The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-10-17 09:30:05

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

277

แบบสอบถาม
โครงการพฒั นาครูเพอ่ื พัฒนาทกั ษะเชงิ นวตั กรรม

https://forms.gle/qm7L11r2ieNvs2MS6

บทที่ 6

สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

การวิจยั เรอื่ ง โปรแกรมออนไลน์เพอื่ พัฒนาครสู กู่ ารเสริมสรา้ งทักษะเชงิ นวตั กรรมของนักเรยี น
นี้ ใช้ระเบยี บวิธีวิจัยและพฒั นา (Research and Development: R&D) ตามทศั นะของวโิ รจน์ สารรตั นะ
(2561) ที่เห็นวา่ นวัตกรรมที่พัฒนาขึน้ โดยกระบวนการวิจัยและพัฒนามีจดุ มุง่ หมายเพื่อนำไปใช้พฒั นา
บุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงานที่มีปรากฏการณ์หรือข้อมูลเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่ามีความ
จำเป็นเกิดขึ้น เช่น เป็นผลสืบเน่ืองจากการกำหนดความคาดหวงั ใหม่ท่ีท้าทายของหน่วยงาน หรือการ
เปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การทำงานจากเก่าสู่ใหม่ที่บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจแล ะทักษะใน
กระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหาร
การศึกษาเกดิ ขึ้นมากมาย ทีค่ าดหวงั วา่ หากบุคลากรทางการศึกษามคี วามรู้ (knowledge) แล้วกระตนุ้ ให้
พวกเขานำความรูเ้ หล่านี้สู่การปฏิบัติ (action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่
เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผลย่งิ ขน้ึ ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือ
ตามคำกล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage Them Do What They
Know”หรอื “Link To On-The-Job Application”

การวิจัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด
“Knowledge + Action = Power” ท่ปี ระกอบดว้ ยโครงการ 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพือ่ การ
เรียนรขู้ องครูเก่ยี วกับการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม2) โครงการครูนำผลการเรยี นรู้สกู่ ารเสรมิ สรา้ งทกั ษะ
เชิงนวตั กรรมใหก้ บั นกั เรยี น โดยมีคูม่ อื ประกอบแตล่ ะโครงการ 2) เพ่อื ประเมนิ ความมปี ระสิทธิภาพของ
โปรแกรมออนไลน์จากผลการวิจัยเชิงทดลองในภาคสนาม 2 ระยะ คือ การพัฒนาครู และครูพัฒนา
นักเรยี น และ 3) เพือ่ ระดมสมองของครทู ่ีเปน็ กลมุ่ ทดลองให้ทราบถงึ ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไข
โปรแกรมออนไลน์

สมมุติฐานในการวิจัย มี 2 ประการ คือ 1) ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่ม
ทดลองหลังการดำเนินงานในโครงการพฒั นาเพ่ือการเรยี นรู้ของครูเกีย่ วกบั การพฒั นาทักษะเชิงนวัตกรรม
เปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 และ 2) ผลการประเมินทักษะเชงิ นวตั กรรมของนกั เรยี นตามโครงการ
ครูนำผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมให้กับนักเรียนมีค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังการ
ทดลองสูงกว่ากอ่ นการทดลองอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ

ในการวิจัยไดก้ ำหนดขอบเขตของการวิจัย ดังน้ี 1) กลุ่มทดลอง (Experiment Group) ในการ
วิจัยและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน คือ
โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย ซึ่ง
เป็นโรงเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา สังกัดกองพุทธศาสนศกึ ษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีครู
จำนวน 11 คน และมีนักเรียน 204 คน ระยะเวลาดำเนินการทดลองในภาคสนาม คือ ภาคเรียนที่ 2 ปี

278

การศกึ ษา 2564 และ 2) กลมุ่ ประชากร (Population) ซึ่งเป็นเปา้ หมายอา้ งองิ ในการนำผลการวิจัยไป
เผยแพร่เพื่อใช้ให้เกิดประโยชนห์ ลงั การวิจัยและพัฒนา คือ โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
สังกัดกองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ทุกโรงทั่วประเทศ ตามหลักการของการ
วจิ ัยและพฒั นา (Research and Development : R&D) ที่วจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมใดๆ ขึน้ มา แล้วนำ
นวตั กรรมน้ันไปทดลองใชใ้ นพนื้ ทีท่ ดลองแห่งใดแห่งหน่ึงทมี่ ีคุณลกั ษณะเป็นตัวแทนของประชากร เมื่อผล
จากการทดลองพบว่านวตั กรรมนน้ั มีคุณภาพหรอื มปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ท่กี ำหนด ก็แสดงว่า สามารถ
เผยแพรเ่ พอ่ื การนำไปใชป้ ระโยชนก์ บั ประชากรท่เี ปน็ กลุม่ อ้างอิงในการวิจยั ได้

การดำเนินงานวจิ ัย ประกอบด้วย 5 ข้นั ตอนตามลำดบั ดงั น้ี (1) การจัดทำคมู่ ือประกอบโครงการ (2)
การตรวจสอบคณุ ภาพคมู่ ือ/หน่วยการเรียนรู้และการปรับปรุงแก้ไข (3) การสรา้ งเครื่องมือเพ่ือใช้ในการ
ทดลองในภาคสนาม (4) การทดลองในภาคสนาม (5) การเขียนรายงานการวิจัยและเผยแพร่ผลการวจิ ยั
โดยมีผลการวิจยั ดังนี้

6.1 สรุปผลการวจิ ัย

จากการดำเนินงานวจิ ยั 5 ขน้ั ตอนดังกล่าวข้างต้น ผู้วจิ ัยสรปุ ผลการวิจัยและพัฒนาโปรแกรม
ออนไลนเ์ พ่อื พัฒนาครูส่กู ารเสริมสร้างทกั ษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรียน ได้ดงั น้ี

6.1.1 โครงการและคมู่ อื ประกอบโครงการ
1) โครงการพัฒนาเพอ่ื การเรียนรู้ของครูเก่ียวกบั การพฒั นาทกั ษะเชิงนวัตกรรม มีคู่มือ

ประกอบโครงการ 6 ชดุ โดยแตล่ ะชุดมกี ารนำเสนอเนอื้ หาจากผลการศกึ ษาวรรณกรรมทเี่ ก่ียวข้อง ดังน้ี
1.1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับนิยามของทักษะเชิงนวัตกรรมจากทัศนะของ

นักวิชาการหรือหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ The study of social needs as a strategic tool for the
innovation of the social care sector: The contribution of new technologies (Albuquerque,
2013), Learning and innovation skills (Bellevue College, 2019), Innovation (Business, 2018),
Innovation skills ( Center for Management & Orgenization Effectiveness, n.d.), What is
innovation: Why almost everyone defines it wrong (Dwyer,J., n.d.) , Innovation: Definition,
types of innovation and business examples (E-CSR, 2017) , Defining innovation (Skills You
Need, n.d.) , Innovation ( Toolshero, n.d.) , Innovation ( Vocabulary, n.d.) , Innovation
(Wikipedia, 2019)

1.2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทักษะเชิงนวัตกรรมจากทัศนะของ
นักวิชาการหรือหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ Benefits of innovation (Boundless, n.d), Why are
innovation skills important (Cleverism, n.d), 10 Measures to create a culture of innovation
(Henderson, 2018) , 4 Benefits of innovation in business (Kappe, 2018) , The importance of
innovation (Myllyla, 2019) , 6 Reasons why innovation is a survival skill (Nolan, 2017) , The
importance of creativity and innovation in business (Sokolova, 2018)

279

1.3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกีย่ วกับลกั ษณะท่ีแสดงถึงทักษะเชิงนวตั กรรมจากทัศนะของ
นกั วชิ าการหรอื หน่วยงานตา่ งๆ ดงั น้ี The five characteristics of successful innovators (Premuzic,
2013), Five characteristics that define successful innovators (Rosales, 2018), Nine behaviors
that drive innovation (Zenger, 2015)

1.4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับแนวการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรมจากทัศนะของ
นักวชิ าการหรอื หน่วยงานต่างๆ ดังน้ี Innovation management (Baiya, 2018), 17 Ways to develop
your creativity ( Cherry, 2019), How to develop innovation skills ( Francisco, 2018), 10
Measures to create a culture of innovation ( Hengsberger, 2018), 8 Simple strategies to
improve your innovation ( Jonathan, 2014), How to increase innovation output from your
team in 4 steps (Kaye, 2018), 9 Ways to dramatically improve your creativity (Kim, 2018),
Innovation strategy – what is it and how to develop one? ( Myllyla, 2018), Increasing
Creativity in your organization: Six ways to spark innovation thinking (Stack , 2013)

1.5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกีย่ วกบั ขั้นตอนการพัฒนาทักษะเชงิ นวัตกรรมจากทัศนะของ
นักวิชาการหรือหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ The five stages of successful innovation (Magazine Spring,
2007), The innovation process (Landry, 2017), 5 Steps to develop innovation strategy for
your company (Pisano , 2020), Five steps to implementing innovation (Molloy, 2019), 7
Sure-fire steps to innovation thinking and doing (Boutelle, 2020)

1.6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะเชิงนวัตกรรมจากทัศนะของ
นักวิชาการหรือหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ Questionnaire for teachers' practices on the 21st century
skills ( Bukidnon State University, 2018), Psychometric validation of a tool for innovation
competencies development and assessment using a mixed-method design ( Butter, and
Beest, 2017), The identification and measurement of innovation characteristics of young
people: Development of the youth innovation skills measurement tool (Chell and Athayde,
2009), Assessment of innovation capacities a scoring tool ( Research and Extension Unit,
Food and Agriculture Organization of the United Nations Rome, 2017)

2. โครงการครูนำผลการเรียนร้สู กู่ ารเสริมสรา้ งทักษะเชิงนวัตกรรมให้กบั นกั เรยี น มี
คู่มือเชงิ ปฏิบตั ิการเพ่ือให้ครูได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรมให้กับนักเรียน นำเสนอ
สรุปประเด็นสำคัญเกี่ยวกับ 1) ลักษณะหรือคุณลักษณะของทักษะเชิงนวัตกรรมที่คาดหวังให้เกิดกับ
นักเรียน 2) แนวทางการพัฒนาทักษะเชิงนวตั กรรม และ 3) ขั้นตอนการพฒั นาทกั ษะเชิงนวัตกรรม ใน
ตอนทา้ ยของคมู่ อื มแี บบประเมินตนเองของครูต่อการนำข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาและขั้นตอนการ
พฒั นาเชงิ วชิ าการหรอื เชิงทฤษฎีไปใช้ และการใหค้ วามเหน็ ตอ่ จดุ เดน่ จุดดอ้ ยของคมู่ อื ทกุ ชดุ รวมทงั้ ความ
คดิ เห็นในลักษณะเปน็ การสะทอ้ น (Reflection) จากการปฏิบัติ

280

6.1.2 ข้อบกพร่องของคมู่ อื ท่ีไดจ้ ากการตรวจสอบ และได้รบั การปรับปรุงแก้ไขแล้ว มีดังน้ี
1) การตรวจสอบภาคสนามเบื้องต้น (ระยะที่ 1) มีข้อบกพร่องที่ได้รับปรับปรุงแก้ไขแล้ว
ดังนี้
- ปรับด้านเน้ือหาให้มีความเขา้ ใจงา่ ยมากขึ้น และมเี นือ้ หาที่ไม่ยาวจนเกินไป
- ปรับบางสำนวนยังเป็นภาษาท่ีอ่านแล้วมีความเข้าใจยากให้เป็นสำนวนภาษาไทย
เขา้ ใจไดง้ า่ ย
- ปรับรูปแบบการนำเสนอให้น่าอา่ น เพื่อเปน็ การสร้างแรงจูงใจในการอ่าน
2) การตรวจสอบภาคสนามครั้งสำคญั (ระยะที่ 2) มขี ้อบกพร่องท่ีได้รับปรบั ปรุงแก้ไขแล้ว
ดงั น้ี
- ปรบั ให้มีการเขียนภาษาองั กฤษกำกบั ไว้ สำหรบั ศพั ท์ภาษาอังกฤษท่ีเป็นศพั ท์เฉพาะ
- เพ่ิมรู้ภาพเพอ่ื ให้มคี วามน่าสนใจมากยิ่งขึน้
- จัดเนอ้ื หาใหก้ ระชับมากย่ิงข้นึ
3) การตรวจสอบหลังการพัฒนาความรู้ให้แก่ครู มีข้อบกพร่องที่ไดร้ ับปรับปรุงแก้ไขแลว้
ดงั น้ี
- ปรับให้มีการนำเสนอภาพประกอบในแต่ละเรื่อง และเน้นคำข้อความที่สำคัญให้
ชดั เจน
4) การตรวจสอบหลงั การทดลองในภาคสนาม มีข้อบกพร่องทไี่ ดร้ บั ปรบั ปรุงแก้ไขแลว้ ดงั นี้
- ปรับข้อสรปุ ในแต่ละส่วนใหม้ คี วามกระชบั อ่านแลว้ เขา้ ใจงา่ ยย่ิงขึน้

6.1.3 ประสทิ ธิภาพของโปรแกรมออนไลนท์ สี่ ่งผลตอ่ การการเรียนร้ขู องครูทเ่ี ปน็ กลมุ่ ทดลอง

จากผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูหลังการดำเนินงานตามโครงการพัฒนา เพื่อการ
เรียนรู้ของครูเก่ียวกบั การพัฒนาทักษะเชิงนวตั กรรม เพ่ือแสดงใหท้ ราบวา่ คู่มือประกอบโครงการที่ใช้ใน
การพัฒนาครูมีประสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 และมผี ลการเรียนร้หู ลงั การทดลองสูงกว่าก่อน
การทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่แสดงว่าการเสนอเนื้อหาในคู่มือประกอบโครงการทุกชุดมี
ประสิทธิภาพท่สี ามารถนำไปใชพ้ ฒั นาครูให้เกิดการเรียนร้ไู ด้ตามเกณฑ์ทก่ี ำหนด ดังน้ี

6.1.3.1 ผลการทดสอบเปรียบเทยี บกบั เกณฑม์ าตรฐาน 90 ตัวแรก ผลจากการวิเคราะห์
ข้อมูลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 11 รูป/คนหลังการพัฒนา
(Posttest) จากแบบทดสอบผลการเรียนรูข้ องครซู งึ่ มี 6 วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ แตล่ ะวัตถุประสงค์การ
เรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อ รวมข้อสอบทั้งฉบับ 36 ข้อ เพื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรกซึ่ง
หมายถึงจำนวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 33.09
คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เมื่อคิดเป็นร้อยละแล้วได้ 91.92 ซึ่งมีค่าร้อยละที่สูงกว่าเกณฑ์ท่ี
กำหนดไว้รอ้ ยละ 90

281

6.1.3.2 ผลการทดสอบเปรียบเทียบกับเกณฑม์ าตรฐาน 90 ตวั หลัง ผลจากการวิเคราะห์
ข้อมูลจากการทดสอบผลการเรียนร้ขู องครทู ่ีเปน็ กลุม่ ทดลองหลงั การพัฒนา (Posttest) จากแบบทดสอบ
ซึ่งมี 6 วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ แต่ละวัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้มีขอ้ สอบ 6 ขอ้ รวมข้อสอบท้ังฉบับ 36 ข้อ
เกณฑ์การผ่านแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้จะต้องตอบข้อสอบถูกอย่างน้อย 5 ข้อจาก 6 ข้อ ซึ่งเท่ากับ
ร้อยละ 83.33 ของคะแนนเต็มของแตล่ ะวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ เพอ่ื เปรยี บเทียบกบั เกณฑม์ าตรฐาน 90
ตัวหลงั ซึ่งหมายถงึ ร้อยละของจำนวนครทู ส่ี ามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านทุกวตั ถปุ ระสงค์ จากจำนวนครู
ทั้งหมด 11 คน พบว่า มีครูร้อยละ 92.42 ที่สามารถทำแบบทดสอบไดผ้ ่านทกุ วัตถุประสงค์ ซึ่งมคี ่าร้อย
ละท่สี ูงกว่าเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้รอ้ ยละ 90

6.1.3.3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูก่อนและหลัง
การพัฒนาด้วยการทดสอบที (t-test) พบว่า ครูที่เป็นกลุ่มทดลองทั้ง 11 คนมีผลการเรียนรู้หลังการ
ทดลองสงู กวา่ ก่อนการทดลองอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.05

6.1.4 ประสิทธิภาพของโปรแกรมออนไลน์ที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของ
นักเรยี น

จากผลการประเมินทักษะเชิงนวัตกรรมของนกั เรียนหลงั การดำเนินตามโครงการครูนำผล
การเรยี นรสู้ ูก่ ารพัฒนาทักษะเชงิ นวตั กรรมใหก้ ับนักเรียน เพ่ือแสดงใหเ้ ห็นว่า ภาพโดยรวมของโปรแกรม
ออนไลน์ที่พฒั นาขึ้น เมื่อครูนำเอาไปปฏิบัตติ ามแล้ว มีประสิทธิภาพที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างทักษะเชงิ
นวัตกรรมของนกั เรยี น “หลงั ” การทดลองสูงกวา่ “กอ่ น” การทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิหรอื ไมน่ นั้
ผลการทดสอบค่าที (t-test) พบว่า นักเรียนที่เป็นกลุม่ ทดลองได้คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังการ
ทดลองสงู กวา่ กอ่ นการทดลองอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมอบรมดว้ ย
ตนเองออนไลน์ทปี่ ระกอบดว้ ย 2 โครงการ แตล่ ะโครงการมีคมู่ อื ประกอบน้ัน มปี ระสทิ ธภิ าพท่สี ามารถจะ
นำไปใชเ้ พื่อพัฒนานักเรยี นท่เี ป็นกลุ่มทดลองใหเ้ กิดทักษะเชิงนวัตกรรมได้ และสามารถท่ีจะนำไปเผยแพร่
ให้ประชากรทเี่ ป็นกลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนา คอื ครูและนกั เรียนในโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรมแผนกสามญั
ศกึ ษา ในสังกัดกองพทุ ธศาสนศกึ ษา สำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ทกุ โรงทว่ั ประเทศ ได้นำไปใช้ได้
อย่างมผี ลการวจิ ยั รบั รอง

6.2 อภปิ รายผล

จากการดำเนินงานวิจัยและผลการวิจัยที่สรุปดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยขอนำมาอภิปรายผลใน
ประเดน็ ตา่ งๆ ดงั นี้

6.2.1 จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่มุ่งพัฒนาโปรแกรมอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์
“โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน” ที่ประกอบด้วย
โครงการ 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาเพือ่ การเรียนรู้ของครู และโครงการครนู ำผลการเรียนร่สู ู่การ
พัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรมให้กับนักเรียน และได้กำหนดสมมุติฐานการวิจยั ดังนี้ 1) ครูมีผลการทดสอบ
หลังการทดลองเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 2) ครูมีผลการเรียนรู้หลงั การทดลองสูงกว่าก่อนการ

282

ทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3) นักเรยี นมีผลการประเมนิ ทักษะเชิงนวตั กรรมหลังการทดลองสงู
กวา่ กอ่ นการทดลองอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิติ ซ่ึงผลจากการดำเนินการวิจยั ตามท่กี ำหนดในบทที่ 3 และ
จากรายงานผลการวิจยั ที่นำเสนอในบทท่ี 4 นี้ พบวา่ ผลการวจิ ัยเป็นไปตามสมมตุ ิฐานการวิจัยที่กำหนด
ไว้ ดังนี้ 1) คู่มือที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้พัฒนาครูให้เกิดการเรียนรูต้ ามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 โดยเม่อื
พิจารณาจากเกณฑม์ าตรฐาน 90 ตวั แรก คือ รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี ของการทดสอบหลงั เรยี น พบว่า มี
คะแนนเฉล่ยี เท่ากับ 33.09 คะแนนจากคะแนนเตม็ 36 คะแนน เมื่อคดิ เปน็ รอ้ ยละแลว้ ได้ 91.92 ซง่ึ มคี า่
สูงกว่าเกณฑท์ กี่ ำหนดไวร้ ้อยละ 90 เม่อื พจิ ารณาจากเกณฑม์ าตรฐาน 90 ตัวหลัง คือ ร้อยละของจำนวน
ครูทส่ี ามารถทำแบบทดสอบไดผ้ า่ นทุกวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรูจ้ ากจำนวนครูทัง้ หมด 11 ราย พบว่า มีครู
รอ้ ยละ 92.42 ทส่ี ามารถทำแบบทดสอบไดผ้ ่านทกุ วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ ซึ่งมคี า่ ทีส่ งู กว่าเกณฑ์ทกี่ ำหนด
ไว้ร้อยละ 90 2) คู่มือทีพ่ ัฒนาขึน้ สามารถใช้พัฒนาครูให้มีผลการเรียนรู้หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการ
ทดลองอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.05 และ 3) คู่มอื ทพี่ ัฒนาขึน้ สามารถทำให้ครูนำผลการเรียนรสู้ ู่
การพัฒนานักเรียนที่มีผลการประเมนิ ทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการ
ทดลองอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ริ ะดับ 0.05 ผลการวจิ ัยดงั กลา่ วเปน็ ไปตามทัศนะของ ธานนิ ทร์ อินทร
วิเศษ (2562) ทก่ี ลา่ ววา่ การนำเอาเทคโนโลยสี ารสนเทศหรอื อนิ เทอรเ์ นต็ เข้ามาแกป้ ญั หาและชว่ ยอำนวย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจในทุกภาคส่วน ส่งผลโดยตรงกับวิถีชีวิตกับคนในสังคมยุคสมัยใหม่ที่จำเป็นต้อง
ปรับตัวไปพรอ้ มกับเทคโนโลยีดิจิทลั โดยมีเทคโนโลยีเป็นฐานความรู้คอยอำนวยความสะดวกและปัจจยั
สำคัญในการดำเนนิ ชีวิตในสิง่ แวดลอ้ มดจิ ิทัล และสอดคล้องกับทัศนะของ ศิริวัศน์ ลำพุทธา (2563) ท่ี
กล่าวว่าความทา้ ทายดา้ นการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนกั เรียนใหพ้ ร้อมกับชวี ติ ในศตวรรษที่
21 เป็นเร่อื งสำคญั ของกระแสการปรบั เปลย่ี นทางสงั คมทเ่ี กดิ ขน้ึ ในศตวรรษท่ี 21 ส่งผลตอ่ วิถีการดำรงชพี
ของสังคมอย่างทัว่ ถงึ ครูจึงต้องมีความตน่ื ตัวและเตรียมพรอ้ มในการจัดการเรียนรูเ้ พ่ือเตรียมความพร้อม
ให้นักเรยี นมีทักษะสำหรบั การออกไปดำรงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ต้องมีความรู้ ความสามารถ และ
ทกั ษะจำเป็น ซ่ึงเป็นผลจากการปฏิรปู เปลย่ี นแปลงรูปแบบการจดั การเรยี นการสอน ตลอดจนการเตรียม
ความพรอ้ มด้านตา่ งๆ และสอดคล้องกับ ความคาดหวังของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
(2563) ในนโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564-2565 มุ่งมั่น
ในการพัฒนาการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานให้เป็น “การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานวธิ ใี หม่ วธิ ีคณุ ภาพ” โดยพัฒนาผเู้ รียนให้
มีสมรรถนะและทกั ษะด้านนวัตกรรมวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และการเลือก
ศึกษาต่อเพ่ือการมีงานทำและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการ
จัดการเรยี นการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทกั ษะในการปฏิบตั ิหน้าทไ่ี ด้ดี มีความรู้ความสามารถ
ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีการพัฒนาตนเองทางวชิ าชีพอยา่ งต่อเน่อื ง รวมทั้งมจี ิตวญิ ญาณความเปน็ ครู

6.2.2 ในงานวิจัยนี้ให้ความสำคัญกับแนวคิดท่ีว่านวัตกรรมที่พัฒนาข้ึนโดยกระบวนการวิจัย
และพัฒนามีจุดมุ่งหมายเพื่อนำไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงาน และในปัจจุบันมี
หลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศกึ ษาเกดิ ขึ้นมากมาย ที่คาดหวงั วา่
หากบุคลากรทางการศึกษามคี วามรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นใหพ้ วกเขานำความรู้เหล่าน้สี ู่การปฏิบตั ิ

283

(Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลยิ่งขึ้น ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” นั้นสอดคล้องกับแนวคิดใหม่
เก่ียวกบั การพัฒนาวชิ าชีพของบุคลากรทางการศกึ ษา ท่ีกล่าววา่ การทำหนา้ ที่ของผู้บริหารโรงเรียนเพ่ือ
พัฒนาครูผู้สอนจะต้องคำนึงถึงความมีประโยชน์ที่ส่งผลต่อเป้าหมายสูงสุดของการจัดการศึกษา
(Ultimate Goal) ด้วย ซึ่งก็คือ “นักเรียน” (Students) (Gusky, 2000; Hoy & Miskel, 2001) ดังนั้น
การดำเนนิ งานวจิ ัยโดยกำหนด 2 โครงการ คอื 1) โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรขู้ องครู และ 2) โครงการ
ครูนำผลการเรียนรู้สูก่ ารพัฒนานักเรียน จึงสอดคล้องกบั แนวคิดของการวิจัยและพัฒนา และสอดคลอ้ ง
กับแนวคิดการพัฒนาวิชาชีพของบุคลากรทางการศึกษา ทัศนะดังกล่าวนี้ สอดคล้องกับทัศนะของ
Sokova (2018) กล่าวว่า นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ได้กลายมาเปน็ ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ที่จะ
นำไปสคู่ วามสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ ความตอ้ งการการแกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรคม์ ีเพมิ่ มากข้นึ และ
การจดั การปัญหานน้ั กจ็ ำเป็นตอ้ งใช้ความคดิ สร้างสรรคอ์ ย่างเขา้ ใจเพื่อการหาทางแก้ไขปญั หาท่ีเหมาะสม
และสอดคล้องกับทัศนะของ องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย (2563) กล่าวว่า การศึกษาสำหรับศตวรรษที่
21 เปน็ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในสภาพแวดลอ้ มทป่ี ระเทศต่าง ๆ มีความเชื่อมโยงกนั มากขน้ึ เรอ่ื ยๆ
และระบบการศึกษาจำเป็นต้องปรับตวั โดยไม่ใช่แค่การปฏิรูปเพียงครั้งคราว แต่ต้องเป็นการปรับปรงุ
อยา่ งต่อเนอื่ ง เพอื่ ตอบสนองความต้องการของเยาวชน สังคมและตลาดแรงงานทงั้ ในปจั จบุ นั และอนาคต
การศกึ ษาควรจะมุ่งเนน้ การเตรยี มความพร้อมใหเ้ ยาวชนมีทักษะท่จี ำเป็นต่อการใช้ชีวิตและสอดคล้องกับ
สังคมในอนาคต และสอดคลอ้ งกับทศั นะของ Myllyya (2019) ที่กล่าวว่า หากเราพิจารณาบทบาทของ
นวัตกรรมจากมุมสังคม เราจะเหน็ ความสำคญั ของนวตั กรรมในองคก์ รชนั เจนขึ้น ทกุ วันนี้เป็นการยากทจี่ ะ
บอกว่าอุตสาหกรรมใดบ้างที่เห็นว่านวัตกรรมไม่สำคัญ แม้ว่าอุตสาหกรรมบางประเภทจำเป็นต้องใช้
นวัตกรรมมากกว่าอุตสาหกรรมประเภทอื่น แต่นวัตกรรมและความสามารถในการพัฒนาเป็นสิ่งที่
อุตสาหกรรมทุกประเภทและสอดคล้องกับทัศนะของสุกัญญา รอดระกำ (2561) กล่าวว่า บทบาท
ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 นั้น ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาเป็นผู้ทมี่ ีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จ
ในการบริหารการศึกษา เพราะนอกจากจะปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจของสถานศึกษาแล้ว ผู้บริหาร
สถานศึกษายังเป็นผู้เชื่อมนโยบายกับการปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมในการจัดการศึกษา ดังนั้นผู้บริหาร
สถานศึกษานอกจากจะต้องมีคุณลักษณะที่ดแี ล้ว ต้องมีความรู้ ความสามารถ เป็นผู้นำครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษาตลอดจนผปู้ กครองและชมุ ชนใหร้ ว่ มมือส่งเสริมและสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาใหบ้ รรลุผล
สำเร็จตามเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ และสอดคลอ้ งกบั ทศั นะของ ราณี จนี สุทธ (2564) กล่าวว่า การพัฒนา
ตนเองของผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อให้มีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการ
ปฏิบตั ิงาน มาตรฐานการปฏิบตั ติ น (จรรยาบรรณของวชิ าชีพ) และมีความกา้ วหนา้ ในเสน้ ทางอาชีพของ
ตนเอง เป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ความเข้าใจ มีทักษะในการปฏิบัติงาน ตลอดจนทัศนคตแิ ละ
พฤตกิ รรมท่ีดขี ้ึน เจริญข้ึน เพอื่ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านท่ดี ีขึ้นก้าวทนั การเปล่ียนแปลงของโลก
และการเป็นพลเมืองดิจิทัลและสอดคลอ้ งกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

284

(2561) ที่มีนโยบายให้หนว่ ยงานทุกระดบั สง่ เสรมิ พัฒนาบคุ ลากรอยา่ งต่อเนื่อง ให้มงี านวจิ ัยและสามารถ
นำผลไปใช้ในการพฒั นาครู พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาทง้ั ระบบ

6.2.3 นวัตกรรมที่เป็นผลผลิต (Product) ที่คาดหวังจะได้รับจากงานวิจัยนี้ คือ โปรแกรม
ออนไลน์ (Online Program) ตามยุคสมัยความก้าวหน้าทางดิจิทัลเทคโนโลยี แทนโปรแกรมที่เป็นสื่อ
สง่ิ พิมพ์ (Printed Media) ท่เี คยเป็นมา เน่ืองจากโปรแกรมออนไลน์หรอื ส่อื ออนไลนม์ คี วามสะดวกและ
ประหยัดต่อการนำไปใช้ประโยชน์ในวงกว้าง เป็นไปตามความคาดหวังของสำนักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา (2561) กล่าวว่า ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีการพัฒนา
อย่างต่อเน่อื ง ประชาชนสามารถเขา้ ถึงเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรไู้ ดง้ า่ ยขึน้ ส่งผลใหก้ ารศกึ ษาของประเทศ
ไทยเกดิ การปรับตัวตอ่ การเปลย่ี นแปลงเพ่อื ให้กา้ วทนั ตอ่ ความต้องการในการเรียนรู้ท่มี ีความหลากหลาย
การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online Learning) จึงได้เข้ามามีบทบาทต่อการเรียนการสอนใน
ระดับอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับกระแสโลกาภิวัฒน์ และการศึกษาแบบไร้พรมแดน รวมทั้งการขยาย
โอกาสให้กับผู้เรียนเลือกเรียนรู้ไดท้ ุกที่ทุกเวลา สอดคล้องกบั ทัศนะของ สุวิมล มธุรส (2564) กล่าวว่า
การจดั เรยี นการเรยี นรู้ในปจั จบุ นั เปน็ นวตั กรรมทางการศึกษาทเ่ี ปลย่ี นแปลงวิธีเรียนทเ่ี ปน็ อยูเ่ ดมิ เปน็ การ
เรียนที่ใช้เทคโนโลยีที่กา้ วหน้าสำหรบั การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนอ์ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ อันจะ
ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ซึ่งการสอนแบบออนไลน์มีองค์ประกอบ ได้แก่
ผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหา สื่อการเรียนและแหล่งเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนรู้ ระบบการติดต่อสื่อสาร
ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดและ การประเมินผลโดยรูปแบบการเรียนการสอนมี
หลากหลายวธิ ี ทีจ่ ะทำใหผ้ ้สู อนและผูเ้ รียนมปี ฏิสมั พนั ธร์ ่วมกนั ได้ การพจิ ารณาองคป์ ระกอบและรูปแบบ
ที่สอดคล้อง เหมาะสมกับลักษณะวชิ า และบริบทของผูเ้ รียนจะนำไปสู่การจัดการเรยี นรู้ทางออนไลน์ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่การเรียนรู้เปน็ เรื่องที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด ด้วยเทคโนโลยีใน
ปจั จบุ ันและนวตั กรรมท่ีสรา้ งสรรคค์ อนเทนต์ (Content) อำนวยความสะดวกการสอนได้แคป่ ลายนิว้ ทำ
ให้เราสามารถเรยี นรู้ทกุ เนื้อหาไดจ้ ากทกุ คน ทุกที่ ทกุ เวลา เพื่อไปสูเ่ ปา้ หมายเดียวกันในการเรยี นร้วู ิถีใหม่
(New Normal) เป้าหมายของการศึกษาอาจยงั คงเดิมแต่ผู้เรียนสามารถใช้วิธีที่แตกตา่ งในการไปให้ถึง
จดุ หมายได้ สอดคล้องกบั ทัศนะของ ศภุ ศลิ ป์ กลุ จติ ตเ์ จือวงศ (2559) กล่าววา่ สิ่งพิมพอ์ อนไลนไ์ ด้เข้ามามี
บทบาทต่ออุตสาหกรรมสงิ่ พิมพม์ ากขึ้นเพราะการพัฒนาของเทคโนโลยสี มัยใหม่ และระบบอินเทอร์เน็ต
ท ำ ใ ห ้ แ น วโ น ้ ม ข อ ง ผู้ อ ่ า น ม ี พ ฤ ต ิ ก ร ร ม ก า ร อ ่ า น ส ิ ่ ง พ ิ ม พ ์ อ อ น ไ ล น ์ แ ท น ส ิ ่ ง พ ิ ม พ ์ ฉ บ ั บ พ ิ ม พ ์ ม า ก ข้ึ น
ผู้ประกอบการสิ่งพิมพ์หลายรายจึงต้องปรับตัวด้วยวิธีการพัฒน าสิ่งพิมพ์ออนไลน์เพื่อให้สอดคล้องกับ
พฤติกรรมและความต้องการของผู้อ่าน โดยได้เสนอแนะแนวทางการพัฒนาสิ่งพิมพ์ออนไลน์เพื่อเป็น
แนวทางในการประกอบธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไว้ 8 ประเด็น ได้แก่ การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้รับสาร ความ
สะดวกในการเขา้ ถงึ ส่อื เนอื้ หาทสี่ อดคลอ้ งกบั วิถชี วี ิตของคนร่นุ ใหม่ การพัฒนาสงิ่ พมิ พ์ออนไลนค์ วบคู่กับ
สิ่งพมิ พ์ฉบับพิมพ์ การรับจา้ งผลิตเนือ้ หา การสร้างประสบการณ์ใหมใ่ นสงิ่ พมิ พ์ออนไลน์ความสามารถใน
การสร้างประโยชน์ให้กับผู้อ่าน และ การสร้างช่องทางซื้อสินค้าให้กับผู้อ่าน ดังนั้น ตามทัศนะที่กล่าว
ขา้ งตน้ การพัฒนาโปรแกรมออนไลนแ์ ละนวตั กรรม จงึ เปน็ สว่ นสำคญั ย่ิงในการใชช้ ีวิตในปจั จุบันไม่เฉพาะ

285

ในการศึกษา การพัฒนานวัตกรรมใหเ้ ท่านัน้ ยังเป็นส่วนสำคญั ในทุกองค์กรทำให้ง่ายต่อการสือ่ การ และ
ง่ายต่อการพฒั นาบุคลากรในองคก์ รใหม้ คี วามรู้เท่าทันและทันต่อสถานการณืที่มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่าง
ต่อเนือ่ งในปัจจุบนั

6.2.4 ในศตวรรษที่ 21 มที ักษะศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) หลากหลายทกั ษะ เช่น
ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ทักษะการคดิ เชิงวพิ ากษ์ (Critical Thinking Skills)
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Direction Learning) ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long
Learning Skills) และทักษะความเป็นผู้นำ (Leadership Skills) เป็นต้น ซึ่งทักษะเชิงนวัตกรรมถือว่า
เป็นทักษะที่สำคัญทักษะหนึ่ง ดังท่ี Henderson (2018) กล่าวว่านวัตกรรมเป็นสิ่งที่สำคัญมากสำหรบั
องคก์ ร เนื่องจากนวัตกรรมมสี ว่ นชว่ ยใหอ้ งค์กรขยายขอบเขต และยังเพ่มิ เครือข่ายในการพัฒนาตลาดซึ่ง
จะนำไปสูโ่ อกาสดี ๆ โดยเฉพาะในกลมุ่ ประเทศร่ำรวย นวตั กรรมสามารถช่วยในการพัฒนาแนวคิดเดิมท่ี
มีอยแู่ ล้วใหด้ ยี ง่ิ ข้ึน ในขณะเดยี วกนั ก็ส่งเสรมิ ใหผ้ ูม้ ีความคิดใหม่ๆ สามารถทำงานของตนได้อยา่ งเต็มที่ มี
ความม่นั ใจและทัศนคติการกลา้ รบั ความเสย่ี งเพ่อื ใหง้ านประสบผลสำเรจ็ Myllyya (2019) กล่าววา่ หาก
เราพิจารณาบทบาทของนวตั กรรมจากมมุ สังคม เราจะเหน็ ความสำคญั ของนวตั กรรมในองคก์ รชนั เจนขึ้น
ทุกวันนี้เป็นการยากที่จะบอกว่าอุตสาหกรรมใดบ้างที่เห็นวา่ นวัตกรรมไม่สำคัญ แม้ว่าอุตสาหกรรมบาง
ประเภทจำเป็นต้องใช้นวัตกรรมมากกว่าอุตสาหกรรมประเภทอื่น Sokova (2018) กล่าวว่า ในช่วง
ทศวรรษที่ผ่านมา นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ได้กลายมาเป็นทักษะการคิดวิเคราะห์ที่จะนำไปสู่
ความสำเร็จในการพฒั นาเศรษฐกิจ ความต้องการการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์มเี พิ่มมากขึ้น และการ
จัดการปัญหานั้นก็จำเป็นต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างเข้าใจเพื่อการหาทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม
ความคดิ สร้างสรรค์และนวัตกรรมมกั จะมาคู่กนั ไมม่ ีนวตั กรรมใดที่ปราศจากความคดิ สร้างสรรค์ ขณะที่
ความคิดสร้างสรรคเ์ ปน็ ความสามารถในการสร้างแนวคิดใหม่ๆ ดงั น้นั นวัตกรรมเป็นสิง่ ทส่ี ำคญั มากสำหรบั
องคก์ ร และเป็นทกั ษะสำคญั ในการพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีทักษะในศตวรรษที่ 21 เน่ืองจากนวัตกรรมมีส่วน
ช่วยใหอ้ งคก์ รขยายขอบเขต และยงั เพม่ิ เครือขา่ ยนำไปส่โู อกาสดี ๆ การนำความคดิ เหล่าน้ันทไี่ มว่ า่ จะเปน็
แนวคิดใหม่ๆ แนวทางการแก้ไขปัญหา วิธีการดำเนินการ ความคิดสร้างสรรค์เป็นแรงผลักดันให้เกิด
นวัตกรรมและสอดคลอ้ งกบั ทัศนะของ เบญจวรรณ ถนอมชยธวชั (2559) ที่กล่าววา่ การพัฒนานักศึกษา
ในศตวรรษ ที่ 21 เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อให้นักศึกษามีทักษะ (Skill) ในการดำรงชีวิต และการ
ทำงานในอนาคต ถือเป็นความทา้ ทายทีส่ ุดต่อการเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลก ที่เตม็ ไปดว้ ยขอ้ มูล
ข่าวสารแบบไร้ขีดจำกัด และช่องทาง Social Network ที่ทำให้คนเข้าถึงข้อมูลได้ทกุ ที่ทุกเวลา จึงเปน็
ความท้าทายในการพัฒนานักศึกษาในยุคนี้ที่จะต้องเตรียมความพร้อม ด้านทักษะเชิงนัตกรรม และ
คุณลักษณะที่สำคัญสำหรับยุคปัจจุบนั ที่มคี วามตอ้ งการ คุณลักษณะของบัณฑิตทีเ่ ด่นชัดและสูงกว่าใน
อดีต สมรรถนะในตนเองของบัณฑิตจะมีความสำคัญมากยิ่งขึ้นในโลกอนาคตในปัจจุบันสังคมไทยอยู่
ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ทีม่ ีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร ทำใหเ้ กิด
การเรยี นรูซ้ ึง่ นำไปสู่การเปลีย่ นแปลงความคิดความเชือ่ และรปู แบบการดำเนินชีวติ ของคนในสังคม การ
พฒั นานกั ศึกษาใหม้ ีคณุ ลักษณะตามท่สี งั คมต้องการและเป็นบัณฑติ ทีม่ ีคุณภาพ ดงั นน้ั จากทัศนะท่ีกล่าว

286

ไปแล้วข้างต้นการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม จึงเป็นอีกความสำคัญสำหรับศตวรรษที่ 21 เป็นอย่างยิ่ง
เพราะคุณลักษณะของผู้ที่มีทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ต้องประกอบกับทักษะเชิงนวัตกรรมเป็นส่วนสำคัญ
เพอื่ เปน็ การตอ่ ยอดองค์ความรเู้ กา่ และสรา้ งองคค์ วามรู้ทีแ่ ปลกใหม่ใหเ้ กดิ ขึน้ และยงั เปน็ การพฒั นาองคก์ ร
ใหม้ ีผลสำเรจ็ ใหด้ ยี ่งิ ขน้ึ พรอ้ มท้ังสามารถแกป้ ญั หาทเี่ กดิ ขึน้ ได้อย่างทนั ต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จึงเห็นได้
วา่ การพฒั นาทกั ษะเชงิ นวตั กรรมเป็นทกั ษะสำคญั ในศตวรรษท่ี 21

6.2.5 ในงานวิจัยนี้ ให้ความสำคัญกับแนวการประเมินทักษะเชิงนวัตกรรมแก่นักเรียน ซึ่งมี
หลากหลายแนวคดิ เชน่ Bukidnon State University, Malaybalay City, Bukidnon (2018). ได้พฒั นา
แบบสอบถามเก่ยี วกบั ทกั ษะการสอนของครใู นศตวรรษท่ี 21 (Questionnaire for Teachers' Practices
on the 21st Century Skills) โดยมสี ่วนหนงึ่ เป็นแบบประเมินทักษะการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม (Learning
and Innovation Skills) ประกอบด้วย 1) ระดมความคิดและหาโอกาสในการช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนา
ความคดิ และการรบั มือกับสถานการณ์ต่าง ๆ 2) ปรับเปล่ียนโมเดลและจำลองสถารการณ์ต่าง ๆ 3) จดั ทำ
กราฟฟคิ เพอ่ื ใช้อธิบายหวั ขอ้ ที่ยากและซบั ซ้อนให้เขา้ ใจไดง้ ่ายขึ้น 4) สร้างมาตรฐานโดยทำการประเมนิ ผล
การเรยี นของผู้เรยี น 5) สงั เกตผู้เรียนขณะเรยี นรูด้ ้วยตวั เองในหอ้ งเรยี น ชุตวิ ฒั น์ สวุ ตั ถพิ งศ (2560) การ
ประเมินนวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีทางการศึกษามจี ุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ค้นพบ 2) เปรียบเทียบส่ือ 3)
พยากรณ์ 4) ปรับใช้ ปรับปรุงและพัฒนา 5) เผยแพร่ 6) ตรวจสอบ 7) สร้างคุณค่า ขอบข่ายของการ
ประเมินนวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาปฐมวัย แบ่งออกเป็น 5 ขอบข่าย ได้แก่ 1) การ
ออกแบบ 2) การพัฒนา 3)การใช้ 4) การจัดการและ 5) การประเมนิ ในขณะที่ กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์
(2555) กล่าวว่า การประเมินว่าเปน็ การตัดสินคุณค่าของส่ิงใดสง่ิ หนง่ึ อาจเปน็ ทง้ั หมด หรือบางส่วน ซ่ึง
เป็นส่วนหนึ่งของการดําเนินงานต่าง ๆ โดยการประเมินจะต้องประเมินให้ตรงกับสิ่งที่ต้องการและ
ประเมินอย่างถูกต้อง เที่ยงตรงและเชื่อถือได้ศศิธร บัวทอง (2560) การประเมินทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 จะมีหลากหลายทักษะ ได้แก่ ประเภทการวัดด้านความรู้ความสามารถ ( Cognitive
Domain) ได้ระบุระดับขั้นพฤติกรรมที่จะวัดไว้ตั้งแต่ ความจำ ความเข้าใจ การประยุกต์นำไปใช้ การ
วิเคราะห์และการวิพากษ์ การสังเคราะห์ และประเมินค่า การวัดตามประเภททักษะการปฏิบัติ
(Psychomotor Domain)

6.3 ขอ้ เสนอแนะ
6.3.1 ข้อเสนอแนะเพื่อการนำไปใช้ มดี ังน้ี

6.3.1.1โปรแกรมออนไลน์ที่เป็นผลจากการวิจัยและพัฒนาจากกลุ่มทดลองที่ใช้ใน
งานวิจัยนี้ สามารถนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ในกลุ่มประชากรเป้าหมาย ( Target
Population) คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา สังกัดกองพุทธศาสนศึกษา สำนักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ทุกโรงทั่วประเทศ ตามหลักการของการวิจัยและพัฒนาที่วิจัยและพัฒนา
นวตั กรรมใดๆ ขึน้ มา แล้วนำนวัตกรรมน้ันไปทดลองใชใ้ นพ้ืนทีท่ ดลองแหง่ ใดแหง่ หนงึ่ ท่มี คี ณุ ลักษณะเปน็
ตวั แทนของกล่มุ ประชากรเป้าหมายในการเผยแพรน่ วตั กรรม เม่อื ผลจากการทดลองพบวา่ นวัตกรรมน้ัน

287

มคี ุณภาพหรือมปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ทกี่ ำหนด ก็แสดงวา่ สามารถนำนวตั กรรมนั้นไปเผยแพรเ่ พ่ือการ
นำไปใชป้ ระโยชน์กับกลมุ่ ประชากรเป้าหมายเพอ่ื การเผยแพรไ่ ด้

6.3.1.2 กองพุทธศาสนศกึ ษา สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ ควรมีนโยบายสนบั สนนุ
และสง่ เสริมใหส้ ถานศกึ ษา และผ้มู ีส่วนเกีย่ วขอ้ งได้พฒั นารปู แบบการเรียนการสอนโดยโปรแกรมออนไลน์
ใหเ้ ทา่ ทนั กับสถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม

6.3.1.3 สำนักงานเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ควรส่งเสริม นิเทศ
และมีการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเท่าทันกับสถานการณ์ปัจจุบัน และมุ้งเน้นให้
สถานศึกษามกี ารพฒั นาบุคลากรนำส่ือออนไลนม์ าใชเ้ พอื่ ยกระดบั การศึกษา

6.3.1.4 สถานศึกษานำคูม่ ือประกอบโครงการของโปรแกรมออนไลนซ์ งึ่ ถอื เป็นนวัตกรรม
จากงานวิจัยนไี้ ปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา เพ่ือนำไปพัฒนาครูในสถานศึกษา ใหม้ คี วามรู้ ความ
เข้าใจในทกั ษะเชิงนวัตกรรม และนำสู่การพัฒนานกั เรียนให้มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นมากย่งิ ขน้ึ

6.3.1.5 ครสู ามารถนำรูปแบบคมู่ ือ โปรแกรมการพัฒนาเปน็ สื่อในการสอนเพือ่ เสริมสร้าง
พัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรมให้แก่ตนเอง และนำผลการศึกษาไปสู่นักเรียนให้มีทักษะเชิงนวัตกรรมมาก
ย่งิ ขนึ้ และควรพัฒนาอย่างตอ่ เน่ืองเพือ่ ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพมากย่งิ ขึน้

6.3.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการวจิ ยั ตอ่ ไป มดี ังนี้

6.3.2.1 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ไม่ได้มีเฉพาะทักษะเชิง
นวตั กรรม หากมีทกั ษะในการพัฒนาอกี หลากหลายดา้ น ผทู้ สี่ นใจสามารถนำมาเอาระเบียบวิธีวิจัยและ
พฒั นามาใช้เพ่ือสร้างโปรแกรมออนไลน์พฒั นาเพ่ือการเรยี นรขู้ องครใู นทกั ษะอน่ื ๆ และนำผลการเรยี นรสู้ ู่
การพฒั นาได้

6.3.2.2 การนำเอาระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนามาใช้เพื่อสร้างโปรแกรม
ออนไลน์พฒั นาเพื่อการเรยี นร้ขู องครูในทกั ษะสำหรับการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 อน่ื ๆ และครูนำผลการ
เรียนร้สู ่กู ารพฒั นานัน้ สามารถนำเอาหลักการและแนวคิดในงานวิจัยนี้ไปบูรณาการเข้ากับหลักการและ
แนวคิดของการวิจยั และพฒั นาในทศั นะอ่ืน ๆ เพอ่ื ให้เปน็ ระเบยี บวิธีวจิ ยั ท่ีมีคุณภาพย่ิงขึ้นตอ่ ไปได้

6.3.2.3 ควรมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาเกีย่ วกับทักษะเชิงนวัตกรรมใน
บริบทท่ีแตกต่าง และหลากหลายเพอ่ื ให้เกิดองค์ความรูใ้ หม่และหลากหลาย รวมท้ังพัฒนาเคร่อื งมอื เพ่ือ
นำไปใช้ในการพัฒนาครูและนักเรียนในรูปแบบอื่นด้วย เช่น ในรูปแบบของวิดีโอ (Video) หรือยูทูป
(Youtube) เป็นต้น

288

บรรณานุกรม

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551).หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. พมิ พ์ครงั้ ที่ 3.
กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ชมุ นุม สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั

กฤษมนั ต์ วฒั นาณรงค์. (2555). เทคโนโลยกี ารศึกษาวชิ าชีพ (พิมพ์ครง้ั ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: ศูนย์ผลติ ตํารา
เรยี นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

กองพทุ ธศาสนศกึ ษา. (2557). คูม่ อื ปฏิบตั งิ านโรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามญั ศึกษา. กรุงเทพฯ : โรง
พิมพส์ ำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ.

กองพทุ ธศาสนศกึ ษา. (2563). ข้อมลู การจัดการศกึ ษาโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา ปี
การศกึ ษา 2563 (ครง้ั ที่ 1). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พส์ ำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ.

กองพุทธศาสนศกึ ษา.(2555). ประกาศคณะกรรมการการศึกษาพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศึกษาวา่ ด้วย
กลมุ่ โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พส์ ำนักงานพระพุทธศาสนา
แห่งชาต.ิ

กติ ติ ธรี ศานต.์ (2539). เทคนิคการบรหิ ารโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา ม.ตน้ -ม.ปลาย.
กรงุ เทพมหานคร: กรมการศาสนา.

ชุติวฒั น์ สุวัตถพิ งศ. (2560).นวตั กรรม ส่ือและเทคโนโลยกี ารศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย.
มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช

ธานินทร์ อนิ ทรวิเศษ. (2562). เทคโนโลยีและนวตั กรรมกบั การจดั การเรียนการสอนในยคุ ดจิ ทิ ลั . สบื ค้นเม่ือ
วันที่ 5 มกราคม 2564 จาก https://bit.ly/2CsDkpn

นพรัตนม์ ศี รี และอมรินทร์เทวตา. (2561). ความสมั พันธ์ระหว่างการจัดการความรู้และความคดิ สร้างสรรค์.
มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร.

นวตั กรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารทางการศึกษา. (2561). สบื ค้นเมอื่ วันที่ 5 มกราคม 2564
จาก https://bit.ly/3niM8j3

เบญจวรรณ ถนอมชยธวชั . (2559). ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21: ความท้าทายในการพฒั นานกั ศกึ ษา.วารสาร
เครอื ขา่ ยวทิ ยาลัยพยาบาลและการสาธารณสขุ ภาคใต.ปที ี่ 3 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2559

ประสงค์ พรหมเมตตา. (2561). สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2. สบื ค้นเมอื่
วนั ท่ี 5 มกราคม 2564 จาก https://bit.ly/3s8Qcpz

เปรอื่ ง กุมทุ . (2519). เทคนคิ การเขียนบทเรยี นโปรแกรม. กรงุ เทพฯ : คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรี
นครนิ ทรวโิ รฒ.

พระครสู ุธจี รยิ วฒั น์ ดร. (2561). ภาวะผ้นู ำ หลกั ธรรมและกระบวนการเรยี นรเู้ พ่ือสรา้ งสรรค์. ขอนแกน่ .
หจก. โรงพมิ พค์ ลงั นานาวิทยา.

289

พระพรหมคุณาภรณ์. (2558). พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม. กรุงเทพฯ. สำนกั พิมพผ์ ลธิ มั ม์
ในเครอื บรษิ ัท สำนกั พิมพเ์ พท็ แอนด์โฮม จำกดั .

พระพรหมบัณฑติ (ประยรู ธมฺมจติ ฺโต) สืบคน้ เม่อื 14 พฤศจิกายน 2562, จาก https://bit.ly/2CUNP1b
วัดประยรุ วงศาวาสวรวหิ าร กรงุ เทพมหานคร. (2562).

พณิ สดุ า สริ ิธรงั ศรี. (2556). การจดั การศึกษาของสหรัฐอเมรกิ า ฟนิ แลนดญ์ ปี่ ุน่ และนวิ ซีแลนด์. ใน รายงาน
การวจิ ัยเร่อื ง รูปแบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน. กรุงเทพฯ.มหาวิทยาลัยธรุ กจิ
บณั ฑติ ย์

มนตรี แย้มกสิกร (2551). เกณฑ์ประสทิ ธิภาพในงานวจิ ัยและพัฒนาสื่อการสอน: ความแตกต่าง 90/90

Standard แ ล ะ E1 / E2 ( How to use efficiency criterion in media research and

development : The Difference between 9 0 / 9 0 Standard and E1 / E2 ) . วา ร สาร

ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา. 19(1), 1-16.

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . (2552). การก่อตงั้ โรงเรียนบาลีสาธติ ศึกษา.60 ปโี รงเรยี นบาลี
สาธิต ศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . กรงุ เทพฯ: โรงพิมพม์ หาวิทยาลัย มหา
จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

มานพ พลไพลิน, (2535). หลกั การศึกษาพระไตรปฎิ ก. กรงุ เทพมหานคร : แคนซสั พร้นิ ติ้ง.
ยทุ ธศาสตรช์ าติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 – 2580. สบื ค้นเมอื่ วนั ที่ 5 มกราคม 2564 จาก

https://bit.ly/38hfhXG
ราณี จีนสุทธ (2564). การพัฒนาวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา.วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ ปีที่ 8

ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) 2564.

โรงเรียนบาลสี าธติ ศกึ ษามหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . (2562). รายงานผลการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2562. หนองคาย : การบริหารงานวชิ าการ.
(เอกสารอดั สำเนา)

โรงเรียนบาลสี าธติ ศกึ ษาฯ วดั ศรษี ะเกษ.(2563). รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา. โรงเรยี นบาลี
สาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วดั ศรษี ะเกษ.

วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์. (2563) ครุ สุ ภาวทิ ยาจารย์ JOURNAL OF TEACHER PROFESSIONAL
DEVELOPMENT ปีท่ี 1 ฉบับที่ 1. พิมพ์ครงั้ ที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา.

วิกพิ ีเดีย สารานุกรมเสร.ี (2563). โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม. สบื ค้นเมือ่ 26 ธันวาคม 2563, จาก
https://bit.ly/2JogV00

วิจารณ์ พานชิ . (2556). วิถสี ร้างการเรียนรู้เพอ่ื ศิษย.์ (พิมพค์ ร้งั ที่ 3). กรงุ เทพมหานคร: ฝ่ายโรง พมิ พ์ บรษิ ัท
ตถาตา พับลิเคช่นั .

วชิ ัย วงศ์ใหญ่. (2562). การพัฒนาทกั ษะสร้างสรรคน์ วัตกรรม. พิมพ์ครัง้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ:ศูนยผ์ ้นู ำ
นวัตกรรมหลกั สตู รและการเรียนรู้

290

วโิ รจน์ สารรัตนะ. (2561). การวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา: แนวคดิ แนวปฏบิ ัติ และกรณีศึกษา. (e-
Book). พมิ พค์ รง้ั ที่ 4 กรงุ เทพฯ: ทพิ ยวสิ ทุ ธ์ิ.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2561). การวิจัยทางการบรหิ ารการศกึ ษา: แนวคดิ แนวปฏิบตั ิ และกรณศี ึกษา. E-
Book. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรงุ เทพฯ: หจก. ทิพยวสิ ทุ ธิ.์

ศศิธร บัวทอง. (2560). การวัดและประเมินทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21.คณะศกึ ษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ.

ศริ ิวศั น์ ลำพุทธา. (2563). สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา ประถมศกึ ษาหนองคาย เขต 1.สบื ค้นเมอ่ื วันท่ี 5
มกราคม 2564 จาก https://bit.ly/3pSqPq2

ศุภศิลป์ กุลจิตตเ์ จือวงศ. (2559). แนวทางการพฒั นาสง่ิ พิมพอ์ อนไลน์ในยุคดิจทิ ลั .วารสารนิดาภาษาและ
การสอื่ สาร.กรงุ เทพฯ:บ.พมิ พ์สวย

สมหมาย อำ่ ดอนกลอย. (2556). บทบาทผู้บรหิ ารสถานศึกษาในศตวรรษท่ี 21. วารสาร บัณฑิตศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม.

สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 28. (2563). สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต
28. สบื ค้นเม่อื วนั ที่ 5 มกราคม 2564 จาก https://bit.ly/3oi7ePZ

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน. (2561). นโยบาย สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้
พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561. สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน.

สำนกั งานพระพทุ ธศาสนา. (2562). ร่างแผนการศึกษาพระปรยิ ัตธิ รรม. กรงุ เทพมหานคร: สำนักงาน
พระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ.

สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาต.ิ (2546). คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงานสำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ 2546.
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พก์ รมการศาสนา.

สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ. (2555). คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ าน การขออนญุ าตจัดต้งั และขยายชน้ั เรยี น
โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ.

สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. พิมพค์ รัง้ ท่ี 1.
กรงุ เทพฯ: พรกิ หวานกราฟฟิค.

สำนกั งานเลขาสภาการศกึ ษาแหง่ ชาติ กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2560). แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560 –
2579 สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 5 มกราคม 2564 จาก https://bit.ly/3okmnAf

สุกญั ญา รอดระกำ. (2561). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในยคุ ไทยแลนด์ 4.0. รายงานการประชมุ
Graduate School Conference.

สชุ าติ ประสิทธร์ิ ัฐสินธ์ุ. (2546). ระเบยี บวิธกี ารวจิ ยั ทางสังคมศาสตร.์ พมิ พ์ครัง้ ท่ี 12. กรงุ เทพฯ: บริษัท
เฟ่อื งฟ้า พรนิ้ ติง้ .

สุรีย์มาศ สขุ กสิ. (2563). การศึกษาความตอ้ งการพฒั นาครมู อื อาชพี สู่ความเป็นประเทศไทย 4.0.
วารสารวิชาการศรีปทมุ ชลบรุ ี.ปที ่ี 16 ฉบับท่ี 4 เดอื นเมษายน-มถิ นุ ายน 2563: 21-27.

291

สวุ มิ ล มธรุ ส (2564). การจดั การศึกษาในระบบออนไลนใ์ นยุค NEW NORMAL COVID-
19(ManagementEducation Online in the NEW NORMAL COVID-19), ปที ี่ 15 ฉบับ ท่ี 40
พฤษภาคม –มิถนุ ายน2564 - TCI กลมุ่ ที่ 2 มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ปี2563-2567

องคก์ ารยนู เิ ซฟ ประเทศไทย. (2563).การศกึ ษาสำหรบั ศตวรรษท่ี 21การพฒั นาทกั ษะคือหัวใจสำคญั ของ
การศึกษา. สบื ค้นเมื่อวนั ท่ี 5 มกราคม 2564 จาก https://uni.cf/38fwGjg.

โยธนิ แสวงด.ี (ม.ป.ป.). แผนงานวิจัยและชดุ โครงการวจิ ยั : การเขียนโครงการวจิ ยั แบบบรู ณาการเพอ่ื ขอ

ทนุ สำหรับการวิจัยเชงิ ปฏบิ ัติการในพน้ื ท่ี (Area Based Research).

https://rdo.psu.ac.th/th/images/D3/PR-news/2563/Research/YOTIN-

AreaBasedResearch.ppt

สำนกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ. (2563). โครงการวจิ ยั /ชดุ โครงการวจิ ัย.

https://nriis.go.th/FileUpload/AttatchFile/News/256110291020186004256.docx

Albuquerque, C. (2013). The study of social needs as a strategic tool for the innovation
of the social care sector: The contribution of new technologies. Retrieved
June14, 2019 from https://bit.ly/2YD1xzf

Baiya, E. (2018). Innovation management. Retrieved August 4, 2019, from
https://bit.ly/2YB604x

Bellanca, J. A. 21st century skills: Rethinking how students learn. United States:
SolutionTree Press, 2010.

Bellevue College (2019). Learning and innovation skills. Retrieved June14, 2019 from
https://bit.ly/2Y00UCB

Boundless, (n.d). Benefits of innovation. Retrieved June19, 2019 from
https://boundlessinnovations.org/

Boutelle, j. (2020). 7 Sure-fire steps to innovative thinking and doing. Retrieved
September 5, 2019, from https://bit.ly/33qpmhc

Bukidnon State University, Malaybalay City, Bukidnon (2018). Questionnaire for teachers'
practices on the 21st century skills. Retrieved June14, 2019 from
https://bit.ly/2Oev1zP

Business (2018). Innovation. Retrieved June14, 2019 from https://bit.ly/2xQfH4p
Butter, R. & Beest, W.V. (2017). Psychometric validation of a tool for innovation

competencies development and assessment using a mixed-method design.
Retrieved June14, 2019, from https://bit.ly/38Mc6pl
Center for Management & Orgenization Effectiveness (n.d.). Innovation skills. Retrieved
June14, 2019 from https://bit.ly/2xtjZhD

292

Chaichanawirote U. & Vantum, C. (2017). Evaluation of Content Validity for Research
Instrument. Journal of Nursing and Health Sciences. 11 (2), 105-111.

Chell, E. & Athayde, R. (2009). The identification and measurement of innovation
characteristics of young people: Development of the youth innovation skills
measurement tool. Retrieved June14, 2019 from
https://core.ac.uk/download/pdf/90615.pdf

Cherry, K. (2019). 17 Ways to develop your creativity. Retrieved August 8, 2019, from
https://bit.ly/2PUTp8E

Cleverism (n.d.). Why are innovation skills important. Retrieved June 19, 2019 from
https://bit.ly/2XrQah3

Dwyer,J. (n.d.). What is innovation: Why almost everyone defines it wrong. Retrieved
June14, 2019 from https://bit.ly/2Y6XFt6

E-CSR (2017). Innovation: Definition, types of innovation and business examples.
Retrieved June14, 2019 from https://bit.ly/30zfGhn

Francisco, J. (2018). How to develop innovation skills. Retrieved August 4, 2019, from
https://bit.ly/2XiVtiC

Guskey, T.R. (2000). Professional development in education: in search of the optimal mix.
In T.R. Guskey, and M. Huberman (eds.), Professional development in education:
New paradigms and practices. New York: Teachers College Press.

Guskey, T.R. (2000). Professional development in education: in search of the optimal mix.
In T.R. Guskey, and M. Huberman (eds.), Professional development in education:
New paradigms and practices. New York: Teachers College Press.

Gusky, T.R. (2000). Evaluating professional development. CA: Corwin Press, Inc.
Gusky, T.R. (2000). Evaluating professional development. CA: Corwin Press, Inc.

Gusky, T.R. (2000). Evaluating professional development. CA: Corwin Press, Inc.
Henderson, T. (2018). Why innovation is crucial to your organization's long-term success.

Retrieved June 22, 2019 from https://bit.ly/2StxrvB
Hengsberger, A. (2018). 10 Measures to create a culture of innovation. Retrieved August

4, 2019, from https://bit.ly/2Y6R1TI
Hoy, W.K. & Miskel, C.G. (2001). Educational administration: Theory, research, and

practice. 6th edition. NY: McGraw-Hill.
Hoy, W.K. & Miskel, C.G. (2001). Educational administration: Theory, research, and practice.

6th edition. NY: McGraw-Hill.

293

Hoy, W.K. & Miskel, C.G. (2001). Educational administration: Theory, research, and practice.
6th edition. NY: McGraw-Hill.

Jonathan, W. (2014). 8 Simple strategies to improve your innovation. Retrieved August 8,
2019, from https://bit.ly/33lfhRR

Kappe, M. (2018). 4 Benefits of innovation in business. Retrieved June 19, 2019from
https://bit.ly/2mV34BM

Kaye, W. (2018). How to increase innovation output from your team in 4 steps.
Retrieved August 8, 2019, from https://bit.ly/2OKMUJv

Kim, L. (2018). 9 Ways to dramatically improve your creativity. Retrieved August 8,
2019, from https://bit.ly/2uV4oFh

Landry, l . (2017). The innovation process. Retrieved September 5, 2019, from
https://bit.ly/32r4F48

Magazine Spring (2007). The five stages of successful innovation. Retrieved September 5,
2019, from https://bit.ly/3lqGcVp

Molloy. (2019). Five steps to implementing innovation. Retrieved September 5, 2019,
from https://s.hbr.org/34Fe2jD

Myllyla, J. (2018). Innovation strategy – what is it and how to develop one?. Retrieved
August 4, 2019, from https://bit.ly/2ZsmOfu

Myllyla, J. (2019). The importance of innovation. Retrieved June 19, 2019 from
https://bit.ly/2Gl7zNE

Nolan, D. (2017). 6 Reasons why innovation is a survival skill. Retrieved June 19, 2019
from https://bit.ly/30O281F

Pisano (2020). 5 Steps to develop innovation strategy for your company. Retrieved
September 5, 2019, from https://bit.ly/3lnRk5n

Polit, D. F. & Beck, C. T. (2012). Nursing research: Generating and assessing evidence for
nursing practice. Philadelphia, PA: Wolters Kluwer Health / Lippincott Williams&
Wilkins.

Premuzic, T.C. (2013). The five characteristics of successful innovators. Retrieved June
26, 2019, from https://bit.ly/2g33tPi

Research and Extension Unit, Food and Agriculture Organization of the United Nations
Rome (2017). Assessment of innovation capacities a scoring tool. Retrieved
June14, 2019 from http://www.fao.org/3/a-i7014e.pdf

294

Rosales, P. (2018). Five characteristics that define successful innovators. Retrieved June
26, 2019, from https://bit.ly/2JSGPpU

Rovinelli, R.J., & Hambleton, R.K. (1977). On the use of content specialists in the
assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of
Educational Research, 2, 49-60.

Seyfarth, J.T. (1999). The Principal: New leadership for new challenges. NJ: Prentice Hall.
Seyfarth, J.T. (1999). The Principal: New leadership for new challenges. NJ: Prentice Hall.

Seyfarth, J.T. (1999). The Principal: New leadership for new challenges. NJ: Prentice Hall.
Skills You Need (n.d.). Defining innovation. Retrieved June14, 2019 from

https://bit.ly/2SdRcan
Sokolova, S. (2018). The importance of creativity and innovation in business. Retrieved

June 22, 2019 from https://bit.ly/1OxfAgU
Speck, M. (1999). The principalship: Building a learning community. NJ: Prentice Hall.
Speck, M. (1999). The principalship: Building a learning community. NJ: Prentice Hall.

Speck, M. (1999). The principalship: Building a learning community. NJ: Prentice Hall.
Stack, L. (2013). Increasing Creativity in your organization: Six ways to spark innovation

thinking. Retrieved August 8, 2019, from https://bit.ly/2YIMus1
Toolshero (n.d.). Innovation. Retrieved June14, 2019 from https://bit.ly/2XKxE3u
Turner, R. & Carlson, L.A. (2003). Indexes of item-objective congruence for

multidimensional items. International Journal of Testing 3(2):163-171.
DOI:10.1207/S15327574IJT0302_5
UCLA: Statistical Consulting Group. (2016, August 22). What Does Cronbach’s Alpha
Mean?. Retrieved June 30, 2021 from https://stats.idre.ucla.edu/spss/faq/what-
does-cronbachs-alpha-mean/
Vocabulary (n.d.). Innovation. Retrieved June14, 2019 from https://bit.ly/2LTyLH8
Wikipedia (2019). Innovation. Retrieved June14, 2019 from https://bit.ly/1HKi5nJ
Wisdom Max Center Company Limited (2015). การเรยี นรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult learning) คืออะไร
มีหลกั การอยา่ งไร. Retrieved June 19, 2021 from
https://www.wisdommaxcenter.com/detail.php?WP=oGA3ZRjkoH9axUF5nrO4Ljo7
o3Qo7o3Q
Zenger, J. (2015). Nine behaviors that drive innovation. Retrieved June 26, 2019, from
https://bit.ly/2LHZ3MZ

295

Amadi, E.C. (2008). Introduction to educational administration; A module. Harey
Publications.

Bamte. (n.d.). Educational administration - Meaning, authoritarian and democratic
educational management. Retrieved from
http://bawmte.blogspot.com/2018/05/educational-administration-meaning.html

Dhammei, T. (2022, January 15). Educational administration: Concepts of educational
administration and principles of educational administration. Retrieved from
https://onlinenotebank.wordpress.com/2022/01/15/concepts-and-principles-of-
educational-administration/

Driscoll, M. (2022, September 7). Education in the 21st century.
https://thinkstrategicforschools.com/education-21st-century/

Edge, K. (2000). School-based management. Paper for the Education Reform &
Management Thematic Group, HDNED, World Bank [August 2000].
http://web.worldbank.org/archive/website00238I/WEB/PDF/SBMQ_AF.PDF

Kashyap, D. (n.d.). Educational administration: Meaning, nature and other details.
Retrieved from https://www.yourarticlelibrary.com/educational-
management/educational-administration/educational-administration-meaning-
nature-and-other-details/63730

Target Jobs. (n.d.). Education administrator: job description. Retrieved from
https://targetjobs.co.uk/careers-advice/job-descriptions/education-administrator-
job-description

The Teachers Council of Thailand. (n.d.). Educational professional standards. Retrieved
from https://maekongwa.thai.ac/client-upload/maekongwa/download/.pdf

University of Bridgeport. (2022, May 19). What does an education administrator do?
Retrieved from https://www.bridgeport.edu/news/what-does-an-education-
administrator-do/

Churches, A. (2010, January). 21st century pedagogy. Retrieved from
https://www.researchgate.net/figure/21-st-Century-Pedagogy-Churches-A-
2008_fig5_307753183

296

ภาคผนวก

296

ภาคผนวก ก

รายช่ือและสถานภาพของครูท่ีเป็นกลุม่ เปา้ หมายในการตรวจค่มู อื ครง้ั ที่ 1

โรงเรยี นประภสั สรวิทยา วดั ศรีนวล

ที่ ชือ่ -ชอ่ื สกลุ วชิ าที่สอน ช้นั ทสี่ อน

1 พระมหาสมบตั ิ ญาณวีโร ภาษาไทย ม.1

2 พระฮอนดา้ วาทสทฺโท ดร. ภาษาไทย ม.2

3 พระปลดั แสงสรุ ีย์ ญาณเมธี พทุ ธประวัติ ม.4

4 พระครูวชิรญาณสาร สงั คมศกึ ษาฯ ม.5

5 พระใบฎกี าสทิ ธชิ ัย จนฺทโสภโณ สุขศึกษา ฯ ม.1 - 3

6 พระมหาณฐั พล ทีฆายุโก สังคมศึกษา ฯ ม.1 - 3

7 นายเจษฎา พลพิลา วทิ ยาการออกแบบฯ ม.1 - 3

8 นายพพิ ฒั น์ หอมฮด การงานอาชีพ ม.4 - 6

9 นายสราวุธ จนั สหี า ภาษาไทย ม.3, ม.6

10 นายบญุ มี ละคร บุคลากรทางการศึกษา

297

ภาคผนวก ข
หนังสือของบณั ฑิตวทิ ยาลยั เพอื่ ขอความรว่ มมอื จากครทู ่เี ปน็ กลุ่มเปา้ หมายในการตรวจคมู่ อื

คร้ังท่ี 1

298

ภาคผนวก ค

รายช่อื และสถานภาพของครูท่เี ป็นกลุ่มเปา้ หมายในการตรวจคู่มือ คร้งั ท่ี 2

โรงเรียนบาลีสาธติ ศึกษา วัดเขตอุดม

ที่ ชอื่ -ชือ่ สกลุ วชิ าทีส่ อน ชั้นทสี่ อน

1 นายประพนั ธ์ สขุ จะชารี คณิตศาสตร์ ม. 1 - ม.3

2 นายนันทวัฒน์ พนั นารตั น์ วทิ ยาศาสตร์ ม.2

3 พระครสู ุจติ ธรรมานันท์ สงั คมศึกษาฯ ม. 1 - ม.3

4 พระมหานวนิ ฐานวโร ภาษาบาลี ม. 1 - ม.3

5 พระมหาเสน่ห์ สํวโร การงานอาชพี ฯ ม. 1 - ม.3

6 น.ส.วนดิ า โกศิลา ภาษาไทย ม.1 , ม.2

7 น.ส.ศิรกิ ัลยา องอาจ ศิลปศกึ ษา ม.1 , ม.2

8 นายเอกรฐั สนุ ทรชยั สุขศึกษาฯ ม.1 , ม.2

โรงเรียนวดั โพธิสมภาร วิชาทสี่ อน ช้นั ทส่ี อน
สงั คมศกึ ษาฯ ม. 4 - ม.6
ที่ ชือ่ -ชื่อสกุล ภาษาบาลี ม. 4 - ม.6
1 พระครปู ระพฒั นธ์ รรมาภรณ์ คณิตศาสตร์ ม. 4 - ม.6
2 พระมหาประทปี อภิวฒฺโน,ดร. ภาษาไทย ม. 1 - ม.3
3 พระมหาสมพงษ์ สจุ ติ ฺโต สงั คมศึกษาฯ ม. 1 - ม.3
4 น.ส.ช่อฤดี โหงษา ม. 1 - ม.3
5 น.ส.สุภาพร สงิ หมาตย์ ศลิ ปะ ม. 1 - ม.3
6 น.ส.รำไพ แววศรี สขุ ศกึ ษา ม. 1 - ม.3
7 นายองอาจ เสาวรีย์ หน้าทพ่ี ลเมอื ง
8 น.ส.อรญั ญา พงษไ์ พรัตน์

299

ภาคผนวก ง
หนังสือของบณั ฑิตวทิ ยาลยั เพอื่ ขอความรว่ มมอื จากครทู ่เี ปน็ กลุ่มเปา้ หมายในการตรวจคมู่ อื

คร้ังท่ี 2

300

301

ภาคผนวก จ

รายชอ่ื และสถานภาพของผู้ทรงคณุ วุฒใิ นการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คำถามกบั

วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ ในแบบทดสอบครู

ชอื่ -ช่ือสกุล คุณวุฒิ สถานทที่ ำงาน

พระครูวิรยิ ปญั ญาภิวัฒน์, กศ.ม.(หลกั สตู รและการสอน) ผูอ้ ำนวยการวทิ ยาลัยสงฆ์สรุ ินทร์

ผศ.ดร. มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช

ค.ด.(หลกั สูตรและการเรียนการ วทิ ยาลัย วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์

สอน) มหาวิทยาลยั ราชภัฏ

มหาสารคาม

ดร.พินิจ อไุ รรักษ์ ค.ม.(การวดั และประเมนิ ผล ครวู ิทยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ

การศึกษา) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย และเทคโนโลยี

ปร.ด.(วิจยั การศกึ ษา) โรงเรยี นลำปลายมาศ จังหวัด

มหาวิทยาลยั รามคำแหง บุรรี ัมย์

ดร.ศริ นิ นั ทน์ ว่องโชติกลุ ค.ม.(วจิ ยั และประเมินผล ครูวทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ

การศกึ ษา) กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุบลราชธานี โรงเรยี นบรุ รี มั ย์พทิ ยาคม

กศ.ด.(หลักสูตรและการสอน) จงั หวัดบรุ รี มั ย์

มหาวิทยาลัยบรู พา

ผศ.ดร.จตุภูมิ เขตจตุรัส ค.ม. (การวิจัยทางการศกึ ษา) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ าขาวิชาวดั

ค.ด.(การวดั และประเมินผล และประเมนิ ผลการศกึ ษา คณะ

การศกึ ษา) จฬุ าลงกรณ์ ศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลัย

มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

ดร.สริ นิ ันท์ สรุ ะไพฑูรย์ ศศ.ม.(หลกั สูตรและการเรียนการ ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการพิเศษ

สอน)มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา

ปร.ด.(หลกั สูตรและการเรียนการ มธั ยมศึกษา เขต 25

สอน)มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

302

ภาคผนวก ฉ
หนงั สอื ของบณั ฑิตวิทยาลยั เพอ่ื ขอความรว่ มมอื จากผทู้ รงคณุ วุฒิเพื่อตรวจสอบความสอดคลอ้ งของ

ข้อคำถามกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ ในแบบทดสอบครู

303

ภาคผนวก ช
แบบตรวจสอบความสอดคลอ้ งของข้อคำถามกับวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ (Index of Item -

Objective Congruence: IOC) ในแบบทดสอบครู

สำหรับผูท้ รงคณุ วฒุ ิ

คำชีแ้ จง

ในการทำวิจัยเรื่อง “โปรแกรมออนไลน์เพ่ือพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของ
นักเรียน” (Online Program to Develop Teachers to Enhance Innovation Skills of Students.)
โดยระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ผู้วิจัยได้สร้าง “แบบทดสอบผลการ
เรียนรขู้ องครูเก่ียวกบั การพัฒนาทกั ษะเชงิ นวตั กรรม” ข้นึ

โดยแบบทดสอบดังกลา่ ว มีวัตถุประสงค์การเรียนรู้ใหค้ รูมพี ัฒนาการดา้ นพุทธิพิสยั (Cognitive
Domain) ซึ่งเปน็ จุดม่งุ หมายทางการศกึ ษาท่ีเก่ียวขอ้ งกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปญั ญาตามแนวคิด
ของ Benjamin S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ี
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คื อ
ความจำ (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating)

ผู้วจิ ยั ได้สรา้ งขอ้ ทดสอบตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 6 ระดบั ดงั กล่าวเปน็ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก
ในเนื้อหาท่ีเขียนไว้ในคู่มือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของครู เกี่ยวกับนิยาม ความสำคัญ คุณลักษณะ
แนวทางการพฒั นา ขั้นตอนการพฒั นา และการประเมนิ ผลทกั ษะเชงิ นวตั กรรม

จึงใคร่ขอความกรณุ าท่านโปรดพิจารณาข้อทดสอบในแบบทดสอบขา้ งล่าง แล้วทำเครื่องหมาย
 ลงในช่อง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย

+ 1 หมายถงึ ขอ้ ทดสอบมคี วามสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้นนั้ ๆ
0 หมายถงึ ไม่แน่ใจในความสอดคลอ้ งของข้อทดสอบกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้นน้ั ๆ
-1 หมายถึง ขอ้ ทดสอบไม่มคี วามสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์การเรยี นรู้นน้ั ๆ
ขณะเดียวกนั ใคร่ขอความกรุณาท่านโปรดให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใชภ้ าษาในข้อทดสอบที่
เหน็ ว่าไม่เหมาะสม ว่าควรปรบั ปรุงแกไ้ ขเป็นอย่างไร

วตั ถุประสงค์การ ขอ้ ทดสอบ
เรียนรู้

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้เกยี่ วกับนยิ ามของทักษะเชิงนวตั กรรม

ความจำ 1) ข้อใดกลา่ วถงึ ทักษะเชงิ นวตั กรรมไดถ้ ูกต้อง

ก. เป็นทกั ษะดา้ นการเรียนรแู้ ละนวตั กรรมท่มี กี ารยอมร

ข. เป็นผลิตภณั ฑห์ รือกระบวนการใหม่หรือท่ีมีการพฒั น

ค. เป็นกระบวนการผลติ ผลของมโนภาพทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหม่*

ง. เปน็ กระบวนการของการนำแนวคดิ ใหมๆ่ ในการแกป้

ความเข้าใจ 2) ขอ้ ใดกล่าวถงึ ความสำคัญของทักษะเชิงงนวตั กรรมไดถ้ ูกต้อง

ก. ผลติ ภัณฑห์ รือกระบวนการใหม่หรือทมี่ ีการพัฒนาแ

ยะสำคญั จากผลติ ภัณฑห์ รือกระบวนการเดมิ

ข. การทำงานในศตวรรษท่ี 21 โดยมงุ่ ไปท่ีการคิดสร้างส

วจิ ารณญาณ การส่ือสารและความรว่ มมือ ซ่ึงจำเปน็

อนาคต*

ค. กระบวนการของการนำแนวคดิ ใหม่ๆ ในการแกป้ ญั ห

การกอ่ ให้เกดิ

ง. เปน็ กระบวนการของการนำแนวคิดใหม่ๆ ในการแกป้

การประยุกต์ 3) เมือ่ ศกึ ษานยิ ามเชงิ นวตั กรรม แลว้ สามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นด้า

ก. ดา้ นการพัฒนากระบวนแนวคดิ ใหม่*

ข. ด้านการส่งเสริมความร่วมมอื ในองค์กร

ค. ดา้ นการสร้างแรงจงู ใจ

ง. ดา้ นการพงึ่ ตนเอง

การวิเคราะห์ 4) จากคำกลา่ วท่ีว่า “การแนะนำหรือการนำแนวคดิ หรอื วิธีการใหมๆ่

กระบวนการท่ีเกย่ี วพันกบั หลายๆ ซ่งึ ตอ้ งมีการคดิ นอกกรอบเพื่อส

คำกล่าวนีต้ รงกบั ทกั ษะด้านใด มากทีส่ ุด

ก. ทักษะควาร่วมมอื

ข. ทักษะการมสี ว่ นรว่ ม

ค. ทกั ษะเชิงนวัตกรรม*

ง. ทกั ษะการเรยี นรู้

ความเห็นของ 304
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงแกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

รับกันมาก
นา

ปญั หา

แล้ว ซ่งึ แตกต่างอย่างมีนัย

สรรค์ คดิ อยา่ งมี
นสำหรบั การเตรียมผู้เรียนสู่

หามาใช้ ซึ่งนวัตกรรมเป็น

ปัญหา
านใด

ๆ ไปปฏิบตั ิ แตเ่ ปน็
สรา้ งสิ่งตา่ ง ๆ ใหดีขึน้ ”

วตั ถปุ ระสงคก์ าร ขอ้ ทดสอบ
เรยี นรู้

การประเมิน 5) จากคำกลา่ วทีว่ ่า “นวตั กรรมเปน็ การแนะนำส่ิงใหมๆ่ เก่ียวกบั เทค

องคป์ ระกอบที่สำคัญเพ่อื ใหเ้ กดิ นวตั กรรมท่ีสมบูรณค์ อื ข้อใด

ก. การสรา้ งแรงจงู ใจจนนำไปสู่การศกึ ษาค้นคว้า*

ข. การกำหนดวสิ ยั ทศั น์

ค. การสรา้ งความสามคั คีในองค์กร

ง. การมสี ่วนรว่ มในองคก์ ร

การสร้างสรรค์ 6) จากการศึกษานยิ ามทกั ษะเชิงนวตั กรรมสามารถนำไปประยกุ ต์ใช

นกั เรยี นได้หรือไม่

ก. ไม่ได้ เพราะ องคก์ รขาดความรู้ ความเข้าใจ

ข. ไมไ่ ด้ เพราะ เป็นการสรา้ งความหวงั ที่ยากในการพ

ค. ได้ เพราะ เป็นการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มในการพฒั

ง. ได้ เพราะ เปน็ การนำแนวคิดใหม่ไปพฒั นาเพอ่ื ส

วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้เก่ียวกับความสำคญั ของทักษะเชิงนวตั กรรม

ความจำ 7) ขอ้ ใดกลา่ วถึงความสำคญั ของทักษะเชงิ นวตั กรรมไดถ้ ูกต้อง

ก. นวัตกรรมสามารถชว่ ยให้องคก์ รเกดิ การสามัคคีมาก

ข. นวัตกรรมสามารถช่วยในการพฒั นาแนวคดิ เดมิ ทมี่ อี

ค. เป็นการเพมิ่ ขีดความสามารถ ซ่งึ นบั เปน็ ทรัพยากรท

ง. ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ท่ีจะนำไปสู่ความสำเร็จในการ

ความเข้าใจ 8) ขอ้ ใดจดั ว่าเปน็ ความสำคญั ของทกั ษะเชงิ นวตั กรรม ทีจ่ ำเปน็ ตอ้ งม

ก. นวตั กรรมสามารถช่วยให้องคก์ รเกดิ การสามัคคีมากข

ข. เปน็ การเพ่ิมขีดความสามารถ ซงึ่ นบั เป็นทรัพยากรที่ม

ค. นวตั กรรมสามารถทำใหเ้ กดิ ประโยน์มากมายและยงั ถ

วิเคราะห์อยา่ งหน่ึงซงึ่ ช่วยใหอ้ งค์กรประสบความสำเร

ง. ช่วยผลักดันให้การทำงานมคี วามทา้ ทายและยงั ชว่ ยส่ง

คิดนอกกรอบ

การประยุกต์ 9) ขอ้ ใดเปน็ การนำเอาทกั ษะเชิงนวัตกรรมไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ถูกตอ้ ทส่ี

ก. คณุ ครูศรี เลา่ นทิ านเพ่อื กระตนุ้ ใหน้ ักเรียนเกิดความค

ผลงาน*

ความเห็นของ 305
ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

คโนโลยใี หม่ๆ” สิ่งที่เป็น

ชใ้ นการพฒั นาทกั ษะของ

พฒั นา
ฒนาองค์กรไปสคู่ วามสำเรจ็
สรา้ งนวตั กรรมการเรยี นรู้*

กขนึ้
อย่แู ล้วให้ดยี ิ่งข้นึ *
ทม่ี คี ่ามาก
รพฒั นาเศรษฐกจิ
มี
ขึน้
มคี า่ มาก
ถอื วา่ เปน็ ทักษะการคดิ
ร็จ*
งสเริมใหพ้ นักงานกล้าที่จะ

สดุ
คิดสรา้ งสรรค์ในการสรา้ ง

วัตถปุ ระสงค์การ ข้อทดสอบ
เรยี นรู้

ข. คุณครูดาว นำนักเรยี นชมสวนเกษตร เพ่อื นำนกั เรยี

ค. นายแดง ชวนเพือ่ นไปเล่นท่ีสวนสตั ว์เพ่อื ศกึ ษาการเป

ง. นายขาว พาน้องไปหัดเดินทวี่ นสาธารณะ

การวิเคราะห์ 10) จากเหตกุ ารณ์ปัจจบุ นั ในการแพร่ระบาดไวรสั โคโรนา 2019 (โคว

ทักษะเชงิ นวัตกรรมไปหรอื ไม่

ก. ไมไ่ ด้ เพราะ เป็นการพัฒนาเครื่องจักรกล

ข. ไมไ่ ด้ เพราะ เป็นการเขา้ ถึงและพฒั นายาก

ค. ได้ เพราะ สามารถพฒั นาเคร่ืองมือให้ทนั ต่อการ

ง. ได้ เพราะ พัฒนาองคก์ รใหท้ ันเสมอ

การประเมิน 11) จากการทไ่ี ดศ้ กึ ษาความสำคญั ของทักษะเชงิ นวตั กรรม ข้อใดเป็น

ทักษะนวัตกรรมมากทีส่ ดุ

ก. นวตั กรรมเปน็ ทกั ษะท่ีขาดไม่ได้ในศตวรรษที่ 21

ข. นวตั กรรมเป็นทักษะทีต่ ้องใช้และขาดไม่ได้ในการพัฒ

ค. นวัตกรรมเปน็ การแกป้ ญั หาและช่วยสง่ เสริมผลิตภาพ

ง. นวตั กรรมเปน็ ทกั ษะทใี่ ชพ้ ฒั นาเศรษฐกจิ และองค์กร

การสรา้ งสรรค์ 12) หลักสำคัญในการพฒั นาทักษะเชงิ นวตั กรรม ที่สามารถนำไปใช้ให

ไดม้ ากท่สี ุดคอื ข้อใด

ก. เปน็ การแสดงคณุ สมบตั ิอันเป็นเอกลักษณ์

ข. เป็นการช่วยในการเอาชนะค่แู ข่งทนี่ า่ กลวั

ค. เปน็ การพัฒนาเทคโนโลยที ก่ี า้ วหนา้ ขึน้ *

ง. เปน็ การช่วยเสรมิ สร้างพลงั

วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้เก่ยี วกบั คณุ ลกั ษณะของบุคคลท่มี ีทกั ษะเชงิ นวตั กรรม

ความจำ 13) ผนู้ ำที่มที ักษะเชิงนวัตกรรม ควรมลี กั ษณะอย่างไรมากท่สี ดุ

ก. เป็นผู้กำหนดวสิ ัยทัศน์ท่ีชดั เจนและสร้างส่งิ ใหม่ๆ*

ข. เป็นผสู้ รา้ งความหวงั แก่สมาชิกในองคก์ ร

ค. เปน็ ผู้ตงั้ ใจในการทำงาน

ง. เป็นผ้ใู ห้กำลงั ใจเพื่อนร่วมงานเสมอ

ความเข้าใจ 14) ข้อใดไม่จัดอย่ใู นลกั ษณะของทกั ษะเชงิ นวตั กรรม

ความเห็นของ 306
ผู้ทรงคณุ วุฒิ
ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

ยนปลกู เกษตรทฤษฎใี หม่
ป็นอยู่ของสตั ว์

วดิ 19) เราสามารถนำ

รแก้ปญั หา*

นเหตุผลสำคัญในการพฒั นา

ฒนาองคก์ ร
พองคก์ ร*

ห้เกดิ ประโยชนต์ ่อองค์กร

วตั ถุประสงค์การ ขอ้ ทดสอบ
เรียนรู้

ก. การสร้างแรงบนั ดาลใจแกส่ มาชิก
ข. การคิดส่ิงใหม่ๆอย่เู สมอ
ค. การพัฒนาองค์กรใหท้ นั ตามสถานการ
ง. การทำงานเป็นทีม*

การประยุกต์ 15) ขอ้ ใดสรุปลักษณะของทักษะเชงิ นวตั กรรม ได้ถกู ตอ้ งทีส่ ดุ
ก. ความคดิ อยา่ งเป็นระบบ
ข. การพฒั นาองคก์ รให้ทันตามสถานการ*
ค. การฝึกอบรมและการศึกษาทเ่ี หมาะสม
ง. การใชส้ อ่ื อย่างเท่าทนั

การวิเคราะห์ 16) ข้อใดคือการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ถูกตอ้ งตามลกั ษณะของทกั
ก. แดง ศกึ ษาค้นควา้ ขอมลู ใหม่และตอ่ ยอดผลติ ภณั ฑข์
ข. ขาว ประชมุ สมาชิกในองค์กร เพื่อหาขอ้ มูลในการทำ
ค. เขยี ว ออกสำรวจพ้ืนทเี่ พอ่ื สรา้ งผลิตภัณฑ์ใหม่
ง. ดำ พาเพือ่ นชมโรงงานของตนเองเพ่อื ศึกษาการทำ

การประเมนิ 17) จากการทีไ่ ดศ้ กึ ษาคณุ ลักษณะของทักษะเชิงนวตั กรรม ข้อใดเปน็
ก่อใหเ้ กดิ ทักษะนวัตกรรมมากทส่ี ุด
ก. การเปน็ ผู้มีระเบียบวนิ ัยในตนเอง
ข. การสรา้ งองคก์ รให้มคี วามสามคั คีใหเ้ กิดขึ้น
ค. การเปน็ ผมู้ ีความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์*
ง. การมีจิตสาธารณะ

การสรา้ งสรรค์ 18) จากการศึกษาคุณลักษณะของทกั ษะเชิงนวัตกรรม ผใู้ นนำหลักคุณ
พัฒนาองค์กรได้มากทีส่ ดุ
ก. ศกั ดส์ ทิ ธ์ิ บริหารบรษิ ทั โดยแบง่ งานให้เหมาะสมต่อห
ข. ภานุพงษ์ จดั การรา้ นคา้ ของตนเอง โดยการแสดงหา
ค. คมสนั ต์ ช่วยเพอ่ื นรว่ มงานสรปุ งาน
ง. สมพร มาทำงานก่อนเวลา และได้รับคำชมจากหวั หน

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้เก่ยี วกับแนวการพฒั นาของทกั ษะเชิงนวตั กรรม

ความเห็นของ 307
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงแกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

กษะเชงิ นวตั กรรม
ของตนเองให้ดยี ่งิ ขน้ึ *
ำการตลาดเชิงรกุ
ำงาน
นคุณลกั ษณะสำคัญที่

ณลกั ษณะน้ันมาใชใ้ นการ
หน้าท่ี
าความรเู้ พอ่ื พฒั นาสินค้า*
น้าเสมอ

วัตถุประสงค์การ ข้อทดสอบ
เรยี นรู้

ความจำ 19) จากคำกลา่ วท่ีว่า “ในทกุ วนั นต้ี ้องมีการสร้างสรรคส์ ิง่ ใหม่ๆ ดา้ นน
ความเขา้ ใจ ย่งิ หากบริษัทอยากจะเปน็ ผนู้ ำดา้ นอุตสาหกรรม” จดั เปน็ ทักษะใน
การประยุกต์ ก. ทกั ษะการมสี ว่ นรว่ ม
การวิเคราะห์ ข. ทักษะความรว่ มมือ
การประเมิน ค. ทักษะเชิงนวัตกรรม*
ง. ทกั ษะการพ่งึ พาตนเอง

20) แนวทางการพฒั นาทกั ษะเชงิ นวตั กรรม ขอใดสำคัญทสี่ ุด
ก. การสร้างนวตั กรรมทท่ี นั สมยั
ข. การกำหนดเปา้ หมายและกลยุทธ์ในการเข้าถงึ นวตั ก
ค. การสรา้ งความสัมพันธ์ทดี่ ใี นองค์กร
ง. การค้นหาแรงบนั ดาลใจจากอตุ สาหกรรมอน่ื ๆ

21) แนวทางการพัฒนาทักษะเชงิ นวตั กรรม สามารถนำไปประยกุ ต์ใช
อยา่ งไร
ก. นำไปพฒั นาทกั ษะด้านนวตั กรรมคอื การสร้างนวตั กร
ข. นำไปกำหนดเป้าหมายและกลยทุ ธใ์ นการเขา้ ถงึ นวัต
ค. นำไปพัฒนานวัตกรรมให้ทันตอ่ ปญั หา และพัฒนาอย
ง. การพัฒนาทกั ษะด้านนวตั กรรมการเขา้ ในผลิตภณั ฑ์

22) จงวิเคราะหบ์ ทความนี้ “ค้นหาผ้คู นที่มีพลงั อยู่เสมอ เพราะพวกเข
ปญั หาสำคญั ทตี่ อ้ งการแกไ้ ข” ตรงกบั แนวทางการพฒั นาทักษะเช
ก. เตรยี มจติ ใจให้พรอ้ มสำหรับโอกาส
ข. คน้ หาบุคคลสำคญั และปญั หาท่สี ำคญั จะสามารถพัฒ
ค. ทำงานแบบเปดิ ใจตลอดเวลา คณุ จะรูเ้ องวา่ ส่ิงใดสำค
ง. รวู้ ่าเม่ือไหรต่ ้องทำงานเปน็ ระบบ และรูว้ า่ เม่อื ไหรต่ อ้

23) จากการศึกษาแนวทางการพฒั นา ตามทัศนะ ข้อใดจดั เปน็ แนวทา
เหน็ ถงึ ทักษะเชงิ นวัตกรรม
ก. ความคดิ สร้างสรรค์คอื สง่ิ ท่เี กี่ยวกบั การคน้ หาวิธีการ
ข. เตรียมจิตใจใหพ้ ร้อมสำหรับโอกาส
ค. ทำงานแบบเปดิ ใจตลอดเวลา คุณจะรเู้ องว่าสงิ่ ใดสำค

ความเหน็ ของ 308
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรับปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

นวตั กรรม โดยเฉพาะอย่าง
นดา้ นใด

กรรม*

ชใ้ นสถานการณ์ปจั จบุ ันได้

รรมทท่ี ันสมยั
ตกรรม
ยเู่ ปน็ ประจำ*

และพฒั นาใหด้ ยี งิ่ ข้นึ
ขาสามารถชว่ ยคุณคน้ หา
ชิงนวัตกรรม ขอ้ ใด

ฒนางานได้เสมอ *
คัญ
องทำงานแบบโดดเดยี่ ว
างการพฒั นาทแี่ สดงให้

รใหม่ๆในการแกป้ ัญหา*

คัญ

วตั ถปุ ระสงค์การ ข้อทดสอบ
เรียนรู้

ง. คน้ หาบคุ คลสำคญั และปัญหาทสี่ ำคัญ จดจ่อความคดิ

การสรา้ งสรรค์ 24) ข้อใดจัดอยูใ่ นการนำ “การกระตุ้นทมี งาน” ไปใช้ได้ถกู ตอ้ งทส่ี ดุ

ก. แดง ชอบทำงานแบบเปิดใจตลอดเวลา

ข. เขียว ชอบค้นหาบุคคลสำคญั และปญั หาท่ีสำคัญ จด

พวกเขา

ค. ส้ม เป็นคนมีความคดิ สร้างสรรค์คอื ส่งิ ทเ่ี ก่ียวกับการ

แก้ปัญหา

ง. กล้วย ชอบการเสรมิ แรงทางบวกใหแ้ กส่ มาชกิ เช่นขอ

ทีมเสมอ*

วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้เก่ียวกับขน้ั ตอนการพัฒนาของทกั ษะเชิงนวตั กรรม

ความจำ 25) ข้อใดแสดงออกถงึ ข้นั ตอนการพฒั นาทักษะเชงิ นวตั กรรมมากทส่ี ดุ

ก. การสรา้ งความคดิ และการระดมความคดิ *

ข. การค้นพบ

ค. การทำใหเ้ ป็นธรุ กิจ

ง. การรจู้ ักตลาด หาลกู คา้ และดูคแู่ ขง่ ทางธรุ กิจ

ความเขา้ ใจ 26) จากความสำคัญของขั้นตอนการพัฒนาทกั ษะเชงิ นวตั กรรม ข้อใด

ก. การสร้างความคดิ และการระดมความคิด

ข. รูจ้ กั ตลาด หาลูกค้าและดคู ู่แข่งทางธรุ กจิ

ค. การค้นพบ การพัฒนา และการนำไปใช้*

ง. การทำใหเ้ ปน็ ธุรกิจ

การประยุกต์ 27) หากจะนำขั้นตอนการพัฒนาทักษะเชิงนวตั กรรม ไปใช้พัฒนา

วสิ ยั ทัศน์ ควรนำข้ันตอนใดไปใช้

ก. สรา้ งโอกาสให้ทำงานแบบกลมุ่

ข. สร้างโอกาสใหน้ กั เรียนได้กำหนดแนวคดิ ดว้ ยตนเอง*

ค. สรา้ งโอกาสให้นกั เรียนได้พบเพ่ือนในโรงเรียนอยเู่ สม

ง. สร้างความขยันในการอา่ นหนังสอื และค้นควา้ ขอ้ มูล

การวิเคราะห์ 28) จากการศกึ ษาขั้นตอนการพฒั นาทกั ษะเชงิ นวัตกรรม บุคคลใดไ

ใชไ้ ดเ้ หมาะสมทส่ี ดุ

ความเห็นของ 309
ผู้ทรงคณุ วุฒิ
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

ดของคณุ ไว้ท่พี วกเขา

ดจ่อความคดิ ของคณุ ไวท้ ่ี
รคน้ หาวิธกี ารใหม่ๆในการ
องรางวัล โบนัส ใหก้ บั ลกู



ดจัดสำคัญทส่ี ุด

านักเรยี นให้เปน็ ผู้นำทีม่ ี

*
มอ
ได้นำข้ันตอนการพฒั นาไป

วตั ถุประสงค์การ ข้อทดสอบ
เรียนรู้

ก. สมยศ กำหนดใหบ้ ุคลากรประจำงานท่ีตนเองไม่เคยท

ข. ย่ิงยศ สร้างความสามัคคีในองคก์ รโดยการจัดเลีย้ งใ

ค. แทนไทย กำหนดวสิ ัยทศั น์ขององคก์ รท่ีแนช่ ดั พร้อม

ชดั เจน*

ง. มุกดา ออกศึกษาดูงานตา่ งประเทศเป็นประจำ

การประเมิน 29) จากการศกึ ษาขน้ั ตอนการพัฒนา คำกลา่ วท่ีวา่ “ไม่วา่ นวตั กรรมจะ

การลงทุนสั้นๆ รวดเร็ววอ่ งไว หรือระยะยาว หรือการลงทนุ ครั้งใหญ

ของการแก้ไขปัญหา” หมายความตรงกบั ขอ้ ใด

ก. จัดลำดับความสำคญั ของโอกาส

ข. มองหาโอกาสสำหรับสร้างสรรค์นวัตกรรม*

ค. ทดสอบนวตั กรรมตา่ ง ๆ

ง. สรา้ งการสนับสนนุ ใหน้ วตั กรรม

การสรา้ งสรรค์ 30) บคุ คลใดมีทักษะเชงิ นวัตกรรมมากท่สี ุด

ก. เจม สร้างผลงานโดยจติ นาการ ออกมาในรูปแบบภา

ข. สมชาย สอ่ื อารมณ์ออกมาโดยการแสดง

ค. สมหมาย การเขา้ ร่วมประชมุ ประจำเดอื นเพอ่ื สรุปงา

ง. พงษเ์ ทพ หาความร้ใู หม่ และพฒั นาผลิตภัฑ์ของตัวเอ

วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้เกี่ยวกับการประเมินผลของทกั ษะเชงิ นวตั กรรม

ความจำ 31) ขอ้ ใดจดั อยู่ในการประเมนิ ผลของทกั ษะเชิงนวัตกรรม

ก. การสรา้ งผลงานโดยจติ นาการ ออกมาในรปู แบบภาพ

ข. การสือ่ อารมณ์ออกมาโดยการแสดง

ค. ระดมความคิดและหาโอกาสในการชว่ ยให้ผเู้ รียนไดพ้

รบั มือกับสถานการณต์ ่าง ๆการพฒั นาความคดิ ที่ดที

สมบรู ณแ์ บบมากย่งิ ขนึ้ *

ง. การเขา้ รว่ มประชมุ ประจำเดือนเพื่อสรุปงานทีไ่ ดร้ ับม

ความเข้าใจ 32) จากข้อความทว่ี ่า “ศกั ยภาพในการทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื (Capacity

ถูกตอ้ งที่สดุ

ก. การสง่ เสรมิ ความรจู้ ากทอ้ งถ่นิ เพื่อนำมาใชใ้ นการพจิ

ความเหน็ ของ 310
ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

ทำมากอ่ น

ใหแ้ ก่สมาชิกทุกสปั ดาห์
มทั้งศกึ ษาการตลาดอยา่ ง

ะอยูใ่ นรูปแบบใด -รปู แบบ
ญ่- นวตั กรรมเป็นพ้นื ฐาน

าพวาด

านที่ไดร้ ับมอบหมาย
องอยู่เสมอ*

พวาด

พฒั นาความคดิ และการ
ท่ีสดุ ใหเ้ ป็นแนวคดิ ที่

มอบหมาย
To Collaborate)” ได้

จารณาตดั สินใจ

วัตถุประสงค์การ ขอ้ ทดสอบ
เรยี นรู้

การประยุกต์ ข. การมีทกั ษะในการทำความเขา้ ใจและแก้ไขปญั หา
ค. การมคี วามรว่ มมือกนั ภายในกลุ่ม*
การวิเคราะห์ ง. การมสี ภาพแวดล้อมทสี่ ่งเสริมให้เกดิ การเรยี นรแู้ ละท
การประเมิน
การสรา้ งสรรค์ 33) นายสมยศ เปน็ ได้แถลงนโยบาย และกำหนดวสิ ัยทศั น์ เป้าหมายใ
ทราบกอ่ นเข้าปฏบิ ัตงิ าน อยากทราบว่า นายสมยศ ปฏิบตั ติ รงตา
ก. ยอมรับความเสีย่ งได้ – เป็นคนทเ่ี พ่อื นร่วมงานสามา
ได้ การมที กั ษะในการทำความเข้าใจและแก้ไขปญั หา
ข. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ – เปน็ คนทีช่ อบคิดวา่ จะทำอย
พฒั นาขนึ้ การมีสภาพแวดลอ้ มทีส่ ง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเร
ค. ความเป็นอิสระ – เปน็ คนทีม่ ีเวลาให้กบั สง่ิ ใหม่ๆอยูเ่
ง. เปน็ คนชอบสรา้ งความสนใจในหม่คู ณะ

34) ผใู้ ดนำการประเมนิ ทักษะเชงิ นวตั กรรมไปประยกุ ต์ใชไ้ ดเ้ หมาะสม
ก. แดง ทำงานโดยไมม่ อบหมายงานใหส้ มาชิกในองคก์ ร
ข. ดำ สร้างผลงานโดยการลอกความคิดลกู น้องในทมี งา
ค. เขียว แบ่งงานเป็นทีม และรว่ มประชมุ ปรกึ ษางานอย
ง. สม้ ชอบสรา้ งผลงานโดยไมส่ นใจสมาชิกในองคก์ ร

35) ในการทเ่ี ราจะประเมนิ วา่ นกั เรยี นมีทักษะเชิงนวัตกรรม ทา่ นจ
สมบูรณ์มากท่ีสดุ
ก. พฤติกรรมในการทำความเข้าใจและแก้ไขปญั หา*
ข. พฤตกิ รรมในการเจรจากับเพ่ือน
ค. พฤตกิ รรมในการอ่านหนังสือและคน้ ควา้ ข้อมูล
ง. พฤตกิ รรมในการอยรู่ ว่ มกันในชั้นเรยี น

36) หากทา่ นตอ้ งการทราบพฤตกิ รรมของนักเรียนว่า มที กั ษะเชิงน
ดำเนินการเช่นใด
ก. สำรวจรายชอื่ เมอ่ื เขา้ สอนในชนั้ เรยี นเปน็ ประจำ
ข. สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในดา้ น การแสดงความ
ค. มอบงานใหแ้ ก่นักเรยี นตามความสามารถ
ง. มอบการบ้านใหเ้ สมอเมื่อเขา้ สอน

ความเหน็ ของ 311
ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงแกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

ทดลอง
ให้แก่สมาชิกในองคก์ ร
ามข้อใด
ารถกระตุ้นใหเ้ กดิ ความคดิ

ย่างไรใหง้ านทีท่ ำอยมู่ กี าร
รยี นรู้และทดลอง*
เสมอ

มทสี่ ดุ
รไดร้ ว่ มทำงานดว้ ย
าน
ย่างสมำ่ เสมอ*

จะประเมนิ จากส่งิ ใดจงึ จะ

นวตั กรรมหรือไม่ ควร
มคดิ เห็นและแกป้ ัญหา*

312

ภาคผนวก ซ

แบบทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครูท่เี ป็น Google Form

1. เข้าทำแบบทดสอบ โดยการคลกิ ลิง้ ค์ https://forms.gle/6QUgNEAmLFx5XvEH8
หรอื สแกน QR CODE

รูปแบบ Google Form

313

ภาคผนวก ฌ

หนังสอื จากบัณฑติ วิทยาลยั ถงึ โรงเรยี น
เพ่อื ขออนญุ าตทดลองใช้แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูกบั ครใู นโรงเรยี น

314

ภาคผนวก ญ

รายชื่อและสถานภาพของผทู้ รงคณุ วฒุ ิในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถปุ ระสงค์
หรอื ความคาดหวงั จากการพฒั นา ในแบบประเมนิ ตนเองของนกั เรียนซึ่งเป็นกลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนา

ชอ่ื -ชอ่ื สกลุ คณุ วฒุ ิ สถานท่ีทำงาน
ดร.จตั พุ ร แปวไธสง
กศ.ม.(จิตวิทยาการศกึ ษา) ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการพิเศษ สำนักงาน
มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม เขตพ้ืนการศกึ ษามธั ยมศึกษาบุรรี มั ย์
ปร.ด.(วิจัย วัดผลและสถติ ิ
การศึกษา) มหาวทิ ยาลัยบูรพา

ดร.บรรพต วงศท์ องเจริญ กศ.ม.(เทคโนโลยกี ารศกึ ษา) อาจารยป์ ระจำหลักสูตร
มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ค.ม.(เทคโนโลยีการศกึ ษาและคอมพิวเตอร์
ดร.ศุภกาญจน์ เสมียนรมั ย์ ศษ.ด.(การบริหารการศึกษา) ศกึ ษา)
ดร. ภานุวัชร ปรุ ณะศิริ มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกุล รองคณบดฝี ่ายวิจยั บริการวชิ าการและ
ดร.ธนพล อาจจฬุ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะครุ-ศาสตร์
ค.ม.(หลักสตู รและการสอน) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบรุ ีรัมย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรมั ย์ ครวู ทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ
ปร.ด.(การบรหิ ารการศกึ ษา) โรงเรียนเทศบาล 2
มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ ีรัมย์ “อสิ าณธีรวิทยาคาร” จังหวดั บรุ รี มั ย์
ปร.ด.(วิจัย วดั ผลและสถติ ิ
การศึกษา) มหาวิทยาลัยบรู พา ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพเิ ศษ สำนกั งาน
ปร.ด.(การบริหารการศกึ ษา) เขตพื้นการศึกษามธั ยมศึกษาบรุ รี ัมย์
มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลติ กลุ ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรยี นตมู
ใหญ่วิทยา จงั หวดั บุรีรัมย์

315

ภาคผนวก ฎ
หนงั สอื ของบณั ฑติ วิทยาลยั เพอื่ ขอความร่วมมอื จากผู้ทรงคณุ วฒุ ิตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถาม

กับวตั ถปุ ระสงคก์ ารพัฒนาในแบบประเมนิ ทักษะเชงิ นวตั กรรมของนักเรยี น


Click to View FlipBook Version