The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-10-17 09:30:05

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

132

ระยะที่ 2 การทดลองตามโครงการที่ 2 : โครงการครนู ำผลการเรียนรู้สู่การพฒั นานักเรียน
เป็นระยะของการ “นำความร้สู ่กู ารปฏบิ ัตขิ องครูทเ่ี ปน็ กลุม่ ทดลอง ตามโครงการที่ 2” โดย

ในการปฏบิ ัตินั้น เป็นการกำหนดให้ครทู เี่ ปน็ กลุ่มทดลองรว่ มกันนำความรู้ที่ไดจ้ ากการพัฒนาตนเองจาก
คู่มือตามโครงการท่ี 1 ไปใช้พัฒนานักเรียนใหเ้ กิดผลการพัฒนาตามที่คาดหวัง มีขั้นตอนการดำเนินงาน
ดงั น้ี

ตารางท่ี 3.4 แสดงกิจกรรมและระยะเวลาในโครงการครูนำผลการเรยี นรู้สู่การพัฒนานกั เรียน

กจิ กรรม ระยะเวลา
1-2 วัน
1. เตรยี มการ และ ประเมนิ ทักษะเชงิ นวตั กรรมของนกั เรยี นก่อนการทดลอง (Pre-
Test) 2 เดอื น
1-2 วัน
- ชแี้ จงการดำเนินงานวิจัยในระยะที่ 2 ให้กบั ครูทเี่ ปน็ กลมุ่ ทดลอง
- ใช้แบบประเมนิ ทกั ษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรยี นกับนกั เรยี นทเ่ี ปน็ กลุ่มเป้าหมายใน 1-2 วนั

การพัฒนา โดยใชแ้ บบประเมินทผ่ี วู้ จิ ยั สร้างขน้ึ ถอื เปน็ การทดสอบก่อนการทดลอง
(Pre-Test)

2. ครูทีเ่ ปน็ กลุม่ ทดลองนำความรสู้ ูก่ ารพฒั นานกั เรียน โดยดำเนนิ การตามคำชีแ้ จงใน
คู่มือเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารในโครงการท่ี 2 ใหก้ ารปฏบิ ัตเิ ป็นไปโดยปราศจากการแทรกแซง
จากผูว้ จิ ยั หรือบคุ คลอืน่

3. ครทู ี่เป็นกลุ่มทดลองตรวจสอบเพือ่ หาข้อบกพรอ่ งของคูม่ อื และ ประเมนิ ทักษะ
เชิงนวตั กรรมของนกั เรยี นหลังการพฒั นา (Post-Test)

- ครูที่เป็นกลุม่ ทดลองร่วมกันตรวจสอบหาข้อบกพร่องเพื่อการปรบั ปรุงแก้ไขค่มู ือใน
โครงการที่ 2

- ใช้แบบประเมินทกั ษะเชงิ นวัตกรรมของเรียนกับนักเรยี นทเี่ ป็นกลุ่มเป้าหมายในการ
พฒั นา ถอื เปน็ การทดสอบหลงั การทดลอง (Post-Test)

4. เปรยี บเทียบผลการประเมินทักษะเชิงนวตั กรรมของนักเรยี น ก่อนและหลังการ
ทดลอง วิเคราะหเ์ ปรียบเทียบคะแนนจากการประเมินทักษะเชงิ นวัตกรรมของ
ผเู้ รยี นที่ทำการประเมนิ ก่อนและหลงั การทดลองในระยะที่ 2 โดยใช้คา่ สถิตทิ ดสอบที
(t-test) เพอื่ ประเมนิ ว่าผลการดำเนินการระยะท่ี 2 ไดส้ ง่ ผลใหน้ กั เรียนมีทกั ษะท่ี
คาดหวังหลงั การทดลองสงู กวา่ ก่อนการทดลองอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิตหิ รอื ไม่

การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของครูตามโครงการที่ 1 และผลการ

ประเมินทกั ษะเชิงนวตั กรรมของนักเรียนตามโครงการที่ 2

ใช้การทดสอบที (t-test) ซึ่งเป็นเทคนิคการทดสอบสมมติฐานชนิดหนึ่งที่นักวิจัยนิยมใช้การ
ทดสอบ โดยวธิ กี ารนใี้ ช้ในกรณีขอ้ มลู มีจำนวนน้อย (n < 30) ผู้ทค่ี ้นพบการแจกแจงของ t มีช่ือว่า W.S.

133

Gosset ในการใช้การทดสอบทกี รณีกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2 กลุ่มนน้ั จำแนกออกเป็น 2 ประเภท คอื 1) การใช้ t-
test แบบเป็นอสิ ระจากกัน (Independent) เปน็ สถติ ทีใ่ ชเ้ ปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ระหว่างกลุ่มตัวอย่างสอง
กลมุ่ ท่เี ป็นอิสระจากกัน ข้อมูลท่รี วบรวมไดอ้ ยใู่ นระดบั อนั ตรภาคหรืออตั ราสว่ น ใชส้ ถิติการทดสอบคา่ t มี
ชื่อเฉพาะว่า t - test for Independent Samples 2) การใช้ t- test แบบไม่เป็นอิสระจากกัน
(Dependent) เป็นสถติ ทใ่ี ช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหวา่ งกล่มุ ตัวอย่างสองกลมุ่ ทไี่ ม่เป็นอิสระจากกนั และ
กลมุ่ ตวั อยา่ งกลุ่มเดยี ว ใชส้ ถิตกิ ารทดสอบค่า t มีช่ือเฉพาะว่า t - test for Dependent Samples ซึ่งมัก
พบในการวจิ ัยเชิงทดลองทต่ี ้องการเปรียบเทยี บผลระหวา่ งก่อนทดลองกบั หลังทดลองหรือเปรยี บเทียบผล
ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ได้จากการจับคู่คุณลักษณะที่เท่าเทียมกัน ( Thesis Thailand,
2020)

ในงานวิจัยนี้ ใช้ t- test แบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent) เนื่องจากเป็นการวิจัยเชงิ
ทดลองที่ต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลอง โดยมีข้อตกลงเบื้องต้น ดังนี้ 1)
ขอ้ มลู อยูใ่ นมาตรอนั ตรภาค (Interval Scale) หรือมาตราอัตราสว่ น (Ratio Scale) 2) กลุ่มตวั อย่างเป็น
กลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มได้จากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติ 3) ค่าของตัวแปรตามแต่ละหน่วยเปน็
อสิ ระต่อกนั และ 4) ไมท่ ราบคา่ ความแปรปรวนของประชากร (ศริ ิชยั กาญจนวาสี, ทวีวฒั น์ ปิตยานนท์
และ ดิเรก ศรสี โุ ข, 2551) มีสตู รในการคำนวณ ดังนี้

t = ……. ∑D………

N∑D2 – (∑D)2
N-1

∑D หมายถงึ ผลรวมของความแตกต่างระหว่างคะแนนกอ่ นและหลงั การพฒั นา
∑D2 หมายถึง ผลรวมความแตกต่างของคะแนนก่อนและหลงั การพฒั นายกกำลงั สอง
N หมายถงึ จำนวนกลมุ่ ทดลองที่ไดร้ บั การพฒั นาทง้ั หมด

3.5 ข้ันตอนที่ 5 การเขยี นรายงานผลการวิจยั และการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัย

เขียนและนำเสนอรายงานผลการวิจัยในรูปแบบอิงแนวคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Approach)
แสดงหลักฐานประกอบท้ังขอ้ มลู สถิติ และเอกสาร ที่ผู้ร่วมโปรแกรมและผ้เู กย่ี วขอ้ งไดร้ ่วมกันปฏิบัติ ใช้
วิธีการสกัดความรู้และประสบการณ์จากการสะท้อนผล พร้อมทั้งบันทึกรายละเอียดขั้นตอนการ
ปฏิบตั ิงาน ผลการปฏิบัตงิ าน และความรูใ้ หมท่ ่เี กิดข้ึนระหวา่ งการปฏบิ ัติงาน เพ่อื เป็นข้อเสนอแนะในการ
ปรบั ปรงุ โปรแกรมและเพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานให้บรรลเุ ปา้ หมาย ดงั นน้ั การนำเสนอผลการวจิ ยั จงึ มลี กั ษณะ
เป็นการพรรณนาหรือบรรยายเชิงวพิ ากษ์ประกอบกบั ค่าสถิตทิ ีเ่ กี่ยวข้อง ในหัวข้อต่างๆ ดงั น้ี

หวั ขอ้ ที่ 1 ผลการจดั ทำคมู่ อื ประกอบโครงการ
หวั ข้อท่ี 2 ผลการตรวจสอบคุณภาพคมู่ อื และการปรบั ปรุงแก้ไข
หัวข้อท่ี 3 ผลการสรา้ งเครื่องมอื เพ่ือการทดลองในภาคสนาม
หัวขอ้ ที่ 4 ผลการทดลองในภาคสนาม

134

สำหรับการเผยแพรผ่ ลงานวิจัย ผู้วิจัยดำเนนิ การโดยการตพี มิ พ์ในวารสารตามเงอ่ื นไขการสำเร็จ
การศกึ ษา และหากมีโอกาสจะนำเสนอผลงานวจิ ัยในการสมั มนาวชิ าการ และการจดั พมิ พ์คู่มอื ท่ใี ชใ้ นการ

วิจัยเพื่อการเผยแพร่

3.6 แผนดำเนนิ การวิจยั โดยภาพรวม ระยะเวลา

กิจกรรม 2 เดือน
ภาคเรียนท่ี 1 1 เดือน
1 เดือน
1. จดั ทำคูม่ อื ประกอบโครงการ
2. ตรวจสอบคุณภาพคมู่ ือและการปรบั ปรงุ แก้ไข 1 เดือน
3. สรา้ งเคร่ืองมือเพือ่ การทดลองในภาคสนาม 2-3 เดือน

ภาคเรยี นท่ี 2
1. การทดลองในภาคสนามระยะท่ี 1 โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนร้ขู องครู

2. การทดลองในภาคสนามระยะที่ 2 โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนา
นกั เรยี น

บทที่ 4
ผลการดำเนินการวิจัยและการวิเคราะหข์ ้อมลู

การวิจยั เรื่อง “โปรแกรมออนไลน์ออนไลน์เพือ่ พัฒนาครูสู่การเสริมสรา้ งทักษะเชิงนวัตกรรม
ของนกั เรียน”(Online Program to Develop Teachers to Enhance Innovation Skills of Students
) นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรม ออนไลน์ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” ที่
ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาเพ่ือการเรยี นรู้ของครู และโครงการครนู ำผลการ
เรยี นรู่สกู่ ารพฒั นาทักษะเชิงนวัตกรรม ใหก้ ับนักเรียน และไดก้ ำหนดสมมุติฐานการวจิ ยั ดงั นี้ 1) ครูมีผล
การทดสอบหลงั การทดลองเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2) ครูมีผลการเรียนรูห้ ลังการทดลองสูง
กว่ากอ่ นการทดลองอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ และ 3) นักเรียนมีผลการประเมนิ ทักษะเชิงนวตั กรรม หลัง
การทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การวิจัยดังกล่าว
ผ้วู ิจัยได้ดำเนนิ การวิจัยตามขัน้ ตอนต่าง ๆ ดงั นีค้ ือ (1) การจัดทำคมู่ อื ประกอบโครงการ (2) การตรวจสอบ
คุณภาพคู่มือและการปรับปรุงแก้ไข (3) การสร้างเครื่องมือเพื่อใช้ในการทดลองในภาคสนาม (4) การ
ทดลองในภาคสนาม แล้วนำผลการดำเนินการวิจัยแตล่ ะขัน้ ตอนมาเขียนรายงานการวจิ ยั ดังนี้

4.1 ขน้ั ตอนที่ 1 ผลการจัดทำคมู่ ือประกอบโครงการ
ผลจากการศึกษาวรรณกรรมทีเ่ กี่ยวข้องในบทที่ 2 ผู้วิจัยได้กำหนดกรอบแนวคิดเพื่อการวิจัย

ของโปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน ที่
ประกอบดว้ ย 2 โครงการ 1) โครงการพัฒนาเพอื่ การเรยี นรู้ของครูเกย่ี วกบั การพัฒนาทักษะเชงิ นวตั กรรม
2) โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมให้กับนักเรียน แต่ละโครงการมีค่มู ือ
ประกอบดว้ ย มผี ลการดำเนนิ งาน ดงั น้ี

4.1.1 ผลการจัดทำคมู่ อื ประกอบโครงการท่ี 1 คอื โครงการพฒั นาเพอื่ การเรยี นรู้ของครู
เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม ประกอบด้วยคู่มอื เพื่อการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning)
แบบออนไลน์ จำนวน 6 ชุด คอื

4.1.1.1 คมู่ อื เพอ่ื การเรียนรู้เกี่ยวกับนยิ ามของทักษะเชงิ นวตั กรรม
4.1.1.2 คมู่ อื เพือ่ การเรยี นร้เู กี่ยวกับความสำคัญของทักษะเชงิ นวัตกรรม
4.1.1.3 คมู่ อื เพ่อื การเรียนร้เู ก่ยี วกบั ลกั ษณะท่ีแสดงถึงทักษะเชิงนวัตกรรม
4.1.1.4 คูม่ ือเพอ่ื การเรยี นรู้เก่ียวกบั แนวการพฒั นาทกั ษะเชิงนวตั กรรม
4.1.1.5 คมู่ อื เพื่อการเรียนรู้เกยี่ วกบั ขนั้ ตอนการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม
4.1.1.6 คู่มือเพอื่ การเรียนรู้เก่ียวกบั การประเมนิ ทกั ษะเชงิ นวตั กรรม
คู่มือแต่ละชุดมีลักษณะเป็นชุดของข้อมูลเพื่อการพัฒนาครูผู้สอนด้วยการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-

Learning) เปน็ คมู่ ือประกอบโครงการท่ีคำนึงถึงจิตวทิ ยาการเรียนรขู้ องผู้ใหญ่ (Adult Learning) ท่ีเห็น

136

ว่าผู้ใหญ่ (ในงานวิจัยน้ี คือ ครูผู้สอน) การเรยี นรู้จะมุ่งไปที่ชีวติ ประจำวัน (Life-Centered) หรือเน้นที่
งานหรือการแก้ปัญหา (Task-Centered) นั่นคือผู้ใหญ่จะยอมรับและสนใจกิจกรรมการเรียนรู้ของเขา
หากเขาเชือ่ และเห็นว่าการเรียนรู้นั้น ๆ จะช่วยใหเ้ ขาทำงานได้ดขี ึ้นหรือช่วยแก้ปัญหาในชวี ิตประจำวนั
ของเขา การจัดหลักสูตรเพื่อการเรียนการสอน ผู้ใหญ่จึงควรจะอาศัยสถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัวของเขา
และเป็นการเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ทักษะซึ่งมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงของเขาด้วย
(Wisdom Max Center Company Limited, 2015) โดยมีองค์ประกอบของคู่มือดังนี้ ชื่อของคู่มือ
คำแนะนำการใช้คู่มือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่คาดหวังจากคู่มือ เนื้อหาที่นำเสนอในรูปแบบเพื่อการ
อบรมด้วยตนเอง (Self-Training) (แบ่งเนื้อหาเป็นช่วง ๆ แต่ละช่วงมีกิจกรรมให้ทบทวน เช่น การตั้ง
คำถามใหต้ อบ การให้ระบุขอ้ สงั เกต การใหร้ ะบคุ ำแนะนำเพื่อการปรบั ปรุงแก้ไข เปน็ ต้น) แบบประเมนิ ผล
ตนเอง และรายชื่อเอกสารอ้างอิง สำหรับเนื้อหาในคู่มือแต่ละชุด เป็นผลจากการศึกษาเอกสารและ
งานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้องในบทท่ี 2 ดังน้ี

(1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับนิยามของทักษะเชิงนวัตกรรม นำเสนอทัศนะของ
Albuquerque (2013), Bellevue College (2019), Business (2018), Center for Management &
Orgenization Effectiveness (n.d.), Dwyer,J. (n.d.) , E-CSR (2017) , Skills You Need (n.d.) ,
Toolshero (n.d.) ,Vocabulary (n.d.) ,Wikipedia (2019)

(2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทักษะเชิงนวัตกรรม นำเสนอทัศนะของ
Boundless, (n.d), Cleverism (n.d), Henderson (2018) ,Kappe (2018) , Myllyla (2019) , Nolan
(2017) , Sokolova (2018)

(3) คู่มือเพือ่ การเรยี นรูเ้ ก่ียวกบั ลักษณะที่แสดงถงึ ทกั ษะเชิงนวตั กรรม นำเสนอทัศนะของ
Premuzic (2013), Rosales (2018), Zenger (2015)

(4) ค่มู อื เพอ่ื การเรยี นรู้เก่ียวกบั แนวทางการพัฒนาทักษะเชงิ นวัตกรรม นำเสนอทัศนะของ
Baiya (2018), Cherry (2019), Francisco (2018), Hengsberger (2018), Jonathan (2014), Kaye
(2018), Kim (2018), Myllyla (2018), Stack (2013)

(5) คู่มือเพือ่ การเรียนรู้เกีย่ วกับข้ันตอนการพฒั นาทกั ษะเชิงนวัตกรรม นำเสนอทัศนะของ
คอื Magazine Spring (2007), Landry (2017), Pisano (2020), Molloy (2019), Boutelle (2020)

(6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินการทักษะเชิงนวัตกรรม นำเสนอทัศนะของ
Bukidnon State University. (2018), Butter, and Beest (2017) และ Chell and Athayde (2009),
Research and Extension Unit, Food and Agriculture Organization of the United Nations
Rome. (2017)

ภาพแสดงปกของโปรแกรมออนไลน์และปกของคู่มือประกอบโครงการพฒั นาเพ่ือการเรยี นรู้
ของครเู กย่ี วกับการพฒั นาทักษะเชิงนวัตกรรมในภาพท่ี 4.1

137

ภาพที่ 4.1 แสดงปกของโปรแกรมออนไลน์และปกของคู่มือประกอบโครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้
ของครเู กยี่ วกับการพัฒนาทักษะเชิงนวตั กรรม

4.1.2 ผลการจัดทำคู่มือประกอบโครงการที่ 2 คือ โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การ
เสริมสรา้ งทักษะเชิงนวัตกรรมให้แกน่ กั เรยี น ประกอบด้วยคมู่ ือเพื่อการปฏบิ ัติจำนวน 1 ชุด คอื คมู่ อื เชงิ
ปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาผู้เรยี น คมู่ อื นเ้ี น้นการสรปุ เนือ้ หาเก่ยี วกบั ลกั ษณะหรอื คุณลักษณะทคี่ าดหวังจากการ
พฒั นา แนวทางการพัฒนา และขนั้ ตอนการพัฒนา และในตอนท้ายของคมู่ ือ มีแบบประเมินตนเอง (Self-
Assessment) สำหรบั ครใู ชใ้ นการประเมินตนเองดงั น้ี 1) มีการนำเอาแนวทางการพัฒนาท่ีนำเสนอไว้ใน
คู่มือไปสู่การปฏิบตั ิมากนอ้ ยเพยี งใด 6 ระดับ คือจากระดบั 0 คือ ไม่ได้นำไปปฏิบตั ิเลย ไปถึงการนำไป
ปฏิบัติในระดบั 1 – 2 – 3 – 4 – 5 ซ่งึ ระดบั 5 หมายถงึ ระดบั การนำไปปฏบิ ตั ิมากท่สี ุด 2) มกี ารกำหนด
ขนั้ ตอนการพัฒนาเปน็ แบบนำแนวคดิ ของใครไปปฏบิ ัติโดยตรง หรือไดบ้ ูรณาการแนวคิดของใครไปปฏบิ ัติ
บ้าง มีข้นั ตอนที่บูรณาการใหมเ่ ปน็ อย่างไร และ 3) มคี วามเหน็ จากครูในลักษณะท่ีเป็นการสะทอ้ นผลจาก
การปฏบิ ัติ อะไรบ้าง ดงั น้ี 1) โปรดระบถุ งึ ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลในทางบวกต่อการพฒั นาทกั ษะความเปน็ ทีมงานท่ี
มปี ระสิทธิผลแก่นกั เรียนของท่าน 2) โปรดระบุถึงปญั หาหรืออุปสรรคต่อการปฏบิ ัตงิ านในคร้ังนี้ของท่าน
3) โปรดระบุวิธีการที่ทา่ นนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาหรืออปุ สรรค 4) โปรดระบุ บทเรียนสำคัญที่ท่าน
ไดร้ ับจากการปฏิบัตงิ านในครงั้ นี้ และ 5) โปรดระบขุ ้อเสนอแนะแนวการพฒั นาทกั ษะความเป็นทีมงานท่ี
มปี ระสิทธิผลนกั เรียน ที่สำคญั ที่ท่านเหน็ วา่ จะทำใหก้ ารพฒั นาทักษะนใี้ ห้เกิดข้นึ กับนกั เรียนอย่างได้ผลดี

โปรดดูรายละเอียดของคู่มือประกอบใน 2 โครงการดังกล่าวจากท่ีนำเสนอไว้ในบทที่ 6 ของ
งานวิจัยน้ี และดูได้จากเวบ็ ไซต์ http://www.mbuisc.ac.th/phd/A_R&D%20Modules/KerkKiet.pdf
ดังภาพแสดงปกของคู่มือประกอบโครงการครูนำผลการเรียนรู้สูก่ ารเสรมิ สร้างทักษะการรู้ดิจิทัลให้แก่
นกั เรียนในภาพที่ 4.2

138

ภาพท่ี 4.2 แสดงปกของคมู่ ือประกอบโครงการครูนำผลการเรียนรู้สูก่ ารเสริมสร้างทักษะเชิงนวตั กรรม
ให้แกน่ ักเรียน

4.2 ขนั้ ตอนที่ 2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือและการปรับปรุงแก้ไข
ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มอื ท้ังสองโครงการ คอื (1) คมู่ ือเพ่ือการเรียนรูเ้ ก่ียวกับนิยาม

ของทักษะเชิงนวัตกรรม (2) คู่มือเพื่อการเรียนรูเ้ กี่ยวกับความสำคัญของทักษะเชิงนวัตกรรม (3) คู่มือ
เพื่อการเรียนรู้เกีย่ วกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะเชิงนวัตกรรม (4) คู่มือเพื่อการเรยี นรู้เกี่ยวกับแนวการ
พฒั นาทักษะเชิงนวตั กรรม (5) คู่มือเพ่ือการเรียนรูเ้ ก่ียวกบั ขน้ั ตอนการพัฒนาทกั ษะเชงิ นวัตกรรม และ
(6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะเชิงนวัตกรรม ในโครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การ
เสรมิ สร้างทกั ษะเชงิ นวตั กรรมให้แก่นกั เรยี น และ (1) ค่มู อื เชิงปฏบิ ัติการเพ่ือพัฒนาผู้เรยี น ในโครงการครู
นำผลการเรยี นรู้สกู่ ารพฒั นานกั เรยี น 2 ระยะ มีดังนี้

4.2.1 ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มอื และการปรับปรุงแก้ไขระยะท่ี 1
การตรวจสอบภาคสนามเบอ้ื งต้นและการปรบั ปรงุ แก้ไข (Preliminary Field Checking and
Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ โดยการอภิปรายกลุ่ม
(Focused Group Discussion) โดย (1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นส่งคู่มือประกอบโครงการให้
กลุ่มเปา้ หมาย คือ ครูในโรงเรยี นประภัสสรวทิ ยา วัดศรนี วล จงั หวดั ขอนแก่น จำนวน 10 ราย (ดูรายช่ือ
ในภาคผนวก ก) วันท่ี 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ได้ศกึ ษาลว่ งหน้า 10 วัน (2) ผู้วิจยั ไปพบปะด้วย
ตวั เองกบั กลุ่มเปา้ หมาย (Face to Face) เพ่อื ให้ได้ขอ้ เสนอแนะที่จะเป็นประโยชนต์ อ่ การปรับปรุงแก้ไข
ในเบ้อื งตน้ ก่อนนำไปตรวจสอบและปรับปรงุ ครง้ั สำคญั ในระยะท่ี 2 ดังภาพประกอบ

139

ภาพท่ี 4.3 การตรวจสอบคุณภาพของคู่มือและการปรบั ปรุงแกไ้ ข ณ โรงเรียนประภสั สรวิทยา วัดศรี
นวล

ในการตรวจสอบ มีประเด็นดังนี้ 1) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดย
คำนงึ ถงึ ความถกู ตอ้ ง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนำไปใช้ 2) ขอ้ เสนอแนะเพื่อ
การปรบั ปรงุ แกไ้ ขด้านภาษา 3) ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรุงแกไ้ ขด้านรูปแบบการนำเสนอ 4) อ่นื ๆ มี
ผลการตรวจสอบดงั น้ี

1)การปรับปรงุ แกไ้ ขด้านเนอ้ื หา โดยคำนงึ ถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์
(Utility) ตอ่ การนำไปใช้ มีข้อเสนอแนะ ดังนี้

- เมือ่ อา่ นแล้วยังไมส่ ามารถจบั ใจความไดเ้ ทา่ ทีค่ วร เพราะเนื้อหายงั ไมก่ ระชับ
- มตี วั หนงั สือเยอะมากเกินไป ทำให้ผูอ้ า่ นหรอื ผทู้ ี่จะนำไปศึกษาขาดความสนใจในเนื้อหา
- มีเน้อื หาบางส่วนส้นั เกนิ ไป จนอ่านแล้วไมส่ ามารถเขา้ ใจความหมาย
- ในเน้อื หาแตล่ ะเรือ่ ง ทม่ี กี ารนำกระกวนการแก้ปัญหาจากนักวชิ าการตา่ งประเทศมา

นำเสนอไดด้ มี ากๆ
- ในบางเรอ่ื ง ควรปรับเนือ้ หาใชก้ ระชบั มากกว่านี้
2)การปรบั ปรุงแก้ไขดา้ นภาษา มีข้อเสนอแนะ ดงั นี้
- ควรปรับภาษาใหเ้ หมาะสมและอา่ นไดเ้ ขา้ ใจงา่ ยมากยงิ่ ข้ึน
- มีข้อความและเนอื้ หาหลายจุดพิมพ์ผดิ และขาดการปะติปะตอ่ เรยี งภาษาไม่ชัดเจน
- ใช้ภาษาที่ทันสมัย น่าอ่าน น่าสนใจ มีทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ มีคำอธิบายแต่ละ

ประเดน็ ไดด้ ี
- ใช้กระบวนการดา้ นภาษาเปน็ ขนั้ ตอน เปน็ ประเด็นทนี่ ่าสนใจ

140

- นำประเด็นกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการแกป้ ัญหา และหลักธรรมมานำเสนอเป็นถอย
คำ เรยี งรอย ตอ่ กนั ดีมากๆ

- มีการนำหลกั ธรรมทีเ่ ปน็ ภาษาบาลีมานำเสนอได้ดมี ากๆ แตอ่ ยากให้มาการแปลความหมาย
ประโยคบาลี ใหท้ ราบถึงความหมายจะดีมากๆ

3)การปรับปรุงแก้ไขดา้ นรูปแบบการนำเสนอ มีขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี
- การนำเสนอนา่ สนใจ มกี ารจัดรูปแบบของเนอื้ หาให้น่าสนใจ
- ควรมกี ารจัดทำคมู่ อื แตล่ ะชุดเป็น PowerPoint และอพั ลงเว็ปไซน์ หรือส่งเข้าในกลุม่
Group Messenger
- ในคู่มือทั้ง 6 ชุด มีเนื้อหาที่ดีมาก แต่การนำเสนอเนื้อหาจะเป็นรูปแบบเดียวกัน ยังดูไม่
ตนื่ เต้นเทา่ ทคี่ วร ควรทำเป็นบทเรยี นการ์ตูน ให้เข้าใจงา่ ยยิง่ ขน้ึ
- ถา้ มีลงิ ค์ท่เี ป็น YouTube เกี่ยวกบั กระบวนการนั้นๆ ท่นี กั วิชาการแตล่ ะคนได้นำเสนอ
มา จะดีมากๆ
- ควรมีภาพประกอบในแตล่ ะเรอ่ื งมากกวา่ น้ี จะทำให้ผู้อ่านเกิดความน่าสนใจ

4)อื่นๆ มีข้อเสนอแนะ ดังนี้
- จากการที่คณะผูร้ ว่ มวจิ ัยไดร้ ว่ มกนั ศึกษา พอจะสรปุ ได้วา่ เน้อื หามคี วามชดั เจน นกั วชิ าการ

แต่ละท่านทีน่ ำมาเสนอไว้ในทัง้ 6 คู่มือ มีประเด็นให้คิดดว้ ย มีแบบให้ทบทวนท้ายเรื่อง แต่ละเรื่องด้วย
ท้ังยังมแี บบทดสสอบ ท้ายคมู่ ือใหไ้ ดท้ ำเพ่อื จะไดร้ ้วู ่าหลังจากศึกษาชดุ คมู่ อื แล้ว มีความรู้ หรือได้ทำความ
เขา้ ใจมากนอ้ ยแค่ไหน ถอื ว่าคู่มอื มีประโยชน์อย่างย่งิ สำเร็จผู้ทนี่ ำไปศึกษา หรือปรับใชต้ ่อไป

4.2.2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของคมู่ ือและการปรับปรุงแก้ไขระยะท่ี 2
การตรวจสอบภาคสนามคร้งั สำคญั และการปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Main Field Testing And Revision)
เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ ภายหลังที่ผ่านการตรวจสอบและ
ปรับปรุงแก้ไขในระยะท่ี 1 แล้ว ด้วยวิธีการอภิปรายกลุ่ม (Focused Group Discussion) โดยวิธีการ
เชน่ เดียวกบั ระยะที่ 1 คอื (1) ผู้วิจยั ใช้เว็บไซต์ทส่ี รา้ งขึน้ ส่งคมู่ อื ประกอบโครงการใหก้ ลมุ่ เป้าหมาย คือ ครู
ในโรงเรยี นบาลีสาธิตศึกษา วดั เขตอุดม จำนวน 7 รปู /คน และโรงเรียนวัดโพธิสมภาร จำนวน 8 รูป/คน
(ดรู ายชอ่ื ในภาคผนวก ค ) ในวันที่ 19 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 29 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ.
2564 รวมจำนวน 15 ราย ได้ศึกษาล่วงหน้า 10 วัน (2) ผู้วิจัยไปพบปะด้วยตัวเองกับกลุ่มเป้าหมาย
(Face to Face) ในการอภิปรายกลุ่มเพื่อตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะที่จะเป็น
ประโยชนต์ อ่ การปรับปรุงแก้ไขในเบอื้ งตน้ กอ่ นนำไปใชก้ ับกลุ่มทดลองในภาคสนาม ซึ่งในการตรวจสอบ มี
ประเดน็ การตรวจสอบเชน่ เดียวกับระยะที่ 1 คือ 1) ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรงุ แก้ไขด้านเน้ือหา โดย
คำนงึ ถึงความถูกตอ้ ง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนำไปใช้ 2) ขอ้ เสนอแนะเพ่ือ
การปรบั ปรงุ แก้ไขด้านภาษา 3) ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แก้ไขด้านรปู แบบการนำเสนอ 4) อ่ืนๆ โดย
ใช้แบบตรวจสอบชุดเดียวกับชุดที่ใช้ในระยะที่ 1 ผลการตรวจสอบในแต่ละประเด็น มีข้อคิดเห็นและ
ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การปรบั ปรุงและแก้ไขในแต่ละด้าน ดังนี้

141

1)การปรับปรุงแกไ้ ขดา้ นเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถกู ตอ้ ง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์
(Utility) ต่อการนำไปใช้ มีข้อเสนอแนะ ดังน้ี
- ผู้ร่วมวิจัยทั้ง 15 คน ได้ร่วมกันศึกษาคู่มือทั้ง 6 ชุด ได้มีการระดมความคิด เพื่อหา

ขอ้ บกพรอ่ ง เพอื่ ใหผ้ ูว้ ิจยั ได้นำไปปรับปรงุ แก้ไขคู่มือทง้ั 6 ชดุ ใหด้ ีขน้ึ เพ่อื ทจี่ ะเปน็ ประโยชนต์ ่อไป แต่ละ
ท่านนำ ประเด็นกระบวนการแก้ปญั หามานำเสนอได้มาก ทำใหผ้ ้รู ่วมวจิ ยั เขา้ ถึงกระบวนการแกป้ ญั หาแต่
ละขั้นตอน แต่เนื้อหายังไม่กระชับเท่าที่ควร บางประเด็นมีคำอธิบายน้อยมาก บางประเด็นก็อธิบาย
เน้อื หาไวเ้ ยอะเกนิ ไป อาจทำให้คนท่จี ะศกึ ษาขาดแรงจูงใจ ควรปรับปรุงในสว่ นน้ี

2)การปรบั ปรุงแก้ไขดา้ นภาษา มีข้อเสนอแนะ ดงั นี้
- ด้านเนื้อหาในคูม่ อื มีการนำเนอื้ หาจากนกั วิชาการตา่ งประเทศมาแปลเป็นภาษาไทย ยังทำ

ให้การเรียงรอ้ ยถอยความหมายไม่ได้เท่าไร แต่สามารถอ่านได้เข้าใจ มีบางประเด็นอธิบายเนื้อ หรือให้
ความหมายของกระบวนการนั้นๆ สั้นเกนิ ไป บางขนั้ ตอนกม็ ีคำอธิบายยาว จนทำใหไ้ ม่อยากจะอ่าน แต่ก็
ลงตัว ถอื วา่ ผวู้ จิ ยั ได้นำเนอื้ หาส่วนน้ีมานำเสนอไดด้ ี ชดั เจน

3)การปรับปรงุ แก้ไขด้านรูปแบบการนำเสนอ มีขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี
- สำหรับรูปแบบการนำเสนอในแต่ละเรื่อง ในคู่มือนั้นทำไดม้ ากๆ มีรูปเล่ม หน้าปก คำนำ

สารบญั คำชแ้ี จ้ง วตั ถุประสงค์ เนื้อหาสาระจากนกั วิชาการ ประเด็นให้คดิ ถามเพ่อื ทบทวนความรู้ความ
เข้าใจของตนเอง สรุป และแบบฝกึ หัดท้ายเลม่ มลี ูกเล่นท้งั สีสัน และรูปภาพ ถอื ว่าเปน็ คมู่ ือทลี่ งตัวมากๆ
สมบรู ณ์แบบ แตท่ างคณะผู้รว่ มวจิ ัยขอแนะนำใหม้ กี ารทำเปน็ แผนภูมภิ าพ

4)อ่นื ๆ มีขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้
- ถ้าทำเป็นบทเรียนการ์ตูน หรือทำเป็นแบบเรียนออนไลน์ ทำเป็นประเด็นสั้นๆ ในแต่ละ

ข้นั ตอน แต่ละเร่อื งจะดีมากๆ

ภาพท่ี 4.4 การตรวจสอบคณุ ภาพของค่มู ือและการปรบั ปรุงแกไ้ ข ณ โรงเรยี นวัดโพธิสมภาร

142

ภาพที่ 4.5 การตรวจสอบคุณภาพของคู่มือและการปรับปรุงแก้ไข ณ โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา
วดั เขตอดุ ม

จากข้อเสนอแนะการปรับปรุงผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ ของคณะครูโรงเรียนบาลี
สาธิตศกึ ษา วดั เขตอดุ ม และ โรงเรยี นวดั โพธิสมภาร ผู้วิจัยไดน้ ำขอ้ เสนอแนะมาปรบั ปรุงในค่มู อื ดงั น้ี ดา้ น
การปรับปรุงแก้ไขดา้ นเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถกู ต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility)
ตอ่ การนำไปใช้ ผู้จวิ ัยไดป้ รับปรุงในสว่ นของเนอื้ หาความถูกตอ้ ง มีการตรวจสอบเน้ือหาในคูม่ อื บางสว่ นว่า
ขอ้ มลู ที่นำมาใช้การนำเสนอข้อมลู น้ันมปี ระโยชนต์ ่อการนำไปใช้ ดา้ นการปรบั ปรงุ แก้ไขด้านภาษา ผู้วิจัย
ได้มีการปรับปรุงสำนวนภาษาแปล และเรียบเรียงข้อความให้อ่านเข้าใจง่ายและกระชับมากขึ้น และ
ตรวจสอบคำให้ถูกต้อง ดา้ นการปรบั ปรุงแกไ้ ขด้านรูปแบบการนำเสนอ ผวู้ ิจัยได้ตกแต่งรปู ภาพ สสี ัน ปก
คู่มือให้ดงึ ดูดและนา่ สนใจ และทำเป็นคู่มือแบบ E-book เพื่อความสะดวกในการนำไปใช้ ทั้งนี้ผูว้ ิจัยได้
แก้ไขตามคำแนะนำในคู่มือเรียบรอ้ ยแล้ว เพื่อนำไปใช้ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือกับกลุ่มทดลอง
ต่อไป
4.3 ขน้ั ตอนท่ี 3 ผลการสร้างเคร่ืองมือเพือ่ การทดลองในภาคสนาม

ผลจากการดำเนินการตรวจสอบและปรบั ปรงุ แก้ไขคมู่ อื ในโครงการทั้ง 2 โครงการ จากขน้ั ตอน
ที่ 2 ทำให้ได้โปรแกรมออนไลน์เพือ่ พัฒนาครสู ู่การเสริมสรา้ งทักษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรียน ที่มีความ
ถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ แต่อย่างไรก็ตาม ในขั้นตอนการ
ทดลองใช้คู่มือในภาคสนามกับกลุ่มเป้าหมายนั้น (ขั้นตอนที่ 4) ต้องมีเครื่องมือเ พื่อใช้ในการประเมิน
ประสิทธิภาพของการใช้ค่มู ือในโครงการทั้งสอง ดงั นนั้ ผู้วจิ ยั จึงได้สร้างเครอ่ื งมอื ขึน้ เพอื่ ใชใ้ นขั้นตอนการ
ทดลองในภาคสนาม ดงั น้ี

143

4.3.1 ผลการสรา้ งเครื่องมือ
4.3.1.1 แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีลักษณะเปน็ แบบปรนัย มี 4

ตัวเลือก มีจดุ มุ่งหมายเพือ่ ใชท้ ดสอบผลการเรยี นรู้ของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองหลงั การวิจยั ในภาคสนามตาม
โครงการที่ 1 ว่ามีผลการเรียนรู้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรือไม่ และมีผลการเรียนรู้หลงั การ
ทดลองสงู กว่ากอ่ นการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ โดยข้อสอบในแบบทดสอบผลการเรียนรู้
ของครทู ีใ่ ชใ้ นงานวิจัยนี้ มุ่งการวดั 6 วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ในเน้อื หาเก่ียวกับ 1) นยิ าม 2) ความสำคัญ
3) ลกั ษณะ 4) แนวการพัฒนา 5) ขนั้ ตอนการพัฒนา และ 6) การประเมนิ ทกั ษะเชิงนวัตกรรม โดยแต่ละ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อวัดทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า คือ
ความจำ (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) รวมข้อสอบทั้งฉบับ 36 ข้อ (ดู
แบบทดสอบในภาคผนวก ซ)

4.3.1.2 แบบประเมินทักษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรยี น ผ้วู ิจัยสร้างขนึ้ มีลกั ษณะเปน็ แบบ
ประมาณค่า (rating scale) 5 ระดบั คอื มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย และน้อยทสี่ ดุ ผวู้ จิ ัยสรา้ งข้นึ
จากผลการศกึ ษาคณุ ลักษณะท่ีแสดงถงึ ทักษะเชงิ นวัตกรรม จากทศั นะของ Premuzic (2013), Rosales
(2018), Zenger (2015) และจากผลจากการศึกษาแนวคิดการประเมนิ ทกั ษะเชงิ นวัตกรรมจากทศั นะของ
Bukidnon State University. (2018), Butter, and Beest (2017) และ Chell and Athayde (2009),
Research and Extension Unit, Food and Agriculture Organization of the United Nations
Rome. (2017) เปน็ แบบประเมินออนไลน์ดว้ ย Google Form (ดเู ครอื่ งมอื ในภาคผนวก ฐ)

4.3.2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของเครือ่ งมือ

4.3.2.1 ผลการตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูแบบทดสอบมี
ลักษณะเป็นแบบปรนัย มี 4 ตัวเลือก เป็นข้อสอบออนไลน์พร้อมตรวจคำตอบด้วย Google Form มี
จุดมุง่ หมายเพื่อใช้ทดสอบความรู้ของครูผูส้ อนที่เป็นกลุ่มทดลอง “ก่อนและหลงั ” การวิจัยในภาคสนาม
ตามโครงการที่ 1 ว่ากลุ่มทดลองมคี วามรู้ตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 หรือไม่ และมีผลสัมฤทธ์กิ ารเรยี นรู้
หลงั การทดลองสงู กว่าก่อนการทดลองอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ หิ รอื ไม่ โดยมกี ารนำไปตรวจสอบความมี
คุณภาพของแบบทดสอบดงั นี้

4.3.2.1.1 การตรวจสอบความตรงเชงิ เนอ้ื หา (Content Validity) ดงั กลา่ ว
ในบทท่ี 3 วา่ เพือ่ ให้ได้เครือ่ งมอื วดั ไดต้ รงกบั สงิ่ ท่ตี ้องการวัดหรอื ตรงกับวัตถปุ ระสงค์ทีต่ ้องการวัด (Polit
& Beck, 2012) ตามทัศนะของ Chaichanawirote and Vantum (2017) ทำได้โดยการพิจารณาความ
สอดคลองของขอคำถามกับนยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ ารและทฤษฎีของส่ิงทต่ี ้องการวดั โดยผวู้ ิจัยนำเครอ่ื งมอื วจิ ัยท่ี
ร่างไว้ให้ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ต้องการวัด จำนวน 3-5 คน พิจารณาว่าข้อคำถามมีความ
สอดคล้องกับนยิ ามเชิงปฏบิ ัตกิ ารหรือไม่และใหคะแนนตามวิธีการคำนวณค่าความตรงซึ่งมีหลายวิธี เชน่
ดัชนีความสอดคลองของข้อคำถามกับวัตถุประสงค (IOC: Indexes of Item-Objective Congruence)

144

ดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI: Content Validity Index) ดัชนีความตรงตามเนื้อหาทั้งฉบับ (S-CVI:
Content Validity Index for Scale) และค่าเฉลี่ยของสัดส่วนความสอดคล้อง ( ACP: Average
Congruency Percentage) ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้ดัชนีความสอดคลองของข้อคำถามกับวัตถุประสงค
(IOC: Indexes of Item-Objective Congruence) ซึ่งจากการศึกษา พบว่า พัฒนาขึ้นโดย Rovinelli
and Hambleton (1977) เป็นการประเมินความสอดคล้องระหว่าง 1 ข้อคำถามกับ 1 วัตถุประสงค์ แต่
ในระยะต่อมา Carlson (2000 cited in Turner & Carlson, 2003) ได้พัฒนาแนวคิดการหาค่าดัชนี
ความสอดคล้องของข้อคำถามและวัตถุประสงค์ที่ปรับใหม่ (The adjusted Index of Item-Objective
Congruence) เป็นการหาความสอดคล้องของ 1 ขอ้ คำถามกับชดุ ของวตั ถปุ ระสงค์

ในงานวิจัยน้ี ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของขอ้ คำถามกบั
วัตถปุ ระสงคต์ ามทศั นะของ Rovinelli and Hambleton เพราะข้อสอบในแบบทดสอบผลการเรียนรขู้ อง
ครูที่ใช้ในงานวิจัยนี้ มุ่งการวัดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในเนื้อหาเกี่ยวกับ 1) นิยาม 2) ความสำคัญ 3)
ลักษณะ 4) แนวการพัฒนา 5) ขั้นตอนการพัฒนา และ 6) การประเมินทักษะเชิงนวัตกรรม โดยแต่ละ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้วัดทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า คือ ความจำ
(Remembering) ความเขา้ ใจ (Understanding) การประยกุ ต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing)
การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) โดยในการตรวจสอบความสอดคล้องของ
ขอ้ สอบกับวัตถุประสงค์การเรียนรูใ้ นแต่ละเน้อื หาจากแบบทดสอบซึ่งมี 6 วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ แต่ละ
วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรมู้ ขี อ้ สอบ 6 ขอ้ รวมข้อสอบทงั้ ฉบับ 36 ข้อ ใชผ้ ูท้ รงคุณวุฒทิ ่ีมคี วามเชยี่ วชาญดา้ น
หลกั สตู รและการสอน และ/หรอื การวดั และประเมินผลการศกึ ษา จำนวน 5 ราย (ดรู ายชอื่ ในภาคผนวก
ช ) โดยให้ทำเครื่องหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1 หมายถึง ข้อคำถามมีความ
สอดคล้อง 0 หมายถงึ ไม่แนใ่ จในความสอดคลอ้ ง และ -1 หมายถงึ ข้อคำถามไมม่ ีความสอดคลอ้ ง ผลที่
ได้รับจากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญ นำมาวิเคราะห์หาค่า IOC ตามสูตรที่กำหนดในบทที่ 3 โดย
กำหนดเกณฑ์ค่า IOC ที่ระดับเท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อคำถามนั้นมีความสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017) ดังมีผลการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญแสดงใน
ตารางที่ 4.1

145

ตารางที่ 4.1 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกับวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ในแบบทดสอบ
ผลการเรียนรขู้ องครู

ข้อ ผลการใหค้ ะแนนของผู้เชย่ี วชาญ ค่าดชั นีความ ผลการ
1 2345 สอดคลอ้ ง (IOC) ประเมิน

คู่มอื ชดุ ที่ 1 ค่มู ือเพ่อื การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั นยิ ามของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ใชได้
ใชได้
1 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
2 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
3 +1 +1 +1 +1 +1 1
ใชได้
4 +1 +1 +1 0 +1 0.8 ใชได้
ใชได้
5 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใชได้
ใชได้
6 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้

คู่มือชุดที่ 2 คมู่ อื เพอื่ การเรยี นรูเ้ กีย่ วกบั ความสำคญั ของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ใชได้
ใชได้
7 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
9 +1 +1 +1 +1 +1 1
ใชได้
10 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
11 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใชได้
ใชได้
12 +1 0 +1 +1 +1 0.8 ใชได้

คมู่ อื ชุดท่ี 3 คมู่ ือเพื่อการเรยี นรเู้ ก่ยี วกับลกั ษณะทแี่ สดงถงึ ทกั ษะเชิงนวัตกรรม

13 +1 +1 +1 +1 +1 1

14 +1 +1 +1 +1 +1 1

15 +1 0 +1 +1 +1 0.8

16 +1 +1 +1 +1 +1 1

17 +1 0 +1 +1 +1 0.8

18 +1 0 +1 +1 +1 0.8

คู่มอื ชุดท่ี 4 คู่มือเพอ่ื การเรียนรู้เกยี่ วกับแนวการพฒั นาทกั ษะเชิงนวตั กรรม

19 +1 +1 +1 +1 +1 1

20 +1 +1 0 +1 +1 0.8

21 +1 +1 +1 +1 +1 1

22 +1 +1 +1 +1 +1 1

23 +1 +1 +1 +1 0 0.8

24 +1 +1 +1 +1 +1 1

146

ขอ้ ผลการใหค้ ะแนนของผู้เชย่ี วชาญ คา่ ดชั นคี วาม ผลการ
1 2345 สอดคล้อง (IOC) ประเมนิ

คู่มือชุดท่ี 5 ค่มู อื เพื่อการเรียนรเู้ กีย่ วกับข้ันตอนการพฒั นาทกั ษะเชิงนวัตกรรม ใชได้
ใชได้
25 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
26 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
27 +1 +1 +1 +1 +1 1
ใชได้
28 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
29 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้
ใชได้
30 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชได้

คู่มือชุดที่ 6 ค่มู อื เพือ่ การเรียนรู้เกย่ี วกับการประเมินทักษะเชงิ นวัตกรรม

31 +1 +1 +1 +1 +1 1

32 +1 +1 +1 +1 +1 1

33 +1 +1 +1 +1 +1 1

34 +1 +1 +1 +1 +1 1

35 +1 +1 +1 +1 +1 1

36 +1 +1 +1 +1 +1 1

จากตารางที่ 4.1 เห็นได้ว่าผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกับ
วัตถุประสงคก์ ารเรียนรใู้ นแบบทดสอบผลการเรียนรขู้ องครู พบว่า แบบทดสอบผลการเรยี นรูข้ องครูซ่ึงมี

6 วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ แต่ละวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรมู้ ีข้อสอบ 6 ขอ้ รวมข้อสอบท้ังฉบับ 36 ข้อ มีค่า
IOC สูงกว่าเกณฑ์ท่ีกำหนด 0.50 ทุกข้อ โดยมคี า่ IOC อยู่ระหวา่ ง 0.8 ถงึ 1 แสดงวา่ แบบทดสอบผลการ
เรียนรู้ของครูที่ใช้ในงานวิจัยนี้มีความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) สามารถนำไปใช้ได้ตรงกับ

วัตถุประสงค์ทต่ี ้องการวัดได้
4.3.2.1.2การตรวจสอบคณุ ภาพของขอ้ สอบรายขอ้ และแบบทดสอบ
โดยนำแบบทดสอบผลการเรียนรขู้ องครูไปทดลองใช้ (Try-out) กับครูในโรงเรียน

บ้านบอนวิทยา โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรมวดั อมั พวัน และ โรงเรยี นวดั พระธาตุวทิ ยา รวมจำนวน 30 ราย
เพือ่ วเิ คราะห์หาคา่ ความยากงา่ ย การกระจาย ความเช่ือม่ัน ค่าอำนาจจำแนกรายขอ้ และคา่ สมั ประสิทธิ์
ความเชื่อมั่นด้วยวิธีการของ Kuder – Richardson ในแบบทดสอบ คะแนนจากผลการทดลองใช้

แบบทดสอบดังกล่าว ดงั แสดงในตารางที่ 4.2

ตารางท่ี 4.2 แบบตรวจสอบผลการทดลองใช้ (Try-Out) แบบทดสอบกา

กระจาย ความเชื่อม่นั ค่าอำนาจจำแนกรายขอ้ และค่าสัมประสทิ ธิค์ วามเช

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ วตั ถุประสงค์การเรยี น

คน นิยาม ความสำคัญ ลกั ษณะ/คณุ ลักษณะ
ท่ี วดั 6 ระดับ ความจำถงึ วัด 6 ระดับ ความจำถงึ วัด 6 ระดับ ความจำถ

สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์

12345612345612345

1 11110101111111111

2 11101111111010111

3 11110101110111111

4 11111101110010111

5 11110101110111110

6 11111101111010100
7 11110111101111101
8 00011011001101011
9 01111001110111100
10 0 1 1 1 0 0 1 0 1 1 0 1 1 1 1 0 1
11 0 1 1 1 0 0 1 0 1 1 0 1 1 1 1 0 1
12 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 1 0 0 0 0 1 1

13 0 1 1 0 0 0 1 0 0 1 0 1 1 1 1 0 1
14 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 0 0 0
15 1 0 0 0 0 1 1 1 0 1 1 0 0 0 0 0 1
16 0 0 0 1 0 0 0 1 1 0 1 0 0 0 1 0 0
17 1 0 0 0 0 1 1 0 1 0 0 1 0 0 0 0 1
18 0 0 0 1 0 0 1 0 0 1 1 0 0 0 1 0 1
19 1 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 0 0 0 0 0 0
20 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 1 1 0
21 1 0 0 0 0 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1

147

ารเรยี นร้ขู องครู กับกลุ่มตวั อยา่ งจำนวน 30 ราย เพื่อวิเคราะหค์ วามยากงา่ ย การ

ชือ่ มน่ั ดว้ ยวิธีการของ Kuder – Richardson ในแบบทดสอบ

นรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้แนว วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ รวม
การประเมนิ ผล
ะ การพฒั นา ข้ันตอนการพฒั นา

ถงึ วัด 6 ระดับ ความจำถงึ วดั 6 ระดับ ความจำถงึ วัด 6 ระดับ ความจำถงึ

สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์

6123456123456123456

1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 32

1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 31

1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 31

1 0 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 29

1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 28

1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 28
0 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 0 0 1 0 1 0 1 0 25
1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 24
1 0 1 0 1 1 0 0 0 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 22
1 0 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0 1 1 1 1 0 1 0 20
1 0 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0 1 1 1 1 0 1 0 20
0 1 1 1 0 1 0 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 19

1 0 0 1 1 0 0 0 1 1 0 0 1 0 1 1 1 1 0 19
0 0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 18
1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 0 0 0 0 1 1 0 0 18
0 1 1 0 0 1 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 1 1 1 13
0 0 1 1 0 0 1 1 0 0 1 0 0 0 1 1 0 0 0 13
0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 0 1 1 1 0 12
0 1 0 0 0 1 1 1 0 1 1 0 1 0 0 0 1 0 0 12
0 1 1 0 0 1 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0 0 0 1 10
0 0 0 1 0 0 1 1 0 0 1 0 0 0 1 1 0 0 0 10

วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียน

คน นยิ าม ความสำคญั ลกั ษณะ/คณุ ลักษณะ
ท่ี
วดั 6 ระดับ ความจำถงึ วัด 6 ระดับ ความจำถงึ วดั 6 ระดับ ความจำถ
สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์

12345612345612345

22 0 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 0 0

23 0 0 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0

24 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0 0 0 0 1

25 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1

26 1 0 0 0 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

27 1 0 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0

28 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 0 0 1

29 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0

30 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0

รวม 15 13 13 15 9 15 15 15 16 12 13 11 14 10 15 9 17

เกง่ 9 12 12 11 7 9 9 12 11 11 8 9 12 9 11 7 11

ออ่ น 6 1 1 4 2 6 6 3 5 1 5 2 2 1 4 2 6

p 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

50 43 43 50 30 50 50 50 53 40 43 37 47 33 50 30 57

r 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

20 73 73 47 33 20 20 60 40 67 20 47 67 53 47 33 33

N (จำนวนกลมุ่ ตัวอย่าง) =30, n (จำนวนข้อสอบ) =

หมายเหตุ เลข 1 หมายถึงทำถูก, เลข 0 หมายถึงทำผดิ

148

นรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรแู้ นว วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ รวม
การประเมนิ ผล
ะ การพฒั นา ขั้นตอนการพฒั นา

ถึง วดั 6 ระดับ ความจำถงึ วดั 6 ระดับ ความจำถึง วัด 6 ระดับ ความจำถงึ

สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์

6123456123456123456

000010000 00011 000008

001010001 00010 100008

000100000 00100 110007

000100000 00011 010007

000000110 01000 001007

000000110 01000 000007

100100000 00000 010006

000000110 01000 000006

100000001 00100 100005

14 11 15 15 14 12 15 15 11 15 15 12 19 11 17 17 15 14 11

12 8 11 9 12 9 9 9 9 11 9 9 13 9 12 11 11 12 9

2346236624636256422

0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

47 37 50 50 47 40 50 50 37 50 50 40 63 37 57 57 50 47 37

0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

67 33 47 20 67 40 20 20 47 47 20 40 47 47 47 33 47 67 47

= 36 ข้อ = 16.50 S.D = 8.89 S2 = 76.32 r =0.911

149

คะแนนจากการทดลองใช้ (Try-Out) แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของครูกับครูท่ี
เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 ราย ได้นำมาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย การกระจาย ความเชื่อมั่น ค่า

อำนาจจำแนกรายข้อ และค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นด้วยวิธีการของ Kuder – Richardson ต่อไปนี้
ตามลำดับ

- คณุ ภาพของขอ้ สอบรายข้อ การพิจารณาคุณภาพของข้อสอบรายข้อใช้เกณฑ์

ความยากง่ายของข้อสอบ (p) และค่าอำนาจจำแนก ( r ) ร่วมกัน ซึ่งคำอธิบายถึงความหมายของความ
ยากง่ายของข้อสอบ (p) และค่าอำนาจจำแนก ( r ) รวมทั้งสูตรในการคำนวณได้กล่าวไว้ในบทที่ 3 มี
เกณฑ์การพิจารณาค่าความยากง่าย (p) และค่าอำนาจจำแนก ( r ) ของข้อสอบ ดังแสดงในตาราง 4.3

และ 4.4 ตามลำดบั ดงั น้ี

ตารางท่ี 4.3 เกณฑ์การพจิ ารณาคา่ ความยากง่าย (p) ของขอ้ สอบ

ความยากง่าย (p) แปลความ การพิจารณา
0.00 - 0.19 ยากมาก ควรปรับปรงุ หรือตดั ทง้ิ
0.20 - 0.39 คอ่ นขา้ งยาก พอใชไ้ ด้
0.40 - 0.60 ยากง่ายปานกลาง ใชไ้ ด้
0.61 - 0.80 ค่อนขา้ งง่าย พอใช้ได้
0.81 - 1.00 ง่ายมาก ควรปรบั ปรุงหรอื ตัดทง้ิ

ตารางท่ี 4.4 เกณฑก์ ารพิจารณาคา่ อำนาจจำแนก ( r ) ของข้อสอบ

อำนาจจำแนก ( r ) การพจิ ารณา
0.60 - 1.00 อำนาจจำแนกดีมาก
0.40 - 0.59 อำนาจจำแนกดี
0.20 - 0.39 อำนาจจำแนกพอใช้
0.10 - 0.19 อำนาจจำแนกต่ำ (ควรปรับปรงุ หรอื ตดั ทงิ้ )
-1.00 - 0.09 อำนาจจำแนกต่ำมาก (ควรปรบั ปรุงหรอื ตดั ทิ้ง)

จากเกณฑ์คา่ ความยากของขอ้ สอบ (p) ในตารางท่ี 4.3 พิจารณาวา่ ขอ้ สอบ

ทม่ี คี ่าความยากงา่ ย ( p ) ระหวา่ ง 0.20 - 0.80 เปน็ ข้อสอบทใี่ ช้ได้ และจากเกณฑ์คา่ อำนาจจำแนก ( r )

ในตารางท่ี 4.4 พจิ ารณาว่าข้อสอบทีม่ คี ่าอำนาจจำแนก ( r ) ตง้ั แต่ 0.20-1.00 เป็นข้อสอบที่ใชไ้ ด้ ซึ่งจาก
การตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบรายข้อในงานวิจัยน้ี ผลการหาค่าความยากง่าย ( p ) และค่าอำนาจ
จำแนก (r) พบว่าขอ้ สอบมคี ณุ ภาพทไ่ี ดใ้ ช้ทงั้ 36 ขอ้ ดงั แสดงในตารางท่ี 4.5

150

ตารางที่ 4.5 แสดงค่าความยากง่าย (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) และผลการพิจารณาคุณภาพของ
ข้อสอบรายข้อ

ข้อสอบ ค่าความยากงา่ ย (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) ผลการพิจารณาขอ้ สอบ
ข้อ 1 0.50 0.20 ใชไ้ ด้
ขอ้ 2 0.43 0.73 ใช้ได้
ข้อ 3 0.43 0.73 ใชไ้ ด้
ข้อ 4 0.50 0.47 ใชไ้ ด้
ข้อ 5 0.30 0.33 ใช้ได้
ขอ้ 6 0.50 0.20 ใช้ได้
ขอ้ 7 0.50 0.20 ใช้ได้
ข้อ 8 0.50 0.60 ใช้ได้
ข้อ 9 0.53 0.40 ใชไ้ ด้
ข้อ 10 0.40 0.67 ใชไ้ ด้
ขอ้ 11 0.43 0.20 ใช้ได้
ข้อ 12 0.37 0.47 ใชไ้ ด้
ขอ้ 13 0.47 0.67 ใชไ้ ด้
ขอ้ 14 0.33 0.53 ใช้ได้
ข้อ 15 0.50 0.47 ใช้ได้
ข้อ 16 0.30 0.33 ใชไ้ ด้
ข้อ 17 0.57 0.33 ใช้ได้
ข้อ 18 0.47 0.67 ใชไ้ ด้
ขอ้ 19 0.37 0.33 ใชไ้ ด้
ขอ้ 20 0.50 0.47 ใชไ้ ด้
ข้อ 21 0.50 0.20 ใชไ้ ด้
ข้อ 22 0.47 0.67 ใช้ได้
ขอ้ 23 0.40 0.40 ใช้ได้
ขอ้ 24 0.50 0.20 ใช้ได้
ขอ้ 25 0.50 0.20 ใชไ้ ด้
ข้อ 26 0.37 0.47 ใชไ้ ด้
ข้อ 27 0.50 0.47 ใชไ้ ด้
ขอ้ 28 0.50 0.20 ใช้ได้

151

ข้อสอบ ค่าความยากงา่ ย (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) ผลการพจิ ารณาขอ้ สอบ
ข้อ 29 0.40 0.40 ใช้ได้
ข้อ 30 0.63 0.47 ใช้ได้
ขอ้ 31 0.37 0.47 ใชไ้ ด้
ขอ้ 32 0.57 0.47 ใช้ได้
ขอ้ 33 0.57 0.33 ใชไ้ ด้
ขอ้ 34 0.50 0.47 ใช้ได้
ข้อ 35 0.47 0.67 ใชไ้ ด้
ข้อ 36 0.37 0.47 ใช้ได้

- ความเช่ือมั่นของแบบทดสอบ ใชว้ ิธีของ Kuder – Richardson ใน

การวิเคราะห์ขอ้ มูล เนือ่ งจากเป็นแบบทดสอบแบบปรนัย มกี ารให้คะแนนแตล่ ะข้อเปน็ แบบ 0, 1 คือตอบ
ถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน และมีการวดั หรือการสอบเพียงครง้ั เดยี ว รวมทั้งมกี ารวเิ คราะหห์ า
ค่าความยากรายขอ้ ไวแ้ ลว้ โดยใช้สูตร KR – 20 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลดงั แสดงในตารางที่ 4.2 พบวา่ ค่า

สมั ประสทิ ธิข์ อง KR - 20 มคี า่ เทา่ กับ 0.95 ซึง่ มคี ่าสงู กวา่ เกณฑ์ที่กำหนด คือ เทา่ กับหรอื สูงกวา่ 0.70 จึง
แสดงว่าแบบทดสอบน้มี ีคุณภาพสามารถนำไปใชไ้ ดอ้ ย่างมีความเช่อื มน่ั

- ความยากง่ายของแบบทดสอบ ใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง

ท้ังหมดเป็นเกณฑ์ หากคะแนนเฉลยี่ อย่รู ะหว่างร้อยละ 30-50 ของคะแนนเตม็ ถือว่าเปน็ แบบทดสอบท่ีมี
ความยากเหมาะสม หากคะแนนเฉล่ยี ตำ่ กวา่ 30 เทา่ ใด ถอื ว่าเปน็ แบบทดสอบที่ยากขน้ึ เทา่ นัน้ และหาก
คะแนนเฉลย่ี สงู กวา่ 50 เท่าใด ถอื ว่าเปน็ แบบทดสอบทง่ี ่ายข้ึนเทา่ นน้ั ซึ่งผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล แสดงใน

ตารางที่ 4.2 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเท่ากับ 16.50 คิดเป็นร้อยละ 45.83 ของ
คะแนนเต็ม ซง่ึ แสดงว่า แบบทดสอบทง้ั ฉบับมคี า่ ความยากง่ายอยใู่ นระดับเหมาะสม

4.3.2.2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมนิ ทกั ษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน

แบบประเมินมีลักษณะเป็นแบบประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง
นอ้ ย และน้อยที่สุด ผู้วจิ ยั สร้างข้ึนจากผลการศึกษาลกั ษณะท่ีแสดงถึงทกั ษะเชิงนวตั กรรมจากทัศนะของ
Premuzic (2013), Rosales (2018), Zenger (2015) และจากผลการศึกษาแนวคิดการประเมินทักษะ

เชิงนวตั กรรมจากทัศนะ Bukidnon State University. (2018), Butter, and Beest (2017) และ Chell
and Athayde (2009), Research and Extension Unit, Food and Agriculture Organization of
the United Nations Rome. (2017) เป็นแบบประเมนิ ออนไลน์ด้วย Google Form มผี ลการตรวจสอบ

คณุ ภาพ ดังน้ี

152

4.3.2.2.1 ผลการตรวจสอบความตรงเชงิ เน้ือหา (Content Validity)
โดยใช้แนวคิดการหาคา่ ดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามกับวตั ถุประสงค์ตามทศั นะ
ของ Rovinelli and Hambleton เพราะแบบประเมนิ ทกั ษะเชิงนวัตกรรม ของนกั เรยี นทีใ่ ช้ในงานวิจัยน้ี
ม่งุ การหาความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงคก์ ารพัฒนาทกั ษะเชงิ นวตั กรรม ในแต่ละด้าน คือ
1) ด้านความม่งุ มนั่ มีขอ้ คำถาม 5 ข้อ 2) ดา้ นความตระหนักในความสามารถของตนเอง ข้อคำถาม 6 ขอ้
3) ด้านความคิดสร้างสรรค์และเป็นอิสระ ข้อคำถาม 12 ข้อ 4) ด้านการเผชิญกับปัญหาและความ
ซับซ้อน ข้อคำถาม 6 ข้อ และ5) ด้านกล้าเส่ียงข้อคำถาม 6 ข้อ รวมทัง้ ฉบับมีข้อคำถาม 35 ข้อ ทั้งน้ี
วัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม มีนิยามศัพท์เฉพาะที่เป็นผลจากการศึกษาวรรณกรรมท่ี
เกี่ยวข้องทแ่ี สดงให้เหน็ ถงึ วตั ถปุ ระสงค์ในการพัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรม โดยภาพรวมและรายดา้ น ดังน้ี
- ทกั ษะเชิงนวตั กรรม (Innovation Skills) หมายถึง สิง่ ทม่ี พี ้นื ฐานมาจากความสงสยั
ใครร่ ู้ ความเตม็ ใจทีจ่ ะเสี่ยงและการทดสอบขอ้ สนั นิษฐาน และยงั มพี ืน้ ฐานมาจากการรับรู้ถึงโอกาสและใช้
ประโยชน์จากโอกาสนั้น นวัตกรรมจึงเป็นกระบวนการผลิตผลของมโนภาพที่เกิดขึ้นใหม่จากการนำ
แนวคิดใหม่ๆ มาลงมือปฏิบัติ ตามความจริงและตามวิถีของการลงมือทำ เป็นทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละ
นวัตกรรมท่ีมีการยอมรบั กนั โดยมุ่งไปที่การคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ การสื่อสารและความ
รว่ มมือ ซ่งึ จำเป็นสำหรบั การเตรยี มผเู้ รียนส่อู นาคตและยงั สามารถสรา้ งวฒั นธรรมแห่งนวตั กรรม นำทาง
ไปสู่การคิดเชิงนวัตกรรมและการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ในงานวิจัยนี้ได้กำหนดทักษะเพื่อการ
ประเมินผลจากการพฒั นา 5 ทกั ษะ แต่ละทกั ษะมนี ยิ ามศัพทเ์ ฉพาะดังน้ี
- ความมุ่งมั่น (Energy) หมายถึง การมีเปา้ หมายในการทำงานเสมอ มีพลังมากมาย
ในการทำงานแต่ละวัน กระตอื รอื ร้นในการเรียนวิชาทีฉ่ นั เลือก กระตอื รือร้นท่ีจะช่วยเหลือผู้อน่ื และรสู้ ึก
ต่นื เตน้ และมีกำลงั ใจเม่ือฉนั ได้สรา้ งสิง่ ทไ่ี ม่เคยมีใครทำได้
- ความตระหนักในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) หมายถึง การมองหา
สง่ิ อนื่ ๆท่อี ยู่ภายนอกโรงเรียน ทฉ่ี ันรู้สึกว่าควบคมุ ได้ ไม่กอ่ ให้เกดิ ปญั หาตามมา อยากทำงานท่ีท้าทายท่ี
ตนเองสนใจ เช่อื มนั่ ในตนเองว่าเม่ือเรม่ิ ต้นทำอะไรแลว้ ฉันสามารถทำใหส้ ำเร็จได้ จะเขา้ ร่วมในกิจกรรมท่ี
ตนเองสนใจ โดยไมส่ นใจว่าเพ่ือนสนิทของฉันจะเข้าร่วมหรือไม่ เชื่อม่นั ในความคิดของตัวเอง ฉนั จะทำใน
ส่ิงที่ฉนั คดิ ว่าดที ่สี ดุ และเชอ่ื วา่ นกั เรยี นควรออกความเห็นเก่ียวกับแนวทางการดำเนินงานของโรงเรียน
- ความคิดสรา้ งสรรค์และเปน็ อสิ ระ (Creativity) หมายถึง การชอบคิดทำโครงการ
ใหม่ๆ ชอบประดิษฐส์ ิ่งใหมๆ่ ในแบบของตนเอง ชอบคิดจะทำให้งานที่ทำอย่มู กี ารพฒั นาข้นึ คิดวา่ ปัญหา
ที่ซับซ้อนนั้นมคี วามท้าทายแฝงอยู่ ชอบค้นหาวิธีการใหม่ๆ มาจัดการกับปัญหาที่กำลังเจออยู่ สามารถ
ผสมผสานความคดิ ใหม่ๆ กบั ความคิดเดิมทมี่ อี ยู่แล้ว รู้สึกมีอสิ ระทจี่ ะทำสิง่ ใหม่ๆในงานทตี่ นเองรบั ผดิ ชอบ
เปน็ คนที่มีเวลาใหก้ บั สิง่ ใหม่ๆอยู่เสมอ สามารถทำงานของตัวเองได้ดี เปน็ คนทีร่ บั ผดิ ชอบงานในแต่ละวัน
ไดด้ ี ตอ้ งการการเรยี นทีม่ กี ิจกรรมทใี่ ช้ความคิดสรา้ งสรรค์ และชอบการเรยี นท่ีมีกจิ กรรมต่างๆมากกว่า
การนง่ั เรยี นเฉยๆทโี่ ต๊ะ

153

- การเผชิญกบั ปัญหาและความซับซ้อน (Capacity To Navigate Complexity)
หมายถงึ การมที กั ษะในการทำความเข้าใจและแก้ไขปัญหา มีทักษะการตดั สนิ ใจร่วมกันในกลุ่ม มีทักษะ

ในการวางแผนเพอ่ื กำหนดกลยุทธ์ ชอบมองหาวิธีพัฒนาการทำงานของตนเอง รับฟังความคดิ เห็นของคน
อื่นๆ เม่อื เขาสรา้ งส่งิ ใหมๆ่ ข้ึนมา และใหค้ วามสำคัญกบั การพัฒนาในส่ิงทร่ี บั ผดิ ชอบอยู่ และการหาโอกาส
ใหม่ๆด้วย

- กลา้ เสย่ี ง (Risk-propensity) หมายถงึ การยอมรบั ความเสย่ี งในการทำงานได้ ชอบ
ความท้าทาย แม้ว่าความท้าทายนั้นอาจทำให้ฉันต้องพบความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยงเพื่อการสร้าง
นวัตกรรม เป็นคนที่เพื่อนร่วมงานสามารถกระตุ้นให้เกิดความคิดได้ คิดว่าการเข้ามาควบคุมการทำงาน

อย่างเข้มงวดนั้นไม่มีประโยชน์ และเข้าใจว่าทุกโครงการที่เข้าไปมีส่วนร่วม จะไม่ประสบความสำเร็จ
ท้ังหมด

ในการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คำถามกับวัตถปุ ระสงค์ในการพัฒนาทักษะเชิง

นวัตกรรม ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา และ / หรือ ด้านการวัดและ
ประเมินผล จำนวน 5 ราย (ดูรายชื่อในภาคผนวก ญ) โดยให้ทำเครื่องหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0
หรือ -1 โดย + 1 หมายถึง ข้อคำถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง และ -1

หมายถงึ ข้อคำถามไมม่ คี วามสอดคลอ้ ง ผลท่ีได้รับจากการตรวจสอบของผเู้ ชย่ี วชาญ นำมาวิเคราะหห์ าคา่
IOC จากสูตรท่ีกำหนดในบทที่ 3 โดยกำหนดเกณฑ์ค่า IOC ที่ระดับเท่ากับหรือมากกวา่ 0.50 จึงจะถือว่า
ข้อคำถามนั้นมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017) (ดังแสดงใน

ภาคผนวก ฒ) ดังแสดงผลการตรวจสอบในตารางท่ี 4.6

ตารางที่ 4.6 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์การพัฒนาในแบบ
ประเมินทกั ษะเชิงนวัตกรรมของนักเรยี น

ขอ้ ผลการใหค้ ะแนนของผูเ้ ชย่ี วชาญ ค่าดัชนคี วาม ผลการ
1 2345 สอดคลอ้ ง (IOC) ประเมิน

ด้านความมงุ่ ม่ัน 1 ใช้ได้
1 ใช้ได้
1 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใช้ได้
2 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

3 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใชไ้ ด้
4 +1 +1 +1 +1 +1

5 +1 +1 +1 +1 +1

ด้านความตระหนักในความสามารถของตนเอง

6 +1 +1 +1 +1 +1

7 +1 +1 +1 +1 +1

154

ข้อ ผลการให้คะแนนของผูเ้ ชยี่ วชาญ ค่าดัชนคี วาม ผลการ
1 2345 สอดคล้อง (IOC) ประเมิน
ใช้ได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใชไ้ ด้
9 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1
10 +1 +1 +1 +1 +1 ใช้ได้
1 ใช้ได้
11 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใชไ้ ด้
ด้านความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละเป็นอสิ ระ 1 ใชไ้ ด้
1 ใชไ้ ด้
12 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใชไ้ ด้
13 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใชไ้ ด้
14 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใช้ได้
15 +1 +1 +1 +1 +1 1
ใช้ได้
16 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้
1 ใช้ได้
17 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้
1 ใชไ้ ด้
18 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้
1
19 +1 +1 +1 +1 +1 ใช้ได้
1 ใชไ้ ด้
20 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้
1 ใช้ได้
21 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้
1
22 +1 +1 +1 +1 +1

23 +1 +1 +1 +1 +1

ดา้ นการเผชญิ กบั ปัญหาและความซบั ซ้อน

24 +1 +1 +1 +1 +1

25 +1 +1 +1 +1 +1

26 +1 +1 +1 +1 +1

27 +1 +1 +1 +1 +1

28 +1 +1 +1 +1 +1

29 +1 +1 +1 +1 +1

ดา้ นการกล้าเสย่ี ง

30 +1 +1 +1 +1 +1

31 +1 +1 +1 +1 +1

32 +1 +1 +1 +1 +1

33 +1 +1 +1 +1 +1

34 +1 +1 +1 +1 +1

155

ข้อ ผลการใหค้ ะแนนของผเู้ ชย่ี วชาญ คา่ ดัชนีความ ผลการ

1 2 3 4 5 สอดคล้อง (IOC) ประเมิน

35 +1 +1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

จากตารางที่ 4.6 เห็นได้ว่าผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับ

วตั ถุประสงคก์ ารพฒั นาทักษะเชงิ นวัตกรรมของนักเรียน พบว่า ขอ้ คำถามในแตล่ ะด้านและท้ังฉบับมีค่า

IOC สงู กว่าเกณฑท์ ีก่ ำหนด 0.50 ทุกข้อ โดยมคี า่ IOC อยู่ระหวา่ ง 0.6 ถึง 1 แสดงวา่ แบบประเมินทักษะ

เชงิ นวตั กรรมของนักเรยี นทใี่ ช้ในงานวจิ ยั น้มี คี วามตรงเชิงเนอ้ื หา (Content Validity) สามารถนำไปใช้ได้

ตรงกับวตั ถุประสงคท์ ีต่ อ้ งการวัดได้

4.3.2.2.2 ผลการตรวจสอบความเชอ่ื มนั่ (Reliability)

โดยการทดลองใช้ (Try-out) แบบประเมินทกั ษะเชิงนวตั กรรมของนกั เรยี นเพอื่ หา
ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) กับนักเรียนในโรงเรียนปภัสสรวิทยา จำนวน 30 ราย เพื่อนำข้อมูลที่เก็บ
รวบรวมได้ไปวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเชื่อมั่น (Alpha Coefficient of Reliability)

โดยใชว้ ธิ ีของครอนบาค (Cronbach) โดยกำหนดเกณฑ์ค่าสัมประสิทธิแ์ อลฟาของความเช่ือมั่นที่ยอมรับ
ได้ คือ เท่ากับหรือสูงกว่า 0.70 (UCLA: Statistical Consulting Group, 2016) ผลการวิเคราะห์ข้อมลู
ปรากฏดงั ตารางท่ี 4.7 (ดผู ลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู จากโปรแกรมคอมพวิ เตอรใ์ น ภาคผนวก ฒ )

ตารางที่ 4.7 ผลการวิเคราะหค์ ่าสัมประสทิ ธิ์แอลฟาของความเชื่อมั่นของแบบสอบถามจำแนกเป็น
รายด้านและโดยรวม

แบบสอบถาม คา่ สมั ประสทิ ธแิ์ อลฟา่ ของความ
เช่ือมั่น
1. ดา้ นความมงุ่ มน่ั 0.884
2. ด้านความตระหนักในความสามารถของตนเอง
3. ดา้ นความคิดสรา้ งสรรค์และเป็นอสิ ระ 0.843
4. ด้านการเผชิญกบั ปัญหาและความซับซอ้ น 0.950
5. ดา้ นการกล้าเสี่ยง
0.895
โดยรวมท้งั ฉบบั 0.836
0.945

จากตารางที่ 4.7 เห็นไดว้ า่ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเชือ่ มั่นของแบบสอบถามทัง้ ฉบับ

มีค่าเท่ากับ 0.945 เมื่อวิเคราะห์เป็นรายด้าน พบว่า ด้านความมุ่งมั่น มีค่าเท่ากับ 0.884 ด้านความ
ตระหนักในความสามารถของตนเอง มีค่าเท่ากับ 0.843 ด้านความคิดสร้างสรรค์และเป็นอิสระ มีค่า

เทา่ กับ 0.950 ดา้ นการเผชญิ กบั ปัญหาและความซับซอ้ น มีค่าเท่ากับ 0.895 และด้านการกล้าเส่ียง มีค่า
เท่ากบั 0.836 ซึ่งค่าสัมประสทิ ธิแ์ อลฟาของความเชื่อมั่นดังกล่าวมีคา่ สงู กว่าเกณฑท์ ี่กำหนด คือ เท่ากับ

156

หรือสูงกว่า 0.70 จึงแสดงว่า แบบประเมินผลการพัฒนานักเรียนน้ีมีคุณภาพสามารถนำไปใช้ได้อยา่ งมี
ความเชอื่ มนั่

4.4 ข้นั ตอนท่ี 4 ผลการทดลองในภาคสนาม (Trial)

การทดลองในภาคสนาม (Trial) ผู้วิจัยใช้แบบแผนการวิจัยขั้นพื้นฐาน (Pre Experimental
Research) มีกลุ่มทดลอง 1 กลมุ่ มีการทดสอบกอ่ นและหลงั การทดลอง (One Group Pretest-Posttest
Design) กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง ทดลอง คือ ครูผู้สอนในโรงเรยี นบาลีสาธิตศึกษามหาจฬุ าลงกรณ
ราชวทิ ยาลัย วดั ศรษี ะเกษ จำนวน 11 รูป/คน มีนกั เรยี นที่เป็นกลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนา จำนวน 204
ราย ดำเนินการทดลองในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 มผี ลการทดลองในภาคสนาม ดังนี้

ระยะท่ี 1 ผลการทดลองตามโครงการท่ี 1 : โครงการพฒั นาเพอ่ื การเรยี นรขู้ องครู

เป็นระยะของการพัฒนาตนเองของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองตามโครงการพฒั นาเพื่อการเรยี นรู้ของ
ครู โดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) จากคมู่ ือจำนวน 6 ชุด คอื 1) คู่มือเพ่อื การเรยี นร้เู กี่ยวกับ
นิยามของทักษะเชิงนวัตกรรม (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทกั ษะเชิงนวัตกรรม (3)
คู่มือเพือ่ การเรียนรู้เกี่ยวกบั ลักษณะที่แสดงถึงทักษะเชิงนวัตกรรม (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับแนว
การพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม
และ (6) คมู่ อื เพอ่ื การเรียนร้เู ก่ียวกับการประเมินทักษะเชิงนวตั กรรม ดำเนนิ การโดยการแนะนำคูม่ อื ทัง้ 6
ชดุ ที่ไดอ้ พั โหลดลงเวบ็ ไซตเ์ รยี บรอ้ ยแลว้ มผี ลการดำเนนิ งานตามขัน้ ตอนตา่ ง ๆ ดังน้ี

1) ผลการเตรียมการ
ผ้วู จิ ยั ไดล้ งพ้นื ทวี่ จิ ยั ท่ีโรงเรยี นบาลสี าธติ ศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรษี ะเกษ โดย

นำหนงั สอื ขอความอนเุ คราะห์จากทางมหาวิทยาลยั ถงึ ท่าน ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ในวันที่ 12 พฤศจิกายน
2564 เพื่อชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยและขอความอนเุ คราะห์โรงเรยี นเป็นพนื้ ท่วี ิจยั ในภาคเรียนที่ 2
ปกี ารศึกษา 2564 ซงึ่ ได้รับการตอบรับจากผอู้ ำนวยการ และยนิ ดีเป็นอยา่ งยิง่ ท่ผี ู้วจิ ัยได้เลือก โรงเรียน
บาลสี าธิตศกึ ษามหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วดั ศรษี ะเกษ ในการลงพ้นื ท่ีดงั กลา่ ว

จากนั้นผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ชี้แจงรายละเอียดกับคณะครูที่เป็นกลุ่มทดลองด้วยตัวเองกับ
กลุ่มเป้าหมาย (Face to Face) โดยรักษาความปลอดภัยตามมาตรการการป้องกันโรคระบาดติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมโรงเรยี นบาลสี าธติ ศึกษา
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วดั ศรีษะเกษ อาคารพทุ ธานภุ าพ ชั้นท่ี 1 โดยมีพระศรวี ชริ โมลี ผอู้ ำนวยการ
โรงเรียนเข้าร่วมรับฟังการชี้แจงในครั้งนี้ด้วย คณะครูส่วนใหญ่เข้าใจวัตถุประสงค์ของการลงพื้นท่ี
ภาคสนาม และยังเปน็ ผชู้ ่วยผู้วจิ ยั ในการประสานงาน ตดิ ตามชี้แจงใหก้ บั คณะครทู ีย่ งั มีข้อสงสัย

เมื่อกลุ่มทดลองภาคสนามเข้าใจรายละเอียดแนวทางในการปฏิบัติแล้ว ผู้วิจัยจึงส่งลิงค์
แบบทดสอบความรู้ของครูกลุม่ ทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-test) ในรูปแบบออนไลน์ (Google Form)

157

ผ่านกลมุ่ ไลนท์ ส่ี ร้างขน้ึ เพือ่ ใช้เปน็ ชอ่ งทางในการติดต่อสือ่ สารและติดตามประสานงานตลอดการวิจัยใน
ครั้งน้ี ดังภาพ

ภาพที่ 4.6 การประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการวิจัย และการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เปน็
กลุ่มทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-test) ลงพื้นที่วิจัยโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลยั วัดศรษี ะเกษ

2) ผลการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-test)
จากการให้ครูท่ีเปน็ กลุ่มทดลองจำนวน 11 คน ทำแบบทดสอบความรู้ของครูจำนวน 36 ข้อ

“กอ่ น” การพฒั นาโดยหลกั การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองจากคู่มอื ทผี่ วู้ ิจัยจัดทำขึ้น ซง่ึ จากผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
พบว่า ครูที่เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 11 คน ได้คะแนนจากการทดสอบ 305 คะแนน ซึ่งคำนวณคา่ เฉล่ีย
(Mean) ไดเ้ ทา่ กบั 27.73 คะแนน และค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) เทา่ กบั
2.76 จากคะแนนเต็ม 36 คะแนน ดงั ตารางท่ี 4.8

ตารางท่ี 4.8 ผลการทดสอบผลการเรียนร้ขู องครูท่เี ป็นกล่มุ ทดลองก

วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ วตั ถุประสงค์การเรยี

กลมุ่ นิยาม ความสำคัญ ลักษณะ/คณุ ลักษณ

ทดลอง วัด 6 ระดับ ความจำถงึ วัด 6 ระดับ ความจำถงึ วัด 6 ระดับ ความจ

คนที่ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์

12345612345612345

1 11111101110010111

2 00011011001101011

3 11101111111010111

4 11111101111010100

5 01110010110111101

6 11110101110111111

7 11110101111111111

8 11110101110111110

9 01110010110111111

10 0 1 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0

11 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1

หมายเหตุ เลข 1 หมายถงึ ทำถูก , เลข 0 หมายถึงทำผิด

158

กอ่ นการพัฒนา (Pre-test)

ยนรู้ วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้

ณะ แนวการพัฒนา ข้นั ตอนการพฒั นา การประเมนิ ผล รวม
จำถงึ วัด 6 ระดับ ความจำถึง วัด 6 ระดับ ความจำถงึ วดั 6 ระดับ ความจำถึง

สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์

56123456123456123456

1 1 0 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 29

1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 24

1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 31

0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 28

1 1 1 0 1 1 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 0 25

1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 31

1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 32

0 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 28

1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 0 1 1 26

0 1 0 1 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 25

1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 0 0 1 0 1 0 1 0 26

คะแนนรวมทกุ คน 305

คะแนนเฉล่ยี 27.73

S.D 2.76

159

3) ผลการพฒั นาเพ่อื การเรียนร้ขู องครูโดยหลกั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning)
จากการนำคู่มือประกอบโครงการวิจยั ทง้ั 6 ชดุ ทีผ่ วู้ จิ ัยไดจ้ ดั ทำขึ้น อัพโหลดลงไว้ในเว็บไซต์

http://www.mbuisc.ac.th/phd/A_R&D%20Modules/KerkKiet.pdf และส่งเข้าในกลุ่ม facebook
messenger (Group messenger) ทีส่ ร้างขึ้นใหค้ รทู เ่ี ป็นกลุ่มทดลองในรงเรยี นบาลสี าธติ ศึกษามหาจุฬา
ลงกรรราชวทิ ยาลยั วัดศรษี ะเกษ ได้ดาวน์โหลดไปศกึ ษาโดยหลกั การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (Self-Learning)
ระยะเวลา 1 เดือน ดังภาพท่ี 4.7

ภาพที่ 4.7 ครทู ี่เปน็ กลมุ่ ทดลองศึกษาคู่มือประกอบโครงการทงั้ สองโครงการโดยหลักการเรยี นรู้ดว้ ย
ตนเอง (Self-Learning)

4) ผลการตรวจสอบเพอ่ื หาขอ้ บกพร่องของคู่มอื หลังการพัฒนาครู
ตามที่ผู้วจิ ัยไดล้ งพื้นทีต่ รวจสอบเพื่อหาขอ้ บกพร่องของคู่มือและทดสอบครูหลงั การพฒั นา

ครูผ้สู อนที่เป็นกลุ่มทดลองรว่ มกนั ตรวจสอบหาขอ้ บกพรอ่ งเพอื่ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขคมู่ ือในโครงการท่ี 1 ซ่ึง
ได้อัพโหลดไว้ในเว็บไซต์ ส่วนข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขให้ส่งกลับทาง Group Line ใช้
แบบทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครูกบั ครผู ูส้ อนท่เี ป็นกลมุ่ ทดลอง เพื่อให้ทราบผลการเรียนรู้ว่าเป็นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรอื ไม่ เป็นข้อสอบออนไลนพ์ รอ้ มตรวจคำตอบด้วย Google Form ดังนี้

160

4.1 การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนำไปใช้ มีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้

- ปรับเนื้อหาเข้าใจง่าย ให้กระชับ ครอบคลมุ และทนั ตอ่ โลกเพื่อให้เนอ้ื หาดีมสี าระ มี
กระบวนการแนวคิดต่างๆ ที่สามารถนำมาปรบั ใชไ้ ด้ในชวี ติ ประจำวนั มีคำผิดสมควร
แกใ้ ห้ถูกตอ้ ง ควรตรวจสอบการให้ละเอยี ดใหถ้ ูกตอ้ ง และควรใชศ้ ัพท์ให้ถูกตามหลัก
วิชาการ

4.2 การปรับปรุงแก้ไขดา้ นภาษา มีข้อเสนอแนะ ดงั น้ี
- เนื้อหาเป็นสำนวนภาษาที่แปลมาจากภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะคำที่เป็นคำเฉพาะ
ควรมีทง้ั คำศัพท์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษกำกบั ดว้ ย
- ข้อความบางข้อความใช้คำที่วิชาการมากเกินไปทำให้อ่านไม่ค่อยเข้าใจ เนื่องจาก
เปน็ เนอื้ หาทีแ่ ปลมาจากภาษาอังกฤษ
- ควรใชค้ ำให้ตรงกนั และเหมอื นกนั ทั้งหมดในทุกคู่มอื เชน่ ความร่วมมือ การทำงาน
รว่ มกัน

4.3 การปรบั ปรงุ แก้ไขด้านรปู แบบการนำเสนอ มีข้อเสนอแนะ ดังนี้
- ในการนำเสนอ ควรมกี จิ กรรมถามเพ่อื ทบทวนความรู้ความเขา้ ใจ เพ่อื ให้ผู้ศึกษาได้
กระตุ้นความคิด แต่ควรเพิ่มสื่อ รูปภาพ ที่มีความหลากหลายด้านเนื้อที่ตรงกับ
หวั ขอ้
- รูปแบบการนำเสนอควรให้หลากหลายไม่ซ้ำเดิมในแต่ละคู่มือ ควรเพิ่มสีสันให้
สวยงาม ควรมีภาพกราฟกิ การ์ตูน ถา้ เพ่ิมการตกแต่งหัวข้อ ขอ้ ความให้โดดเด่น จะ
นา่ สนใจและดงึ ดดู ผูอ้ ่านเพม่ิ มากขนึ้

4.4 อ่นื ๆ มีข้อเสนอแนะ ดังนี้
- เน้นคำในตัวเนื้อหาทีส่ ำคัญ ตัวหนังสอื ขนาดเลก็ ไป หวั ขอ้ ให้โดดเดน่ ชัดเจน

5) ผลการทดสอบผลการเรียนรูข้ องครูทีเ่ ปน็ กลุ่มทดลองหลังการพฒั นา (Posttest)
จากการให้ครทู ่เี ปน็ กลุ่มทดลองจำนวน 11 คน ทำแบบทดสอบความรูข้ องครูจำนวน 36 ขอ้ “หลัง” การ
พัฒนาโดยหลกั การเรียนรู้ด้วยตนเองจากคู่มอื ที่ผวู้ จิ ัยจดั ทำขน้ึ ซง่ึ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ครูท่ี
เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 11 คน ได้คะแนนจากการทดสอบ 364 คะแนน ซึ่งคำนวณค่าเฉลี่ย (Mean) ได้
เท่ากบั 33.09 คะแนน และค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) เท่ากับ 2.07 จาก
คะแนนเต็ม 36 คะแนน ดังตารางท่ี 4.9

ตารางท่ี 4.9 ผลการทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครูทเ่ี ปน็ กลมุ่ ทดลองห

วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี

กล่มุ นิยาม ความสำคญั ลักษณะ/คุณลักษณ

ทดลอง วดั 6 ระดับ ความจำถงึ วดั 6 ระดับ ความจำถึง วัด 6 ระดับ ความจ

คนท่ี สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์

12345612345612345

1 11110101111111111

2 11111111111110111

3 11111111111111111

4 11111111110111111

5 11111101111010111

6 11111011111111111

7 11111111111111111

8 11101111111111111

9 11110001110111110

10 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1

11 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1

161

หลงั การพฒั นา (Posttest)

ยนรู้ วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้

ณะ แนวการพฒั นา ขนั้ ตอนการพัฒนา การประเมินผล รวม
จำถงึ วัด 6 ระดับ ความจำถงึ วัด 6 ระดับ ความจำถึง วดั 6 ระดับ ความจำถึง

สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์

56123456123456123456

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 34

1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 32

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 36

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 33

1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 31

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 35

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 36

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 34

0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 30

1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 31

1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 32

คะแนนรวมทุกคน 364

คะแนนเฉล่ีย 33.09

S.D 2.07

162

5. ผลการวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บผลการทดสอบผลการเรียนร้ขู องครูท่ีเปน็ กลุ่มทดลอง
กอ่ นและหลังการพฒั นาโดยใชก้ ารทดสอบที (t-test)

การวิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บผลการประเมนิ กอ่ นและหลงั การพฒั นาโดยใชก้ ารทดสอบที
(t-test) ดังกล่าวในบทที่ 3 ว่าตามหลักการทางวิชาการ ถือเป็นเทคนิคการทดสอบสมมตฐิ านชนดิ
หนงึ่ ท่ีนักวิจัยนยิ มใชก้ ารทดสอบ โดยวธิ กี ารน้ใี ชใ้ นกรณขี อ้ มลู มีจำนวนน้อย (n < 30) ผู้ท่ีค้นพบการ
แจกแจงของ t มีชื่อว่า W.S. Gosset ในการใช้การทดสอบทีกรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มนั้น จำแนก
ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) การใช้ t-test แบบเป็นอิสระจากกัน (Independent) เป็นสถิตที่ใช้
เปรยี บเทียบคา่ เฉลี่ยระหวา่ งกลมุ่ ตัวอยา่ งสองกลมุ่ ทเ่ี ป็นอิสระจากกนั ข้อมูลท่รี วบรวมได้อยู่ในระดับ
อันตรภาคหรืออัตราส่วน ใช้สถิติการทดสอบค่า t มีชื่อเฉพาะว่า t - test for Independent
Samples 2) การใช้ t- test แบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent) เป็นสถิตที่ใช้เปรียบเทียบ
ค่าเฉล่ียระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มทีไ่ ม่เป็นอิสระจากกัน และกลุ่มตวั อย่างกลุ่มเดียว ใช้สถิติการ
ทดสอบค่า t มีชื่อเฉพาะว่า t - test for Dependent Samples ซึ่งมักพบในการวิจัยเชิงทดลองที่
ต้องการเปรียบเทยี บผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลองหรือเปรยี บเทียบผลระหวา่ งกลุม่ ทดลอง
และกลมุ่ ควบคมุ ที่ไดจ้ ากการจบั คู่คุณลกั ษณะที่เทา่ เทยี มกัน (Thesis Thailand, 2020)

ในงานวจิ ัยน้ี ใช้ t- test แบบไม่เปน็ อิสระจากกัน (Dependent) เน่อื งจากเป็นการวิจัย
เชงิ ทดลองทีต่ ้องการเปรียบเทียบผลระหว่างกอ่ นทดลองกบั หลังทดลอง โดยมขี อ้ ตกลงเบ้อื งต้น ดังน้ี
1) ข้อมูลอยู่ในมาตรอันตรภาค (Interval Scale) หรือมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) 2) กลุ่ม
ตวั อย่างเป็นกล่มุ ตัวอยา่ งแบบสมุ่ ได้จากประชากรทม่ี ีการแจกแจงแบบปกติ 3) ค่าของตวั แปรตามแต่
ละหน่วยเป็นอิสระต่อกัน และ 4) ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร (ศิริชัย กาญจนวาสี ,
ทววี ัฒน์ ปิตยานนท์ และ ดิเรก ศรสี ุโข, 2551) มสี ตู รในการคำนวณ ดงั น้ี

t = ……. ∑D………

N∑D2 – (∑D)2
N-1

∑D หมายถงึ ผลรวมของความแตกตา่ งระหวา่ งคะแนนก่อนและหลงั การพฒั นา
∑D2 หมายถึง ผลรวมความแตกต่างของคะแนนก่อนและหลงั การพัฒนายกกำลงั สอง
N หมายถงึ จำนวนกล่มุ ทดลองทีไ่ ด้รบั การพฒั นาทัง้ หมด
จากการให้ครูที่เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 11 คน ทำแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู
“ก่อน” การพัฒนา (Pre-test) ไดค้ ะแนนจากการทดสอบ 305 คะแนน ซง่ึ คำนวณคา่ เฉลี่ยได้เท่ากับ
27.73 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน และจากการทดสอบ “หลัง” การพัฒนา (Post-test)
พบว่า ครูทำคะแนนได้โดยรวม เท่ากับ 364 คะแนน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 33.09 จากคะแนนเต็ม 36
คะแนน ซึ่งเมื่อนำไปวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างคะแนน
“ก่อน” และ “หลัง” การทดลอง โดยการทดสอบค่าที (t-test) ตามสตู รดงั กลา่ วข้างบน พบว่า ครูที่
เป็นกลุ่มทดลองได้คะแนนจากการทดสอบ “หลัง” การทดลองสูงกว่า “ก่อน” การทดลองอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลในตารางที่ 4.10 แสดงให้เห็นว่า
โปรแกรมออนไลน์ที่ประกอบด้วย 2 โครงการ แต่ละโครงการมีคู่มือประกอบนั้น มีประสิทธิภาพที่

163

สามารถจะนำไปใชเ้ พือ่ พฒั นาครูให้เกิดการเรยี นรู้เพื่อนำผลการเรยี นรูไ้ ปพัฒนาต่อเนื่องกับนักเรียน
ต่อไปได้ และสามารถที่จะนำไปเผยแพร่ให้ประชากรที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา คือ ครูใน

โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามญั ศึกษา ทุกโรงทวั่ ประเทศ ไดน้ ำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งมีผลการวิจยั รบั รอง

ตารางท่ี 4.10 ผลการทดสอบค่าที (t-test)

การทดสอบ จำนวนกลุ่มตัวอยา่ ง ค่าเฉลยี่ SD. t
กอ่ น 11
หลงั 11 27.72 2.760 14.750*

* p < 0.05 33.09 2.071

6. ผลการวิเคราะห์ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการ

พฒั นา (Posttest) เปรียบเทยี บกบั เกณฑม์ าตรฐาน 90/90

ดังกล่าวในบทที่ 3 ว่าตามทัศนะทางวิชาการ การประเมินตามแนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน
90/90 เป็นการบอกค่าประสิทธิภาพของบทเรียนสำเร็จรูปหรือบทเรียนโปรแกรม (Programmed
Materials หรือ Programmed Textbook หรือ Programmed Lesson) ซึ่งเป็นสื่อที่มีเป้าหมาย
หลักเพื่อใหผ้ ู้เรียนใช้เรียนด้วยตนเองเปน็ สำคัญ หลักจิตวิทยาสำคัญที่เป็นฐานคิดความเชื่อของสอ่ื
ชนิดนี้คือทฤษฎีการเรียนแบบรอบรู้ (Mastery Learning) ซึ่งมีความเชื่อว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถ
เรยี นรไู้ ด้ หากจัดเวลาเพยี งพอจัดวธิ ีการเรยี นท่เี หมาะสมกบั ผู้เรยี นก็สามารถทจ่ี ะทำให้ผเู้ รยี นสามารถ
เรียนรู้ได้ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรยี นได้

โดยเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) ในงานวิจัยนี้ หมายถงึ เกณฑ์ท่ีใช้
วัดความมีประสิทธิภาพของคู่มือต่อการเสริมสร้างความรู้ในโครงการพัฒนาความรู้ให้กับอาจารย์
ผูส้ อนท่ีเป็นกลมุ่ ทดลอง โดย 90 ตัวแรก หมายถงึ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี ของผ้เู รยี นทงั้ กลมุ่ ทไ่ี ดจ้ าก
การวัดดว้ ยแบบทดสอบวดั ความรอบร้หู ลงั จากเรยี นจากบทเรยี นที่สรา้ งข้ึนจบลง 90 ตัวหลัง หมายถงึ
รอ้ ยละของจำนวนผู้เรยี นทีส่ ามารถทำแบบทดสอบ (วัดความรอบรู้หลงั การเรยี นจากบทเรียนท่ีสร้าง
ขึ้นจบลง) โดยสามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านตามเกณฑ์วัตถุประสงค์ทุกวัตถุประสงค์ (มนตรี แย้ม
กสิกร, 2551)

ทั้งนี้ ความหมายนี้แตกต่างจากความหมายของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ดั้งเดิมตาม
ทัศนะของ เปรื่อง กุมุท (2519) ภาควิชาเทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้นำ
เสนอแนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 คนแรก (ในประเทศไทย) นั่นคือ 90 ตัวแรก เป็นคะแนนเฉลย่ี
ของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงทุกคน เมื่อสอนครั้งหลงั เสร็จใหค้ ะแนนเสร็จ นำคะแนนมาหาคา่ ร้อยละให้
หมดทกุ คะแนนแล้วหาคา่ ร้อยละเฉลย่ี ของทั้งกลุม่ ถา้ บทเรยี นโปรแกรมถึงเกณฑ์ ค่าร้อยละเฉลี่ยของ
กลมุ่ จะตอ้ งเป็น 90 หรือสงู กว่า 90 ตัวทีส่ องแทนคณุ สมบัตทิ วี่ า่ ร้อยละ 90 ของผู้เรยี นทง้ั หมด ได้รับ
ผลสมั ฤทธ์ติ ามความมุ่งหมายแต่ละขอ้ และทกุ ข้อของบทเรยี นโปรแกรมนนั้ (เปรื่อง กมุ ทุ , 2519 อ้าง
ถึงใน มนตรี แยม้ กสิกร, 2551)

ตามทศั นะของ มนตรี แย้มกสิกร (2551)

สตู รทใ่ี ชใ้ นการคำนวณ 90 ตัวแรก = {(Σ X /N) X 100)}/R

164

โดย 90 ตัวแรก หมายถงึ จำนวนรอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน
Σ X หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทำได้ถูกต้องจากการ
ทดสอบหลงั เรยี น
N หมายถึง จำนวนผเู้ รียนทงั้ หมดทใี่ ช้เป็นกลมุ่ ตวั อยา่ งในการคำนวณประสทิ ธภิ าพครง้ั น้ี
R หมายถึง จำนวนคะแนนเต็ม ของแบบทดสอบหลงั เรียน
สูตรทใ่ี ช้ในการคำนวณ 90 ตวั หลัง = (Y x 100)/ N
โดย 90 ตัวหลัง หมายถึง จำนวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบผ่านทกุ
วตั ถุประสงค์
Y หมายถงึ จำนวนผ้เู รียนทีส่ ามารถทำแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์
N หมายถึง จำนวนผู้เรียนทั้งหมดทใี่ ช้เป็นกล่มุ ตวั อย่างในการคำนวณประสิทธิภาพครงั้ น้ี
ผลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของครทู ี่เปน็ กลมุ่ ทดลองหลังการพฒั นา (Posttest) จาก
การดำเนินงานในโครงการท่ี 1 โดยใชแ้ บบทดสอบผลการเรยี นร้ขู องครูท่มี ลี กั ษณะเปน็ แบบปรนัย ที่มี
ตัวเลือก 4 ตัวเลือก จำนวน 36 ข้อ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลดัง
ตารางท่ี 4.11

ตารางท่ี 4.11 ผลการวิเคราะหผ์ ลการทดสอบผลการเรยี นรขู้ องครูตามเกณ

กลุ่มทดลอง วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรียน
คนที่ นยิ าม ความสำคญั ลักษณะ/คณุ ลกั ษณะ

คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ผล

1 5 ผ 5 ผ 6ผ

2 6 ผ 6 ผ 5ผ

3 6 ผ 6 ผ 6ผ

4 6 ผ 5 ผ 6ผ

5 6 ผ 4 ม 5ผ

6 5 ผ 6 ผ 6ผ

7 6 ผ 6 ผ 6ผ

8 5 ผ 6 ผ 6ผ

9 4 ม 4 ม 5ผ

10 6 ผ 6 ผ 5 ผ

11 6 ผ 6 ผ 4 ม

รวม 61 10 60 9 60 10

เฉลยี่ 5.55 5.45 5.45

90 แรก 92.42 90.91 90.91

90 หลัง 90.91 81.82 90.91

หมายเหตุ

1) เกณฑก์ ารผ่านแตล่ ะวัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ ตอ้ งตอบถกู ไมน่ ้อยกว่า 5 ข้อจากข้อสอบ 6 ข้อ

2) ผล หมายถงึ ผ่าน(ผ) หรอื ไมผ่ า่ นเกณฑ(์ ม) จำนวนผูท้ สี่ อบผ่านแตล่ ะวัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นร

165

ณฑม์ าตรฐาน 90/90

นรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้

ะ แนวการพฒั นา ข้ันตอนการพัฒนา การประเมนิ ผล รวม

คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ผล 34
32
6ผ 6ผ 6ผ 36
33
5ผ 5ผ 5ผ 31
35
6ผ 6ผ 6ผ 36
34
6ผ 5ผ 5ผ 30
31
5ผ 6ผ 5ผ 32
364
6ผ 6ผ 6ผ 33.09
91.92
6ผ 6ผ 6ผ 92.42

6ผ 6ผ 5ผ

6ผ 6ผ 5ผ

5ผ 4ม 5ผ

5ผ 6ผ 5ผ

62 11 62 10 59 11

5.64 5.64 5.36

93.94 93.94 89.39

100.00 90.91 100.00

อ ซง่ึ เท่ากับรอ้ ยละ 83.33 ของคะแนนเต็ม
รู้จะใชใ้ นการคำนวณตามเกณฑร์ ้อยละ 90 ตวั หลัง

6.1) ผลการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครูเปรยี บเทียบกบั เกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรก
ผลจากการวิเคราะหข์ ้อมลู จากการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครทู ี่เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 11
คนหลังการพัฒนา (Posttest) จากแบบทดสอบซึ่งมี 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ แต่ละวัตถุประสงค์การ
เรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อ รวมข้อสอบทั้งฉบับ 36 ข้อ เพื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรกซึ่ง
หมายถึงจำนวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 33.09
คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เมื่อคิดเป็นร้อยละแล้วได้ 91.92 ซึ่งมีค่าร้อยละที่สูงกว่าเกณฑ์ที่
กำหนดไว้รอ้ ยละ 90 แสดงวา่ การเสนอเนือ้ หาในคู่มือประกอบโครงการทุกชุดมีประสทิ ธิภาพที่สามารถ
นำไปใชพ้ ฒั นาครูให้เกดิ การเรยี นรูไ้ ดต้ ามเกณฑ์ท่กี ำหนด
6.2) ผลการทดสอบผลการเรยี นรู้ของครูเปรยี บเทียบกบั เกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลงั
ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของครูที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการ
พัฒนา (Posttest) จากแบบทดสอบซึ่งมี 6 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ แต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้มี
ข้อสอบ 6 ข้อ รวมข้อสอบทัง้ ฉบับ 36 ข้อ เกณฑ์การผ่านแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ต้องตอบถูกไม่
น้อยกว่า 5 ข้อจากข้อสอบ 6 ข้อ ซึ่งเทา่ กับร้อยละ 83.33 ของคะแนนเต็ม เพื่อใช้ในการคำนวณเกณฑ์
มาตรฐาน 90 ตวั หลงั ซึ่งหมายถึงร้อยละของจำนวนครทู ี่สามารถทำแบบทดสอบไดผ้ า่ นทุกวัตถุประสงค์
การเรียนรู้ ซึ่งจากจำนวนครูที่เป็นกลุ่มทดลองทัง้ หมด 11 คน พบว่า มีครูร้อยละ 92.42 ที่สามารถทำ
แบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งเป็นค่าร้อยละที่สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 90
แสดงวา่ การเสนอเน้อื หาในคมู่ ือประกอบโครงการทุกชุดมีประสทิ ธิภาพที่สามารถนำไปใชพ้ ัฒนาครูใหเ้ กดิ
การเรียนรู้ได้ตามเกณฑท์ กี่ ำหนด
ระยะที่ 2 ผลการทดลองตามโครงการท่ี 2 : โครงการครูนำผลการเรยี นรสู้ ู่การพฒั นา

นักเรียน

เป็นระยะของการนำผลการเรียนรสู้ ู่การปฏิบตั ิของครูทีเ่ ปน็ กลมุ่ ทดลองตามโครงการครูนำผล

การเรียนรู้สู่การพัฒนาผู้เรียน โดยในการปฏิบัตินั้น เป็นการกำหนดให้ครูที่เป็นกลุ่มทดลองนำผลการ

เรยี นรูท้ ่ีไดจ้ ากการพฒั นาตนเองจากค่มู อื ตามโครงการที่ 1 ไปใชพ้ ัฒนานกั เรียนใหเ้ กิดผลการพฒั นาตามที่

คาดหวงั มีผลการดำเนินงานตามข้ันตอนตา่ งๆ ดงั น้ี

1) การช้แี จงระเบียบวิธวี ิจยั ใหก้ บั ครทู ่ีเปน็ กล่มุ ทดลอง

ผวู้ จิ ัยลงพ้นื ท่ีจรงิ ณ โรงเรยี นบาลีสาธิตศึกษามหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วดั ศรีษะเกษ โดย
การลงพ้นื ท่ีพบปะกบั ครทู ่ีเปน็ กล่มุ ทดลอง ในวันท่ี 21 ธนั วาคม 2564 (ดงั ภาพท่ี 4.8 ) เพื่อแนะนำ ช้แี นะ
วิธีการประสานงานต่าง ๆ แนะนำการส่งงานผ่าน facebook messenger (Group messenger) และ
แนะนำเว็ปไซต์ เพื่อเขา้ ไปดาวน์โหลดเอกสารต่างๆ โดยใหอ้ สิ ระแก่ครทู เ่ี ป็นกลมุ่ ทดลอง ผู้วิจัยไมเ่ ข้าไปย่งุ
เกี่ยว หลังจากถอดบทเรียน ครูนำผลการเรียนรู้ที่ได้จากโครงการที่ 1 ไปพัฒนานักเรียนให้เกิดผลการ
พัฒนาตามทีค่ าดหวงั ในระยะเวลา 2 เดอื น ซงึ่ ครูทเ่ี ป็นกลมุ่ ทดลองได้เร่ิมดำเนินการพัฒนานักเรียนตาม
โครงการที่ 2 ต้งั แตว่ ันที่ 21 ธันวาคม 2564 ถงึ วันท่ี 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

167

ภาพท่ี 4.8 การประชุมชแ้ี จงระเบียบวิธีวจิ ยั ให้กับครูที่เปน็ กลุม่ ทดลอง

2) การประเมินทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-
test)

จากการใช้แบบประเมินทักษะเชงิ นวัตกรรมกับนกั เรยี นทีเ่ ป็นกลุม่ ทดลอง “ก่อน” การพัฒนา
(Pre-test) จำนวน 204 คน โดยใช้แบบสอบถามท่ีมีลักษณะเป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับที่ผู้วิจัยสร้าง
ขึ้น ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าเฉลี่ย (Mean: ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation: S.D.) ดังตารางท่ี 4.12

ตารางที่ 4.12 ค่าเฉลี่ย (Mean: ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.)
จากผลการประเมนิ ทักษะเชิงนวัตกรรมของนกั เรยี นก่อนการทดลอง (Pretest)

รายการลักษณะของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมที่ประเมิน ผลการประเมิน
S.D.
ความมงุ่ มนั่ (Energy)
1) ฉนั มเี ป้าหมายในการทำงานเสมอ 3.60 1.12
2) ฉนั มีพลงั มากมายในการทำงานแต่ละวัน 3.51 1.11
3.52 1.12
3) ฉันกระตือรอื ร้นในการเรียนวิชาทีฉ่ ันเลือก 3.44 1.07
4) ฉันกระตือรอื ร้นท่ีจะช่วยเหลือผู้อนื่ 3.50 1.13
5) ฉันรูส้ ึกตืน่ เต้นและมกี ำลงั ใจเม่อื ฉันได้สรา้ งสิ่งท่ีไม่เคยมีใครทำได้ 3.60 1.12

ความตระหนักในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) 3.46 1.12
6) ฉนั มองหาส่ิงอ่นื ๆท่อี ยู่ภายนอกโรงเรยี น ทฉ่ี นั รู้สึกว่าควบคุมได้ ไม่ก่อใหเ้ กิดปญั หา
3.43 1.13
ตามมา 3.57 1.09
7) ในอนาคตฉนั ฉันอยากทำงานทท่ี า้ ทายท่ีตนเองสนใจ 3.48 1.08
8) ฉนั เช่ือมั่นในตนเองว่าเมื่อเรม่ิ ตน้ ทำอะไรแล้ว ฉนั สามารถทำใหส้ ำเร็จได้
9) ฉันจะเข้ารว่ มในกิจกรรมท่ีตนเองสนใจ โดยไมส่ นใจว่าเพ่อื นสนทิ ของฉันจะเข้ารว่ ม

หรือไม่

รายการลักษณะของทักษะเชิงนวัตกรรมทีป่ ระเมิน 168

10) ฉันเชือ่ มั่นในความคิดของตัวเอง ฉันจะทำในส่ิงที่ฉันคิดวา่ ดีทีส่ ุด ผลการประเมิน
11) ฉนั เชือ่ วา่ นักเรยี นควรออกความเห็นเกีย่ วกับแนวทางการดำเนนิ งานของโรงเรียน S.D.

ความคิดสร้างสรรค์และเปน็ อิสระ (Creativity) 3.54 1.07
12) ฉันชอบคดิ ทำโครงการใหม่ๆ 3.38 1.13
13) ฉันชอบประดษิ ฐส์ ่งิ ใหมๆ่ ในแบบของตนเอง
14) ฉนั ชอบคดิ จะทำให้งานทท่ี ำอยู่มีการพัฒนาขนึ้ 3.47 1.14
15) ฉันคดิ ว่าปัญหาทีซ่ ับซอ้ นนั้นมีความท้าทายแฝงอยู่ 3.58 1.11
16) ฉนั ชอบค้นหาวิธีการใหม่ๆ มาจดั การกับปัญหาทีก่ ำลังเจออยู่ 3.41 1.09
17) ฉันสามารถผสมผสานความคดิ ใหม่ๆ กับความคดิ เดมิ ที่มีอยู่แล้ว 3.54 1.09
18) ฉนั รู้สึกมีอิสระที่จะทำส่งิ ใหม่ๆในงานที่ตนเองรบั ผิดชอบ 3.44 1.05
19) ฉนั เป็นคนที่มเี วลาให้กับสิ่งใหม่ๆอยเู่ สมอ 3.55 1.12
20) ฉนั คดิ วา่ ฉันสามารถทำงานของตัวเองได้ดี 3.41 1.12
21) ฉนั เป็นคนท่รี ับผิดชอบงานในแต่ละวันได้ดี 3.47 1.07
22) ฉนั ตอ้ งการการเรียนทม่ี กี ิจกรรมทใ่ี ช้ความคิดสรา้ งสรรค์ 3.46 1.08
23) ฉันชอบการเรยี นทีม่ ีกิจกรรมต่างๆมากกว่าการนั่งเรียนเฉยๆทีโ่ ตะ๊ 3.41 1.11
3.41 1.15
การเผชญิ กับปญั หาและความซับซอ้ น (Capacity To Navigate 3.55 1.14
Complexity)
24) ฉันมีทกั ษะในการทำความเข้าใจและแก้ไขปัญหา 3.67 1.13
25) ฉันมที ักษะการตัดสนิ ใจร่วมกันในกลุ่ม 3.50 1.12
26) ฉนั มีทกั ษะในการวางแผนเพือ่ กำหนดกลยทุ ธ์ 3.57 1.10
27) ฉนั ชอบมองหาวิธีพัฒนาการทำงานของตนเอง 3.44 1.15
28) ฉันรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของคนอื่นๆ เมื่อเขาสร้างสง่ิ ใหมๆ่ ข้ึนมา 3.41 1.09
29) ฉันให้ความสำคัญกบั การพฒั นาในสิง่ ที่รับผิดชอบอยู่ และการหาโอกาสใหมๆ่ 3.48 1.12
ดว้ ย
กลา้ เส่ียง (Risk-propensity) 3.51 1.11
30) ฉันยอมรับความเสีย่ งในการทำงานได้ 3.50 1.13
31) ฉนั ชอบความท้าทาย แม้วา่ ความท้าทายนนั้ อาจทำใหฉ้ ันตอ้ งพบความเส่ียง 3.39 1.08
32) ฉนั ยอมรบั ความเส่ยี งเพื่อการสร้างนวัตกรรม 3.39 1.11
33) ฉนั เป็นคนท่ีเพ่ือนร่วมงานสามารถกระตุ้นใหเ้ กดิ ความคดิ ได้ 3.67 1.11
34) ฉันคดิ วา่ การเขา้ มาควบคุมการทำงานอยา่ งเขม้ งวดน้ันไม่มปี ระโยชน์ 3.48 1.12
35) ฉันเข้าใจว่าทุกโครงการทเ่ี ข้าไปมีส่วนร่วม จะไม่ประสบความสำเรจ็ ทง้ั หมด 3.49 0.19

โดยรวม

169

จากตารางท่ี 4.12 เห็นไดว้ า่ นกั เรียนทเ่ี ป็นกลุ่มทดลองได้รบั การประเมินทักษะเชิงนวัตกรรม
กอ่ นทคี่ รูผสู้ อนทีเ่ ป็นกลุ่มทดลองจะนำความรูส้ กู่ ารพฒั นาผเู้ รียน (Pre-test) มคี า่ เฉลี่ย (Mean) โดยรวม
เทา่ กับ 3.49 และมีค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เท่ากบั 0.19

3) ครทู ่เี ปน็ กลุ่มทดลองนำผลการเรยี นรูส้ ่กู ารพฒั นาผู้เรียน
3.1 ข้ันตอนและกจิ กรรมการดำเนินงาน
หลังจากที่ครูที่เป็นกลุ่มทดลองได้ศึกษาคู่มือประกอบโครงการที่เป็นโปรแกรมออนไลน์

โดยหลักการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (Self-Learning) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่สามารถจะนำผลการเรียนรู้ไปสู่
การพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรมให้กับนักเรียน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ครูที่เป็นกลุ่ม
ทดลอง มีการดำเนินงานตลอดระยะเวลา 2 เดือน คือ ตั้งแต่วันที่ 24 ธันวาคม 2564 ถึงวันที่ 24
กมุ ภาพนั ธ์ 2565 โดยดำเนนิ ตามขัน้ ตอนดังต่อไปน้ี

1) มีการประชุมวางแผนปรึกษากบั ผู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งในโรงเรยี นทัง้ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา และ
คณะครกู ลุ่มทดลองเพ่อื ระดมความคิด วางแผน เพ่อื นำความรู้หลังจากท่ีศกึ ษาค่มู ือจากผู้วิจัยเขียนขึ้นมา
วา่ จะนำไปปรบั ใชอ้ ยา่ งไร

2) จัดเตรียมสถานที่ ห้องเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมให้ผู้วิจัยถ่ายทอดองค์ความรู้แก่
นักเรยี น

3) หลังจากครูผู้สอนดำเนินการศกึ ษาคูม่ ือวจิ ัยแลว้ โดยใชเ้ วลาวา่ งศึกษา เพ่ือไม่กระทบกับ
การจัดการเรียนการสอน และระดมสมองหาข้อพกพร่องของคู่มือโดยการแบบถอดบทเรียน เพื่อการ
ปรับปรุงแกไ้ ขโดยทางครไู ด้กรอกขอ้ มลู เปน็ รายบุคคลผา่ นทาง Google Form

4) เมือ่ ศกึ ษาจนครบทกุ ท่านตามกรอบระยะเวลาทผ่ี ู้วจิ ยั แนะนำ ผู้วิจยั ประชุมคณะครูผู้ร่วม
วิจัยอีกครั้ง เพื่อระดมความคิดหาข้อสรุปร่วมกันหลังจากที่ทุกคนศึกษามาแลว้ ว่ามีข้อพกพร่องอะไรท่ี
จะตอ้ งแกไ้ ขปรับปรุงใหเ้ ปน็ แนวทางเดียวกนั

5) นำแบบประเมินตนเองของผู้เรียน เพ่อื ตรวจสอบผเู้ รียนก่อนการพัฒนา เพ่อื ทราบข้อมูล
ก่อนการพัฒนาเบอ้ื งตน้ จะมผี ลอย่างไร ตามกระบวนการทผ่ี วู้ จิ ยั ได้แนะนำ

6) หลังจากนั้นครูมีการนำผู้ความรู้ทัง้ หมดที่ได้จากการศึกษาคู่มือ ไปปรับใช้ในการจัดการ
เรียนการสอน ไปพัฒนาผู้เรียน ตามกระบวนการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะเชิงนวัตกรรม ตาม
กระบวนการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะเชิงนวัตกรรม ประกอบกับมีการบันทึกภาพกิจกรรมการเรียน
การสอน ซึ่งผู้วิจัยจะไปร่วมสังเกตการณ์ครูที่เป็นกลุ่มทดลองจัดการเรียนรู้ ตลอดระยะเวลา 2 เดือน
พร้อมท้ังใหอ้ ิสระกบั กล่มุ ครผู ูร้ ว่ มทดลองทุกท่าน โดยในชว่ งเวลาดงั กล่าว มที ้งั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
แบบออนไซต์ และดำเนินการวจิ ัยในโครงการที่ 2 เสร็จสนิ้ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ยมีการบนั ทกึ ภาพกจิ กรรม
การเรียนการสอน สอดแทรกผ่านกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในรายวชิ าของตนเอง โดยใช้หลกั การ แนวคดิ เทคนิค
วธิ ีการ กจิ กรรมทีเ่ ป็นทางเลอื กท่ีหลากหลาย ท่เี หมาะสมกบั เนอ้ื หาวชิ าของตน โดยเนน้ เพื่อพัฒนาทักษะ
เชิงนวัตกรรมของนักเรียนควบคู่ไปกับเน้ือหาในรายวิชา เช่น กรณีของ ครูพิมพรรณ มาลาอบ รายวิชา
ภาษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ได้นำความรู้จากการศึกษาและพัฒนาต่อยอดในด้านการสอนในช่ัวโมง

170
เรียน โดยการนำเสนอการเรยี นแบบความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละสอ่ื การสอนทก่ี ่อใหเ้ กดิ แรงจงู ใจใหแ้ กน่ ักเรยี น
ให้นักเรียนเกิดความเปน็ ผใู้ ฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น และ ยังส่งเสรอมใหน้ กั เรยี นไดค้ น้ หาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
เพื่อนำมาเสนอเป็นการทำให้นักเรียนได้ใช้สื่อต่างๆที่ทันสมัยและทันต่อข่าวสารต่างๆ และ ครู สมภาร
สิงหาพรม ครสู อนวิชาการงานอาชพี และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ยังนำความรูแ้ ละทักษะท่ี
ได้จากการศึกษาคู่มือ นำมาบูรณาการกับการสอนในชั่วโมงเรียน โดยมีการกระต้นกำลังใจให้นักเรียน
อยากเรียนและสนใจในการเรียนมากข้ึน โดยการตั้งรางวัลและยงั สนับสนุนให้นักเรียนการแสดงออกใน
การสำเสนอและในการแสดงความคิดเห็นในชัน้ เรยี น ทำให้นักเรยี นเกิดองคค์ วามรู้และพฒั นาตนเองได้ดี
ยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถบูรณาการกับการเรียนรู้ทักษะในศตวรรษที่ 21 ทักอื่น ๆ ได้และมีการบันทึก
กระบวนการพัฒนาตัวเองของผู้เรียนซึ่งผู้วิจัยจะไปร่วมสังเกตการณ์ ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ตาม
กระบวนการตลอดระยะเวลา 2 เดอื น (ดังภาพท่ี 4.9)

7) หลังจากเสร็จกระบวนการทั้งหมดจากการนำความรู้ไปพัฒนานักเรียน เพื่อให้รู้ถึงการ
เปลี่ยนแปลงของนักเรียน ครูมีการประเมินนักเรียน โดยใช้แบบประเมินตนเองของผู้เรียน เป็นแบบ
ประเมินคา่ 5 ระดับ โดยใช้แบบสอบถามชุดเดิม ใน Google Form ก็จะได้ข้อมูลจากแบบประเมิน มา
คำนวณค่าตา่ งๆป็นการเสรจ็ สิ้นในกระบวนการนำความร้สู กู่ ารพฒั นาผู้เรียน

ภาพที่ 4.9 ครูทีเ่ ปน็ กลุ่มทดลองนำผลการเรียนรสู้ ่กู ารพัฒนานกั เรียน

171

ผลการตรวจสอบเพอ่ื หาขอ้ บกพร่องของคู่มือหลังการทดลองเสรจ็ ส้นิ ลง
มกี ารตรวจสอบหาขอ้ บกพรอ่ งจากผรู้ ว่ มวิจัย คือคณะครู 11 ท่าน ไดม้ กี ารศึกษาคู่มือ ท้ัง 6 ชดุ

โดยมีการศึกษาแบบเดียว คือ ให้คุณครูแต่ละท่านนำไปศึกษาด้วยตัวเอง แล้วหลังจากนั้นก็ มาประชมุ
ระดมความคดิ กันเป็นกล่มุ อกี ครัง้ และได้ขอ้ สรปุ ออกมาดงั น้ี

6.1 การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนำไปใช้ มีขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี

- โดยรวมคู่มือมเี นือ้ หาที่มีสาระ และมีกระบวนการแนวคิดต่าง ๆ โดยรวมเน้อื หา
เปน็ ประโยชน์ตอ่ การนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

6.2 การปรับปรงุ แกไ้ ขด้านภาษา มขี อ้ เสนอแนะ ดงั นี้
- ไมม่ ขี อ้ เสนอแนะ

6.3 การปรบั ปรงุ แกไ้ ขด้านรปู แบบการนำเสนอ มีข้อเสนอแนะ ดงั นี้
- โดยรวมรปู แบบการนำเสนอในรูปแบบของกิจกรรมถามเพื่อทบทวนความรู้ความ
เข้าใจ เพอ่ื ใหไ้ ด้กระต้นุ ความคิด และการมีส่วนรว่ ม มีขอ้ อเสนอแนะให้ใช้รูปแบบ
การนำเสนอที่หลากหลาย การตกแตง่ หัวข้อ ข้อความให้โดดเด่น มีความน่าสนใจ
มสี ีสนั สวยงาม ควรเพมิ่ ส่อื รปู ภาพตา่ ง ๆ

6.4 อนื่ ๆ มีข้อเสนอแนะ ดังนี้
- คู่ควรลำดบั เน้อื หาใหช้ ดั เจนจากเก่าไปใหม่

3.2 การนำขอ้ เสนอทางเลือกทีเ่ ปน็ หลกั การ / แนวคดิ / เทคนิค / วิธกี าร / กจิ กรรมไปใช้ใน
การพฒั นาทกั ษะเชิงนวัตกรรมใหก้ บั นักเรียน
ในตอนท้ายของคู่มือประกอบโครงการที่สอง คือ โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนา

นกั เรยี น ผ้วู ิจยั ได้จดั ทำแบบประเมินตนเอง (Self-Assessment) โดย Google Form ไว้ เพ่ือใหค้ รูที่เป็น
กลุ่มทดลองได้ใชป้ ระเมนิ ตนเองวา่ หลังจากการนำผลการเรียนรู้สกู่ ารพฒั นานักเรยี นตลอดระยะเวลา 2
เดือนที่ผ่านมา ได้นำเอาหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะเชงิ
นวตั กรรมให้กับนักเรยี นในระดับใด จากตวั เลอื ก 6 ระดบั คือ 0 หมายถงึ ไม่ไดน้ ำไปปฏบิ ตั ิเลย ตวั เลือก 1
– 5 หมายถงึ นำไปปฏบิ ัตนิ อ้ ยทส่ี ดุ ถงึ มากทส่ี ดุ ดงั มีผลการประเมินตนเองในตารางที่ 4.13

172

ตารางที่ 4.13 ผลการประเมินตนเองของครูที่เป็นกลุ่มทดลองในการนำข้อเสนอทางเลือกที่เป็น
หลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ กี าร / กจิ กรรมไปใช้ในการพฒั นาทกั ษะเชงิ นวัตกรรมให้กบั นกั เรยี น

ข้อเสนอหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ ีการ / กจิ กรรม คา่ ความถ่แี สดงระดับการนำไปปฏิบตั ิ
เพอื่ การนำไปปฏิบตั ิ 01234 5

การพัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรม 227
155
ทัศนะของ Baiya (2018) 119
137
1. ช่วยพวกเขาพัฒนาการตระหนักรู้ (Help them Develop
Self-Awareness) 12 8

2. สนับสนุนการเรยี นรู้ทเ่ี พม่ิ มากข้ึน (Support their 22 7
Intellectual Growth) 11 9
22 7
3. ส่งเสรมิ ใหม้ ีความคดิ สร้างสรรค์ (Encourage them to 23 6
Embrace Creativity)
23 6
4. กระตุน้ ให้ผู้นำพัฒนาระบบนวตั กรรม (Challenge them 11 9
to Develop an Innovation System)
13 7
ทัศนะของ Myllaya (2018) 23 6
22 7
1. การกำหนดเปา้ หมายและกลยทุ ธ์ในการเข้าถึงนวตั กรรม 12 8
(Determine Objectives and Strategic Approach to
Innovation)

2. ร้จู กั ตลาด ซ่งึ กค็ อื ผู้บริโภคและคู่แขง่ (Know your
Market: Customers and Competitors)

3. กำหนดคุณคา่ ทค่ี ุณสง่ มอบใหล้ ูกค้า (Value Proposition)

4. เข้าถึงและพัฒนาแก่นความสามารถหลัก (Assess and
Develop your Core Capabilities)

5. จดั ตงั้ เทคนคิ และระบบนวัตกรรม (Establish your
Innovation Techniques and Systems)

ทศั นะของ Hengsberger (2018)

1. การส่ือสารกลยุทธ์ของนวตั กรรม (Communication of
the Innovation Strategy)

2. การฝกึ อบรมของพนักงานปฏบิ ตั ิการในแต่ละระดับ
(Cascade Workshops for Active Employee
Involvement)

3. หลักสูตรการสร้างนวตั กรรม (Innovation Crash
Courses)

4. วันนวัตกรรม (Innovation Days)

5. การปฏิบตั ิจรงิ ของการสร้างความคิดสรา้ งสรรค์ (Creativity
Workshops)

6. การแข่งขนั นำเสนอความคิด (Pitching Contests)

173

ขอ้ เสนอหลักการ / แนวคิด / เทคนคิ / วธิ กี าร / กิจกรรม คา่ ความถ่แี สดงระดับการนำไปปฏบิ ตั ิ
เพอื่ การนำไปปฏบิ ัติ 01234 5

7. รางวัลแหง่ นวัตกรรม (Innovation Awards) 11 9
11 9
8. การลงทุนร่วมกนั (Corporate Venturing) 22 7
22 7
9. เวลาทำงานในการสรา้ งนวัตกรรม (Working Time for 11 9
Innovation) 22 7

10. หอ้ งทดลองของนวตั กรรม (Innovation Labs) 13 7

ทัศนะของ Jonathan (2014) 21 8
11 9
1. อยา่ คดิ ว่าความสำเร็จของคุณเป็นเร่ืองของโชค (Don’t
Think your Success is a Matter of Luck) 22 7
11 9
2. ปลูกเมล็ดขนาดเลก็ ๆทอี่ าจจะเป็นตน้ ไมท้ ยี่ งิ่ ใหญ่ (Plant
Many Small Seeds from Which a Mighty Oak Tree 12 8
can Grow)
11 9
3. ลองพลิกแพลงปญั หาของคุณ เปลย่ี นข้อบกพร่องให้เป็น 22 7
สินทรพั ย์ (Turn your Problem Around. Change a 11 9
Defect into an Asset) 13 7
11 9
4. ความรแู้ ละผลผลติ เปน็ เหมือนดอกเบี้ยทบต้น (Knowledge
and Productivity are Like Compound Interest)

5. ค้นหาบคุ คลสำคัญและปญั หาท่ีสำคัญ จดจ่อความคดิ ของ
คณุ ไวท้ ี่พวกเขา (Find Important People and
Problems. Focus your Mind on Them)

6. เตรยี มจติ ใจใหพ้ ร้อมสำหรบั โอกาส (Prepare your Mind
for Opportunity)

7. ทำงานแบบเปิดใจตลอดเวลา คุณจะร้เู องว่าส่งิ ใดสำคญั
(Work with the Door Open. You will Sense What is
Important)

8. รวู้ า่ เมือ่ ไหร่ตอ้ งทำงานเป็นระบบ และรวู้ ่าเมือ่ ไหรต่ ้อง
ทำงานแบบโดดเดี่ยว (Know When to Work with the
System, and When to Go it Alone)

ทัศนะของ Cherry (2019)

1. ตง้ั เป้าหมายเพอื่ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของคุณเอง
(Commit yourself to Developing your Creativity)

2. เปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญ (Become an Expert)

3. ให้รางวัลความอยากรู้อยากเห็นของคณุ (Reward your
Curiosity)

4. พรอ้ มรับความเส่ียงอยู่เสมอ (Be Willing to Take Risks)

5. สร้างความม่ันใจ (Build your Confidence)

174

ขอ้ เสนอหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรม ค่าความถแี่ สดงระดับการนำไปปฏบิ ตั ิ
เพื่อการนำไปปฏิบตั ิ 01234 5

6. ให้เวลาสำหรบั ความคิดสร้างสรรค์ (Make Time for 22 7
Creativity)
11 9
7. เอาชนะทศั นคตเิ ชงิ ลบที่ปดิ ก้ันความคิดสรา้ งสรรค์
(Overcome Negative Attitudes that Block 22 7
Creativity) 14 6

8. ต่อส้กู ับความกลัวการลม้ เหลว (Fight your Fear of Failure) 13 7

9. ระดมสมองเพ่ือสรา้ งความคิดใหม่ ๆ (Brainstorm to 13 7
Inspire New Ideas) 11 9

10. ตระหนกั ว่าปญั หาส่วนใหญม่ ีวิธีแก้ไขหลายทาง (Realize 12 8
that Most Problems have Multiple Solutions)
22 7
11. รกั ษาความคิดสร้างสรรค์ไว้ (Keep a Creativity Journal)
11 9
12. สร้างแผนทค่ี วามคดิ และแผนภูมิ (Create a Mind Map
and Flow Chart) 22 7

13. ทา้ ทายตวั เองและสรา้ งโอกาสสำหรับความคิดสร้างสรรค์ 11 9
(Challenge yourself and Create Opportunities for
Creativity) 11 9

14. ลองใชเ้ ทคนคิ "หมวกหกใบ" (Try the "Six Hats" 22 7
Technique) 11 9
11 9
15. มองหาแหล่งที่มาของแรงบันดาลใจ (Look for Sources of
Inspiration) 13 7
29
16. พจิ ารณาสถานการณ์ทางเลือก (Consider Alternative
Scenarios)

17. ลองใชเ้ ทคนคิ สโนวบ์ อล (Try the Snowball Technique)

ทศั นะของ Stack (2013)

1. ส่งเสริมสภาพแวดล้อมการทำงานทเ่ี ปดิ กว้างและ
สรา้ งสรรค์ (Foster an Open, Creative Work
Environment)

2. กระตนุ้ ทีมงานของคณุ (Motivate your Team)

3. ส่งเสริมความหลากหลาย (Encourage Diversity)

4. จดั เตรยี มเครื่องมือท่ีเหมาะสม (Provide the Proper
Tools)

5. สรา้ งทีมนวตั กรรม (Create Innovation Teams)

6. อยา่ ทำการลงโทษ (Don’t Penalize)

ทศั นะของ Kaye (2018)

175

ข้อเสนอหลักการ / แนวคิด / เทคนคิ / วธิ ีการ / กจิ กรรม คา่ ความถี่แสดงระดับการนำไปปฏิบัติ
เพอื่ การนำไปปฏิบัติ 01234 5

1. กำหนดวตั ถปุ ระสงค์และความคาดหวังท่ีชัดเจนและเปน็ ไป 11 9
ไดจ้ ริง (Set Clear and Realistic Objectives and
Expectations) 22 7

2. ตัดสินใจโดยอาศัยความคล่องตัวและมีส่วนร่วม (Use 22 7
Dynamic, Participative, Decision Making)

3. ต้องการงานทีย่ อดเยีย่ มดว้ ยการวางแนวงานทย่ี ืดหยุน่
(Demand Exceptional Work with Flexible Task
Orientation)

จากตารางท่ี 4.13 เห็นไดว้ ่า ครูทเ่ี ปน็ กล่มุ ทดลองได้นำเอาข้อเสนอทางเลือกทเี่ ป็นหลักการ /
แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรมให้กบั นักเรียนมีลักษณะท่ี
สังเกตได้ ดังนี้ครทู เี่ ป็นกลุ่มทดลองได้นำเอาหลักการ / แนวคดิ / เทคนิค / วธิ กี าร / กจิ กรรมไปใชใ้ นการ
พัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลให้กับนักเรียนทุกข้อเสนอทางเลือกในระดับปานกลางถึงระดับมากที่สุด
(หมายเลข 3 – 5) และมขี ้อสังเกตวา่ ขอ้ เสนอท่มี ีการนำเอาไปใช้ในการพฒั นาระดับมากทสี่ ุด (หมายเลข
5) 10 อันดบั แรก คือ 1) สง่ เสรมิ ให้มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ 2) กำหนดคุณคา่ ทคี่ ุณสง่ มอบใหล้ ูกค้า 3) การ
ฝกึ อบรมของพนกั งานปฏบิ ัตกิ ารในแตล่ ะระดับ 4) รางวลั แห่งนวัตกรรม 5) การลงทนุ รว่ มกนั 6) อย่าคิด
วา่ ความสำเรจ็ ของคณุ เปน็ เรื่องของโชค 7) ค้นหาบคุ คลสำคญั และปญั หาทสี่ ำคญั จดจอ่ ความคิดของคุณ
ไว้ที่พวกเขา 8) ทำงานแบบเปิดใจตลอดเวลา คุณจะรู้เองว่าสิ่งใดสำคัญ 9) ตั้งเป้าหมายเพื่อพัฒนา
ความคดิ สร้างสรรค์ของคุณเอง 10) ให้รางวลั ความอยากร้อู ยากเห็นของคณุ

4.3 การนำข้อเสนอทางเลือกที่เป็นขั้นตอนการพัฒนาไปใช้ในการพัฒนาทักษะเชิง
นวตั กรรมให้กบั นักเรียน

นอกจากให้ครทู ี่เปน็ กลุ่มทดลองประเมินตนเองวา่ หลังจากการนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนา
นักเรียนตลอดระยะเวลา 2 เดอื นที่ผา่ นมาได้นำเอาหลกั การ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ กี าร / กิจกรรมไปใช้
ในการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรมให้กับนักเรียนในระดับใดแล้ว ยังให้ครูที่เป็นกลุ่มทดลองได้ประเมนิ
ตนเองวา่ ได้นำเอาขอ้ เสนอทางเลอื กทเ่ี ปน็ ข้นั ตอนการพฒั นาจากทัศนะใดไปปฏบิ ัติ หรอื ได้นำเอาแแนว
คิดที่ไดร้ บั จากทศั นะของแต่ละแหลง่ ไปประยกุ ตใ์ ช้เป็นแนวปฏบิ ตั ขิ องท่านเอง ดงั มผี ลการประเมินตนเอง
ในตารางที่ 4.14

176

ตารางท่ี 4.14 ผลการประเมินตนเองของครทู ีเ่ ป็นกลุ่มทดลองในการนำขอ้ เสนอทางเลือกท่เี ปน็
ข้นั ตอนการพฒั นาไปใชใ้ นการพฒั นาทกั ษะเชิงนวตั กรรมใหก้ บั นักเรียน

ข้อเสนอทางเลือกทเี่ ป็นขั้นตอนการพฒั นา ความถีใ่ นการ
นำไปปฏบิ ตั ิ

ทัศนะของ Magazine Spring (2007) มี 5 ขั้นตอน ดังนี้

1. การสรา้ งความคิดและการระดมความคดิ (Idea Generation and Mobilization)

2. ข้นั ตอนการสนับสนุนและกลนั่ กรองความคิด (Advocacy and Screening)

3. ข้นั ตอนการพฒั นา (Experimentation) 3
4. การสรา้ งความคิดในเชงิ พาณชิ ย์ (Commercialization In the commercialization

stage)

5. การ เ ผ ย แ พ ร ่ นวั ต กร ร มแ ล ะ การ นำนวั ต กร ร มไป ป ฏ ิ บ ั ต ิ ( Diffusion and

Implementation)

ทัศนะของ Landry (2017) มี 3 ขั้นตอน ดังน้ี

1. การค้นพบ (Discovery) 3
2. การพัฒนา (Development)

3.การทำใหเ้ ปน็ ธรุ กิจ (Commercialization)

ทศั นะของ Pisano (2020) มี 5 ข้นั ตอน ดังน้ี

1. กำหนดเป้าหมายและแนวทางเชงิ กลยุทธใ์ นการสร้างสรรคน์ วัตกรรม (Set Goals and

Strategic Directions for Innovation)

2. ร้จู กั ตลาด หาลูกค้าและดคู ่แู ข่งทางธรุ กิจ (Know the Market, Find Customers

and Look at Business Competitors) 2

3. กำหนดคุณค่าของสินค้า (Determine the Value of the Product)

4. สร้างทฤษฎแี ละระบบนวัตกรรมของคุณ (Build your Theory and Innovation

System)

5. นำกลยทุ ธไ์ ปใช้ (Implement Strategies)

ทศั นะของ Molloy (2019) มี 5 ขั้นตอน ดังน้ี

1. มองหาโอกาสสำหรบั สร้างสรรคน์ วัตกรรม (Spot opportunities for innovation)

2. จดั ลำดับความสำคัญของโอกาส (Prioritize opportunities)

3. ทดสอบนวตั กรรมต่าง ๆ ท่มี คี วามเป็นไปไดข้ องคณุ (Test your potential 1
innovations)

4. สรา้ งการสนับสนุนให้นวตั กรรมของคุณ (Build support for your innovations)

5. เรียนรู้จากความพยายามในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของคุณ (Learn from your

innovation efforts)

ทศั นะของ Boutelle (2020) มี 7 ขนั้ ตอน ดงั น้ี

1. คน้ หาความท้าทาย (Clarifying the challenge) 2
2. ตง้ั คำถาม (Formulating the questions)

3. สรา้ งแนวคดิ (Generating the ideas)


Click to View FlipBook Version