The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-10-17 09:30:05

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

37

ไม่เข้าใจโดยถ่องแท้ว่า ต้องใช้ความคิดและการวิเคราะห์มากเพียงใดก่อนที่จะทำการ
ตัดสินใจ ซึ่งเราสรปุ เอาว่านั่นเป็นการเดิมพันของพวกเขา อย่างไรก็ตามนักนวัตกรรมท่ี
ประสบความสำเร็จจะแสดงให้เหน็ ถงึ ความระมัดระวัง การจัดการทเี่ ป็นระบบ และความ
เสีย่ งในระดบั สูงเมือ่ เทยี บกับคนทว่ั ไป
5. ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) ในบางครั้งนกั นวัตกรรมจะรบั บทเปน็
อัจฉริยบุคคลและอิสรชนที่มีแนวคิดของตนเองที่จะปฏิวัติในทุกเรื่อง ซึ่งแม้จะฟังดูน่า
ดงึ ดดู ใจเพียงใด ท่ีความจริงกค็ อื นวตั กรรมนน้ั มักจะเปน็ ผลงานของการทำงานเปน็ ทีม เรา
มักจะพบว่านักนวัตกรรมที่ยอดเยีย่ มจะเชื่อมโยงกับผู้คนท่ีมีภูมิหลงั และความเช่ียวชาญ
แตกต่างกัน พวกเขาสะท้อนความคิดออกไปและสร้างพันธมิตรทั้งภายในและภายนอก
องค์กร ซึ่งความฉลาดทางอารมณ์ท่ีพัฒนามาอยา่ งดีจะมบี ทบาทสำคัญต่อการดำเนินการ
เช่นนี้ รวมถึงสำคัญต่อการขายแนวคิดของพวกเขาให้ผูอ้ ่ืน และยังใชป้ ระสานงานภายใน
ทีมของพวกเขาเอง
บทสรุป การมีความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ป็นสง่ิ จำเป็นสำหรับนวัตกรรมทยี่ อดเยี่ยม แต่มันจะไม่
ทำให้คุณไปไกลนักเว้นแต่จะไดร้ ับการสนบั สนุนจากคุณลักษณะอื่น ๆ ท่ีได้กล่าวไว้ข้างต้น อย่างไรก็
ตาม นบั วา่ โชคดที ี่คณุ ลักษณะเหลา่ น้ันรวมถึงความคิดสรา้ งสรรค์ เปน็ ลักษณะทส่ี ามารถเรียนรไู้ ด้และ
ไมใ่ ช่ส่ิงท่ีคนเฉพาะกลุ่มหนงึ่ กลุ่มใดจะมีมาต้ังแต่เกิด
Premuzic (2013) ได้กลา่ วถงึ ลักษณะท่ีสร้างทักษะเชิงนวตั กรรมไว้วา่ เป็นความสามารถ
ในการเปลี่ยนความคิดให้กลายเปน็ บรกิ าร ผลิตภณั ฑ์ หรอื การลงทนุ ที่ประสบความสำเรจ็ ความจริง
คอื สงิ่ ทีเ่ กิดขึ้นกบั ความคิด การเป็นผู้ประกอบการกเ็ ปน็ กระบวนการท่ีความคิดสร้างสรรค์กลายเป็น
นวัตกรรมที่มีประโยชน์ เนื่องจากความเป็นผู้ประกอบการเกี่ยวข้องกบั มนุษย์ในฐานะผู้กระทำการ
(human agency) ซึง่ ขึ้นอยกู่ บั การตัดสนิ ใจและพฤตกิ รรมของแต่ละคน ดงั น้นั วิธกี ารเชิงตรรกะใน
การทำความเขา้ ใจสาระสำคญั ของนวัตกรรมคือการศึกษาลักษณะสำคัญของผูป้ ระกอบการ น่ันก็คือ
บุคคลที่เปน็ แรงผลักดันของนวัตกรรม โดยไม่คำนึงถึงว่าจะเป็นผูป้ ระกอบอาชีพอิสระ ผู้ก่อต้งั ธุรกิจ
หรือพนักงาน การวจิ ยั เนน้ ลักษณะสำคัญหลายประการ (นอกเหนือจากความคิดสรา้ งสรรค)์ ได้แก:่
1. ความคิดแบบฉกฉวยโอกาส (An Opportunistic Mindset ) ที่ช่วยให้พวกเขาค้นพบ
ช่องว่างในตลาด โอกาสเป็นหวั ใจของการประกอบการและนวัตกรรม และบางคนก็ตื่นตัว
มากกว่าคนอ่ืน ๆ นอกจากนี้โดยพันธกุ รรมแลว้ นักฉวยโอกาสมกั จะจับความแปลกใหม่ได้
ก่อนที่สิ่งนั้นจะเกิดขึ้น นั่นคือพวกเขากระหายประสบการณ์ใหม่ๆ และซับซ้อน และ
แสวงหาความหลากหลายในทุกด้านของชวี ิต ส่งิ น้สี อดคล้องกบั การเป็นโรคสมาธสิ ้นั กนั มาก
ขน้ึ ในกลมุ่ ผูก้ ่อตัง้ ธรุ กิจ
2. การศึกษาหรือการฝึกอบรม (Formal Education or Training) ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรบั
การมองเห็นโอกาสใหม่ ๆ หรอื การตคี วามเหตกุ ารณ์ต่างๆ เป็นโอกาสทเ่ี ปน็ ไปได้ ตรงกัน
ขา้ มกบั สิ่งทเี่ ชือ่ กันโดยท่ัวไป นักนวัตกรรมท่ปี ระสบความสำเรจ็ ส่วนใหญไ่ ม่ได้เปน็ อจั ฉริยะ
ทีเ่ รยี นไมจ่ บ แตเ่ ป็นผเู้ ชี่ยวชาญทไี่ ด้รบั การฝกึ ฝนมาอยา่ งดีในสาขาวชิ านั้นๆ หากไม่มคี วาม
เชี่ยวชาญมันเป็นการยากที่จะแยกแยะระหว่างข้อมูลที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้อง หรือ

38

ระหว่างเสียงและสัญญาณ ซึ่งสอดคล้องกับการวิจัยที่แสดงให้เห็นว่าการฝึกอบรม
ผปู้ ระกอบการจะทำให้ประสบความสำเร็จได้จรงิ
3. การดำเนินการเชิงรุกและความต่อเนื่องที่เข้มข้น (Proactive Action and Intensive
Continuity) ที่ช่วยให้พวกเขาใช้ประโยชนจ์ ากโอกาสท่ีพวกเขาค้นพบ เหนือสิ่งอื่นใดพวก
เขาในฐานะนกั นวัตกรรมทีม่ ีประสทิ ธภิ าพจะมแี รงขบั ขบั ความยืดหยนุ่ และมพี ลงั มากกว่า
ผู้อน่ื ท่อี ยู่ในแวดวงเดียวกนั
4. ความรอบคอบที่พอดี (A Healthy Dose Of Prudence) ตรงกันข้ามกับสิ่งที่หลายคนคดิ
นักนวัตกรรมที่ประสบความสำเร็จจะมีการดำเนินการที่เป็นระเบียบ ระมัดระวัง และ
หลีกเล่ียงความเสี่ยงมากกว่าคนทั่วไป (แม้ว่าความเสี่ยงที่สูงขึ้นจะเชื่อมโยงกับการจัดต้ัง
ธุรกจิ แต่ไม่ได้เชอ่ื มโยงกับความสำเร็จของธุรกจิ จริง ๆ)
5. ทุนทางสงั คมท่ีพวกเขาพ่ึงพา (Social Capital) ตลอดกระบวนการของผู้ประกอบการ นัก
นวัตกรรมที่มีผลงานต่อเนื่องมักจะใช้สายสัมพันธ์และเครือข่ายเพื่อระดมทรัพยากรและ
สร้างพนั ธมิตรที่แข็งแกร่งท้ังภายในและภายนอก โดยทั่วไปแลว้ คำอธบิ ายถึงผู้ประกอบมี
แนวโน้มที่เชิดชูกันในฐานะนักนวัตกรรมท่ีเป็นอิสรชนและอัจฉรยิ บุคคล แต่นวัตกรรมนนั้
เปน็ ผลงานของทีมเสมอ กล่าวอีกนยั หนึ่งก็คือ คนท่ีเป็นผปู้ ระกอบการมีแนวโนม้ ทจ่ี ะมี EQ
สูงกว่า ซ่งึ จะชว่ ยให้พวกเขาขายความคดิ และกลยทุ ธ์ให้กับคนอ่ืน ๆ และส่อื สารภารกจิ หลกั
กนั ภายในทมี
ไมม่ ีประโยชน์ทจี่ ะหวงั เพยี งแคก่ ารมคี วามคดิ ทกี่ ้าวหนา้ สิ่งทีส่ ำคญั คอื ความสามารถในการทำ
ให้เกิดความคิดใหไ้ ด้มากๆ ค้นหาโอกาสที่เหมาะสมในการพัฒนาความคิดเหลา่ นั้น และดำเนินการ
ดว้ ยความมงุ่ มน่ั และทุม่ เทเพอื่ บรรลุเปา้ หมายทมี่ ีความหมาย
กลา่ วโดยสรุป จากขอ้ คิดเก่ยี วกับคุณลกั ษณะของทกั ษะเชงิ นวัตกรรมข้างต้น พอสรุปได้ว่า
นวัตกรรมเป็นประเด็นที่กล่าวถึงกันมากขึ้นจากทั่วโลก ผู้นำที่ประสบความสำเร็จทำทางด้าน
นวตั กรรม ตอ้ งมกี ารพัฒนาในด้านต่างๆ และมีพฤตกิ รรมหลายอยา่ งทสี่ ามารถใช้ขับเคลือ่ นนวัตกรรม
ได้ดงั น้ี
− ผู้นำกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกับเพื่อนร่วมงาน (Leaders Jointly Created a Vision with
their
Colleagues) ผูน้ ำจะกำหนดวสิ ยั ทัศนร์ ่วมกนั ซึ่งไมใ่ ช่ในลกั ษณะของการชี้นำส่งั การ
− การสร้างความไว้วางใจ (They Build Trust) ผู้นำไว้วางใจคนของพวกเขาและในทาง
กลบั กนั เพื่อนรว่ มงานของพวกเขาก็ไว้วางใจพวกเขาอย่างมาก
− ลักษณะของผู้กำหนดทิศทางการดำเนินการด้านนวตั กรรม (Innovation Champions) จะ
ดไู ดจ้ ากความตั้งใจอย่างต่อเน่ืองท่ีจะท้าทายสถานะที่เปน็ อยู่ มี
− ผู้นำที่ส่งเสริมนวัตกรรมจะถูกกล่าวถึงในเรื่องความเชี่ยวชาญที่ลึกซึ้ง (Leaders who
Fostered Innovation were Noted for their Deep Expertise) ผู้นำมีความสงสัยใคร่
รู้อันชาญฉลาดทีห่ ลากหลายเกี่ยวกบั เร่ืองท่ัวๆ ไป แต่ในขณะเดยี วกนั ก็มีความรู้เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีท่จี ำเปน็ สำหรบั สิง่ ทท่ี ำ

39

− การตั้งเป้าหมายไว้สงู (They Set High Goals) ผู้นำทีส่ ร้างทมี นวัตกรรมขึ้นมาจะถูกมอง
วา่ เป็นการต้งั เป้าหมายท่สี ูงมาก

− ผู้นำเชิงนวัตกรรมจะมุ่งไปข้างหน้าโดยเร็ว(innovation Leaders Gravitate Toward
Speed) ผู้นำเหล่านี้จะขยบั ตัวอย่างรวดเรว็ พวกเขาเชือ่ วา่ สิ่ง ต่าง ๆ สามารถสำเร็จได้
ในไมช่ ้า พวกเขาจะม่งุ ไปยังต้นแบบท่สี ามารถประกอบขนึ้ อย่างรวดเร็ว

− การกระหายข้อมูล (They Crave Information) ผู้นำเชิงนวัตกรรมจะพยายามทำให้ทมี รู้
โดยเทา่ กัน โดยป้อนข้อเทจ็ จรงิ ท่ีเก่ียวข้องใหเ้ ปน็ จำนวน

− การทำงานเป็นทีม (They Excel at Teamwork) คือความเป็นเลิศในการทำงานเปน็ ทีม
และการทำงานร่วมกัน ซึ่งจะไม่ใช่แค่ “ฉัน” แต่มักจะเป็นเร่ืองเก่ยี วกับทีมทีส่ ร้างสิ่งที่มี
คณุ คา่

− การให้คุณค่ากับความหลากหลายและการรวมกัน (They Value Diversity and
Inclusion)ผู้นำเชิงนวัตกรรมจะยอมรบั ว่ากระบวนการสร้างสรรค์

− การรู้สึกถึงโอกาส (Sensing Opportunity) ในขณะที่เกิดโอกาสนั้นขึ้น นักนวัตกรรมท่ี
ประสบความสำเรจ็ จะมคี วามสามารถพิเศษในการค้นพบชอ่ งวา่ งในวงการทีพ่ วกเขากำลงั
ทำงาน

− การฝึกอบรมและการศึกษาที่เหมาะสม (Proper Training & Education) ผู้เชี่ยวชาญที่
ผ่านการฝึกอบรมมาอย่างดีพร้อมการศึกษาในระบบ การฝึกอบรม และประสบการณ์
หลายปตี ่างหากท่สี ามารถทำได้

− การดำเนินการเชงิ รกุ และความตอ่ เนอ่ื ง (Proactivity & Persistence) ความคิดสรา้ งสรรค์
จะเปลี่ยนเปน็ นวัตกรรมผา่ นการดำเนินการเทา่ นนั้

− ความรอบคอบ (Prudence) ลักษณะหน่ึงที่เช่ือมโยงอย่างมากกับประสบการณ์คือความ
รอบคอบ แม้ว่าเราชอบที่จะคิดว่านักนวัตกรรมเป็นผู้รบั ความเส่ียง แต่ในความเป็นจริง
พวกเขากลบั ตรงกันขา้ มอยา่ งสน้ิ เชิง ความเขา้ ใจผิดอาจเกิดขน้ึ เพราะเราในฐานะคนทั่วไป
ไม่เข้าใจโดยถ่องแท้ว่า ต้องใช้ความคิดและการวิเคราะห์มากเพียงใดก่อนที่จะทำการ
ตัดสินใจ ซึ่งเราสรุปเอาว่านั่นเป็นการเดิมพันของพวกเขา อย่างไรก็ตามนักนวัตกรรมที่
ประสบความสำเร็จจะแสดงใหเ้ ห็นถึงความระมัดระวงั การจัดการท่เี ป็นระบบ และความ
เสย่ี งในระดับสูงเมื่อเทยี บกบั คนทั่วไป

− ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) ในบางครั้งนักนวัตกรรมจะรบั บทเป็น
อัจฉริยบุคคลและอิสรชนที่มีแนวคิดของตนเองที่จะปฏิวัติในทุกเรื่อง ซึ่งแม้จะฟังดูน่า
ดึงดดู ใจเพยี งใด ท่คี วามจริงก็คอื นวตั กรรมนั้นมักจะเปน็ ผลงานของการทำงานเปน็ ทีม เรา
มักจะพบว่านกั นวัตกรรมที่ยอดเยี่ยมจะเชื่อมโยงกบั ผู้คนท่ีมภี ูมิหลังและความเชี่ยวชาญ
แตกต่างกัน พวกเขาสะท้อนความคิดออกไปและสร้างพันธมิตรทั้งภายในและภายนอก
องค์กร ซ่งึ ความฉลาดทางอารมณ์ท่พี ฒั นามาอยา่ งดจี ะมบี ทบาทสำคัญตอ่ การดำเนินการ
เชน่ น้ี รวมถึงสำคญั ตอ่ การขายแนวคิดของพวกเขาใหผ้ อู้ นื่ และยงั ใชป้ ระสานงานภายใน
ทีมของพวกเขาเอง

40

− ทุนทางสังคมท่ีพวกเขาพึ่งพา (Social Capital) ตลอดกระบวนการของผูป้ ระกอบการ นัก
นวัตกรรมท่ีมีผลงานตอ่ เนื่องมักจะใช้สายสัมพันธ์และเครือขา่ ยเพื่อระดมทรัพยากรและ
สร้างพนั ธมติ รทีแ่ ขง็ แกร่งท้ังภายในและภายนอก โดยท่ัวไปแล้วคำอธิบายถึงผู้ประกอบมี
แนวโน้มท่ีเชดิ ชกู นั ในฐานะนกั นวัตกรรมที่เปน็ อสิ รชนและอัจฉริยบคุ คล แต่นวัตกรรมน้ัน
เป็นผลงานของทีมเสมอ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ คนที่เป็นผู้ประกอบการมแี นวโน้มทีจ่ ะมี
EQ สูงกว่า ซึ่งจะช่วยให้พวกเขาขายความคิดและกลยุทธ์ให้กับคนอื่น ๆ และสื่อสาร
ภารกิจหลักกนั ภายในทมี

2.3.4 ทัศนะเก่ยี วกบั แนวทางการพฒั นาทักษะเชงิ นวัตกรรม (How to Develop

Innovation Skills)

Baiya (2018) กลา่ วว่า ในทุกวันน้ีตอ้ งมีการสร้างสรรค์สง่ิ ใหมๆ่ ดา้ นนวัตกรรม โดยเฉพาะ
อยา่ งยง่ิ หากบริษทั อยากจะเปน็ ผ้นู ำดา้ นอุตสาหกรรม สง่ิ น้ีเกดิ จากการเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยีท่ี
รวดเร็ว ทำให้การตลาด แนวโนม้ พฤตกิ รรมและความคาดหวงั ของผู้บริโภคเกิดการการเปลี่ยนแปลง
อยา่ งต่อเนอื่ งเช่นกนั

วิธีที่ดีที่สุดในการท่ีจะอยู่ในการแข่งขนั ก็คือการสร้างวนิ ยั ให้คนในองค์กรเปน็ ผู้มีความคิด
สรา้ งสรรค์ นวตั กรรมควรเปน็ ส่ิงเริม่ ต้นท่ีพนกั งานทุกแผนกพึงมรี ว่ มกัน และผู้นำองค์กรควรเป็นผู้ท่ี
ผลักดนั ให้ทกุ คนกล้าที่จะมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ นวัตกรรมไม่ใช่ส่งิ ทีแ่ ผนกการผลิตและแผนกครีเอทีฟ
เทา่ นัน้ ท่ีจะต้องมี แตท่ กุ คนในองค์กรควรมเี ชน่ กนั

การท่ที ว่ั ทั้งองคก์ รหันไปให้ความสำคญั กับการคิดเชงิ นวตั รรมทำใหเ้ กิดการส่งต่อความคิด
และพนกั งานก็เร่มิ จะเห็นความเปน็ ไปได้และโอกาสใหม่ๆ ในการปรบั ปรุงพัฒนาทพ่ี วกเขาไม่เคยมอง
หามาก่อน นวัตกรรมเปน็ แรงขับเคลื่อนใหเ้ กิดกการเปล่ียนแปลงทีร่ อบคอบปละมีประสิทธิภาพและ
เป็นไปในทศิ ทางทดี่ แี กท่ ุกระดบั ชนั้ ในองคก์ ร

ที่ต้องอาศัยสิ่งที่มากกว่าการอบรม นั่นก็คือการผสมผสานการให้คำแนะนำด้านทักษะ
อารมณ์ (soft skill) วัฒนธรรมการทุ่มเทตนเองในการฝึกฝน การมีความมั่นคง และการสนับสนนุ
ต่อไปนี้คือ 5 ข้อทจี่ ะทำใหท้ ีมผูน้ ำของคุณประสบความสำเร็จด้านการใช้นวัตกรรม

1. ช่วยพวกเขาพัฒนาการตระหนักรู้ (Help them Develop Self-Awareness)
เพราะว่าความการตระหนักรู้ทำให้คนเรารู้ว่าควรแสดงศักยภาพของตัวเองออกมาได้อย่างไรและที่
ไหน เมื่อเปน็ เรื่องของนวัตกรรมแล้วน้ัน มีขั้นตอนที่จำเป็นอยู่ 6 ขั้นนตอนได้แก่ การระบุความคิด
การนยิ าม การพฒั นา การตรวจสอบและการประเมนิ ผลความคดิ นั้น เมอื่ ไรกต็ ามท่คี นเราตระหนักถึง
พรสวรรค์ ความสามารถ และความชอบที่ตนมีจะทำให้รู้ว่าพวกดเขาควรอยู่ตรงไหน เราได้ทำการ
พัฒนา Innovation Fitness assessment™ (แบบประเมนิ ความเหมาะสมของนวัตกรรม) ซึ่งช่วยช้ี
วัดคุณลักษณะ 61 ประการและผลที่ได้จะช่วยบอกได้ว่าอะไรคือจุดที่พอดีของแต่ละบุคคล (และ
อุปสรรคของคุณอยู่ตรงไหน) ผู้นำของคุณจะเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมได้มากขึ้นในเรื่องของความ
รว่ มมอื ท่ที ำให้เกดิ นวัตกรรมท่ไี มซ่ ำ้ ใครเมอื่ เขาได้เห็นผลจากหนา้ กระดาษ

ให้พวกเขากล้าท่ีจะเสยี่ ง ส่งเสริมให้ผู้นำในองคก์ รมคี วามกล้าทจี่ ะพยายามและคดิ อะไร
ใหมๆ่ สรา้ งบรรยากาศใหพ้ วกเขารู้สกึ ว่าการกล้าท่จี ะเสย่ี งและการเรียนรู้จากความผิดพลาดเป็นเร่อื ง

41

ปกติ ลองพิจารณาใหม้ ีการมอบรางวลั สำหรบั ผทู้ ี่ได้พยายามทำอะไรใหม่ๆ ผทู้ คี่ ิดไอเดยี ใหมๆ่ และผู้
มีความคิดเชิงนวัตกรรม ไม่มีใครอยากที่จะเสี่ยงกบั การรับความเส่ียง คนที่กล้าจะเส่ียงโดยมากแลว้
เปน็ ผู้ทีพ่ ยายามจะเรยี นรู้ พยายามลงมอื ทำ หรือพยายามทจ่ี ะใหบ้ างส่งิ เราควรสง่ เสริมใหพ้ ฤติกรรม
เหลา่ นีเ้ ป็นพฤตกิ รรมตัวอยา่ งในองค์กร

2. สนบั สนนุ การเรียนรทู้ เ่ี พิม่ มากขน้ึ (Support their Intellectual Growth) กระตนุ้
ให้ผู้นำในองค์กรของคณุ ศึกษาหาความรูเ้ พิ่มขึ้น การเรียนรู้อย่างตอ่ เนือ่ งช่วยในการเพิ่มพูนความรู้
สตปิ ญั ญาและกระต้นุ ใหเ้ กิดทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ สิ่งสำคัญท่แี สดงให้เห็นถึงการพฒั นาสตปิ ญั ญาคือ
ลักษณะการตั้งคำถามและการนำความรู้ใหม่ท่ีได้ไปใช้ในหลายทาง การเรยี นรู้ยังช่วยกระตุน้ ให้เกดิ
ความอยากรู้อยากเห็นและความเข้าใจอันลึกซึ้ง ควรมีการสง่ เสริมให้ผู้นำอ่านหนังสือและบทความ
ตา่ งๆ พร้อมท้งั ช่วยเหลอื ในการทำสรุปสว่ นสำคัญของการอบรมหรอื ชุดความคิดสำหรบั ผู้นำเพอื่ นำไป
ปฏิบัติ ใหผ้ นู้ ำได้มโี อกาสในการทำกิจกรรมเสรมิ ความสามารถเปน็ ทมี หรอื ใหห้ วั เรอ่ื งสำหรับสมาชิก
ในกลุ่มเพอื่ ไปทำการศกึ ษาและมานำเสนอใหค้ นในกลมุ่ ฟัง

3. ส่งเสริมให้มีความคิดสร้างสรรค์ (Encourage them to Embrace Creativity)
ความคิดสร้างสรรคม์ าไดห้ ลายรูปแบบ ไม่ได้จำกัดเฉพาะดา้ นศลิ ปะเทา่ นน้ั แต่ความคดิ สร้างสรรค์คือ
การสร้างจินตนาการให้เกิดขึ้นได้จริง คือการมองสิ่งต่างๆ ในต่างมุมมองเป็นการหาจุดเชื่อมโยง
ระหว่างแนวคิดและการหาทางแก้ปัญหาและการสร้างโอกาส เป็นเรื่องง่ายที่จะเห็นว่าความคิด
สรา้ งสรรค์นัน้ สำคัญกบั นวัตกรรมมาก ความจริงแล้วทุกคนมีศักยภาพในดา้ นความคดิ สร้างสรรค์อยู่
แลว้ แตค่ วามคิดสร้างสรรคข์ องเราอาจจะถกู จำกัดเนื่องจากกลัวว่าผลทอ่ี อกมาจะดูแย่หรือกลัวที่จะ
ถกู วิจารณน์ นั่ เอง

4. กระตุ้นให้ผู้นำพัฒนาระบบนวัตกรรม (Challenge them to Develop an
Innovation System) นวัตกรรมไมส่ ามารถเกิดขึ้นได้ด้วยตวั เอง แต่เกิดจากการมีโครงสรา้ ง ระบบ
นวตั กรรมจำเปน็ ตอ้ งใช้หลักการในการช่วยมองปญั หาอยา่ งทะลุปุโปร่งและตั้งคำถามที่สำคัญไปด้วย
ผนู้ ำแตล่ ะคนมวี ธิ ีการจัดการทแี่ ตกตา่ งกนั เราทกุ คนคดิ ต่างกนั และมีวธิ ีการแกป้ ัญหาจากจากมมุ มอง
แต่ไม่ว่าคุณจะมองจากมุมใดก็ตามจำเปน็ ต้องมองอย่างมีระบบ ระบบนวัตกรรมทีม่ ีคุณภาพจะช่วย
ใหค้ ณุ จดั การความคิดและวธิ ปี ฏิบัติ การนำคนเข้ามาในระบบ และทา้ ยทส่ี ุดกจ็ ะได้เห็นผลลพั ธ์

การจะทำให้องค์กรเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมได้น้ัน สิ่งที่คุณต้องลงทุนไม่ใช่เพยี งด้าน
สินค้า วิธีปฏิบัติการและตำแหน่งทางการตลาดเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการลงทุนในด้านของการ
พฒั นาให้มีผ้นู ำทมี่ คี วามคิดสร้างสรรคแ์ ละการสร้างวฒั นธรรมการพัฒนาองค์กรอยา่ งต่อเนื่องอีกด้วย
การสง่ เสริมในดา้ นดังกล่าวจะสง่ ผลให้พนกั งานทกุ คนได้มสี ่วนร่วมพาทีมและองค์กรไปสู่ความสำเร็จ
ได้เปน็ อยา่ งดี

นวัตกรรมเป็นสิ่งทีผ่ ู้นำทุกคนในองค์กรมีความรับผิดชอบร่วมกนั ไม่สำคัญว่าองค์กร
ของคุณมีฝ่ายนวัตกรรมอยู่แล้วหรอื ไม่ ทุกคนทุกแผนกสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยกันพัฒนา
อตุ สาหกรรมได้ แม้วา่ คณุ ไมไ่ ด้มีหนา้ ท่ีเปน็ ผู้คิดค้นผลติ ภัณฑ์และการบริการใหม่ๆ คุณก็ยังสามารถ
ใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาองค์กรในด้านอื่นได้ ทุกคนควรมีส่วนร่วมในการเข้าประชุมด้าน
นวตั กรรมของทางองคก์ ร

Myllaya (2018) กลา่ วถงึ 5 ขัน้ ตอนในการพัฒนากลยุทธ์ทักษะเชิงนวตั กรรมดงั นี้

42

1. การกำหนดเป้าหมายและกลยุทธใ์ นการเข้าถึงนวัตกรรม (Determine Objectives
and Strategic Approach to Innovation) ขั้นตอนแรกในกระบวนการถ่ายทอดทางเลือกกลยุทธ์
คือการกำหนดเปา้ หมายท่ีแสดงถึงชัยชนะ พดู อกี อย่างคือเปา้ หมายดา้ นนวัตกรรมและเหตผุ ลวา่ ทำไม
ถึงถึงเลอื กสิ่งน้ใี นกลยทุ ธ์เชงิ นวัตกรรมของคณุ

อีกกลยุทธ์หนึ่งกล่าวว่ากระบวนการวางแผนกลยุทธ์เชงิ นวัตกรรมของคุณนั้นเริม่ จาก
การตั้งเป้าหมายก่อนนั่นก็คือ อะไรที่คุณอยากได้มาด้วยนวัตกรรม? ถ้าลองมองย้อนกลับไปเราจะ
คิดถึงเป้าหมายทางธุรกิจในระยะยาวและส่งิ ทผ่ี ลักดนั ให้เปา้ หมายทางธุรกจิ และดา้ นอน่ื ๆ ที่เกย่ี วข้อง
หลังจากผ่านมาแล้ว อย่างที่ได้กล่าวไปแล้วว่ากลยุทธ์เชิงนวัตกรรมของคุณควรที่จะช่วยส่งเสริม
เปา้ หมายทางธรุ กจิ และด้านอ่ืนๆ ท่ีเกย่ี วข้อง ยกตัวอยา่ งกลยทุ ธว์ ธิ ที ดี่ ขี อง Olay ซง่ึ ก็คือ Playing to
Win ซึ่งเป้าหมายที่แสดงถึงชัยชนะของ Olay ก็คือการเป็นแบรนด์ผู้นำด้านครีมบำรุงผิวที่ประสบ
ความสำเร็จอยา่ งมากในแวดวงและช่องทางน้ี นอกจากน้ยี งั มผี ลติ ภัณฑบ์ ำรงุ ผมซง่ึ ชว่ ยสง่ เสริมธุรกิจ
หลักของธุรกิจความงาม Procter & Gamble อีกด้วย มันมีแนวโน้มว่าการที่คุณพยายามเข้าถึง
นวัตกรรมใหม่ๆ จะทำให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งที่แตกต่าง โดยทั่วไปแล้วมีการดำเนินกลยุทธ์ทาง
นวัตกรรมอยู่ 2 ประเภทคอื นวตั กรรมโมเดลธรุ กิจและการเพิม่ ประโยชน์ใหก้ ับธรุ กิจทม่ี อี ยแู่ ลว้

นวัตกรรมโมเดลธุรกิจ คือการพัฒนาแนวคดิ แปลกใหมแ่ ละมีเอกลักษณ์เพื่อสนับสนนุ
การเตบิ โตทางการเงินของบริษทั รวมไปถึงสนัยสนุนภารกิจและวิธีการดำเนินการในการนำแนวคดิ
เหล่านน้ั มาทำใหเ้ กิดผล เปา้ หมายพ้ืนฐานของนวตั กรรมโมเดลธรุ กจิ คอื การสรา้ งรายไดจ้ ากทรพั ยากร
ใหม่ๆ โดยการเพิ่มมูลคา่ สนิ ค้าและวธิ ีการสง่ ตอ่ สินคา้ ไปยังผ้บู รโิ ภค จดุ ประสงค์ของนวัตกรรมโมเดล
ธุรกิจคือการเพิ่มตัวเลือกในด้านตลาดเป้าหมาย ผลิตภัณฑ์หรือบริการและโมเดลใหม่ๆ ในระดับ
ปฏิบัติการโมเดลนั้นจะเน้นไปที่การเพิ่มผลกำไร ความได้เปรียบทางการแขง่ ขันและการเพิ่มมลู คา่
ผลงาน

นวัตกรรมโมเดลธุรกิจคือศิลปะการเพิ่มข้อได้เปรียบและเพิ่มมูลค่าสินค้าโดยการ
กระตุ้น-พร้อมทั้งสนับสนุน-ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านของคุณค่าที่บริษัทส่งมอบให้ลูกค้า
(Value Proposition) และในโมเดลการผลิตท่สี ำคญั ของบริษัท นวัตกรรมโมเดลธรุ กจิ แบบ BCG จะ
ทำได้ต้องอาศัยการทำความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเรื่องของข้อได้เปรยี บทางการแข่งขันของบรษิ ัทคุณ
และโมเดลนี้สามารถเข้าถงึ ได้ 4 ทางตามภาพ

43

(Focus = จุดเนน้ , Impetus = แรงกระตนุ้ , the Reinventors = การนำเสนอใหม่, the
Marvericks = การทวนกระแส,

the Adapters = ตวั ปรบั , the Adventures = การฉวยโอกาส, Transform to the Core = กลาย
มาเป็นแกนหลกั , Expand into Noncore = ขยายไปสู่ Noncore, Defend
การเพิ่มประโยชนใ์ หก้ ับธรุ กจิ ที่มีอยแู่ ลว้
การเพิ่มประโยชน์ให้กับธุรกิจที่มีอยู่แล้วหมายถึงการปรับปรุงพัฒนาและนวัตกรรม

เพิม่ เตมิ /ที่มีอยู่แล้ว ซง่ึ จะตรงข้ามกับนวัตกรรมโมเดลธุรกิจ โดยกลยุทธข์ องการเพมิ่ ประโยชน์โมเดล
ที่มีอยูแ่ ลว้ ก็คือการเนน้ การปรบั ปรุงพัฒนาแกนกลางธุรกิจท่ีมีอยู่แล้วมากกว่าที่จะสร้างโมเดลธุรกิจ
ใหม่ในการเพ่ิมมลู ค่าสนิ คา้

จากการดำเนินกลยุทธ์ทางนวัตกรรมทั้ง 2 ประเภท เราสามารถสร้าง 3 ต้นแบบผู้
เปลย่ี นแปลงไดด้ ังน้ี

44

(Increasing Market Focus= การเพิ่มจุดเน้นทางการตลาด, Increasing Customer
Focus= การเพิ่มจุดเน้นด้านลูกค้า, Increasing Technology Focus=การเพิ่มจุดเน้นทางด้าน
เทคโนโลย)ี

2. รู้จักตลาด ซึ่งก็คือผู้บริโภคและคู่แข่ง (Know your Market: Customers and
Competitors) ขั้นตอนที่สองในกระบวนการถา่ ยทอดทางเลือกกลยุทธ์ก็คือการกำหนดสนามแข่งท่ี
เหมาะสม ซึง่ ก็คอื ตลาดทคี่ ณุ ดำเนินธุรกิจและในส่วนของผบู้ รโิ ภคท่ีคณุ กำลงั นำเสนอสินค้าให้ ในการ
ทจ่ี ะสามารถประบปรุงคุณภาพและตอบสนองความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคน้นั คณุ ควรมกี ารรับฟงั และ
ทำความเข้าใจว่าอะไรคอื สิ่งทีผ่ บู้ รโิ ภคต้องการอยา่ งแท้จรงิ และกไ็ มจ่ ำเปน็ ตอ้ งสนใจอยา่ งอื่น ในการท่ี
จะสามารถทำแบบนน้ั ไดค้ ุณจำเปน็ ตอ้ งร้วู ่าเกดิ อะไรข้นึ ในตลาดบ้าง

อย่างไรกด็ ี เนือ่ งจากความต้องการในการแขง่ ขนั เป็นเร่ืองส่วนบคุ คลและค่อนข้างเฉพาะตัว
คุณไม่ควรลอกเลียนแบบกลยุทธ์ของผู้อื่นที่ประสบความสำเร็จมาแล้ว แต่ควรที่จะเรียนรู้จากมัน
มากกว่า แม้ว่าการเลือกสนามแข่งของคุณจะเปน็ เร่ืองที่สำคัญแต่คุณค่าอันเป็นเอกลักษณ์ท่ีคุณสง่
มอบให้ลูกคา้ (value proposition) จะชว่ ยสร้างหรอื ทำใหค้ ณุ มกี ลยุทธข์ องตวั เอง

3. กำหนดคุณคา่ ท่ีคุณส่งมอบใหล้ ูกคา้ (Value Proposition) ขัน้ ตอนต่อไปหรือจะเรียกได้
ว่าเป็นขั้นตอนทีส่ ำคัญที่สดุ คือการกำหนดคุณค่าอันเป็นเอกลักษณ์ที่จะส่งมอบให้กับลูกค้า (value
proposition) คุณจะทำให้สำเร็จได้อย่างไร? นวัตกรรมแบบไหนจะช่วยให้บริษัทค้นพบคุณค่าและ
ได้เปรียบทางการแขง่ ขนั

เนื่องจากจดุ ประสงคข์ องนวัตกรรมคือการสรา้ งข้อได้เปรียบทางการแข่งขนั คณุ ควรเนน้ เรื่อง
การสร้างมูลค่าที่ทั้งช่วยให้ผู้บริโภคประหยัดคา่ ใช้จา่ ยและประหยัดเวลา หรือทำให้ผู้บริโภคมีความ
เต็มใจทีจ่ ะจ่ายเงินเพิ่มใหก้ ับสนิ คา้ ของคุณ ให้กำไรสังคมในวงกวา้ ง และช่วยใหผ้ ลิตภัณฑข์ องคณุ มี
คณุ ภาพท่ดี ีขน้ึ ใช้งานง่าย หรือมีความทนทานและมีราคาทีเ่ อ้ือมถงึ ไดเ้ มอื่ เทียบกับผลิตภัณฑ์ตัวก่อน
หนา้ และผลติ ภณั ฑอ์ ่ืนๆ ในทอ้ งตลาด

45

ในการท่ีจะสามารถสร้างคุณคา่ ที่ส่งมอบให้ลูกค้า (value proposition) ควรมีการหาตลาด
และกอบโกยผลประโยชน์จากตลาดที่มีการแข่งขันน้อย คุณสามารถประสบความสำเร็จได้โดยใช้
นวัตกรรมเชิงคุณคา่

นวัตกรรมเชิงคุณคา่ (Value Innovation) เปน็ สิง่ แรกท่ีบทความของ HBR ไดน้ ำเสนอ มชี ่อื
ว่ากลยุทธทะเลสีคราม (Blue Ocean Strategy) ซึ่งหลังจากนั้นได้กลายมาเป็นชื่อของหนังสือ
คลาสสิคเลม่ หนึ่ง

จุดประสงค์ของนวัตกรรมเชิงคณุ ค่าคอื การไดเ้ ปรยี บทางการแขง่ ขนั ที่มั่นคง โดยการมองการ
ไกลผา่ นความเขา้ ใจในปัจจบุ นั เรอ่ื งของอตุ สาหกรรมและการปรับปรงุ คุณค่าท่ีส่งมอบให้ลกู คา้ (value
proposition) ในการเพม่ิ ความโดดเด่นกวา่ คู่แข่งอ่นื ๆ ใหก้ บั บรษิ ัท

การรักษาความได้เปรยี บทางการแข่งขันใหมน่ ีส้ ามารถทำไดโ้ ดยการทำใหเ้ กิดการแข่งขนั ที่
แตกตา่ ง ซึ่งกไ็ ดม้ กี ารพูดถึงส่ิงนใี้ นกลยุทธ์ Blue Ocean เช่นกัน ในการทำให้สำเร็จนนั้ องคก์ รจะตอ้ ง
ปรับปรงุ คุณภาพของสินคา้ หรอื บรกิ ารทีม่ ีอยูแ่ ล้วให้เกิดความแตกตา่ งและมีราคาทถ่ี กู กว่า บ่อยคร้ังที่
หลายๆ บรษิ ัทเลียนแบบค่แู ข่งโดยการนำเสนอผลิตภณั ฑแ์ ละบรกิ ารทไ่ี ด้นำไปปรับปรงุ คณุ ภาพพร้อม
ท้ังปรับลดราคาเพอื่ ให้สูสกี ับคูแ่ ข่ง เน่อื งจากคแู่ ข่งและบรษิ ัทเลียนแบบมกั จะตีตลาดกนั อยา่ งรวดเรว็
จดุ ขายและกำไรทมี่ อบใหก้ ับลูกค้าจะตอ้ งมคี วามโดดเด่นมาก

สง่ิ นีจ้ ะชว่ ยใหโ้ มเดลธุรกิจของคณุ ถูกเลยี นแบบได้ยากและเป็นโอกาสท่ีดีทีส่ ุดของคุณในการ
ว่ายวนในทะเลสีคราม (Blue Ocean Strategy)

ในการเข้าถึงนวัตกรรมเชิงคุณค่า คุณต้องพยายามระบุให้ได้ว่าความคิดจากฝั่งลูกค้า
(customer segments) อะไรที่คู่แข่งของคุณกำลังมุ่งเน้น และความคิดจากฝั่งลูกค้า (customer
segments) อันไหนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ของคุณบ้าง เป็นไปได้หรือไม่ที่คุณจะปรับปรุง
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่คุณมีอยู่แล้วให้แตกต่างจากของคู่แข่งในด้านตลาดหรือความต้องการของ
ลูกค้าทีส่ ร้างความกดดนั อย่างสงู

4. เข้าถึงและพัฒนาแก่นความสามารถหลัก (Assess and Develop your Core
Capabilities) หลกั กระบวนการถ่ายทอดทางเลือกกลยุทธท์ ั้ง 3 ขน้ั ตอนแรกน้นั ขึน้ อยกู่ ับสง่ิ หนึ่ง นั่น
คือความสามารถพนื้ ฐานท่คี ณุ จำเป็นตอ้ งมีเพอื่ ไปสคู่ วามสำเร็จ

เมือ่ ได้กำหนดชดุ ความสามารถท่ตี อ้ งจดั ระเบียบแลว้ นั้น ให้พจิ ารณาหวั ข้อต่อไปนี้
- วฒั นธรรม (Culture)
- การวิจัยและพัฒนา (R&D)
- พฤตกิ รรมต่างๆ (Behaviors)
- คุณค่าต่างๆ (Values)
- ความรู้ (Knowledge)
- ทักษะ (Skills)
5. จัดตั้งเทคนิคและระบบนวัตกรรม (Establish your Innovation Techniques and
Systems) เรือ่ งสดุ ท้ายแตไ่ ม่ท้ายสดุ การท่จี ะสามารถดำเนินการด้านกลยุทธ์นวตั กรรมด้วยวิธีการที่
สามารถปรับและผสมผสานไดน้ ้นั คุณควรหาใหเ้ จอวา่ ระบบใดทีค่ วรนำมาจดั การใหเ้ หมาะสมการให้
นิยาม: เทคนคิ และระบบนวตั กรรมแบบไหนที่เราจำเป็นต้องนำมาใช้ในการเชอ่ื มโยงโครงสรา้ งพน้ื ฐาน

46

องค์ประกอบนวัตกรรมเข้าด้วยกนั ? อะไรคือระบบที่สำคัญที่สุดในการสนับสนุนและช่วยเหลือด้าน
การประเมินผลของกลยุทธ์ด้านนวัตกรรมของเราได้บ้าง?จากงานวิจัยในปัจจุบัน Christopher
Freeman ได้ให้นิยามระบบของนวตั กรรมว่า”เครือข่างขององคก์ รภาครัฐและเอกชนผู้ซึ่งมีธรุ กรรม
และผู้รเิ ริ่มการรปฏิสัมพันธใ์ นการนำเขา้ ปรบั เปล่ียน ละการกระจายเทคโนโลย”ี

Francisco (2018) ได้กล่าวถึงวิธีการพัฒนาทักษะด้านนวัตกรรมการพัฒนาทักษะด้าน
นวัตกรรมเริ่มจากการเรียนรู้กระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (Creative Problem Solving:
CPS) CPS เป็นวิธีทีพ่ สิ ูจน์แล้วเพือ่ ใช้ในการแกป้ ัญหาหรือนำไปสู่การแขง่ ขันในดา้ นจินตนาการและ
ด้านนวัตกรรม โดยธรรมชาติแล้วกระบวนการ CPS ช่วยสร้างไอเดียและตัวเลือกที่สร้างสรรค์
หมายถึงท้งั สองอย่างเปน็ ส่งิ ทีใ่ หมแ่ ละมคี ุณคา่ ซ่งึ จะช่วยให้เกดิ แนวคดิ ทกี่ ระจ่างและการลงมอื ปฏิบัติ
เพ่อื การเผชิญความท้าทายท่ีคุณต้องเจอ

กระบวนการ CPS ได้แรงบันดาลใจมาจากความต้องการทางธุรกิจในการช่วยให้ผู้คนคดิ
อย่างสร้างสรรคแ์ ละกอ่ ใหเ้ กดิ ผล และถูกพฒั นามาจากงานวิจยั ทางวิชาการ การพัฒนาในครั้งน้ีต้อง
ยกความดีความชอบใหก้ ับ Alex Osborn ในชว่ งทศวรรษของปี 1940 และแก่ผวู้ จิ ยั ร่วมของเขาซ่ึงก็
คือ Dr. Sydney Parnes ในช่วงทศวรรษของปี1950 จนบัดนี้กว่า 60 ปีของงานวิจยั CPS ได้รับการ
พสิ ูจน์แลว้ ว่าชว่ ยพฒั นายกระดับการคิดเชิงสร้างสรรคแ์ ละพฤติกรรมของผู้เรียนรแู้ ต่ละคนในการนำ
กระบวนการนีไ้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นสถานการณ์การทำงานจรงิ

สำหรับใจความสำคญั CPS ใหข้ อบข่ายงานซึ่งจะทำใหเ้ ราสามารถเหน็ ภาพและเข้าใจความ
แปลกใหม่ ช่วยในการสร้างไอเดียในการแก้ปัญหาแล้วพัฒนาไอเดียนั้นไปสู่หนทางการแก้ปัญหาที่
ใช้ได้จริง เครื่องมือและเทคนิคในด้านการคิดเชิงวิเคราะห์และสร้างสรรค์เป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการนี้ในการช่วยคุณจัดการความคิด แลกเปลี่ยนไอเดยี กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ช่วยจัดการความยุง่ ยากและความเสี่ยงอกี ด้วย การนำกระบวนการ CPS มใี ชน้ น้ั เป็นการสรา้ งโอกาสที่
ดีในการติดตามพัฒนาการส่วนบุคคลและของทีมในการกำหนดแนวคิดที่ต้องการ และในการ
ตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิ

ในการสง่ เสรมิ ผลกั ดนั ความแปลกใหมแ่ ละประโยชน์ผา่ นกระบวนการ CPS สมาชิกต้อง
ไตร่ตรองอย่างเข้าใจในการเลือกระหว่างการคิด 2 แบบได้แก่แนวคิดแบบ divergent และแนวคิด
แบบ convergent สำหรับแนวคิดแบบ divergent นั้นจะเกี่ยวกับการค้นหารายการตัวเลือกที่
หลากหลายแตกต่างและแปลกใหม่ ส่วนแนวคิดแบบ convergent นั้นจะเกี่ยวข้องกับการตัดสนิ ใจ
เลือก ซึ่งจะมาทีหลังแนวคิดแบบ divergent และจะมอบกลไกในการมองหา คัดกรอง เลือกสรร
จดั ลำดบั และพัฒนาตัวเลอื กตา่ งๆ ที่มีความเปน็ ไปได้

กระบวนการ CPS ทำใหก้ ารคาดการณค์ รา่ วๆ ไมจ่ ำเปน็ อีกต่อไปในการรับมือกับปัญหา
เพรากระบวนการนี้จะนำคุณไปสู่แนวคิดที่ต้องการซึ่งสนับสนุนด้วยกติกา (ใช่ กติกา) และบทบาท
หนา้ ท่ี CPS เปน็ กระบวนการที่มีความยดื หยุ่นและชดั เจน ขณะเดียวกนั กส็ ามารถที่จะถูกนำไปใช้ใน
การจดั การปญั หาและรบั มือกบั สถานการณต์ ่างๆ ในชวี ิตได้ เชน่ ท่ีบา้ น ท่ีทำงาน หรือทโ่ี รงเรียนและ
สถานที่อื่นๆ แต่ละคนและแตล่ ะองคก์ รสามารถใช้กระบวนการนี้ในการช่วยส่งเสริมพฤตกิ รรมการมี
ความคิดสร้างสรรค์ ช่วยพัฒนาเพิ่มพูนให้แต่ละคนมีความคิดสร้างสรรค์และสามารถช่วยให้การ
ทำงานเป็นทีมงา่ ยขึ้นอีกด้วย และกระบวนการนยี้ ังใชไ้ ด้ดกี ับสถานการณห์ ลายอย่างท่คี ุณกำลังเผชิญ

47

อยู่คนเดียวหรือสถานการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อผู้ถือประโยชน์ร่วม ซึ่งการทำข้อตกลงและการมีส่วน
ร่วมนช้ี ่วยให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า

กระบวนการ CPS ช่วยให้คุณจัดการปัญหาความยุ่งยาก รับมือกับความไม่แน่นอนและ
การตอบสนองต่อความเปล่ียนแปลง กระบวนการนี้ช่วยได้มากหากว่าคณุ กำลังเผชิญสถานการณ์ที่
ใหม่ ในสถานที่ใหมๆ่ และมตี ัวเลอื กมากมายทตี่ ้องพจิ ารณา กบั ความรสู้ กึ สับสนและยากลำบาก และ
เกิดความสงสัยว่า”แลว้ ฉันจะจดั การกบั ปญั หาพวกน้ีไดอ้ ยา่ งไร?” ปัญหาเหลา่ น้มี กั ถกู เรียกว่าปัญหา
พยศ (wicked problems) ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยดงั ตอ่ ไปน้ี

- ไมม่ วี ธิ ีการแกป้ ญั หา No Single Solution to Drive for

- เป็นสถานการณ์ใหมห่ รือเปล่ยี นแปลงและไมช่ ดั เจนตามธรรมชาติ

- ผลลัพธ์ที่ไมแ่ นน่ อน

- ปัจจัยหลายอยา่ งที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

- ข้อมลู ทีไ่ มค่ รบถ้วนหรอื ยากทจ่ี ะเข้าใจการเก่ยี วข้อง
ขอ้ ดีของกระบวนการ CPS ในการพัฒนาทักษะดา้ นนวตั กรรม
เรามีสิทธิพิเศษในการช่วยเหลือองค์กรต่างๆทั่วโลกในการสร้างทักษะและวัฒนธรรม
นวัตกรรมโดยเรียนรู้วิธีการใช้ CPS กับความท้าทายด้านนวัตกรรมในโลกแห่งความจริง - ความท้า
ทาย VUCA – และความคิดรเิ รม่ิ การเปลยี่ นแปลงองคก์ ร
ดา้ นลา่ งเปน็ ตัวอยา่ งของวิธีที่ CPS ชว่ ยในการสรา้ งทักษะดา้ นนวตั กรรม
ความคิดสร้างสรรค์ การแกป้ ัญหา และการพัฒนาทักษะอยา่ งต่อเนอื่ ง หลกั การสำคญั ในเรอื่ ง
ของการแก้ไขปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรคน์ น่ั กค็ ือความเชือ่ ท่ีว่ามนษุ ย์ทุกคนมคี วามคิดสร้างสรรค์ในตัวเอง
ความคิดสร้างสรรค์นั้นสามารถฝึกสอน พัฒนาด้วยการฝึกฝนได้ ซึ่งเรื่องนี้ก็สามารถยืนยันได้จาก
งานวิจัยทีผ่ ่านๆมา ซงึ่ นน่ั กห็ มายความว่าวธิ กี ารสำหรบั การพฒั นาประสทิ ธิภาพในการพฒั นาและเพม่ิ
ประสทิ ธิภาพของนวัตกรรมและการแกป้ ัญหานี้สามารถใช้ไดก้ บั ทุกคน การแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์
ช่วยใหผ้ ู้คนเข้าใจวา่ ความคิดสร้างสรรคก์ บั ทัศนคติที่เรามคี ือสง่ิ เดยี วกัน รวมถึงความเช่ือท่ีมีและวิธีที่
เราคดิ การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์นั้นให้ความสำคัญกบั ความเชอื่ ท่วี ่าสงิ่ นนั้ เปน็ ไปได้ เช่ือว่าปัญหา
ท่เี รากำลงั เผชญิ นน้ั มหี นทางในการแกไ้ ขได้แม้ว่าปัญหานั้นจะซับซ้อนหรือมีความไม่ชัดเจนเพียงใดก็
ตาม โดยปกติเมือ่ เราเจอปัญหา สิ่งที่เกิดข้ึนนั้นมักจะไมใ่ ช่สิง่ ที่เป็นปัญหาจริงๆ การแก้ปญั หาอย่าง
สร้างสรรค์จะสอนให้เรามองปญั หาเป็นความทา้ ทายและมหี ลายๆมุมมอง โดยใชว้ ธิ กี ารเปล่ียนวิธีคิด
ของเราโดยอาจจะลองสรา้ งคำถามที่ทา้ ทายเกย่ี วกับปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ วิธนี ี้สอนให้รจู้ กั ความจำเป็นของ
การสรา้ งสมมตุ ิฐานทมี่ คี วามท้าทายแตย่ งั อยู่บนพ้นื ฐานของปัญหาทเ่ี ผชิญ ความสำคญั ของการเปลยี่ น
ความคิดจากวิธีการคิดที่สร้างสรรค์มาเป็นวิธีการคิดแบบคิดหาข้อสรุปนั้นสามารถทำให้ความคิด
สร้างสรรคเ์ กิดขึน้ มาได้ น่นั ทำให้เกดิ สงิ่ ใหมๆ่ จากการเชื่อมโยงทน่ี ่าอศั จรรย์

แนวทางปฏบิ ัตทิ ด่ี ีของการคดิ แบบสร้างสรรค์และการคดิ แบบหาขอ้ สรุปนน้ั จะชว่ ยใหเ้ รามี
ความมั่นใจท่ีสรา้ งความคิดและประเมินแนวทางการแก้ปัญหาทีเ่ ป็นข้ันตอน สำหรับเรื่องน้ี เรอ่มตน้
จากการใหค้ วามสำคญั กบั ความคดิ มองหาความคดิ ทดี่ ี หาทางสร้างและพัฒนาความคดิ ของผู้อ่ืน ส่ิง
เหล่านี้ถือเป็นการสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั้งยืนและอาจจะก้าวไปถึงการสร้างนวัตกรรมที่ก้าว
กระโดดได้

48

สร้างทักษะการเผชิญความเสี่ยงและการประเมินความเสี่ยง การประยุกต์ใช้วิธีการ
แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ช่วยให้บริหารความเสี่ยงที่มีอยู่แล้วสำหรับการใช้นวัตกรรม การใช้
หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจจะช่วยยกระดับสติปัญญารวมถึงการจัดการความเสี่ยงที่เป็นระบบได้
เกณฑท์ ว่ี า่ นน้ั จะช่วยเชือ่ มโยงข้อจำกดั และขอบเขตของเราวา่ จะรบั ความเส่ยี งได้มากแคไ่ หน และเปน็
วิธีการในการจัดวางค่านิยมจริยธรรมและลำดบั ความสำคัญเชิงกลยุทธใ์ นองค์กร เมื่อเราไดข้ อบเขต
ความเสี่ยงมาแล้ว การตัดสินใจรับความเสี่ยงที่อยู่นอกขอบเขตนี้จึงเป็นเรื่องโง่เขลา การท้าทาย
สมมตฐิ านเรื่องความเส่ียงช่วยสรา้ งความเปน็ ไปได้ใหมๆ่ ใหเ้ กดิ ข้ึน แม้วา่ จะมคี วามเสี่ยงอยู่แต่ก็ยังอยู่
ภายใต้ข้อจำกัดและไม่มีความเสี่ยงที่อันตราย ดังนั้นกลไกการพัฒนาความคิดและการค้นหาความ
เสยี่ งที่ดีจึงเกดิ ข้นึ เคร่อื งมือแก้ปญั หามากมายถกู พัฒนาขึน้ เพื่อเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการแก้ปัญหาผ่าน
การวิเคราะห์เชิงบวกและการวิเคราะห์ข้อผิดพลาด โดยใช้เกณฑ์วัดในการประเมินผล รวมถึง
เคร่ืองมือประเมินความเส่ียงและเคร่อื งมือจดั ลำดบั ความสำคญั หนง่ึ ในประโยชน์ท่ียิ่งใหญ่ที่สุดของ
การแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์คอื การเรยี นรทู้ จ่ี ะมัน่ ใจในการตัดสนิ ใจเมอ่ื ตดั สินใจทา่ มกลางความเสย่ี ง
น่นั เพราะวา่ ผตู้ ดั สนิ ใจร้ดู ถี งึ ประสิทธิภาพของกระบวนการแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ น่ันรวมถึงความ
นา่ เชื่อถอื ของตัวเลอื กและเกณฑก์ ารวัดผลกม็ ปี ระสทิ ธิภาพดว้ ย

การเสริมทักษะการสร้างความสัมพันธ์และการสื่อสาร การใช้วิธีการแก้ปัญหาอย่าง
สรา้ งสรรคช์ ่วยสรา้ งพลังและแปรเปลีย่ นความสัมพันธ์และช่วยในการสื่อสารในกลุ่มงานภายในองค์กร
หรือทีมของคณุ รวมไปถึงผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสียท่อี ยูภ่ ายนอกองคก์ รอีกด้วย วธิ นี มี้ ีกลไกสำหรับการช่วย
เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการทำงาน มคี วามเชอื่ มโยงกนั อย่างนา่ ทึง่ ทัง้ ยังชว่ ยใหผ้ ้คู นมคี วามสัมพันธ์ที่ดีและ
การส่อื สารที่ดตี ่อกัน อันเกดิ มาจากการสรา้ งนวตั กรรมร่วมกนั การเคารพความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
แม้ว่าเราจะมคี วามเห็นทีต่ ่างกันแต่ก็มีเป้าหมายเดยี วกันคือการแก้ปญั หา การมีแนวปฏบิ ตั ิทเ่ี รียบง่าย
มีการปฏิบัติเป็นนิสัย ชัดเจน ช่วยให้เรารู้ว่าแนวคิดใดที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสำหรับการ
แกป้ ญั หา

การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย สมาชิกในกลุ่ม และผู้ตัดสินใจในกระบวนการสร้าง
นวัตกรรมทำได้งา่ ยและมปี ระสิทธิภาพเม่ือใช้แนวทางการแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ นั่นเป็นเพราะ
แนวทางน้มี ีแนวคิดของกระบวนการหาความคิดและกระบวนการวิเคราะห์หาขอ้ สรปุ ในทุกๆขั้นตอน
รวมถึงการใชง้ านในทุกๆสถานการณ์ด้วย เมื่อเร่ิมใชว้ ิธกี ารแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ เราจะตอ้ งทราบ
วา่ ใครเป็นผู้รบั ผิดชอบปัญหาน้นั และใครเปน็ ผู้ถอื ทรัพยากรในการแกไ้ ขปัญหาน้นั ใครเป็นผู้ควบคุม
กระบวนการในการแกไ้ ขปญั หา รวมถึงใครเป็นผนู้ ำในการแกไ้ ขปญั หาในแตล่ ะขัน้ ตอน โดยปกติแล้ว
เหล่าผบู้ รหิ ารและผ้ถู ือทรพั ยากรขององค์กรจะมสี ่วนร่วมในขั้นตอนการระดมสมองของแตล่ ะขั้นตอน
โดยต้องมั่นใจว่าเราได้ความคิดเห็นครบทุกอย่างอยู่ในมือในขั้นตอนแรก ต่อมาคือการให้ผู้บริหาร
ทรัพยากรและผู้รับผิดชอบปัญหามาร่วมหาขอ้ สรปุ ของแต่ละตัวเลือกเพื่อตัดสินใจ รวมถึงความคิด
ที่ว่าจะทำอย่างไรท่จี ะสร้างพลงั ในการคิดสำหรบั ข้นั ตอนการระดมสมอง เพอ่ื ให้ก้าวไปถงึ การตัดสนิ ใจ
ในข้นั ตอนตอ่ ไปในความเปน็ จริงน้ัน ผ้รู ่วมงานเราในองค์กรหลายคนมคี วามสัมพนั ธ์และการส่อื สารทด่ี ี
หลายคน เพราะเราได้พฒั นาและปลกู ฝังรปู แบบของการแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรคล์ งในกระบวนการ
ระดมสมองและกระบวนการหาขอ้ สรปุ ลงในตัวพวกเขาแล้ว

49

การเสริมทักษะการปฏิบัติ ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การเสริมทักษะในทางปฏิบัติ
พฒั นาได้โดยการปฏบิ ตั ิจรงิ ทำใหผ้ ู้ปฏิบัตมิ องเห็นวา่ สงิ่ ใดเป็นผชู้ ่วยและสิง่ ใดเป็นอุปสรรคในแผนงาน
ในการปฏบิ ัติเราตอ้ งสรา้ งแผนทเ่ี ป็นไปได้ ประเมินผลการทำงานให้กับผ้มู ีส่วนไดเ้ สีย และประเมนิ ผล
การทำงานจากตัวชีว้ ัดทีว่ ดั คา่ ไดจ้ รงิ แบบรวดเร็วและมีความถกู ต้อง

Hengsberger (2018) กล่าวถึงวิธีในการสร้างวัฒนธรรมแห่งการก่อเกิดนวัตกรรม ว่า
การสร้างวัฒนธรรมแห่งการก่อเกดิ นวัตกรรม เรอื่ งน้เี ป็นเรือ่ งท่งี า่ ยเพราะกระบวนการสรา้ งวฒั นธรรม
นี้ไม่ได้ต้องการทรัพยากรอะไรมากมายรวมถึงไม่ได้ตอ้ งการการเปลี่ยนแปลงทีย่ ิง่ ใหญ่ภายในองค์กร
เหนือสงิ่ อื่นใดวัฒนธรรมนตี้ อ้ งการคำมัน่ สญั ญาด้านการจัดการและความมงุ่ มน่ั ของผู้ท่ีรับผิดชอบต่อ
นวตั กรรม ผมู้ ีส่วนรว่ มในการสร้างนวัตกรรมต้องดำเนินการเพียงเล็กน้อยและตอ้ งมีทัศนคติเชิงบวก
ต่อวัฒนธรรมการสร้างนวตั กรรม

1. การสื่อสารกลยุทธ์ของนวัตกรรม (Communication of the Innovation
Strategy) กลยุทธนวัตกรรมจะเป็นตัวกำหนดเงื่อนไขและขอบเขตของงาน โดยความคาดหวงั และ
เป้าหมายของนวตั กรรมจะต้องชัดเจนและพนักงานในองค์กรณ์ก็จะต้องรถู้ งึ เป้าหมายนั้นด้วย ดังนั้น
ข้นั ตอนแรกคือต้องสอ่ื สารกลยุทธของนวตั กรรมนน้ั ผ่านพนกั งานทุกๆระดับขององค์กร โดยใช้วิธีการ
อย่างเชน่ การกระจายขอ้ มลู ไปสทู่ ุกๆระดบั ในองค์กร

2. การฝกึ อบรมของพนักงานปฏบิ ตั ิการในแต่ละระดับ (Cascade Workshops for
Active Employee Involvement) การสื่อสารของกลยุทธนวัตกรรมสร้างความตระหนักแต่นัน่
เปน็ การส่อื สารทางเดียว แต่สง่ิ สำคัญคือการพดู คุยระหวา่ งผ้เู กี่ยวข้องกับเร่ืองนี้

โดยกระบวนการดงั กลา่ วปฏบิ ตั ิผ่านการฝกึ นวัตกรรมการปฏิบัตติ ง้ั แต่ระดับบริหาร
ลงมาถึงระดบั ปฏิบตั ิการไลล่ งมาเร่ือยๆ ผปู้ ฏิบตั ใิ นระดับผ้จู ัดการจะเลอื กพนักงานในระดับปฏิบตั กิ าร
มาร่วมกระบวนการ

- นวตั กรรมมีความหมายตอ่ งานพวกเขาอย่างไร

- บทบาทของพวกเขาในกระบวนการของนวัตกรรม และสิ่งที่พวกเขามีส่วนร่วมใน
ความสำเรจ็ ของนวตั กรรม

ในกรณีทที่ ำสำเรจ็ ผลของการมสี ว่ นรว่ มและแผนการปฏบิ ัตจิ ะสง่ ผลถึงการทำงานของพวก
เขา

3. หลักสูตรการสร้างนวัตกรรม (Innovation Crash Courses) ทุกคนพูดถึง
นวัตกรรม แต่บ่อยคร้ังท่ีพนักงานบริษัทไม่สามารถอธิบายความหมายของมันได้ รวมถึงความสำคญั
สำหรับพวกเขาและสิ่งที่พวกเขาสามารถไปร่วมได้ การเป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ แล้วผู้สร้าง
นวัตกรรมจำเป็นต้องมีข้อมูลและทักษะเฉพาะ มีหลายหลักสูตรที่สามารถอบรมเพื่อเป็นผู้สร้าง
นวัตกรรมได้ อกี ทง้ั ยงั สามารถปรบั ให้เขา้ กบั องค์กรได้อีกดว้ ยยกตัวอย่างเช่น เน้อื หาเกย่ี วกับพนกั งาน
ฝ่ายผลิตจะมีความแตกต่างจากเนื้อหาการอบรมของฝ่ายการตลาด เนื้อหาที่เกี่ยวกับการอบรมมี
ตวั อยา่ งดงั น้ี

- คำจำกดั ความของนวัตกรรม
- การสร้างความคิดสร้างสรรค์
- การเสนอความคิด สถานที่ในการเสนอความคิด

50

- กระบวนการของนวัตกรรม – เกิดอะไรขึ้นกับความคดิ และสิ่งทีค่ ุณสามารถมีส่วนร่วมได้
ดว้ ยตนเอง

- เทคนคิ การสรา้ งความคิดสร้างสรรค์
หลกั สตู รเหลา่ นี้ควรมรี ะยะเวลาประมาณ 1-3 ชว่ั โมงและทำให้ผคู้ นมสี ่วนรว่ มมากทส่ี ุดเทา่ ท่ี
จะมากได้

4. วันนวัตกรรม (Innovation Days) วันนวัตกรรมประจำปีสามารถทำให้คำว่า
นวัตกรรมมีความสนใจขึ้นมาได้ พนักงานทุกคนควรมีส่วนร่วม เนื้อหาที่เป็นไปได้สำหรับเรื่องนี้มี
ดังตอ่ ไปน:้ี

- การนำเสนอนวัตกรรมล่าสุด
- คำพูดของคณะกรรมการบริหารเกยี่ วกับนวัตกรรม
- เปิดโอกาสใหท้ ุกคนพดู ถงึ นวตั กรรม
- งานแขง่ ขนั ระดมความคดิ
- สร้างการมีส่วนรว่ มและฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารคิด
- กิจกรรมความรู้เกี่ยวกบั นวตั กรรม กระบวนการสร้างนวัตกรรม วิธกี ารสรา้ งนวัตกรรม
- พิธมี อบรางวัลสำหรบั นวัตกรรม
วันนวัตกรรมสามารถเกดิ ขึ้นได้ผา่ นทางออนไลน์ เหนือสิ่งอ่ืนใดคำแนะนำสำหรบั บริษัท คือ
ในการทำงานจริงน้ันไม่สามารถพาพนักงานทุกคนมารวมกันในสถานที่เดียวได้ แต่ไม่ว่าจะออฟไลน์
หรือออนไลน์การมองเห็นปัจจัยแห่งความสำเร็จของผูบ้ ริหารระดับสงู เป็นปจั จัยความสำเรจ็ ท่สี ำคญั
มาก

5. การปฏิบัติจริงของการสร้างความคิดสร้างสรรค์ (Creativity Workshops)
นอกเหนอื จากการให้ข้อมลู และสรา้ งความตระหนักในนวตั กรรมแลว้ ใหพ้ นกั งานมีส่วนรว่ มโดยตรงใน
กระบวนการนวตั กรรมในรูปแบบของการประชุมเชิงปฏิบัติการความคิดสร้างสรรค์ มีทีมงานทำงาน
ร่วมกันในทุกๆขั้นตอนของงานในการสร้างนวัตกรรม มีการสร้างคำถามและพัฒนาความคิดใหม่ๆ
และวิธีการแก้ปัญหา หากการประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการมีการจดั การอย่างดแี ละหัวข้อน่าสนใจจะมีการ
สร้างแรงดึงดูดอันยิ่งใหญ่ ผู้คนที่เข้าร่วมจะได้รับแรงบันดาลใจและขับเคลื่อนให้เกิดนวัตกรรม สิ่ง
สำคัญมากคือความคิดจะไมถ่ กู เกบ็ ล้นิ ชกั แต่มีการสรา้ งผลเชิงบวกไมเ่ ชน่ น้ันความมุ่งมนั่ ทกุ อยา่ งก็จะ
ไม่มีประโยชน์

6. การแข่งขันนำเสนอความคิด (Pitching Contests) การแข่งขันจะกระตุ้นให้
พนักงานนั้นพัฒนาความคิด แล้วนำเสนอความคดิ น้ันต่อหน้าผู้จัดการ รวมถึงมกี ารฝึกซ้อมล่วงหนา้
เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลลัพธท์ ีด่ ที ่สี ุดในการนำเสนอ

ผตู้ ดั สนิ ก็คอื ผู้จดั การท่ที ำงานในองค์กรรวมถึงผ้เู ช่ยี วชาญจากภายนอกองค์กร อยา่ งไรก็ตาม
ผู้ชนะสามารถเลือกได้โดยการโหวตของพนักงาน ความคิดที่ดีที่สุดจะได้รับรางวัลและสามารถนำ
ความคิดนนั้ มาดำเนนิ การต่อไปได้

การแข่งขันนำเสนอความคิดนั้นมีข้อดีหลายประการ เช่นการสร้างความมุ่งมั่นในการ
บริหารงาน เห็นประสิทธิภาพของสื่อภายในองค์กร ความคิดเห็นได้รับการพิจารณาและพัฒนา
พนักงานมีความสนุกสนาน และมีการพัฒนาความคิดท่ยี อดเยย่ี ม

51

7. รางวัลแห่งนวัตกรรม (Innovation Awards) การจัดแข่งขันนวัตกรรม ไม่ว่าจะ
เป็นในการแขง่ ขนั ระดบั การนำเสนองานหรอื ความคิดด้านนวัตกรรม จะมีการมอบรางวลั ทง้ั ระดบั ทีม
หรอื ระดับโครงการ รางวลั น้ันจะสร้างแรงบนั ดาลใจและดงึ ดูดความสนใจ เหนือส่งิ อนื่ ใดไม่ใช่เพราะ
ของรางวลั แตเ่ ปน็ เพราะการมชี ือ่ เสยี งในระดบั สาธารณชนคือสิ่งท่ีพนกั งานไดร้ ับจากบริษัท ดังน้ันจึง
กลา่ วได้ว่าการใหร้ างวลั ยงั ชว่ ยกระตนุ้ การคดิ ของพนักงานใหส้ ร้างนวัตกรรมอีกดว้ ย

8. การลงทุนร่วมกัน (Corporate Venturing) จากการแข่งขันนำเสนอความคิด
สร้างสรรค์ในบริษัท พนักงานสามารถมสี ่วนรว่ มในความคิดเกี่ยวกับธุรกิจของเขา เมื่อกล่าวถึงการ
ลงทุนในความคิด พนักงานจะได้รับเงินในลักษณะของเงินทุนและระยะเวลาการดำเนินงาน การ
สนับสนุนดังกล่าวจะมาจากผู้บริหาร ผู้เชี่ยวชาญ ทำให้พวกเขาสามารถติดตามแนวคิดทางธุรกิจ
ภายในบริษัทไดใ้ นขั้นต้น หากแผนธุรกจิ ของเขาเป็นไปได้ด้วยดี พนักงานคนนัน้ จะออกจากฝ่ายของ
ตนเองแล้วสร้างหน่วยธุรกิจขึ้นภายในบรษิ ทั

9. เวลาทำงานในการสร้างนวัตกรรม (Working Time for Innovation) 3M และ
Google เป็นหนึ่งใน บริษัท ที่มีนวัตกรรมมากทีส่ ุด เราทราบขอ้ มูลว่าพนกั งานทุกคนใช้เวลาทำงาน
ประมาณ 20 เปอรเ์ ซน็ ตใ์ นการสรา้ งนวตั กรรมและทำความคิดสรา้ งสรรค์ของพวกเขาใหก้ ลายเปน็ จรงิ
จำนวนดังกล่าวเป็นเรื่องที่สำคัญ จริงๆแล้วคือการสร้างวัฒนธรรมแห่งการสร้างนวัตกรรมมากกวา่
เพราะมันแสดงให้เห็นว่าการสร้างนวัตกรรมในบริษัทสำคัญแค่ไหน อีกทั้งยังสามารถสร้างผลงานท่ี
ยง่ิ ใหญจ่ ากนวตั กรรมได้

10. ห้องทดลองของนวัตกรรม (Innovation Labs) ห้องปฏิบตั ิการนวตั กรรมเปน็ ผู้
คดิ ค้นนวตั กรรม ท่ีแยกออกจากงานประจำทท่ี ำอยู่ทุกๆวัน ทรัพยากรทใี่ หก้ บั นวตั กรรมไม่ได้ถูกใช้ใน
การดำเนินธุรกิจในแต่ละวัน กำแพงของความคิดจะไม่ถูกจำกัดเพราะ ทุกอย่างเป็นไปได้และได้รบั
อนุญาต ห้องปฏบิ ัตกิ ารนวัตกรรมสามารถเปน็ หนว่ ยนวัตกรรมขององคก์ ร แตย่ งั เปน็ สถานที่ท่ีทุกคน
สามารถไปใช้ทรพั ยากรพ้ืนฐานและพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคข์ องพวกเขา ห้องปฏิบตั กิ ารนวัตกรรม
สามารถเปน็ หนว่ ยนวตั กรรมขององค์กร แต่ยงั เป็นสถานทท่ี ที่ ุกคนสามารถไปใชโ้ ครงสร้างพน้ื ฐานและ
พัฒนาความคิดสรา้ งสรรคข์ องพวกเขา พวกเขาสามารถเขา้ หอ้ งออกแบบ ใชเ้ ครอ่ื งมือ เช่นเครือ่ งพมิ พ์
3 มติ ิและ การฝึกปฏบิ ตั กิ ม็ ไี ว้สำหรับการพฒั นาความคดิ และการสร้างอุปกรณ์ตน้ แบบ 10 มาตรการ
ในการสร้างวัฒนธรรมแหง่ นวัตกรรมมหี ลายวิธีในการปรับแต่งวฒั นธรรมของนวัตกรรมใหไ้ ด้ผลจริง
วธิ ีเหล่าน้จี รงิ ๆแลว้ ไมไ่ ดต้ อ้ งการทุนมหาศาลหรือแผนระยะห้าปีร่วมกับตัวชีว้ ัดร้อยตวั เรื่องนสี้ ามารถ
เริ่มได้จากสง่ิ เล็กๆ คอ่ ยๆเก็บเกีย่ วผลผลติ ไปเร่อื ยๆกไ็ ด้

Jonathan (2014) เสนอแนะ 8 กลยุทธ์ง่าย ๆ ในการพฒั นานวัตกรรม เพ่ือสรา้ งความคิด
สรา้ งสรรค์คณุ นกั นวัตกรรมคนดงั ไดใ้ ห้ข้อเสนอแนะไว้ดงั น้ี

1. อย่าคิดว่าความสำเร็จของคณุ เป็นเร่ืองของโชค (Don’t Think your Success
is a Matter of Luck) อปุ สรรคสำคัญคอื การคดิ ว่าความสำเรจ็ ของคณุ จะเป็นเร่ืองเกี่ยวกับโชค ใน
การทำงานระดับสงู คุณต้องท้ิงความสุภาพและพูดกับตัวเองว่า“ ใช่ฉันอยากจะทำสิง่ ที่ยิ่งใหญ่” ปา
สเตอร์เคยกลา่ ววา่ “ โชคจะช่วยเหลือจติ ใจท่มี ีความพรอ้ มเท่านน้ั ” สดุ ทา้ ยแล้วจิตใจท่ีมีความพร้อม
จะพบเจอบางอยา่ งและลงมอื ทำในที่สุด ลักษณะทด่ี ีของคนทีย่ ่งิ ใหญ่คอื “ เม่ือพวกเขายังเด็กพวกเขา

52

มีความคดิ อสิ ระและมคี วามกล้าท่ีจะไลต่ ามความคดิ ความฝนั ของพวกเขา” เขากลา่ วว่า:“ เม่ือคณุ กลา้
และเชื่อวา่ คุณสามารถทำส่งิ ทีย่ ่ิงใหญไ่ ด้ คุณกจ็ ะทำได”้

บทเรยี น: เตรยี มใจของคณุ ให้พร้อมเมื่อโอกาสท่ีโชคดีมาถึง ใชป้ ระโยชนจ์ ากมนั มคี วามกล้า
ทจี่ ะไล่ตามความคิดอสิ ระของคณุ และคุณต้องซือ่ สัตย์กับตวั เอง

2. ปลูกเมลด็ ขนาดเล็กๆท่ีอาจจะเป็นต้นไม้ท่ยี ่งิ ใหญ่ (Plant Many Small Seeds
from Which a Mighty Oak Tree Can Grow) บางครั้งนักวิทยาศาสตร์ล้มเหลวเพราะพวกเขา
รู้สึกว่าพวกเขาเจอกับปัญหาที่เล็กเกินไป เขากล่าวถึง Claude Shannon หลังจากประดิษฐ์ทฤษฎี
สารสนเทศสมัยใหม่ มีชื่อเสียงมากข้ึน นั่นทำลายอาชีพของเขา เพราะว่านักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่
ละเลยท่ใี สใ่ จกับตน้ ไม่ตน้ เล็กๆท่ีจะเตบิ โตไปเปน็ ตน้ ไมใ้ หญ่ พวกเขาอยากจะประสบความสำเร็จทันที
ซง่ึ นั่นไม่ใช่แนวทางทถ่ี กู ต้อง

บทเรียน: จำไว้เสมอวา่ ต้องทำงานกบั ปญั หาเล็ก ๆ แต่หลากหลาย เพราะคณุ ไมเ่ คยรวู้ า่ ส่ิงใด
ที่จะเตบิ โตไปสูแ่ นวคิดที่ยิ่งใหญ่ชิน้ ต่อไป “คุณไม่รู้หรอกว่าต้องไปยืนอยู่จุดไหน คุณเพียงแค่ทำงาน
หนักในสถานทซ่ี ึ่งอาจมบี างส่ิงทด่ี ีเกดิ ขึ้น”

3 ลองพลิกแพลงปัญหาของคุณ เปลี่ยนข้อบกพร่องให้เปน็ สินทรัพย์ (Turn your
Problem Around. Change a Defect into an Asset) นกั วิทยาศาสตร์ท่ยี ่ิงใหญม่ กั จะสามารถ
เปลี่ยนข้อบกพร่องให้กลายเป็นสินทรัพย์ด้วยการเปลี่ยนแนวคิด หรือพลิกแพลงวิธีคิด Hamming
อธิบายที่ Bell Labs ว่าเขาไม่ต้องการเจ้าหน้าที่ที่เป็นมนุษย์มาเขียนโปรแกรมให้กับคอมพิวเตอร์
ในขณะท่ีบริษทั อื่นๆพรอ้ มจะส่งพนกั งานใหก้ ับเขา แต่เขารู้สึกวา่ พนกั งานท่ี Bell Labs น่าตื่นเต้นอยู่
แลว้ จากข้อจำกัดน้ี ทำใหเ้ ขาเขา้ ใจว่าเคร่ืองจักรอาจเขียนโปรแกรมเองได้ ซงึ่ นัน่ ทำให้เขาก้าวเข้าสู่
การสรา้ งระบบอัตโนมัตไดอ้ ย่างรวดเรว็ เขาอาจไม่จำเปน็ ตอ้ งเขา้ ใจเรอ่ื งทต่ี อ้ งทำ เขาต้องการเพยี งแค่
สภาพการทำงานในอดุ มคตเิ ทา่ น้ัน

บทเรยี น: นกั วทิ ยาศาสตร์หลายคนเมอ่ื พวกเขาไมส่ ามารถแก้ปัญหาได้ พวกเขาเริ่มต้ังคำถาม
วา่ ทำไมถึงแกไ้ มไ่ ด้ และหลังจากน้ันการคน้ พบก็ตามมา สภาพการทำงานในอุดมคตนิ นั้ จรงิ ๆแล้วเป็น
ส่ิงแปลกใหม่ สง่ิ ท่ีคณุ ตอ้ งการไมใ่ ช่สิ่งทดี่ ีท่สี ดุ สำหรับคณุ เสมอไป

4. ค ว า ม ร ู ้ แ ล ะ ผ ล ผ ล ิ ต เ ป ็ น เ ห ม ื อ น ด อ ก เ บ ี ้ ย ท บ ต ้ น ( Knowledge
and Productivity are Like Compound Interest) เม่ือเขาเขา้ รว่ มกบั เบลลแ์ ลบ็ สค์ รง้ั แรก เขา
ได้พบกับนักคณิตศาสตร์ จอห์น ทูกี้ ผู้เกง่ กาจ เขารู้สึกว่าเขาไม่สามารถเทียบกบั อัจฉริยะผู้นี้ได้เลย
เขาถามหัวหนา้ เขาวา่ “มใี ครที่อายุเท่าเขาแต่มีความรู้มากกว่าเขาไหม” เจา้ นายของเขาตอบวา่ :“ คณุ
จะประหลาดใจสำหรับสิ่งที่คุณจะรู้หากทำงานแบบที่เขาทำในรอบหลายปีที่ผา่ นมา” จากนั้นเขาก็
เข้าใจ: ความรู้และผลผลิตเป็นเหมือนดอกเบี้ยทบต้น “ เนื่องจากคนสองคนหากมีความสามารถ
เท่ากนั คนหน่งึ ทท่ี ำงานมากกวา่ อีกคนสิบเปอรเ์ ซ็นตอ์ ยา่ งต่อเนื่องตลอดเวลา คนหลงั นี้จะผลิตผลงาน
ออกมาได้มากกวา่ สองเท่าในเวลาตอ่ มา”

5. ค้นหาบคุ คลสำคัญและปญั หาทีส่ ำคญั จดจ่อความคิดของคณุ ไวท้ ี่พวกเขา (Find
Important People and Problems. Focus your Mind on Them) เขาจะตามหาคนท่จี ะไป
กินขา้ วกลางวนั ด้วยในหลายๆสาขา ตัวอยา่ งเช่นเขากนิ ขา้ วทีโ่ ต๊ะสาขาฟิสกิ ส์เพราะทีโ่ ตะ๊ คณิตศาสตร์
เขาไม่ได้เรียนรอู้ ะไรมากมาย จากน้ันเขากเ็ ริ่มไปกินข้าวทโ่ี ตะ๊ เคมแี ละถามพวกเขาว่า "อะไรคือปญั หา

53

สำคัญของสาขาของคุณ" และ“ คุณกำลังทำงานกับปัญหาที่สำคัญเกี่ยวกับอะไรอยู่” พวกเขาไม่
สามารถตอบเขาไดแ้ ละเขาก็ไมไ่ ด้ไปกนิ ขา้ วดว้ ยอีก เมอื่ คุณตอ้ งการแก้ปญั หาท่ยี าก“ อย่าปล่อยให้ส่ิง
ใดเปน็ จดุ ศูนยก์ ลางความสนใจของคณุ ... รักษาความคดิ ของคณุ ไวก้ ับปัญหาให้แนว่ แน่ รักษาจิตใต้
สำนกึ ของคุณเพ่อื แก้ไขปัญหาของคุณ คุณสามารถนอนหลับและได้รบั คำตอบในตอนเช้า "

บทเรียน: ค้นหาผู้คนที่มีพลังอยู่เสมอ เพราะพวกเขาสามารถช่วยคุณค้นหาปัญหาสำคญั ท่ี
ต้องการแก้ไข เมื่อคุณทำงานกับปัญหาที่สำคัญ อย่าปล่อยให้สิ่งใดมารบกวนคุณ ความมุ่งมั่นเป็น
ส่ิงจำเปน็ สำหรับงานทยี่ ่ิงใหญ่

6. เตรียมจิตใจให้พร้อมสำหรับโอกาส (Prepare your Mind for Opportunity)
เมื่อคุณพบปัญหาแลว้ คุณต้องตัดสินใจว่าปญั หาใดที่คุณจะเร่ิมจัดการกับมันได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
ในช่วงเวลาหนึ่งนักวิทยาศาสตร์ที่ยอดเยี่ยมมีปัญหาที่ต้องการการแก้ไขประมาณ สิบถึงยี่สิบเรื่อง
ดงั น้ันพวกเขาต้องตดั สนิ ใจวา่ จะเริ่มจากเร่ืองไหนก่อน

7. ทำงานแบบเปิดใจตลอดเวลา คณุ จะรู้เองว่าส่ิงใดสำคัญ (Work with the Door
Open. You will Sense What is Important) หากคุณปิดประตูห้องทำงานของคุณ คุณจะ
ทำงานได้มากขึ้นทั้งในวันนี้และพรุ่งน้ี และคุณจะมีประสิทธิผลมากกว่าคนส่วนใหญ่ แต่สิบปีต่อมา
คุณก็ยังไมร่ ู้ว่าปัญหาอะไรที่คุ้มคา่ กับการลงแรงทำงานของคุณ เขารู้สึกว่าคนที่มี“ เปิดประตทู ้งิ ไว้”
มักจะทำสง่ิ ท่ยี ง่ิ ใหญ่กวา่ ในขณะที่คนท่ี“ ปดิ ประต”ู มกั จะทำงานหนกั ขึน้ ในทศิ ทางท่ีผิด เขาแนะนำ
วา่ ทุกๆเจ็ดปลี องสรา้ งส่งิ ใดสง่ิ หนึง่ ทีม่ คี วามหมาย หากไมส่ ำเรจ็ ให้ลองเปล่ียนสาขาดูเพ่ือให้รู้สึกว่ามี
พลังสำหรับสิง่ ใหม่ๆ เขาเล่าถึงเพื่อนร่วมงานที่ใช้เวลาในการอ่านวารสารวิจัยในห้องสมุด “ถ้าคุณ
อ่านหนงั สอื แล้วคณุ จะพบวา่ ผคู้ นทำในสง่ิ ทีเ่ ขาคิด ถา้ หากอยากได้ความคดิ ท่ีแตกตา่ ง ลองดสู ิง่ ทคี่ นมี
ความสร้างสรรคท์ ำส”ิ มองปญั หาท่ีสำคัญเปน็ หลกั อยา่ มองที่เร่ืองอ่นื ๆ มองปัญหาให้กระจา่ ง แลว้ หา
วิธีจัดการกบั มนั

8. รู้ว่าเมื่อไหร่ต้องทำงานเป็นระบบ และรู้ว่าเมื่อไหร่ต้องทำงานแบบโดดเดี่ยว
(Know When to Work with the System, and When to Go it Alone) หากคุณทำงานคน
เดียวคุณจะไปใหไ้ กลทส่ี ดุ เทา่ ท่ีคนหนึง่ จะทำได้ หากคณุ ทำงานกับระบบบางคร้ังคณุ สามารถใช้ระบบ
เพ่ือเอือ้ ประโยชนใ์ ห้คุณได้ Hamming กล่าวว่า “นกั วทิ ยาศาสตร์ท่ดี ีจะตอ่ สกู้ ับระบบมากกว่าเรียนรู้
ที่จะทำงานกบั ระบบ” ส่วนใหญ่แล้วการทำงานคนเดียวมักจะเกิดปัญหาเร่อื งอัตตาและบุกคลิกภาพ
สว่ นบคุ คล

Cherry (2019) ได้กล่าวถึง 17 วิธีในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของคณุ นักจิตวิทยา
ด้านความเขา้ ใจ ไดน้ ิยาม ความคิดสรา้ งสรรค์ วา่ "กระบวนการผลิตสิง่ ท่ีเปน็ ตน้ ฉบบั ของสง่ิ ใหมแ่ ละมี
คุณค่า" ความคิดสร้างสรรค์คือสิ่งที่เกี่ยวกับการค้นหาวิธีการใหม่ๆในการแก้ปัญหาและแก้ไข
สถานการณ์มันไมใ่ ช่ทักษะที่จำกัดเฉพาะศลิ ปนิ นักดนตรี หรือนักเขยี น มันเป็นทักษะที่มีประโยชน์
สำหรับผู้คน หากคณุ ตอ้ งการเพิม่ ความคิดสร้างสรรค์ของคุณ เคลด็ ลบั เหล่าน้สี ามารถชว่ ยได้

1. ตั้งเป้าหมายเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของคุณเอง (Commit yourself to
Developing your Creativity) ข้นั ตอนแรกคือการอทุ ิศตนเองอยา่ งเต็มท่ีเพอื่ พัฒนาความสามารถใน
การสรา้ งสรรค์ของคณุ อยา่ ลดความพยายามของคณุ ตงั้ เปา้ หมาย, ขอความช่วยเหลือจากคนอื่น และ
ใชเ้ วลาในแตล่ ะวันเพื่อพฒั นาทกั ษะของคุณ

54

2. เป็นผู้เชี่ยวชาญ (Become an Expert) หนึ่งในวิธีที่ดีที่สุดในการพัฒนาความคิด
สร้างสรรค์คอื การเปน็ ผู้เชี่ยวชาญในด้านนั้นเมื่อมีความเข้าใจในด้านหน่ึงอยา่ งเต็มที่ คุณจะสามารถ
นึกถงึ วธิ แี กป้ ญั หาแบบใหมห่ รือแนวทางแก้ปญั หาไดด้ ีย่ิงขนึ้

3. ให้รางวลั ความอยากรู้อยากเห็นของคณุ (Reward your Curiosity) สิ่งที่ขัดขวาง
ความคิดสร้างสรรค์อย่างหนึ่งคือการคิดว่าความอยากรู้อยากเห็นเป็นเรื่องไร้สาระ แทนท่ีจะตำหนิ
ตัวเอง ควรให้รางวัลตัวเองเม่ือคุณอยากรู้เกย่ี วกับบางสิง่ ให้โอกาสตัวเองในการสำรวจเรื่องใหมๆ่

4. พร้อมรับความเสี่ยงอยู่เสมอ (Be Willing to Take Risks) เมื่อเวลาในการสร้าง
ความคิดสร้างสรรค์มาถึง คุณต้องพร้อมท่ีจะรับความเส่ียงเพือ่ พัฒนาความสามารถของคุณแม้ว่าทุก
ความพยายามจะไมส่ ำเรจ็ เสมอไป คณุ ก็ยังตอ้ งเช่อื ม่นั ในความสามารถด้านการสรา้ งสรรคอ์ ยู่ เพ่ือให้
ทกั ษะน้ตี ดิ ตวั ไปในอนาคต

5. สร้างความมั่นใจ (Build your Confidence) ความสามารถที่ไม่แน่นอนสามารถ
หยุดความคิดสร้างสรรค์ได้ ซึ่งนั่นเป็นเหตุผลวา่ ทำไมเราต้องมีความมั่นใจ จดจำความคืบหน้าทีค่ ณุ
กำลังทำ ชื่นชมความพยายามของคุณ และคอยมองหาวิธที จี่ ะตอบแทนความคิดสร้างสรรค์ของคณุ

6. ให้เวลาสำหรับความคิดสร้างสรรค์ (Make Time for Creativity) คุณจะไม่
สามารถพัฒนาความสามารถสร้างสรรคข์ องคณุ ไดห้ ากคุณไม่มีเวลาว่าง ใช้เวลาว่างในแต่ละสัปดาห์
ใหค้ วามสำคญั กับโครงการสรา้ งสรรค์บ้าง

7. เอาชนะทัศนคติเชิงลบที่ปิดกั้นความคิดสร้างสรรค์ (Overcome Negative
Attitudes that Block Creativity) อารมณ์เชิงบวกสามารถเพิ่มความสามารถในการคิดอย่าง
สร้างสรรคไ์ ด้ ตามทดี่ ร. อดัมแอนเดอร์สัน ผเู้ ขยี นอาวโุ สของการศึกษา กล่าวว่า "ถ้าคณุ กำลังทำส่ิงท่ี
ต้องการความคิดสร้างสรรค์ นั่นหมายถึงคุณต้องการอยู่ในสถานที่ที่ทำให้มีอารมณ์ดีเน้นการขจัด
ความคิดด้านลบ หรือการวิพากษ์วจิ ารณ์ตนเอง ซึ่งอาจทำให้ความสามารถในการพัฒนาทกั ษะการ
สรา้ งสรรคข์ องคณุ ลดลง

8. ต่อสู้กับความกลัวการล้มเหลว (Fight your Fear of Failure) ความกลัวการ
ล้มเหลวอาจทำให้คณุ เดนิ ได้ชา้ ลง เมือ่ ใดก็ตามทค่ี ุณพบว่าตวั เองพบเจอกับความรู้สกึ นั้น เตือนตัวเอง
ว่าขอ้ ผิดพลาดเป็นเพยี งส่วนหนึ่งของการเดินทาง การเดินทางในการส้รางความคิดสร้างสรรค์อาจจะ
สะดดุ บ้าง แต่สุดท้ายคณุ ก็จะพบกบั ความสำเร็จ

9. ระดมสมองเพื่อสร้างความคิดใหม่ ๆ (Brainstorm to Inspire New Ideas) การ
ระดมสมองเปน็ เทคนิคทวั่ ไปทใ่ี ชใ้ นการเรยี นและในการประกอบอาชพี เปน็ เครื่องมือทม่ี ีประสทิ ธิภาพ
สำหรับการพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรคข์ องคุณ

เริ่มต้นด้วยการหยุดการวิจารณ์ตนเอง เริ่มเขียนสิ่งที่คิด เชื่อมโยงความคิดและแนว
ทางการแก้ปัญหา เป้าหมายคือการสร้างความคิดใหม่ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ในช่วงเวลาสั้น ๆ
จากนนั้ เนน้ ไปทีก่ ารวิเคราะหแ์ ละปรับแตง่ ความคดิ ของคุณเพื่อใหไ้ ดต้ ัวเลอื กทด่ี ที สี่ ดุ

10. ตระหนกั วา่ ปัญหาส่วนใหญม่ วี ธิ แี ก้ไขหลายทาง (Realize that Most Problems
have Multiple Solutions) เมือ่ คณุ พบกบั ปญั หา ใหล้ องคน้ หาวิธแี ก้ไขปัญหาทห่ี ลากหลาย แทนท่ี
จะแกป้ ญั หาดว้ ยวธิ กี ารแรกทีน่ ึกถงึ ลองหาวธิ อี น่ื ๆท่ีเปน็ ไปได้ดู วธิ ีงา่ ย ๆ นเ้ี ป็นวธิ ีทีย่ อดเย่ียมในการ
สร้างทักษะการแก้ปญั หาและทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์

55

11. รักษาความคิดสร้างสรรคไ์ ว้ (Keep a Creativity Journal) เรม่ิ การสรา้ งความคดิ
สรา้ งสรรค์ เดนิ ตามกระบวนการสรา้ งความคดิ นัน้ การเดนิ ทางตามเสน้ ทางการสร้างสรรคน์ ีท้ ำให้คุณ
ทบทวนที่คุณได้ทำไปแล้วและมองหาวิธีแก้ปัญหาที่เป็นไปได้อื่น ๆ การบันทึกการเดินทางเป็น
ตวั หนงั สืออาจจะใชเ้ พ่ือบนั ทกึ ความคิดท่ีสามารถใชเ้ ป็นแรงบันดาลใจในอนาคต

12. สร้างแผนที่ความคิดและแผนภูมิ (Create a Mind Map and Flow Chart)
แผนผังความคิดเป็นวิธีท่ียอดเยีย่ มในการเชื่อมต่อแนวคิดและคน้ หาคำตอบที่เป็นนวัตกรรม สร้าง
แผนที่ความคิดโดยการเขียนหัวข้อกลางหรือคำบางคำลงไป หลังจากนั้นหาความเชื่อมโยงของคำ
รอบๆคำน้ัน ในระหว่างการระดมสมอง การเขยี นเช่ือโยงจะชว่ ยใหเ้ ห็นภาพวา่ สิ่งต่างๆในกระดาษนั้น
เชอ่ื มโยงกันอยา่ งไร เมื่อคุณเรม่ิ พฒั นาโครงการใหม่ ใหส้ รา้ งแผนภูมิเพ่ือติดตามโครงการตั้งแต่ต้นจน
จบ คน้ หาลำดับเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดขนึ้ แผนภูมกิ ารสามารถชว่ ยใหค้ ุณเหน็ ภาพผลิตภัณฑ์ได้
ชัดเจนขึน้ ขจดั ปญั หาท่ีอาจเกิดขนึ้ และสร้างแนวทางทีไ่ มซ่ ้ำใครขึ้นมา

13 ทา้ ทายตัวเองและสรา้ งโอกาสสำหรับความคดิ สรา้ งสรรค์ (Challenge yourself
and Create Opportunities for Creativity) เมื่อคุณได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ขั้นพื้นฐานขึ้น
มาแล้ว ต้องท้าทายตวั เองอยา่ งตอ่ เนื่องเพื่อพฒั นาทกั ษะของคุณ มองหาวิธีที่ยากขึ้น ลองมองหาสิง่
ใหม่ๆทีแ่ ตกต่างจากการใช้วิธีแก้ปญั หาเดมิ ๆในอดีต

14 ลองใช้เทคนิค "หมวกหกใบ" (Try the "Six Hats" Technique) เป็นเทคนิค
เกี่ยวกับการดูปญั หาจากมมุ มองที่แตกต่างกันหกรปู แบบ โดยการทำเชน่ นคี้ ุณสามารถสร้างความคิด
ได้มากกว่าวิธกี ารทีค่ ณุ เคยเหน็ จากมุมมองเพียงหน่ึงหรือสองมุมมอง

- หมวกสีแดง (Red Hat): มองสถานการณด์ ว้ ยอารมณ์ ความรู้สกึ บอกคณุ อย่างไร?
- หมวกสขี าว (White Hat): มองสถานการณด์ ้วยจดุ ประสงค์ อะไรคอื ข้อเทจ็ จรงิ ?
- หมวกสเี หลือง (Yellow Hat): ใช้มมุ มองเชิงบวก. อะไรทีจ่ ะใชไ้ ดผ้ ลกับเหตกุ ารณ์แบบน้ี?
- หมวกสีดำ (Black Hat): ใชม้ ุมมองเชงิ ลบ. อะไรทจ่ี ะใชไ้ ม่ไดผ้ ลกบั เหตุการณ์แบบนี้?
- หมวกสีเขียว (Green Hat): คิดอย่างสร้างสรรค์. อะไรคือความคิดใหม่ๆสำหรับ

เหตุการณ์นี้?
- หมวกสีฟ้า (Blue Hat): คดิ กวา้ ง. บทสรุปทีด่ ีทีส่ ดุ คอื อะไร?

15 มองหาแหล่งที่มาของแรงบันดาลใจ (Look for Sources of Inspiration)
ความคิดสรา้ งสรรคไ์ ม่ได้เกดิ ข้นึ โดยบงั เอิญ ดังนั้นให้มองหาแรงบนั ดาลใจ มันจะมอบความคดิ ใหมๆ่ ให้
คณุ รวมถงึ กระต้นุ ใหค้ ุณสร้างลักษณะเฉพาะของการแกป้ ัญหาอกี ด้วย อ่านหนังสือ เข้าชมพิพิธภัณฑ์
ฟังเพลงที่คุณชอบ หรอื ลองสนทนากบั เพ่ือนดูสิ ลองหาวิธีทเ่ี หมาะกับคุณดู

16 พิจารณาสถานการณ์ทางเลือก (Consider Alternative Scenarios) เมื่อพบ
ปัญหา ให้ลองใช้คำถามวา่ "จะเกิดอะไรข้ึนถา้ ... " เพื่อพิจารณาสถานการณ์ทีเ่ ปน็ ไปได้ หากคุณใช้
วิธีการใดวิธีการหนึ่ง ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นอย่างไร ลองมองหาวิธีการรับมือล่วงหน้า คุณจะได้วิธี
แกป้ ญั หาแบบใหม่ๆอกี เยอะ

17 ลองใช้เทคนิคสโนว์บอล (Try the Snowball Technique) คุณเคยสังเกตไหมว่า
ความคดิ ทย่ี อดเยย่ี มอนั หนง่ึ จะเชอื่ มโยงกบั ความคดิ ยอดเยย่ี มอีกอนั หน่ึง คุณสามารถใชป้ ระโยชน์จาก
ส่ิงนี้ไดโ้ ดยใช้ "เทคนคิ สโนวบ์ อล" เม่อื คณุ สร้างแนวคิดบางอย่างสำหรบั โครงการของคุณ หากแนวคิด

56

นีย้ ังไม่เหมาะสมกับงานปัจจุบนั ของคุณใหว้ างแนวคดิ น้ันไว้ แล้วอาจลองใช้ในภายหลงั หรอื นำไปใชก้ บั
โครงการในอนาคต

Stack (2013) ไดก้ ล่าวถึงการเพิ่มความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นองค์กรไวด้ ังน้ี
1. ส่งเสรมิ สภาพแวดล้อมการทำงานทีเ่ ปิดกวา้ งและสร้างสรรค์ (Foster an Open,

Creative Work Environment) การส่งเสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์ บรษิ ัทบางแหง่ จดั หาขนมขบเคยี้ ว
เกม และ“ เวลาหยุดงาน” ใหก้ บั พนกั งานในช่วงเวลาทำงาน อยา่ งเช่น Google ใหน้ ักพัฒนาของพวก
เขาสามารถทำงานในโครงการของตนเองได้หนึ่งวันต่อสัปดาห์ การทำแบบนี้ทำให้กูเกิ้ลได้หัวข้อ
Google News มาใช้ให้บริการ อาจจะไม่ต้องมีอิสระในการทำงานมากมาย แต่อย่างน้อยคุณก็
สามารถสง่ เสรมิ การสอ่ื สารทัศนคตเิ ชิงบวก และสภาพแวดลอ้ มทมี่ ีความเครียดต่ำได้ สิ่งเหลา่ น้มี ีความ
ยืดหยุ่นทางจิตใจที่มากขึ้น และความคิดไม่ถูกจำกัด ซึ่งส่งผลให้เกิดนวัตกรรมที่สร้างผลกำไรได้
มากมาย การสร้างเงื่อนไขกับทีมงานกย็ ังเปน็ เรอื่ งทีท่ ำได้ ตราบใดทไ่ี มส่ รา้ งความเครยี ดให้กบั พวกเขา
มากนกั

2. กระตุ้นทีมงานของคุณ (Motivate your Team) ให้มีการเสริมแรงทางบวกเชน่
ของรางวัล โบนสั สทิ ธพิ เิ ศษ เวลาวา่ งพิเศษ และผลตอบแทนพเิ ศษ ส่งิ เหล่านจ้ี ะชว่ ยใหพ้ วกเขาต่ืนตวั
อยู่เสมอ ไม่ใช่ทกุ คนทจี่ ะสนใจ แต่จะมหี ลายคนทีเ่ หน็ วา่ ความพยายามมปี ระโยชนช์ ัดเจน

3. ส่งเสริมความหลากหลาย (Encourage Diversity) รูปแบบการทำงานที่
หลากหลาย กระบวนการคิด และมุมมองเปน็ สงิ่ จำเปน็ ในการหลกี เลยี่ งความคดิ แบบเดยี วแบบใดแบบ
หนง่ึ เม่ือทมี มีความคิดเปน็ แบบเดียวกันจะทำให้สญู เสยี ความสามารถในการมองเห็นวิธีแก้ไขปัญหา
นวตั กรรมสามารถเติบโตไดใ้ นพน้ื ทท่ี ่มี ีความคิดเยอะๆ แทนที่จะรีบสรา้ งการเตบิ โต แตเ่ ราควรสร้าง
การโต้ตอบของความคิดมากกวา่ เริ่มจากการนำสมาชกิ มาอยู่รวมกนั และเรมิ่ แลกเปล่ียนความคดิ เหน็
เชิญผู้บรรยายจากภายนอกมาเพื่อช่วยเพิ่มมุมมองและวิธีคิด การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถือเป็น
เช้ือเพลิงช้ันดสี ำหรบั การสรา้ งนวตั กรรม

4. จัดเตรยี มเครอื่ งมอื ท่เี หมาะสม (Provide the Proper Tools) ช่างไม้ไมส่ ามารถ
ทำงานด้วยค้อนเพียงอย่างเดียว พวกเขาต้องการ เลื่อย เครื่องวัด เครื่องไส และกล่องเครื่องมือ
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคนของคุณได้รับเครื่องมือที่ต้องการเช่น: คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ การศึกษา
หรอื การฝึกอบรม

5. สร้างทีมนวัตกรรม (Create Innovation Teams) สร้างทีมที่ประกอบด้วย
สมาชิกท่ีมีแนวทางการทำงานที่หลากหลาย ประสบการณ์ไม่เหมือนกัน และ ทักษะที่ต่างกนั โดยมี
เป้าหมายรว่ มกนั คอื การรวมตัวกนั เพื่อคดิ ค้นบางอย่าง ทมี สามารถทำงานไดแ้ บบเต็มเวลาและแบบไม่
เตม็ เวลางาน แม้ว่าบางคนจะอยากไดค้ วามคล่องตัวในการทำงาน แตก่ ารรวมกล่มุ จะช่วยใหก้ ารระดม
สมองสรา้ งนวัตกรรมได้

6. อย่าทำการลงโทษ (Don’t Penalize) หากต้องการสรา้ งนวัตกรรม คุณต้องเสีย่ ง
กับความลม้ เหลว น่นั เป็นเพยี งส่วนหนงึ่ ของความคดิ สร้างสรรค์ การลม้ เหลวเกิดขนึ้ บอ่ ยครัง้ กวา่ ที่คุณ
จะประสบความสำเรจ็ หากสมาชกิ ในทมี กลวั ความผดิ พลาดจากการสรา้ งนวตั กรรม พวกเขาก็ไม่ควร
เข้ามาตั้งแตแ่ รก ให้มีกลอ่ งความเห็นสำหรับพนกั งาน แตไ่ ม่ใหร้ ะบชุ ่อื ผเู้ ขยี น เพราะในสภาพแวดลอ้ ม
ทเ่ี ปดิ รบั ความเหน็ บางคนไม่ต้องการ

57
Kaye (2018) สภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้อตอ่ นวตั กรรม สภาพบรรยากาศนเ้ี ปน็ สง่ิ จำเป็นสำหรับ
การรักษาสมาชิกในทีมแต่ละคนให้คิดอย่างสร้างสรรค์และเป็นนักนวัตกรรม สิ่งแวดล้อมน้ีจะไมเ่ อื้อ
ต่อการทำงานแบบประจำ การสร้างบรรยากาศนั้น Anderson and West ได้สร้างเครื่องมือวัดขน้ึ มา
เรียกว่า Team Climate Inventory ซึ่งได้รับการตรวจสอบแล้วโดยนักวิจัยคนอื่น ๆ ในด้านต่าง ๆ
เชน่ ศนู ย์สุขภาพในเนเธอรแ์ ลนด์
โมเดลนวัตกรรมองค์กรของ Anderson and West เป็นแบบติดตามความคดิ สร้างสรรค์
โดยแบ่งการสร้างบรรยากาศแห่งความคิดสรา้ งสรรคอ์ กเปน็ 4 ประเภท วสิ ยั ทศั น์ ความปลอดภัยแบบ
มีส่วนร่วม การปฐมนิเทศงาน และการสนับสนุนจากองค์กร คุณจะสงั เกตเห็นหมวดหมู่ย่อยที่มีส่วน
รว่ มและสง่ ผลต่อแต่ละหมวดหมูห่ ลัก ดว้ ยวิธีการนี้ เม่ือนำความคิดสรา้ งสรรค์ของทมี มาใช้ แล้วแบ่ง
ประเภทเช่นนี้ คุณจะสามารถแยกแยะได้ว่าทีมของคุณทำไดด้ ีแค่ไหน และอาจต้องปรับปรุงท่ีไหน
Anderson and West’s Model of Organisational Innovation:

การประยุกต์ใช้แบบจำลองของ Anderson และ West สามารถช่วยให้ผู้นำสร้าง
บรรยากาศที่ดีสำหรับนวัตกรรมได้ และนั่นทำให้เราได้ทีมที่ดีเมื่อมีเวลาให้กับพวกเขา นักวิจัย
Andrew Pirola Pi Merlo และ Leon Mann แนะนำวา่ ความสมั พนั ธ์ขององคป์ ระกอบดงั กล่าวไม่ได้
เรียบงา่ ยแบบนั้น ดงั น้นั ในปี 2004 พวกเขาพบวา่ ผลลัพธ์ท่สี ร้างสรรค์ในระยะยาวนั้นไม่ได้ข้ึนอยู่กับ
บรรยากาศเพียงอย่างเดียวแต่เกิดจากความสามารถเฉพาะบุคคลร่วมดว้ ย ดังนั้นบรรยากาศของทมี

58

ไม่ได้มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของทีมโดยตรง แต่บรรยากาศแห่งการสร้างนวัตกรรมมีผล
ทางอ้อมตอ่ แตล่ ะบคุ คลทีอ่ ยใู่ นทแี่ ห่งน้ันๆ

ดังนั้นผู้นำจึงต้องมุ่งเน้นไปที่การจ้างคนเก่ง ๆรวมถึงการสร้างบรรยากาศที่ดีสำหรับ
นวตั กรรม สรา้ งบรรยากาศความคิดสร้างสรรคท์ ี่สมบูรณ์ สำหรบั ทมี ทีม่ คี วามสามารถและเพม่ิ ผลลพั ธ์
ทีเ่ ปน็ นวัตกรรม โดยทำตามสีข่ ั้นตอนในแบบจำลองนวตั กรรมของ Anderson และ West

1. กำหนดวัตถุประสงค์และความคาดหวังที่ชัดเจนและเป็นไปได้จริง (Set Clear
and Realistic Objectives and Expectations) ความคดิ ริเร่มิ และกลยุทธท่ีดเี ร่ิมจาก การสร้าง
บรรยากาศทีด่ ีและวสิ ัยทัศน์ทด่ี ำเนนิ การได้ ผู้คนมกั มองว่าวสิ ยั ทัศน์เปน็ สิ่งจบั ต้องไมไ่ ด้ แตก่ ย็ งั ไมม่ สี ่ิง
ใดที่สามารถทำให้วิสัยทัศน์เป็นเรื่องของรูปธรรมได้ วิสัยทัศน์หมายถึงการสรุปแผนโครงสร้างที่ดี
สำหรับอนาคต วัตถุประสงค์และความคาดหวงั ถูกกำหนดและมีความชดั เจนสำหรบั ทีมงาน

วัตถุประสงค์และทิศทางที่ชัดเจน จะทำให้ทีมของคุณเดินหน้าได้โดยไม่ต้องพึ่งเวทย์มนต์
วิสัยทัศน์ที่ดีจากผู้นำช่วยให้สมาชิกในทีมรู้ว่าต้องทำอะไร อย่าเป็นหัวหน้าทีเ่ อาแต่สั่งและต้องการ
ผลงาน โดยทไ่ี มไ่ ด้อธิบายอะไร แลว้ จะมางงทีหลังวา่ สมาชกิ ในทีมทำเรือ่ งบางอย่างได้ยังไง การสร้าง
ทีมน้ันจำเป็นต้องสรา้ งเปา้ หมายรว่ มกนั และทำให้สมาชกิ ในทีมรูส้ ึกเป็นส่วนหน่ึงของแผนงาน

2. ตัดสินใจโดยอาศยั ความคลอ่ งตัวและมีสว่ นร่วม (Use Dynamic, Participative,
Decision Making) เมื่อคุณกำหนดวิสัยทัศน์ที่เป็นนวัตกรรมสำหรับทีมของคุณ คุณอาจพบกับ
ทางเลือกอื่น ๆ อีกหลายทาง อย่าตัดทุกข้อเสนอแนะทิ้ง ยอมรับความคิดสร้างสรรค์ของทีม เพื่อ
ปรับเปลี่ยนแผนตามความจำเป็นในขณะเดียวกันก็ต้อง สอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุรกิจในแผนงาน
หลกั ด้วย

กระตุน้ ให้เกิดการอภิปรายและสนทนาเปน็ ระยะๆ เพราะความขดั แยง้ เป็นสว่ นหน่ึงของ
การสร้างนวัตกรรม ในขณะที่หลายคนอาจรู้สึกไม่สบายใจกับวิธีการถกเถียงในตอนแรก แต่การ
ถกเถยี งเชิงบวกมีความสำคัญมากสำหรบั ความคดิ สร้างสรรค์ของทมี การถกเถียงชว่ ยกำจดั ความคิดที่
ไม่เป็นรูปแบบ ทำให้ผู้คนมองความเห็นในทางตรงข้าม บีบให้พวกเขาคิดในมุมมองใหม่ๆ นั่นอาจ
นำไปสู่แนวทางการสร้างนวัตกรรมและความคิดสรา้ งสรรค์

ในการสนทนาแบบตัวต่อตัวกับสมาชิกในทีม พยายามหลีกเลี่ยงการไม่เหน็ ด้วยโดยการถาม
คำถาม สิ่งนี้ทำให้แต่ละฝ่ายยอมฟังแทนที่จะถกเถียงเฉพาะความเห็นของตนเอง แต่ในการประชุม
กลมุ่ ให้ทำตัวเหมอื นผู้ดำเนนิ รายการในการอภิปรายทางการเมือง เลอื กซักถามคำถามเชงิ ลึกของแต่
ละคน สร้างตัวเลือก และทำความเข้าใจกบั ทุกๆคน

3 ต้องการงานท่ยี อดเย่ียมด้วยการวางแนวงานที่ยดื หยนุ่ (Demand Exceptional
Work with Flexible Task Orientation) ระวงั อย่าใหก้ ารอภิปรายอย่างสร้างสรรค์มีปญั หา หรือ
ทำใหป้ ระสทิ ธภิ าพในการทำงานลดลงเพราะความขัดแย้ง ทมี ยงั คงตอ้ งการผูน้ ำ ดงั นน้ั ในระหว่างการ
อภปิ รายต้องกำหนดช่วงใหก้ ับผู้ดำเนนิ งานเพื่อใหก้ ารอภปิ รายเป็นไปตามรปู แบบทก่ี ำหนดโดยไม่เกิด
ปญั หา

แน่นอนว่าการดำเนินงานต้องไม่เคร่งครัดเกินไป ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
ตอ้ งการวธิ กี ารที่ยดื หยนุ่ กว่าตาราง เมอ่ื โครงการเร่มิ ข้นึ ใหป้ รบั เปลี่ยนตามความจำเป็น แต่ถ้าตาราง

59

เปล่ยี นทุกสปั ดาหก์ อ็ าจเกดิ ปญั หากบั ทมี งานได้ เม่อื มีปัญหาหรอื มีโอกาสปรากฏขึน้ ให้พยายามปรบั ให้
เข้ากบั ตารางปัจจบุ นั กอ่ นท่จี ะเปลีย่ นแปลงสง่ิ ตา่ ง ๆ ท่สี ำคญั คือการรักษาเป้าหมายระยะยาวไว้

4 ส่งเสริมการคิดเชิงนวัตกรรมและสร้างสรรค์ (Encourage Innovation and
Creative Thinking) ทำให้ทีมของคุณมั่นใจว่าคุณคาดหวังอะไร คาดหวังว่าพวกเขาจะมีความคิด
สร้างสรรค์และคิดเชิงนวัตกรรมได้ ส่งเสริมพวกเขาเมื่อพวกเขามีความคิดสรา้ งสรรค์ รวมถึงการให้
ทรัพยากร (ถ้าเป็นไปได้) ไปยังโครงการที่มีแนวโน้มดี มันดูเหมือนง่าย แต่ผู้นำและพนักงานจำนวน
มากมักใช้เวลาทำงานในสถานที่ที่ไม่ให้ส่งเสริมกับความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ และเปลี่ยนแปลงเชงิ
นวตั กรรม

สมาชิกในทีมที่มาใหม่อาจต้องใช้เวลาเล็กน้อยในการปรับตัวกับงานที่ใช้แนวทางที่
สรา้ งสรรค์ เราต้องทำให้เขาเช่อื มัน่ ให้ได้ ถึงแม้ว่าบางทคี ุณจะร้วู า่ คุณต้องให้เขาทำโครงการอ่ืนๆร่วม
ด้วย คณุ ตอ้ งทำใหเ้ ขาเชือ่ มั่นในโครงการนนั้ แม้ว่าในตอนแรกพวกเขาอาจมปี ัญหากับสภาพแวดล้อม
ทีส่ รา้ งสรรคซ์ ึ่งพวกเขาน้นั ไมค่ ้นุ เคย แต่หลังจากนน้ั พนกั งานสว่ นใหญ่จะมีความสขุ กับสภาพแวดลอ้ ม
นนั้ ๆ

ไมม่ ีเวทมนตเ์ พือ่ สร้างบรรยากาศในทมี แหง่ นวตั กรรมทสี่ รา้ งสรรค์ มีทีมไมม่ ากท่ีประสบ
ความสำเร็จหากขาดลูกทีมท่ีมคี วามสามารถและความคดิ สร้างสรรค์ หากเปน็ เชน่ นน้ั หัวหน้าทีมก็จะ
ไม่ประสบความสำเรจ็ ในการสร้างทีมแห่งนวตั กรรมและการสรา้ งสรรค์ ดังนั้นคณุ ยงั ต้องการใช้คนที่มี
ความสามารถอยู่ ในทางกลบั กันทีมงานของบุคคลทเ่ี ก่งอาจลม้ เหลวเม่ือทำงานในสภาพแวดล้อมแห่ง
นวัตกรรมทไี่ มด่ ี กอ่ นทีจ่ ะตำหนิบคุ คลของทีม ตรวจสอบให้แน่ใจก่อนวา่ สภาพแวดลอ้ มน้ันเหมาะสม
ไหมสำหรับการสร้างความคิดสร้างสรรค์ เมื่อแต่ละคนสร้างความคิดสร้างสรรค์ได้นั่นก็จะเป็น
ประโยชน์กับทีม ในเวลาที่สร้างสภาพแวดล้อมแห่งนวัตกรรมนั้น องค์กรณ์ที่ดีจะให้อิสระกับการ
ทำงาน ใหเป้าหมายท่ชี ดั เจน และทมี จะตอ้ งอยู่ในอารมณ์ท่ดี ี การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มแห่งนวัตกรรม
เปน็ สิ่งทอี่ งค์กรตอ้ งทำ

Kim (2018) ไดก้ ล่าวถงึ 9 วิธีในการพัฒนาความคิดสร้างสรรคไ์ วด้ ังน้ี

1. เรียนรู้ผ่านการทำงานร่วมกัน (Learn Through Collaboration) ความอยากรู้
อยากเห็นจะนำคุณไปสู่ความคิดสร้างสรรค์ Andrew Ng เคยทำงานที่ Google และปัจจุบันอยู่ท่ี
Baidu เป็นผู้ทีไ่ ม่เชื่อว่านวัตกรรมจะ เกิดจากอัจฉริยะ และไม่สามารถรู้ลว่ งหน้าได้ เขาบอกว่าคณุ
สามารถมคี วามคิดสร้างสรรค์และมีนวัตกรรม สิ่งเหล่านี้เกิดขึน้ อย่างเป็นระบบ ในชีวิตของเขา เขา
พบว่าเมื่อใดก็ตามที่ไม่แน่ใจว่าจะทำอย่างไรต่อไป เขาจะไปและเรียนรู้ อ่านหนังสือ หรือพูดคุยกบั
ผู้เชี่ยวชาญ เขาบอกว่าไม่รู้ว่าสมองของมนุษย์ทำงานอย่างไร แต่มันวิเศษมาก เมื่อคุณอ่านมากพอ
พดู คุยกบั ผเู้ ชีย่ วชาญมากพอ เมอ่ื มขี อ้ มลู เพียงพอความคิดใหม่ ๆ ก็จะเร่ิมปรากฏข้ึน แน่นอนว่าการ
รว่ มมอื และเรยี นรูจ้ ากผ้อู ืน่ อาจเปน็ ส่ิงท่ีคณุ ต้องการเพ่อื เพม่ิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ของคุณ

2. ทำในส่งิ ทีค่ ณุ รัก (Do Something You Love) ตดิ อยู่กับความคิด ไม่แนใ่ จวา่ ต้องทำ
อะไร ชีวิตของคุณต้องการความสมดุลเพื่อให้แน่ใจว่าความคิดสร้างสรรค์ของคุณจะไม่ถูกทำลาย
อัลเบิรต์ ไอน์สไตน์ เข้าใจอยา่ งลึกซึ้ง เมื่อพูดถงึ ความสนใจของลูกชายในการเล่นเปียโน ขณะที่ลูก
ชายการสญู เสียตัวเองในกระบวนการสรา้ งสรรค์ เขาบอกว่าทำในส่ิงที่ลูกพอใจ นั่นคือวธิ ีการเรียนรู้ดี
ที่สุดเมื่อคุณกำลังทำอะไรบางอย่างด้วยความเพลิดเพลินจนไม่สังเกตเห็นเลยว่าเวลาผ่านไปนานแค่

60

ไหนแลว้ เขาบอกว่าบางคร้ังเขาก็ทำงานหมกมนุ่ มากกเกินไปจนลืมอาหารเทยี่ ง ความรกั และความคิด
สรา้ งสรรค์เป็นสงิ่ ทมี่ ีความเกีย่ วพนั ธก์ ัน งานอดิเรก เช่น เล่นดนตรี วง่ิ หรือเก็บสะสมส่งิ ของ ช่วยให้
ผ่อนคลายและลดความเครียดและ เพมิ่ ความคิดสร้างสรรค์ของคุณ

3. ค้นหาแรงบันดาลใจจากอุตสาหกรรมอื่น ๆ (Find Inspiration from Other
Industries)ความคิดใหม่ๆนั้นไม่ได้เกิดจากการลอกเลียนแบบสิ่งที่คู่แข่งทำไปแล้ว แต่เป็นการมอง
ออกไปดูธรุ กิจอ่ืนๆ ลองมองดูว่าธุรกิจไหนกำลงั ครองตลาด ธุรกิจไหนที่คุณต้องจ่ายเงินให้อยูต่ ลอด
ทำอย่างไรถึงจะลอกเลียนแบบสิ่งที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นเข้ามาสู่ธุรกิจของคุณได้ บางทีคุณ
สามารถปรับปรุงแนวคิดเหล่านี้ได้ ใช้แรงบันดาลใจจากอุตสาหกรรมอื่น ๆ เป็นวิธีที่ดีในการเพ่ิม
ความคิดสร้างสรรคข์ องคุณ

4. การอยู่เฉยๆ หรือไม่ทำอะไรเลย (Unplug or Just Do Nothing) ทุ่มเทในการ
ทำงานและทมุ่ เทในการพักผอ่ น ทำสิ่งนี้เปน็ ประจำ บางครง้ั ความคิดที่ดที ่ีสดุ ของคุณจะเกดิ ข้ึนเมอ่ื คณุ
ไมไ่ ดใ้ ช้งานสมองของคุณ หรืออาจจะขณะหลบั ดว้ ย การนอนหลับจะช่วยให้คณุ มีความคิดสร้างสรรค์
มากขึ้น เป็นไปได้วา่ ความคิดของคณุ ไหลไปตามสายน้ำหลังจากนั้นก็ไดร้ ับความคิดทด่ี ี บางทีความคิด
สร้างสรรค์ครั้งต่อไปของคุณอาจเกิดขึ้นในตอนที่คุณขับรถ ออกกำลังกาย เดินป่า ช้อปปิ้ง นั่ง
เครือ่ งบิน หรือดพู ระอาทติ ย์ตก หากรูส้ ึกว่าตนเองขาดความคิดสรา้ งสรรค์ ใหพ้ ักผอ่ น เพื่อให้สมองทำ
เรอื่ งมหัศจรรย์

5. เดิน (Walk) คนทั่วไปจะนั่งประมาณ 7-15 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งนั่นเป็นสิ่งที่แย่สำหรับ
สขุ ภาพและอารมณ์ของคุณ นั่นรวมถึงแย่สำหรับความคดิ สร้างสรรคด์ ้วย Stanford research กล่าว
วา่ การเดนิ ช่วยเพ่ิมความคดิ สรา้ งสรรค์ในการศกึ ษาต่อมาของ HBR พบว่าคนท่อี ย่ใู นการประชมุ และ
ชอบเดินมีความคิดสร้างสรรค์ มีส่วนร่วมกับงานมากกว่า Darren Huston ของ Priceline Group,
Mark Zuckerberg ของ Facebook, Hikmet Ersek ของ Western Union Co. และ Jack Dorsey
ผู้รว่ มกอ่ ตั้งTwitter, Jeff Weiner ผบู้ ริหารของ LinkedIn เป็นต้น คนกลมุ่ นี้ชอบการเดนิ ในท่ีประชมุ
มากกวา่

6. ทำให้ตัวเองอยู่ในอารมณ์ทดี ี (Set the Right Mood) การขาดความคดิ หรือการไม่
สามารถแก้ปัญหาไดอ้ าจเป็นเรือ่ งที่น่าหงุดหงิดอย่างยิ่ง การฟังเพลงจะชว่ ยให้อารมณ์และความคดิ
สร้างสรรค์ของคุณดีขึ้น Steve Jobs ใช้การฟังเพลงเพื่อช่วยเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ แน่นอนว่าน่นั
อาจได้ผลกับคุณดว้ ย

7. ใช้ทฤษฎีหมวกหกใบ (Use the Six Thinking Hats Technique) บางทีคุณ
ต้องการแคก่ ารเร่มิ ต้นใหม่ ให้ลมื ทกุ อยา่ งและเรมิ่ ใหม่บนกระดานทว่ี า่ งเปลา่ ลองใช้วิธหี มวกหกใบนี้ดู
การใช้กระบวนการนี้สามารถช่วยให้คุณมองสิ่งต่าง ๆ ได้แปลกใหม่ วิธีนี้จะมองสิ่งต่างๆด้วย
ข้อเท็จจริง หมวกสีขาว : มีบางอย่างที่ไม่ดี, หมวกสีดำ : ความเป็นไปได้ ตัวเลือก และความคิด ,
หมวกสีเขยี ว : มองปัญหาจากหลายๆมุมมอง ทำใหเ้ จอขอ้ แกไ้ ขในหลายๆมุมมอง

8. ถามหาข้อคิดเห็นและคำแนะนำ (Ask for Advice or Feedback) บางครั้งคณุ อยู่
ใกล้กับปญั หาเกินกว่าจะหาคำตอบของปัญหาได้ด้วยตนเอง การถามคนอื่นไม่ได้แปลว่าคุณอ่อนแอ
ขอความช่วยเหลอื และคำแนะนำจากเพอื่ น หรอื ผ้คู นจากเครอื ขา่ ยที่คุณเชื่อถอื และเคารพ ทุกๆคนมี
ทักษะและประสบการณ์ ความรูท้ ีแ่ ตกต่างกัน การมองจากบุคคลภายนอก อาจจะสอง สาม หรือห้า

61

อย่าง อาจเป็นสิ่งที่คุณต้องการ แม้ว่าคุณจะไม่ใช้คำแนะนำของเขา แต่คุณอาจใช้มันในการหา
ความคดิ ใหม่ๆ และอาจจะพาคณุ ไปถึงจดุ ที่มคี วามคิดสร้างสรรค์ได้

9. ลองมองความคดิ ที่แยๆ่ ดู (Pick a Terrible Idea) ออกห่างจากความคิดใด ๆที่คณุ
กำลังคิดอยู่สักครู่หนึ่ง อะไรคือความคิดที่ไร้ประโยชน์ที่สุดที่คุณสามารถคิดได้ ลองทำรายการ
ความคิดท่เี พ้ียนๆเหล่านน้ั ดู หลงั จากนัน้ ส่ิงทเี่ กิดขึ้นคือความท้าทายในการคิดสรา้ งสรรคข์ องคุณ ลอง
นึกดวู า่ ในความคดิ เพี้ยนๆนนั้ มีอะไรทดี่ อี ยู่ บางทคี ุณอาจนำมาใส่ความคิดดีๆของคณุ กไ็ ด้

กล่าวโดยสรุป จากแนวความคิดข้างต้น สามารถสรุปแนวทางในการพัฒนาทักษะเชิง
นวตั กรรม (Innovation) ไดด้ งั น้ี

1. แนวทางการพัฒนานวัตกรรมในตนเอง
- ห้องทดลองของนวัตกรรม (Innovation Labs) ห้องปฏิบัติการนวัตกรรมเป็นผู้คิดค้น
นวตั กรรม
- อย่าคิดว่าความสำเร็จของคุณเป็นเรื่องของโชค (Don’t Think your Success is a
Matter of Luck) อุปสรรคสำคัญคือการคิดว่าความสำเร็จของคุณจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับโชค ในการ
ทำงานระดบั สูง
- ปลูกเมล็ดขนาดเล็กๆที่อาจจะเป็นต้นไม้ที่ยิ่งใหญ่ (Plant Many Small Seeds from
Which a Mighty Oak Tree can Grow) บางคร้งั นกั วทิ ยาศาสตรล์ ้มเหลวเพราะพวกเขารู้สึกวา่ พวก
เขาเจอกับปัญหาทีเ่ ลก็ เกนิ ไป
- ลองพลิกแพลงปญั หาของคุณ เปล่ียนขอ้ บกพร่องใหเ้ ปน็ สินทรพั ย์ (Turn your Problem
Around. Change a Defect into an Asset) นักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่มักจะสามารถเปลี่ยน
ข้อบกพรอ่ งใหก้ ลายเป็นสนิ ทรพั ยด์ ว้ ยการเปล่ียนแนวคดิ
- ความรู้และผลผลิตเป็นเหมือนดอกเบี้ยทบต้น (Knowledge and Productivity are
Like Compound Interest)
- ค้นหาบุคคลสำคัญและปัญหาที่สำคัญ จดจ่อความคิดของคุณไว้ที่พวกเขา ( Find
Important People and Problems. Focus your Mind on Them)
- เตรียมจิตใจให้พร้อมสำหรับโอกาส (Prepare your Mind for Opportunity) เมื่อคุณ
พบปญั หาแลว้ คณุ ตอ้ งตดั สนิ ใจวา่ ปัญหาใดทคี่ ุณจะเริ่มจดั การกบั มนั ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
- รู้ว่าเมื่อไหร่ต้องทำงานเป็นระบบ และรู้ว่าเมื่อไหร่ต้องทำงานแบบโดดเดี่ยว (Know
When to Work with The System, and When to go It Alone) หากคุณทำงานคนเดียวคุณจะ
ไปให้ไกลที่สุดเท่าที่คนหนึ่งจะทำได้ หากคุณทำงานกับระบบบางครั้งคุณสามารถใช้ระบบเพื่อเออ้ื
ประโยชน์ให้คุณได้
- เป็นผู้เชี่ยวชาญ (Become an Expert) คือการเป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านนั้นเมื่อมีความ
เข้าใจในดา้ นหน่งึ อย่างเต็มที่
- พรอ้ มรับความเส่ยี งอย่เู สมอ (Be Willing to Take Risks) เมือ่ เวลาในการสรา้ งความคิด
สรา้ งสรรค์มาถึง คุณตอ้ งพร้อมทีจ่ ะรบั ความเสย่ี งเพอ่ื พัฒนาความสามารถของคุณ

62

- สร้างความมั่นใจ (Build your Confidence) ความคิดสร้างสรรค์ได้ ซึ่งทำให้เราต้องมี
ความมนั่ ใจ จดจำความคบื หน้าท่คี ณุ กำลัง และเพมิ่ อารมณเ์ ชิงบวกสามารถเพม่ิ ความสามารถในการ
คิดอย่างสร้างสรรค์ได้

- ให้เวลาสำหรับความคิดสร้างสรรค์ (Make Time for Creativity) ใช้เวลาว่างในแต่ละ
สปั ดาห์ ใหค้ วามสำคัญกบั โครงการสร้างสรรคบ์ า้ ง

- ต่อสู้กับความกลัวการล้มเหลว (Fight your Fear of Failure) ความกลัวการล้มเหลว
อาจทำให้คณุ เดนิ ได้ชา้ ลง แต่สุดทา้ ยคุณกจ็ ะพบกับความสำเร็จ

- ตระหนักว่าปญั หาส่วนใหญม่ ีวธิ ีแกไ้ ขหลายทาง (Realize that Most Problems have
Multiple Solutions) เมื่อคุณพบกับปัญหา ให้ลองค้นหาวิธีแก้ไขปัญหาที่หลากหลาย แทนที่จะ
แก้ปญั หาดว้ ยวิธกี ารแรกทน่ี ึกถงึ

- สร้างแผนที่ความคิดและแผนภูมิ (Create a Mind Map and Flow Chart) แผนผัง
ความคดิ เปน็ วิธที ่ียอดเย่ยี มในการเชื่อมต่อแนวคิดและคน้ หาคำตอบทเ่ี ปน็ นวตั กรรม

- ท้าทายตัวเองและสร้างโอกาสสำหรับความคิดสร้างสรรค์ (Challenge yourself and
Create Opportunities for Creativity) เมื่อคุณได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ขั้นพื้นฐานขึ้นมาแลว้
ต้องทา้ ทายตัวเองอย่างตอ่ เน่ืองเพอ่ื พฒั นาทกั ษะของคุณ

- ลองใชเ้ ทคนคิ "หมวกหกใบ" (Try The "Six Hats" Technique)
- หมวกสีแดง (Red Hat): มองสถานการณด์ ้วยอารมณ์
- หมวกสขี าว (White Hat): มองสถานการณด์ ้วยจุดประสงค์
- หมวกสเี หลอื ง (Yellow Hat): ใช้มมุ มองเชิงบวก.
- หมวกสดี ำ (Black Hat): ใชม้ มุ มองเชิงลบ.
- หมวกสเี ขียว (Green Hat): คิดอยา่ งสร้างสรรค์.
- หมวกสีฟ้า (Blue Hat): คดิ กวา้ ง.

- มองหาแหล่งท่มี าของแรงบนั ดาลใจ (Look for Sources of Inspiration) ให้มองหาแรง
บนั ดาลใจ มันจะมอบความคดิ ใหมๆ่ ใหค้ ณุ

- พิจารณาสถานการณ์ทางเลือก (Consider Alternative Scenarios) เพื่อพิจารณา
สถานการณ์ทเ่ี ปน็ ไปได้ หากคุณใชว้ ิธีการใดวธิ กี ารหนึง่ ผลลัพธ์ที่ได้จะเปน็ อย่างไร ลองมองหาวิธีการ
รับมอื ล่วงหน้า

- ลองใช้เทคนิคสโนว์บอล (Try the Snowball Technique) เมื่อคุณสร้างแนวคิด
บางอย่างสำหรบั โครงการของคณุ หากแนวคิดนย้ี งั ไมเ่ หมาะสมกบั งานปจั จบุ ันของคุณให้วางแนวคิด
นนั้ ไว้ แลว้ อาจลองใชใ้ นภายหลงั หรอื นำไปใชก้ ับโครงการในอนาคต

2. แนวทางการพัฒนาทกั ษะเชงิ นวัตกรรมในองคก์ ร
- ช่วยพวกเขาพัฒนาการตระหนักรู้ (Help them Develop Self-Awareness) เพราะว่า
ความการตระหนักรู้ทำให้คนเรารู้ว่าควรแสดงศกั ยภาพของตัวเองออกมาได้อย่างไรและที่ไหน เพือ่
พฒั นานวตั กรรม

63

- สนับสนุนการเรียนรู้ที่เพิ่มมากขึ้น (Support their Intellectual Growth) กระตุ้นให้
ผู้นำในองค์กรของคุณศึกษาหาความรูเ้ พ่ิมขึ้น การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องชว่ ยในการเพ่ิมพูนความรู้ ใน
การพัฒนา

- ส่งเสริมให้มีความคดิ สรา้ งสรรค์ (Encourage them to Embrace Creativity) คือการ
สร้างจนิ ตนาการให้เกิดขึ้นได้จริง คือการมองสิ่งตา่ งๆ ในต่างมุมมองเป็นการหาจดุ เชือ่ มโยงระหวา่ ง
แนวคิดและการหาทางแกป้ ัญหาและการสรา้ งโอกาส

- กระตุ้นใหผ้ นู้ ำพัฒนาระบบนวัตกรรม (Challenge them to Develop an Innovation
System) นวัตกรรมไม่สามารถเกิดขึ้นได้ด้วยตัวเอง แต่เกิดจากการมีโครงสร้าง ระบบนวัตกรรม
จำเป็นตอ้ งใชห้ ลกั การในการช่วยมองปัญหาอย่างทะลุปโุ ปร่งและตง้ั คำถามท่สี ำคัญไปดว้ ย

- การกำหนดเป้าหมายและกลยทุ ธใ์ นการเข้าถึงนวตั กรรม (Determine Objectives and
Strategic Approach to Innovation) คือการกำหนดเป้าหมายที่แสดงถึงชัยชนะ คือการพัฒนา
แนวคดิ แปลกใหม่และมีเอกลักษณ์เพื่อสนับสนุนการเติบโตทางนวตั กรรม

- รู้จักตลาด ซึ่งก็คือผู้บริโภคและคู่แข่ง (Know Your Market: Customers and
Competitors) กระบวนการถา่ ยทอดทางเลือกกลยทุ ธก์ ็คือการกำหนดสนามแข่งทเ่ี หมาะสม ซึ่งก็คือ
ตลาดที่คุณดำเนนิ ธรุ กจิ

- กำหนดคุณค่าที่คุณส่งมอบให้ลูกค้า (Value Proposition) การกำหนดคุณค่าอันเป็น
เอกลักษณ์ที่จะส่งมอบให้กับลูกค้า (Value Proposition) คุณจะทำให้สำเร็จได้อย่างไร? นวัตกรรม
แบบไหนจะชว่ ยให้บริษทั คน้ พบคณุ คา่ และไดเ้ ปรียบทางการแข่งขนั

- เข้าถึงและพัฒนาแก่นความสามารถหลัก (Assess and Develop your Core
Capabilities) คือความสามารถพนื้ ฐานทคี่ ุณจำเปน็ ต้องมเี พื่อไปสู่ความสำเรจ็

- จัดตั้งเทคนิคและระบบนวัตกรรม (Establish your Innovation Techniques and
Systems) การทจี่ ะสามารถดำเนนิ การด้านกลยุทธน์ วตั กรรมด้วยวธิ กี ารท่ีสามารถปรับและผสมผสาน
ได้

- การสื่อสารกลยุทธ์ของนวัตกรรม (Communication of The Innovation Strategy)
กลยทุ ธนวัตกรรมจะเป็นตวั กำหนดเงื่อนไขและขอบเขตของงาน

- การฝกึ อบรมของพนกั งานปฏบิ ัติการในแตล่ ะระดับ (Cascade Workshops for Active
Employee Involvement) การสื่อสารของกลยุทธนวัตกรรมสร้างความตระหนักแต่นั่นเป็นการ
สื่อสารทางเดียว แตส่ ิ่งสำคญั คอื การพดู คยุ ระหว่างผู้เก่ียวขอ้ งกบั เร่อื งน้ี

- หลักสูตรการสร้างนวัตกรรม (Innovation Crash Courses) การเป็นผู้มีความคิด
สร้างสรรค์แลว้ ผูส้ ร้างนวตั กรรมจำเปน็ ตอ้ งมขี ้อมูลและทกั ษะเฉพาะ มีหลายหลักสตู รทส่ี ามารถอบรม
เพอ่ื เป็นผู้สรา้ งนวตั กรรมได้

- วันนวัตกรรม (Innovation Days) วันนวัตกรรมประจำปีสามารถทำใหค้ ำว่านวัตกรรมมี
ความสนใจข้นึ มาได้ พนักงานทกุ คนควรมีส่วนรว่ ม

- การปฏบิ ตั ิจริงของการสร้างความคิดสร้างสรรค์ (Creativity Workshops) การให้ข้อมูล
และสรา้ งความตระหนกั ในนวัตกรรม

64

- การแข่งขันนำเสนอความคิด (Pitching Contests) การแข่งขันจะกระต้นุ ใหพ้ นกั งานนั้น
พัฒนาความคดิ

- รางวัลแห่งนวัตกรรม (Innovation Awards) การจัดแข่งขันนวัตกรรม ไม่ว่าจะเป็นใน
การแข่งขันระดับการนำเสนองานหรือความคิดด้านนวัตกรรม จะมีการมอบรางวัลเพื่อสร้างแรง
บนั ดาลใจ

- การลงทุนร่วมกัน (Corporate Venturing) ลงทุนในความคิด การสนับสนุนวางแผน
ธุรกิจของเขาเป็นไปได้ด้วยดี พนักงานคนนั้นจะออกจากฝ่ายของตนเองแล้วสร้างหน่วยธุรกิจข้ึน
ภายในบริษทั

- เวลาทำงานในการสร้างนวตั กรรม (Working Time for Innovation) เรื่องที่คอื การสรา้ ง
วฒั นธรรมแห่งการสรา้ งนวตั กรรม เพราะมนั แสดงใหเ้ หน็ ว่าการสรา้ งนวตั กรรมในบรษิ ัทสำคญั แคไ่ หน
อีกท้งั ยังสามารถสร้างผลงานทยี่ ิ่งใหญ่จากนวัตกรรมได้

- กระตุ้นทีมงานของคุณ (Motivate your Team) ให้มีการเสริมแรงทางบวกเช่นของ
รางวัล โบนสั สิทธพิ ิเศษ เวลาวา่ งพิเศษ และผลตอบแทนพิเศษ

- จัดเตรียมเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม (Provide the Proper Tools ตรวจสอบให้แนใ่ จว่าคน
ของคุณไดร้ ับเครือ่ งมอื ทตี่ อ้ งการเชน่ : คอมพวิ เตอร์ ซอฟตแ์ วร์ การศึกษา หรอื การฝกึ อบรม

- อยา่ ทำการลงโทษ (Don’t Penalize) หากตอ้ งการสรา้ งนวตั กรรม คณุ ตอ้ งเส่ียงกบั ความ
ล้มเหลว นั่นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของความคิดสร้างสรรค์ การล้มเหลวเกิดขึ้นบ่อยครั้งกว่าที่คุณจะ
ประสบความสำเร็จ

- กำหนดวัตถุประสงค์และความคาดหวังที่ชัดเจนและเป็นไปได้จริง (Set Clear and
Realistic Objectives and Expectations) ความคิดริเริ่มและกลยุทธที่ดีเริ่มจาก การสร้าง
บรรยากาศท่ดี ีและวิสัยทัศน์ที่ดำเนนิ การได้

- ต้องการงานที่ยอดเยี่ยมดว้ ยการวางแนวงานที่ยืดหยุ่น (Demand Exceptional Work
with Flexible Task Orientation) ระวังอย่าให้การอภิปรายอย่างสร้างสรรค์มีปัญหา หรือทำให้
ประสิทธิภาพในการทำงานลดลงเพราะความขัดแย้ง ทีมยังคงต้องการผูน้ ำ

2.3.5 ทัศนะเกี่ยวกบั ขัน้ ตอนการพัฒนาทักษะเชิงนวตั กรรม
Magazine Spring (2007) นติ ยสารแมก็ กาซีนสปรงิ กลา่ วว่าการจะประสบความสำเร็จ

ในการสร้างนวัตกรรมมอี ยู่ห้าข้ันตอน นวัตกรรมท่ีประสบความสำเร็จนั้นมีผลกบั มูลค่าของบริษัทใน
อนาคต การพฒั นานวัตกรรมไมใ่ ช่แผนกลยุทธ์ แตม่ นั สง่ ผลกบั แผนของบรษิ ทั อยา่ งมาก ความสำคัญ
ของนวัตกรรมต่ออนาคตของบริษัทนั้น ทุกๆคนรู้กันดอี ยู่แล้ว แต่ถึงกระนั้นหลายๆบริษัทก็ยังไม่ให้
ความสำคัญกับนวัตกรรม ผู้เขียนทำงานเกี่ยวกับเอกสารด้านนวัตกรรมในปี ค.ศ. 2006 เกี่ยวกับ
กระบวนการสร้างนวัตกรรมใหอ้ งค์กร คำถามคือทำอยา่ งไรให้องค์กรมนี วตั กรรม มีเอกสารและข้อมลู
งานวิจัยประเภทที่เป็นข้อมูลการสัมภาษณ์ โครงการวิจัยและพัฒนา ผู้เขียนทำงานร่วมกับนักวิจัย
อาวุโสของฝา่ ยวิจัยและพฒั นา ฝ่ายการตลาดและบรหิ ารผลิตภัณฑ์ รวมถึงทำวิจัยให้กับฝ่ายบริหาร
ของบริษัทในสหรัฐอเมริกาและยโุ รปกว่า 30 บริษัท แต่ละบริษทั ก็อยู่ในอุตสาหกรรมที่แตกต่างกัน

65

ออกไป โดยงานวิจัยมีการวิเคราะห์รายงานประจำปีด้วย และนี่คือห้าขั้นตอนและวิธีการสร้าง
นวตั กรรมท่ปี ระสบความสำเร็จ

ขั้นตอนที่ 1 การสร้างความคิดและการระดมความคิด (Idea Generation and
Mobilization) การสร้างความคิดเป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดความคิดใหม่ๆ การสร้างความคิดจะ
ประสบความสำเรจ็ ไดก้ ต็ ่อเม่ือมกี ารกระต้นุ จากการแขง่ ขันและมีอิสระในการคิด ตวั อย่างเช่น บริษัท
พัฒนาผลิตภัณฑ์และออกแบบตราสินคา้ ทช่ี อื่ IDEO มีสำนกั งานตั้งอยู่ท่ี พาโล อัลโต รฐั แคลิฟอร์เนีย
พวกเขาประสบความสำเรจ็ จากการสง่ เสรมิ การสรา้ งความคดิ วธิ กี ารท่ใี ช้คือการหาจดุ ท่ีสมดุลระหวา่ ง
ความต้องการของบริษทั และความสนกุ สนานในบริษทั เม่ือเกดิ ความคดิ ใหมๆ่ ข้นึ มา ความคดิ นั้นจะถกู
นำไปสู่กระบวนการระดมความคิดทันที ความคิดนั้นจะได้รับการวิจารณ์โดยหลายๆคน หลายๆ
ความเห็นและตรรกะที่มีความแตกต่างกัน โดยปกติผู้ที่คิดค้นความคิดใหม่ๆมักจะต้องการความ
เช่ียวชาญดา้ นการตลาด ดังนัน้ ความคดิ ใหมๆ่ ท่คี ิดขึน้ มาจึงตอ้ งการใครสกั คนเพื่อช่วยให้ความคิดนั้น
ประสบความสำเร็จ ขั้นตอนการสร้างและระดมความคิดจึงเป็นขั้นตอนที่สำคัญมาก หากคุณข้าม
ข้ันตอนนี้ไปอาจทำใหก้ ารพัฒนานวัตกรรมเกดิ ความลา่ ชา้ หรือถงึ ข้ันล้มเหลวได้

ขั้นตอนท่ี 2 ขั้นตอนการสนับสนุนและกลั่นกรองความคดิ (Advocacy and Screening)
ขั้นตอนนี้เป็นการชั่งใจถึงข้อดีและข้อเสียของแนวคิดที่ได้มา ขั้นตอนการกลั่นกรองความคิดต้อง
เกดิ ข้นึ ทนั ทหี ลังจากการไดค้ วามคิดนนั้ มา ขน้ั ตอนนเี้ ป็นการขจัดความคิดทข่ี าดศกั ยภาพในเรื่องของ
ความเป็นไปได้ แต่อย่างไรกต็ ามผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสียต้องไมป่ ฏเิ สธความคิดน้ันทนั ที เพียงเพราะว่ามัน
เป็นไปได้ยาก เพราะความแปลกใหม่ก็อาจจะมีประโยชน์ ผู้เขียนบทความพบว่าบริษัทที่ประสบ
ความสำเร็จน้ันจะมกี ระบวนการประเมนิ ความคิดในองค์กรทม่ี มี าตรฐานและมคี วามโปร่งใส เหตุผลก็
คอื พนักงานในองค์กรรสู้ ึกสบายใจในการแสดงความคิดเหน็ เพราะพวกเขารู้วา่ ความคิดของพวกเขา
จะถูกตดั สนิ แบบใด ยกตวั อยา่ งเชน่ วิศวกรคอมพิวเตอรซ์ อฟแวร์คนหน่งึ ในบริษทั เทคโนโลยเี คยกลา่ ว
วา่ “สง่ิ หนงึ่ ท่ีผมต้องการคือการไดร้ บั คำแนะนำเมอ่ื ผมนำเสนอความคิดออกไป บางคร้งั ความคดิ ของ
ผมก็ผุดข้นึ มา แต่คนอน่ื ๆกท็ ำลายมันทันที ผมไม่รจู้ ะทำอย่างไร บางครง้ั ผบู้ ริหารขอความคิดจากผม
ไป แต่กไ็ ม่ไดใ้ ห้ความคิดเห็นใดๆกับผมว่าทำไมความคดิ ของผมถงึ ไม่ไดน้ ำไปใช้ในบรษิ ัท”

ขั้นตอนท่ี 3 ขั้นตอนการทดลอง (Experimentation) ขัน้ ตอนการทดลองเปน็ ข้ันตอนการ
ทดสอบแนวคิดที่เกดิ ข้ึนในองคก์ ร ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ ที่สภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย ขั้นตอนน้จี ะ
เป็นการระบุว่าลูกค้ากลุ่มใดที่จะได้ประโยชน์จากนวัตกรรม และพวกเขาจะใช้นวัตกรรมของเราไป
เพื่ออะไร สาเหตุที่ต้องทดลองเพราะเวลาเป็นเรื่องสำคัญ แม้ว่าใครบางคนในบริษัทจะมีความคิดที่
ยอดเยี่ยม แตค่ วามคดิ นน้ั อาจจะอย่ผู ิดเวลาหรอื อาจจะเพียงแค่เหมาะกบั ตลาดเลก็ ๆเพียงตลาดหนึ่ง
การทดลองทไ่ี ม่ได้ผลไม่ได้หมายถึงความล้มเหลวของความคิด เพราะมันอาจจะนำไปสคู่ วามคดิ ใหม่ที่
ดีกว่า มีตัวอย่างหนึ่งของธนาคารที่ชื่อ Washington Mutual พวกเขาประสบความสำเร็จในการใช้
การทดลองทางความคดิ พวกเขาไม่ใช้นวัตกรรมการออกแบบสาขาในทุกสาขาทั่วประเทศทันที แต่
ทดลองใชใ้ นบางสาขาแลว้ ดูวา่ ลกู ค้ามีพฤตกิ รรมตอบสนองตอ่ นวตั กรรมนั้นอย่างไร หลงั จากนัน้ เม่ือ
ลกู ค้าแสดงความพอใจต่อการออกแบบสาขาในรูปแบบใหม่ พวกเขาก็เพิ่มการใชน้ วตั กรรมในหลายๆ
สาขามากขน้ึ จะเห็นว่าการใช้วิธนี ้ีช่วยให้ธนาคารประหยดั เวลาและทรพั ยากรได้มาก และไม่ต้องรับ
ความเสีย่ งในกรณที ีน่ วัตกรรมไม่ประสบความสำเร็จอีกดว้ ย

66

ขั้นตอนที่ 4 การสร้างความคิดในเชิงพาณิชย์ (Commercialization In the
commercialization stage) ในขั้นตอนนี้องค์กรควรมองว่า นวัตกรรมนั้นสามารถแก้ปัญหาของ
ลูกคา้ ไดอ้ ย่างไร ขนั้ ตอนต่อจากนน้ั คือการวิเคราะห์หาตน้ ทุนและผลกำไรของการนำนวัตกรรมน้ันมา
ใช้จริงๆ ผู้เขียนได้เน้นย้ำว่า “การคิดค้นสิ่งใดๆก็ตามจะสามารถเรียกสิ่งนั้นว่าเป็นนวัตกรรมได้ก็
ต่อเมื่อสามารถใช้ในเชิงพาณิชย์ได้เท่านั้น” ดังนั้นข้ันตอนการสร้างนวัตกรรมเชิงพาณิชย์จึงเป็นสงิ่
สำคัญมาก ซึ่งก็ต้องใช้คนที่มีความเหมาะสมในการพัฒนาความคดิ ไปสู่ขั้นตอนต่อไป ผู้บริหารท่าน
หนึ่งเคยกล่าวเอาไว้ว่า “ เราเคยเรียนรู้สิ่งหนึ่งคือ นักวิจัยและผู้ที่มีความคิดใหม่ๆมักจะไม่เข้าใจ
ศาสตรข์ องการตลาดและการพาณชิ ย์ … จากประสบการณ์ที่ผ่านมา เราเคยนำนกั วิจัยมารว่ มโครงการ
ทางธรุ กจิ และการพาณิชย์ ผลท่ีไดค้ ือความลม้ เหลวและความเจ็บปวด”

ขั้นตอนที่ 5 การเผยแพร่นวัตกรรมและการนำนวัตกรรมไปปฏิบัติ (Diffusion and
Implementation) ขน้ั ตอนนผ้ี เู้ ขียนบทความไดก้ ล่าวเอาไว้ว่า “เปน็ เหมอื นเหรียญสองดา้ น” การ
เผยแพร่นวัตกรรมเป็นขั้นตอนสดุ ทา้ ยของการสร้างนวตั กรรม โดยทำให้ท้งั บริษทั ยอมรบั นวัตกรรมท่ี
สรา้ งขึ้นมา การนำนวัตกรรมส่กู ารปฏบิ ตั ิก็เปน็ อีกข้นั ตอนท่สี ำคญั การนำไปปฏบิ ัตตอ้ งมีข้ันตอนของ
การปฏิบัติ วิธีการรักษานวัตกรรมนั้นไว้ รวมถึงต้องรู้ว่าจะใช้ทรัพยากรอะไรเพื่อสร้างนวัตกรรมน้ัน
ข้ึนมา ตัวอย่างของการเผยแพร่นวัตกรรมทปี่ ระสบความสำเรจ็ ไดแ้ ก่ บริษทั International Business
Machines Corp วิธีที่พวกเขาใช้คือให้พนักงานมีส่วนร่วมตั้งแต่กระบวนการสร้างความคิด รวมถงึ
การระดมสมอง พวกเขาให้ลูกค้า พันธมิตรทางธุรกิจ หรือครอบครัวของพนักงานมีส่วนร่วมกับ
กระบวนการน้ดี ้วย อีกตัวอยา่ งหนึง่ คอื บริษทั IBM ท่เี ผยแพรน่ วัตกรรมโดยให้ทุกคนทม่ี ีส่วนเก่ียวข้อง
มีส่วนร่วมกับการสร้างนวัตกรรม ผู้คิดค้นกระบวนการสร้างนวัตกรรมขององค์กรได้แก่ ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ Kevin C. Desouza , ดร. Caroline Dombrowski, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Jeffrey Y.
Kim จากภาควิชาสารสนเทศและศาสตร์การตัดสินใจ วิทยาลัยการจัดการมหาวิทยาลัย อิลลินอยส์
เมืองชิคาโก และ Ms. Yukika Awazu, Mr. Henry E. Rauch นักศึกษาปริญญาเอกแห่งวิทยาลัย
บัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ สถาบัน Bentley อีกหนึ่งคนคือ Mr. Peter Baloh นักศึกษาปริญญา
เอกคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย Ljubljana หากมคี วามสนใจในศาสตร์ดังกลา่ ว ให้ตดิ ต่อผเู้ ขียน
โดยตรง

Landry (2017) ไดก้ ล่าวถงึ ขัน้ ตอนการพัฒนานวัตกรรมควรมีดงั นี้
ขั้นตอนท่ี 1 การค้นพบ (Discovery) ขั้นตอนการค้นพบแนวคิดใหม่ ๆ เป็นขั้นที่บริษัท
ท้ังหลายควรทุม่ เทเวลาและทรัพยากรไปกับมัน ในชว่ งทม่ี ีแนวคดิ ใหม่ ๆ เกิดขน้ึ นี้ เหลา่ สมาชิกทม่ี าก
ความสามารถจะทำการทดสอบแนวคดิ ดังกล่าว และทีมจะได้ร้วู ่าพวกเขาจดั การปัญหาได้ถูกจุดแล้ว
หรือไม่ “ช่องวา่ งท่ีเกดิ ขึ้นตอนนี้คอื การกระทำการล่วงหน้าใหด้ ขี น้ึ กวา่ เดิม” แมเรยี นกล่าว “ซ่ึงมันจะ
ทำให้พนกั งานมีทักษะในการทำความรูจ้ กั โอกาสตา่ ง ๆทเี่ ขา้ มา ทักษะการนำหลักการที่แตกตา่ งมาใช้
เพื่อเก็บข้อมลู จากผู้ซึ่งอาจกลายมาเป็นลูกค้าในอนาคต และทักษะในการสร้างแนวคิดที่ไม่เคยมีมา
ก่อนขึ้นมา พูดง่าย ๆคือคุณต้องการหาแนวคิดท่ีดีและลองทำมันดสู ักหนอ่ ย แค่นั้นเอง” จุดนี้เองที่
องค์กรทั้งหลายสามารถนำเทคนิคการระดมความคิดมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เทคนิคที่ว่าน้ัน
ตัวอยา่ งเช่นการะดมสมองและการสรา้ งรปู แบบการทำงาน เป็นตน้ การระดมความคดิ – กระบวนการ
สร้างสรรค์ในการสรา้ งแนวคดิ ใหม่ ๆ- เป็นส่วนท่ีสำคัญในกระบวนการการคดิ เชงิ ออกแบบ ซ่ึงองค์กร

67

ต่าง ๆ ได้มุ่งเน้นไปที่การเปิดเผยความเจ็บปวดในฐานะลูกค้าซึ่งลูกค้าของพวกเขากำลังประสบอยู่
และมุ่งเน้นไปที่พัฒนาผลิตภณั ฑ์ บริการ และโมเดลธุรกิจใหม่ ๆซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของ
ตนเอง วธิ ีหน่งึ ทไี่ ด้ผลดแี ละทรงประสิทธภิ าพในการเรม่ิ ต้นขนั้ ตอนแหง่ การค้นพบก็คือการนำการคิด
แบบอเนกนัย (Divergent thinking) และการคิดแบบเอกนัย (Convergent Thinking) มาใช้ การคิด
แบบอเนกนัย (Divergent thinking) นั้นจะเป็นการคิดแบบอิสระ ซึ่งพนักงานทัง้ หลายจะได้รบั การ
ส่งเสริมใหห้ าเป้าหมายและหาทางแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ให้ได้มากที่สุดเท่าท่ีพวกเขาจะทำได้ จากนนั้
ทมี จะทำการ “รวบ” แนวความคิดทต่ี รงใจลกู ค้าและเปน็ ตัวเลือกทดี่ ีท่ีสุดเพอื่ ให้บรรลุเป้าหมายทาง
ธุรกิจของบริษัทเข้าด้วยกัน ในการคิดแบบเอกนัย (Convergent Thinking) นั้นในทีมจะใช้หลัก
ประชาธิปไตยในการดำเนินการ โดยให้สมาชิกทำการโหวต 3-4 แนวคิดที่พวกเขาคิดว่าน่าจะมี
คุณภาพมากที่สุด เมื่อแนวคิดเริ่มเป็นรูปเป็นร่างขึ้นแล้ว เป้าหมายต่อไปก็คือการสร้างรูปแบบการ
ทำงาน –แม้ว่าจะเป็นเพียงแคก่ ารใชป้ ากกาเขยี นลงบนกระดาษก็ตาม- ซงึ่ ทมี สามารถใหผ้ ู้รับผิดชอบ
ทดสอบการใช้งานในช่วงแรกได้ จากผลตอบรับของพวกเขาในช่วงแรก องค์กรควรที่จะสร้าง
Minimum viable product (MVP = ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติน้อยที่สุดที่สามารถซื้อขายได้) หรือ
ผลิตภัณฑ์ หรอื เว็บไซต์ในรูปแบบทใ่ี ช้คุณสมบตั ิอยา่ งน้อยที่สดุ ซึ่งประกอบไปด้วยฟังก์ชันการทำงาน
หลกั เทา่ นนั้ โดยการสรา้ ง MVP น้ัน ผใู้ ช้งานจะสามารถเหน็ ภาพไดช้ ดั เจนวา่ ผลติ ภณั ฑท์ ำงานอย่างไร
และสามารถแสดงความคิดเห็นแต่เนิ่น ๆ เกี่ยวกับสิ่งที่ซึ่งทางทีมสามารถผลิตซ้ำได้ กระบวนการ
ดงั กลา่ วนช้ี ว่ ยให้องค์กรพัฒนาและทดสอบแนวคิดได้อยา่ งรวดเร็วและประหยดั ต้นทุนมากขึน้

ขณะที่นิยามของ MVP อาจจะยังดูเปน็ ส่ิงใหม่ แต่แนวคิดของ MVP นั้นไม่ใช่สิ่งใหม่แต่
อย่างใด ดูอย่างเฮนรี ฟอร์ดและพี่น้องตระกูลไรท์ พวกเขาสร้างสิ่งที่มีรูปแบบซ้ำ ๆเพื่อเร่งพัฒนา
นวัตกรรมโดยเฉพาะ แมเรียนกล่าววา่ ในระบบราชการยังมกี ารเผยแพร่กระบวนการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
เพิ่มมากข้ึน และความต้องการในการนำนวัตกรรมมาใช้ จากแนวคิดนำไปสู่การพฒั นา ชั้นตอนการ
คน้ พบกลายมาเป็นหน่ึงในข้นั ตอนการวางแผนและวิเคราะห์ ซงึ่ ผลกั ดันการสร้างต้นแบบไปสขู่ ั้นตอน
การพัฒนา “เราสนับสนุนให้บริษัทสร้างต้นแบบในช่วงแรก ย้อนกลับไปสู่จุดแรกที่เป็น นั้นก็คือ
ขั้นตอนการคน้ พบ” แมเรยี นอธิบาย “ในชว่ งทา้ ยของขั้นตอนการค้นพบ หากฉนั ทำการบ้านมาอย่าง
ถูกต้องแล้วก็หมายความว่าฉันได้ทดลองใช้ต้นแบบในช่วงแรกกับลูกค้าและได้แนวคิดที่ดีว่าโมเดล
ธุรกิจของฉันคอื อะไร ซึ่งจะช่วยเตรยี มความพรอ้ มให้ฉนั ก้าวสู่ข้นั ตอนการพฒั นาได้ดีขึ้น”

ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา (Development) เมื่อได้แนวคิดที่เป็นรูปเป็นร่างและได้สร้าง
MVP ข้นึ มาแล้ว องค์กรสามารถก้าวไปสู่ขนั้ ตอนทสี่ องน้ันก็คือขั้นตอนการพัฒนา “ซ่ึงเป็นข้ันตอนท่ี
คณุ เร่ิมใช้เงนิ ไปในด้านออกแบบและวิศวกรรม” แมเรยี นกล่าว ขัน้ ตอนการพัฒนามกี ารเปลย่ี นแปลง
อย่างชา้ ๆในชว่ ง 10 ถงึ 15 ปีท่ผี ่านมาโดยการนำเครื่องมือซึ่งออกแบบมาเพ่ือการทำงานร่วมกันและ
เครื่องมอื ดิจิตอลมาใช้และการสร้างต้นแบบทร่ี วดเรว็ การแบ่งทมี ระบบนเิ วศนวัตกรรม และแนวคิด
นวัตกรรมแบบเปิดช่วยให้สามารถออกแบบการผลิตซ้ำไดอ้ ย่างคล่องตัว มีวงจรการพัฒนาที่เร็วข้นึ
และเพ่มิ ระดบั ความซบั ซอ้ นและประสทิ ธภิ าพของผลิตภณั ฑ์ได้มากขน้ึ ตัวอย่างเชน่ วศิ วกรซึ่งทำการ
พัฒนาโครงยึดใหม่สำหรับเครื่องยนต์เจ็ทสามารถอาศัยการวิเคราะห์แบบตามเวลาจริงในการทำให้
โครงยดึ น้ันมีความแขง็ แรงยิง่ ขึน้ และมแี นวโน้มที่จะผดิ พลาดน้อยลงได้ นอกจากนน้ั พวกเขาสามารถ
ใช้ประโยชนจ์ ากเครื่องมอื การออกแบบเพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพโครงยดึ สำหรับการผลติ เพ่ิมเตมิ รวมไป

68

ถึงการพิมพ์ 3 มิติของชน้ิ ส่วนการผลติ ขัน้ สุดทา้ ย สง่ิ น้ีสามารถนำไปสกู่ ารออกแบบสดุ ลำ้ ทีไ่ ม่สามารถ
ทำไดโ้ ดยการออกแบบและใช้วธิ ีการผลิตแบบเดมิ ๆ องค์กรสามารถรว่ มเปน็ พันธมิตรกับบริษทั ต่าง ๆ
ได้ เชน่ บรษิ ทั ฟอร์ท (Forth) ซ่งึ เป็นบรษิ ทั ที่รวบรวมผเู้ ชี่ยวชาญทีจ่ ะช่วยแก้ปัญหาดา้ นการออกแบบ
ให้ข้อเสนอเพิ่มเติมและผู้เชี่ยวชาญด้านอตุ สาหกรรม “ข้อดีของการใช้ประโยชน์จากการออกแบบ
ดิจทิ ัลระดับแนวหนา้ คอื การใช้เครอ่ื งมือและบรกิ ารเพื่อการทำงานร่วมกนั ในระหวา่ งข้ันตอนแห่งการ
พัฒนานั้นมีมากมาย” แมเรียนกล่าว “ความนิยมนีจ้ ะคงอยู่ต่อไปเมือ่ ปญั ญาประดิษฐ์ยกระดับความ
อจั ฉรยิ ะของเครื่องมือการออกแบบให้สงู ขึน้ อีกขั้น” (artificial intelligence brings design tools’
intelligence to the next level)

ขั้นตอนที่ 3 การทำใหเ้ ปน็ ธรุ กิจ (Commercialization) ทา้ ยทสี่ ดุ ขน้ั ตอนการพัฒนาก็จะ
กลายมาเป็นธุรกิจ เป็นที่ที่คุณนำผลิตภัณฑ์หรือบริการสู่ท้องตลาด ขั้นตอนการทำให้เป็นธุรกิจ
สามารถแยกย่อยเป็นหลายข้ันตอน –จากการเปิดตัวผลิตภัณฑห์ รอื บริการเป็นคร้ังแรกไปสู่การผลติ
จำนวนมากและการนำไปใช้ เมอ่ื คณุ ดำเนินงานไปในแต่ละขัน้ ตอนคณุ จะไดร้ ับขอ้ คดิ เห็นเพ่ิมเติมจาก
ลูกค้าและคุณจะต้องการปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการของคุณอยู่เสมอ แมเรียนแนะนำให้
บริษทั ตา่ ง ๆเพิ่มการทดสอบด้านการผลติ แมว้ ่าจะผลติ ออกมาได้ช้ากว่า หากแตก่ ลยุทธ์ท่ีนำมาใช้นี้
ช่วยให้ทีมมีเวลาในการตรวจสอบแก้ไขปัญหาไดม้ ากขึ้นและทำใหท้ มี ได้รับข้อมูลตามเวลาจริงในด้าน
การยอมรบั ของตลาด “บางครง้ั นก่ี เ็ ปน็ การขยายเวลาการทดลอง แบบกเู กลิ กลาส (Google Glass)-
และได้ผลออกมาดีเนอื่ งจากผลทไ่ี ดค้ อื ผลิตภัณฑ์ไม่ได้รบั นำเสนอมากนัก” แมเรยี นกล่าว “หรอื เทสลา
(Tesla) ซ่ึงในขณะน้กี ำลงั ทำการทดสอบเทสลาโมเดล3 อยู่ ใช่พวกเขามีขอ้ จำกดั ในการผลติ แต่ฉันก็
อยากจะบอกวา่ นัน่ คอื สง่ิ ทีด่ ที สี่ ดุ สำหรบั พวกเขา ณ ขณะนี้” เพอื่ การประสบความสำเรจ็ ในการทำให้
เกิดเปน็ ธุรกิจ คุณยังจำเป็นตอ้ งต้ังราคาสำหรับสนิ ค้าหรอื บริการของคณุ และวางแผนการตลาดให้ดี
คุณจะทำอย่างไรให้ผู้บริโภครู้จักสนิ ค้าของเราและกลายมาเปน็ ลูกค้าประจำของเรา? ควรมีการนำ
แผนการตลาดนัน้ ไปใชท้ วั่ ทงั้ องค์กรเพอื่ หลกี เลยี่ งความผิดพลาดด้านการส่อื สารระหวา่ งฝ่ายการตลาด
และฝ่ายขายและทีมวิจัยและพัฒนา (R&D) หรือทีมเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) จากการสำรวจโดย
แม็คคินซีย์ (in a McKinsey survey ) มีผู้ร่วมตอบแบบสอบถามเพียงร้อยละ 39 ระบุว่าบริษัทของ
พวกเขาสามารถนำเสนอผลิตภัณฑ์หรอื บริการใหม่ ๆ ในเชงิ พาณชิ ยไ์ ด้เปน็ อย่างดี เม่ือถามพวกเขาว่า
อะไรคือความท้าทายท่ียิ่งใหญ่ที่สุด พวกเขาตอบว่าเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างทีมวิจัยและ
พัฒนา (R&D) และฝ่ายการตลาด โดยเฉพาะในเร่อื งของการจัดตำแหนง่ ทรัพยากรบุคคลและการเงิน
ไมเ่ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั ตลอดจนการขาดกระบวนการสำหรับการผลติ และแนะนำนวตั กรรม การ
กำหนดกลยทุ ธก์ ารตลาดแบบไปตลาดถอื เป็นเร่อื งสำคัญในช้นั ตอนการทำให้เป็นธุรกิจ ยงิ่ กลยทุ ธน์ ้ีมี
ความคล่องตัวมากขึ้นเท่าใด การเปิดตัวสินค้าก็จะมีประสิทธิภาพมากข้ึนนั้น และมีแนวโน้มว่า
ผลิตภณั ฑห์ รอื บริการของคุณจะได้รบั การยอมรบั จากตลาดมากขึน้ ตามไปด้วย

Pisano (2020) ได้กลา่ วถงึ ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรมไวด้ งั น้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 กำหนดเป้าหมายและแนวทางเชงิ กลยทุ ธ์ในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม ข้นั ตอน
แรกของกระบวนการพัฒนากลยุทธ์ด้านนวัตกรรมคือการกำหนดว่าอะไรคือสิ่งทีค่ ุณมุ่งมั่นอยากทำ
หรอื พดู อกี อย่างก็คือคณุ ต้องทำการวเิ คราะห์ ประเมินสถาณการณป์ จั จุบันภายในองคก์ รของคุณ และ
ระบุเป้าหมายด้านนวัตกรรมอย่างชัดเจนและทิศทางกลยุทธ์ด้านนวัตกรรมของคุณ กำหนดว่าคุณ

69

อยากจะบรรลุผลอะไรโดยใช้นวัตกรรม? ให้คิดถึงเป้าหมายทางธุรกิจระยะยาวของคุณและสิ่งที่มี
แนวโน้มจะช่วยส่งเสรมิ ธรุ กจิ ของคุณแม้เม่ือเวลาผา่ นไปแล้ว

ขั้นตอนท่ี 2 รู้จักตลาด หาลูกค้าและดูคู่แข่งทางธุรกิจ ขั้นตอนที่สองในการสรา้ งกลยุทธ์
ดา้ นนวัตกรรมก็คอื การศกึ ษาตลาดเป้าหมายและกลมุ่ เปา้ หมายเพ่ือดวู า่ ผลิตภัณฑห์ รอื บริการของคุณ
ตรงกับกลุ่มไหนบ้าง ในการปรับปรุงพัฒนาและตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพน้ัน คณุ จำเปน็ ต้องเข้าใจว่าอะไรคือสงิ่ ทผ่ี ้บู รโิ ภคต้องการ แลว้ ตดั สง่ิ อืน่ ๆท่ีไม่เกี่ยวข้อง
ออกไป จะทำเช่นนี้ได้สิ่งสำคัญคือต้องเข้าใจอย่างชัดเจนว่าอะไรกำลังเกิดขึ้นในตลาด อะไรคือตัว
ขับเคลื่อนและแนวโน้มในตลาด เนื่องจากความต้องการในการแข่งขันเป็นเรื่องส่วนบุคคลและมกั จะ
เฉพาะเจาะจง จึงไม่แนะนำให้คณุ เลยี นแบบกลยุทธ์การตลาดประเภทเดียวกนั ทผ่ี อู้ ่ืนใช้แล้วได้ผลมา
ทั้งหมด จะสมเหตุสมผลกว่าหากเรียนรู้มันจากบทเรียนอันทรงคุณค่า เมื่อพูดถึงบทเรียนอัน
ทรงคุณค่า กรุณาอา่ นบทความเรื่อง 5 บทเรียนซ่ึงเจา้ ของผลติ ภณั ฑ์ทกุ คนควรเรียนร้จู ากนวัตกรรมที่
ล้มเหลวล่าสดุ

ขน้ั ตอนท่ี 3 กำหนดคุณค่าของสนิ คา้ ขัน้ ตอนต่อไปและอาจเป็นข้ันตอนท่ีสำคัญท่ีสุดน่ันก็
คือการกำหนดว่าอะไรคือสิ่งท่ีทำให้สินค้าของคุณมีเอกลักษณ์และมีคุณค่า คุณอยากจะประสบ
ความสำเรจ็ อย่างไร? นวัตกรรมแบบใดทีอ่ งค์กรจะสามารถใช้คณุ ค่านี้ได้และได้เปรียบในสนามแขง่
ขัน? เน่ืองจากเปา้ หมายของนวตั กรรมคอื การสรา้ งความไดเ้ ปรยี บทางการแขง่ ขนั คุณก็ควรท่ีจะเน้น
ไปทางการสรา้ งคณุ ค่าทซ่ี ึ่งชว่ ยใหล้ กู ค้าประหยัดทั้งเงนิ และเวลา หรอื ทำใหพ้ วกเขายินดีที่จะจ่ายเงิน
จำนวนมากขึ้นเพื่อซื้อสินค้าของคุณ เน้นให้ประโยชน์ทางสังคมที่มากกว่า ทำให้สินค้าของคุณมี
ประสิทธิภาพหรือสะดวกมากกว่าในการใช้งาน หรือทนทานมากกว่าและราคาจับต้องได้มากกว่า
สนิ คา้ ตวั อนื่ ในตลาด เพอื่ ใหส้ ามารถสรา้ งคณุ คา่ ทเี่ ปน็ เอกลักษณ์ คณุ ตอ้ งสามารถหาและทำธุรกิจใน
ตลาดแห่งใหมท่ ไี่ มม่ คี ู่แข่งได้ เงื่อนไขข้อไดเ้ ปรยี บจะเกิดขนึ้ เนือ่ งจากแขง่ ขนั ไมไ่ ด้เปน็ ปญั หา ในการจะ
ประสบผลสำเร็จนั้นคุณเพียงต้องปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มีอยู่แล้วโดยสร้างความ
แตกตา่ งและหาวธิ ลี ดต้นทนุ ลงไปอีก

ขั้นตอนที่ 4 สรา้ งทฤษฎีและระบบนวตั กรรมของคุณ ในการนำกลยทุ ธ์ดา้ นนวตั กรรมมา
ใชใ้ นรูปแบบที่สามารถปรับปรงุ และบูรณาการได้นน้ั คณุ ตอ้ งบอกไดว้ ่าทฤษฎแี ละระบบนวตั กรรมใดที่
คุณต้องการใชเ้ พื่อเชอื่ มองค์ประกอบของโครงสร้างพ้ืนฐานนวัตกรรมต่าง ๆ เข้าด้วยกนั ระบบใดจะ
เป็นระบบสนับสนุนที่สำคัญที่สุดและช่วยในด้านการวัดประเมินผลกลยุทธ์ด้านนวัตกรรม? คริสโต
เฟอร์ ฟรแี มน นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษได้ให้นิยามระบบนวัตกรรมไว้วา่ “เปน็ เครือข่ายขององคก์ ร
ทั้งภาครัฐและเอกชนซึ่งกิจกรรมและการทำงานร่วมกันขององค์กรเหล่านั้นเป็นการริเริ่ม นำเข้า
ปรับปรงุ และเผยแพร่เทคโนโลยใี หม่ ๆ” พวกเขายังได้รวมองค์ประกอบดงั ตอ่ ไปน้ีไว้ดว้ ย

บทบาทของบริษัทด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) โดยเฉพาะบริษัทที่เกี่ยวกับด้าน
เทคโนโลยี บทบาทของการศึกษาและอบรมที่เกี่ยวข้องกบั นวัตกรรม โครงสร้างกลุ่มบรษิ ัทในเครือ
อุตสาหกรรม ระบบการผลติ การตลาด และการเงนิ หากใช้กลยุทธท์ งั้ หมดทก่ี ลา่ วไปขา้ งตน้ นนั้ แล้ว ก็
ไม่มคี แู่ ข่งรายไหนจะทำใหค้ ุณต้องกลวั

ขั้นตอนท่ี 5 นำกลยุทธ์ไปใช้ หลงั จากทค่ี ณุ ได้เลอื กแนวทางเชิงกลยุทธ์และเปรียบเทยี บกบั
องค์ประกอบทีส่ ำคัญที่สุดที่เก่ียวข้องแล้ว ก็ถึงเวลาที่จะนำกลยุทธ์ด้านนวัตกรรมมาใช้จริง เพื่อให้

70

นวัตกรรมเปน็ กลยทุ ธ์ท่สี ำคญั ที่สดุ คุณตอ้ งมุง่ เน้นไปทเี่ ป้าหมายและการนำกลยทุ ธ์วตั กรรมมาใช้อยา่ ง
เปน็ ระบบสำหรบั ข้นั ตอนน้ีขอแนะนำวา่ ควรเริม่ จากการพัฒนาดา้ นการแก้ปญั หาทางเทคโนโลยี ซง่ึ จะ
กลายเปน็ ไมเ้ ด็ดของกลยทุ ธเ์ ชงิ นวัตกรรมของคุณ แตค่ ณุ ไม่ต้องรบี รอ้ นนกั

Molloy (2019) ได้กล่าวถงึ 5 ข้ันตอนในการนำนวัตกรรมไปใชจ้ ริงว่า เราทกุ คนคุ้นเคย
กับเร่ืองราวเกี่ยวกบั ผลติ ภัณฑ์ บริการ และกระบวนการที่ล้ำสมัย – องค์กรหรือบุคคลผู้ซึ่งมองเห็น
โอกาสและหาประโยชน์จากการเปล่ียนแปลง และยังมเี รื่องราวผู้ประกอบการผู้ซึ่งเคยปรากฏตวั บน
ปกนิตยสาร Bloomberg Businessweek และยังเป็นผู้เขียนหนังสือขายดีด้านกุญแจสำคัญในการ
ประสบความสำเร็จของพวกเขาอกี ด้วย ดเู หมือนวา่ เรือ่ งราวเหลา่ นนั้ จะเกดิ ขึ้นเม่อื จงั หวะเวลาดีหรือ
ด้วยความอัจฉริยะทั้งนั้น ส่วนนวัตกรรมเป็นตัวเลือกที่คนเพียงไม่กี่คนจะเลือกใช้ แต่แก่นหลักของ
นวัตกรรมเป็นเพียงวิธีการในการแก้ปัญหาและสร้างคุณค่าในทิศทางใหม่ ๆ เป็นการปรับปรุง
กระบวนการที่ไรป้ ระสทิ ธิภาพ โดยนำความคิดเห็นจากลูกคา้ มาใช้ในการพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่
–นวัตกรรมไม่จำเป็นต้องเป็นตวั ดงึ ดดู ความสนใจหรอื เป็นตัวพลิกเกมในการทจ่ี ะนำไปสู่ความสำเร็จท่ี
ยง่ั ยนื ขององคก์ ร ความคดิ รเิ ร่มิ เล็ก ๆ แตย่ ิง่ ใหญ่เหล่าน้แี ทบไม่ไดม้ าจากผู้บริหารระดับสูงหรือ “ห้อง
แล็บไอเดีย” แต่อย่างใด แต่กลับมาจากผู้มสี ่วนร่วมแต่ละคนและหัวหนา้ พนักงานด่านหน้าที่ใกลช้ ิด
กับลูกค้าและเป็นผู้ที่สามารถเข้าใจถึงความต้องการของลูกค้าได้ดีที่สุด เมื่อพนักงานจากทุกระดบั
เรยี นรู้ทีจ่ ะมองตนเองในฐานะนกั นวตั กรรมและได้นำแนวคิดของตนมาทำใหเ้ กิดขึ้นได้จริง ผลลัพธ์ท่ี
ไดอ้ าจทรงพลงั อยา่ งถึงทีส่ ดุ นอกเหนือจากการเสริมสร้างเป้าหมายของบริษัทและเสริมสร้างผลกำไร
แลว้ นวตั กรรมท่ขี บั เคล่ือนโดยพนักงานทีเ่ ก่ียวข้องกับผ้คู นมากมายนั่นมีประสทิ ธิภาพมากกวา่ การรบั
คำสัง่ จากเบอ้ื งบนเสียอีก

ขั้นตอนที่ 1 มองหาโอกาสสำหรับสร้างสรรค์นวัตกรรม (Spot opportunities for
innovation) “ไมว่ า่ นวตั กรรมจะอยใู่ นรปู แบบใด -รูปแบบการลงทนุ สั้นๆ รวดเร็ววอ่ งไว หรือระยะ
ยาว หรอื การลงทนุ ครงั้ ใหญ่- นวัตกรรมเปน็ พื้นฐานของการแก้ไขปัญหา” ใหค้ ุณคดิ ถึงองคก์ รของคุณ
มีปัญหาอะไรที่ต้องแกไ้ ข? เราจะหาโอกาสไดจ้ ากไหน? เมื่อคณุ เกิดแนวคิดขึน้ มา พยายามค้นหามัน
จากหลายๆ แง่มมุ การทำเช่นนน้ั คณุ อาจค้นพบความเปน็ ไปไดท้ ีน่ ่าสนใจหลายอย่างเลยทีเดียว

ขั้นตอนท่ี 2 จัดลำดับความสำคัญของโอกาส (Prioritize opportunities) คุณมีเวลาและ
ทรพั ยากรท่ีจำกดั ดังนั้นจัดลำดับความสำคญั ของนวตั กรรมทสี่ ามารถทำให้เกิดขนึ้ ได้ ข้นึ อยู่กบั ว่าคุณ
คิดว่าจะได้รับประโยชน์สูงสุดจากการลงทนุ กบั นวัตกรรมใดมากกว่ากัน จำกัดแนวคิดให้แคบลงจน
เหลอื สองหรอื สามแนวคดิ ท่คี ุณร้สู ึกวา่ คมุ้ คา่ ท่ีจะลองทำ ลองทดสอบ และปรบั ปรงุ ใหม้ ันดีขึน้ แล้วต้ัง
เป็นสมมตฐิ านท่คี ุณสามารถทำการทดสอบผ่านการทดลองทตี่ ง้ั เปา้ ไวไ้ ด้

ขั้นตอนท่ี 3 ทดสอบนวัตกรรมต่าง ๆ ที่มีความเป็นไปได้ของคุณ (Test your potential
innovations) กำหนดขอบเขตให้การทดสอบของคณุ โดยเฉพาะเมื่อทกุ อยา่ งกำลงั เรมิ่ ต้นขึ้น คุณอาจ
ต้องการการเริ่มต้นด้วย “รูปภาพจำลอง (paper prototypes)” หรือการร่างผลิตภัณฑ์หรือ
กระบวนการใหม่อย่างงา่ ย ๆ ซึ่งผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับคุณได้และดูว่าอะไรดีอะไรไม่ดี ซึ่งต้นแบบ
เหลา่ น้ีใชง้ านได้เรว็ และราคาถูก และช่วยใหค้ ุณรู้ว่าตอ้ งปรับปรงุ แนวคดิ ตรงไหนบา้ ง ในการทดสอบ
แตล่ ะรอบกจ็ ะยง่ิ เพ่มิ การทดลองความซบั ซอ้ นซง่ึ เกย่ี วข้องกับผ้บู ริโภคหรือผูใ้ ช้งานทีม่ ากย่งิ ขน้ึ

71

ขั้นตอนที่ 4 สร้างการสนับสนุนให้นวัตกรรมของคุณ (Build support for your
innovations) อยา่ ไดเ้ ขินอาย หาจังหวะเหมาะ ๆ และบอกเล่าเร่อื งราวของคุณให้ผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย
ฟัง รวมไปถึงผทู้ ่มี ีทรัพยากรทส่ี ามารถสนบั สนนุ สงิ่ ที่คณุ ตอ้ งการได้ และผู้ทจ่ี ะได้รับประโยชนโ์ ดยตรง
จากนวตั กรรมของคุณ คุณจะตอ้ งปรบั ปรงุ แนวทางการเข้าหาของคุณตามสิ่งท่ีสำคัญต่อแต่ละบุคคล
และส่ิงท่คี ณุ ตอ้ งการจากพวกเขา

ขั้นตอนที่ 5 เรียนรู้จากความพยายามในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของคุณ (Learn from
your innovation efforts) คุณอาจเคยได้ยินคำกล่าวที่ว่า “ยิ่งล้มไว ยิ่งเรียนรู้ไว” หลังจากการ
สร้างสรรค์แตล่ ะนวตั กรรมท่ผี า่ นมา ให้เขยี นรายการสิง่ ท่คี ณุ จะทำซำ้ อีกคร้ังและส่ิงท่ีคุณจะไม่ทำอีก
เด็ดขาด และคุณอย่าไดจ้ มอยู่กับความล้มเหลวนานนกั กุญแจสำคัญคือการเรยี นรูจ้ ากมันและนำมา
เปน็ บทเรยี นสำหรบั นวตั กรรมของคุณในอนาคต”

Boutelle (2020) กลา่ วถงึ 7 ข้นั ตอนทีไ่ ดผ้ ลสำหรับการคิดเชิงนวัตกรรมและการลงมือทำ
นวัตกรรมทีป่ ระสบความสำเรจ็ ต้องการมากกวา่ การระดมความคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ มันต้องอาศัยการ
คิดอยา่ งมรี ะบบและกลอ่ งทเ่ี ต็มไปด้วยเครอื่ งมอื และเทคนคิ ต่าง ๆ ในการสรา้ งโอกาสใหม่ ๆ วิธีการ 7
ขั้นตอนการกระตนุ้ ของดารนิ กนั เลย

ขั้นตอนที่ 1 ค้นหาความท้าทาย (Clarifying the challenge) ก่อนที่จะสร้างแนวคดิ
แม้เพียงแนวคิดเดียว ทำใหแ้ นใ่ จวา่ ทศิ ทางของนวัตกรรมหรอื การพัฒนาผลิตภัณฑส์ อดคล้องกับพันธ
กิจของคุณและเกี่ยวข้องกับบรรดาลูกค้า ระบุปัญหาที่คุณกำลังหาทางแก้หรือโอกาสที่คุณจะใช้
ประโยชน์จากมนั คณุ นยิ ามความท้าทายอย่างไรก็เปน็ เรื่องสำคัญ สรา้ งความคดิ ท่ชี ัดเจนว่าความท้า
ทายด้านนวตั กรรมของคณุ คอื อะไรและเก็บรวบรวมจากมุมมองอนั หลากหลาย ไม่ใชเ่ พยี งมมุ มองของ
ซีอีโอเท่านั้น เก็บรวบรวมขอ้ มูลความเหน็ ของผู้ทีค่ ุณทำงานด้วย อะไรคือปัญหา ความท้าทาย และ
โอกาสสำหรับคณุ ? “อยา่ สร้างสรรค์นวตั กรรมดว้ ยความแปลกแยก ใหใ้ สใ่ จโซเชียลมเี ดียบา้ งเพอ่ื จะได้
รวู้ ่าลกู คา้ กำลงั คิดอะไรอยู่และคน้ หาความทา้ ทายโดยเฉพาะกบั ลูกคา้ ของคณุ ” ดารนิ กล่าว

ขน้ั ตอนท่ี 2 ต้ังคำถาม (Formulating the questions) เปลีย่ นความทา้ ทายของคุณ
ให้เปน็ ชุดคำถามหลาย ๆ ชดุ จดั การคำถามที่คุณสร้างขึ้นใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ จากหมวดคำถามทั่วไปไป
จนถงึ หมวดคำถามแบบเฉพาะเจาะจงมากขึ้นให้แต่ละคำถามเป็นตัวกระตุ้นท่ีช่วยให้คุณพัฒนา
คำถามเฉพาะเจาะจงให้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ในขั้นตอนการพัฒ นาและปรับปรุงคำถาม
เหล่านี้ สิ่งที่คุณต้องมองหาก็คือทางเลือกที่หลากหลายขึ้นเพื่อช่วยให้ใครสักคนสร้าง
เครือข่ายอันสร้างสรรค์ที่ช่วยจุดประกายความคิดขึ้นมาได้ให้ถามคำถามเหล่านั้นในช่วง
ชั่วโมงการระดมสมอง หรือในการทำการวิจัยการตลาด –เน้นในกลุ่มบุคคลหรือชุมชน
ออนไลน์ “ที่นี่แหละที่คุณจะค้นพบพลังแห่งคำถามอันชาญฉลาดกว่า มีคำถามคุณภาพ
มากมายพอ ๆ กับแนวคิดใหม่ ๆ ในระหว่างกระบวนการทางนวัตกรรม” ดารินกล่าว

ขั้นตอนที่ 3 สร้างแนวคดิ (Generating the ideas) ใช้คำถามจากขัน้ ตอนท่ี #2 ใน
การชว่ ยสร้างสรรค์แนวคดิ ความผดิ พลาดที่พบได้บอ่ ยในข้นั ตอนนค้ี ือการตัดความเป็นไปได้ออกโดย
การด่วนตดั สินแนวคดิ นัน้ ๆเร็วเกินไป ดารินบอกว่า “ให้สงั เกตว่าแนวคดิ ใดกำลงั เกดิ ขน้ึ แตอ่ ย่าด่วน
ตัดสินแนวคิดเหล่านั้นเร็วนัก เพราะมันเป็นเรื่องของขั้นตอนที่ #4” หาแนวคิดเตรียมไว้เลยสักร้อย
แนวคิด สร้างแนวคิดจากตวั เอง และรวบรวมจากแหลง่ อ่นื ๆ ดว้ ย

72

ข้นั ตอนท่ี 4 วเิ คราะห์และสังเคราะห์แนวคดิ (Analyzing and synthesizing ideas)
เมือ่ คณุ มีแนวคดิ มากมายแล้ว กต็ อ้ งจดั ให้เปน็ หมวดหมู่ บางแนวคดิ อาจเกี่ยวข้องกับอารมณ์ความรสู้ กึ
เทคนิค ความไม่สมเหตุสมผล การใช้งานได้ และคาดเดาได้ จัดวางแนวคิดรวมลงในถัง จากนั้นใส่
แนวคิดลงในชอ่ งเพือ่ จำกดั ให้แคบลง กรองและรอ่ นความคดิ เปลี่ยนจากการมีความคิดท่มี ากมายเปน็
การเลือกแนวคิดที่คุณต้องการจะพัฒนา ตัวอย่างเช่นสังเคราะห์แนวคิดจาก 500 แนวคิดให้เหลือ
เพียง 100 และจาก 100 ลดลงเหลือ 50 จาก 50 เหลือแค่ 5 เป็นต้น “อย่าแปลกใจหากคุณพบว่า
ตวั เองกำลังพยายามเอาแนวคดิ มาใสร่ วมกนั ” ดาริน อิคช์กลา่ ว

ขั้นตอนที่ 5 พัฒนาแนวคิด (Developing concepts) สร้างและขยายของเขตแนวคิด
ของคุณอีกสักหน่อย เพิ่มรายละเอียดให้กับโครงที่วางไว้ พัฒนาความคิดที่ดีที่สุดของคุณให้เป็น
แนวคิดที่สมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น “สร้างบอร์ดแนวคิดสำหรับแต่ละคน –แนวคิดที่คุณอยากแสดงให้
ลกู ค้าดู บางครงั้ ผมใชแ้ ค่อินเดก็ ซก์ าร์ด 3x5 ในการเรม่ิ ตน้ เท่านั้น” ดารินกล่าว นแี่ หละจดุ เร่มิ ตน้ ของ
การนำชีวิตชีวามาสแู่ นวคิดของคณุ ลองจนิ ตนาการว่าลูกคา้ ไดร้ ับรแู้ นวคิดนั้น แนวคิดน้นั ได้กลายเป็น
แพคเกจ และนำเสนอต่อลูกค้าแล้วดสู ิ แน่นอนวา่ ทั้งหมดเป็นแค่ความคดิ เท่านั้น แตก่ ารจินตนาการ
สามารถผลักดันแนวคิดไปข้างหน้าเพื่อให้คุณทำมันได้ดีขึ้น นวัตกรรมไม่เคยหยุดนิ่ง แม้ว่าจะถูก
นำเสนอไปแลว้ ก็ตาม

ขั้นตอนที่ 6 ทดส อบ แล ะเ ลือกส ร ร แนวคิด ( Testing and selecting
concepts) ขณะนี้คุณเข้าใกล้ขั้นตอนการนำเสนอนวัตกรรมหรือทางแก้ปัญหาแล้ว คุณ
สามารถนำเสนอแนวคิดเป็นข้อมูลภาพบนการ์ดอินเด็กซ์ได้ หรือในแบบสเก็ตซ์ หรือบน
“กระดานไวท์บอร์ด” โดยใช้แพลตฟอร์มอย่าง Digsite ให้การทดสอบแนวคิดหลาย ๆ
แนวคิดและดูว่าอันไหนที่ดีกว่าอันอ่ืน ๆ สังเกตว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับ
แนวคิดเหล่านี้ นี่อาจเป็นจุดท่ีองค์กรของคุณนำแนวคิดมาใช้เป็นขั้นตอนต้นแบบ หรือเป็น
จุดที่คุณเพิ่มรายละเอียดภาพให้กับการส่ือสารของคุณ

ขั้นตอนที่ 7 การสื่อสารและความก้าวหน้า (Communicating and advancing)
สร้างแนวคิดด้านผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุดของคุณเป็นหนึ่งเรื่องที่สำคัญ วิธีการสื่อสารและสถานที่ที่คุณ
สื่อสารแนวคิดของคุณก็เป็นอีกหนึ่งด้านทีส่ ำคัญไม่แพ้กัน คุณพร้อมจะเริ่มปฏิบัติการและนำเสนอ
แนวคิดของคุณแล้ว คุณอาจมีความรู้สึกลังเลขึ้นมา แต่อย่ารู้สึกแบบนั้นเลย แนวคิดของคุณไม่
จำเปน็ ตอ้ งสมบูรณแ์ บบหรอก คณุ สามารถพัฒนาได้เสมอหากคณุ ได้รวู้ า่ ผอู้ ืน่ มีความคิดเห็นตอ่ แนวคิด
ของคุณอย่างไร “เมอื่ กระบวนการดำเนนิ ไปอยา่ งถกู ตอ้ ง ผมได้เห็นคนท่เี ขาสามารถสรา้ งร้อยแนวคิด
ได้ภายในเวลาแค่ 2 ชั่วโมงเท่านั้น ลองจินตนาการดูสิว่าคุณจะสามารถทำได้ขนาดไหนเมื่อร่วมกับ
สมาชิกอีกหลายคนท่ีทำงานร่วมกัน” ดารินกล่าว “ให้อุปสรรคเป็นโอกาสในการเตบิ โตของเรา หาก
จำเป็นก็ให้ย้อนกลับไปที่ขั้นตอน #1 ใหม่และปรับความท้าทายใหม่ และเริ่มใหม่อีกครั้งเพราะวา่
นวัตกรรมเป็นสิ่งที่ไม่เคนหยุดนิ่ง” ฉันชอบวิธีการคิดอันละเอียดรอบคอบของดาริน มันทำให้
ความคิดของฉนั เฉยี บคม ความคิดเพิ่มขึน้ ทวีคูณ ทำให้คดิ ถึงความเป็นไปไดแ้ ละปรับปรงุ กระบวนการ
ทำงานรว่ มกนั ไดอ้ ย่างดี

73

2.3.6 ทศั นะเกยี่ วกบั การประเมินทักษะเชิงนวตั กรรม
Bukidnon State University, Malaybalay City, Bukidnon (2018). ไ ด ้ พ ั ฒ น า
แบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการสอนของครูในศตวรรษที่ 21 (Questionnaire for Teachers'
Practices on the 21st Century Skills) โดยมีส่วนหนึ่งเป็นแบบประเมินทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ดังมีข้อคำถามดงั น้ี
1) ระดมความคิดและหาโอกาสในการช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดและการรับมือกับ
สถานการณ์ต่าง ๆ (Brainstorm and seek out opportunities for learners to improve their
ideals and on the way they react to situations)
2) ปรับเปลี่ยนโมเดลและจำลองสถารการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้ลองแก้ปัญหาและสร้าง
แนวคดิ ใหม่ ๆข้นึ (manipulate models and simulations for the learners to experiment and
create new ideas)
3) จัดทำกราฟฟคิ เพื่อใช้อธิบายหัวข้อที่ยากและซบั ซ้อนใหเ้ ข้าใจได้ง่ายขึ้น (make graphic
organizers to illustrate difficul topics)
4) สร้างมาตรฐานโดยทำการประเมินผลการเรียนของผู้เรีย ( provide learners with
performance standards by which their work will be evaluated)
5) สังเกตผู้เรียนขณะเรียนรู้ด้วยตัวเองในห้องเรียน (observe the learners while they
are having the self-learning in the classroom)
6) ตรวจสอบให้แน่ใจว่าในห้องเรียนมีการเรียนรู้แบบโต้ตอบกันอย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้นซึ่ง
รวมถึงการสงเสริมให้ตั้งข้อสงสัยและมีการสะท้อนกา รเรียนรู้ (ensure that a more
comprehensive approach to inquiry that includes wonder and reflection must be used
in the classroom)
7) ใช้กลยุทธ์การสอนที่น่าสนใจและเหมาะสมกับจุดประสงค์การสอน ระดับผู้เรียนและ
รูปแบบการเรยี นรู้ (use engaging instructional strategies suitable to instructional purposes
and learner’s levels and learning styles)
8) แนะให้ผู้เรียนพิจารณาความน่าเชื่อถือ หรือความลำเอียงในข้อเรียกร้องต่างๆ โดยจัด
กิจกรรมที่เหมาะสมเพื่อช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ (guide the learners in examining reliability,
bias or credibility of claims by means of giving activities that suit in)
9) จดั ใหผ้ เู้ รียนมกี ารจดั การ จำแนก ต้งั คำถาม หรอื ประเมินผลงานของเพ่อื นๆ ในห้องเรียน
( facilitate the learners in organizing, classifying, questioning or evaluating the work of
their classmates)
10) พิจารณาบริบทหรือรวมเอามุมมองที่แตกต่างเข้าด้วยกันเพื่อใช้ประเมินแนวคิดหรือการ
ปฏิบัติ (consider contexts or incorporate different perspective to evaluate thoughts or
actions)
11) รวบรวมข้อมูลทเี่ กีย่ วขอ้ งและมุมมองต่างๆ เพ่อื ใช้ถ่ายทอดความคิด การปฏิบัติและความ
เชื่อมั่นให้แก่ผู้เรียน (bring together relevant information and perspectives to inform
thoughts, actions or belief to learners)

74

12) สังเคราะห์และตีความข้อมูลโดยการถามคำถามสำคัญซึ่งจะช่วยให้เห็นวิธีการแก้ปญั หา
กระจ่างมากยิ่งขึ้น (synthesize and interpret information by asking essential questions
that help clarify a path towards better solutions)

13) แบ่งปัญหาออกเป็นส่วนย่อยหรือเป็นข้อง่ายๆ และพัฒนาวิธีการแก้ปัญหาขึ้น (break
problems into smaller or simplier parts and develop criteria in solving problems)

14) เลือกปัญหาที่สามารถพบเจอได้ในชีวิตประจำวันและใหผ้ ู้เรียนไดล้ องหาวธิ ีแกป้ ัญหาด้วย
ตนเอง (select problems that are applicable to real life situations and let the leaners
find solution)

15) . เตรยี มแบบฝึกหดั ใหผ้ เู้ รยี นทำหลังจากดูวีดีโอจบ (prepare some worksheet for the
learners to complete after watching the video)

16) . เคารพประสบการณ์หรอื มุมมองของผู้เรียนและผู้อืน่ ขณะพวกเขาแบ่งปันความเหน็ หรอื
แสดงแนวคิดโดยปราศจากอคติ (respect the experience or views of my learners and others
when expressing opinions or ideas without bias)

17) . สนับสนุนหรือสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้สอนร่วมซึ่งอาจรู้สึกลำบากใจในการแบ่งปนั
ความรู้หรือความเห็นให้รู้สึกมั่นใจมากขึ้น(support or empower learners and co-teachers
who are reluctant to share their knowledge or views)

18) สร้างกิจกรรมรวมกลุ่มเพื่อส่งเสริมการทำงานร่วมกันและแบ่งปันภาวะผู้นำ (create
collaborative group activities to encourage paticipation and shared leadership)

19) สนบั สนนุ การประชุมทผ่ี ู้รว่ มประชุมสามารถโตต้ อบกนั ได้มากกว่าการจดั ประชมุ แบบน่งั ฟงั
หรือการประชุมแบบเดิมที่เคยมีมาก่อน (allow an open conference style of interaction
rather than the one-way seating or traditional desk)

20) ม่งุ เน้นด้านการเรยี นรดู้ ว้ ยโครงงานซงึ่ ชว่ ยให้ผู้เรยี นสามารถนำความรู้ทม่ี ีมารวบรวมกันใน
รูปแบบของคำถามที่เน้นและการประเมินสำหรับโครงงาน (focus on project-based learning
which enables learners to put knowledge together in the form of focused questions
and assessments for the project)

Research and Extension Unit, Food and Agriculture Organization of the United
Nations Rome (2017) สถาบันวิจัยและส่งเสริม องค์กรด้านอาหารและเกษตรกรรมแห่งองค์การ
สหประชาชาติ ณ กรุงโรม ได้พัฒนาแบบประเมนิ เครือ่ งมือวัดศักยภาพทางนวัตกรรม (Assessment
Of Innovation Capacities A Scoring Tool) โดยไดก้ ล่าวว่าเคร่อื งมอื ประเมนิ ศกั ยภาพที่ได้นำเสนอ
นี้เป็นวิธีการประเมินความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม การระบุจุดแข็งและจุดอ่ อน และ
ประเมินการเปลีย่ นแปลงความสามารถในท้ายท่สี ดุ เครอ่ื งมอื การวัดประเมนิ นเี้ น้นการประเมินทักษะ
ด้านอารมณ์ซงึ่ จำเปน็ สำหรับการร่วมมือกันในกระบวนการด้านนวตั กรรมช้ันนำ แต่ก็ยงั สามารถใช้วัด
ประเมินทักษะดา้ นเทคนคิ การทำงานและสภาพแวดล้อมที่เอื้อตอ่ นวตั กรรมดา้ นเกษตรกรรมอีกด้วย
หากนำไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม การประเมนิ น้จี ะเปน็ หลักฐานอ้างอิงสำคญั ดา้ นความคบื หนา้ และช่วยเพม่ิ
ประสิทธิภาพของโครงการหรือโปรแกรมการพฒั นาศักยภาพอกี ดว้ ย นอกจากนั้นแลว้ ยังช่วยให้ข้อมูล
เชิงลึกเกยี่ วกับศักยภาพดา้ นนวตั กรรมทมี่ ีวา่ สามารถนำไปใช้งานได้จริงไดม้ ากนอ้ ยแคเ่ พียงใด ซง่ึ เป็น

75

เร่อื งทส่ี ำคัญในการช่วยให้หุน้ สว่ นวตั กรรมและ/หรือองคก์ รใดองค์กรหน่ึงในการระบสุ ง่ิ ทต่ี ้องการที่จะ
พฒั นาศักยภาพ เครือ่ งมือการวัดประเมินนนั้ เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการประเมนิ ที่ครอบคลมุ หลายดา้ น ซึ่ง
เกี่ยวขอ้ งกบั ขนั้ ตอนและเคร่อื งมือท่ีหลากหลาย เช่น ลำดับเวลา แผนภมู วิ ิเคราะหป์ ญั หาและผู้มีส่วน
ได้ส่วนเสีย เครื่องมือทั้งหลายเหล่านี้ถูกพัฒนาขึ้นในโครงการการพัฒนาความสามารถด้านระบบ
นวัตกรรมด้านการเกษตร (Capacity Development for Agricultural Innovation Systems:
CDAIS) ซงึ่ ได้ปลกู ฝงั เคร่อื งมอื การประเมนิ แบบมีสว่ นร่วมในวงกวา้ งมากข้ึน

ตามที่แนวคิดที่ได้กล่าวถึงในขอบข่ายของการทำการเกษตรเขตร้อน (The Tropical
Agriculture Platform: TAP) เครือ่ งมอื การวดั ประเมนิ ถูกแบ่งออกเป็น 6 หวั ข้อ ซึ่งไดก้ ำหนดตัวช้วี ัด
ไว้ 24 ตัว มี 4 หัวข้อตัวชี้วัดที่ครอบคลุมกุญแจนวัตกรรมที่สำคัญหรือศักยภาพของระบบ ซ่ึง
ประกอบด้วย ความสามารถในการนำทางที่ซับซ้อน (ประกอบด้วยตัวชี้วัดทั้งหมด 9 ตัว)
ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น (ประกอบด้วยตัวชี้วัดทั้งหมด 3 ตัว) ความสามารถในการ
เรียนรู้และสะท้อนการเรียนรู้ (ประกอบด้วยตัวชว้ี ดั ทั้งหมด 4 ตวั ) ความสามารถในการมีส่วนร่วมใน
ดา้ นกลยทุ ธ์และการเมอื ง (ประกอบดว้ ยตวั ช้วี ัดทงั้ หมด 5 ตัว)

นอกจากนี้ยังมีการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมอีกสองหัวข้ออีกด้วย ได้แก่ ทักษะการทำงานด้าน
เทคนิค (ประกอบด้วย 1 ตวั ช้วี ดั ) และการสรา้ งสภาพแวดล้อม (ประกอบด้วย 2 ตวั ชีว้ ัด)

ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องและการพิจารณานำตัวชี้วัดเหล่านี้มาใช้นั้นล้วนขึ้นอยู่กับบริบท การ
ประเมินความต้องการและการพัฒนาศักยภาพนั้นสามารถช่วยกำหนดกลุ่มเป้าหมายในระดับที่
แตกตา่ งกัน ตัวอย่างเชน่ หนุ้ สว่ นด้านนวตั กรรม (กลุ่มผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย) ระดับท้องถิ่น และองค์กร
ระดับชาติที่มีความสำคัญ มีตัวชี้วัดหลายตัวที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายทั้งสองระดับ สามารถ
นำมาใช้ในการประเมินองคก์ รระดับชาติเช่นเดียวกันกับฝา่ ยหุน้ ส่วนดา้ นนวัตกรรมรายย่อย ตัวชี้วดั
เหล่านี้มีความเฉพาะเจาะจงกับหมวดหมู่เดียวหรืออาจเป็นได้หลายหมวดหมู่ สามารถนำไปใช้โดย
ตัดสินจากพฤติกรรมของเหล่าหุ้นส่วนซึ่งได้ทำการประเมินความสามารถ ดังนั้นแล้วแบบสอบถาม
เกี่ยวกับระดับศักยภาพที่ได้นำเสนอในภาคผนวก 1 จำเป็นต้องนำไปปรับให้เข้ากับสภาพของ
กลมุ่ เป้าหมายทตี่ ้องการ ซึง่ อาจตอ้ งมกี ารปรบั แต่งคำถามแตล่ ะขอ้ แต่ยังคงด้วยชุดตัวชี้วัดท่ีมีอยู่แล้ว
โดยเฉพาะมุมมองที่เกี่ยวข้องกบั การสร้างสภาพแวดล้อม (ด้านการกำกบั ดแู ล นโยบาย การทำงาน
รว่ มกนั ระหว่างการวิจัยและการส่งเสรมิ เปน็ ต้น)

สิ่งที่ต้องจำให้ขึ้นใจก็คือตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ไม่เพียงแต่สะท้อนศักยภาพอันหลากหลาย
เท่านั้น แต่ยังประกอบด้วยการพัฒนาศักยภาพที่แตกต่างกันแบบสามมติ ิอกี ด้วย (ประกอบด้วยส่วน
บุคคล ส่วนองคก์ รและการสร้างสภาพแวดลอ้ ม) ในระดับบุคคลนน้ั การพัฒนาศักยภาพจะเก่ียวข้อง
กับการให้ความรู้และพัฒนาทักษะต่างๆ อย่างเช่นการจัดอบรม การเรียนรู้แบบลงมือทำ หรือการ
เรียนรู้ร่วมกัน สิ่งเหล่านี้มีขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพการทำงาน การกำหนดความรับผิดชอบหรือการ
สร้างแรงจูงใจผ่านการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรม ขณะที่ในระดับองค์กร การยื่นมือเขา้ ไป
เพื่อพฒั นาศกั ยภาพในระดับองคก์ รนน้ั จะต้องเนน้ ที่การให้ความสำคัญของคำสั่ง เคร่ืองมือ นโยบาย
หรอื ระบบการบริหารซงึ่ ช่วยให้องค์กรเกดิ การเปลีย่ นแปลงและนำไปปรบั ใชเ้ พ่อื การพัฒนาศักยภาพ
องค์กร และในระดับการสร้างสภาพแวดล้อม ทั้งในสถาบันที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการก็ล้วน
สำคัญ ดังนั้นการพัฒนาศักยภาพจะเน้นในเรื่องนโยบาย 5 CONCEPTUAL BACKGROUND

76

OCCASIONAL PAPERS ON INNOVATION IN FAMILY FARMING แ ล ะ ก ร อบกา รกำ กับดูแล
เชน่ เดยี วกับความสัมพันธแ์ ละกระบวนการทางการเมอื ง การรวมเอามติ ิอนั หลากหลายด้านการพฒั นา
ศักยภาพคือความต้องการทเี่ พ่มิ มากขน้ึ ในบริบทของโปรเจคหรอื โปรแกรมท้ังหลาย และเคร่ืองมือการ
ใหค้ ะแนนกไ็ ด้ถูกออกแบบมาเพอื่ ใชใ้ นการน้ี

ภาพรวมของตวั ชวี้ ดั ท่ีใชใ้ นแบบสอบถามการให้คะแนนด้านศักยภาพ (Overview of
indicators used in the capacity scoring questionnaire)

หัวขอ้ ท่ี 1: ศักยภาพในการรบั มอื กบั ความซับซ้อน (Capacity To Navigate
Complexity)

ตวั ช้ีวดั ที่ 1.1 – การมีทกั ษะในการทำความเข้าใจและแกไ้ ขปัญหา (Availability of skills
to understand and solve problems

ตวั ชว้ี ัดที่ 1.2 – การมีทกั ษะด้านการจัดการ (Availability of management skills)
ตวั ชว้ี ดั ที่ 1.3 – การเข้าถึงและการระดมทรพั ยากรจากกลุ่ม/หนุ้ สว่ น (Access to and
mobilization of resources by group/partnership)
ตวั ชี้วัดท่ี 1.4 – การเข้าถงึ และแบง่ ปันขอ้ มลู โดยผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ภายในกล่มุ /หุ้นส่วน
(Access to and sharing of information by stakeholders within the group/partnership)
ตัวชว้ี ัดที่ 1.5 – การเขา้ ถงึ และการแบง่ ปนั ขอ้ มลู ในกลมุ่ /หุ้นส่วนโดยบคุ คลภายนอก
(Access to and sharing of information by group/partnership with outside actors)
ตัวชี้วดั ท่ี 1.6 – ส่งเสรมิ ความรจู้ ากทอ้ งถนิ่ เพอ่ื นำมาใชใ้ นการพิจารณาตดั สินใจ (Extent
to which value of local knowledge is recognized in decision-making)
ตัวชว้ี ัดท่ี 1.7 – มกี ารตัดสินใจรว่ มกนั ในกลุ่ม/หุ้นสว่ น (Extent of informed decision-
making in the group/partnership)
ตัวชีว้ ดั ท่ี 1.8 – มกี ารพฒั นาและระบุวิสยั ทัศนท์ ซ่ี ึง่ ภายในกลุ่ม/ห้นุ สว่ นอยากใหม้ ใี น
อนาคต (Development and identification of a vision where the group/partnership
wants to be in the future)
ตวั ชี้วัดที่ 1.9 – การพัฒนาและระบกุ ลยทุ ธ์ (Development and identification of
strategy)
หวั ขอ้ ท่ี 2: ศกั ยภาพในการทำงานรว่ มกับผู้อื่น (Capacity To Collaborate)
ตวั ชว้ี ดั ที่ 2.1 – การมีความร่วมมือกันภายในกล่มุ /ห้นุ สว่ น (Existence of cooperation
among actors in the group/partnership)
ตวั ช้ีวัดที่ 2.2 – การสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี รว่ มตวั แทนในการทำงานรว่ มกนั
(Extent of representation of stakeholders in coordination)
ตัวชี้วัดท่ี 2.3 – การมีแรงจงู ใจในการสรา้ งเครอื ข่าย ร่วมเปน็ หนุ้ ส่วน การมีปฏสิ มั พันธ์กบั
ผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี หลายราย (Existence of incentives for networking, partnering, multi
stakeholder interaction)

77

หัวข้อท่ี 3: ศกั ยภาพด้านการสะทอ้ นและการเรยี นรู้ (Capacity To Reflect And
Learn)

ตัวชีว้ ัดท่ี 3.1 – การมสี ภาพแวดล้อมทส่ี ่งเสริมใหเ้ กิดการเรยี นรแู้ ละทดลองร่วมกัน
(Existence of environment that encourages joint learning and experimentation)

ตัวช้วี ัดท่ี 3.2 – การมสี ่วนร่วมในการจดั อบรมซงึ่ ครอบคลุมกระบวนการด้านนวตั กรรมทผี่ ู้
มีสว่ นไดส้ ่วนเสียหลายราย (Participation in training programmes that cover multi-
stakeholder innovation processes )

ตวั ชี้วัดที่ 3.3 – การมคี วามเขา้ ใจในกระแสความรู้ (Understanding of knowledge
flows)

ตัวชวี้ ดั ที่ 3.4 – กระบวนการเกบ็ ข้อมลู และให้การดแู ล (Documentation and
monitoring processes)

หัวขอ้ ที่ 4: ศกั ยภาพดา้ นการมีส่วนร่วมในดา้ นกลยทุ ธแ์ ละกระบวนการทางการเมือง
(Capacity To Engage In Strategic And Political Processes)

ตัวช้ีวดั ที่ 4.1 – บทบาทและความรบั ผิดชอบของผนู้ ำ (Role and responsibilities of
leadership)

ตวั ชีว้ ัดท่ี 4.2 – ระดบั ความเข้าใจด้านการพฒั นาด้านเกษตรกรรมในหมผู่ มู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี
(Degree of awareness of agricultural development issues among stakeholders)

ตวั ชว้ี ัดที่ 4.3 – ระดับความเข้าใจดา้ นโอกาสในการเปลีย่ นแปลงนโยบาย (Degree of
awareness of opportunities for policy change)

ตัวช้ีวัดที่ 4.4 – สง่ เสริมกระบวนการตดั สินใจทไี่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลมากจากผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสีย
(Extent to which decision-making processes are influenced by stakeholders)

ตัวชว้ี ดั ท่ี 4.5 – มีช่องทางการสือ่ สารทท่ี รงประสทิ ธภิ าพ (Effectiveness of
communication channels)

หัวข้อท่ี 5: ทกั ษะด้านเทคนิคการทำงาน (Technical Skills)
ตัวชี้วดั ท่ี 5.1 – การมีทกั ษะความสามารถทจ่ี ำเป็นตอ้ งใช้ (Availability of required
technical skills)
หวั ขอ้ ท่ี 6: การสร้างสภาพแวดลอ้ ม (Enabling Environment)
ตวั ชี้วัดที่ 6.1 – สรา้ งสถานการณท์ างเศรษฐกจิ และสงั คมทดี่ ีสำหรับการเช่ือมโยงผ้ผู ลติ กบั
ตลาด (Favourable socio-economic circumstances for linking producers to markets)
ตวั ชี้วัดท่ี 6.2 – มกี ระบวนการลงทะเบยี น / การรบั รองด้านการเกษตรที่มปี ระสทิ ธภิ าพ
(Efficiency of registration/certification processes in agriculture)
Butter & Beest (2017) ทำวิจัยเรื่องการตรวจสอบเคร่ืองมือวดั ประสิทธิภาพของทกั ษะ
เชิงนวัตกรรม การพัฒนาและประเมินเครื่องมือ โดยวิธีการแบบผสม เขากล่าวในบทคัดย่องานวิจยั
ของเขาว่า คณะกรรมาธิการยโุ รปได้ระบุวา่ นวตั กรรมเปน็ ตัวขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจของ
สหภาพยโุ รป มหาวทิ ยาลัยท่ีมคี วามเชยี่ วชาญทางด้านวิทยาศาสตร์มีความท้ายทายอย่างมากที่จะให้
นกั เรียนของพวกเขาสรา้ งนวัตกรรมขนึ้ มา ความพยายามสรา้ งนวัตกรรมไม่ได้จำกัดอย่ใู นมหาวทิ ยาลยั

78

เท่านนั้ แม้แต่ธุรกจิ เองกต็ ้องการนวัตกรรม เขาไดเ้ สนอ FINCODA (รปู แบบการประเมินประสทิ ธิภาพ
ของนวัตกรรม) เพื่อเป็นเครื่องมือการประเมินตนเองผ่านระบบออนไลน์ซึ่งช่วยในการสร้างความ
รว่ มมือในการสร้างนวัตกรรมระหว่างภาคการศึกษากบั ภาคธรุ กจิ มีการสรา้ งความตระหนักถึงความ
จำเปน็ ในการมีสว่ นร่วมในการสรา้ งนวตั กรรมของทมี และบริษัท และทำใหน้ ักเรียน รวมถึงผู้ท่ีทำงาน
ในองคก์ รธรุ กิจไดม้ โี อกาสรว่ มมอื กันในการสรา้ งนวัตกรรม นอกจากน้ี เครอ่ื งมือดังกลา่ วยังทำให้การ
คัดเลือกผู้เข้าร่วมทีมด้วยการใช้รูปแบบการสัมภาษณ์เชิงพฤติกรรม FINCODA นั้นแตกต่างจาก
เครือ่ งมือแบบอ่นื ๆ เพราะมคี วามน่าเชอื่ ถือและมคี วามถกู ต้องทดี่ กี ว่า FINCODA แสดงความสัมพนั ธ์
เชงิ บวก และแสดงความมีนยั สำคัญกับพฤตกิ รรมเชงิ นวตั กรรม ผูใ้ ช้สามารถใหค้ ะแนนตนเอง หัวหน้า
ฝา่ ยกส็ ามารถให้คะแนนไดด้ ว้ ย รวมถงึ เคร่อื งมือยงั สามารถแสดงผลเชิงคณุ ภาพของนวัตกรรมไดด้ ว้ ย

จากผลการวจิ ัย เราไดเ้ ครือ่ งมอื สำหรบั ประเมนิ ตนเองและประเมนิ โดยหวั หน้าหนว่ ยงาน
เคร่ืองมอื ที่ใช้ตัง้ คำถามว่า เพื่อประโยชน์ของการสร้างนวัตกรรม คุณคิดว่าคณุ มีความสามารถทจี่ ะ :

1) มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ – เปน็ คนท่ีชอบคดิ โครงการใหม่ๆ (Creative thinking - Someone
who likes to think about a new project approach)

2) มีความคิดสรา้ งสรรค์ – เปน็ คนท่มี คี วามท้าทายในการคิดคน้ ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ในแบบของ
ตนเอง (Creative thinking - Someone who finds it challenging to develop new products
in this/her own discipline)

3) มีความคิดสร้างสรรค์ – เป็นคนที่ชอบคิดว่าจะทำอย่างไรให้งานที่ทำอยู่มีการพัฒนาข้นึ (
Creative thinking - Someone who likes thinking about how work can be improved)

4) มีความคิดสร้างสรรค์ – เป็นคนที่ชอบคิดว่าปัญหาที่ซับซ้อนนั้นมีความท้าทายแฝงอยู่
(Creative thinking - Someone who sees complex problems as challenging)

5) มีความคิดสร้างสรรค์ –เป็นคนที่เก่งในการค้นหาวิธีการใหม่ๆมาจัดการกบั ปัญหาที่กำลัง
เจออยู่ (Creative thinking - Someone who is good at finding a new solution to an existing
problem)

6) มีความคิดสร้างสรรค์ – เป็นคนที่เก่งในการรวมและผสมวิธีการหลายๆแบบ (Creative
thinking - Someone who is good at combining different disciplines)

7) มีความคิดสรา้ งสรรค์ – เป็นคนที่สามารถผสมผสานความคิดใหมๆ่ กบั ความคิดเดมิ ที่มีอยู่
แล้ว (Creative thinking - Someone who can link new ideas to existing ideas)

8) แรงจูงใจจากภายใน – เป็นคนที่มองเห็นโครงการที่ท้าทายในอนาคต(Intrinsic
motivation - Someone who sees his/her work/project as challenging)

9) แรงจงู ใจจากภายใน – เปน็ คนทีม่ องเหน็ ความนา่ สนใจในการทำงานของตนเอง (Intrinsic
motivation - Someone who finds his/her work field interesting)

10) ความเป็นอิสระ – เป็นคนที่รู้สึกมีอิสระที่จะทำสิ่งใหม่ๆในงานที่ตนเองรับผิดชอบอยู่
( Freedom - Someone who feels freedom to pick up new things as part of his/her job
responsibilities)

11) ความเป็นอิสระ – เป็นคนที่มีเวลาให้กับส่ิงใหม่ๆอยู่เสมอ( Freedom - Someone who
thinks that there is enough time to pick up new things)

79

12) ความเป็นอิสระ – เป็นคนที่รู้ว่าหัวหน้าทีมจะคาดหวังอะไรจากเขาได้ (Freedom -
Someone who clearly knows what is expected from him//her)

13) อิสระในตนเอง –คิดว่าทำงานของตัวเองได้ดี (Autonomy - Someone who thinks
he/she is good at his/her work)

14) อสิ ระในตนเอง – เป็นคนทร่ี บั ผดิ ชอบงานในแต่ละวนั ได้ดี (Autonomy - Someone who
can do his/her core tasks in a routine manner)

15) มีพฤติกรรมทำงานเชิงรุก – เป็นคนที่สามารถพัฒนาตนเองได้ (Proactive behavior -
Someone who can improve himself/herself)

16) มีพฤติกรรมทำงานเชิงรุก – เป็นคนทีม่ องหาวิธีพฒั นาการทำงานของตนเอง (Proactive
behavior - Someone who is looking for ways to improve work processes)

17) มีพฤติกรรมทำงานเชิงรุก – เป็นคนที่ลองพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการที่เกี่ยวข้องกับ
องคก์ รท่ที ำงานอยู่ (Proactive behavior - Someone who is trying to improve the products
or services which he/she works with/on)

18) มีพฤติกรรมทำงานเชงิ รุก – เป็นคนท่ีต้องการคำแนะนำในการทำงานของตนเองอยู่เสมอ
(Proactive behavior - Someone who regularly asks others for feedback on his/her own
performance)

19) มีพฤติกรรมทำงานเชิงรุก – เป็นคนที่ต้องการคำแนะนำในงานที่ตนเองเข้าไปมีส่วนร่วม
(Proactive behavior - Someone who regularly asks others for feedback on what he/she
is involved with)

20) มพี ฤติกรรมทำงานเชงิ รุก – เป็นคนทีร่ ับฟงั ความคดิ เห็นของคนอ่นื ๆเมอื่ เขาสร้างสิ่งใหม่ๆ
ขึ้นมา (Proactive behavior - Someone who asks for the opinion of others when he/she
invents something new)

21) มีพฤติกรรมทำงานเชิงรุก – เป็นคนให้ความสำคญั กับการพัฒนาในสิง่ ท่ีเขารับผิดชอบอยู่
รวมถึงการหาโอกาสใหม่ๆด้วย (Proactive behavior - Someone who is aware of the
developments in his/her discipline allowing him/her to identify new opportunities)

22) มีพฤตกิ รรมทำงานเชงิ รุก – เปน็ คนท่ีตรวจสอบขา่ วสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับงานที่เขาทำอยู่ และ
มองว่างานที่เขาทำนั้นน่าสนใจ (Proactive behavior - Someone who checks if news that
relates to his/her discipline or work field, is interesting for his/her work)

23) ยอมรับความเสี่ยงได้ – เป็นคนที่สามารถยอมรับความเสี่ยงในการทำงานได้ (Risk
tolerance - Someone who is willing to take risks in his/her work)

24) ยอมรบั ความเสี่ยงได้ – เปน็ คนที่ชอบความทา้ ทาย แม้วา่ ความทา้ ทายน้ันอาจทำใหอ้ งค์กร
หรือบริษัทต้องพบความเสี่ยง (Risk tolerance - Someone who likes to take a challenge,
even if it’s a risk for the company/organization)

25) ยอมรับความเสี่ยงได้ – เป็นคนที่ยอมรับความเสี่ยงเพื่อการสร้างนวัตกรรม (Risk
tolerance - Someone who takes risks in order to be innovation)

80

26) ยอมรับความเสี่ยงได้ – เป็นคนที่ชอบสถานการณ์ที่คาดเดาไม่ได้( Risk tolerance -
Someone who loves unpredictability)

27) ยอมรับความเสี่ยงได้ – เป็นคนที่เพื่อนร่วมงานสามารถกระตุ้นให้เกิดความคิดได้ (Risk
tolerance - Someone who is strongly stimulated by colleagues who seek renewal)

28) ยอมรบั ความเสี่ยงได้ – เปน็ คนท่คี ดิ ว่าการเข้ามาควบคมุ การทำงานน้ันไมม่ ีประโยชน์ (Risk
tolerance - Someone who doesn’t find it important to have control over his/her work)

29) ยอมรับความเสี่ยงได้ – เป็นคนที่เข้าใจและรับรู้ว่าทุกโครงการที่เข้าไปมีส่วนร่วม จะไม่
ประสบความสำเร็จทั้งหมด (Risk tolerance - Someone who finds it logical that not all the
projects he/she participates in are successful)
หมายเหตุ : 1. ไมเ่ หน็ ดว้ ยอยา่ งมาก (Strongly disagree) 2. ไม่เหน็ ด้วย (Disagree a little) 3. ปาน
กลาง (Neither disagree nor agree) 4. เห็นดว้ ย (Agree a little )5. เหน็ ด้วยอยา่ งมาก (Strongly
agree)

Chell & Athayde (2009) ทำวิจัยเรื่อง การระบุและการประเมินคุณลักษณะแห่ง
นวัตกรรมของคนในวยั หนุม่ สาว และการพฒั นาเคร่ืองมือในการตรวจสอบนวัตกรรมของคนหนุ่มสาว
โดยเขากลา่ ววา่ การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเครื่องมือวัดและตรวจสอบนวัตกรรมของคนหนุ่ม
สาวนนั้ อา้ งองิ ตามการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเกณฑ์การตรวจสอบในเครอื่ งมือชุดแรก โดยชุด
ปัจจุบันเป็นเครื่องมือที่ได้รับการพัฒนามาเป็นชุดที่สามแล้ว โดยมีการใช้ตัวแปรหลายอย่าง ซ่ึง
เกี่ยวขอ้ งกบั ความตง้ั ใจของนักเรยี นในการสรา้ งอาชีพทางด้านนวัตกรรม ผูต้ อบแบบสอบถามจะต้อง
ระบุระดบั ความเหน็ ดว้ ยหรือไม่เหน็ ด้วย โดยใช้ระดบั 1 ถงึ ระดบั 7 ในการตอบคำถามท่ีเก่ียวข้องกับ
ดา้ นต่างๆ ดงั นี้

ความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creativity)
1) ฉนั ต้องการการเรยี นทมี่ ีกจิ กรรมท่ใี ชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์ (I would like my lessons to

involve lots of different creative activities)
2) ฉันชอบการเรยี นทมี่ ีกิจกรรมตา่ งๆมากกว่าการน่ังเรยี นเฉยๆที่โต๊ะ( I prefer lessons that

involve different activities rather than just sitting at my desk)
3) ฉนั รู้สึกภมู ิใจทีไ่ ด้ออกแบบอะไรบางอยา่ งดว้ ยตัวเอง (I feel proud when I’ve

designed something myself and made it)
4) ฉันชอบทำงานอะไรกต็ ามที่ใชง้ านไดจ้ ริง ( I like doing things that are very practical)
5) ฉันเลือกวชิ าเรยี นในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ทใี่ ห้โอกาสฉนั ไดน้ ำเสนอความคดิ (I have

chosen subjects at school/college that give me the freedom to express my
own ideas)
6) จนิ ตนาการของฉันเปน็ ประโยชนต์ อ่ วชิ าเรียนในโรงเรยี น / มหาวทิ ยาลัย (The subjects I
have chosen at school/college require my imagination)
ความเป็นผู้นำ (Leadership)
1) ฉนั ชอบการเปน็ ผนู้ ำกลมุ่ (I really like being leader of a group)

81

2) การทำงานโครงการ ทำให้ฉนั มโี อกาสไดเ้ ปน็ ผนู้ ำกลุ่ม (Project work gives me the
chance to take a leading role in the group)

3) ในระหว่างการทำงานเป็นทีม ฉนั พยายามกระตุ้นใหท้ กุ คนคล้อยตามความคดิ ของฉนั
(When working in a group I do my best to persuade the others to take up
my ideas)

4) ฉนั เลือกทจี่ ะทำงานในตำแหนง่ ผนู้ ำทมี เสมอ (I am often chosen to be the team
leader or captain of my team)

5) ฉนั ชอบการทำงานบรหิ ารทมี (I like organising other people)
6) เมอื่ เพอ่ื นๆในทีมไมส่ ามารถตดั สินใจได้ พวกเขารบั ฟงั คำแนะนำของฉนั (My friends

follow my suggestions when they can’t make up their minds)
ความม่งุ มัน่ (Energy)
1) มีกำลงั ใจในการทำงาน เมือ่ ไดร้ บั รางวลั จากการทำงาน (It’s energising when you are
given rewards for good work)
2) ฉนั รู้สึกต่ืนเตน้ และมีกำลงั ใจเมื่อฉนั ได้สร้างส่ิงท่ไี ม่เคยมีใครทำได(้ I feel really
motivated when I produce something that no one else has)
3) ฉนั กระตือรอื รน้ ในการเรยี นวชิ าท่ฉี นั เลอื ก (I feel really enthusiastic about my
chosen subjects)
4) ฉันกระตือรอื รน้ ที่จะชว่ ยเหลอื ผ้อู ่นื (It’s energising and rewarding to help other
people)
5) ฉนั พยายามทำคะแนนใหไ้ ดด้ ี (I really push myself to achieve good grades)
6) เมื่อฉนั ทำอะไรก็ตาม ฉนั มเี ป้าหมายเสมอ (When I’m doing something I like to feel
it has a purpose or goal)
7) ฉันมพี ลงั มากมายในการทำงานแต่ละวนั ( I have lots of energy for work and play)
การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy)
1) ฉนั มองหาส่ิงอนื่ ๆท่อี ยภู่ ายนอกโรงเรยี น/ มหาวิทยาลัย แต่สง่ิ นัน้ ฉนั ตอ้ งรสู้ กึ ว่าควบคุมได้
ไมก่ อ่ ให้เกดิ ปญั หาตามมา (I like to pursue my interests outside school/college
where I feel more in control)
2) ฉนั คดิ วา่ ในอนาคตฉนั อยากทำงานทท่ี ้าทาย ในขอบเขตท่ีตนเองสนใจ (I want my future
work to be based around a set of challenges that I would find interesting)
3) เมอื่ ฉันเรม่ิ ตน้ ทำอะไรแล้ว ฉนั จะทำใหส้ ำเร็จ (Once I start something I like to finish
it)
4) ฉันจะเข้ารว่ มกลมุ่ /ชมรม ที่ตนเองสนใจ โดยไมส่ นใจวา่ เพ่อื นสนทิ ของฉันจะเข้ารว่ มหรอื ไม่
(I would join a club/interest group independently of my friends if it was
something I really wanted to do)
5) ความคิดของผอู้ ื่นไม่ไดม้ ผี ลกบั ฉนั มากนกั ฉนั จะทำในสงิ่ ทีฉ่ นั คดิ ว่าดีที่สดุ (I’m not easily
swayed by other people’s opinions, but do what I think is best)

82

6) นกั เรียนควรออกความเหน็ เก่ียวกบั แนวทางการดำเนินงานของโรงเรียน/มหาวทิ ยาลัย
(Students should have a say in how a school/college is run)

7) เงินของฉันมีความสำคญั เพราะน่ันทำให้ฉนั รสู้ ึกว่ามีอสิ ระ (My spending money is
important because it gives me a sense of my independence)

8) มคี นบอกใหฉ้ ันลองพจิ ารณาตัวเอง (I’ve been brought up to think for myself)
การชอบความเสยี่ ง (Risk-propensity)

1) เมอื่ ฉันต้องตดั สินใจ ฉันคดิ เสมอวา่ สงิ่ ทจี่ ะเกิดขึ้นกบั ฉนั ในอนาคตมอี ะไรบา้ ง (When I
make choices I want to be as sure as possible what the future
consequences will be for me)

2) 2. ฉันต้องการใหก้ ารทำงานของฉันเป็นโอกาสทจี่ ะแสดงใหท้ กุ คนเหน็ ว่าฉันสามารถ
แกป้ ัญหาได้ ( I want my work to provide me with opportunities to show that
I can overcome problems)

3) ฉนั จะไม่เส่ียงในกจิ กรรมทอี่ าจจะทำให้ฉนั ไดค้ ะแนนนอ้ ยลงในการเรียนในโรงเรียน /
มหาวทิ ยาลยั (I would not take a risk on an activity that might spoil my
chances of getting good grades at school/college)

4) สิ่งทก่ี ระตุน้ ฉันในการเรียนในโรงเรยี น/ มหาวทิ ยาลัยคอื ความกลวั สอบตก (Fearing that I
might fail my exams is a powerful motivator at school/college)
จากผลการศึกษาทศั นะเกย่ี วกับลกั ษณะหรอื คณุ ลักษณะทีแ่ สดงถึงการสรา้ งนวตั กรรม ของ

Zenger (2015), Rosales (2018), Premuzic (2013) และจากการศึกษาข้อคำถามในแบบสอบถาม
ข อ ง Bukidnon State University (2018), Research and Extension Unit, Food and
Agriculture Organization of the United Nations Rome (2 0 1 7 ) , Butter & Beest (2017),
Chell & Athayde (2009) ได้ขอ้ คำถามเพ่ือใช้ในแบบประเมนิ การบรรลคุ วามคาดหวังจากการพฒั นา
ทักษะนวตั กรรมของนักเรียนในดา้ นต่าง ๆ ดังน้ี

ความม่งุ ม่ัน

1) ฉนั มเี ป้าหมายในการทำงานเสมอ
2) ฉันมีพลังมากมายในการทำงานแตล่ ะวนั
3) ฉนั กระตอื รอื ร้นในการเรยี นวิชาทฉ่ี นั เลอื ก
4) ฉันกระตอื รือร้นทีจ่ ะช่วยเหลอื ผูอ้ ืน่
5) ฉันรสู้ ึกตนื่ เต้นและมีกำลงั ใจเมอื่ ฉันไดส้ รา้ งส่งิ ที่ไมเ่ คยมีใครทำได้

ความตระหนักในความสามารถของตนเอง
6) ฉนั มองหาสิ่งอน่ื ๆท่ีอยูภ่ ายนอกโรงเรียน ท่ฉี ันรสู้ ึกวา่ ควบคุมได้ ไมก่ ่อให้เกดิ ปญั หาตามมา
7) ในอนาคตฉันฉันอยากทำงานทท่ี ้าทายทตี่ นเองสนใจ
8) ฉนั เชอื่ มั่นในตนเองวา่ เม่อื เริ่มตน้ ทำอะไรแลว้ ฉนั สามารถทำใหส้ ำเร็จได้
9) ฉันจะเขา้ ร่วมในกจิ กรรมทต่ี นเองสนใจ โดยไมส่ นใจว่าเพ่ือนสนทิ ของฉันจะเข้ารว่ มหรือไม่
10) ฉนั เชื่อมั่นในความคิดของตวั เอง ฉนั จะทำในสิง่ ทฉ่ี ันคดิ ว่าดีที่สดุ
11) ฉันเช่ือว่านักเรียนควรออกความเห็นเกยี่ วกบั แนวทางการดำเนินงานของโรงเรยี น

83

ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละเปน็ อสิ ระ
12) ฉันชอบคิดทำโครงการใหมๆ่
13) ฉันชอบประดษิ ฐ์ส่ิงใหมๆ่ ในแบบของตนเอง
14) ฉันชอบคดิ จะทำใหง้ านทที่ ำอยู่มีการพฒั นาขนึ้
15) ฉนั คิดว่าปญั หาทซ่ี บั ซ้อนนน้ั มีความท้าทายแฝงอยู่
16) ฉันชอบค้นหาวธิ กี ารใหม่ๆ มาจัดการกับปญั หาท่กี ำลงั เจออยู่
17) ฉนั สามารถผสมผสานความคดิ ใหม่ๆ กบั ความคิดเดมิ ทม่ี อี ยูแ่ ล้ว
18) ฉันรสู้ กึ มีอิสระทจ่ี ะทำสิง่ ใหม่ๆในงานทีต่ นเองรบั ผิดชอบ
19) ฉนั เปน็ คนท่มี เี วลาใหก้ บั สงิ่ ใหม่ๆอยู่เสมอ
20) ฉนั คิดวา่ ฉนั สามารถทำงานของตวั เองไดด้ ี
21) ฉันเปน็ คนที่รบั ผดิ ชอบงานในแตล่ ะวนั ได้ดี
22) ฉนั ตอ้ งการการเรียนทมี่ กี จิ กรรมที่ใช้ความคดิ สรา้ งสรรค์
23) ฉันชอบการเรียนทมี่ กี จิ กรรมต่างๆมากกว่าการนง่ั เรยี นเฉยๆทโ่ี ต๊ะ

การเผชญิ กบั ปญั หาและความซับซอ้ น
24) ฉนั มีทักษะในการทำความเข้าใจและแกไ้ ขปัญหา
25) ฉนั มที กั ษะการตัดสนิ ใจรว่ มกันในกล่มุ
26) ฉันมีทักษะในการวางแผนเพื่อกำหนดกลยทุ ธ์
27) ฉันชอบมองหาวธิ ีพฒั นาการทำงานของตนเอง
28) ฉนั รบั ฟงั ความคดิ เห็นของคนอนื่ ๆ เมือ่ เขาสรา้ งส่งิ ใหม่ๆข้นึ มา
29) ฉันให้ความสำคญั กับการพฒั นาในส่งิ ทีร่ ับผิดชอบอยู่ และการหาโอกาสใหม่ๆดว้ ย

กลา้ เสย่ี ง
30) ฉันยอมรบั ความเส่ยี งในการทำงานได้
31) ฉันชอบความทา้ ทาย แม้ว่าความท้าทายน้ันอาจทำใหฉ้ นั ตอ้ งพบความเส่ียง
32) ฉันยอมรบั ความเสย่ี งเพ่อื การสรา้ งนวตั กรรม
33) ฉันเปน็ คนที่เพ่อื นรว่ มงานสามารถกระตุ้นให้เกิดความคิดได้
34) ฉันคดิ ว่าการเขา้ มาควบคุมการทำงานอยา่ งเข้มงวดนนั้ ไมม่ ีประโยชน์
35) ฉันเข้าใจว่าทุกโครงการทเ่ี ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ ม จะไม่ประสบความสำเร็จทัง้ หมด

กล่าวโดยสรุป จากนิยามของทักษะเชิงนวัตกรรม (Innovation Skills) หมายถึง สิ่งที่มี
พน้ื ฐานมาจากความสงสัยใครร่ ู้ ความเต็มใจทีจ่ ะเสย่ี งและการทดสอบข้อสนั นิษฐาน และยังมีพ้ืนฐาน
มาจากการรบั รู้ถงึ โอกาสและใช้ประโยชน์จากโอกาสน้นั นวตั กรรมจึงเปน็ กระบวนการผลติ ผลของมโน
ภาพทเ่ี กิดขึน้ ใหม่จากการนำแนวคดิ ใหมๆ่ มาลงมือปฏบิ ตั ิ ตามความจริงและตามวถิ ขี องการลงมือทำ
เป็นทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรมทีม่ ีการยอมรับกัน โดยมุ่งไปที่การคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ การสื่อสารและความรว่ มมือ ซง่ึ จำเป็นสำหรับการเตรยี มผเู้ รยี นสู่อนาคตและยงั สามารถ
สร้างวัฒนธรรมแห่งนวัตกรรม นำทางไปสู่การคิดเชิงนวัตกรรมและการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
และจากการศกึ ษาคุณลักษณะของบุคคลท่มี ีทกั ษะเชิงนวัตกรรม จากทัศนะของ Premuzic (2013) ,
Rosales (2018) และ Zenger (2015) และจากผลจากการศึกษาแนวคิดการประเมินทักษะเชิง

84

นวัตกรรม จากทัศนะของ คือ Bukidnon State University. (2018) , Butter, and Beest (2017)
และ Chell and Athayde (2009) และ Research and Extension Unit, Food and Agriculture
Organization of the United Nations Rome. (2017) ได้กำหนดทักษะเพื่อการประเมินผลจาก
การพัฒนา 5 ทกั ษะ แต่ละทกั ษะมีนิยามศพั ทเ์ ฉพาะดงั นี้

1.ความมุ่งมั่น (Energy) หมายถึง ลักษณะหรือคุณลักษณะของการมีเป้าหมายในการ
ทำงานเสมอ มีพลังมากมายในการทำงานแต่ละวัน กระตือรือร้นในการเรียนวิชาที่ฉันเลือก
กระตอื รอื ร้นที่จะช่วยเหลือผ้อู ืน่ และรู้สึกตน่ื เต้นและมกี ำลังใจเมอื่ ฉนั ได้สร้างส่ิงท่ไี มเ่ คยมีใครทำได้

2.ความตระหนักในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) หมายถึง การมองหาสิ่ง
อนื่ ๆที่อย่ภู ายนอกโรงเรยี น ทฉ่ี นั ร้สู กึ ว่าควบคมุ ได้ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาตามมา อยากทำงานที่ท้าทายที่
ตนเองสนใจ เชื่อมั่นในตนเองว่าเมื่อเริ่มต้นทำอะไรแล้ว ฉันสามารถทำให้สำเร็จได้ จะเข้าร่วมใน
กิจกรรมที่ตนเองสนใจ โดยไม่สนใจว่าเพื่อนสนิทของฉันจะเข้าร่วมหรือไม่ เชื่อมั่นในความคิดของ
ตัวเอง ฉันจะทำในสิ่งทีฉ่ ันคิดว่าดีที่สุด และเชื่อว่านักเรียนควรออกความเห็นเกี่ยวกับแนวทางการ
ดำเนนิ งานของโรงเรยี น

3.ความคิดสร้างสรรคแ์ ละเปน็ อิสระ (Creativity) หมายถงึ การชอบคดิ ทำโครงการใหม่ๆ
ชอบประดษิ ฐส์ ิง่ ใหม่ๆ ในแบบของตนเอง ชอบคดิ จะทำใหง้ านท่ีทำอยมู่ กี ารพฒั นาข้ึน คิดว่าปัญหาที่
ซบั ซ้อนน้ันมีความทา้ ทายแฝงอยู่ ชอบค้นหาวธิ กี ารใหมๆ่ มาจัดการกับปญั หาที่กำลงั เจออยู่ สามารถ
ผสมผสานความคิดใหม่ๆ กับความคิดเดิมที่มีอยู่แล้ว รู้สึกมีอิสระที่จะทำสิ่งใหม่ๆในงานที่ตนเอง
รับผิดชอบ เปน็ คนทมี่ ีเวลาให้กบั สิ่งใหม่ๆอย่เู สมอ สามารถทำงานของตวั เองได้ดี เป็นคนทร่ี ับผดิ ชอบ
งานในแต่ละวันได้ดี ต้องการการเรียนที่มีกิจกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และชอบการเรียนที่มี
กิจกรรมต่างๆมากกว่าการนงั่ เรยี นเฉยๆท่ีโต๊ะ

4.การเผชิญกับปัญหาและความซับซ้อน (Capacity To Navigate Complexity)
หมายถึง การมีทักษะในการทำความเข้าใจและแก้ไขปัญหา มีทักษะการตัดสินใจร่วมกันในกลุ่ม มี
ทักษะในการวางแผนเพื่อกำหนดกลยุทธ์ ชอบมองหาวิธีพัฒนาการทำงานของตนเอง รับฟังความ
คดิ เหน็ ของคนอนื่ ๆ เม่อื เขาสร้างสงิ่ ใหม่ๆข้นึ มา และให้ความสำคัญกบั การพฒั นาในสงิ่ ที่รบั ผดิ ชอบอยู่
และการหาโอกาสใหม่ๆดว้ ย

5.กล้าเสี่ยง (Risk-propensity) หมายถึง การยอมรับความเสี่ยงในการทำงานได้ ชอบ
ความท้าทาย แม้ว่าความท้าทายน้ันอาจทำให้ฉันตอ้ งพบความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยงเพือ่ การสร้าง
นวัตกรรม เป็นคนที่เพื่อนร่วมงานสามารถกระตุ้นให้เกิดความคิดได้ คิดว่าการเข้ามาควบคุมการ
ทำงานอย่างเข้มงวดนั้นไม่มีประโยชน์ และเข้าใจว่าทุกโครงการที่เข้าไปมีส่วนร่วม จะไม่ประสบ
ความสำเรจ็ ท้ังหมด

จากนิยามศัพท์เฉพาะของประเด็นหลักเพื่อการประเมินทักษะเชิงนวัตกรรม (Innovation
Skills) ดังกล่าว ผู้วิจัยได้นำมาใช้เป็นแนวในการสร้างข้อคำถามในแบบประเมินผลการบรรลุความ
คาดหวังจากการพัฒนาในลักษณะเป็นแบบประเมินตนเอง (Self-Assessment) แบบมาตรประมาณ
ค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดย 5 หมายถึง มีคุณลักษณะตามข้อคำถามนั้นในระดับมากที่สุด 4
หมายถงึ มีคณุ ลักษณะตามข้อคำถามน้ันในระดับมาก 3 หมายถงึ มคี ุณลักษณะตามขอ้ คำถามน้ันใน

85

ระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีคุณลักษณะตามข้อคำถามนั้นในระดับน้อย และ 1 หมายถึง มี

คณุ ลกั ษณะตามข้อคำถามน้ันในระดับนอ้ ยท่สี ุด ดังนี้

ระดบั ความเห็นของท่าน

คุณลกั ษณะของนกั เรยี นที่มีทักษะเชงิ นวัตกรรม 54321

ความม่งุ มัน่ (Energy)
1) ฉนั มเี ป้าหมายในการทำงานเสมอ
2) ฉนั มีพลังมากมายในการทำงานแต่ละวัน
3) ฉันกระตอื รอื รน้ ในการเรียนวชิ าท่ีฉันเลือก
4) ฉันกระตอื รอื รน้ ทจี่ ะชว่ ยเหลือผอู้ ่ืน
5) ฉันรสู้ ึกตนื่ เต้นและมีกำลงั ใจเมอื่ ฉันได้สรา้ งสิง่ ที่ไม่เคยมีใครทำได้

ความตระหนกั ในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy)
6) ฉนั มองหาสง่ิ อนื่ ๆทอ่ี ยู่ภายนอกโรงเรยี น ท่ฉี นั รสู้ ึกว่าควบคมุ ได้ ไม่
กอ่ ให้เกดิ ปญั หาตามมา
7) ในอนาคตฉันฉันอยากทำงานท่ที า้ ทายทีต่ นเองสนใจ
8) ฉันเช่อื ม่ันในตนเองว่าเมื่อเริม่ ต้นทำอะไรแล้ว ฉันสามารถทำให้
สำเรจ็ ได้
9) ฉนั จะเข้าร่วมในกจิ กรรมทตี่ นเองสนใจ โดยไมส่ นใจว่าเพอ่ื นสนิท
ของฉนั จะเขา้ รว่ มหรือไม่
10) ฉันเชอื่ ม่ันในความคดิ ของตัวเอง ฉนั จะทำในสิง่ ท่ฉี นั คิดว่าดีท่ีสดุ
11) ฉันเชอื่ ว่านกั เรยี นควรออกความเห็นเกยี่ วกับแนวทางการ
ดำเนนิ งานของโรงเรยี น

ความคิดสร้างสรรค์และเป็นอิสระ (Creativity)
12) ฉันชอบคิดทำโครงการใหม่ๆ
13) ฉันชอบประดิษฐ์ส่งิ ใหมๆ่ ในแบบของตนเอง
14) ฉนั ชอบคดิ จะทำใหง้ านทีท่ ำอยมู่ ีการพฒั นาขึ้น
15) ฉันคิดว่าปัญหาทซี่ บั ซ้อนน้ันมคี วามท้าทายแฝงอยู่
16) ฉันชอบค้นหาวิธีการใหมๆ่ มาจัดการกับปัญหาท่กี ำลงั เจออยู่
17) ฉันสามารถผสมผสานความคดิ ใหม่ๆ กับความคิดเดมิ ที่มอี ยแู่ ล้ว
18) ฉนั รูส้ กึ มีอสิ ระท่จี ะทำสิ่งใหม่ๆในงานทต่ี นเองรับผดิ ชอบ
19) ฉนั เปน็ คนท่ีมีเวลาให้กบั สงิ่ ใหมๆ่ อยเู่ สมอ
20) ฉนั คดิ ว่าฉันสามารถทำงานของตัวเองไดด้ ี
21) ฉันเป็นคนทีร่ บั ผดิ ชอบงานในแต่ละวนั ไดด้ ี
22) ฉันตอ้ งการการเรยี นท่ีมีกิจกรรมท่ีใช้ความคดิ สรา้ งสรรค์
23) ฉันชอบการเรยี นที่มีกจิ กรรมตา่ งๆมากกวา่ การนั่งเรยี นเฉยๆทีโ่ ตะ๊

การเผชิญกบั ปัญหาและความซับซ้อน (Capacity To Navigate
Complexity)

24) ฉนั มีทักษะในการทำความเขา้ ใจและแกไ้ ขปัญหา
25) ฉนั มที ักษะการตัดสินใจร่วมกันในกลุ่ม
26) ฉนั มีทักษะในการวางแผนเพื่อกำหนดกลยทุ ธ์

86

คุณลักษณะของนกั เรยี นท่ีมีทกั ษะเชงิ นวตั กรรม ระดบั ความเหน็ ของท่าน
54321
27) ฉนั ชอบมองหาวิธีพฒั นาการทำงานของตนเอง
28) ฉันรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของคนอื่นๆ เมื่อเขาสร้างสิ่งใหม่ๆขึ้นมา
29) ฉันใหค้ วามสำคัญกับการพัฒนาในส่งิ ท่ีรับผิดชอบอยู่ และการหา

โอกาสใหม่ๆด้วย
กล้าเสีย่ ง (Risk-propensity)

30) ฉันยอมรบั ความเส่ียงในการทำงานได้
31) ฉันชอบความท้าทาย แม้วา่ ความท้าทายนัน้ อาจทำให้ฉันตอ้ งพบ

ความเสี่ยง
32) ฉนั ยอมรบั ความเสี่ยงเพ่ือการสรา้ งนวตั กรรม
33) ฉนั เปน็ คนท่เี พื่อนร่วมงานสามารถกระต้นุ ใหเ้ กดิ ความคดิ ได้
34) ฉนั คิดว่าการเขา้ มาควบคุมการทำงานอย่างเข้มงวดนั้นไม่มี

ประโยชน์
35) ฉันเข้าใจวา่ ทุกโครงการทเ่ี ข้าไปมีส่วนร่วม จะไมป่ ระสบความสำเร็จ

ทั้งหมด

2.4 บริบทของโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม

2.4.1. ประวตั คิ วามเป็นมาของโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา : ประชากร
เป้าหมายในการนำผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์

การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา นั้นเป็นการศึกษารูปแบบหนึ่งของ

การศกึ ษาคณะสงฆ์เปน็ การศกึ ษาทร่ี ัฐกำหนดใหม้ ขี น้ึ ตามความประสงค์ของคณะสงฆ์ (พระราชวรมุนี
2521 อ้างถึงใน กองพุทธศาสนศึกษา, 2557) ซึ่งมีมูลเหตุสืบเนื่องมาจากการจัดตั้งโรงเรียนบาลี
มัธยมศึกษา และบาลีวิสามัญศึกษา สำนักเรียนวัด กล่าวคือ ภายหลังจากที่การศึกษาใน

มหาวิทยาลัยสงฆท์ ้ังสองแหง่ คือ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลัยมหา
มกุฎราชวิทยาลัย ซึ่งเปิดดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2432 และ พ.ศ.2489 ตามลำดับ ได้
เจริญกา้ วหน้ามากข้นึ ทางมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัยได้จดั แผนกมัธยมข้ึนมาเรียกว่า

โรงเรียนบาลมี ธั ยมศึกษา กำหนดให้มีการเรยี นบาลนี กั ธรรม และความรู้ชนั้ มัธยม โดยรับผทู้ ส่ี ำเร็จ
การศกึ ษาชน้ั ปที ่ี 4 ต่อมาเม่ือโรงเรยี นบาลีมธั ยมศึกษาไดแ้ พร่ขยายออกไปยงั ตา่ งจังหวัดหลายแห่งมี
ภกิ ษุและสามเณรเรยี นกนั มาก ทางคณะสงฆ์โดยองคก์ ารศึกษาจงึ ไดก้ ำหนดให้เรยี กโรงเรยี นประเภท

นี้ใหม่ว่า โรงเรียนบาลีวสิ ามัญศึกษาสำนักวดั โดยมติสังฆมนตรแี ละกระทรวงศกึ ษาธิการก็ได้ออก
ระเบยี บกระทรวงให้โรงเรยี นบาลีวสิ ามญั ศกึ ษาสำนักเรียนวัดเปดิ ทำการสอบสมทบในช้ันตัวประโยค
คอื ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 และช้ันมธั ยมศึกษาชั้นปที ่ี 3 ไดต้ ้งั แตป่ ี พ.ศ.2500 เป็นต้นมา และเมื่อ

สอบไดแ้ ลว้ ก็ยังจะได้รบั ประกาศนยี บตั รจากกระทรวงศึกษาธิการอกี ดว้ ย ดว้ ยเหตนุ จ้ี ึงทำให้พระภกิ ษุ
และสามเณรนิยมเรียนกันเป็นจำนวนมาก โรงเรียนประเภทน้ีจึงแพร่หลายออกไปยงั จังหวัดต่างๆ
อย่างกว้างขวาง จนทำให้ทางการคณะสงฆ์เกรงว่าการศึกษาธรรมและบาลีจะเสื่อมลง เพราะ


Click to View FlipBook Version