ีได้จากการทดสอบ
(2) ใช้สูตร KR - 21 ในกรณีที่ข้อสอบทุกข้อมีค่าความยาก (Item Difficulty) เท่า ๆ กัน
หรือใชค้ ะแนนเฉลย่ี ของแบบทดสอบ ดังน้ี
rtt = [k/(k-1)] [ 1 – MX (k - MX)/kS2]
เมื่อ MX คือ คะแนนเฉล่ียรวมท้งั ฉบบั และสญั ลักษณอ์ ืน่ เหมอื น KR - 20
ในงานวิจัยน้ี เน่ืองจากมีการวิเคราะห์หาค่าความยากรายข้อ จึงใช้สูตร KR-20 เพ่ือหาค่า
สมั ประสิทธข์ิ องความเช่อื มนั่ ของแบบทดสอบ ซ่ึงมเี กณฑ์การแปลผลความเช่ือมน่ั ดงั นี้ 0.00-0.20 มี
ความเช่ือมั่นตา่ มาก/ไม่มเี ลย 0.21-0.40 มีความเช่ือม่ันต่า 0.41-0.70 มีความเช่ือม่ันปานกลาง และ
0.71-1.00 มีความเช่ือม่ันสูง (Naiyatip Teerapuk, n.d.) แต่อย่างไรก็ตาม ในการพิจารณาคุณภาพ
ของแบบทดสอบที่ใช้ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้เกณฑ์ตามท่ี UCLA: Statistical Consulting Group
(2016) กลา่ วถึง คือ หากแบบทดสอบมีคา่ สัมประสิทธิ์ของความเช่ือม่ันเท่ากับหรือสงู กวา่ 0.70 ถือว่า
เป็นแบบทดสอบท่มี ีความเช่ือม่ันสงู
-ความยากง่ายของแบบทดสอบ ใช้คะแนนเฉล่ยี ของกลุ่มตวั อย่างทั้งหมดเป็นเกณฑ์ หาก
คะแนนเฉลี่ยอยู่ระหวา่ งรอ้ ยละ 30-50 ของคะแนนเต็ม ถือว่าเปน็ แบบทดสอบท่ีมีความยากเหมาะสม
หากคะแนนเฉลี่ยต่ากวา่ 30 เท่าใด ถือว่าเป็นแบบทดสอบท่ียากขึ้นเท่าน้นั และหากคะแนนเฉล่ียสูง
กว่า 50 เทา่ ใด ถือว่าเป็นแบบทดสอบทง่ี ่ายข้นึ เท่าน้ัน
การประเมนิ ตามแนวคดิ เกณฑ์มาตรฐาน 90/90
แบบทดสอบผลการเรียนรขู้ องครู ที่ไดร้ บั การพฒั นาจนมีคุณภาพตามเกณฑ์ในประเด็นต่าง ๆ
ดังกล่าว จะถูกนาไปใช้ทดสอบผลการเรียนรู้หลังจากการดาเนินงานในโครงการท่ี 1
ว่าบรรลุผลตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 หรือไม่
การประเมินตามแนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นการบอกค่าประสิทธิภาพของ
บทเรียนสาเร็จรูปหรอื บทเรยี นโปรแกรม (Programmed Materials หรือ Programmed Textbook
หรือ Programmed Lesson) ซ่งึ เปน็ สื่อทม่ี เี ป้าหมายหลักเพอื่ ให้ผู้เรียนใช้เรียนดว้ ยตนเองเป็นสาคัญ

หลักจิตวิทยาสาคัญท่ีเป็นฐานคิดความเช่ือของส่ือชนิดน้ีคือทฤษฎีการเรียนแบบรอบรู้ (Mastery
Learning) ซ่ึงมีความเชื่อว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ หากจัดเวลาเพียงพอจัดวิธีการเรียนท่ี
เหมาะสมกบั ผเู้ รียนกส็ ามารถที่จะทาให้ผเู้ รยี นสามารถเรียนรูไ้ ดต้ ามวัตถุประสงค์ของการเรยี นได้

โดยเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) ในงานวิจยั น้ี หมายถึง เกณฑท์ ใ่ี ช้วัด
ความมีประสิทธิภาพของคู่มือต่อการเสริมสร้างความรู้ในโครงการพัฒนาความรู้ให้กับครูผู้สอนท่ีเป็น
กลมุ่ ทดลอง โดย 90 ตัวแรก หมายถึง รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ียของผู้เรียนทั้งกลุ่มท่ีไดจ้ ากการวัดด้วย

แบบทดสอบวัดความรอบรู้หลังจากเรียนจากบทเรียนท่ีสร้างขึ้นจบลง 90 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละ
ของจานวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบ (วัดความรอบรู้หลังการเรียนจากบทเรียนท่ีสร้างข้ึนจบ
ลง) โดยสามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านตามเกณฑ์วัตถุประสงค์ทุกวัตถุประสงค์ (มนตรี แย้มกสิกร,

2551)

132

ท้ังน้ี ความหมายน้ีแตกต่างจากความหมายของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ด้ังเดิมตามทัศนะ
ของ เปรื่อง กุมุท (2519) ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้นาเสนอ
แนวคดิ เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 คนแรก (ในประเทศไทย) นัน่ คือ 90 ตวั แรก เปน็ คะแนนเฉลย่ี ของท้ัง
กลุ่ม ซ่ึงหมายถึงทุกคน เม่ือสอนคร้ังหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุก
คะแนนแล้วหาค่าร้อยละเฉล่ียของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ ค่าร้อยละเฉล่ียของกลุ่ม
จะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า 90 ตัวท่ีสองแทนคุณสมบัติท่ีว่า ร้อยละ 90 ของผู้เรียนทั้งหมด ได้รับ
ผลสัมฤทธ์ติ ามความมุ่งหมายแต่ละข้อ และทกุ ข้อของบทเรยี นโปรแกรมน้นั (เปรือ่ ง กุมุท, 2519 อ้าง
ถงึ ใน มนตรี แย้มกสกิ ร, 2551)

ตามทัศนะของ มนตรี แย้มกสิกร (2551) สูตรที่ใช้ในการคานวณ 90 ตัวแรก = {(Σ X
/N) X 100)}/R โดย 90 ตวั แรก หมายถึง จานวนร้อยละของคะแนนเฉล่ียของการทดสอบหลงั เรียน
Σ X หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบทผี่ ู้เรียนแตล่ ะคน ทาไดถ้ ูกต้องจากการทดสอบหลังเรียน
N หมายถึง จานวนผู้เรยี นท้ังหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธภิ าพครง้ั นี้ R หมายถงึ
จานวนคะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลังเรียน สตู รทีใ่ ช้ในการคานวณ 90 ตัวหลัง = (Y x 100)/ N
โดย 90 ตัวหลัง หมายถึง จานวนร้อยละของผู้เรียนท่ีสามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ Y
หมายถึง จานวนผู้เรียนท่ีสามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ N หมายถึง จานวนผู้เรียน
ทง้ั หมดท่ีใช้เป็นกล่มุ ตวั อย่างในการคานวณประสทิ ธิภาพคร้งั น้ี

1. แบบประเมินทักษะความร่วมมือของนักเรียน ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีลักษณะเป็นแบบ
ประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ คือ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย และนอ้ ยทส่ี ุด ผวู้ ิจัยสร้าง
ขึ้นจากผลการศึกษาลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะความร่วมมือ จากทัศนะของ Samdahl (2017),Cran
(2017), Sampson (2010), Meinert (2017),และ Goman (2017) และจากผลการศึกษาแนวคิด
การประเมินทักษะความร่วมมือจากทัศนะของ Weaver (2018), Kellerman (2007), Archibald,
Trumpower & MacDonald (2014) เป็นแบบประเมินออนไลนด์ ้วย Google Form ได้กาหนดใหม้ ี
การดาเนินการเพอ่ื ตรวจสอบคณุ ภาพ ดงั นี้

1.1 การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยดัชนีความ
สอดคลอ้ งของข้อคาถามกบั วตั ถปุ ระสงค์ (Index of Item - Objective Congruence: IOC) เปน็ การ

ประเมินความสอดคล้องตามทัศนะของ Rovinelli and Hambleton ดังกล่าวในหัวข้อแบบทดสอบ
ผลการเรียนร้ขู องครูข้างต้น เพราะแบบประเมนิ ทักษะความรว่ มมือ ของนกั เรยี นที่ใช้ในงานวิจยั น้ี มงุ่
หาความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะความร่วมมือ ในแต่ละด้าน คือ
1) ดา้ นการมวี ิสัยทศั น์และการลงมือทา (Visionary and Action) มีข้อคาถาม 5 ข้อ 2) ด้านการสรา้ ง

ความเชอ่ื ม่ัน (Building Trust) ขอ้ คาถาม 6 ข้อ 3) ด้านการแบง่ ปันพลังและสรา้ งแรงจูงใจ (Sharing
Power and Influence) ขอ้ คาถาม 6 ข้อ 4) ด้านการสรา้ งความสัมพนั ธ์ (Building Relationships)
ข้อคาถาม 6 ข้อ 5) ด้านการสะท้อนตนเอง (Self-Reflection) ข้อคาถาม 6 ข้อ และ 6) ด้านการ

ตัดสินใจ (Decision-making ข้อคาถาม 6 ข้อ รวมท้ังฉบับมีขอ้ คาถาม 35 ข้อ ทั้งน้ีวัตถุประสงค์การ
พัฒนาทักษะความร่วมมือ มีนยิ ามศัพทเ์ ฉพาะทเ่ี ปน็ ผลจากการศกึ ษาวรรณกรรมที่เก่ยี วขอ้ งที่แสดงให้
เหน็ ถึงวัตถุประสงคใ์ นการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือ โดยภาพรวมและรายด้าน ดังน้ี

133

-ทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) หมายถึง การทางานกับคนอ่ืนซึ่งเป็น
การจัดการแบบมสี ่วนรว่ มซึ่งทั้งสองฝ่ายหรอื มากกว่านั้น ต้องใช้การผสมผสานระหว่างมนุษยสมั พนั ธ์
การแก้ปัญหาและทักษะการส่ือสาร เพื่อสร้างบางสิ่งบางอย่าง คือ พฤติกรรมที่ช่วยคนสองคนหรือ
มากกว่านั้นให้ทางานด้วยกันและทาหน้าท่ีได้ดีในกระบวนงานนั้น ๆ เพ่ือเชื่อมประสานกันเป็น
ส่ิงจาเปน็ ไม่ว่าในทีท่ างานใด ๆ ชว่ ยให้บุคลากรสามารถประสานงานกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิผล การ
ทางานร่วมกันเพื่อความสาเร็จต้องอาศัยจิตวิญญาณความร่วมมือและการเคารพซึ่งกันและกัน เพ่ือ
บรรลุเป้าหมายร่วมกนั

-ด้านการมีวิสัยทัศน์และการลงมือทา (Visionary and Action) หมายถึง การ
ส่งเสริมกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการค้นหาแรงบันดาลใจจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งเสริม
การพัฒนาวิสัยทัศน์ร่วมกัน ซ่ึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคนมีส่วนในการกาหนดวิสัยทัศน์น้ี สร้างกรอบ
การทางานโดยใช้การคิดอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมการสรา้ งทีมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการช่วยกนั พัฒนา
แผนกลยุทธ์การปฏิบัติงาน และส่งเสริมความหลากหลาย และสร้างแผนปฏิบัติงานด้วยการกาหนด
ช่วงเวลาและหนา้ ท่ที ไ่ี ด้รบั มอบหมายเพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามวิสยั ทศั น์

-ด้านการสร้างความเชอ่ื ม่ัน (Building Trust) หมายถงึ การ “พูดจรงิ ทาจริง” หมายถึง
ว่าทาในสิ่งที่พูด ปกป้องกลุ่มจากผู้ท่ีเอาเปรียบผู้อ่ืนในการทางานรว่ มกัน สร้างกระบวนการที่มีความ
นา่ เช่อื ถอื ในการทางานรว่ มกนั เชื่อว่าความรว่ มมอื เกิดขนึ้ จากบุคคลและองคก์ รจากหลายภาคส่วน มี
ความรู้และทักษะท่ีจาเป็นในการทางาน สามารถดึงดูดผู้อื่นให้ทางานร่วมกับฉนั และเชื่อมั่นว่าความ
เช่อื ถอื คอื หลกั พนื้ ฐานในการรว่ มงานกบั ผอู้ ่นื อย่างมีประสิทธภิ าพ

-ด้านการแบ่งปันพลังและสร้างแรงจูงใจ (Sharing Power and Influence) หมายถงึ
การใชพ้ ลังอย่างมีความรับผดิ ชอบ แบง่ ปนั พลังเพอ่ื เพิม่ พลัง และการแบง่ ปันความรู้ แบง่ ปันพลงั ให้แก่
ผู้อ่ืนเม่ือทาได้ เมื่อฝึกฝนภาวะผู้นามักจะพึ่งพาการแก้ปัญหาให้กับเพื่อน แสดงออกถึงความมั่นใจให้
ผู้อื่นได้เห็น และผู้ที่ทางานร่วมกันในแต่ละกลุ่มมีระดับความรู้ ทักษะ และอานาจในการตัดสินใจท่ี
เหมาะสม

-ด้านการสร้างความสัมพันธ์ (Building Relationships) หมายถึง การเชื่อว่าการสร้าง
ความเชื่อมั่นในองคก์ รและการให้ความเช่อื มั่นต้องใชเ้ วลา เช่ือว่าคนที่เข้าร่วมกันทางานมีความเคารพ
อย่างสงู ซึง่ กนั และกัน มีความม่งุ ม่ันทจี่ ะสรา้ งความรู้สึกทว่ี ่าบุคคลที่เข้าร่วมมคี วามเป็นเจ้าขององค์กร
รว่ มกัน มกี ารเปดิ การสนทนา และมุมมองท่ีแตกต่างกันเป็นส่ิงท่ีเราให้ความสาคัญ เชื่อวา่ ความขดั แย้ง
เปน็ เรื่องทยี่ อมรบั ได้ โดยการทาให้ความขัดแย้งเปน็ แหลง่ สร้างนวัตกรรม และมกี ารจดั การความคิดที่
แตกตา่ งไดอ้ ยา่ งดี ด้วยวิธีการทเี่ อ้อื ต่อการมีส่วนร่วมของทุกคน

-ด้านการสะท้อนตนเอง (Self-Reflection) หมายถึง การรับรู้ถึงผลกระทบของ
อารมณ์ต่อการทางาน และการสร้าง “ความปลอดภัยทางจิตใจ” สามารถบอกจุดแข็ง จุดอ่อนของ
ตวั เองได้ ทางานเพอ่ื เขา้ ใจมมุ มองของผู้อ่ืน เขา้ ใจการเปลี่ยนแปลงภายในกล่มุ สรา้ งสภาพแวดล้อมท่ี
ปลอดภัยเพ่ือการสื่อสารอย่างเปิดเผย และใช้เวลาในการสะท้อนตนเองและการปรับปรุงแนวทาง
ปฏิบัติ

-ด้านการตัดสินใจ (Decision-making) หมายถึง การมีความเข้าใจขอบเขตความ
รับผิดชอบและบทบาทอย่างชัดเจน สมาชิกในทีมมีความกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมในการตัดสินใจที่
สาคัญ กระบวนการประชมุ ในทีมมีประสิทธิภาพ มกี ระบวนการดาเนนิ งานและกระบวนการตัดสินใจ

134

ที่ชัดเจน มีความยืดหยุ่นและความประนีประนอมเม่ือมีการตัดสินใจเกิดขึ้น และส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ นวตั กรรม และส่งเสริมการยอมรับความเส่ยี ง

ในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือ ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา และ / หรือ ด้านการวัดและ
ประเมินผล จานวน 5 ราย (ดูรายช่ือในภาคผนวก) โดยให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0
หรอื -1 โดย + 1 หมายถงึ ขอ้ คาถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคลอ้ ง และ -
1 หมายถึง ข้อคาถามไม่มีความสอดคล้อง ผลที่ได้รับจากการตรวจสอบของผู้เช่ียวชาญ นามา
วิเคราะห์หาค่า IOC จากสูตรดังกล่าวในหัวข้อแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูข้างต้น โดยกาหนด
เกณฑ์ค่า IOC ท่ีระดับเท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อคาถามน้ันมีความสอดคล้องกับ
วัตถปุ ระสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017)

1.2 การทดลองใช้ (Try-out) แบบประเมนิ ทักษะความรว่ มมอื ของนักเรียนท่ีสรา้ งขนึ้ มี
จุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความเชื่อม่ัน (Reliability) ของแบบประเมิน เป็นการหาความสอดคล้อง
ภายในเพอ่ื อธบิ ายว่าข้อคาถามแตล่ ะข้อในข้อคาถามชดุ หนง่ึ น้ันเปน็ เรื่องเดียวกันหรือทิศทางเดียวกัน

ในกรณีท่ีข้อคาถามเป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า นิยมใช้สัมประสิทธิแอลฟา (∝- Coefficient)
เพ่ือหาค่าความเช่ือมั่นของแบบสอบถาม หรืออาจหาความเช่ือมั่นด้วยการสอบซ้าก็ได้ถ้าต้องการ
แสดงว่าใช้วัดก่ีครั้งก็ให้ผลคงท่ี แต่ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ
ความเชื่อมน่ั (Alpha Coefficient of Reliability) โดยใชว้ ธิ ขี องครอนบาค (Cronbach’s Method)
โดยกาหนดเกณฑ์ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเช่ือมั่นท่ียอมรับได้ คือ เท่ากับหรือสูงกว่า 0.70
(UCLA: Statistical Consulting Group, 2016) โดยนาแบบประเมินคุณลักษณะท่ีเกิดขึ้นกับ
นกั เรียนท่สี ร้างข้นึ ไปทดลองใช้กบั นักเรยี นโรงเรยี นประภสั สรวิทยา วดั ศรนี วล จานวน 30 ราย

3.4 ขัน้ ตอนที่ 4 การทดลองในภาคสนาม (Trial)

การทดลองในภาคสนาม (Trial) ผวู้ ิจัยใชแ้ บบแผนการวจิ ัยข้นั พื้นฐาน (Pre Experimental
Research) มีกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One Group Pretest-
Posttest Design) กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง คือครูผู้สอนในโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ อาเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย จานวน 11 รูป/คน และมี
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 91 รูป นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 113 รูป รวม 204 รูป
ดาเนนิ การทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 โดยแบ่งระยะของการทดลองออกเป็น 2 ระยะ ดังน้ี

ระยะท่ี 1 การทดลองตามโครงการท่ี 1 : โครงการพฒั นาเพอ่ื การเรียนรูข้ องครู
เป็นระยะของ “การพัฒนาตนเองของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองตามโครงการที่ 1” โดยการ
เรยี นร้ดู ้วยตนเอง (Self-Learning) จานวน 6 ชดุ คือ (1) คู่มอื เพือ่ การเรียนรเู้ กย่ี วกบั นยิ ามของทกั ษะ
ความร่วมมือ (2) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของทักษะความร่วมมือ (3) คู่มือเพ่ือการ
เรียนรู้เก่ียวกบั ลักษณะที่แสดงถึงทักษะความรว่ มมือ (4) คู่มือเพ่ือการเรียนรเู้ กี่ยวกับแนวการพัฒนา
ทักษะความร่วมมือ (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับข้ันตอนการพัฒนาทักษะความร่วมมือ และ
(6) คูม่ ือเพือ่ การเรียนรูเ้ ก่ยี วกับการทักษะความรว่ มมือ ดาเนนิ การโดยการแนะนาคูม่ ือท้งั 6 ชดุ ที่ได้
อัพโหลดลงเว็บไซตเ์ รียบร้อยแล้ว มีขัน้ ตอนการดาเนนิ การดงั นี้

135

ตารางที่ 3.3 แสดงกิจกรรมและระยะเวลาในโครงการพฒั นาครูผ้สู อน

กิจกรรม ระยะเวลา

1. เตรยี มการ และทดสอบผลการเรียนรู้ของครูก่อนการทดลอง (Pre-test) 1-2 วนั

พบปะเพอ่ื ชแ้ี จงการดาเนินงานวจิ ยั ในระยะที่ 1 ใหก้ ับครทู ่เี ปน็ กลมุ่ ทดลอง และ

ทาการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบผลการเรียนรู้ ถือเป็นการทดสอบก่อนการ

พฒั นา (Pre-test)

2. พัฒนาครูโดยหลักการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ใช้คู่มือประกอบ 1 เดือน

โครงการที่พัฒนาขึ้น โดยเข้าไปดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย ให้การ

เรยี นรู้เป็นไปโดยปราศจากการแทรกแซงจากผู้วจิ ยั หรือบุคคลอน่ื

3. ครูตรวจสอบหาข้อบกพร่องของคู่มือ และ ทดสอบครูหลังการพัฒนา (Post- 1-2 วนั

test)

-ครูท่ีเป็นกลมุ่ ทดลองร่วมกันตรวจสอบหาข้อบกพร่องเพ่ือให้ขอ้ เสนอแนะในการ

ปรบั ปรุงแกไ้ ขค่มู ือในโครงการท้ัง 2 โครงการ

-ใช้แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูกับครูผู้ท่ีเป็นกลุ่มทดลอง เพ่ือให้ทราบผล

การเรียนรวู้ า่ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรอื ไม่ และเพอื่ เปรยี บเทียบผล

การเรียนรู้ของครูหลังการพฒั นาสูงกว่ากอ่ นการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ

หรือไม่ ถอื เป็นการทดสอบหลงั การพัฒนา (Post-test)

4. เปรียบเทยี บผลการทดสอบครหู ลงั การพัฒนากบั เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 และ 1-2 วนั

เปรยี บเทียบผลการเรยี นรู้ก่อนและหลงั การทดลอง

-วเิ คราะหค์ ะแนนจากการทดสอบผลการเรียนรูข้ องครู โดยเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์

มาตรฐาน 90/90 และวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการเรยี นรู้ของครูหลังการพัฒนา

สูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติโดยใช้ค่าสถิติทดสอบที (t-test)

เพ่ือทดสอบสมมุตฐิ านการวจิ ัยว่าคู่มอื ประกอบโครงการมปี ระสทิ ธิภาพหรอื ไม่

ระยะที่ 2 การทดลองตามโครงการท่ี 2 : โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การพัฒนา
นักเรียน

เป็นระยะของการ “นาผลการเรียนรู้สู่การปฏิบตั ิของครูท่ีเปน็ กลุ่มทดลองตามโครงการ
ที่ 2” โดยในการปฏิบัตินั้น เป็นการกาหนดให้ครูที่เป็นกลุ่มทดลองร่วมกันนาความรู้ท่ีได้จากการ
พัฒนาตนเองจากคู่มือตามโครงการท่ี 1 ไปใช้พัฒนานักเรียนให้เกิดผลการพัฒนาตามที่คาดหวัง มี
ข้ันตอนการดาเนนิ งานดงั นี้

136
ตารางท่ี 3.4 แสดงกิจกรรมและระยะเวลาในโครงการครูนาผลการเรยี นรู้สกู่ ารพัฒนานักเรียน

กิจกรรม ระยะเวลา

1. เตรยี มการ และ ประเมนิ ทกั ษะความร่วมมอื ของนักเรยี นก่อนการทดลอง 1-2 วัน

(Pre-Test)

-ชแ้ี จงการดาเนินงานวจิ ยั ในระยะที่ 2 ใหก้ บั ครูท่เี ปน็ กลุ่มทดลอง

-ใชแ้ บบประเมนิ ทักษะความร่วมมือกับนกั เรียนท่ีเปน็ กลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนา

โดยใช้แบบประเมินท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น ถือเป็นการทดสอบก่อนการพัฒนา (Pre-

Test)

2. ครทู ี่เป็นกลมุ่ ทดลองนาผลการเรยี นรู้สกู่ ารพัฒนานกั เรยี น โดยดาเนนิ การตาม 2 เดอื น

คาช้แี จงในคูม่ ือเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารในโครงการท่ี 2 ใหก้ ารปฏิบัติเปน็ ไปโดยปราศจากการ

แทรกแซงจากผ้วู จิ ัยหรือบุคคลอื่น

3. ครทู ีเ่ ป็นกล่มุ ทดลองตรวจสอบเพ่ือหาขอ้ บกพร่องของคมู่ อื และ ประเมนิ 1-2 วนั

ทักษะความรว่ มมอื ของนกั เรียนหลงั การพัฒนา (Post-Test)

-ครทู ่ีเป็นกลุ่มทดลองร่วมกนั ตรวจสอบหาข้อบกพรอ่ งเพ่อื การปรบั ปรุงแก้ไขคู่มือ

ในโครงการท่ี 2

-ใชแ้ บบประเมนิ ทักษะความร่วมมือกับนกั เรียนทีเ่ ปน็ กลุม่ เปา้ หมายในการพัฒนา

ถอื เปน็ การทดสอบหลังการพัฒนา (Post-Test)

4. เปรยี บเทียบผลการประเมินทักษะความรว่ มมือของนักเรยี นกอ่ นและหลังการ 1-2 วัน

ทดลอง วิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บคะแนนจากการประเมนิ ทกั ษะความร่วมมือของผเู้ รยี น

ทีท่ าการประเมนิ ก่อนและหลงั การทดลองในระยะท่ี 2 โดยใช้ค่าสถิตทิ ดสอบที (t-

test) เพ่อื ประเมนิ ว่าผลการดาเนินการระยะท่ี 2 ไดส้ ่งผลให้นกั เรยี นมที ักษะท่ี

คาดหวังหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพฒั นาอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิหรอื ไม่

การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่อื เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของครูตามโครงการท่ี 1 และผลการ
ประเมนิ ทกั ษะความรว่ มมือของนกั เรยี นตามโครงการที่ 2

ใช้การทดสอบที (t-test) ซ่ึงเป็นเทคนิคการทดสอบสมมติฐานชนิดหนึ่งท่ีนักวิจัยนิยมใช้
การทดสอบ โดยวธิ ีการน้ีใช้ในกรณีข้อมูลมีจานวนน้อย (n < 30) ผู้ท่คี น้ พบการแจกแจงของ t มชี ่ือวา่
W.S. Gosset ในการใช้การทดสอบทีกรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มน้ัน จาแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) การใช้ t-test แบบเป็นอิสระจากกัน (Independent) เป็นสถิตท่ีใช้เปรียบเทียบค่าเฉล่ียระหว่าง
กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มท่ีเป็นอิสระจากกัน ข้อมูลที่รวบรวมได้อยู่ในระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน ใช้
สถติ กิ ารทดสอบคา่ t มชี อื่ เฉพาะว่า t - test for Independent Samples 2) การใช้ t- test แบบไม่
เป็นอสิ ระจากกนั (Dependent) เป็นสถติ ที่ใช้เปรยี บเทยี บคา่ เฉล่ียระหว่างกล่มุ ตวั อย่างสองกลุ่มท่ีไม่
เป็นอิสระจากกัน และกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ใช้สถิติการทดสอบค่า t มีช่ือเฉพาะว่า t - test for
Dependent Samples ซง่ึ มักพบในการวจิ ัยเชิงทดลองทตี่ ้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลอง

137

กบั หลงั ทดลองหรือเปรียบเทียบผลระหว่างกล่มุ ทดลองและกลมุ่ ควบคุมทีไ่ ด้จากการจับคู่คุณลักษณะ
ทเ่ี ท่าเทยี มกนั (Thesis Thailand, 2020)

ในงานวจิ ัยนี้ ใช้ t-test แบบไมเ่ ปน็ อสิ ระจากกนั (Dependent) เน่อื งจากเปน็ การวิจัยเชิง
ทดลองท่ีต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลอง โดยมีข้อตกลงเบ้ืองต้น ดังน้ี
1) ข้อมูลอยู่ในมาตรอันตรภาค (Interval Scale) หรือมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) 2) กลุ่ม
ตัวอย่างเปน็ กลุม่ ตวั อย่างแบบสุ่มได้จากประชากรท่ีมีการแจกแจงแบบปกติ 3) คา่ ของตวั แปรตามแต่
ละหน่วยเป็นอิสระต่อกัน และ 4) ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร (ศิริชัย กาญจนวาสี,
ทวีวฒั น์ ปติ ยานนท์ และ ดิเรก ศรีสุโข, 2551) มสี ูตรในการคานวณ ดังน้ี

t = ……. ∑D………

N∑D2 – (∑D)2
N-1

∑D หมายถงึ ผลรวมของความแตกต่างระหว่างคะแนนกอ่ นและหลงั การพฒั นา
∑D2 หมายถึง ผลรวมความแตกต่างของคะแนนก่อนและหลังการพฒั นายกกาลังสอง
N หมายถึง จานวนกลมุ่ ทดลองทไี่ ดร้ บั การพัฒนาทงั้ หมด

3.5 ข้ันตอนที่ 5 การเขียนรายงานผลการวิจัยและการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั

เขียนและนาเสนอรายงานผลการวิจัยในรูปแบบอิงแนวคิดเชิงวิพากษ์ ( Critical
Approach) แสดงหลักฐานประกอบทั้งข้อมูล สถิติ และเอกสาร ที่ผู้ร่วมโปรแกรมและผู้เกี่ยวข้องได้
ร่วมกนั ปฏบิ ัติ ใชว้ ธิ กี ารสกดั ความรู้และประสบการณ์จากการสะทอ้ นผล พร้อมทั้งบนั ทึกรายละเอียด
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน และความรู้ใหม่ที่เกิดข้ึนระหว่างการปฏิบัติงาน เพ่ือเป็น
ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุงโปรแกรมและเพ่ือให้การปฏิบัติงานให้บรรลเุ ป้าหมาย ดังนน้ั การนาเสนอ
ผลการวิจัยจึงมีลักษณะเป็นการพรรณนาหรือบรรยายเชิงวิพากษ์ประกอบกับค่าสถิติที่เก่ียวข้อง ใน
หัวขอ้ ตา่ ง ๆ ดงั นี้

หวั ข้อท่ี 1 ผลการจัดทาคู่มอื ประกอบโครงการ
หวั ข้อที่ 2 ผลการตรวจสอบคุณภาพคูม่ อื และการปรบั ปรงุ แกไ้ ข
หัวข้อท่ี 3 ผลการสรา้ งเครอื่ งมอื เพือ่ การทดลองในภาคสนาม
หวั ขอ้ ที่ 4 ผลการทดลองในภาคสนาม
สาหรบั การเผยแพร่ผลงานวิจัย ผู้วจิ ัยดาเนนิ การโดยการตพี ิมพ์ในวารสารตามเง่อื นไขการ
สาเร็จการศกึ ษา และหากมีโอกาสจะนาเสนอผลงานวิจัยในการสมั มนาวิชาการ และการจดั พิมพ์คู่มือ
ทใี่ ช้ในการวิจัยเพ่อื การเผยแพร่

138

3.6 แผนดาเนินการวิจยั โดยภาพรวม

ตารางท่ี 3.5 แผนดาเนนิ การวจิ ัยโดยภาพรวม

กจิ กรรม ระยะเวลา

ภาคเรยี นท่ี 1 2 เดือน
1. จดั ทาค่มู ือประกอบโครงการ 1 เดอื น
2. ตรวจสอบคุณภาพค่มู ือและการปรับปรงุ แก้ไข 1 เดือน
3. สรา้ งเคร่ืองมือเพอ่ื การทดลองในภาคสนาม
ภาคเรยี นที่ 2 1 เดอื น
1. การทดลองในภาคสนามระยะท่ี 1 โครงการพัฒนาเพื่อการเรยี นร้ขู องครู 2-3 เดือน
2. การทดลองในภาคสนามระยะที่ 2 โครงการครนู าผลการเรียนรู้สู่การพฒั นา

นกั เรียน

บทที่ 4

ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

การวิจัยเรื่อง “โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือของนักเรยี น” นี้มวี ัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื พัฒนาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด “Knowledge +
Action = Power” ท่ีประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู และ
โครงการครูนาผลการเรียนรู่สู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือให้กับนักเรียน และได้กาหนดสมมุติฐาน
การวิจยั ดังน้ี 1) ครมู ีผลการทดสอบหลังการพฒั นาเปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 2) ครูมีผลการ
เรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และ 3) นักเรียนมีผลการ
ประเมิน ทักษะความร่วมมือหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ เพื่อให้
บรรลุวตั ถุประสงค์การวจิ ัยดงั กล่าว ผวู้ ิจยั ไดด้ าเนนิ การวิจัยตามขนั้ ตอนต่าง ๆ ดังน้คี ือ (1) การจัดทา
คมู่ อื ประกอบโครงการ (2) การตรวจสอบคุณภาพคูม่ ือและการปรบั ปรุงแก้ไข (3) การสร้างเคร่ืองมือ
เพื่อใช้ในการทดลองในภาคสนาม (4) การทดลองในภาคสนาม แล้วนาผลการดาเนินการวิจัยแต่ละ
ขน้ั ตอนมาเขียนรายงานการวจิ ยั ดงั นี้

4.1 ข้ันตอนที่ 1 ผลการจัดทาคมู่ ือประกอบโครงการ

ผลจากการศึกษาวรรณกรรมที่เก่ียวข้องในบทท่ี 2 ผู้วิจัยได้กาหนดกรอบแนวคิดเพ่ือการ
วิจัยของโปรแกรมออนไลน์เพอื่ เสรมิ พลงั ความรู้ของครสู ู่การพฒั นาทักษะความรว่ มมือของนกั เรียน ท่ี
ประกอบด้วย 2 โครงการ 1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครูเก่ียวกับการพัฒนาทักษะความ
รว่ มมอื และ 2) โครงการครูนาผลการเรยี นรู้สู่การเสรมิ สร้างทกั ษะความร่วมมอื ให้แกน่ ักเรียน แต่ละ
โครงการมีคู่มือประกอบด้วย มีผลการดาเนินงาน ดงั น้ี

4.1.1 ผลการจัดทาคู่มือประกอบโครงการท่ี 1 คือ โครงการพัฒนาเพือ่ การเรียนรู้ของ
ครูเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะความร่วมมือ ประกอบด้วยคู่มือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-
Learning) แบบออนไลน์ จานวน 6 ชุด คือ

4.1.1.1 คมู่ อื เพ่ือการเรียนรเู้ กยี่ วกบั นิยามของทักษะความร่วมมอื
4.1.1.2 คมู่ ือเพอ่ื การเรยี นร้เู ก่ียวกับความสาคัญของทักษะความรว่ มมือ
4.1.1.3 คมู่ อื เพ่ือการเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ลักษณะท่ีแสดงถงึ ทักษะความรว่ มมอื
4.1.1.4 คมู่ อื เพ่ือการเรียนรเู้ กยี่ วกบั แนวการพฒั นาทักษะความร่วมมอื
4.1.1.5 คู่มอื เพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกบั ข้ันตอนการพัฒนาทกั ษะทักษะความรว่ มมือ
4.1.1.6 คมู่ อื เพอื่ การเรยี นรูเ้ กย่ี วกับการประเมินทักษะความรว่ มมอื
คู่มือแตล่ ะชดุ มีลักษณะเป็นชุดของข้อมูลเพอ่ื การพฒั นาครูผู้สอนดว้ ยการเรียนรู้ด้วยตนเอง
(Self-Learning) เป็นคู่มือประกอบโครงการที่คานึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ( Adult
Learning) ที่เห็นว่าผู้ใหญ่ (ในงานวิจัยนี้ คือ ครูผู้สอน) การเรียนรู้จะมุ่งไปที่ชีวิตประจาวัน (Life-

140

Centered) หรือเน้นที่งานหรือการแก้ปัญหา (Task-Centered) นั่นคือผู้ใหญ่จะยอมรับและสนใจ
กิจกรรมการเรียนรขู้ องเขา หากเขาเช่ือและเห็นว่าการเรยี นรู้น้ัน ๆ จะช่วยให้เขาทางานได้ดีข้ึนหรอื
ช่วยแก้ปัญหาในชีวติ ประจาวนั ของเขา การจัดหลักสูตรเพื่อการเรียนการสอน ผู้ใหญ่จึงควรจะอาศยั
สถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัวของเขา และเป็นการเพ่ิมความรู้ ความเข้าใจ ทักษะซึ่งมีส่วนช่วยในการ
แก้ปัญหาในชีวิตจริงของเขาด้วย (Wisdom Max Center Company Limited, 2015) โดยมี
องค์ประกอบของคู่มือดังน้ี ช่ือของคู่มือ คาแนะนาการใช้คู่มือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ท่ีคาดหวังจาก
คู่มือ เนอื้ หาทนี่ าเสนอในรูปแบบเพือ่ การอบรมด้วยตนเอง (Self-Training) (แบ่งเนอ้ื หาเป็นชว่ ง ๆ แต่
ละชว่ งมกี ิจกรรมให้ทบทวน เชน่ การตัง้ คาถามใหต้ อบ การให้ระบขุ อ้ สังเกต การให้ระบคุ าแนะนาเพ่ือ
การปรับปรุงแก้ไข เป็นต้น) แบบประเมินผลตนเอง และรายช่ือเอกสารอ้างอิง สาหรับเนื้อหาในค่มู อื
แต่ละชุด เป็นผลจากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กย่ี วขอ้ งในบทท่ี 2 ดงั นี้

1. คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับนิยามของทักษะความร่วมมือ นาเสนอทัศนะของ Zahid
(2018), Doyle (2019), Firestone (n.d.), Indeed Career Guide (2019), Helsel (2017), Mind
Tools (n.d.), Ryan (2018), Belgrad, Fisher, & Rayner (1995), Aiim (n.d.), Rouse (2016)

2. คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เก่ียวกับความสาคัญของทักษะความร่วมมือ นาเสนอทัศนะของ
Ryan (2018), lmacademics (2019), Kashyap (2017), Elcom (2018), Nutcache (2019),
Moseley (2019), Dobos (2017), Smart Sheet (2019) และ Valdellon (2017)

3. คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกยี่ วกับลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะความรว่ มมือ นาเสนอทัศนะของ
Samdahl (2017), Cran (2017), Sampson (2010), Meinert (2017), และ Goman (2017)

4. คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับแนวการพัฒนาทักษะทักษะความร่วมมือ นาเสนอทัศนะ
ของ Campbell (2017), Stapper (2018), Boyer (2015), Kashyap (2018), Robinson (2019),
Conlan (2018), Lucco (2019), DeRosa (2018), Miller (2014), และ Bogler (2016)

5. คู่มอื เพ่ือการเรียนรูเ้ กี่ยวกับข้นั ตอนการพฒั นาทักษะทักษะความร่วมมอื นาเสนอทัศนะ
ของ Weaver (2018), Collaborative Outcomes Inc (n.d.), Linton (n.d.), Team (2017) และ
Madsen (2015)

6. คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะความร่วมมือ นาเสนอทัศนะของ
Weaver (2018), Kellerman (2007), Archibald, Trumpower & MacDonald (2014)

ภาพแสดงปกของโปรแกรมออนไลน์และปกของคู่มือประกอบโครงการ พัฒนาเพ่ือการ
เรยี นรู้ของครูเก่ยี วกบั การพฒั นาทกั ษะความร่วมมือในภาพท่ี 4.1

141

ภาพท่ี 4.1 แสดงปกของโปรแกรมออนไลน์และปกของคู่มอื ประกอบโครงการพัฒนาเพื่อการเรยี นรู้
ของครูเกย่ี วกับการพัฒนาทักษะความร่วมมือ
4.1.2 ผลการจัดทาคู่มือประกอบโครงการที่ 2 โครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การ

เสรมิ สร้างทกั ษะความรว่ มมอื ใหแ้ กน่ ักเรียน ประกอบด้วยคมู่ อื เพอ่ื การปฏบิ ัติจานวน 1 ชดุ คือ คมู่ ือ
เชิงปฏิบัติการเพอื่ พัฒนาผูเ้ รยี น คมู่ ือนเ้ี น้นการสรปุ เน้อื หาเกีย่ วกับลักษณะหรือคุณลกั ษณะท่ีคาดหวัง
จากการพัฒนา แนวทางการพัฒนา และข้ันตอนการพฒั นา และในตอนท้ายของคู่มือ มีแบบประเมิน
ตนเอง (Self-Assessment) สาหรับครูใช้ในการประเมินตนเองดังนี้ 1) มีการนาเอาแนวทางการ
พัฒนาท่ีนาเสนอไว้ในคู่มือไปสู่การปฏิบัติมากน้อยเพียงใด 6 ระดับ คือ จากระดับ 0 คือ ไม่ได้นาไป
ปฏิบัติเลย ไปถึงการนาไปปฏิบัติในระดับ 1-2-3-4-5 ซึ่งระดับ 5 หมายถึงระดับการนาไปปฏิบัติมาก
ท่ีสุด 2) มีการกาหนดข้ันตอนการพัฒนาเป็นแบบนาแนวคิดของใครไปปฏิบัติโดยตรง หรือได้บูรณา
การแนวคดิ ของใครไปปฏิบตั ิบา้ ง มขี ้นั ตอนท่บี รู ณาการใหม่เปน็ อย่างไร และ 3) มคี วามเห็นจากครูใน
ลักษณะท่ีเป็นการสะท้อนผลจากการปฏิบัติ อะไรบ้าง ดังน้ี 1) โปรดระบุถึงปัจจัยท่ีส่งผลในทางบวก
ต่อการพัฒนาทักษะความเป็นทีมงานท่ีมีประสิทธิผลแกน่ กั เรียนของท่าน 2) โปรดระบุถึงปัญหาหรือ
อปุ สรรคตอ่ การปฏบิ ัติงานในครัง้ นข้ี องท่าน 3) โปรดระบวุ ธิ กี ารท่ีท่านนามาใช้ในการแกไ้ ขปัญหาหรือ
อุปสรรค 4) โปรดระบุ บทเรียนสาคัญที่ท่านได้รับจากการปฏิบัติงานในครั้งนี้ และ 5) โปรดระบุ
ข้อเสนอแนะแนวการพัฒนาทักษะความเป็นทีมงานที่มีประสิทธผิ ลนักเรียน ที่สาคัญท่ีท่านเห็นว่าจะ
ทาใหก้ ารพัฒนาทักษะน้ใี หเ้ กดิ ขน้ึ กับนักเรยี นอยา่ งไดผ้ ลดี

โปรดดูรายละเอียดของคู่มือประกอบใน 2 โครงการดังกล่าวจากท่ีนาเสนอไว้ในบทท่ี 6
ของงานวิจัยนี้ และดูได้จากเว็บไซต์ https://online.anyflip.com/okgwj/segl/mobile/ ดังภาพ

142
แสดงปกของคู่มือประกอบโครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือให้แก่
นักเรียนในภาพท่ี 4.2

ภาพที่ 4.2 แสดงปกของคู่มือประกอบโครงการครูนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความ
รว่ มมือให้แกน่ กั เรียน

4.2 ขั้นตอนที่ 2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือและการปรบั ปรุงแกไ้ ข

ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือท้ังสองโครงการ คือ (1) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับ
นิยามของทักษะความร่วมมือ (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับความสาคัญของทักษะความร่วมมือ
(3) คู่มอื เพอ่ื การเรียนรูเ้ กยี่ วกับลกั ษณะท่แี สดงถงึ ทักษะความรว่ มมือ (4) คมู่ ือเพือ่ การเรยี นรเู้ กี่ยวกับ
แนวการพัฒนาทักษะความร่วมมือ (5) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือ และ(6) คมู่ ือเพอ่ื การเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมนิ ทักษะความรว่ มมอื ในโครงการครูนาผลการ
เรียนรู้สู่การเสรมิ สรา้ งทักษะความร่วมมอื ให้แกน่ กั เรียน และ (1) คมู่ อื เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื พัฒนาผ้เู รียน
ในโครงการครนู าผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานกั เรยี น 2 ระยะ มดี ังน้ี

4.2.1 ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือและการปรบั ปรงุ แก้ไขระยะท่ี 1
การตรวจสอบภาคสนามเบ้ืองต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary Field Checking
and Revision) เปน็ การตรวจสอบคุณภาพของ “ค่มู ือ” ในโครงการทง้ั 2 โครงการ โดยการอภิปราย
กลุ่ม (Focused Group Discussion) โดย (1) ผ้วู ิจยั ใชเ้ วบ็ ไซต์ท่ีสรา้ งขึ้นสง่ คู่มอื ประกอบโครงการให้
กลุม่ เป้าหมาย คือ ครูในในโรงเรยี นประภสั สรวทิ ยา วดั ศรีนวล ขอนแก่น จานวน 10 ราย (ดูรายช่ือใน
ภาคผนวก ก) วันที่ 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ได้ศึกษาล่วงหน้า 10 วัน (2) ผู้วิจัยไปพบปะดว้ ย
ตัวเองกับกลุ่มเป้าหมาย (Face to Face) เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุง
แก้ไขในเบ้ืองต้นกอ่ นนาไปตรวจสอบและปรบั ปรุงคร้ังสาคัญในระยะที่ 2 ดงั ภาพประกอบ

143

ภาพที่ 4.3 การตรวจสอบคุณภาพของคู่มือและการปรับปรุงแก้ไข ณ โรงเรียนประภัสสรวิทยา
วัดศรีนวล ขอนแกน่

ในการตรวจสอบ มีประเด็นดังน้ี 1) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา โดย
คานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ 2) ขอ้ เสนอแนะ
เพ่ือการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนาเสนอ
4) อืน่ ๆ มีผลการตรวจสอบดงั น้ี

1. การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ มขี ้อเสนอแนะ ดังนี้

-เนือ้ หาบางสว่ นเมื่ออา่ นแล้วไม่สามารถเข้าใจความหมาย
-บางสานวนยงั เป็นภาษาทย่ี ังไม่มีการวเิ คราะหใ์ หเ้ ปน็ สานวนภาษาไทย
2. การปรบั ปรุงแก้ไขด้านภาษา มขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้
-ควรมีการเขียนภาษาอังกฤษกากบั ไว้ สาหรบั ศัพท์ภาษาอังกฤษท่ีเป็นศัพทเ์ ฉพาะ
-ควรมกี ารแตง่ สานวนการแปลภาษาให้สามารถอ่านแล้วเขา้ ใจได้
3. การปรบั ปรงุ แก้ไขดา้ นรูปแบบการนาเสนอ มีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้
-ควรมกี ารนาเสนอภาพประกอบในแตล่ ะเร่อื ง และควรมกี ารเนน้ คาขอ้ ความท่ีสาคญั
4. อื่น ๆ มีข้อเสนอแนะ ดังนี้
-ควรจะมีการสรปุ เนือ้ หามีความกะทดั รัด
จากข้อเสนอแนะการปรับปรุงผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ ของครูโรงเรียน
ประภัสสรวิทยา วัดศรีนวล ขอนแก่น ผู้วิจัยได้นาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงในคู่มือดังน้ี ด้านการ
ปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility)
ต่อการนาไปใช้ ผู้วิจัยได้ปรับปรุงในส่วนของเน้ือหาความถูกต้อง มีการเรียบเรียงเนื้อหาให้มีความ
กระชับและเน้นการเปน็ ประโยชน์ในการนาไปใช้มากยิ่งขน้ึ ดา้ นการปรบั ปรุงแก้ไขด้านภาษา ผวู้ จิ ยั ได้
มีการเรียบเรียงสานวนการแปลภาษาให้เข้าเข้าใจง่ายยิ่งข้ึน ด้านการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการ
นาเสนอ ผู้วิจยั ได้ปรบั ปรุงรปู แบบการนาเสนอใหน้ ่าสนใจ ใช้ภาพสัญลักษณ์ เพื่อดึงดดู ความสนใจและ
ปรับข้อความเนน้ คาใหอ้ า่ นได้ชดั เจนมากข้นึ ตรวจสอบการสะกดคา ทั้งน้ผี วู้ จิ ัยไดแ้ กไ้ ขตามคาแนะนา
ในคูม่ อื เรียบรอ้ ยแลว้ เพอ่ื นาไปตรวจสอบในระยะท่ี 2 ตอ่ ไป

4.2.2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือและการปรบั ปรงุ แกไ้ ขระยะที่ 2

144

การตรวจสอบภาคสนามครั้งสาคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field Testing And
Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ ภายหลังที่ผ่านการ
ตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขในระยะที่ 1 แล้ว ด้วยวิธีการอภิปรายกลุ่ม (Focused Group
Discussion) โดยวิธีการเช่นเดียวกับระยะท่ี 1 คือ (1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นส่งคู่มือประกอบ
โครงการให้กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูในในโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา วัดเขตอุดม จานวน 7 รูป/คน และ
โรงเรยี นวดั โพธสิ มภาร จานวน 8 รปู /คน (ดูรายชอ่ื ในภาคผนวก ค) ในวนั ที่ 19 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ.
2564 ถึงวันท่ี 29 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 รวมจานวน 15 ราย ได้ศึกษาล่วงหน้า 10 วัน
(2) ผู้วิจัยไปพบปะด้วยตัวเองกับกลุ่มเป้าหมาย (Face to Face) ในการอภิปรายกลุ่มเพ่ือตรวจสอบ
คุณภาพของคู่มือ เพ่ือให้ได้ข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงแก้ไขในเบ้ืองต้นก่อน
นาไปใช้กับกลุม่ ทดลองในภาคสนาม ซง่ึ ในการตรวจสอบ มีประเดน็ การตรวจสอบเช่นเดียวกับระยะท่ี
1 คือ 1) ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงแกไ้ ขด้านเนือ้ หา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และ
ความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ 2) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา
3) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนาเสนอ 4) อื่น ๆ โดยใช้แบบตรวจสอบชุด
เดียวกบั ชุดท่ีใช้ในระยะท่ี 1 ผลการตรวจสอบในแต่ละประเด็น มขี อ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะเพื่อการ
ปรับปรงุ และแก้ไขในแต่ละดา้ น ดงั นี้

1. การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนาไปใช้ มขี อ้ เสนอแนะ ดงั นี้

- เน้ือหาในคู่มือบางส่วนยังไม่สามารถอ่านให้เข้าใจได้ ควรปรับข้อมูลให้มีความชัดเจน
และมปี ระโยชน์ต่อการนาไปใช้

2. การปรบั ปรุงแก้ไขดา้ นภาษา มขี ้อเสนอแนะ ดงั น้ี
- เน้ือหาจากนักวิชาการต่างประเทศมาแปลเป็นภาษาไทย ยังทาให้การเรียงร้อยถอย
ความหมายไม่ไดเ้ ท่าไร และควรตรวจสอบคาทตี่ กหล่นใหถ้ กู ต้อง
3. การปรับปรงุ แก้ไขดา้ นรูปแบบการนาเสนอ มขี อ้ เสนอแนะ ดงั น้ี
- ควรมีลูกเล่น สีสัน และรูปภาพ หรือทาเป็นภาพการ์ตูนเล่าเรื่องแต่ละประเด็น แต่ละ
เรอื่ ง จะทาให้เขา้ ใจมากยง่ิ ขนึ้ และน่าสนใจทจ่ี ะนาไปศกึ ษา
4. อื่น ๆ มีขอ้ เสนอแนะ-ควรทาเป็นคู่มือแบบ E-book

145

ภาพท่ี 4.4 การตรวจสอบคณุ ภาพของคมู่ ือ ณ โรงเรียนบาลสี าธิตศึกษา วัดเขตอดุ ม

ภาพที่ 4.5 การตรวจสอบคณุ ภาพของคมู่ ือ ณ โรงเรยี นวัดโพธิสมภาร
จากข้อเสนอแนะการปรับปรุงผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ ของครูในโรงเรียนบาลี

สาธิตศึกษา วดั เขตอุดม และ โรงเรยี นวดั โพธิสมภาร ผูว้ จิ ยั ได้นาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงในคู่มือดังนี้
ด้านการปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์

146

(Utility) ต่อการนาไปใช้ ผู้จิวัยได้ปรับปรุงในส่วนของเนือ้ หาความถูกต้อง มีการตรวจสอบเนื้อหาใน
คู่มือบางส่วนว่าข้อมูลที่นามาใช้การนาเสนอข้อมูลน้ันมีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ ด้านการปรับปรุง
แก้ไขด้านภาษา ผู้วิจัยไดม้ กี ารปรบั ปรุงสานวนภาษาแปล และเรยี บเรยี งข้อความใหอ้ า่ นเขา้ ใจง่ายและ
กระชับมากขึ้น และตรวจสอบคาใหถ้ ูกต้อง ด้านการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนาเสนอ ผู้วิจัยได้
ตกแตง่ รปู ภาพ สสี ัน ปกค่มู อื ให้ดงึ ดูดและน่าสนใจ และทาเปน็ ค่มู ือแบบ E-book เพือ่ ความสะดวกใน
การนาไปใช้ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้แก้ไขตามคาแนะนาในคู่มือเรียบร้อยแล้ว เพื่อนาไปใช้ตรวจสอบคุณภาพ
ของเคร่อื งมือกับกลมุ่ ทดลองต่อไป

4.3 ข้นั ตอนท่ี 3 ผลการสรา้ งเครือ่ งมือเพ่ือการทดลองในภาคสนาม

ผลจากการดาเนินการตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการท้ัง 2 โครงการ จาก
ข้ันตอนท่ี 2 ทาให้ได้โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือ
ของนักเรียน ท่ีมีความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนาไปใช้ แต่
อย่างไรก็ตาม ในขั้นตอนการทดลองใช้คู่มือในภาคสนามกับกลุ่มเป้าหมายนั้น (ข้ันตอนท่ี 4) ต้องมี
เครื่องมอื เพอ่ื ใชใ้ นการประเมินประสิทธิภาพของการใช้คูม่ ือในโครงการทัง้ สอง ดังนั้นผวู้ จิ ัยจึงได้สร้าง
เคร่อื งมอื ขน้ึ เพ่อื ใช้ในข้ันตอนการทดลองในภาคสนาม ดงั นี้

4.3.1 ผลการสร้างเครื่องมอื
4.3.1.1 แบบทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครู ผูว้ ิจยั สร้างขนึ้ มีลกั ษณะเป็นแบบปรนยั มี

4 ตัวเลือก มีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้ทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการวิจัยใน
ภาคสนามตามโครงการท่ี 1 ว่ามีผลการเรียนรู้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรือไม่ และมีผล
การเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติหรือไม่ โดยข้อสอบใน
แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่ใช้ในงานวิจัยน้ี มุ่งการวัด 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ในเน้ือหา
เกี่ยวกบั 1) นยิ าม 2) ความสาคัญ 3) ลักษณะ 4) แนวการพัฒนา 5) ขน้ั ตอนการพฒั นา และ 6) การ
ประเมินทักษะความร่วมมือ โดยแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อวัดทักษะการคิดข้ันต่า
กว่าไปหาทกั ษะการคิดข้นั สูงกวา่ คือ ความจา (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การ
ประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์
(Creating) รวมข้อสอบทั้งฉบับ 36 ข้อ (ดเู คร่อื งมอื ในภาคผนวก ซ)

4.3.1.2 แบบประเมินทักษะความร่วมมือของนักเรียน ผู้วิจัยสร้างข้ึน มีลักษณะเปน็
แบบประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด ผู้วิจัย
สร้างข้ึนจากผลการศึกษาลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะความร่วมมือจากทัศนะของ Sampson (2010),
Goman (2017), Samdahl (2017), Cran (2017), Meinert (2017) และจากผลการศึกษาแนวคิด
การทักษะความร่วมมือ จากทัศนะ Weaver (2018) Kellerman (2007) และ Archibald,
Trumpower & MacDonald (2014) เป็นแบบประเมนิ ออนไลนด์ ้วย Google Form (ดูเครื่องมือใน
ภาคผนวก ฐ)

4.3.2 ผลการตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมอื
4.3.2.1 ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู

แบบทดสอบมีลักษณะเป็นแบบปรนัย มี 4 ตัวเลือก เป็นข้อสอบออนไลน์พร้อมตรวจคาตอบด้วย
Google Form มีจุดมุ่งหมายเพ่ือใช้ทดสอบความรู้ของครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มทดลอง “ก่อนและหลัง”

147

การวิจัยในภาคสนามตามโครงการที่ 1 ว่ากลุ่มทดลองมีความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรือไม่
และมีผลสัมฤทธิก์ ารเรียนร้หู ลังการพัฒนาสงู กวา่ ก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิตหิ รือไม่ โดย
มีการนาไปตรวจสอบความมคี ุณภาพของแบบทดสอบดงั น้ี

1) การตรวจสอบความตรงเชงิ เน้อื หา (Content Validity)
ดังกล่าวในบทที่ 3 ว่า เพื่อให้ได้เครื่องมือวัดได้ตรงกับสิ่งท่ีต้องการวัดหรือตรงกับ
วัตถุประสงค์ที่ต้องการวัด (Polit & Beck, 2012) ตามทัศนะของ Chaichanawirote and Vantum
(2017) ทาได้โดยการพิจารณาความสอดคลองของขอคาถามกบั นิยามเชิงปฏบิ ัตกิ ารและทฤษฎีของส่ิง
ท่ีต้องการวัด โดยผู้วิจัยนาเคร่ืองมือวิจัยที่ร่างไว้ให้ผู้เช่ียวชาญที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดท่ีต้องการวัด
จานวน 3-5 คน พิจารณาวา่ ข้อคาถามมีความสอดคล้องกบั นิยามเชงิ ปฏิบัตกิ ารหรือไม่และใหคะแนน
ตามวิธีการคานวณค่าความตรงซึ่งมีหลายวธิ ี เช่น ดัชนีความสอดคลองของขอ้ คาถามกับวัตถุประสงค
(IOC: Indexes of Item-Objective Congruence) ดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI: Content
Validity Index) ดัชนีความตรงตามเนื้อหาท้ังฉบับ (S-CVI: Content Validity Index for Scale)
และค่าเฉล่ียของสัดส่วนความสอดคล้อง (ACP: Average Congruency Percentage) ในงานวิจัยน้ี
ผู้วิจัยใช้ดัชนีความสอดคลองของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ (IOC: Indexes of Item-Objective
Congruence) ซึ่งจากการศึกษา พบว่า พัฒนาข้นึ โดย Rovinelli and Hambleton (1977) เป็นการ
ประเมินความสอดคล้องระหว่าง 1 ข้อคาถามกับ 1 วัตถุประสงค์ แต่ในระยะต่อมา Carlson (2000
cited in Turner & Carlson, 2003) ได้พัฒนาแนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถาม
และวัตถุประสงค์ที่ปรบั ใหม่ (The adjusted Index of Item-Objective Congruence) เป็นการหา
ความสอดคล้องของ 1 ข้อคาถามกับชุดของวตั ถปุ ระสงค์
ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามกับ
วัตถปุ ระสงค์ตามทัศนะของ Rovinelli and Hambleton เพราะขอ้ สอบในแบบทดสอบผลการเรียนรู้
ของครูทใ่ี ช้ในงานวิจัยนี้ มุ่งการวดั วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ในเนื้อหาเกี่ยวกับ 1) นิยาม 2) ความสาคัญ
3) ลกั ษณะ 4) แนวการพัฒนา 5) ข้ันตอนการพัฒนา และ 6) การประเมนิ ทกั ษะความรว่ มมอื โดยแต่
ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้วัดทักษะการคิดขั้นต่ากว่าไปหาทักษะการคิดข้ันสูงกว่า คือ ความจา
(Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) โดยในการตรวจสอบความ
สอดคล้องของขอ้ สอบกบั วัตถุประสงค์การเรียนรูใ้ นแต่ละเน้ือหาจากแบบทดสอบซง่ึ มี 6 วตั ถปุ ระสงค์
การเรียนรู้ แตล่ ะวัตถุประสงค์การเรยี นรมู้ ีขอ้ สอบ 6 ข้อ รวมขอ้ สอบทั้งฉบับ 36 ขอ้ ใชผ้ ทู้ รงคุณวุฒิท่ี
มีความเชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน และ/หรือ การวัดและประเมินผลการศึกษา จานวน 5
ราย (ดูรายชื่อในภาคผนวก ฉ) โดยให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1
หมายถึง ข้อคาถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง และ -1 หมายถึง ข้อ
คาถามไม่มีความสอดคล้อง ผลท่ีได้รับจากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญ นามาวิเคราะห์หาค่า IOC
ตามสูตรที่กาหนดในบทท่ี 3 โดยกาหนดเกณฑค์ ่า IOC ท่ีระดับเท่ากับหรือมากกวา่ 0.50 จึงจะถือวา่
ข้อคาถามน้ันมีความสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017) ดังมีผลการ
ตรวจสอบของผู้เชย่ี วชาญแสดงในตารางที่ 4.1

148

ตารางท่ี 4.1 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของขอ้ สอบกบั วัตถุประสงค์การเรียนรู้ในแบบทดสอบ
ผลการเรยี นร้ขู องครู

ขอ้ ผลการใหค้ ะแนนของผู้เช่ียวชาญ ค่าดัชนีความ ผลการ
1 2345 สอดคล้อง (IOC) ประเมิน

ค่มู อื ชุดท่ี 1 คู่มือเพอ่ื การเรยี นรเู้ กย่ี วกับนิยามของทักษะความร่วมมอื ใชได้
ใชได้
1 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
2 +1 +1 +1 +1 0 0.8 ใชได้
ใชได้
3 +1 +1 +1 +1 +1 1
ใชได้
4 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
5 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
6 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใชได้

คูม่ ือชุดที่ 2 คู่มือเพ่อื การเรียนร้เู กย่ี วกบั ความสาคัญของทักษะความร่วมมือ ใชได้
ใชได้
7 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
9 +1 +1 +1 +1 0 0.8
ใชได้
10 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
11 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
12 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใชได้

คู่มอื ชดุ ท่ี 3 คู่มือเพื่อการเรยี นรู้เกย่ี วกบั ลกั ษณะของทักษะความร่วมมอื ใชได้
ใชได้
13 +1 +1 +1 +1 +1 1

14 +1 +1 +1 +1 +1 1

15 +1 +1 +1 +1 +1 1

16 +1 +1 +1 +1 +1 1

17 +1 +1 +1 +1 +1 1

18 +1 0 +1 +1 +1 0.8

ค่มู ือชุดท่ี 4 คู่มอื เพ่ือการเรียนรเู้ กี่ยวกับแนวการพฒั นาทกั ษะความร่วมมือ

19 +1 +1 +1 +1 +1 1

20 +1 +1 0 +1 +1 0.8

21 +1 +1 +1 +1 0 0.8

22 +1 +1 +1 +1 +1 1

23 +1 +1 +1 +1 +1 1

24 +1 0 +1 +1 +1 0.8

คู่มอื ชดุ ที่ 5 คู่มือเพอ่ื การเรียนรเู้ ก่ียวกับขั้นตอนการพัฒนาทกั ษะความรว่ มมือ

25 +1 +1 +1 +1 +1 1

26 +1 +1 +1 +1 +1 1

149

ตารางท่ี 4.1 (ต่อ)

ขอ้ ผลการใหค้ ะแนนของผู้เชย่ี วชาญ ค่าดัชนีความ ผลการ
1 2345 สอดคลอ้ ง (IOC) ประเมนิ
ใชได้
27 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
28 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้

29 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
30 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
คมู่ ือชดุ ที่ 6 คู่มือเพือ่ การเรยี นรเู้ ก่ียวกับการประเมินทักษะความรว่ มมือ ใชได้
ใชได้
31 +1 +1 +1 +1 +1 1

32 +1 +1 +1 +1 +1 1

33 +1 +1 +1 +1 +1 1

34 +1 +1 +1 +1 +1 1

35 +1 +1 +1 +1 +1 1

36 +1 0 +1 +1 +1 0.8

จากตารางที่ 4.1 เห็นได้ว่าผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกับวัตถุประสงค์
การเรียนรู้ในแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู พบว่า แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูซ่ึงมี 6
วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ แต่ละวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรมู้ ีขอ้ สอบ 6 ขอ้ รวมขอ้ สอบทง้ั ฉบบั 36 ข้อ มีคา่
IOC สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 0.50 ทุกข้อ โดยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60 ถึง 1.00 แสดงว่า
แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของครทู ่ีใชใ้ นงานวจิ ัยนี้มีความตรงเชงิ เนอ้ื หา (Content Validity) สามารถ
นาไปใช้ได้ตรงกับวัตถุประสงคท์ ี่ต้องการวัดได้

2) การตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบรายข้อและแบบทดสอบ โดยนา
แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูไปทดลองใช้ (Try-out) กับครูในโรงเรียนพระธาตุวิทยา, โรงเรียน
พระปริยัติธรรมวัดบ้านบอน, และในโรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดอัมพวัน รวมจานวน 30 ราย เพ่ือ
วเิ คราะห์หาค่าความยากงา่ ย การกระจาย ความเช่อื ม่นั ค่าอานาจจาแนกรายขอ้ และค่าสมั ประสิทธ์ิ
ความเช่ือม่ันด้วยวิธีการของ Kuder-Richardson ในแบบทดสอบ คะแนนจากผลการทดลองใช้
แบบทดสอบดงั กลา่ ว ดังแสดงในตารางที่ 4.2

ตารางท่ี 4.2 คะแนนจากการทดลองใช้ (Try-Out) แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของค
ความเชือ่ มน่ั ค่าอานาจจาแนกรายข้อ และคา่ สมั ประสทิ ธค์ิ วามเช่อื ม่ันด

วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรนู้ ยิ าม วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
ความสาคญั ลักษณะ/คณุ ลักษณะ
คน วัด 6 ระดับ ความจาถึง
ที่ สรา้ งสรรค์ วัด 6 ระดับ ความจาถงึ วดั 6 ระดบั ความจาถงึ
สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์

1 23456123456123456
1 1 11111011101111111
2 1 11111111101111011
3 1 11111111111111111
4 1 11111111101111011
5 1 11111101101010110
6 1 11011111001111011
7 0 11101110010101111
8 0 11101110110101111
9 0 11101110110101111
10 1 0 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 0 1 0 1 0 0
11 0 1 1 1 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 1 1 1
12 0 1 1 1 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 1 1 1
13 1 0 0 1 1 0 0 0 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1
14 0 1 1 1 0 1 0 1 0 0 1 0 1 0 1 0 1 1
15 0 1 1 1 0 1 0 1 0 0 1 0 1 0 1 0 1 1
16 0 1 1 1 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 0 1 1
17 0 1 1 0 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 1 1 1
18 0 1 1 0 0 1 0 1 0 0 1 0 1 0 1 0 1 1
19 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 1 1 0
20 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0
21 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0

150

ครูกับครูที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจานวน 30 ราย เพื่อวิเคราะห์ความยากง่าย การกระจาย
ด้วยวธิ ีการของ Kuder-Richardson

วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้แนว วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้
การพัฒนา ขน้ั ตอนการพฒั นา
การประเมนิ ผล รวม
วดั 6 ระดบั ความจาถงึ วดั 6 ระดับ ความจาถงึ วดั 6 ระดบั ความจาถึง
สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์
สร้างสรรค์
123456 123456
111111 111111 123456
110111 111111 1 1 1 1 1 0 33
111101 011010 1 1 1 1 1 1 33
110111 111111 1 1 1 1 1 1 32
111011 111111 1 0 1 1 1 1 32
111101 101110 1 1 1 1 1 1 30
111111 001001 1 0 0 1 1 1 27
000111 011001 1 1 1 0 1 1 25
000111 011001 1 1 1 0 1 1 24
110010 110111 1 1 1 0 1 1 24
111111 001001 0 1 1 1 0 1 22
111111 001001 1 1 1 0 1 0 22
111110 011001 1 1 1 0 1 0 22
011111 000001 0 1 1 1 0 0 21
000111 001001 1 1 1 0 1 0 20
000111 001001 1 1 1 0 1 0 19
000101 001000 1 1 1 0 1 0 18
000101 001000 1 0 0 0 1 0 14
011010 000001 1 0 0 0 1 0 14
100010 100111 0 1 1 0 0 1 12
100010 100111 0 1 1 0 0 0 10
0 1 1 0 0 0 10

ตารางท่ี 4.2 (ต่อ)

วัตถุประสงคก์ ารเรียนร้นู ยิ าม วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
ความสาคญั ลักษณะ/คณุ ลกั ษณะ
คน วัด 6 ระดบั ความจาถึง
ท่ี สร้างสรรค์ วดั 6 ระดับ ความจาถงึ วัด 6 ระดบั ความจาถึง
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์

1 23456123456123456

22 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0

23 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 1 0 0

24 1 0 0 0 1 0 0 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0 0
25 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0

26 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0

27 1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 1 0 0 1 0

28 1 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 1 0 0 1 0

29 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 1 1 0

30 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 0

รวม 11 16 16 22 11 16 13 15 11 10 11 9 15 11 16 18 22 16

เก่ง 8 13 13 14 8 13 9 12 8 9 7 7 12 8 13 10 14 13
อ่อน 3 3 3 8 3 3 4 3 3 1 4 2 3 3 3 8 8 3

p 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

37 53 53 73 37 53 43 50 37 33 37 30 50 37 53 60 73 53

r 0 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

.33 67 67 40 33 67 33 60 33 53 20 33 60 33 67 13 40 67

N (จานวนกลมุ่ ตัวอย่าง) =30, n (จานวนข้อสอบ) = 36 ขอ้ = 17.73 S.D = 9.17 S2 = 81.26 KR - 2
หมายเหตุ เลข 1 หมายถึงทาถกู , เลข 0 หมายถงึ ทาผดิ

151

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้แนว วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ รวม
การพฒั นา ข้ันตอนการพัฒนา การประเมินผล

วัด 6 ระดบั ความจาถงึ วดั 6 ระดับ ความจาถึง วัด 6 ระดบั ความจาถึง
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์

123456123456123456

0 1 1 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 09
0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 19
0 0 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 1 0 08
0 1 1 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 08
0 1 1 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 08
0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 07
0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 07
0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 0 0 0 0 0 0 17
1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 15

6 14 17 15 16 21 16 9 10 16 9 10 21 16 21 22 11 16 13

3 11 12 9 13 13 13 6 9 13 6 7 13 13 13 14 8 13 9
356383313338388334

0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

3 47 57 50 53 70 53 30 33 53 30 33 70 53 70 73 37 53 43

0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.
7 53 47 20 67 33 67 20 53 67 20 27 33 67 33 40 33 67 33

20 =0.923

152

คะแนนจากการทดลองใช้ (Try-Out) แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูกับครูท่ีเป็นกลุ่ม
ตัวอย่างจานวน 30 ราย ได้นามาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย การกระจาย ความเช่ือมั่น ค่าอานาจ
จาแนกรายขอ้ และค่าสัมประสทิ ธ์ิความเชอื่ ม่ันดว้ ยวธิ กี ารของ Kuder-Richardson ต่อไปน้ีตามลาดับ

- คณุ ภาพของข้อสอบรายข้อ การพจิ ารณาคณุ ภาพของข้อสอบรายขอ้ ใช้เกณฑ์ความยาก
ง่ายของข้อสอบ (p) และค่าอานาจจาแนก (r) ร่วมกัน ซึ่งคาอธิบายถึงความหมายของความยากง่าย
ของขอ้ สอบ (p) และคา่ อานาจจาแนก (r) รวมทัง้ สูตรในการคานวณได้กล่าวไว้ในบทท่ี 3 มีเกณฑก์ าร
พิจารณาคา่ ความยากง่าย (p) และคา่ อานาจจาแนก (r) ของขอ้ สอบ ดงั แสดงในตาราง 4.3 และตาราง

ท่ี 4.4 ตามลาดับ ดงั น้ี

ตารางท่ี 4.3 เกณฑก์ ารพิจารณาค่าความยากง่าย (p) ของขอ้ สอบ

ความยากง่าย (p) แปลความ การพจิ ารณา

0.00-0.19 ยากมาก ควรปรับปรุงหรือตัดทิ้ง
0.20-0.39 คอ่ นข้างยาก พอใช้ได้
0.40-0.60 ยากงา่ ยปานกลาง ใช้ได้
0.61-0.80 คอ่ นขา้ งงา่ ย พอใช้ได้
0.81-1.00 งา่ ยมาก ควรปรบั ปรงุ หรือตดั ทงิ้

ตารางที่ 4.4 เกณฑ์การพิจารณาคา่ อานาจจาแนก ( r ) ของข้อสอบ

อานาจจาแนก (r) การพจิ ารณา

0.60-1.00 อานาจจาแนกดีมาก
0.40-0.59 อานาจจาแนกดี
0.20-0.39 อานาจจาแนกพอใช้
0.10-0.19 อานาจจาแนกตา่ (ควรปรับปรงุ หรอื ตัดทง้ิ )

-1.00-0.09 อานาจจาแนกตา่ มาก (ควรปรับปรงุ หรือตดั ท้ิง)

จากเกณฑ์ค่าความยากของข้อสอบ (p) ในตารางที่ 4.3 พิจารณาว่า ข้อสอบท่ีมีค่าความ
ยากง่าย (p) ระหว่าง 0.20-0.80 เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ และจากเกณฑ์ค่าอานาจจาแนก (r) ในตารางท่ี
4.4 พิจารณาว่าข้อสอบท่ีมีค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.20-1.00 เป็นข้อสอบท่ีใช้ได้ ซ่ึงจากการ
ตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบรายข้อในงานวิจัยนี้ ผลการหาค่าความยากง่าย (p) และค่าอานาจ

จาแนก (r) พบว่าข้อสอบมคี ุณภาพท่ีได้ใชท้ ง้ั 36 ขอ้ ดงั แสดงในตารางที่ 4.5

153

ตารางท่ี 4.5 แสดงค่าความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก (r) และผลการพิจารณาคุณภาพของ
ข้อสอบรายข้อ

ขอ้ สอบ คา่ ความยากงา่ ย (p) ค่าอานาจจาแนก (r) ผลการพิจารณาขอ้ สอบ

ข้อ 1 0.37 0.33 ใชไ้ ด้

ข้อ 2 0.53 0.67 ใช้ได้
ข้อ 3 0.53 0.67 ใช้ได้
ขอ้ 4 0.73 0.40 ใช้ได้
ขอ้ 5 0.37 0.33 ใช้ได้
ข้อ 6 0.53 0.67 ใช้ได้
ขอ้ 7 0.43 0.33 ใช้ได้
ขอ้ 8 0.50 0.60 ใชไ้ ด้
ขอ้ 9 0.37 0.33 ใช้ได้
ขอ้ 10 0.33 0.53 ใช้ได้
ขอ้ 11 0.37 0.20 ใช้ได้
ขอ้ 12 0.30 0.33 ใชไ้ ด้
ขอ้ 13 0.50 0.60 ใช้ได้

ขอ้ 14 0.37 0.33 ใช้ได้
ขอ้ 15 0.53 0.67 ใช้ได้
ขอ้ 16 0.60 0.13 ใชไ้ ด้
ขอ้ 17 0.73 0.40 ใชไ้ ด้
ขอ้ 18 0.53 0.67 ใชไ้ ด้
ข้อ 19 0.47 0.53 ใชไ้ ด้
ข้อ 20 0.57 0.47 ใชไ้ ด้
ข้อ 21 0.50 0.20 ใชไ้ ด้
ข้อ 22 0.53 0.67 ใชไ้ ด้
ข้อ 23 0.70 0.33 ใชไ้ ด้
ขอ้ 24 0.53 0.67 ใชไ้ ด้
ขอ้ 25 0.30 0.20 ใช้ได้

ข้อ 26 0.33 0.53 ใช้ได้
ข้อ 27 0.53 0.67 ใช้ได้
ข้อ 28 0.30 0.20 ใชไ้ ด้
ข้อ 29 0.33 0.27 ใช้ได้
ขอ้ 30 0.70 0.33 ใช้ได้
ข้อ 31 0.53 0.67 ใช้ได้
ข้อ 32 0.70 0.33 ใช้ได้

154

ตารางที่ 4.5 (ตอ่ )

ขอ้ สอบ คา่ ความยากงา่ ย (p) คา่ อานาจจาแนก (r) ผลการพจิ ารณาข้อสอบ

ขอ้ 33 0.73 0.40 ใช้ได้
ข้อ 34 0.37 0.33 ใชไ้ ด้
ข้อ 35 0.53 0.67 ใช้ได้
ข้อ 36 0.43 0.33 ใช้ได้

-ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ใช้วิธีของ Kuder-Richardson ในการวิเคราะห์
ข้อมูล เน่อื งจากเปน็ แบบทดสอบแบบปรนยั มีการใหค้ ะแนนแต่ละขอ้ เป็นแบบ 0, 1 คือตอบถกู ให้ 1
คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน และมีการวดั หรือการสอบเพียงครั้งเดยี ว รวมท้ังมีการวเิ คราะห์หาคา่
ความยากรายข้อไวแ้ ล้ว โดยใช้สูตร KR-20 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังแสดงในตารางท่ี 4.2 พบว่า ค่า
สัมประสทิ ธ์ขิ อง KR-20 มีค่าเทา่ กับ 0.923 ซึง่ มีค่าสงู กว่าเกณฑ์ทกี่ าหนด คือ เทา่ กับหรอื สงู กว่า 0.70
จึงแสดงว่าแบบทดสอบน้มี ีคุณภาพสามารถนาไปใช้ไดอ้ ยา่ งมีความเช่อื ม่นั

-ความยากง่ายของแบบทดสอบ ใช้คะแนนเฉลยี่ ของกลมุ่ ตัวอยา่ งทัง้ หมดเปน็ เกณฑ์ หาก
คะแนนเฉลี่ยอย่รู ะหว่างรอ้ ยละ 30-50 ของคะแนนเต็ม ถอื วา่ เป็นแบบทดสอบที่มีความยากเหมาะสม
หากคะแนนเฉลี่ยตา่ กว่า 30 เท่าใด ถือว่าเป็นแบบทดสอบท่ียากขึ้นเท่านน้ั และหากคะแนนเฉลี่ยสูง
กว่า 50 เทา่ ใด ถอื วา่ เปน็ แบบทดสอบทงี่ า่ ยข้นึ เท่านั้น ซง่ึ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงในตารางที่ 4.2
พบวา่ คะแนนเฉล่ยี ของกลุ่มตัวอย่างทง้ั หมดเท่ากับ 17.73 คิดเป็นร้อยละ 49.25 ของคะแนนเตม็ ซงึ่
แสดงวา่ แบบทดสอบท้ังฉบับมคี ่าความยากง่ายอยู่ในระดับเหมาะสม

4.3.2.2 ผลการตรวจสอบคณุ ภาพของแบบประเมินทักษะความรว่ มมือของนกั เรยี น
แบบประเมินมีลักษณะเป็นแบบประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง
น้อย และน้อยท่ีสุด ผู้วิจัยสร้างขน้ึ จากผลการศึกษาลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะความรว่ มมือ จากทัศนะ
ของ Sampson (2010), Goman (2017), Samdahl (2017), Cran (2017), Meinert (2017) และ
จากผลการศึกษาแบบแนวคิดการประเมินทักษะความร่วมมือ จากทัศนะของ Weaver (2018)
Kellerman (2007) และ Archibald, Trumpower & MacDonald (2014) เป็นแบบประเมิน
ออนไลนด์ ้วย Google Form มีผลการตรวจสอบคุณภาพ ดังนี้

1) ผลการตรวจสอบความตรงเชิงเนอ้ื หา (Content Validity)
โดยใช้แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ตาม
ทัศนะของ Rovinelli and Hambletonเพราะแบบประเมินทักษะความร่วมมือ ของนักเรียนที่ใช้ใน
งานวิจัยน้ี มุ่งหาความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกับวตั ถุประสงค์การพฒั นาทักษะความรว่ มมอื ในแต่ละ
ด้าน คือ 1) ดา้ นการมีวสิ ัยทัศน์และการลงมอื ทา (Visionary and Action) มีข้อคาถาม 5 ข้อ 2) ดา้ น

การสร้างความเชื่อมั่น (Building Trust) ข้อคาถาม 6 ข้อ 3) ด้านการแบ่งปันพลังและสร้างแรงจูงใจ
(Sharing Power and Influence) ข้อคาถาม 6 ข้อ 4) ด้านการสร้างความสัมพันธ์ (Building
Relationships) ขอ้ คาถาม 6 ข้อ 5) ดา้ นการสะทอ้ นตนเอง (Self-Reflection) ขอ้ คาถาม 6 ข้อ และ
6) ด้านการตัดสินใจ (Decision-making ข้อคาถาม 6 ข้อ รวมท้ังฉบับมีข้อคาถาม 35 ข้อ ท้ังน้ี

155

วัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะความร่วมมือ มีนิยามศัพท์เฉพาะที่เป็นผลจากการศึกษาวรรณกรรมท่ี
เกี่ยวข้องท่ีแสดงให้เห็นถึงวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะความร่วมมือ โดยภาพรวมและรายด้าน
ดงั น้ี

-ทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) หมายถงึ หมายถึง การทางานกับคนอ่ืนซง่ึ
เป็นการจัดการแบบมีส่วนร่วมซ่ึงท้ังสองฝ่ายหรือมากกว่านั้น ต้องใช้การผสมผสานระหว่างมนุษย
สัมพันธ์ การแกป้ ัญหาและทักษะการส่ือสาร เพื่อสร้างบางส่งิ บางอย่าง คือ พฤติกรรมท่ีชว่ ยคนสองคน
หรือมากกว่านั้นให้ทางานด้วยกันและทาหน้าท่ีได้ดีในกระบวนงานน้ัน ๆ เพ่ือเช่ือมประสานกันเป็น
ส่ิงจาเป็นไม่ว่าในท่ีทางานใด ๆ ช่วยให้บุคลากรสามารถประสานงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล
การทางานร่วมกันเพื่อความสาเร็จต้องอาศัยจิตวิญญาณความร่วมมือและการเคารพซ่ึงกันและกัน
เพอ่ื บรรลุเปา้ หมายรว่ มกนั

-ด้านการมีวิสัยทัศน์และการลงมือทา (Visionary and Action) หมายถึง การส่งเสรมิ
กระบวนการท่ีมีประสิทธิภาพในการค้นหาแรงบันดาลใจจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งเสริมการ
พัฒนาวิสัยทัศน์ร่วมกัน ซ่ึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคนมีส่วนในการกาหนดวิสัยทัศน์น้ี สร้างกรอบการ
ทางานโดยใชก้ ารคิดอย่างเป็นระบบ สง่ เสรมิ การสร้างทีมผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียในการชว่ ยกันพฒั นาแผน
กลยุทธ์การปฏิบัติงาน และส่งเสริมความหลากหลาย และสร้างแผนปฏิบัติงานด้วยการกาหนด
ชว่ งเวลาและหนา้ ที่ทไ่ี ด้รับมอบหมายเพอ่ื ให้เปน็ ไปตามวิสยั ทศั น์

-ดา้ นการสร้างความเช่ือมนั่ (Building Trust) หมายถึง การ “พดู จรงิ ทาจรงิ ” ทาในส่ิง
ทพ่ี ูด ปกป้องกลุ่มจากผทู้ ี่เอาเปรยี บผอู้ นื่ ในการทางานร่วมกนั สร้างกระบวนการท่มี ีความนา่ เช่ือถือใน
การทางานรว่ มกนั เชื่อว่าความร่วมมือเกิดข้ึนจากบุคคลและองค์กรจากหลายภาคส่วน มีความรู้และ
ทักษะท่ีจาเป็นในการทางาน สามารถดึงดูดผู้อ่ืนให้ทางานร่วมกับฉัน และเชื่อม่ันว่าความเชื่อถือคือ
หลกั พน้ื ฐานในการรว่ มงานกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

-ดา้ นการแบง่ ปันพลังและสร้างแรงจูงใจ (Sharing Power and Influence) หมายถึง
การใช้พลังอยา่ งมคี วามรับผิดชอบ แบง่ ปนั พลังเพอ่ื เพิ่มพลงั และการแบ่งปนั ความรู้ แบ่งปันพลังให้แก่
ผู้อื่นเมื่อทาได้ เมื่อฝึกฝนภาวะผู้นามักจะพ่ึงพาการแก้ปัญหาให้กับเพื่อน แสดงออกถึงความม่ันใจให้
ผู้อื่นได้เห็น และผู้ท่ีทางานร่วมกันในแต่ละกลุ่มมีระดับความรู้ ทักษะ และอานาจในการตัดสินใจที่
เหมาะสม

-ด้านการสร้างความสัมพันธ์ (Building Relationships) หมายถึง การเชื่อว่าการสร้าง
ความเช่ือมน่ั ในองค์กรและการให้ความเชอื่ ม่นั ตอ้ งใช้เวลา เชอื่ ว่าคนท่ีเข้ารว่ มกนั ทางานมีความเคารพ
อย่างสงู ซงึ่ กันและกนั มคี วามม่งุ ม่ันที่จะสรา้ งความรู้สึกทว่ี า่ บุคคลทีเ่ ข้ารว่ มมีความเปน็ เจา้ ขององค์กร
รว่ มกนั มกี ารเปิดการสนทนา และมุมมองทีแ่ ตกต่างกนั เปน็ สงิ่ ท่เี ราใหค้ วามสาคัญ เชอ่ื ว่าความขดั แย้ง
เป็นเรือ่ งทย่ี อมรบั ได้ โดยการทาใหค้ วามขดั แยง้ เปน็ แหลง่ สร้างนวัตกรรม และมีการจดั การความคิดท่ี
แตกตา่ งไดอ้ ย่างดี ด้วยวิธีการทเ่ี อื้อตอ่ การมสี ่วนรว่ มของทกุ คน

-ด้านการสะท้อนตนเอง (Self-Reflection) หมายถึง การรับรู้ถึงผลกระทบของอารมณ์
ต่อการทางาน และการสร้าง “ความปลอดภัยทางจิตใจ” สามารถบอกจุดแข็ง จุดอ่อนของตัวเองได้
ทางานเพ่อื เขา้ ใจมุมมองของผูอ้ ืน่ เข้าใจการเปลีย่ นแปลงภายในกลุ่ม สร้างสภาพแวดล้อมทปี่ ลอดภัย
เพ่อื การส่อื สารอย่างเปดิ เผย และใชเ้ วลาในการสะท้อนตนเองและการปรบั ปรงุ แนวทางปฏบิ ัติ

156

-ด้านการตัดสินใจ (Decision-making) หมายถึง การมีความเข้าใจขอบเขตความ
รับผิดชอบและบทบาทอย่างชัดเจน สมาชิกในทีมมีความกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมในการตัดสินใจท่ี
สาคญั กระบวนการประชมุ ในทีมมีประสิทธิภาพ มีกระบวนการดาเนินงานและกระบวนการตัดสินใจ
ที่ชัดเจน มีความยืดหยุ่นและความประนีประนอมเม่ือมีการตัดสินใจเกิดข้ึน และส่งเสริมความคิด
สรา้ งสรรค์ นวตั กรรม สง่ เสรมิ การยอมรบั ความเสย่ี ง

ในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือ ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา และ / หรือ ด้านการวัดและ
ประเมินผล จานวน 5 ราย (ดรู ายชอื่ ในภาคผนวก ญ) โดยใหท้ าเครือ่ งหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0
หรือ -1 โดย + 1 หมายถงึ ขอ้ คาถามมีความสอดคลอ้ ง 0 หมายถงึ ไม่แนใ่ จในความสอดคลอ้ ง และ -
1 หมายถึง ข้อคาถามไม่มีความสอดคล้อง ผลที่ได้รับจากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญ นามา
วิเคราะห์หาค่า IOC จากสูตรท่ีกาหนดในบทท่ี 3 โดยกาหนดเกณฑ์ค่า IOC ท่ีระดับเท่ากับหรือ
มากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อคาถามน้ันมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (Chaichanawirote &
Vantum, 2017) ดังแสดงผลการตรวจสอบในตารางท่ี 4.6

ตารางท่ี 4.6 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์การพัฒนาในแบบ
ประเมนิ ทกั ษะความรว่ มมือของนกั เรียน

ข้อ ผลการให้คะแนนของผ้เู ชีย่ วชาญ คา่ ดัชนีความ ผลการ
สอดคล้อง (IOC) ประเมิน
1 2345
ใชได้
ดา้ นการมีวิสยั ทัศน์และการลงมือทา (Visionary and Action) ใชได้
ใชได้
1 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
2 +1 +1 +1 +1 +1 1
ใชได้
3 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
4 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
5 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้

ดา้ นการสร้างความเชอ่ื มั่น (Building Trust) ใชได้
ใชได้
6 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้

7 0 +1 +1 +1 +1 0.8

8 +1 +1 +1 +1 +1 1

9 +1 +1 +1 +1 +1 1

10 +1 +1 +1 +1 +1 1

11 +1 +1 +1 +1 +1 1

ดา้ นการแบ่งปนั พลังและสร้างแรงจูงใจ (Sharing Power and Influence)

12 +1 +1 +1 +1 0 0.8

13 +1 +1 +1 +1 +1 1

14 +1 +1 +1 +1 +1 1

157

ตารางที่ 4.6 (ต่อ)

ข้อ ผลการใหค้ ะแนนของผเู้ ช่ียวชาญ ค่าดชั นคี วาม ผลการ

1 2345 สอดคลอ้ ง (IOC) ประเมนิ

15 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
1 ใชได้
16 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้

17 +1 +1 +1 +1 +1

ด้านการสรา้ งความสมั พันธ์ (Building Relationships)

18 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
1 ใชได้
19 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
0.8 ใชได้
20 +1 +1 +1 +1 +1
1 ใชได้
21 +1 +1 +1 +1 0 1 ใชได้

22 +1 +1 +1 +1 +1

23 +1 +1 +1 +1 +1

ด้านการสะทอ้ นตนเอง (Self-Reflection)

24 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
1 ใชได้
25 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
1 ใชได้
26 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
1 ใชได้
27 +1 +1 +1 +1 +1

28 +1 +1 +1 +1 +1

29 +1 +1 +1 +1 +1

ดา้ นการตัดสินใจ (Decision-making)

30 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
1 ใชได้
31 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้

32 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
1 ใชได้
33 +1 +1 +1 +1 +1 0.8 ใชได้

34 +1 +1 +1 +1 +1

35 +1 +1 +1 +1 0

จากตารางท่ี 4.6 เห็นไดว้ ่าผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์
การพัฒนาทักษะความร่วมมือของนักเรียน พบว่า ข้อคาถามในแต่ละด้านและท้ังฉบับมีค่า IOC สูง
กว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด 0.50 ทุกขอ้ โดยมีค่า IOC อยู่ระหวา่ ง 0.80 ถงึ 1.0 แสดงว่า แบบประเมินทักษะ
ความรว่ มมอื ของนักเรียนท่ีใชใ้ นงานวิจยั นม้ี คี วามตรงเชิงเน้อื หา (Content Validity) สามารถนาไปใช้
ได้ตรงกบั วตั ถุประสงคท์ ต่ี อ้ งการวัดได้

158

2) ผลการตรวจสอบความเชื่อมน่ั (Reliability)
โดยการทดลองใช้ (Try-out) แบบประเมินทกั ษะความร่วมมือของนกั เรยี นเพือ่ หาค่า
ความเชื่อม่ัน (Reliability) กับนักเรียนในโรงเรียนประภัสสรวิทยา จานวน 30 ราย เพ่ือนาข้อมูลที่
เก็บรวบรวมได้ไปวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเช่ือม่ัน (Alpha Coefficient of
Reliability) โดยใชว้ ิธีของครอนบาค (Cronbach) โดยกาหนดเกณฑ์ค่าสัมประสิทธแิ์ อลฟาของความ
เช่อื มนั่ ท่ยี อมรับได้ คือ เทา่ กบั หรอื สูงกว่า 0.70 (UCLA: Statistical Consulting Group, 2016) ผล
การวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏดังตารางที่ 4.7 (ดูผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใน
ภาคผนวก ฒ)

ตารางที่ 4.7 ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของความเชื่อม่ันของแบบประเมินทักษะความ
รว่ มมอื ของนักเรียนจาแนกเปน็ รายด้านและโดยรวม

แบบสอบถาม คา่ สมั ประสทิ ธิ์แอลฟา่ ของความเชอ่ื มน่ั

1. ด้านการมีวสิ ัยทัศนแ์ ละการลงมอื ทา 0.76
2. ด้านการสรา้ งความเช่อื มน่ั 0.86
3. ด้านการแบง่ ปันพลังและสรา้ งแรงจูงใจ 0.77
4. ด้านการสรา้ งความสัมพันธ์ 0.75
5. ด้านการสะทอ้ นตนเอง 0.75
6. ด้านการตดั สินใจ 0.87
0.96
โดยรวมท้ังฉบับ

จากตารางท่ี 4.7 เห็นได้ว่า ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของความเช่ือม่ันของแบบสอบถามท้ัง
ฉบับมีค่าเท่ากับ 0.96 เมื่อวิเคราะห์เป็นรายด้าน พบว่า ด้านการมีวิสัยทัศน์และการลงมือทา มีค่า
เท่ากับ 0.76 ด้านการสร้างความเช่ือม่ัน มีค่าเท่ากับ 0.86 ด้านการแบ่งปันพลังและสร้างแรงจูงใจ มี
ค่าเท่ากับ 0.77 ด้านการสร้างความสัมพันธ์ มีค่าเท่ากับ 0.75 ด้านการสะท้อนตนเอง มีค่าเท่ากับ
0.75 และด้านการตัดสินใจ มีค่าเท่ากับ 0.87 ซ่ึงค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเช่ือม่ันดังกล่าวมีคา่
สงู กวา่ เกณฑท์ ่กี าหนด คือ เท่ากบั หรอื สูงกว่า 0.70 จงึ แสดงว่า แบบประเมินผลการพฒั นานักเรยี นนม้ี ี
คณุ ภาพสามารถนาไปใชไ้ ด้อย่างมคี วามเช่ือม่ัน

4.4 ข้ันตอนท่ี 4 ผลการทดลองในภาคสนาม (Trial)

การทดลองในภาคสนาม (Trial) ผูว้ ิจยั ใชแ้ บบแผนการวจิ ยั ข้นั พืน้ ฐาน (Pre Experimental
Research) มีกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One Group Pretest-
Posttest Design) กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง คือ ครูในโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณ
ราชวทิ ยาลยั วัดศรีษะเกษ จานวน 11 ราย มีนกั เรยี นท่ีเป็นกลุม่ เป้าหมายในการพัฒนา จานวน 204
ราย ดาเนนิ การทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 มีผลการทดลองในภาคสนาม ดังน้ี

159

ระยะท่ี 1 ผลการทดลองตามโครงการที่ 1 : โครงการพัฒนาเพือ่ การเรยี นรขู้ องครู
เป็นระยะของการพฒั นาตนเองของครทู ่ีเปน็ กลมุ่ ทดลองตามโครงการพฒั นาเพ่ือการเรียนรู้
โดยการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (Self-Learning) จากคูม่ ือจานวน 6 ชดุ คือ (1) ค่มู ือเพือ่ การเรียนร้เู กยี่ วกบั
นิยามของทักษะความร่วมมือ (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของทักษะความร่วมมือ
(3) คูม่ อื เพ่อื การเรียนรู้เกยี่ วกับลกั ษณะท่ีแสดงถงึ ทักษะความรว่ มมือ (4) ค่มู ือเพื่อการเรยี นร้เู กี่ยวกับ
แนวการพัฒนาทักษะความร่วมมือ (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เก่ียวกับข้ันตอนการพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือ และ (6) คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะความร่วมมือ ดาเนินการโดยการ
แนะนาคู่มือท้ัง 6 ชุด ที่ได้อัพโหลดลงเว็บไซต์เรียบร้อยแล้ว มีผลการดาเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ
ดงั นี้
1) ผลการเตรยี มการ
ผ้วู จิ ัยได้ลงพื้นที่วิจยั ท่ีโรงเรยี นบาลีสาธิตศกึ ษามหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วัดศรีษะเกษ
โดยนาหนังสือขอความอนุเคราะห์จากทางมหาวิทยาลัยถึงท่าน ผู้อานวยการโรงเรียน ในวันท่ี 12
พฤศจกิ ายน 2564 เพื่อช้แี จงวัตถุประสงค์ของการวิจัยและขอความอนุเคราะห์โรงเรียนเป็นพ้นื ท่ีวิจัย
ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ซึ่งได้รับการตอบรับจากผู้อานวยการ และยินดีเป็นอย่างยิ่งที่
ผู้วิจัยได้เลือก โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ ในการลงพื้นท่ี
ดงั กลา่ ว
จากนั้นผู้วิจัยได้ลงพ้ืนท่ีช้ีแจงรายละเอียดกับคณะครูที่เป็นกลุ่มทดลองด้วยตัวเองกับ
กลุ่มเปา้ หมาย (Face to Face) โดยรกั ษาความปลอดภัยตามมาตรการการป้องกนั โรคระบาดติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมโรงเรียนบาลีสาธิต
ศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ อาคารพุทธานุภาพ ชั้นท่ี 1 โดยมีพระศรีวชิรโมลี
ผอู้ านวยการโรงเรียนเขา้ รว่ มรับฟงั การช้ีแจงในคร้ังน้ดี ้วย คณะครูส่วนใหญ่เข้าใจวัตถปุ ระสงคข์ องการ
ลงพ้ืนที่ภาคสนาม และยังเป็นผู้ช่วยผู้วิจัยในการประสานงาน ติดตามช้ีแจงให้กับคณะครูที่ยังมีข้อ
สงสยั
เมื่อกลุ่มทดลองภาคสนามเข้าใจรายละเอียดแนวทางในการปฏิบัติแล้ว ผู้วิจัยจึงส่งลิงค์
แบบทดสอบความรู้ของครูกลุ่มทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-test) ในรูปแบบออนไลน์ (Google
Form) ผา่ นกลุ่มไลนท์ ีส่ รา้ งขึ้น เพ่ือใช้เปน็ ชอ่ งทางในการติดต่อส่ือสารและตดิ ตามประสานงานตลอด
การวจิ ัยในครง้ั น้ี ดงั ภาพท่ี 4.6

160

ภาพท่ี 4.6 การประชุมช้ีแจงรายละเอียดโครงการวิจัย และการทาแบบทดสอบของครูท่ีเป็นกลุ่ม
ทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-test) ณ โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลยั วดั ศรษี ะเกษ

2) ผลการใช้แบบทดสอบความรู้ของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองก่อนการพฒั นา (Pre-test)
จากการให้ครูท่เี ปน็ กลุ่มทดลองจานวน 11 ราย ทาแบบทดสอบความรู้ของครูจานวน 36
ข้อ “ก่อน” การพัฒนาโดยหลักการเรียนรู้ด้วยตนเองจากคู่มือท่ีผู้วิจัยจัดทาขึ้น ซึ่งจากผลการ
วเิ คราะหข์ ้อมูล พบวา่ ครูที่เปน็ กลมุ่ ทดลองจานวน 11 ราย ไดค้ ะแนนจากการทดสอบ 298 คะแนน
ซึ่งคานวณค่าเฉล่ีย (Mean) ได้เท่ากับ 27.09 คะแนน และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation : S.D.) เท่ากบั 3.51 จากคะแนนเตม็ 36 คะแนน ดงั ตารางที่ 4.8

ตารางท่ี 4.8 ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูท่ีเปน็ กล่มุ ทดลองก่อนการพัฒนา (P

กลมุ่ วตั ถปุ ระสงค์การเรียนร้นู ิยาม วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้
ทดลอง ความสาคญั ลกั ษณะ/คณุ ลกั ษณะ
คนที่ วัด 6 ระดับ ความจาถงึ วัด 6 ระดับ ความจาถึง
สร้างสรรค์ วัด 6 ระดับ ความจาถงึ
1 สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์
2 123456 123456
3 011101 123456 101111
4 111111 110111 111011
5 100110 111111 011111
6 011101 001100 101111
7 100110 110111 011100
8 111111 101111 010110
9 011101 101101 101111
10 011101 010000 101111
11 111011 110111 111011
111111 111001 111111
111111 011000 111011
011010

หมายเหตุ เลข 1 หมายถงึ ทาถูก, เลข 0 หมายถึงทาผิด

161

Pre-test)

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้แนว วัตถุประสงค์การเรียนรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ รวม
การพัฒนา ข้ันตอนการพฒั นา การประเมนิ ผล
28
วัด 6 ระดับ ความจาถงึ วดั 6 ระดับ ความจาถงึ วดั 6 ระดบั ความจาถึง 33
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ 21
31
123456 123456 123456 25
000111 111111 111011 30
110111 111111 101111 23
111110 011001 011100 28
111111 111111 111011 27
111110 110111 011101 27
111011 111111 111111 25
111111 011001 111010 298
000111 111111 111011 27.09
111101 101110 100111 3.51
111111 001001 111110
011111 000001 111110

คะแนนรวมทกุ คน
คะแนนเฉล่ีย
S.D.

162
3) ผลการพฒั นาเพ่อื การเรียนรขู้ องครูโดยหลักการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (Self-Learning)
จากการนาคู่มือประกอบโครงการวิจัยท้ัง 6 ชุด ท่ีผู้วิจัยได้จัดทาขึ้น อัพโหลดลงไว้ใน
เว็ บไ ซ ต์ https://online.anyflip.com/okgwj/segl/mobile/ และ ส่ง เข้า ใน ก ลุ่ ม facebook
messenger (Group messenger) ท่ีท่ีสร้างขึ้นให้ครูที่เป็นกลุ่มทดลองในโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ ได้ดาวน์โหลดไปศึกษาโดยหลักการเรียนรู้ด้วยตนเอง
(Self-Learning) ระยะเวลา 1 เดอื น ดงั ภาพท่ี 4.7

ภาพท่ี 4.7 ครูที่เป็นกลุม่ ทดลองศกึ ษาค่มู ือประกอบโครงการทงั้ สองโครงการโดยหลกั การเรียนรู้ด้วย
ตนเอง (Self-Learning)
4) ผลการตรวจสอบเพอื่ หาขอ้ บกพร่องของคมู่ ือหลังการพัฒนาครู
ผวู้ ิจัยได้ลงพืน้ ท่ี ในวันที่ 17 พฤศจกิ ายน 2564 ตรวจสอบเพอื่ หาข้อบกพรอ่ งของคมู่ ือและ

ทดสอบครูหลังการพัฒนา ครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มทดลองร่วมกันตรวจสอบหาข้อบกพร่องเพื่อการ
ปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการท่ี 1 ซึ่งได้อัพโหลดไว้ในเว็บไซต์ ส่วนข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
แก้ไขให้สง่ กลบั ทาง facebook messenger (Group messenger) ใช้แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของ
ครูกับครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มทดลอง เพ่ือให้ทราบผลการเรียนรู้ว่าเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90
หรือไม่ เปน็ ข้อสอบออนไลน์พรอ้ มตรวจคาตอบด้วย Google Form ดงั นี้

4.1) การปรับปรุงแก้ไขด้านเน้ือหา โดยคานึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความ
เปน็ ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนาไปใช้ มขี ้อเสนอแนะ ดังน้ี

163

-ปรับเน้ือหาเข้าใจง่าย ให้กระชับ ครอบคลุม และทันต่อโลกเพื่อให้เนื้อหาดีมีสาระ มี
กระบวนการแนวคิดตา่ ง ๆ ท่สี ามารถนามาปรับใชไ้ ด้ในชวี ิตประจาวัน ควรตรวจสอบการให้ละเอียดให้
ถกู ต้อง และควรใชศ้ พั ท์ให้ถกู ตามหลักวชิ าการ

4.2) การปรับปรุงแกไ้ ขดา้ นภาษา มขี ้อเสนอแนะ ดังน้ี
-เน้ือหาเป็นสานวนภาษาท่ีแปลมาจากภาษาองั กฤษ โดยเฉพาะคาที่เปน็ คาเฉพาะ ควร
มีท้ังคาศัพทภ์ าษาไทยและภาษาองั กฤษกากับดว้ ย
-ข้อความบางข้อความใช้คาที่วิชาการมากเกินไปทาให้อ่านไม่ค่อยเข้าใจ เนื่องจากเป็น
เนอื้ หาทแ่ี ปลมาจากภาษาอังกฤษ
-ควรใช้คาให้ตรงกันและเหมือนกันท้ังหมดในทุกคู่มือ เช่น ความร่วมมือ การทางาน
ร่วมกัน
4.3) การปรับปรุงแก้ไขดา้ นรูปแบบการนาเสนอ มขี ้อเสนอแนะ ดังน้ี
-ในการนาเสนอ ควรมีกิจกรรมถามเพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจ เพ่ือให้ผู้ศึกษาได้
กระตุ้นความคิด แต่ควรเพ่ิมส่อื รปู ภาพ ท่มี คี วามหลากหลายดา้ นเน้อื ทต่ี รงกบั หัวข้อ
-รปู แบบการนาเสนอควรให้หลากหลายไม่ซ้าเดมิ ในแต่ละคู่มอื ควรเพิม่ สีสันให้สวยงาม
ควรมีภาพกราฟิก การ์ตูน ถ้าเพ่ิมการตกแต่งหัวข้อ ข้อความให้โดดเด่น จะน่าสนใจและดึงดูดผู้อ่าน
เพิม่
4.4) อื่น ๆ มขี ้อเสนอแนะ ดังนี้
-เน้นคาในตวั เน้อื หาท่ีสาคญั ตวั หนังสือขนาดเลก็ ไป หัวข้อ ใหโ้ ดดเดน่ ชดั เจน
5) ผลการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครูท่ีเปน็ กลมุ่ ทดลองหลงั การพัฒนา (Posttest)
จากการให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองจานวน 11 ราย ทาแบบทดสอบความรู้ของครูจานวน 36
ข้อ “หลัง” การพฒั นาโดยหลกั การเรียนรู้ด้วยตนเองจากคู่มอื ที่ผวู้ จิ ยั จดั ทาขึน้ ซ่ึงจากผลการวเิ คราะห์
ข้อมูล พบว่า ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองจานวน 11 ราย ได้คะแนนจากการทดสอบ 366 คะแนน ซ่ึง
คานวณค่าเฉลี่ย (Mean) ได้เท่ากับ 33.27 คะแนน และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation : S.D.) เท่ากบั 2.05 จากคะแนนเตม็ 36 คะแนน ดงั ตารางที่ 4.9

ตารางที่ 4.9 ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครทู ่ีเป็นกลุ่มทดลองหลังการพฒั นา (Po

กลมุ่ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้นิยาม วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้
ทดลอง ความสาคญั ลกั ษณะ/คณุ ลกั ษณะ
คนที่ วัด 6 ระดบั ความจาถงึ วัด 6 ระดับ ความจาถึง
สร้างสรรค์ วดั 6 ระดบั ความจาถึง
1 สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์
2 123456 123456
3 111111 123456 111111
4 111111 111101 111111
5 111111 111111 111011
6 111111 011111 111111
7 111111 111111 111110
8 011111 110111 111111
9 110111 111111 110111
10 111111 111111 111111
11 111111 111110 111111
101111 101011 110111
111101 111111 011110
111111

หมายเหตุ เลข 1 หมายถงึ ทาถูก, เลข 0 หมายถงึ ทาผิด

164

ost-test)

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนร้แู นว วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ รวม
การพัฒนา ขน้ั ตอนการพัฒนา การประเมนิ ผล
34
วดั 6 ระดบั ความจาถงึ วัด 6 ระดบั ความจาถึง วดั 6 ระดับ ความจาถงึ 36
สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ 30
36
123456 123456 123456 32
011111 111111 111111 35
111111 111111 111111 31
111110 101111 011101 34
111111 111111 111111 33
111111 111011 011111 34
111111 111111 111111 31
101111 110111 111110 366
111011 111111 111111 33.27
111111 110111 111111 2.05
111111 111111 111111
111111 111101 111011

คะแนนรวมทุกคน
คะแนนเฉลี่ย
S.D.

165

6) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลอง
ก่อนและหลงั การพฒั นาโดยใชก้ ารทดสอบที (t-test)

การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมินก่อนและหลังการพัฒนาโดยใช้การทดสอบที
(t-test) ดังกล่าวในบทท่ี 3 ว่าตามหลักการทางวิชาการ ถือเป็นเทคนิคการทดสอบสมมติฐานชนิด
หนึ่งท่ีนักวิจัยนยิ มใช้การทดสอบ โดยวิธีการน้ีใช้ในกรณีข้อมลู มีจานวนน้อย (n < 30) ผู้ท่ีค้นพบการ
แจกแจงของ t มีช่ือว่า W.S. Gosset ในการใช้การทดสอบทีกรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มนั้น จาแนก
ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) การใช้ t-test แบบเป็นอิสระจากกัน (Independent) เป็นสถิตที่ใช้
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มท่ีเป็นอิสระจากกัน ข้อมูลท่ีรวบรวมได้อย่ใู นระดับ
อันตรภาคหรืออัตราส่วน ใช้สถิติการทดสอบค่า t มีช่ือเฉพาะว่า t - test for Independent
Samples 2) การใช้ t- test แบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent) เป็นสถิตที่ใช้เปรียบเทียบ
ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระจากกัน และกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ใช้สถิติการ
ทดสอบค่า t มีชื่อเฉพาะว่า t - test for Dependent Samples ซึ่งมักพบในการวิจัยเชิงทดลองที่
ต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลองหรือเปรียบเทียบผลระหว่างกลุ่มทดลอง
และกลมุ่ ควบคมุ ทไ่ี ดจ้ ากการจับค่คู ณุ ลักษณะที่เท่าเทียมกนั (Thesis Thailand, 2020)

ในงานวจิ ยั นี้ ใช้ t- test แบบไม่เป็นอสิ ระจากกนั (Dependent) เน่ืองจากเปน็ การวจิ ยั เชิง
ทดลองท่ีต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลอง โดยมีข้อตกลงเบ้ืองต้น ดังน้ี
1) ข้อมูลอยู่ในมาตรอันตรภาค (Interval Scale) หรือมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) 2) กลุ่ม
ตวั อยา่ งเปน็ กลุ่มตวั อย่างแบบสมุ่ ได้จากประชากรที่มกี ารแจกแจงแบบปกติ 3) ค่าของตัวแปรตามแต่
ละหน่วยเป็นอิสระต่อกัน และ 4) ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร (ศิริชัย กาญจนวาสี,
ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ และ ดเิ รก ศรีสโุ ข, 2551) มีสตู รในการคานวณ ดงั นี้

t = ……. ∑D………

N∑D2 – (∑D)2
N-1

∑D หมายถงึ ผลรวมของความแตกตา่ งระหว่างคะแนนก่อนและหลังการพัฒนา
∑D2 หมายถึง ผลรวมความแตกตา่ งของคะแนนก่อนและหลงั การพฒั นายกกาลงั สอง
N หมายถงึ จานวนกลุม่ ทดลองทไี่ ดร้ ับการพัฒนาทัง้ หมด
จากการให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองจานวน 11 คน “ก่อน” การพัฒนา (Pre-test) ได้คะแนน
จากการทดสอบ 298 คะแนน ซ่ึงคานวณค่าเฉลี่ยได้เท่ากับ 27.09 คะแนน จากคะแนนเต็ม 36
คะแนน และจากการทดสอบ “หลัง” การพฒั นา (Post-test) พบวา่ ครูทาคะแนนไดโ้ ดยรวม เทา่ กับ
366 คะแนน มคี ่าเฉล่ยี เท่ากับ 33.27 จากคะแนนเตม็ 36 คะแนน ซ่ึงเมอ่ื นาไปวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบ
ความแตกต่างอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติกบั คะแนน “ก่อน” การพัฒนา โดยการทดสอบค่าที (t-test)
ตามสตู รดังกลา่ วขา้ งบน พบว่า ครูที่เปน็ กลมุ่ ทดลองได้คะแนนจากการทดสอบ “หลงั ” การพัฒนาสงู
กว่า “ก่อน” การพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ดังแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลใน
ตารางที่ 4.10 แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมอบรมด้วยตนเองออนไลนท์ ่ีประกอบด้วย 2 โครงการ แต่ละ
โครงการมีคมู่ อื ประกอบน้ัน มปี ระสิทธภิ าพที่สามารถจะนาไปใชเ้ พอื่ พัฒนาครใู ห้เกดิ การเรียนรู้เพื่อนา
ผลการเรียนรู้ไปพัฒนาต่อเนื่องกบั นกั เรียนต่อไปได้ และสามารถที่จะนาไปเผยแพร่ให้ประชากรท่ีเป็น

166

กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา คือ ครูในโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา ในสังกัดกองพทุ ธ
ศาสนศึกษา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติทุกโรงท่ัวประเทศ ได้นาไปใช้ได้อย่างมีผลการวิจัย
รับรอง

ตารางท่ี 4.10 ผลการทดสอบค่าที (t-test) เปรียบเทียบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ระหว่างคะแนน “ก่อน” และ “หลงั ” การพฒั นาเพ่ือการเรยี นรู้ของครู

การทดสอบ จานวนกลมุ่ ตัวอย่าง คา่ เฉล่ีย S.D. t
ก่อน 11 27.09 3.51 12.81*
หลัง 11 33.27 2.05

* p < 0.05

7) ผลการวิเคราะห์ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการ
พฒั นา (Posttest) เปรยี บเทยี บกับเกณฑ์มาตรฐาน 90/90

ดังกล่าวในบทที่ 3 ว่าตามทัศนะทางวิชาการ การประเมินตามแนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน
90/90 เป็นการบอกค่าประสิทธิภาพของบทเรียนสาเร็จรูปหรือบทเรียนโปรแกรม (Programmed
Materials หรือ Programmed Textbook หรือ Programmed Lesson) ซ่ึงเป็นส่ือท่ีมีเป้าหมาย
หลักเพื่อให้ผู้เรียนใช้เรียนด้วยตนเองเป็นสาคัญ หลักจิตวิทยาสาคัญที่เป็นฐานคิดความเช่ือของสื่อ
ชนิดน้ีคือทฤษฎีการเรียนแบบรอบรู้ (Mastery Learning) ซึ่งมีความเชื่อว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถ

เรยี นรไู้ ด้ หากจัดเวลาเพียงพอจัดวธิ กี ารเรยี นทเ่ี หมาะสมกับผู้เรยี นกส็ ามารถทจ่ี ะทาให้ผู้เรยี นสามารถ
เรยี นรไู้ ดต้ ามวัตถปุ ระสงคข์ องการเรยี นได้

โดยเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) ในงานวิจัยนี้ หมายถงึ เกณฑท์ ใ่ี ช้วัด
ความมีประสิทธภิ าพของคมู่ อื ตอ่ การเสริมสร้างความรใู้ นโครงการพฒั นาความรู้ให้กบั อาจารย์ผู้สอนที่
เปน็ กลมุ่ ทดลอง โดย 90 ตวั แรก หมายถึง รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ยของผู้เรยี นทัง้ กลมุ่ ท่ีได้จากการวัด
ด้วยแบบทดสอบวัดความรอบรหู้ ลังจากเรียนจากบทเรยี นที่สร้างข้ึนจบลง 90 ตัวหลัง หมายถึง ร้อย
ละของจานวนผ้เู รยี นทส่ี ามารถทาแบบทดสอบ (วดั ความรอบรู้หลงั การเรยี นจากบทเรยี นทีส่ ร้างขน้ึ จบ
ลง) โดยสามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านตามเกณฑ์วัตถุประสงค์ทุกวัตถุประสงค์ (มนตรี แย้มกสิกร,
2551)

ท้ังน้ี ความหมายนี้แตกต่างจากความหมายของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ด้ังเดิมตามทัศนะ
ของ เปรื่อง กุมุท (2519) ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้นาเสนอ
แนวคดิ เกณฑม์ าตรฐาน 90/90 คนแรก (ในประเทศไทย) น่ันคือ 90 ตวั แรก เปน็ คะแนนเฉลีย่ ของท้ัง

กลุ่ม ซ่ึงหมายถึงทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุก
คะแนนแล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่ม
จะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า 90 ตัวท่ีสองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของผู้เรียนทั้งหมด ได้รับ
ผลสมั ฤทธต์ิ ามความมงุ่ หมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรมนน้ั (เปร่อื ง กุมทุ , 2519 อ้าง
ถงึ ใน มนตรี แย้มกสิกร, 2551)

167

ตามทัศนะของ มนตรี แย้มกสกิ ร (2551)
สตู รที่ใช้ในการคานวณ 90 ตัวแรก
90 ตัวแรก = {(Σ X /N) X 100)}/R

โดย 90 ตวั แรก หมายถึง จานวนรอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี ของการทดสอบหลังเรยี น
Σ X หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรยี นแตล่ ะคน ทาไดถ้ กู ต้องจากการ

ทดสอบหลังเรยี น
N หมายถึง จานวนผู้เรียนท้ังหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธิภาพ

ครัง้ น้ี
R หมายถงึ จานวนคะแนนเต็มของแบบทดสอบหลงั เรียน
สตู รทใ่ี ช้ในการคานวณ 90 ตัวหลงั
90 ตวั หลงั = (Y x 100)/ N
โดย 90 ตวั หลงั หมายถึง จานวนร้อยละของผเู้ รียนท่ีสามารถทาแบบทดสอบผ่านทุก

วัตถปุ ระสงค์
Y หมายถงึ จานวนผเู้ รียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทกุ วัตถุประสงค์
N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดท่ีใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธิภาพ

ครง้ั น้ี
ผลจากการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครทู ่ีเปน็ กลุ่มทดลองหลังการพัฒนา (Posttest) จาก
การดาเนนิ งานในโครงการท่ี 1 โดยใช้แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของครูทม่ี ีลักษณะเป็นแบบปรนยั ทม่ี ี
ตัวเลือก 4 ตัวเลือก จานวน 36 ข้อ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลดัง
ตารางท่ี 4.11

ตารางที่ 4.11 ผลการวิเคราะห์ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครตู ามเกณฑ์มาตรฐา

กลุ่มทดลอง วัตถุประสงค์การเรียนรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ ว
คนที่ ลกั ษณะ/คณุ ลกั ษณะ
นิยาม ความสาคญั คะแนน ผล

คะแนน ผล คะแนน ผล

1 6 ผ 5 ผ 6ผ

2 6 ผ 6 ผ 6ผ

3 6 ผ 5 ผ 5ผ

4 6 ผ 6 ผ 6ผ

5 6 ผ 5 ผ 5ผ

6 5 ผ 6 ผ 6ผ

7 5 ผ 6 ผ 5ผ

8 6 ผ 5 ผ 6ผ

9 6 ผ 4 ม 6ผ

10 5 ผ 6 ผ 5 ผ

11 5 ผ 6 ผ 4 ม

รวม 62 11 60 10 60 10

เฉลย่ี 5.64 5.45 5.45

90 แรก 93.94 90.91 90.91

90 หลัง 100.00 90.91 90.91

หมายเหตุ

1) เกณฑก์ ารผ่านแต่ละวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ ต้องตอบถูกไม่น้อยกว่า 5 ข้อจากข้อสอบ 6 ขอ้ ซง่ึ เท่ากับร้อ

2) ผล หมายถึง ผ่าน(ผ) หรือไม่ผ่านเกณฑ(์ ม) จานวนผทู้ ่ีสอบผ่านแตล่ ะวตั ถุประสงค์การเรยี นรจู้ ะใชใ้ นการค

168

าน 90/90

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรูแ้ นว วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ การ

การพฒั นา ขัน้ ตอนการพฒั นา ประเมินผล รวม

คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ผล 34
36
6ผ 6ผ 6ผ 30
36
6ผ 6ผ 6ผ 32
35
6ผ 5ผ 5ผ 31
34
6ผ 6ผ 6ผ 33
34
6ผ 5ผ 5ผ 31
366
5ผ 6ผ 6ผ 33.27
92.42
5ผ 5ผ 5ผ 95.45

6ผ 6ผ 6ผ

6ผ 5ผ 5ผ

5ผ 6ผ 6ผ

5ผ 5ผ 5ผ

62 11 61 11 61 11

5.64 5.55 5.55

93.94 92.42 92.42

100.00 100.00 90.91

อยละ 83.33 ของคะแนนเต็ม
คานวณตามเกณฑ์รอ้ ยละ 90 ตัวหลัง

169

7.1) ผลการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครเู ปรียบเทยี บกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตวั แรก
ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลอง
จานวน 11 ราย หลังการพัฒนา (Posttest) จากแบบทดสอบซึ่งมี 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ แต่ละ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อ รวมข้อสอบทั้งฉบับ 36 ข้อ เพื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์
มาตรฐาน 90 ตัวแรกซึ่งหมายถึงจานวนร้อยละของคะแนนเฉล่ียของการทดสอบหลังเรยี น พบว่า มี
คะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 33.27 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เมื่อคิดเป็นร้อยละแลว้ ได้ 92.42 ซึง่ มี
ค่าร้อยละทสี่ งู กวา่ เกณฑท์ ก่ี าหนดไวร้ อ้ ยละ 90 แสดงว่า การเสนอเนื้อหาในคู่มือประกอบโครงการทุก
ชดุ มีประสทิ ธภิ าพทีส่ ามารถนาไปใชพ้ ฒั นาครูใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้ตามเกณฑท์ ่กี าหนด
7.2) ผลการทดสอบผลการเรียนรขู้ องครเู ปรยี บเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตวั หลัง
ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองหลงั
การพัฒนา (Posttest) จากแบบทดสอบซ่งึ มี 6 วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ แต่ละวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้
มีขอ้ สอบ 6 ขอ้ รวมขอ้ สอบทัง้ ฉบบั 36 ขอ้ เกณฑก์ ารผ่านแต่ละวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ ต้องตอบถูก
ไม่น้อยกว่า 5 ข้อจากข้อสอบ 6 ข้อ ซ่ึงเท่ากับร้อยละ 83.33 ของคะแนนเต็ม เพ่ือใช้ในการคานวณ
เกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลัง ซึ่งหมายถึงร้อยละของจานวนครูท่ีสามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านทุก
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซง่ึ จากจานวนครูทเ่ี ป็นกลุม่ ทดลองท้งั หมด 11 ราย พบว่า มคี รูร้อยละ 95.45
ทสี่ ามารถทาแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซงึ่ เปน็ คา่ ร้อยละที่สูงกวา่ เกณฑ์ทีก่ าหนด
ไว้ร้อยละ 90 แสดงว่า การเสนอเนื้อหาในคู่มือประกอบโครงการทุกชุดมีประสิทธิภาพท่ีสามารถ
นาไปใชพ้ ัฒนาครใู ห้เกิดการเรียนรูไ้ ด้ตามเกณฑท์ ีก่ าหนด
ระยะที่ 2 ผลการทดลองตามโครงการท่ี 2 : โครงการครนู าผลการเรยี นรสู้ ่กู ารพฒั นานกั เรียน
เป็นระยะของการนาผลการเรียนรู้สู่การปฏิบัตขิ องครทู ่ีเปน็ กลมุ่ ทดลองตามโครงการครูนา
ผลการเรียนรู้สู่การพัฒนาผู้เรียน โดยในการปฏิบัตินั้น เป็นการกาหนดให้ครูที่เป็นกลุ่มทดลองนาผล
การเรียนรู้ที่ได้จากการพัฒนาตนเองจากคู่มือตามโครงการท่ี 1 ไปใช้พัฒนานักเรียนให้เกิดผลการ
พฒั นาตามท่ีคาดหวัง มผี ลการดาเนินงานตามข้ันตอนต่าง ๆ ดงั นี้
1) การช้แี จงระเบยี บวธิ ีวิจัยให้กับครูทีเ่ ป็นกลุ่มทดลอง
ผู้วิจัยลงพ้ืนท่ีจริง ณ โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัด
ศรีษะเกษ โดยการลงพน้ื ท่ีพบปะกบั ครูที่เป็นกลุ่มทดลอง ในวันที่ 20 ธันวาคม 2564 (ดังภาพที่ 4.8)
เพอ่ื แนะนา ชแ้ี นะวิธีการประสานงานตา่ ง ๆ แนะนาการสง่ งานผ่าน facebook messenger (Group
messenger) และแนะนาเว็บไซต์ เพ่ือเข้าไปดาวน์โหลดเอกสารต่าง ๆ โดยให้อิสระแก่ครูที่เป็นกลุ่ม
ทดลอง ผู้วิจัยไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว หลังจากถอดบทเรียน ครูนาผลการเรียนรู้ที่ได้จากโครงการท่ี 1 ไป
พัฒนานักเรียนให้เกิดผลการพัฒนาตามที่คาดหวัง ในระยะเวลา 2 เดือน ซ่ึงครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้
เริ่มดาเนนิ การพัฒนานกั เรียนตามโครงการที่ 2 ต้ังแตว่ นั ที่ 20 ธันวาคม 2564 ถงึ วันที่ 20 กุมภาพันธ์
2565

170

ภาพที่ 4.8 การประชมุ ชแ้ี จงระเบียบวธิ วี ิจยั ให้กบั ครูที่เป็นกลมุ่ ทดลอง

2) การประเมินทักษะความร่วมมือของนักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-
test)

จากการใช้แบบประเมินทักษะความร่วมมือกบั นักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลอง “ก่อน” การ
พัฒนา (Pre-test) จานวน 204 ราย โดยใช้แบบสอบถามท่ีมีลกั ษณะเปน็ แบบประมาณค่า 5 ระดบั ที่
ผู้วจิ ยั สร้างข้นึ ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นคา่ เฉลยี่ (Mean : ) และค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation : S.D.) ดังตารางที่ 4.12

ตารางที่ 4.12 ค่าเฉลี่ย (Mean : ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.)
จากผลการประเมินทักษะความร่วมมือของนักเรียนก่อนการทดลอง (Pretest)

รายการลกั ษณะของทักษะความรว่ มมอื ที่ประเมิน ผลการประเมนิ
การมวี ิสัยทัศนแ์ ละการลงมือทา (Visionary and Action) S.D.
1) ฉนั สง่ เสริมกระบวนการทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพในการค้นหาแรงบนั ดาลใจจากกลุ่มผ้มู สี ่วนได้
3.50 0.50
สว่ นเสยี
2) ฉนั ส่งเสรมิ การพฒั นาวิสัยทัศนร์ ่วมกัน ซึง่ ผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียทุกคนมสี ว่ นในการกาหนด 3.48 0.50

วสิ ัยทัศนน์ ้ี 3.49 0.50
3) ฉันสร้างกรอบการทางานโดยใช้การคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ 3.49 0.50
4) ฉันส่งเสริมการสร้างทีมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการช่วยกันพัฒนาแผนกลยุทธ์การ

ปฏิบตั งิ าน และสง่ เสรมิ ความหลากหลาย

171

ตารางท่ี 4.12 (ตอ่ )

รายการลักษณะของทกั ษะความรว่ มมือท่ีประเมิน ผลการประเมนิ
S.D.
5) ฉันสร้างแผนปฏิบัติงานด้วยการกาหนดช่วงเวลาและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเพ่ือให้
เปน็ ไปตามวิสัยทศั น์ 3.48 0.50

การสรา้ งความเชอ่ื มั่น (Building Trust) 3.53 0.50
6) ฉนั “พูดจริงทาจรงิ ” หมายถึงวา่ ฉนั ทาในสิง่ ทพ่ี ดู 3.49 0.50
7) ฉนั ปกป้องกลุ่มจากผทู้ ี่เอาเปรียบผู้อ่ืนในการทางานร่วมกัน 3.50 0.50
8) ฉันสร้างกระบวนการทมี่ ีความน่าเชอื่ ถอื ในการทางานรว่ มกนั 3.51 0.50
9) ฉนั เช่ือวา่ ความร่วมมอื เกิดขึ้นจากบคุ คลและองค์กรจากหลายภาคสว่ น 3.48 0.50
10) ฉนั มีความรแู้ ละทกั ษะทีจ่ าเป็นในการทางาน สามารถดงึ ดูดผูอ้ นื่ ให้ทางานรว่ มกับฉัน 3.57 0.50
11) ฉนั เชื่อมั่นว่าความเชือ่ ถือคอื หลกั พืน้ ฐานในการร่วมงานกับผอู้ ื่นอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
การแบ่งปนั พลังและสรา้ งแรงจูงใจ (Sharing Power and Influence) 3.50 0.50
12) ฉนั ใช้พลังอย่างมคี วามรับผิดชอบ 3.50 0.50
13) ฉันแบง่ ปนั พลงั เพ่อื เพมิ่ พลงั และการแบ่งปันความรู้ 3.44 0.50
14) ฉันแบ่งปันพลงั ใหแ้ ก่ผ้อู น่ื เมอื่ ทาได้ 3.51 0.50
15) เม่อื ฝึกฝนภาวะผู้นา ฉันมกั จะพึง่ พาการแกป้ ญั หาให้กบั เพื่อน 3.60 0.49
16) ฉนั แสดงออกถงึ ความมั่นใจใหผ้ ู้อ่นื ได้เห็น 3.50 0.50
17) ผู้ท่ที างานรว่ มกนั ในแต่ละกล่มุ มรี ะดบั ความรู้ ทักษะ และอานาจในการ
3.51 0.50
ตดั สินใจท่ีเหมาะสม 3.48 0.50
การสร้างความสมั พนั ธ์ (Building Relationships) 3.52 0.50
18) ฉนั เชื่อวา่ การสรา้ งความเช่ือม่นั ในองคก์ รและการใหค้ วามเช่ือมั่นตอ้ งใชเ้ วลา
19) ฉันเชอ่ื วา่ คนทเ่ี ข้าร่วมกนั ทางานมคี วามเคารพอย่างสูงซง่ึ กนั และกนั 3.49 0.50
20) ฉนั มคี วามมุ่งมั่นทีจ่ ะสรา้ งความร้สู ึกที่ว่าบคุ คลท่เี ข้ารว่ มมคี วามเป็นเจ้าของ 3.48 0.50

องคก์ รรว่ มกนั 3.50 0.50
21) ฉันมีการเปิดการสนทนา และมมุ มองทแ่ี ตกต่างกันเปน็ สิ่งทเ่ี ราให้ความสาคญั
22) ฉันเชอ่ื วา่ ความขดั แยง้ เปน็ เรอ่ื งทย่ี อมรับได้ โดยการทาให้ความขัดแยง้ เปน็ 3.53 0.50

แหลง่ สร้างนวตั กรรม 3.54 0.50
23) ฉนั มกี ารจดั การความคิดทแี่ ตกต่างได้อยา่ งดี ด้วยวิธีการทเ่ี อ้อื ตอ่ การมสี ว่ นรว่ ม 3.48 0.50
3.51 0.50
ของทุกคน 3.51 0.50
การสะท้อนตนเอง (Self-Reflection)
24) ฉนั รับรู้ถงึ ผลกระทบของอารมณ์ตอ่ การทางาน และการสร้าง “ความปลอดภยั

ทางจิตใจ”
25) ฉนั สามารถบอกจดุ แขง็ จุดออ่ นของตัวเองได้
26) ฉันทางานเพื่อเขา้ ใจมมุ มองของผอู้ นื่
27) ฉนั เข้าใจการเปลย่ี นแปลงภายในกลมุ่
28) ฉันสรา้ งสภาพแวดลอ้ มท่ปี ลอดภัยเพ่อื การสื่อสารอยา่ งเปิดเผย

172

ตารางที่ 4.12 (ต่อ)

รายการลกั ษณะของทกั ษะความรว่ มมอื ทีป่ ระเมิน ผลการประเมิน
S.D.
29) ฉนั ใชเ้ วลาในการสะทอ้ นตนเองและการปรับปรงุ แนวทางปฏิบัติ
การตัดสินใจ (Decision-making) 3.46 0.50
30) สมาชิกทกุ คนในทีมของฉนั มีความเขา้ ใจขอบเขตความรบั ผิดชอบและบทบาท
3.50 0.50
อยา่ งชัดเจน
31) สมาชกิ ในทีมของฉันมีความกระตอื รือร้นท่ีจะเขา้ รว่ มในการตดั สนิ ใจทส่ี าคัญ 3.45 0.50
32) กระบวนการประชุมในทมี ของฉนั มีประสทิ ธิภาพ 3.50 0.50
33) ทมี ของฉนั มกี ระบวนการดาเนินงานและกระบวนการตดั สินใจที่ชัดเจน 3.51 0.50
34) สมาชิกในทีมของฉันมคี วามยดื หยนุ่ และความประนีประนอมเม่ือมีการตัดสินใจ 3.50 0.50

เกดิ ขึน้ 3.50 0.50
35) ในทมี ของฉนั สง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และสง่ เสรมิ การยอมรับ
3.50 0.09
ความเสีย่ ง
โดยรวม

จากตารางที่ 4.12 เห็นได้ว่า นักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองได้รับการประเมินทักษะความ
ร่วมมือก่อนท่ีครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มทดลองจะนาความรู้สู่การพัฒนาผู้เรียน (Pre-test) มีค่าเฉล่ีย
(Mean) โดยรวมเทา่ กับ 3.50 และมคี า่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เทา่ กบั 0.09

3) ครูทเ่ี ป็นกลุ่มทดลองนาความร้สู ู่การพฒั นาผูเ้ รียน

3.1) ข้ันตอนและกจิ กรรมการดาเนนิ งาน
หลังจากที่ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้ศึกษาคู่มือประกอบโครงการท่ีเป็นโปรแกรม
ออนไลน์ โดยหลักการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (Self-Learning) เพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้ท่สี ามารถจะนาผลการ
เรียนรู้ไปสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือให้กับนักเรยี น ได้อย่างมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล ครูที่
เป็นกลุม่ ทดลอง มีการดาเนนิ งานตลอดระยะเวลา 2 เดอื น คือ ต้งั แต่วันที่ 20 ธนั วาคม 2564 ถึงวันที่
20 กุมภาพนั ธ์ 2565 โดยดาเนินตามขั้นตอนดังตอ่ ไปน้ี
1) ประชุมปรึกษาวางแผนกับคณะครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองและผู้บริหารสถานศึกษา
พร้อมท้ังผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในโรงเรียนทั้ง เพื่อระดมความคิด วางแผนการนาความรู้หลังจากที่ศึกษา
คมู่ ือในการไปปรับใชก้ ับนักเรียน
2) จัดเตรียมห้องเรียนและสถานท่ี เพื่อให้คณะครูผู้ร่วมวิจัยมีความสะดวกในการ
ถา่ ยทอดความรู้
3) ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองหาข้อพกพร่องของคู่มือโดยการแบบถอดบทเรียน เพื่อการ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขคู่มือ โดยทางคณุ ครไู ดก้ รอกข้อมูลเปน็ รายบคุ คลผ่านทาง Google Form

4) เม่ือครูที่เป็นกลุ่มทอดลองศึกษาคู่มือจนครบตามกรอบระยะเวลาท่ีกาหนด และ
ผวู้ จิ ัยไดร้ ่วมประชมุ คณะครูท่ีเปน็ กลุ่มทดลองและผบู้ ริหารอกี คร้งั เพ่ือหาข้อสรุปรว่ มกนั หลงั จากท่ีได้
ศกึ ษาค่มู ือแลว้ ว่ามขี ้อพกพรอ่ งอยา่ งไร เพื่อปรับปรุงแก้ไข

173

5) นาแบบประเมินตนเองของผู้เรียน เพ่ือตรวจสอบผู้เรียนก่อนการพัฒนาเบอ้ื งต้น
ตามกระบวนการ

6) ครูที่เป็นกลุ่มทดลองมีการนาผู้ความรู้ที่ได้จากการศึกษาคู่มือ ไปปรับใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน และพัฒนาผู้เรียน ตามกระบวนการจัดการเรียนรู้เก่ียวกับทักษะความร่วมมือ
ประกอบกบั มกี ารบนั ทกึ ภาพกิจกรรมการเรยี นการสอน ซ่ึงผู้วิจัยจะไปร่วมสังเกตการณ์ครูท่ีเป็นกล่มุ
ทดลองจัดการเรียนรู้ ตลอดระยะเวลา 2 เดือน พรอ้ มทั้งให้อสิ ระกบั กลมุ่ ครูผรู้ ว่ มทดลองทกุ ท่าน โดย
ในชว่ งเวลาดังกล่าว มที ้งั กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบออนไซต์ และดาเนนิ การวิจัยในโครงการที่ 2
เสร็จส้ินไปด้วยความเรียบร้อย คุณครูทุกท่านนาผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือ
ให้แก่นักเรียน สอดแทรกผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ในรายวิชาของตนเอง โดยใช้หลักการ แนวคิด เทคนิค
วิธีการ กิจกรรมที่เป็นทางเลือกท่ีหลากหลาย ที่เหมาะสมกับเน้ือหาวิชาของตน โดยเน้นเพื่อพัฒนา
ทกั ษะตวามรว่ มมือของนกั เรยี นควบคู่ไปกบั เนื้อหาในรายวิชา เช่น กรณีของ คณุ ครูธนูฤทธ์ิ ดวงดี วชิ า
การงานพ้ืนฐานอาชีพ ก็นาความรู้มาต่อยอดพัฒนานักเรียนในด้านการเลือกเส้นทางและวางแผน
สบื คน้ แหล่งข้อมูล การอ้างองิ บรรณานุกรมจากหนังสือ การพิจารณาเปรยี บเทียบ ก่อนนามาใช้ และ
นาข้อมูลมาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างเหมาะสม ในดาเนินการพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือสู่การปฏิบัติในช้ันเรียน เช่น กิจกรรมสร้างความรัก ความสามัคคี เห็นอกเห็นใจคนอื่น และ
สร้างกิจกรรมรว่ มกนั ก็จะทาให้ความสามัคคีปลูกฝั่งแทรกซึมเข้าภายในจิตสานกึ มากข้ึน ซึ่งสามารถ
บรู ณาการกบั การเรียนร้ทู กั ษะในศตวรรษท่ี 21 ทักอ่ืน ๆ ได้ด้วย (ดงั ภาพที่ 4.9) จากน้ันครูทีเ่ ปน็ กลุ่ม
ทดลองเสร็จสิ้นกระบวนการการนาความรู้สู่พัฒนานักเรียน ครูมีการประเมินนักเรียน โดยใช้แบบ
ประเมินตนเองของผู้เรียนชุดเดิมผ่านระบบ Google Form ทาให้ได้ผลลัพธ์จากแบบประเมิน เพ่ือ
นามาคานวณคา่ ต่าง ๆ

7) เสร็จส้ินในกระบวนการครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองนาความรู้สู่การพัฒนาทักษะความ
ร่วมมือของนักเรียน

174

ภาพที่ 4.9 ครูทีเ่ ปน็ กลุม่ ทดลองนาผลการเรียนรูส้ ูก่ ารพัฒนานักเรียน
3.2) การนาข้อเสนอทางเลือกที่เป็นหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ /

กจิ กรรมไปใช้ในการพฒั นาทกั ษะความรว่ มมือใหก้ บั นกั เรยี น
ในตอนท้ายของคู่มือประกอบโครงการท่ีสอง คือ โครงการครนู าผลการเรียนรู้สู่การ

พัฒนานักเรียน ผู้วิจัยได้จัดทาแบบประเมินตนเอง (Self-Assessment) โดย Google Form ไว้
เพ่ือให้ครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองได้ใช้ประเมินตนเองว่า หลังจากการนาผลการเรียนรสู้ ู่การพัฒนานักเรยี น
ตลอดระยะเวลา 2 เดือนที่ผา่ นมา ได้นาเอาหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมไปใช้ใน
การพัฒนาทักษะความร่วมมือให้กับนักเรียนในระดับใด จากตัวเลือก 6 ระดับ คือ 0 หมายถึง ไม่ได้
นาไปปฏิบัติเลย ตัวเลือก 1-5 หมายถึง นาไปปฏิบัติน้อยที่สุดถึงมากที่สุด ดังมีผลการประเมินตนเอง
ในตารางที่ 4.13

175

ตารางท่ี 4.13 ผลการประเมินตนเองของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองในการนาข้อเสนอทางเลือกท่ีเป็น
หลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะความ
ร่วมมอื ให้กับนักเรียน

ข้อเสนอหลกั การ / แนวคิด / เทคนิค / วิธกี าร / กิจกรรม ค่าความถ่ีแสดงระดับการนาไปปฏบิ ัติ
เพ่ือการนาไปปฏบิ ตั ิ 012345

การพฒั นาทักษะความร่วมมือ 119
ทัศนะของ Robinson (2019)
1. สร้างสภาพแวดล้อมแห่งการร่วมมือภายในทีม (Creating a 218
1 10
Collaborative Team Environment)
2. กาหนดบทบาทให้ชดั เจน (Establish Roles Clearly) 146
3. ชัดเจนเกย่ี วกับเปา้ หมายของทมี และบรษิ ทั (Be Clear on the 29

Team and Company Goals) 128
4. พฒั นาความเชื่อมัน่ (Develop Trust)
5. คาดหวังการส่ือสารแบบไม่มีข้อจากัด ( Expect Open 1 10
2243
Communication)
6. หลีกเล่ียงความสัมพันธ์ท่ีมากกว่าผู้ร่วมงาน (Avoid Crossing 1118
38
the “Just a Coworker” Line)
ทศั นะของ Miller (2014) 1 10
1. เปิดช่องทางการสือ่ สาร (Open Communication Lines)
2. พยายามทาให้รู้ถึงมุมมองส่วนบุคคล (Dive into Individual 1 10

Perspectives ) 1127
3. คาดหวงั ความรับผิดชอบ (Expect Accountability)
4. ทาให้การทางานร่วมกันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคล่ือนทีม 3242
155
(Make Collaboration a Part of Your Team Dynamic)
5. กาห นดมติแล ะค วามร่วมมือ (Define Consensus and 2243
119
Collaboration)
ทัศนะของ Kashyap (2018) 2342
1. ห า จุ ด แ ข็ ง ข อ ง แ ต่ ล ะ ค น (Identify Their Individuals’

Strengths)
2. สร้างความคาดหวังท่ีเป็นไปได้จริงและชี้แจงเป้าหมาย

(Establish Realistic Expectations & Clarify Goals)
3. เคร่ืองมอื ชว่ ยการทางานรว่ มกัน (Collaboration Tools)
4. ส่งเสริมการเปดิ ใจ (Encourage Open-Mindedness)
5. ให้รางวลั กบั นวัตกรรม (Reward Innovation)
6. ฉลองความสาเร็จของทีมให้ผู้คนรับรู้ (Celebrate Teams

Success Publicly)
7. สนับสนุนชุมชนท่ีเข้มแข็ง (Support a Strong Sense of

Community)


Click to View FlipBook Version