The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-10-17 09:30:05

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

โปรแกรมออนไลน์เพอื่ พัฒนาครู
สกู่ ารเสริมสรา้ งทักษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรียน

พระมหาเกริกเกยี รติ นิรตุ ตฺ เิ มธี (ไพศาลเจรญิ ลาภ)

ดุษฎีนพิ นธ์นเี้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสตู รศึกษาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ
สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
พทุ ธศักราช 2565

โปรแกรมออนไลน์เพอื่ พัฒนาครู
สกู่ ารเสริมสรา้ งทักษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรียน

พระมหาเกริกเกยี รติ นิรตุ ตฺ เิ มธี (ไพศาลเจรญิ ลาภ)

ดุษฎีนพิ นธ์นเี้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสตู รศึกษาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ
สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
พทุ ธศักราช 2565

ONLINE PROGRAM TO DEVELOP TEACHERS TO ENHANCE
INNOVATION SKILLS OF STUDENTS

PHRAMAHA KOEKKIAD NIRUTTIMATEE (PHAISANCHAROENLAP)

A DISSERTATION SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS
FOR THE DOCTOR DEGREE OF EDUCATION

PROGRAM IN EDUCATIONAL ADMINISTRATION
FACULTY OF EDUCATION

MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY
2022

หัวข้อดุษฎนี ิพนธ์ : โปรแกรมออนไลนเ์ พอื่ พัฒนาครู
สู่การเสรมิ สรา้ งทักษะเชงิ นวตั กรรมของนักเรียน
ช่ือนักศกึ ษา
ชอ่ื ปริญญา : พระมหาเกรกิ เกียรติ นริ ุตตฺ เิ มธี (ไพศาลเจรญิ ลาภ)
สาขาวชิ า : ศกึ ษาศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ
ปพี ุทธศักราช : การบรหิ ารการศึกษา
อาจารย์ท่ปี รกึ ษา
: 2565
: รองศาสตราจารย์ ดร.วโิ รจน์ สารรัตนะ

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย อนุมัติให้นบั ดษุ ฎีนิพนธ์นี้เปน็ ส่วน
หน่งึ ของการศึกษาตามหลกั สตู รศึกษาศาสตรดุษฎบี ัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา

คณบดคี ณะศึกษาศาสตร์ ......................................................
(พระมหาบญุ นา านวีโร, ผศ.ดร.)
คณะกรรมการสอบดษุ ฎนี พิ นธ์:
ประธานกรรมการ .....................................................
กรรมการ (อาจารย์ท่ปี รึกษา) (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์.ดร.ไพศาล สวุ รรณนอ้ ย)

กรรมการ .........................................................
(รองศาสตราจารย์ ดร.วโิ รจน์ สารรัตนะ)
กรรมการ
.....................................................
กรรมการ (พระครูสธุ จี ริยวัฒน์, ผศ.ดร.)

.....................................................
(พระมหาศภุ ชัย สภุ กจิ ฺโจ, ผศ.ดร.)

.....................................................
(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์.ดร.วิทลู ทาชา)

ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย

Dissertation Topic : Online Program to Develop Teachers to Enhance

Innovation Skills of Students

Student’s Name : Phramaha Koekkiad Niruttimatee (Phaisancharoenlap)

Degree Sought : Doctor of Education

Program : Educational Administration

Anno Domini : 2022

Advisor : Assoc.Prof. Dr.Wirot Sanrattana

Accepted by the Faculty of Education, Mahamakut Buddhist University in
Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Education
(Educational Administration)

Dean of Faculty of Education ....................................................................
(Phramaha Boonna Thãnavĩro, Asst.Prof.Dr.)
Dissertation Committee:
Chairman .....................................................................
Member (Advisor) (Assist. Prof. Dr.Paisan Suwannoi)

Member ..................................................................
(Assoc.Prof. Dr.Wirot Sanrattana)
Member
..................................................................
Member (Phrakrusutheejariyawattana, Asst.Prof.Dr)

..................................................................
(Phramaha Suphachai Supakitjo, Asst.Prof.Dr.)

..................................................................
(Assist. Prof. Dr Witoon Thacha)

Copyright of Mahamakut Buddhist University



หวั ขอ้ ดุษฎนี พิ นธ์ บทคดั ย่อ

ชื่อนักศกึ ษา : โปรแกรมออนไลนเ์ พอื่ พัฒนาครู
ชอ่ื ปรญิ ญา สูก่ ารเสริมสร้างทกั ษะเชิงนวตั กรรมของนกั เรยี น
สาขาวชิ า
ปพี ุทธศักราช : พระมหาเกริกเกียรติ นิรุตตฺ เิ มธี (ไพศาลเจริญลาภ)
อาจารย์ท่ีปรกึ ษา : ศกึ ษาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต
: การบรหิ ารการศึกษา
: 2565
: รองศาสตราจารย์ ดร.วโิ รจน์ สารรัตนะ

การวจิ ัยน้มี ีจุดมุ่งหมายเพ่ือพฒั นา “โปรแกรมออนไลนเ์ พ่อื พฒั นาครูสูก่ ารเสรมิ สรา้ งทกั ษะ
เชิงนวัตกรรมของนักเรียน” ที่ประกอบด้วยคู่มือเพื่อการเรียนรู้ของครู และคู่มือเพื่อเป็นแนวการ
ปฏิบัติสำหรับครูพฒั นานักเรียน โดยใช้ Research and Development (R&D) methodology ซึ่ง
ผลจากการดำเนนิ งานขนั้ ตอน R1&D1 ถึง R4&D4 ทำให้ได้ค่มู อื เพอ่ื การเรยี นรู้ของครู 6 ชุด และค่มู ือ
เชิงปฏิบัตกิ าร 1 ชุด และจากผลการทดลองใชค้ ูม่ ือในขั้นตอน R5&D5 กับครู 11 ราย และนักเรียน
204 ราย โดยใช้รูปแบบการวิจยั เชิงทดลองแบบ one group pretest-posttest ในโรงเรียนท่สี ุ่มให้
เป็นตัวแทนของโรงเรียนปริยัติธรรม สังกัดกองพุทธศาสนศกึ ษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
พบวา่ ผลการวจิ ยั เป็นไปตามสมมตุ ิฐานทก่ี ำหนดไว้ คือ โปรแกรมออนไลนท์ ี่พฒั นาข้ึนมปี ระสทิ ธภิ าพ
โดยพิจารณาจากครมู คี ะแนนจากการทดสอบหลังการพฒั นาเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 และ
มคี ะแนนเฉลยี่ สงู กวา่ ก่อนการพัฒนาอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติ สว่ นนกั เรียนกม็ คี ะแนนเฉล่ียจากการ
ประเมินทกั ษะเชิงนวัตกรรม หลงั การพฒั นาสูงกวา่ ก่อนการพฒั นาอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ิ ซง่ึ แสดง
ใหเ้ ห็นว่าโปรแกรมออนไลนท์ ่ีพฒั นาข้ึนมีประสทิ ธิภาพและสามารถนำไปเผยแพร่เพ่ือใช้ประโยชน์ใน
โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรมแหง่ อนื่ ได้

คำสำคัญ : โปรแกรมออนไลน์, การเรียนรู้ของครู, การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรม, การพัฒนา
ทกั ษะเชิงนวตั กรรม



ABSTRACT

Dissertation Topic : Online Program to Develop Teachers to Enhance

Student’s Name Innovation Skills of Students
Degree Sought : Phramaha Koekkiad Niruttimatee (Phaisancharoenlap)
Program : Doctor of Education
Anno Domini
Advisor : Educational Administration
: 2022
: Assoc.Prof. Dr.Wirot Sanrattana

This research aims to develop an “Online Program to Develop Teachers to
Enhance Innovation Skills of Students” that consists of teacher learning manuals and
a practice manual for teachers to develop students. This study adopted the Research
and Development (R&D) methodology. As a result of the implementation of R1&D1
to R4&D4, 6 sets of teacher learning manuals and 1 practice manual were obtained.
Additionally, utilizing the one group pretest-posttest experimental paradigm, the
outcomes of employing the manuals in the R5&D5 stage with 11 teachers and 204
students in the school chosen at random to represent the Division of Buddhist
Studies the National Buddhism Office determined that the research findings were
consistent with the assumptions made. The results demonstrated that the
developed online program was effective because the post-development test for
teachers met the standard of 90/90, and the mean scores were statistically
significantly higher than before the development. Moreover, the students’ mean
score on innovation skills assessment after the development was statistically
significantly higher than before the development. The results proved that the
designed online program was effective and that it may be distributed to additional
Prapariyattidhamma Schools for their benefit.

Keywords: 21st-century skills, innovation skills, online program, self-learning



กิตตกิ รรมประกาศ

ดุษฎีนิพนธ์เลม่ นี้ สำเร็จลงไดเ้ นื่องจากบุคคลหลายฝ่ายท่ีได้ช่วยเหลือในครั้งนี้ ผู้วิจัยใคร่
ขอบพระคุณมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันที่ประสิทธิประสาทความรู้ทางการศึกษา ด้านการบริหาร
การศึกษาระดบั ปรญิ ญาเอก

ขอกราบขอบพระคุณอธิการบดี คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ที่ได้อำนวยความสะดวกใน
การศกึ ษาตลอดหลักสตู ร และขอเจรญิ พรขอบคณุ รองศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ สารรตั นะ ท่ใี ห้ความ
อนเุ คราะหเ์ ปน็ อาจารย์ทป่ี รกึ ษาหลัก ได้ให้คำปรกึ ษาตลอดจนตรวจสอบขอ้ พกพร่องตา่ ง ๆ พร้อมท้ัง
ให้ข้อเสนอแนะในการปรุงแก้ไขเนื้อหางานวิจัย ขอเจริญพรขอบคุณผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.ไพศาล
สุวรรณน้อย ที่กรุณาเป็นประธานคณะกรรมการสอบ ตลอดจนท่านผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณา
เสียสละเวลาอนั มีค่ายงิ่ เพ่ือใหข้ อ้ เสนอแนะในการตรวจสอบเคร่ืองมือวิจัยจนได้เครอื่ งมอื ที่มีคุณภาพ
สำหรับการวิจยั

ขอกราบขอบพระคุณพระครูสุธีจริยวัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร. รองอธิการบดี
มหาวิทยาลยั มหามกฎุ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตอสิ าน ท่ใี ห้คำแนะนำและขอ้ เสนอแนะและค่อยดูแลใน
การทำวิจัยเป็นอย่างดีตลอดมา พร้อมทั้งพระครูธรรมาภิสมัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร., พระมหา
ศุภชัย สภุ กิจฺโจ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. และเจริญพรขอบคุณผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วทิ ูล ทาชา ท่ี
เป็นแรงผลักดันจุดประกายแนวคิดในการศึกษา ให้คำแนะนำ พร้อมทั้งคอยให้กำลังใจ จนประสบ
ความสำเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี

ขอกราบขอบพระคุณ พระศรีวชิรโมลี ผู้อำนวยการโรงเรยี นบาลสี าธิตศึกษามหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย วัดศรษี ะเกษ ที่อำนวยความสะดวกในการทำวิจัย พร้อมท้ัง พระครูวิมลธรรมโสภณ
เจ้าคณะตำบลเวยี งคำ ผู้เป็นพระอุปัชฌาย์ ผู้เปรยี บประดจุ ดงั บดิ ามารดาทคี่ อยให้กำลงั ใจและฝึกฝน
อบรมกระผมมาโดยตลอด และขอเจริญพรขอบคุณโยมแมศ่ ิวนารถ กาลวิบลู ย์ โยมแมผ่ ู้ให้กำเนิดและ
คอยเป็นกำลังใจ ให้ความห่วงใย และคอ่ ยอปุ ถมั ภ์ ให้การสนบั สนุนมาโดยตลอดต้ังแตเ่ ริ่มเรียนจนถึง
จบการศกึ ษา

ขอเจริญพรขอบคุณเจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาเขตอีสาน ผู้บริหาร คณะครูและบุคคลกรทางการศึกษาโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย วัดศรีษเกษ ทุกท่านท่ีได้อำนวยความสะดวก เสียสละเวลาใหค้ วามร่วมมือในการ
เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นอย่างดียิ่ง ตลอดจนเพื่อนนักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหาร
การศึกษา รุน่ ที่ 6 ทกุ ทา่ นทค่ี อยเปน็ กำลงั ใจแกผ่ ู้วิจยั เสมอมา

ทา้ ยที่สุด คุณงามความดแี ละประโยชนอ์ นั เกิดจากดษุ ฎนี ิพนธ์เลม่ น้ี ผูว้ จิ ยั ขอใชเ้ ป็นเคร่ือง
สักการบูชาคุณพระรัตนตรัย คุณของมารดาบิดา ครูอาจารย์ที่ประสิทธิ์ประสาทความรู้ท่ีมีคุณคา่ ยิ่ง
และขอแผ่คุณความดนี ใ้ี ห้แกเ่ พ่อื นมนษุ ย์และสรรพสัตว์ท้ังหลาย

พระมหาเกรกิ เกียรติ นิรุตฺติเมธี (ไพศาลเจริญลาภ)



สารบัญ

หน้า
บทคดั ยอ่ ภาษาไทย........................................................................................... ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ...................................................................................... จ
กติ ตกิ รรมประกาศ............................................................................................ ฉ
สารบัญ............................................................................................................. ช
สารบัญตาราง................................................................................................... ญ
สารบญั ภาพ..................................................................................................... ฏ
บทที่
1 บทนำ...................................................................................................... 1

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา…………………………………..….………….. 1
1.2 คำถามการวิจยั ................................................................................................. 8
1.3 วตั ถุประสงค์การวจิ ยั ........................................................................................ 9
1.4 สมมุตฐิ านการวจิ ยั ........................................................................................... 9
1.5 ข้อตกลงเบอ้ื งตน้ ………………………………………………………………………………….. 10
1.6 ขอบเขตการวจิ ัย.............................................................................................. 11
1.7 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ............................................................................................. 11
1.8 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั ............................................................................... 14

2 เอกสาร และงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง.............................................................. 16

2.1 หลกั ธรรมเพือ่ คุณภาพและความสำเรจ็ ของงานวจิ ยั ………………………………….. 16
2.2 การวจิ ยั และพฒั นา : ระเบยี บวิธที ี่ใช้ในการวจิ ยั ………………………………………. 20
2.3 แนวคดิ เชงิ ทฤษฎเี ก่ียวกับทกั ษะเชงิ นวตั กรรม (innovation Skills)……….. 25
2.4 บริบทของโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา – กลมุ่ เป้าหมายใน

การเผยแพรน่ วตั กรรมจากผลการวจิ ยั ............................................................. 86
2.5 บริบทของโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

จังหวัดหนองคาย : พน้ื ท่ที ดลอง (Experiment Area) ในการวิจยั .................. 101
2.6 กรอบแนวคิดเพื่อการวจิ ัย............................................................................... 109

3 วิธีดำเนนิ การวิจยั …………………………………………………………………..……… 118

3.1 ขน้ั ตอนท่ี 1 การจดั ทำคมู่ ือประกอบโครงการ.................................................. 120
3.2 ขัน้ ตอนที่ 2 การตรวจสอบคณุ ภาพของคูม่ อื และการปรบั ปรงุ แกไ้ ข................ 121



หน้า

3.3 ข้นั ตอนที่ 3 การสร้างเครอ่ื งมอื เพอ่ื การทดลองในภาคสนาม........................... 123
3.4 ขั้นตอนท่ี 4 การทดลองในภาคสนาม (Trial)……………………………………………. 130
3.5 ขน้ั ตอนที่ 5 การเขียนรายงานผลการวจิ ัยและการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัย............ 133

4 ผลการดำเนินการวิจยั และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ........................................ 135

4.1 ขน้ั ตอนที่ 1 ผลการจดั ทำค่มู ือประกอบโครงการ............................................. 135
4.2 ขนั้ ตอนที่ 2 ผลการตรวจสอบคณุ ภาพของค่มู อื และการปรบั ปรงุ แกไ้ ข........... 138
4.3 ขน้ั ตอนที่ 3 ผลการสรา้ งเครื่องมือเพ่ือการทดลองในภาคสนาม...................... 142
4.4 ขนั้ ตอนท่ี 4 ผลการทดลองในภาคสนาม (Trial).............................................. 156

5 โปรแกรมออนไลน์เพ่อื การเรียนรขู้ องครูสูก่ ารเสรมิ สรา้ งทักษะเชิง
นวัตกรรมของนักเรียน : นวตั กรรมจากการวจิ ยั และพัฒนา………………… 184

5.1 คมู่ ือชุดท่ี 1 ทัศนะเกย่ี วกับนยิ ามของทกั ษะเชิงนวัตกรรม............................... 188
5.2 คมู่ อื ชดุ ท่ี 2 ทศั นะเกีย่ วกับความสำคัญของทกั ษะเชงิ นวตั กรรม…................... 197
5.3 ค่มู อื ชุดท่ี 3 ทศั นะเก่ยี วกับลกั ษณะของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม……...................... 206
5.4 คู่มอื ชดุ ท่ี 4 ทศั นะเก่ียวกบั แนวทางการพฒั นาทกั ษะเชงิ นวตั กรรม.................. 213
5.5 คมู่ ือชุดท่ี 5 ทัศนะเก่ยี วกับข้นั ตอนการพฒั นาทกั ษะเชิงนวัตกรรม................... 241
5.6 คูม่ ือชดุ ท่ี 6 ทัศนะเกยี่ วกบั การประเมนิ ผลทกั ษะเชงิ นวตั กรรม........................ 254
5.7 คมู่ ือประกอบโครงการครผู ้สู อนนำความรู้สกู่ ารพฒั นานกั เรียน...................... 267

6 สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ........................................................... 277

6.1 สรปุ ผลการวจิ ยั ................................................................................................ 278
6.2 อภปิ รายผลวิจัย............................................................................................... 281
6.3 ข้อเสนอแนะจากผลวิจัย.................................................................................. 286

บรรณนานุกรม........................................................................................ 288
ภาคผนวก...............................................................................................

ภาคผนวก ก รายชื่อและสถานภาพของครทู เี่ ป็นกล่มุ เปา้ หมายในการตรวจค่มู อื
คร้งั ท่ี 1................................................................................................................. 296
ภาคผนวก ข หนังสอื ของบณั ฑิตวิทยาลยั เพือ่ ขอความร่วมมอื จากครทู ี่เป็น
กล่มุ เปา้ หมายในการตรวจคูม่ อื ครั้งท่ี 1.............................................................. 297
ภาคผนวก ค รายช่ือและสถานภาพของครูทเ่ี ป็นกล่มุ เปา้ หมายในการตรวจคู่มอื
ครงั้ ที่ 2................................................................................................................ 298
ภาคผนวก ง หนังสือของบณั ฑิตวิทยาลยั เพอื่ ขอความรว่ มมอื จากครทู ีเ่ ปน็
กลมุ่ เป้าหมายในการตรวจค่มู อื ครัง้ ท่ี 2.............................................................. 299
ภาคผนวก จ รายชอ่ื และสถานภาพของผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจสอบความ



หน้า

สอดคลอ้ งของขอ้ คำถามกบั วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรใู้ นแบบทดสอบผลการเรยี นรู้
ของครู.................................................................................................................. 301
ภาคผนวก ฉ หนงั สอื ของบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขอความรว่ มมอื จากผทู้ รงคุณวฒุ ิ
เพอ่ื ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกบั วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรใู้ น
แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู.......................................................................... 302
ภาคผนวก ช แบบตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกบั วตั ถุประสงค์การ
เรียนรู้ในแบบทดสอบผลการเรียนรู้ครู................................................................. 303
ภาคผนวก ซ แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครทู ี่เปน็ Google Form................. 312
ภาคผนวก ฌ หนงั สือจากบณั ฑติ วิทยาลัยถึงโรงเรยี นเพ่อื ขออนญุ าตทดลองใช้
แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของครูกบั ครใู นโรงเรยี น............................................. 313
ภาคผนวก ญ หนงั สอื ของบัณฑติ วิทยาลยั เพอื่ ขอความร่วมมอื จากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
เพ่อื ตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คำถามกับวัตถุประสงค์การพฒั นาในแบบ
ประเมินทกั ษะเชงิ นวตั กรรมของนักเรียน............................................................. 314
ภาคผนวก ฎ รายช่ือและสถานภาพของผทู้ รงคณุ วุฒิในการตรวจสอบความ
สอดคล้องของขอ้ คำถามกบั วตั ถุประสงค์การพฒั นาในแบบประเมนิ ทกั ษะเชงิ
นวตั กรรมของนักเรียน............................................................................................ 315
ภาคผนวก ฏ แบบตรวจสอบความสอดคล้องของขอ้ คำถามกับวัตถปุ ระสงค์การ
พัฒนาในแบบประเมินทกั ษะเชงิ นวตั กรรมของนกั เรียน........................................ 316
ภาคผนวก ฐ แบบประเมนิ ตนเองของนักเรียนทเ่ี ป็นกล่มุ เป้าหมายในการพฒั นา
Google Form....................................................................................................... 319
ภาคผนวก ฑ หนังสือของบัณฑติ วทิ ยาลัยเพอื่ ขอความร่วมมอื จากสถานศกึ ษา
เพ่ือการทดลองใช้แบบประเมินทกั ษะทกั ษะเชิงนวัตกรรมของนกั เรยี น................. 321
ภาคผนวก ฒ ผลการวิเคราะห์คา่ สมั ประสทิ ธิ์สหสมั พนั ธข์ องความเช่ือม่ันโดยใช้
วธิ ขี องครอนบาคของแบบประเมินทักษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรียน...................... 322
ภาคผนวก ณ หนงั สือของบัณฑิตวทิ ยาลัยเพ่ือขอความรว่ มมอื จากสถานศึกษาที่
เปน็ พนื้ ทใ่ี นการวจิ ยั เชงิ ทดลอง............................................................................ 324
ภาคผนวก ด รายชอื่ และสถานภาพของครูทเี่ ปน็ กลมุ่ ทดลอง.............................. 325
ภาคผนวก ต ผลการวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบผลการทดสอบผลการเรียนรขู้ องครูท่ี
เปน็ กลุ่มทดลองกอ่ นและหลงั การพฒั นาโดยใชก้ ารทดสอบที (t-test)................. 326
ภาคผนวก ถ ผลการวเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บผลการประเมนิ ทกั ษะเชงิ นวัตกรรม
ของนกั เรยี นก่อนและหลังการพฒั นาโดยใช้การทดสอบที (t-test)....................... 327

ประวัตผิ ู้วิจยั ............................................................................................ 328



สารบญั ตาราง

ตารางที่ หน้า

2.1 จำนวนโรงเรยี น แบง่ ตามขนาด และ สังกดั เขตการศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรมแผนกสามญั

ศึกษา 100

2.2 ครู นกั เรยี น โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา ประจำปีการศกึ ษา 2563 101

2.3 แสดงจำนวนผบู้ รหิ าร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา จำแนกตามวุฒิการศกึ ษา ประจำปี

การศึกษา 2563 103

2.4 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-Net) ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษา

ตอนต้น (ม.3) ปกี ารศกึ ษา 2562 107

2.5 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-Net) ระดบั มธั ยมศึกษาตอน

ปลาย (ม.6) ปีการศกึ ษา 2562 108

2.6 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-Net) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษา

ตอนตน้ (ม.3) ปกี ารศกึ ษา 2560 - 2562 108

2.7 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-Net) ระดับชั้นมัธยมศกึ ษา

ตอนตน้ (ม.6) ปกี ารศึกษา 2560 - 2562) 108

2.8 แนวคิดเชิงระบบของขอ้ เสนอทางเลือกทห่ี ลากหลายในเชิงวิชาการหรือทฤษฎี

(Academic or theoretical Alternative Offerings) ทไี่ ด้จากการศกึ ษาวรรณกรรม

ท่เี กย่ี วขอ้ งของผู้วิจยั : กรอบแนวคิดในการวิจัย 112

3.1 เกณฑ์การพจิ ารณาคา่ ความยากง่าย ( p ) ของข้อสอบ 125

3.2 เกณฑ์การพจิ ารณาคา่ อำนาจจำแนก ( r ) ของขอ้ สอบ 126

3.3 แสดงกิจกรรมและระยะเวลาในโครงการพฒั นาครผู สู้ อน 131

3.4 แสดงกจิ กรรมและระยะเวลาในโครงการครูนำผลการเรยี นรู้สกู่ ารพฒั นานกั เรียน 132

4.1 ผลการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ สอบกับวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ในแบบทดสอบ

ผลการเรียนรู้ของครู 145

4.2 คะแนนจากการทดลองใช้ (Try-Out) แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูกบั ครูทเ่ี ป็นกลุ่ม

ตวั อย่างจำนวน 30 ราย เพือ่ วิเคราะหค์ วามยากง่าย การกระจาย ความเชอื่ มัน่

ค่าอำนาจจำแนกรายข้อ และค่าสัมประสทิ ธ์ิความเช่อื มน่ั ดว้ ยวิธีการของ Kuder –

Richardson 147

4.3 เกณฑก์ ารพจิ ารณาค่าความยากง่าย (p) ของข้อสอบ 149

4.4 เกณฑก์ ารพจิ ารณาคา่ อำนาจจำแนก ( r ) ของขอ้ สอบ 149



สารบญั ตาราง (ตอ่ )

ตารางที่ หน้า

4.5 แสดงคา่ ความยากง่าย (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) และผลการพจิ ารณาคณุ ภาพของ

ข้อสอบรายขอ้ 150

4.6 ผลการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คำถามกบั วัตถุประสงคก์ ารพฒั นาในแบบ

ประเมินทกั ษะเชิงนวตั กรรมของนักเรยี น 153

4.7 ผลการวเิ คราะห์ค่าสมั ประสทิ ธ์ิแอลฟาของความเชอ่ื มัน่ ของแบบสอบถามจำแนกเป็น

รายด้านและโดยรวม 155

4.8 ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครทู ่เี ปน็ กลมุ่ ทดลองกอ่ นการพฒั นา (Pre-test) 158

4.9 ผลการทดสอบผลการเรยี นรูข้ องครทู ่เี ปน็ กลมุ่ ทดลองหลังการพัฒนา (Post-test) 161

4.10 ผลการทดสอบค่าที (t-test) เปรียบเทยี บความแตกต่างอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิ

ระหว่างคะแนน “กอ่ น” และ “หลงั ” การพัฒนาเพ่อื การเรยี นรู้ของครู 163

4.11 ผลการวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบผลการเรียนรูข้ องครตู ามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 165

4.12 คา่ เฉลยี่ (Mean: ) และคา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.)

จากผลการประเมินทกั ษะเชิงนวัตกรรมของนักเรยี นกอ่ นการทดลอง (Pre-test) 167

4.13 ผลการประเมินตนเองของครทู ่เี ป็นกลมุ่ ทดลองในการนำขอ้ เสนอทางเลอื กทเ่ี ปน็

หลักการ / แนวคดิ / เทคนิค / วธิ ีการ / กจิ กรรมไปใช้ในการพฒั นาทกั ษะ

เชิงนวัตกรรมใหก้ บั นกั เรยี น 171

4.14 ผลการประเมนิ ตนเองของครทู เี่ ปน็ กลมุ่ ทดลองในการนำข้อเสนอทางเลือกที่เปน็

ขัน้ ตอนการพัฒนาไปใช้ในการพฒั นาทักษะเชิงนวัตกรรมใหก้ บั นกั เรยี น 175

4.15 คา่ เฉลยี่ (Mean: ) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.)

จากผลการประเมนิ ทกั ษะเชงิ นวัตกรรมของนักเรยี นหลังการทดลอง (Post-test) 179

4.16 ผลการทดสอบค่าที (t-test) เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ

ระหว่างคะแนน “กอ่ น” และ “หลงั ” การทดลอง 181



สารบญั ภาพ

ภาพที่ หน้า

2.1 หลักธรรมเพอื่ คุณภาพและความสำเรจ็ ในการทำวจิ ยั 19

2.2 แนวคิดและข้นั ตอนการวิจยั และพฒั นาตามทศั นะของวิโรจน์ สารรตั นะ 21

3.1 ขน้ั ตอนของการวิจัยและพฒั นาในงานวจิ ยั 119

3.2 กรอบแนวคดิ ในการจัดทำคมู่ ือเพือ่ พฒั นาทกั ษะเชงิ นวัตกรรม 121

4.1 แสดงปกของโปรแกรมออนไลนแ์ ละปกของคมู่ อื ประกอบโครงการพฒั นาเพอื่ การเรียนรู้

ของครูเก่ยี วกบั การพัฒนาทักษะเชงิ นวัตกรรม 137

4.2 แสดงปกของคู่มอื ประกอบโครงการครนู ำผลการเรียนรสู้ ่กู ารเสรมิ สร้าง

ทักษะเชิงนวัตกรรมให้แกน่ กั เรียน 138

4.3 การตรวจสอบคณุ ภาพของคูม่ อื และการปรับปรงุ แกไ้ ข ณ โรงเรยี นประภัสสรวทิ ยา

วดั ศรีนวล ขอนแกน่ 138

4.4 การตรวจสอบคณุ ภาพของคู่มอื ณ โรงเรียนวดั โพธิสมภาร 141

4.5 การตรวจสอบคุณภาพของคมู่ อื ณ โรงเรยี นบาลีสาธิตศกึ ษา วัดเขตอดุ ม 142

4.6 การประชมุ ชี้แจงรายละเอยี ดโครงการวจิ ยั และการทำแบบทดสอบของครูทเ่ี ป็นกลมุ่

ทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-test) ณ โรงเรียนบาลสี าธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราช

วทิ ยาลยั วดั ศรีษะเกษ 157

4.7 ครทู ่ีเป็นกลุ่มทดลองศกึ ษาคมู่ ือประกอบโครงการทง้ั สองโครงการโดยหลกั การเรียนรู้

ด้วยตนเอง (Self-Learning) 159

4.8 การประชมุ ชีแ้ จงระเบียบวธิ ีวจิ ยั ให้กบั ครทู ีเ่ ปน็ กลมุ่ ทดลอง 167

4.9 ครูท่เี ปน็ กลุ่มทดลองนำผลการเรยี นรสู้ กู่ ารพัฒนานกั เรยี น 170

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกในยุคสมัยปัจจุบัน ตลอดจนการเปลี่ยนแปลง

สง่ิ แวดล้อมทเ่ี กิดความผนั ผวนอย่างรวดเร็วและรนุ แรง โดยมีเทคโนโลยีเป็นตวั กลางชวี ิตความเป็นอยู่
ของคนกับนวัตกรรม โดยปัจจุบันวิวัฒนาการของโลกก้าวเข้าสู่เศรษฐกิจยุคโลกาภิวัฒน์ ที่นำเอา
เทคโนโลยีสารสนเทศหรืออนิ เทอร์เน็ตเข้ามาแก้ปัญหาและช่วยอำนวยกิจกรรมทางเศรษฐกิจในทกุ
ภาคส่วน ส่งผลโดยตรงกับวิถีชีวติ กับคนในสังคมยคุ สมัยใหม่ทีจ่ ำเป็นต้องปรับตวั ไปพร้อมกบั ทกั ษะ
เชิงนวัตกรรม (ธานินทร์ อินทรวิเศษ, 2562) ประกอบกับ ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษท่ี
21 ในการเตรยี มนกั เรียนใหพ้ รอ้ มกบั ชีวติ ในศตวรรษที่ 21 เปน็ เรื่องสำคัญของกระแสการปรบั เปลย่ี น
ทางสังคมท่ีเกิดขึ้นในศตวรรษท่ี 21 ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมคี วาม
ตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสำหรับการ
ออกไปดำรงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่ง
ศตวรรษท่ี 21 ท่สี ำคญั ที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ สง่ ผลให้มกี ารเปลีย่ นแปลงการจดั การเรยี นร้เู พือ่ ให้
เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจำเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูป
เปลยี่ นแปลงรูปแบบการจดั การเรยี นการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมดา้ นต่างๆ (ศิริวศั น์ ลำ
พุทธา, 2563)

ในการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เปน็ การเตรียมคนไปเผชญิ การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว รนุ แรง
พลิกผัน และคาดไม่ถึง คนยุคใหม่จึงต้องมีทักษะที่สูงในการเรียนรู้และปรับตัว ครูเพื่อศิษย์ต้อง
พัฒนาตนเองให้มีทักษะของการเรยี นรู้ดว้ ย และในขณะเดียวกันต้องมีทกั ษะในการทำหน้าท่ี ครูใน
ศตวรรษท่ี 21 ซึ่งไมเ่ หมือนการทำหนา้ ทีค่ รูในศตวรรษที่ 20 หรอื 19 (วจิ ารณ์ พานชิ , 2556) ในช่วง
ทศวรรษที่ผา่ นมา นวัตกรรมและความคดิ สรา้ งสรรคไ์ ดก้ ลายมาเป็นทักษะการคิดวิเคราะหท์ ่ีจะนำไปสู่
ความสำเรจ็ ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ความต้องการการแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์มีเพ่มิ มากข้ึน และการ
จดั การปัญหาน้นั กจ็ ำเป็นตอ้ งใช้ความคิดสร้างสรรค์อยา่ งเขา้ ใจเพ่ือการหาทางแกไ้ ขปญั หาที่เหมาะสม
(Sokova ,2018)กลา่ วได้วา่ นวัตกรรมเป็นส่ิงท่สี ำคัญมากสำหรบั องคก์ ร เน่อื งจากนวัตกรรมมสี ว่ นชว่ ย
ให้องคก์ รขยายขอบเขต และยงั เพ่มิ เครอื ขา่ ยในการพัฒนาตลาดซึ่งจะนำไปสโู่ อกาสดี ๆ โดยเฉพาะใน
กลุ่มประเทศร่ำรวย นวัตกรรมสามารถช่วยในการพัฒนาแนวคิดเดิมที่มีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้น ใน
ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมให้ผู้มีความคดิ ใหม่ๆ สามารถทำงานของตนได้อย่างเต็มที่ มีความมั่นใจและ
ทัศนคติการกล้ารับความเสี่ยงเพื่อให้งานประสบผลสำเร็จ (Henderson,2018) หากเราพิจารณา
บทบาทของนวตั กรรมจากมุมสงั คม เราจะเห็นความสำคัญของนวตั กรรมในองค์กรชันเจนขน้ึ ทุกวนั นี้
เป็นการยากที่จะบอกว่าอุตสาหกรรมใดบ้างที่เห็นว่านวัตกรรมไม่สำคัญ แม้ว่าอุตสาหกรรมบาง
ประเภทจำเป็นต้องใช้นวัตกรรมมากกว่าอุตสาหกรรมประเภทอื่น แต่นวัตกรรมและความสามารถใน
การพัฒนาเปน็ สงิ่ ท่อี ตุ สาหกรรมทกุ ประเภท (Myllyya ,2019)

2

ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตทีก่ า้ วหน้าอยา่ ง
ต่อเนื่องส่งอิทธิพลอย่างเข้มข้นต่อการพัฒนานวัตกรรม นักการศึกษาและผู้ประกอบการทางการ
ศกึ ษาจงึ สรา้ งสรรคน์ วัตกรรมเพอ่ื ลดขอ้ จำกัดในการเรยี นรู้, สร้างโอกาสเขา้ ถงึ แหลง่ การเรียนรู้, และ
เพิ่มความสำเรจ็ ในการเรียนรู้ ซึง่ นวัตกรรมเหล่านล้ี ว้ นเปน็ เคร่อื งมือท่ีชว่ ยอำนวยความสะดวกในการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนอันทรงพลังที่นักการศึกษาควรทำความรู้จักเพื่อนำไปปรับใช้ในการ
ออกแบบนวัตกรรมทางการศึกษาและอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน (สำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28, 2563) นวัตกรรมจึงมีความสำคัญต่อการศึกษาหลาย
ประการ ทั้งนี้เนื่องจากในโลกยุคโลกาภิวัฒน์โลกมีการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็ว
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความก้าวหน้าทั้งด้านนวัตกรรมม การศึกษาจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนา
เปล่ยี นแปลงจากระบบการศึกษาท่ีมีอยู่เดิม เพ่อื ให้ทนั สมัยต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี และ
สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านศึกษาบางอย่างที่เกิดขึ้นอย่างมี
ประสิทธิภาพเช่นเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงทางด้านการศึกษาจึงจำเป็นต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับ
นวัตกรรมการศกึ ษาที่จะนำมาใช้เพอื่ แก้ไขปัญหาทางการศกึ ษาในบางเรอ่ื ง และการพฒั นาหลักสูตร
ให้ทันสมัย การผลิตและพัฒนาส่ือใหม่ ๆ ขึ้นมาเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ให้เพิม่ มากข้ึน
ดว้ ยระยะเวลาที่สน้ั ลง การใช้นวตั กรรมมาประยุกตใ์ นระบบการบรหิ ารจัดการดา้ นการศกึ ษากม็ สี ่วน
ชว่ ยใหก้ ารใชท้ รัพยากรการเรยี นรเู้ ปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เชน่ เกิดการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (เวบ็ ไซด์
นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารทางการศกึ ษา,2561) การศึกษาสำหรับศตวรรษท่ี 21
เปน็ การเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วในสภาพแวดล้อมทีป่ ระเทศต่าง ๆ มคี วามเช่อื มโยงกันมากขึ้นเร่ือย
ๆ และระบบการศึกษาจำเป็นต้องปรับตัว โดยไม่ใช่แค่การปฏิรูปเพียงครั้งคราว แต่ต้องเป็นการ
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการของเยาวชน สังคมและตลาดแรงงานทั้งใน
ปจั จบุ ันและอนาคต การศึกษาควรจะมงุ่ เน้นการเตรยี มความพรอ้ มให้เยาวชนมที กั ษะท่จี ำเป็นต่อการ
ใช้ชีวิตและสอดคล้องกบั สังคมในอนาคต (องค์การยูนเิ ซฟ ประเทศไทย,2563)

การเข้าสู่ Thailand4.0 ประเทศไทยต้องมีการสร้างนวัตกรรมเป็นของตนเอง โดยไม่ตอ้ ง
พึ่งพาต่างชาติเหมอื นแต่ก่อน ซึ่งเป้าหมายสำคัญของ Thailand 4.0 คือ การขับเคลื่อนไปสูก่ ารเปน็
ประเทศที่ “มัง่ คงั่ ม่นั คง และยง่ั ยนื ”กลา่ วคือการทำใหป้ ระเทศไทยกา้ วไปสู่ประเทศท่มี รี ายได้สูง และ
มีการพฒั นาทรพั ยากรมนุษยใ์ ห้มีคุณภาพสงู โดยเฉพาะ คนหรอื ทรัพยากรมนุษย์นบั เปน็ องค์ประกอบ
ที่สำคัญและมคี วามจำเป็นมากท่ีสดุ เพราะเป็นแหล่งความรู้และกำลังสำคัญในการขับเคล่ือนประเทศ
โดยการเป็นผูท้ ี่นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ซึ่งการท่ีจะพฒั นาบุคคลให้มี
คุณภาพ มีความรู้ความสามารถสอดคล้องกับนโยบายดังกล่าวได้นั้น ระบบการศึกษาของประเทศ
จำเปน็ ต้องปรบั เปลี่ยนและก้าวสู่ “การศึกษา 4.0” ด้วยเช่นเดียวกัน เพราะการศกึ ษาเปน็ เครื่องมือ
สำคัญในการพัฒนาและยกระดบั คุณภาพของบคุ คล (นพรัตน์ มีศรแี ละ อมรินทร์ เทวตา, 2561) ใน
ยุค Thailand 4.0 ไม่ใช่เปน็ เพียงการให้ความรูก้ ับคนหรือผูเ้ รียนเท่าน้ัน แต่เป็นการเตรยี มมนุษย์ให้
เป็นมนุษย์ นัน่ หมายความว่า ในการเรยี นรู้ใด ๆ ก็ ตาม นอกจากความรู้ที่ผเู้ รียนจะไดร้ บั แล้ว ผู้เรียน
จะต้องไดร้ ับการพัฒนาทักษะที่สำคัญในการดำเนนิ ชีวิตไปด้วย โดยเฉพาะในส่วนของผู้เรยี นต้องสอน
ให้มี “ความรู้คู่คณุ ธรรมและมที กั ษะในศตวรรษท่ี 21” ได้แก่ ทกั ษะการคิด วเิ คราะห์ การแก้ปัญหา
การคิดสร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรม (ยุทธศาสตรช์ าติ, 2561 ) โดยบทบญั ญัติด้านการศึกษา ตาม

3

รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 4 หนา้ ทีข่ องปวงชนชาวไทย มาตรา 50
ข้อที่ 4 กล่าวว่า ชนชาวไทยเข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ หมวด 5 หน้าที่ของรฐั
มาตรา 54 รฐั ตอ้ งดำเนินการให้เด็กทกุ คนได้รับการศกึ ษาเป็นเวลาสบิ สองปี ต้ังแตก่ ่อนวัยเรียนจนจบ
การศึกษาภาคบังคับอย่างมคี ุณภาพโดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย รัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดแู ล
และพัฒนากอ่ นเขา้ รบั การศกึ ษาตาม เพ่อื พฒั นาร่างกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้
สมกับวัย โดยส่งเสรมิ และสนบั สนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมใน
การดำเนินการด้วย รฐั ตอ้ งดำเนินการให้ประชาชนไดร้ บั การศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ
รวมทั้งส่งเสรมิ ให้มกี ารเรียนรูต้ ลอดชวี ิต และใหม้ ีการจดั ความร่วมมอื กันระหว่างรัฐ องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนในการจัดการศกึ ษาทุกระดับ โดยรัฐมีหนา้ ทีด่ ำเนินการ กำกับ ส่งเสรมิ
และสนบั สนุนให้การจัดการศกึ ษาดังกลา่ วมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล การศึกษาทัง้ ปวงต้องมุง่
พฒั นาผู้เรียนใหเ้ ปน็ คนดี มวี ินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชย่ี วชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความ
รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ มาตรา
258 ให้ดำเนินการปฏริ ปู ประเทศอย่างน้อยในด้านตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ ผล ดังต่อไปนี้ ด้านการศึกษา ในขอ้ ท่ี
4 กล่าวว่า ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด
และปรับปรงุ โครงสร้างของหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ งเพอื่ บรรลเุ ป้าหมายดงั กล่าว โดยสอดคล้องกันทั้งใน
ระดบั ชาติ และระดับพ้นื ท่ี (สำนักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี, 2560)

จากบทบัญญัติด้านการศึกษา และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แนวคิดการจัดการศึกษา
(Conceptual Design) ตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติยดึ หลัก สำคญั ในการจัดการศกึ ษา ประกอบด้วย
หลกั การจดั การศึกษาเพ่ือปวงชน (Education for All) หลกั การจัดการศกึ ษาเพ่อื ความเทา่ เทียมและ
ทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และ
หลักการมีสวนรวมของทุกภาคสวนของ สังคม (All for Education) อีกทั้งยึดตามเป้าหมายการ
พฒั นาท่ยี งั่ ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local
Issues) โดยนำยุทธศาสตร์ชาติ (National Strategy) มาเป็นกรอบความคิดสำคัญในการจัดทำ
แผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ฉบบั นจี้ งึ ได้กำหนด วสิ ยั ทศั น(์ Vision)
ไว้ดังน้ี “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิต อย่างเปน็ สุข
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษที่ 21”
(สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2560)

นอกจากนแ้ี ล้วการจดั การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ซง่ึ สถานศึกษาจะตอ้ งพัฒนาผเู้ รยี นทั้งใน
ด้าน ความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ซึ่งประกอบด้วย ทักษะ
การ เรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี จึงเป็น
ภาระทีส่ ำคัญของผู้บรหิ ารท่ีจะต้องรับผิดชอบจดั การศกึ ษาให้ประสทิ ธภิ าพ ซ่ึงผบู้ รหิ าร จะต้องรู้เท่า
ทนั ความเปลยี่ นแปลง พฒั นาตนเองคิดหายทุ ธศาสตร์ในการบรหิ ารจดั การใหม่ๆ ปรบั เปล่ียนรปู แบบ
การทำงานให้ความสำคัญกบั ความสัมพันธ์ของผู้ปฏิบัติงานในองค์กร และนอก องค์กรให้ความสนใจ
ตอ่ วฒั นธรรมองคก์ รท่มี งุ่ ผลลัพธ์ใสใ่ จในเร่ืองของศาสตรท์ างการสอนที่ เหมาะสม และต้องเข้ามารับ
บทบาทในการเร่งปรบั เปลย่ี นรปู แบบการจดั การเรียนการสอนของครู ปรับเปลย่ี นเนือ้ หาตามหลกั สตู ร
ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะใหม่ๆให้กับครูผู้สอน ส่งเสริมให้มี การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อพัฒนา

4

คุณภาพทางการศึกษาให้สูงขึ้นรวมทั้งปรับบทบาทในการสร้าง เครือข่ายการเรียนรู้ทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศกึ ษาเพือ่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความรู้ความสามารถ และมีทักษะทดั เทียมเป็นทีย่ อมรบั
ของชาติอื่นและสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข (สมหมาย อ่ำดอนกลอย, 2556) ในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้กำหนดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในด้าน
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ไวว้ ่า ให้มีความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยีด้านต่าง ๆ มี
ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยเี พือ่ การพฒั นาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้การสอ่ื สาร การ
แก้ปัญหาไดอ้ ย่างสร้างสรรค์พรอ้ มกบั การมีคุณธรรม (กระทรวงศึกษาธิการ,2551)

ในการปรับเปลีย่ นทางสงั คมที่เกิดขึ้นในศตวรรษท่ี 21 ส่งผลตอ่ วถิ ีการดำรงชีพของสังคม
อย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตวั และเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรยี มความพร้อมให้
นักเรียนมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20
และ 19 โดยทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ท่ีสำคัญทสี่ ุด คือ ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Skill) สง่ ผลใหม้ ี
การเปลีย่ นแปลงการจัดการเรียนรเู้ พอ่ื ใหเ้ ดก็ ในศตวรรษท่ี 21 นี้ มคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะ
จำเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียม
ความพร้อมด้านต่างๆ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ ทักษะด้านการเรยี นรู้
และนวัตกรรม จะเปน็ ตัวกำหนดความพรอ้ มของนักเรียนเขา้ สู่โลกการทำงานทมี่ คี วามซับซ้อนมากขน้ึ
ในปัจจุบัน ได้แก่ 1.ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม 2.การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการ
แก้ปญั หา 3.การส่อื สารและการรว่ มมือ (ประสงค์ พรหมเมตตา,2561) ทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษ
ที่ 21 กรอบการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Framework for 21st Century Learning) เป็นแนวคิด
สำคัญในการ จัดการศึกษาที่ได้กำหนดทักษะที่เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนไว้ 3 ส่วน
ประกอบด้วย 1. ทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม คือ มีความคิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหาเป็น ใส่ใจ
นวัตกรรม มีการสื่อสารที่ดี รู้จักคิดอย่างมีวิจารณญาณ และมีความร่วมมือร่วมใจ 2. ทักษะด้าน
สารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี คือรจู้ กั ตดิ ตามข้อมลู ข่าวสาร รอบร้ดู ้านเทคโนโลยี สารสนเทศ รู้เท่า
ทันสอื่ และฉลาดในการสอื่ สาร 3. ดา้ นชวี ติ และอาชพี คอื มีความยืดหย่นุ รู้จกั ปรับตวั มีภาวะผู้นำ มี
ความคิดริเริ่ม ใส่ใจตัวเอง เรียนรู้ วัฒนธรรม รู้จักเข้าสังคม มีความขยันหมัน่ เพียร รับผิดชอบ และ
รู้จกั พฒั นาตัวเอง (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2563)

การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่รัฐ
กําหนดให้มีข้ึนตามความประสงคข์ องคณะสงฆ์ เพ่อื ให้พระภิกษุสามเณรมีความรู้ทงั้ ทางโลกและทาง
ธรรม ควบคูก่ นั ไป เป็นการจดั การศึกษาท่มี ุ่งเนน้ ให้พระภิกษุสามเณร เป็นศาสนทายาททดี่ ี มีความรู้
ตาม มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ และมคี วามรู้ความเข้าใจในหลักธรรมคําสอนทางพระพทุ ธศาสนาได้
อย่าง ถกู ตอ้ งถ่องแท้ ปลูกฝงั ความศรทั ธา มัน่ คงต่อพระพุทธศาสนา นอ้ มนําหลกั ธรรมและพระวินัย
ไปประพฤติ ปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ชีวิต เกิดปัญญา สามารถดํารงอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข และช่วย เผยแผ่ ปกป้อง รักษาพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองและส่งเสริมสันติสุขแก่
สังคมไทยและสงั คมโลกสืบไป โดยเน้นใหใ้ ห้เป็นคนเก่ง ดีและมีความสขุ และมที ักษะในการดำรงชีวิต
ในสังคม ให้เป็นสุข พัฒนาภูมิความรู้ของพระภิกษุ-สามเณร ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุค
โลกาภิวัตน์ จงึ ได้กำหนดวสิ ัยทัศน์ไวว้ ่า “ส่งเสริมพระพุทธศาสนาใหเ้ จรญิ งอกงามด้วยศาสนทายาทที่
เปยี่ มปญั ญาพุทธธรรม ผลกั ดันให้ประเทศไทยเป็นศนู ยก์ ลางการศึกษาพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญ

5

ศึกษา ของโลก มีคุณภาพ มาตรฐาน” และใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
2551 หลักสูตรในการศึกษาและควบคู่ไปกับการศึกษาวิชาบาลีและนักธรรม (สำนักงาน
พระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ,2555)

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เนน้ การใช้เปน็ แผนยทุ ธศาสตร์ระยะยาวสำหรบั
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของประเทศ ได้นำไปใช้เป็นกรอบและแนวทางการพัฒนา
การศกึ ษา และ เรียนร้สู ำหรับพลเมอื งทกุ ช่วงวยั ตง้ั แต่แรกเกิดจนตลอดชีวิต โดยจุดมุง่ หมายท่ีสำคัญ
ของแผน คือ การมุง่ เนน้ การประกนั โอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา และการศกึ ษาเพื่อการ
มีงานทำและสรา้ งงานไดแ้ ละ ได้ กำหนดสาระสำคัญสำหรับบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษา
ใน 5 ประการ ได้แก่ การเข้าถึงโอกาส ทางการศึกษา (Access) ความเท่าเทียมทางการศึกษา
(Equity) คุณภาพการศึกษา (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตอบโจทย์บริบทที่
เปลีย่ นแปลง (Relevancy) และไดก้ ำหนดเปา้ หมายของแตล่ ะยทุ ธศาสตร์ตามทีก่ ำหนดไวใ้ นแผนการ
ศึกษาแห่งชาติจะประสบ ผลสำเร็จตามที่ระบไุ ว้ในแต่ละยุทธศาสตร์และแนวทางการพฒั นาหน่วยงาน
ทง้ั ระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ ท้งั ในส่วนกลาง ส่วนภมู ิภาค จงั หวัด เขตพื้นที่การศึกษาและ
สถานศกึ ษาต้องยดึ ถอื เป็นแนวทางใน การดำเนินงาน และมีการทบทวน ปรบั ปรุงมาตรการเปา้ หมาย
ความสำเรจ็ ใหท้ ันต่อการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดข้นึ ในแต่ละพ้นื ทเ่ี พือ่ การพัฒนาศักยภาพผเู้ รียนในทกุ ชว่ ง
วัยต้องดำเนินการ และได้ศึกษาโดยการวิเคราะห์ปัญหาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ
ศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนเป็นเด็ก/เยาวชนผู้ขาดโอกาสทางการศึกษา มีความแตกต่างทาง
สงั คมและเศรษฐกิจ ทำให้ ห่างไกลครอบครัว ผเู้ รียนมีพน้ื ฐานความรู้แตกต่างกนั ทำให้เกิดความเลอ่ื ม
ล้ำทางการศึกษา โรงเรยี นไม่สามารถเลือกนักเรียนได้ พร้อมทั้งผู้เรียนขาดความกระตือรือร้นใฝร่ ้ใู ฝ่
เรียน ระบบการบริหารจดั การศึกษาและการพฒั นาบุคลากรยังไม่เปน็ ระบบ ไม่มที ศิ ทางในการบรหิ าร
จัดการที่ชัดเจน และโครงสร้างภายในหน่วยงานที่ดูแล ไม่สอดคล้องกับภารกิจงานการศึกษา
ตลอดจนองคก์ รขาดผมู้ คี วามรู้ ความเชย่ี วชาญ ดา้ นการศกึ ษา ด้านการนิเทศติดตามและ ประเมินผล
และขาดบคุ ลากรมืออาชีพในด้านการบริหารจัดการ ขาดงบประมาณในการลงทนุ และก่อสร้าง เพ่ือ
พัฒนาและยกระดับสถานศึกษาให้มีความพร้อม มากยิง่ ข้ึน อาคารสถานที่ไมเ่ พยี งพอ ไม่เอื้อต่อการ
จัดการศึกษา และไม่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งขาดงบประมาณในส่วนของงบ
ดำเนินงาน ทำให้การบริหารจัดการโรงเรียนไม่มีประสิทธิภาพ ต้องบริหารจัดการแบบบูรณาการ
โรงเรียนต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์เอง ระบบการจัดการศึกษาไม่มีแผนยุทธศาสตร์ที่ใช้บังคับอย่าง
ชัดเจน ไม่มีแผนงานในการบริหาร จัดการ แผนงบประมาณ และนโยบายในการพัฒนาคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาอย่างชัดเจน พร้อมทั้งขาดการวางแผนในการพัฒนาการศึกษาอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง ขาดการนำข้อมูล มาศึกษาวิเคราะห์ เพื่อวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง
จริงจัง เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการและการจัดการศึกษายังไม่มีความทันสมัย
ตลอดจน ระบบฐานข้อมูล ยังไม่ครอบคลุม และไม่มีประสิทธิภาพ และการเข้าถึงเทคโนโลยียังไม่
แพร่หลาย และทั่วถึง ขาดแคลนคอมพิวเตอร์ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยี ที่ทันสมัย สำหรับการ
จัดการเรียน การสอนที่กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดกลางและขนาดเล็ก
เนอื่ งจากขาดงบประมาณสนับสนุน และขาดงบประมาณในการซอ่ มบำรงุ ส่อื วัสดุ อุปกรณ์ ทำให้ไม่
สามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ หลักสูตรที่ใช้เป็นหลักในการจัดการศึกษา เป็นการนำหลักสูตร

6

การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานของ กระทรวงศึกษาธิการมาใช้ ซ่ึงยงั ขาดความสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน
พระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา และการพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ ศาสนทายาทของพระพทุ ธศาสนา จึง
ทำให้ผลการสอบระดับชาติ (O-NET) มีผลการเรียนที่ต่ำ (สำนักงานพระพุทธศาสนา, 2562)

จากผลรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหา
จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย ผลปรากฏว่า กลุ่มสาระการ
เรยี นรภู้ าษาไทย ค่าเฉล่ยี กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 มีค่าเฉลยี่ เทา่ กบั 36.00
ซ่งึ ตำ่ กวา่ คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ คือ 55.14 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 มคี ่าเฉล่ยี เทา่ กับ 29.25 ซึง่ ต่ำ
กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ 42.21 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ค่าเฉลย่ี กลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 18.93 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉล่ี ย
ระดับประเทศ คือ 26.73 ค่าเฉลีย่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลย่ี
เท่ากับ 16.07 ซึ่งต่ำกวา่ คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ คือ 25.41 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ค่าเฉล่ียกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 28.89 ซึ่งตำ่ กว่า
คะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ คือ 30.07 ค่าเฉล่ยี กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี
6 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 22.07 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ 29.20 กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คา่ เฉลี่ยกลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 มีคา่ เฉลีย่ เทา่ กับ 28.00 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ คอื 33.25 ค่าเฉลี่ย
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 มคี ่าเฉลีย่ เทา่ กบั 21.12
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 26.00 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉล่ีย
ระดบั ประเทศ คือ 35.70 เมอื่ พจิ ารณารายสาระการเรยี นรู้ พบวา่ สาระการเรียนรูท้ ีส่ ถานศกึ ษาควร
เร่งพฒั นา เน่ืองจากมีผลการทดสอบของสาระการเรยี นร้มู ีค่าเฉลยี่ ต่ำกว่าคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ
(โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษาฯ วัดศรีษะเกษ,2562)

จากปัญหาดังกล่าวท่ีไดส้ ่งผลกระทบต่อสถานการณด์ ้านการศึกษา ทำให้มีความจำเป็นท่ี
จะต้องปรับปรุงคุณภาพการศกึ ษา สู่การปรับนโยบายการจัดการศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับสภาพบริบท
ทางสังคมโลก ดังปรากฏในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 – 2579 ที่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ และ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา โดยละบตุ ัวชีว้ ัดคุณลักษณะและทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
ของผ้เู รียนในดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์ และตวั ชว้ี ัดเกยี่ วกบั การบูรณาการในสถานศกึ ษาไวอ้ ยา่ งชัดเจน
ดว้ ยเหตนุ ส้ี ถานศกึ ษาควรออกแบบหลักสตู รให้สอดคลอ้ งกับเป้าหมายในการจดั การศกึ ษายุคปัจจุบัน
โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีทางเลือกที่หลากหลายที่เหมาะสมกับตนเอง (สำนักงานเลขาธิการสภา
การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2560)

จากท่กี ล่าวมาข้างตน้ แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสำคญั ของการพัฒนาทักษะนวัตกรรม ซง่ึ ในงาน
นีว้ ิจยั นี้ ผวู้ ิจัยไดศ้ กึ ษาทศั นะในเชิงทฤษฎีหรือเชิงวิชาการในแงม่ มุ ต่างๆ เชน่ ทัศนะของ Henderson
(2018), Myllyya (2019), ในเว็บไซต์ของ Cleverism (n.d.), Sokova (2018), Kappe (2018),
Nolan (2017) และ Sokolova (2018) ที่กลา่ วถึงความสำคัญของทักษะนวัตกรรมว่า นวัตกรรมเป็น
สิ่งที่สำคัญมากสำหรับองค์กร เนื่องจากนวัตกรรมมีส่วนช่วยให้องค์กรขยายขอบเขต และยังเพิ่ม
เครอื ข่ายในการพฒั นาตลาดซึง่ จะนำไปสโู่ อกาสดี ๆ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศรำ่ รวย การนำความคดิ

7

เหล่านั้นที่ไมว่ ่าจะเป็นแนวคิดใหม่ๆ แนวทางการแก้ไขปัญหา วิธีการดำเนนิ การ หรือผลติ ภณั ฑ์ที่ได้
คิดค้นขึ้นมาทำให้เกิดขึ้นจริง ความคิดสร้างสรรคเ์ ป็นแรงผลกั ดันให้เกิดนวัตกรรม สองส่ิงน้รี วมกนั
ช่วยใหเ้ รามองสงิ่ ต่าง ๆ ในมมุ มองทแี่ ตกต่างโดยไม่คำนึงถึงกฎเกณฑ์และธรรมเนยี มการปฏบิ ตั ิ เป็น
ต้น

นอกจากนั้น จากการศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะนวัตกรรมจากทัศนะของ Baiya
(2018), Cherry (2019), Francisco (2018), Hengsberger (2018), Jonathan (2014) , Kaye
(2018) , Kim (2018), Myllyla (2018),Stack (2013) มีข้อคิดที่เป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะ
นวตั กรรม เชน่ การสรา้ งจินตนาการให้เกดิ ขนึ้ ได้จรงิ การมองสิ่งตา่ งๆ ในต่างมุมมอง การหาจุดเช่ือม
โยงระหว่างแนวคิดและการหาทางแก้ปัญหาและการสร้างโอกาส การกระตุ้นให้ผู้นำพัฒนาระบบ
นวัตกรรม นวัตกรรมไม่สามารถเกิดขึ้นได้ด้วยตัวเอง แต่เกิดจากการมีโครงสร้าง ระบบนวัตกรรม
จำเป็นตอ้ งใช้หลักการในการช่วยมองปญั หาอย่างทะลปุ ุโปรง่ และต้งั คำถามท่สี ำคญั ไปดว้ ย การเข้าถึง
และพัฒนาแก่นความสามารถหลัก การสื่อสารกลยุทธ์ของนวัตกรรม รวมถึงหลักสูตรการสร้าง
นวัตกรรม (Innovation Crash Courses) การเป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ ผู้สร้างนวัตกรรม
จำเป็นต้องมขี ้อมูลและทักษะเฉพาะ มีหลักสูตรที่สามารถอบรมเพ่ือเป็นผู้สร้างนวัตกรรมได้ การมี
ห้องทดลองของนวัตกรรม ห้องปฏิบัติการนวัตกรรมโดยตัวเองเป็นผู้คิดค้นนวัตกรรม การลองพลิก
แพลงปัญหา การเปล่ียนขอ้ บกพร่องให้เป็นสนิ ทรัพย์ ความรู้และผลผลิตเป็นเหมือนดอกเบีย้ ทบตน้
การเตรียมจติ ใจให้พร้อมสำหรับโอกาส การรู้ว่าเมือ่ ไหรต่ ้องทำงานเปน็ ระบบ และรูว้ ่าเมื่อไหร่ตอ้ ง
ทำงานแบบโดดเดย่ี ว การทำงานคนเดียวจะไปให้ไกลทส่ี ุดเทา่ ที่คนหนง่ึ จะทำได้เท่านั้น แตห่ ากทำงาน
กบั ระบบบางครั้งก็สามารถใช้ระบบเพอ่ื เอือ้ ประโยชนไ์ ด้ การเปน็ ผเู้ ช่ยี วชาญ และพรอ้ มรบั ความเสี่ยง
อยู่เสมอ การสร้างความมั่นใจ การใหเ้ วลาสำหรับความคดิ สรา้ งสรรค์ การกล้าต่อสกู้ บั ความกลัวการ
ล้มเหลว การตระหนักว่าปัญหาส่วนใหญ่มีวิธีแก้ไขหลายทาง การท้าทายตัวเองและสร้างโอกาส
สำหรับความคดิ สรา้ งสรรค์ และการมองหาแหลง่ ท่ีมาของแรงบันดาลใจ เปน็ ต้น

จากปัญหา ความสำคัญ และแนวการพัฒนาดังกลา่ วข้างต้น จงึ ทำให้ผู้วิจัยสนใจโปรแกรม
ออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน (Online Program to
Develop Teachers to Enhance Innovation Skills of Students) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยและ
พัฒนา (Research and Development : R&D) ตามทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ (2561) ที่เห็นวา่
นวัตกรรมทพ่ี ฒั นาขึ้นโดยกระบวนการวจิ ยั และพัฒนามจี ุดมุ่งหมายเพื่อนำไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การ
พัฒนาคุณภาพของงานทีม่ ีปรากฏการณห์ รือข้อมูลเชิงประจักษแ์ สดงใหเ้ ห็นว่ามีความจำเปน็ เกิดข้นึ
เชน่ เปน็ ผลสืบเน่อื งจากการกำหนดความคาดหวังใหมท่ ่ีทา้ ทายของหน่วยงาน หรอื การเปลยี่ นแปลง
ในกระบวนทศั นก์ ารทำงานจากเก่าสู่ใหม่ทบ่ี ุคลากรขาดความรูค้ วามเขา้ ใจและทกั ษะในกระบวนทัศน์
ใหม่ และในปัจจุบันมหี ลกั การ แนวคิด ทฤษฎีที่ถอื เปน็ นวตั กรรมใหมท่ างการบริหารการศกึ ษาเกดิ ขน้ึ
มากมาย ทค่ี าดหวังว่าหากบคุ ลากรทางการศกึ ษามีความรู้ (Knowledge) แล้วกระต้นุ ให้พวกเขานำ -
ความรู้เหล่าน้ีสู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือ
ตามคำกล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They
Know” หรอื “Link To On-The-Job Application”

8

จากลักษณะสำคัญของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D)
ดงั กลา่ ว ผูว้ จิ ยั เชอ่ื วา่ จะสามารถตอบสนองตอ่ ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หาดงั กล่าวขา้ งต้น
เพราะการวิจัยและพัฒนาจะช่วยพัฒนานวตั กรรมเพื่อการเรียนรู้แบบออนไลน์ในยุคสังคมดิจิทัลให้
เกิดการเรียนรู้และการนำไปปฏิบัตไิ ด้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งในยุคสมัยดิจิทัลในปัจจุบัน มี
ความสำคัญจำเป็นมากและเป็นเรื่องใหม่ที่ครูผู้สอน (Teachers) จะต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจ
เก่ียวกับทกั ษะเชิงนวตั กรรม (innovation Skills) ซึง่ เป็นทกั ษะสำคญั ทักษะหน่งึ สำหรับการศกึ ษาใน
ศตวรรษที่ 21 เพอ่ื นำไปสูก่ ารพัฒนานกั เรียน (Students) ซ่งึ เปน็ เปา้ หมายสุดท้าย (Ultimate Goal)
ของการจดั การศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ เพราะโปรแกรมออนไลน์เพอื่ พัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรม
(innovation Skills) ของครูสู่การพัฒนานักเรียนที่เป็นผลจากการวิจัยและพัฒนาจาก “กลุ่ม
ทดลอง” ที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ
อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย สามารถจะนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ในกลุ่มประชากร
(Population) ซง่ึ เปน็ เป้าหมายอ้างอิงในการนำผลการวจิ ัยไปเผยแพรเ่ พอื่ ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์หลงั การ
วิจัยและพัฒนา คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา “ทุกโรงทั่วประเทศ” ได้ ตาม
หลักการของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ที่วิจัยและพัฒนา
นวตั กรรมใด ๆ ข้ึนมา แลว้ นำนวตั กรรมนั้นไปทดลองใชใ้ นพื้นทที่ ดลองแหง่ ใดแห่งหนึง่ ทม่ี ีคุณลักษณะ
เป็นตัวแทนของประชากร เมื่อผลจากการทดลองพบว่านวัตกรรมนั้นมีคุณภาพหรือมีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ์ที่กำหนด ก็แสดงว่า สามารถเผยแพร่เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์กับประชากรที่เป็นกลุ่ม
อา้ งอิงในการวจิ ยั ได้ และยงิ่ เป็นโปรแกรมแบบออนไลน์ (Online Program) ทพ่ี ฒั นาขึน้ ตามยุคสมัย
ดจิ ิทัลแบบใหม่ ไมเ่ ป็นโปรแกรมแบบเอกสาร (Document Based Program) แบบยุคสมยั การพิมพ์
แบบด้ังเดมิ จะย่งิ ทวีความเป็นประโยชน์ต่อการนำนวัตกรรมที่พฒั นาข้ึนไปเผยแพร่เพื่อใช้ประโยชน์
ของประชากรทเ่ี ปน็ กลุ่มอ้างอิงในการวิจยั ได้อยา่ งกว้างขวาง อยา่ งประหยัด อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และ
เกดิ ประสทิ ธิผลไดม้ ากกว่า

1.2 คำถามการวจิ ัย
โปรแกรมออนไลน์เพื่อการเรยี นรู้ของครูสู่การเสริมสร้างทกั ษะเชงิ นวตั กรรมของนักเรียน

โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา ที่พัฒนาขนึ้ โดยกระบวนการวิจัยและพฒั นาด้วยแนวคิด
“Knowledge + Action = Power” ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพ่ือ
การเรียนรู้ของครูเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม2) โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การ
เสริมสร้างทกั ษะเชงิ นวตั กรรมใหก้ ับนักเรยี น มีคมู่ อื ประกอบแต่ละโครงการทม่ี ีเนือ้ หาสาระอะไรบ้าง
และหลังการใช้ค่มู ือประกอบแตล่ ะโครงการในภาคสนามด้วยระเบยี บวธิ วี ิจัยเชิงทดลอง ครูท่ีเป็นกลมุ่
ทดลองหลังการดำเนินงานในโครงการแรกได้คะแนนจากการทดสอบความรู้เป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐาน 90/90 หรอื ไม่และมีผลการเรียนร้หู ลงั การทดลองสงู กว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถติ หิ รอื ไม่ ผลการประเมนิ ทกั ษะเชิงนวตั กรรมของนักเรียนหลังการดำเนนิ งานในโครงการที่สอง
มีค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ และมี
ขอ้ เสนอแนะจากครูทเี่ ป็นกล่มุ ทดลองเพ่อื การปรับปรงุ แก้ไขเนือ้ หาสาระในคูม่ ืออะไรอีก

9

1.3 วัตถุประสงค์การวิจัย
การวิจัยในครั้งนมี้ จี ุดมุง่ หมายเพ่ือวจิ ัยและการพฒั นาโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การ

เสรมิ สรา้ งทกั ษะเชงิ นวัตกรรมของนักเรยี น มวี ตั ถปุ ระสงคด์ งั นี้
1.3.1 เพื่อพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” ที่

ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครูเกี่ยวกบั การพฒั นา
ทกั ษะเชงิ นวตั กรรม 2) โครงการครนู ำผลการเรียนรสู้ กู่ ารเสรมิ สรา้ งทกั ษะเชงิ นวตั กรรมใหก้ ับนกั เรยี น
โดยมคี มู่ อื ประกอบแต่ละโครงการ

1.3.2 เพ่ือประเมินความมีประสิทธิภาพของโปรแกรมออนไลนจ์ ากผลการวจิ ัยเชิงทดลอง
ในภาคสนาม 2 ระยะ คือ การพฒั นาครู และครูพฒั นานักเรยี น

1.3.3 เพื่อระดมสมองของครูที่เปน็ กลุ่มทดลองให้ทราบถึงข้อเสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ
แก้ไขโปรแกรมออนไลน์

1.4 สมมตุ ฐิ านการวิจยั
การวิจัยและพัฒนา เรื่อง โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิง

นวตั กรรมของนกั เรียน (Online Program to Develop Teachers to Enhance innovation Skills
of Students) ใชร้ ะเบียบวิธวี ิจัยและพฒั นา (Research and Development : R&D) ตามทศั นะของ
วิโรจน์ สารรัตนะ (2561) ที่เห็นว่า นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น โดยกระบวนการวิจัยและพัฒนามี
จุดมุ่งหมายเพ่ือนำไปใช้พัฒนาบคุ ลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงานที่มีปรากฏการณ์หรือขอ้ มูลเชงิ
ประจกั ษแ์ สดงใหเ้ ห็นวา่ มีความจำเป็นเกดิ ขึ้น เช่น เป็นผลสืบเนือ่ งจากการกำหนดความคาดหวงั ใหม่
ที่ท้าทายของหนว่ ยงาน หรือการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทศั น์การทำงานจากเก่าสูใ่ หม่ที่บุคลากรขาด
ความรูค้ วามเข้าใจและทักษะในกระบวนทศั น์ใหม่ และในปจั จุบันมหี ลักการ แนวคิด ทฤษฎที ่ีถอื เป็น
นวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกดิ ขึ้นมากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามี
ความรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานำความรู้เหล่านี้สู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิด
พลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ตาม
แนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือตามคำกล่าวที่ว่า “Make Them Know What
To Do, Then Encourage Them Do What They Know”ห ร ื อ “ Link To On-The-Job
Application” และด้วยแนวคิดที่ว่าการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่
สำคัญของการวิจัยและพัฒนา เพราะจะทำให้ได้โปรแกรมออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ของครูสู่การ
เสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียนโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษาที่มีคุณภาพ
และประสิทธภิ าพ

ผลจากการศึกษาเอกสารและงายวจิ ัยท่เี กยี่ วข้องในบทที่ 2 ผ้วู ิจัยไดก้ ำหนดกรอบแนวคิด
เพอ่ื โปรแกรมออนไลนเ์ พือ่ การเรยี นร้ขู องครสู ู่การเสริมสรา้ งทกั ษะเชงิ นวตั กรรมของนกั เรียนโรงเรยี น
พระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา ที่ประกอบดว้ ยโครงการ 2 โครงการ คือ คือ 1) โครงการพัฒนา
เพ่อื การเรียนรู้ของครูเก่ยี วกบั การพัฒนาทักษะนวัตกรรม และ 2) โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การ
เสรมิ สร้างทกั ษะนวตั กรรมใหก้ บั นักเรยี น

ในการดำเนินการวิจยั ผ้วู ิจัยได้ดำเนินการจดั ทำโครงการ จดั ทำคูม่ อื ตรวจสอบคณุ ภาพของ
คู่มือ สร้างเครอ่ื งมือเพื่อใช้ในการวจิ ัย และทดลองในภาคสนาม จากขัน้ ตอนตา่ ง ๆ ของการวิจัย คือ

10

ข้ันตอนการจดั ทำคูม่ อื ประกอบโครงการ ขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพคูม่ อื และการปรบั ปรงุ แกไ้ ข 2
ระยะ ข้ันตอนการสร้างเครือ่ งมอื เพื่อการทดลอง และขัน้ ตอนการทดลองในภาคสนาม ซึ่งเปน็ ขนั้ ตอน
การวิจยั ท่ีเชื่อว่าจะทำให้ได้ผลการวจิ ัยท่มี คี ุณภาพ ดงั นั้น จงึ กำหนดสมมุตฐิ านการวจิ ยั ว่า โปรแกรม
ออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ของครสู ู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียนโรงเรียนพระปริยตั ิ
ธรรม แผนกสามัญศึกษาที่ผ่านการทดลองในภาคสนามแล้วจะมีประสิทธิภาพจากผลการประเมิน 2
กรณี ดังน้ี

1.4.1 ผลการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครทู ่ีเปน็ กลมุ่ ทดลองหลงั การดำเนนิ งานในโครงการ
พัฒนาเพือ่ การเรียนรู้ของครูเก่ียวกับการเรียนรูท้ ักษะนวัตกรรมเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90
และมีผลการเรียนรูห้ ลังการทดลองสูงกวา่ ก่อนการทดลองอย่างมีนยั สำคัญทางสถติ หิ รอื ไม่

1.4.2 ผลการประเมินทกั ษะการเรียนรู้นวัตกรรมของนักเรียนตามโครงการครูนำผลการ
เรยี นร้สู ู่การเสรมิ สรา้ งทกั ษะนวตั กรรมใหก้ ับนักเรยี นมคี ่าเฉล่ยี ของคะแนนหลงั การทดลองสงู กว่าก่อน
การทดลองอย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติ

1.5 กรอบแนวคิดของการวิจยั ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

การวิจัยเรื่อง “โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสูก่ ารเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของ
น ั ก เ ร ี ย น ( Online Program to Develop Teachers to Enhance Innovation Skills of
Students)”นี้เป็นการวิจัยในหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and
Development: R&D) มจี ุดมุง่ หมายเพ่ือใหไ้ ด้นวตั กรรมทางการศกึ ษาที่เปน็ โปรแกรมอบรมออนไลน์
ด้วยตนเองท่ีประกอบด้วย 2 โครงการ คอื 1) โครงการพัฒนาเพอ่ื การเรียนรขู้ องครู และ 2) โครงการ
ครูนำผลการเรียนสู่การพฒั นาผู้เรียน โครงการแรกมีคู่มือเพื่อการอบรมดว้ ยตนเอง (Self-Training)
ของครู โครงการท่ีสองมคี ู่มอื เชิงปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือครูนำไปใช้เป็นแนวการพฒั นาผเู้ รยี น โดยคาดหวังว่า
นวัตกรรมทางการศึกษานี้ เมื่อผ่านกระบวนการวิจัยและพัฒนาหลายขั้นตอน (Ri&Di) แล้วนำไป
ทดลองใชใ้ นพืน้ ที่ที่เปน็ ตัวแทนของประชากร เมือ่ ผลการทดลองพบวา่ นวัตกรรมน้นั มีประสิทธภิ าพ ก็
สามารถนำไปเผยแพร่ให้กับประชากรที่เป็นพื้นที่เป้าหมายได้ใช้ประโยชน์ในวงกว้างได้อย่างมี
ผลการวิจยั รองรบั ดงั นั้น การวิจยั น้มี กี รอบแนวคดิ ของการวจิ ยั ในสาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา ดงั นี้

1.5.1 ในเชิงวชิ าการ มีหลายประการ แต่ขอนำมากล่าวถึงท่สี ำคัญ ดงั นี้

1.5.1.1 งานวิจยั นี้ใหค้ วามสำคญั กับการศกึ ษาศตวรรษที่ 21 ซงึ่ มีความสำคัญเพราะ
เป็นสิ่งท้าทายต่อการบริหารการศึกษาในศตวรรษใหม่นี้ อันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในกระบวน
ทัศน์ทางการศึกษาท่ีแตกตา่ งจากศตวรรษที่ 20 ทุกด้าน ทงั้ ดา้ นศาสตร์การสอน หลกั สตู ร ทกั ษะการ
เรียนรู้ ทักษะของครู ทักษะที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ลักษระของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี
บริบทของสถานศึกษา บริบทของห้องเรียน และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ บทบาทหน้าท่ีและภาวะ
ผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา (Churches, 2008; Driscoll, 2022;
and Kashyap, n.d.)

11

1.5.1.2 งานวิจัยนี้มุ่งพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในระดับสถานศึกษา ที่นักวิชาการให้
ความเห็นว่า การบรหิ ารการศึกษาเกดิ ขึ้นในระดับต่าง ๆ ต้ังแต่ส่วนกลางถงึ ระดบั สถานศกึ ษา แต่การ
บริหารการศึกษาระดับสถานศึกษา (คือ โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือชื่อเรียกอื่นๆ) มี
ความสำคัญเพราะเป็นฐานปฏิบัติที่จะทำให้การระดมทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรวัตถุ ให้เกิด
ประโยชน์ที่ใช้งานได้จริง เป็นฐานปฏิบัติที่จะช่วยเสริมสร้างการสอนและการเรียนรู้ที่จะส่งผลให้
นักเรียนได้รับการศึกษาที่ถูกต้องจากครูที่ถูกต้อง และเป็นฐานปฏิบัติที่จะสร้างอิทธิพลที่ส่งผลต่อ
นักเรียนให้เติบโตไปสู่เป้าหมายที่กำหนดโดยมีครูเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Kashyap, n.d.)
สอดคล้องกับแนวคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management: SBM) ซงึ่
เปน็ รปู แบบการกระจายอำนาจให้โรงเรียนท่ีเป็นหนว่ ยหลกั ในการจัดการศึกษา (Edge, 2000)

1.5.1.3 การวิจัยน้ีใช้หลักการ “พัฒนาครู แล้วครูนำผลที่ได้รับไปพัฒนาท่สี ่งผลต่อ
ผู้เรียน” ถือเป็นหลักการที่เป็นจุดเน้นของการบริหารการศึกษา คือ การเสริมสร้างการสอนและการ
เรียนรู้ (The Focus of Educational Administration is the Enhancement of Teaching and
Learning) (Amadi, 2008) เปน็ กระบวนการช่วยใหน้ ักเรียนไดร้ บั การศึกษาทถ่ี กู ตอ้ งจากครูที่ถูกต้อง
( Enables the Right Pupils to Receive the Right Education from the Right Teachers)
(Dhammei, 2022) เป็นการกระตุ้นการพัฒนาโปรแกรมที่เหมาะสมสำหรบั การสอนและการเรียนรู้
(Bamte, n.d.) เป็นไปตามหนา้ ทข่ี องการบริหารการศกึ ษาตามทัศนะของ Amadi (2008) ที่กล่าวถึง
หน้าที่เกี่ยวกับหลักสูตร/การสอน (The Curriculum/Instructional Functions) หน้าที่เกี่ยวกับ
บุคลากร (The Staff Personnel Functions) และหน้าที่เกี่ยวกับนักเรียน (The Student
Personnel Functions) และเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ของการบรหิ ารการศึกษา คอื เพ่อื ใหก้ ารศกึ ษา
ทีเ่ หมาะสมแกน่ ักเรียน (To Provide Proper Education to Students) เพอ่ื ให้แน่ใจว่ามีการพฒั นา
วิชาชพี ของครู (To Ensure Professional Development among Teachers) และเพ่ือความม่ันใจ
ในการพัฒนาคุณภาพก ารศึกษา ( To Ensure Qualitative Improvement of Education)
(Kashyap, n.d.) อนั เนอ่ื งจากหลกั การ “พฒั นาครู แล้วครนู ำผลท่ไี ดร้ ับไปพฒั นาท่ีส่งผลต่อผู้เรียน”
เป็นหลักการส่งเสริมบทบาทการเป็นผู้นำทางการศกึ ษาให้กับครตู ามทัศนะของ Speck (1999) และ
Seyfarth (1999) สง่ เสริมต่อการทำหน้าทข่ี องผบู้ ริหารการศึกษาท่จี ะตอ้ งสนับสนุนคณะครูด้วยการ
ฝึกอบรมและให้คำแนะนำตามทัศนะของ University of Bridgeport (2022) และ Target Jobs
(n.d.) และส่งเสรมิ ต่อแนวคดิ พฒั นาวิชาชีพของครูที่ให้คำนึงถงึ การสง่ ผลต่อการพัฒนาผู้เรียนซ่ึงเป็น
เป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) ของการศึกษาตามทัศนะของ Gusky (2000) และ Hoy and
Miskel (2001)

1.5.2 ในเชิงวิชาชีพ การวิจัยนี้คำนึงถึงมาตรฐานวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาและ

ผู้บรหิ ารการศกึ ษาท่คี ุรุสภากำหนดตามมาตรฐานดา้ นความรู้ ในกรณีสามารถพฒั นาครูและบุคลากร

ให้สามารถปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สามารถนำความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎี

ไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และสร้างองค์ความรู้ในการบริหารจัดการการศึกษา

สามารถนำกระบวนการทางการวิจัย การวัดและประเมินผล ไปใช้ในการบรหิ ารจัดการการศึกษาได้

สามารถสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การศกึ ษา และสามารถบรหิ ารจดั การขอ้ มลู

ข่าวสารไปสู่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา และตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ในกรณีปฏิบัติ

12

โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับการพฒั นาของบคุ ลากร ผเู้ รยี น และชุมชน พฒั นาผรู้ ว่ มงานใหส้ ามารถ
ปฏบิ ตั งิ านไดเ้ ตม็ ศักยภาพ พฒั นาและใชน้ วัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานทีม่ ีคณุ ภาพสงู และสร้าง

โอกาสการพัฒนาไดท้ ุกสถานการณ์ (The Teachers Council of Thailand, n.d.)

1.6 ขอบเขตการวิจยั
ดังกลา่ วในตอนต้นวา่ โปรแกรมออนไลนท์ เ่ี ป็นผลจากการวิจยั และพฒั นาจากกลมุ่ ทดลองท่ี

ใช้ในการวิจัยสามารถจะนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ในกลุ่มประชากรเป้าหมาย (Target
Population) ได้ทั่วประเทศ ตามหลักการของการวิจัยและพัฒนาที่วิจัยและพัฒนานวัตกรรมใดๆ
ขนึ้ มา แล้วนำนวตั กรรมน้ันไปทดลองใชใ้ นพืน้ ที่ทดลองแห่งใดแห่งหน่งึ ทมี่ คี ณุ ลักษณะเปน็ ตวั แทนของ
กลมุ่ ประชากรเปา้ หมายในการเผยแพรน่ วัตกรรม เมอ่ื ผลจากการทดลองพบวา่ นวัตกรรมนน้ั มคี ุณภาพ
หรือมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด ก็แสดงว่า สามารถนำนวัตกรรมนั้นไปเผยแพร่เพื่อการ
นำไปใช้ประโยชน์กับกลุ่มประชากรเป้าหมายเพื่อการเผยแพร่ได้ ดังนั้น ในการวิจัยนี้จึงกำหนด
ขอบเขตของการวจิ ัย ดงั นี้

1.6.1 พื้นที่ทดลอง (Experimental Area) ในการวิจัยและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพ่อื
การเรียนรู้ของครสู ู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียนโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศึกษา คือ โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรษี ะเกษ อำเภอเมือง
จังหวัดหนองคาย ซึ่งมคี รรู ะดับมธั ยมศกึ ษา 11 รปู /คน และมนี กั เรยี น จำนวน 235 รูป ระยะเวลา
ดำเนินการทดลองในภาคสนาม คอื ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

1.6.2 พื้นที่ของประชากรเป้าหมายเพื่อการเผยแพร่นวัตกรรมจากการวิจัย (Target
Population for Dissemination of Research Innovation) ซึ่งเป็นเป้าหมายอ้างอิงในการนำ
ผลการวิจัยไปเผยแพร่ เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์หลังการวิจัยและพัฒนาคือ โรงเรยี นพระปริยัติธรรม
แผนกสามญั ศึกษา ทกุ โรงท่วั ประเทศ ซึง่ มี 408 โรงเรยี น

1.7 นยิ ามศัพท์เฉพาะ
เพอื่ ใหเ้ กิดความเข้าใจถกู ต้องและตรงกัน ผวู้ ิจัยได้กำหนดนิยามศัพทเ์ ฉพาะที่ใชใ้ นการวิจัยคร้ังน้ี

ดงั น้ี
1.7.1 โปรแกรมออนไลน์ หมายถึง สื่อดิจิทัลที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคม

(Social Tool) เพื่อใช้สื่อสารระหวา่ งกันในเครอื ข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์
โดยนำเอาคู่มอื ประกอบโครงการพัฒนาความรู้ 2 โครงการ คอื 1) โครงการพฒั นาการเรียนรู้ของครู
เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะนวัตกรรม และ 2) โครงการครูนำความรู้สู่การเสรมิ สร้างทักษะนวัตกรรม
ให้กับนักเรียน ลงเว็บไซต์เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึงคู่มือประกอบโครงการ และใช้โปรแกรม Zoom
Cloud เปน็ โปรแกรมทใ่ี ช้ในการเรยี นการสอนและการประชมุ แบบออนไลน์ เพือ่ ให้ง่ายและสะดวกตอ่
การประชุม พูดคุย ติดต่อประสานงาน และเพื่อให้ง่ายต่อการรับ – ส่งข้อมูล ความคิดเห็น
ข้อเสนอแนะต่าง ๆ มีการสร้างกลุ่ม Messenger ขึ้นมาเพื่อให้สะดวก มีการสร้างข้อสอบออนไลน์
พร้อมตรวจคำตอบด้วยผ่าน Google Form และมีการสร้างแบบประเมินทักษะการแก้ปัญหาแบบ
ประเมนิ ค่าสถิติ 5 ระดับ ดว้ ย Google Form หรือ Google Documents

13

1.7.2 ทักษะเชิงนวัตกรรม (Innovation Skills) หมายถึง สิ่งที่มีพื้นฐานมาจากความสงสัย
ใคร่รู้ ความเต็มใจที่จะเสี่ยงและการทดสอบข้อสันนษิ ฐาน และยังมีพื้นฐานมาจากการรับรู้ถงึ โอกาส
และใช้ประโยชน์จากโอกาสนั้น นวัตกรรมจงึ เป็นกระบวนการผลิตผลของมโนภาพท่ีเกิดข้นึ ใหม่จาก
การนำแนวคิดใหมๆ่ มาลงมือปฏิบัติ ตามความจริงและตามวถิ ีของการลงมือทำ เป็นทักษะด้านการ
เรียนรู้และนวัตกรรมที่มีการยอมรับกัน โดยมุ่งไปที่การคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การ
สื่อสารและความร่วมมอื ซึ่งจำเป็นสำหรับการเตรียมผู้เรียนสู่อนาคตและยังสามารถสรา้ งวฒั นธรรม
แห่งนวัตกรรม นำทางไปสู่การคิดเชิงนวัตกรรมและการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ในงานวิจัยนี้ได้
กำหนดทกั ษะเพ่ือการประเมินผลจากการพัฒนา 5 ทกั ษะ แตล่ ะทักษะมีนิยามศัพทเ์ ฉพาะดงั น้ี

1.7.3 ความมุ่งมัน่ (Energy) หมายถึง การมีเปา้ หมายในการทำงานเสมอ มีพลังมากมายใน
การทำงานแต่ละวัน กระตือรือร้นในการเรยี นวิชาทีฉ่ ันเลือก กระตือรือร้นท่ีจะช่วยเหลือผู้อืน่ และ
รสู้ ึกตนื่ เต้นและมีกำลังใจเม่อื ฉนั ไดส้ ร้างสง่ิ ท่ไี มเ่ คยมีใครทำได้

1.7.4 ความตระหนกั ในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) หมายถึง การมองหาส่งิ
อน่ื ๆที่อยภู่ ายนอกโรงเรยี น ท่ีฉันรสู้ กึ ว่าควบคุมได้ ไมก่ ่อใหเ้ กดิ ปญั หาตามมา อยากทำงานท่ีท้าทายที่
ตนเองสนใจ เชื่อมั่นในตนเองว่าเมื่อเริ่มต้นทำอะไรแล้ว ฉันสามารถทำให้สำเร็จได้ จะเข้าร่วมใน
กิจกรรมที่ตนเองสนใจ โดยไม่สนใจว่าเพื่อนสนิทของฉันจะเข้าร่วมหรือไม่ เชื่อมั่นในความคิดของ
ตัวเอง ฉันจะทำในสิ่งที่ฉันคิดว่าดีที่สุด และเชื่อว่านักเรียนควรออกความเห็นเกี่ยวกับแนวทางการ
ดำเนนิ งานของโรงเรยี น

1.7.5 ความคิดสร้างสรรค์และเป็นอิสระ (Creativity) หมายถึง การชอบคิดทำโครงการ
ใหม่ๆ ชอบประดิษฐ์สิง่ ใหม่ๆ ในแบบของตนเอง ชอบคิดจะทำให้งานที่ทำอยูม่ ีการพัฒนาข้ึน คิดว่า
ปัญหาทซี่ ับซอ้ นนนั้ มีความทา้ ทายแฝงอยู่ ชอบค้นหาวธิ ีการใหมๆ่ มาจดั การกบั ปญั หาที่กำลังเจออยู่
สามารถผสมผสานความคิดใหม่ๆ กับความคิดเดิมที่มีอยู่แล้ว รู้สึกมีอิสระที่จะทำส่ิงใหม่ๆในงานที่
ตนเองรับผิดชอบ เป็นคนที่มีเวลาให้กับสิ่งใหม่ๆอยู่เสมอ สามารถทำงานของตัวเองได้ดี เป็นคนท่ี
รับผิดชอบงานในแต่ละวันไดด้ ี ต้องการการเรียนทีม่ ีกจิ กรรมท่ีใช้ความคิดสร้างสรรค์ และชอบการ
เรยี นทม่ี ีกจิ กรรมต่างๆมากกว่าการน่งั เรยี นเฉยๆที่โตะ๊

1.7.6 การเผชิญกับปัญหาและความซับซ้อน (Capacity To Navigate Complexity)
หมายถึง การมีทักษะในการทำความเข้าใจและแก้ไขปัญหา มีทักษะการตัดสินใจร่วมกันในกลุ่ม มี
ทักษะในการวางแผนเพื่อกำหนดกลยุทธ์ ชอบมองหาวิธีพัฒนาการทำงานของตนเอง รับฟังความ
คดิ เหน็ ของคนอ่นื ๆ เมอื่ เขาสรา้ งสิง่ ใหม่ๆขึ้นมา และให้ความสำคญั กบั การพฒั นาในส่งิ ที่รบั ผดิ ชอบอยู่
และการหาโอกาสใหม่ๆด้วย

1.7.7 กล้าเสี่ยง (Risk-propensity) หมายถึง การยอมรับความเสีย่ งในการทำงานได้ ชอบ
ความท้าทาย แม้ว่าความท้าทายนั้นอาจทำใหฉ้ ันต้องพบความเสี่ยง ยอมรบั ความเสี่ยงเพือ่ การสรา้ ง
นวัตกรรม เป็นคนที่เพื่อนร่วมงานสามารถกระตุ้นให้เกิดความคิดได้ คิดว่าการเข้ามาควบคุมการ
ทำงานอย่างเข้มงวดนั้นไม่มีประโยชน์ และเข้าใจว่าทุกโครงการที่เข้าไปมีส่วนร่วม จะไม่ประสบ
ความสำเร็จทั้งหมด

1.7.8 คูม่ อื ประกอบโครงการ หมายถงึ ชุดของขอ้ มูลทม่ี อี งคป์ ระกอบต่าง ๆ ดงั น้ี คอื ชื่อของ
คู่มือ คำแนะนำการใช้คู่มอื วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่คาดหวังจากคู่มอื เนื้อหาทีน่ ำเสนอในรูปแบบ

14

เพื่อการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning) แบ่งเนือ้ หาเป็นช่วง ๆ แตล่ ะชว่ งมีกจิ กรรมใหท้ บทวน เชน่
การตงั้ คำถามให้ตอบ การใหร้ ะบขุ อ้ สังเกต การใหร้ ะบุคำแนะนำเพอ่ื การปรบั ปรุงแกไ้ ข เป็นตน้ สรุป
แบบประเมนิ ผลตนเองท้ายชุด และรายชือ่ เอกสารอ้างอิง

1.7.9 คู่มือประกอบโครงการพัฒนาความรู้ของครูเกี่ยวกับการพัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรม
หมายถึง ชุดของข้อมูลที่นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับนิยาม ความสำคัญ ลักษณะ และแนวการพัฒนา
ขน้ั ตอนการพัฒนา และแนวการประเมินผลการทักษะเชิงนวัตกรรม โดยมชี ื่อของคมู่ อื คำแนะนำการ
ใช้คู่มือ วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ที่คาดหวังจากคู่มือ เนื้อหาที่นำเสนอในรูปแบบเพ่ือการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง (Self-Learning) แบง่ เน้ือหาเป็นช่วง ๆ แต่ละช่วงมกี จิ กรรมให้ทบทวน เช่น การต้ังคำถามให้
ตอบ การใหร้ ะบุขอ้ สงั เกต การใหร้ ะบคุ ำแนะนำเพื่อการปรับปรงุ แก้ไข มีแบบประเมนิ ผลตนเองท้าย
ชดุ และรายชื่อเอกสารอ้างองิ เป็นตน้

1.7.10คู่มือประกอบโครงการครูนำความรู้สู่การเสริมสร้างทักษ ะเชิงนวัตกรรม ให้กับ
นกั เรียน หมายถึง ชุดของขอ้ มลู ทเ่ี สนอเน้อื หาเกย่ี วกับคำแนะนำ และการกำหนดงานใหก้ บั ครใู นการ
นำความรู้เก่ียวกับนิยาม ความสำคญั ลักษณะ และแนวการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม สู่การพัฒนา
ทกั ษะเชิงนวัตกรรมให้กับนักเรยี น

1.7.11เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้วัดความมี
ประสิทธิภาพของคู่มอื ต่อการเสริมสร้างความรู้ในโครงการพัฒนาความรู้ให้กับครูที่เป็นกลุ่มทดลอง
โดย 90 ตัวแรก หมายถงึ รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี ของผูเ้ รียนท้งั กลุม่ ทีไ่ ดจ้ ากการวัดด้วยแบบทดสอบ
วัดความรอบรู้หลงั จากเรียนจากบทเรียนที่สรา้ งขึ้นจบลง 90 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละของจำนวน
ผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบ (วัดความรอบรู้หลังการเรียนจากบทเรียนที่สร้างขึ้นจบลง) โดย
สามารถทำแบบทดสอบไดผ้ ่านตามเกณฑ์วตั ถปุ ระสงคท์ ุกวัตถุประสงค์

1.8ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รบั

1.8.1 การวิจัยนี้ส่งเสริมต่อแนวคิดการเป็นแผนงานวิจัยและชุดโครงการวิจั ย
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีนโยบายส่งเสริมการทำวิทยานิพนธ์ของ
นกั ศึกษาในหลักสตู รศกึ ษาศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา ภายใต้รม่ หรือกรอบของ
แผนงาน “การศึกษาศตวรรษที่ 21 (21St Century Education)” โดยประยุกต์ใช้แนวคิดของการ
จดั ทำแผนงานวจิ ัยหรอื ชุดโครงการวิจัยมาใชเ้ ป็นการภายในของหลกั สูตร โดยเช่ือวา่ “การสง่ เสริมให้
ทำงานวิจยั เปน็ แผนงานวจิ ัยหรือชุดโครงการวจิ ัย จะมีประโยชนต์ ่อการพฒั นาทางวิชาการหรอื ต่อการ
นำไปปฏบิ ตั ิท่ดี ีกว่าการทำงานวิจยั ในลักษณะเปน็ โครงการเดี่ยว” ซงึ่ จะกอ่ ให้เกิดประโยชน์ดงั คำกลา่ ว
ของ โยธนิ แสวงดี (ม.ป.ป.) อาจารย์ประจำสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวทิ ยาลัยมหิดล ท่ีว่า
ชุดโครงการวิจัยเป็นการกลุม่ รวมของโครงการวจิ ัยย่อยท่ีค้นหาองคค์ วามรู้ในสิ่งที่เอื้อต่อกันและกนั
สามารถนำไปใช้ในการผลกั ดันให้เกดิ สง่ิ ท่ีต้องการให้เกดิ ข้ึนได้ เปน็ ชุดความรรู้ วมท้งั หมดที่เม่ือบูรณา
การกันแล้วจะสามารถไดค้ วามรู้เป็นองคร์ วม (Holistic) ทน่ี ำไปใช้เปน็ พนื้ ฐานในการคิดและประดิษฐ์
ตามเป้าหมาย เพราะหากทำโครงการเดีย่ ว โครงการเดียวอาจไดแ้ ต่ความรู้โดด ๆ นำไปพัฒนาหรอื
ประดิษฐ์ไม่ได้ เพราะขาดองคค์ วามรู้บางอย่างบางตอนที่ไมท่ ราบเพราะไมไ่ ด้ตรวจสอบหรือทำวิจัย
ดังนน้ั งานวจิ ยั นจี้ ึงใหค้ วามสำคัญกับประเดน็ หรอื ทักษะของการศกึ ษาศตวรรษที่ 21 ท่ีมนี กั ศึกษาคน

15

อื่นๆในหลักสูตรได้ทำกันในลักษณะ 1 นักศึกษาต่อ 1 ทักษะศตวรรษที่ 21 หรือต่อ 1 ประเด็น
การศึกษาศตวรรษที่ 21

1.8.1 การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่ส่งเสริมต่อแนวคิดของแผนงานวิจัยหรือชุด
โครงการวิจยั ซงึ่ จะก่อให้เกิดประโยชน์ดังทศั นะของ โยธิน แสวงดี (ม.ป.ป.) ทกี่ ลา่ ววา่ การทำวิจัยแบบ
แผนงานวิจัยหรือชุดโครงการวิจัยส่วนมากจะเป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and
Development) เพราะต้องมีการค้นหาชุดความรู้และการวัดสถานะการเบื้องต้น (Formative
Evaluation) ที่มีตัวชี้วัดยืนยัน มีการพัฒนา การสร้าง การทดลองใช้ การวัดและการติดตาม การ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงในตัวชี้วัด และมีการประเมินผล (Summative Evaluation) ตามตัวชี้วัด
นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง (แตกต่าง เช่น ใช้ t-test เปรียบเทียบ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อ
เปรียบเทียบก่อนและหลังการปฏบิ ัตงิ าน

1.8.2 การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่ให้สำคัญต่อแนวคิดการพัฒนาและประยุกต์
(Development) ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ดังทัศนะของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
(2563) ที่กล่าวถึงงานวิจัยพัฒนาและประยุกต์ว่า เป็นการศึกษาค้นคว้าเพ่ือหาความรู้ใหม่ๆ และมี
วัตถปุ ระสงคเ์ พื่อนำความร้นู นั้ ไปใชอ้ ย่างใดอย่างหนง่ึ หรอื เปน็ การนำเอาความรแู้ ละวิธกี ารตา่ งๆ ทไ่ี ด้
จากการวจิ ยั ขน้ั พ้นื ฐานมาประยกุ ต์อกี ต่อหน่ึง หรือหาวิธีใหมๆ่ เพื่อบรรลุเปา้ หมายที่ได้ระบุไว้แน่ชัด
ล่วงหน้า เพื่อสร้างวสั ดุ ผลิตภัณฑ์และเคร่ืองมือใหม่ เพื่อติดตั้งกระบวนการ ระบบและบริการใหม่
หรือเพื่อการปรับปรุงสิ่งต่างๆ เหล่านั้นให้ดีขึ้น และตอบสนองต่อแนวคิดการขยายผลงานวิจัย
(Implementation) ที่หมายถึงการนำผลงานวิจยั และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติ ให้สามารถประยุกต์
กบั งานหรือขยายผลไดอ้ ย่างเหมาะสม

1.8.3 การวิจัยนี้จะก่อประโยชน์กับการวิจัยในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ดังนี้ 1)
ในเชิงวิชาการ คือ ให้ความสำคัญกับประเด็นที่เป็นการศึกษาศตวรรษที่ 21 มุ่งพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาในระดับสถานศกึ ษา และใชห้ ลกั การ “พฒั นาครู แล้วครนู ำผลทไี่ ดร้ ับไปพฒั นาผเู้ รียน” 2)
ในเชิงวิชาชีพ คำนึงถึงมาตรฐานวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาที่คุรุสภา
กำหนดตามมาตรฐานดา้ นความรู้และตามมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน ดงั มีรายละเอยี ดกล่าวไว้ในหัวข้อ
1.5 ของบทท่ี 1 น้ี

บทท่ี 2
เอกสารและวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง

การวิจัยเรื่องโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของ
นักเรียน (Online Program to Develop Teachers to Enhance Innovation Skills of Students
) มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด “Knowledge + Action =
Power” ที่ประกอบด้วยโครงการและคู่มือประกอบโครงการ 2) ประเมินความมีประสิทธิผลของ
โปรแกรมออนไลนจ์ ากผลการวิจยั เชิงทดลองในภาคสนาม 2 ระยะ คือ การพัฒนาครู และครพู ัฒนา
นักเรียน และ 3) ถอดบทเรียนให้ทราบถึงข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมออนไลน์
ดังนั้น เพื่อให้มีความกระจา่ งในแนวคิดและเชิงทฤษฎีทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิจัยทั้งระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้
และแนวคดิ เชงิ ทฤษฎเี กยี่ วกับการเสรมิ สรา้ งทกั ษะเชงิ นวตั กรรม รวมทัง้ แนวคิดการนำหลักธรรมมา
ใช้เพือ่ ความมีคุณภาพและความสำเร็จของการทำวิจัย เพื่อนำไปสร้างเป็นกรอบแนวคิดเพื่อการวจิ ัย
รวมทั้งใช้ในการอ้างอิงและการอภิปรายผลในผลจากการวิจัยในภายหลังด้วย ผู้วิจัยขอนำเสนอผล
การศึกษาวรรณกรรมท่ีเกยี่ วข้องดงั นี้

1)หลกั ธรรมเพอื่ ความมีคณุ ภาพและความสำเรจ็ ในการทำวิจยั
2)การวจิ ัยและพฒั นา : ระเบียบวิธวี ิจยั ท่ีใช้ในการวจิ ยั
3)แนวคดิ เชงิ ทฤษฎเี กย่ี วกับทักษะเชงิ นวัตกรรม
4)บรบิ ทของโรงเรียนปริยตั ธิ รรม - กลมุ่ ประชากรเป้าหมายในการวจิ ยั
5)โรงเรยี นบาลีสาธิตศกึ ษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : กล่มุ ทดลองในการวจิ ัย
6)กรอบแนวคิดเพ่อื การวิจัย

2.1 หลักธรรมเพอ่ื คุณภาพและความสำเร็จในการทำวจิ ยั
ตามทมี่ หาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย ไดก้ ำหนดปรัชญาของมหาวทิ ยาลัยไวว้ า่ “ความ

เป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา” (Academic Excellence based on Buddhism)
และเนื่องจากในงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยที่ใช้การวิจัยและพัฒนา (Research and Development:
R&D) มีจุดมุ่งหมายเพ่ือพฒั นานวัตกรรม โดยนวัตกรรมทีพ่ ฒั นาขึ้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำไปใช้พัฒนา
คนสู่การพัฒนาคุณภาพของงาน มีกระบวนการในรูปแบบ R1D1..R2D2..R3D3..RiDi มีขั้นตอน
สดุ ท้ายเปน็ การวจิ ยั เชิงทดลองในภาคสนามจรงิ มีจดุ ม่งุ หมายหลกั เพือ่ ทดสอบคุณภาพของนวัตกรรม
ในลักษณะ If X…Then Y และเพื่อการปรับปรงุ แก้ไขข้อบกพร่องของนวัตกรรมนน้ั ด้วย ดงั น้ัน ในการ
ดำเนินการวิจัยน้ี ผูว้ ิจัยเห็นวา่ ควรมีหลักธรรมทเ่ี ปน็ ขอ้ คิดเตอื นใจตลอดระยะเวลาในการดำเนินงาน
วิจัย โดยเชื่อว่าการนำหลักธรรมที่จะกล่าวถึงมาใช้จะช่วยตอบสนองต่อปรัชญาของมหาวิทยาลัย
มหามกฏุ ราชวิทยาลยั ดังกลา่ วข้างตน้ และชว่ ยเสรมิ สร้างใหก้ ารดำเนนิ งานวิจัยเปน็ ไปอยา่ งมีคุณภาพ
และบรรลุผลสำเรจ็ จงึ ขอนำหลกั ธรรมทีจ่ ะเป็นข้อคิดเตือนใจเพอื่ การวิจัยมากลา่ วถงึ ดังนี้

ปธาน 4

17

พระไตรปิฎก ฉบับ มหามกุฏราชวิทยาลัย (2552) ได้กล่าวถึง ปธาน 4 ประกอบด้วย 1)
สังวรปธาน คือ ความเพียรที่เกิดขน้ึ แก่ผูส้ ำรวมจกั ษุ 2) ปหานปธาน คือ ความเพียรที่เกิดข้ึนแก่ผู้ละ
กามวิตก 3) ภาวนาปธาน คือ ความเพียรที่เกิดขึ้นแก่ผู้เจริญสัมโพชฌงค์ 4) อนุรักขนาปธาน คือ
ความเพยี รท่เี กิดขึน้ แกผ่ ้ตู ามรกั ษาสมาธิ

พระพรหมคุณาภรณ์ (2558) ได้กล่าวถึง ปธาน 4 ประกอบด้วย 1) สังวรปธาน คือ เพียร
ระวังหรือเพยี รปิดก้ัน ยบั ย้งั บาปอกุศลกรรมทีย่ งั ไมเ่ กิดมใี หเ้ กดิ ขน้ึ 2) ปหานปธาน คือ เพียรละหรือ
เพียรกำจัดบาปอกศุ ลกรรมทเ่ี กิดขึ้นแลว้ 3) ภาวนาปธาน คอื เพยี รทำกุศลธรรมท่ียงั ไมเ่ กิดใหเ้ กดิ มขี นึ้
4) อนุรักขนาปธาน คอื เพียรรักษากุศลธรรมที่เกดิ ขนึ้ แล้ว ใหต้ ง้ั มัน่ และใหเ้ จริญย่ิงขน้ึ ไปจนไพบลู ย์

ในงานวิจยั น้ี ผูว้ ิจัยได้ใช้หลกั ของ ปธาน 4 ดงั กลา่ วข้างต้น มาช่วยเป็นข้อคิดเตือนใจเพ่อื ให้
งานวจิ ัยน้ีมคี ุณภาพและประสบความสำเรจ็ ดังนี้ 1) สังวรปธาน ผู้วิจัย ในชว่ งทำการวจิ ัยต้องมีความ
เพียรเพื่อยับยั้งความเกียจคร้าน และความหมดกำลังใจที่จะดำเนินการทำวิจัยต่อให้ประสบ
ความสำเร็จ 2) ปหานปธาน เมื่อผู้วิจัยลงพืน้ ที่ในการทำวิจัย เมือเกิดปัญหา และสิ่งที่เป็นอุปสคั
เกดิ ขน้ึ ผูว้ จิ ยั ต้องอาศัยความเพียรท่ีจะกำจดั สิ่งท่ีเป็นอุปสคั เหล่าน้ีให้ออกไป 3) ภาวนาปธาน เมื่อ
ผวู้ ิจยั ทำงานวิจยั ไดต้ ้งั ใจเพยี รพยายามทำดว้ ยความตงั้ ใจเพอื่ ใหง้ านวิจยั สำเร็จไปด้วยดี 4) อนุรักขนา
ปธาน เมือ่ ผู้วิจัยสรุปผลการวจิ ยั ไดม้ ีความตง้ั ใจตัง้ มัน่ ในการทำวิจัยเพือ่ ใหง้ านวิจยั ท่ีได้ทำออกมาดแี ละ
สมกับความต้ังใจ ดังนั้น การนำหลกั ธรรมดังกลา่ วมานีม้ าช่วยเสริมหลักการทำวจิ ัยของผูว้ ิจัยใหเ้ ปน็
ดว้ ยความสามคั คี ให้กำลังใจและใหค้ ำแนะนำ การช่วยเหลือเก้ือกูลกนั ซ่ึงกันและกัน และความเสมอ
ตน้ เสมอปลาย จะสง่ ผลให้งานวจิ ยั นี้มีคณุ ภาพและประสบความสำเร็จ

อทิ ธิบาท 4

พระพรหมคุณาภรณ์ (2558) ได้กล่าวถึง อิทธิบาท 4 ประกอบด้วย 1) ฉันทะ คือ ความ
ต้องการทีจ่ ะทำ ใฝ่ใจรกั จะทำสิง่ น้ันอยู่เสมอ และปรารถนาจะทำใหไ้ ด้ผลดียิง่ ๆข้ึนไป 2) วิริยะ คือ
ขยนั หมัน่ เพยี รหม่ันประกอบสง่ิ น้ันด้วยความพยายาม เขม้ แข็ง อดทน เอาธรุ ะไมท่ อ้ ถอย 3) จิตตะ คือ
ตั้งจิตรบั รูใ้ นสง่ิ ที่ทำและทำสิ่งนน้ั ด้วยความคดิ เอาจิตฝักใฝ่ไม่ปล่อยใจใหฟ้ งุ้ ซ่านเลือ่ นลอยไป อุทิศตัว
อุทิศใจให้แก่สิ่งที่ทำ 4) วิมังสา คือ หมั่นใช้ปัญญาพิจารณาใครครวญตรวจตราหาเหตุผลและ
ตรวจสอบขอ้ ยง่ิ หย่อนในสิ่งทท่ี ำนนั้ มกี ารวางแผน วดั ผล คิดต้นวธิ ีแกไ้ ขปรบั ปรุง

ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ใช้หลักของ อิทธิบาท 4 ดังกล่าวข้างต้น มาช่วยเป็นข้อคิดเตือนใจ
เพื่อให้งานวิจัยนี้มีคุณภาพและประสบความสำเร็จ ดังนี้ 1) ฉันทะ ผู้วิจัยทราบถึงปัญหาแลว้ จึงเกิด
ความตอ้ งการทหี่ าวธิ ีแก้ปัญหาโดยการทำวจิ ยั ผูว้ ิจยั จงึ ใฝใ่ จรักจะทำส่งิ นั้นอยเู่ สมอ และปรารถนาจะ
ทำให้สำเรจ็ 2) วิริยะ เมื่อผู้วิจัยลงมอื ทำการวิจัย ตั้งแต่ขั้นตอนแรกเริ่ม ผู้วิจัยตั้งใจขยันหมั่นเพยี ร
หมนั่ ประกอบสงิ่ นน้ั ดว้ ยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทีต่ นเองปรารถนาไว้ 3) จิต
ตะ เมอื ผู้วจิ ยั ทำการวิจัย ได้ตัง้ ใจหาขอ้ มูล เพ่อื ใหง้ านวจิ ัยมคี วามน่าเชื่อถือ และเอาจติ ฝกั ใฝไ่ ม่ปล่อย
ใจใหฟ้ งุ้ ซา่ นเล่อื นลอยไป จนผ่านพ้นปัญหาไปได้ 4) วิมงั สา เมอื ผ้วู ิจยั รับรู้ปัญหาและอปุ สรรค์ในชว่ ง
ทำวิจัย ผู้วิจัยได้ค่อยคิดแกป้ ัญหาที่เกดิ ขึ้นอย่างมีสติ หมั่นใช้ปัญญาพิจารณาใครครวญตรวจตราหา
เหตุผลและตรวจสอบขอ้ ยิง่ หย่อนในสิ่งทีท่ ำน้ัน มีการวางแผนจนงานวจิ ัยประสบความสำเร็จ ดังนน้ั
การนำหลักธรรมดังกล่าวมานี้มาช่วยเสริมหลักการทำวิจัยของผู้วิจัยให้เป็นด้วยความสามัคคี ให้

18

กำลังใจและให้คำแนะนำ การช่วยเหลือเกื้อกูลกันซึ่งกันและกนั และความเสมอต้นเสมอปลาย จะ
ส่งผลให้งานวิจัยนมี้ ีคณุ ภาพและประสบความสำเร็จ

ปฏิสนั ถาร 2
พระพรหมคุณาภรณ์ (2558) ได้กล่าวถึง ปฏิสันถาร 2 ประกอบด้วย 1) อามิสปฏิสันถาร
คือปฏิสันถารด้วยสิ่งของ 2) ธรรมปฏิสันถาร คือ ปฏิสัณฐานด้วยธรรมหรือโดยธรรม ในงานวิจัยน้ี
ผู้วิจัยได้ใช้หลักของ ปฏิสัณฐาน 2 ดังกล่าวข้างต้น มาช่วยเป็นข้อคิดเตือนใจเพื่อให้งานวิจัยนี้มี
คณุ ภาพและประสบความสำเร็จ ดังนี้ 1) อามิสปฏิสันถาร ผวู้ จิ ยั เมื่อลงพื้นท่ใี นการเก็บข้อมูลก็ได้ผูก
มิตรและสรา้ งความคนุ้ เคยเพื่อใหเ้ กิดความผ่อนคลายต่อผู้ให้ข้อมลู โดยทำใหผ้ ูใ้ ห้ข้อมลู เกิดความเชื่อ
ใจและให้ข้อมูลที่เป็นขอ้ มูลเชงิ ลกึ ได้มากท่ีสุด 2) ธรรมปฏิสันถาร เมื่อผู้วิจยั ลงพ้ืนทีไ่ ด้สร้างความมี
ปฏิสัมพันธ์ต่อคนในพืน้ ท่ีโดยการปฏิสัณฐานด้วยธรรมะ เพื่อให้เกิดความไว้วางใจต่อบุคคลในพ้นื ที่
ดังนัน้ การนำหลักธรรมดงั กล่าวมานม้ี าช่วยเสรมิ หลกั การทำวิจยั ของผู้วิจัยใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความสามัคคี
ให้กำลงั ใจและใหค้ ำแนะนำ การช่วยเหลือเกือ้ กูลกนั ซ่ึงกนั และกัน และความเสมอตน้ เสมอปลาย จะ
ส่งผลใหง้ านวจิ ยั น้ีมีคณุ ภาพและประสบความสำเรจ็

ไตรสกิ ขา 3
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจติ ฺโต) (2562) ได้กล่าวถึง ไตรสิกขา 3 ประกอบด้วย 1)
ศลี คือ การรักษากาย วาจา ให้เปน็ ระเบียบ และสำรวมให้เหมาะสม 2) สมาธิ คือ ภาวะทีจ่ ิตแน่วแน่
ทำใหเ้ ห็นความจรงิ ชัดเจน 3) ปัญญา คือ ความเฉียบคม ในการแกป้ ัญหา
ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยไดใ้ ช้หลกั ของ ไตรสิกขา 3 ดังกล่าวข้างต้น มาช่วยเป็นข้อคิดเตือนใจ
เพื่อให้งานวิจัยนี้มีคุณภาพและประสบความสำเร็จ ดังนี้ 1) ศีล ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้สำรวจดู
รา่ งกายและตั้งใจทำงานอยา่ งมีสติ ไมใ่ หผ้ ิดจรยิ าของนกั วิจยั 2) สมาธิ ในการทำวิจยั ผูว้ จิ ัยได้ตง้ั ใจทำ
ทกุ ขน้ั ตอนอย่างไตรต่ รอง ตรวจทาน พร้อมท้งั ปรึกษาผรู้ ู้ในข้อสงสยั หากมปี ญั หา และแก้ปญั หาโดยใช้
สติอยู่เสมอ 3) ปัญญา ในการทำวิจัย ผู้วิจัยได้รวบรวมความรู้ทีไ่ ด้ศึกษามา ดำเนินการทำวิจัยตาม
ข้ันตอน และตั้งใจทำงานวจิ ัยจนประสบความสำเรจ็ ดงั นัน้ การนำหลกั ธรรมดงั กล่าวมานีม้ าช่วยเสรมิ
หลักการทำวิจัยของผ้วู จิ ัยใหเ้ ปน็ ด้วยความสามัคคี ให้กำลงั ใจและให้คำแนะนำ การช่วยเหลือเก้ือกูล
กันซึ่งกันและกัน และความเสมอต้นเสมอปลาย จะส่งผลให้งานวิจัยนี้มีคุณภาพและประสบ
ความสำเรจ็

พละ 5
พระครูสธุ ีจรยิ วัฒน์ (2561) ได้กล่าวถงึ พละ 5 ประกอบดว้ ย 1) ศรทั ธาพละ คอื ความ
เชอ่ื เช่อื แนว่ แนใ่ นคุณงามความดี วา่ ทำดีไดด้ ี ทำชั่วได้ช่ัว ไมม่ ใี ครคนอืน่ รับแทนได้ ตนทำตนต้องรับ
ผลนนั้ แน่นอน 2) วิรยิ ะพละ คือ ความเพยี รพยายามอยตู่ ลอดเวลา จนเกินความคนุ้ เคย เคยชนิ ในการ
สรา้ งความเพียร 3) สติพละ คอื การต้งั สตจิ ดจ่อตั้งมั่นในเรื่องน้ัน ๆ และมีสตเิ ปน็ เคร่อื งกำกบั ดแู ลอยู่
เสมอ 4) สมาธิพละ คอื การตัง้ ใจม่นั ในการทำงาน โดนมหี ลกั จรยิ ธรรมในการทำงาน 5) ปญั ญาพละ
คือ มีปญั ญาพจิ ารณาไตรตรองสังขารรา่ งกายอย่างเหมาะสม
ในงานวิจัยนี้ ผูว้ ิจยั ได้ใชห้ ลกั ของ พละ 5 ดงั กล่าวขา้ งต้น มาช่วยเปน็ ข้อคิดเตอื นใจเพ่ือให้
งานวิจยั น้มี ีคณุ ภาพและประสบความสำเร็จ ดังนี้ 1) ศรัทธาพละ ในการทำวิจัย ผวู้ ิจยั มีความเชื่อม่ัน

19

ในตัวอาจารย์ผู้สอน และอาจารย์ที่ปรึกษา พร้อมทั้งตั้งใจในการปรับแก้พร้อมทั้งปฏิบัติตาม
คำแนะนำของอาจารย์ผู้ให้คำแนะนำ 2) วิริยะพละ ในการทำวิจัย ผู้วจิ ยั มคี วามเพียรพยายามท่ีจะ
ทำงานวิจยั ในครั้งนี้ให้ประสบความสำเรจ็ 3) สติพละ ในการทำวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้สตกิ ำกับ
ดแู ลในการทำงานทุกครัง้ เพ่อื เป็นการระลึกรูอ้ ยา่ งสม่ำเสมอ พร้อมทั้งเปน็ การเตือนตนให้ทำงานวิจัย
สำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 4) สมาธิพล ในการทำวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้สมาธิในการไตรตรองและ
พจิ ารณาเม่ือเกิดปัญหาหรอื อุปสรรคในการทำวจิ ัย ต้องใชส้ มาธใิ นการไตรตรองหาเหตุผลของสิ่งน้ัน
แล้วจงึ แกป้ ญั หา 5) ปญั ญาพละ ในการทำวิจยั ครง้ั นี้ ผู้วจิ ยั ได้ใช้ปัญญาไตรตรองหาขอ้ มูลและวิธีการ
จนทำให้การวิจัยสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ดังนั้น การนำหลักธรรมดังกล่าวมานี้มาช่วยเสริม
หลักการทำวจิ ยั ของผวู้ จิ ัยให้เปน็ ดว้ ยความสามัคคี ใหก้ ำลังใจและใหค้ ำแนะนำ การช่วยเหลือเก้ือกูล
กันซึ่งกันและกัน และความเสมอต้นเสมอปลาย จะส่งผลให้งานวิจัยนี้มีคุณภาพและประสบ
ความสำเร็จ

ปธาน 4

พละ 5 หลักธรรมเพือ่ อิทธบิ าท 4
คณุ ภาพและ
ความสาเรจ็ ในการ

ทาวจิ ยั

ไตรสกิ ขา 3 ปฏสิ ันฐาน 2

ภาพที่ 2.1 หลักธรรมเพ่ือความมคี ณุ ภาพและความสำเร็จในการทำวิจัย

20

2.2 การวจิ ยั และพฒั นา: แนวคดิ และแนวปฏิบตั ิเพ่อื การวิจยั
ในการวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้แนวคิด แนวปฏิบัติ และกรณีศึกษาเพื่อการวิจัยและพัฒนา

(Research and Development: R&D) ตามทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ (2561) โดยเนื้อที่จะ
นำเสนอตอ่ ไปข้างล่างน้ี ได้รบั อนญุ าตจากผเู้ ขยี นแล้ว ดังนี้

การวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D) มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา
ผลผลิต (Product) ในทางธุรกิจอาจเรยี กวา่ “ผลิตภัณฑ์”ทเี่ ปน็ ตัวสินค้า ในทางการศึกษาอาจเรียกว่า
“นวัตกรรม” ที่อาจเป็นวัตถุ (Material) หลักการ (Principle) แนวคิด (Concept) หรือทฤษฎี
(Theory) ท่ีสะท้อนให้เหน็ ถึงเทคนิค กระบวนการ หรือวธิ กี ารเพือ่ การปฏบิ ัติ

นวตั กรรมทพี่ ฒั นาขน้ึ โดยกระบวนการวจิ ัยและพฒั นามีจดุ มงุ่ หมายเพอื่ นำไปใชพ้ ฒั นาคนสู่
การพัฒนาคุณภาพของงาน ที่มีปรากฏการณ์หรือข้อมูลเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่ามีความจำเป็น
(Need) เกดิ ขน้ึ ซ่ึงอาจเป็นผลสืบเนอื่ งจากการกำหนดความคาดหวงั ใหม่ท่ที ้าทายของหน่วยงาน หรือ
เกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การทำงานจากเก่าสู่ใหม่ที่บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจและ
ทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ หรือเกิดจากการปฏิบัติงานที่ไม่บรรลุผลสำเร็จตามที่คาดหวังมาอย่าง
ยาวนาน จงึ ตอ้ งการนวตั กรรมใหม่มาใช้ หรอื อาจเปน็ ผลสบื เน่ืองจากปัจจัยอื่นๆ แลว้ แตก่ รณี

การวิจัยและพฒั นา มีกระบวนการในรูปแบบ R1D1..R2D2..R3D3..RiDi มีขั้นตอนสดุ ท้าย
เป็นการวิจัยก่อนทดลอง (Pre-Experiment) หรือก่ึงทดลอง (Quasi-Experiment) ในภาคสนามจริง
มีจุดมุ่งหมายหลกั เพื่อทดสอบคุณภาพของนวัตกรรมในลักษณะ If X…Then Y และเพ่อื การปรับปรงุ
แก้ไขข้อบกพร่องของนวัตกรรมนั้นดว้ ย จากนั้นจึงนำไปเผยแพรใ่ นวงกว้างต่อไป โดยนวัตกรรมนน้ั
ผู้เขียนเห็นว่าอาจเป็นการนำมาจากที่อื่น (Adopt) หรือมีการปรับมาจากที่อื่น (Adapt) หรือมีการ
รเิ ริม่ สร้างสรรคข์ น้ึ ใหม่ (Create)

แนวคดิ และขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา
ดงั กลา่ วขา้ งตน้ วา่ การวิจยั และพัฒนามจี ุดม่งุ หมายเพ่ือพฒั นานวัตกรรม มีจุดมุ่งหมายเพ่ือ
นำไปใชพ้ ัฒนาคนสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพของงาน ที่มีปรากฏการณ์หรอื ขอ้ มลู เชิงประจกั ษแ์ สดงให้เหน็ วา่
มีความจำเป็น (Need) เกิดข้ึน ซ่ึงอาจเปน็ ผลสืบเนื่องจากการกำหนดความคาดหวังใหม่ที่ท้าทายของ
หน่วยงาน หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การทำงานจากเก่าสู่ใหม่ หรือเกิดจากการ
ปฏิบัติงานที่ไมบ่ รรลผุ ลสำเรจ็ ตามที่คาดหวังมาอย่างยืดเย้ือยาวนาน จึงต้องการนวัตกรรมใหมม่ าใช้
หรืออาจเป็นผลสบื เนอ่ื งจากปัจจัยอนื่ ๆ แลว้ แต่กรณี
ในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษา
เกิดข้ึนมากมาย ทีค่ าดหวังวา่ หากบุคลากรทางการศึกษามคี วามรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวก
เขานำความรูเ้ หลา่ น้ีไปส่กู ารปฏิบตั ิ (Action) กจ็ ะก่อใหเ้ กดิ พลัง (Power) ให้การปฏบิ ตั งิ านในหน้าที่
เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือ
ตามคำกลา่ วทว่ี า่ “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They
Know” หรือ “Link To On-The-Job Application” และด้วยแนวคิดที่ว่าการศึกษาวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ถือเป็นจดุ เริ่มต้นท่ีสำคัญของการวิจัยและพัฒนาเพราะจะทำให้ได้ “โปรแกรม
พัฒนา......” ที่ประกอบด้วยโครงการอย่างน้อย 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาความรู้ให้กับ
กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง และโครงการนำความรู้สู่การปฏิบัติดังน้ัน วิธีดำเนินการวิจัยในบทที่ 3

21

จงึ จะเร่มิ ตน้ ดว้ ยการนำเอา “โปรแกรมพัฒนา...ท่ถี ือเปน็ กรอบแนวคดิ เพื่อการวิจัย” นัน้ เปน็ ตัวตง้ั ตน้
ตามด้วยขั้นตอนการวิจยั อ่นื ๆ ดงั ภาพประกอบขา้ งล่าง

ข้นั ตอนที่ โปรแกรมพัฒนา... ที่ถือเป็นกรอบแนวคิดเพื่อการวิจัย ที่ถือเป็นกรอบแนวคิดเพื่อการวิจัยท่ี
1 พัฒนาไดจ้ ากบทที่ 2

ขน้ั ตอนท่ี การตรวจสอบ “โปรแกรมพัฒนา.... ที่ถือเป็นกรอบแนวคิดเพื่อการวิจัย” ที่พัฒนาได้จากบทที่ 2
2 และการปรบั ปรงุ แก้ไขตามข้อเสนอแนะ

ขัน้ ตอนท่ี การจัดทำคมู่ ือประกอบโปรแกรมใน 2 โครงการ คือ
3 • คมู่ อื ประกอบโครงการพัฒนาความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายในการทดลอง
• คมู่ ือประกอบโครงการนำความรสู้ ่กู ารปฏบิ ัติ
ขน้ั ตอนที่
4 การตรวจสอบคณุ ภาพค่มู อื ประกอบโปรแกรมและการปรบั ปรุงแก้ไข
• การตรวจสอบภาคสนามเบือ้ งตน้ และการปรับปรุงแก้ไข
ขั้นตอนท่ี • การตรวจสอบภาคสนามครง้ั สำคญั และการปรบั ปรงุ แกไ้ ข
5
การสรา้ งเครอ่ื งมอื เพ่ือการทดลองโปรแกรมในภาคสนามใน 2 โครงการคือ
ข้ันตอนที่ • เครือ่ งมือประกอบโครงการพัฒนาความรใู้ ห้กับกลุ่มเปา้ หมายในการทดลอง
6 • เครื่องมือประกอบโครงการนำความร้สู กู่ ารปฏบิ ตั ิ

การทดลองโปรแกรมในภาคสนาม
• โครงการพฒั นาความรูใ้ ห้กับกล่มุ เปา้ หมายในการทดลอง
• โครงการนำความรูส้ ู่การปฏบิ ัติ
สรปุ ผลการทดลอง และปรบั ปรงุ แก้ไขโปรแกรมในโครงการทง้ั สอง

การเขียนรายงานวิจัย
การเผยแพรผ่ ลการวิจยั

ภาพท่ี 2.2 แนวคิดและขัน้ ตอนการวิจยั และพฒั นาตามทศั นะของวโิ รจน์ สารรัตนะ

คำอธบิ าย
ขั้นตอนที่ 1 การตรวจสอบกรอบแนวคิดเพื่อการวิจัยและการปรับปรุงแก้ไข อาจใช้
เกณฑ์เพื่อประกอบการพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น ความสอดคล้อง
(Congruency) ความถูกต้อง (Accuracy) ความเป็นประโยชน์ (Utility) เป็นต้น ประกอบด้วย 2
กิจกรรมหลกั คือ
1. การตรวจสอบ “โปรแกรมพฒั นา... ทถ่ี ือเป็นกรอบแนวคิดเพอื่ การวิจยั ” ที่พฒั นาได้จากบท
ท่ี 2 อาจดำเนนิ การโดยวธิ กี ารใดวธิ ีการหนง่ึ หรอื หลายวิธีผสมกันตามศกั ยภาพที่จะทำได้ เชน่ 1) การ
สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งทางวิชาการและทางการปฏิบัติ เป็นใคร
และจำนวนเท่าไรขึ้นกับเกณฑ์ที่จะกำหนด 2) การอภิปรายกลุ่มเป้าหมาย (Focus Group
Discussion) เป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีจุดมุ่งหมายจะนำโปรแกรมไปเผยแพร่และใช้ประโยชน์ 3) การ
วิจัยเชิงสำรวจ (Survey Study) เพื่อสอบถามความเห็นจากกลุ่มตัวอย่างของประชากรที่เป็น
กล่มุ เปา้ หมายที่จะนำโปรแกรมไปเผยแพรแ่ ละใชป้ ระโยชน์

22

2. การปรบั ปรุงแก้ไขโปรแกรมตามขอ้ เสนอแนะท่ไี ดร้ บั
ขัน้ ตอนท่ี 2 การจัดทำคมู่ อื ประกอบโปรแกรม ในโครงการอยา่ งนอ้ ย 2 โครงการ คอื

1. คมู่ ือประกอบโครงการพัฒนาความรูใ้ หก้ ับกล่มุ เปา้ หมายในการทดลองเปน็ ความรู้เกี่ยวกับ
“นวัตกรรม” ทีจ่ ะพฒั นาขนึ้ และความรู้เกีย่ วกบั “งาน” ทีจ่ ะใหป้ ฏิบัติ จงึ เปน็ โครงการทีม่ ีกิจกรรม
เก่ียวกับการฝกึ อบรม การสมั มนา การศึกษาดงู านต้นแบบ การศึกษาด้วยตนเอง การศกึ ษาเปน็ กลมุ่
หรอื อืน่ ๆ

2. คู่มือประกอบโครงการนำความรูส้ ู่การปฏิบัติของกลุ่มเป้าหมายในการทดลอง เป็นคู่มอื ท่ี
แสดงให้เห็นถงึ การวางแผนเพื่อการปฏิบัติไว้ล่วงหน้า มีการกำหนดจุดมุ่งหมายที่ชดั เจน มีกิจกรรม
ดำเนินงาน มีการกำหนดระยะเวลาและขอบเขตของเวลา มีการบริหารจัดการ มีการติดตามและ
ประเมินผลที่หลากหลายมิติ

ขัน้ ตอนนี้ถอื เปน็ ภาระงานที่หนักสำหรับผ้วู จิ ยั ต้องใช้เวลาและความพยายามสงู อยา่ งน้อย
ก็ประมาณ 1 ภาคเรียน แต่ก็ขึ้นกับผลการทำงานในระยะที่ผ่านมาของผู้วิจัยด้วย หากในบทที่ 2
ผู้วิจยั ไดศ้ ึกษาวรรณกรรมที่เกีย่ วข้องไวไ้ ด้ดีก็จะทำให้มี “สารสนเทศ/ความรู้” ที่จะนำมาจัดทำเปน็
คู่มือประกอบโปรแกรมทีเ่ พียงพอ ทัง้ ในสว่ นทเี่ ก่ียวกบั “นวัตกรรม” และเก่ียวกบั “งาน” และขอให้
ข้อสังเกตด้วยว่า “คู่มือประกอบโปรแกรม” น้ี อาจเป็นค่มู ือท่ีเปน็ เอกสารตามทนี่ ยิ มใช้กันโดยทั่วไป
หรอื อาจเป็นค่มู ือเพือ่ E-Learning เชน่ แผน่ ซดี เี พ่ือศึกษาจากคอมพิวเตอร์ เป็นตน้ หรอื อาจผสมกนั
หลากหลายลักษณะ

สำหรับรปู แบบการเขียนโครงการ อาจเป็นรปู แบบเหตุผลสมั พันธ์ (Logical Framework)
หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า Log Frame หรืออาจเป็นรูปแบบปกติ (Traditional) ที่ใช้กันโดยทั่วไปใน
หน่วยงานราชการ มหี ัวขอ้ เกยี่ วกับหลกั การและเหตุผล วัตถุประสงคข์ องโครงการ เป้าหมาย กิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา ทรพั ยากร และอ่นื ๆ

ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบโปรแกรมและการปรับปรุงแก้ไข 2 ระยะ ประกอบด้วย 2
กิจกรรมหลัก ซึ่งไม่ตายตัว ผู้วิจัยอาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม โดยยึดจุดมุ่งหมายเพื่อการ
ตรวจสอบและการปรบั ปรงุ แก้ไข

1. การตรวจสอบภาคสนามเบื้องต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary Field Checking
and Revision) กับกลมุ่ เป้าหมาย ผ้มู ีส่วนไดเ้ สยี และอื่นๆ แล้วแต่ความเหมาะสมกบั งานวิจยั จำนวน
หนึ่งประมาณ 5-10-15 ราย อาจด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) การอภิปราย
กลุ่มเป้าหมาย (Focus Group Discussion) หรืออื่นๆ แล้วแต่ความเหมาะสมมีจุดมุ่งหมายเพื่อ
ตรวจสอบคุณภาพของโปรแกรมที่อาจใช้เกณฑ์ความสอดคล้อง (Congruency) ความถูกต้อง
(Accuracy) ความเป็นประโยชน์ (Utility) เป็นตน้

2. การตรวจสอบภาคสนามครั้งสำคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field Checking and
Revision) กับกลุ่มเป้าหมาย ผมู้ สี ว่ นได้เสีย และอน่ื ๆ แล้วแตค่ วามเหมาะสมกบั งานวิจยั จำนวนหนึง่
ที่ไม่ซำ้ กบั ข้อ 1 ประมาณ 10-15-20 ราย อาจด้วยการสัมภาษณเ์ ชิงลกึ (In-depth Interview) การ
อภิปรายกลุม่ เป้าหมาย (Focus Group Discussion) หรอื อน่ื ๆ แลว้ แตค่ วามเหมาะสม มีจุดมุ่งหมาย
เพ่อื ตรวจสอบคณุ ภาพของโปรแกรม ทีอ่ าจใชเ้ กณฑพ์ จิ ารณาเช่นเดียวกับข้อ 1 คือ ความสอดคล้อง
(Congruency) ความถกู ตอ้ ง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility)

23

ขั้นตอนที่ 4 การสร้างเครื่องมือเพื่อการทดลองโปรแกรมในภาคสนาม ควรมีแบบ
ประเมิน 6 ประเภท คือ

1. แบบประเมนิ ปฏกิ ริ ิยา (Reaction) ของกลุม่ เปา้ หมายในการทดลอง ในช่วงหลงั ส้ินสุดการ
ดำเนินงานของโครงการหนึ่งๆ เพื่อดูประสิทธิผลของโครงการและหาข้อบกพร่องในการปรับปรุง
แก้ไข โดยอาจใช้วิธีการสัมภาษณ์ การระดมสมอง การถอดบทเรยี น หรืออ่นื ๆ เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ มูลสะท้อน
กลับ (Reflection) ตามความเหมาะสม

2. แบบประเมินความรู้ (Knowledge) หลังการดำเนินงานโครงการพัฒนาความรู้ของ
กลุม่ เป้าหมายในการทดลองเพอื่ ให้ทราบว่ามีมากเพียงพอทจี่ ะนำไปสู่การปฎบิ ัติได้หรือไม่หลังจากมี
การดำเนินงานตามโครงการน้ีแล้ว อาจใชเ้ กณฑ์มาตรฐาน 80/80 เปน็ ตวั ชี้วดั วา่ ผา่ นหรอื ไม่ผา่ น โดย
80 แรกหมายถึงบคุ คลนน้ั ๆ ทำแบบประเมินความรูผ้ า่ น 80% ส่วน 80 หลงั หมายถึงทง้ั กลุ่มทำแบบ
ประเมินความร้ผู า่ น 80%

3. แบบประเมินการนำความรู้สู่การปฏิบัติ (From Knowledge to Action) ของ
กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง ประเมนิ หลังจากดำเนนิ งานตามโครงการนำความรู้สู่การปฎิบตั ไิ ปแล้ว
ระยะหน่ึง โดยอาจมกี ารประเมินเปน็ ระยะๆ หรือเมื่อสน้ิ สุดโครงการในตอนทา้ ยของการวจิ ัย

4. แบบประเมนิ การเปลยี่ นแปลง (Change) อาจใช้แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ แบบสงั เกต
แบบบันทึกข้อมูล ภาพถ่าย หรืออื่นๆ ที่แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในมิติต่างๆ เช่น การ
เปล่ยี นแปลงในงานทีป่ ฏิบัติ การเปลยี่ นแปลงในบรรยากาศองค์การ การเปล่ยี นแปลงในเทคนิคหรือ
วิธกี ารทำงาน และอื่น ๆ

5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ทเี่ กิดขึ้นกบั นักเรียน (Student Learning Outcome) ในกรณีท่ี
โปรแกรมนน้ั สง่ ผลถงึ นกั เรยี นดว้ ย อาจเป็นแบบประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ ทัศนคติ หรืออืน่ ๆ
รวมทั้งความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากการวิจัย แล้วแต่กรณี แต่หาก
โปรแกรมน้นั ไมส่ ง่ ผลถงึ นกั เรยี น กไ็ มต่ ้องมีแบบการประเมนิ น้ี

6. แบบประเมนิ ข้อบกพร่องของนวตั กรรมที่พัฒนาขน้ึ เพอื่ นำผลจากการประเมินไปใช้ในการ
ปรับปรุงแก้ไขนวัตกรรมในช่วงท้ายของการวิจัย อาจใช้เครื่องมือที่หลากหลาย เช่น แบบสัมภาษณ์
แบบสงั เกต แบบบันทกึ แบบอภิปรายกล่มุ เป็นตน้

เหตุผลที่สรา้ งเครื่องมือในขัน้ ตอนนี้ ก็เพื่อใหไ้ ดเ้ ครือ่ งมือการประเมินที่มีความตรงเชิงเน้อื หา
กับโปรแกรมที่ได้รับการตรวจสอบยืนยันแล้วจากขั้นตอนที่ 3 โดยเครื่องมือที่สร้างขึ้นจะต้องมี
กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพเชน่ เดยี วกับการวิจยั ประเภทอื่นด้วยเชน่ กนั เช่น การตรวจสอบความตรง
เชงิ เนอื้ หา โดยการสอบถามความเหน็ จากผเู้ ช่ยี วชาญหรือผ้มู สี ่วนเกี่ยวข้อง แลว้ วิเคราะห์หาค่า IOC
รวมทัง้ การนำไปทดลองใช้เครือ่ งมือ (Try Out) เพ่ือหาค่าความเชือ่ ม่นั (Reliability) เป็นต้น

ข้นั ตอนท่ี 5 การทดลองโปรแกรมในภาคสนาม (Trial) มี 2 กจิ กรรมหลัก คอื
1. ดำเนินการทดลองใชโ้ ปรแกรมกับกลุ่มเป้าหมายการทดลองในภาคสนาม เป็นการวิจยั
ก่อนทดลอง (Pre-Experiment) หรือกึ่งทดลอง (Quasi-Experiment) รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น
แบบกลุ่มควบคุมไม่ได้สุ่มแต่มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (Nonrandomized Control-
Group Pretest-Posttest Design) แบบวิจัยอนุกรมเวลา (Time Series Design) แบบอนุกรมเวลา
มีกลุ่มควบคุม (Control-Group Time Series Design) เป็นต้น แล้วแต่ความเหมาะสม ผู้วิจัยก็ควร

24

ศกึ ษาระเบยี บวธิ วี ิจัยของรูปแบบทเี่ ลอื กนำมาใช้ และมกี ารดำเนินงานตามระเบียบวิธีวิจัยน้ันซ่ึงการ
ทดลองนวัตกรรมท่ผี วู้ จิ ัยพฒั นาข้ึนในสาขาบริหารการศึกษา ควรเป็นการทดลองในหนว่ ยงานหน่วยใด
หน่วยหนึ่ง หากเป็นโรงเรียนก็ควรเป็น “โรงเรียนใดโรงเรียนหนึ่ง” เพราะสามารถควบคุมตัวแปร
แทรกซ้อนต่างๆ ได้ดีกว่าการทดลองกับกลุ่มเป้าหมายที่กระจายในวงกว้าง เช่น ครูหรือผู้บริหาร
โรงเรียนที่กระจายทั้งเขตพื้นที่การศึกษา เป็นต้น การทดลองโปรแกรมในภาคสนามนี้ ควรใช้
ระยะเวลา 1 ภาคเรยี น เพ่ือให้มเี วลาเพยี งพอต่อการดำเนินงานในโครงการ 2 ประเภท คือ

โครงการพัฒนาความรู้ของกลุ่มเป้าหมายในการทดลองในระยะเริ่มแรก ในขั้นตอนนี้
ผู้วิจยั ควรคำนงึ การใช้รปู แบบการพฒั นาบุคลากรที่หลากหลายวิธี ไม่จำกัดเฉพาะเรื่องการฝึกอบรม
หรือสัมมนาเท่านั้น เช่น การศึกษาด้วยตนเอง การศึกษาร่วมกันเป็นกลุ่ม การระดมสมอง การ
นำเสนอและการอภิปราย การเป็นพี่เลี้ยง การศึกษาดูงาน เป็นต้นและควรใช้เวลาประมาณ 1 ใน 4
ของเวลาใน 1 ภาคเรยี น

โครงการนำความรู้สู่การปฎิบัติสืบเนื่องจากโครงการแรก ในอดีตสำหรับศตวรรษที่ 20
ด้วยความเชื่อที่ว่า “Knowledge Is Power” จึงมีอิทธิพลต่อแนวคิดการพัฒนาบุคลากรใน
กระบวนการวจิ ัยและพัฒนาดว้ ย โดยกระทำในสง่ิ ทีเ่ รียกวา่ “Train and Hope” มุ่งเน้นให้บุคลากรมี
ความรู้อย่างเดียว แล้วหวังว่าพวกเขาจะนำความรู้นั้นไปสู่การปฏิบัติ โดยที่ผลจากการวิจยั พบว่ามี
โอกาสนอ้ ยมากท่ีจะเปน็ เช่นนั้น ดงั นั้น การวจิ ัยและพฒั นาในอดีตและอาจยังมอี ย่บู า้ งในปัจจุบัน จึง
มักจบลงในระยะการพัฒนาความรู้ของกลุ่มเป้าหมายในการทดลองเท่านั้น แต่ในปัจจุบันสำหรับ
ศตวรรษที่ 21 แนวคิดดังกล่าวได้เปลี่ยนไป จาก “Knowledge Is Power” เป็น “Knowledge +
Action = Power” ห ร ื อ “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do
What They Know” หรือ “Link To On-The-Job Application” ซึ่งส่งผลต่อการกำหนดแนวคิด
ในการวิจัยและพัฒนาให้มีโครงการนำความรู้สู่การปฎิบัติด้วย เป็นโครงการที่ผู้วิจัยจะต้องมีการ
วางแผนล่วงหน้า จดั ทำคมู่ ือประกอบลว่ งหน้า มีการกำหนดจดุ มงุ่ หมายท่ชี ัดเจน มกี ิจกรรมดำเนนิ งาน
มีการบริหารจัดการ มีการติดตามและประเมินผลที่หลากหลายมิติ มีการกำหนดระยะเวลาและ
ขอบเขตของเวลา โดยเวลาทใ่ี ชค้ วรประมาณ 3 ใน 4 ของเวลาใน 1 ภาคเรียน

2. สรปุ ผลการทดลอง และปรงั ปรงุ แก้ไขโปรแกรม โดยการสรปุ ผลน้นั มจี ดุ มงุ่ หมายเพื่อดูวา่
โปรแกรมท่ีพฒั นาขึ้นนั้นมีคุณภาพส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงท่ีดีข้ึนตามเกณฑ์ท่ีผู้วิจัยกำหนดในมิติ
ต่างๆ ตามเครื่องมอื การประเมนิ ท่ีสร้างขึ้นในขั้นตอนที่ 5 หรือไม่ ? ในกรณีการปรับปรุงแก้ไขนน้ั
เป็นการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมโดยพิจารณาข้อมูลจากการนำไปปฏิบัติจริง การสังเกต การบนั ทึก
การสมั ภาษณ์ การถอดบทเรยี น และอนื่ ๆ ท่ีผ้วู จิ ัยใชใ้ นทุกระยะของการดำเนินการทดลอง

ขั้นตอนที่ 6 การเขียนรายงานการวิจัยและการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั การเขียนรายงาน
ผลการวิจัย(บทท่ี 4) ควรมีดังน้ี

1. ผลการตรวจสอบกรอบแนวคิดเพื่อการวิจัยและการปรับปรุงแกไ้ ข
2. ผลการจดั ทำคู่มอื ประกอบโปรแกรม

- คู่มอื ประกอบโครงการพฒั นาความร้ขู องกลุม่ เปา้ หมายการทดลอง

25

- คู่มือประกอบโครงการนำความรู้สู่การปฏิบตั ิ
3. ผลการตรวจสอบโปรแกรมและการปรับปรุงแกไ้ ข

- ผลการตรวจสอบภาคสนามเบือ้ งต้นและการปรบั ปรงุ แก้ไข
- ผลการตรวจสอบภาคสนามคร้งั สำคัญและการปรบั ปรุงแก้ไข
4. ผลการสร้างเคร่อื งมอื เพ่อื การทดลองในภาคสนาม
- เคร่ืองมอื สำหรบั โครงการพฒั นาความรู้ของกลุม่ เป้าหมายการทดลอง
- เครอ่ื งมอื สำหรบั โครงการนำความรู้สูก่ ารปฏบิ ตั ิ
- เครือ่ งมอื ประเมินขอ้ บกพรอ่ งของนวัตกรรมท่ีพฒั นาขน้ึ
5. ผลการทดลองโปรแกรมในภาคสนาม (trial) เป็นการบรรยายถึงเหตุการณ์ทดลองใน
ภาคสนาม แสดงผลจากแบบประเมนิ ตา่ งๆ ทใ่ี ช้
- ผลการทดลองโครงการพฒั นาความรูข้ องกลุม่ เปา้ หมายการทดลอง
- ผลการทดลองโครงการนำความร้สู ่กู ารปฏิบัติ
- ผลการประเมนิ ข้อบกพร่องของนวัตกรรมท่พี ัฒนาขน้ึ
6. ผลผลิตสดุ ท้าย (final product) จากการวิจยั คือ นวัตกรรมท่ีเป็น “โปรแกรมพัฒนา...”
ที่ได้รบั การปรบั ปรุงแกไ้ ขจากผลการประเมนิ ข้อบกพรอ่ งของนวัตกรรมที่พฒั นาขึน้ กรณีการเผยแพร่
ผลงานวิจยั อาจดำเนินการได้หลายวิธี เช่น การนำเสนอผลงานวจิ ยั ในการสัมมนาวชิ าการ การตพี มิ พ์
ในวารสาร การจัดพิมพค์ ู่มอื ประกอบโปรแกรมเป็นเอกสารหรือตำรา เปน็ ตน้

2.3 แนวคดิ เชิงทฤษฎเี กีย่ วกับทกั ษะเชิงนวตั กรรม (Innovation Skills)
ตามทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ (2561) ที่นำมากล่าวถึงในข้อ 2.2 กล่าวว่า การวิจยั และ

พัฒนามีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนานวตั กรรม แล้วนำนวัตกรรมนั้นไปพัฒนาคนสู่การพัฒนาคุณภาพของ
งาน ทม่ี ีปรากฏการณ์หรือข้อมลู เชิงประจักษ์แสดงใหเ้ ห็นวา่ มคี วามจำเป็น (Need) เกดิ ขึน้ ซึง่ อาจเปน็
ผลสืบเนื่องจากการกำหนดความคาดหวังใหม่ที่ท้าทายของหน่วยงาน หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงใน
กระบวนทัศน์การทำงานจากเก่าสู่ใหม่ หรือเกิดจากการปฏิบตั ิงานที่ไม่บรรลผุ ลสำเร็จตามท่ีคาดหวงั
มาอย่างยืดเยื้อยาวนาน จึงต้องการนวัตกรรมใหม่มาใช้ หรืออาจเป็นผลสืบเนื่องจากปัจจัยอื่นๆ
แลว้ แต่กรณี

ในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษา
เกดิ ขนึ้ มากมาย ท่ีคาดหวงั วา่ หากบคุ ลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แลว้ กระตุ้นให้พวก
เขานำความรู้เหล่าน้ไี ปสู่การปฏบิ ัติ (Action) กจ็ ะก่อให้เกดิ พลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าท่ี
เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือ
ตามคำกล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They
Know” หรือ Link To On-The-Job Application” และด้วยแนวคิดที่ว่าการศึกษาวรรณกรรมท่ี
เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญของการวิจัยและพัฒนาเพราะจะทำให้ได้ “โปรแกรม
พัฒนา” ที่ประกอบด้วยโครงการอย่างน้อย 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาความรู้ให้กับ
กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง และโครงการนำความรู้สู่การปฏิบัติ ด้วยการวิจัยและพัฒนา ซึ่งมี
กระบวนการในรูปแบบ R1D1..R2D2..R3D3..RiDi มีขั้นตอนสุดท้ายเป็นการวิจัยแบบก่อนทดลอง

26

(Pre-Experiment) หรือแบบกึ่งทดลอง (Quasi-Experiment) ในภาคสนามจริง มีจุดมุ่งหมายหลัก
เพื่อทดสอบคุณภาพของนวัตกรรมในลกั ษณะ If X…Then Y และเพื่อการปรับปรุงแกไ้ ขข้อบกพร่อง
ของนวตั กรรมนน้ั ด้วย จากน้นั จึงนำไปเผยแพรใ่ นวงกวา้ งตอ่ ไป

สำหรับโครงการพัฒนาความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายในการทดลอง ผู้วิจัยจะต้องจัดทำค่มู ือ
ประกอบโครงการขึน้ มาจำนวนหน่ึง เป็นคู่มือที่นำเสนอความรูเ้ ก่ียวกับ “นวัตกรรม” ที่จะพฒั นาขึ้น
และความร้เู กีย่ วกับ “งาน” ทจ่ี ะให้ปฏบิ ัติ รวมทั้งโครงการนำความรูส้ กู่ ารปฏิบัตขิ องกลมุ่ เปา้ หมายใน
การทดลอง ผู้วิจัยก็จะต้องจัดทำคู่มือเพื่อเป็นแนวทางให้มีการวางแผนเพื่อการปฏิบัติของ
กลุ่มเปา้ หมายในการทดลอง ซึ่งการจัดทำคู่มอื ประกอบโครงการทงั้ 2 โครงการดงั กลา่ วน้ี ถอื เปน็ ภาระ
งานทีห่ นักทผ่ี ้วู ิจยั จะต้องใชเ้ วลาและความพยายามสงู อยา่ งน้อยก็ประมาณ 1 ภาคเรียน แตห่ ากในบท
ที่ 2 ผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษาวรรณกรรมท่ีเก่ยี วขอ้ งไวไ้ ดด้ กี จ็ ะทำให้มี “สารสนเทศ/ความร้”ู ที่จะจดั ทำเปน็ คมู่ อื
ประกอบที่เพียงพอ

ดังนั้น การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในหัวข้อนี้ จึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้ทัศนะของ
นักวิชาการและหน่วยงานต่างๆ ที่ถือเป็นแนวคิดเชิงทฤษฎี (Theoretical Perspectives) เกี่ยวกับ
ทักษะนวัตกรรม (Innovation Skills) จากหลากหลายทัศนะ อันจะเปน็ “สารสนเทศ/ความรู้” ที่จะ
นำไปสู่การจัดทำ “คู่มือ” ประกอบโครงการพัฒนาความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายในการทดลอง และ
โครงการนำความรู้สู่การปฏบิ ตั ิ ได้อย่างมีคุณภาพและอย่างมปี ระสิทธผิ ล โดยมีผลการศึกษาแนวคดิ
เชิงทฤษฎี (Theoretical Perspectives) เกี่ยวกับทักษะนวัตกรรม (Innovation Skills) ดังต่อไปนี้
ตามลำดบั

2.3.1 ทัศนะเก่ียวกบั นยิ ามของทักษะเชิงนวัตกรรม (The definition of Innovation
Skills)

Albuquerque (2013) ตำแหน่งรองศาสตราจารย์คณะวิชาเทคโนโลยีที่สถาบันโพลี
เทคนิค ประเทศโปรตเุ กส กล่าวถึงนิยามของทักษะเชิงนวัตกรรมว่า เปน็ กระบวนการผลิตผลของมโน
ภาพท่ีเกดิ ขึ้นใหม่ ตามความจรงิ และตามวิถีของการลงมือทำและการคิดโดยปกตทิ ั่วไป ซ่งึ เป็นนัยยะ
ของการเช่ือมต่อระหวา่ งแนวคดิ และการกระทำ เพอ่ื สรา้ งคำตอบ วิธีการ ขั้นตอน และเครอื่ งมือขนึ้ มา
ใหมอ่ ีกคร้งั

ในเวบ็ ไซต์ของ Bellevue college (2019) เปน็ เว็บไซด์ของ วิทยาลยั Bellevue ตงั้ อยู่ใน
เขตเมอื งของ Bellevue รัฐ Washington กล่าวถงึ นยิ ามของทกั ษะเชงิ นวตั กรรมว่า เป็นทักษะด้าน
การเรียนรแู้ ละนวัตกรรมท่ีมกี ารยอมรบั กนั มาก ว่าเปน็ ทกั ษะทท่ี ำให้เห็นความแตกตา่ งระหว่างผู้เรยี น
ท่ถี ูกเตรียมสำหรับชีวิตและสภาพแวดลอ้ มการทำงานในศตวรรษท่ี 21 ทซี่ ับซอ้ นมากขนึ้ โดยมุ่งไปท่ี
การคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การสื่อสารและความร่วมมือ ซึ่งจำเป็นสำหรับการเตรยี ม
ผู้เรยี นสอู่ นาคต

เว็บไซด์ของ E-CSR (2017) เป็นเว็บไซด์เกี่ยวกับ แพลตฟอร์มสื่อสำหรับข่าวจาก บริษทั
องค์กรทไ่ี มแ่ สวงหาผลกำไรสถาบนั และองค์กรพฒั นาเอกชนทัว่ โลก ไดใ้ หน้ ยิ ามแนวคดิ ของทกั ษะเชิง
นวัตกรรมไว้วา่ เป็นผลติ ภณั ฑห์ รือกระบวนการใหมห่ รือทีม่ ีการพัฒนาแล้ว ซึ่งแตกตา่ งอยา่ งมีนัยยะ
สำคัญจากผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการเดิม ๆ ขององค์กร ซึ่งจัดทำขึ้นมาและให้มีไว้สำหรับผู้มี
ศกั ยภาพจะใช้ (ผลิตภณั ฑ์) หรอื นำมาให้องคก์ รนน้ั ใช้ (กระบวนการ)

27

ในเว็บไซต์ของ Skillsyouneed (n.d.) เป็นเวบ็ ไซดท์ ่ีมุ่งมั่นทีจ่ ะให้ขอ้ มลู และทรัพยากรท่ีมี
คุณภาพสงู ไดก้ ลา่ วถึงนิยามของทักษะเชิงนวัตกรรมว่า เป็นกระบวนการของการนำแนวคิดใหม่ๆ ใน
การแก้ปัญหามาใช้ ซึ่งนวัตกรรมเป็นการก่อให้เกดิ การยอมรับ และการนำไปปฏบิ ัติในด้านแนวคดิ
กระบวนการ ผลติ ภณั ฑ์ หรือบรกิ ารใหมๆ่

ในเว็บไซต์ของ Toolshero (n.d.) เป็นเว็บไซดเ์ ก่ียวกับการส่งเสริมทฤษฎีและวิธีการทาง
วทิ ยาศาสตร์ กลา่ วถึงนิยามของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมว่า นวตั กรรมไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งการแนะนำหรือการ
นำแนวคิดหรือวธิ กี ารใหม่ๆ ไปปฏิบัติ แต่เปน็ กระบวนการที่เกี่ยวพนั กบั หลายๆ กิจกรรมท่ีเผยใหเ้ ห็น
แนวทางในการทำสง่ิ ตา่ ง ๆ แตต่ อ้ งไมส่ ับสนการคำวา่ การสร้าง (creation) เนื่องจากเปน็ เพยี งการลง
มือกระทำ การคดิ คน้ หรอื การผลิตบางสง่ิ ข้นึ มา อยา่ งไรก็ตาม นวัตกรรมใหมๆ่ สามารถทำให้เป็นจรงิ
ไดด้ ว้ ยความคดิ สรา้ งสรรค์ ซึง่ ต้องมกี ารคดิ นอกกรอบเพ่อื สร้างสงิ่ ต่าง ๆ ใหดีข้ึนแบบคอ่ ยเป็นค่อยไป

ในเว็บไซต์ของ Vocabulary (n.d.) เป็นเวบ็ ไซด์เกี่ยวกบั การคน้ หาคำศัพทเ์ พ่ือการศกึ ษา
กล่าวถงึ นยิ ามของทักษะเชงิ นวตั กรรมวา่ นวัตกรรมเปน็ การแนะนำสิ่งใหมๆ่ เกีย่ วกบั เทคโนโลยใี หมๆ่
ก็จะตอ้ งคอยมองหานวัตกรรมทจ่ี ะเกดิ ข้ึน นวัตกรรมเปน็ การจุดประกายความเข้าใจท่ีลึกซึ้งท่ีนำไปสู่
การศึกษาค้นคว้าของนักวิทยาศาสตร์หรือนักประดิษฐ์ในประเด็นหรือปรากฏการณ์ใดๆ ซึ่งความ
เข้าใจนัน้ ๆ มักจะถูกปรับเปลี่ยนโดยการสังเกตุสิง่ ท่ีเกิดขึน้ ว่าเป็นจริง หรือการกระตุกแนวความคดิ
ใหม่ๆ ทสี่ รา้ งสรรค์ นวตั กรรมมีพน้ื ฐานมาจากความสงสัยใคร่รู้ ความเต็มใจท่จี ะเสี่ยงและการทดสอบ
ข้อสันนิษฐาน นวตั กรรมมพี ื้นฐานมาจากการตัง้ คำถามและการทา้ ทายสถานะเดมิ และยังมีพนื้ ฐานมา
จากการรบั ร้ถู ึงโอกาสและใชป้ ระโยชน์จากโอกาสน้นั

ในเว็บไซต์ของ Business (2018) เป็นเว็บไซด์เกี่ยวกับ การบริหารธุรกิจให้ประสบ
ความสำเร็จของประเทศ ออสเตรเลีย กล่าวถึงนิยามของทักษะเชิงนวัตกรรมว่า โดยทั่วไปแล้ว
นวัตกรรมหมายถึงการเปลี่ยนแปลงกระบวนการหรือสร้างกระบวนการ ผลิตภัณฑ์ และแนวคิดที่มี
ประสิทธิผลมากกว่าในทางธุรกิจ อาจหมายถึงการนำแนวคิดใหม่ๆ มาลงมือปฏิบัติ การสร้าง
ผลิตภณั ฑท์ ่เี ตม็ ไปด้วยความคดิ สร้างสรรค์ หรอื การปรบั ปรุงบริการทม่ี อี ยู่ นวัตกรรมสามารถเป็นส่ิง
เร่งการเติบโตและความสำเร็จของธรุ กจิ และชว่ ยใหป้ รับตัวและเติบโตในตลาดได้ การเป็นนวตั กรรม
ไมไ่ ดห้ มายถึงแค่การประดิษฐ์คิดคน้ นวัตกรรมอาจหมายถงึ การเปลย่ี นรปู แบบธรุ กิจและปรับเพื่อให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมเพื่อนำเสนอผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ดีกว่า นวัตกรรมที่ประสบ
ความสำเร็จนั้นควรจะเป็นส่วนหนึ่งที่ตั้งอยู่ในกลยุทธ์ทางธุรกิจ ซึ่งสามารถสร้างวัฒนธรรมแห่ง
นวตั กรรม นำทางไปสู่การคดิ เชงิ นวตั กรรมและการแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์
นวัตกรรมสามารถเพิม่ ความเป็นไปได้ของความสำเร็จในธุรกิจ ซึ่งธุรกิจที่ใช้นวัตกรรมจะทำให้เกดิ
กระบวนการทำงานที่มปี ระสิทธภิ าพมากกวา่ และมีความสามารถในการผลติ และสมรรถนะทดี่ ีกว่า

ในเว็บไซต์ของ Center for Management & Organization Effectiveness (n.d.) เป็น
เว็บไซด์ที่ส่งเสริม และ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการวิจัยและสิ่งตีพิมพ์ กล่าวถึงนิยามของทักษะเชิง
นวัตกรรมวา่ นวัตกรรมเป็นความสามารถทจ่ี ะเปล่ยี นแปลงและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ กระบวนการ บริการ
หรือวิธีแก้ปัญหาที่ชัดเจนหรือค่อยเป็นค่อยไป ในแนวทางที่จะสร้างคุณค่าที่โดดเ ด่นให้กับองค์กร
นวัตกรรมมีความสำคัญต่อองค์กรในการใช้ศักยภาพได้เต็มที่ ซึ่งหลายองค์กรยังขาดทักษะการคิด
วเิ คราะหน์ ้ี ทุกคนในองคก์ รสามารถพัฒนาสมรรถนะให้เปน็ คล้ายพลังเชิงนวตั กรรมได้ ซง่ึ การอบรม

28

ทักษะนวตั กรรมของ CMOE ได้ออกแบบมาเพื่อช่วยใหผ้ ปู้ ฏบิ ัติงานหรือผนู้ ำแตล่ ะคนมสี ว่ นร่วมในการ
คดิ เชิงนวัตกรรม และใชค้ วามสามารถพเิ ศษและประสบการณข์ องตนเพือ่ โนม้ นา้ วองค์กรดว้ ยวิธีการที่
ลุ่มลึก ซงึ่ หลกั สูตรน้จี ะทำให้ผู้เขา้ อบรมไดเ้ หน็ ทกั ษะทีต่ นเองต้องการจะมี

Dwyer (n.d.) เป็นผูช้ ่วยศาสตราจารย์ด้านนวัตกรรมและผู้ประกอบการ Northwestern
University กลา่ วถงึ นยิ ามของทักษะเชงิ นวตั กรรมว่าหมายถึง

− การใชแ้ นวคิดทีใ่ หม่และมปี ระโยชน์
− เก่ยี วกับการอยใู่ ห้สัมพนั ธก์ ัน
− ความคดิ เย่ียม จดั การเกง่ และสอื่ สารดี
− การเสนอสิ่งที่เป็นไปได้และเกี่ยวข้องกันกับโมเดลธุรกิจที่ปฏิบัติได้ ซึ่งลูกค้ารับรู้และ

นำไปใช้
− การแนะนำผลติ ภณั ฑ์และบรกิ ารใหม่ๆ ท่ีเพิ่มคณุ ค่าใหอ้ งค์กร
− ตราบเท่าที่เป็นสิ่งใหม่และทำให้เห็นความต้องการของลูกค้า ความเปลี่ยนแปลงใดๆ ก็

เกดิ ขนึ้ ได้
− วธิ กี ารพ้ืนฐานท่ีบริษทั ใช้สือ่ สารค่านิยมทแ่ี น่วแน่ไปยงั ลูกค้า
− การทำงานทีน่ ำเสนอสง่ิ ดๆี ที่เกดิ ขึ้นใหมไ่ ปยังลูกค้าในตลาดใหมๆ่ และปรบั ปรุงผลกำไรให้

สมดุล
− การนำสงิ่ ใหม่ๆ มาปฏบิ ตั ิ
− การนำแนวคดิ สร้างสรรคม์ าปฏบิ ัตเิ พอื่ สร้างคณุ คา่
− สงิ่ ที่ใหม่ มีประโยชน์ และสร้างความประหลาดใจ

ดังน้ัน นิยามของนวตั กรรมก็คอื เปน็ กระบวนการของการสรา้ งคณุ คา่ โดยการประยุกต์ใช้
วิธใี หม่ๆ ในการแกป้ ญั หาทสี่ ำคญั

ในเว็บไซต์ของ Wikipedia (2019) เป็นเว็บไซด์สารานุกรมเสรี กลา่ วถงึ นิยามของทกั ษะ
เชงิ นวัตกรรมว่า ความหมายของนวัตกรรมทเ่ี ปน็ ทีเ่ ข้าใจได้ในปัจจุบันคือ “เปน็ แนวคดิ ใหม่ ความคิด
สร้างสรรค์ การจินตนาการถึงสิ่งใหม่ๆในรูปแบบของเครื่องมือหรอื วิธีการ” นวัตกรรมมักถูกมองว่า
เป็นการประยุกต์ใช้ที่ดีกว่าที่ตรงตามแนวคิดใหม่ และ ความต้องการของตลาดท่ีมีอยู่ในขณะนั้น ซึ่ง
นวัตกรรมดังกล่าวเกิดขึ้นจากการเตรียมการทีม่ ีประสิทธภิ าพมากข้ึนในดา้ นผลิตภัณฑ์ กระบวนการ
บริการ เทคโนโลยี หรือโมเดลทางธุรกิจ เพ่ือให้มีอยู่ในกลุ่มผู้ซื้อขาย หน่วยงานราชการ และสงั คม
นวัตกรรมเป็นสิ่งท่ีเกิดขึน้ เปน็ อย่างแรกและมีประสิทธิผลมากกวา่ และกลายเป็นความใหม่ซ่งึ แทรก
เข้าไปในตลาดหรือสังคมได้ นวัตกรรมเป็นเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับสิ่งสร้างสรรค์ แต่มีความแตกต่างกนั
เน่ืองจากนวตั กรรมมคี วามเป็นไปไดม้ ากกว่าในการรวมเอาการปฏิบัติที่ใชง้ านไดจ้ รงิ ของสงิ่ สรา้ งสรรค์
(เช่น ทกั ษะใหมๆ่ หรือที่พฒั นาแล้ว) ไปทำให้เกดิ ผลกระทบที่สำคัญในตลาดหรอื สังคม และไม่ใช่ทุก
นวัตกรรมที่ต้องมีสิ่งสรา้ งสรรค์ นวัตกรรมมักจะเผยตวั เองผ่านกระบวนการทางวิศวกรรมเมื่อมีการ
แก้ไขปัญหาในลักษณะทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ โดยสิ่งตรงข้ามกับนวัตกรรมก็คือ
exnovation

กล่าวโดยสรุป ทักษะเชิงนวัตกรรม (Innovation Skills) จากทัศนะดังกล่าวข้างต้น
หมายถึง สิ่งทีม่ ีพ้ืนฐานมาจากความสงสัยใคร่รู้ ความเต็มใจที่จะเสี่ยงและการทดสอบขอ้ สันนษิ ฐาน

29

และยังมีพื้นฐานมาจากการรับรู้ถึงโอกาสและใช้ประโยชน์จากโอกาสนั้น นวัตกรรมจึงเป็น
กระบวนการผลิตผลของมโนภาพทีเ่ กิดขนึ้ ใหมจ่ ากการนำแนวคิดใหม่ๆ มาลงมอื ปฏบิ ตั ิ ตามความจรงิ
และตามวถิ ีของการลงมอื ทำ เป็นทักษะด้านการเรียนรู้และนวตั กรรมทีม่ ีการยอมรับกนั โดยมุ่งไปที่
การคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ การสื่อสารและความร่วมมือ ซึ่งจำเป็นสำหรับการเตรยี ม
ผู้เรียนสู่อนาคตและยังสามารถสร้างวัฒนธรรมแห่งนวัตกรรม นำทางไปสู่การคิดเชิงนวัตกรรมและ
การแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์

2.3.2 ทัศนะเก่ยี วกับความสำคัญของทักษะเชงิ นวตั กรรม (The Importance of
Innovation Skills)

Henderson (2018) กล่าวว่านวัตกรรมเป็นสิ่งที่สำคัญมากสำหรับองค์กร เนื่องจาก
นวัตกรรมมีส่วนช่วยให้องค์กรขยายขอบเขต และยังเพิ่มเครือข่ายในการพัฒนาตลาดซึ่งจะนำไปสู่
โอกาสดี ๆ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศร่ำรวย นวตั กรรมสามารถช่วยในการพฒั นาแนวคิดเดิมที่มีอยู่
แล้วใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ ในขณะเดยี วกนั ก็สง่ เสรมิ ให้ผมู้ คี วามคิดใหมๆ่ สามารถทำงานของตนได้อย่างเต็มท่ี มี
ความมนั่ ใจและทศั นคติการกลา้ รบั ความเส่ยี งเพือ่ ใหง้ านประสบผลสำเร็จ เม่ือองคก์ รมีวัฒนธรรมแห่ง
นวัตกรรมก็จะเกดิ การพฒั นาได้งา่ ยดาย แมว้ า่ ความจริงแล้วกระบวนการความคิดสร้างสรรค์จะไม่ใช่
เร่ืองงา่ ยก็ตาม ทฤษฎีทีท่ ดสอบแล้วว่ามีประสทิ ธภิ าพอาจเป็นอะไรทน่ี ่าเชอ่ื ถอื แตก่ ารลองทำสิ่งใหมๆ่
น้นั ก็เป็นอะไรทีค่ ้มุ คา่ เชน่ เดยี วกนั

Myllyya (2019) กล่าวถึงความสำคัญของทักษะเชิงนวตั กรรมวา่ หากเราพจิ ารณาบทบาท
ของนวัตกรรมจากมุมสังคม เราจะเหน็ ความสำคญั ของนวัตกรรมในองค์กรชันเจนขึ้น ทกุ วันน้ีเป็นการ
ยากที่จะบอกว่าอุตสาหกรรมใดบ้างที่เห็นว่านวัตกรรมไม่สำคัญ แม้ว่าอุตสาหกรรมบางประเภท
จำเป็นต้องใช้นวัตกรรมมากกว่าอุตสาหกรรมประเภทอื่น แต่นวัตกรรมและความสามารถในการ
พฒั นาเปน็ ส่งิ ท่ีอุตสาหกรรมทกุ ประเภทพงึ มี ยงิ่ ไปกว่านั้นอตุ สาหกรรมรัฐบาลทมี่ กี ารควบคมุ เข้มงวด
ที่สุดอย่างแท็กซี่และธนาคารซึ่งไม่มีใครคาดคิดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงได้มาก่อนก็ยังมีการ
เปล่ียนแปลง ท่ปี ฏิวัตวิ งการแทก็ ซท่ี ม่ี มี ายาวนาน หรือการมีนวตั กรรมใหม่เข้ามาสง่ ผลกระทบตอ่ การ
ใหบ้ ริการทางการเงินของธนาคาร ในปัจจบุ ันนวตั กรรมสามารถทำใหเ้ กิดประโยนม์ ากมายและยังถือ
ว่าเปน็ ทักษะการคิดวเิ คราะหอ์ ย่างหน่งึ ซงึ่ ช่วยใหอ้ งค์กรประสบความสำเรจ็ ในธุรกจิ ได้

ในเว็บไซต์ของ Cleverism (n.d.) กลา่ วถึงความสำคญั ของทักษะเชิงนวตั กรรมไวว้ ่า ทำไม
ทกั ษะดา้ นนวตั กรรมจึงสำคญั เน่อื งจากในปจั จุบนั การตลาดเปลย่ี นแปลงอยู่ตลอดเวลาทำให้ต้องนึก
ถึงนวัตกรรม ซึ่งคำว่านวัตกรรมนี้ได้กลายมาเป็นวลีบังคับสำหรับการทำธุรกิจที่ต้องการเพิ่มขีด
ความสามารถและได้มาซึ่งวิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดและทันสมัยที่สุดในอุตสาหกรรมของตน และ
ตอ่ ไปนีค้ อื ประโยชน์ของพนกั งานทม่ี ีทกั ษะดา้ นนวตั กรรม นน้ั คือ

1. เป็นการเพิ่มขีดความสามารถ (Improves efficiency) ซึ่งนับเป็นทรัพยากรที่มีคา่
มากสำหรับองค์กร สืบเนื่องมาจากความอยากรู้อยากลอง ทักษะด้านนวัตกรรมช่วยส่งเสริม
ความสามารถของพนักงานในการตระหนักถงึ ศกั ยภาพของการพฒั นานองค์กรซ่งึ ไม่ใช่แค่ในงานของ
ตนเอง แต่รวมไปถึงงานด้านอน่ื ๆ ในองค์กรอกี ดว้ ย และช่วยใหส้ ามารถใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรท่ี
มีอยู่จำกัดได้อย่างดี

30

2. ก้าวผ่านความจำเจ (Overcomes monotony) นวัตกรรมมีพลังในการช่วยให้
พนักงานกา้ วออกจากแนวคิดเดมิ ๆ ส่งผลให้พนกั งานบรรลผุ ลสำเร็จและเกิดความพึงพอใจ พลังแห่ง
นวัตกรรมยังเป็นตัวชว่ ยผลักดันให้การทำงานมีความท้าทายและยังชว่ ยส่งสเรมิ ให้พนักงานกล้าท่จี ะ
คิดนอกกรอบได้อีกด้วย

Sokova (2018) กล่าวว่า ในช่วงทศวรรษท่ีผ่านมา นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรคไ์ ด้
กลายมาเปน็ ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ท่ีจะนำไปสูค่ วามสำเรจ็ ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ความต้องการการ
แก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์มีเพ่มิ มากขึ้น และการจัดการปัญหานัน้ กจ็ ำเป็นต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์
อยา่ งเขา้ ใจเพ่อื การหาทางแกไ้ ขปัญหาท่เี หมาะสม ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรมมักจะมาค่กู ัน ไม่
มีนวัตกรรมใดที่ปราศจากความคิดสร้างสรรค์ ขณะที่ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถในการ
สร้างแนวคดิ ใหม่ๆ ซง่ึ ไมเ่ คยมีการกอ่ น นวัตกรรมกค็ ือการนำความคิดเหล่านน้ั ท่ีไม่ว่าจะเป็นแนวคิด
ใหม่ๆ แนวทางการแก้ไขปัญหา วิธีการดำเนินการ หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้คิดค้นขึ้นมาทำให้เกิดขึ้นจริง
ความคิดสร้างสรรค์เป็นแรงผลักดันให้เกิดนวัตกรรม สองส่ิงนี้รวมกันช่วยให้เรามองสิ่งต่าง ๆ ใน
มุมมองที่แตกต่างโดยไม่คำนึงถงึ กฎเกณฑแ์ ละธรรมเนียมการปฏบิ ตั ทิ ง้ั ท่มี กี ำหนดไว้และไม่ได้กำหนด
ไว้การความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมในองค์กรที่มีการบริหารที่ดีถือเป็นหนทางการันตีสู่
ความสำเร็จ การกระตนุ้ ใหเ้ กิดความคิดสรา้ งสรรค์และค้นหาสิ่งใหมๆ่ ท่ไี มเ่ คยร้มู าก่อนส่งผลให้เกิด
ผลิตภาพแก่องค์กรมากขึ้น การส่งเสริมให้พนักงานคดิ นอกกรอบพร้อมทั้งใหเ้ วลาและทรัพยากรแก่
พวกเขาในการคิดหาแนวคิดใหม่ๆ คือกุญแจสำคัญในการแก้ปัญหาทางธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ
ความคิดสรา้ งสรรค์ชว่ ยพัฒนากระบวนการแก้ปัญหา ไม่สำคัญว่ามันจะเป็นการพัฒนาหลักการใหม่
หรอื เปน็ วิธีการแบบใหมใ่ นการพฒั นาตัวเองใหเ้ ปน็ ค่แู ขง่ ทเ่ี หนอื กว่าคนอ่ืน การแก้ปัญหาดว้ ยความคิด
สร้างสรรค์ทำให้องค์กรได้เปรียบทางการแข่งขัน หลายๆ องค์กรพยายามอย่างมากที่จะมีสิ่งน้ี
ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการจัดการนวตั กรรมนีอ้ าจเกดิ ขึ้นไดจ้ ากหลายทาง เช่น จากบรษิ ัทคคู่ า้ ลกู คา้
กลุ่มเป้าหมาย หรือแม้แต่จากพนักงานเอง พวกเขาเหล่านั้นอาจมีส่วนช่วยให้คณุ เกิดแนวคิดใหมๆ่
ฉะนั้นจงแสดงให้พวกเขาเห็นถึงความใสใ่ จในการรับฟัง และเปิดใจฟังผลตอบรับท่ีได้จากพวกเขา นี่
คือเหตุผลว่าทำไมการเปิดประสบการณ์ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจึงเป็นจุดสำคัญ เนื่องจาก
พนกั งานในองค์กรจะไดร้ ับร้วู ่าองค์กรคอยสนบั สนนุ และสง่ เสริมพวกเขาเสมอ

Kappe (2018) กล่าววา่ มีเหตผุ ลหลายข้อวา่ ทำไมคุณควรพัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรมในท่ี
ทำงาน

1. ช่วยแกป้ ญั หาที่เปน็ ไปไม่ได้ (Solve impossible problems) ธรุ กจิ ของคุณประสบ
ปัญหาที่ดูจะหาทางแก้ไขไม่ได้เลยหรือไม่ ไม่ว่าคุณจะพยายามสักกี่ครั้งก็ตามแต่ เหตุผลอาจเป็น
เพราะวา่ คุณพยายามแก้ปญั หาตามสภาพท่เี ป็นอยู่ บางทีคุณอาจตอ้ งแก้ปัญหาดว้ ยแนวคิดใหม่ๆ เม่ือ
คุณเริ่มทีจ่ ะคิดนอกกรอบ คุณอาจพบคำตอบทีไ่ ม่มีใครคาดคิดมาก่อนก็เป็นได้ไมว่ ่าจะเป็นเรื่องของ
การพฒั นาสินค้า การเก็บสินคา้ ในคลัง หรือการจดั สง่ สินคา้ ใหล้ ูกคา้ คณุ สามารถทจี่ ะพบทางออกดี ๆ
ที่ช่วยใหธ้ รุ กิจคณุ ไปไดด้ ียิง่ ข้นึ

2. ช่วยส่งเสริมผลติ ภาพองคก์ ร (Increase workplace productivity) หากคุณพบวา่
คุณและพนักงานในองค์กรกำลงั ประสบความยุ่งยากในการทำงานและตอ้ งใชค้ วามพยายามอย่างมาก
เพื่อให้งานสำเรจ็ ลุล่วง น่อี าจจะเป็นช่วงเวลาทอ่ี งคก์ รต้องมีการเพม่ิ ผลติ ภาพ แตใ่ นการเพ่มิ ผลติ ภาพ

31

ในองค์หรนั้นคุณจำเป็นที่จะต้องหากระบวนการใหม่ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ของคุณในการคิดหา
หนทางทีด่ ีกว่าเดิมในการพัฒนาองค์กร ลองถามตัวเองดูว่ามีอะไรที่เราสามารถนำมาปรบั ปรุงให้มี
ประสทิ ธิภาพมากข้นึ ได้บา้ ง ควรตดั อะไรออกบ้างไหม มีงานอะไรทเี่ ราสามารถมอบหมายให้พนกั งาน
หรอื เอเจนซีข้างนอกทำไดบ้ า้ ง มีโปรแกรมหรอื ขั้นตอนการทำงานใดบา้ งที่เราสามารถนำมาช่วยเพ่ิม
ผลติ ภาพใหอ้ งค์กรไดบ้ ้าง

3. ช่วยแสดงคณุ สมบตั อิ ันเปน็ เอกลกั ษณ์ (Showcase unique qualities) คณุ สามารถ
ใชค้ วามคิดสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรมในการทำให้ธุรกิจของคุณโดดเด่นยง่ิ กว่าธุรกิจเจา้ อ่นื ในท้องทแี่ ละ
ในกลุ่มธุรกิจแบบเดียวกัน นี่คือจุดเริ่มต้นของตลาดธุรกิจเลก็ ๆ ที่เป็นเอกลักษณ์ คุณจำเป็นต้องมี
นวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์ในการทำให้ผู้คนจดจำธุรกิจของคุณ คุณอาจเริ่มต้นด้วยการสร้าง
เรื่องราวท่มี าของแบรนดท์ ีไ่ ม่ซ้ำใคร สร้างลักษณะทางธรุ กจิ ทีแ่ ปลกใหม่ หรือการทำงานร่มกับองคก์ ร
ไม่แสวงหาผลกำไรเปน็ ต้น เมื่อใดก็ตามทธี่ รุ กจิ ของคณุ เริ่มโดดเดน่ ขน้ึ คณุ ตอ้ งรบี ทำการตลาด แสดง
ให้เห็นไปเลยว่าธุรกิจของคุณแตกต่างจากคนอื่นๆ อย่างไร พร้อมทัง้ สร้างแผนการตลาดที่เหมาะสม
กับตวั ธรุ กจิ คณุ ไม่จำเปน็ ตอ้ งทำตามคนอืน่ เพราะลูกคา้ จะจดจำคุณไดด้ กี วา่ หากคณุ มคี วามแตกตา่ ง

4. ช่วยในการเอาชนะคู่แข่งที่น่ากลัว (Beat tough competitors) เมื่อคุณเป็นนัก
ออกแบบนวตั กรรมในการทำธุรกิจ คณุ สามารถเอาชนะคูแ่ ข่งได้แน่ ดว้ ยความคดิ สรา้ งสรรค์แม้เพียง
เล็กน้อย คุณสามารถนำมาใช้ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ดีกว่า ใช้ในการติดต่อลูกค้า ในการทำตลาดให้
ธรุ กจิ และนำมาสนบั สนนุ โปรโมชน่ั สง่ เสริมการขาย

Nolan (2017) กล่าวถึงเหตุผล 6 ขอ้ วา่ ทำไมนวตั กรรมจงึ ถอื เปน็ ทกั ษะการเอาตัวรอด
1. การแข่งขันที่เพิ่มขึ้น (Increasing Competition) อย่างที่ได้กล่าวไปแล้วก่อนหน้า

การแข่งขนั เป็นเหตผุ ลงา่ ยๆ ในการผลักดันให้เกดิ นวตั กรรมในการทำธุรกจิ การคาดการณก์ ารแขง่ ขัน
ที่จะเกดิ ขึ้นในอนาคตนัน้ กเ็ นื่องมาจากความกดดันขององคก์ รในการต้องเผชิญหน้ากับคูแ่ ขง่ ท้งั หน้า
เก่าและหน้าใหม่ เชน่ เดยี วกับการเปลย่ี นแปลงของตลาดตามกระแสโลกาภวิ ัตน์ บรรดาบรษิ ทั ค่แู ข่งก็
ได้มีการพัฒนาความสามารถของตนเองอยู่ตลอด พวกเขาฉลาดขึ้น หัวไว และมักจะตีตลาดด้วย
ผลติ ภณั ฑใ์ หมๆ่ ที่นา่ สนใจอย่างรวดเร็ว วงจรนวตั กรรมนนั้ สน้ั ลงเร่ือยๆ สนิ คา้ และบรกิ ารใหม่ๆ ถูก
คิดค้นและผลติ ออกมาอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าเดิม สิ่งเหล่านี้ลว้ นเพิ่มภาระให้บริษัทที่กอ่ ตั้งมานานกว่า
เนื่องจากตอ้ งก้าวให้ทันโลกอยู่เสมอ ทง้ั ยังต้องผลติ สนิ ค้าใหไ้ ด้คุณภาพหรือต้องพยายามที่จะเป็นผู้มี
ความโดดเด่นเหนือคูแ่ ขง่

2. กระแสโลกาภิวัตนท์ ี่มากข้นึ (Increasing Globalization) เมื่อไมน่ านมาน้เี องบริษัท
คู่แข่งอาจเป็นบรษิ ัทในหรือต่างประเทศเสียส่วนมาก ในวันน้ีส่ิงตา่ งๆ ไดเ้ ปลย่ี นไปแล้ว โลกใบเล็กลง
เนื่องจากกระแสโลกาภวิ ัตน์ บริษัทต่างๆ ทั้งเล็กใหญ่เกิดขึน้ รอบโลกและสามารถเชือ่ มถึงกันไดห้ มด
เขตแดนระหว่างประเทศแทบจะไม่เป็นปญั หาอกี ต่อไปเมื่อพูดถึงลูกค้าธุรกิจเป็นสำคัญ บริษัทหน่งึ
จากประเทศอนิ เดยี ก็สามารถเข้าถงึ ลกู ค้าประจำของคุณไดอ้ ย่างงา่ ยดาย อย่างไรกต็ ามยงั มีความโชคดี
ทเ่ี รอ่ื งนส้ี ่งผลในทางตรงกันขา้ มไดเ้ ช่นเดียวกนั ยกตวั อย่างเชน่ มกี ารคาดการณว์ ่าอนิ เดียจะสามารถ
ขยายธุรกิจได้มากเรื่องจากประเทศมีขนาดใหญ่ มีประชากรอายุนอ้ ย มีผู้บริโภคซ่ึงเป็นชนชั้นกลาง
จำนวนมาก มีประชากรที่มีการศึกษาสูง สามารถสือ่ สารภาษาอังกฤษได้ในแวดวงอุตสาหกรรมไอที
และมีรฐั บาลทีม่ เี สถียรภาพ เศรษฐกจิ ของอินเดียไม่ได้ขับเคลอ่ื นด้วยผบู้ รโิ ภคภายในประเทศเท่าน้ัน

32

แต่รวมถึงผู้บริโภคจากทั่งโลกเลยก็ว่าได้ สำหรับภูมิภาคที่กำลังมีการพฒั นาทางเศรษฐกิจเช่นในจนี
ละตนิ อเมริกา และในทวปี แอฟรกิ า แรงกดดันในการดึงดดู ผบู้ รโิ ภคก็ไดเ้ พิ่มสงู ข้นึ อย่างรวดเร็ว ในการ
ที่จะเติบโตให้ทันการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วในแต่ละวันและสิ่งแวดล้อมรอบโลก บริษัทต่างๆ ไม่มี
ทางเลอื กอืน่ ใดนอกจากการคิดคน้ นวัตกรรมใหม่ เพื่อดึงดูดผู้บริโภคหน้าใหม่และเปดิ ตลาดแห่งใหม่
การเปลี่ยนแปลงของตลาดโลกเป็นโอกาสสำหรบั ผู้มีนวัตกรรมและแสวงหาประโยชนจ์ ากนวัตกรรม
นน้ั ๆ

3. ความต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มสูงขึ้น (Increasing Consumer Expectations)
ด้วยโซเชียลมีเดียและเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง การตลาดกลายเป็นเรื่องส่วนตัวมากขึ้น
สำหรบั ผ้บู ริโภคแต่ละราย ทำใหเ้ กิดการตลาด การโฆษณาสินคา้ และบริการรูปแบบใหมข่ นึ้ พรอ้ มทั้ง
การดึงดูดลูกค้าใหม่และรักษาฐานลูกค้าเก่า ผู้บริโภคในยุคปจั จุบันได้รับข่าวสารมากมาย และต้อง
ขอบคุณไปยังกระแสโลกาภิวัตน์ที่ช่วยให้ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าและบริการได้ตา มใจชอบ
ผู้บรโิ ภคมีความคาดหวังทส่ี ูงขนึ้ และจะเป็นเช่นน้ตี ่อไปเร่ือยๆ พวกเขาจะไม่พอใจกบั สนิ ค้าหรือบรกิ าร
ทธ่ี รรมดาหรือล้าสมยั พวกเขาไมจ่ ำเปน็ เนือ่ งจากผู้บรโิ ภคมีตัวเลือกมากมาย ผูบ้ ริโภคมักจะมองหา
ผลิตภัณฑ์ทีช่ ่วยให้ชีวติ ดีขึ้น และยังตอ้ งการบรษิ ัทที่สามารถช่วยแก้ปญั หาและทำใหช้ ีวิตง่ายขึ้นอกี
ดว้ ย และดว้ ยเหตุนเ้ี องความคาดหวงั ของผู้บรโิ ภคกค็ ือแรงผลักดันให้เกิดนวตั กรรมทัง้ ในเวลาน้แี ละใน
อนาคตอย่างแน่นอน

4. เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้น (Advancing Technology) ธุรกิจ startups ธุรกิจขนาด
เลก็ และขนาดกลางได้กลายมาเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีกันมากขนึ้ จนกระทง้ั เมือ่ ไมก่ ่ปี ที ีผ่ ่านมา
บรษิ ัทขนาดใหญม่ ีข้อไดเ้ ปรียบด้านไอทีมากกว่าคู่แขง่ ขนาดเล็ก หลายๆ คนยังใหค้ วามเชื่อถือบริษัท
ขนาดใหญ่มากกว่าในเรื่องของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) อย่างไรก็ตามเมื่อฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
และเทคโนโลยไี ร้สายมรี าคาทถ่ี กู ลงและสามารถจัดหาไดง้ ่าย ธรุ กิจขนาดเลก็ และขนาดกลางสามารถ
เขา้ ถึงเทคโนโลยีได้เช่นกนั แมว้ ่าอาจจะไม่มีประสทิ ธิภาพเทียบเทา่ บรษิ ทั ใหญ่แตก่ ็ยงั ถือว่าใช้ได้ ส่วน
ธรุ กจิ startups นั้นมักจะนำเสนอหรอื ผลักดันเทคโนโลยีใหมๆ่ ออกมาตลอด เทคโนโลยีขบั เคล่ือนให้
เกดิ นวตั กรรมและไดก้ ลายมาเปน็ วิถปี ฏบิ ตั ใิ นธุรกิจ

5. สถิติแรงงานที่มีการเปลี่ยนแปลง (Changing Workforce Demographics) สถิติ
แรงงานที่มีการเปล่ียนแปลงกเ็ กิดขึน้ น้อยในบางคร้ัง ความทา้ ทายจะมาพรอ้ มความเปล่ยี นแปลง การ
เปลี่ยนแปลงก็นำมาซึ่งโอกาสสำหรับองค์กรต่างๆ ที่อยากจะลอง” คิดนอกกรอบ”เรามีแรงงานท่ี
หลากหลายขน้ึ มากขน้ึ ความหลายหลายทางดา้ นเชือ้ ชาติ เผ่าพนั ธ์ุ อายุ สัญชาติและเพศน้ันมีมากใน
ตะวนั ตกและจะเปน็ แบบน้ีต่อไปเร่อื ยๆ ความท้าทายของการรบั คนเข้าทำงานและการได้คลุกคลีกับ
ผู้คนหลากหลายอาจจะเป็นเรอื่ งใหญ่ แต่ผลท่ไี ด้รับน้นั ชว่ ยใหน้ ายจ้างร้วู ่าต้องจัดการอย่างไร บริษัท
ใดกต็ ามที่สามารถดงึ ดูด วา่ จา้ ง และรกั ษาพนกั งานทม่ี ีความหลากหลายไว้ได้จะทำให้เกิดการพัฒนา
แลกเปล่ียนความรู้และแนวคดิ แก่องคก์ ร สนั นิษฐานได้ว่าองค์กรที่มีบุคลากรเหลา่ น้ีจะสามารถเขา้ ถึง
นวัตกรรมใหม่ๆ ได้โดยการจัดการของฝ่ายทรัพยากรบุคคล สถานที่ทำงาน และการออกแบบการ
ทำงาน

6. การเปลย่ี นแปลงวธิ ีการทำงาน (Changing How We Work) พนักงานปจั จบุ ันน้ีเปน็
บุคคลที่มีสังคมและอิสระ มีปัจจัยหลายอย่างบ่งชี้ว่าแนวโน้มนี้จะเกิดขึ้น อย่างต่อเนื่อง การใช้

33

ประโยชน์จากโซเชียลมีเดียกลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมทางธุรกิจไปแล้วในปัจจุบัน มีตัวช่วย
มากมายท่ชี ว่ ยให้การเรยี นรู้ การส่ือสาร และการรว่ มมอื กนั เกิดขนึ้ ได้งา่ ยๆ แรงงานและผ้บู รโิ ภคทอี่ ายุ
น้อยไม่ใช่เป็นเพียงบุคคลท่ีมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเหล่าน้ีเท่านั้น แต่พวกเขาต้องพึ่งพา
เทคโนโลยีเหล่าน้ดี ้วย สิ่งทีเ่ กดิ ขน้ึ นีช้ ่วยขยายการปฏสิ ัมพันธ์ทางสังคมใหเ้ ปน็ วงกว้างมากยิง่ ขึ้น และ
มูลค่าความสัมพันธ์เริม่ ท่ีจะมาแทนทีม่ ูลค่าของการทำธรุ กรรม ก่อให้เกิดการนำไปสู่ธุรกจิ และการมี
ส่วนร่วมของพนักงานรปู แบบใหม่ หากอยากทจี่ ะประสบความสำเรจ็ ในสงิ่ แวดล้อมทางธุรกิจที่มีการ
แข่งขนั สงู และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ นี้ บริษทั ท้งั ขนาดเลก็ และขนาดกลางจำเป็นต้องพฒั นาตนเอง
ให้มีประสิทธภิ าพสงู กวา่ บรษิ ทั อื่นในเร่ืองของกลยทุ ธท์ างเศรษฐกจิ การพัฒนาสนิ ค้าและบริการ การ
ดึงดูดและรักษาพนักงานที่มีความสามารถไว้ การจัดการการทำงานที่ยืดหยุน่ ไดแ้ ละมีประสิทธิภาพ
รวมไปถึงการรูจ้ ักใชเ้ ทคโนโลยีใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดอีกด้วย แต่ละองค์กรมกี ารลำดบั ความสำคัญ มี
เปา้ หมาย และประเด็นทตี่ อ้ งจดั การตามแนวทางของตัวเอง การมแี นวทางใหม่ๆ เพอ่ื ความทา้ ทายใน
อนาคตจะเป็นตัวช้ีความแตกต่างระหวา่ งบริษัทผ้นู ำและบริษัทผตู้ าม นวัตกรรมจะกลายเป็นทักษะใน
การเอาตัวรอดในเร็ววัน การทำงานที่ต้องคิดถึงอนาคตไปด้วยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ที่ไม่ยอม
พัฒนาตัวเองก็จะพลาดโอกาสในการประสบผลสำเรจ็

จากแนวคิดกล่าวข้างต้นเกี่ยวกับความสำคัญและทักษะของนวัตกรรม (Innovation
Skills) พอจะสรปุ ไดว้ ่า นวตั กรรมเป็นสง่ิ ที่สำคัญมากสำหรบั องคก์ ร เนอื่ งจากนวัตกรรมมีสว่ นช่วยให้
องค์กรขยายขอบเขต และยังเพิ่มเครือข่ายในการพัฒนาตลาดซึ่งจะนำไปสู่โอกาสดี ๆ โดยเฉพาะใน
กลุ่มประเทศร่ำรวย การนำความคิดเหล่านั้นที่ไม่ว่าจะเป็นแนวคิดใหม่ๆ แนวทางการแก้ไขปัญหา
วธิ กี ารดำเนนิ การ หรอื ผลติ ภัณฑท์ ีไ่ ดค้ ิดคน้ ขึน้ มาทำให้เกิดข้นึ จริง ความคดิ สรา้ งสรรค์เปน็ แรงผลกั ดนั
ให้เกิดนวัตกรรม สองสิ่งนี้รวมกันช่วยให้เรามองสิ่งต่าง ๆ ในมุมมองที่แตกต่างโดยไม่คำนึงถึง
กฎเกณฑ์และธรรมเนยี มการปฏิบตั ิ ดงั น้นั วตั กรรมจึงสำคัญ และมีทักษะดา้ นนวัตกรรม

1 เปน็ การเพิ่มขีดความสามารถ ซงึ่ นบั เปน็ ทรพั ยากรที่มีคา่ มากสำหรับองค์กร
2 ก้าวผ่านความจำเจ นวตั กรรมมพี ลงั ในการช่วยให้พนักงานกา้ วออกจากแนวคดิ เดิม ๆ
ส่งผลให้พนักงานบรรลุผลสำเร็จและเกิดความพึงพอใจ ความคิดสร้างสรรค์การความคิดสร้างสรรค์
และนวตั กรรมในองคก์ รทีม่ ีการบริหารทดี่ ถี อื เป็นหนทางการันตสี ู่ความสำเร็จ การส่งเสริมใหพ้ นกั งาน
คิดนอกกรอบพร้อมทั้งให้เวลาและทรัพยากรแก่พวกเขาในการคิดหาแนวคิดใหม่ๆ ความคิด
สร้างสรรคช์ ่วยพัฒนากระบวนการแกป้ ัญหา ไม่สำคัญวา่ มันจะเป็นการพัฒนาหลกั การใหม่
3. ช่วยแก้ปัญหาที่เป็นไปไม่ได้ ประสบปัญหาที่ดูจะหาทางแก้ไขไม่ได้ จะเกิดความ
พยายามด้วยแนวคดิ ใหม่ๆ เพื่อใช้ในการแกป้ ญั หา
4. ช่วยส่งเสริมผลิตภาพองค์กร องค์กรจำเป็นทีจ่ ะต้องหากระบวนการใหม่ ใช้ความคิด
สร้างสรรค์คดิ หาหนทางที่ดกี ว่าเดิมในการพัฒนาองคก์ ร สามารถนำมาปรบั ปรงุ ให้มปี ระสิทธิภาพมาก
ข้ึน
5. ช่วยแสดงคุณสมบตั ิอนั เป็นเอกลกั ษณ์ นวัตกรรมสามารถใชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์และ
นวัตกรรมในการทำใหอ้ งค์กรของคุณโดดเดน่ ย่งิ ขนึ้ ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ สร้างลกั ษณะทางองค์กรที่แปลก
ใหม่

34

6. ชว่ ยในการเอาชนะคูแ่ ข่งท่ีนา่ กลวั ความคิดสร้างสรรคแ์ มเ้ พียงเล็กนอ้ ย คณุ สามารถ
นำมาใชอ้ อกแบบผลิตภณั ฑท์ ่ีดีกวา่ ใช้ในการติดต่อลูกค้า ในการทำตลาดใหธ้ ุรกิจ และนำมาสนับสนนุ
โปรโมชน่ั สง่ เสรมิ การขาย

7. การแขง่ ขันทเ่ี พิ่มขน้ึ การแขง่ ขันเป็นเหตผุ ลงา่ ยๆ ในการผลักดันใหเ้ กดิ นวัตกรรมใน
การทำธุรกิจ เนื่องมาจากความกดดนั ขององค์กรในการตอ้ งเผชญิ หน้ากับคู่แข่งทั้งหน้าเก่าและหน้า
ใหม่และบรกิ ารใหม่ๆ ถูกคิดค้นและผลิตออกมาอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าเดิม สิ่งเหล่านี้ลว้ นเพ่ิมภาระให้
บรษิ ทั ทกี่ อ่ ตั้งมานานกว่า เนื่องจากตอ้ งกา้ วใหท้ ันโลกอย่เู สมอ

8. กระแสโลกาภิวัตน์ท่ีมากขึน้ เนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน์ บริษัทต่างๆ ทั้งเลก็ ใหญ่
เกิดขึ้นรอบโลกและสามารถเชื่อมถึงกันได้หมด เขตแดนระหว่างประเทศแทบจะไม่เป็นปัญหาอีก
ต่อไป

9. ความต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มสูงข้ึน ด้วยโซเชยี ลมีเดียและเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า
อย่างต่อเนอื่ ง การตลาดกลายเปน็ เรื่องส่วนตัวมากข้ึนสำหรับผบู้ ริโภคแตล่ ะราย ทำให้เกิดการตลาด
การโฆษณาสินคา้ และบริการรูปแบบใหม่ขน้ึ

10. เทคโนโลยที ก่ี ้าวหน้าขนึ้ เทคโนโลยีไร้สายนน้ั มกั จะนำเสนอหรือผลกั ดนั เทคโนโลยี
ใหม่ๆ ออกมาตลอด เทคโนโลยขี ับเคลอ่ื นใหเ้ กิดนวตั กรรมและได้กลายมาเป็นวถิ ีปฏบิ ัตใิ นธรุ กิจ

11. สถติ ิแรงงานทม่ี กี ารเปล่ียนแปลง สถิติแรงงานที่มกี ารเปลยี่ นแปลงก็เกิดขึ้นน้อยใน
บางคร้งั ความทา้ ทายจะมาพรอ้ มความเปลย่ี นแปลง การเปลย่ี นแปลงก็นำมาซึง่ โอกาสสำหรับองคก์ ร
ต่างๆ ทอี่ ยากจะลอง” คิดนอกกรอบ”

12. การเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน พนักงานปัจจุบันนี้ทั้งแรงงานและผู้บริโภคที่อายุ
น้อยไม่ใช่เป็นเพียงบุคคลท่ีมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีทำให้เกิดการติดต่อสื่อสารระหวา่ กนั
ง่ายขน้ึ

2.3.3 ทศั นะเกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทกั ษะเชงิ นวัตกรรม
Zenger (2015) กล่าวว่า เมื่อต้นปีนี้ Conference Board (องค์กรท่ีไม่แสวงผลกำไร) ได้
กล่าวว่า พฤติกรรมเชิงนวัตกรรมเป็นประเด็นที่กล่าวถึงกันมากข้ึนจากทั่วโลก ในการดำเนินงานของ
เราเอง เราก็เชอ่ื วา่ ความท้าทายทงั้ สองนี้เกย่ี วขอ้ งกนั โดยระดบั สูงสดุ ของนวัตกรรมข้ึนอยู่กบั คณุ ภาพ
ของความเป็นผู้นำในองคก์ รเป็นอยา่ งมาก เมื่อความเป็นผู้นำมีความแข็งแกร่ง องค์กรก็ดูเหมอื นจะ
กลายเปน็ ผนู้ ำในมติ ิของนวัตกรรมเช่นกนั นวัตกรรมมกั จะจดั อยูใ่ นลำดบั กลางๆ
ผู้นำท่ปี ระสบความสำเรจ็ ทำอย่างไรท่ีเป็นการยกระดบั นวัตกรรมให้สูงขน้ึ ? การวิเคราะห์
แยกผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดด้านนวัตกรรมออกมานั้น ทำให้เราสามารถเหน็ พฤติกรรมอื่น ๆ ของเขาที่
สอดคล้องกับนวัตกรรมระดับสูง และเนื่องจากเกือบทุกองค์กรก็พยายามที่จะขยับขยายนวัตกรรม
ความเข้าใจในดา้ นนี้จึงเปน็ ข้อมูลเชงิ ลึกท่มี ปี ระโยชน์มาก
เราพบพฤตกิ รรมหลายอย่างที่สามารถใช้ขบั เคลอื่ นนวตั กรรมได:้
1. ผู้นำกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกับเพื่อนร่วมงาน (Leaders Jointly Created a Vision with
their Colleagues) บางคนคดิ ว่าการเป็นผู้นำจะมาพร้อมกับกลยทุ ธท์ ่ยี ิ่งใหญ่ จากน้ันก็พา

35

ทีมงานใหท้ ำตามกนั ไป แตข่ อ้ มูลของเราแสดงใหเ้ ห็นว่าผนู้ ำจะกำหนดวิสยั ทัศน์รว่ มกัน ซ่ึง
ไมใ่ ชใ่ นลกั ษณะของการชน้ี ำสัง่ การ
2. การสรา้ งความไว้วางใจ (They Build Trust) เราสมั ภาษณ์ผู้นำระดับสงู สดุ ในกลุ่ม 1% ของ
องค์กรเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ พบคุณลักษณะหนึ่งที่โดดเด่น นั่นคือ ผู้นำเหล่านี้
ไว้วางใจคนของพวกเขาและในทางกลับกันเพื่อนร่วมงานของพวกเขาก็ไว้วางใจพวกเขา
อย่างมาก หากคนหน่ึงกล่าวว่า “การเสีย่ งก็ย่อมต้องใช้ความรู้สึกท่ีวา่ ปลอดภัยจริงๆ” ซึ่ง
อกี คนก็จะกล่าวตอ่ ว่า “คุณจะมีเราคอยสนับสนุน”
3. ลักษณะของผกู้ ำหนดทิศทางการดำเนินการด้านนวตั กรรม (Innovation Champions) จะ
ดูได้จากความตั้งใจอย่างต่อเนื่องที่จะท้าทายสถานะที่เป็นอยู่ มีผู้อธิบายว่าผู้นำที่มี
นวัตก ร ร ม เ ป ็นผู้ ก ล ้าห าญ แล ะท ำส ิ่ง ท ี่ถูก ต้อง แม ้จ ะขัดก ับ ส ิ่ง ท ี่อาจ ถู ก ต้อง ในท าง
การเมือง ผู้นำทางนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพสูงคือผู้มีลักษณะที่ "ตรงข้ามกับสิ่งที่
แวดล้อม"
4. ผู้นำที่ส่งเสริมนวัตกรรมจะถูกกล่าวถึงในเรื่องความเชี่ยวชาญที่ลึกซึ้ง (Leaders who
Fostered Innovation were Noted for their Deep Expertise) เ พ ื ่ อ น ร ่ วม ง านตั้ ง
ข้อสังเกตว่าเป็น คุณลักษณะ "T" นี้เองที่ให้คำจำกัดความผู้นำเหล่านี้ โดยผู้นำเหล่านี้มี
ความสงสัยใคร่รู้อันชาญฉลาดที่หลากหลายเกี่ยวกับเรื่องทั่วๆ ไป แต่ในขณะเดียวกันก็มี
ความรเู้ ก่ียวกบั เทคโนโลยีทจ่ี ำเป็นสำหรบั สงิ่ ท่ีทำ
4. การตงั้ เป้าหมายไว้สงู (They Set High Goals) ผูน้ ำท่สี รา้ งทีมนวัตกรรมข้นึ มาจะถูกมองวา่
เป็นการตั้งเป้าหมายที่สูงมาก ซึ่งเป็นการมอบความทา้ ทายและโอกาสแก่เพื่อนร่วมงานใน
การบรรลุสิง่ ท่พี วกเขาเชอื่ ว่าไมส่ ามารถจะทำมันได้
6. ผู้นำเชิงนวัตกรรมจะมุ่งไปข้างหน้าโดยเร็ว (innovation Leaders Gravitate Toward
Speed) ผ้นู ำเหลา่ น้จี ะขยบั ตวั อยา่ งรวดเร็ว พวกเขาเชือ่ วา่ สิ่งต่าง ๆ สามารถสำเรจ็ ได้ในไม่
ช้า พวกเขาจะมงุ่ ไปยังตน้ แบบทีส่ ามารถประกอบขึ้นอย่างรวดเร็ว
5. การกระหายข้อมูล (They Crave Information) ผู้นำเชิงนวัตกรรมจะพยายามทำใหท้ มี รู้
โดยเท่ากนั โดยป้อนขอ้ เท็จจรงิ ท่ีเกย่ี วขอ้ งใหเ้ ปน็ จำนวนมาก พวกเขาเก่งในการตัง้ คำถามที่
ดีและเป็นผู้ฟังที่ดีมากๆ การรวมกันของ “รับและรุก” ช่วยให้ทีมสร้างนวัตกรรมที่ยอด
เย่ยี ม
6. การทำงานเป็นทีม (They Excel At Teamwork) คุณลักษณะลำดับถัดมาที่แสดงความ
เป็นผู้นำเชิงนวัตกรรมมากที่สุด คือความเป็นเลิศในการทำงานเป็นทีมและการทำงาน
ร่วมกนั ซึง่ จะไม่ใชแ่ ค่ “ฉัน” แต่มกั จะเปน็ เรือ่ งเก่ยี วกับทีมที่สร้างสง่ิ ทม่ี ีคุณค่า
7. การให้คุณค่ากับความหลากหลายและการรวมกัน ( They Value Diversity And
Inclusion) ผูท้ ี่มีความเปน็ ผู้นำเชงิ นวัตกรรมมากทส่ี ุดจะยอมรับวา่ กระบวนการสร้างสรรค์
จะเกิดขึ้นจากการเอาคนซึ่งมีมุมมองและประสบการณ์ที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงมา
รวมกนั ซึ่งการผสมผสานองคป์ ระกอบเหล่าน้จี ะสร้างผลงานเชิงนวัตกรรมขนั้ สูงได้
สิ่งทีเ่ ราเขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแทท้ ี่สดุ จากการวิเคราะหน์ ค้ี ือ นวตั กรรมแทบจะไมใ่ ชก่ ารลงมอื ทำเพยี ง
คนเดียว แต่แทบทกุ ครั้งจะเป็นความพยายามของทีม และวัฒนธรรมทีเ่ กิดข้ึนจากความพยายามนน้ั

36

เปน็ ผลมาจากผูน้ ำทต่ี ระหนักถึงความตอ้ งการขององคก์ รในการสร้างนวตั กรรมและตระหนักถึงการมี
สว่ นร่วมของผ้นู ำในการสร้างวฒั นธรรมท่ีนวัตกรรมน้นั เกิดขนึ้

Rosales (2018) ได้กล่าวถึงลักษณะทีส่ ร้างทักษะเชิงนวัตกรรมไว้ว่า อะไรทำให้ผู้สร้าง
สรรคส์ ่ิงใหม่ๆ ประสบความสำเรจ็ ได้ ความคดิ สรา้ งสรรค์ในระดับหนง่ึ นั้นเปน็ สง่ิ ที่ต้องมีแน่นอน แต่
นอกเหนือจากนั้นมีเพียงไม่กี่คนที่รู้สึกมั่นใจมากพอที่จะระบุลักษณะที่แน่นอนได้โดยไม่ต้องมีการ
ค้นคว้าวิจัยที่เหมาะสม มีผลการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่าคนบางคน โดยไม่คำนึงถึงกิจกรรมที่ทำ
ประสบการณ์ หนา้ ท่ีการงาน หรอื พ้นื ฐานทางวชิ าชพี มแี นวโน้มทจี่ ะแสดงออกในลกั ษณะเดิมๆ เช่น
ผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งรวมถึงนักประดิษฐ์คิดค้น มีแนวโน้มที่จะระบุปัญหาได้ดีกว่าการ
แก้ปัญหา พวกเขายังหลงใหลและมองหาประสบการณ์ใหม่ ๆ อยู่เสมอ โดยธรรมชาติแล้วพวกเขา
อยากรู้อยากเห็น อ่อนไหว และไม่ทำตามขนบประเพณี ทั้งนี้ ความคิดสร้างสรรค์เพียงลำพังจะไม่
ส่งผลใหก้ ลายเป็นคนเกง่ นวตั กรรมได้ ดังน้ัน แคต่ ดั คำว่าลำพังออกไป ก็จะประสบความสำเรจ็ ได้ โดย
ความแตกตา่ งท่ีสำคัญระหวา่ งความคิดสร้างสรรค์และนวตั กรรมก็คือการดำเนนิ การ ซ่งึ สามารถกล่าว
ได้อย่างแน่นอนวา่ ความคดิ สร้างสรรคห์ ลายๆ อย่างเปน็ สิง่ ทีเ่ กย่ี วกบั ความเปน็ ไปของโลกในแตล่ ะวนั
แตก่ ็มีเพยี งบางอย่างทถี่ กู เลือกเท่านั้นท่ีจะทำใหเ้ กดิ ผลขึ้นมาได้ ถ้าเช่นน้นั คณุ ลักษณะใดท่ีจะนิยาม
ไดต้ รงทส่ี ดุ ว่าเป็นนกั นวัตกรรมทปี่ ระสบความสำเรจ็ คอื

1. การรู้สึกถึงโอกาส (Sensing Opportunity) ในขณะที่เกิดโอกาสนั้นขึ้น นักนวัตกรรมท่ี
ประสบความสำเรจ็ จะมีความสามารถพิเศษในการค้นพบชอ่ งว่างในวงการที่พวกเขากำลัง
ทำงานอยู่ การมีความคิดฉกฉวยโอกาสทำให้คนเหล่านี้ตื่นตัวมากขึ้นและแสวงหาความ
แปลกใหม่ที่ใดก็ตามที่พวกเขาสามารถหาได้ พวกเขาเป็นคนประเภทที่กระหาย
ประสบการณใ์ หม่ๆ และซับซอ้ น มกั จะพยายามทีห่ าความหลากหลายในชีวิตของพวกเขา
ใหไ้ ด้มากท่สี ดุ

2. การฝึกอบรมและการศึกษาท่ีเหมาะสม (Proper Training & Education) ผู้เชี่ยวชาญท่ี
ผ่านการฝึกอบรมมาอย่างดีพร้อมการศึกษาในระบบ การฝึกอบรม และประสบการณ์
หลายปีต่างหากที่สามารถทำได้ การวิจัยแสดงให้เห็นว่าการศึกษาที่เหมาะสมและการ
ฝึกอบรมเป็นผู้ประกอบการจะทำใหป้ ระสบความสำเร็จได้ หากเพียงแคผ่ ่านประสบการณ์
มาหลายปใี นสาขาท่ีสามารถสร้างความแตกต่างที่เพียงพอระหวา่ งข้อมลู ทเ่ี ก่ียวข้องกบั สงิ่ ท่ี
ไมเ่ ก่ียวขอ้ ง

3. การดำเนินการเชงิ รุกและความต่อเนื่อง (Proactivity & Persistence) สองคณุ ลักษณะน้ี
ต้องนำรวมกันเท่านั้นจึงจะนับรวมใหอ้ ยู่ในรายการนี้ได้ ดังที่เราไดก้ ล่าวไว้ก่อนหนา้ น้วี ่า
ความคดิ สรา้ งสรรคจ์ ะเปลยี่ นเป็นนวัตกรรมผา่ นการดำเนินการเท่าน้ัน ซง่ึ ความคดิ ใดๆ ก็
ไม่สามารถดำเนินการได้ หากเจ้าของความคิดไมด่ ำเนินการเชงิ รุกและไม่ทำอย่างต่อเน่ือง
การมีความยืดหยุ่นในการเผชิญกับอุปสรรค ความท้าทาย และโชคร้าย เป็นปัจจัยท่ี
กำหนดความแตกต่างระหวา่ งนักนวัตกรรมท่ยี ง่ิ ใหญก่ ับคนที่ไมใ่ ช่

4. ความรอบคอบ (Prudence) ลักษณะหนึ่งที่เชื่อมโยงอย่างมากกับประสบการณ์คอื ความ
รอบคอบ แม้ว่าเราชอบที่จะคิดว่านักนวัตกรรมเป็นผู้รับความเสี่ยง แต่ในความเป็นจริง
พวกเขากลบั ตรงกันข้ามอย่างส้ินเชงิ ความเขา้ ใจผิดอาจเกิดข้นึ เพราะเราในฐานะคนท่ัวไป


Click to View FlipBook Version