The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol Chaisaree, 2022-10-17 09:30:05

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-พระเกริกเกียรติ-ฉบับสมบูรณ์

87

พระภิกษุและสามเณรต่างมุ่งศกึ ษาวิชาทางโลกมากไป เปน็ เหตใุ ห้ต้องละท้งิ การศกึ ษาธรรมและบาลี
เสยี แตท่ างคณะสงฆ์ก็ยงั พิจารณาเห็นความจำเป็นทางการศึกษาวิชาทางโลกอยู่

ดงั นน้ั แม่กองบาลีสนามหลวง พระธรรมปัญญาบดี (สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ ฟ้ืน ชุตินฺ
ธรมหาเถร) จึงไดต้ ัง้ คณะกรรมการ ปรับปรุงหลกั สตู รการศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกบาลีข้นึ ใหม่ มี
วิชาบาลี วิชาธรรม และวิชาทางโลก เรียกว่า บาลีศึกษาสามัญศึกษา และปริทัศน์ศึกษา และได้
ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ.2507 พร้อมกับได้ยกเลิกระเบียบของคณะสังฆมนตรีว่าด้วยการศึกษาของ
โรงเรยี นบาลีวสิ ามัญศึกษา สำนกั เรยี นวดั เสยี และกำหนดให้พระภิกษสุ ามเณรเรียนพระปริยัตธิ รรม
แผนกบาลีที่คณะสงฆ์ได้จัดขึ้นใหม่ แต่การณ์ปรากฏต่อมาว่า การตั้งสำนักเรียนตามแบบโรงเรียน
พระปรยิ ัติธรรม แผนกบาลีใหม่น้ีมีน้อย นกั เรยี นก็นยิ มเรียนกนั นอ้ ย เพราะพระภกิ ษุสามเณรส่วน
ใหญ่ยังพอใจที่จะเรียน โดยได้รับประกาศนียบัตรจากกระทรวงศึกษาธิการอยู่ ดังนั้นนักเรียนใน
โรงเรียนดังกล่าว จึงได้พากันเข้าชื่อกันเป็นนักเรียนราษฎร์ของวัด ซึ่งตั้งขึ้นโดยระเบียบ
กระทรวงศึกษาธกิ ารบ้าง สมคั รสอบเทียบบา้ ง เขา้ เป็นนกั เรียนผใู้ หญบ่ ้าง ทำให้การศึกษาของคณะ
สงฆใ์ นช่วงระยะเวลานน้ั เกดิ ความสบั สนเป็นอนั มาก (กรมการศาสนา, 2521)

ในขณะเดียวกันได้มีผู้แทนราษฎรได้ยื่นเรื่องราวขอให้กระทรวงศึกษาธิการเปิดการสอบ
สมทบในชั้นประโยคให้แก่พระภิกษุสามเณร แต่กรมการศาสนาร่วมกับกรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้
พิจารณาลงความคิดเห็นร่วมกันว่าควรจะตั้งโรงเรียนขึ้นประเภทหนึ่ง เพื่อสนองความต้องการของ
พระภกิ ษสุ ามเณร โดยให้เรียนทง้ั วิชาธรรมและวิชาสามญั ศึกษาควบคูก่ ันไป โดยไม่มกี ารสอบสมทบ
แต่ให้กระทรวงศกึ ษาธกิ ารดำเนนิ การสอบเอง และโดยพระปรารภของสมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (จวน อุฏฐายีมหาเถระ)ว่า “การศึกษาทางโลก
เจริญกา้ วหนา้ มากขึ้นตามความเปลี่ยนของโลก การศกึ ษาพระปริยตั ิธรรมก็จำเปน็ ต้องอนุวัตรไปตาม
ความเปลี่ยนแปลงของโลกบ้าง จึงเห็นสมควรท่ีจะมหี ลักสูตรในการเรียนพระปริยัติธรรมเพิม่ ข้นึ อกี
แขนงหนึ่ง คอื หลักสูตรพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามญั ศกึ ษา ท้ังนี้เพอ่ื ให้ผ้ศู ึกษาไดม้ โี อกาสบำเพญ็ ตนให้
เป็นประโยชน์ได้ทั้งทางโลกและทางธรรมควบคู่กันไป”ในทีส่ ุดกระทรวงศึกษาธิการจงึ ได้ประกาศใช้
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ขึ้นเมื่อวันที่ 20
กรกฎาคม 2514 และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ
ศึกษา พ.ศ. 2535 โดยมีวัตถปุ ระสงค์ท่ีจะให้การศกึ ษาในโรงเรียนดังกล่าวเป็นประโยชนต์ ่อฝ่ายศาสน
จักร และฝ่ายบ้านเมือง กล่าวคือ ทางฝ่ายศาสนจกั รจะได้ศาสนทายาทที่ดี มีความรู้ความเข้าใจใน
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง เป็นผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ ดำรงอยู่ในสมณธรรม
สมควรแก่ภาวะ สามารถธำรง และสบื ต่อพระพุทธศาสนา ให้เจรญิ สถาพรต่อไป และถ้าหากพระภกิ ษุ
สามเณรเหลา่ นีล้ าสิกขาบทไปแล้ว สามารถเขา้ ศกึ ษาต่อในสถานศึกษาของรัฐได้หรือเข้าราชการสร้าง
ประโยชน์ให้กา้ วหนา้ ให้แกต่ นเองและบา้ นเมอื งสืบต่อไปดว้ ยเชน่ กนั ในระยะเรมิ่ แรกมเี จ้าอาวาส 51
แห่ง รายงานเสนอจัดตั้งต่อกรมการศาสนา (โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ. 2553-
2562, 2552)

ต่อมา โดยที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไข (เพิ่มเตมิ ) พ.ศ. 2545 ได้
กำหนดไว้ในหมวดที่ 2 มาตรา 12 ว่า “นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้
บคุ คล ครอบครวั องคก์ รชุมชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และ

88

สถาบันสงั คมอ่นื มสี ิทธใิ นการจัดการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ทั้งน้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎกระทรวง”และมาตรา 18

(2) กำหนดว่า “โรงเรียนได้แก่ โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบัน

พระพุทธศาสนาหรือศาสนาอืน่ ” ดังนั้น จึงถือได้ว่าโรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็น

สถานศึกษาขนั้ พื้นฐานแหง่ หนงึ่ ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ ในการน้ี เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ ความในมาตรา

12 และมาตรา 18 (2) แห่งพระราชบัญญตั ินี้ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกกฎกระทรวง ว่าด้วยสิทธิใน

การจัดการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน โดยสถาบนั พระพุทธศาสนา พ.ศ. 2548 เพือ่ ให้เปน็ ไปตาม พ.ร.บ.การศกึ ษา

แหง่ ชาติ

เพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติและกฎกระทรวงดังกลา่ ว โดยมุ่งเน้น

ให้วดั ท่จี ดั ตัง้ โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ดำเนนิ การจดั การเรยี นการสอนให้สอดคลอ้ ง

กับนโยบายของคณะสงฆ์เป็นสำคัญ มหาเถรสมาคม จึงได้ออกประกาศมหาเถรสมาคม ว่าด้วย

โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา พ.ศ. 2553 โดยกำหนดให้มีการบรหิ ารจัดการศกึ ษาตาม

หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษากำหนด ซึ่ง

คณะกรรมการดังกลา่ วมีอำนาจหน้าทกี่ ำหนดนโยบาย มาตรฐาน แผนการจดั การศึกษา ใหค้ ำแนะนำ

ส่งเสริมการจัดการศึกษา และพิจารณาวินิจฉัย ชี้ขาดปัญหา ข้อขัดข้องต่าง ๆ มี สมเด็จพระวันรตั

(จุนท์ พรฺ หฺมคุตโฺ ต) เปน็ ประธานกรรมการ มีผูอ้ ำนวยการสานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ เปน็ รอง

ประธานกรรมการ มีผู้แทนจากบุคคลและหน่วยงานสำคัญต่าง ๆ อาทิ ประธานกลุ่มโรงเรียนพระ

ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ เลขาธิการสภาการศึกษา เป็นคณะกรรมการ โดยมี

ผู้อำนวยการกองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ

(โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา, 2557)

2.4.2. รปู แบบการศึกษา

โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ดำเนินการจัดการเรียนการสอนในระดับ

มัธยมศึกษาโดยแบ่งเปน็ 2 ระดับ หรอื 2 ช่วงชัน้ คอื ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอน

ปลายจัดเป็นโรงเรยี นในระบบเช่นเดียวกับรูปแบบโรงเรยี นของรัฐและเอกชนทั่วไป โดยใช้หลกั สูตร

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามที่

กระทรวงศึกษาธกิ าร

กำหนด 8 กลมุ่ สาระ คอื

1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร์

3) วทิ ยาศาสตร์ 4) สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

5) สุขศึกษา และพลศกึ ษา 6) ศิลปะ

7) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8) ภาษาต่างประเทศ

และมีวิชาเฉพาะ ทกี่ ำหนดให้นกั เรียนคอื พระภกิ ษสุ ามเณรต้องเรียนตามนโยบายของ

คณะสงฆโ์ ดยมหาเถรสมาคม คอื วชิ าทางพระพทุ ธศาสนา อนั ประกอบดว้ ย

1) ภาษาบาลี 2) พุทธประวตั ิ

3) ธรรมะ 4) วินัย

5) ศาสนปฏิบัติ

89

เพือ่ เปน็ พนื้ ฐานในการศึกษาหลกั พระพุทธศาสนาในคมั ภีร์พระไตรปิฎก สามารถนาไป
เป็นเครื่องมอื เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา อนั เป็นหน้าทส่ี ำคญั ของพระภกิ ษุสามเณร ในฐานะท่ีเป็นศาสน
ทายาทผูส้ ืบทอดพระพทุ ธศาสนา

2.4.3. การบรหิ ารจดั การศกึ ษา
โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จดั ต้งั อยใู่ นวดั ท่ธี รณสี งฆ์ หรอื ทีด่ ินของมลู นธิ ิ
ทางพระพทุ ธศาสนา จดั การศกึ ษาเฉพาะสาหรับพระภกิ ษุสามเณรเท่านัน้ โรงเรียนจะไดร้ ับการจัดต้ัง
ได้ก็ต่อเม่ือได้รับอนญุ าตหรือเห็นชอบจากมหาเถรสมาคม โดยสำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติเป็น
ผู้ออกใบอนญุ าต แก่เจ้าอาวาสวัดทีข่ อจัดต้ังโรงเรียน การบริหารจัดการโรงเรียน เจ้าอาวาสวัดหรือ
พระภกิ ษุที่เจา้ อาวาสมอบหมายเปน็ ผู้จัดการ และผู้จัดการเป็นผูค้ ัดเลือกพระภกิ ษผุ ู้มคี ณุ สมบัติตามท่ี
กำหนดไว้ในประการคณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา รูปหนึ่งทาหน้าที่
เป็นผอู้ านวยการโรงเรยี น ซ่งึ จะดาเนนิ การคดั เลอื กพระภิกษแุ ละคฤหัสถ์เพื่อเสนอแตง่ ต้ังเป็นครูและ
บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน กฎหมาย ระเบียบทีเ่ กี่ยวข้องโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศึกษา ดำเนินการตามกฎหมาย กฎกระทรวง ระเบยี บ ดงั นี้

2.4.3.1. พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ข (เพม่ิ เตมิ ) พ.ศ.
2545

มาตรา 12 กำหนดว่า นอกเหนือจากรฐั เอกชน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรมหาชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา
สถานประกอบการ และสถาบันสงั คมอื่น มีสิทธิ์ในการจดั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม
กฎกระทรวง

มาตรา 14 บุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ รชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอ่นื ซ่ึงสนบั สนนุ หรอื จดั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
มสี ทิ ธไิ์ ดร้ ับสทิ ธิประโยชนต์ ามควรแก่กรณี ดังต่อไปนี้

1. การสนบั สนนุ จากรฐั ใหม้ ีความรคู้ วามสามารถในการอบรมเลย้ี งดูบุคคลซึ่งอยู่
ในความดูแลรับผดิ ชอบ

2. เงินอดุ หนนุ จากรัฐสำหรบั การจัดการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานตามทก่ี ฎหมายกำหนด
3. การลดหยอ่ นหรอื ยกเวน้ ภาษสี ำหรับคา่ ใชจ้ ่ายการศึกษาตามทก่ี ฎหมาย
กำหนด
2.4.3.2. กฎกระทรวงว่าดว้ ยสทิ ธใิ นการจัดการศึกษาโดยสถาบนั พระพทุ ธศาสนา พ.ศ.
2548
2.4.3.3. ระเบียบสำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ วา่ ด้วยโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม
แผนกสามญั ศึกษา พ.ศ. 2546
2.4.3.4. ประกาศคณะกรรมการการศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา พ.ศ.
2555 จำนวน 6 ฉบับ ดงั น้ี
1. วา่ ดว้ ยกลมุ่ โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
2. วา่ ดว้ ยพนกั งานศาสนการดา้ นการศกึ ษา
3. วา่ ดว้ ยขนาดของโรงเรยี นและกรอบอตั รากำลงั พนกั งานศาสนการด้านการศกึ ษา

90

4. วา่ ด้วยคณะกรรมการโรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
5. วา่ ด้วยคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและงานวิชาการโรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม

แผนกสามญั ศกึ ษา
6. วา่ ด้วยระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามัญ

ศกึ ษา
2.4.3.5 พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรม พ.ศ. 2562
1. ข้อบงั คบั คณะกรรมการการศึกษาพระปรยิ ตั ิธรรมว่าดว้ ยโครงสร้างการบรหิ ารงาน
และการจัดการศกึ ษาพระปริยัติธรรมและสถานศกึ ษาพระปริยัติธรรม พ.ศ. 2563
2. ข้อบงั คับคณะกรรมการการศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรมวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงานบคุ คล
การศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรม พ.ศ. 2563
2.4.4. อตั ลักษณข์ องโรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา นอกจากจะจัดการเรยี นการสอนตามหลกั สตู ร
การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2521 ของกระทรวงศึกษาธกิ ารแลว้ ยงั ไดส้ นองงานคณะสงฆ์ด้าน
การจัดการเรียนการสอนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกนกั ธรรมและบาลีอกี ด้วย โดยได้จดั ใหม้ กี ารเรียนการ
สอนตามหลักสตู รนกั ธรรมและบาลใี ห้สอดคลอ้ งกบั นโยบายของคณะสงฆโ์ ดยมหาเถรสมาคม ทงั้ น้ี ใน
การประชุมมหาเถรสมาคม เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2555 ที่ประชุมมหาเถรสมาคมมีมติเห็นชอบให้
ปรบั ปรุงโครงสรา้ งเวลาเรียนและเกณฑ์การจบการศกึ ษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
ตามคำสั่งประธานคณะกรรมการการศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา ที่ 1/2555 ลงวันท่ี 19
เมษายน 2555 เร่ืองการปรับปรงุ โครงสร้างเวลาเรยี นและเกณฑก์ ารจบการศกึ ษาโรงเรยี นพระปริยัติ
ธรรม แผนกสามัญศกึ ษา เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นสามารถสอบผ่านธรรมสนามหลวงและบาลสี นามหลวงได้ โดย
เพมิ่ หน่วยกติ วชิ าภาษาบาลี และวชิ าพระพทุ ธศาสนา (พทุ ธประวตั ิ ธรรมวินยั และศาสนปฏิบัต)ิ ทงั้ นี้
ผู้ที่จะจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ได้ ต้องสอบได้นักธรรมชั้นตรีเป็นอย่างต่ำ และจะจบ
การศกึ ษาระดบั มัธยม
ศึกษาตอนปลายได้ ต้องสอบไดน้ กั ธรรมช้นั โทเป็นอยา่ งตำ่ (มตมิ หาเถรสมาคมที่ 388/2555)
นอกจากนี้ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
หรือ สมศ. ยังได้ปรับตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554–2558)
ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยให้ใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนตาม
เป้าหมายเฉพาะของสถานศกึ ษา (หลกั สตู รรายวชิ าเพิ่มเติมคอื วิชาพุทธประวัตแิ ละธรรมวินัย วิชาศา
สนปฏิบัติ และวิชาภาษาบาลี) นอกจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนตามหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาข้ันพน้ื ฐานอีกด้วย ในการน้ี เพือ่ ดำเนินการดังกลา่ ว สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ จึง
ไดร้ ว่ มกบั สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) หรือ สทศ. จัดให้มีการสอบวัดผล
ทางการศึกษาระดับชาติด้านพระพุทธพุทธศาสนา หรือเรียกย่อว่า B-NET (Buddhism National
Educational Test)
2.4.5. ผมู้ ีสว่ นเกย่ี วข้องกบั โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อให้พระภิกษุ
สามเณร ไดเ้ รียนรู้ตามหลกั สตู รกระทรวงศึกษาธกิ าร ซง่ึ ปจั จบุ นั สำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

91

เป็นผูด้ ูแลรับผิดชอบการศึกษาของสงฆป์ ระเภทนี้ ภายใต้การควบคุมของสภาการศึกษาคณะศึกษา
คณะสงฆ์ ซึ่งมสี มเด็จพระสังฆราชเป็นประธานและยังมีคณะกรรมการการศกึ ษาโรงเรียนพระปริยัติ
ธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา กลมุ่ โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา ดงั นี้

2.4.5.1 ประธานกรรมการการศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา สภาการศึกษา
สงฆ์

สภาการศึกษาของคณะสงฆ์เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นตามคำสั่งของมหาเถรสมาคม เม่ือ
พ.ศ. 2512 ประกอบด้วยสมเด็จพระสังฆราชทรงเป็นประธาน แม่กองบาลี และแม่กองธรรม
สนามหลวงเปน็ รองประธาน 2 รปู นายกสภามหาจุฬาลงกรณร์ าชวทิ ยาลัย เลขาธิการสภาการศึกษา
ของคณะสงฆ์ และผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน 9 ท่าน ที่สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั้งตามคำกราบทลู
ของสภาการศกึ ษาคณะสงฆ์ หน้าทส่ี ำคัญของสภาการศกึ ษาของคณะสงฆ์ คอื ควบคมุ และส่งเสริม
การจัดการศึกษาของคณะสงฆ์ โดยมีอำนาจพิจารณาให้ความเหน็ ชอบนโยบายงานโครงการต่าง ๆ
นอกจากนี้ยงั มีหนา้ ทพี่ ิจารณาใหค้ วามเห็นชอบหลกั สตู ร และแบบเรียนตามโครงการศกึ ษาทกุ ระดับ
พิจารณาปัญหาเกี่ยวกับการศึกษาตลอดจนพิจารณาเรือ่ งอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษาตามที่มหาเถร
สมาคมมอบหมาย ทั้งนีอ้ ำนาจแต่งต้งั กรรมการทำหน้าท่ีอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเกี่ยวกบั การศึกษาอีกด้วย
(กติ ติ ธรี ศานต์. 2539)

2.4.5.2 สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานที่ตั้งขึ้นใหม่ตามพระราชบัญญัติ
ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ปีพุทธศักราช 2545 ซึ่งมีฐานะเปน็ กรมขึ้นตรงตอ่ นายกรฐั มนตรี
โดยใหม้ อี ำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ, 2546)
7. ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์ กฎหมายว่าด้วยการกำหนดวิทยฐานะ

ผู้สำเรจ็ การศึกษาวิชาการพระพทุ ธศาสนารวมทัง้ กฎหมายและระเบยี บที่เกย่ี วข้อง
8. รับสนองงาน ประสานงานและถวายการสนบั สนนุ กิจการของคณะสงฆก์ ารบริหาร

การปกครอง
9. เสนอแนวทางกำหนดนโยบายและมาตรการในการคุ้มครองพระพทุ ธศาสนา
10. สง่ เสรมิ ดูแล รกั ษาและทำนุบำรงุ ศาสนสถานและศาสนวตั ถุทางพระพทุ ธศาสนา
11. พัฒนาพทุ ธมณฑลใหเ้ ป็นศูนยก์ ลางทางพระพทุ ธศาสนา
12. ปฏิบัตงิ านรว่ มกับหรือสนบั สนุนการปฏบิ ัติงานของหน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งหรือได้รับ

มอบหมาย
13. ทำนบุ ำรงุ ส่งเสรมิ การพุทธศาสนศกึ ษา เพ่ือพฒั นาความรู้คคู่ ุณธรรม
14. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของสำนักงาน หรือ

ตามทก่ี ระทรวงหรือคณะรัฐมนตรมี อบหมาย
สำหรับหน่วยงานราชการสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาตินั้นประกอบด้วย
กองกลาง กองพทุ ธศาสนศกึ ษา กองพทุ ธศาสนสถาน สำนักงานพุทธมณฑล สำนักงานศาสนสมบตั ิ
สำนกั งานเลขาธกิ ารมหาเถรสมาคม

2.4.5.3. กองพุทธศาสนศกึ ษา

92

เป็นหน่วยงานที่สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติที่ทำหน้าที่การ
บริหารงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยตรง ซึ่งมีหน้าที่ดังนี้ (สำนักงาน
พระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ. 2546)

1. ประสานและดำเนินการเก่ยี วกบั การควบคมุ ดแู ล จัดการศกึ ษาวิชาการ
พระพทุ ธศาสนา การจดั การศกึ ษาโรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั
ศกึ ษา และรับผดิ ชอบงานการศกึ ษาของคณะสงฆ์ การศึกษาสงั เคราะห์
และการศกึ ษาอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การศาสนา

2. ดำเนินการเกยี่ วกับการจัดทำสอื่ การเรียนการสอนดา้ นศาสนาวิเคราะหท์ าง
วชิ าการต่าง ๆ เกี่ยวกับพระพทุ ธศาสนา เปน็ แหลง่ ความรทู้ ่มี ีระบบและ
อา้ งองิ ได้

3. สนบั สนนุ การพฒั นาบุคลากรในการศึกษาทุกระดับ รวมทงั้ การนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการศึกษาทุกประเภท

4. ปฏบิ ัตงิ านร่วมกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏบิ ัติงานของหน่วยงานอืน่ ทเ่ี กย่ี วข้อง
หรือได้รบั มอบหมาย

2.4.6. คณะกรรมการการศกึ ษาพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา
คณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา ประกอบด้วย ผอู้ ำนวยการ
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นประธานกรรมการ รองผู้อำนวยการสำนักงาน
พระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ เปน็ รองประธานกรรมการ ผู้แทนแม่กองธรรมสนามหลวง ผแู้ ทนแมก่ อง
บาลีสนามหลวง ผู้แทนมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผ้แู ทนมหาวทิ ยาลยั มหามงกุฎราช
วทิ ยาลัย ผูแ้ ทนปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ผแู้ ทนสำนกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ
ผู้แทนกรมวิชาการ ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ผู้แทนสำนักงาน
คณะกรรมการข้าราชการครู และผู้แทนกลุ่มโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา จำนวนไม่
เกิน 5 รูป/คน เป็นกรรมการ ผู้อำนวยการกองพุทธศาสนาศึกษา เป็นกรรมการและเลขานุการ
กรรมการที่เปน็ ผ้แู ทนกลมุ่ โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษามอี ำนาจหนา้ ทดี่ ังน้ี (ระเบยี บ
สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติวา่ ด้วยโรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา 2546)

1. กำหนดนโยบายและแผนการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนก
สามัญศกึ ษา

2. กำหนดมาตรฐานโรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา
3. กำหนดหลกั เกณฑ์และวธิ ีการในการจักตง้ั ขยาย หรอื ยบุ เลกิ โรงเรยี นพระปริยัติ

ธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
4. กำหนดหลกั เกณฑก์ ารจดั สรรเงินอุดหนนุ ให้โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั

ศึกษา
5. กำหนดตำแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และอตั ราครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
6. ควบคมุ ดูแลจดั การศึกษาให้มกี ารศกึ ษาพระปริยัตธิ รรมเป็นหลกั และป้องกันมิใหม้ ี

การเปลี่ยนแปลงพระธรรมวนิ ยั ให้ผดิ ไปจากหลกั ธรรมวนิ ยั ในพระไตรปฎิ ก

93

7. ใหค้ ำแนะนำส่งเสริมการจดั การศึกษา
8. พิจารณาวนิ จิ ฉยั คำรอ้ งทกุ ข์ของผรู้ บั ใบอนุญาต,ผจู้ ดั การ,ครใู หญ่,อาจารยใ์ หญ่,

ผู้อำนวยการ,ผ้ชู ว่ ยครใู หญ,่ ผูช้ ว่ ยอาจารย์ใหญ่,ผู้ชว่ ยผอู้ ำนวยการ,ครู และบุคลากร
ทางการศกึ ษา
9. ตรวจสอบการดำเนินงานของโรงเรียนพระปริยัติ แผนกสามญั ศกึ ษาตลอดจน
หลกั ฐาน เอกสารต่าง ๆ ทกุ ประเภท ถา้ ปรากฏมีความบกพร่องให้พจิ ารณาเสนอ
สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ เพ่ือขอความเหน็ ชอบจากประธานสภา
การศึกษาของคณะสงฆ์ เมอ่ื ได้รบั ความเหน็ ชอบแล้วสำนกั งานพระพุทธศาสนา
แห่งชาตมิ อี ำนาจส่งั ยบุ เลกิ โรงเรียนได้
10. วนิ จิ ฉัย ช้ีขาด ปัญหาข้อขดั ข้องในการปฏบิ ตั ิตามระเบียบน้ี
11. ออกระเบียบ คำสัง่ ประกาศเกี่ยวกบั การจัดการศกึ ษาของโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม
แผนกสามญั ศกึ ษา
12. แตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการและประธานกลมุ่ โรงเรยี นใหป้ ฏบิ ัตหิ น้าทต่ี าม
คณะกรรมการการศกึ ษาโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา มอบหมาย
2.4.7. กลมุ่ โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
กลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ประกอบด้วย ผู้จัดการ หรือ
ผู้อำนวยการโรงเรยี นละ 1 รปู เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง ผู้ทรงคณุ วฒุ ไิ ม่เกนิ 5 รูปหรอื คน ผู้แทน
ครูไม่เกนิ 5 รูปหรอื คน เลขานุการกลุ่มโรงเรยี น และผู้ช่วยเลขานกุ ารกลมุ่ โรงเรยี น ให้เอกประธาน
กลมุ่ โรงเรยี น จำนวน 1 รปู รองประธานกลมุ่ โรงเรยี น จำนวน 1 รูป กรณีมีโรงเรียนมากกวา่ 20 โรง
ให้มีรองประธานกลุ่มโรงเรียนในสัดส่วน 20 : 1 รูป โดยคัดเลือกจากกรรมการโดยตำแหน่งสำหรับ
เลขานกุ ารกลมุ่ โรงเรียน ให้ประธานกลุ่มโรงเรียนเป็นผูค้ ัดเลอื ก และผู้ช่วยเลขานุการกลุ่มโรงเรียน
ให้ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดที่สำนักงานกลุ่มโรงเรียนตั้งอยู่เป็นผู้คัดเลือก
(ประกาศคณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ว่าด้วยกลุ่มโรงเรียนพระ
ปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา พ.ศ. 2555)
โดยมีกลมุ่ โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรมแผนกสามญั ศกึ ษาทวั่ ประเทศจำนวน 14 กลมุ่ มี
โรงเรยี น 408 โรง จำแนกไดด้ ังน้ี
1.กลุ่มโรงเรียนพระปริยัตธิ รรมแผนกสามญั ศึกษากลุ่มที่ 1
ประกอบด้วยจงั หวดั กรงุ เทพมหานคร, นครปฐม, ปทมุ ธานี มีโรงเรยี นจำนวน 14 โรง
2.กลมุ่ โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษากล่มุ ท่ี 2
ประกอบดว้ ยจงั หวดั กระบ,่ี ชมุ พร, ตรงั , นครศรธี รรมราช, ปัตตานี, ยะลา, ระนอง,
สงขลา, สตลู
สุราษฎรธ์ านี มโี รงเรยี นจำนวน 20 โรง
3.กลุ่มโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรมแผนกสามญั ศกึ ษากลุ่มที่ 3
ประกอบด้วยจงั หวดั กาญจนบรุ ี, ชัยนาทประจวบคีรขี ันธ์, พระนครศรอี ยุธยา, เพชรบุร,ี
ราชบุรี, ลพบรุ สี ระบรุ ี, สงิ หบ์ ุรี, สพุ รรณบุร,ี อา่ งทองอุทยั ธานี มโี รงเรยี นจำนวน 19 โรง
4.กลุม่ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มท่ี 4

94

ประกอบด้วยจงั หวัดกำแพงเพชร, ตาก, นครสวรรค์, พจิ ติ ร, พษิ ณโุ ลก, เพชรบรู ณ์,

สโุ ขทัย, อุตรดติ ถ์ มโี รงเรียนจำนวน 24 โรง

5.กลุ่มโรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศกึ ษากลมุ่ ที่ 5

ประกอบด้วยจงั หวัดเชียงใหม่, แมฮ่ อ่ งสอน, ลำพนู มโี รงเรียนจำนวน 42 โรง

6.กลุ่มโรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรมแผนกสามญั ศึกษากลุ่มท่ี 6

ประกอบด้วยจงั หวัดเชียงราย, นา่ น, พะเยา, แพร่, ลำปาง, มโี รงเรียนจำนวน 61 โรง

7.กลุ่มโรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรมแผนกสามัญศกึ ษากลมุ่ ท่ี 7

ประกอบดว้ ยจงั หวัดขอนแก่น, เลย, หนองบัวลำภู มโี รงเรยี นจำนวน 45 โรง

8.กลมุ่ โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามญั ศกึ ษากลุ่มที่ 8

ประกอบดว้ ยจงั หวัดสกลนคร, หนองคาย, อดุ รธานี มโี รงเรยี นจำนวน 42 โรง

9.กลมุ่ โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรมแผนกสามญั ศกึ ษากลมุ่ ที่ 9

ประกอบดว้ ยจงั หวัดมุกดาหาร, ยโสธร, อบุ ลราชธานี, อำนาจเจรญิ มโี รงเรยี นจำนวน

35 โรง

10. กลุ่มโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรมแผนกสามัญศกึ ษากลุ่มที่ 10

ประกอบดว้ ยจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์, นครนครพนาม, มหาสารคาม, ร้อยเอ็ด มโี รงเรียนจำนวน

43 โรง

11. กลุ่มโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรมแผนกสามญั ศึกษากลมุ่ ที่ 11

ประกอบดว้ ยจงั หวดั ชัยภมู ิ, นครราชสีมา, บรุ รี ัมย์, ศรสี ะเกษ, สรุ นิ ทร์ มีโรงเรียนจำนวน

41 โรง

12. กลุ่มโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มท่ี 12

ประกอบดว้ ยจงั หวัดฉะเชงิ เทรา, ชลบุรี, นครนายก, ตราด, ปราจนี บุร,ี ระยอง, สระแกว้

มีโรงเรียนจำนวน 13 โรง

13. กลมุ่ โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มท่ี 13 (จนี นิกาย)

ประกอบด้วยจงั หวดั กรงุ เทพมหานคร, ชลบรุ ,ี เชยี งราย มีโรงเรยี นจำนวน 3 โรง

14. กลุ่มโรงเรียนพระปริยัตธิ รรมแผนกสามญั ศึกษากล่มุ ท่ี 14 (อนัมนกิ าย)

ประกอบดว้ ยจงั หวดั กรงุ เทพมหานคร, สงขลา, อดุ รธานี มีโรงเรยี นจำนวน 3 โรง

คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มโรงเรยี นมอี ำนาจหนา้ ที่ดงั น้ี (ประกาศคณะกรรมการ

การศึกษาพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา ว่าดว้ ยกลมุ่ โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ

ศกึ ษา 2555)

1. กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาโรงเรียนภายในกลมุ่ โรงเรียน

2. สง่ เสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพในการบรหิ ารงานโรงเรียนและงานวชิ าการ

3. กำกบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ การบรหิ ารจดั การโรงเรยี นภายในกล่มุ โรงเรียน

4. ใหค้ ำแนะนำและแกไ้ ขปญั หาการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนภายในกล่มุ โรงเรียน

5. เสนอแนวทางในการแก้ไขปญั หาตอ่ คณะกรรมการการศกึ ษาพระปริยัติธรรม แผนก

สามัญศึกษา

6. ปฏิบตั ิงานอืน่ ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

95

ซึ่งหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
ประกอบด้วย สภาการศึกษาสงฆ์ ซึ่งทำหน้าทีค่ วบคุมและส่งเสริมการจัดการศึกษาของคณะสงฆ์
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาตมิ หี นา้ ท่ีรบั สนองงาน ประสานงาน ส่งเสรมิ ดูแล ทำนบุ ำรุงศา
สนสถานและศาสนวัตถุ และกองพุทธศาสนาศึกษา ที่ทำหน้าที่ดูแลการบริหารงานโรงเรียนพระ
ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาโดยตรง นอกจากนี้ยังมีส่วนเก่ียวข้องอื่น ๆ ได้แก่ คณะกรรมการ
การศกึ ษาโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา และคณะกรรมการบริหารกลุ่มโรงเรียนพระ
ปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

ปจั จบุ ันได้มตี ราพระราชบัญญัติการศึกษาพระปรยิ ัติธรรม พ.ศ. 2562 และได้มีประกาศ
ประธานกรรมการการศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา (ฉบบั ท่ี1) เรื่อง หนา้ ที่และอำนาจของ
สำนกั งานการศึกษาพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

ผนวก ก โครงสรา้ งและลำดับการบงั คบั บัญชา
1. สำนักงานการศกึ ษา พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

1.1 สำนกั อำนวยการ
1.2 สำนกั เขตการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
1.3 กลมุ่ ตรวจสอบภายใน
2. สำนกั อำนวยการ
2.1 กองบรหิ ารงานกลาง
2.2 กองเทคโนโลยสี ารสนเทศ
2.3 กองนโยบายและแผนการจดั การศึกษา
2.4 กองนติ กิ าร
2.5 กองบรหิ ารทะเบียนและวดั ผล
2.6 กองวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
3. สำนกั เขตการศึกษาพระปรยิ ัติธรรมแผนกสามญั ศึกษา
3.1 กองอำนวยการ
3.2 กองเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3.3 กองนโยบายและแผนการจดั การศึกษา
3.4 กองประเมนิ ผล การจัดการศึกษา
3.5 กองส่งเสริมและพฒั นาการจดั การศกึ ษา
3.6 สถานศกึ ษาพระปรยิ ัติธรรมแผนกสามญั ศึกษา ในสังกดั เขต 1-14
ผนวก ข หนา้ ท่ีและอำนาจ
1. สำนักงานการศกึ ษา
2. สำนักอำนวยการ
2.1 กองบริหารงานกลาง มีหน้าที่และอำนาจในการบริหารงานทั่วไป งานสาร

บรรณ งาน
เอกสาร งานบริหารงานบุคคล งานสวสั ดิการ งานการเงินและบัญชี งานอาคารสถานท่ี งานจดั ซื้อจัด
จา้ งและพัสดุ งานวิเทศสมั พนั ธ์ งานกิจการพิเศษ งานชว่ ยอำนวยการ งานจัดตั้งสถานศึกษาพระปรยิ ตั ิ

96

ธรรม ขยายชั้นเรียน เปิดห้องเรียนสาขา ยุบ ยุบรวม ย้ายที่ตั้ง เปลี่ยนชื่อ หยุดดำเนินการชั่วคราว
หรือเลิกดำเนนิ การ งานอื่นทีไ่ มไ่ ด้อย่ใู นความรบั ผิดชอบของงานใด และงานอื่นตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

2.2 กองเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่และอำนาจในการบริหารงานเทคโนโลยี
วเิ คราะห์ วางแผนและออกแบบ ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ งานขอ้ มลู สารสนเทศ ปรบั ปรุงแกไ้ ข
ให้ถูกต้องและทันสมัย งานจัดสร้าง ปรับปรุงเครื่องมอื ในการวัดผลประเมินผล งานสารสนเทศเพอ่ื
การบริหาร งานจดั ทำระบบการจดั เก็บการประมวลผล และการใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู งานส่อื สารองค์กร
งานเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลขององค์กร งานประชาสัมพันธ์ งานเสริมสร้างภาพลกั ษณ์ที่ดขี ององค์กร
และงานอ่ืนตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

2.3 กองนโยบายและแผนการจัดการศึกษา มีหน้าที่และอำนาจในการวางแผน
ยทุ ธศาสตร์ แผนงานและงบประมาณ งานวเิ คราะห์ จดั ทำนโยบายและแผนพฒั นาการจัดการศึกษา
งานจัดทำแผนการใช้จ่ายประจำปงี านวเิ คราะห์และวางระบบการติดตามแผนงานหรอื โครงการ งาน
ประเมนิ ผลงานหรือโครงการ งานตดิ ตามและประเมินผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ งานวิเคราะห์จัดทำ
แผนบรหิ ารความเสี่ยงและงานอืน่ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย

2.4 กองนิติการ มหี นา้ ทแ่ี ละอำนาจในการบรหิ ารงานด้านนิติกรรม งานคดีความ
งานร้องเรียนงานอทุ ธรณร์ อ้ งทกุ ข์ งานดา้ นกฎหมาย และงานอน่ื ตามที่ได้รบั มอบหมาย

2.5 กองบริหารทะเบียนและวัดผล มีหน้าที่และอำนาจในการบริหารการวัดผล
ประเมินผล งานจดั ทำแผน โครงการระเบยี บและหลกั เกณฑใ์ นการวดั ผลประเมินผล งานสถานท่สี อบ
งานกำหนดแนวทางการสอบ งานควบคมุ กำกับดแู ลการวดั ผลประเมินผล งานทะเบยี นท่ีเก่ียวขอ้ งกับ
การวัดผลประเมินผล งานจัดทำรวบรวมข้อมูลสถิติ งานจัดทำทะเบียนรูปแบบเอกสารและคำร้อง
ต่างๆและงานอนื่ ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย

2.6 กองวิชาการและมาตรฐานการศึกษา มีหน้าท่ีและอำนาจในงานด้านวชิ าการ
จัดทำแผนงานวิชาการงานพัฒนาวิจัยและปรับปรุงหลกั สตู รงานวิทยบริการ งานผลิตรวบรวมจัดหา
แหล่งความรู้ งานมาตรฐานการศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษา งานประกันคุณภาพงานติดตาม
ตรวจสอบและประเมนิ ผลการดำเนินงานด้านการศกึ ษา งานกจิ การผู้เรยี นงานคุณธรรมจรยิ ธรรม งาน
สวัสดกิ ารนักเรยี นและงานอ่ืนตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

3. สำนักเขตการศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษา
3.1 กองอำนวยการ มีหน้าที่และอำนาจในการบริหารงานทั่วไป งานสารบรรณงาน
เอกสารงานบริหารงานบุคคล งานสวสั ดกิ ารการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา งานมาตรฐาน
วิชาชีพและจรรยาบรรณงานการเงินและบัญชี งานอาคารสถานที่ งานจัดซื้อจัดจ้างและพัสดุงาน
กิจการพิเศษ งานจัดตั้งสถานศึกษาพระปริยัติธรรม ขยายชั้นเรียนเปิดห้องเรียนสาขา ยุบ ยุบรวม
ย้ายทีต่ ้งั เปล่ียนชือ่ หยุดดำเนินการช่วั คราวหรือเลิกดำเนินการ งานนิติกรรมและสญั ญา งานวินยั และ
อุทธรณ์ร้องทุกข์ งานช่วยอำนวยการและประสาน งานอื่นที่ไม่ได้อยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
และงานอื่นตามท่ไี ด้รับมอบหมาย
3.2 กองเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่และอำนาจในการบริหารงานเทคโนโลยี
วเิ คราะห์ วางแผนและออกแบบระบบงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ งานขอ้ มูลสารสนเทศ ปรบั ปรุงแก้ไข
ให้ถูกต้องและทันสมัย งานจัดสร้าง ปรับปรุงเคร่ืองมอื ในการวัดผลประเมินผล งานสารสนเทศเพ่ือ

97

การบรหิ าร งานจัดทำระบบการจดั เก็บการประมวลผลและการใช้ประโยชน์ขอ้ มูล งานสื่อสารองค์กร
งานเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลขององค์กร งานประชาสัมพันธ์ งานเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร
งานพฒั นาสื่อและรปู แบบนวัตกรรมในการจัดการศึกษาและงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

3.3 กองนโยบายและแผนการจัดการศึกษา มีหน้าที่และอำนาจในการวางแผน
ยทุ ธศาสตร์ แผนงานและงบประมาณในสำนกั เขต งานวเิ คราะห์ จัดทำนโยบายและแผนพฒั นาการจดั
การศึกษา งานจัดทำแผนการใช้จ่ายประจำปี งานวิเคราะห์และวางระบบการติดตามแผนงานหรอื
โครงการ งานประเมินผลงานหรือโครงการ งานติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณ งาน
วิเคราะหจ์ ดั ทำแผนบรหิ ารความเสี่ยง และงานอืน่ ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย

3.4 กองประเมินผลการจัดการศึกษา มีหน้าที่และอำนาจในการวิเคราะห์ และ
วางแผนระบบติดตามประเมินผลแผนงานหรือโครงการ งานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาพระปริยัติธรรม งานส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาพระปริยัติ
ธรรม งานระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา งานทะเบยี นและสถติ ิทีเ่ กี่ยวข้องกบั การวัดผลประเมินผล
งานฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาพระปริยัติธรรมงานจัดทำรวบรวมข้อมูลสถิติ งานจัดทำ
ทะเบียนรูปแบบเอกสารหลกั ฐานทางการศกึ ษา และงานอ่นื ตามท่ไี ด้รับมอบหมาย

3.5 กองส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษา มีหน้าที่และอำนาจในการดำเนินการ
เกี่ยวกับงานสง่ เสริมการจดั การศกึ ษาหลากหลายรปู แบบ งานศาสตร์ของพระราชา งานตามโครงการ
พระราชดำริ งานอนามยั สถานศกึ ษาพระปริยตั ิธรรมงานกจิ การนักเรยี น งานพัฒนาสง่ เสรมิ ศกั ยภาพ
นักเรยี น งานคณุ ธรรมจริยธรรม งานสวัสดกิ าร งานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น งานพัฒนาการศกึ ษา
เชงิ รุก งานสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก และงานอืน่ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

3.6 สถานศึกษาพระปริยัตธิ รรมแผนกสามัญศกึ ษา มีหน้าท่ีและอำนาจในการจัดทำ
แผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนของคณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม
และของสำนักงานการศึกษาพระปริยัติธรรม จัดตั้งงบประมาณและรับผิดชอบจากการใช้จ่าย
งบประมาณ จัดการเรียนการสอนสภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการปรบั ปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาอย่างตอ่ เนือ่ ง
พร้อมทั้งออกระเบียบ ประกาศ คำสั่ง หรือแนวปฏิบัติต่าง ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด กำกับ ติดตาม
ประเมินผลงานและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนการพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา
และดำเนินงานทางวินัยกับครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษาพระปริยัติธรรม จัดให้มี
ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาพระปรยิ ัติธรรมและให้ความร่วมมือในการประเมินคุณภาพ
การศึกษาจากหน่วยงานภายนอก รวมทัง้ การรายงานผลการประเมินตอ่ คณะกรรมการ ปฏิบัติหน้าที่
อืน่ เกย่ี วกับกิจการภายในสถานศกึ ษาพระปริยัติธรรม และงานอนื่ ตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย

3.6.1 กล่มุ บริหารงานท่ัวไป มหี นา้ ทแ่ี ละอำนาจในการดำเนินการพัฒนาระบบ
และเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ การประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา การวางแผนการ
บริหารงานการศกึ ษา งานวิจยั เพอื่ พฒั นานโยบายและแผนการจัดการศึกษาการจดั ระบบการบริหาร
และพัฒนาองค์กร การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานงาน งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การ
ดำเนินงานธุรการ การดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม การจัดทำสำมะโนผู้เรียน การรับ
นักเรียน การเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องการจัดตั้งสถานศึกษาพระปริยตั ิธรรมขยายชั้นเรียน เปดิ

98

ห้องเรียนสาขา ยุบ ยุบรวม ย้ายที่ตั้ง เปลี่ยนชื่อ หยุดดำเนินการชั่วคราวหรือเลิกดำเนินการ การ
ประสานการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา
การทัศนศึกษางานกิจการนักเรียน การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา การส่งเสริม สนับสนุนและ
ประสานการจัดการศกึ ษาของบคุ คล ชุมชน องค์กรหนว่ ยงานและสถาบันสงั คมอนื่ ทจี่ ัดการศึกษา งาน
ประสานราชการกับส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น การรายงานผลการปฏิบัติงาน การจัดระบบการ
ควบคุมภายในหน่วยงาน แนวทางการจัดกจิ กรรมเพือ่ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการลงโทษนกั เรียน
และงานอืน่ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย

3.6.2 กลุ่มงานบริหารงานงบประมาณ มีหน้าที่และอำนาจในการดำเนินการ
จดั ทำแผนงบประมาณ และคำขอจดั ตัง้ งบประมาณเพือ่ เสนอตอ่ หน่วยงานต้นสงั กดั จดั ทำแผนปฏิบัติ
การใช้จา่ ยเงินตามทไี่ ดร้ บั จัดสรรงบประมาณจากหนว่ ยงานต้นสงั กัดการอนุมัติการใชจ้ า่ ยงบประมาณ
ที่ได้รับจัดสรร การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ การรายงานผลการเบิกจ่าย
งบประมาณ การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใช้งบประมาณ การตรวจสอบตดิ ตามและรายงาน
การใช้ผลผลิตจากงบประมาณ การระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพ่ือการศกึ ษา การปฏิบตั ิงานอ่ืนใด
ตามทไ่ี ด้รับมอบหมายเกีย่ วกับกองทุนเพอ่ื การศกึ ษา การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษา การ
วางแผนพสั ดุ การกำหนดรปู แบบรายการ หรอื คณุ ลักษณะเฉพาะของครภุ ณั ฑ์ หรือสง่ิ ก่อสร้างทใี่ ช้เงนิ
งบประมาณเพื่อเสนอตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั การพฒั นาระบบข้อมลู และสารสนเทศเพอ่ื การจดั ทำและ
จัดหาพสั ดุ การจดั หาพสั ดุ การควบคมุ ดูแล บำรงุ รกั ษาและจำหน่ายพสั ดุ การจัดหาผลประโยชน์จาก
ทรพั ย์สิน การเบิกเงินจากคลัง การรับเงนิ การเก็บรกั ษาเงิน และการจ่ายเงนิ การนำเงินส่งคลัง การ
จดั การจัดทำบัญชกี ารเงนิ การจดั ทำรายงานทางการเงินและงบการเงนิ การจัดทำหรอื จัดหาแบบพมิ พ์
บัญชี ทะเบียน และรายงานและงานอืน่ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย

3.6.3 กลมุ่ งานบรหิ ารงานบุคคล มีหนา้ ทแ่ี ละอำนาจในการดำเนินการวางแผน
อัตรากำลัง การจัดสรรอัตรากำลังครูและบุคลากรทางการศึกษา การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง การ
เปลี่ยนตำแหน่งให้สงู ขึ้น การย้ายครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา การดำเนนิ การเกี่ยวกับการเลื่อนขั้น
เงินเดือน การลาทุกประเภท การประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน การดำเนนิ การทางวินัยและการลงโทษ
การสัง่ พักและการสัง่ ใหพ้ ้นจากครูและบุคลากรทางการศึกษาไว้ก่อน การรายงานการดำเนินการทาง
วินัยและการลงโทษ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ การออกจากครูและบุคลากรทางการศึกษา การ
จดั ระบบและการจัดทำทะเบยี นประวัติ การจดั ทำบัญชีรายช่อื และใหค้ วามเหน็ เกย่ี วกับการเสนอขอ
พระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ การส่งเสรมิ การประเมนิ วทิ ยฐานะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
การส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ การ
ส่งเสรมิ วินัย คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสำหรบั ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา การริเรมิ่ ส่งเสริมการขอรับ
ใบอนญุ าต การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาการดำเนินการทเ่ี กยี่ วกับการบรหิ ารงานบคุ คลให้
เปน็ ไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการนน้ั และงานอ่ืนทไี่ ดร้ บั มอบหมา

3.6.4 กลุ่มงานวิชาการ มีหน้าที่และอำนาจในการดำเนินการพัฒนาหรือการ
ดำเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น การวางแผนงานด้านวิชาการ
การจัดการเรียนการสอนการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล
และดำเนินการเทยี บโอนผลการเรียนการวจิ ัยเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา การพฒั นาและส่งเสรมิ ให้

99

มีแหล่งเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา การแนะแนวการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและ
มาตรฐานการศึกษา การสง่ เสรมิ ชมุ ชนให้มคี วามเขม้ แข็งทางวชิ าการ การประสานความร่วมมือในการ
พัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาพระปริยัติธรรมและองค์กรอื่น การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการ
แก่บุคคล ครอบครวั องค์กร หน่วยงานสถานประกอบการและสถาบันอ่ืนทีจ่ ัดการศึกษา การจัดทำ
ระเบียบและแนวปฏบิ ัติเกีย่ วกบั งานดา้ นวิชาการ การคัดเลือกหนังสอื แบบเรยี น การพฒั นาและการ
ใช้สือ่ เทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา และงานอ่นื ท่ีไดร้ ับมอบหมาย

4. กลุ่มตรวจสอบภายใน มหี นา้ ทแ่ี ละอำนาจในการวางระบบตรวจสอบ และควบคมุ
ภายในตรวจสอบ วเิ คราะหแ์ ละประมวลผลโดยติดตามตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู ด้านการเงนิ
การบญั ชี และการพัสดุ การบรหิ าร การจดั การประมวลผล การดำเนนิ งานตามแผนงาน โครงการและ
กจิ กรรมใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายและเป้าหมายที่กำหนด การบรหิ ารความเสี่ยง และการอ่ืนตามท่ีไดร้ บั
มอบหมาย

ผนวก ค เขตการศกึ ษาพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา (เขต 1-14)
1. เขต 1 ประกอบดว้ ย กรงุ เทพมหานคร จงั หวดั นครปฐม ปทุมธานี สมทุ รปราการ
นนทบรุ ี สมทุ รสาคร และสมุทรสงคราม มโี รงเรยี นจำนวน 14 โรง
2. เขต 2 ประกอบดว้ ย จงั หวัดชมุ พร สรุ าษฎรธ์ านี นครศรธี รรมราช สงขลา กระบ่ี
ตรัง ระนอง พงั งา ภูเกต็ พทั ลงุ สตลู ยะลา ปตั ตานี และนราธวิ าส มโี รงเรยี นจำนวน 20 โรง
3. เขต 3 ประกอบดว้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา อ่างทอง ลพบรุ ี สระบุรี สิงหบ์ รุ ี
ชัยนาท อทุ ยั ธานี สุพรรณบุรี ราชบรุ ี เพชรบรุ ี กาญจนบรุ ี และประจวบคีรีขันธ์ มีโรงเรียนจำนวน 19
โรง
4. เขต 4 ประกอบดว้ ย จงั หวดั นครสวรรค์ กำแพงเพชร สโุ ขทยั พิษณโุ ลก อตุ รดติ ถ์
พิจติ ร ตาก และเพชรบรู ณ์ มีโรงเรยี นจำนวน 24 โรง
5. เขต 5 ประกอบด้วย จงั หวดั เชยี งใหม่ ลำพนู และแม่ฮ่องสอน มโี รงเรียนจำนวน

42 โรง
6. เขต 6 ประกอบดว้ ย จงั หวัดแพร่ น่าน พะเยา เชียงราย และลำปาง มโี รงเรยี น

จำนวน 61 โรง
7. เขต 7 ประกอบดว้ ย จังหวดั ขอนแก่น เลย และหนองบวั ลำภู มีโรงเรยี นจำนวน 45

โรง
8. เขต 8 ประกอบด้วย จงั หวัดหนองคาย อดุ รธานี สกลนคร และบงึ กาฬ มีโรงเรียน

จำนวน 42 โรง
9. เขต 9 ประกอบดว้ ย จงั หวดั อุบลราชธานี ยโสธร อำนาจเจรญิ และมกุ ดาหาร มี

โรงเรียน
จำนวน 35 โรง

10. เขต 10 ประกอบด้วยจังหวดั รอ้ ยเอด็ มหาสารคาม กาฬสนิ ธ์ุ และนครพนม มี
โรงเรยี น
จำนวน 43 โรง

100

11. เขต 11 ประกอบด้วยจงั หวดั นครราชสีมา บรุ รี มั ย์ สุรินทร์ ศรสี ะเกษ และชัยภูมิ
มีโรงเรยี นจำนวน 41 โรง

12. เขต 12 ประกอบด้วยจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ปราจนี บรุ ี สระแก้ว นครนายก ชลบรุ ี
ระยอง จนั ทบรุ แี ละตราด มีโรงเรยี นจำนวน 13 โรง

13. เขต 13 คณะสงฆจ์ ีนนิกาย ทวั่ ราชอาณาจกั ร

14. เขต 14 คณะสงฆ์อนัมนิกาย ทั่วราชอาณาจกั ร
4. จำนวนโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
ตารางท่ี 2.1 จำนวนโรงเรยี น แบ่งตามขนาด และ สงั กัดเขตการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนก

สามญั ศกึ ษา

สำนักงานเขต โรงเรยี น โรงเรียน โรงเรยี น โรงเรียน
ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่
เขต 1 หยุดทำการสอน
เขต 2 10 4 - ช่วั คราว
เขต 3 19 1 -
เขต 4 17 2 - -
เขต 5 19 5 - -
เขต 6 28 11 3
เขต 7 53 6 2 -
เขต 8 41 4 - 1
เขต 9 36 6 -
เขต 10 29 6 - -
เขต 11 41 2 - -
เขต 12 32 9 - 2
เขต 13 11 2 -
เขต 14 12 - -
รวมทกุ เขต 3- - -
340 60 5
รวมทุกเขต / ทุกขนาดโรงเรียน -
-
-

-
-

3
408

101

5. จำนวนครู นกั เรยี น โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
ตารางท่ี 2.2 ครู นกั เรยี น โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา ประจำปีการศกึ ษา 2563

สำนักงานเขต ครู ระดับช้ัน

ครูประจำ ครูพิเศษ/ครบู าลี มัธยมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอน

139 130 ตอนตน้ ปลาย
71 137
เขต 1 74 133 794 537
เขต 2 117 119
เขต 3 315 153 770 332
เขต 4 406 285
เขต 5 222 210 773 394
เขต 6 170 195
เขต 7 166 181 1,493 604
เขต 8 176 189
เขต 9 225 129 3,495 1,547
เขต 10 82 68
เขต 11 23 22 3,551 1,926
เขต 12 9 22
เขต 13 2,195 1,973 2,223 980
เขต 14
รวมทกุ เขต 4,168 2,537 1,104
รวม
2,012 1,086

2,088 1,082

2,129 1,377

646 251

203 101

106 67

22,820 11,388

34,208

2.5 บริบทของโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ จังหวัด
หนองคาย สงั กดั เขตการศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษา เขต 8: พื้นท่วี ิจัยเชงิ ทดลอง

2.5.1 ประวัติความเป็นมาการก่อตั้งโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย วดั ศรษี ะเกษ จังหวัดหนองคาย
การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา นั้นเป็นการศึกษารูปแบบหนึ่งของการศึกษา

คณะสงฆ์เปน็ การศึกษาที่รฐั กำหนดใหม้ ขี ึ้นตามความประสงค์ของคณะสงฆ์ (พระราชวรมุนี 2521 :

355 อ้างถึงใน กองพุทธศาสนศึกษา,2557: 1) ซึ่งมีมูลเหตุสืบเนื่องมาจากการจัดตั้งโรงเรียนบาลี
มธั ยมศึกษา และบาลีวสิ ามัญศึกษา สำนกั เรียนวดั กล่าวคอื ภายหลังจากท่กี ารศึกษาในมหาวิทยาลยั
สงฆ์ทั้งสองแห่ง คือ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหามกุฎราช

วทิ ยาลยั ซงึ่ เปิดดำเนินการมาต้ังแต่ปี พ.ศ.2432 และ พ.ศ.2489 ตามลำดบั ได้เจริญก้าวหน้ามาก
ขึ้น ทางมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้จัดแผนกมัธยมขึ้นมาเรียกว่า โรงเรียนบาลี
มัธยมศึกษา กำหนดใหม้ ีการเรยี นบาลีนกั ธรรม และความรู้ชนั้ มธั ยม โดยรับผู้ทีส่ ำเร็จการศึกษาช้ัน

102

ปีที่ 4 ต่อมาเมื่อโรงเรียนบาลีมัธยมศึกษาได้แพร่ขยายออกไปยังต่างจังหวัดหลายแห่งมีภิกษุและ
สามเณรเรียนกนั มาก ทางคณะสงฆ์โดยองค์การศกึ ษาจึงไดก้ ำหนดใหเ้ รียกโรงเรียนประเภทน้ีใหม่ว่า
โรงเรียนบาลีวิสามัญศึกษาสำนักวัด โดยมติสังฆมนตรีและกระทรวงศึกษาธิการก็ได้ออกระเบียบ
กระทรวงให้โรงเรยี นบาลีวิสามัญศึกษาสำนักเรียนวัดเปิดทำการสอบสมทบในช้ันตัวประโยค คือ ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 6 และชัน้ มธั ยมศกึ ษาช้ันปที ่ี 3 ไดต้ ง้ั แต่ปี พ.ศ.2500 เป็นตน้ มา และเมอื่ สอบได้แลว้
ก็ยังจะได้รับประกาศนียบัตรจากกระทรวงศึกษาธิการอีกด้วย ด้วยเหตุนี้จึงทำให้พระภิกษุและ
สามเณรนยิ มเรียนกันเป็นจำนวนมาก โรงเรียนประเภทนี้จงึ แพร่หลายออกไปยงั จังหวัดต่างๆ อย่าง
กว้างขวาง และได้มกี ารจดั ตั้งโรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรมแผนกสามญั ศึกษา ขนึ้ 4 แห่งทั่วประเทศ หน่ึง
ในนั้นคือ โรงเรียนบาลสี าธติ ศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วัดศรีษะเกษ ตำบลในเมือง อำเภอ
เมอื ง จังหวดั หนองคาย ประกาศอย่างเปน็ ทางการ เมือวันท่ี ๑๕ เดอื น ธันวาคม พทุ ธศกั ราช 2513
ตัง้ อยู่ สถานทีต่ งั้ ต้งั อย่เู ลขท่ี 1167 หมู่ท่ี 5 วดั ศรษี ะเกษ ถนนประจักษ์ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง
จังหวัดหนองคาย รหัสไปรษณีย์ 43000 โทรศพั ท์ 0-4241-1777

วิสัยทัศน์ (Vision)
ภายในปี 2563 โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีษะเกษ

อำเภอเมือง จงั หวัดหนองคาย มุ่งม่ันพฒั นาผูเ้ รยี น มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม เรียนอย่างมีความสุข บริหาร
จัดการอย่างเปน็ ระบบ พัฒนาศักยภาพของบคุ ลากร สืบสานวฒั นธรรมประเพณที อ้ งถ่นิ พัฒนาคนดี
คืนสสู่ งั คม ศกึ ษานอ้ มนำพระธรรมวินัย ดำเนนิ ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง จัดการศึกษาเพื่อยกระดับ
ส่ปู ระชาคมอาเซียน
พนั ธกจิ (Mission)
ด้านคุณภาพของผูเ้ รยี น
ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผ้เู รยี น

1. ส่งเสรมิ ผ้เู รยี นใหม้ ีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สารและการคดิ คำนวณ
ตามเกณฑ์ของแตล่ ะระดับช้ัน

2. ส่งเสริมผูเ้ รียนใหม้ ีความสามารถในการวเิ คราะห์และคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภิปราย
แลกเปลย่ี นความคิดเห็น และแกป้ ญั หา

3. ส่งเสรมิ ผู้เรียนใหม้ คี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร
4. ส่งเสรมิ ผเู้ รยี นใหม้ ีความกา้ วหน้าทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา
5. ส่งเสรมิ ผเู้ รยี นให้มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและพฒั นาการจากผลการสอบวดั ระดับชาติ
6. สง่ เสรมิ ผเู้ รียนใหม้ ีความพรอ้ มในการศกึ ษาตอ่ การฝึกงานหรือการทำงาน
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรยี น
1. สง่ เสรมิ ผเู้ รยี นใหม้ ีคุณลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด โดยไมข่ ดั กับ
กฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดีของสังคม
2. ส่งเสรมิ ผเู้ รยี นให้ความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย
3. ส่งเสรมิ ผเู้ รียนใหก้ ารยอมรบั ทจี่ ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4. ส่งเสรมิ ผเู้ รยี นใหส้ ขุ ภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจิตสงั คม
ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา

103

1. บรหิ ารแบบมเี ปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ และ พนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน

2. บริหารการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

2.1 บรหิ ารการวางแผนและดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คณุ ภาพของผู้เรยี นรอบดา้ น

ทุกกลมุ่ เปา้ หมาย และดำเนินการอยา่ งเป็นรปู ธรรม

2.2 บริหารและสนบั สนุนการวางแผนและดำเนนิ งานพฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความ

เชีย่ วชาญทางวชิ าชพี

2.3 บรหิ ารการวางแผนการบรหิ ารและการจัดการข้อมลู สารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบ

2.4 บรหิ ารการวางแผนและจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อ้อื ตอ่ การจดั การ

เรยี นรู้อย่างมคี ณุ ภาพ

3. สนับสนุนการมสี ว่ นร่วมของผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝ่าย และการรว่ มรับผดิ รบั ชอบต่อผลการจัด

การศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน

4. บรหิ ารการกำกบั ติดตาม ประเมินผลการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา

ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั

1. สถานศกึ ษามีกระบวนการเรียนการสอนทส่ี รา้ งโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนมสี ่วนร่วม

2. สถานศกึ ษามกี ารจดั การเรียนการสอนที่ยดึ โยงกับบรบิ ทของชุมชนและท้องถน่ิ

3. สถานศึกษามกี ารตรวจสอบและประเมินความรคู้ วามเข้าใจของผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบและ

มปี ระสิทธภิ าพ

ปรชั ญาโรงเรยี น : ปญฺญา โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต “ปญั ญาเปน็ แสงสว่างใน

โลก”

คำขวัญโรงเรยี น : “รรู้ กั ษส์ ามัคคี ใฝ่ดี ใฝร่ ู้ เชิดชูคุณธรรม”

อัตลกั ษณ์ : ธรรมบาลเี ดน่ เนน้ วินยั กราบไหวถ้ กู วิธี

เอกลักษณ์ : สืบสานการเปน็ ศาสนทาญาตทิ ี่ดี

2.5.2 จำนวนผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา ประจำปกี ารศกึ ษา 2563

ตารางที่ 2.3 แสดงจำนวนผูบ้ ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา จำแนกตามวุฒกิ ารศึกษา
ประจำปีการศึกษา 2563

ตำแหนง่ วฒุ กิ ารศึกษา รวม

ตำ่ กว่าปริญญา ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก 6
7
ตรี 1 4
-
ผบู้ รหิ าร - 23 - 1
18
ครูประจำ - 52 -
1
ครูพิเศษ / พนกั งานทางการ 1 3-

ศึกษา

นกั การ 1 - -

รวม 2 10 5

2.5.3 กระบวนการดำเนนิ งานการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน

104

ปัจจุบันโรงเรียนบาลีสาธิตศกึ ษามหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยายลัย วดั ศรีษะเกษ สังกัดมหาเถร
สมาคม สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง
มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ในการจดั การศึกษาของโรงเรียนบาลสี าธติ ศึกษาฯ วัดศรีษะเกษ มคี วามมุ่งมน่ั ท่ีจะ
เปลี่ยนแปลงไปสู่การ พฒั นาตามแนวทางการปฏริ ูปการศึกษา เพอ่ื ให้การจดั การศกึ ษามคี ุณภาพและ
ประสทิ ธภิ าพโรงเรียนบาลสี าธิตศกึ ษาฯ วดั ศรีษะเกษ จงึ ได้กำหนดกลยทุ ธก์ ารพัฒนาการศึกษาโดยมี
กรอบกฎหมายที่สำคัญทางการศึกษานโยบายของ รัฐบาลยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติของ
กระทรวงศึกษาธิการ กลยุทธ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและกลยุทธ์ของ
สำนักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาตเิ ปน็ แนวทางในการพฒั นา

การกำหนดวิสัยทัศน์ของโรงเรียนเป็นวสิ ยั ทัศน์ที่เกดิ จากการระดมความคิดเห็นจากบคุ ลากร
ทกุ ฝา่ ยมีพนั ธกจิ ทก่ี ำหนดขน้ึ เพอ่ื สนับสนุนให้วิสัยทัศนท์ ี่วางไวบ้ รรลคุ วามเปน็ ความจริงได้ และเกิด
ประโยชน์ ตามเป้าประสงค์ รวมทั้งการนำแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติโดยใช้กรอบแนวคิดตามหลัก
ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อให้แผนเกดิ ประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผลสงู สุด

ภารกจิ หลัก เนอื่ งจากโรงเรยี นบาลีสาธิตศกึ ษาฯ วดั ศรษี ะเกษ เปน็ หนว่ ยงานท่ีอยภู่ ายใต้การ
กำกับดแู ลของ มหาเถรสมาคม สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ มีหนา้ ทดี่ ำเนินการให้เป็นไปตาม
อำนาจหนา้ ที่ของคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

จัดทำนโยบายแผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนให้สอดคล้องกับนโยบาย
มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และความต้องการของท้องถน่ิ
วเิ คราะห์การจดั ต้งั งบประมาณเงนิ อดุ หนนุ ทัว่ ไปของโรงเรียน และจดั สรรงบประมาณที่ได้รับให้แต่ละ
กลุ่มงานรับทราบ และกำกับ ตรวจสอบ ติดตาม การใช้จ่ายงบประมาณของโรงเรียนส่งเสริม
สนับสนุน และ พัฒนาหลักสูตรร่วมกับบุคลากรและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กำกับ ดูแล ติดตาม และ
ประเมินผลการจัดการ เรียนการสอนของบุคลากรใหบ้ รรลตุ ามหลักสูตร ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และ
รวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศ ด้านการศึกษาของนักเรยี นในเขตบรกิ ารประสานการระดมทรพั ยากรด้าน
ต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนการจัดและการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน
จัดระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา และประเมินผลการศกึ ษาของนักเรยี น

ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัย และการพัฒนาการศึกษา ของบุคลากรในโรงเรียนประสาน
ส่งเสรมิ การดำเนนิ งานของคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐานและผู้มสี ่วนเก่ียวข้องปฏิบัติหน้าที่อื่น
เกี่ยวกับกิจการภายในเขตบริการของโรงเรียนที่มิได้ระบุให้เป็นหน้าที่ของผู้ใดโดยเฉพาะหรือ
ปฏบิ ัตงิ านอืน่ ทไี่ ดร้ ับมอบหมายจัดการศกึ ษาให้พระภกิ ษสุ ามเณรระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ให้ได้รับ
การพัฒนาและมคี วามพร้อมในการ เข้าเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สง่ เสรมิ นกั เรยี นทเ่ี รียนจบ
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ให้มีโอกาสศกึ ษาต่อสงู ขน้ึ ตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2.5.4 สภาพปัจจบุ ัน ปัญหาและความตอ้ งการของสถานศึกษา
1. ผลการประเมินภายนอก
ข้อเสนอแนะเพ่อื พัฒนาสถานศกึ ษาจาก สมศ
1) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร กลุ่มสาระ

วชิ าพระธรรมวินยั และภาษาบาลี

105

2) ครูควรไดร้ ับการศึกษาอบรม พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีความรดู้ า้ นการทำงานแบบบูรณา
การ การเรียนร้แู บบโครงงาน การเรียนรู้แบบแผนผงั

3) สถานศึกษาควรสง่ เสริม และพัฒนานวัตกรรมการจดั การเรียนรู้และส่ืออปุ กรณ์
การเรียนที่เออื้ ตอ่ การเรียนรู้ เพ่อื นำมาพฒั นาการเรียนการสอนของครู ส่งเสรมิ ใหม้ ีการเรียนการสอน
โดยใช้สื่อ ผลติ สือ่ วิจัยส่อื
สภาพปัญหาความต้องการจำเป็น

เป็นสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกด้วยเทคนิค SWOT
เพือ่ นำไปสกู่ ารกำหนดความตอ้ งการจำเปน็ ในการแกป้ ัญหา และพฒั นาภารกิจหลกั และภารกิจรอง
และการงานตามนโยบายทีเ่ กยี่ วข้องระดบั ต่างๆ สรปุ ได้ดงั นี้ ประเด็นสำคัญ
จดุ แข็ง

1. ผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ มีสัมมาคารวะ ช่วยเหลือ
ผูอ้ ืน่ ซ่อื สตั ย์สจุ รติ รู้จกั ออมทรัพย์ประหยัดอดออม บำเพ็ญประโยชน์ในสถานศกึ ษาโดยการทำความ
สะอาด และนอกสถานทโ่ี ดยการผกู ผ้าประดับต่างๆ

2. สถานศกึ ษาจัดให้มโี ครงการพิเศษประสบผลสำเร็จทส่ี ่งเสรมิ บทบาทของสถานศึกษาเพื่อ
แก้ปญั หาดา้ นการใชจ้ ่ายโดยใชโ้ ครงการออมทรัพย์และการประหยดั ปญั หาด้านความสะอาดและมี
ระเบียบโดยใช้โครงการรกั ษาสภาพแวดล้อมและอนุรักษ์ธรรมชาติ ปัญหาด้านการรักษาวินัยและ
คณุ ธรรมโดยใช้โครงการฝกึ อบรมคุณธรรมและจริยธรรม

3. ครูมีคุณธรรมจริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียน
ผู้ปกครอง อทุ ิศเวลาในการสอน และพฒั นาผเู้ รยี นได้เตม็ ศกั ยภาพ

4. สถานศึกษาส่งเสริมความสัมพันธ์ และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา
ผบู้ รหิ ารมีภาวะผู้นำ และมคี วามสามารถในการบรหิ ารจัดการ
จดุ ออ่ น

1. ด้านผลการจัดการศกึ ษา
1) การพัฒนาให้ผ้เู รยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสงู ข้ึนในทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2) การประเมนิ ความพงึ พอใจด้านอตั ลกั ษณแ์ ละเอกลัษณ์

2. ด้านการบรหิ ารการศกึ ษา
1) การพัฒนาบทบาทของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
2) การพฒั นาสภาพแวดลอ้ มภายในสถานศึกษา

3. ด้านการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
1) การพัฒนาการเรียนการสอน
2) การสอนซอ่ มเสรมิ และการวิจยั ในช้ันเรยี น

4. ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน
1) การพฒั นาคุณภาพการศึกษาท่ตี อ่ เน่ือง

106

โอกาส
สถานศึกษามีคณะกรรมการโรงเรียนและชุมชนให้ความร่วมมือทั้งด่านความคิดและ

แรงงาน และทนุ ทรพั ย์ เพือ่ การพฒั นาการศึกษา ประกอบกบั ไดจ้ ัดภตั ตาหาร เช้า – เพล แก่ผู้เรียน
อปุ สรรค

พ่อแม่หรือญาติของผู้เรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ทำให้มีปัญหาต่อการซื้ออุปกรณก์ าร
เรียนและมีปัญหาต่อการจัดการศึกษา

2. ผลการทดสอบปลายปี
ผลการสอบ O-NETของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2562
กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย คา่ เฉลี่ยกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปี

ที่ 3 มคี ่าเฉล่ยี เท่ากับ 36.00 ซ่งึ ตำ่ กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ 55.14 เม่อื พจิ ารณารายสาระ
การเรยี นรู้ พบวา่ ควรเร่งพัฒนาเน่อื งจากมีผลการทดสอบของสาระการเรยี นรู้มคี า่ เฉลย่ี ตำ่ กว่าคะแนน
เฉล่ียระดับประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 18.93 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ 26.73 เมื่อ
พจิ ารณารายสาระการเรยี นรู้ พบวา่ สาระการเรยี นรทู้ ี่สถานศกึ ษาควรเร่งพัฒนา เนอ่ื งจากมีผลการ
ทดสอบของสาระการเรยี นรู้มคี า่ เฉลย่ี ตำ่ กวา่ คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 28.89 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ 30.07 เม่ือ
พิจารณารายสาระการเรียนรู้ พบวา่ สาระการเรยี นรทู้ ส่ี ถานศึกษาควรเร่งพัฒนา เนอ่ื งจากมีผลการ
ทดสอบของสาระการเรยี นรมู้ ีค่าเฉลยี่ ต่ำกวา่ คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 28.00 ซึ่งต่ำกว่าคะแนน
เฉลี่ยระดับประเทศ คือ 33.25 เมื่อพิจารณารายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ท่ี
สถานศึกษาควรเร่งพัฒนา เนื่องจากมีผลการทดสอบของสาระการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าคะแนน
เฉลี่ยระดับประเทศ

ผลการสอบ O-NETของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2561
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย คา่ เฉลย่ี กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่
6 มีค่าเฉลยี่ เทา่ กบั 29.25 ซึ่งต่ำกวา่ คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ คือ 42.21 เม่ือพจิ ารณารายสาระการ
เรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ท่ีสถานศกึ ษาควรเร่งพัฒนา เนื่องจากมีผลการทดสอบของสาระการ
เรยี นรู้มคี ่าเฉลย่ี ตำ่ กว่าคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.07 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ 25.41 เม่ือ
พิจารณารายสาระการเรยี นรู้ พบว่า สาระการเรยี นรทู้ สี่ ถานศกึ ษาควรเรง่ พัฒนา เน่อื งจากมีผลการ
ทดสอบของสาระการเรยี นรู้มีคา่ เฉล่ยี ต่ำกว่าคะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 22.07 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ คือ 29.20 เม่ือ

107

พิจารณารายสาระการเรยี นรู้ พบว่า สาระการเรยี นรทู้ ่สี ถานศกึ ษาควรเร่งพฒั นา เนื่องจากมีผลการ
ทดสอบของสาระการเรียนรมู้ คี ่าเฉลย่ี ต่ำกวา่ คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ค่าเฉลี่ยกลุม่ สาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 มีค่าเฉลี่ยเทา่ กบั 26.00 ซึ่งต่ำกว่าคะแนน
เฉลี่ยระดับประเทศ คือ 35.70 เมื่อพิจารณารายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ท่ี
สถานศึกษาควรเร่งพัฒนา เนื่องจากมีผลการทดสอบของสาระการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าคะแนน
เฉลยี่ ระดบั ประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ค่าเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.12 ซึ่งต่ำกว่าคะแนน
เฉลี่ยระดับประเทศ คือ 29.20 เมื่อพิจารณารายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ที่
สถานศึกษาควรเร่งพัฒนา เนื่องจากมีผลการทดสอบของสาระการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าคะแนน
เฉลี่ยระดับประเทศ

โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา ฯ วัดศรีษะเกษ บริหารจดั การภายใตว้ ิสัยทัศน์ ของโรงเรียนฯ
บริหารจัดการศกึ ษาด้วยระบบคุณภาพ โดยมีพันธกจิ และเป้าประสงคใ์ นการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันโดยพัฒนาคุณภาพผู้เรียนใหม้ คี วามรู้ ทักษะวิชาการ ทักษะ
ชีวิต ทักษะวิชาชพี ตามคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมอื
อาชีพ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการศึกษาที่เป็นมาตรฐาน และพัฒนาระบบบริหารจัด
การศึกษาแบบบูรณาการ โดยประสานความรว่ มมือระหวา่ งสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กร
และเครือขา่ ยนานาชาติ

ตารางที่ 2.4 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พื้นฐาน (O-Net) ระดับช้ัน
มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) ปีการศึกษา 2562

รายวิชา ระดบั โรงเรยี น คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ
36.00 ระดบั สังกัด 55.14
ภาษาไทย 18.93 26.73
คณติ ศาสตร์ 43.57
วทิ ยาศาสตร์ 25.89 20.47 30.07
ภาษาองั กฤษ 28.00 27.42 33.25
26.77

108

ตารางที่ 2.5 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-Net) ระดับชัน้

มัธยมศึกษาตอนตน้ (ม.6) ปีการศึกษา 2562

รายวิชา ระดับโรงเรยี น คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ
ระดบั สังกัด

ภาษาไทย 29.25 31.49 42.21

สงั คมศกึ ษา ฯ 26.00 30.93 35.70

คณิตศาสตร์ 16.07 16.01 25.41

วทิ ยาศาสตร์ 22.07 24.05 29.20

ภาษาอังกฤษ 21.12 21.63 29.20

ตารางที่ 2.6 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-Net) ระดับชน้ั

มธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ม.3) ปีการศกึ ษา 2560 - 2562

รายวิชา คะแนนเฉลย่ี
ปกี ารศกึ ษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562

ภาษาไทย 48.29 54.42 55.14

คณิตศาสตร์ 26.30 30.04 26.73

วิทยาศาสตร์ 32.28 36.10 30.07

ภาษาอังกฤษ 30.45 29.45 33.25

ตารางที่ 2.7 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-Net) ระดบั ชั้น

มัธยมศกึ ษาตอนต้น (ม.6) ปกี ารศึกษา 2560 - 2562

รายวิชา คะแนนเฉล่ยี
ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562

ภาษาไทย 49.25 47.31 42.21

สงั คมศึกษา ฯ 34.70 35.16 35.70

คณติ ศาสตร์ 24.53 30.72 25.41

วทิ ยาศาสตร์ 29.37 30.51 29.20

ภาษาอังกฤษ 28.31 31.41 29.20

จากขอ้ มูลทแี่ สดงถึงบริบทของโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามญั ศึกษา ดังกล่าวขา้ งตน้ จะ

เหน็ วา่ นโยบายของสำนักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ มงุ่ เนน้ ให้นักเรยี นทกุ คนไดร้ บั การศึกษาอย่าง
มคี ุณภาพ เพิ่มโอกาสในการพัฒนานกั เรียนตรงตามศักยภาพและความถนดั ของตนเอง ส่งเสรมิ การจดั
การศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะทีจ่ ำเป็นของโลกในศตวรรษที่ 21 อย่าง

ครบถ้วน พัฒนาผูเ้ รยี นให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดข้ันสงู นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการโดยใชพ้ ื้นที่เป็นฐาน มีนวัตกรรม

109

เป็นกลไกหลกั ในการขบั เคลอ่ื นบนฐานขอ้ มูลสารสนเทศท่ถี ูกตอ้ ง ทันสมยั และการมีส่วนร่วมของทุก
ภาคสว่ น สง่ ผลใหโ้ รงเรยี นมกี ารพัฒนาผูเ้ รียน หลักสตู รและกระบวนการจัดการเรยี นการสอน แหลง่
เรียนรู้ สภาพแวดล้อมและพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการเรียนรู้ที่เอื้ออำนวยให้ผู้เรียนสามารถ
เรียนรูด้ ้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ การมีทักษะดา้ นนวัตกรรม จึงมึความสำคัญอย่างยิ่งและ
เป็นประโยชน์ในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้ให้มี
ประสิทธิภาพและทันสมัยและเพื่อนำไปพัฒนานักเรียนใหท้ ันต่อสมัยโลกาภิวัฒน์ และนักเรียนเกิด
ทกั ษะด้านนวตั กรรมเพ่ือนำไปพัฒนาตนเอง และนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ จึงจะทำวจิ ัยโปรแกรมออนไลน์
เพือ่ พฒั นาครูสกู่ ารเสรมิ สร้างทกั ษะเชิงนวตั กรรมของนกั เรยี นโรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม เพื่อตอบสนอง
นโยบายในการพัฒนาครูสู่ครูมืออาชีพและเสริมสร้างทักษะให้นักเรียน เป็นบุคคลแห่งการเรีย นรู้
พัฒนาตนเองได้อย่างเตม็ ศกั ยภาพ ม่งุ สู่การเปน็ พลเมอื งทีด่ ีในยุคโลกาภิวตั นต์ อ่ ไป

2.6 กรอบแนวคิดเพอ่ื การวจิ ัย

ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือ วิจัยและพัฒนา (Research and Development :
R&D) เป็นนวัตกรรมที่พฒั นาขน้ึ โดยกระบวนการวิจยั และพฒั นามีจุดมงุ่ หมาย - เพ่อื นำไปใช้พัฒนา
บคุ ลากรสูก่ ารพัฒนาคณุ ภาพของงานที่มปี รากฏการณ์ หรือข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์แสดงใหเ้ หน็ ว่ามีความ
จำเป็นเกดิ ขึ้น เชน่ เป็นผลสืบเน่ืองจากการกำหนดความคาดหวงั ใหม่ทที่ า้ ทายของหนว่ ยงาน หรือการ
เปล่ียนแปลงในกระบวนทัศนก์ ารทำงานจากเก่าส่ใู หม่ ท่บี ุคลากรขาดความรคู้ วามเขา้ ใจและทกั ษะใน
กระบวนทัศนใ์ หม่ และในปจั จุบันมหี ลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหาร
การศึกษาเกิดขึ้นมากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แล้ว
กระตุ้นให้พวกเขานำความรู้เหล่านี้สู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การ
ปฏิบัติงานในหน้าท่ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งข้ึน ตามแนวคิด “Knowledge +
Action = Power” หรือตามคำกล่าวทวี่ า่ “Make Them Know What To Do, Then Encourage
Them Do What They Know” หรอื “Link To On-The-Job Application” และด้วยแนวคิดท่ีว่า
การศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้องในบทที่ 2 ถือเปน็ จดุ เร่ิมตน้ ท่สี ำคัญของการวิจัยและพัฒนา
เพราะจะทำใหไ้ ดโ้ ปรแกรมออนไลนเ์ พ่อื พฒั นาครูสู่การเสรมิ สรา้ งทักษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรยี นท่ีมี
ประสิทธิภาพ ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรูข้ องครู มี
คมู่ อื ประกอบโครงการจำนวน 6 ชุด คอื (1) คู่มือเพอื่ การเรียนรู้เกี่ยวกับนยิ ามของทกั ษะเชิงนวตั กรรม
(2) คู่มอื เพอื่ การเรยี นร้เู กีย่ วกับความสำคัญของทกั ษะเชิงนวัตกรรม (3) คมู่ ือเพอ่ื การเรียนรู้เก่ียวกับ
ลกั ษณะของทกั ษะเชงิ นวัตกรรม (4) คมู่ ือเพ่ือการเรยี นรเู้ กี่ยวกบั แนวการพัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรม
(5) ค่มู ือเพอื่ การเรยี นรูเ้ ก่ยี วกับข้นั ตอนการพฒั นาทกั ษะเชงิ นวตั กรรม (6) คู่มอื เพื่อการเรยี นรู้เก่ียวกบั
การประเมินทักษะเชิงนวัตกรรม และ 2) โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การพฒั นานกั เรียน มีคู่มอื
ประกอบโครงการจำนวน 1 ชุด คอื (1) คู่มอื เชิงปฏิบตั กิ ารเพ่อื การพฒั นาทกั ษะเชงิ นวัตกรรมให้กับ
นกั เรียน

ในการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้องในบทท่ี 2 ผู้วิจยั ได้ศกึ ษาหลักการ แนวคิด และ
ทฤษฎีจากทัศนะของนักวชิ าการหรอื หน่วยงานท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม
ของนกั เรียนใน 6 ประเด็น คือ

110

(1)นิยามของทักษะเชิงนวัตกรรม ศึกษาจาก 10 แหล่ง คือ Albuquerque (2013) ,
Bellevue College (2019) , Business (2018) ,Center for Management & Orgenization
Effectiveness (n.d.), Dwyer,J. (n.d.) , E-CSR (2017) , Skills You Need (n.d.) , Toolshero
(n.d.) ,Vocabulary (n.d.) ,Wikipedia (2019)

(2)ความสำคัญของทักษะเชิงนวัตกรรม ศึกษาจาก 7 แหล่ง Boundless, (n.d)
,Cleverism (n.d) , Henderson (2018) ,Kappe (2018) , Myllyla (2019) , Nolan (2017) ,
Sokolova (2018)

(3)ลักษณะของทกั ษะเชิงนวตั กรรม ศกึ ษาจาก 3 แหล่ง คอื Premuzic (2013) , Rosales
(2018) , Zenger (2015)

(4)แนวทางการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม ศึกษาจาก 9 แหล่ง Baiya (2018) , Cherry
(2019) , Francisco (2018) , Hengsberger (2018) ,Jonathan (2014) , Kaye (2018) , Kim (2018)
, Myllyla (2018) , Stack (2013)

(5)ขั้นตอนการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม ศึกษาจาก 5 แหล่ง คือ Magazine Spring
(2007) , Landry (2017) , Pisano (2020) , Molloy (2019) , Boutelle (2020)

(6)การประเมนิ ทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ศึกษาจาก 4 แหล่ง คือ Bukidnon State University.
(2018) , Butter, and Beest (2017) และ Chell and Athayde (2009) , Research and Extension
Unit, Food and Agriculture Organization of the United Nations Rome. (2017)

จากทัศนะของนกั วิชาการหรือหน่วยงานเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม ใน 6
ประเด็นดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยไดน้ ำเอาข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาที่เปน็ หลักการ / แนวคิด /
เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรม มากำหนดเป็นข้อเสนอแนะที่เป็นปัจจัยป้อนเข้า (Input) และนำเอา
ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาที่เป็นโมเดลขั้นตอน (Step Model) มากำหนดเป็นข้อเสนอแนะท่ี
เป็นกระบวนการ (Process) รวมทั้งนำเอาลักษณะหรือคุณลักษณะที่คาดหวังจากผลการพัฒนามา
กำหนดเป็นข้อเสนอแนะที่เป็นปัจจัยป้อนออก (Output) เพื่อแสดงให้เห็นถึงแนวคิดเชิงระบบ
(System Approach) ของข้อเสนอทางเลือกที่หลากหลายในเชิงวชิ าการหรือทฤษฎี (Academic or
theoretical Alternative Offerings) ที่ได้จากการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องของผู้วิจัย เป็น
ข้อเสนอทางเลือกที่หลากหลายเชิงวชิ าการหรอื ทฤษฎีที่ผู้วิจัยจะนำไปเสนอให้ผูร้ ่วมวิจัยไดร้ ับทราบ
เพื่อบูรณาการเข้ากับข้อเสนอทางเลือกจากการระดมสมองและดึงศักยภาพของผู้ร่วมวิจัยออกมา
ในช่วงดำเนินงานวิจยั ในภาคสนาม

ข้อเสนอทางเลือกที่หลากหลายในเชงิ วิชาการหรอื ทฤษฎี (Academic or theoretical
Alternative Offerings) ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาวรรณกรรมทเี่ กีย่ วขอ้ งของผวู้ จิ ยั ดงั กล่าวนี้ ถือเปน็ กรอบ
แนวคดิ เพือ่ การวจิ ยั (Conceptual Framework) ในการวิจยั ครั้งน้ี ดงั แสดงในตารางที่ 2.8

ตารางท่ี 2.8 แนวคิดเชงิ ระบบของข้อเสนอทางเลอื กทหี่ ลากหลายในเชงิ วิชาการห

การศึกษาวรรณกรรมที่เก่ียวข้องของผู้วิจัย : กรอบแนวคดิ ในการวิจยั

ขอ้ เสนอแนะท่ีเป็นปัจจยั ปอ้ นเข้า (Input) ข้อเสนอแนะที่เป็นกร

หลักการ / แนวคิด / เทคนคิ / วิธีการ / กิจกรรม / โมเดลขน้ั ตอนทางเ

ทางเลือกท่ีหลากหลายเพ่ือการพัฒนาทักษะเชิงนวตั กรรม เพ่ือการพัฒนาทัก

Baiya (2018) Magazine Spring (2007

1. ชว่ ยพวกเขาพฒั นาการตระหนกั รู้ (Help them 1) การสรา้ งความคิดและการ

Develop Self-Awareness) Generation and Mobili

2. สนับสนุนการเรียนรูท้ ่ีเพ่มิ มากข้ึน (Support their 2. ขน้ั ตอนการสนบั สนุนและ

Intellectual Growth) (Advocacy and Screen

3. สง่ เสริมใหม้ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ (Encourage them to 3. ขั้นตอนการทดลอง (Expe

Embrace Creativity) 4. การสร้างความคิดในเชงิ พา

4. กระตุ้นใหผ้ นู้ ำพัฒนาระบบนวัตกรรม (Challenge In the commercializati

them to Develop an Innovation System) 5. การเผยแพรน่ วัตกรรมและ

Myllaya (2018) (Diffusion and Implem

1. การกำหนดเปา้ หมายและกลยทุ ธ์ในการเข้าถึงนวตั กรรม Landry (2017)

(Determine Objectives and Strategic Approach 1. การคน้ พบ (Discovery)

to Innovation) 2. การพฒั นา (Developm

2. รจู้ ักตลาด ซงึ่ ก็คอื ผู้บริโภคและคู่แข่ง (Know your 3. การทำใหเ้ ป็นธุรกิจ (Com

Market: Customers and Competitors) Pisano (2020)

3. กำหนดคุณค่าท่คี ุณสง่ มอบให้ลูกค้า (Value 1. กำหนดเปา้ หมายและแน

Proposition) สรา้ งสรรคน์ วตั กรรม (S

4. เข้าถงึ และพฒั นาแก่นความสามารถหลัก (Assess and Directions for Innova

Develop your Core Capabilities) 2. รจู้ กั ตลาด หาลูกคา้ และ

5. จดั ตัง้ เทคนิคและระบบนวตั กรรม (Establish your the Market, Find Cu

Innovation Techniques and Systems) Business Competito

112
หรือทฤษฎี (Academic or theoretical Alternative Offerings) ทีไ่ ดจ้ าก

ระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะที่เป็นผลลัพธ์ (Output)
เลือกที่หลากหลาย
กษะเชงิ นวตั กรรม คุณลักษณะทคี่ าดหวัง
7) จากการพัฒนาทักษะเชงิ นวตั กรรม
รระดมความคิด (Idea
ization) Zenger (2015)
กล่นั กรองความคิด 1. ผนู้ ำกำหนดวิสยั ทศั น์ร่วมกนั เพื่อนร่วมงาน (Leaders
ning)
erimentation) Jointly Created a Vision with their Colleagues)
าณชิ ย์ (Commercialization 2. การสร้างความไว้วางใจ (They Build Trust)
ion stage) 3. ลกั ษณะของผกู้ ำหนดทศิ ทางการดำเนินการด้านนวตั กรรม
ะการนำนวัตกรรมไปปฏบิ ตั ิ
mentation) (Innovation Champions)
4. ผู้นำที่ส่งเสรมิ นวัตกรรมจะถูกกลา่ วถงึ ในเร่ืองความ
ment)
mmercialization) เช่ียวชาญท่ีลึกซ้ึง (Leaders who Fostered Innovation
were Noted for their Deep Expertise)
นวทางเชิงกลยทุ ธใ์ นการ 5. การตง้ั เป้าหมายไวส้ ูง (They Set High Goals)
Set Goals and Strategic 6. ผู้นำเชิงนวัตกรรมจะมงุ่ ไปข้างหน้าโดยเรว็ (Innovation
ation) Leaders Gravitate Toward Speed)
ะดคู ่แู ขง่ ทางธรุ กิจ (Know 7. การกระหายข้อมูล (They Crave Information)
ustomers and Look at 8. การทำงานเป็นทีม (They Excel At Teamwork)
ors) 9. การให้คุณค่ากับความหลากหลายและการรวมกัน (They
Value Diversity And Inclusion)
Rosales (2018)
1. การรู้สึกถงึ โอกาส (Sensing Opportunity)
2. การฝกึ อบรมและการศกึ ษาท่ีเหมาะสม (Proper Training
& Education)

ขอ้ เสนอแนะท่ีเป็นปจั จยั ป้อนเข้า (Input) ข้อเสนอแนะที่เปน็ กร

หลกั การ / แนวคดิ / เทคนคิ / วธิ ีการ / กจิ กรรม / โมเดลขั้นตอนทางเ
ทางเลอื กทีห่ ลากหลายเพ่ือการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาทัก

Hengsberger (2018) 3. กำหนดคุณคา่ ของสินค้า
5. การสื่อสารกลยุทธข์ องนวตั กรรม (Communication of of the Product)

the Innovation Strategy) 4. สรา้ งทฤษฎีและระบบน
6. การฝึกอบรมของพนักงานปฏบิ ตั ิการในแตล่ ะระดับ your Theory and Inn

(Cascade Workshops for Active Employee 5. นำกลยุทธไ์ ปใช้ (Imple
Involvement) Molloy (2019)
7. หลักสตู รการสร้างนวตั กรรม (Innovation Crash 1. มองหาโอกาสสำหรบั สร
Courses)
8. วันนวัตกรรม (Innovation Days) opportunities for inn
9. การปฏบิ ตั จิ รงิ ของการสรา้ งความคดิ สรา้ งสรรค์ 2. จดั ลำดบั ความสำคัญขอ
(Creativity Workshops)
10.การแขง่ ขันนำเสนอความคิด (Pitching Contests) opportunities)
11.รางวลั แห่งนวตั กรรม (Innovation Awards) 3. ทดสอบนวตั กรรมตา่ ง ๆ
12.การลงทุนรว่ มกัน (Corporate Venturing)
13.เวลาทำงานในการสร้างนวัตกรรม (Working Time for (Test your potential
Innovation) 4. สรา้ งการสนับสนุนให้นว
14.ห้องทดลองของนวตั กรรม (Innovation Labs)
Jonathan (2014) support for your inn
1. อยา่ คดิ ว่าความสำเร็จของคุณเป็นเรื่องของโชค (Don’t 5. เรยี นรูจ้ ากความพยายา
Think your Success is a Matter of Luck)
13. ปลกู เมล็ดขนาดเลก็ ๆทอี่ าจจะเป็นต้นไมท้ ี่ยงิ่ ใหญ่ (Plant ของคุณ (Learn from
Many Small Seeds from Which a Mighty Oak Boutelle (2020)
Tree can Grow) 1. คน้ หาความท้าทาย (Cl

challenge)
2. ตง้ั คำถาม (Formulat
3. สร้างแนวคิด (Genera
4. วิเคราะห์และสังเคราะห

synthesizing idea

113

ระบวนการ (Process) ขอ้ เสนอแนะท่ีเปน็ ผลลัพธ์ (Output)
เลือกท่ีหลากหลาย
กษะเชงิ นวัตกรรม คณุ ลกั ษณะที่คาดหวัง
า (Determine the Value จากการพฒั นาทักษะเชิงนวัตกรรม

นวัตกรรมของคณุ (Build 3. การดำเนินการเชงิ รุกและความต่อเนอื่ ง (Proactivity &
novation System) Persistence)
ement Strategies)
4. ความรอบคอบ (Prudence)
ร้างสรรค์นวตั กรรม (Spot 5. ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional
novation)
องโอกาส (Prioritize Intelligence)
Premuzic (2013)
ๆ ทมี่ ีความเป็นไปได้ของคุณ 1. ความคดิ แบบฉกฉวยโอกาส (An Opportunistic
l innovations)
วตั กรรมของคุณ (Build Mindset)
novations) 2. การศกึ ษาหรือการฝึกอบรม (Formal Education or
ามในการสร้างสรรค์นวัตกรรม
your innovation efforts) Training)
3. การดำเนินการเชิงรุกและความต่อเนือ่ งทเี่ ขม้ ขน้

(Proactive Action and Intensive Continuity)
4. ความรอบคอบทีพ่ อดี (A Healthy Dose Of Prudence)
5. ทุนทางสังคมท่พี วกเขาพึ่งพา (Social Capital)

larifying the

ting the questions)

ating the ideas)
หแ์ นวคดิ (Analyzing and
s)

ข้อเสนอแนะท่ีเป็นปัจจยั ปอ้ นเข้า (Input) ขอ้ เสนอแนะที่เปน็ กร

หลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ ีการ / กจิ กรรม / โมเดลขัน้ ตอนทางเ
ทางเลอื กทหี่ ลากหลายเพ่ือการพัฒนาทกั ษะเชงิ นวตั กรรม เพอ่ื การพฒั นาทัก

3 ลองพลิกแพลงปญั หาของคณุ เปลีย่ นข้อบกพร่องให้เป็น 5. พัฒนาแนวคิด (Devel
สินทรพั ย์ (Turn your Problem Around. Change a 6. ทดสอบและเลือกสร
Defect into an Asset)
selecting concep
4 ความรูแ้ ละผลผลิตเป็นเหมือนดอกเบ้ียทบตน้ 7. การสื่อสารและความกา้
(Knowledge and Productivity are Like
Compound Interest) and advancing)

5 ค้นหาบุคคลสำคัญและปญั หาท่ีสำคัญ จดจ่อความคิด
ของคุณไวท้ ่พี วกเขา (Find Important People and
Problems. Focus your Mind on Them)

6 เตรียมจิตใจให้พร้อมสำหรับโอกาส (Prepare your
Mind for Opportunity)

7 ทำงานแบบเปิดใจตลอดเวลา คณุ จะรู้เองว่าสงิ่ ใดสำคญั
(Work with the Door Open. You will Sense What
is Important)

8 รูว้ า่ เมอื่ ไหรต่ อ้ งทำงานเป็นระบบ และรู้วา่ เม่ือไหร่ตอ้ ง
ทำงานแบบโดดเดยี่ ว (Know When to Work with
the System, and When to Go it Alone)

Cherry (2019)
1. ตั้งเป้าหมายเพือ่ พฒั นาความคิดสร้างสรรคข์ องคุณเอง

(Commit yourself to Developing your Creativity)
2. เป็นผเู้ ช่ียวชาญ (Become an Expert)
3. ใหร้ างวัลความอยากรู้อยากเหน็ ของคุณ (Reward your

Curiosity)

114

ระบวนการ (Process) ขอ้ เสนอแนะท่ีเป็นผลลพั ธ์ (Output)

เลือกทีห่ ลากหลาย คณุ ลักษณะท่ีคาดหวัง
กษะเชิงนวัตกรรม จากการพฒั นาทักษะเชงิ นวัตกรรม

loping concepts)
รแนวคิด (Testing and
ts)
าวหน้า (Communicating

ข้อเสนอแนะท่ีเป็นปจั จยั ปอ้ นเข้า (Input) ข้อเสนอแนะที่เป็นกร

หลกั การ / แนวคดิ / เทคนคิ / วธิ กี าร / กจิ กรรม / โมเดลขั้นตอนทางเ
ทางเลือกทห่ี ลากหลายเพื่อการพฒั นาทกั ษะเชิงนวตั กรรม เพอ่ื การพฒั นาทัก

4. พร้อมรับความเส่ียงอยู่เสมอ (Be Willing to Take
Risks)

5. สรา้ งความม่ันใจ (Build your Confidence)
6. ใหเ้ วลาสำหรับความคิดสรา้ งสรรค์ (Make Time for

Creativity)
7. เอาชนะทศั นคตเิ ชงิ ลบท่ีปดิ ก้ันความคิดสรา้ งสรรค์

(Overcome Negative Attitudes that Block
Creativity)
8. ตอ่ สูก้ ับความกลัวการล้มเหลว (Fight your Fear of
Failure)
9. ระดมสมองเพื่อสรา้ งความคิดใหม่ ๆ (Brainstorm to
Inspire New Ideas)
10.ตระหนกั ว่าปัญหาส่วนใหญ่มีวิธแี ก้ไขหลายทาง (Realize
that Most Problems have Multiple Solutions)
11.รักษาความคดิ สร้างสรรค์ไว้ (Keep a Creativity
Journal)
12. สร้างแผนที่ความคดิ และแผนภูมิ (Create a Mind Map
and Flow Chart)
13. ท้าทายตัวเองและสร้างโอกาสสำหรบั ความคิดสร้างสรรค์
(Challenge yourself and Create Opportunities for
Creativity)
14. ลองใชเ้ ทคนคิ "หมวกหกใบ" (Try the "Six Hats" Technique)

115

ระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะท่ีเป็นผลลัพธ์ (Output)

เลือกทีห่ ลากหลาย คณุ ลกั ษณะที่คาดหวัง
กษะเชิงนวตั กรรม จากการพัฒนาทักษะเชงิ นวัตกรรม

ข้อเสนอแนะท่ีเปน็ ปจั จยั ปอ้ นเข้า (Input) ข้อเสนอแนะท่ีเปน็ กร

หลักการ / แนวคดิ / เทคนคิ / วธิ กี าร / กิจกรรม / โมเดลข้นั ตอนทางเ
ทางเลอื กท่ีหลากหลายเพื่อการพัฒนาทักษะเชิงนวตั กรรม เพอื่ การพัฒนาทัก

15. มองหาแหลง่ ที่มาของแรงบันดาลใจ (Look for Sources of
Inspiration)

16. พจิ ารณาสถานการณ์ทางเลือก (Consider Alternative
Scenarios)

17. ลองใชเ้ ทคนคิ สโนว์บอล (Try the Snowball Technique)
Stack (2013)
1. ส่งเสริมสภาพแวดล้อมการทำงานที่เปดิ กวา้ งและสร้างสรรค์

(Foster an Open, Creative Work Environment)
2. กระตุ้นทมี งานของคุณ (Motivate your Team)
3. สง่ เสริมความหลากหลาย (Encourage Diversity)
4. จดั เตรยี มเครื่องมือท่ีเหมาะสม (Provide the Proper

Tools)
5. สร้างทมี นวตั กรรม (Create Innovation Teams)
6. อย่าทำการลงโทษ (Don’t Penalize)
Kaye (2018)
1. กำหนดวัตถุประสงค์และความคาดหวังที่ชัดเจนและเป็นไป

ไดจ้ ริง (Set Clear and Realistic Objectives and
Expectations)
2. ตดั สนิ ใจโดยอาศยั ความคล่องตัวและมีส่วนร่วม (Use
Dynamic, Participative, Decision Making)
3. ต้องการงานทยี่ อดเยี่ยมด้วยการวางแนวงานท่ยี ืดหยุ่น
(Demand Exceptional Work with Flexible Task
Orientation)

116

ระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะท่ีเป็นผลลัพธ์ (Output)

เลือกทีห่ ลากหลาย คณุ ลกั ษณะที่คาดหวัง
กษะเชิงนวตั กรรม จากการพัฒนาทักษะเชงิ นวัตกรรม

ข้อเสนอแนะท่ีเป็นปัจจัยปอ้ นเข้า (Input) ข้อเสนอแนะท่ีเปน็ กร

หลักการ / แนวคดิ / เทคนคิ / วิธกี าร / กิจกรรม / โมเดลขนั้ ตอนทางเ
ทางเลอื กท่ีหลากหลายเพ่ือการพฒั นาทักษะเชงิ นวตั กรรม เพ่ือการพัฒนาทัก

4. สง่ เสริมการคิดเชิงนวัตกรรมและสร้างสรรค์ (Encourage
Innovation and Creative Thinking)

Kim (2018)
1. เรยี นร้ผู ่านการทำงานร่วมกัน (Learn Through

Collaboration)
2. ทำในส่ิงทคี่ ุณรัก (Do Something You Love)
3. ค้นหาแรงบันดาลใจจากอตุ สาหกรรมอื่น ๆ (Find

Inspiration from Other Industries)
4. การอยเู่ ฉยๆ หรือไม่ทำอะไรเลย (Unplug or Just Do

Nothing)
5. เดนิ (Walk)
6. ทำให้ตวั เองอยูใ่ นอารมณท์ ีดี (Set the Right Mood)
7. ใชท้ ฤษฎหี มวกหกใบ (Use the Six Thinking Hats

Technique)
8. ถามหาข้อคดิ เห็นและคำแนะนำ (Ask for Advice or

Feedback)
9. ลองมองความคดิ ท่ีแย่ๆดู (Pick a Terrible Idea)

117

ระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะท่ีเป็นผลลัพธ์ (Output)

เลือกทีห่ ลากหลาย คณุ ลกั ษณะที่คาดหวัง
กษะเชิงนวตั กรรม จากการพัฒนาทักษะเชงิ นวัตกรรม

บทที่ 3
วิธีดำเนนิ การวจิ ัย

การวิจัยและพฒั นาโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชงิ นวัตกรรมของ
นักเรียน ครั้งนี้ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D) ตามทัศนะของ
วิโรจน์ สารรัตนะ (2561) ที่เห็นว่า นวัตกรรมที่พฒั นาขึน้ โดยกระบวนการวิจัยและพัฒนามีจุดมุ่งหมาย
เพ่ือนำไปใช้พัฒนาบคุ ลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงานทมี่ ปี รากฏการณ์หรอื ขอ้ มลู เชิงประจักษ์แสดงให้
เห็นว่ามีความจำเป็นเกิดขึ้น เช่น เป็นผลสืบเนื่องจากการกำหนดความคาดหวังใหม่ที่ท้าทายของ
หน่วยงาน หรือการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การทำงานจากเก่าสู่ใหม่ที่บุคลากรขาดความรู้ความ
เข้าใจและทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบนั มีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่
ทางการบริหารการศกึ ษาเกิดขึ้นมากมาย ท่คี าดหวังวา่ หากบคุ ลากรทางการศกึ ษามคี วามรู้ (knowledge)
แล้วกระตุ้นให้พวกเขานำความรู้เหล่านี้สู่การปฏิบัติ (action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (power) ให้การ
ปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ตามแนวคิด “ Knowledge +
Action = Power” หรือตามคำกล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage
Them Do What They Know”หรือ “Link To On-The-Job Application” และด้วยแนวคิดที่ว่า
การศกึ ษาวรรณกรรมทเี่ ก่ยี วขอ้ งในบทท่ี 2 ถอื เปน็ จุดเรม่ิ ตน้ ท่ีสำคญั ของการวจิ ัยและพฒั นา เพราะจะทำ
ใหไ้ ดข้ อ้ มลู สารสนเทศเพื่อพฒั นาเปน็ โปรแกรมออนไลน์ (Online Program) ทม่ี ีองค์ประกอบสำคัญ คือ
โครงการ (Project) และแตล่ ะโครงการมอี งคป์ ระกอบทสี่ ำคญั คอื ค่มู อื เพือ่ การเรียนรู้ หรอื คมู่ อื เพื่อการ
ปฏิบตั ิ (Modules for learning or Modules for Practice) ทีม่ ีลักษณะเปน็ แบบสำเรจ็ รปู เพ่ือการศกึ ษา
ด้วยตนเอง (Self-Learning)

ผลจากการศึกษาวรรณกรรมที่เก่ียวข้องในบทที่ 2 ผู้วิจัยได้กำหนดกรอบแนวคิดเพื่อการวิจยั
ของ การพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน ท่ี
ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ (1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู มีคู่มอื เพื่อการเรียนรู้ประกอบ
โครงการจำนวน 6 ชุด คอื (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกย่ี วกบั นยิ ามของทกั ษะเชิงนวตั กรรม (2) คูม่ อื เพ่อื การ
เรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทักษะเชิงนวัตกรรม (3) คู่มือเพื่อการเรยี นรู้เกี่ยวกบั ลักษณะที่แสดงถงึ
ทกั ษะเชิงนวัตกรรม (4) คูม่ อื เพอื่ การเรยี นรูเ้ ก่ยี วกบั แนวการพัฒนาทกั ษะเชงิ นวัตกรรม (5) คู่มอื เพ่ือการ
เรียนรู้เกีย่ วกับขัน้ ตอนการพฒั นาทักษะเชิงนวัตกรรม และ (6) คู่มือเพื่อการเรยี นรู้เกี่ยวกับการประเมนิ
ทักษะเชิงนวัตกรรม (2) โครงการนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานกั เรียน มีคู่มอื เพือ่ การปฏบิ ัตปิ ระกอบ
โครงการจำนวน 1 ชดุ คอื (1) คู่มอื เชงิ ปฏิบัตกิ ารเพ่อื พฒั นานักเรยี น

โปรแกรมออนไลน์ดังกล่าว ผู้วิจัยไดส้ ร้างเว็บไซต์ แล้วฝากลิงค์ไว้ที่เว็บไซต์ของมหาวิทยาลยั
มหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน เพื่อให้ง่าย รวดเร็ว และสะดวกต่อการเข้าถึงคู่มือ คือ เว็บไซต์

119

http://www.mbuisc.ac.th/phd/A_R&D%20Modules/KerkKiet.pdf ที่ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลด
ข้อมลู นำไปศึกษาได้ทนั ที

ดังนั้น วิธีดำเนินการวิจัยในบทที่ 3 จึงมีรายละเอียดขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาโปรแกรม
ออนไลนเ์ พอ่ื พัฒนาครสู กู่ ารเสริมสร้างทักษะเชิงนวตั กรรมของนักเรียน ประกอบดว้ ยขนั้ ตอนของการวิจัย
และพฒั นา (Research and Development: R&D)เริ่มตัง้ แต่การศึกษาวรรณกรรมท่เี กย่ี วข้องในบทท่ี 2
ในลักษณะเป็น R1D1..R2D2..R3D3..RiDi มีขั้นตอนสดุ ท้ายเปน็ การวิจยั เชงิ ทดลอง ดังภาพท่ี 3.1 และมี
คำอธบิ ายรายละเอยี ดของแต่ละขนั้ ตอนดงั น้ี

การวิจยั (Research - R) การพฒั นา (Development - D)

R1 - การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) D1 – พฒั นาเปน็ กรอบแนวคิดการวจิ ยั และเป็นเนือ้ หาเพ่ือ
เพ่อื ศึกษาแนวคดิ เชิงทฤษฎที ่เี กย่ี วข้องใบบทที่ 2 จจัดดั ททาํ ําเปเปน็ น็ คคมู่ มู่ ือือปแรละะกแอบบบโคทรดงสกอาบรขปอรงะโกปอรบแคกูม่รมือ

R2 – การอภปิ รายกลุ่มเปา้ หมาย (Focused Group D2 – ปรบั ปรงุ แก้ไขในขอ้ บกพรอ่ งของคูม่ ือจากผลการ
Discussion) เพื่อตรวจสอบขอ้ บกพรอ่ งของค่มู ือและ อภิปรายกลมุ่ เป้าหมาย (Focused Group Discussion) คร้ัง
ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม คร้งั ที่ 1 ที่ 1

R3 – การอภิปรายกลุ่มเป้าหมาย (Focused Group D3 – ปรบั ปรุงแกไ้ ขในขอ้ บกพร่องของคมู่ ือจากผลการ
Discussion) เพือ่ ตรวจสอบข้อบกพรอ่ งของคมู่ อื และ อภปิ รายกลุ่มเป้าหมาย (Focused Group Discussion) ครง้ั
ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม ครั้งที่ 2 ที่ 2

R4 – การทดสอบประสิทธภิ าพคูม่ อื ประกอบโครงการของ D4 – ทดสอบการบรรลุผลการทดลองใช้คูม่ อื ประกอบ
โปรแกรมกับกลุ่มเปา้ หมายในการพฒั นา โดยหลักการอบรม โครงการของโปรแกรมกับกลุ่มเป้าหมายในการพฒั นา โดยใช้
ออนไลน์ด้วยตนเอง (Online Self-Training) และจดั ใหม้ ีการ เกณฑม์ าตรฐาน 90/90 และปรบั ปรุงแก้ไขในขอ้ บกพรอ่ งของ
ตรวจสอบขอ้ บกพรอ่ งของคูม่ ือและขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม คู่มือ รวมท้งั ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติมจากผลการตรวจสอบ

R5 - การวจิ ยั เอกสาร (Documentary Research) เพ่ือศกึ ษา D5 - สร้างและพฒั นาคณุ ภาพของแบบประเมินผลสาํ เรจ็ จาก
ทศั นะต่อการประเมนิ ผลจากการพฒั นาเพอื่ การสรา้ งแบบ การพัฒนา เปน็ แบบมาตรประมาณคา่ (Rating Scale) 5
ประเมนิ ผลสําเร็จจากการพฒั นา ระดับ

R6 – การวิจัยเชิงทดลองแบบมีกลุ่มทดลอง 1 กลมุ่ ทดสอบ D6 – ทดสอบการบรรลผุ ลการทดลองใชค้ ู่มือประกอบ
ก่อนและหลงั (One Group Pretest-Posttest Design) เพอ่ื โครงการของโปรแกรมกับกลุ่มเปา้ หมายในการพัฒนาที่
ทดสอบประสิทธิภาพของคูม่ ือประกอบโครงการของโปรแกรม เกยี่ วขอ้ ง โดยเปรยี บเทยี บผลกอ่ นและหลังการทดลองโดยการ
กบั กล่มุ เป้าหมายในการพฒั นาท่เี กย่ี วขอ้ ง และจดั ใหม้ กี าร ทดสอบที (t-test) และปรบั ปรุงแก้ไขในข้อบกพร่องของคมู่ ือ
ตรวจสอบขอ้ บกพรอ่ งของคู่มอื และขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ รวมทง้ั ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ จากผลการตรวจสอบ

ภาพที่ 3.1 ข้ันตอนของการวิจัยและพัฒนาในงานวจิ ัย

120

3.1 ข้นั ตอนท่ี 1 การจัดทำคมู่ อื ประกอบโครงการ
ผลจากการศกึ ษาวรรณกรรมทีเ่ กี่ยวข้องในบทที่ 2 ผู้วิจัยได้กำหนดกรอบแนวคิดเพื่อการวิจยั
ของโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาครูสู่การเสริมสร้างทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน ที่ประกอบด้วย
โครงการ 2 โครงการน้นั ผวู้ ิจยั ไดน้ ำกรอบแนวคิดเพ่ือการวิจัยดังกล่าว มาเป็นแนวทางในการจัดทำคู่มือ
ประกอบ ดังนี้
3.1.1 โครงการพฒั นาเพือ่ การเรยี นร้ขู องครผู ู้สอน ประกอบด้วย คมู่ ือเพอ่ื การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
(Self-Learning Modules) เพราะงานวิจยั นี้ มีขั้นตอนการวิจัยเชิงทดลองที่ต้องการทดสอบใหท้ ราบผล
ในความมปี ระสทิ ธภิ าพของคู่มือท่ีจัดทำขึ้น ไม่ให้มีอิทธพิ ลหรือมีการแทรกแซงหรือมีการสอดแทรกจาก
ผวู้ จิ ัยทน่ี อกเหนอื จากทีก่ ำหนดไว้ในคู่มือ อนั จะทำให้ผลจากการทดสอบความมีประสิทธิภาพของคู่มือมี
ความเบี่ยงเบนไป และหลังจากการทดลอง หากพบว่าคู่มือมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดแล้ว ก็
สามารถนำไปเผยแพร่ใช้กับกลุ่มประชากรเป้าหมายในวงกว้างได้อย่างประหยัดและทัว่ ถึง จำนวน 6 ชุด
คือ
(1)คูม่ อื เพื่อการเรยี นร้เู กย่ี วกบั นิยามของทกั ษะเชิงนวตั กรรม
(2)คู่มือเพ่ือการเรยี นรู้เกยี่ วกับความสำคัญของทกั ษะเชิงนวตั กรรม
(3)คูม่ อื เพือ่ การเรียนร้เู กี่ยวกบั ลักษณะทแ่ี สดงถึงทกั ษะเชิงนวตั กรรม
(4)คมู่ อื เพือ่ การเรียนรู้เก่ยี วกบั แนวการพฒั นาทักษะเชิงนวัตกรรม
(5)คมู่ ือเพื่อการเรยี นรู้เกี่ยวกบั ขั้นตอนการพัฒนาทักษะเชิงนวตั กรรม
(6)ค่มู ือเพือ่ การเรยี นร้เู กีย่ วกับการประเมินทกั ษะเชงิ นวตั กรรม
3.1.2 โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน ประกอบด้วยคู่มือเพื่อการปฏิบัติ
จำนวน 1 ชดุ คอื คู่มือเชิงปฏิบัติการเพ่อื พฒั นาทักษะเชงิ นวัตกรรมของนกั เรียน
คู่มือประกอบโครงการ มีลักษณะเป็นชุดของข้อมูลเพื่อการพัฒนาครูด้วยวิธีการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง (Self-Learning) และนำเสนอเนอื้ หาทเ่ี กย่ี วข้องกบั ภารกจิ ของความเป็นครู คอื การพฒั นาทักษะ
ความเชิงนวัตกรรม ให้กับนักเรยี นในงานวิจัยน้ี เปน็ คู่มอื ประกอบโครงการท่ีคำนึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้
ของผู้ใหญ่ (Adult Learning) ที่เห็นว่าผู้ใหญ่ (ในงานวิจัยนี้ คือ ครู) การเรียนรูจ้ ะมุ่งไปทีช่ ีวิตประจำวนั
(Life-centered) หรือเน้นที่งานหรือการแก้ปัญหา (Task-centered) นั่นคือผู้ใหญ่จะยอมรับและสนใจ
กจิ กรรมการเรียนร้ขู องเขา หากเขาเชื่อและเห็นว่าการเรียนรู้น้ัน ๆ จะชว่ ยให้เขาทำงานได้ดีข้ึนหรือช่วย
แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันของเขา การจัดหลักสูตรเพื่อการเรียนการสอน ผู้ใหญ่จึงควรจะอาศัย
สถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัวของเขา และเป็นการเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ทักษะซึ่งมีส่วนช่วยในการ
แก้ปัญหาในชีวิตจริงของเขาด้วย ( Wisdom Max Center Company Limited, 2015) โดยมี
องคป์ ระกอบของคูม่ ือดังน้ี ช่ือของคูม่ อื คำแนะนำการใช้ค่มู อื วัตถปุ ระสงค์การเรียนร้ทู คี่ าดหวังจากคู่มือ
เนื้อหาที่นำเสนอในรูปแบบเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง (แบ่งเนื้อหาเป็นช่วง ๆ แต่ละช่วงมีกิจกรรมให้
ทบทวน เชน่ การตง้ั คำถามให้ตอบ การให้ระบขุ ้อสังเกต การให้ระบุคำแนะนำเพ่อื การปรับปรุงแกไ้ ข เป็น

121

ต้น) แบบประเมินผลตนเอง และรายชื่อเอกสารอ้างอิง ทั้งนี้กรอบแนวคิดในการจัดทำคู่มือประกอบ
โครงการทัง้ 2 โครงการ แสดงได้ดงั ภาพที่ 3.2 ต่อไปน้ี

โครงการพฒั นาครูเพื่อการเรียนรู้ โครงการนำความรูส้ ู่การพัฒนานกั เรียน

คู่มือเพอ่ื การเรยี นร้เู กย่ี วกบั นยิ ามของ คมู่ ือเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเพ่อื พฒั นาทักษะ
ทักษะเชงิ นวัตกรรม เชงิ นวัตกรรมของนกั เรยี น

คมู่ ือเพ่อื การเรียนรู้เกยี่ วกบั ลกั ษณะ
ของทักษะเชงิ นวตั กรรม

คู่มือเพอื่ การเรยี นรเู้ ก่ียวกบั ลกั ษณะ
ท่ีแสดงถงึ ทกั ษะเชงิ นวตั กรรม
คมู่ ือเพือ่ การเรยี นร้เู กีย่ วกบั แนวการ
พัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรม
คูม่ ือเพ่อื การเรยี นรู้เก่ียวกบั ขั้นตอน
การพฒั นาทกั ษะเชงิ นวตั กรรม

คู่มือเพ่ือการเรียนรู้เกยี่ วกบั การ
ประเมินทกั ษะเชิงนวตั กรรม

ภาพท่ี 3.2 กรอบแนวคิดในการจัดทำค่มู ือเพือ่ พฒั นาทักษะเชิงนวตั กรรม

3.2 ข้ันตอนท่ี 2 การตรวจสอบคุณภาพของคู่มอื และการปรับปรุงแก้ไข

ขั้นตอนนี้เป็นการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือทั้งสองโครงการ คือ (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกี่ยวกับนิยามของทักษะเชิงนวัตกรรม (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทักษะเชิง
นวตั กรรม (3) คู่มอื เพื่อการเรียนรูเ้ ก่ียวกบั ลักษณะทแี่ สดงถงึ ทกั ษะเชิงนวัตกรรม (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกยี่ วกับแนวการพัฒนาทกั ษะเชงิ นวัตกรรม (5) คมู่ อื เพอ่ื การเรียนรเู้ กยี่ วกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะเชิง
นวัตกรรม และ (6) ค่มู อื เพอ่ื การเรียนร้เู กีย่ วกับการประเมินทกั ษะเชงิ นวตั กรรม ในโครงการพัฒนาความรู้
ของครูผูส้ อน และ (1) คู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้เรียน ในโครงการครูผู้สอนนำความรู้สู่การพฒั นา
นักเรียน 2 ระยะดังนี้

ระยะที่ 1 การตรวจสอบภาคสนามเบื้องต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary Field
Testing and Revision)

การตรวจสอบภาคสนามเบ้อื งต้นและการปรบั ปรุงแกไ้ ข (Preliminary Field Checking and
Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ โดยการอภิปรายกลุ่ม

122

(Focused Group Discussion) โดย (1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นส่งคู่มือประกอบโครงการให้
กลุ่มเปา้ หมาย คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนปภัสสรวิทยา จำนวน 10 ราย (ดูรายชื่อในภาคผนวก) ได้ศึกษา

ลว่ งหนา้ 10 วัน (2) ผู้วจิ ยั ไปพบปะด้วยตัวเองกับกลมุ่ เปา้ หมาย (Face to Face) ในการอภิปรายกล่มุ เพอื่
ตรวจสอบคณุ ภาพของคมู่ อื เพื่อใหไ้ ด้ข้อเสนอแนะทจ่ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขในเบอ้ื งตน้ กอ่ น
นำไปตรวจสอบและปรบั ปรุงครัง้ สำคญั ในระยะที่ 2

ในการตรวจสอบ มีประเด็นดังนี้ 1) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดย
คำนึงถงึ ความถกู ตอ้ ง (Accuracy) และความเปน็ ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนำไปใช้ 2) ข้อเสนอแนะเพื่อ
การปรับปรงุ แกไ้ ขดา้ นภาษา 3) ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรงุ แกไ้ ขดา้ นรปู แบบการนำเสนอ 4) อ่ืนๆ โดย

ใช้แบบตรวจสอบ ดังนี้
แบบตรวจสอบคณุ ภาพของคมู่ ือเพอ่ื การปรบั ปรุงแกไ้ ข

ประเด็นในการตรวจสอบ ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงแกไ้ ข

1. เนอ้ื หาท่นี ำเสนอในคู่มือชดุ น้ี โดยคำนงึ ถงึ
ความถกู ตอ้ ง (Accuracy) และความเปน็
ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนำไปใช้

2. การใช้สำนวนภาษาและการเรียบเรียงแนวคดิ
ง่ายตอ่ ความเข้าใจ

3. รปู แบบการนำเสนอเน้ือหาจงู ใจให้อยากอา่ น
อยากทำความเข้าใจในเนอื้ หาและนำไปปฏบิ ัติ

4. อ่นื ๆ

ระยะท่ี 2 การตรวจสอบภาคสนามครั้งสำคญั และการปรบั ปรุงแกไ้ ข (Main Field Testing
and Revision)

การตรวจสอบภาคสนามครั้งสำคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field Testing And

Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ ภายหลังที่ผ่านการ
ตรวจสอบและปรับปรุงแกไ้ ขในระยะท่ี 1 แลว้ ดว้ ยวิธีการอภปิ รายกลุ่ม (Focused Group Discussion)
โดยวิธีการเช่นเดียวกับระยะที่ 1 คือ (1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นส่งคู่มือประกอบโครงการให้

กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนบาลีสาธติ ศึกษาวัดเขตอุดม และโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรมวัดโพธิ
สมภาร รวมจำนวน 15 ราย (ดูรายชื่อในภาคผนวก) ได้ศึกษาล่วงหน้า 10 วัน (2) ผู้วิจัยไปพบปะด้วย
ตัวเองกบั กลุ่มเป้าหมาย (Face to Face) ในการอภิปรายกลุ่มเพ่ือตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ เพื่อให้ได้

ขอ้ เสนอแนะที่จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขในเบื้องต้นก่อนนำไปใชก้ ับกลุ่มทดลองในภาคสนาม
ซึง่ ในการตรวจสอบ มปี ระเดน็ การตรวจสอบเชน่ เดียวกบั ระยะท่ี 1 คือ 1) ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การปรับปรุง
แกไ้ ขดา้ นเน้อื หา โดยคำนงึ ถงึ ความถกู ตอ้ ง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้

123

2) ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรับปรงุ แก้ไขด้านภาษา 3) ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงแกไ้ ขดา้ นรูปแบบการ
นำเสนอ 4) อน่ื ๆ โดยใช้แบบตรวจสอบชุดเดียวกับชดุ ท่ีใช้ในระยะท่ี 1

3.3 ขั้นตอนที่ 3 การสร้างเครอื่ งมือเพื่อการทดลองในภาคสนาม

ผลจากการดำเนินการตรวจสอบและปรบั ปรงุ แก้ไขคู่มอื ในโครงการทงั้ 2 โครงการ จากข้นั ตอน
ท่ี 2 ทำให้ได้ โปรแกรมออนไลนเ์ พอื่ พฒั นาครูสู่การเสรมิ สรา้ งทักษะเชงิ นวัตกรรมของนักเรียน ท่ีมีความ
ถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ แต่อย่างไรก็ตาม ในขั้นตอนการ
ทดลองใช้คู่มือในภาคสนามกับกลุ่มทดลองนั้น (ขั้นตอนที่ 4) ต้องมีเครื่องมือเพื่อใช้ในการประเมิน
ประสิทธิภาพของการใช้คูม่ อื ในโครงการทั้งสอง ดงั นนั้ ผูว้ จิ ัยจึงไดส้ รา้ งเคร่ืองมือขนึ้ เพอื่ ใชใ้ นขั้นตอนการ
ทดลองในภาคสนาม ดังนี้

3.3.1 เคร่อื งมอื ทใี่ ช้
- แบบทดสอบผลการเรียนรขู้ องครู มจี ุดมุ่งหมายเพอ่ื ใช้ประเมินประสิทธิภาพของค่มู ือประกอบ
โครงการที่ 1 หลังการพัฒนาครูที่เป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 6 ชุด คือ (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกบั
นิยามของทักษะเชิงนวัตกรรม (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทกั ษะเชิงนวัตกรรม (3)
คู่มือเพือ่ การเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะท่ีแสดงถงึ ทักษะเชิงนวัตกรรม (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับแนว
การพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม
และ (6) คู่มือเพอื่ การเรยี นรเู้ กย่ี วกับการประเมินทกั ษะเชงิ นวตั กรรม วา่ สามารถใช้พฒั นาใหค้ รูท่เี ป็นกล่มุ
ทดลองมีความรู้หลงั การพัฒนาเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 ที่กำหนดหรือไม่ และมผี ลการเรียนรู้
หลงั การทดลองสูงกว่ากอ่ นการทดลองอย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิหรือไม่
- แบบประเมินทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน มีจดุ มุ่งหมายเพื่อใชป้ ระเมินประสิทธิภาพของ
การนำผลการเรียนรู้สู่การปฏิบัติของครูที่เป็นกลุ่มทดลอง ว่าสามารถนำผลการเรียนรู้ไปสู่การพัฒนา
นักเรียนให้เกดิ ผลการพฒั นาตามทีค่ าดหวังหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอยา่ งมีนัยสำคัญทาง
สถิติหรอื ไม่

3.3.2 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่อื งมือ

3.3.2.1 แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครู ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีลักษณะเป็นแบบปรนัย มี 4
ตวั เลอื ก มีจุดมุ่งหมายเพือ่ ใชท้ ดสอบผลการเรยี นรขู้ องครู ที่เปน็ กลมุ่ ทดลองหลงั การวิจยั ในภาคสนามตาม
โครงการท่ี 1 วา่ มผี ลการเรียนรู้ตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 หรือไม่ และมผี ลการเรยี นรู้หลงั การทดลองสงู
กวา่ กอ่ นการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิหรือไม่ โดยข้อสอบในแบบทดสอบผลการเรียนร้ขู องครูทใี่ ช้
ในงานวิจยั นี้ มงุ่ การวดั 6 วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรใู้ นเน้อื หาเก่ยี วกบั 1) นยิ าม 2) ความสำคัญ 3) ลักษณะ
4) แนวการพฒั นา 5) ขัน้ ตอนการพัฒนา และ 6) การประเมินทกั ษะเชิงนวัตกรรม โดยแตล่ ะวตั ถปุ ระสงค์
การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อวัดทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า คือ ความจำ
(Remembering) ความเขา้ ใจ (Understanding) การประยกุ ต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing)
การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) รวมข้อสอบทง้ั ฉบับ 36 ขอ้ (ดูแบบทดสอบใน
ภาคผนวก ซ )

124

แบบทดสอบท่ีสร้างข้ึนนำไปตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) เพื่อใหไ้ ด้
เครื่องมอื วดั ได้ตรงกับสิ่งที่ต้องการวัดหรือตรงกับวัตถปุ ระสงค์ท่ีตอ้ งการวดั (Polit & Beck, 2012) ตาม
ทัศนะของ Chaichanawirote and Vantum (2017) ทำได้โดยการพิจารณาความสอดคลองของขอคำ
ถามกับนิยามเชิงปฏิบัติการและทฤษฎีของสิ่งที่ต้องการวัด โดยผู้วิจัยนำเครื่องมือวิจัยที่ร่างไว้ให้
ผู้เช่ียวชาญทเี่ กี่ยวข้องกบั แนวคดิ ทต่ี อ้ งการวดั จำนวน 3-5 คน พิจารณาว่าขอ้ คำถามมีความสอดคล้องกับ
นิยามเชิงปฏิบัติการหรือไม่และใหคะแนนตามวิธีการคำนวณค่าความตรงซึ่งมีหลายวิธี เช่น ดัชนีความ
สอดคลองของข้อคำถามกับวัตถปุ ระสงค (IOC: Indexes of Item-Objective Congruence) ดชั นีความ
ตรงตามเนื้อหา (CVI: Content Validity Index) ดัชนีความตรงตามเนื้อหาทั้งฉบับ (S-CVI: Content
Validity Index for Scale) และค่าเฉลี่ยของสัดส่วนความสอดคล้อง (ACP: Average Congruency
Percentage) ในงานวิจยั นี้ ผู้วิจัยใช้ดชั นคี วามสอดคลองของข้อคำถามกับวัตถุประสงค (IOC: Indexes
of Item-Objective Congruence) ซ่ึงจากการศกึ ษา พบวา่ พัฒนาขึ้นโดย Rovinelli and Hambleton
(1977) เป็นการประเมินความสอดคล้องระหว่าง 1 ข้อคำถามกับ 1 วัตถุประสงค์ แต่ในระยะต่อมา
Carlson (2000 cited in Turner & Carlson, 2003) ได้พัฒนาแนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง
ของข้อคำถามและวัตถุประสงค์ที่ปรับใหม่ (The adjusted Index of Item-Objective Congruence)
เป็นการหาความสอดคลอ้ งของ 1 ข้อคำถามกบั ชดุ ของวตั ถปุ ระสงค์

ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามกับ
วตั ถุประสงคต์ ามทศั นะของ Rovinelli and Hambleton เพราะขอ้ สอบในแบบทดสอบผลการเรยี นรขู้ อง
ครูที่ใช้ในงานวิจัยนี้ มุ่งการวัดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในเนื้อหาเกี่ยวกับ 1) นิยาม 2) ความสำคัญ 3)
ลักษณะ 4) แนวการพัฒนา 5) ขั้นตอนการพัฒนา และ 6) การประเมินทักษะเชิงนวัตกรรม โดยแต่ละ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้วัดทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า คือ ความจำ
(Remembering) ความเขา้ ใจ (Understanding) การประยกุ ตใ์ ช้ (Applying) การวเิ คราะห์ (Analyzing)
การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) โดยในการตรวจสอบความสอดคล้องของ
ข้อสอบกบั วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ในแต่ละเนื้อหาจากแบบทดสอบซ่ึงมี 6 วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ แต่ละ
วัตถุประสงคก์ ารเรยี นร้มู ขี ้อสอบ 6 ขอ้ รวมขอ้ สอบทั้งฉบับ 36 ข้อ ใชผ้ ู้ทรงคุณวุฒทิ ี่มีความเชีย่ วชาญด้าน
หลกั สูตรและการสอน และ/หรอื การวัดและประเมินผลการศกึ ษา จำนวน 5 ราย (ดรู ายช่ือในภาคผนวก
จ ) โดยให้ทำเครื่องหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1 หมายถึง ข้อคำถามมีความ
สอดคล้อง 0 หมายถงึ ไม่แนใ่ จในความสอดคล้อง และ -1 หมายถึง ขอ้ คำถามไมม่ คี วามสอดคลอ้ ง ผลท่ี
ได้รับจากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญ นำมาวิเคราะหห์ าคา่ IOC จากสูตร

R

IOC = N
เมอื่ IOC แทนดชั นคี วามสอดคลอ้ ง

R แทนผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นจากผู้เช่ยี วชาญ
N แทนจำนวนผู้เช่ยี วชาญ
โดยที่ +1 แนใ่ จว่าสอดคล้อง

125

0 ไมแ่ นใ่ จว่าสอดคล้อง
-1 แนใ่ จว่าไมส่ อดคลอ้ ง
โดยกำหนดเกณฑ์ค่า IOC ที่ระดับเท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อคำถามนั้นมี
ความสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017)
หลังจากนัน้ โดยแบบทดสอบนี้จะนำไปทดลองใช้ (Try-out) กับครูผูส้ อนในโรงเรียน
พระปรยิ ัติธรรมวัดบ้านบอนวิทยา โรงเรยี นวัดพระธาตุวิทยา และในโรงเรียนพระปริยัตธิ รรมวัดอัมพวนั
รวมจำนวน 30 ราย ผลการทดลองใช้แบบทดสอบดังกล่าว นำมาวิเคราะห์หาค่าสถิติเพื่อตรวจสอบ
คุณภาพของขอ้ สอบรายขอ้ และของแบบทดสอบดงั น้ี
1) คุณภาพของข้อสอบรายข้อ ใช้เกณฑ์ค่าความยากง่าย (Difficulty) ใช้สัญลักษณ์

(p) และคา่ อำนาจจำแนก (Discrimination) ใชส้ ัญลกั ษณ์ ( r ) พจิ ารณารว่ มกนั ดังน้ี

- ระดับความยากงา่ ย (p) หมายถึง สัดส่วนของจำนวนผูท้ ่ตี อบ
ข้อสอบได้ถูกต้องต่อจำนวนผู้ที่ตอบข้อสอบทั้งหมด หรือหมายถึงจำนวนร้อยละของผู้ตอบข้อสอบนั้นๆ
ถกู เชน่ ค่า p = 0.30 แสดงวา่ จำนวนผตู้ อบ 100 คน มีผทู้ ี่ตอบขอ้ น้ัน ๆ ถูก 30 คน ค่าความยากง่ายจะ
มีค่าระหว่าง 0 ถึง 1.00 ใช้สูตรดังน้ี คือ ความยากง่าย (p) = จำนวนผู้ตอบถูก (n) / จำนวนผู้เข้าสอบ
(N))

ในการพิจารณาค่าความยากง่ายนั้น ถ้าข้อสอบมีค่าความยากง่ายสูง เช่น p = 0.95
แสดงว่า มีผู้ตอบถูกจำนวนมาก จึงถือว่าเป็นข้อสอบที่ง่าย แต่ในทางกลับกัน ถ้าข้อสอบมีผู้ตอบถกู น้อย
เช่น p = 0.15 แสดงวา่ เปน็ ข้อสอบท่ียาก ขอ้ สอบทดี่ ีจะมรี ะดับความยากงา่ ย เทา่ กับ 0.5 ซ่งึ จะทำให้เกดิ
คา่ อำนาจการจำแนกสงู สดุ และมีความเท่ียงสูง อยา่ งไรก็ตามในการสอบวัดความรู้ผลการเรียนโดยท่ัวไป
มักนยิ มให้มขี ้อสอบท่มี ีระดบั ความยากงา่ ยในระดบั ตา่ ง ๆ ปะปนกนั ไป โดยจดั ให้มขี อ้ สอบมีค่าความยาก
งา่ ยพอเหมาะ ( p มีคา่ ใกลเ้ คยี ง 0.5 ) เปน็ ส่วนใหญ่ รวมท้งั ใหม้ ีข้อสอบท่ีคอ่ นข้างยากและค่อนข้างง่าย
อกี จำนวนหนึง่ แตถ่ ้าเป็นการสอบแขง่ ขันเพ่อื คดั เลอื กผูท้ ีม่ คี วามรคู้ วามสามารถควรมีสดั ส่วนของข้อสอบ
ที่ยากสงู ขนึ้ ทง้ั นี้ ข้อสอบที่ดีควรมีค่าความยากงา่ ยระหว่าง 0.20 – 0.80 ในขอ้ สอบประเภท 4 ตัวเลือก
สว่ นขอ้ สอบประเภทถกู – ผดิ ค่าความยากงา่ ย ควรอยู่ระหว่าง 0.60 - 0.95 โดยมีเกณฑก์ ารพิจารณาค่า
ความยากงา่ ย ( p ) ของข้อสอบรายข้อ ดงั ตาราง 3.1 (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543 และ เยา
วดี รางชัยกุล วบิ ูลยศ์ รี, 2552)

ตารางที่ 3.1 เกณฑก์ ารพจิ ารณาค่าความยากง่าย ( p ) ของข้อสอบ

ค่าความยากง่าย ( p ) แปลความ การพจิ ารณา
0.00 - 0.19 ยากมาก ควรปรับปรงุ หรือตัดทงิ้
0.20 - 0.39 คอ่ นขา้ งยาก พอใชไ้ ด้
0.40 - 0.60 ยากงา่ ยปานกลาง ใช้ได้
0.61 - 0.80 คอ่ นขา้ งงา่ ย พอใชไ้ ด้
0.81 - 1.00 ง่ายมาก ควรปรับปรุงหรือตดั ทงิ้

126

- อำนาจจำแนก ( r ) หมายถงึ ความสามารถของขอ้ สอบในการจำแนกหรอื แยก

ให้เห็นความแตกต่างระหว่างผู้สอบที่มีผลสัมฤทธิ์ต่างกัน เพื่อที่จะใช้พยากรณ์หรอื บ่งชี้ความแตกตา่ งท่ี

เห็นชัดในดา้ นความสามารถ เช่น จำแนกคนเก่งกับคนอ่อนจากกันได้ โดยถือว่าคนเกง่ ควรทำข้อสอบข้อ
น้ันได้ ส่วนผูท้ ่อี ่อนไมค่ วรทำข้อสอบข้อนน้ั ได้ อำนาจจำแนก ( r ) ของข้อสอบ จะมีค่าต้ังแต่ - 1 ถึง + 1
คา่ อำนาจจำแนกท่ีดี ควรมีคา่ ต้งั แต่ 0.2 ข้ึนไป กรณที ่ีค่าอำนาจจำแนก ( r ) ตดิ ลบ แสดงว่าขอ้ สอบขอ้ นนั้

จำแนกกลับ คนเกง่ ทำไม่ได้ แต่คนอ่อนทำได้ ถอื วา่ เปน็ ขอ้ สอบทไ่ี มด่ คี วรตดั ท้ิง (นภาพร สิงหทัต, ม.ป.ป.)
มีสูตรในการคำนวณ ดังน้ี

r = RH – RL

N/2
r = คา่ อำนาจจำแนกของข้อสอบข้อหนึง่ ๆ
RH = จำนวนผตู้ อบในกลมุ่ สงู (เกง่ ) ที่ตอบข้อนน้ั

RL = จำนวนผตู้ อบในกลมุ่ ตำ่ (ออ่ น) ทีต่ อบข้อน้ันถกู
N = จำนวนผู้ตอบทงั้ หมดในกลุ่มสงู และกลมุ่ ต่ำ
มเี กณฑ์การการพิจารณาคา่ อำนาจจำแนก ( r ) ของขอ้ สอบรายข้อดังตาราง 3.2

ตาราง 3.2 เกณฑก์ ารพจิ ารณาค่าอำนาจจำแนก ( r ) ของข้อสอบ

อำนาจจำแนก ( r ) การพิจารณา
0.60 - 1.00 อำนาจจำแนกดีมาก
0.40 - 0.59 อำนาจจำแนกดี
0.20 - 0.39 อำนาจจำแนกพอใช้
0.10 - 0.19 อำนาจจำแนกต่ำ (ควรปรับปรงุ หรอื ตัดทงิ้ )
-1.00 - 0.09 อำนาจจำแนกตำ่ มาก (ควรปรับปรุงหรือตัดทิ้ง)

2) คุณภาพของแบบทดสอบ พิจารณาจากเกณฑ์ความเชื่อมั่นและความยากง่ายของ
แบบทดสอบดงั น้ี

- ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (Reliability) หมายถึง ความคงที่ในการวัด
กลา่ วคอื ไมว่ า่ จะวัดก่ีครั้ง ๆ ก็ตามจะไดผ้ ลคงทีเ่ สมอ อุปมาเหมอื นตาชงั่ ทส่ี ามารถบอกน้ำหนักของวัตถุ
ก้อนหนึ่งเท่าเดิม ไม่ว่าจะเอาวัตถุก้อนนั้นมาชั่งกี่ครั้งก็ตาม ตาชั่งนั้นก็จะมีความเชื่อมั่นสูง โดยค่า

สัมประสทิ ธ์ขิ องความเชือ่ ม่นั ของแบบทดสอบใดๆ มีคา่ อย่รู ะหว่าง .00 ถึง 1.00 ยงิ่ มคี า่ ใกล้ 1.00 เทา่ ใดก็
ย่งิ มีความเชอ่ื มั่นสงู ขน้ึ เท่านน้ั ในงานวจิ ัยนี้ ใช้วิธีของ Kuder – Richardson ซึ่งเปน็ การทดสอบโดยวิธหี า
ความคงที่ภายในว่าแบบทดสอบแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ และมี

ความสัมพันธ์กับแบบทดสอบทั้งฉบับอย่างไร ไม่เป็นการหาโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์
เนอ่ื งจากแบบทดสอบทีใ่ ชม้ ีการให้คะแนนแตล่ ะข้อเป็นแบบ 0, 1 คอื ตอบถกู ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0

127

คะแนน โดยอาศัยการวัดหรือการสอบเพียงครั้งเดียว วิธีการคำนวณมีสองแบบ (Hopkins & Stanley,
1983; Aiken, 1985)

(1) ใช้สตู ร KR - 20 ในกรณีมีการวิเคราะหห์ าคา่ ความยากรายขอ้ ไว้แลว้ ดังนี้
rtt = [k/(k-1)] [1 - (ผลรวม pq)/S2]
เมอ่ื k คอื จำนวนขอ้
p คอื คา่ ความยากของแต่ละขอ้
q=1-p
S2 คอื ความแปรปรวนของคะแนนรวมทงั้ ฉบบั ทไี่ ดจ้ ากการทดสอบ
(2) ใช้สตู ร KR - 21 ในกรณีที่ข้อสอบทกุ ขอ้ มีค่าความยาก (Item Difficulty) เท่าๆ

กนั หรอื ใชค้ ะแนนเฉลยี่ ของแบบทดสอบ ดงั น้ี
rtt = [k/(k-1)] [ 1 – MX (k - MX)/kS2]
เมอ่ื MX คือ คะแนนเฉลี่ยรวมทง้ั ฉบบั และสญั ลกั ษณอ์ น่ื เหมอื น KR - 20
ในงานวิจัยนี้ เนื่องจากมีการวิเคราะห์หาค่าความยากรายข้อ จึงใช้สูตร

KR – 20 เพ่ือหาค่าสัมประสทิ ธิ์ของความเช่ือมนั่ ของแบบทดสอบ ซึ่งมีเกณฑก์ ารแปลผลความเชอื่ มัน่ ดงั นี้
0.00 – 0.20 มีความเชอ่ื ม่นั ตำ่ มาก/ไมม่ เี ลย 0.21 – 0.40 มคี วามเชือ่ มนั่ ต่ำ 0.41- 0.70 มีความเช่ือม่ัน
ปานกลาง และ 0.71 – 1.00 มีความเชื่อมั่นสูง (Naiyatip Teerapuk, n.d.) แต่อย่างไรก็ตาม ในการ
พิจารณาคณุ ภาพของแบบทดสอบทใ่ี ช้ในงานวจิ ยั นี้ ผ้วู ิจัยใชเ้ กณฑ์ตามที่ UCLA: Statistical Consulting
Group (2016) กล่าวถึง คือ หากแบบทดสอบมีคา่ สัมประสิทธิ์ของความเชื่อมั่นเท่ากับหรือสูงกว่า 0.70
ถือวา่ เป็นแบบทดสอบทมี่ คี วามเชื่อมั่นสงู

- ความยากง่ายของแบบทดสอบ ใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม
ตัวอย่างทั้งหมดเป็นเกณฑ์ หากคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่างร้อยละ 30-50 ของคะแนนเต็ม ถือว่าเป็น
แบบทดสอบทม่ี คี วามยากเหมาะสม หากคะแนนเฉล่ียต่ำกว่า 30 เท่าใด ถือว่าเป็นแบบทดสอบที่ยากข้ึน
เทา่ นั้น และหากคะแนนเฉล่ียสงู กว่า 50 เท่าใด ถือวา่ เป็นแบบทดสอบทีง่ ่ายขน้ึ เทา่ นัน้

การประเมินตามแนวคดิ เกณฑม์ าตรฐาน 90/90

แบบทดสอบผลการเรยี นรูข้ องครู ที่ได้รบั การพัฒนาจนมคี ุณภาพตามเกณฑ์ในประเดน็
ต่าง ๆ ดังกล่าว จะถูกนำไปใช้ทดสอบผลการเรียนรู้หลังจากการดำเนินงานในโครงการที่ 1
ว่าบรรลผุ ลตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 หรอื ไม่

การประเมินตามแนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นการบอกค่าประสิทธิภาพของ
บทเรียนสำเร็จรูปหรือบทเรียนโปรแกรม (Programmed Materials หรือ Programmed Textbook
หรือ Programmed Lesson) ซึ่งเป็นสื่อที่มีเป้าหมายหลักเพื่อให้ผู้เรียนใช้เรียนด้วยตนเองเป็นสำคัญ
หลักจิตวิทยาสำคัญที่เป็นฐานคิดความเชื่อของสื่อชนิดนี้คือทฤษฎีการเรียนแบบรอบรู้ ( Mastery
Learning) ซึ่งมีความเชื่อว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ หากจัดเวลาเพียงพอจัดวิธีการเรียนท่ี
เหมาะสมกับผู้เรียนก็สามารถท่จี ะทำใหผ้ ู้เรียนสามารถเรยี นรูไ้ ด้ตามวัตถุประสงคข์ องการเรยี นได้

128

โดยเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) ในงานวจิ ัยนี้ หมายถงึ เกณฑ์ที่ใช้
วัดความมีประสิทธิภาพของคู่มือต่อการเสริมสร้างความรู้ในโครงการพัฒนาความรู้ให้กับครูผู้สอนที่เป็น
กลุ่มทดลอง โดย 90 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนทั้งกลุ่มที่ได้จากการวัดด้วย
แบบทดสอบวัดความรอบรู้หลังจากเรียนจากบทเรียนที่สร้างขึ้นจบลง 90 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละของ
จำนวนผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบ (วัดความรอบรู้หลงั การเรียนจากบทเรียนท่ีสร้างข้ึนจบลง) โดย
สามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านตามเกณฑ์วตั ถุประสงค์ทุกวัตถปุ ระสงค์ (มนตรี แย้มกสิกร, 2551)

ทั้งนี้ ความหมายนี้แตกต่างจากความหมายของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ดั้งเดิมตาม
ทศั นะของ เปร่ือง กุมุท (2519) ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ผู้นำเสนอ
แนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 คนแรก (ในประเทศไทย) นั่นคอื 90 ตัวแรก เปน็ คะแนนเฉลย่ี ของทั้งกลุ่ม
ซงึ่ หมายถงึ ทุกคน เม่อื สอนคร้ังหลังเสรจ็ ให้คะแนนเสรจ็ นำคะแนนมาหาคา่ ร้อยละให้หมดทกุ คะแนนแล้ว
หาค่ารอ้ ยละเฉลีย่ ของทงั้ กลมุ่ ถ้าบทเรยี นโปรแกรมถึงเกณฑ์ ค่ารอ้ ยละเฉล่ียของกล่มุ จะต้องเป็น 90 หรอื
สูงกว่า 90 ตัวทสี่ องแทนคณุ สมบตั ิท่วี ่า ร้อยละ 90 ของผเู้ รียนทง้ั หมด ได้รับผลสัมฤทธติ์ ามความม่งุ หมาย
แต่ละข้อ และทกุ ข้อของบทเรียนโปรแกรมนัน้ (เปรื่อง กมุ ทุ , 2519 อา้ งถึงใน มนตรี แยม้ กสกิ ร, 2551)

ตามทศั นะของ มนตรี แย้มกสิกร (2551) สตู รทีใ่ ช้ในการคำนวณ 90 ตัวแรก = {(Σ X

/N) X 100)}/R โดย 90 ตัวแรก หมายถึง จำนวนรอ้ ยละของคะแนนเฉล่ียของการทดสอบหลังเรียน Σ X
หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทำได้ถูกต้องจากการทดสอบหลังเรียน N
หมายถงึ จำนวนผู้เรียนทงั้ หมดทีใ่ ชเ้ ป็นกลมุ่ ตวั อย่างในการคำนวณประสทิ ธิภาพครงั้ นี้ R หมายถึง จำนวน
คะแนนเต็ม ของแบบทดสอบหลังเรียน สูตรที่ใช้ในการคำนวณ 90 ตัวหลัง = (Y x 100)/ N โดย 90
ตัวหลัง หมายถึง จำนวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ Y หมายถึง
จำนวนผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบผ่านทุกวตั ถุประสงค์ N หมายถึง จำนวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เปน็
กลมุ่ ตัวอย่างในการคำนวณประสทิ ธภิ าพครง้ั น้ี

3.3.2.2 แบบประเมินทักษะเชิงนวัตกรรมของนักเรียน ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีลักษณะเป็น
แบบประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ผู้วิจยั
สร้างขึ้นจากผลการศึกษาคุณลักษณะที่แสดงถึงทักษะเชิงนวัตกรรม จากทัศนะของ Zenger (2015) ,
Rosales (2018) และ Premuzic (2013) และจากผลการศึกษาแนวคิดการประเมินทักษะเชงิ นวตั กรรม
จากทัศนะของ Bukidnon State University. (2018) Butter and Beest (2017) และ Chell and
Athayde (2009) , Research and Extension Unit, Food and Agriculture Organization of the
United Nations Rome. (2017) เป็นแบบประเมินออนไลน์ด้วย Google Form ได้กำหนดให้มีการ
ดำเนนิ การเพ่ือตรวจสอบคณุ ภาพ ดังนี้

การตรวจสอบความตรงเชงิ เนื้อหา (Content Validity) โดยดัชนีความสอดคล้องของ
ข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ (Index of Item - Objective Congruence: IOC) เป็นการประเมินความ
สอดคลอ้ งระหว่าง 1 ข้อคำถามกับ 1 วัตถุประสงค์ ตามทศั นะของ Rovinelli and Hambleton ดังกลา่ ว
ในหวั ข้อแบบทดสอบผลการเรียนรขู้ องครขู ้างตน้ เพราะแบบประเมินทกั ษะเชงิ นวัตกรรม ของนักเรียนท่ี

129

ใชใ้ นงานวจิ ยั นี้ มงุ่ หาความสอดคลอ้ งของขอ้ คำถามกบั วัตถุประสงคก์ ารพัฒนาทกั ษะเชิงนวัตกรรม ในแต่
ละดา้ น คอื 1) ด้านความมงุ่ ม่ัน มขี อ้ คำถาม 5 ข้อ 2) ด้านความตระหนักในความสามารถของตนเอง ข้อ
คำถาม 6 ข้อ 3) ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละเปน็ อิสระ ข้อคำถาม 12 ข้อ 4) ด้านการเผชญิ กบั ปญั หา
และความซับซ้อน ข้อคำถาม 6 ข้อ และ5) ด้านกล้าเสีย่ งข้อคำถาม 6 ข้อ รวมทั้งฉบับมีข้อคำถาม
35 ข้อ ทั้งนี้วัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม มีนิยามศัพท์เฉพาะที่เป็นผลจากการศึกษา
วรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องที่แสดงใหเ้ ห็นถึงวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะเชิงนวัตกรรม โดยภาพรวมและ
รายดา้ น ดงั นี้

- ทักษะเชิงนวัตกรรม (Innovation Skills) หมายถงึ สงิ่ ทม่ี ีพ้นื ฐานมาจากความสงสยั
ใครร่ ู้ ความเตม็ ใจท่จี ะเสีย่ งและการทดสอบข้อสันนิษฐาน และยงั มพี ืน้ ฐานมาจากการรบั ร้ถู งึ โอกาสและใช้
ประโยชน์จากโอกาสนั้น นวัตกรรมจึงเป็นกระบวนการผลิตผลของมโนภาพที่เกิดขึ้นใหม่จากการนำ
แนวคิดใหม่ๆ มาลงมือปฏิบัติ ตามความจริงและตามวิถีของการลงมอื ทำ เป็นทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละ
นวัตกรรมท่มี ีการยอมรบั กนั โดยมุง่ ไปทกี่ ารคดิ สรา้ งสรรค์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ การสื่อสารและความ
ร่วมมือ ซ่งึ จำเป็นสำหรบั การเตรียมผเู้ รยี นสอู่ นาคตและยังสามารถสรา้ งวัฒนธรรมแหง่ นวตั กรรม นำทาง
ไปสู่การคิดเชิงนวัตกรรมและการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ในงานวิจัยนี้ได้กำหนดทักษะเพื่อการ
ประเมนิ ผลจากการพัฒนา 5 ทกั ษะ แต่ละทกั ษะมีนยิ ามศัพทเ์ ฉพาะดังนี้

- ความมุ่งม่ัน (Energy) หมายถึง การมเี ป้าหมายในการทำงานเสมอ มีพลังมากมาย
ในการทำงานแตล่ ะวนั กระตือรอื รน้ ในการเรียนวิชาท่ฉี ันเลือก กระตอื รือรน้ ที่จะช่วยเหลอื ผู้อื่น และรสู้ ึก
ต่นื เตน้ และมกี ำลงั ใจเมอ่ื ฉนั ไดส้ รา้ งสิง่ ท่ไี ม่เคยมใี ครทำได้

- ความตระหนักในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) หมายถึง การมองหา
สิ่งอื่นๆที่อยภู่ ายนอกโรงเรียน ที่ฉนั รสู้ กึ วา่ ควบคุมได้ ไมก่ ่อให้เกดิ ปัญหาตามมา อยากทำงานท่ีท้าทายท่ี
ตนเองสนใจ เชอ่ื มัน่ ในตนเองว่าเมอื่ เริ่มต้นทำอะไรแลว้ ฉนั สามารถทำให้สำเร็จได้ จะเขา้ ร่วมในกิจกรรมท่ี
ตนเองสนใจ โดยไมส่ นใจว่าเพ่อื นสนิทของฉันจะเข้ารว่ มหรือไม่ เชือ่ มั่นในความคดิ ของตวั เอง ฉันจะทำใน
สิ่งท่ีฉันคิดว่าดีทสี่ ดุ และเชื่อว่านกั เรยี นควรออกความเห็นเกย่ี วกับแนวทางการดำเนนิ งานของโรงเรยี น

- ความคิดสร้างสรรค์และเปน็ อิสระ (Creativity) หมายถึง การชอบคิดทำโครงการ
ใหมๆ่ ชอบประดษิ ฐส์ ่งิ ใหม่ๆ ในแบบของตนเอง ชอบคิดจะทำใหง้ านที่ทำอยมู่ กี ารพัฒนาขึน้ คดิ วา่ ปัญหา
ที่ซับซ้อนนั้นมีความท้าทายแฝงอยู่ ชอบค้นหาวิธีการใหม่ๆ มาจัดการกับปัญหาที่กำลังเจออยู่ สามารถ
ผสมผสานความคดิ ใหม่ๆ กับความคดิ เดมิ ท่ีมีอยแู่ ล้ว รสู้ ึกมอี สิ ระทจ่ี ะทำสิง่ ใหมๆ่ ในงานทีต่ นเองรบั ผดิ ชอบ
เปน็ คนที่มีเวลาใหก้ ับสิง่ ใหม่ๆอยเู่ สมอ สามารถทำงานของตวั เองไดด้ ี เปน็ คนท่ีรบั ผิดชอบงานในแต่ละวัน
ได้ดี ตอ้ งการการเรียนที่มีกิจกรรมทีใ่ ชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์ และชอบการเรยี นท่ีมกี จิ กรรมต่างๆมากกว่า
การน่ังเรียนเฉยๆท่โี ต๊ะ

- การเผชญิ กบั ปัญหาและความซับซอ้ น (Capacity To Navigate Complexity)
หมายถึง การมีทกั ษะในการทำความเข้าใจและแก้ไขปญั หา มที กั ษะการตัดสินใจรว่ มกันในกลุ่ม มีทักษะ
ในการวางแผนเพ่อื กำหนดกลยุทธ์ ชอบมองหาวธิ พี ัฒนาการทำงานของตนเอง รับฟังความคดิ เหน็ ของคน

130

อ่นื ๆ เมือ่ เขาสร้างสิ่งใหมๆ่ ขึ้นมา และให้ความสำคัญกบั การพฒั นาในส่งิ ทรี่ บั ผดิ ชอบอยู่ และการหาโอกาส
ใหม่ๆด้วย

- กล้าเสย่ี ง (Risk-propensity) หมายถงึ การยอมรับความเสยี่ งในการทำงานได้ ชอบ
ความท้าทาย แม้ว่าความท้าทายนั้นอาจทำให้ฉันต้องพบความเสี่ยง ยอมรับความเสี่ยงเพื่อการสร้าง
นวัตกรรม เป็นคนที่เพ่ือนร่วมงานสามารถกระตุ้นให้เกิดความคิดได้ คิดว่าการเข้ามาควบคุมการทำงาน
อย่างเข้มงวดนั้นไม่มีประโยชน์ และเข้าใจว่าทุกโครงการที่เข้าไปมีส่วนร่วม จะไม่ประสบความสำเร็จ
ทงั้ หมด

ในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกบั วตั ถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะ
เชิงนวัตกรรม ใช้ผู้ทรงคุณวุฒทิ ่ีมีความเชีย่ วชาญดา้ นการบริหารการศึกษา และ / หรือ ด้านการวัดและ
ประเมนิ ผล จำนวน 5 ราย (ดูรายชอื่ ในภาคผนวก) โดยใหท้ ำเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ ง +1 หรอื 0 หรือ -
1 โดย + 1 หมายถงึ ข้อคำถามมคี วามสอดคลอ้ ง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง และ -1 หมายถงึ
ข้อคำถามไมม่ คี วามสอดคลอ้ ง ผลที่ได้รับจากการตรวจสอบของผเู้ ชย่ี วชาญ นำมาวิเคราะหห์ าคา่ IOC จาก
สูตรดังกลา่ วในหวั ข้อแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูข้างต้น โดยกำหนดเกณฑค์ ่า IOC ที่ระดับเทา่ กับ
หรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อคำถามนั้นมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (Chaichanawirote &
Vantum, 2017)

การทดลองใช้ (Try-out) แบบประเมนิ ทักษะเชิงนวัตกรรมนักเรยี น มีจุดมุง่ หมาย
เพื่อตรวจสอบความเช่ือมัน่ (Reliability) ของแบบประเมิน เปน็ การหาความสอดคลอ้ งภายในเพ่ืออธิบาย
ว่าข้อคำถามแต่ละข้อในขอ้ คำถามชุดหนึ่งนั้นเป็นเรื่องเดียวกันหรือทิศทางเดียวกัน ในกรณีที่ข้อคำถาม
เป็นแบบมาตรสว่ นประมาณคา่ นิยมใช้สมั ประสทิ ธแิ อลฟา (∝- Coefficient) เพือ่ หาค่าความเชื่อมนั่ ของ
แบบสอบถาม หรืออาจหาความเชือ่ ม่ันด้วยการสอบซำ้ ก็ได้ถ้าตอ้ งการแสดงวา่ ใช้วดั กคี่ รง้ั ก็ใหผ้ ลคงที่ แต่
ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเชื่อมั่น (Alpha Coefficient of
Reliability) โดยใช้วิธีของครอนบาค (Cronbach’s Method) โดยกำหนดเกณฑ์ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา
ของความเชื่อมั่นที่ยอมรับได้ คือ เท่ากับหรือสูงกว่า 0.70 (UCLA: Statistical Consulting Group,
2016) โดยนำแบบประเมินคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียนที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้กบั นักเรียนโรงเรียน
ปภัสสรวทิ ยา วัดศรนี วล จำนวน 30 ราย

3.4 ขัน้ ตอนท่ี 4 การทดลองในภาคสนาม (Trial)

การทดลองในภาคสนาม (Trial) ผู้วิจัยใช้แบบแผนการวิจัยขั้นพื้นฐาน (Pre Experimental
Research) มกี ล่มุ ทดลอง 1 กลุ่ม มกี ารทดสอบก่อนและหลงั การทดลอง (One Group Pretest-Posttest
Design) กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษามหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วัดศรีษะเกษ ระดับมัธยมศึกษา 11 รูป/คน และมีนักเรียนระดับมัธยมศึกษาศึกษาตอนต้น
จำนวน 91 รูป นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 113 รูป รวม จำนวน 204 รูปดำเนินการ
ทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 โดยแบง่ ระยะของการทดลองออกเป็น 2 ระยะ ดงั นี้

131

ระยะที่ 1 การทดลองตามโครงการท่ี 1 : โครงการพัฒนาเพือ่ การเรยี นรขู้ องครู
เป็นระยะของ “การพัฒนาตนเองของครูท่ีเป็นกลุ่มทดลองตามโครงการที่ 1” โดยการเรยี นรู้

ด้วยตนเอง (Self-Learning) จำนวน 6 ชุด คือ ((1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับนิยามของทักษะเชิง
นวัตกรรม (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทักษะเชงิ นวัตกรรม (3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกยี่ วกับลักษณะทแ่ี สดงถึงทักษะเชิงนวัตกรรม (4) คมู่ อื เพือ่ การเรียนรู้เกยี่ วกับแนวการพัฒนาทักษะเชิง

นวตั กรรม (5) คูม่ อื เพอ่ื การเรียนรูเ้ กย่ี วกบั ข้ันตอนการพฒั นาทักษะเชิงนวัตกรรม และ (6) คู่มือเพ่ือการ
เรยี นรูเ้ ก่ียวกับการประเมนิ ทกั ษะเชิงนวัตกรรม ดำเนินการโดยการแนะนำคูม่ ือท้ัง 6 ชดุ ท่ีได้อพั โหลดลง
เว็บไซตเ์ รยี บรอ้ ยแลว้ มขี ้ันตอนการดำเนินการดังนี้

ตารางที่ 3.3 แสดงกจิ กรรมและระยะเวลาในโครงการพัฒนาครูผู้สอน

กิจกรรม ระยะเวลา

1. เตรียมการ และทดสอบผลการเรยี นรู้ของครกู ่อนการทดลอง (Pre-test) พบปะ 1-2 วัน

เพื่อชี้แจงการดำเนินงานวิจยั ในระยะที่ 1 ให้กับครูที่เปน็ กลุ่มทดลอง และทำการ

ทดสอบโดยใช้แบบแบบทดสอบผลการเรยี นรู้ ถือเปน็ การทดสอบก่อนการทดลอง

(Pre-test)

2. พฒั นาครูโดยหลกั การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง (Self-Learning) ใช้คูม่ อื ประกอบ 1 เดือน

โครงการทีพ่ ฒั นาขึ้น โดยเข้าไปดาวน์โหลดไดท้ ีเ่ วบ็ ไซต์ของมหาวิทยาลัย ใหก้ าร

เรียนรเู้ ป็นไปโดยปราศจากการแทรกแซงจากผูว้ ิจัยหรอื บุคคลอนื่

3. ครผู ้สู อนตรวจสอบข้อบกพร่องของคมู่ ือ และ ทดสอบครหู ลงั การพัฒนา (Post- 1-2 วัน

test)

- ครูทเี่ ปน็ กลมุ่ ทดลองร่วมกันตรวจสอบหาขอ้ บกพร่องเพอื่ ใหข้ ้อเสนอแนะในการ

ปรับปรงุ แกไ้ ขคมู่ ือในโครงการทัง้ 2 โครงการ

- ใชแ้ บบทดสอบผลการเรียนรขู้ องครกู บั ครผู ู้เปน็ กลมุ่ ทดลอง เพือ่ ใหท้ ราบผลการ

เรียนรู้ว่าเปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 หรอื ไม่ และเพอื่ เปรียบเทยี บผลการ

เรยี นรู้ของครหู ลงั การทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ิ

หรือไม่ ถือเปน็ การทดสอบหลงั การทดลอง (Post-test)

4. เปรียบเทียบผลการทดสอบครูหลังการพัฒนากับเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 และ 1-2 วัน

เปรยี บเทียบผลการเรียนรู้กอ่ นและหลงั การทดลอง

- วเิ คราะหค์ ะแนนจากการทดสอบผลการเรียนร้ขู องครู โดยเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์

มาตรฐาน 90/90 และวิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบผลการเรียนรู้ของครูหลังการทดลองสงู

กวา่ กอ่ นการทดลองอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิโดยใช้ค่าสถติ ิทดสอบที (t-test) เพือ่

ทดสอบสมมุตฐิ านการวิจยั ว่าค่มู ือประกอบโครงการมีประสทิ ธิภาพหรอื ไม่


Click to View FlipBook Version