The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-10-17 09:30:05

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

ขอ้ เสนอทางเลอื กทีเ่ ป็นข้ันตอนการพฒั นา 177

4. วเิ คราะหแ์ ละสังเคราะหแ์ นวคดิ (Analyzing and synthesizing ideas) ความถี่ในการ
5. พฒั นาแนวคดิ (Developing concepts) นำไปปฏิบัติ
6. ทดสอบและเลือกสรรแนวคิด (Testing and selecting concepts)
7. การสื่อสารและความกา้ วหน้า (Communicating and advancing)

จากตารางท่ี 4.14 เหน็ ได้ว่า ครูทีเ่ ปน็ กลุ่มทดลองไดน้ ำเอาขอ้ เสนอทางเลือกท่ีเป็นข้ันตอนใน
การพฒั นาไปใช้ในการพัฒนาทักษะเชงิ นวัตกรรมให้กับนักเรียน มีลักษณะทีส่ งั เกตได้ ดงั น้ี ครูที่เป็นกลุ่ม
ทดลองได้นำเอาโมเดลขั้นตอนจากทศั นะของทุกแหล่งไปใชเ้ ป็นแนวทางการพฒั นาของตนเอง ทศั นะละ 1
หรือ 2 ราย แสดงให้เห็นว่า ครูที่เป็นกลุ่มทดลองต่างมีทัศนะต่อโมเดลการพัฒนาอย่างเป็นอิสระของ
ตนเอง แตก่ ็มขี ้อสังเกตวา่ ไม่มีครูทเี่ ป็นกลุ่มทดลองรายใดที่ไดน้ ำเอาแนวคดิ จากหลายทัศนะไปปรับหรือ
ประยุกต์ใช้เป็นของตนเองข้ึนมาใหม่ ซึ่งอาจเนื่องจากว่าแต่ละทัศนะนั้นมีแนวคิดที่แตกต่างกัน ไม่อาจ
นำมาประยุกตใ์ ช้ร่วมกันได้ หรืออาจเนื่องจากว่าครูที่เป็นกลุม่ ทดลองเหน็ ว่ามีความสะดวกที่จะเลอื กใช้
ทศั นะใดทัศนะหนึ่งมากกว่าทีจ่ ะตอ้ งนำมาประยกุ ต์ใชจ้ ากหลายทัศนะ

ในแบบประเมินตนเองของครูที่เป็นกลุ่มทดลองดังกล่าว นอกจากการประเมินถึงการนำ
ขอ้ เสนอทางเลอื กทเี่ ป็นหลกั การ / แนวคดิ / เทคนคิ / วธิ ีการ / กจิ กรรม และขน้ั ตอนการพฒั นา ไปใชใ้ น
การพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรมให้กับนกั เรยี นแล้ว ยังได้สอบถามความเห็นในประเด็นต่างๆ ในลักษณะ
เปน็ การสะทอ้ นผล (Reflection) จากการปฏบิ ตั ิดว้ ย ดังน้ี

3.4 ความเห็นของครูที่เป็นกลุ่มทดลองเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลในทางบวกต่อการพัฒนา

ทักษะเชิงนวตั กรรมแก่นกั เรียน มดี ังน้ี

- ความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั ทกั ษะเชงิ นวตั กรรม
- ทักษะการใช้งานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
- ทักษะการใช้งานคอมพิวเตอรข์ ัน้ สงู
- ความสนใจทักษะการสรา้ งนวตั กรรมของนักเรียน
- ความทนั สมัยของอปุ กรณแ์ ละเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั
- พัฒนาองค์ความรไู้ ดม้ ากยิ่งขน้ึ
3.5 ความเห็นของครูที่เป็นกลุม่ ทดลองเกี่ยวกับปัญหาหรืออุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน มี

ดงั น้ี

- ครขู าดความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ทกั ษะเชิงนวตั กรรม
- ครขู าดทกั ษะการใช้สอื่ การสอน
- ระบบสญั ญาณเครอื ข่ายและการเชือ่ มต่อของอุปกรณไ์ มด่ ีเทา่ ทค่ี วร
- อปุ กรณ์ไม่เพยี งพอตอ่ การใช้งาน

178

3.6 ความเห็นของครูทีเ่ ป็นกลุ่มทดลองเกี่ยวกับวิธีการที่ทา่ นนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา
หรอื อุปสรรค มดี งั น้ี
- ครตู ้องมคี วามรูแ้ ละความสนใจในการศกึ ษาหาความร้เู พิม่ เตมิ จากแหลง่ ตา่ ง ๆ เกยี่ วกับ
ทักษะเชงิ นวตั กรรม
- ตรวจสอบระบบสญั ญาณเครือข่ายและตรวจสอบความพรอ้ มของอปุ กรณ์
- ปรบั ทัศนะคติ แนวคดิ เกยี่ วกับการเรียนรู้ทกั ษะเชงิ นวัตกรรม

3.7 ความเห็นของครูที่เป็นกลุม่ ทดลองเก่ียวกับบทเรียนสำคัญท่ีไดร้ บั จากการปฏิบตั งิ าน
มดี งั น้ี
- ทกั ษะเชิงนวตั กรรมเป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็นในการเรยี นรู้
- ทกั ษะ ความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับนวตั กรรม เป็นส่ิงสำคญั กบั นักเรยี นอย่างมาก

3.8 ข้อเสนอแนะแนวการพฒั นาทักษะเชิงนวตั กรรมที่สำคัญทีเ่ ห็นวา่ จะทำให้การพัฒนา
ทักษะนีใ้ หเ้ กิดขึน้ กบั นกั เรยี นอยา่ งได้ผลดี มดี ังนี้
- ตอ้ งมีการศกึ ษาข้อมูล ความรเู้ กยี่ วกบั ทกั ษะเชงิ นวตั กรรมใหถ้ ูกต้อง
- พัฒนาแนวคิด และให้ความสำคัญเกย่ี วกับทักษะเชงิ นวัตกรรม
- ครูต้องมคี วามสนใจอยู่ตลอดเวลา ใหค้ วามสำคัญและฝกึ การใช้เทคโนโลยใี นการพัฒนา
ทักษะเชิงนวตั กรรมกับนกั เรยี นอยา่ งต่อเน่ือง
- ครตู อ้ งสร้างองคค์ วามรู้เก่ียวกับทกั ษะเชิงนวตั กรรมอยูส่ ม่ำเสมอ

4) ผลการตรวจสอบเพอื่ หาข้อบกพร่องของคมู่ อื หลงั การทดลองเสร็จส้นิ ลง
หลงั จากสน้ิ สุดการนำผลการเรียนรสู้ กู่ ารพฒั นาทักษะเชงิ นวตั กรรมใหก้ บั นกั เรยี นแลว้ ครูที่

เป็นกลุ่มทดลองไดร้ ่วมกบั อภปิ รายถงึ ข้อบกพร่อมของคมู่ ือแตล่ ะชดุ เพื่อการปรบั ปรงุ แก้ไข ดังนี้
4.1 การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น

ประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ มีขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี
- โดยรวมคู่มือทั้ง 6 ชุดมีเนื้อหาที่มีสาระ และมีกระบวนการแนวคิดต่าง ๆ ทันสมัย
เพราะทักษะเชิงนวัตกรรมเป็นทักษะที่จำเป็นอย่างยิ่งในการเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน
โดยรวมเนอ้ื หาเป็นประโยชน์ต่อการนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้

- มีการนำเนื้อหาข้อมูลความรู้จากนักวิชาการต่างประเทศมานำเสนอได้ดีมาก มี
ประเด็นให้คิด มีคำถามและข้อเสนอแนะในแต่ละเรื่อง แต่เนื้อหาในบางคู่มือมี
เนื้อหามากเกนิ ไป ควรเรียบเรียงใหม่ให้สมบูรณ์ ให้กระชบั ครอบคลุมและให้อา่ น
เขา้ ใจง่ายมากขน้ึ

- ทั้ง 6 คูม่ อื มีการนำเสนอเรอ่ื งแต่ละเรอื่ งท่แี ตต่ า่ งกนั ไม่ว่าจะเป็นนยิ าม ลกั ษณะ หรือ
แนวทางการพฒั นา ของทักษะเชงิ นวตั กรรมถือว่าโดยรวมดมี ากทางคณะขอ้ แนะนำ
วา่ ควรมีการจดั ทำให้เปน็ รูปเลม่ ทีส่ วยงาม เรยี บเรยี งเนือ้ หาให้กระชับและปรับปรุง

179

แก้ไขในบางประเด็นที่ค่อนข้างมาก หรือเสริมเพิ่มเติมในบางส่วนที่ยังขาด ให้
สมบูรณ์ ทำเป็นคู่มือให้นักเรียนเรียนรู้เพิม่ เตมิ ในห้องสมุดโรงเรียน และนำเสนอ
คูม่ ือน้ไี ปสโู่ รงเรยี นอนื่ ๆตอ่ ไป
4.2 การปรบั ปรงุ แก้ไขด้านภาษา มขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้
- ด้านภาษาที่ใช้ในคู่มือ เนื่องจากเป็นเนื้อหาวิชาการที่แปลมาจาก
บทความ หลักวิชาการจากต่างประเทศ การใช้สำนวนภาษาเมื่อแปลความถ้าเปน็
คำศัพท์วิชาการเฉพาะ ควรมีการกำกับข้อความต้นฉบับไว้ด้านข้างทุกคำ ซึ่งทาง
คณะผู้รว่ มไดศ้ ึกษาคู่มือแลว้ เห็นวา่ สำนวนทใ่ี ช้แปลไดช้ ดั เจน สละสลวย ถือว่าอ่าน
แล้วเข้าใจได้ง่าย แต่มีบางประโยคหรือบางคำที่ยังแปลผิด ทางคณะได้ทำให้เป็น
ตัวหนังสือสีแดง เพื่อให้นำไปแก้ไข โดยรวมแล้วใช้ภาษาได้เหมาะสมกับระดับ
ความรูแ้ ละทกั ษะทางดิจิทลั ของบคุ คลทัว่ ไป
4.3 การปรับปรงุ แก้ไขดา้ นรปู แบบการนำเสนอ มขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้
- โดยรวมคู่มือทั้ง 6 ชุดนั้นมีรูปแบบการนำเสนอในรูปแบบของกิจกรรมถามเพ่ือ
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ เหมือนกันทั้ง 6 คู่มือ ขอเสนอแนะให้ใช้รูปแบบการ
นำเสนอท่ีหลากหลาย การตกแต่งหวั ขอ้ ขอ้ ความใหโ้ ดดเด่น มคี วามนา่ สนใจ มีสีสนั
สวยงาม ควรเพม่ิ สอ่ื รปู ภาพต่าง ๆ ที่มคี วามหลากหลายจะทำให้งานวิจัยน่าสนใจ
มากขึ้นและดึงดดู ผู้อ่านเพ่ิมขนึ้

4.4 อนื่ ๆ มีขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี
- คู่มือทั้ง 6 ชุด ครูที่เป็นกลุ่มทดลองได้นำไปศึกษาแล้ว เหน็ ว่ามปี ระโยชน์มากในยุค
ปัจจุบันน้ี ทักษะเชิงนวัตกรรมสำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้
ของครูผสู้ อนและนกั เรยี น ควรนำไปปรับปรงุ แก้ไขให้สมบูรณ์

5. การประเมินทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการพัฒนา
(Posttest)

จากการประเมินผลการพัฒนานักเรียนกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลอง “หลัง” การพัฒนา
(Posttest) จำนวน 204 คน โดยใช้แบบสอบถามที่มีลกั ษณะเป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับท่ผี ู้วจิ ัยสร้าง
ขึ้น ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าเฉลีย่ (Mean: ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation: S.D.) ดงั ตารางท่ี 4.15

180

ตารางที่ 4.15 ค่าเฉลี่ย (Mean: ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.)
จากผลการประเมินทักษะเชงิ นวตั กรรมของนกั เรยี นหลงั การทดลอง (Posttest)

รายการลักษณะของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมท่ีประเมิน ผลการประเมิน
S.D.
ความม่งุ มน่ั (Energy)
1) ฉันมเี ปา้ หมายในการทำงานเสมอ 4.53 0.50
4.50 0.50
2) ฉันมีพลังมากมายในการทำงานแตล่ ะวัน 4.50 0.50
4.47 0.50
3) ฉนั กระตอื รือร้นในการเรียนวิชาที่ฉันเลือก 4.50 0.50
4) ฉันกระตือรือร้นทีจ่ ะช่วยเหลอื ผู้อื่น 4.53 0.50
5) ฉนั รสู้ กึ ต่ืนเต้นและมีกำลังใจเมอ่ื ฉันไดส้ รา้ งสงิ่ ทไ่ี ม่เคยมีใครทำได้
4.49 0.50
ความตระหนกั ในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) 4.49 0.50
6) ฉนั มองหาส่งิ อ่ืนๆทีอ่ ยภู่ ายนอกโรงเรียน ท่ีฉันรสู้ กึ วา่ ควบคุมได้ ไม่ก่อใหเ้ กิดปญั หาตามมา 4.51 0.50
7) ในอนาคตฉันฉันอยากทำงานทที่ า้ ทายท่ีตนเองสนใจ 4.49 0.50
8) ฉันเชื่อม่ันในตนเองวา่ เม่ือเรมิ่ ตน้ ทำอะไรแล้ว ฉันสามารถทำให้สำเร็จได้ 4.45 0.50
9) ฉันจะเข้าร่วมในกจิ กรรมทีต่ นเองสนใจ โดยไม่สนใจว่าเพื่อนสนิทของฉนั จะเขา้ ร่วมหรือไม่ 4.55 0.50
10) ฉันเชื่อม่ันในความคดิ ของตัวเอง ฉนั จะทำในสิ่งท่ฉี ันคิดวา่ ดีที่สดุ
11) ฉันเชอื่ วา่ นักเรยี นควรออกความเห็นเก่ียวกับแนวทางการดำเนินงานของโรงเรียน 4.48 0.50
4.53 0.50
ความคิดสร้างสรรคแ์ ละเป็นอิสระ (Creativity) 4.53 0.50
12) ฉนั ชอบคิดทำโครงการใหมๆ่ 4.49 0.50
13) ฉนั ชอบประดิษฐส์ ง่ิ ใหมๆ่ ในแบบของตนเอง 4.46 0.50
14) ฉันชอบคิดจะทำให้งานท่ที ำอย่มู ีการพัฒนาขึน้ 4.43 0.50
15) ฉนั คดิ วา่ ปัญหาท่ีซบั ซอ้ นน้ันมคี วามท้าทายแฝงอยู่ 4.54 0.50
16) ฉันชอบค้นหาวิธีการใหมๆ่ มาจดั การกบั ปญั หาที่กำลงั เจออยู่ 4.51 0.50
17) ฉันสามารถผสมผสานความคดิ ใหม่ๆ กบั ความคดิ เดมิ ท่มี อี ย่แู ล้ว 4.47 0.50
18) ฉันร้สู ึกมีอิสระทีจ่ ะทำสิง่ ใหม่ๆในงานทีต่ นเองรับผิดชอบ 4.43 0.50
19) ฉนั เป็นคนท่ีมเี วลาใหก้ ับสงิ่ ใหมๆ่ อยเู่ สมอ 4.49 0.50
20) ฉนั คดิ วา่ ฉันสามารถทำงานของตัวเองไดด้ ี 4.54 0.50
21) ฉันเปน็ คนทรี่ ับผิดชอบงานในแต่ละวันไดด้ ี
22) ฉนั ต้องการการเรยี นทมี่ กี ิจกรรมทใ่ี ช้ความคิดสร้างสรรค์ 4.47 0.50
23) ฉันชอบการเรียนท่ีมีกิจกรรมต่างๆมากกว่าการนง่ั เรยี นเฉยๆทโี่ ตะ๊ 4.45 0.50
4.48 0.50
การเผชญิ กบั ปัญหาและความซบั ซอ้ น (Capacity To Navigate Complexity) 4.50 0.50
24) ฉันมที กั ษะในการทำความเขา้ ใจและแก้ไขปัญหา 4.52 0.50
25) ฉันมที กั ษะการตดั สนิ ใจร่วมกันในกลุ่ม
26) ฉนั มีทกั ษะในการวางแผนเพ่ือกำหนดกลยทุ ธ์
27) ฉนั ชอบมองหาวิธีพัฒนาการทำงานของตนเอง
28) ฉันรบั ฟังความคดิ เห็นของคนอ่ืนๆ เม่อื เขาสรา้ งสิ่งใหม่ๆข้ึนมา

181

รายการลักษณะของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมท่ีประเมิน ผลการประเมิน
S.D.
29) ฉันใหค้ วามสำคัญกับการพฒั นาในสิ่งทร่ี บั ผดิ ชอบอยู่ และการหาโอกาสใหมๆ่ ด้วย
กล้าเสี่ยง (Risk-propensity) 4.51 0.50

30) ฉันยอมรับความเสี่ยงในการทำงานได้ 4.59 0.49
31) ฉนั ชอบความท้าทาย แม้วา่ ความท้าทายนั้นอาจทำใหฉ้ ันตอ้ งพบความเสี่ยง 4.56 0.50
32) ฉันยอมรับความเสย่ี งเพ่ือการสร้างนวตั กรรม 4.54 0.50
33) ฉนั เป็นคนท่เี พื่อนร่วมงานสามารถกระตุ้นให้เกิดความคดิ ได้ 4.44 0.50
34) ฉันคิดวา่ การเข้ามาควบคุมการทำงานอย่างเข้มงวดนั้นไม่มปี ระโยชน์ 4.49 0.50
35) ฉันเข้าใจว่าทุกโครงการทเ่ี ข้าไปมสี ่วนร่วม จะไม่ประสบความสำเร็จท้งั หมด 4.44 0.50
4.00 0.15
โดยรวม

จากตารางท่ี 4.15 เห็นได้ว่า นักเรยี นท่เี ป็นกลมุ่ ทดลองไดร้ ับการประเมินผลหลังที่ครูผู้สอนที่

เป็นกล่มุ ทดลองไดน้ ำความรู้สูก่ ารพฒั นาผเู้ รยี น (Posttest) มีคา่ เฉลีย่ (Mean) โดยรวมเทา่ กับ 4.50 และ
มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เทา่ กับ 0.08

6. ผลการวิเคราะห์เปรยี บเทียบผลการประเมนิ ทกั ษะเชิงนวัตกรรมกอ่ นและหลงั การพัฒนา

โดยใชก้ ารทดสอบที (t-test)
จากผลการประเมนิ ทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน “ก่อน”การพฒั นามคี ่าเฉลย่ี (Mean)

โดยรวมเท่ากบั 3.49 และมีคา่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เท่ากับ 0.19 และจากผล

การประเมิน “หลัง” การพฒั นามีค่าเฉล่ยี (Mean) โดยรวมเท่ากับ 4.00 และมีคา่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation) เท่ากับ 0.15 เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมินก่อนและหลังการพัฒนา
โดยใช้การทดสอบที (t-test) แบบไม่เป็นอิสระจากกนั (Dependent) ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมลู ใน

ตารางท่ี 4.16
ตารางท่ี 4.16 ผลการทดสอบคา่ ที (t-test) เปรียบเทยี บความแตกตา่ งอย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติ
ระหว่างคะแนน “กอ่ น” และ “หลัง” การทดลอง

การทดสอบ จำนวนกล่มุ ทดลอง S.D. t

ก่อน 204 3.49 0.19 28.73*

หลงั 204 4.00 0.15

* p < 0.05

จากตารางที่ 4.16 เห็นได้วา่ นกั เรยี นทีเ่ ป็นกลุม่ ทดลองมคี ะแนนเฉล่ยี จากการทดสอบหลงั การ
ทดลองสงู กวา่ กอ่ นการทดลองอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05 แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมออนไลน์
เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นที่ประกอบด้วย 2
โครงการ คอื โครงการพฒั นาเพ่อื การเรยี นรู้ของครู และโครงการครูนำผลการเรยี นร้สู กู่ ารพัฒนานกั เรียน

182

โดยโครงการแรกมคี ูม่ ือประกอบ 6 ชดุ โครงการท่สี องมีคมู่ ือประกอบ 1 ชดุ น้ัน มีประสทิ ธภิ าพทส่ี ามารถ
จะนำไปใช้เพ่อื พัฒนาครูให้เกดิ การเรยี นรู้ และครูสามารถนำผลการเรยี นรู้สกู่ ารพฒั นานกั เรยี นทเ่ี ป็นกล่มุ
ทดลองให้เกิดทักษะเชิงนวัตกรรม ได้อย่างมีผลทดสอบทางการวิจัยรองรับ และแสดงให้เห็นว่า ว่า
โปรแกรมออนไลนเ์ พ่ือพฒั นาครสู กู่ ารเสรมิ สรา้ งทกั ษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรยี นทีผ่ วู้ จิ ยั พฒั นาข้นึ ดังกลา่ ว
สามารถนำไปเผยแพร่เพ่ือใหก้ ลุม่ ประชากรท่เี ป็นเปา้ หมายดงั ท่ีกล่าวไว้ในหัวข้อขอบเขตการวิจัยในบทท่ี
1 ได้นำไปใชป้ ระโยชนอ์ ย่างแพรห่ ลาย คือ โรงเรยี นพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ทกุ โรงท่ัวประเทศ
จำนวน 408 โรง มีครูจำนวน 4,388 รูป/คน และมนี ักเรยี น 32,399 รูป

สรปุ
ตามแนวคิดของระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ตาม

ทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ (2561) ที่เห็นว่า นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นโดยกระบวนการวิจยั และพัฒนามี
จุดมุ่งหมายเพื่อนำไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงานที่มีปรากฏการณ์ หรือข้อมูลเชิง
ประจักษ์แสดงให้เห็นวา่ มีความจำเปน็ เกดิ ข้ึน เชน่ เป็นผลสบื เนื่องจากการกำหนดความคาดหวงั ใหม่ที่ท้า
ทายของหน่วยงาน หรือการเปล่ียนแปลงในกระบวนทัศน์การทำงานจากเก่าสู่ใหม่ที่บุคลากรขาดความรู้
ความเขา้ ใจและทกั ษะในกระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจบุ ันมหี ลกั การ แนวคดิ ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรม
ใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกิดขึ้นมากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้
(Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานำ - ความรู้เหล่านี้สู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง
(Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นตามแนวคิด
“Knowledge + Action = Power” ดังคำกล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do, Then
Encourage Them Do What They Know”หรือ “Link To On-The-Job Application” และตาม
แนวคิดการพัฒนาวิชาชีพครู (Teacher Professional Development) ที่จะต้องคำนึงถึงความมี
ประโยชน์ต่อนักเรียนซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) (Gusky, 2000; Hoy & Miskel, 2001)
หรอื อีกนยั หน่งึ คอื ผลสมั ฤทธิข์ องนกั เรียนเปน็ เป้าหมายสงู สุดของกจิ กรรมใดๆของการพัฒนาวิชาชีพครู
( Student achievement should be the ultimate goal of any teacher professional
development activities.) (Kampen, 2019)

จากลกั ษณะสำคญั ของการวิจัยและพัฒนาดงั กล่าว ผูว้ ิจัยเชอ่ื ว่าในการวิจัยครง้ั นจ้ี ะช่วยพัฒนา
นวัตกรรมเพ่ือการอบรมตนเองแบบออนไลน์ในยุคสังคมดิจทิ ัลให้เกิดการเรียนรู้และการนำไปปฏบิ ัติได้
อย่างมีประสิทธิภาพมากขนึ้ ซ่งึ ในยุคสมยั ดจิ ทิ ัลในปัจจบุ ัน มีความสำคญั จำเป็นมากและเป็นเรอื่ งใหมท่ ค่ี รู
(Teachers) จะต้องเรยี นรแู้ ละทำความเขา้ ใจเก่ียวกบั ทักษะเชิงนวัตกรรม ซึ่งเปน็ ทกั ษะสำคญั ทักษะหน่ึง
สำหรับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เพื่อนำไปสู่การพัฒนานักเรียน (Students) ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสดุ
(Ultimate Goal) ของการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะโปรแกรมอบรมด้วยตนเองแบบ
ออนไลนก์ ารพัฒนาโปรแกรมออนไลนเ์ พื่อพฒั นาครูส่กู ารเสริมสรา้ งทักษะเชงิ นวัตกรรมของนักเรยี นที่เปน็
ผลจากการวจิ ัยและพฒั นาจาก “กลุม่ ทดลอง” ทใ่ี ชใ้ นการวิจัย คือ ครูและนักเรียนในโรงเรียนบาลีสาธิต
ศึกษา มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย ซึ่งเป็นโรงเรียนพระ

183

ปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา สามารถจะนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ในกลุ่มประชากร
(Population) ซึ่งเป็นเป้าหมายอ้างอิงในการนำผลการวิจัยไปเผยแพร่ เพือ่ ใช้ให้เกิดประโยชน์หลังการ
วิจัยและพัฒนา คือ ครูและนักเรียนในโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรมแผนกสามัญศึกษา สังกัดกองพุทธศาสน
ศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ทุกโรงทั่วประเทศได้ ตามหลักการของการวิจัยและพัฒนาท่ี
วิจัยและพัฒนานวัตกรรมใด ๆ ข้นึ มาแลว้ นำนวตั กรรมนน้ั ไปทดลองใชใ้ นพนื้ ทที่ ดลองแห่งใดแห่งหน่ึงที่มี
คุณลักษณะเป็นตัวแทนของประชากร เมื่อผลจากการทดลอง พบว่า นวัตกรรมนั้นมีประสิทธิภาพตาม
เกณฑ์ที่กำหนด ก็แสดงว่า สามารถเผยแพร่เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์กับประชากรที่เป็นกลุ่มอา้ งอิงใน
การวิจัยได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเป็นโปรแกรมแบบออนไลน์ (Online Program) ที่พัฒนาขึ้นตามยุค
สมัยดิจิทัล ไม่เป็นโปรแกรมแบบเอกสาร (Document-Based Program) แบบยุคสมัยการพิมพ์แบบ
ดั้งเดิม จะยิ่งทวีความเป็นประโยชน์ต่อการนำนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นไปเผยแพร่เพื่อใช้ประโยชน์ของ
ประชากรที่เป็นกลุ่มอ้างอิงในการวิจัยได้อย่างกว้างขวาง อย่างประหยัด อย่างมีประสิทธิภาพ และเกดิ
ประสิทธิผลได้มากกวา่

จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยท่ีมุ่งพัฒนาโปรแกรมอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ โปรแกรม
ออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน ที่ประกอบด้วยโครงการ 2
โครงการ คือ โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครู และโครงการครูนำผลการเรียนรู่สู่การพัฒนาทักษะ
เชิงนวัตกรรม ให้กับนักเรียน และได้กำหนดสมมุติฐานการวิจัย ดังนี้ 1) ครูมีผลการทดสอบหลังการ
ทดลองเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2) ครูมีผลการเรียนรู้หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3) นักเรียนมีผลการประเมินทักษะเชิงนวัตกรรม หลังการทดลองสูงกวา่
กอ่ นการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

ผลจากการดำเนนิ การวจิ ยั ตามที่กำหนดในบทท่ี 3 และจากรายงานผลการวิจัยทน่ี ำเสนอในบท
ที่ 4 นี้ พบว่า ผลการวจิ ัยเป็นไปตามสมมุติฐานการวจิ ัยท่ีกำหนดไว้ ดังนี้ 1) คู่มือที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้
พัฒนาครใู หเ้ กดิ การเรียนรตู้ ามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 โดยเม่ือพิจารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรก
คือ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 33.09 คะแนนจาก
คะแนนเต็ม 36 คะแนน เมื่อคิดเป็นร้อยละแลว้ ได้ 91.92 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 90
เม่อื พิจารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตวั หลงั คือ รอ้ ยละของจำนวนครทู สี่ ามารถทำแบบทดสอบได้ผ่าน
ทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้จากจำนวนครูทั้งหมด 11 คน พบว่า มีครูร้อยละ 92.42 ที่สามารถทำ
แบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งมีค่าที่สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 90 2) คู่มือท่ี
พัฒนาขึ้นสามารถใช้พฒั นาครูให้มีผลการเรียนรูห้ ลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนยั สำคัญ
ทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 และ 3) คมู่ อื ท่พี ัฒนาขึ้นสามารถทำให้ครูนำผลการเรียนร้สู ่กู ารพัฒนานักเรียนที่มี
ผลการประเมนิ ทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียนหลงั การทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิตริ ะดบั 0.05

บทท่ี 5

โปรแกรมออนไลนเ์ พอ่ื เสริมพลังความรู้ครสู ่กู ารพฒั นาทักษะเชงิ นวตั กรรมของนักเรียน
นวัตกรรมจากการวิจยั และพฒั นา

จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่มุ่งพัฒนาโปรแกรมโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การ
เสรมิ สร้างทักษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรยี น ท่ีประกอบดว้ ยโครงการ 2 โครงการ คอื โครงการพฒั นาเพ่ือ
การเรียนรู้ของครู และโครงการครนู ำผลการเรยี นรสู่ กู่ ารพัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรม ใหก้ บั นักเรยี น และได้
กำหนดสมมตุ ฐิ านการวิจัย ดังน้ี 1) ครูมผี ลการทดสอบหลงั การทดลองเปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90
2) ครมู ีผลการเรยี นรู้หลงั การทดลองสูงกวา่ ก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3) นักเรียนมี
ผลการประเมินทักษะเชงิ นวัตกรรม หลังการทดลองสงู กวา่ ก่อนการทดลองอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติ ซ่ึง
ผลจากการดำเนินการวิจัยตามที่กำหนดในบทที่ 3 และจากรายงานผลการวิจัยที่นำเสนอในบทที่ 4 นี้
พบวา่ ผลการวิจยั เป็นไปตามสมมุติฐานการวิจยั ดังน้ี 1) ค่มู อื ท่พี ัฒนาขึ้นสามารถใชพ้ ฒั นาครูให้เกิดการ
เรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 โดยเมื่อพิจารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรก คือ ร้อยละของ
คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 33.09 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36
คะแนน เมื่อคดิ เป็นร้อยละแล้วได้ 91.92 ซึ่งมคี ่าสูงกว่าเกณฑ์ทีก่ ำหนดไว้ร้อยละ 90 เมื่อพจิ ารณาจาก
เกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลัง คือ ร้อยละของจำนวนครูที่สามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านทกุ วัตถุประสงค์
การเรียนรู้จากจำนวนครทู ั้งหมด 11 คน พบว่า มีครูร้อยละ 92.42 ที่สามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านทุก
วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ ซง่ึ มคี า่ ทีส่ ูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไวร้ ้อยละ 90 2) คู่มอื ทีพ่ ัฒนาขน้ึ สามารถใชพ้ ฒั นา
ครูให้มผี ลการเรยี นรูห้ ลงั การทดลองสงู กวา่ กอ่ นการทดลองอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดบั 0.05 และ 3)
คู่มือที่พัฒนาขึ้นสามารถทำให้ครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียนที่มีผลการประเมินทักษะ เชิง
นวัตกรรม ของนกั เรียนหลังการทดลองสงู กวา่ กอ่ นการทดลองอย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ริ ะดบั 0.05

คูม่ อื ทีพ่ ฒั นาขน้ึ ดังกล่าว รวมท้ังแบบประเมินตนเองถงึ ระดบั การนำข้อเสนอทางเลือกเชิงวิชาการ
หรือเชิงทฤษฎีไปใช้ในการพัฒนานักเรียนของครู แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู และแบบประเมนิ
ทักษะเชิงนวัตกรรม ของนกั เรยี น ผ้วู จิ ยั ได้อัพโหลดไว้ในเวบ็ ไซต์แลว้ ดงั นี้

1) คมู่ อื ดูจาก https://shorturl.asia/vNyHe
2) แบบประเมนิ ตนเองถงึ ระดับการนำข้อเสนอทางเลอื กเชงิ วิชาการหรือเชงิ ทฤษฎไี ปใช้ในการ
พฒั นานักเรียนของครู ดูจาก https://forms.gle/qm7L11r2ieNvs2MS6
3) แบบทดสอบผลการเรียนรขู้ องครู ดจู าก https://forms.gle/6QUgNEAmLFx5XvEH8
4) แบบประเมินทกั ษะทักษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรยี นดูจาก
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLScovGBMjbLmAtHMK7kWlELJ83_Akn7zw9ZQl
Bh05GUnrDP5UQ/viewform?usp=sf_link

185

อยา่ งไรกต็ าม ในบทที่ 5 นี้ ผวู้ ิจัยได้นำเอาคมู่ อื ประกอบโครงการพฒั นาเพือ่ การเรียนรู้ของครู
และโครงการครูนำผลการเรียนรู่สู่การพัฒนาทักษะทักษะเชิงนวัตกรรม ให้กับนักเรียนมาแสดงไว้ด้วย
ดังน้ี

186

คำนำ

การวิจัยเรื่อง “โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของ
นักเรียน (Online Program to Develop Teachers to Enhance Innovation Skills of Students)”
นี้เป็นการวจิ ยั ในหลักสตู รศกึ ษาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิตสาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหามกุฏ
ราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D) มี
จดุ ม่งุ หมายเพือ่ ให้ได้นวัตกรรมทางการศึกษาที่เปน็ โปรแกรมอบรมออนไลน์ด้วยตนเองท่ีประกอบด้วย 2
โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรยี นรู้ของครู และ 2) โครงการครูนำผลการเรียนสู่การพัฒนา
ผู้เรียน โครงการแรกมคี ู่มือเพื่อการอบรมด้วยตนเอง (Self-Training) ของครู โครงการที่สองมีคู่มือเชิง
ปฏิบัติการเพื่อครูนำไปใช้เป็นแนวการพัฒนาผู้เรียน โดยคาดหวังว่านวัตกรรมทางการศึกษานี้ เมื่อผา่ น
กระบวนการวิจยั และพฒั นาหลายขัน้ ตอน (Ri&Di) แล้วนำไปทดลองใช้ในพ้นื ท่ีทเ่ี ป็นตัวแทนของประชากร
เมื่อผลการทดลองพบวา่ นวตั กรรมน้ันมีประสิทธิภาพ ก็สามารถนำไปเผยแพรใ่ หก้ ับประชากรท่ีเป็นพ้ืนท่ี
เปา้ หมายไดใ้ ชป้ ระโยชน์ในวงกวา้ งได้อยา่ งมผี ลการวจิ ยั รองรับ

การวิจัยนเ้ี ป็นการวิจยั ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ดงั น้ี 1) ในเชิงวิชาการ มหี ลายประการ
แต่ขอนำมากลา่ วถึงท่ีสำคญั ดังน้ี (1) งานวจิ ยั น้ใี หค้ วามสำคัญกับประเด็นทเ่ี ปน็ การศกึ ษาศตวรรษท่ี 21
ซึ่งมีความสำคัญเพราะเป็นการให้การศึกษาที่ส่งผลสุดท้ายให้ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นในการประสบ
ความสำเรจ็ ในโลกใหม่น้ี (Driscoll, 2022) (2) งานวจิ ัยนี้มงุ่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาในระดับสถานศกึ ษา
ที่นักวิชาการให้ความเห็นว่า การบริหารการศึกษาเกิดขึ้นในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ส่วนกลางถึงระดับ
สถานศึกษา แต่การบรหิ ารการศกึ ษาระดบั สถานศึกษา (คอื โรงเรยี น วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัย หรอื ชื่อเรยี ก
อื่นๆ) มีความสำคัญเพราะเปน็ ฐานปฏบิ ัติที่จะทำใหก้ ารระดมทรัพยากรบคุ คลและทรัพยากรวัตถุให้เกิด
ประโยชนท์ ่ใี ชง้ านได้จรงิ เปน็ ฐานปฏบิ ัติทจ่ี ะช่วยเสรมิ สร้างการสอนและการเรียนรู้ทีจ่ ะส่งผลให้นักเรียน
ได้รบั การศึกษาท่ถี กู ต้องจากครทู ถ่ี กู ตอ้ ง และเปน็ ฐานปฏิบตั ิที่จะสรา้ งอิทธิพลทส่ี ง่ ผลต่อนักเรียนใหเ้ ตบิ โต
ไปสู่เป้าหมายที่กำหนดโดยมีครูเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Kashyap, n.d.) สอดคล้องกับแนวคิดการ
บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management: SBM) ซึ่งเป็นรูปแบบการกระจาย
อำนาจให้โรงเรยี นท่ีเป็นหน่วยหลกั ในการจดั การศกึ ษา (Edge, 2000) (3) การวิจัยนใ้ี ชห้ ลักการ “พัฒนา
ครู แลว้ ครนู ำผลท่ไี ดร้ ับไปพัฒนาผ้เู รยี น” ถอื เปน็ หลกั การทเ่ี ปน็ จดุ เนน้ ของการบริหารการศึกษา คือ การ
เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง ก า ร ส อ น แ ล ะ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ( The Focus of Educational Administration is the
Enhancement of Teaching and Learning) (Amadi, 2008) เป็นกระบวนการช่วยให้นักเรียนได้รับ
การศึกษาที่ถูกต้องจากครูที่ถูกต้อง (Enables the Right Pupils to Receive the Right Education
from the Right Teachers) (Dhammei, 2022) เปน็ การกระตนุ้ การพัฒนาโปรแกรมท่เี หมาะสมสำหรบั
การสอนและการเรยี นรู้ (Bamte, n.d.) เป็นไปตามหนา้ ทข่ี องการบรหิ ารการศึกษาตามทัศนะของ Amadi
(2008) ที่กล่าวถึงหน้าที่เกี่ยวกับหลักสูตร/การสอน (The Curriculum/Instructional Functions)
หนา้ ท่เี ก่ียวกับบุคลากร (The Staff Personnel Functions) และหนา้ ทเี่ กย่ี วกับนกั เรยี น (The Student

187

Personnel Functions) และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการบริหารการศึกษา คือ เพื่อให้การศึกษาท่ี
เหมาะสมแก่นักเรียน (To Provide Proper Education to Students) เพื่อให้แน่ใจว่ามีการพัฒนา
วิชาชีพของครู (To Ensure Professional Development among Teachers) และเพื่อความมั่นใจใน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา (To Ensure Qualitative Improvement of Education) (Kashyap,
n.d.) อันเนื่องจากหลักการ “พัฒนาครู แล้วครูนำผลที่ได้รับไปพัฒนาผู้เรียน” เป็นหลักการส่งเสริม
บทบาทการเป็นผนู้ ำทางการศกึ ษาใหก้ บั ครตู ามทศั นะของ Speck (1999) และ Seyfarth (1999) ส่งเสรมิ
ตอ่ การทำหน้าทข่ี องผบู้ ริหารการศึกษาที่จะตอ้ งสนบั สนุนคณะครูดว้ ยการฝึกอบรมและให้คำแนะนำตาม
ทัศนะของ University of Bridgeport (2022) และ Target Jobs (n.d.) และส่งเสริมต่อแนวคิดพัฒนา
วิชาชีพของครูที่ให้คำนึงถึงการส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนซึง่ เป็นเปา้ หมายสูงสุด (Ultimate Goal) ของ
การศึกษาตามทัศนะของ Gusky (2000) และ Hoy and Miskel (2001) 2) ในเชิงวิชาชีพ การวิจัยน้ี
คำนงึ ถึงมาตรฐานวิชาชีพของผู้บรหิ ารสถานศึกษาและผู้บริหารการศกึ ษาท่ีคุรสุ ภากำหนดตามมาตรฐาน
ด้านความรู้ ในกรณีสามารถพัฒนาครูและบุคลากรให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถนำความร้คู วามเข้าใจในหลกั การและทฤษฎไี ปประยุกตใ์ ช้ สามารถวเิ คราะห์สงั เคราะหแ์ ละสร้าง
องค์ความรู้ในการบริหารจัดการการศึกษา สามารถนำกระบวนการทางการวิจัย การวัดและประเมินผล
ไปใช้ในการบริหารจัดการการศึกษาได้ สามารถส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
การศึกษา และสามารถบริหารจัดการขอ้ มลู ขา่ วสารไปสผู่ เู้ รยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา และตาม
มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ในกรณปี ฏิบัตโิ ดยคำนึงถงึ ผลที่จะเกิดขนึ้ กับการพฒั นาของบคุ ลากร ผเู้ รียน และ
ชุมชน พัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้เตม็ ศักยภาพ พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิด
ผลงานที่มีคุณภาพสูง และสร้างโอกาสการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์ (The Teachers Council of
Thailand, n.d.)

พระมหาเกรกิ เกียรติ นิรตุ ตฺ เิ มธี

188

สารบัญ

ค่มู ือประกอบโครงการ หน้า
1
1. ค่มู ือประกอบโครงการพฒั นาความรู้แก่ครผู สู้ อน 1
1.1 คู่มือชุดที่ 1 ทัศนะเกี่ยวกับนิยามของทักษะเชิงนวัตกรรม มี
องค์ประกอบ คือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ คำชี้แจง ทัศนะเกี่ยวกับ 10
นยิ าม แบบประเมินตนเอง และเอกสารอา้ งองิ
1.2 คู่มือชุดที่ 2 ทัศนะเกี่ยวกับความสำคัญของทักษะเชิงนวัตกรรม มี 18
องค์ประกอบ คือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ คำชี้แจง ทัศนะเกี่ยวกับ
ความสำคญั แบบประเมนิ ตนเอง และเอกสารอา้ งอิง 24
1.3 คู่มือชุดที่ 3 ทัศนะเกีย่ วกับลักษณะหรือคุณลกั ษณะของคนที่มที กั ษะ
เชิงนวัตกรรม มีองค์ประกอบ คือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ คำชี้แจง 51
ทศั นะเกยี่ วกบั ลักษณะ แบบประเมนิ ตนเอง และเอกสารอา้ งองิ
1.4 คู่มือชุดที่ 4 ทัศนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรม มี 63
องคป์ ระกอบ คือ วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ คำชี้แจง ทัศนะเกี่ยวกับแนว
ทางการพฒั นา แบบประเมินตนเอง และเอกสารอ้างองิ 75
1.5 คู่มือชุดที่ 5 ทัศนะเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม มี 75
องค์ประกอบ คือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ คำชี้แจง ทัศนะเกี่ยวกับ
ขน้ั ตอนการพัฒนา แบบประเมนิ ตนเอง และเอกสารอ้างอิง
1.6 คู่มือชุดที่ 6 ทัศนะเกี่ยวกับการประเมินผลทักษะเชิงนวัตกรรม มี
องคป์ ระกอบ คือ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ คำชีแ้ จง ทัศนะเก่ยี วกับการ
ประเมินผล แบบประเมินตนเอง และเอกสารอา้ งองิ

2. คู่มือประกอบโครงการครูผสู้ อนนำความรูส้ ่กู ารพัฒนานกั เรยี น

2.1 คูม่ ือเพื่อการปฏิบตั ิการในการพฒั นาทักษะเชิงนวตั กรรม ของนกั เรียน
มอี งค์ประกอบ คือ วัตถุประสงค์เพ่ือการปฏบิ ตั ิ และแนวปฏบิ ตั ิ

189

คมู่ ือชุดที่ 1

ทัศนะเกยี่ วกบั นิยามของทักษะเชิงนวตั กรรม

วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้

หลังจากการศึกษาคู่มือชุดนี้แล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่งเป็น
จุดมุ่งหมายทางการศกึ ษาท่เี กี่ยวขอ้ งกบั สมรรถภาพทางสมองหรอื สติปัญญาตามแนวคดิ ของ Benjamin
S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนีอ้ อกเป็น 6 ระดบั เรียงจากพฤตกิ รรมทส่ี ลบั ซบั ซอ้ นนอ้ ยไป
หามาก หรอื จากทกั ษะการคดิ ขั้นต่ำกวา่ ไปหาทกั ษะการคดิ ข้นั สูงกว่า ดังน้ี คือ ความจำ (Remembering)
ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน
(Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1) บอกคุณสมบัติ จบั คู่ เขียนลำดบั อธิบาย บรรยาย ขดี เส้นใต้ จำแนก หรอื ระบนุ ิยามของทกั ษะ
เชิงนวตั กรรมได้

2) แปลความหมาย อธบิ าย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกตา่ ง หรอื เรียบเรียง
นิยามของทักษะเชงิ นวตั กรรมได้

3) แกป้ ัญหา สาธติ ทำนาย เชอ่ื มโยง ความสมั พนั ธ์ เปล่ียนแปลง คำนวณ หรือปรบั ปรงุ นยิ าม
ของทกั ษะเชิงนวตั กรรมได้

4) แยกแยะ จดั ประเภท จำแนกให้เห็นความแตกต่าง หรอื บอกเหตผุ ลนิยามของทกั ษะเชิง
นวัตกรรมได้

5) วดั ผล เปรียบเทียบ ตคี า่ ลงความเห็น วิจารณ์นิยามของทกั ษะเชิงนวตั กรรมได้
6) รวบรวม ออกแบบ จดั ระเบียบ สรา้ ง ประดิษฐ์ หรอื วางหลกั การนิยามของทกั ษะเชิงนวตั กรรม
ได้โดยมที ัศนะเกย่ี วกบั นยิ ามของทักษะเชงิ นวัตกรรม ของแหลง่ อ้างองิ ทางวิชาการต่างๆ ดงั น้ี
1) นิยามของทักษะเชิงนวตั กรรม ตามทัศนะของ Albuquerque
2) นยิ ามของทักษะเชิงนวัตกรรม ตามทศั นะในเวบ็ ไซต์ ของ Bellevue college
3) นยิ ามของทกั ษะเชิงนวัตกรรม ตามทัศนะในเว็บไซต์ ของ E-CSR
4) นิยามของทักษะเชงิ นวัตกรรม ตามทศั นะในเวบ็ ไซต์ ของ Skillsyouneed
5) นยิ ามของทักษะเชิงนวตั กรรม ตามทัศนะในเว็บไซต์ ของ Toolshero
6) นยิ ามของทักษะเชิงนวัตกรรม ตามทศั นะในเว็บไซต์ ของ Vocabulary
7) นยิ ามของทกั ษะเชงิ นวตั กรรม ตามทัศนะในเว็บไซต์ ของ Business
8) นยิ ามของทักษะเชงิ นวตั กรรม ตามทศั นะในเวบ็ ไซต์ ของ Center for Management &
Organization Effectiveness
9) นยิ ามของทกั ษะเชิงนวัตกรรม ตามทศั นะของ Dwyer
10) นิยามของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ตามทัศนะในเวบ็ ไซต์ ของ Wikipedia

190

คำช้แี จง

1) โปรดศึกษาเน้ือหาเก่ียวกบั นยิ ามของทักษะเชงิ นวัตกรรม จากทศั นะทน่ี ำมากลา่ วถึง แต่ละทศั นะ โดย
แตล่ ะทศั นะทา่ นจะตอ้ งทำความเข้าใจท่ีสามารถอธิบายกับตวั เองไดว้ ่า เขาใหน้ ิยามวา่ อย่างไร

2) หลังจากการศึกษาเนื้อหาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีกครั้งจากแบบ
ประเมนิ ผลตนเองในตอนท้ายของคู่มอื

3) เนื้อหาเกี่ยวกับนิยามของทักษะเชิงนวัตกรรม จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละทัศนะมีแหล่งอ้างอิง
ตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังของแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษารายละเอียดของ
ทัศนะเหลา่ น้ัน ซ่ึงตน้ ฉบบั เปน็ บทความภาษาอังกฤษ ทา่ นสามารถจะสบื ค้นต่อได้จากเว็บไซต์ท่ีระบุไว้
ในแหลง่ อ้างองิ นนั้ ๆ

ทัศนะเกีย่ วกับนยิ ามของทกั ษะเชิงนวตั กรรม

1. Albuquerque ตำแหนง่ รองศาสตราจารย์คณะวิชาเทคโนโลยีทส่ี ถาบนั โพลีเทคนคิ ประเทศ
โปรตเุ กส กล่าวถึงนิยามของทกั ษะนวัตกรรมว่า เปน็ กระบวนการผลติ ผลของมโนภาพทเ่ี กิดข้ึนใหม่ ตาม
ความจริงและตามวิถีของการลงมือทำและการคิดโดยปกติท่ัวไป ซึ่งเป็นนัยยะของการเชือ่ มต่อระหว่าง
แนวคิดและการกระทำ เพอื่ สรา้ งคำตอบ วิธกี าร ขนั้ ตอน และเคร่ืองมือขน้ึ มาใหมอ่ กี คร้ัง

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจนยิ ามของทกั ษะเชิง

นวัตกรรมตามทศั นะของ Albuquerque วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………….....................................................................
.......................................................................................................................................... ............................
...................................................................................................................................................

2.ในเว็บไซต์ของ Bellevue college เป็นเว็บไซด์ของ วิทยาลัย Bellevue ตั้งอยู่ในเขต
เมอื งของ Bellevue รฐั Washington กล่าวถึงนิยามของทกั ษะนวตั กรรมวา่ เป็นทักษะดา้ นการเรียนรู้
และนวัตกรรมที่มีการยอมรับกันมาก ว่าเป็นทักษะท่ีทำให้เห็นความแตกต่างระหว่างผูเ้ รียนที่ถูกเตรียม
สำหรับชีวิตและสภาพแวดล้อมการทำงานในศตวรรษที่ 21 ที่ซับซ้อนมากขึ้น โดยมุ่งไปที่การคิด
สร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การสื่อสารและความร่วมมือ ซึ่งจำเป็นสำหรับการเตรียมผู้เรียนสู่
อนาคต

191

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจนยิ ามของทกั ษะเชิงนวตั กรรม

ตามทศั นะในเวบ็ ไซตข์ อง Bellevue college ว่าอยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………................................
............................................................................................................................. ...........................
........................................................................................................................................................
................................................................................................................................

3. ในเว็บไซด์ของ E-CSR เป็นเว็บไซด์เกี่ยวกับ แพลตฟอร์มสื่อสำหรับข่าวจาก บริษัท
องคก์ รท่ีไมแ่ สวงหาผลกำไรสถาบนั และองค์กรพฒั นาเอกชนทวั่ โลก ได้ให้นิยามแนวคิดของนวัตกรรม
ไว้ว่า เป็นผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการใหม่หรือที่มีการพัฒนาแล้ว ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยยะสำคัญจาก
ผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการเดิม ๆ ขององค์กร ซึ่งจัดทำขึ้นมาและให้มีไว้สำหรับผู้มีศักยภาพจะใช้
(ผลิตภณั ฑ)์ หรือนำมาให้องค์กรน้ันใช้ (กระบวนการ)

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจนิยามของทักษะเชงิ นวตั กรรม ตาม
ทัศนะในเว็บไซดข์ อง E-CSR ว่าอยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………...............................................................
............................................................................................................................. .........................................
...................................................................................................................................................

4. ในเว็บไซต์ของ Skillsyouneed เป็นเว็บไซด์ท่ีมุ่งมั่นที่จะให้ข้อมูลและทรัพยากรที่มี
คุณภาพสูง ได้กล่าวถึงนิยามของทักษะนวัตกรรมว่า เป็นกระบวนการของการนำแนวคิดใหม่ๆ ในการ
แก้ปัญหามาใช้ ซึ่งนวัตกรรมเป็นการก่อให้เกิด การยอมรับ และการนำไปปฏิบัติในด้านแนวคิด
กระบวนการ ผลิตภณั ฑ์ หรือบริการใหมๆ่

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจนยิ ามของทกั ษะเชิงนวัตกรรม ตาม
ทัศนะในเว็บไซตข์ อง Skillsyouneed ว่าอยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………..............................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................... .................................

192

5. ในเว็บไซต์ของ Toolshero เป็นเว็บไซด์เกี่ยวกับการส่งเสริมทฤษฎีและวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ กล่าวถึงนิยามของทักษะนวัตกรรมว่า นวัตกรรมไม่ได้เป็นเพียงการแนะนำหรือการนำ
แนวคิดหรือวิธีการใหม่ๆ ไปปฏิบัติ แต่เป็นกระบวนการที่เกี่ยวพันกับหลายๆ กิจกรรมที่เผยให้เห็น
แนวทางในการทำส่งิ ต่าง ๆ แตต่ ้องไม่สบั สนการคำว่า การสร้าง (creation) เน่ืองจากเป็นเพยี งการลงมือ
กระทำ การคดิ คน้ หรอื การผลิตบางส่งิ ข้นึ มา อย่างไรก็ตาม นวตั กรรมใหมๆ่ สามารถทำใหเ้ ปน็ จริงได้ดว้ ย
ความคิดสรา้ งสรรค์ ซงึ่ ตอ้ งมกี ารคิดนอกกรอบเพอื่ สรา้ งส่งิ ต่าง ๆ ใหดีข้ึนแบบค่อยเป็นคอ่ ยไป

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจนยิ ามของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ตามทศั นะใน
เว็บไซตข์ อง Toolshero วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………..............................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................... ......

6. ในเวบ็ ไซตข์ อง Vocabulary เปน็ เวบ็ ไซด์เก่ยี วกับการคน้ หาคำศัพทเ์ พือ่ การศกึ ษา กล่าวถึง
นิยามของทกั ษะนวัตกรรมว่า นวัตกรรมเป็นการแนะนำส่ิงใหม่ๆ เก่ยี วกบั เทคโนโลยีใหม่ๆ ก็จะต้องคอย
มองหานวตั กรรมทจ่ี ะเกิดข้ึน นวตั กรรมเปน็ การจดุ ประกายความเขา้ ใจทลี่ กึ ซึง้ ท่นี ำไปสู่การศึกษาค้นคว้า
ของนักวิทยาศาสตร์หรือนักประดิษฐ์ในประเด็นหรือปรากฏการณ์ใดๆ ซึ่งความเข้าใจนั้นๆ มักจะถูก
ปรับเปล่ียนโดยการสังเกตุสิ่งที่เกิดขึ้นว่าเป็นจริง หรือการกระตุกแนวความคิดใหม่ๆ ที่สร้างสรรค์
นวตั กรรมมีพืน้ ฐานมาจากความสงสยั ใคร่รู้ ความเต็มใจที่จะเสย่ี งและการทดสอบขอ้ สนั นิษฐาน นวัตกรรม
มพี ้นื ฐานมาจากการตง้ั คำถามและการทา้ ทายสถานะเดมิ และยงั มพี ื้นฐานมาจากการรบั รูถ้ ึงโอกาสและใช้
ประโยชน์จากโอกาสนัน้

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจนิยามของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ตามทศั นะใน
เวบ็ ไซต์ของ Vocabulary ว่าอย่างไร ?
…………………………………………………………………………………………….................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
7. ในเวบ็ ไซต์ของ Business เป็นเว็บไซด์เกยี่ วกบั การบรหิ ารธรุ กจิ ให้ประสบความสำเร็จของ
ประเทศ ออสเตรเลีย กล่าวถึงนิยามของทักษะนวัตกรรมว่า โดยทั่วไปแล้ว นวัตกรรมหมายถึงการ
เปลี่ยนแปลงกระบวนการหรือสรา้ งกระบวนการ ผลิตภัณฑ์ และแนวคิดที่มีประสิทธิผลมากกวา่ ในทาง
ธุรกิจ อาจหมายถึงการนำแนวคิดใหม่ๆ มาลงมือปฏิบัติ การสร้างผลิตภัณฑ์ที่เต็มไปด้วยความคิด
สร้างสรรค์ หรือการปรบั ปรุงบริการท่ีมีอยู่ นวัตกรรมสามารถเป็นสิ่งเรง่ การเติบโตและความสำเร็จของ

193

ธุรกิจ และช่วยให้ปรับตัวและเติบโตในตลาดได้ การเป็นนวัตกรรมไมไ่ ด้หมายถึงแคก่ ารประดิษฐ์คิดค้น
นวัตกรรมอาจหมายถึงการเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจและปรับเพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมเพ่ือ
นำเสนอผลติ ภัณฑ์หรอื บรกิ ารที่ดกี วา่ นวัตกรรมทีป่ ระสบความสำเรจ็ นัน้ ควรจะเปน็ สว่ นหนึ่งทตี่ ้งั อยู่ในกล
ยุทธ์ทางธุรกิจ ซึ่งสามารถสร้างวัฒนธรรมแห่งนวัตกรรม นำทางไปสู่การคิดเชิงนวัตกรรมและการ
แก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ นวัตกรรมสามารถเพิม่ ความเป็นไปได้ของความสำเร็จในธุรกิจ ซึ่งธุรกิจที่ใช้
นวตั กรรมจะทำใหเ้ กดิ กระบวนการทำงานที่มปี ระสทิ ธิภาพมากกวา่ และมคี วามสามารถในการผลิตและ
สมรรถนะทีด่ กี วา่

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจนยิ ามของทกั ษะเชิงนวตั กรรม ตาม
ทศั นะในเว็บไซตข์ อง Business ว่าอยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………...............................................................
.................................................................................................................................................. .......
................................................................................................................................................................

8. ในเว็บไซต์ของ Center for Management & Organization Effectiveness เป็นเว็บ
ไซด์ที่ส่งเสริม และ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการวิจัยและสิ่งตีพิมพ์ กล่าวถึงนิยามของทักษะนวัตกรรมวา่
นวัตกรรมเป็นความสามารถทจ่ี ะเปลย่ี นแปลงและพัฒนาผลติ ภัณฑ์ กระบวนการ บรกิ าร หรอื วิธแี ก้ปญั หา
ทีช่ ดั เจนหรือค่อยเป็นค่อยไป ในแนวทางทีจ่ ะสร้างคุณคา่ ท่ีโดดเด่นให้กับองคก์ ร นวัตกรรมมีความสำคัญ
ต่อองค์กรในการใช้ศักยภาพได้เต็มที่ ซึ่งหลายองค์กรยงั ขาดทักษะการคิดวิเคราะห์นี้ ทุกคนในองค์กร
สามารถพัฒนาสมรรถนะให้เปน็ คลา้ ยพลังเชิงนวัตกรรมได้ ซึ่งการอบรมทักษะนวตั กรรมของ CMOE ได้
ออกแบบมาเพื่อช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานหรือผู้นำแต่ละคนมีส่วนร่วมในการคิดเชิงนวัตกรรม และใช้
ความสามารถพิเศษและประสบการณข์ องตนเพอ่ื โน้มนา้ วองคก์ รด้วยวธิ ีการที่ลุ่มลกึ ซงึ่ หลกั สตู รนจี้ ะทำให้
ผ้เู ขา้ อบรมไดเ้ หน็ ทกั ษะที่ตนเองตอ้ งการจะมี

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของทักษะเชิงนวัตกรรม ตาม
ท ั ศ น ะ ใ น เ ว ็ บ ไ ซ ต ์ ข อ ง Center for Management & Organization
Effectiveness ว่าอย่างไร ?

…………………………………………………………………………………………….............................. . . . . .
......................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

194

9. Dwyer เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านนวัตกรรมและผู้ประกอบการ Northwestern
University กล่าวถึงนยิ ามของทักษะนวัตกรรมวา่ หมายถงึ

• การใชแ้ นวคิดทใี่ หมแ่ ละมปี ระโยชน์
• เกี่ยวกบั การอยใู่ ห้สมั พันธก์ ัน
• ความคดิ เยย่ี ม จัดการเก่ง และสอื่ สารดี
• การเสนอสง่ิ ที่เป็นไปได้และเกยี่ วขอ้ งกนั กับโมเดลธุรกจิ ท่ีปฏบิ ตั ิได้ ซ่งึ ลูกคา้ รบั รแู้ ละนำไปใช้
• การแนะนำผลิตภัณฑแ์ ละบริการใหมๆ่ ทเี่ พม่ิ คุณคา่ ใหอ้ งคก์ ร
• ตราบเทา่ ทเี่ ป็นสิง่ ใหม่และทำให้เหน็ ความต้องการของลกู คา้ ความเปลย่ี นแปลงใดๆ ก็เกิดขึ้น

ได้
• วธิ ีการพนื้ ฐานที่บริษัทใชส้ ่ือสารค่านิยมทแี่ นว่ แน่ไปยงั ลูกค้า
• การทำงานที่นำเสนอสิ่งดีๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ไปยังลูกค้าในตลาดใหม่ๆ และปรับปรุงผลกำไรให้

สมดุล
• การนำสง่ิ ใหม่ๆ มาปฏบิ ัติ
• การนำแนวคดิ สรา้ งสรรคม์ าปฏบิ ตั เิ พื่อสร้างคุณคา่
• สิ่งที่ใหม่ มปี ระโยชน์ และสรา้ งความประหลาดใจ
ดังน้ัน นยิ ามของนวัตกรรมกค็ ือ เป็นกระบวนการของการสร้างคณุ คา่ โดยการประยกุ ตใ์ ช้วิธใี หม่ๆ ในการ
แกป้ ัญหาท่ีสำคัญ

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจนยิ ามของทกั ษะเชิงนวตั กรรม ตามทศั นะ
ของ Dwyer วา่ อย่างไร ?

…………………………………………………………………………………………….....................................................
............................................................................................................................. .........................................
..........................................................................................................................................................

10. ในเว็บไซต์ของ Wikipedia เป็นเว็บไซด์สารานุกรมเสรี กล่าวถึงนิยามของทักษะ
นวัตกรรมว่า ความหมายของนวัตกรรมที่เป็นที่เข้าใจได้ในปัจจุบันคือ “เป็นแนวคิดใหม่ ความคิด
สร้างสรรค์ การจินตนาการถงึ สิ่งใหม่ๆในรูปแบบของเครื่องมือหรือวิธีการ” นวัตกรรมมกั ถูกมองว่าเปน็
การประยกุ ตใ์ ชท้ ่ีดีกว่าทตี่ รงตามแนวคิดใหม่ และ ความตอ้ งการของตลาดทม่ี ีอยู่ในขณะนนั้ ซ่ึงนวตั กรรม
ดังกล่าวเกิดขึ้นจากการเตรียมการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นในด้านผลิตภัณฑ์ กระบวนการ บริการ
เทคโนโลยี หรอื โมเดลทางธุรกิจ เพื่อให้มอี ยู่ในกลุ่มผ้ซู ื้อขาย หนว่ ยงานราชการ และสังคม นวตั กรรมเป็น
ส่งิ ทีเ่ กดิ ขึ้นเป็นอยา่ งแรกและมปี ระสทิ ธิผลมากกวา่ และกลายเปน็ ความใหมซ่ งึ่ แทรกเข้าไปในตลาดหรือ

195

สังคมได้ นวัตกรรมเปน็ เร่ืองทเ่ี กย่ี วข้องกับสง่ิ สร้างสรรค์ แต่มีความแตกต่างกนั เนือ่ งจากนวตั กรรมมีความ
เป็นไปได้มากกว่าในการรวมเอาการปฏิบัติที่ใช้งานได้จริงของสิ่งสร้างสรรค์ (เช่น ทักษะใหม่ๆ หรือที่
พัฒนาแล้ว) ไปทำให้เกิดผลกระทบที่สำคัญในตลาดหรือสังคม และไม่ใช่ทุกนวัตกรรมที่ต้องมีสิ่ง
สรา้ งสรรค์ นวตั กรรมมกั จะเผยตัวเองผา่ นกระบวนการทางวศิ วกรรมเมอื่ มกี ารแกไ้ ขปญั หาในลักษณะทาง
เทคนคิ หรือทางวิทยาศาสตร์ โดยสง่ิ ตรงข้ามกับนวัตกรรมก็คอื exnovation

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจนิยามของทกั ษะเชิงนวัตกรรม ตามทัศนะใน
เว็บไซต์ของ Wikipedia ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………….............................
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................................. .............

แบบประเมินตนเอง

โปรดทบทวนความร้คู วามเขา้ ใจของทา่ นอกี คร้ังจากแบบประเมินผลตนเองนี้
1) ทา่ นเข้าใจนิยามทกั ษะเชงิ นวัตกรรมตามทัศนะของ Albuquerque ชดั เจนดแี ล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหมอ่ กี ครั้ง แลว้ ตอบคำถามในใจว่า Albuquerque
กลา่ วถึงนยิ ามของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมวา่ อย่างไร ?
2) ท่านเข้าใจนยิ ามทกั ษะเชิงนวตั กรรมตามทัศนะในเว็บไซต์ของ Bellevue college ชดั เจนดี
แล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อกี ครง้ั แลว้ ตอบคำถามในใจว่า ในเว็บไซต์ของ
Bellevue college กลา่ วถึงนิยามของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมวา่ อย่างไร ?
3) ทา่ นเขา้ ใจนยิ ามทกั ษะเชิงนวตั กรรมตามทัศนะในเว็บไซด์ของ E-CSR ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อกี คร้ัง แลว้ ตอบคำถามในใจวา่ ในเวบ็ ไซดข์ อง E-
CSR กลา่ วถงึ นิยามของทกั ษะเชงิ นวตั กรรมว่าอย่างไร ?
4) ท่านเขา้ ใจนิยามทกั ษะเชงิ นวัตกรรมตามทัศนะในเวบ็ ไซตข์ อง Skillsyouneed ชดั เจนดแี ลว้
หรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ

196

หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหมอ่ กี ครั้ง แลว้ ตอบคำถามในใจวา่ ในเวบ็ ไซต์ของ
Skillsyouneed กล่าวถึงนิยามของทกั ษะเชิงนวัตกรรมว่าอยา่ งไร ?
5) ทา่ นเขา้ ใจนยิ ามทกั ษะเชงิ นวัตกรรมตามทัศนะในเว็บไซต์ของ Toolshero ชัดเจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไมช่ ัดเจนดพี อ โปรดกลับไปศึกษาใหมอ่ กี คร้งั แลว้ ตอบคำถามในใจว่า ในเวบ็ ไซตข์ อง
Toolshero กลา่ วถงึ นยิ ามของทักษะเชิงนวตั กรรมว่าอยา่ งไร ?
6) ท่านเข้าใจนยิ ามทักษะเชงิ นวตั กรรมตามทศั นะในเวบ็ ไซต์ของ Vocabulary ชดั เจนดแี ล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยังไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหมอ่ กี ครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า ในเว็บไซต์ของ
Vocabulary กล่าวถงึ นิยามของทกั ษะเชิงนวัตกรรมว่าอยา่ งไร ?
7) ทา่ นเข้าใจนยิ ามทักษะเชิงนวัตกรรมตามทศั นะในเวบ็ ไซตข์ อง Business ชัดเจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อกี ครง้ั แลว้ ตอบคำถามในใจว่า ในเว็บไซตข์ อง
Business กล่าวถงึ นยิ ามของทกั ษะเชิงนวัตกรรมว่าอยา่ งไร ?
8) ท่านเข้าใจนิยามทกั ษะเชิงนวัตกรรมตามทัศนะในเว็บไซตข์ อง Center for Management &
Organization Effectiveness ชดั เจนดีแลว้ หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อกี ครงั้ แลว้ ตอบคำถามในใจวา่ ในเว็บไซตข์ อง
Center for Management & Organization Effectiveness กลา่ วถึงนิยามของทกั ษะเชงิ
นวตั กรรมว่าอย่างไร ?
9) ท่านเข้าใจนยิ ามทกั ษะเชิงนวัตกรรมตามทัศนะของ Dwyer ชัดเจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยงั ไม่ชัดเจนดพี อ โปรดกลับไปศกึ ษาใหมอ่ กี ครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Dwyer กลา่ วถงึ
นิยามของทักษะเชงิ นวตั กรรมวา่ อยา่ งไร ?
10) ทา่ นเขา้ ใจนิยามทกั ษะเชงิ นวตั กรรมตามทศั นะในเวบ็ ไซต์ของ Wikipedia ชดั เจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยงั ไม่ชัดเจนดพี อ โปรดกลับไปศกึ ษาใหมอ่ กี ครง้ั แล้วตอบคำถามในใจว่า ในเวบ็ ไซต์ของ
Wikipedia กล่าวถงึ นิยามของทกั ษะเชงิ นวตั กรรมว่าอยา่ งไร ?

197

หมายเหตุ

หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับที่เป็นภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เว็บไซตข์ องแตล่ ะแหลง่ ได้ ดังน้ี
Albuquerque : https://bit.ly/2YD1xzf
Bellevue College : https://bit.ly/2Y00UCB
E-CSR : https://bit.ly/30zfGhn
Skills You Need : https://bit.ly/2SdRcan
Toolshero : https://bit.ly/2XKxE3u
Vocabulary : https://bit.ly/2LTyLH8
Business : https://bit.ly/2xQfH4p
Center for Management & Organization Effectiveness : https://bit.ly/2xtjZhD
Dwyer : https://bit.ly/2Y6XFt6
Wikipedia : https://bit.ly/1HKi5nJ

เอกสารอ้างองิ

Albuquerque, C. (2013). The study of social needs as a strategic tool for the innovation
of the social care sector: The contribution of new technologies. Retrieved
June14,2019 from https://bit.ly/2YD1xzf

Bellevue College (2019). Learning and innovation skills. Retrieved June14,2019 from
https://bit.ly/2Y00UCB

Business (2018). Innovation. Retrieved June14,2019 from https://bit.ly/2xQfH4p
Center for Management & Orgenization Effectiveness (n.d.). Innovation skills. Retrieved

June14,2019 from https://bit.ly/2xtjZhD
Dwyer,J. (n.d.). What is innovation: Why almost everyone defines it wrong. Retrieved

June14,2019 from https://bit.ly/2Y6XFt6
E-CSR (2017). Innovation: Definition, types of innovation and business examples.

Retrieved June14,2019 from https://bit.ly/30zfGhn
Skills You Need (n.d.). Defining innovation. Retrieved June14,2019 from

https://bit.ly/2SdRcan
Toolshero (n.d.). Innovation. Retrieved June14,2019 from https://bit.ly/2XKxE3u
Vocabulary (n.d.). Innovation. Retrieved June14,2019 from https://bit.ly/2LTyLH8
Wikipedia (2019). Innovation. Retrieved June14,2019 from https://bit.ly/1HKi5nJ

198

คมู่ ือชดุ ท่ี 2
ทัศนะเก่ียวกบั ความสำคัญของทักษะเชิงนวัตกรรม

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
หลังจากการศึกษาคู่มือชุดนี้แล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่งเป็น

จุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกีย่ วขอ้ งกบั สมรรถภาพทางสมองหรอื สตปิ ญั ญาตามแนวคิดของ Benjamin
S. Bloom โดยจาํ แนกพฤติกรรมในขอบเขตน้อี อกเปน็ 6 ระดับ เรียงจากพฤตกิ รรมทส่ี ลบั ซบั ซ้อนน้อยไป
หามาก หรอื จากทักษะการคดิ ข้นั ตำ่ กว่าไปหาทกั ษะการคิดขั้นสงู กวา่ ดงั น้ี คอื ความจำ (Remembering)
ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน
(Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดงั นี้

1) บอกคุณสมบัติ จบั คู่ เขียนลำดบั อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จำแนก หรอื ระบุความสำคัญของ
ทักษะเชิงนวัตกรรมได้

2) แปลความหมาย อธบิ าย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอยา่ ง บอกความแตกตา่ ง หรอื เรียบ
เรียงความสำคัญของทักษะเชงิ นวัตกรรมได้

3) แกป้ ญั หา สาธติ ทำนาย เชอ่ื มโยง ความสมั พนั ธ์ เปลีย่ นแปลง คำนวณ หรือปรับปรงุ
ความสำคญั ของทกั ษะเชงิ นวตั กรรมได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จำแนกใหเ้ หน็ ความแตกตา่ ง หรอื บอกเหตผุ ลความสำคญั ของทกั ษะเชิง
นวตั กรรมได้

5) วัดผล เปรยี บเทียบ ตีคา่ ลงความเห็น วิจารณค์ วามสำคัญของทกั ษะเชงิ นวตั กรรมได้
6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดษิ ฐ์ หรือวางหลกั การความสำคญั ของทักษะเชงิ
นวัตกรรมได้โดยมที ัศนะเกีย่ วกับนิยามของทกั ษะเชงิ นวตั กรรม ของแหลง่ อ้างองิ ทางวิชาการตา่ งๆ ดังนี้
1) ความสำคญั ของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ตามทศั นะของ Henderson
2) ความสำคัญของทกั ษะเชิงนวตั กรรม ตามทัศนะของ Myllyya
3) ความสำคัญของทกั ษะเชิงนวตั กรรม ตามทัศนะในเว็บไซต์ ของ Cleverism
4) ความสำคัญของทกั ษะเชิงนวัตกรรม ตามทศั นะในเว็บไซต์ Sokova
5) ความสำคญั ของทกั ษะเชิงนวตั กรรม ตามทัศนะของ Kappe
6) ความสำคัญของทกั ษะเชงิ นวตั กรรม ตามทศั นะของ Nolan

คำช้ีแจง

4) โปรดศึกษาเนื้อหาเกย่ี วกบั ความสำคัญของทกั ษะเชงิ นวตั กรรม จากทศั นะท่ีนำมากลา่ วถึง แต่ละทัศนะ
โดยแตล่ ะทศั นะท่านจะตอ้ งทำความเข้าใจทส่ี ามารถอธบิ ายกบั ตวั เองได้วา่ เขาให้นยิ ามวา่ อย่างไร

5) หลังจากการศึกษาเนื้อหาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีกครั้งจากแบบ
ประเมินผลตนเองในตอนท้ายของคูม่ อื

199

6) เนื้อหาเกี่ยวกับความสำคัญของทักษะเชิงนวัตกรรม จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละทัศนะมีแหล่ง
อ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนทา้ ยหลังของแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษารายละเอยี ด
ของทัศนะเหล่านัน้ ซึ่งต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะสืบค้นต่อได้จากเว็บไซตท์ ี่
ระบุไว้ในแหล่งอ้างองิ นนั้ ๆ

ทศั นะเกย่ี วกับความสำคัญของทักษะเชงิ นวตั กรรม

1. Henderson เป็นนักเขียนโค้ชและผูฝ้ ึกสอนที่ช่วยให้ผู้ประกอบการและผู้บริหารประสบ
ความสำเร็จทางธุรกิจและความเป็นผู้นำ กล่าวว่านวัตกรรมเปน็ สิง่ ท่ีสำคัญมากสำหรับองค์กร เนื่องจาก
นวัตกรรมมีสว่ นช่วยใหอ้ งคก์ รขยายขอบเขต และยงั เพิม่ เครอื ข่ายในการพัฒนาตลาดซงึ่ จะนำไปสูโ่ อกาสดี
ๆ โดยเฉพาะในกลมุ่ ประเทศรำ่ รวย นวัตกรรมสามารถช่วยในการพฒั นาแนวคดิ เดิมที่มอี ยู่แล้วให้ดีย่ิงข้ึน
ในขณะเดียวกันก็ส่งเสริมให้ผู้มีความคิดใหม่ๆ สามารถทำงานของตนได้อย่างเต็มที่ มีความมั่นใจและ
ทศั นคตกิ ารกล้ารบั ความเส่ยี งเพอ่ื ให้งานประสบผลสำเร็จ เมือ่ องคก์ รมวี ัฒนธรรมแหง่ นวัตกรรมก็จะเกิด
การพฒั นาได้งา่ ยดาย แมว้ ่าความจรงิ แลว้ กระบวนการความคดิ สร้างสรรคจ์ ะไมใ่ ช่เรอ่ื งง่ายกต็ าม ทฤษฎีท่ี
ทดสอบแล้วว่ามีประสิทธิภาพอาจเป็นอะไรที่น่าเชื่อถือ แต่การลองทำสิ่งใหม่ๆ นั้นก็เป็นอะไรที่คุ้มคา่
เช่นเดยี วกนั

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจความสำคญั ของทักษะเชงิ นวัตกรรม

ตามทัศนะของ Henderson ว่าอย่างไร ?

……………………………………………………………………………….............................................................................
......................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

2. Myllyya กลา่ วถึงความสำคญั ของนวัตกรรมวา่ หากเราพิจารณาบทบาทของนวตั กรรมจาก
มุมสังคม เราจะเห็นความสำคัญของนวัตกรรมในองค์กรชันเจนขึ้น ทุกวันนี้เป็นการยากที่จะบอกว่า
อุตสาหกรรมใดบ้างทีเ่ ห็นว่านวัตกรรมไม่สำคัญ แม้ว่าอุตสาหกรรมบางประเภทจำเป็นต้องใช้นวัตกรรม
มากกวา่ อุตสาหกรรมประเภทอน่ื แตน่ วตั กรรมและความสามารถในการพัฒนาเปน็ ส่ิงทีอ่ ุตสาหกรรมทุก
ประเภทพึงมี ยง่ิ ไปกว่านนั้ อตุ สาหกรรมรฐั บาลทม่ี กี ารควบคุมเข้มงวดทสี่ ุดอย่างแทก็ ซี่และธนาคารซึง่ ไม่มี
ใครคาดคิดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงได้มาก่อนก็ยังมีการเปลี่ยนแปลง ที่ปฏิวัติวงการแท็กซี่ที่มีมา
ยาวนาน หรือการมีนวตั กรรมใหมเ่ ขา้ มาส่งผลกระทบตอ่ การให้บรกิ ารทางการเงนิ ของธนาคาร ในปัจจุบนั
นวตั กรรมสามารถทำให้เกดิ ประโยน์มากมายและยังถือวา่ เปน็ ทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างหนึ่งซ่ึงช่วยให้
องค์กรประสบความสำเร็จในธรุ กิจได้

200

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสำคัญของทกั ษะเชิง

นวัตกรรม ตามทศั นะของ Myllyya วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………................................
............................................................................................................................. ...............

............................................................................................................................... .......................................

3. ในเว็บไซต์ของ Cleverism กล่าวถึงความสำคัญของนวัตกรรมไว้ว่า ทำไมทักษะด้าน
นวัตกรรมจึงสำคัญ เน่ืองจากในปจั จบุ ันการตลาดเปลยี่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลาทำให้ต้องนึกถงึ นวัตกรรม ซึ่ง
คำว่านวัตกรรมนไี้ ดก้ ลายมาเป็นวลีบงั คบั สำหรบั การทำธุรกิจท่ตี ้องการเพม่ิ ขีดความสามารถและได้มาซึ่ง
วธิ ีการแก้ปญั หาทีด่ ที สี่ ุดและทนั สมยั ทส่ี ุดในอุตสาหกรรมของตน และตอ่ ไปนีค้ อื ประโยชนข์ องพนักงานท่ี
มที กั ษะดา้ นนวตั กรรม น้นั คอื

3.1. เป็นการเพิ่มขีดความสามารถ (Improves efficiency) ซึ่งนับเป็นทรัพยากรที่มีค่ามาก
สำหรับองคก์ ร สบื เน่ืองมาจากความอยากรอู้ ยากลอง ทักษะด้านนวัตกรรมชว่ ยสง่ เสริมความสามารถของ
พนักงานในการตระหนกั ถึงศกั ยภาพของการพัฒนานองค์กรซึง่ ไมใ่ ชแ่ คใ่ นงานของตนเอง แต่รวมไปถงึ งาน
ด้านอ่ืน ๆ ในองคก์ รอกี ด้วย และชว่ ยให้สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรทีม่ ีอยูจ่ ำกดั ไดอ้ ย่างดี

3.2. กา้ วผา่ นความจำเจ (Overcomes monotony) นวัตกรรมมพี ลงั ในการช่วยให้พนกั งานก้าว
ออกจากแนวคดิ เดมิ ๆ ส่งผลให้พนักงานบรรลผุ ลสำเรจ็ และเกดิ ความพึงพอใจ พลังแหง่ นวัตกรรมยงั เปน็
ตัวช่วยผลักดันให้การทำงานมีความท้าทายและยังช่วยส่งสเริมให้พนักงานกล้าที่จะคิดนอกกรอบได้อกี
ดว้ ย

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจความสำคญั ของทักษะเชิงนวตั กรรม
ตามทัศนะในเว็บไซตข์ อง Cleverism วา่ อย่างไร ?
……………………………………………………………………………………………...............................................................
......................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

4. Sokova เป็นนักวิชาการมพี ื้นฐานทางวชิ าชีพในด้านความสมั พันธ์ระหว่างประเทศ กล่าวว่า
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ได้กลายมาเป็นทักษะการคิดวิเคราะหท์ ี่จะ
นำไปสู่ความสำเร็จในการพฒั นาเศรษฐกิจ ความต้องการการแกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรค์มีเพมิ่ มากข้ึน และ
การจดั การปญั หานน้ั ก็จำเปน็ ตอ้ งใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรคอ์ ยา่ งเข้าใจเพ่ือการหาทางแก้ไขปัญหาท่ีเหมาะสม
ความคิดสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรมมักจะมาคู่กัน ไมม่ ีนวตั กรรมใดทป่ี ราศจากความคิดสร้างสรรค์ ขณะที่
ความคดิ สรา้ งสรรค์เปน็ ความสามารถในการสร้างแนวคดิ ใหมๆ่ ซึ่งไมเ่ คยมีการกอ่ น นวัตกรรมก็คือการนำ

201

ความคดิ เหล่านนั้ ทไ่ี ม่วา่ จะเป็นแนวคดิ ใหม่ๆ แนวทางการแก้ไขปัญหา วิธีการดำเนินการ หรอื ผลติ ภัณฑ์ท่ี
ได้คดิ ค้นขึ้นมาทำให้เกิดข้ึนจรงิ ความคดิ สร้างสรรคเ์ ป็นแรงผลกั ดนั ใหเ้ กดิ นวัตกรรม สองสง่ิ นร้ี วมกันชว่ ย
ใหเ้ รามองสงิ่ ต่าง ๆ ในมมุ มองที่แตกต่างโดยไม่คำนงึ ถงึ กฎเกณฑ์และธรรมเนียมการปฏิบัติท้ังท่ีมีกำหนด
ไว้และไมไ่ ด้กำหนดไว้การความคิดสรา้ งสรรค์และนวัตกรรมในองคก์ รทีม่ ีการบรหิ ารทด่ี ถี ือเป็นหนทางกา
รนั ตีส่คู วามสำเรจ็ การกระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความคิดสรา้ งสรรค์และคน้ หาสง่ิ ใหมๆ่ ทีไ่ ม่เคยรู้มากอ่ นสง่ ผลใหเ้ กิด
ผลิตภาพแก่องค์กรมากขึน้ การสง่ เสริมใหพ้ นักงานคิดนอกกรอบพร้อมทัง้ ใหเ้ วลาและทรัพยากรแก่พวก
เขาในการคิดหาแนวคิดใหม่ๆ คือกุญแจสำคัญในการแก้ปัญหาทางธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ ความคิด
สร้างสรรค์ช่วยพัฒนากระบวนการแก้ปัญหา ไม่สำคัญว่ามันจะเป็นการพัฒนาหลักการใหม่ หรือ เป็น
วิธีการแบบใหมใ่ นการพฒั นาตัวเองให้เปน็ คู่แข่งทีเ่ หนอื กวา่ คนอื่น การแกป้ ัญหาด้วยความคิดสร้างสรรค์
ทำให้องค์กรได้เปรียบทางการแข่งขนั หลายๆ องค์กรพยายามอย่างมากทีจ่ ะมีสิง่ นี้ ความคิดสร้างสรรค์
และการจดั การนวัตกรรมนี้อาจเกิดขึน้ ได้จากหลายทาง เช่น จากบริษัทคู่ค้า ลูกค้า กลุ่มเปา้ หมาย หรือ
แม้แตจ่ ากพนกั งานเอง พวกเขาเหล่านนั้ อาจมีส่วนช่วยให้คุณเกิดแนวคิดใหม่ๆ ฉะนัน้ จงแสดงให้พวกเขา
เห็นถึงความใส่ใจในการรับฟัง และเปิดใจฟังผลตอบรับที่ได้จากพวกเขา นี่คือเหตุผลว่าทำไมการเปิด
ประสบการณ์ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจึงเป็นจุดสำคัญ เนื่องจากพนักงานในองค์กรจะได้รับรู้ว่า
องคก์ รคอยสนับสนนุ และสง่ เสรมิ พวกเขาเสมอ

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจความสำคัญของทกั ษะเชิงนวัตกรรม
ตามทัศนะของ Sokova ว่าอยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………..............................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................

5. Kappe เป็นผู้ก่อตั้งและซีอีโอของ Patriot Software, LLC และมีประสบการณ์ในการเป็น
ผู้ประกอบการมากว่า 30 ปี กล่าวว่า มีเหตุผลหลายข้อว่าทำไมคุณควรพัฒนาทกั ษะด้านนวัตกรรมในที่
ทำงาน

5.1. ชว่ ยแก้ปัญหาท่ีเป็นไปไม่ได้ (Solve impossible problems) ธุรกจิ ของคณุ ประสบปัญหาที่
ดูจะหาทางแก้ไขไม่ได้เลยหรือไม่ ไม่ว่าคุณจะพยายามสักกี่ครั้งก็ตามแต่ เหตุผลอาจเป็นเพราะว่าคุณ
พยายามแกป้ ัญหาตามสภาพที่เป็นอยู่ บางทีคุณอาจต้องแก้ปัญหาด้วยแนวคดิ ใหม่ๆ เมื่อคุณเริ่มท่ีจะคิด
นอกกรอบ คุณอาจพบคำตอบท่ีไม่มใี ครคาดคิดมาก่อนกเ็ ปน็ ได้ไมว่ า่ จะเป็นเรือ่ งของการพัฒนาสินค้า การ
เกบ็ สินคา้ ในคลัง หรอื การจัดสง่ สินค้าใหล้ กู ค้า คุณสามารถที่จะพบทางออกดี ๆ ทช่ี ่วยใหธ้ ุรกิจคุณไปได้ดี
ยิ่งขน้ึ

5.2. ชว่ ยสง่ เสริมผลติ ภาพองคก์ ร (Increase workplace productivity) หากคณุ พบว่าคุณและ
พนักงานในองคก์ รกำลังประสบความยุ่งยากในการทำงานและต้องใช้ความพยายามอย่างมากเพ่ือใหง้ าน
สำเร็จลลุ ว่ ง นีอ่ าจจะเปน็ ชว่ งเวลาที่องคก์ รต้องมีการเพมิ่ ผลติ ภาพ แตใ่ นการเพิ่มผลิตภาพในองค์หรนั้น

202

คณุ จำเป็นทีจ่ ะต้องหากระบวนการใหม่ ใชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์ของคุณในการคิดหาหนทางที่ดีกว่าเดิมใน
การพฒั นาองค์กร ลองถามตวั เองดูวา่ มอี ะไรท่ีเราสามารถนำมาปรบั ปรุงใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากข้ึนได้บ้าง
ควรตดั อะไรออกบา้ งไหม มีงานอะไรท่ีเราสามารถมอบหมายให้พนักงานหรือเอเจนซขี า้ งนอกทำได้บ้าง มี
โปรแกรมหรอื ข้นั ตอนการทำงานใดบ้างท่เี ราสามารถนำมาช่วยเพิ่มผลติ ภาพให้องคก์ รไดบ้ า้ ง

5.3. ช่วยแสดงคุณสมบัติอันเป็นเอกลักษณ์ (Showcase unique qualities) คุณสามารถใช้
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมในการทำใหธ้ ุรกิจของคุณโดดเด่นยิ่งกว่าธุรกิจเจ้าอื่นในท้องที่และใน
กลมุ่ ธุรกิจแบบเดียวกัน น่ีคือจดุ เริ่มตน้ ของตลาดธุรกิจเลก็ ๆ ทเ่ี ป็นเอกลักษณ์ คุณจำเปน็ ตอ้ งมีนวตั กรรม
ความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการทำใหผ้ ู้คนจดจำธุรกิจของคุณ คุณอาจเริม่ ต้นดว้ ยการสรา้ งเร่อื งราวทีม่ าของแบ
รนด์ท่ีไมซ่ ้ำใคร สร้างลักษณะทางธรุ กจิ ทแ่ี ปลกใหม่ หรือการทำงานร่มกับองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรเป็น
ต้น เม่ือใดก็ตามทธ่ี รุ กจิ ของคุณเริ่มโดดเด่นข้ึน คณุ ต้องรีบทำการตลาด แสดงให้เห็นไปเลยว่าธุรกิจของ
คุณแตกต่างจากคนอ่ืนๆ อย่างไร พร้อมทัง้ สร้างแผนการตลาดท่ีเหมาะสมกับตัวธรุ กิจ คุณไม่จำเป็นตอ้ ง
ทำตามคนอ่ืน เพราะลูกคา้ จะจดจำคุณได้ดกี วา่ หากคณุ มีความแตกตา่ ง

5.4. ช่วยในการเอาชนะคู่แข่งที่น่ากลัว (Beat tough competitors) เมื่อคุณเป็นนักออกแบบ
นวัตกรรมในการทำธุรกจิ คณุ สามารถเอาชนะคู่แข่งได้แน่ ด้วยความคดิ สร้างสรรค์แมเ้ พียงเลก็ น้อย คุณ
สามารถนำมาใช้ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ดีกว่า ใช้ในการติดต่อลูกค้า ในการทำตลาดให้ธุรกิจ และนำมา
สนับสนุนโปรโมช่ันสง่ เสริมการขาย

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจความสำคญั ของทกั ษะเชิงนวัตกรรม
ตามทัศนะของ Kappe วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………………..............................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................

6. Nolan เป็นผู้กอ่ ต้งั และหัวหน้า Idea Guy และท่ีปรึกษาหลักของDenovoกล่าวถงึ เหตุผล 6
ข้อว่าทำไมนวตั กรรมจึงถอื เป็นทกั ษะการเอาตัวรอด

6.1. การแข่งขันที่เพิ่มขึ้น (Increasing Competition) อย่างที่ได้กล่าวไปแล้วก่อนหน้า การ
แข่งขันเป็นเหตุผลง่ายๆ ในการผลักดันให้เกิดนวัตกรรมในการทำธุรกิจ การคาดการณ์การแข่งขันที่จะ
เกิดขึ้นในอนาคตนั้นก็เนื่องมาจากความกดดันขององค์กรในการต้องเผชิญหน้ากับคู่แข่งท้ังหน้าเก่าและ
หน้าใหม่ เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของตลาดตามกระแสโลกาภิวัตน์ บรรดาบริษัทคู่แข่งก็ได้มีการ
พัฒนาความสามารถของตนเองอยตู่ ลอด พวกเขาฉลาดขึน้ หัวไว และมักจะตีตลาดดว้ ยผลิตภัณฑ์ใหมๆ่ ที่
น่าสนใจอยา่ งรวดเร็ว วงจรนวัตกรรมนั้นสั้นลงเรอ่ื ยๆ สนิ คา้ และบรกิ ารใหม่ๆ ถูกคิดค้นและผลิตออกมา

203

อย่างรวดเรว็ ยิง่ กว่าเดิม สิ่งเหล่าน้ลี ว้ นเพมิ่ ภาระใหบ้ รษิ ทั ทกี่ อ่ ต้ังมานานกว่า เนื่องจากตอ้ งก้าวให้ทันโลก
อยูเ่ สมอ ทั้งยังต้องผลติ สินค้าใหไ้ ดค้ ุณภาพหรอื ตอ้ งพยายามท่จี ะเปน็ ผ้มู คี วามโดดเด่นเหนือคแู่ ข่ง

6.2. กระแสโลกาภิวัตนท์ ีม่ ากขึ้น (Increasing Globalization) เมื่อไม่นานมานี้เองบริษัทคู่แข่ง
อาจเป็นบรษิ ัทในหรอื ต่างประเทศเสียสว่ นมาก ในวันนสี้ งิ่ ตา่ งๆ ได้เปลย่ี นไปแล้ว โลกใบเล็กลงเนื่องจาก
กระแสโลกาภิวัตน์ บริษัทต่างๆ ทั้งเล็กใหญ่เกิดขึ้นรอบโลกและสามารถเชื่อมถึงกันได้หมด เขตแดน
ระหว่างประเทศแทบจะไมเ่ ป็นปญั หาอีกตอ่ ไปเมือ่ พูดถึงลูกค้าธุรกิจเป็นสำคัญ บริษัทหนึ่งจากประเทศ
อินเดียก็สามารถเข้าถึงลูกค้าประจำของคณุ ได้อยา่ งง่ายดาย อย่างไรก็ตามยงั มีความโชคดีท่ีเรื่องนีส้ ่งผล
ในทางตรงกันขา้ มได้เชน่ เดยี วกัน ยกตัวอย่างเชน่ มกี ารคาดการณ์ว่าอนิ เดยี จะสามารถขยายธุรกิจได้มาก
เรื่องจากประเทศมขี นาดใหญ่ มปี ระชากรอายุน้อย มผี ูบ้ รโิ ภคซึง่ เป็นชนชัน้ กลางจำนวนมาก มปี ระชากรท่ี
มีการศึกษาสูง สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ในแวดวงอุตสาหกรรมไอที และมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพ
เศรษฐกิจของอนิ เดยี ไมไ่ ด้ขบั เคลอ่ื นด้วยผบู้ รโิ ภคภายในประเทศเทา่ นั้น แตร่ วมถึงผู้บริโภคจากทงั่ โลกเลย
กว็ า่ ได้ สำหรับภูมภิ าคทีก่ ำลังมกี ารพฒั นาทางเศรษฐกจิ เชน่ ในจีน ละตินอเมรกิ า และในทวีปแอฟรกิ า แรง
กดดันในการดงึ ดูดผบู้ รโิ ภคกไ็ ดเ้ พิ่มสงู ขึน้ อยา่ งรวดเรว็ ในการท่ีจะเตบิ โตใหท้ ันการเปลยี่ นแปลงอันรวดเรว็
ในแต่ละวันและสิ่งแวดล้อมรอบโลก บริษัทต่างๆ ไม่มีทางเลอื กอื่นใดนอกจากการคิดค้นนวัตกรรมใหม่
เพื่อดึงดูดผู้บริโภคหน้าใหม่และเปิดตลาดแห่งใหม่ การเปลี่ยนแปลงของตลาดโลกเป็นโอกาสสำหรบั ผู้มี
นวัตกรรมและแสวงหาประโยชน์จากนวตั กรรมน้ันๆ

6.3. ความต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มสูงขึ้น (Increasing Consumer Expectations) ด้วย
โซเชียลมีเดียและเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง การตลาดกลายเป็นเรื่องส่วนตัวมากขึ้นสำหรับ
ผู้บริโภคแต่ละราย ทำให้เกดิ การตลาด การโฆษณาสินค้าและบริการรูปแบบใหมข่ ึน้ พร้อมท้ังการดงึ ดูด
ลูกค้าใหม่และรักษาฐานลูกค้าเก่า ผู้บริโภคในยุคปัจจุบันได้รบั ข่าวสารมากมาย และต้องขอบคุณไปยงั
กระแสโลกาภิวัตน์ที่ช่วยให้ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าและบริการได้ตามใจชอบ ผู้บริโภคมีความ
คาดหวังที่สูงขึ้นและจะเป็นเช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆ พวกเขาจะไม่พอใจกับสินค้าหรือบริการที่ธรรมดาหรือ
ล้าสมยั พวกเขาไม่จำเป็น เนอื่ งจากผูบ้ รโิ ภคมตี วั เลอื กมากมาย ผบู้ รโิ ภคมักจะมองหาผลิตภัณฑ์ที่ช่วยให้
ชีวิตดีขึ้น และยังต้องการบรษิ ัทที่สามารถช่วยแกป้ ัญหาและทำให้ชีวิตง่ายขึ้นอีกดว้ ย และด้วยเหตนุ ้เี อง
ความคาดหวงั ของผู้บริโภคก็คือแรงผลกั ดันใหเ้ กิดนวตั กรรมทั้งในเวลาน้แี ละในอนาคตอย่างแน่นอน

6.4. เทคโนโลยีท่ีกา้ วหน้าขึ้น (Advancing Technology) ธุรกิจ startups ธุรกิจขนาดเล็กและ
ขนาดกลางได้กลายมาเป็นผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นเทคโนโลยีกนั มากขึน้ จนกระทงั้ เม่ือไม่ก่ีปที ่ผี า่ นมา บริษัทขนาด
ใหญ่มีข้อได้เปรียบด้านไอทีมากกว่าคู่แข่งขนาดเล็ก หลายๆ คนยังให้ความเชื่อถือบริษัทขนาดใหญ่
มากกว่าในเรอ่ื งของขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big Data) อย่างไรกต็ ามเม่ือฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวรแ์ ละเทคโนโลยีไร้
สายมีราคาที่ถูกลงและสามารถจัดหาได้ง่าย ธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลางสามารถเขา้ ถึงเทคโนโลยไี ด้
เช่นกันแม้ว่าอาจจะไม่มีประสิทธิภาพเทียบเท่าบริษัทใหญ่แต่ก็ยังถือว่าใช้ได้ ส่วนธุรกิจ startups น้ัน
มักจะนำเสนอหรอื ผลักดันเทคโนโลยีใหม่ๆ ออกมาตลอด เทคโนโลยีขับเคลื่อนให้เกิดนวัตกรรมและได้
กลายมาเปน็ วถิ ปี ฏบิ ตั ิในธุรกิจ

204

6.5. สถิติแรงงานที่มกี ารเปลี่ยนแปลง (Changing Workforce Demographics) สถิติแรงงานท่ี
มีการเปลี่ยนแปลงกเ็ กดิ ขน้ึ น้อยในบางครง้ั ความท้าทายจะมาพรอ้ มความเปลยี่ นแปลง การเปลย่ี นแปลงก็
นำมาซ่งึ โอกาสสำหรับองคก์ รตา่ งๆ ที่อยากจะลอง” คิดนอกกรอบ”เรามีแรงงานทห่ี ลากหลายขน้ึ มากข้ึน
ความหลายหลายทางด้านเช้ือชาติ เผา่ พนั ธ์ุ อายุ สญั ชาตแิ ละเพศนั้นมีมากในตะวันตกและจะเป็นแบบนี้
ตอ่ ไปเร่ือยๆ ความท้าทายของการรบั คนเขา้ ทำงานและการได้คลกุ คลกี บั ผคู้ นหลากหลายอาจจะเปน็ เรอ่ื ง
ใหญ่ แต่ผลทีไ่ ดร้ ับน้ันช่วยให้นายจา้ งรู้วา่ ตอ้ งจดั การอย่างไร บริษทั ใดกต็ ามท่สี ามารถดงึ ดูด วา่ จ้าง และ
รักษาพนกั งานท่มี ีความหลากหลายไว้ได้จะทำใหเ้ กิดการพัฒนาแลกเปล่ียนความรู้และแนวคิดแก่องค์กร
สันนิษฐานได้ว่าองค์กรที่มีบุคลากรเหล่านี้จะสามารถเข้าถึงนวัตกรรมใหม่ๆ ได้โดยการจัดการของฝ่าย
ทรพั ยากรบุคคล สถานทท่ี ำงาน และการออกแบบการทำงาน

6.6. การเปลีย่ นแปลงวิธีการทำงาน (Changing How We Work) พนกั งานปัจจบุ ันน้ีเป็นบุคคล
ที่มีสังคมและอสิ ระ มีปัจจัยหลายอย่างบ่งชี้ว่าแนวโน้มนี้จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง การใช้ประโยชน์จาก
โซเชียลมีเดยี กลายเป็นสว่ นหนง่ึ ของวัฒนธรรมทางธุรกิจไปแลว้ ในปัจจบุ ัน มตี ัวช่วยมากมายท่ีช่วยให้การ
เรยี นรู้ การสอ่ื สาร และการรว่ มมอื กนั เกิดข้ึนไดง้ า่ ยๆ แรงงานและผบู้ ริโภคทอี่ ายนุ ้อยไม่ใชเ่ ป็นเพียงบุคคล
ที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเหล่านี้เท่านั้น แต่พวกเขาต้องพึ่งพาเทคโนโลยีเหล่านี้ด้วย สิ่งที่
เกดิ ขน้ึ น้ีช่วยขยายการปฏสิ ัมพนั ธท์ างสงั คมให้เปน็ วงกว้างมากยิง่ ข้นึ และมูลคา่ ความสัมพันธ์เร่ิมท่ีจะมา
แทนที่มูลค่าของการทำธุรกรรม ก่อให้เกิดการนำไปสู่ธุรกิจและการมสี ่วนร่วมของพนักงานรูปแบบใหม่
หากอยากทจี่ ะประสบความสำเร็จในสง่ิ แวดล้อมทางธรุ กจิ ทม่ี ีการแขง่ ขันสงู และเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็
นี้ บริษัททั้งขนาดเล็กและขนาดกลางจำเป็นต้องพัฒนาตนเองให้มีประสิทธิภาพสูงกวา่ บริษัทอื่นในเร่ือง
ของกลยุทธ์ทางเศรษฐกิจ การพฒั นาสินคา้ และบริการ การดึงดดู และรกั ษาพนักงานทีม่ ีความสามารถไว้
การจัดการการทำงานที่ยืดหยุ่นไดแ้ ละมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการรู้จักใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์
สงู สดุ อกี ดว้ ย แตล่ ะองคก์ รมกี ารลำดบั ความสำคญั มเี ปา้ หมาย และประเดน็ ท่ีตอ้ งจดั การตามแนวทางของ
ตัวเอง การมีแนวทางใหมๆ่ เพอ่ื ความทา้ ทายในอนาคตจะเปน็ ตัวช้ีความแตกต่างระหว่างบริษัทผู้นำและ
บริษัทผู้ตาม นวัตกรรมจะกลายเป็นทักษะในการเอาตัวรอดในเรว็ วัน การทำงานท่ีต้องคิดถึงอนาคตไป
ดว้ ยเปน็ สงิ่ ที่หลีกเลย่ี งไมไ่ ด้ ผู้ที่ไม่ยอมพัฒนาตวั เองก็จะพลาดโอกาสในการประสบผลสำเรจ็

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจความสำคญั ของทกั ษะเชิง
นวัตกรรม ตามทศั นะ ของ Nolan วา่ อย่างไร ?

…………………………………………………………………………………………………….................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................ ....................................................

205

แบบประเมนิ ตนเอง

โปรดทบทวนความรู้ความเขา้ ใจของทา่ นอีกครัง้ จากแบบประเมนิ ผลตนเองนี้
1) ทา่ นเข้าใจความสำคัญทกั ษะเชงิ นวตั กรรมตามทัศนะของ Henderson ชัดเจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดพี อ โปรดกลับไปศกึ ษาใหม่อกี ครง้ั แล้วตอบคำถามในใจว่า Henderson
กลา่ วถงึ ความสำคัญของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมว่าอยา่ งไร ?
2) ท่านเขา้ ใจนิยามทักษะเชิงนวตั กรรมตามทศั นะของ Myllyya ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยงั ไม่ชดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อกี คร้งั แลว้ ตอบคำถามในใจวา่ Myllyya กลา่ วถึง
ความสำคัญของทกั ษะเชิงนวตั กรรมว่าอยา่ งไร ?
3) ทา่ นเข้าใจความสำคญั ทักษะเชงิ นวตั กรรมตามทัศนะในเวบ็ ไซต์ของ Cleverism ชัดเจนดแี ลว้
หรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อกี ครงั้ แลว้ ตอบคำถามในใจวา่ ในเวบ็ ไซตข์ อง
Cleverism กล่าวถงึ ความสำคัญของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมวา่ อยา่ งไร ?
4) ท่านเข้าใจความสำคัญทกั ษะเชงิ นวตั กรรมตามทัศนะของ Sokova ชดั เจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศึกษาใหมอ่ กี ครัง้ แล้วตอบคำถามในใจวา่ Sokova กลา่ วถงึ
ความสำคัญของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมวา่ อยา่ งไร ?
5) ท่านเขา้ ใจความสำคญั ทักษะเชงิ นวัตกรรมตามทัศนะของ Kappe ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไม่ชัดเจนดพี อ
หากยงั ไม่ชัดเจนดพี อ โปรดกลับไปศึกษาใหมอ่ กี ครั้ง แลว้ ตอบคำถามในใจวา่ Kappe กลา่ วถึง
ความสำคญั ของทกั ษะเชิงนวัตกรรมว่าอย่างไร ?
6) ทา่ นเขา้ ใจความสำคัญทกั ษะเชงิ นวตั กรรมตามทัศนะของ Nolan ชดั เจนดีแลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยงั ไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อกี ครง้ั แล้วตอบคำถามในใจว่า Nolan กล่าวถึง
ความสำคัญของทกั ษะเชงิ นวตั กรรมว่าอย่างไร ?

206

หมายเหตุ

หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับที่เป็นภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เวบ็ ไซตข์ องแต่ละแหล่งได้ ดงั นี้
Cleverism : https://bit.ly/2XrQah3
Henderson : https://bit.ly/2StxrvB
Kappe : https://bit.ly/2mV34BM
Myllyla : https://bit.ly/2Gl7zNE
Nolan : https://bit.ly/30O281F
Sokolova : https://bit.ly/1OxfAgU

เอกสารอ้างองิ
Cleverism (n.d.). Why are innovation skills important. Retrieved June 19, 2019 from

https://bit.ly/2XrQah3
Henderson, T. (2018). Why innovation is crucial to your organization's long-term success.

Retrieved June 22, 2019 from https://bit.ly/2StxrvB
Kappe, M. (2018). 4 Benefits of innovation in business. Retrieved June 19, 2019 from

https://bit.ly/2mV34BM
Myllyla, J. (2019). The importance of innovation. Retrieved June 19, 2019 from

https://bit.ly/2Gl7zNE
Nolan, D. (2017). 6 Reasons why innovation is a survival skill. Retrieved June 19, 2019

from https://bit.ly/30O281F
Sokolova, S. (2018). The importance of creativity and innovation in business. Retrieved

June 22, 2019 from https://bit.ly/1OxfAgU

207

คู่มือชดุ ท่ี 3
ทัศนะเกี่ยวกบั ลักษณะท่ีแสดงถึงทักษะเชิงนวัตกรรม

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้

หลงั จากการศึกษาคมู่ อื ชดุ นแี้ ล้ว ทา่ นมพี ฒั นาการด้านพทุ ธิพิสยั (Cognitive Domain) ซึ่งเป็น
จดุ มงุ่ หมายทางการศึกษาท่เี ก่ียวข้องกบั สมรรถภาพทางสมองหรือสตปิ ญั ญาตามแนวคิดของ Benjamin
S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6 ระดบั เรียงจากพฤตกิ รรมทส่ี ลบั ซับซ้อนนอ้ ยไป
หามาก หรอื จากทกั ษะการคดิ ข้นั ตำ่ กว่าไปหาทกั ษะการคดิ ขัน้ สูงกวา่ ดงั นี้ คอื ความจำ (Remembering)
ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน
(Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดังนี้

1) บอกคุณสมบตั ิ จบั คู่ เขยี นลำดับ อธิบาย บรรยาย ขดี เสน้ ใต้ จำแนก หรือระบคุ ุณลกั ษณะของ
ทักษะเชิงนวตั กรรมได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตวั อยา่ ง บอกความแตกตา่ ง หรอื เรียบเรียง
คุณลกั ษณะของทกั ษะเชิงนวตั กรรมได้

3) แกป้ ญั หา สาธิต ทำนาย เชื่อมโยง ความสมั พนั ธ์ เปล่ียนแปลง คำนวณ หรอื ปรบั ปรงุ
คณุ ลกั ษณะของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จำแนกใหเ้ ห็นความแตกต่าง หรอื บอกเหตผุ ลคณุ ลกั ษณะของทกั ษะเชงิ
นวตั กรรมได้

5) วัดผล เปรยี บเทยี บ ตคี า่ ลงความเห็น วิจารณค์ ุณลกั ษณะของทักษะเชิงนวัตกรรมได้
6) รวบรวม ออกแบบ จัดระเบยี บ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลกั การคุณลกั ษณะของทกั ษะเชิง
นวัตกรรมไดโ้ ดยมที ศั นะเกี่ยวกับนิยามของทกั ษะเชิงนวตั กรรม ของแหลง่ อา้ งอิงทางวชิ าการตา่ งๆ ดังน้ี
1) ลกั ษณะของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ตามทศั นะของ Zenger
2) ลักษณะของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ตามทศั นะของ Rosales
3) ลกั ษณะของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ตามทัศนะของ Premuzic

คำชแี้ จง

1) โปรดศึกษาเนื้อหาเกยี่ วกบั ลกั ษณะหรือคุณลกั ษณะของคนทมี่ ีทกั ษะเชงิ นวตั กรรม จากทัศนะที่นำมา
กล่าวถงึ แตล่ ะทศั นะ โดยแตล่ ะทัศนะท่านจะต้องทำความเข้าใจทสี่ ามารถอธบิ ายกบั ตัวเองได้ว่า เขา
ใหน้ ยิ ามว่าอย่างไร

2) หลังจากการศึกษาเนื้อหาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีกครั้งจากแบบ
ประเมินผลตนเองในตอนท้ายของคมู่ อื

208

3) เน้อื หาเก่ยี วกับลักษณะหรือคุณลกั ษณะของคนท่มี ที ักษะเชิงนวัตกรรม จากทัศนะท่ีนำมากล่าวถึงแต่
ละทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังของแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการ
ศกึ ษารายละเอยี ดของทัศนะเหล่านัน้ ซง่ึ ตน้ ฉบบั เป็นบทความภาษาองั กฤษ ทา่ นสามารถจะสืบค้นต่อ
ได้จากเวบ็ ไซตท์ รี่ ะบุไวใ้ นแหล่งอา้ งองิ นั้น ๆ

ทัศนะเกยี่ วกบั ลักษณะท่ีแสดงถึงคนที่มีทกั ษะเชิงนวัตกรรม

1. Zenger เป็นซีอีโอของ Zenger / Folkman ซึ่งเป็น บริษัท พัฒนาความเป็นผูน้ ำตามจดุ แข็ง
ไดก้ ล่าวว่า พฤตกิ รรมเชงิ นวัตกรรมเปน็ ประเดน็ ที่กลา่ วถงึ กนั มากข้นึ จากท่วั โลก ในการดำเนินงานของเรา
เอง เราก็เชือ่ ว่าความท้าทายทั้งสองนี้เกี่ยวข้องกัน โดยระดับสูงสุดของนวัตกรรมข้ึนอยู่กับคุณภาพของ
ความเป็นผู้นำในองค์กรเป็นอย่างมาก เม่อื ความเป็นผู้นำมคี วามแขง็ แกรง่ องค์กรกด็ เู หมอื นจะกลายเป็น
ผู้นำในมิตขิ องนวัตกรรมเช่นกนั นวัตกรรมมกั จะจดั อยใู่ นลำดับกลางๆ

ผูน้ ำที่ประสบความสำเรจ็ ทำอยา่ งไรท่ีเป็นการยกระดบั นวตั กรรมใหส้ งู ข้ึน? การวเิ คราะห์แยกผทู้ ไ่ี ด้
คะแนนสูงสุดด้านนวัตกรรมออกมานั้น ทำให้เราสามารถเห็นพฤติกรรมอื่น ๆ ของเขาที่สอดคล้องกับ
นวตั กรรมระดบั สงู และเน่อื งจากเกอื บทกุ องคก์ รก็พยายามทีจ่ ะขยบั ขยายนวัตกรรม ความเข้าใจในด้านน้ี
จงึ เปน็ ขอ้ มูลเชิงลึกทม่ี ปี ระโยชน์มาก

เราพบพฤตกิ รรมหลายอย่างทสี่ ามารถใช้ขบั เคลอ่ื นนวัตกรรมได:้

1. ผู้นำกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกับเพื่อนร่วมงาน (Leaders Jointly Created a Vision with
their Colleagues) บางคนคิดว่าการเป็นผู้นำจะมาพรอ้ มกบั กลยุทธ์ทีย่ ิ่งใหญ่ จากนั้นกพ็ าทมี งานให้ทำ
ตามกนั ไป แตข่ อ้ มลู ของเราแสดงใหเ้ หน็ ว่าผนู้ ำจะกำหนดวสิ ยั ทศั น์ร่วมกัน ซึง่ ไม่ใชใ่ นลกั ษณะของการชีน้ ำ
สั่งการ

2.การสร้างความไว้วางใจ (They Build Trust) เราสัมภาษณ์ผู้นำระดับสูงสุดในกลุ่ม 1% ของ
องค์กรเกี่ยวกับความคิดสรา้ งสรรค์ พบคณุ ลกั ษณะหนงึ่ ที่โดดเด่น น่ันคอื ผู้นำเหลา่ นี้ไว้วางใจคนของพวก
เขาและในทางกลบั กนั เพอ่ื นร่วมงานของพวกเขาก็ไว้วางใจพวกเขาอยา่ งมาก หากคนหนึ่งกลา่ ววา่ “การ
เสยี่ งก็ย่อมตอ้ งใช้ความรูส้ กึ ทีว่ ่าปลอดภยั จรงิ ๆ” ซึง่ อีกคนก็จะกล่าวตอ่ ว่า “คณุ จะมีเราคอยสนับสนุน”

3.ลักษณะของผกู้ ำหนดทิศทางการดำเนนิ การด้านนวตั กรรม (Innovation Champions) จะดไู ด้
จากความตั้งใจอย่างต่อเนื่องที่จะท้าทายสถานะที่เป็นอยู่ มีผู้อธิบายว่าผู้นำที่มนี วัตกรรมเป็นผู้กล้าหาญ
และทำสิ่งทถี่ กู ต้องแม้จะขัดกับสงิ่ ทอี่ าจถูกต้องในทางการเมอื ง ผู้นำทางนวตั กรรมท่ีมีประสทิ ธิภาพสูงคอื ผู้
มีลกั ษณะท่ี "ตรงข้ามกับสง่ิ ทแ่ี วดลอ้ ม"

5 ผู้นำที่ส่งเสริมนวัตกรรมจะถูกกล่าวถึงในเรื่องความเชี่ยวชาญที่ลึกซึ้ง (Leaders who
Fostered Innovation were Noted for their Deep Expertise) เพื่อนร่วมงานตั้งข้อสังเกตว่าเป็น
คุณลักษณะ "T" นี้เองที่ให้คำจำกัดความผู้นำเหล่านี้ โดยผู้นำเหล่านี้มีความสงสัยใคร่รู้อันชาญฉลาดท่ี
หลากหลายเกี่ยวกบั เรอื่ งทว่ั ๆ ไป แต่ในขณะเดียวกันกม็ ีความรเู้ กยี่ วกบั เทคโนโลยีทีจ่ ำเป็นสำหรบั ส่งิ ทท่ี ำ

209

6 การตั้งเป้าหมายไว้สูง (They Set High Goals) ผู้นำที่สร้างทีมนวัตกรรมขึ้นมาจะถูกมองว่า
เป็นการตั้งเปา้ หมายทีส่ ูงมาก ซึ่งเป็นการมอบความท้าทายและโอกาสแกเ่ พ่ือนร่วมงานในการบรรลุส่ิงท่ี
พวกเขาเช่ือวา่ ไมส่ ามารถจะทำมนั ได้

7.ผู้นำเชิงนวัตกรรมจะมุ่งไปข้างหน้าโดยเร็ว (Innovation Leaders Gravitate Toward
Speed) ผ้นู ำเหลา่ น้ีจะขยับตัวอยา่ งรวดเร็ว พวกเขาเชอื่ วา่ สิ่งตา่ ง ๆ สามารถสำเรจ็ ได้ในไมช่ ้า พวกเขาจะ
มุ่งไปยงั ต้นแบบทส่ี ามารถประกอบข้นึ อยา่ งรวดเรว็

8.การกระหายข้อมูล (They Crave Information) ผู้นำเชิงนวัตกรรมจะพยายามทำให้ทีมรู้โดย
เท่ากัน โดยปอ้ นข้อเท็จจริงที่เก่ยี วขอ้ งใหเ้ ป็นจำนวนมาก พวกเขาเก่งในการตงั้ คำถามทดี่ แี ละเป็นผู้ฟังท่ีดี
มากๆ การรวมกันของ “รับและรุก” ช่วยใหท้ มี สร้างนวตั กรรมทยี่ อดเยี่ยม

9.การทำงานเป็นทีม (They Excel At Teamwork) คุณลักษณะลำดับถัดมาที่แสดงความเป็น
ผู้นำเชิงนวัตกรรมมากที่สุด คือความเป็นเลิศในการทำงานเป็นทีมและการทำงานร่วมกัน ซึ่งจะไม่ใชแ่ ค่
“ฉนั ” แตม่ กั จะเปน็ เร่ืองเกีย่ วกบั ทมี ท่สี ร้างสงิ่ ท่ีมคี ณุ ค่า

10. การให้คุณค่ากับความหลากหลายและการรวมกัน ( They Value Diversity And
Inclusion) ผ้ทู ่มี ีความเป็นผูน้ ำเชิงนวตั กรรมมากท่ีสุดจะยอมรบั วา่ กระบวนการสร้างสรรค์จะเกิดข้ึนจาก
การเอาคนซึ่งมีมุมมองและประสบการณ์ที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงมารวมกัน ซึ่งการผสมผสาน
องคป์ ระกอบเหลา่ นจ้ี ะสร้างผลงานเชิงนวตั กรรมขัน้ สูงได้

สิง่ ท่ีเราเข้าใจอย่างถอ่ งแทท้ ี่สดุ จากการวเิ คราะหน์ ค้ี อื นวตั กรรมแทบจะไมใ่ ช่การลงมือทำเพียงคน
เดยี ว แต่แทบทกุ ครัง้ จะเป็นความพยายามของทมี และวัฒนธรรมทเี่ กดิ ขึน้ จากความพยายามน้ันเปน็ ผลมา
จากผู้นำทีต่ ระหนักถึงความตอ้ งการขององคก์ รในการสรา้ งนวัตกรรมและตระหนักถึงการมีส่วนร่วมของ
ผนู้ ำในการสรา้ งวัฒนธรรมทนี่ วตั กรรมนน้ั เกดิ ข้นึ

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจลกั ษณะหรอื คณุ ลักษณะ
ของคนท่มี ที ักษะเชิงนวตั กรรม ตามทัศนะของ Zenger วา่ อย่างไร ?

……………………………………………………………………………………….....................................................................
.......................................................................................................................................... ............................
...................................................................................................................................................

2. Rosales ผกู้ อ่ ตง้ั และซอี โี อของ INUSUAL ไดก้ ล่าวถงึ ลกั ษณะท่สี ร้างนวตั กรรมไว้วา่ อะไรทำ

ใหผ้ ู้สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ๆ ประสบความสำเรจ็ ได้ ความคิดสรา้ งสรรค์ในระดับหน่ึงน้ันเป็นสิ่งท่ีตอ้ งมีแน่นอน
แต่นอกเหนือจากนั้นมีเพียงไม่กี่คนที่รู้สึกมั่นใจมากพอที่จะระบุลักษณะที่แน่นอนได้โดยไม่ต้องมีการ
ค้นคว้าวิจัยที่เหมาะสม มีผลการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่าคนบางคน โดยไม่คำนึงถึงกิจกรรมที่ทำ
ประสบการณ์ หน้าที่การงาน หรือพ้นื ฐานทางวชิ าชพี มแี นวโนม้ ท่จี ะแสดงออกในลักษณะเดิมๆ เชน่ ผทู้ ่ีมี

210

ความคดิ สร้างสรรค์ ซ่ึงรวมถึงนกั ประดษิ ฐ์คิดค้น มแี นวโน้มที่จะระบปุ ญั หาไดด้ ีกว่าการแก้ปัญหา พวกเขา
ยังหลงใหลและมองหาประสบการณใ์ หม่ ๆ อยู่เสมอ โดยธรรมชาติแล้วพวกเขาอยากร้อู ยากเห็น ออ่ นไหว
และไมท่ ำตามขนบประเพณี ทั้งน้ี ความคดิ สรา้ งสรรค์เพียงลำพังจะไมส่ ง่ ผลให้กลายเปน็ คนเกง่ นวัตกรรม
ได้ ดังน้นั แคต่ ัดคำว่าลำพงั ออกไป ก็จะประสบความสำเร็จได้ โดยความแตกต่างท่ีสำคญั ระหว่างความคิด
สร้างสรรค์และนวัตกรรมก็คือการดำเนินการ ซึ่งสามารถกล่าวได้อย่างแน่นอนว่า ความคิดสร้างสรรค์
หลายๆ อยา่ งเปน็ ส่ิงทีเ่ กย่ี วกับความเปน็ ไปของโลกในแต่ละวัน แตก่ ม็ เี พียงบางอยา่ งที่ถูกเลือกเทา่ นน้ั ทจ่ี ะ
ทำให้เกิดผลขึ้นมาได้ ถ้าเช่นนั้นคุณลักษณะใดที่จะนิยามได้ตรงที่สุดว่าเป็นนักนวัตกรรมที่ประสบ
ความสำเรจ็ คอื

1. การรู้สกึ ถงึ โอกาส (Sensing Opportunity) ในขณะท่เี กิดโอกาสนน้ั ขึ้น นักนวัตกรรมที่ประสบ
ความสำเร็จจะมีความสามารถพิเศษในการค้นพบช่องว่างในวงการที่พวกเขากำลังทำงานอยู่ การมี
ความคิดฉกฉวยโอกาสทำให้คนเหล่านี้ตื่นตัวมากขึ้นและแสวงหาความแปลกใหม่ที่ใดก็ตามที่พวกเขา
สามารถหาได้ พวกเขาเป็นคนประเภทที่กระหายประสบการณ์ใหม่ๆ และซับซ้อน มักจะพยายามที่หา
ความหลากหลายในชวี ิตของพวกเขาให้ไดม้ ากทส่ี ุด

2. การฝึกอบรมและการศกึ ษาที่เหมาะสม (Proper Training & Education) ผู้เชี่ยวชาญที่ผ่าน
การฝึกอบรมมาอย่างดีพร้อมการศึกษาในระบบ การฝึกอบรม และประสบการณ์หลายปีต่างหากที่
สามารถทำได้ การวจิ ยั แสดงให้เหน็ วา่ การศกึ ษาทเ่ี หมาะสมและการฝกึ อบรมเป็นผปู้ ระกอบการจะทำให้
ประสบความสำเรจ็ ได้ หากเพียงแค่ผ่านประสบการณ์มาหลายปีในสาขาที่สามารถสร้างความแตกต่างที่
เพียงพอระหวา่ งขอ้ มูลที่เกีย่ วขอ้ งกับสง่ิ ทีไ่ ม่เก่ยี วขอ้ ง

3. การดำเนนิ การเชิงรกุ และความต่อเนื่อง (Proactivity & Persistence) สองคุณลักษณะน้ีต้อง
นำรวมกันเท่านั้นจึงจะนบั รวมใหอ้ ยู่ในรายการนี้ได้ ดงั ทเ่ี ราไดก้ ล่าวไว้กอ่ นหนา้ น้ีว่า ความคิดสรา้ งสรรคจ์ ะ
เปล่ยี นเปน็ นวัตกรรมผา่ นการดำเนินการเท่านนั้ ซ่ึงความคดิ ใดๆ กไ็ ม่สามารถดำเนนิ การได้ หากเจ้าของ
ความคิดไม่ดำเนนิ การเชิงรกุ และไม่ทำอย่างตอ่ เนอ่ื ง การมคี วามยืดหยนุ่ ในการเผชญิ กับอุปสรรค ความท้า
ทาย และโชคร้าย เปน็ ปจั จัยท่กี ำหนดความแตกต่างระหว่างนักนวัตกรรมทยี่ ิง่ ใหญ่กับคนทีไ่ มใ่ ช่

4. ความรอบคอบ (Prudence) ลักษณะหนึ่งที่เชื่อมโยงอย่างมากกับประสบการณ์คือความ
รอบคอบ แม้ว่าเราชอบที่จะคิดว่านักนวัตกรรมเป็นผู้รับความเสี่ยง แต่ในความเป็นจริงพวกเขากลับ
ตรงกันข้ามอย่างสิน้ เชิง ความเข้าใจผิดอาจเกดิ ขึ้นเพราะเราในฐานะคนทั่วไปไม่เข้าใจโดยถ่องแท้ว่า ต้อง
ใช้ความคิดและการวเิ คราะหม์ ากเพยี งใดก่อนท่ีจะทำการตดั สินใจ ซึ่งเราสรปุ เอาวา่ นั่นเปน็ การเดมิ พันของ
พวกเขา อย่างไรกต็ ามนกั นวตั กรรมท่ปี ระสบความสำเร็จจะแสดงให้เห็นถงึ ความระมดั ระวงั การจัดการที่
เปน็ ระบบ และความเสี่ยงในระดบั สูงเมอ่ื เทยี บกับคนทั่วไป

5. ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) ในบางครั้งนักนวัตกรรมจะรับบทเป็น
อัจฉริยบุคคลและอิสรชนที่มีแนวคิดของตนเองที่จะปฏวิ ัติในทุกเร่ือง ซึ่งแม้จะฟงั ดนู า่ ดึงดดู ใจเพียงใด ท่ี
ความจริงก็คือนวัตกรรมน้ันมักจะเป็นผลงานของการทำงานเป็นทีม เรามักจะพบว่านักนวัตกรรมท่ยี อด
เยย่ี มจะเชอื่ มโยงกบั ผ้คู นทีม่ ีภูมิหลงั และความเช่ียวชาญแตกตา่ งกัน พวกเขาสะท้อนความคิดออกไปและ

211

สร้างพันธมิตรทั้งภายในและภายนอกองค์กร ซึ่งความฉลาดทางอารมณ์ที่พัฒนามาอย่างดีจะมีบทบาท
สำคัญตอ่ การดำเนนิ การเชน่ นี้ รวมถึงสำคัญตอ่ การขายแนวคดิ ของพวกเขาให้ผูอ้ ื่น และยังใช้ประสานงาน
ภายในทมี ของพวกเขาเอง

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเข้าใจลกั ษณะหรอื คุณลักษณะของคนท่ี

มที กั ษะเชงิ นวตั กรรมตามทัศนะของ Rosales วา่ อยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………………................................
............................................................................................................................. ...........................
......................................................................................................................................

3. Premuzic เป็นหัวหน้านักวิทยาศาสตร์ที่มีความสามารถพิเศษของ ManpowerGroup
ศาสตราจารย์ดา้ นจติ วิทยาธรุ กิจที่ University College London ได้กล่าวถงึ ลกั ษณะทสี่ รา้ งนวตั กรรมไว้
ว่า เป็นความสามารถในการเปลี่ยนความคิดให้กลายเป็นบริการ ผลิตภัณฑ์ หรือการลงทุนที่ประสบ
ความสำเร็จ ความจริงคือสิ่งที่เกิดขึน้ กบั ความคิด การเป็นผูป้ ระกอบการก็เป็นกระบวนการที่ความคิด
สร้างสรรค์กลายเปน็ นวตั กรรมทม่ี ปี ระโยชน์ เน่อื งจากความเป็นผปู้ ระกอบการเกย่ี วขอ้ งกบั มนุษย์ในฐานะ
ผกู้ ระทำการ (human agency) ซึ่งขึ้นอยกู่ ับการตดั สนิ ใจและพฤตกิ รรมของแต่ละคน ดังน้ัน วธิ ีการเชิง
ตรรกะในการทำความเข้าใจสาระสำคัญของนวตั กรรมคอื การศึกษาลักษณะสำคญั ของผ้ปู ระกอบการ น่ัน
ก็คือบุคคลที่เปน็ แรงผลักดันของนวัตกรรม โดยไม่คำนงึ ถึงว่าจะเปน็ ผปู้ ระกอบอาชีพอสิ ระ ผู้ก่อตั้งธุรกิจ
หรือพนกั งาน การวิจัยเนน้ ลักษณะสำคญั หลายประการ (นอกเหนอื จากความคดิ สร้างสรรค)์ ได้แก่:

1. ความคิดแบบฉกฉวยโอกาส (An Opportunistic Mindset ) ที่ช่วยใหพ้ วกเขาค้นพบช่องว่าง
ในตลาด โอกาสเป็นหัวใจของการประกอบการและนวัตกรรม และบางคนก็ตื่นตัวมากกว่าคนอื่น
ๆ นอกจากนีโ้ ดยพันธุกรรมแล้วนักฉวยโอกาสมักจะจับความแปลกใหม่ได้ก่อนที่ส่ิงนั้นจะเกิดขึ้น นั่นคอื
พวกเขากระหายประสบการณใ์ หมๆ่ และซับซอ้ น และแสวงหาความหลากหลายในทุกด้านของชีวิต ส่ิงน้ี
สอดคลอ้ งกับการเปน็ โรคสมาธิส้นั กนั มากขน้ึ ในกลมุ่ ผู้กอ่ ต้งั ธรุ กิจ

2. การศึกษาหรอื การฝึกอบรม (Formal Education or Training) ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการ
มองเหน็ โอกาสใหม่ ๆ หรือการตคี วามเหตกุ ารณ์ต่างๆ เป็นโอกาสที่เปน็ ไปได้ ตรงกันขา้ มกบั สิ่งที่เช่ือกัน
โดยท่วั ไป นักนวตั กรรมทีป่ ระสบความสำเรจ็ สว่ นใหญ่ไมไ่ ด้เปน็ อจั ฉรยิ ะทเี่ รียนไม่จบ แต่เปน็ ผเู้ ชี่ยวชาญที่
ไดร้ ับการฝกึ ฝนมาอยา่ งดีในสาขาวิชานั้นๆ หากไมม่ คี วามเชยี่ วชาญมันเปน็ การยากทจี่ ะแยกแยะระหว่าง
ข้อมูลทเ่ี กี่ยวขอ้ งและไมเ่ กีย่ วขอ้ ง หรือระหวา่ งเสยี งและสญั ญาณ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั การวจิ ยั ท่ีแสดงให้เห็น
ว่าการฝกึ อบรมผูป้ ระกอบการจะทำให้ประสบความสำเร็จได้จริง

3. การดำเนินการเชิงรุกและความต่อเนื่องที่เข้มข้น (Proactive Action and Intensive
Continuity) ท่ีชว่ ยใหพ้ วกเขาใช้ประโยชนจ์ ากโอกาสทพ่ี วกเขาค้นพบ เหนือสง่ิ อื่นใดพวกเขาในฐานะนัก
นวตั กรรมท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพจะมีแรงขับขบั ความยดื หยุ่น และมีพลงั มากกว่าผู้อ่นื ที่อยู่ในแวดวงเดียวกัน

212

4. ความรอบคอบที่พอดี (A Healthy Dose Of Prudence) ตรงกันขา้ มกบั สิ่งท่ีหลายคนคิด นัก
นวัตกรรมที่ประสบความสำเร็จจะมีการดำเนินการทีเ่ ป็นระเบียบ ระมัดระวัง และหลีกเลี่ยงความเสี่ยง
มากกวา่ คนทั่วไป (แมว้ า่ ความเสี่ยงท่สี ูงขน้ึ จะเชือ่ มโยงกบั การจดั ต้งั ธุรกจิ แตไ่ มไ่ ดเ้ ชื่อมโยงกบั ความสำเรจ็
ของธุรกิจจรงิ ๆ)

5. ทุนทางสังคมที่พวกเขาพึ่งพา (Social Capital) ตลอดกระบวนการของผู้ประกอบการ นัก
นวัตกรรมทีม่ ผี ลงานต่อเนื่องมักจะใช้สายสมั พันธ์และเครือข่ายเพือ่ ระดมทรัพยากรและสร้างพันธมติ รที่
แข็งแกร่งทั้งภายในและภายนอก โดยทั่วไปแล้วคำอธิบายถึงผู้ประกอบมีแนวโน้มที่เชิดชูกันในฐานะนัก
นวตั กรรมที่เปน็ อิสรชนและอจั ฉรยิ บคุ คล แตน่ วตั กรรมน้ันเปน็ ผลงานของทีมเสมอ กลา่ วอีกนัยหน่ึงก็คือ
คนทเ่ี ปน็ ผ้ปู ระกอบการมีแนวโน้มทจี่ ะมี EQ สงู กวา่ ซึ่งจะชว่ ยใหพ้ วกเขาขายความคิดและกลยุทธ์ให้กับ
คนอนื่ ๆ และสอ่ื สารภารกจิ หลกั กนั ภายในทีม

ไม่มีประโยชน์ที่จะหวังเพียงแคก่ ารมีความคิดที่กา้ วหน้า สิ่งที่สำคัญคอื ความสามารถในการทำให้
เกดิ ความคิดใหไ้ ดม้ ากๆ ค้นหาโอกาสทเี่ หมาะสมในการพัฒนาความคดิ เหลา่ นัน้ และดำเนนิ การด้วยความ
มุ่งมนั่ และท่มุ เทเพอ่ื บรรลเุ ป้าหมายท่มี คี วามหมาย

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจลกั ษณะหรอื คุณลกั ษณะของคนท่ีมี
ทักษะเชิงนวตั กรรม ตามทัศนะของ Premuzic ว่าอยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………...............................................................
......................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

แบบประเมนิ ตนเอง

โปรดทบทวนความรูค้ วามเขา้ ใจของท่านอีกครงั้ จากแบบประเมนิ ผลตนเองน้ี
1) ทา่ นเข้าใจลกั ษณะหรือคุณลกั ษณะของคนท่มี ีทกั ษะเชิงนวัตกรรมตามทศั นะของ Zenger
ชดั เจนดแี ล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อกี คร้งั แลว้ ตอบคำถามในใจวา่ Zenger กลา่ วถึง
ลกั ษณะหรอื คณุ ลกั ษณะของคนทีม่ ที กั ษะเชงิ นวัตกรรมวา่ อย่างไร ?
2) ท่านเขา้ ใจลักษณะหรือคุณลักษณะของคนท่ีมที กั ษะเชงิ นวตั กรรมตามทศั นะของ Rosales
ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดพี อ
หากยงั ไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหมอ่ กี ครัง้ แล้วตอบคำถามในใจว่า Rosales กล่าวถึง
ลักษณะหรือคณุ ลกั ษณะของคนทมี่ ที ักษะเชิงนวตั กรรมวา่ อยา่ งไร ?

213

3) ท่านเขา้ ใจลักษณะหรือคณุ ลักษณะของคนทม่ี ที กั ษะเชิงนวัตกรรมตามทศั นะของ Premuzic
ชดั เจนดีแลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดพี อ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหมอ่ กี ครงั้ แลว้ ตอบคำถามในใจว่าของ Premuzic
กล่าวถงึ ลกั ษณะหรอื คณุ ลกั ษณะของคนทม่ี ีทักษะเชิงนวัตกรรมวา่ อยา่ งไร ?

หมายเหตุ

หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับที่เป็นภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เวบ็ ไซตข์ องแตล่ ะแหลง่ ได้ ดังน้ี
Premuzic : https://bit.ly/2g33tPi
Rosales : https://bit.ly/2JSGPpU
Zenger : https://bit.ly/2LHZ3MZ

เอกสารอ้างองิ

Premuzic, T.C. (2013). The five characteristics of successful innovators. Retrieved June 26,
2019, from https://bit.ly/2g33tPi

Rosales, P. ( 2018) . Five characteristics that define successful innovators. Retrieved June
26, 2019, from https://bit.ly/2JSGPpU

Zenger, J. ( 2015) . Nine behaviors that drive innovation. Retrieved June 26, 2019, from
https://bit.ly/2LHZ3MZ

214

คมู่ อื ชดุ ที่ 4

ทศั นะเกี่ยวกบั แนวทางการพัฒนาของทักษะเชงิ นวตั กรรม

วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้

หลงั จากการศึกษาคู่มอื ชดุ นแี้ ลว้ ทา่ นมีพฒั นาการด้านพุทธพิ ิสยั (Cognitive Domain) ซงึ่ เป็น
จดุ ม่งุ หมายทางการศกึ ษาทเี่ กย่ี วขอ้ งกับสมรรถภาพทางสมองหรอื สติปญั ญาตามแนวคิดของ Benjamin
S. Bloom โดยจาํ แนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรยี งจากพฤตกิ รรมทส่ี ลบั ซบั ซ้อนน้อยไป
หามาก หรอื จากทักษะการคิดขัน้ ต่ำกวา่ ไปหาทกั ษะการคิดข้นั สูงกวา่ ดังน้ี คือ ความจำ (Remembering)
ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน
(Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1) บอกคุณสมบัติ จบั คู่ เขยี นลำดับ อธบิ าย บรรยาย ขดี เสน้ ใต้ จำแนก หรือระบแุ นวทางการ
พฒั นาของทกั ษะเชิงนวัตกรรมได้

2) แปลความหมาย อธบิ าย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอยา่ ง บอกความแตกต่าง หรอื เรียบเรยี ง
แนวทางการพฒั นาของทกั ษะเชงิ นวตั กรรมได้

3) แก้ปญั หา สาธิต ทำนาย เชื่อมโยง ความสมั พนั ธ์ เปลี่ยนแปลง คำนวณ หรอื ปรับปรงุ แนว
ทางการพัฒนาของทักษะเชงิ นวัตกรรมได้

4) แยกแยะ จัดประเภท จำแนกใหเ้ ห็นความแตกตา่ ง หรอื บอกเหตผุ ลแนวทางการพฒั นาของ
ทกั ษะเชงิ นวตั กรรมได้

5) วดั ผล เปรยี บเทยี บ ตคี า่ ลงความเห็น วจิ ารณแ์ นวทางการพฒั นาของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมได้
6) รวบรวม ออกแบบ จดั ระเบยี บ สร้าง ประดษิ ฐ์ หรอื วางหลกั การแนวทางการพฒั นาของทักษะ
เชงิ นวัตกรรมไดโ้ ดยมที ศั นะเก่ยี วกบั นยิ ามของทกั ษะเชิงนวตั กรรม ของแหลง่ อ้างอิงทางวิชาการต่างๆ
ดงั น้ี
1) แนวทางการพฒั นาของทกั ษะเชิงนวตั กรรม ตามทศั นะของ Baiya
2) แนวทางการพฒั นาของทกั ษะเชิงนวัตกรรม ตามทัศนะของ Myllaya
3) แนวทางการพฒั นาของทกั ษะเชิงนวัตกรรม ตามทศั นะ ของ Francisco
4) แนวทางการพฒั นาของทกั ษะเชิงนวัตกรรม ตามทัศนะของ Hengsberger
5) แนวทางการพฒั นาของทกั ษะเชิงนวตั กรรม ตามทัศนะของ Jonathan
6) แนวทางการพฒั นาของทกั ษะเชิงนวัตกรรม ตามทัศนะของ Cherry
7) แนวทางการพฒั นาของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ตามทศั นะของ Stack
8) แนวทางการพฒั นาของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ตามทศั นะของ Kaye
9) แนวทางการพฒั นาของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ตามทัศนะของ Kim

215

คำชแ้ี จง

1) โปรดศกึ ษาเน้ือหาเกีย่ วกบั แนวทางการพัฒนาของทักษะเชงิ นวัตกรรม จากทศั นะทน่ี ำมากล่าวถึง
แต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทำความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับตัวเองได้ว่า เขาให้
นยิ ามวา่ อยา่ งไร

2) หลังจากการศึกษาเนื้อหาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเขา้ ใจของท่านอีกคร้ังจากแบบ
ประเมนิ ผลตนเองในตอนท้ายของคมู่ อื

3) เน้ือหาเกีย่ วกับแนวทางการพัฒนาของทักษะเชงิ นวัตกรรม จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแตล่ ะทศั นะ
มีแหล่งอา้ งองิ ตามทีแ่ สดงไว้ในตอนทา้ ยหลังของแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศกึ ษา
รายละเอยี ดของทัศนะเหล่าน้ัน ซ่งึ ตน้ ฉบับเป็นบทความภาษาองั กฤษ ทา่ นสามารถจะสบื ค้นตอ่ ได้
จากเวบ็ ไซต์ที่ระบไุ วใ้ นแหล่งอา้ งอิงนัน้ ๆ

ทัศนะเก่ียวกับแนวทางการพฒั นาของทักษะเชงิ นวัตกรรม

1. Baiya กล่าวว่า ในทุกวันนี้ต้องมกี ารสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ ด้านนวัตกรรม โดยเฉพาะอย่างยง่ิ
หากบริษัทอยากจะเปน็ ผนู้ ำด้านอุตสาหกรรม สง่ิ นเี้ กดิ จากการเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยีทร่ี วดเร็ว ทำให้
การตลาด แนวโน้มพฤติกรรมและความคาดหวังของผู้บริโภคเกิดการการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
เชน่ กนั

วิธีที่ดีที่สุดในการที่จะอยู่ในการแข่งขันก็คือการสร้างวินัยให้คนในองค์กรเป็นผู้มีความคิด
สร้างสรรค์ นวัตกรรมควรเป็นสิ่งเริ่มต้นที่พนักงานทุกแผนกพึงมีร่วมกัน และผู้นำองค์กรควรเป็นผู้ท่ี
ผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะมีความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรมไม่ใช่สิ่งที่แผนกการผลิตและแผนกครีเอทีฟ
เท่านนั้ ท่จี ะตอ้ งมี แตท่ ุกคนในองค์กรควรมีเชน่ กนั

การทีท่ ั่วทั้งองคก์ รหันไปให้ความสำคัญกบั การคดิ เชิงนวัตรรมทำใหเ้ กดิ การส่งต่อความคิด และ
พนักงานก็เริม่ จะเห็นความเป็นไปได้และโอกาสใหม่ๆ ในการปรับปรุงพัฒนาที่พวกเขาไม่เคยมองหามา
ก่อน นวัตกรรมเป็นแรงขับเคล่ือนให้เกดิ กการเปลีย่ นแปลงท่ีรอบคอบปละมปี ระสทิ ธิภาพและเป็นไปใน
ทศิ ทางท่ดี แี ก่ทกุ ระดบั ชนั้ ในองคก์ ร

ที่ต้องอาศัยสิ่งที่มากกว่าการอบรม นั่นก็คือการผสมผสานการให้คำแนะนำด้านทักษะอารมณ์
(soft skill) วฒั นธรรมการท่มุ เทตนเองในการฝกึ ฝน การมีความม่ันคง และการสนบั สนุน ต่อไปน้คี ือ 5 ขอ้
ทจี่ ะทำใหท้ มี ผนู้ ำของคณุ ประสบความสำเรจ็ ดา้ นการใชน้ วัตกรรม

1. ช่วยพวกเขาพัฒนาการตระหนักรู้ (Help them Develop Self-Awareness) เพราะว่า
ความการตระหนักรู้ทำให้คนเรารู้ว่าควรแสดงศักยภาพของตัวเองออกมาได้อย่างไรและที่ไหน เมื่อเปน็
เรื่องของนวัตกรรมแล้วนั้น มีขั้นตอนที่จำเป็นอยู่ 6 ขั้นนตอนได้แก่ การระบุความคิด การนิยาม การ
พัฒนา การตรวจสอบและการประเมินผลความคิดนั้น เมื่อไรก็ตามที่คนเราตร ะหนักถึงพรสวรรค์
ความสามารถ และความชอบที่ตนมีจะทำให้รู้ว่าพวกดเขาควรอยู่ตรงไหน เราได้ทำการพัฒนา

216

Innovation Fitness assessment™ (แบบประเมินความเหมาะสมของนวัตกรรม) ซึ่งช่วยชี้วัด
คุณลักษณะ 61 ประการและผลที่ได้จะช่วยบอกได้ว่าอะไรคือจุดที่พอดีของแต่ละบุคคล (และอุปสรรค
ของคุณอยตู่ รงไหน) ผนู้ ำของคุณจะเขา้ ใจเก่ียวกับนวัตกรรมไดม้ ากข้นึ ในเรอื่ งของความรว่ มมือทีท่ ำให้เกิด
นวัตกรรมทีไ่ ม่ซำ้ ใครเมอื่ เขาไดเ้ หน็ ผลจากหน้ากระดาษ

ให้พวกเขากล้าท่ีจะเสี่ยง ส่งเสริมให้ผู้นำในองค์กรมคี วามกล้าที่จะพยายามและคิดอะไรใหมๆ่
สรา้ งบรรยากาศให้พวกเขารู้สกึ ว่าการกลา้ ท่จี ะเสย่ี งและการเรียนรูจ้ ากความผิดพลาดเป็นเร่อื งปกติ ลอง
พจิ ารณาใหม้ กี ารมอบรางวลั สำหรบั ผู้ทไี่ ด้พยายามทำอะไรใหม่ๆ ผทู้ ่คี ิดไอเดียใหม่ๆ และผู้มีความคิดเชิง
นวตั กรรม ไมม่ ีใครอยากท่จี ะเสย่ี งกบั การรับความเส่ยี ง คนทีก่ ลา้ จะเสีย่ งโดยมากแล้วเป็นผู้ท่ีพยายามจะ
เรียนรู้ พยายามลงมอื ทำ หรือพยายามทีจ่ ะให้บางสิง่ เราควรสง่ เสริมให้พฤติกรรมเหลา่ น้ีเป็นพฤตกิ รรม
ตัวอยา่ งในองคก์ ร

2. สนับสนุนการเรียนรู้ที่เพิ่มมากขึ้น (Support their Intellectual Growth) กระตุ้นให้
ผ้นู ำในองค์กรของคุณศกึ ษาหาความรู้เพมิ่ ขนึ้ การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งช่วยในการเพม่ิ พนู ความรู้ สตปิ ญั ญา
และกระตุน้ ใหเ้ กิดทักษะการคดิ วเิ คราะห์ สง่ิ สำคัญทแี่ สดงให้เห็นถงึ การพฒั นาสติปัญญาคือลักษณะการ
ตง้ั คำถามและการนำความรู้ใหม่ท่ไี ด้ไปใช้ในหลายทาง การเรียนรู้ยงั ชว่ ยกระตนุ้ ให้เกิดความอยากรู้อยาก
เห็นและความเข้าใจอันลึกซ้ึง ควรมีการส่งเสริมให้ผนู้ ำอ่านหนงั สอื และบทความต่างๆ พรอ้ มท้ังชว่ ยเหลือ
ในการทำสรปุ ส่วนสำคัญของการอบรมหรอื ชดุ ความคิดสำหรบั ผนู้ ำเพอื่ นำไปปฏบิ ัติ ให้ผนู้ ำได้มีโอกาสใน
การทำกิจกรรมเสริมความสามารถเป็นทมี หรอื ใหห้ ัวเร่ืองสำหรบั สมาชกิ ในกลุ่มเพือ่ ไปทำการศึกษาและ
มานำเสนอให้คนในกลมุ่ ฟงั

3. สง่ เสรมิ ใหม้ ีความคดิ สร้างสรรค์ (Encourage them to Embrace Creativity) ความคิด
สร้างสรรค์มาได้หลายรูปแบบ ไม่ได้จำกัดเฉพาะด้านศิลปะเท่านัน้ แต่ความคิดสร้างสรรค์คือการสร้าง
จินตนาการใหเ้ กดิ ข้ึนไดจ้ ริง คอื การมองสงิ่ ต่างๆ ในตา่ งมมุ มองเป็นการหาจุดเช่ือมโยงระหว่างแนวคดิ และ
การหาทางแก้ปัญหาและการสร้างโอกาส เป็นเรื่องง่ายที่จะเห็นว่าความคิดสร้างสรรค์นั้นสำคัญกับ
นวัตกรรมมาก ความจรงิ แล้วทุกคนมีศกั ยภาพในด้านความคดิ สรา้ งสรรค์อยู่แล้ว แต่ความคดิ สร้างสรรค์
ของเราอาจจะถกู จำกดั เนื่องจากกลัวว่าผลทอ่ี อกมาจะดแู ยห่ รอื กลัวท่จี ะถกู วจิ ารณ์นั่นเอง

4. กระตนุ้ ให้ผูน้ ำพฒั นาระบบนวัตกรรม (Challenge them to Develop an Innovation
System) นวัตกรรมไม่สามารถเกิดขึ้นได้ด้วยตัวเอง แต่เกิดจากการมีโครงสร้าง ระบบนวัตกรรม
จำเป็นตอ้ งใชห้ ลักการในการช่วยมองปัญหาอยา่ งทะลุปุโปรง่ และต้ังคำถามที่สำคญั ไปด้วย ผู้นำแต่ละคน
มีวิธกี ารจัดการทีแ่ ตกต่างกนั เราทกุ คนคิดต่างกนั และมวี ธิ กี ารแก้ปัญหาจากจากมมุ มอง แต่ไม่ว่าคุณจะ
มองจากมุมใดก็ตามจำเป็นต้องมองอย่างมีระบบ ระบบนวัตกรรมที่มีคุณภาพจะช่วยให้คุณจัดการ
ความคดิ และวิธปี ฏิบัติ การนำคนเขา้ มาในระบบ และทา้ ยทส่ี ดุ กจ็ ะไดเ้ หน็ ผลลพั ธ์

การจะทำใหอ้ งคก์ รเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมได้นั้น สิ่งที่คุณตอ้ งลงทุนไม่ใช่เพียงด้านสินค้า วิธี
ปฏิบัติการและตำแหนง่ ทางการตลาดเทา่ น้ัน แตย่ ังรวมไปถงึ การลงทุนในดา้ นของการพฒั นาใหม้ ีผนู้ ำที่มี

217

ความคิดสร้างสรรค์และการสร้างวัฒนธรรมการพัฒนาองค์กรอยา่ งตอ่ เนื่องอีกด้วย การส่งเสริมในด้าน
ดงั กล่าวจะส่งผลให้พนักงานทกุ คนไดม้ ีส่วนรว่ มพาทมี และองค์กรไปสคู่ วามสำเรจ็ ได้เปน็ อยา่ งดี

นวัตกรรมเป็นสิ่งที่ผูน้ ำทุกคนในองค์กรมีความรับผิดชอบรว่ มกัน ไม่สำคัญว่าองค์กรของคุณมี
ฝ่ายนวตั กรรมอยแู่ ล้วหรือไม่ ทกุ คนทุกแผนกสามารถเป็นสว่ นหนงึ่ ในการช่วยกันพฒั นาอุตสาหกรรมได้
แม้ว่าคณุ ไมไ่ ดม้ หี น้าท่เี ป็นผู้คิดค้นผลติ ภัณฑ์และการบรกิ ารใหมๆ่ คุณกย็ ังสามารถใชค้ วามคิดสร้างสรรค์
เพื่อพฒั นาองคก์ รในดา้ นอื่นได้ ทุกคนควรมสี ว่ นร่วมในการเข้าประชุมดา้ นนวตั กรรมของทางองคก์ ร

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจแนวทางการพฒั นาของทกั ษะ
เชิง นวัตกรรม ตามทัศนะของ Baiya วา่ อยา่ งไร ?

……………………………………………………………………………………….....................................................................
......................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

2. Myllaya กล่าวถึง 5 ขั้นตอนในการพฒั นากลยทุ ธ์เชิงนวัตกรรมดงั นี้
2.1. การกำหนดเป้าหมายและกลยทุ ธ์ในการเขา้ ถงึ นวตั กรรม (Determine Objectives and

Strategic Approach to Innovation) ขั้นตอนแรกในกระบวนการถ่ายทอดทางเลือกกลยุทธ์คือการ
กำหนดเปา้ หมายทีแ่ สดงถงึ ชัยชนะ พดู อีกอยา่ งคือเป้าหมายดา้ นนวัตกรรมและเหตผุ ลว่าทำไมถึงถึงเลือก
ส่งิ น้ใี นกลยทุ ธ์เชิงนวตั กรรมของคณุ

อีกกลยุทธ์หนึ่งกล่าวว่ากระบวนการวางแผนกลยุทธ์เชิงนวัตกรรมของคุณนั้นเริ่มจากการ
ตั้งเป้าหมายก่อนนั่นก็คือ อะไรที่คุณอยากได้มาด้วยนวัตกรรม? ถ้าลองมองย้อนกลับไปเราจะคิดถึง
เปา้ หมายทางธุรกิจในระยะยาวและสง่ิ ทผี่ ลักดนั ใหเ้ ป้าหมายทางธุรกิจและดา้ นอื่นๆ ท่เี ก่ียวข้องหลังจาก
ผา่ นมาแล้ว อย่างท่ีได้กลา่ วไปแล้ววา่ กลยทุ ธ์เชงิ นวตั กรรมของคุณควรทจี่ ะช่วยส่งเสรมิ เปา้ หมายทางธรุ กจิ
และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ยกตัวอย่างกลยทุ ธว์ ิธีที่ดีของ Olay ซึ่งก็คือ Playing to Win ซึ่งเป้าหมายที่
แสดงถึงชัยชนะของ Olay ก็คือการเป็นแบรนด์ผู้นำดา้ นครีมบำรุงผิวท่ีประสบความสำเร็จอย่างมากใน
แวดวงและช่องทางนี้ นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์บำรุงผมซึ่งช่วยส่งเสริมธุรกิจหลักของธุรกิจความงาม
Procter & Gamble อกี ดว้ ย มนั มแี นวโน้มวา่ การที่คุณพยายามเข้าถงึ นวตั กรรมใหมๆ่ จะทำให้เกิดการ
สร้างสรรค์สิ่งที่แตกต่าง โดยทั่วไปแล้วมีการดำเนินกลยุทธ์ทางนวัตกรรมอยู่ 2 ประเภทคือนวัตกรรม
โมเดลธุรกิจและการเพมิ่ ประโยชนใ์ ห้กบั ธรุ กิจทีม่ ีอย่แู ลว้

นวัตกรรมโมเดลธรุ กจิ คอื การพัฒนาแนวคิดแปลกใหม่และมีเอกลักษณเ์ พ่ือสนบั สนุนการเติบโต
ทางการเงนิ ของบรษิ ัท รวมไปถงึ สนัยสนนุ ภารกิจและวิธกี ารดำเนินการในการนำแนวคดิ เหลา่ นน้ั มาทำให้
เกดิ ผล เปา้ หมายพ้นื ฐานของนวัตกรรมโมเดลธุรกิจคอื การสร้างรายไดจ้ ากทรพั ยากรใหมๆ่ โดยการเพ่ิม

218
มูลค่าสินค้าและวิธีการส่งต่อสินค้าไปยังผู้บริโภค จุดประสงค์ของนวัตกรรมโมเดลธุรกิจคือการเพิ่ม
ตวั เลอื กในด้านตลาดเปา้ หมาย ผลติ ภัณฑห์ รอื บริการและโมเดลใหมๆ่ ในระดบั ปฏิบัตกิ ารโมเดลนั้นจะเนน้
ไปทก่ี ารเพิ่มผลกำไร ความได้เปรยี บทางการแข่งขนั และการเพ่ิมมลู คา่ ผลงาน

นวตั กรรมโมเดลธรุ กจิ คือศลิ ปะการเพ่ิมข้อไดเ้ ปรยี บและเพม่ิ มลู ค่าสนิ ค้าโดยการกระตนุ้ -พรอ้ มทง้ั
สนับสนุน-ให้เกิดการเปล่ียนแปลงทัง้ ในด้านของคุณค่าที่บริษัทสง่ มอบให้ลูกค้า (Value Proposition)
และในโมเดลการผลิตที่สำคัญของบริษัท นวัตกรรมโมเดลธุรกิจแบบ BCG จะทำได้ต้องอาศัยการทำ
ความเขา้ ใจอยา่ งลกึ ซึ้งในเรอ่ื งของขอ้ ไดเ้ ปรียบทางการแขง่ ขันของบรษิ ทั คณุ และโมเดลนี้สามารถเข้าถึง
ได้ 4 ทางตามภาพ

(Focus = จดุ เนน้ , Impetus = แรงกระต้นุ , the Reinventors = การนำเสนอใหม่, the Marvericks = การทวน
กระแส,

the Adapters = ตวั ปรับ, the Adventures = การฉวยโอกาส, Transform to the Core = กลายมาเป็นแกนหลัก,
Expand into Noncore = ขยายไปสู่ Noncore, Defend

การเพิม่ ประโยชนใ์ ห้กบั ธรุ กจิ ท่มี ีอยแู่ ลว้
การเพ่ิมประโยชน์ใหก้ บั ธุรกจิ ทม่ี ีอยู่แล้วหมายถงึ การปรับปรุงพฒั นาและนวัตกรรมเพ่ิมเติม/ที่มี
อย่แู ลว้ ซ่ึงจะตรงขา้ มกบั นวัตกรรมโมเดลธรุ กจิ โดยกลยทุ ธ์ของการเพม่ิ ประโยชนโ์ มเดลท่ีมีอยู่แล้วก็คือ
การเนน้ การปรบั ปรุงพฒั นาแกนกลางธรุ กิจทีม่ อี ย่แู ลว้ มากกวา่ ทีจ่ ะสร้างโมเดลธุรกจิ ใหมใ่ นการเพ่ิมมูลค่า
สินค้า

219
จากการดำเนนิ กลยทุ ธ์ทางนวตั กรรมทั้ง 2 ประเภท เราสามารถสร้าง 3 ตน้ แบบผู้เปลย่ี นแปลง
ไดด้ งั น้ี

(Increasing Market Focus= การเพิ่มจุดเน้นทางการตลาด, Increasing Customer Focus=
การเพ่ิมจุดเนน้ ด้านลกู คา้ , Increasing Technology Focus=การเพ่มิ จุดเน้นทางด้านเทคโนโลยี)

2.2. รู้จักตลาด ซึ่งก็ คือผู้บริโภคและคู่แข่ง (Know your Market: Customers and
Competitors) ขั้นตอนที่สองในกระบวนการถ่ายทอดทางเลือกกลยุทธ์ก็คือการกำหนดสนามแข่งที่
เหมาะสม ซ่งึ ก็คอื ตลาดทคี่ ุณดำเนินธรุ กจิ และในส่วนของผู้บริโภคทีค่ ณุ กำลงั นำเสนอสนิ คา้ ให้ ในการทจ่ี ะ
สามารถประบปรงุ คณุ ภาพและตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคนั้น คณุ ควรมกี ารรับฟังและทำความ
เข้าใจว่าอะไรคอื สงิ่ ทผี่ ้บู รโิ ภคตอ้ งการอยา่ งแท้จริงและก็ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งสนใจอย่างอื่น ในการท่ีจะสามารถ
ทำแบบนัน้ ได้คณุ จำเปน็ ตอ้ งรูว้ ่าเกิดอะไรข้นึ ในตลาดบ้าง

อยา่ งไรก็ดี เนอ่ื งจากความตอ้ งการในการแขง่ ขันเปน็ เร่อื งส่วนบคุ คลและคอ่ นข้างเฉพาะตวั คณุ
ไม่ควรลอกเลียนแบบกลยุทธ์ของผู้อ่ืนที่ประสบความสำเร็จมาแล้ว แต่ควรที่จะเรียนรู้จากมันมากกว่า
แม้ว่าการเลือกสนามแข่งของคุณจะเป็นเรื่องที่สำคัญแต่คุณค่าอันเป็นเอกลักษณ์ที่คณุ ส่งมอบให้ลูกคา้
(value proposition) จะช่วยสรา้ งหรือทำให้คุณมีกลยทุ ธ์ของตัวเอง

2.3. กำหนดคณุ ค่าทค่ี ณุ ส่งมอบใหล้ กู ค้า (Value Proposition) ขั้นตอนตอ่ ไปหรือจะเรียกได้ว่า
เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดคือการกำหนดคุณค่าอันเป็นเอกลักษณ์ที่จะส่งมอบให้กับลูกค้า (value
proposition) คุณจะทำให้สำเร็จได้อย่างไร? นวัตกรรมแบบไหนจะช่วยให้บริษัทค้นพบคุณค่าและ
ได้เปรยี บทางการแขง่ ขัน

220

เนอ่ื งจากจดุ ประสงค์ของนวตั กรรมคอื การสรา้ งข้อได้เปรยี บทางการแข่งขัน คุณควรเนน้ เรอ่ื งการ
สรา้ งมลู คา่ ทท่ี ้ังช่วยใหผ้ ้บู ริโภคประหยดั คา่ ใช้จา่ ยและประหยัดเวลา หรอื ทำใหผ้ ู้บรโิ ภคมีความเตม็ ใจทจี่ ะ
จ่ายเงนิ เพิ่มให้กบั สินค้าของคุณ ใหก้ ำไรสงั คมในวงกว้าง และช่วยให้ผลติ ภัณฑ์ของคุณมีคุณภาพทด่ี ีขึ้น ใช้
งานง่าย หรือมีความทนทานและมีราคาท่ีเอ้ือมถึงได้เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ตัวก่อนหน้า และผลิตภัณฑ์
อ่นื ๆ ในท้องตลาด

ในการที่จะสามารถสร้างคุณคา่ ที่ส่งมอบใหล้ ูกค้า (value proposition) ควรมีการหาตลาดและ
กอบโกยผลประโยชนจ์ ากตลาดทีม่ ีการแข่งขนั นอ้ ย คณุ สามารถประสบความสำเรจ็ ไดโ้ ดยใชน้ วัตกรรมเชิง
คุณค่า

นวัตกรรมเชิงคณุ ค่า (Value Innovation) เป็นสิง่ แรกที่บทความของ HBR ได้นำเสนอ มีชื่อวา่
กลยุทธทะเลสคี ราม (Blue Ocean Strategy) ซ่ึงหลงั จากนัน้ ไดก้ ลายมาเป็นชือ่ ของหนงั สือคลาสสิคเล่ม
หน่ึง

จดุ ประสงคข์ องนวตั กรรมเชิงคณุ คา่ คอื การไดเ้ ปรยี บทางการแข่งขันที่มนั่ คง โดยการมองการไกล
ผ่านความเข้าใจในปัจจุบันเรื่องของอุตสาหกรรมและการปรับปรุงคุณค่าที่ส่งมอบให้ลูกค้า (value
proposition) ในการเพมิ่ ความโดดเดน่ กว่าคู่แขง่ อนื่ ๆ ให้กบั บรษิ ทั

การรักษาความได้เปรียบทางการแข่งขันใหม่นี้สามารถทำได้โดยการทำให้เกิดการแข่งขันท่ี
แตกต่าง ซึ่งก็ได้มีการพูดถงึ สิ่งนี้ในกลยุทธ์ Blue Ocean เช่นกัน ในการทำให้สำเร็จนั้นองค์กรจะต้อง
ปรับปรุงคุณภาพของสินค้าหรือบริการที่มีอยู่แล้วให้เกิดความแตกต่างและมีราคาที่ถูกกว่า บ่อยครั้งท่ี
หลายๆ บริษทั เลียนแบบคู่แขง่ โดยการนำเสนอผลติ ภัณฑ์และบริการทไ่ี ดน้ ำไปปรับปรงุ คุณภาพพร้อมท้ัง
ปรับลดราคาเพือ่ ใหส้ ูสีกับคูแ่ ข่ง เนื่องจากคู่แข่งและบรษิ ัทเลยี นแบบมักจะตีตลาดกนั อย่างรวดเร็ว จุด
ขายและกำไรที่มอบใหก้ บั ลูกคา้ จะต้องมคี วามโดดเด่นมาก

สิ่งนี้จะช่วยให้โมเดลธุรกิจของคุณถูกเลยี นแบบได้ยากและเป็นโอกาสท่ีดีที่สุดของคณุ ในการวา่
ยวนในทะเลสีคราม (Blue Ocean Strategy)

ในการเข้าถึงนวัตกรรมเชงิ คณุ ค่า คณุ ต้องพยายามระบุให้ไดว้ า่ ความคดิ จากฝง่ั ลกู ค้า (customer
segments) อะไรทคี่ ู่แข่งของคณุ กำลังมงุ่ เน้น และความคดิ จากฝ่ังลูกคา้ (customer segments) อันไหน
ท่มี สี ว่ นเกี่ยวข้องกับผลิตภณั ฑข์ องคณุ บ้าง เป็นไปได้หรือไม่ท่คี ณุ จะปรบั ปรงุ คุณภาพของผลติ ภณั ฑ์ทีค่ ุณมี
อย่แู ล้วให้แตกต่างจากของคู่แขง่ ในดา้ นตลาดหรอื ความต้องการของลูกค้าทีส่ ร้างความกดดนั อยา่ งสงู

2.4. เข้าถงึ และพฒั นาแกน่ ความสามารถหลกั (Assess and Develop your Core Capabilities)
หลักกระบวนการถ่ายทอดทางเลือกกลยุทธ์ทั้ง 3 ขั้นตอนแรกนั้นขึน้ อยู่กับสิ่งหนึ่ง นั่นคือความสามารถ
พนื้ ฐานที่คณุ จำเป็นตอ้ งมีเพอ่ื ไปสคู่ วามสำเร็จ

เมอ่ื ไดก้ ำหนดชดุ ความสามารถทตี่ ้องจดั ระเบยี บแล้วนั้น ใหพ้ จิ ารณาหัวข้อต่อไปน้ี
- วฒั นธรรม (Culture)
- การวิจยั และพัฒนา (R&D)
- พฤตกิ รรมตา่ งๆ (Behaviors)

221

- คุณคา่ ต่างๆ (Values)
- ความรู้ (Knowledge)
- ทักษะ (Skills)
2.5. จัดตั้งเทคนิคและระบบนวัตกรรม (Establish your Innovation Techniques and
Systems) เรื่องสุดท้ายแต่ไม่ท้ายสุด การที่จะสามารถดำเนินการด้านกลยุทธ์นวัตกรรมด้วยวิธีการท่ี
สามารถปรับและผสมผสานได้นั้น คุณควรหาให้เจอว่าระบบใดที่ควรนำมาจัดการให้เหมาะสมการให้
นิยาม: เทคนิคและระบบนวัตกรรมแบบไหนที่เราจำเป็นต้องนำมาใช้ในการเชือ่ มโยงโครงสร้างพืน้ ฐาน
องค์ประกอบนวัตกรรมเข้าด้วยกัน? อะไรคือระบบท่ีสำคัญที่สุดในการสนับสนุนและช่วยเหลอื ด้านการ
ประเมินผลของกลยุทธด์ ้านนวัตกรรมของเราไดบ้ า้ ง?จากงานวิจัยในปัจจบุ นั Christopher Freeman ได้
ให้นิยามระบบของนวัตกรรมว่า”เครือข่างขององค์กรภาครัฐและเอกชนผู้ซึ่งมีธุรกรรมและผู้ ริเริ่มการร
ปฏิสมั พนั ธ์ในการนำเขา้ ปรับเปลย่ี น ละการกระจายเทคโนโลยี”

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาของทกั ษะเชงิ
นวตั กรรม ตามทศั นะของ Myllaya วา่ อย่างไร ?
……………………………………………………………………………………………................................
............................................................................................................................. ...........................
......................................................................................................................................

3. Francisco ได้กล่าวถงึ วธิ ีการพฒั นาทกั ษะด้านนวัตกรรมการพฒั นาทกั ษะดา้ นนวัตกรรมเร่ิม
จากการเรียนรู้กระบวนการแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ (Creative Problem Solving: CPS) CPS เป็นวธิ ที ่ี
พิสูจน์แล้วเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือนำไปสู่การแข่งขันในด้านจินตนาการและด้านนวัตกรรม โดย
ธรรมชาติแล้วกระบวนการ CPS ชว่ ยสรา้ งไอเดยี และตวั เลือกท่ีสร้างสรรค์ หมายถงึ ทั้งสองอย่างเปน็ สง่ิ ท่ี
ใหม่และมีคุณคา่ ซ่ึงจะช่วยใหเ้ กดิ แนวคดิ ทีก่ ระจา่ งและการลงมอื ปฏบิ ัตเิ พ่ือการเผชิญความท้าทายที่คุณ
ต้องเจอ

กระบวนการ CPS ได้แรงบันดาลใจมาจากความต้องการทางธุรกิจในการช่วยให้ผู้คนคิดอย่าง
สรา้ งสรรค์และก่อให้เกิดผล และถูกพัฒนามาจากงานวิจยั ทางวชิ าการ การพัฒนาในคร้ังนี้ต้องยกความดี
ความชอบให้กับ Alex Osborn ในช่วงทศวรรษของปี 1940 และแก่ผู้วิจัยร่วมของเขาซึ่งก็คือ Dr.
Sydney Parnes ในช่วงทศวรรษของปี1950 จนบัดนกี้ วา่ 60 ปขี องงานวจิ ัย CPS ไดร้ ับการพสิ ูจน์แล้วว่า
ช่วยพฒั นายกระดบั การคิดเชงิ สรา้ งสรรค์และพฤติกรรมของผเู้ รยี นร้แู ต่ละคนในการนำกระบวนการนี้ไป
ประยุกต์ใชใ้ นสถานการณ์การทำงานจรงิ

สำหรบั ใจความสำคัญ CPS ให้ขอบข่ายงานซ่ึงจะทำใหเ้ ราสามารถเหน็ ภาพและเขา้ ใจความแปลก
ใหม่ ช่วยในการสร้างไอเดียในการแก้ปัญหาแล้วพัฒนาไอเดียนั้นไปสู่หนทางการแก้ปัญหาที่ใช้ได้จริง
เครอื่ งมือและเทคนิคในด้านการคดิ เชงิ วเิ คราะหแ์ ละสรา้ งสรรคเ์ ปน็ ส่วนหนึ่งของกระบวนการน้ใี นการช่วย
คุณจัดการความคิด แลกเปลี่ยนไอเดียกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิภาพและช่วยจัดการความยุ่งยากและ

222

ความเสย่ี งอกี ด้วย การนำกระบวนการ CPS มีใชน้ ้นั เปน็ การสรา้ งโอกาสที่ดีในการตดิ ตามพัฒนาการส่วน
บคุ คลและของทมี ในการกำหนดแนวคิดทตี่ อ้ งการ และในการตรวจสอบผลสมั ฤทธ์ิ

ในการส่งเสริมผลักดันความแปลกใหม่และประโยชน์ผ่านกระบวนการ CPS สมาชิกต้อง
ไตร่ตรองอย่างเข้าใจในการเลือกระหว่างการคิด 2 แบบได้แก่แนวคิดแบบ divergent และแนวคิดแบบ
convergent สำหรับแนวคิดแบบ divergent นั้นจะเกี่ยวกับการค้นหารายการตัวเลือกที่หลากหลาย
แตกต่างและแปลกใหม่ ส่วนแนวคิดแบบ convergent นั้นจะเกี่ยวข้องกับการตดั สินใจเลือก ซึ่งจะมาที
หลังแนวคิดแบบ divergent และจะมอบกลไกในการมองหา คัดกรอง เลือกสรร จัดลำดับและพัฒนา
ตวั เลือกต่างๆ ท่มี คี วามเปน็ ไปได้

กระบวนการ CPS ทำให้การคาดการณ์คร่าวๆ ไม่จำเป็นอีกต่อไปในการรับมือกบั ปัญหาเพรา
กระบวนการน้จี ะนำคุณไปสูแ่ นวคดิ ที่ตอ้ งการซ่งึ สนบั สนุนด้วยกตกิ า (ใช่ กติกา) และบทบาทหน้าที่ CPS
เป็นกระบวนการทม่ี คี วามยดื หย่นุ และชดั เจน ขณะเดยี วกันกส็ ามารถที่จะถูกนำไปใชใ้ นการจัดการปัญหา
และรบั มือกบั สถานการณ์ต่างๆ ในชวี ิตได้ เชน่ ท่บี า้ น ท่ีทำงาน หรอื ท่ีโรงเรยี นและสถานที่อืน่ ๆ แต่ละคน
และแต่ละองค์กรสามารถใช้กระบวนการนี้ในการช่วยส่งเสริมพฤติกรรมการมีความคิดสร้างสรรค์ ช่วย
พฒั นาเพม่ิ พนู ให้แตล่ ะคนมีความคิดสรา้ งสรรค์และสามารถชว่ ยให้การทำงานเปน็ ทีมง่ายข้ึนอีกด้วย และ
กระบวนการนี้ยังใช้ได้ดีกับสถานการณ์หลายอย่างที่คุณกำลังเผชิญอยูค่ นเดียวหรือสถานการณ์ที่ส่งผล
กระทบตอ่ ผถู้ ือประโยชนร์ ่วม ซ่ึงการทำข้อตกลงและการมสี ่วนร่วมน้ชี ว่ ยใหผ้ ลตอบแทนทด่ี กี ว่า

กระบวนการ CPS ช่วยให้คุณจัดการปัญหาความยุ่งยาก รับมือกับความไม่แน่นอนและการ
ตอบสนองต่อความเปลีย่ นแปลง กระบวนการน้ีช่วยได้มากหากว่าคุณกำลังเผชิญสถานการณ์ท่ีใหม่ ใน
สถานที่ใหม่ๆ และมีตวั เลือกมากมายที่ต้องพิจารณา กับความรู้สึกสับสนและยากลำบาก และเกิดความ
สงสัยวา่ ”แลว้ ฉันจะจัดการกบั ปญั หาพวกนไ้ี ดอ้ ยา่ งไร?” ปัญหาเหลา่ นม้ี ักถูกเรียกว่าปัญหาพยศ (wicked
problems) ซงึ่ ประกอบไปด้วยดงั ตอ่ ไปน้ี

- ไมม่ ีวธิ ีการแกป้ ัญหา No Single Solution to Drive for

- เปน็ สถานการณใ์ หม่หรอื เปล่ยี นแปลงและไม่ชัดเจนตามธรรมชาติ

- ผลลพั ธท์ ไ่ี มแ่ น่นอน

- ปัจจัยหลายอย่างท่ีมสี ่วนเก่ยี วขอ้ ง

- ขอ้ มลู ทีไ่ มค่ รบถ้วนหรอื ยากท่ีจะเขา้ ใจการเกี่ยวขอ้ ง
ข้อดีของกระบวนการ CPS ในการพัฒนาทกั ษะด้านนวัตกรรม
เรามีสิทธิพิเศษในการช่วยเหลือองค์กรตา่ งๆท่ัวโลกในการสร้างทักษะและวัฒนธรรมนวัตกรรม
โดยเรียนรู้วิธีการใช้ CPS กับความท้าทายด้านนวัตกรรมในโลกแห่งความจริง - ความท้าทาย VUCA –
และความคดิ ริเรม่ิ การเปล่ียนแปลงองค์กร
ด้านลา่ งเป็นตัวอยา่ งของวิธีที่ CPS ช่วยในการสร้างทักษะด้านนวัตกรรม
ความคดิ สรา้ งสรรค์ การแก้ปญั หา และการพฒั นาทกั ษะอยา่ งตอ่ เน่อื ง หลกั การสำคัญในเรอ่ื งของ
การแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์นั่นก็คือความเชื่อที่ว่ามนุษย์ทุกคนมีความคิดสร้างสรรค์ในตัวเอง

223

ความคิดสร้างสรรคน์ น้ั สามารถฝกึ สอน พฒั นาดว้ ยการฝึกฝนได้ ซ่งึ เร่อื งนก้ี ็สามารถยืนยันไดจ้ ากงานวิจยั ท่ี
ผา่ นๆมา ซง่ึ นัน่ กห็ มายความวา่ วธิ กี ารสำหรับการพัฒนาประสิทธิภาพในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพ
ของนวตั กรรมและการแกป้ ัญหานี้สามารถใช้ไดก้ ับทุกคน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ชว่ ยใหผ้ ูค้ นเข้าใจ
ว่าความคดิ สรา้ งสรรค์กับทศั นคตทิ ่เี รามคี ือส่งิ เดยี วกนั รวมถงึ ความเชือ่ ที่มแี ละวิธที ี่เราคิด การแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์นั้นให้ความสำคัญกับความเชื่อที่วา่ ส่ิงน้ันเป็นไปได้ เชื่อว่าปัญหาที่เรากำลังเผชิญนั้นมี
หนทางในการแกไ้ ขไดแ้ ม้ว่าปญั หาน้ันจะซบั ซ้อนหรอื มีความไมช่ ัดเจนเพยี งใดกต็ าม โดยปกติเมื่อเราเจอ
ปัญหา สิ่งที่เกิดขึ้นนัน้ มักจะไม่ใช่สิ่งที่เป็นปัญหาจริงๆ การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์จะสอนให้เรามอง
ปัญหาเป็นความท้าทายและมีหลายๆมุมมอง โดยใช้วิธีการเปลี่ยนวิธีคิดของเราโดยอาจจะลองสร้าง
คำถามท่ีท้าทายเกยี่ วกบั ปญั หาทเี่ กิดขน้ึ วิธนี ส้ี อนให้รู้จกั ความจำเปน็ ของการสร้างสมมตุ ิฐานท่ีมีความท้า
ทายแตย่ ังอยบู่ นพ้ืนฐานของปญั หาที่เผชญิ ความสำคญั ของการเปลยี่ นความคิดจากวิธีการคิดท่ีสรา้ งสรรค์
มาเปน็ วธิ กี ารคดิ แบบคิดหาขอ้ สรปุ น้นั สามารถทำให้ความคิดสรา้ งสรรคเ์ กดิ ขึ้นมาได้ นัน่ ทำใหเ้ กดิ สิ่งใหมๆ่
จากการเช่อื มโยงทน่ี า่ อศั จรรย์

แนวทางปฏิบตั ิท่ดี ขี องการคิดแบบสร้างสรรค์และการคิดแบบหาขอ้ สรุปนัน้ จะชว่ ยให้เรามคี วาม
มน่ั ใจทีส่ ร้างความคดิ และประเมนิ แนวทางการแกป้ ัญหาที่เปน็ ขนั้ ตอน สำหรับเร่ืองน้ี เรอม่ ต้นจากการให้
ความสำคัญกับความคิด มองหาความคิดที่ดี หาทางสร้างและพฒั นาความคดิ ของผู้อื่น สิ่งเหล่านี้ถอื เป็น
การสนบั สนนุ การพฒั นาอย่างยั้งยืนและอาจจะกา้ วไปถึงการสรา้ งนวัตกรรมทก่ี ้าวกระโดดได้

สร้างทกั ษะการเผชญิ ความเสยี่ งและการประเมนิ ความเสยี่ ง การประยุกต์ใชว้ ธิ ีการแก้ปญั หาอยา่ ง
สรา้ งสรรคช์ ่วยให้บรหิ ารความเส่ียงท่ีมีอยู่แลว้ สำหรับการใช้นวัตกรรม การใชห้ ลกั เกณฑ์ในการตัดสินใจ
จะช่วยยกระดับสติปัญญารวมถึงการจัดการความเสี่ยงที่เป็นระบบได้ เกณฑ์ที่ว่านั้นจะช่วยเชื่อมโยง
ข้อจำกัดและขอบเขตของเราว่าจะรับความเสี่ยงได้มากแค่ไหน และเป็นวิธีการในการจัดวางค่านิยม
จริยธรรมและลำดบั ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ในองค์กร เมอื่ เราได้ขอบเขตความเสีย่ งมาแลว้ การตดั สินใจรับ
ความเสี่ยงที่อยูน่ อกขอบเขตนีจ้ ึงเป็นเรื่องโง่เขลา การท้าทายสมมติฐานเรื่องความเสี่ยงช่วยสร้างความ
เปน็ ไปไดใ้ หม่ๆใหเ้ กดิ ขึ้น แมว้ า่ จะมีความเสีย่ งอยแู่ ต่กย็ งั อยูภ่ ายใต้ขอ้ จำกัดและไม่มคี วามเส่ียงท่ีอันตราย
ดังนั้นกลไกการพัฒนาความคิดและการค้นหาความเสี่ยงที่ดีจึงเกิดขึ้น เครื่องมือแก้ปัญหามากมายถกู
พัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพในการแก้ปญั หาผ่านการวเิ คราห์เชิงบวกและการวิเคราะห์ข้อผิดพลาด
โดยใชเ้ กณฑ์วดั ในการประเมินผล รวมถงึ เครื่องมอื ประเมนิ ความเสย่ี งและเครอ่ื งมอื จดั ลำดับความสำคัญ
หนงึ่ ในประโยชน์ที่ย่งิ ใหญ่ท่ีสดุ ของ การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรคค์ ือการเรยี นรู้ท่ีจะมั่นใจในการตัดสินใจ
เมื่อตัดสินใจท่ามกลางความเสี่ยง นั่นเพราะว่าผู้ตัดสินใจรู้ดีถึงประสทิ ธิภาพของกระบวนการแก้ปญั หา
อย่างสร้างสรรค์ นั่นรวมถงึ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของตัวเลือกและเกณฑก์ ารวดั ผลก็มีประสทิ ธิภาพดว้ ย

การเสรมิ ทักษะการสรา้ งความสัมพันธ์และการส่ือสาร การใช้วิธีการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ช่วยสร้างพลงั และแปรเปล่ียนความสัมพันธ์และช่วยในการสื่อสารในกลุ่มงานภายในองค์กรหรือทีมของ
คณุ รวมไปถงึ ผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียที่อยูภ่ ายนอกองคก์ รอีกดว้ ย วิธนี ี้มีกลไกสำหรับการชว่ ยเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ
การทำงาน มีความเชอื่ มโยงกนั อย่างน่าทึ่ง ทั้งยงั ชว่ ยใหผ้ ูค้ นมีความสัมพันธ์ท่ีดีและการส่ือสารท่ีดีต่อกัน

224

อันเกิดมาจากการสรา้ งนวัตกรรมร่วมกนั การเคารพความคดิ เห็นซึง่ ันและกนั แม้ว่าเราจะมีความเห็นท่ี
ต่างกันแต่กม็ เี ปา้ หมายเดียวกนั คือการแกป้ ัญหา การมแี นวปฏบิ ตั ิท่ีเรียบงา่ ย มีการปฏิบัตเิ ปน็ นิสยั ชดั เจน
ชว่ ยให้เรารู้ว่าแนวคดิ ใดที่เหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพสำหรบั การแก้ปัญหา

การมสี ว่ นร่วมของผู้มีส่วนไดเ้ สีย สมาชิกในกลุ่ม และผู้ตดั สนิ ใจในกระบวนการสร้างนวตั กรรมทำ
ไดง้ า่ ยและมีประสิทธิภาพเม่อื ใช้แนวทางการแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ นนั่ เป็นเพราะแนวทางน้ีมีแนวคิด
ของกระบวนการหาความคิดและกระบวนการวิเคราะห์หาข้อสรุปในทุกๆขั้นตอน รวมถึงการใช้งานใน
ทกุ ๆสถานการณด์ ว้ ย เมื่อเรม่ิ ใชว้ ธิ ีการแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ เราจะต้องทราบว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบ
ปัญหานั้น และใครเป็นผู้ถือทรัพยากรในการแก้ไขปัญหานั้น ใครเป็นผู้ควบคุมกระบวนการในการแก้ไข
ปัญหา รวมถึงใครเป็นผู้นำในการแก้ไขปัญหาในแต่ละขั้นตอน โดยปกติแล้วเหล่าผู้บริหารและผู้ถือ
ทรัพยากรขององค์กรจะมีส่วนร่วมในขั้นตอนการระดมสมองของแต่ละขั้นตอน โดยต้องมั่นใจว่าเราได้
ความคิดเห็นครบทุกอย่างอยู่ในมือในขั้นตอนแรก ต่อมาคือการให้ผู้บริหารทรัพยากรและผู้รับผิดชอบ
ปัญหามารว่ มหาขอ้ สรปุ ของแตล่ ะตวั เลอื กเพ่อื ตดั สินใจ รวมถึงความคิดท่ีวา่ จะทำอย่างไรที่จะสร้างพลังใน
การคดิ สำหรับข้นั ตอนการระดมสมอง เพอื่ ใหก้ ้าวไปถงึ การตดั สนิ ใจในขัน้ ตอนตอ่ ไป

ในความเปน็ จรงิ น้ัน ผรู้ ่วมงานเราในองคก์ รหลายคนมีความสัมพนั ธ์และการสอื่ สารที่ดีหลายคน
เพราะเราได้พัฒนาและปลูกฝังรูปแบบของการแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ลงในกระบวนการระดมสมอง
และกระบวนการหาข้อสรุปลงในตวั พวกเขาแล้ว

การเสริมทักษะการปฏิบตั ิ ในการแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ การเสริมทกั ษะในทางปฏิบัติพัฒนา
ได้โดยการปฏิบัติจริง ทำให้ผู้ปฏิบัติมองเห็นว่าสิ่งใดเปน็ ผู้ช่วยและสิ่งใดเป็นอปุ สรรคในแผนงาน ในการ
ปฏิบตั เิ ราตอ้ งสรา้ งแผนท่ีเปน็ ไปได้ ประเมนิ ผลการทำงานใหก้ บั ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี และประเมนิ ผลการทำงาน
จากตัวชว้ี ดั ทีว่ ดั ค่าไดจ้ รงิ แบบรวดเร็วและมีความถกู ตอ้ ง

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจแนวทางการพัฒนาของทักษะเชงิ
นวตั กรรม ตามทัศนะของ Franciscoว่าอยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………...............................................................
............................................................................................................................. .........................................
...................................................................................................................................................

4. Hengsberger กลา่ วถึงวิธใี นการสรา้ งวฒั นธรรมแห่งการกอ่ เกิดนวตั กรรม ดังน้ี
การสร้างวัฒนธรรมแห่งการก่อเกิดนวัตกรรม เรื่องนี้เป็นเรื่องที่ง่ายเพราะกระบวนการสร้าง

วัฒนธรรมนี้ไม่ได้ตอ้ งการทรัพยากรอะไรมากมายรวมถงึ ไม่ได้ต้องการการเปลีย่ นแปลงที่ยิง่ ใหญ่ภายใน
องคก์ ร เหนือสง่ิ อ่ืนใดวัฒนธรรมน้ีต้องการคำม่นั สัญญาด้านการจัดการและความม่งุ มัน่ ของผู้ที่รับผิดชอบ

225

ตอ่ นวตั กรรม ผมู้ สี ่วนร่วมในการสรา้ งนวตั กรรมตอ้ งดำเนนิ การเพยี งเล็กนอ้ ยและต้องมที ศั นคติเชิงบวกต่อ
วฒั นธรรมการสรา้ งนวัตกรรม

4.1. การส่อื สารกลยทุ ธ์ของนวตั กรรม (Communication of the Innovation Strategy) กล
ยุทธนวัตกรรมจะเป็นตัวกำหนดเงื่อนไขและขอบเขตของงาน โดยความคาดหวังและเป้าหมายของ
นวัตกรรมจะต้องชดั เจนและพนกั งานในองค์กรณ์ก็จะตอ้ งรถู้ งึ เปา้ หมายนั้นดว้ ย ดังน้ันขัน้ ตอนแรกคือต้อง
สื่อสารกลยุทธของนวัตกรรมนัน้ ผ่านพนักงานทกุ ๆระดับขององค์กร โดยใช้วิธีการอย่างเช่นการกระจาย
ขอ้ มลู ไปสทู่ กุ ๆระดับในองค์กร

4.2. การฝึกอบรมของพนกั งานปฏบิ ัติการในแต่ละระดับ (Cascade Workshops for Active
Employee Involvement) การสือ่ สารของกลยุทธนวัตกรรมสร้างความตระหนักแต่น่ันเป็นการสือ่ สาร
ทางเดยี ว แตส่ ่ิงสำคญั คอื การพดู คุยระหว่างผู้เก่ียวข้องกบั เร่ืองนี้ โดยกระบวนการดังกล่าวปฏิบตั ิผ่านการ
ฝึกนวัตกรรมการปฏิบัติตั้งแต่ระดับบริหารลงมาถึงระดับปฏิบัติการไล่ลงมาเรื่อยๆ ผู้ปฏิบัติในระดับ
ผจู้ ัดการจะเลือกพนกั งานในระดบั ปฏบิ ตั กิ ารมารว่ มกระบวนการ

- นวัตกรรมมคี วามหมายตอ่ งานพวกเขาอย่างไร
- บทบาทของพวกเขาในกระบวนการของนวตั กรรม และสิ่งท่ีพวกเขามีสว่ นร่วมในความสำเรจ็
ของนวตั กรรม
ในกรณีทท่ี ำสำเร็จ ผลของการมสี ว่ นรว่ มและแผนการปฏิบตั จิ ะสง่ ผลถึงการทำงานของพวกเขา

4.3. หลักสูตรการสร้างนวัตกรรม (Innovation Crash Courses) ทุกคนพูดถึงนวัตกรรม แต่

บอ่ ยครงั้ ที่พนักงานบรษิ ทั ไม่สามารถอธบิ ายความหมายของมนั ได้ รวมถงึ ความสำคญั สำหรับพวกเขาและ
สิ่งทีพ่ วกเขาสามารถไปร่วมได้ การเปน็ ผ้มู คี วามคดิ สรา้ งสรรค์แลว้ ผ้สู ร้างนวัตกรรมจำเปน็ ตอ้ งมขี อ้ มูลและ
ทักษะเฉพาะ มหี ลายหลกั สตู รทส่ี ามารถอบรมเพอ่ื เปน็ ผู้สรา้ งนวัตกรรมได้ อีกท้งั ยังสามารถปรับให้เข้ากับ
องคก์ รได้อกี ดว้ ยยกตวั อยา่ งเช่น เนื้อหาเก่ียวกบั พนักงานฝา่ ยผลติ จะมคี วามแตกต่างจากเน้อื หาการอบรม

ของฝา่ ยการตลาด เนื้อหาที่เกย่ี วกบั การอบรมมตี วั อยา่ งดงั น้ี
- คำจำกดั ความของนวัตกรรม
- การสรา้ งความคิดสรา้ งสรรค์
- การเสนอความคดิ สถานท่ีในการเสนอความคดิ
- กระบวนการของนวัตกรรม – เกิดอะไรข้ึนกับความคิดและสิ่งท่ีคุณสามารถมีส่วนร่วมได้ด้วย

ตนเอง
- เทคนิคการสร้างความคิดสร้างสรรค์
หลักสตู รเหล่านค้ี วรมีระยะเวลาประมาณ 1-3 ช่วั โมงและทำให้ผคู้ นมีส่วนรว่ มมากที่สุดเท่าที่จะ

มากได้
4.4. วันนวัตกรรม (Innovation Days) วันนวัตกรรมประจำปีสามารถทำให้คำว่านวัตกรรมมี

ความสนใจขน้ึ มาได้ พนกั งานทกุ คนควรมีส่วนร่วม เนื้อหาทเี่ ปน็ ไปไดส้ ำหรบั เรอื่ งนี้มีดงั ตอ่ ไปน้:ี

226

- การนำเสนอนวตั กรรมล่าสุด
- คำพดู ของคณะกรรมการบริหารเกยี่ วกับนวัตกรรม
- เปิดโอกาสใหท้ ุกคนพูดถึงนวตั กรรม
- งานแขง่ ขนั ระดมความคิด
- สร้างการมสี ว่ นร่วมและฝึกปฏิบตั กิ ารคิด
- กจิ กรรมความรูเ้ กีย่ วกบั นวตั กรรม กระบวนการสร้างนวัตกรรม วิธีการสรา้ งนวตั กรรม
- พธิ ีมอบรางวลั สำหรบั นวัตกรรม
วันนวัตกรรมสามารถเกิดขึ้นได้ผ่านทางออนไลน์ เหนือสิ่งอื่นใดคำแนะนำสำหรับบริษัท คือใน
การทำงานจริงนั้นไม่สามารถพาพนักงานทุกคนมารวมกันในสถานที่เดียวได้ แต่ไม่ว่าจะออฟไลน์หรือ
ออนไลน์การมองเหน็ ปัจจัยแหง่ ความสำเร็จของผบู้ ริหารระดบั สงู เป็นปัจจยั ความสำเร็จทีส่ ำคญั มาก
4.5. การปฏิบัติจริงของการสร้างความคิดสร้างสรรค์ (Creativity Workshops) นอกเหนือจาก
การให้ข้อมูลและสร้างความตระหนักในนวัตกรรมแล้ว ให้พนักงานมีส่วนร่วมโดยตรงในกระบวนการ
นวัตกรรมในรูปแบบของการประชุมเชิงปฏิบัติการความคิดสร้างสรรค์ มีทีมงานทำงานร่วมกันในทุกๆ
ขน้ั ตอนของงานในการสรา้ งนวัตกรรม มกี ารสรา้ งคำถามและพัฒนาความคิดใหม่ๆ และวธิ ีการแก้ปัญหา
หากการประชุมเชิงปฏิบัติการมีการจัดการอย่างดแี ละหัวข้อน่าสนใจจะมีการสร้างแรงดึงดูดอันย่งิ ใหญ่
ผู้คนทีเ่ ขา้ รว่ มจะได้รับแรงบนั ดาลใจและขบั เคล่อื นให้เกดิ นวัตกรรม สิ่งสำคญั มากคอื ความคดิ จะไมถ่ กู เกบ็
ลน้ิ ชกั แตม่ กี ารสรา้ งผลเชิงบวกไม่เชน่ นนั้ ความมงุ่ มั่นทุกอยา่ งก็จะไมม่ ปี ระโยชน์
4.6. การแข่งขันนำเสนอความคิด (Pitching Contests) การแข่งขันจะกระตุ้นให้พนักงานน้ัน
พัฒนาความคดิ แล้วนำเสนอความคดิ นนั้ ต่อหน้าผจู้ ดั การ รวมถงึ มีการฝึกซอ้ มลว่ งหน้าเพื่อให้ไดผ้ ลลพั ธ์ท่ี
ดีทีส่ ุดในการนำเสนอ
ผู้ตัดสินก็คือผู้จัดการที่ทำงานในองค์กรรวมถึงผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกองค์กร อย่างไรก็ตามผู้
ชนะสามารถเลือกได้โดยการโหวตของพนักงาน ความคดิ ทด่ี ที ่ีสุดจะได้รบั รางวัลและสามารถนำความคิด
น้นั มาดำเนนิ การตอ่ ไปไดก้ ารแขง่ ขันนำเสนอความคิดน้นั มขี ้อดหี ลายประการ เชน่ การสรา้ งความม่งุ มั่นใน
การบริหารงาน เห็นประสิทธิภาพของสื่อภายในองค์กร ความคิดเห็นได้รับการพิจารณาและพัฒนา
พนักงานมีความสนุกสนาน และมีการพฒั นาความคิดท่ียอดเยย่ี ม
4.7. รางวัลแห่งนวัตกรรม (Innovation Awards) การจัดแข่งขันนวัตกรรม ไม่ว่าจะเป็นในการ
แข่งขันระดับการนำเสนองานหรือความคิดด้านนวัตกรรม จะมีการมอบรางวัลทั้งระดับทีมหรือระดบั
โครงการ รางวัลนั้นจะสรา้ งแรงบันดาลใจและดงึ ดูดความสนใจ เหนือสิ่งอืน่ ใดไมใ่ ช่เพราะของรางวัลแต่
เปน็ เพราะการมชี อื่ เสยี งในระดบั สาธารณชนคือส่งิ ที่พนกั งานไดร้ ับจากบรษิ ัท ดงั น้นั จึงกล่าวได้ว่าการให้
รางวัลยงั ชว่ ยกระตนุ้ การคิดของพนกั งานให้สร้างนวัตกรรมอกี ด้วย
4.8. การลงทุนร่วมกัน (Corporate Venturing) จากการแข่งขนั นำเสนอความคดิ สร้างสรรคใ์ น
บริษัท พนักงานสามารถมีส่วนร่วมในความคิดเกี่ยวกับธุรกิจของเขา เมื่อกล่าวถึงการลง ทุนในความคิด
พนักงานจะไดร้ ับเงนิ ในลักษณะของเงนิ ทนุ และระยะเวลาการดำเนินงาน การสนับสนนุ ดงั กล่าวจะมาจาก


Click to View FlipBook Version