The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by appleati, 2021-12-27 04:16:11

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

536

สงู ขึน้ เนือ่ งจากโรงงานอตุ สาหกรรมอาหารใช้ถ่ัวลิสงแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารชนิดตา่ งๆ เช่น เนยถั่ว ขนม
ขบเค้ียว เป็นต้น ส่งผลให้มีการนำเขา้ ถ่วั ลิสงเพ่ิมขน้ึ

ปัจจุบันผู้บริโภคมคี วามต้องอาหารสุขภาพ การปรับปรุงพันธ์ุเพื่อคุณค่าทางโภชนาการสงู เช่น กรด
ไขมนั Oleic สูง ซง่ึ เป็นกรดไขมันไม่อ่ิมตัวที่ช่วยลดไขมันในเลอื ด และเพ่ิมไขมนั ตัวดี ( HDL-C) น่าจะช่วยเพิ่ม
มูลค่าของถัว่ ลิสงแนวทางหน่ึง การปรับปรุงพันธุ์เพือ่ ให้มี Oleic acid /Linoleic acid Ratio สูง เนื่องจากถ่ัว
ลิสงเป็นพืชน้ำมันที่มีกรดไขมันที่สำคัญ คือ oleic acid และ linoleic acid รวมกันประมาณ 76-80
เปอรเ์ ซ็นต์ของกรดไขมันท้งั หมด กรดไขมันทงั้ 2 ชนดิ น้ีมีความสำคัญในการทำนายความยาวนานของการเก็บ
รักษาเมลด็ ถ่ัวลิสง โดยถ้ามีคา่ O/L ratio สูง เมล็ดและผลิตภัณฑ์จะสามารถเก็บรกั ษาไว้ไดน้ านกว่าเมล็ดท่มี ี
ค่า O/L ratio ต่ำ นอกจากนเี้ มอ่ื ผบู้ ริโภครับประทานเมล็ดทมี่ ี oleic acid สูงจะเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ เช่น
ช่วยลดอัตราเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจ และลดการอุดตันไขมันในหลอดเลือด เป็นต้น ดังนั้น การปรับปรุงพันธ์ุ
เพอื่ กรดไขมนั Oleic สงู นา่ จะช่วยเพมิ่ มูลคา่ ของถวั่ ลสิ ง

ดังนั้น งานทดลองน้ีการทดลองนี้จงึ ทำการผสมข้ามทำการผสมข้ามระหว่างพันธุพ์ ่อและแม่ดเี ดน่ 14
พันธุ์ มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ การผสมและคัดเลือกพันธุ์ : พนั ธ์ุถัว่ ลสิ งเมลด็ ปานกลางเพือ่ กรดไขมัน Oleic สูง กว่า
พนั ธร์ุ ับรองเพอื่ นำเข้าประเมินผลผลติ ในขั้นเปรยี บเทียบในขัน้ เบือ้ งตน้ ต่อไป

วิธดี ำเนินการ
อปุ กรณ์

1. ถวั่ ลสิ งพอ่ แมพ่ นั ธ์ุ จำนวน 14 พนั ธุ์ ประกอบดว้ ย พันธด์ุ ีเดน่ ขนาดเมลด็ ปานกลาง 13 พันธ์ุ
พนั ธท์ุ ี่มกี รดไขมนั Oleic สงู 1 พันธุ์ คอื พนั ธ์ุ มข60

2. ปยุ๋ เคมีเกรด 12-24-12 อตั รา 25 กิโลกรมั ต่อไร่
3. ยปิ ซม่ั อตั รา 50 กโิ ลกรัมต่อไร่
4. สารเคมีกำจดั วัชพืช
5. สารเคมีปอ้ งกันกำจดั โรคและแมลงศัตรพู ชื
วธิ ปี ฏิบัตกิ ารทดลอง
เตรียมเมล็ดพ่อแม่พันธุ์ดีเด่น เตรียมดิน อุปกรณ์ และวัสดุการเกษตร แล้วทำการปลูกถั่วลิสงใน
กระถาง จำนวน 10 พนั ธุ์ ประกอบด้วย พนั ธดุ์ เี ด่นขนาดเมล็ดปานกลาง 9 พันธ์ุ พนั ธุ์ที่มกี รดไขมัน Oleic สูง
1 พันธุ์ คือ พันธ์ุ มข60 ผสมแบบสลับพ่อและแม่ ทำการกำจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยสูตร 12-24-12 อัตรา 25
กิโลกรัมต่อไร่ เม่ือถว่ั อายุ 20 วันหลังปลกู ใส่ยปิ ซมั ในระยะเริ่มลงเข็มอตั รา 50 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ทำการผสมข้าม
พันธจุ์ ากคู่ผสมดงั กล่าวแบบสลับพ่อแม่เน่อื งจากมีอิทธิพลของ maternal effect เก็บเก่ยี วผลผลติ ของลูกผสม
ชัว่ ที่ 1 (F1) ในแตล่ ะคู่ผสม นำลูกผสมถว่ั ลสิ งชัว่ ที่ 1 ปลูกคดั เลอื ก โดยก่อนปลูกคลุกเมล็ดด้วยสารเคมีป้องกัน
และกำจัดโรคโคนเน่า ใช้ระยะปลูก 50x20 เซนติเมตร จำนวน 1 ต้น/หลุม ดูแลรักษาเช่นเดียวกัน ทำการ
คดั เลอื กโดยเก็บแบบ 2 ฝักตอ่ ตน้ (ประยกุ ต์วิธี Single seed descent) วิเคราะห์หาปริมาณกรดไขมนั Oleic
ในชั่วที่ 3 (F3) ด้วยเทคนิค Gas Liquid Chromatography (GLC) จากนั้นปลูกสายพันธุ์ที่มีค่ากรดไขมัน

537

Oleic สูงกวา่ 50 เปอร์เซ็นต์ และคดั เลอื กจนถึงชัว่ ที่ 6 (F6) และเก็บเกีย่ วรวมเมล็ดจากแต่ละแถว (สายพันธ์ุ)
เพอื่ ใช้ปลูกในข้นั ตอนการเปรียบเทยี บพนั ธุเ์ บื้องตน้ ต่อไป
การบันทึกขอ้ มูล

วันปลูก วันงอก วันออกดอก วันเก็บเกี่ยว จำนวนฝักต่อต้น ขนาดฝัก น้ำหนักฝัก ปริมาณกรดไขมนั
Oleic ด้วยเทคนิค Gas Liquid Chromatography (GLC) ระบาดของโรคและแมลง ข้อสังเกตต่างๆ และ
ขอ้ มูลอตุ นุ ยิ มวทิ ยา สถานทที่ ำการทดลอง ศูนย์วจิ ัยพืชไรข่ อนแกน่
สถานท่ีทำการทดลอง

ศูนยว์ จิ ยั พชื ไรข่ อนแก่น อำเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแกน่

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
ลูกผสมชั่วที่ 1 ทำการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์พ่อและแม่ดีเด่น 14 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ มข 60 พันธุ์ที่มี
ปริมาณน้ำมัน oleic สูง ผสมกับพันธุ์ที่ให้ ผลผลิตสูง และมีลักษณะเหมาะสมสำหรับถั่วกะเทาะเมล็ด
ถั่วเมล็ดโต และถั่วลิสงฝักต้ม ได้แก่ ไทนาน 9 ขอนแก่น 60-2 ขอนแก่น 5 ขอนแก่น 6 ขอนแก่น 84-7 ขอนแก่น
84-8 กาฬสินธุ์ 2 ICG1266 ICG455 ICG1961 ICG90320 ICG852 และ ICG58 โดยการผสมข้ามพันธุ์จากคู่ผสม
ดังกล่าวแบบสลับพ่อแม่ (reciprocal cross) เนื่องจากปริมาณน้ำมัน oleic มีอิทธิพลของ maternal effect
จากนน้ั เกบ็ เก่ียวผลผลิตของลูกผสมชวั่ ที่ 1 (F1) ในแต่ละคูผ่ สมได้จำนวน 96 ฝกั จากท้งั หมด 22 คผู่ สม จากน้ัน
ปลกู ลกู ผสม F1 เปรียบเทยี บกบั พอ่ แม่ในฤดูถัดไป
ปลูกลกู ผสมถว่ั ลิสงชัว่ ที่ 1 (F1) ในแต่ละคู่ผสมไดจ้ ำนวน 96 ฝกั จากทั้งหมด 22 คู่ผสม พบว่า ลูกผสม
F1 งอกจำนวน 43 ต้นจากทั้งหมด 16 คู่ผสม โดยการมีพันธุ์พอ่ และแม่ของแต่ละคู่ผสมปลกู คั่น ใช้ระยะปลกู
50x20 เซนติเมตร จำนวน 1 ต้น /หลุม แถวยาว 5 เมตร ที่แปลงทดลองศูนย์วจิ ัยพืชไร่ขอนแก่น เก็บผลผลิต
แยกตน้
ปลูกลูกผสมถั่วลิสงชั่วที่ 2 (F2) พบว่า ถั่วลิสงลูกผสมชั่วที่ 2 งอกจำนวน 295 ต้นโดยเก็บเกี่ยวได้
จำนวน 3,887 ฝัก (ตารางที่ 2) โดยคู่ผสมระหว่างพันธุ์มข 60 และขอนแก่น 84-7 ที่ผสมแบบสลับพ่อแม่
พบวา่ ทงั้ 2 ค่ผู สมให้จำนวนฝักต่อตน้ สูง โดยค่ผู สม มข60xขอนแก่น 6 ให้จำนวนฝกั ตอ่ ต้นสงู ท่ีสุด จากนั้นนำ
ลูกผสมเหล่านี้จะนำไปปลูกต่อในชั่วรุ่นที่ 3 โดยใช้วิธี modified single seeds descent คัดเลือก 2 ฝักต่อ
ต้นไปปลูกคดั เลือกและขยายเมล็ดเป็น F3:4 เพื่อให้มปี ริมาณเมล็ดต่อตัวอย่างละประมาณ 100 กรัมเพ่ือนำไป
วเิ คราะห์ปริมาณ Oleic สงู ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ เนือ่ งจากยีนควบคมุ ปรมิ าณกรดไขมันโอเลอิกสูงเป็นยีนด้อย
ปลูกลูกผสมถั่วลิสงชั่วที่ 3 (F3) จำนวน 295 สายพันธุ์จากทั้งหมด 16 คู่ผสม โดยมีพันธ์ุพ่อและแม่
ของแต่ละคู่ผสมปลูกคั่น ก่อนปลูกคลุกเมล็ดด้วยสารเคมีป้องกันและกำจัดโรคโคนเน่าถั่วลิสง ใช้ระยะปลูก
50x20 เซนติเมตร จำนวน 2 เมลด็ /หลมุ แถวยาว 1 เมตร ที่แปลงทดลองศนู ยว์ จิ ยั พืชไรข่ อนแกน่ คดั เลือกต้น
ได้ 73 สายพันธุ์เก็บแบบแยกต้น และต้นที่เหลือเก็บเป็นแถว จากนั้นเตรียมตัวอย่างเพื่อนำไปวิเคราะห์หา
ปริมาณกรดไขมันโอเลอกิ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

538

สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
การผสมและคัดเลือกพันธุ์ : พันธุ์ถัว่ ลิสงเมล็ดปานกลางเพื่อกรดไขมนั Oleic สูง โดยลูกผสมชั่วที่ 1
ทำการผสมข้ามระหว่างพันธุ์พ่อและแม่ดีเด่น 14 พันธ์ุ สามารถสร้างลูกผสมชั่วที่ 1 (F1 ) ได้จำนวน 96 ฝัก
จากทั้งหมด 22 คู่ผสม จากนั้นปลูกลูกผสม F1 ผสมตัวเองได้ลูกผสมชั่วที่ 2 (F2) และลูกผสมชั่วที่ 3 (F3)
จำนวน จำนวน 48 ตน้ 295 ตน้ จากทงั้ หมด 16 ค่ผู สม ตามลำดับ

เอกสารอา้ งอิง

สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2560. สารสนเทศเศรษฐกจิ การเกษตรรายสินค้า ปี 2559. สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 111 หนา้ .

ตารางที่ 1 ลกั ษณะดเี ด่นของพันธ์พุ อ่ แม่ ทีใ่ ช้ผสมพันธ์ุ

พันธุ์ ลักษณะเดน่

1 ไทนาน 9 ผลผลติ สูง เปอรเ์ ซน็ ตก์ ะเทาะสงู ฝักเรยี บ เยื่อหุ้มเมล็ดสีชมพู

2. ขอนแก่น 60-2 ขนาดฝกั ยาว โต และตรง เยือ่ หุ้มเมล็ดสชี มพูเหมาะสำหรบั ถว่ั ตม้ สด

3. ขอนแก่น 5 ผลผลติ สูง ขนาดเมล็ดโตกวา่ พนั ธุไ์ ทนาน9 และขอนแก่น60-1

4. ขอนแก่น 6 เมล็ดโตมาก ให้ผลผลิตสูง เยือ่ หมุ้ เมลด็ สีชมพู ทนทานต่อโรคยอดไหม้

5. ขอนแก่น 84-7 เหมาะสำหรับเปน็ ถ่วั กะเทาะเมล็ด ใหผ้ ลผลิตสูงกว่าขอนแก่น 5 คอ่ นขา้ งทนทานต่อโรคโคน

เนา่ ขาว

6. ขอนแก่น 84-8 เหมาะสำหรับเป็นถัว่ ลสิ งฝกั ต้ม เย่ือหุม้ เมลด็ สีชมพเู ขม้ คอ่ นข้างทนทานตอ่ โรคโคนเน่าขาว

7. กาฬสนิ ธุ์ 2 ฝกั ยาว รสชาตคิ อ่ นข้างหวาน เหมาะสำหรบั ใชบ้ รโิ ภคในรูปถว่ั ตม้ สด มเี ย่ือหุ้มเมลด็ สชี มพู

ลายขดี สมี ่วง ตา้ นทานตอ่ โรคราสนมิ และใบจุดสนี ำ้ ตาล

8. มข 60 ผลผลติ สงู ปริมาณนำ้ มนั oleic สงู เมลด็ โต อายุส้ันกวา่ พันธ์ุ ขอนแกน่ 60-3 และเมล็ดไม่มี

การพกั ตวั

9. ICG1266 ผลผลิตสงู รสชาตดิ ี ความหวานสงู เย่อื หุ้มเมล็ดสแี ดง เหมาะสำหรับถว่ั ตม้ สด นำเข้าจาก

ICRISAT ประเทศอินเดีย

10. ICG455 ผลผลติ สูง รสชาติดี เยื่อหมุ้ เมลด็ สีแดงนำเข้าจาก ICRISAT ประเทศอินเดีย

11. ICG1961 ผลผลติ สูงกวา่ พนั ธข์ุ อนแกน่ 60-2 ลกั ษณะฝกั ดี รสชาติดมี าก เยอื่ หมุ้ เมลด็ สีแดง

นำเข้าจาก ICRISAT ประเทศอนิ เดีย

12. ICG90320 สายพนั ธุด์ เี ด่นสำหรบั ขบเคยี้ ว นำเขา้ จาก ICRISAT ประเทศอนิ เดีย

13. ICG852 สายพนั ธต์ุ า้ นทานโรคยอดไหม้ นำเข้าจาก ICRISAT ประเทศอนิ เดยี

14. ICG58 ขนาดฝักยาว เย่ือห้มุ เมล็ดสแี ดง นำเข้าจาก ICRISAT ประเทศอินเดีย

539

ตารางที่ 2 คู่ผสม จำนวนต้นลูกผสมชั่วที่ 1 (F1) และจำนวนฝักของลูกผสมชั่วที่ 2 (F2) ในการผสมและ
คัดเลอื กพนั ธุ์ : พันธ์ถุ ัว่ ลิสงเมลด็ ปานกลางเพอ่ื กรดไขมัน Oleic สูง

รหัสคผู่ สม พนั ธ์ุแม่ จำนวนต้นลูกผสม ลูกผสมชัว่ ท่ี 2 ทีเ่ ก็บเกย่ี วได้

ชว่ั ท่ี 1 จำนวนตน้ จำนวนฝกั ทั้งหมด จำนวนฝักตอ่ ต้น

KKFC19-1 มข 60xICG1266 3 9 142 16
KKFC19-4 มข 60xICG852 1 4 101 25
KKFC19-8 มข 60xขอนแก่น 6 2 22 507 23

KKFC19-9 มข 60xขอนแก่น 84-7 2 24 456 19
KKFC19-10 มข 60xขอนแก่น 84-8 2 7 136 19

KKFC19-12 มข 60xกาฬสนิ ธุ์ 2 3 16 40 3

KKFC19-13 ไทนาน 9xมข 60 2 19 242 13
KKFC19-14 ขอนแก่น 84-7xมข 60 6 30 466 16

KKFC19-15 ขอนแกน่ 84-7xไทนาน 9 6 42 464 11
9
KKFC19-16 ขอนแก่น 84-8xมข 60 17 62 10

KKFC19-18 ขอนแกน่ 6xมข 60 2 29 297

KKFC19-19 กาฬสนธ์ุ 2 xมข 60 4 12 204 17
KKFC19-20 ICGV90320xมข 60 11
KKFC19-21 ICGV90320xไทนาน 9 17 80 12

1 14 164

KKFC19-22 ICG455xมข 60 3 11 170 15

KKFC19-23 ICG455xขอนแกน่ 84-8 4 42 356 8

รวม 43 295 3,887

ตารางที่ 3 รหัสคู่ผสม จำนวนต้น จำนวนฝักต่อต้น และสีเยื่อหุ้มเมล็ดลูกผสมชั่วที่ 2 (F2) ในการผสมและ
คัดเลือกพันธ์ุ : พันธุ์ถว่ั ลสิ งเมล็ดปานกลางเพือ่ กรดไขมัน Oleic สงู

ลำดับ รหัสคูผ่ สม คู่ผสม จน.ตน้ จน.ฝัก/ตน้ สีเมล็ด
1 KKFC19-1 มข.60 x ICG1266
2 KKFC19-4 มข.60 x ICG852 9 16 แดงอ่อน
3 KKFC19-8 มข.60 x ขอนแก่น6
4 KKFC19-9 มข.60 x ขอนแก่น84-7 4 25 แดงอ่อน
5 KKFC19-10 มข.60 x ขอนแก่น84-8
6 KKFC19-12 มข.60 x กาฬสินธ2ุ์ 22 23 แดงออ่ น
7 KKFC19-13 ไทนาน9 x มข.60
8 KKFC19-14 ขอนแก่น84-7 x มข.60 24 19 แดงออ่ น
9 KKFC19-15 ขอนแก่น84-7 x ไทนาน9
10 KKFC19-16 ขอนแก่น84-7 x มข.60 7 19 แดงออ่ น
11 KKFC19-18 ขอนแกน่ 6 x มข.60
12 KKFC19-19 กาฬสินธ2์ุ x มข.60 16 3 แดงอ่อน
13 KKFC19-20 ICGV90320 x มข.60
14 KKFC19-21 ICGV90320 x ไทนาน9 19 13 เนือ้
15 KKFC19-22 ICG455 x มข.60
16 KKFC19-23 ICG455 x ขอนแก่น84-8 30 16 เหลอื งนวล

44 11 เนอื้ ออ่ น

7 9 ชมพู

29 10 ชมพู

12 17 สม้ เทา+จดุ ประ

8 11 เนอ้ื

14 12 เนื้อออ่ น

11 15 แดง

42 8 แดง

540

การปรับปรงุ พันธถ์ุ ัว่ ลิสงโดยการฉายรังสแี ละสารเคมเี พอ่ื ก่อการกลายพนั ธุ์

กาญจนา กริ ะศักด์ิ1* และทมี งาน1

รายงานความกา้ วหนา้
การศึกษาปริมาณรงั สแี กรมมากบั ถว่ั ลสิ งพันธุข์ อนแก่น 6 และ ไทนาน 9 ทีเ่ หมาะสมกับการก่อกลาย
พันธ์ุ พบว่า ปริมาณรงั สีทท่ี ำให้เปอรเ์ ซน็ ตค์ วามงอกของเมล็ดถว่ั ลิสงพนั ธ์ุขอนแกน่ 6 ลดลง 50 % (LD50) อยู่
ระหว่างคา่ 450-500 เกรย์ และพันธุไ์ ทนาน 9 อยรู่ ะหวา่ ง 550-600 เกรย์ และสารเคมกี อ่ กลายกบั พันธถุ์ ว่ั ลิสง
ขอนแกน่ 84-7 พบวา่ sodium azide พบว่าความเข้มขน้ สารท่ีทำให้เปอรเ์ ซน็ ตค์ วามงอกของเมลด็ ถวั่ ลสิ งพันธุ์
ขอนแกน่ 84-7 ลดลง 50 % (LD50) อยู่ระหว่าง 5-15 % และ ไทนาน 9 อยรู่ ะหว่าง 10-20 % สำหรับสารกอ่
กลายพนั ธุ์ DES พบว่าเมล็ดถ่วั ลิสงทั้ง 2 พนั ธ์ุ ไมง่ อก ทุกความระดับความเขม้ ขน้
คำสำคญั : การกอ่ กลายพันธ์พุ ืช สารเคมี รงั สี ถั่วลิสง
Keywords: mutation, chemical mutation, radiation, peanut

คำนำ
การปรับปรุงพันธุ์ด้วยวิธีการสร้างความแปรปรวนทางพันธุกรรม เพื่อต้องการให้เกิดลักษณะทาง
เกษตรที่เป็นประโยชน์กับการปรับปรุงพันธุ์ธัญพืช โดยใช้ประโยชน์จากการกลายพันธุ์ของ alleles ซึ่งเป็น
แหล่งความหลากหลายทางพันธุกรรม มี 2 ขั้นตอนที่สำคัญในวธิ ีการนี้ คือ คัดแยกพันธุ์กลายและยืนยันการ
กลายพันธุ์ เพื่อที่จะสามารถสกัดลักษณะที่เป็นประโยชน์ออกมาให้ได้อย่างถูกต้อง แนวทางในขั้นตอนการ
คดั แยกควรคดั เลอื กพันธ์ุกลายที่เปน็ ส่วนน้อย (คัดจาก ช่ัวท่ี 1, M1) ทเ่ี หน็ วา่ เป็นลักษณะทต่ี ้องการแบบเฉพาะ
เช่นออกดอกเรว็ ต้านทานโรคและแมลง เป็นต้น โดยเทยี บกบั พ่อแมพ่ ันธุ์ มาจากกลมุ่ ประชากรขนาดใหญ่ แต่
ในการทำงานอาจคัดเลือกได้ทั้งพันธุ์กลายที่แท้จริงและอาจได้พันธุ์กลายเพียงชั่วคราว จึงต้องมีการทำใน
ขั้นตอนต่อไปในขบวนการยนื ยันพันธุ์กลาย ด้วยการปลกู ลงแปลงในรูปแบบประชากรขนาดใหญ่และจำนวนซ้ำ
(M2-4) ที่มีความคงตัวของพันธุ์กลายแล้ว ซึ่งอาจคัดเลือกได้พันธ์ุกลายที่ให้ประโยชน์ด้านปริมาณ พร้อมท้ัง
ดา้ นคณุ ภาพท่ดี กี ว่าพันธุ์เดิมในพนั ธุ์เดียวกัน (Krapovickas, 1969) เป้าหมายของการก่อกลายพันธ์ุที่สามารถ
คัดแยกได้ง่ายขึ้น มีการใช้วิธีจำแนกด้วยวิธีการใหม่ ด้วยการใช้เครื่องหมายโมเลกุลและเทคนิคขั้นสูง เช่น
microarray และรุ่นต่อไปใช้วิธีตรวจสอบลำดับเบส โดยตรวจสอบแบบเฉพาะพันธุ์กลายจากประชากรกลุ่ม
ใหญ่ได้ ซ่ึงเปน็ การชว่ ยให้นักปรับปรุงพนั ธุ์มีโปรแกรมงานปรับปรงุ พันธุ์ให้มีประสิทธภิ าพมากขน้ึ (Çelik and
Atak, 2017) ธัญพืชพันธุ์ใหม่ที่ถูกใช้ไปทั่วโลกจากวิธีการก่อกลายพันธุ์ เช่น ข้าวในเวียดนาม ไทย จีน และ
สหรัฐฯ ข้าวสาลีในอิตาลีและบัลกาเรีย ข้าวบาร์เลย์ ในเปรู ถั่วเหลืองในเวียดนาม จีน และตระกูลถั่วใน
ปากีสถานและอินเดีย เปน็ ตน้ (Naeem-ud-Din et al., 2005) FAO/IAEA รายงานข้อมลู พนั ธุ์พชื ทไี่ ดจ้ ากการ

1ศูนย์วจิ ัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจยั พืชไร่และพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน่

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

541

ปรบั ปรุงพันธุ์ ด้วยวธิ ีกอ่ กลายพันธ์ุ มมี ากกว่า 1,737 ชนิด แตพ่ ชื หลกั ๆ ท่ไี ด้อยู่ในกลุ่มของธัญพืชตระกูลถ่ัว
และพืชสวน ได้จากการใช้สารเคมีและรังสที ี่ให้กับเมล็ด เนอื่ งจากปริมาณพชื มาก การเก็บ การดแู ลรักษา การ
ขนย้าย และการปฏิบัติอื่น ๆ ทำได้ง่าย สะดวกกว่าชิ้นส่วนอื่นของพืช และในการใชก้ ารปรับปรุงพันธ์ุด้วยวธิ ี
ก่อกลายพันธุ์เพื่อจุดประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางการเกษตร เช่น เพิ่มผลผลิต ต้านทานโรคและ
แมลง และถัว่ ลิสงบางพันธ์พุ ัฒนาเพ่ือไปใช้ประโยชน์ในการผลิตไบโอดเี ซล เพือ่ ลดปรมิ าณการผลิตน้ำมันจาก
ถา่ นหินได้ ซ่งึ เปน็ พันธ์ุท่มี ีปรมิ าณนำ้ มันและโอลิเอตสูง เช่น พันธ์ุ BARI2000 เปน็ ต้น

วิธดี ำเนินการ
สิง่ ที่ใช้ในการทดลอง

1. เมล็ดถ่ัวลสิ ง 2 พันธ์ุ คอื ขอนแก่น 6 และ ไทนาน 9
2. รังสีแกมมาเครื่องแกมมาเตอร์มาร์ควัน (Mark I Gammator) ที่สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์
แห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ภายใตก้ ารดแู ลของสำนกั ปรมาณูเพ่อื สนั ติ
3. สารเคมีก่อกลายพันธุ์ 3 ชนิด คือ sodium azide (NaN3), diethyl sulphate (DES) และ
hydroxylamine (NH2OH)
4. วสั ดุเพาะเมลด็
5. แปลงทดลอง
6. อุปกรณท์ างการเกษตรที่จำเป็น
7. ป๋ยุ เคมี สารเคมีกำจดั วัชพืช และ สารเคมีกำจัดโรคแมลง ท่ีจำเปน็
แบบและวิธที ดลอง
วางแผนการทดลองแบบสุม่ ตลอด (Completely Randomized Design, CRD) จำนวน 4 ซำ้
วิธปี ฏิบตั ิการทดลอง
1. การฉายรงั สี

1.1 เตรียมเมล็ดถั่วลิสง 2 พันธุ์ โดยแบ่งเมล็ดถั่วลิสงแต่ละพันธุ์ออกเป็น 6 ส่วน นำไปฉายรังสี
แกมมาท่ีปริมาณ 0, 400, 450, 500, 550 และ 600 เกรย์

1.2 เมล็ดที่ผ่านกรรมวิธีตามการทดลองมาเพาะหาค่า GR50 โดยนำเมล็ดที่ฉายรังสี มาเพาะใน
กระบะทราย ปรมิ าณรงั สลี ะ 4 ซำ้ ๆ จำนวนเทา่ กันในแต่ละซำ้ วดั ความยาวตน้ และรากหลังเพาะ 7-10 วัน

1.3 เมล็ดที่ผ่านกรรมวิธีตามการทดลองมาเพาะหาค่า LD50 โดยนำเมล็ดที่ฉายรังสี มาเพาะใน
กระบะทราย ปริมาณรังสีละ 3 ซ้ำ ๆ ละ 50 เมล็ด นบั ความงอกหลังปลูก 10 วัน หลังจากน้ี 7 วัน นับจำนวน
ตน้ ทง้ั หมดแต่ละปริมาณรังสี และทุก 7 วัน นบั อกี 3 คร้งั

2. การแช่สารเคมีก่อกลายพันธ์ุ
2.1 แบ่งเมล็ดถั่วลิสงทั้ง 2 พันธุ์ พันธุ์ละ 5 ส่วน นำไปแช่สารละลาย NaN3 ที่ 5 ระดับความ

เขม้ ข้น คอื 0, 20, 40, 60 และ 80 %

542

2.2 แบ่งเมลด็ ถ่ัวลิสงทั้ง 2 พันธ์ุ พนั ธล์ุ ะ 5 ส่วน นำไปแชส่ ารละลาย DES ที่ 5 ระดบั ความเข้มข้น
คือ 0, 20, 40, 60 และ 80 %

2.3 นำเมล็ดท่ีผา่ นการแช่สารเคมีข้อ 2.1-2.3 มาเพาะในกระบะทราย แยกชนิดและความเขม้ ข้น ๆ
ละ 4 ซำ้ ๆ ละเทา่ กัน วดั ความยาวต้นและรากหลงั เพาะ 7-10 วัน

2.4 เมล็ดที่ผ่านกรรมวิธีตามการทดลองมาเพาะหาค่า GR50 โดยนำเมล็ดที่แช่สาร มาเพาะใน
กระบะทราย ปรมิ าณสารละ 4 ซำ้ ๆ จำนวนเทา่ กนั ในแตล่ ะซ้ำ วัดความยาวตน้ และรากหลังเพาะ 7-10 วนั

2.5 เมล็ดที่ผ่านกรรมวิธีตามการทดลองมาเพาะหาค่า LD50 โดยนำเมล็ดที่แช่สาร มาเพาะใน
กระบะทราย ปริมาณสารเคมีละ 3 ซ้ำ ๆ ละ 50 เมล็ด นับความงอกหลังปลูก 10 วัน หลังจากนี้ 7 วัน นับ
จำนวนต้นทงั้ หมดแตล่ ะปรมิ าณสาร และทกุ 7 วัน นบั อีก 3 ครัง้

3. เมล็ดชวั่ ที่ 1 (M1 generation) ปลูกลงแปลง
นำเมล็ดทีม่ เี ปอรเ์ ซ็นต์การตายน้อยกว่า 50% ปลูกลงแปลง เทียบกับไม่ไดฉ้ ายรังสี ปฏิบัติดูแลรักษา
ตามปกติ เก็บเกย่ี วผลผลติ 1 ฝกั จากทุกตน้ M1 รวมกัน ได้เมล็ด M2- รวม (M2-bulk seed)
4. เมล็ดชวั่ ที่ 2 (M2 generation) ปลกู ลงแปลง

การประเมินและคัดเลือกถั่วลิสงพันธุ์กลาย โดยนำเมล็ดทั้งหมดลงปลูก (M2) แถวยาว 6 เมตร
ระยะระหวา่ หลุม 20 เซนตเิ มตร ระยะหา่ งแถว 50 เซนตเิ มตร หลุมละ 2-3 เมล็ด ปลกู 4 แถว และปลูกพันธุ์
เปรียบเทียบ ขอนแก่น 6 และ ไทนาน 9 คั่น 2 แถว ให้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน และปฏิบัติดูแลรักษาแปลง
ให้น้ำตามความต้องการ (Kc) เก็บผลผลิตแยกแต่ละต้น ได้เมล็ด M3 เรียก M3-single seed อีกส่วนหนึ่งเกบ็
ฝัก 1 ฝักจากทุกต้น M2 รวมกัน ได้เป็นเมล็ด M3-รวม (M3-bulk seed) บันทึกลักษณะต้น M2 ที่คัดไว้
ดังต่อไปนี้ ความสูงต้น จำนวนฝักต่อต้น จำนวนเมล็ดต่อฝัก น้ำหนักเมล็ดต่อต้น น้ำหนัก 100 เมล็ด และ
ลักษณะเด่นทท่ี ำการคัด
การบนั ทึกขอ้ มลู

- คำนวณหาเปอร์เซ็นต์ความงอก เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณรังสีกับความงอก
หาปริมาณรงั สที ีท่ ำให้เปอร์เซ็นตค์ วามงอกลดลง 50% และหาเปอร์เซ็นตค์ วามอยู่รอดหรือหาเปอรเ์ ซ็นต์การ
ตายของต้นกล้าอายุ 30 วัน หลังปลูก นำค่าที่ได้มาเขียนกราฟเพื่อหาปริมาณรังสีที่ทำให้พืชตายไป 50%
(LD50) (50 % Lethal Dose) (International Atomic Energy Agency (IAEA), 1977)

- คำนวณหาเปอรเ์ ซน็ ต์การเจรญิ เติบโต เขยี นกราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างชนิดและความเข้มข้น
สารเคมีกับการเจริญเติบโต และหาชนิดและความเข้มข้นสารเคมีที่ไปลดการเจริญเติบโตของต้นและรากลง
50% (GR50) (International Atomic Energy Agency (IAEA), 1977

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
เตรียมเมล็ดถั่วลิสง 2 พันธุ์ ฉายรังสีเมล็ดพันธุ์ตามแผนการทดลอง พบว่าปริมาณรังสีที่ทำให้
เปอรเ์ ซน็ ต์ความงอกของเมลด็ ถวั่ ลิสงพันธุข์ อนแกน่ 6 ลดลง 50 % (LD50) อยรู่ ะหวา่ งค่า 450-500 เกรย์ และ

543

พนั ธ์ไุ ทนาน 9 อยู่ระหว่าง 550-600 เกรย์ ซง่ึ คา่ รงั สีทุกระดับความเขม้ ขน้ ไม่มผี ลต่อการไปลดการเจริญเตบิ โต
ของยอดและรากลง 50% (GR50)

การแช่สารเคมีก่อกลายพันธุ์ sodium azide พบวา่ ความเข้มข้นสารที่ทำให้เปอรเ์ ซ็นต์ความงอกของ
เมลด็ ถว่ั ลิสงพนั ธ์ุขอนแก่น 84-7 ลดลง 50 % (LD50) อยู่ระหว่าง 5-15 % มคี วามยาวตน้ และรากสงู สุด 7.11
และ 6.93 เซนตเิ มตร (ซม.) ตามลำดับ จากกรรมวธิ ีไมแ่ ช่สาร ความยาวตน้ ตำ่ สุด 4.29 ซม. จากการแช่สารที่
ความเข้มข้น 75% และความยาวรากต่ำสุด 5.64 ซม. จากการแช่สารที่ความเข้มข้น 50% ฃ และพันธ์ุไทนาน 9
อย่รู ะหว่าง 10-20 % ค่าเฉลยี่ ความยาวตน้ สูงสุด 7.26 ซม. จากกรรมวธิ ไี มแ่ ช่สาร ตำ่ สุด 6.16 ซม.จากการแช่
สารที่ความเข้มข้น 25% และรากสูงสุด 6.42 ซม. จากการแช่สารที่ความเข้มข้น 50% และต่ำสุด 4.84 ซม.
จากการแชส่ ารที่ความเข้มข้น 25% และพนั ธุ์ 84-7 และ ไทนาน 9 มี %การมชี ีวติ รอดหลังงอก 14 วัน สูงสุด
ร้อยละ 40 ได้จากการแช่สารที่ระดับความเข้มข้น 50% สำหรับผลการทดลองในแปลงปลูก พบว่า % ความ
งอกสูงสดุ ของพนั ธุ์ 84-7 และไทนาน 9 ร้อยละ 70 และ 49.2 ตามลำดับ ไดจ้ ากการแชส่ ารทคี่ วามเขม้ ขน้ 25
% ขณะนีอ้ ยู่ระหวา่ งการเจรญิ เติบโต ดแู ลรักษาและรอเกบ็ เก่ยี วผลผลติ เปอรเ์ ซน็ ตค์ วามงอกของเมลด็ ถว่ั ลิสง
พนั ธุข์ อนแกน่ 6 ลดลง 50 % (LD50) อย่รู ะหวา่ งคา่ 450-500 เกรย์ และพนั ธไ์ุ ทนาน 9 อยู่ระหว่าง 550-600
เกรย์ ซ่งึ ค่ารังสีทุกระดบั ความเข้มข้น ไมม่ ีผลตอ่ การไปลดการเจริญเตบิ โตของยอดและรากลง 50% (GR50)

การแชส่ ารก่อกลายพนั ธุ์ DES พบว่าทุกความระดับความเข้มข้น เมล็ดถวั่ ลสิ งทัง้ 2 พันธุ์ ไมง่ อก และ
เมลด็ พันธุ์ขอนแกน่ 6 และไทนาน 9 ทีไ่ มแ่ ชส่ ารเคมี มีความงอกเฉลย่ี 68.3% และ 86.7% ตามลำดับ

การแชส่ ารเคมี hydroxylamine (NH2OH) ไมไ่ ดด้ ำเนินการทดลอง

สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
1. ถว่ั ลสิ งพันธุข์ อนแก่น 6 ปริมาณรงั สีทีใ่ ช้ 500 เกรย์ และ 600 เกรย์ ใช้กับพนั ธไ์ุ ทนาน 9
2. ถั่วลิสงพนั ธ์ขุ อนแกน่ 84-7 สารเคมี sodium azide ใช้ความเขม้ ข้นที่ 15 % และพนั ธุ์ไทนาน 9 20 %
3. สาร DES ยงั ไมไ่ ดค้ วามเข้มขน้ ทีเ่ หมาะสมกับการใช้ จำเป็นตอ้ งปรบั ความเข้มข้นในการทดลองคร้ัง
ตอ่ ไป
4. สารเคมี hydroxylamine (NH2OH) ไม่ไดด้ ำเนนิ งานทดลอง เนื่องจากเป็นสารเคมีที่ตอ้ งนำเข้าจาก
ต่างประเทศ และอยใู่ นสถานการณ์โควดิ -19 ซึ่งส่งผลตอ่ การขนสง่ และงบประมาณได้ถูกปรับลดลง ผู้วิจยั จงึ ได้
ขอปรบั ลดการดำเนินงานลง ดังน้ันจงึ ไม่มีผลงานทดลองสำหรับสารชนดิ น้ี

เอกสารอ้างอิง

Çelik, Ö. And C. Atak. 2017. Applications of Ionizing Radiation in Mutation Breeding. INTECH. 111-132.
Krapovickas, A. 1969. The origin, variability and spread of the groundnut (Arachis hypogaea) (English

translation by Smartt J) In: Ucko RJ, Dimbledy CW (eds) The domestication and exploitation of
plants and animals. Duckworth, London, pp 427–441.
Naeem-ud-Din, Shabbir, G. Ramzan, M. and A. Mahmood. 2005. BARI-2000: A new bold seeded, semi
bunch groundnut variety. PJST., Vol. 1 (6).

544

การประเมนิ ความแปรปรวนทางพนั ธุกรรมถั่วลิสงพันธุก์ ลายโดยใชเ้ ครอื่ งหมายดเี อน็ เอ

ธรี วุฒิ วงศว์ รตั น์1* กาญจนา กิระศักดิ์1 และกมลวรรณ เรียบร้อย1

รายงานความก้าวหนา้
ถั่วลิสงเป็นพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงโดยเฉพาะโปรตีน น้ำมัน และเส้นใย สามารถเสริมสร้าง
ความมน่ั คงทางอาหาร รายได้ การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ ด้านโครงการปรบั ปรงุ พนั ธุ์ถัว่ ลิสง ตอ้ งเร่ิมจากการใช้เชื้อ
พันธุกรรมที่หลากหลายเพ่ือใช้ในขั้นตอนการปรับปรงุ พันธุ์แบบมาตรฐานดั้งเดิม แต่ข้อมูลความหลากหลาย
ทางพนั ธุกรรมของถัว่ ลิสงยังมีอย่างจำกดั งานวจิ ยั นีม้ วี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม
ของพันธถุ์ ั่วลสิ ง 50 พนั ธ์ุ/สายพนั ธ์ุ/หมายเลขพนั ธ์ุ โดยอาศัยเทคนคิ เครอ่ื งหมายดเี อ็นเอเอสเอสอาร์ (Simple
Sequence Repeats; SSRs marker) จำนวน 13 เครื่องหมาย และตรวจสอบผลผลิตด้วยเทคนิคพอลิอะคริ
ลาไมด์อเิ ลก็ โตรโฟลิซิส (polyacrylamide gel electrophoresis; PAGE) พบวา่ ปรากฏแถบลายพมิ พท์ ั้งหมด
68 แถบ มีขนาด 100-750 ค่เู บส โดยทกุ ไพรเมอร์ให้แถบดเี อน็ เอที่ต่างกนั (Polymorphism) 54 แถบ คิดเป็น
ร้อยละ 79.41 เมอ่ื นำข้อมลู ดีเอน็ เอทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ค่าสมั ประสิทธิ์ความคล้ายคลึงทางพันธุกรรม พบว่า มีค่า
อยู่ระหว่าง 0.60-1.00 แล้วนำมาวิเคราะห์จัดกลุ่มด้วยวิธี UPGMA (Unweighted Pair Group Method
with Arithmetic Mean) และสร้างแผนภูมิต้นไม้แสดงความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมด้วยวิธีการของ SAHN
สามารถจดั กลมุ่ ถั่วลิสงได้ 2 กลุม่ ดงั น้ี กลมุ่ ท่ี 1 ประกอบด้วยเย่อื ห้มุ เมลด็ สีแดง กลมุ่ ท่ี 2 ประกอบด้วยเย่ือหุ้ม
เมล็ดสีดำ แดง ชมพเู ข้ม ชมพู ชมพลู ายขีดม่วง ความหลากหลายทางพันธกุ รรมของถั่วลิสงดว้ ยผลของการใช้
เครือ่ งหมายเอสเอสอาร์เหล่านี้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบความผนั แปรทางพันธุกรรมของต้น
ถั่วลิสงท่ีก่อกลายพันธแ์ุ ละใชใ้ นการวางแผนงานวจิ ยั โครงการปรับปรุงพนั ธถ์ุ ั่วลสิ งตอ่ ไป
คำสำคญั : ความหลากหลายทางพันธกุ รรม ถ่ัวลิสง เคร่ืองหมายเอสเอสอาร์

คำนำ
ถั่วลิสง (Arachis hypogaea) เป็นหนึ่งพืชตระกูลถ่ัวที่สามารถปลูกได้ตลอดปี พื้นที่ปลกู กระจายทว่ั
ทุกภาคของประเทศ ในปี 2562/63 มีพื้นที่ปลูกถั่วลิสง 9.3 หมื่นไร่ ผลผลิตรวม 3.1 หมื่นตัน ผลผลิตเฉล่ีย
333 กิโลกรัมต่อไร่ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563) เกษตรกรมักปลูกเป็นพืชหมุนเวียน เป็นพืชเสริม
รายได้ใหเ้ กษตรกร และเปน็ พชื ให้ให้ความอุดมสมบูรณ์แก่ดนิ ด้วย ถ่ัวลสิ งจดั อยใู่ นกลมุ่ พชื ท่ผี ลิตไม่เพียงพอกับ
ความต้องการใช้ภายในประเทศ เพราะถั่วลิสงเป้นที่บริโภคง่าย เป็นส่วนประกอบทั้งอาหารคาวและหวาน
เมลด็ ถว่ั ลิสงประกอบด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ มีกรดไขมนั ท่ีมีคณุ ภาพดแี ละจำเปน็ ตอ่ ร่างกาย มโี ปรตีนสูง
เทียบเคียงกับปริมาณโปรตีนในเนื้อสัตว์ แต่ราคาถูกกว่า เยื่อหุ้มเมล็ดถั่วลิสงเป็นส่วนทีถ่ ูกแยกทิ้งในขั้นตอน
การแปรรูป แต่ส่วนนี้เป็นส่วนประกอบด้วยสารพฤกษเคมีที่มีประโยชน์สามารถต้านการเกิดออกซิเดชั่นได้

1ศูนยว์ ิจัยพืชไรข่ อนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน่

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

545

(ประสาน และคณะ, 2554) การปรบั ปรุงพันธุถ์ วั่ ลิสงตอ้ งคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภคและเกษตร ซ่ึงจะ
สำเร็จตามวัตถุประสงค์ได้นัน้ ต้องเริ่มจากการมีข้อมูลความหลากหลายทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในกระบวนการ
ปรับปรุงพนั ธุแ์ บบมาตรฐานดั้งเดิม (conventional breeding) การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวทิ ยาและพฤษ
ศาสตร์ จากลักษณะทีป่ รากฏออกมานัน้ มักผันแปรไปตามสภาพแวดล้อมท่ีเปลยี่ นแปลงไป ทำใหล้ กั ษณะต่างๆ
มีความคลา้ ยคลงึ กนั มาก ไมส่ ามารถแยกความแตกต่างได้อย่างถูกต้องและแมน่ ยำดว้ ยสายตา เครือ่ งหมายเอส
เอสอาร์เป็นเครื่องหมายดีเอ็นเอที่ได้รับการยอมรับในการนำมาใช้ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของ
พันธุเ์ นื่องจากมีจำนวนมากและกระจายตัวทัว่ จีโนม มีความแตกต่างของดเี อ็นเอ (polymorphism) สูงในพืช
ระดับประชากร (Population) ระดับชนิด (species) หรือระดับสายพันธุ์ (Breeding Lines) เป็น
codominant มีความเสถียรภาพสูง และสามารถทำซ้ำได้ง่าย (Heyden and Sharp, 2001) เครื่องหมายดี
เอ็นเอมีความสัมพันธ์กับความผันแปรลักษณะปรากฏ (phenotype variation) จึงเป็นเครื่องมือที่มี
ประสิทธิภาพในการคัดเลือกพนั ธ์ใุ นขัน้ ตอนการปรับปรุงพนั ธ์ุ (จิราพร และคณะ, 2563) ข้อมลู ทางพันธุกรรม
ท่ีไดม้ าจากเครื่องหมายเอสเอสอารถ์ กู นำไปใช้ในการจดั กลุ่มหมายเลขพันธ์ุ (accession) และประเมินความผัน
แปรทางพันธุกรรมในพันธุ์ถั่วลิสง (Hopkin et al., 1999; Moretzsohn et al., 2004) ดังนั้นการนำ
เครอื่ งหมายเอสเอสอาร์มาใช้ศึกษาความหลากหลายทางพนั ธุกรรมของถั่วลิสงในงานวจิ ัยนี้คาดว่าจะได้ข้อมูล
ทางพันธกุ รรมของถั่วลสิ ง โดยไมม่ อี ิทธพิ ลจากปจั จยั ด้านสภาพแวดล้อมเก่ยี วข้อง

วธิ ดี ำเนนิ การ
อปุ กรณ์

วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื สำหรับการเพมิ่ ปรมิ าณดเี อ็นเอและการตรวจสอบผลผลติ พซี อี าร์
- เครอ่ื งเพ่ิมปรมิ าณสารพนั ธุกรรมด้วยเทคนิคพีซีอาร์
- เครอ่ื งแยกขนาดดเี อน็ เอดว้ ยกระแสไฟฟา้ แบบแนวนอน
- เครื่องปัน่ แยกสารควบคุมอณุ หภูมไิ ด้ชนิดตง้ั โต๊ะ
- เครื่องดูดจ่ายสารละลาย

ชุดนำ้ ยาและสารเคมีท่ใี ช้สำหรบั งานดา้ นเครือ่ งหมายโมเลกลุ
กลอ้ งถา่ ยภาพ
วธิ ีการ
การเตรยี มตวั อย่างและการสกัดดีเอ็นเอ
พันธุ์ถั่วลิสงที่สามารถรวบรวมได้ในการทดลองนี้มีทั้งหมด 50 พันธ์ุ/สายพันธ์ุ/หมายเลขพันธ์ุ
ประกอบดว้ ย ถั่วลิสงพนั ธ์ุรบั รองและพันธ์ุแนะนำของกรมวิชาการเกษตร 13 พันธุ์ ถ่ัวลสิ งที่ปรับปรุงพันธุ์จาก
มหาวิทยาลัยขอนแกน่ 1 พนั ธ์ุ ถ่ัวลสิ งที่ขายในตลาด 1 พนั ธ์ุ ถว่ั ลิสงที่ปรบั ปรงุ พันธ์ุจากศนู ย์วิจยั พืชไรข่ อนแกน่
27 สายพันธ์ุ ถั่วลิสงจากธนาคารเชื้อพนั ธุกรรม กรมวิชาการเกษตร 3 หมายเลขพันธ์ุ ถั่วลิสงจากสถาบันวิจัย
พืชนานาชาติเขตกึ่งร้อนและแห้งแล้ง (ICRISAT) 5 หมายเลขพันธ์ุ คัดเลือกเมล็ดที่สมบูรณ์ตัวอย่างละ 20
เมล็ด นำมาเพาะให้งอกเป็นต้นกล้า ตัดใบอ่อนมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ประมาณ 0.1 กรัม ใส่ลงในโกร่งที่มี

546

ไนโตรเจนเหลว บดให้ละเอยี ดเป็นผงแลว้ ใช้ชดุ นำ้ ยาสกดั ดีเอ็นเอสำเรจ็ รูป (DNA extraction GF-1, Vivantis)
จากน้ันตรวจสอบคณุ ภาพสารละลายดีเอน็ เอทส่ี กัดได้การวดั คา่ การดดู กลนื แสง
การเพมิ่ ปรมิ าณดีเอ็นเอด้วยเทคนคิ PCR ด้วยเครอ่ื งหมายเอสเอสอาร์

นำตัวอย่างดีเอ็นเอที่สกัดได้มาเพิม่ ปริมาณดีเอน็ เอด้วยเทคนิค PCR เพื่อเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอโดยใช้
เครือ่ งหมายเอสเอสอาร์ จำนวน 13 เครอ่ื งหมาย (He et al., 2003; Guohao et al., 2005; Yoshiki et al.,
2008) (ตารางที่ 1) การเตรียมปฏิกิริยาเพื่อเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอปริมาตรสุทธิ 20 ไมโครลิตร มีส่วนประกอบ
ของสารลาย ดังนี้ ดีเอ็นเอต้นแบบความเข้มข้น 50 นาโนกรัม สารละลายบัฟเฟอร์ความเข้มข้น 1X
สารละลาย dNTP ความเข้มข้น 100 ไม่โครโมล ไพรเมอร์ฟอร์เวิร์ดความเข้มข้น 0.5 ไมโครโมล ไพรเมอร์รี
เวิรส์ ความเข้มข้น 0.5 ไมโครโมล สารละลายแมกนเี ซยี มคลอไรด์ความเข้มข้น 2.5 มิลลโิ มล และเอนไซม์ Taq
DNA polymerase ความเข้มข้น 0.3 unit มีขั้นตอนการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วยเทคนิค PCR ดังนี้ ขั้นที่ 1
Pre-denature 94 องศาเซลเซียส 5 นาที ขั้นตอนที่ 2 Denature 94 องศาเซลเซียส 30 วินาที ขั้นตอนที่ 3
Annealing 55 องศาเซลเซียส 30 วินาที ขั้นตอนที่ 4 Extension 72 องศาเซลเซียส 1 นาที ขั้นตอนที่ 5
Final extension 72 องศาเซลเซยี ส 7 นาที โดยทำซำ้ ในขั้นตอนท่ี 2 ถงึ 4 จำนวน 35 รอบ ตรวจสอบผลผลิต
โดยใช้เจลพอลอิ ะครลิ าไมด์ ความเข้มขน้ 4.5 เปอร์เซ็นต์ ในบัฟเฟอร์ความเข้มข้น 0.5x TBE ใช้กระแสไฟฟ้า
50 โวลต์ นาน 3 ชั่วโมง นำมาย้อมแถบดีเอ็นเอด้วยซิลเวอร์ไนเตรต และนำแผ่นกระจกมาบันทึกภาพเพ่ือ
นำไปวเิ คราะหผ์ ล
การวิเคราะหข์ ้อมลู

พิจารณาภาพถ่ายแถบดีเอ็นเอโดยการเปรียบเทียบดีเอ็นเอที่อยู่ตำแหน่งเดียวกันทุกตำแหน่ง ถ้ามี
แถบดีเอน็ เอปรากฏให้สญั ลักษณ์ “1” ถา้ ไมม่ แี ถบดเี อ็นเอปรากฏให้สญั ลกั ษณ์ “0” บนั ทึกข้อมูลทุกตำแหน่ง
ของแถบดีเอน็ เอในแต่ละไพรเมอร์ท่ีใช้ แล้วนำข้อมลู ทไ่ี ดเ้ ปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกต่างของแถบ
ดีเอ็นเอทั้งหมดมาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างถั่วลิสงแต่ละพันธุ์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป NTSYSpc
version 2.1p หาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมโดยใช้ simple matching, Jaccard coefficients และสร้าง
แผนภูมคิ วามสมั พันธ์ดว้ ยวธิ กี ารจัดกลมุ่ แบบค่าเฉล่ียเลขคณิต UPGMA (Unweighted Pair Group Method
with Arithmetic Mean)

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
การวิเคราะหข์ อ้ มูลดีเอน็ เอ

การเพมิ่ ปรมิ าณดีเอน็ เอด้วยเทคนิค PCR โดยใชเ้ ครื่องหมายเอสเอสอาร์ 13 ไพรเมอร์ และตรวจสอบ
ผลผลิตด้วยเทคนิคพอลิอะคริลาไมด์อิเล็กโตรโฟลิซิส (polyacrylamide gel electrophoresis; PAGE) พบ
แถบดเี อ็นเอจำนวนทัง้ สนิ้ 68 แถบ เฉลีย่ 5 แถบต่อเครอื่ งหมาย ไพรเมอร์ที่ใหแ้ ถบดีเอ็นเอมากท่ีสุดคือ PM3
ใหแ้ ถบดเี อ็นเอทั้งส้นิ 12 แถบ คิดเป็นร้อยละ 17.74 และไพรเมอร์ทใี่ หแ้ ถบดีเอน็ เอน้อยทีส่ ุดคอื PM375 และ
Pmc297 ให้แถบดเี อน็ เออย่างละ 2 แถบ คดิ เปน็ ร้อยละ 2.94 ขนาดแถบดเี อ็นเอทีไ่ ด้มีขนาดตัง้ แต่ 100-750

547

คูเ่ บส ทกุ คไู่ พรเมอร์ให้แถบดเี อน็ เอท่แี ตกตา่ งระหว่างตวั อย่าง (Polymorphism) จำนวน 54 แถบ คิดเป็นรอ้ ย
ละ 79.42 ของดีเอน็ เอทง้ั หมด (ตารางท่ี 1)
การวเิ คราะห์ความหลากหลายทางพันธกุ รรม

นำข้อมูลดีเอ็นเอที่ได้มาวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์ความใกล้ชิดทางพันธุกรรม พบว่า มีค่าอยู่ระหว่าง
0.60-1.00 แล้วนำมาสร้างแผนภูมิความสัมพันธ์ทางพันธกุ รรม สามารถแบง่ กลุ่มได้ (ภาพที่ 1) 2 กลุ่ม ที่มีค่า
สัมประสิทธิค์ วามใกล้ชิดทางพนั ธกุ รรมระหว่างกลุม่ เท่ากบั 0.60 กลุ่มที่ 1 มีอยู่ 2 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ขอนแก่น
และ กาฬสนิ ธุ์ 1 มเี ย่อื หุ้มเมล็ดมีแดง ค่าสัมประสิทธิ์ความใกลช้ ิดทางพนั ธกุ รรมในกลุ่มเท่ากับ 0.78 กลุ่มที่ 2
ประกอบด้วย 48 พันธุ์/สายพันธุ์/หมายเลขพนั ธ์ุ มีค่าสมั ประสิทธิ์ความใกลช้ ดิ ทางพนั ธกุ รรมเท่ากับ 0.63-1.00
แบ่งออกเปน็ 2 กลุ่มยอ่ ย กลุม่ ยอ่ ยที่ 1 ประกอบดว้ ย 25 พันธ์ุ/สายพันธ์ุ/หมายเลขพนั ธ์ุ มีค่าสมั ประสิทธ์คิ วาม
ใกล้ชิดทางพันธุกรรมเท่ากับ 0.68 เป็นกลุ่มที่ถั่วลิสงมีเยื่อหุ้มเมล็ดมีสีแดง ชมพูเข้ม และชมพู มีสายพันธ์ุ
KKBNM54-12-5 และ KKBNM54-12-9 มีค่าสัมประสิทธิค์ วามใกลช้ ิดทางพันธุกรรมเท่ากับ 1.00 คาดว่าเป็น
พันธุ์เดียวกัน กลุ่มย่อยที่ 2 ประกอบด้วย 23 พันธุ์/สายพันธุ์/หมายเลขพนั ธุ์ ค่าสัมประสทิ ธิ์ความใกล้ชิดทาง
พนั ธุกรรมเท่ากับ 0.65 กลมุ่ นี้เยอ่ื หมุ้ เมล็ดมีสีดำ ชมพลู ายขีดม่วง และชมพู ซ่งึ มีสายพนั ธุ์ KKFC19-20 และ
KKFC19-21 มีค่าสัมประสิทธิ์ความใกล้ชิดทางพันธุกรรมเท่ากับ 1.00 คาดว่าเป็นพันธุ์เดียวกัน พิจารณา
ภายในกลุ่ม พบว่า พันธุ์กาฬสนิ ธุ์ 2 ICGV36388 และ เพชรดำ ซึ่งมีเยื่อหุ้มเมล็ดสีดำ และชมพูลายขีดม่วง มี
ความแตกตา่ งมากทีส่ ุด มีค่าสมั ประสทิ ธิ์ความใกลช้ ิดทางพันธุกรรมเท่ากบั 0.65

548

ตารางท่ี 1 ลำดับโอลโิ กนวิ คลีโอไทด์ของเครือ่ งหมายเอสเอสอาร์และแถบดีเอน็ เอที่ได้จากการเพิม่ ปริมาณดีเอน็ เอ

คูไ่ พรเมอร์ ลำดับโอลิโกนวิ คลโี อไทด์ (5' - 3') จำนวนแถบ จำนวนแถบ เปอร์เซน็ ต์แถบ ขนาดชองแถบ
ท้ังหมด พอลิมอฟิซมึ พอลมิ อฟิซึม ดเี อ็นเอ (bp)

PM3 F: GAAAGAAATTATACACTCCAATTATGC 12 12 100 250-750
PM15 R: CGGCATGACAGCTCTATGTT 5 2 40 100-188
PM50 F: CCTTTTCTAACACATTCACACATGA 2 2 100 100-123
PM137 R: CAATTCATGATAGTATTTTATTGGACA 8 8 100 110-160
PM204 CAATTCATGATAGTATTTTATTGGACA 5 2 40 200-250
PM238 CTTTCTCCTCCCCAATTTGA 5 5 100 155-170
PM375 AACCAATTCAACAAACCCAGT 2 2 100 120-140
PM384 GAAGATGGATGAAAACGGATG 3 2 66.67 100-130
Pmc297 TGGGCCTAAACCCAACCTAT 2 2 100 230-260
Ahm013 CCACAAACAGTGCAGCAATC 3 3 100 180-210
Ahm082 CTCTCCTCTGCTCTGCACTG 5 2 40 200-250
PM32 ACAAGAACATGGGGATGAAGA 7 4 57.14 100-350
PM35 CGGCAACAGTTTTGATGGTT 9 6 66.67 120-520
GAAAAATATGCCGCCGTTG 68 54 79.41
GGCGTGCCAATAGAGGTTTA
TGAAAACCAACAAGTTTAGTCTCTCT
ATGCACCTGCAAGTGAAGAG
TCAAGGATGCAGCAAGACAC
TCACTTTGCATTTTCAGGTC
CCCAGATGAAAACAATCGAAG
GGTCACTCTCTCTCGCAAGC
GAGCAACAGTGAAACGACGA
AGTGTTGGGTGTGAAAGTGGGGGACT
CGGAACAGTGTTTATC
TGTGAAACCAAATCACTTTCATTC
TGGTGAAAAGAAAGGGGAAA

รวม

549

ภาพที่ 1 แผนภูมิความสัมพนั ธ์ทางพันธกุ รรมในถว่ั ลิสง 50 พันธุ์/สายพันธ/์ุ หมายเลขพันธ์ุ ทไ่ี ดจ้ ากเครอ่ื งหมาย
เอสเอสอารจ์ ำนวน 13 เคร่อื งหมาย โดยการจัดกลุม่ ด้วยวธิ ี UPGMA

สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
การศึกษาความหลายหลายทางพันธุกรรมทางพนั ธกุ รรมด้วยเคร่ืองหมายเอสเอสอาร์นั้นเป็นวิธีการที่
ได้รับการยอมรบั อย่างกว้างขวาง เนอ่ื งจากมีความสะดวก รวดเรว็ และบง่ ชค้ี วามแมน่ ยำของการจำแนกความ
หลากหลายทางพันธุกรรมของพืชได้ โดยเฉพาะลักษณะทางปรมิ าณ (Quantitative trait) ซึ่งถูกควบคุมด้วย
ยีนหลายชนิด หลายตำแหน่ง หรือแม้กระทั่งยีนที่มีลักษณะแบบข่มร่วม (codominant) ผลการศึกษาความ
หลากหลายทางพันธุกรรมถั่วลิสง 50 พันธ์ุ/สายพันธ์ุ/หมายเลขพันธุ์ ด้วยเครื่องหมายเอสเอสอาร์นี้ ทำให้
สามารถจัดกลุ่มถั่วลิสงออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ โดยกลุ่มแรกประกอบด้วยถัว่ ลิสงที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดมีสีแดง ได้แก่
พันธ์ขุ อนแก่น และกาฬสินธ์ุ 1 ซ่งึ ท้งั สองเป็นพันธแุ์ นะนำของกรมวิชาการเกษตร นอกจากมีสเี ยอ่ื หมุ้ เปน็ สีแดง
แล้ว ยงั มลี ักษณะเดน่ ที่เหมือนกัน คอื ทรงต้นเป็นพมุ่ ตง้ั ตรง ตดิ ฝักกระจุกที่โคนตน้ เปลอื กฝกั ค่อนข้างเรียบ มี
3-4 เมล็ดต่อฝัก เหมาะสำหรับใช้บริโภคในรูปถั่วฝักต้ม (สมจินตนา, 2541; สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร
เขตท่ี 3, 2560) กล่มุ ท่ี 2 แบ่งเป็น 2 กล่มุ ยอ่ ย กลุ่มยอ่ ยท่ี 1 มเี ย่ือห้มุ เมลด็ มเี ยื่อห้มุ เมลด็ สีแดง ชมพูเข้ม และ
ชมพู เปน็ ถ่วั ลสิ งพันธ์รุ ับรองและแนะนำของกรมวชิ าการเกษตร 9 พนั ธุ์ ถัว่ ลสิ งทป่ี รับปรุงพนั ธจุ์ ากศูนย์วจิ ยั พืช
ไรข่ อนแก่น 13 สายพันธุ์ ถวั่ ลิสงจากธนาคารเชื้อพนั ธกุ รรม กรมวิชาการเกษตร และสถาบนั วจิ ยั พืชนานาชาติ
เขตกึ่งร้อนและแห้งแล้ง (ICRISAT) 1 และ 2 หมายเลขพันธุ์ ตามลำดับ เป็นที่สังเกตว่าพันธุ์สข.38 มีเยื่อหุ้ม
เมล็ดสีแดง แต่มีความใกล้ชิดทางพันธุกรรมกับพันธุ์ขอนแก่น 60-2 ที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดมีชมพู ซึ่งทั้ง 2 พันธ์ุ

550

ดงั กล่าว มลี กั ษณะเดน่ อนื่ ทค่ี ลา้ ยกันกัน คือ ฝักมขี นาดยาว มีเมล็ด 3-4 เมล็ด เหมาะสำหรบั ใชบ้ ริโภคสด (สม
จนิ ตนา, 2530; สมจินตนา, 2536) กลมุ่ ย่อยท่ี 2 มเี ย่อื หุม้ เมล็ดเยื่อหมุ้ เมลด็ มีสีดำ ชมพลู ายขดี ม่วง และชมพู
ภายในกลุ่มยอ่ ยมีถว่ั ลสิ งทม่ี ีความแตกตา่ งกันมากท่ีสดุ คอื ถ่วั ลสิ งพนั ธก์ุ าฬสินธุ์ 2 หรือเปน็ ท่รี ู้จักในช่ือถ่ัวลิสง
ลายเสือ ถั่วพระราชทาน ถว่ั ราชินี เปน็ ถั่วลิสงพนั ธ์ุแนะนำของกรมวชิ าการเกษตร มเี ยอ่ื หุม้ เมลด็ สีชมพูลายขีด
ม่วง นิยมนำบริโภคในรูปถั่วฝักต้ม ถั่วลิสง ICGV86388 ซึ่งมาจากสถาบันวิจัยพืชนานาชาติเขตกึ่งร้อนและ
แห้งแล้ง และพันธุ์เพชรดำที่ขายในตลาดมีเยื่อหุ้มเมล็ดสีดำ มีรายงานพบปริมาณสารประกอบฟีนอลลิก
ทั้งหมด (Total phenolic content) และสารต้านอนมุ ูลอิสระ (antioxidant capacity) ในเยื่อหุ้มเมล็ดสีดำ
ของถั่วลสิ งมีมากกวา่ เยือ่ หุ้มเมล็ดสีแดง (Attree et al., 2015) สารนี้เป็นโภชนเภสชั มีสรรพคุณที่ดีต่อสุขภาพ
สามารถป้องกันโรคต่างๆ โดยเฉพาะโรคหัวใจขาดเลือดและมะเร็ง (Awad et al., 2000; Feldman, 1999)
ถั่วลิสงพันธุข์ อนแก่น 6 เป็นอีกพันธุ์หนึ่งที่มีความแตกต่างภายในกลุ่ม แม้ว่าเป็นพันธุท์ ี่มีเยื่อหุ้มสีชมพู แต่มี
ลกั ษณะเดน่ คือ ทรงพมุ่ แผก่ ว้าง รูปแบบการแตกก่ิงแบบสลับไม่มีตาดอกบนลำต้น (สำนกั วิจยั และพัฒนาการ
เกษตรเขตที่ 3, 2560) จากผลการวิจัยเห็นได้ว่ามีกลุ่มที่จัดได้จากข้อมูลของเครื่องหมายเอสเอสอาร์มี
ความสัมพันธ์กบั สขี องเยื่อหุ้มเมล็ดเปน็ สำคญั ซงึ่ สีของเยอ่ื หุม้ เมล็ดถั่วลิสงสามารถใช้เป็นดัชนีช้ีวัดทางชีวภาพ
(Biomarker) ของปริมาณสารประกอบฟีนอลลิกทั้งหมด (Total phenolic content) และสารต้านอนุมูล
อิสระ (antioxidant capacity) ได้ (Chukwumah et al., 2009) เห็นได้ว่าเครื่องหมายดีเอ็นเอที่นำมาใช้
งานวิจยั มคี วามสัมพนั ธก์ ับลักษณะของสีเย่ือหุ้มเมล็ดทป่ี รากฏ เช่นเดยี วกบั ผลของการศึกษาลักษณะทางฟีโน
ไทป์และจโี นไทปใ์ นดาวเรืองอเมรกิ าสายพันธ์แุ ท้ โดยใช้เครื่องหมายเอสเอสอาร์จำนวน 31 เครือ่ งหมาย พบว่า
สามารถจดั กลมุ่ ได้ 2 กลุม่ ใหญ่ ซึง่ มีความสอดคล้องกับความแตกตา่ งในลกั ษณะดอก (ศราวธุ และคณะ, 2563)
มีรายงานผลวิจัยการใช้เครื่องหมายเอสเอสอาร์จัดกลุ่มพันธุ์ถั่วลิสง พบว่า สามารถใช้ 8 เครื่องหมายเอส
เอสอาร์ในการจดั กลมุ่ พนั ธุ์ถว่ั ลิสงและสอดคล้องกบั ลักษณะทางพฤษศาสตร์ (Guohao et al, 2005) รายงาน
ผลการศกึ ษาความสมั พันธท์ างพันธกุ รรมของเช้ือพันธุกรรมถั่วลิสงจำนวน 150 จโี นไทปโ์ ดยใชเ้ ครอื่ งหมายเอส
เอสอาร์ 13 เครื่องหมาย พบว่า สามารถแบ่งกลุ่มได้ดังนี้ เป็นกลุ่มแรกประกอบด้วยหมายเลขเฉพาะ
(accession) ของ A. fastigiata เป็นส่วนใหญ่ กลุ่มที่สองประกอบด้วยหมายเลขเฉพาะ (accession) ของ A.
hypogaea และถว่ั ลสิ งพ้ืนเมือง ของ A. monticola (Yoshiki et al., 2008)

เอกสารอา้ งอิง

จิราพร แก่นทรัพย์ ประเสริฐ วงศ์วัฒนารัตน์ และขนิษฐา วงศ์วัฒนารัตน์. 2563. เครื่องหมายดีเอ็นเอสำหรับคัดเลือกพืช
ต้านทานโรค. วารสารวิชาการเกษตร 38(2): 207-222.

ประสาน สวัสดิ์ซิตัง พรนภา ชื่นชม และสนั่น จอกลอย. 2554. ความสามารถในการต้านออกซิเดชันและปริมาณสารฟีโน
ลิครวมของเย่ือฃองหุ้มเมล็ดถั่วลิสง. แก่นเกษตร 39(ฉบับพเิ ศษ 3): 48-52.

ศราวุธ นันต๊ะภูมิ สิทธิชัย พีระภาสกร และพรพันธ์ ภู่พร้อมพันธ์ุ. 2563. การวิเคราะห์ลักษณะฟีโนไทป์และจีโนไทป์ใน
ดาวเรอื งอเมริกาสายพันธ์แุ ท้. การเกษตรราชภฏั 19(2): 31-37.

สมจินตนา ทุมแสน. 2530. ถั่วลิสงพันธุ์ TMV3 หรือ พันธุ์ขอนแก่น 60-2. เอกสารประกอบการพจิ ารณาใหเ้ ป็นพันธุร์ ับรอง
กรมวิชาการเกษตร. ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไร่ขอนแก่น สถาบนั วิจัยพชื ไร่ กรมวชิ าการเกษตร. 1-22.

551

สมจนิ ตนา ทมุ แสน. 2536. การปรับปรุงพันธุ์ถ่ัวลิสง. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลกั สูตรการใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือเพ่ิมผลผลิต
ถว่ั ลสิ ง. ศนู ย์วจิ ัยพืชไร่ขอนแกน่ . 26-36.

สมจินตนา ทุมแสน. 2544. ถั่วลิสงพันธุ์ KAC 1 หรือพันธุ์กาฬสินธุ์ 1 พันธุ์ KAC 431 หรือพันธุ์กาฬสินธุ์ 2. เอกสาร
ประกอบการพิจารณาให้เป็นพันธุ์แนะนำ กรมวิชาการเกษตร. ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรม
วิชาการเกษตร. 1-23.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2563. สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตรรายสินค้า ปี 2562. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 1-11.

สำนักวิจัยและพฒั นาการเกษตรเขตที่ 3. 2560. เทคโนโลยกี ารผลิตถัว่ ลิสงในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน. ข้อมูล
องค์ความรู้ใหม่ 1-53. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2563 จาก http://oard3.doa.go.th/oard3/KM2560/
KM21092560.pdf.

Attree, R., B. Du, and X. Baojun. 2015. Distrubution of phenolic compounds in seed coat and cotyledon, and
their contribution to antioxidant capacities of red and blank seed coat penuts (Arachis hypogaea
L.). Industrial Crops and Products 67: 448-456.

Awad, A.B., K.C. Chan, A.C. Downie, and C.S. Fink. 2000. Peanuts as a source of ß-sitosterol, a sterol with
anticancer properties. Nutrition and Cancer 36: 238-241.

Chukwumah, Y., L.T. Walker and M.J. Verghse. Peanut skin color: a biomarker for total polyphenolic content
and antioxidative capacities of peanut cultivars. International Journal of Molecular Sciences 10:
4941-4952.

Feldman, E.B. 1999. Assorted monounsaturated fatty acids promote healthy hearts. The American Journal
of Clinical Nutrition 70: 953-954.

Guohao, H., M. Ronghua, G. Hui, G. Baozhu, G. Guoqing, N. Melanie, N.P. Roy and C.S. Prakash. 2005. Simple
sequence repeat markers for botanical varieties of cultivated peanut (Arachis hypogaea L.).
Euphytica 142: 131-136.

He, G., R. Meng, M. Newman, G. Gao, R.N. Pittman, and C.S. Prakash. 2003. Microsatellites as DNA markers in
cultivated peanut (Arachis hypogaea L.). BMC Plant Biology 3(3): 1-6.

He, G., R. Meng, H. Geo, B.Guo, G. Gao, M. Newman, R.N. Pittman and C.S. Prakash. 2005. Simple sequence
repeat markers for botanical varieties of cultivated peanut (Arachis hypogaea L.). Euphytica 142: 131-136.

Heyden, M.J. and P.J. Sharp. 2001. Target development of informative Microsatellite (SSR) markers. Nucleic
Acids Research 29(8): 44-48.

Hopkins, M.S., A.M. Casa, , T. Wang, S.E. Mitchell, R.E. Dean, G.D. Kochert, and S. Kresovich. 1999. Discovery
and characterization of polymorphic simple Sequence repeat (SSRs) in peanut. Crop Science 39:
1243-1247.

Moretzsohn, M.C., M.S. Hopkins, S.E. Mitchell, S. Kresovich, J.F. Vall and M.E. Ferreira. 2004. Genetic diversity
of peanut (Arachis hypogaea L.) and its wild relation based on the analysis of hypervariable region
of the genome. BMC Plant Biology 4(11): 1-10.

Yoshiki, N., S. Shigeru, I. Yoshiharu and K. Tsutomu. 2008. Genetic diversity and relationship analysis of
peanut germplasm using SSR markers. Breeding Science 58: 293-300.

552

การขยายผลการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลิตถวั่ ลิสงในจังหวัดขอนแก่น

ภาคภมู ิ ถ่นิ คำ 1* วุฒพิ ล จนั ทร์สระค2ู กลวชั ร ทมิ นิ กุล3 ชยนั ต์ ภกั ดีไทย1 และเนติรฐั ชุมสวุ รรณ1

รายงานความก้าวหนา้
การขยายผลการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงในจังหวัดขอนแก่นดำเนินการคัดเลือกเกษตรกรต้นแบบทำ
แปลงต้นแบบจำนวน 10 แปลง เกบ็ ตัวอยา่ งดนิ สง่ วเิ คราะห์ เกษตรกรดำเนนิ การเตรยี มแปลง และเริม่ ปลูกถั่ว
ลสิ งในฤดูแลง้ ในอำเภอนำ้ พองจำนวน 5 แปลง อำเภอชนบท 4 แปลง เพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถั่วลิสง
ของเกษตรกร สามารถผลิตถั่วลิสงไดค้ ุณภาพมาตรฐาน เกษตรกรอำเภอน้ำพองให้น้ำตามรอ่ งเฉล่ีย 4-5 ครง้ั
ใหผ้ ลผลิตฝกั สด 396-652 กิโลกรัม/ไร่ ส่วนเกษตรกรอำเภอชนบทมีการใหน้ ้ำหลายวิธีให้ผลผลิตฝักสด 238-
308 กิโลกรัม/ไร่
คำสำคัญ: การผลิตถัว่ ลสิ ง การใหน้ ้ำถ่ัวลสิ ง การใช้ปุ๋ยตามคา่ วเิ คราะห์ดินถ่ัวลสิ ง

คำนำ
ถ่ัวลสิ งเป็นพืชไรต่ ระกูลถ่ัวท่ีปลกู ไดต้ ลอดปี ในประเทศไทยมี 2 ระบบ คือ การปลกู ในฤดูฝน และฤดู
แล้งมีเกษตรกรที่เกี่ยวข้องกว่า 76,662 ครัวเรือน ปี 2559/60 ถั่วลิสงมีพื้นที่ปลูก 123,909 ไร่ ผลผลิตรวม
33,379 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 269 กิโลกรัมต่อไร่ (ศูนย์สารสนเทศการเกษตร, 2560) การปลูกถั่วลิสงไม่ไดป้ ลกู
เป็นพืชหลัก แต่ถวั่ ลิสงสามารถปลกู เป็นพืชรองทัง้ สภาพไร่ และสภาพนา เพอ่ื เสริมรายได้ให้เกษตรกรอีกทาง
หนงึ่ ปัญหาการผลติ ถว่ั ลสิ งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ผลผลติ ตำ่ การจัดการการให้นำ้ การเกดิ เมล็ดลีบ
การระบาดของโรคและแมลงศัตรู พื้นที่ปลูกและปริมาณการผลิตไม่แน่นอน ซึ่งมีผลกระทบจากปัจจัยหลาย
อย่าง เชน่ สภาพ พนื้ ที่ สภาพดินฟ้าอากาศ ราคาผลผลติ ในแต่ละปี นอกจากนยี้ งั พบปัญหาขาดแคลนเมล็ด
พันธุ์ที่ดีมีคุณภาพ โดยเฉพาะเมล็ดพันธุ์ถ่ัวลิสงที่จะใช้ปลูกในฤดูแล้งหลังนา ทำให้เมล็ดพันธุ์มีราคาแพง
(วรยุทธ, 2558) ในปี 2560 ราคาถั่วลิสง ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2561 ราคาถั่วลิสงฝักแห้งเฉลี่ยกโิ ลกรัมละ 38
บาท ราคาถั่วลิสงฝักสดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30 บาท สำหรับราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษเฉลี่ย
กิโลกรัมละ 60 บาท ส่วนถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51 บาท จากราคาที่กล่าว
ข้างต้น นับว่าถั่วลิสงมีมูลค่าทางการตลาดที่ค่อนข้างสูง แต่เกษตรกรกลับไม่มีแรงจูงใจในการปลูก เพราะ
ต้นทุนการผลิตสูง เกษตรกรจึงปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ผลตอบแทนดีกว่า จึงเป็นสาเหตุที่พื้นที่ปลูก
ลดลงในขณะที่มูลค่าเพิ่มสูงขึ้น การส่งเสริมการปลูกถั่วลิสงให้แกเกษตรกร ในช่วงเวลาหลังฤดูการเก็บเกี่ยว
ข้าวรวมกับเทคโนโลยีการให้น้ำในปริมาณที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของถั่วลิสงรวมกับการ

1ศูนยว์ ิจยั พชื ไร่ขอนแกน่ สถาบนั วิจยั พืชไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น
2ศนู ยว์ ิจยั เกษตรวิศวกรรมสรุ าษฎร์ธานี อำเภอทา่ ชนะ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
3ศูนย์วิจยั เกษตรวิศวกรรมขอนแก่น สถาบนั วจิ ยั พชื ไร่และพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน่

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

553

จัดการท่ดี ี สามารถช่วยเพ่ิมผลผลิต และคณุ ภาพถ่วั ลสิ ง ทำใหไ้ ด้ถวั่ ลิสงคุณภาพดเี พ่ิมมากข้ึน ดงั นั้นการขยาย
ผลสร้างแปลงต้นแบบการผลิตถั่วลิสง จึงเป็นแนวสร้างการเรียนรู้เพ่ือเพิ่มศักยภาพการปลูกถัว่ ลิสงให้คุ้มกบั
การลงทนุ

วิธดี ำเนนิ การ
สิ่งทใ่ี ชใ้ นการทดลอง

1. ถ่ัวลสิ งพันธแุ์ นะนำของกรมวชิ าการเกษตร
2. วัสดุการเกษตร เช่น ปุ๋ยเคมี ยิปซั่ม
3. สารเคมีต่าง ๆ เชน่ สารป้องกนั กำจัดวัชพชื สารป้องกนั กำจดั แมลง และสารปอ้ งกันกำจัดโรคพืช
4. เครอื่ งปลิดฝักถวั่ ลสิ ง 5. อปุ กรณท์ างการเกษตร เช่น มดี จอบ เข่ง ถังใส่ป๋ยุ เคมี
แบบและวธิ กี ารทดลอง
ดำเนินการในรูปแบบการถ่ายทอดความรู้และทำแปลงต้นแบบการผลิตถั่วลิสง โดยให้น้ำตามความ
ต้องการใช้น้ำของพืช โดยการคำนวณจากค่าสัมประสิทธิ์การใช้น้ำของถั่วลิสงใหน้ ้ำตามความตอ้ งการของถั่ว
ลิสง โดยใช้สมการ ETc = Kc x ETo (Doorenbos and Kassam ,1979) และค่าการคายระเหยน้ำของพืช
อ้างอิง คำนวณหาโดยวิธีเบลเนย์ และคริดเดิล (Blaney-Criddle) ค่าสัมประสิทธิ์การใช้น้ำ (Kc) (กาญจนา
และคณะ, 2560) ระบบน้ำรอ่ งดดั แปลงจากค่าสัมประสิทธ์ิการใช้น้ำของถว่ั ลิสงจากระบบน้ำหยด รวมกับการ
ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะหด์ ิน (กลุ่มปฐพีวิทยา กองวิจัยพฒั นาปัจจยั การผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร,
2561) และปลิดฝักโดยเครอ่ื งปลิดฝกั (กลวชั ร และคณะ, 2561) ในพ้นื ทเี่ กษตรกร จำนวน 10 ราย พ้ืนท่ีราย
ละ 1 ไร่ ในเขต อ.ซำสงู อ.น้ำพอง อ.เขาสวนกวาง อ.ชนบท จ.ขอนแก่น
วิธีปฏบิ ตั ิการทดลอง
1. คดั เลือกเกษตรกรต้นแบบทำแปลงต้นแบบ
2. ช้แี จงโครงการเกษตรกรเข้าร่วมกลุ่มผลิตถั่วลสิ ง
3. เกบ็ ตัวอยา่ งดินตรวจความอุดมสมบูรณข์ องดนิ ในห้องปฏิบัตกิ าร
4. เกษตรกรต้นแบบทำแปลงต้นแบบการผลิตถั่วลิสง โดยปฏิบัติตามคำแนะนำการผลิตถั่วลิสงของ
กรมวชิ าการเกษตร
5. จดั เสวนาแปลงต้นแบบ และประชาสมั พันธ์ เพอ่ื ขยายผลสรา้ งเครอื ขา่ ยไปยงั เกษตรกรกลุ่มอ่นื ๆ
การบันทกึ ขอ้ มูล
1. เก็บข้อมูลดิน ก่อนปลูก และหลังปลูก โดยเก็บข้อมูลด้านเนื้อดิน ค่าความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณ
อนิ ทรียวัตถุ ปรมิ าณฟอสฟอรัสท่เี ป็นประโยชน์ ปรมิ าณโพแทสเซียมท่แี ลกเปลย่ี นได้ค่าความต้องการปูน และ
ปริมาณธาตุอาหารรอง เช่น แคลเซยี ม เป็นตน้
2. เกบ็ ข้อมลู ดา้ นอตุ ุนิยมวิทยา สำหรบั ใชค้ ำนวณการให้น้ำ
3. ผลผลิตฝกั สด ฝักแห้ง ขนาด และคุณภาพเมล็ด ปรมิ าณสารอะฟลาทอกซินในเมลด็
4. ประเมนิ ผลความพึงพอใจของเกษตรกรผูผ้ ลติ ถ่วั ลสิ ง

554

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
ทำการคัดเลือกเกษตรกร ชี้แจงโครงการการผลิตถ่ัวลิสงคณุ ภาพ มีเกษตรกรเข้าร่วมจำนวน 10 ราย
รายละ 1 ไร่ อำเภอน้ำพอง อำเภอชนบท เกษตรกรเริ่มดำเนินการเตรียมแปลง และปลูกถั่วลิสงปลายเดือน
ธันวาคม ทำการเก็บตัวอย่างดินส่งวิเคราะห์ธาตุอาหารเพื่อใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ผลการวิเคราะห์ดิน
พบว่า แปลงเกษตรกรอำเภอน้ำพอง pH อยู่ระหว่าง 5.1-6.0 ค่าการน้ำไฟฟ้าของดิน (EC) อยู่ระหว่าง
0.0394-0.1278 dS/m ค่าอินทรียวัตถุในดิน (OM) 0.72-1.15 เปอร์เซ็นต์ ค่าฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ 7-
54 mg/kg ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 55-150 ppm แคลเซียม 261-818 ppm แมกนีเซียม 9-24
ppm แปลงเกษตรกรอำเภอชนบท pH อยู่ระหว่าง 5.1-5.6 คา่ การนำ้ ไฟฟา้ ของดนิ (EC) อยรู่ ะหวา่ ง 0.0727-
0.1488 dS/m ค่าอนิ ทรียวตั ถุในดิน (OM) 1.65-2.28 เปอร์เซน็ ต์ คา่ ฟอสฟอรสั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ 5-16 mg/kg
ปรมิ าณโพแทสเซยี มท่ีแลกเปลยี่ นได้ 179-253 ppm แคลเซยี ม 1,408-1,988 ppm แมกนีเซียม 49-68 ppm
(ตารางที่ 1) แปลงเกษตรกรทอี่ ำเภอน้ำพองได้คำแนะนำปุย๋ คือ 3-3-0 และใสโ่ ดโลไมท์หรือปนู ขาว อัตรา 100
กิโลกรัม/ไร่ จำนวน 1 แปลง 3-3-0 และไม่ใสโ่ ดโลไมท์หรอื ปนู ขาว อตั รา 100 กโิ ลกรมั /ไร่ จำนวน 1 แปลง 3-
3-3 จำนวน 1 แปลง 0-9-0 จำนวน 1 แปลง 0-6-0 จำนวน 1 แปลง ส่วนที่แปลงเกษตรกรที่อำเภอชนบทได้
คำแนะนำปยุ๋ คอื 0-3-0 และใสโ่ ดโลไมท์หรอื ปูนขาว อตั รา 100 กิโลกรมั /ไร่ จำนวน 1 แปลง 0-3-0 และไมใ่ ส่
โดโลไมท์หรือปูนขาว อัตรา 100 กิโลกรัม/ไร่ จำนวน 1 แปลง 0-9-0 และไม่ใส่โดโลไมท์หรือปูนขาว อัตรา
100 กิโลกรัม/ไร่จำนวน 1 แปลง 0-6-0 และไม่ใส่โดโลไมท์หรือปูนขาว อัตรา 100 กโิ ลกรัม/ไร่จำนวน 1 แปลง
(ตารางท่ี 2)
เกษตรกรอำเภอน้ำพองใช้พันธุ์ขอนแก่น 6 ซึ่งเป็นพนั ธุ์ท่ีใช้ในพื้นที่ มีการให้น้ำตามร่อง 4-5 ครั้งตอ่
แปลง ใช้ปริมาณน้ำ 20,160 – 35,760 ลิตร ให้ผลผลิตฝกั สด 396-652 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ เกษตรกรอำเภอชนบท
มีการใหน้ ำ้ พุ่ง และตามร่อง ซงึ่ การให้นำ้ พุง่ ไมส่ ามารถวดั ปริมารนำ้ ทีใ่ ห้ได้ ผลผลิตฝักสด 238-308 กิโลกรัมต่อ
ไร่ (ตารางท่ี 3) ดำเนินการขยายผลต่อให้อำเภอน้ำพอง และยกเลกิ ที่อำเภอชนบทย้ายมาขยายผลต่อท่ีอำเภอ
ซำสูงในปี 2564

555

ตารางที่ 1 ผลวิเคราะหด์ นิ แปลงเกษตรกร

Plot no. แปลง สถานที่ pH (1:1) EC % OM P K Ca Mg
dS/m mg/kg ppm ppm ppm

1 คณุ บญุ เตโพธิ์ อ.นำ้ พอง 5.5 0.0765 0.95 50 140 530 18

2 คณุ กสุ ุมา สชี มพู อ.น้ำพอง 5.1 0.0394 0.72 54 150 261 9

3 คุณ ละออง แสงรจู ี อ.น้ำพอง 5.9 0.0755 1.15 7 109 693 21

4 คุณ นติ ยา สีตาแสน อ.น้ำพอง 5.5 0.0740 0.83 49 55 509 16

5 คุณ ชาญชยั วงษ์ภูเย็น อ.น้ำพอง 6.0 0.1278 1.13 10 142 818 24

6 คุณ วริ ตั น์ วฒั นสขุ อ.ชนบท 5.6 0.1467 2.01 15 253 1951 66

7 คุณ สมนึก เกสร อ.ชนบท 5.1 0.1032 1.68 8 179 1408 49

8 คณุ อทุ ร กองเกดิ อ.ชนบท 5.2 0.0727 1.65 5 181 1673 56

9 คุณ บวั เรียน วฒั นสุข อ.ชนบท 5.4 0.1488 2.28 16 250 1988 68

ตารางที่ 2 คำแนะนำการใชป้ ุย๋

Plot no. แปลง สถานท่ี คำแนะนำป๋ยุ ตามคา่ วเิ คราะห์ดนิ ถ่วั ลิสง

อ.น้ำพอง N P2O5 K2O โดโลไมทห์ รือปูนขาว
อ.นำ้ พอง
อ.น้ำพอง คลกุ ไรโซเบียม ไมค่ ลุกโซเบียม อัตรา 100 กก./ไร่
อ.นำ้ พอง
1 คุณ บญุ เตโพธิ์ อ.น้ำพอง 0 3 3 0 ไมใ่ ส่
2 คุณ กสุ ุมา สีชมพู อ.ชนบท
3 คุณ ละออง แสงรูจี อ.ชนบท 0 3 30 ใส่
4 คณุ นติ ยา สีตาแสน อ.ชนบท
5 คุณ ชาญชัย วงษภ์ เู ย็น อ.ชนบท 0 0 9 0 ไมใ่ ส่
6 คุณ วริ ตั น์ วฒั นสุข
7 คุณ สมนึก เกสร 0 3 3 3 ไม่ใส่
8 คุณ อุทร กองเกิด
9 คุณ บวั เรยี น วฒั นสุข 0 0 6 0 ไมใ่ ส่

0 0 3 0 ไม่ใส่

0 0 60 ใส่

0 0 90 ใส่

0 0 30 ใส่

556

ตารางที่ 3 ปริมาณน้ำ จำนวนครง้ั ท่ีให้ ผลผลิตถ่วั ลิสง

Plot แปลง วิธีการให้น้ำ ปริมาณนำ้ ท่ีให้ จน.คร้ังให้น้ำ ผลผลิตสด/ไร่
(ลิตร) กก
no. 20,160 4 652

1 คณุ บญุ เตโพธ์ิ นำ้ คลองให้ตามร่อง เครือ่ งสบู น้ำ4นี้ว168ลิตรตอ่

2 คุณ กสุ มุ า สีชมพู นาที ใชเ้ วลา2ชม. 20,160 4 410
3 คณุ ละออง แสงรูจี น้ำคลองให้ตามร่อง เครื่องสูบน้ำ4นี้ว168ลิตรตอ่
นาที ใชเ้ วลา2ชม. 35,760 5 396
น้ำบาดาลใหต้ ามร่อง เครื่องสบู นำ้ 2นีว้ 149ลิตร
ต่อนาที ใช้เวลา4ชม.

4 คุณ นติ ยา สตี าแสน นำ้ คลองใหต้ ามร่อง เคร่อื งสูบน้ำ4นวี้ 168ลติ รตอ่ 20,160 4 552
นาที ใช้เวลา2ชม.
35,760 5 485
5 คุณ ชาญชยั วงษ์ภูเยน็ น้ำบาดาลใหต้ ามรอ่ ง เคร่อื งสบู น้ำ2นว้ี 149ลิตร

6 คณุ วริ ตั น์ วัฒนสขุ ตอ่ นาที ใช้เวลา4ชม. 20,160 - 244
น้ำคลองใหต้ ามรอ่ ง เครอ่ื งสูบนำ้ 4นีว้ 168ลิตรต่อ

7 คณุ สมนึก เกสร นาที ใช้เวลา2ชม. ไม่สามารถวดั ได้ - 308
8 คณุ อุทร กองเกิด ใชน้ ้ำพุ่ง - - -
- 4 238
20,160
9 คณุ บวั เรยี น วฒั นสุข นำ้ คลองให้ตามรอ่ ง เครอ่ื งสูบน้ำ4นี้ว168ลติ รตอ่
นาที ใชเ้ วลา2ชม.

สรปุ ผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
เกษตรกรที่อำเภอน้ำพองจากการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ให้ผลผลิตอยู่ระหว่าง 396 – 652
กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนเกษตรกรที่อำเภอชนบทจากการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ให้ผลผลิตอยู่ระหว่าง 238 –
308 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

เอกสารอา้ งองิ

กาญจนา กิระศักด์ิ ชยันต์ ภักดีไทย วฒุ พิ ล จันทรส์ ระคู และ วรยุทธ ศริ ิชมุ พันธ.์ 2560. ความต้องการน้ำและค่าสัมประสิทธ์ิ
การใช้น้ำของถั่วลิสงพันธุ์ไทนาน 9. ใน: การประชุมวิชาการพืชไร่วงศ์ถั่วแห่งชาติ ครั้งที่ 6.ระหว่างวันที่ 23-25
สิงหาคม 2560 ณ หอประชุมวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช(ไสใหญ่) อ.ทุ่งสง จ.
นครศรีธรรมราช. หน้า 150-156

กลวัชร ทิมนิ กลุ มงคล ต่นุ เฮา้ รังสิต ศริ มิ าลา ทองพูล โยธาทูล และ ประยรู จันทองออ่ น. 2556. วจิ ยั และพัฒนาเคร่ืองปลิด
ฝักถ่วั ลิสงในระดับเกษตรกร. ใน: ประชมุ วิชาการสมาคมวศิ วกรรมเกษตรแหง่ ประเทศไทยระดับชาติ คร้ังท่ี 14 และ
ระดับนานาชาติ ครง้ั ที่ 6 ประจำปี 2556. หนา้ 369-373

วรยุทธ ศริ ชิ มุ พันธ.์ุ 2558. วจิ ัยและพฒั นาถวั่ ลิสง.รายงานชุดโครงการวิจยั วจิ ยั และพัฒนาถัว่ ลิสง. กรมวชิ าการเกษตร.80 หน้า
ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร. 2560. สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สบื ค้นจาก
ssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/01/2.ppt.

557

การขยายผลการผลิตเมล็ดพันธุถ์ ่ัวลิสงในจังหวดั ขอนแกน่

ภาคภมู ิ ถน่ิ คำ1* วฒุ ิพล จันทรส์ ระค2ู กลวชั ร ทมิ นิ กลุ 3 ชยันต์ ภกั ดีไทย1 และเนติรฐั ชมุ สวุ รรณ1

รายงานความกา้ วหน้า
การขยายผลการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงในจังหวัดขอนแก่นดำเนินการคัดเลือกเกษตรกรต้นแบบทำ
แปลงต้นแบบจำนวน 10 แปลง เกบ็ ตวั อยา่ งดนิ สง่ วิเคราะห์ เกษตรกรดำเนนิ การเตรยี มแปลง และเริม่ ปลูกถั่ว
ลสิ งในฤดูแล้ง ในอำเภอนำ้ พองจำนวน 5 แปลง อำเภอซำสูง 5 แปลง ในการผลิตเมล็ดพันธ์ุถวั่ ลิสง ทอี่ ำเภอนำ้
พองมีการให้น้ำตามร่อง โดยใช้เครื่องสูบน้ำ ขนาดท่อ 4 นิ้ว เช่นเดียวกับที่อำเภอซำสูง ในการผลผลิตเมล็ด
พันธุ์ ที่อำเภอน้ำพองเกษตรกรให้น้ำเฉลี่ย 4-5 ครั้ง/แปลง ส่วนที่อำเภอซำสูงเกษตรกรให้น้ำเฉลี่ย 3 ครั้ง/
แปลง โดยการสูบน้ำพักไว้แล้วจึงปล่อยลงแปลง ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ก่อนปรับปรุงสภาพเฉลี่ย 216.9-681.6
กโิ ลกรมั /ไร่ 66.7-175.1 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ดำเนินการขยายผลตอ่ ในปี 2564
คำสำคญั : เมล็ดพันธุ์ถวั่ ลสิ ง การใหน้ ำ้ คณุ ภาพเมล็ดพนั ธุ์

คำนำ
ถว่ั ลิสงเปน็ พชื ไร่ตระกูลถวั่ ท่ปี ลูกได้ตลอดปี ในประเทศไทยมี 2 ระบบ คือ การปลูกในฤดูฝน และฤดู
แลง้ มเี กษตรกรท่เี ก่ียวข้องกว่า 76,662 ครวั เรือน ปี 2559/60 ถ่วั ลสิ งมพี ื้นที่ปลูก 123,909 ไร่ ผลผลิตรวม
33,379 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 269 กิโลกรัม ต่อไร่ (ศูนย์สารสนเทศการเกษตร, 2560) การปลูกถัว่ ลิสงไม่ได้ปลกู
เป็นพชื หลกั แต่ถ่ัวลิสงสามารถปลกู เปน็ พืชรองทง้ั สภาพไร่ และสภาพนา เพื่อเสรมิ รายได้ให้เกษตรกรอีกทาง
หนงึ่ ปญั หาการผลติ ถั่วลิสงในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ คือ ผลผลติ ตำ่ การจัดการการให้น้ำ การเกิดเมล็ดลีบ
การระบาดของโรคและแมลงศัตรู พื้นที่ปลูกและปริมาณการผลิตไม่แน่นอน ซึ่งมีผลกระทบจากปัจจัยหลาย
อยา่ ง เชน่ สภาพ พื้นที่ สภาพดินฟ้าอากาศ ราคาผลผลติ ในแตล่ ะปี นอกจากนี้ยังพบปัญหาขาดแคลนเมล็ด
พันธุ์ที่ดีมีคุณภาพ โดยเฉพาะเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงที่จะใช้ปลูกในฤดูแล้งหลังนา ทำให้เมล็ดพันธุ์มีราคาแพง
(วรยุทธ, 2558) ในปี 2560 ราคาถั่วลิสง ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2561 ราคาถั่วลิสงฝักแห้งเฉลี่ยกิโลกรัมละ 38
บาท ราคาถั่วลิสงฝักสดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30 บาท สำหรับราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษเฉลี่ย
กิโลกรัมละ 60 บาท ส่วนถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51 บาท จากราคาที่กล่าว
ข้างต้น นับว่าถั่วลิสงมีมูลค่าทางการตลาดที่ค่อนข้างสูง แต่เกษตรกรกลับไม่มีแรงจูงใจในการปลูก เพราะ
ต้นทุนการผลิตสูง เกษตรกรจึงปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ผลตอบแทนดีกว่า จึงเป็นสาเหตุที่พื้นที่ปลูก
ลดลงในขณะที่มูลค่าเพิ่มสูงขึ้น การส่งเสริมการปลูกถั่วลิสงให้แกเกษตรกร ในช่วงเวลาหลังฤดูการเก็บเกี่ยว

1ศนู ยว์ ิจยั พชื ไรข่ อนแกน่ สถาบันวิจัยพชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
2ศนู ย์วจิ ัยเกษตรวิศวกรรมสรุ าษฎร์ธานี อำเภอท่าชนะ จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
3ศนู ย์วจิ ยั เกษตรวศิ วกรรมขอนแกน่ สถาบันวจิ ัยพืชไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกน่

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

558

ข้าวรวมกับเทคโนโลยีการให้น้ำในปริมาณที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของถั่วลิสงรวมกับการ
จัดการท่ีดี สามารถช่วยเพิ่มผลผลิต และคณุ ภาพเมลด็ พนั ธุ์ถั่วลสิ ง ทำใหไ้ ด้เมลด็ พันธุถ์ ัว่ ลิสงคณุ ภาพดีเพิ่มมาก
ขนึ้ ดังน้ันการขยายผลสรา้ งแปลงต้นแบบการผลิตถ่ัวลิสง และการผลติ เมล็ดพันธ์ุ จึงเป็นแนวสร้างการเรียนรู้
เพือ่ เพิ่มศกั ยภาพการปลูกถว่ั ลสิ งให้คุ้มกบั การลงทนุ

วธิ ีดำเนนิ การ
สิ่งที่ใช้ในการทดลอง

1. ถั่วลิสงพนั ธุ์แนะนำของกรมวิชาการเกษตร
2. วัสดุการเกษตร เช่น ปุ๋ยเคมี ยิปซั่ม
3. สารเคมีตา่ ง ๆ เช่น สารป้องกันกำจดั วชั พืช สารปอ้ งกันกำจัดแมลง และสารป้องกันกำจดั โรคพืช
4. เครอื่ งปลดิ ฝกั ถว่ั ลสิ ง 5. อุปกรณ์ทางการเกษตร เช่น มีด จอบ เข่ง ถงั ใส่ปยุ๋ เคมี
แบบและวิธีการทดลอง
ดำเนินการในรูปแบบการถ่ายทอดความรู้และทำแปลงต้นแบบการผลิตถั่วลิสง โดยให้น้ำตามความ
ต้องการใช้น้ำของพืช โดยการคำนวณจากค่าสัมประสิทธิ์การใช้นำ้ ของถ่ัวลสิ งใหน้ ้ำตามความต้องการของถว่ั
ลิสง โดยใช้สมการ ETc = Kc x ETo (Doorenbos and Kassam ,1979) และค่าการคายระเหยน้ำของพืช
อ้างอิง คำนวณหาโดยวิธีเบลเนย์ และคริดเดิล (Blaney-Criddle) ค่าสัมประสิทธิ์การใช้น้ำ (Kc) (กาญจนา
และคณะ, 2560) ระบบน้ำร่องดัดแปลงจากค่าสัมประสิทธก์ิ ารใช้น้ำของถ่ัวลิสงจากระบบน้ำหยด รวมกับการ
ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (กลุ่มปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจยั การผลติ ทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร,
2561) และปลิดฝักโดยเครื่องปลิดฝัก (กลวัชร และคณะ,2561) ในพื้นท่ีเกษตรกร จำนวน 10 ราย พื้นที่ราย
ละ 1 ไร่ ในเขต อ.ซำสูง อ.นำ้ พอง อ.เขาสวนกวาง อ.ชนบท จ.ขอนแก่น
วิธีปฏบิ ัติการทดลอง
1. คัดเลือกเกษตรกรต้นแบบทำแปลงต้นแบบ
2. ชี้แจงโครงการเกษตรกรเข้ารว่ มกลมุ่ ผลิตถั่วลสิ ง
3. เกบ็ ตัวอย่างดินตรวจความอุดมสมบูรณข์ องดนิ ในห้องปฏบิ ัตกิ าร
4. เกษตรกรต้นแบบทำแปลงต้นแบบการผลิตถั่วลิสง โดยปฏิบัติตามคำแนะนำการผลิตถั่วลิสงของ
กรมวชิ าการเกษตร
5. จัดเสวนาแปลงตน้ แบบ และประชาสมั พันธ์ เพือ่ ขยายผลสรา้ งเครอื ข่ายไปยงั เกษตรกรกลุ่มอนื่ ๆ
การบนั ทึกข้อมูล
1. เก็บข้อมูลดิน ก่อนปลูก และหลังปลูก โดยเก็บข้อมูลด้านเนื้อดิน ค่าความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณ
อินทรยี วตั ถุ ปรมิ าณฟอสฟอรสั ที่เปน็ ประโยชน์ ปริมาณโพแทสเซยี มทีแ่ ลกเปลยี่ นได้คา่ ความต้องการปูน และ
ปรมิ าณธาตุอาหารรอง เช่น แคลเซยี ม เปน็ ต้น
2. เก็บข้อมูลด้านอุตุนยิ มวทิ ยา สำหรบั ใช้คำนวณการให้น้ำ
3. ผลผลิตฝักสด ฝกั แหง้ คุณภาพความงอก และความแขง็ แรงของเมล็ดพนั ธุ์

559

4. ประเมนิ ผลความพึงพอใจของเกษตรกรผผู้ ลติ ถ่วั ลิสง และการกระจายเมลด็ พนั ธุ์

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
ทำการคัดเลือกเกษตรกร ชี้แจงโครงการการผลิตถ่ัวลิสงคณุ ภาพ มีเกษตรกรเข้ารว่ มจำนวน 10 ราย
รายละ 1 ไร่ ทอ่ี ำเภอซำสงู อำเภอน้ำพอง อำเภอชนบท เกษตรกรเรมิ่ ดำเนนิ การเตรยี มแปลง และปลูกถั่วลิสง
ปลายเดือนธันวาคม ทำการเก็บตัวอย่างดินส่งวิเคราะห์ธาตุอาหารเพื่อใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ผลการ
วิเคราะห์ดิน พบว่า แปลงเกษตรกรอำเภอน้ำพอง pH อยู่ระหว่าง 4.7-5.1 ค่าการน้ำไฟฟ้าของดนิ (EC) อยู่
ระหว่าง 0.0305 – 0.0496 dS/m ค่าอินทรียวัตถใุ นดิน (OM) 0.69 – 1.06 เปอร์เซ็นต์ ค่าฟอสฟอรัสท่ีเปน็
ประโยชน์ 13 - 67 mg/kg ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 100 – 216 ppm แคลเซียม 258 – 679
ppm แมกนีเซียม 5 – 24 ppm แปลงเกษตรกรอำเภอซำสูง pH อยู่ระหว่าง 5.9 – 7.5 ค่าการน้ำไฟฟ้าของ
ดิน (EC) อยู่ระหว่าง 0.0458 – 0.2109 dS/m ค่าอินทรียวัตถุในดิน (OM) 0.60 – 0.89 เปอร์เซ็นต์ ค่า
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ 8 - 36 mg/kg ปริมาณโพแทสเซียมท่ีแลกเปลีย่ นได้ 92 – 144 ppm แคลเซียม
246 – 1,463 ppm แมกนีเซียม 5 – 19 ppm (ตารางที่ 1) แปลงเกษตรกรที่อำเภอน้ำพองได้คำแนะนำปุ๋ย
คือ 0-3-0 และใส่โดโลไมท์หรือปูนขาว อัตรา 100 กิโลกรัม/ไร่ จำนวน 2 แปลง และ 3-3-0 และใส่โดโลไมท์
หรือปูนขาว อตั รา 100 กิโลกรัม/ไร่ จำนวน 3 แปลง สว่ นทแ่ี ปลงเกษตรกรทอ่ี ำเภอซำสงู ได้คำแนะนำปุ๋ย คือ
3-3-0 จำนวน 3 แปลง และ 3-6-0 จำนวน 2 แปลง (ตารางท่ี 2)
เกษตรกรท่ีอำเภอนำ้ พองให้นำ้ เฉล่ีย 4-5 ครงั้ /แปลง โดยใช้เครือ่ งสูบนำ้ สว่ นท่ีอำเภอซำสูงเกษตรกร
ให้น้ำเฉล่ยี 3 ครั้ง/แปลง โดยการสบู น้ำพักไวแ้ ลว้ จงึ ปลอ่ ยลงแปลง ผลผลิตฝกั สดแปลงเกษตรกรอำเภอน้ำพอง
385.8 – 681.8 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ผลผลิตฝักแหง้ 100.4- 175.1 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ (ตารางที่ 3) เปอร์เซ็นต์ความช้ืน
เมลด็ พันธุก์ ่อนปรบั ปรุงสภาพ 32.4 -39.7 เปอรเ์ ซ็นต์ เปอรเ์ ซน็ ต์ความชนื้ เมล็ดพันธุ์หลังปรับปรุงสภาพ 9.2 -
10.3 เปอรเ์ ซ็นต์ ทางดา้ นความงอกเมลด็ พันธ์ุทงั้ สองแหล่งปลูกใกล้เคียงกัน 87.6 – 92.4 เปอร์เซน็ ต์ (ตารางท่ี
4) ดำเนินการขยายผลต่อในปี 2564

560

ตารางที่ 1 ผลวเิ คราะห์ดนิ แปลงเกษตรกร

Plot no. แปลง สถานที่ pH (1:1) EC % OM P K Ca Mg
dS/m mg/kg ppm ppm ppm

1 คณุ ดารารัตน์ สมี าจนั ทร์ อ.นำ้ พอง 5.0 0.0305 1.05 23 173 258 5

2 คณุ หฤทยั ประเสรฐิ สงั ข์ อ.นำ้ พอง 5.0 0.0408 0.73 67 113 340 11
3 คณุ สมภาร โพรพิมล อ.น้ำพอง 5.2 0.0388 0.69 13 100 679 24
4 คุณ จิราภา โพธแ์ ข็ง อ.นำ้ พอง 4.7 0.0462 0.74 42 208 276 12

5 คณุ คำเว้ิน หลา่ กนิ อ.น้ำพอง 5.1 0.0496 1.06 50 216 416 15
6 คณุ สวรรค์ อาสนา อ.ซำสงู 5.9 0.0554 0.72 18 92 246 6
7 คณู ทองคำ สัมปัญญา อ.ซำสงู 7.5 0.2109 0.96 36 104 1463 19
8 คณุ ทองพนู คำมลู อ.ซำสูง 6.8 0.0514 0.60 10 144 256 11
9 คุณ บญุ โฮม เอกตาแสง อ.ซำสงู 6.2 0.0458 0.89 16 102 480 11

10 คุณ ทองจนั ทร์ เหลา้ สุนา อ.ซำสงู 6.1 0.0651 0.69 8 113 268 5

ตารางท่ี 2 คำแนะนำการใชป้ ุย๋

Plot no. แปลง สถานที่ คำแนะนำปยุ๋ ตามค่าวิเคราะห์ดินถั่วลสิ ง

อ.น้ำพอง N P2O5 K2O โดโลไมทห์ รือปนู ขาว
อ.น้ำพอง คลกุ ไรโซเบยี ม ไม่คลกุ โซเบียม อัตรา 100 กก./ไร่
อ.นำ้ พอง
1 คณุ ดารารตั น์ สมี าจนั ทร์ อ.น้ำพอง 0 0 30 ใส่
2 คุณ หฤทยั ประเสรฐิ สังข์ อ.นำ้ พอง
3 คณุ สมภาร โพรพมิ ล อ.ซำสงู 0 3 30 ใส่
4 คณุ จริ าภา โพธ์แข็ง อ.ซำสงู
5 คณุ คำเวิ้น หลา่ กนิ อ.ซำสูง 0 3 30 ใส่
6 คณุ สวรรค์ อาสนา อ.ซำสูง
7 คูณ ทองคำ สมั ปญั ญา อ.ซำสูง 0 3 30 ใส่
8 คุณ ทองพูน คำมูล
9 คณุ บุญโฮม เอกตาแสง 0 0 30 ใส่
10 คณุ ทองจนั ทร์ เหล้าสนุ า
0 3 3 0 ไม่ใส่

0 3 3 0 ไม่ใส่

0 3 6 0 ไมใ่ ส่

0 3 3 0 ไม่ใส่

0 3 6 0 ไม่ใส่

561

ตารางที่ 3 ปรมิ าณน้ำ จำนวนคร้งั ทีใ่ ห้ ผลผลิตเมล็ดพนั ธุ์ถ่วั ลิสง

Plot แปลง วธิ กี ารใหน้ ำ้ ปริมาณน้ำที่ให้ จน.ครงั้ ใหน้ ้ำ ผลผลติ /ไร่ ผลผลติ /ไร่

no. (ลิตร) สด/กก แห้ง/กก

1 คุณ ดารารตั น์ สีมาจันทร์ น้ำคลองใหต้ ามรอ่ ง เคร่ืองสบู นำ้ 3นว้ี 22,500 4 520.0 136.5
20,160 4 566.2 151.9
150ลติ รตอ่ นาที ใช้เวลา2.5ชม. 26,820 5 385.8 100.4
20,160 4 681.8 175.1
2 คณุ หฤทยั ประเสรฐิ สังข์ น้ำคลองใหต้ ามร่อง เครอื่ งสูบนำ้ 4น้ีว 20,160 4 635.6 164.8
15,600 3 297.8 82.4
168ลิตรตอ่ นาที ใชเ้ วลา2ชม. 15,600 3 216.9 66.7
15,600 3 260.4 73.8
3 คุณ สมภาร โพรพมิ ล นำ้ บาดาลให้ตามรอ่ ง เครื่องสบู น้ำ3นวี้ 15,600 3 286.2 77.9
15,600 3 294.2 83.7
149ลิตรตอ่ นาที ใชเ้ วลา3ชม.

4 คณุ จิราภา โพธ์แข็ง น้ำคลองให้ตามรอ่ ง เคร่อื งสบู นำ้ 4นว้ี

168ลิตรต่อนาที ใช้เวลา2ชม.

5 คณุ คำเวิ้น หลา่ กนิ นำ้ คลองให้ตามรอ่ ง เครื่องสูบนำ้ 4นี้ว

168ลติ รต่อนาที ใช้เวลา2ชม.

6 คณุ สวรรค์ อาสนา น้ำคลองสูบนำ้ พักไวแ้ ล้วจงึ ปล่อยลง

แปลง26ลติ รตอ่ นาที ใช้เวลา2ชม.

7 คณู ทองคำ สมั ปญั ญา น้ำคลองสูบนำ้ พกั ไวแ้ ลว้ จึงปลอ่ ยลง

แปลง26ลติ รต่อนาที ใชเ้ วลา2ชม.

8 คณุ ทองพูน คำมูล น้ำคลองสูบน้ำพกั ไวแ้ ล้วจึงปล่อยลง

แปลง26ลติ รต่อนาที ใชเ้ วลา2ชม.

9 คุณ บุญโฮม เอกตาแสง นำ้ คลองสูบน้ำพักไวแ้ ลว้ จึงปล่อยลง

แปลง26ลิตรต่อนาที ใชเ้ วลา2ชม.

10 คณุ ทองจนั ทร์ เหล้าสนุ า นำ้ คลองสบู น้ำพกั ไวแ้ ล้วจึงปล่อยลง

แปลง26ลิตรตอ่ นาที ใช้เวลา2ชม.

ตารางที่ 4 เปอร์เซ็นตค์ วามชืน้ กอ่ นและหลงั ปรบั ปรงุ สภาพ และเปอร์เซน็ ต์ความงอกเมล็ดพนั ธ์ุถัว่ ลสิ ง

Plot no. แปลง สถานท่ี %ความชื้นเมลด็ พันธุ์กอ่ น %ความชื้นหลังปรบั ปรุง %ความงอกเมลด็

ปรบั ปรุงสภาพ สภาพ พนั ธุ์

1 คุณ ดารารตั น์ สีมาจนั ทร์ อ.น้ำพอง 38.3 9.2 89.8
37.5 10.3 91.2
2 คุณ หฤทัย ประเสรฐิ สังข์ อ.นำ้ พอง 38.9 9.4 90.8
39.7 9.3 92.4
3 คณุ สมภาร โพรพมิ ล อ.นำ้ พอง 39.5 10.2 89.8
36.0 9.7 87.6
4 คณุ จิราภา โพธ์แข็ง อ.นำ้ พอง 32.4 9.5 88.4
35.7 9.3 88.6
5 คณุ คำเวิน้ หลา่ กนิ อ.น้ำพอง 36.8 10.1 88.2
35.5 9.6 87.8
6 คณุ สวรรค์ อาสนา อ.ซำสูง

7 คูณ ทองคำ สมั ปัญญา อ.ซำสงู

8 คุณ ทองพูน คำมูล อ.ซำสูง

9 คุณ บญุ โฮม เอกตาแสง อ.ซำสงู

10 คณุ ทองจนั ทร์ เหลา้ สนุ า อ.ซำสูง

562

สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
การผลิตถั่วลิสง ที่อำเภอน้ำพองมีการให้น้ำตามร่อง โดยใช้เครื่องสูบน้ำ ขนาดท่อ 4 นิ้ว ให้น้ำ 4-5
ครั้งตอ่ แปลง เช่นเดียวกบั ท่อี ำเภอชนบท ผลผลิตฝกั สดท่ไี ดอ้ ยู่ระหว่าง 216.9 – 681.8 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ในการ
ผลผลติ เมลด็ พันธุ์ ทอี่ ำเภอนำ้ พองเกษตรกรให้นำ้ เฉลย่ี 4-5 ครั้ง/แปลง โดยใชเ้ ครื่องสูบน้ำ สว่ นทอี่ ำเภอซำสูง
เกษตรกรให้น้ำเฉลี่ย 3 ครั้ง/แปลง โดยการสูบน้ำพักไว้แล้วจงึ ปล่อยลงแปลง ผลผลิตเมล็ดพันธ์ุหลังปรับปรงุ
สภาพเฉลี่ย 66.7-175.1 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

เอกสารอ้างอิง

กาญจนา กิระศักดิ์ ชยันต์ ภักดีไทย วฒุ ิพล จันทรส์ ระคู และ วรยทุ ธ ศิรชิ ุมพนั ธ.์ 2560. ความตอ้ งการนำ้ และค่าสัมประสิทธ์ิ
การใช้น้ำของถั่วลิสงพันธุ์ไทนาน 9. ใน: การประชุมวิชาการพืชไร่วงศ์ถั่วแห่งชาติ ครั้งที่ 6.ระหว่างวันที่ 23-25
สิงหาคม 2560 ณ หอประชุมวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช (ไสใหญ่) อ.ทุ่งสง
จ.นครศรีธรรมราช. หน้า 150-156

กลวัชร ทิมนิ กลุ มงคล ตนุ่ เฮ้า รงั สิต ศิรมิ าลา ทองพูล โยธาทลู และ ประยูร จันทองออ่ น. 2556. วิจัยและพัฒนาเครื่องปลิด
ฝักถ่วั ลิสงในระดับเกษตรกร. ใน: ประชุมวิชาการสมาคมวศิ วกรรมเกษตรแห่งประเทศไทยระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 14 และ
ระดบั นานาชาติ คร้ังที่ 6 ประจำปี 2556. หน้า 369-373

วรยทุ ธ ศิริชมุ พนั ธ์ุ. 2558. วิจัยและพฒั นาถว่ั ลสิ ง.รายงานชดุ โครงการวจิ ัยวจิ ยั และพฒั นาถวั่ ลิสง. กรมวิชาการเกษตร.80 หน้า
ศูนย์สารสนเทศการเกษตร. 2560. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สืบค้นจาก

ssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/01/2.ppt.

563

แผนงานวจิ ัย

วิจัยและพัฒนาพันธ์มุ ันสำปะหลังเพอ่ื เพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลติ (โครงการวจิ ัยเดยี่ ว)

564

การปรบั ปรงุ พนั ธุ์มันสำปะหลงั เพอื่ ผลผลติ และแปง้ สงู : การเปรียบเทียบในไรเ่ กษตรกร
(ลกู ผสมปี 2558)

Cassava Improvement for High Yield and High Starch: Farm Trials (2015 Hybrids)

รววี รรณ เชอ้ื กติ ตศิ กั ด์ิ1* นารีรตั น์ เณรอยู่1 สมุ ณฑา นนทะนำ1
สุวลักษณ์ อะมะวลั ย์2 และจณิ ณจาร์ หาญเศรษฐสขุ 2

บทคัดยอ่
การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังสายพันธุ์ดีเด่น ลูกผสมชุดปี 2558 จำนวน 3 สายพันธุ์ได้แก่
CMR58-19-57 CMR58-45-14 และ CMR58-75-110 ร่วมกับพนั ธ์ุระยอง 5 ระยอง 9 และเกษตรศาสตร์ 50
ที่จงั หวดั ขอนแก่น ในปี 2563-2564 พบวา่ ผลผลติ ผลผลติ แปง้ และจำนวนตน้ เก็บเก่ยี วไมม่ คี วามแตกตา่ งกัน
ทางสถติ ริ ะหว่างพนั ธุ์ ส่วนปรมิ าณแป้ง สายพนั ธ์ุ CMR58-75-110 มีปรมิ าณแป้งสงู สดุ 24.3 เปอรเ์ ซ็นต์ แตไ่ ม่
แตกต่างกันทางสถิติกับสายพันธุ์/พันธุ์ CMR58-19-57 CMR58-45-14 ระยอง 5 และระยอง 9 พันธ์ุ
เกษตรศาสตร์ 50 มีดัชนีการเก็บเกี่ยวสูงสุด 0.66 แต่ไม่แตกต่างกันกับพันธุร์ ะยอง 5 และ CMR58-75-110
ส่วนขนาดลำทั้งความยาวลำและขนาดเส้นผ่านสูงกลางลำสายพันธุ์ CMR58-45-14 มีความยาวลำ และเส้น
ผ่านศูนย์กลางลำสูงสุด ซึ่งมีค่าเท่ากับ 344 และ 2.75 เซนติเมตร ตามลำดับ ซึ่งเป็นขนาดลำที่พอเหมาะ
สำหรบั การใช้เปน็ ท่อนพันธ์ุ ทรงกอรูปตัววี เช่นเดยี วกนั กับสายพนั ธ์ุ CMR58-75-110 ส่วนสายพนั ธ์ุ CMR58-
19-57 รูปทรงกอรูปตวั ยู ก่งิ ก้านเกะกะ และตน้ ลม้

คำนำ
การปรับปรุงพนั ธุ์มันสำปะหลังเพื่อให้ได้พนั ธุ์ใหม่ 1 พันธุ์ ต้องใช้เวลาหลายปี เพราะหลังการผสม
ดอกได้เมล็ดแล้วต้องนำมาปลูกคัดเลือกและเปรียบเทียบพันธุ์อีกหลายขั้นตอน การเปรียบเทียบพันธุ์ในไร่
เกษตรกร ก็เป็นขั้นตอนหนึ่งของการปรับปรุงพันธุ์พืชที่ดำเนินการต่อเนื่องมาจากการปลูกคัดเลือกและ
เปรยี บเทียบพนั ธุ์ภายในพ้ืนที่ของศนู ยว์ ิจัย/ศนู ย์บริการของกรมวิชาการเกษตร โดยนำพนั ธุ์ทผี่ ่านการคัดเลือก
ซ่ึงเหลืออยูไ่ ม่กพ่ี ันธ์ไุ ปปลูกเปรียบเทียบในพน้ื ทขี่ องเกษตรกรซ่ึงเป็นแหล่งปลูกมันสำปะหลังทั่วประเทศ รวม
16 สถานที่ โดยในการทดลองนี้จะนำสายพันธุ์มันสำปะหลังลูกผสมปี 2558 ที่ผ่านการคัดเลือกจากงาน
เปรียบเทียบในท้องถิ่น จำนวน 3-5 พันธุ์ มาปลูกทดลอง เปรียบเทียบกับพันธุ์ระยอง 5 ระยอง 9
เกษตรศาสตร์ 50 และพนั ธุ์ท่ีเกษตรกรนยิ มปลูกหรอื พันธ์ุที่มศี ักยภาพดีในแต่ละสภาพพน้ื ท่ี แลว้ คัดเลือกพันธุ์
ท่ีใหผ้ ลผลิต และแป้งสูงกว่าหรือใกล้เคยี งกับพันธมุ์ าตรฐานดังกล่าว เพื่อนำไปปลกู ในขน้ั ตอนทดสอบพันธ์ุใน
ไร่เกษตรกรต่อไป

1ศูนย์วิจัยพชื ไรข่ อนแก่น สถาบันวจิ ยั พืชไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น
2ศนู ย์วจิ ยั พชื ไร่ระยอง สถาบันวิจยั พชื ไร่และพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จงั หวัดระยอง

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

565

วธิ ีดำเนนิ การ
สงิ่ ที่ใช้ในการทดลอง

1. สายพันธ์ุมนั สำปะหลงั พนั ธ์ุลกู ผสมปี 2558 ซึ่งผ่านการคัดเลือกมาจากงานเปรียบเทียบในท้องถนิ่
ประมาณ 3 สายพันธุ์ ได้แก่ CMR58-19-57 CMR58-45-14 และ CMR58-75-110

2. มันสำปะหลงั พนั ธ์เุ ปรียบเทียบ 3 พันธ์ุ ไดแ้ ก่ พันธุร์ ะยอง 5 ระยอง 9 และเกษตรศาสตร์ 50
3. ปุ๋ยเคมีตามคา่ วเิ คราะห์ดิน
4. สารเคมีปอ้ งกันกำจดั วัชพชื โรค และแมลง
5. เครือ่ งวัดเปอรเ์ ซน็ ต์แปง้ แบบ Reimann scale
แบบและวธิ ีการทดลอง
แผนการทดลอง
วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCB) ทำ 4 ซำ้
กรรมวิธี
สายพันธ์มันสำปะหลังพนั ธ์ลุ ูกผสมปี 2558 ทผ่ี ่านการคัดเลอื กจากงานเปรียบเทียบในทอ้ งถิ่นประมาณ
3 สายพนั ธ์ุ ได้แก่ CMR58-19-57 CMR58-45-14 และ CMR58-75-110 และพนั ธุม์ าตรฐานทใ่ี ชเ้ ปรยี บเทยี บ
3 พันธ์ุ ได้แก่ และพนั ธ์ุระยอง 5 ระยอง 9 และเกษตรศาสตร์ 50
วธิ ปี ฏบิ ัติการทดลอง
สำรวจเก็บตัวอยา่ งดิน เพ่อื คัดเลอื กพน้ื ท่ที ่ีเปน็ ตัวแทนของกลุ่มดนิ ทรายปนรว่ น-ดนิ ทราย กลมุ่ ดินร่วน
ปนทราย-ดินร่วน และกลุ่มดินร่วนปนเหนียว-ดินเหนียว ซึ่งเป็นแหล่งปลูกมันสำปะหลัง จากนั้นปลูกมัน
สำปะหลังในช่วงต้นฤดฝู น ระยะปลกู 1.10 x 0.80 เมตร ปลูก 8 แถว ๆ ละ 7 ต้น ขนาดแปลงยอ่ ย 8.8x5.6
เมตร พ้นื ทเี่ กบ็ เกย่ี ว 6.6x5.6 เมตร หลังจากปลกู ประมาณ 1-1.5 เดอื น กำจดั วัชพืชด้วยจอบ และใส่ปุ๋ยเคมี
ตามค่าวิเคราะห์ดินโดยใช้เกณฑ์ตามค่าวิเคราะหด์ ินของกองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร โดยขุดหลุมใส่ 2
ข้างลำต้นบริเวณชายพุ่มใบแล้วพรวนดินกลบ ตรวจแปลงทดลองสม่ำเสมอ เพื่อระวังการระบาดของโรค
แมลง และ วชั พืช หากพบ รบี ทำการกำจดั โดยวธิ ีกล หรือใชส้ ารเคมีป้องกนั กำจดั ศตั รมู ันสำปะหลังตามความ
เหมาะสม เก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่ออายุครบ 12 เดือน โดยเก็บเกี่ยวเฉพาะ 3 แถวกลาง เว้นแถวริมโดยรอบ
คัดเลอื กพันธุท์ ี่ใหผ้ ลผลิตและเปอร์เซ็นต์แป้งสงู ทรงตน้ ดี ดชั นีเกบ็ เกี่ยวสูงกว่า 0.5 และไมอ่ ่อนแอต่อโรคและ
แมลง มีการปรับตัวกบั สภาพแวดลอ้ มได้ดี
การบันทึกข้อมูล
วนั ปฏิบตั ิการตา่ งๆ พกิ ัดแปลง ข้อมูลอตุ นุ ยิ มวทิ ยา ผลการวเิ คราะหด์ นิ ก่อนปลูก เปอร์เซ็นต์ความ
งอก การเจรญิ เติบโต ความสูง ลกั ษณะทรงตน้ จำนวนลำต่อตน้ จำนวนตน้ เก็บเกยี่ ว ดัชนเี กบ็ เกี่ยว นำ้ หนักหัว
สด เปอร์เซ็นต์แป้ง การเข้าทำลายของโรค และแมลงที่สำคัญ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ analysis of variance
เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของคา่ เฉลีย่ ใช้ Duncan’s New Multiple Range Test

566

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
ดำเนนิ การปลูกมนั สำปะหลังในวันที่ 29 พฤษภาคม 2563 ในพน้ื ท่อี ำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่ และ
ดำเนินการเก็บเกี่ยวในวันที่ 5 พฤษภาคม 2564 พบว่า ผลผลิต ผลผลิตแป้ง และจำนวนหลุมเก็บเกี่ยวไม่มี
ความแตกตา่ งกันทางสถติ ิ ดังตารางที่ 1
ผลผลิต มันสำปะหลังพันธุเ์ กษตรศาสตร์ 50 ให้ผลผลิตสูงสุด 9.31 ตัน/ไร่ รองลงมาได้แก่ สายพันธ์ุ
CMR58-45-14 ระยอง 9 ระยอง 5 CMR58-19-57 และ CMR58-75-110 ที่ใหผ้ ลผลติ 8.63 8.54 8.31 8.31
และ 8.27 ตันตอ่ ไร่ ตามลำดับ และไม่มีความแตกต่างกนั ทางสถิติ เชน่ เดยี วกบั จำนวนต้นเก็บเก่ียวที่มีมีความ
แตกตา่ งกนั ทางสถติ ิ
สายพันธุ์ CMR58-75-110 มีปริมาณแป้งสูงสุด 24.3 เปอร์เซ็นต์ ส่งผลให้ผลผลิตแป้งสูงสุดด้วยท่ี
2.01 ตันต่อไร่ ไม่แตกต่างกันกับพันธุ์อื่นๆ ยกเว้นพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ที่มีปริมาณแป้งต่ำสุดที่ 19.0
เปอรเ์ ซน็ ต์ ส่วนดชั นกี ารเก็บเกย่ี วพันธ์เุ กษตรศาสตร์ 50 มีดัชนีเกบ็ เกย่ี วสูงสดุ 0.66 แตไ่ ม่แตกตา่ งกันกับพันธ์ุ
ระยอง 5 และสายพันธ์ุ CMR58-75-110
สำหรับขนาดท่อนพันธุ์ทั้งความยาวลำและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำสายพันธุ์ CMR58-45-14 มี
ความยาวลำ และขนาเส้นผ่านศูนยก์ ลางลำสงู สุดเท่ากบั 344 และ 2.75 เซนติเมตร และสายพันธ์ุยงั มที รงต้น
รปู ตวั วี ขนาดลำยาวขนาดพอเหมาะ สำหรับการใช้เปน็ ท่อนพันธไ์ุ ด้ดี ในเขตพนื้ ทกี่ ารปลูกมันสำปะหลังจังหวัด
ขอนแกน่ สายพนั ธุด์ เี ด่นทง้ั 3 พันธ์ุให้ผลผลิตแป้งสูงกวา่ พนั ธ์ตุ รวจสอบท้งั 3 พันธ์ุ แตส่ ายพันธุ์ CMR58-19-57
มที รงต้นรปู ตวั ยู จะมีกิ่งเกะกะ ทำให้เป็นอุปสรรคการเข้าไปปฏบิ ตั ิงาน

สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
การเปรียบเทียบพันธ์ุมันสำปะหลังสายพันธุด์ ีเด่น 3 สายพันธุ์ ได้แก่ CMR58-19-57 CMR58-45-14
และ CMR58-75-110 รว่ มกับพนั ธุ์มาตรฐาน 3 พนั ธ์ุ ได้แก่ ระยอง 5 ระยอง 9 และเกษตรศาสตร์ 50 ในพื้นท่ี
จังหวัดขอนแก่น พบว่า มนั สำปะหลงั ท้งั 3 สายพันธุ์ให้ผลผลิตแป้งสูงกวา่ พันธุม์ าตรฐาน

ตารางที่ 1 ผลผลิต องคป์ ระกอบผลผลิต และดัชนีเกบ็ เก่ียวของมนั สำปะหลังเพือ่ ผลผ
ศนู ยว์ จิ ัยพชื ไร่ขอนแกน่ ในปี 2563-2564

พนั ธุ/์ สายพนั ธ์ ผลผลิต ปรมิ าณแปง้ ผลผลิตแปง้
(ตน้ /ไร่) (%) (ต้น/ไร่)

CMR58-19-57 8.30 22.9 ab 1.90

CMR58-45-14 8.63 21.7 ab 1.87

CMR58-75-110 8.27 24.3 a 2.01

ระยอง 5 8.31 21.9 ab 1.82

ระยอง 9 8.54 21.0 ab 1.79

เกษตรศาสตร์ 50 9.31 19.0 b 1.77

เฉล่ีย 8.56 21.8 1.86

F-test ns * ns

CV (%) 10.30 11.2 14.7

ค่าเฉล่ียทตี่ ามดว้ ยอกั ษรเหมือนกนั ในแต่ละสดมภ์ไมแ่ ตกต่างกนั ทางสถิตทิ ่ีระดบั ความ

567
ผลติ และแปง้ สูง 6 พันธุ์/สายพันธใุ์ นการเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรลูกผสมชุดปี 2558 ที่

จน.หลมุ เกบ็ เกยี่ ว ดัชนีเก็บเกี่ยว ความยาวลำ เส้นผ่านศนู ย์กลางลำ
(หลมุ /ไร่) (ซม.) (ซม.)
316 a 2.44 b
1,818 0.59 cd 344 a 2.75 a
264 b 2.56 ab
1,797 0.56 d 231 b 2.14 c
314 a 2.73 a
1,786 0.64 ab 254 b 2.48 b
287 2.52
1,818 0.62 abc ** **
10.3 5.2
1,807 0.61 bcd

1,807 0.66 a

1806 0.61

ns **

1.7 5.0

มเชอ่ื มั่น 95% โดย DMRT

568

การปรับปรงุ พันธมุ์ ันสำปะหลงั เพือ่ ผลผลติ และแป้งสงู : การเปรยี บเทียบในทอ้ งถ่ิน (ลกู ผสมปี 2559)
Cassava Improvement for High Yield and High Starch: Regional Trials
(2016 Hybrids)

รววี รรณ เชอื้ กิตตศิ กั ดิ์1* นารีรัตน์ เณรอยู่1 สมุ ณฑา นนทะนำ1 กุสุมา รอดแผว้ พาล2
สุวลกั ษณ์ อะมะวัลย์2 ภาณุวฒั น์ มูลจันทะ2 และจิณณจาร์ หาญเศรษฐสุข2

บทคัดย่อ
การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์มันสำปะหลัง ลูกผสมชุดปี 2559 จำนวน 9 สายพันธุ์ได้แก่
CMR59-34-47 CMR5954-65 CMR59-55-24 CMR59-55-28 CMR59-55-53 CMR59-55-203 CMR59-55-
303 CMR59-55-361 และ CMR59-58-22 รว่ มกบั พันธุ์ระยอง 5 ระยอง 11 และระยอง 72 ท่ี ท่ีศูนย์วิจัยพืช
ไรข่ อนแก่น ปี 2563-64 มี 5 สายพันธ์ุทใ่ี หผ้ ลผลิตแป้งสงู กวา่ พนั ธต์ุ รวจสอบ ระยอง 5 ระยอง 11 และระยอง
72 รอ้ ยละ 5-210 ได้แก่ CMR59-55-361 CMR59-55-303 CMR59-54-65 CMR59-55-202 และ CMR59-
34-47 มี 2 สายพันธุใ์ ห้ผลผลิตเท่ากับพันธุ์ระยอง 11 โดยให้ผลผลิตแป้ง 0.92 ตันต่อไร่ ได้แก่ CMR59-55-
24 และ CMR59-55-28 และมี 3 สายพันธุ์มีปริมาณแป้งสูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบทั้ง 3 พันธุ์ไดแ้ ก่ CMR59-55-
361 CMR59-55-303 และCMR59-54-65 และเม่ือนำข้อมูลไปวิเคราะห์รวมกับสถานที่อื่นๆ ได้คดั เลือก สาย
พันธ์ดุ เี ดน่ เขา้ ประเมินผลผลิตในขนั้ ตอนการเปรยี บเทียบในไรเ่ กษตรกร จำนวน 4 สายพนั ธไ์ุ ด้แก่ CMR59-55-
361 CMR59-55-303 CMR59-55-202 และ CMR59-55-28

คำนำ
มันสำปะหลังเป็นพชื เศรษฐกิจทส่ี ำคญั ของประเทศไทย เป็นพชื ทนแล้ง ปลูกงา่ ย ใหผ้ ลผลติ ได้แม้
ปลูกในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ การพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของเกษตรกร โดยเฉพาะการปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังสายพันธุ์ใหม่ที่ให้ผลผลิตต่อไร่สูงขึ้น เป็น
หนทางหนึ่งที่ช่วยเพิ่มปริมาณผลผลิต โดยไม่ต้องเพิ่มพื้นที่ปลูก การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพ่ือให้ได้มัน
สำปะหลังสายพันธุ์ใหม่ต้องใช้เวลาประมาณ 8 ปี มีการคัดเลือกและเปรียบเทียบหลายขั้นตอน โดยขั้นตอน
การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังในท้องถิ่นลูกผสมปี 2559 นี้จะเป็นการเปรียบเทียบการให้ผลผลิตและ
คุณภาพผลผลิต การตอบสนองต่อภาพแวดล้อมในหลายสถานทีป่ ลูก โดยสายพันธุ์มันสำปะหลังท่ีคัดเลือกไว้
จะต้องให้ผลผลิตแป้งสูงกว่าพันธุ์ระยอง 5 ซึ่งเป็นพันธุ์เปรียบเทียบไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 จากนั้นนำมัน
สำปะหลงั สายพนั ธ์ดุ ีทีค่ ัดเลือกได้เข้าสกู่ ารเปรยี บเทียบในไรเ่ กษตรกรตอ่ ไป

1ศูนย์วิจยั พืชไรข่ อนแกน่ สถาบันวิจัยพชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน่
2 ศูนย์วิจยั พชื ไร่ระยอง สถาบันวิจยั พชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จังหวดั ระยอง

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

569

วธิ ดี ำเนินการ
สงิ่ ท่ใี ชใ้ นการทดลอง

1. สายพันธุ์มนั สำปะหลังพันธุ์ลูกผสมปี 2559 ซึ่งผ่านการคัดเลือกมาจากงานเปรียบเทียบมาตรฐาน
จำนวน 9 สายพันธุ์ ได้แก่ CMR59-34-47 CMR59-54-65 CMR59-55-24 CMR59-55-28 CMR59-55-53
CMR59-55-203 CMR59-55-303 CMR59-55-361 และ CMR59-58-22

2. มันสำปะหลังพนั ธุเ์ ปรียบเทยี บ 3 พันธ์ุ ได้แก่ พนั ธรุ์ ะยอง 5 ระยอง 11 และระยอง 72
3. ปุย๋ เคมีตามคา่ วิเคราะห์ดนิ
4. สารเคมีป้องกันกำจดั วชั พืช โรค และแมลง
5. เครอื่ งวดั เปอร์เซน็ ตแ์ ปง้ แบบ Reimann scale

แบบและวธิ ีการทดลอง
แผนการทดลอง

วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCB) ทำ 3 ซำ้ กรรมวธิ ี 12
พันธุ/์ สายพันธ์ุ
วิธปี ฏิบตั ิการทดลอง

เก็บตัวอย่างดิน ปลูกมันสำปะหลังในช่วงต้นฤดูฝน ใช้ระยะปลูก 1.00 x 0.80 เมตร ปลูก 5 แถว ๆ
ละ 10 ตน้ ขนาดแปลงยอ่ ย 5x8 เมตร พ้ืนทเี่ กบ็ เก่ียว 3x6.4 เมตร (3 แถวกลาง เวน้ แถวรมิ โดยรอบ)
ใสป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวเิ คราะห์ดนิ เมอ่ื มนั สำปะหลงั อายุ 1-1.5 เดอื น โดยขดุ หลมุ ใส่ 2 ข้างลำตน้ บริเวณชายพุ่มใบ
แล้วพรวนดนิ กลบ กำจัดวชั พืชและแมลงศัตรพู ชื ตลอดการทดลอง เกบ็ เกีย่ วผลผลิตเมอื่ อายคุ รบ 12 เดอื น
การบันทกึ ขอ้ มูล

วันปฏิบตั ิการต่างๆ พิกัดแปลง ข้อมูลอุตุนยิ มวิทยา ผลการวิเคราะห์ดนิ ก่อนปลูก เปอร์เซ็นต์ความ
งอก การเจริญเติบโต ความสูง ลักษณะทรงต้น จำนวนลำต่อตน้ จำนวนตน้ เกบ็ เกย่ี ว ดชั นีเกบ็ เกยี่ ว น้ำหนกั หัว
สด เปอร์เซ็นต์แป้ง การเข้าทำลายของโรค และแมลงที่สำคัญ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ analysis of variance
เปรียบเทียบความแตกตา่ งของคา่ เฉลย่ี ใช้ Duncan’s New Multiple Range Test

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
ดำเนินการปลูกมันสำปะหลังในวันที่ 8 มิถุนายน 2563 ในศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น และดำเนินการ
เก็บเก่ยี วในวันท่ี 30 มีนาคม 2564 พบวา่ มันสำปะหลงั สายพันธุ์ CMR59-34-47 ให้ผลผลติ สงู สดุ 6.48 ตนั ตอ่
ไร่ รองลงได้แก่ พันธุ์ระยอง 2 ที่ให้ผลผลิต 6.38 ตันต่อไร่ แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติของพันธุ์มัน
สำปะหลงั
ปริมาณแป้ง ผลผลิตแป้ง ดัชนีเก็บเกี่ยว จำนวนหลุมเก็บเกี่ยว ความยาวลำและขนาดเส้นผ่าน
ศนู ย์กลางลำมีความแตกตา่ งกันทางสถติ ิ (ตารางที่ 1)

570

มีสายพันธุด์ ีเดน่ จำนวน 3 สายพันธ์ทุ ีม่ ีปรมิ าณแปง้ สงู กวา่ พันธ์ตุ รวจสอบ ท้งั 3 พันธ์ุ ได้แก่ CMR59-
55-361 CMR59-55-303 และ CMR59-54-65 ทีม่ ปี รมิ าณแปง้ เทา่ กบั 21.2 19.9 และ 19.0 เปอร์เซน็ ต์ ส่งผล
ให้ทั้ง 3 สายพันธุ์มีผลผลิตแป้งสูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบ นอกจากนี้ยังมีสายพันธุ์อื่นๆ ที่มีผลผลิตสูงกว่าพันธุ์
ตรวจสอบ ได้แก่ CMR59-34-47 และ CMR59-55-203 โดยทั้ง 5 สายพันธใุ์ ห้ผลผลิตแปง้ ระหว่าง 0.97-1.23
ตันต่อไร่ ซึ่งเปน็ ผลเนื่องมาจากมีจำนวนหลุมเก็บเก่ียวที่แตกต่างกัน โดยสายพันธุ์ CMR59-55-303 มีจำนวน
ต้นเก็บเก่ียวสูงสุด 1,528 หลุมต่อไร่ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติกับพันธุ์/สายพนั ธุ์ ระยอง 5 CMR59-55-203
และ CMR59-55-361

สายพันธุ์ CMR59-55-361 มีดัชนีเก็บเก่ียวสูงสุด 0.78 รองลมาได้แก่ ระยอง 72 CMR59-55-303
CMR59-55-24 CMR59-55-28 และ CMR59-58-22 ที่มีดัชนีเก็บเกี่ยวเท่ากับ 0.71 0.70 0.69 0.67 และ
0.67 ตามลำดบั สว่ นความยาวลำสายพันธุ์ CMR59-54-65 มคี วามยาวสำสงู สุด 261 เซนตเิ มตร และแตกต่าง
ทางสถติ ิกบั พันธ์ุ/สายพันธุอ์ ืน่ ๆ สว่ นขนาดลำ CMR59-55-53 มขี นาดลำ 2.72 เซนตเิ มตร แต่ไม่ต่างทางสถิติ
กบั พันธ์ุ/สายพันธุ์ CMR59-54-65 CMR59-32-47 CMR59-55-28 ระยอง 5 และ ระยอง 11

สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
การเปรยี บเทียบมาตรฐานพันธุ์มันสำปะหลงั ชุดปี 2559 ทีศ่ ูนยว์ ิจัยพชื ไร่ขอนแก่น ปี 2563-64 มี 5
สายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตแป้งสูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบ ระยอง 5 ระยอง 11 และระยอง 72 ร้อยละ 5-210 ได้แก่
CMR59-55-361 CMR59-55-303 CMR59-54-65 CMR59-55-202 และ CMR59-34-47 มี 2 สายพันธุ์ให้
ผลผลิตเท่ากับพันธุ์ระยอง 11 โดยให้ผลผลิตแป้ง 0.92 ตันต่อไร่ ได้แก่ CMR59-55-24 และ CMR59-55-28
และมี 3 สายพันธ์มุ ปี ริมาณแปง้ สงู กวา่ พนั ธต์ุ รวจสอบทงั้ 3 พนั ธุ์ได้แก่ CMR59-55-361 CMR59-55-303 และ
CMR59-54-65 และเมื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์รวมกับสถานที่อื่นๆ ได้คัดเลือก สายพันธุ์ดีเด่นเข้าประเมินผล
ผลิตในขั้นตอนการเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร จำนวน 4 สายพันธุ์ได้แก่ CMR59-55-361 CMR59-55-303
CMR59-55-202 และ CMR59-55-28

571

ตารางท่ี 1 ผลผลิต องคป์ ระกอบผลผลติ และดัชนเี กบ็ เกี่ยวของมนั สำปะหลังเพ่ือผลผ

ลูกผสมชดุ ปี 2559 ท่ีศนู ย์วจิ ยั พืชไรข่ อนแก่น ในปี 2563-2564

พนั ธุ์/สายพันธ์ ผลผลิต ปรมิ าณแป้ง ผลผลติ แป้ง จ
(ต้น/ไร)่ (%) (ต้น/ไร)่

CMR59-34-47 6.48 18.5 abc 0.97 ab

CMR59-54-65 5.12 19.0 abc 0.98 ab

CMR59-55-24 5.18 17.5 a-d 0.92 ab

CMR59-55-28 5.57 15.3 bcd 0.92 ab

CMR59-55-53 5.45 15.1 bcd 0.83 ab

CMR59-55-202 5.18 18.6 abc 0.98 ab

CMR59-55-303 5.19 19.9 ab 1.09 ab

CMR59-55-361 5.59 21.2 a 1.23 a

CMR59-58-22 4.24 12.8 d 0.56 b

ระยอง 5 5.57 12.8 d 0.60 b

ระยอง 11 5.10 18.8 abc 0.92 ab

ระยอง 72 6.38 13.9 cd 0.89 ab

เฉลี่ย 5.42 17.0 0.91

F-test ns * *

CV (%) 22.0 16.9 30.7

ค่าเฉล่ยี ที่ตามด้วยอกั ษรเหมอื นกันในแต่ละสดมภ์ไมแ่ ตกต่างกันทางสถติ ิที่ระดบั ความเ

ผลติ และแป้งสูง 12 พันธ/์ุ สายพันธ์ใุ นการเปรยี บเทยี บในท้องถ่นิ

จน.หลมุ เก็บเกย่ี ว ดชั นเี ก็บเก่ยี ว ความยาวลำ เส้นผ่านศูนยก์ ลางลำ
(หลุม/ไร)่ (ซม.) (ซม.)
204 b
1,000 bcd 0.63 b 261 a 2.64 ab
195 b 2.71 a
1,056 bcd 0.63 b 207 b 2.31 bcd
202 b 2.46 abc
1,000 bcd 0.69 b 212 b 2.72 a
165 b 2.24 cde
1,250 abc 0.67 b 187 b 1.91 e
176 b 2.04 de
611 d 0.64 b 181 b 2.28 cd
161 b 2.37 a-d
1,333 ab 0.65 b 196 b 2.43 abc
196 2.35 bcd
1,528 a 0.70 ab * 2.37
13.7
1,306 ab 0.78 a **
8.0
805 cd 0.67 b

1,305 ab 0.63 b

1,000 bcd 0.64 b

1,278 ab 0.71 ab

1,123 0.67

** *

21.5 7.2

เชื่อม่นั 95% โดย DMRT

572

การปรบั ปรุงพันธุ์มันสำปะหลงั เพื่อผลผลติ และแปง้ สงู :
การเปรยี บเทียบมาตรฐาน (ลกู ผสมปี 2560)

Cassava Improvement for High Yield and High Starch:
Standard Trials (2017 Hybrids)

รววี รรณ เชือ้ กิตติศักดิ์1* ทนุธรรม บุญฉมิ 1 นารีรตั น์ เณรอยู่1 สมุ ณฑา นนทะนำ1
กลุ ชาต นาคจนั ทึก2 กสุ ุมา รอดแผว้ พาล2 สุวลักษณ์ อะมะวัลย์2 ประพศิ วองเทียม3
วลั ลีย์ อมรพล2 ภาณวุ ฒั น์มลู จนั ทะ2 ศิริลักษณ์ ลา้ นแก้ว2 และจณิ ณจาร์ หาญเศรษฐสุข2

บทคดั ย่อ
การเปรยี บเทยี บมาตรฐานพันธ์ุมันสำปะหลังสายพนั ธุ์ดเี ดน่ ลกู ผสมชุดปี 2560 จำนวน 16 สายพันธ์ุ
ร่วมกับพนั ธ์ุระยอง 5 ระยอง 9 ระยอง 72 และเกษตรศาสตร์ 50 ทีศ่ นู ยว์ จิ ยั พืชไรข่ อนแกน่ ในปี 2563-2564
พบว่า มีมันสำปะหลังสายพันธุ์ดีเด่น 6 สายพันธุ์ที่มีผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบ ได้แก่ CMR60-110-38
CMR60-22-68 CMR60-25-24 CMR60-46-17 CMR60-53-79 และ CMR60-101-27 ที่ให้ผลผลิต 6.81-
7.74 ตันต่อไร่ มี 9 สายพันธุ์ที่มีปริมาณแป้งสูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบ ได้แก่ CMR60-16-21 CMR60-84-33
CMR60-25-24 CMR60-101-27 CMR60-110-38 CMR60-68-33 CMR60-23-12 CMR60-51-71 CMR60-
45-2 และ CMR56-71-18 โดยมีปริมาณแป้ง 26.4-29.3 เปอร์เซ็นต์ และมี 9 สายพันธุ์ให้ผลผลิตแป้งสูงกว่า
พันธุ์ตรวจสอบ ได้แก่ CMR60-110-38 CMR60-25-24 CMR60-101-27 CMR60-22-68 CMR60-23-12
CMR60-53-79 CMR60-46-17 CMR60-16-21 และ CMR56-71-18 โดยให้ผลผลิตแป้งระหว่าง 1.68-2.13
ตันต่อไร่ มีเพียง 3 สายพันธุท์ ี่ให้ผลผลิต ปริมาณแป้ง และผลผลิตแป้งสูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบ ได้แก่ CMR60-
25-24 CMR60-101-27 และ CMR60-110-38 โดยให้ผลผลิตระหว่าง 6.81-7.74 ตันต่อไร่ ปริมาณแป้ง
27.0-27.1 เปอร์เซ็นต์ และผลผลิตแป้ง 1.83-2.13 ตันต่อไร่ และเมื่อนำผลประมวลร่วมกับสถานที่อื่นๆ
คัดเลือก 8 สายพันธุ์เข้าประเมินในขั้นตอนการเปรียบเทียบในท้องถิ่น ได้แก่ CMR56-71-18 CMR60-19-3
CMR60-23-12 CMR60-45-2 CMR60-51-71 CMR60-53-799 CMR60-84-33 CMR60-110-38

1ศูนย์วิจยั พชื ไร่ขอนแก่น สถาบนั วจิ ยั พืชไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น
2ศูนยว์ จิ ยั พชื ไร่ระยอง สถาบันวิจัยพืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลังงาน อำเภอเมอื ง จงั หวดั ระยอง
3สถาบนั วจิ ัยพชื ไร่และพชื ทดแทนพลงั งาน กรงุ เทพมหานคร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

573

คำนำ
งานวิจัยการพัฒนาพันธุ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรม และการพัฒนาพันธุ์เพื่อเก็บเกี่ยวอายุสั้น หรือ
พัฒนาพันธุ์สะสมน้ำหนักเร็ว (early bulking) ถูกจัดให้มีความสำคัญลำดับต้นๆ ของแผนพัฒนาพันธุ์มัน
สำปะหลังของประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย (Unnikrishnan et al., 2002) ฟิลิปปินส์ (Mariscal et al.,2000)
อินโดนีเซีย (Hartojo et al., 2000) รวมทั้งประเทศไทย (Sarakarn et al., 2000) ในส่วนของกรมวิชาการ
เกษตร ทางหน่วยงานศูนย์วิจัยพืชไร่ระยองไดม้ กี ารปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังมาอย่างต่อเนื่องตัง้ แต่ปี 2514
จนถึงปจั จบุ นั ซง่ึ มีข้นั ตอนทงั้ การผสมดอก คัดเลอื ก และเปรยี บเทียบพนั ธุ์ รวมเวลาในการปรับปรุงพันธ์ุไม่ต่ำ
กวา่ 7 ปี
การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์มันสำปะหลังเป็นการนำพันธุ์มาจากการเปรียบเทียบเบื้องต้น มา
เปรียบเทยี บกับพนั ธมุ์ าตรฐาน โดยแบง่ เปน็ แปลงยอ่ ย ขนาดแปลงย่อย 5x8 เมตร พ้ืนทีเ่ กบ็ เกี่ยว 3x6.4 เมตร
เพื่อคัดเลือกต้นทีม่ ีคุณสมบตั ิดีตามท่ีต้องการ คือ ทรงต้นสูงตรง แข็งแรง ไม่แตกกิ่งเกะกะ หัวดกและรูปทรง
ของหวั สวย ความหนาแนน่ ของเน้ือแป้งในหัวมันสำปะหลัง ผลผลิตหัวสด เปอร์เซ็นต์แป้ง ความต้านทานโรค
และแมลง โดยเปรียบเทียบกับต้นมาตรฐาน ที่ปลูกอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกนั เพื่อนำไปปลูกทดลองขั้นต่อไป
คอื การเปรียบเทยี บพันธ์ุมนั สำปะหลังในทอ้ งถิน่

วิธีดำเนนิ การ
- สิ่งทีใ่ ชใ้ นการทดลอง

1. มันสำปะหลังพนั ธ์ุท่ีผ่านการคัดเลือกจากการเปรียบเบ้ืองต้น ลกู ผสมปี 2560 จำนวน 16
สายพันธุ์ ได้แก่ CMR56-71-18 CMR60-16-21 CMR60-19-3 CMR60-22-68 CMR60-23-12 CMR60-25-
24 CMR60-45-2 CMR60-46-17 CMR60-51-71 CMR60-53-79 CMR60-53-97 CMR60-68-33 CMR60-
84-33 CMR60-101-27 CMR60-110-3 และ CMR60-110-38

2. มนั สำปะหลังพนั ธ์มุ าตรฐาน 3 พนั ธ์ุ ได้แก่ พนั ธร์ุ ะยอง 5 ระยอง 9 และเกษตรศาสตร์ 50
3. เคร่ืองวดั เปอร์เซน็ ตแ์ ปง้ แบบ Reimann scale
4. ปุ๋ยเคมีตามคา่ วเิ คราะห์ดนิ
5. สารกำจดั โรค แมลง และวชั พืช
- แบบและวธิ ีการทดลอง
แผนการทดลอง : วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCB) ทำ
3 ซำ้ ขนาดแปลงยอ่ ย 4.4x8 เมตร เก็บเกี่ยวพ้ืนท่ี 2.2x8 เมตร
กรรมวิธี : พันธุ์มันสำปะหลังที่ผ่านการคัดเลือกจากการเปรียบเบื้องต้น 16 สายพันธุ์ และพันธ์ุ
มาตรฐานทใ่ี ชเ้ ปรียบเทยี บ 4 พันธ์ุ ได้แก่ พันธุร์ ะยอง 5 ระยอง 9 ระยอง 72 และเกษตรศาสตร์ 50
- วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารทดลอง
ก่อนเร่มิ การทดลองเก็บตัวอย่างดินรวม (Composit sample) ก่อนปลกู เพอ่ื วเิ คราะห์ปริมาณธาตุ
อาหารในดิน จากนั้นปลูกมันสำปะหลังที่ผ่านการคัดเลือกจากการเปรียบเทียบเบื้องต้น ประมาณ 20 พันธุ์

574

พร้อมพันธเ์ุ ปรียบเทียบ โดยปลกู ในช่วงต้นฤดูฝนใช้ระยะปลกู 1.10 x 0.80 เมตร ปลกู 4 แถว ๆ ละ 10 ต้น
ขนาดแปลงยอ่ ย 4.4x8 เมตร พื้นทเ่ี กบ็ เก่ียว 2.2x8.0 เมตร หลังจากปลกู ประมาณ 1-1.5 เดอื น กำจัดวัชพืช
ด้วยจอบ และใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินโดยใช้เกณฑ์ตามค่าวิเคราะห์ดินของกองปฐพวี ิทยา กรมวิชาการ
เกษตร โดยขุดหลุมใส่ 2 ข้างลำต้นบริเวณชายพุ่มใบแล้วพรวนดินกลบ ตรวจแปลงทดลองสม่ำเสมอ เพื่อ
ระวงั การระบาดของโรค แมลง และ วชั พชื หากพบ รีบทำการกำจัดโดยวิธีกล หรือใชส้ ารเคมีป้องกันกำจัด
ศัตรูมันสำปะหลังตามความเหมาะสม เก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่ออายุครบ 12 เดือน โดยเก็บเกี่ยวเฉพาะ 2 แถว
กลาง เว้นแถวริมโดยรอบ คัดเลือกพันธุ์ที่ดี คือ ให้ผลผลิตและเปอร์เซน็ ต์แป้งสูง ทรงต้นดี ดัชนีเก็บเกี่ยวสงู
กวา่ 0.5 และไมอ่ ่อนแอตอ่ โรคและแมลง เพือ่ นำไปปลูกทดลองในขัน้ ตอนการเปรียบเทยี บในท้องถิน่ ต่อไป

- การบนั ทึกขอ้ มูล
วันปฏิบัติการต่างๆข้อมูลอุตุนิยมวิทยาผลการวิเคราะห์ดินก่อนปลูกเปอร์เซ็นต์ความงอกการ

เจริญเติบโต ความสูง ลักษณะทรงตน้ จำนวนต้นเกบ็ เก่ียว ดัชนีเก็บเกีย่ ว น้ำหนักหัวสด เปอร์เซ็นต์แปง้ การ
เข้าทำลายของโรค และแมลงที่สำคัญ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of
variance) เปรียบเทยี บความแตกต่างของค่าเฉล่ยี ใช้ Duncan’s New Multiple Range Test

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
ดำเนินการปลูกมันสำปะหลังในวันที่ 6 มิถุนายน 2563 ในศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น และดำเนินการ
เก็บเกี่ยวในวันที่ 5 เมษายน 2564 ผลผลิต ปริมาณแป้ง ผลผลิตแป้ง จำนวนหลุมเก็บเกี่ยว ดัชนีเก็บเกี่ยว
ความยาวลำ และขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลางลำมีความแตกต่างกนั ทางสถติ ิ (ตารางท่ี 1)
มีมันสำปะหลังสายพันธุ์ดีเด่น 6 สายพันธุ์ ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบทั้ง 4 พันธุ์ ได้แก่
CMR60-110-38 CMR60-22-68 CMR60-25-24 CMR60-46-17 CMR60-53-79 และ CMR60-110-27 โดย
ให้ผลผลติ 7.74 7.43 7.12 6.96 6.83 และ 6.81 ตนั ตอ่ ไร่ ตามลำดับ แตไ่ ม่แตกต่างกันทางสถิติกับพันธุ์อ่ืนๆ
ยกเว้น CMR60-53-97 เป็นไปในทำนองเดียวกันกับผลผลิตแป้ง ในขณะทป่ี รมิ าณแปง้ มนั สำปะหลังสายพันธุ์
ดเี ดน่ 10 สายพันธมุ์ ปี รมิ าณแปง้ สูงกวา่ พนั ธ์ุตรวจสอบ ได้แก่ CMR60-16-21 CMR60-84-33 CMR60-25-24
CMR60-101-27 CMR60-110-38 CMR60-68-33 CMR60-23-12 CMR60-51-71 CMR56-71-18 CMR60-
45-2 โดยมีปริมาณแป้งอยู่ระหว่าง 26.4-29.3 เปอร์เซ็นต์ ส่วนผลผลิตแป้ง มี 9 สายพันธุ์ดีเด่นท่ีให้ผลผลติ
แป้งสูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบท้ัง 4 พันธ์ไุ ด้แก่ CMR60-110-38 CMR60-25-24 CMR60-101-27 CMR60-22-68
CMR60-23-12 CMR60-53-79 CMR60-46-17 CMR60-16-21 และ CMR56-71-18 ที่ให้ผลผลิตแป้งอยู่
ระหวา่ ง 1.68-2.13 ตันต่อไร่
จำนวนหลมุ เก็บเกยี่ วสว่ นใหญ่ไม่แตกตา่ งกนั ทางสถิติ ยกเวน้ CMR60-22-68 และ CMR60-45-2 ที่มี
จำนวนหลมุ เกบ็ เก่ยี วนอ้ ย 576 -1,000 หลุมต่อไร่
ดัชนีเก็บเกี่ยวของมันสำปะหลัง 20 พันธุ์/สายพันธุอ์ ยู่ระหว่าง 0.46-0.74 มันสำปะหลังพันธ์รุ ะยอง
72 มีดัชนีเก็บเกี่ยวสูงสุด 0.74 รองลงมาได้แก่ CMR60-22-68 CMR60-101-27 CMR656-71-18 CMR60-
110-38 และระยอง 5 มีดชั นเี กบ็ เก่ียวเทา่ กบั 0.71 0.67 0.64 0.63 และ 0.61 ตามลำดบั

575

สายพันธ์ุ CMR60-45-2 มีการเจริญเติบโตทางดา้ นความสูงตน้ สงู ท่สี ุด ที่อายุ 4 6 8 และ 10 เดอื น มี
ความสงู 295-375 เซนติเมตร (ภาพท่ี 1) และมที รงกอเปน็ รูปตวั วี มีการแตกกงิ่ ตรงปลายยอด ส่วนขนาดลำ
หรอื ขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลางลำ CMR60-46-17 มขี นาดลำใหญ่ท่ีสดุ 3.19 เซนตเิ มตร เมื่อเก็บเกย่ี ว แต่ทรงกอ
เปน็ รูปตวั ยู (ภาพท่ี 2)

สรปุ ผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
มีมันสำปะหลังสายพันธุ์ดีเด่น 3 สายพันธุ์ที่มีผลผลิต ปริมาณแป้ง และผลผลิตแป้งสูงกว่าพันธ์ุ
ตรวจสอบทั้ง 4 พันธุ์ ได้แก่ CMR60-25-24 CMR60-101-27 และ CMR60-110-38 โดยให้ผลผลิตระหว่าง
6.81-7.74 ตันต่อไร่ ปริมาณแปง้ 27.0-27.1 เปอรเ์ ซ็นต์ และผลผลติ แป้ง 1.83-2.13 ตันต่อไร่ และเม่ือนำผล
ประมวลร่วมกับสถานที่อื่นๆ คัดเลือก 8 สายพันธุ์เข้าประเมินในขั้นตอนการเปรียบเทียบในท้องถิ่น ได้แก่
CMR56-71-18 CMR60-19-3 CMR60-23-12 CMR60-45-2 CMR60-51-71 CMR60-53-799
CMR60-84-33 และ CMR60-110-38

เอกสารอา้ งองิ

Hartojo, K., S. Poespodarsono and P. Puspitorini. 2000. Cassava Breeding and Varietal Dissemination in
Indonesia during 1975-2000. Proceeding of the Sixth Regional Workshop held in Ho Chi Minh City,
Vietnam. Feb 21-25, 2000. pp. 167-173.

Mariscal, A.M., R.V. Bergantin and A.D. Troyo. 2000. Cassava Breeding and Varietal Dissemination in the
Philippines- Major Achievements during the Past 20 Years. Proceeding of the Sixth Regional
Workshop held in Ho Chi Minh City, Vietnam. Feb 21-25, 2000. pp. 192-203.

Sarakarn, S., A. Limsila, W. Watananonta, D. Suparhan and Preecha Suriyapan. 2000. Cassava Breeding and
Varietal Dissemination in the Thailand- Major Achievements during the Past 25 Years. Proceeding
of the Sixth Regional Workshop held in Ho Chi Minh City, Vietnam. Feb 21- 25, 2000. pp. 161-166.

Unnikrishnan, M. C.S. Easwari Amma, M.T. Sreekumari, M.N. Sheela ans C. Mohan. 2002. Cassava Germplasm
Conservation and Improvement in India. Proceeding of the Seventh Regional Workshop held in
Bangkok, Thailand. Oct 28-Nov1, 2002. pp. 87-100.

576

400 1.CMR56-71-18
2.CMR60-16-21
3.CMR60-19-3

350 4.CMR60-22-68
5.CMR60-23-12
6.CMR60-25-24

300 7.CMR60-45-2
8.CMR60-46-17
9.CMR60-51-71

250 10.CMR60-53-79
11.CMR60-53-97
12.CMR60-68-33

200 13.CMR60-84-33
14.CMR60-101-27
15.CMR60-110-3

150 16.CMR60-110-38
17.KU5
18.R5

100 19.R9
4M 6M 8M 10M 20.R72

ภาพท่ี 1 ความยาวลำของมันสำปะหลัง 20 พนั ธ์ุ/สายพันธุใ์ นการเปรยี บเทียบมาตรฐาน ลูกผสมชดุ ปี 2560 ที่
ศูนยว์ จิ ยั พืชไร่ขอนแก่น ปี 2563-2564

3.30 1.CMR56-71-18

2.CMR60-16-21

3.10 3.CMR60-19-3

4.CMR60-22-68

2.90 5.CMR60-23-12

6.CMR60-25-24

2.70 7.CMR60-45-2

8.CMR60-46-17

2.50 9.CMR60-51-71

10.CMR60-53-79

2.30 11.CMR60-53-97

12.CMR60-68-33

2.10 13.CMR60-84-33

14.CMR60-101-27

1.90 15.CMR60-110-3

16.CMR60-110-38

1.70 17.KU5

18.R5

1.50 19.R9
1 2 3 4 20.R72

ภาพท่ี 2 ขนาดเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางลำของมนั สำปะหลัง 20 พันธ์/ุ สายพันธุ์ในการเปรียบเทยี บมาตรฐาน
ลูกผสมชดุ ปี 2560 ทศ่ี นู ย์วจิ ยั พืชไรข่ อนแก่น ปี 2563-2564

ตารางที่ 1 ผลผลิต องค์ประกอบผลผลติ ดัชนเี กบ็ เก่ยี ว และทรงกอของมันสำปะหลงั เ

ลูกผสมชุดปี 2560 ที่ศูนยว์ ิจัยพืชไร่ขอนแก่น ในปี 2563-2564

พันธ์/ุ สายพนั ธ์ ผลผลติ ปรมิ าณแป้ง ผลผลิตแปง้ จน.หลุม
(ต้น/ไร่) (%) (ตน้ /ไร่) (หล

CMR56-71-18 6.34 ab 26.4 abc 1.68 ab 1,4

CMR60-16-21 5.84 ab 29.3 a 1.72 ab 1,6

CMR60-19-3 3.10 ab 25.6 bcd 1.57 ab 1,5

CMR60-22-68 7.43 ab 24.5 bcd 1.81 ab 5

CMR60-23-12 6.59 ab 26.8 cd 1.78 ab 1,4

CMR60-25-24 7.12 ab 27.1 abc 1.92 ab 1,5

CMR60-45-2 5.83 ab 26.4 abc 1.55 ab 1,0

CMR60-46-17 6.96 ab 24.8 Cd 1.73 ab 1,1

CMR60-51-71 5.42 ab 26.5 bcd 1.43 b 1,5

CMR60-53-79 6.83 ab 25.6 bcd 1.77 ab 1,6

CMR60-53-97 5.23 b 25.3 bcd 1.29 b 1,5

CMR60-68-33 5.63 ab 26.9 abc 1.51 ab 1,6

CMR60-84-33 5.35 ab 28.4 ab 1.53 ab 1,6

CMR60-101-27 6.81 ab 27.0 abc 1.83 ab 1,7

CMR60-110-3 6.30 ab 25.4 bcd 1.59 ab 1,4

CMR60-110-38 7.74 a 27.0 abc 2.13 a 1,5

เกษตรศาสตร์ 50 6.17 ab 23.8 cd 1.46 b 1,7

ระยอง 5 6.52 ab 25.4 bcd 1.66 ab 1,7

ระยอง 9 5.47 ab 26.0 abc 1.42 b 1,6

ระยอง 72 6.36 ab 22.6 d 1.44 b 1,8

เฉลยี่ 6.30 26.0 1.64 1,4

F-test ** *

CV (%) 19.0 6.6 20.0 12

คา่ เฉลี่ยท่ีตามด้วยอกั ษรเหมือนกันในแตล่ ะสดมภไ์ ม่แตกต่างกันทางสถิตทิ ี่ระดับความเชอื่ ม่นั 95%

577

เพื่อผลผลติ และแปง้ สูง 20 พนั ธ์/ุ สายพันธ์ุในการเปรียบเทียบมาตรฐาน

มเก็บเก่ียว ดัชนเี ก็บเกีย่ ว ความยาวลำ เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางลำ ทรงกอ
ลุม/ไร)่ (ซม.) (ซม.)
0.64 bcd ตัวยู
485 ab 0.57 c-g 234 gh 2.63 b-f ตัววี
666 a 0.59 c-f 269 c-g 2.40 efg ตัววี
515 ab 0.71 Ab 281 b-f 2.60 b-f ตัวยู
576 d 0.56 d-g 264 ffg 2.39 efg ตวั ยู
485 ab 0.58 c-f 313 bc 2.76 bcd ตัวยู
515 ab 0.56 d-g 303 b-e 2.79 bc ตัววี
000 c 0.53 e-h 374 a 2.88 b ตัวยู
182 bc 0.48 gh 290 b-f 3.19 a ตวั วี
576 a 0.58 c-g 304 b-e 2.66 b-e ตวั วี
697 a 0.46 h 288 b-f 2.63 b-f ตวั ยู
515 ab 0.51 e-h 305 b-e 2.53 c-g ตวั วี
697 a 0.51 fgh 312 b-f 2.79 bc ตัววี
606 a 0.67 abc 325 bcd 2.48 c-g ตวั ยู
727 a 0.57 d-g 280 b 2.44 d-g ตัววี
455 ab 0.63 bcd 282 b-f 2.61 b-f ตวั วี
545 a 0.59 c-f 291 b-f 2.62 b-f ตัวยู
727 a 0.61 cde 246 b-f 2.25 g ตวั วี
757 a 0.60 c-f 213 gh 1.96 h ตัววี
606 a 0.74 a 265 d-g 2.31 fg ตวั วี
818 a 0.59 226 gh 1.82 h
491 283 2.54
**
** 8.7 ** **
2.2 8.5 6.8

% โดย DMRT

578

การประเมนิ คา่ สมั ประสิทธ์ิทางพันธกุ รรมของมนั สำปะหลังสายพันธกุ์ า้ วหน้าเพื่อใช้ใน
แบบจำลองการผลิตมนั สำปะหลัง (ชดุ พันธทุ์ ่ี 2 ปี 2561-2563)

Evaluation of the genetic coefficient of progressive cassava variety
for use in Crop models

ชยนั ต์ ภักดไี ทย1* และเนติรฐั ชมุ สวุ รรณ1

บทคดั ย่อ
แบบจำลองการเจริญเติบโตใช้ในการสร้างสถานการณ์การเจริญเติบโต และพัฒนาการของพืช
สามารถนำมาใช้เปน็ เคร่ืองมือในการวิจัยทางการเกษตร แบบจำลองการเจรญิ เตบิ โตของพชื โดยท่ัวไปสามารถ
ใช้ในการทำนายการเจริญเติบโต และพัฒนาการของพืช และผลผลิตซึ่งข้อมูลที่จำเป็นในการใช้ประกอบไป
ด้วย ขอ้ มลู สภาพแวดลอ้ ม ขอ้ มูลการจดั การพืช และขอ้ มลู ลักษณะของพชื หรือ ค่าสัมประสิทธิท์ างพันธุกรรม
ของพืช จึงดำเนินการศึกษาการประเมินค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของมันสำปะหลังสายพันธุ์กา้ วหน้าเพ่ือ
ใช้ในแบบจำลองการผลิตมันสำปะหลังโดย ดำเนินการทดลองในดินทรายหรือดินร่วนปนทรายศึกษาในมัน
สำปะหลังพันธุ์ก้าวหน้า 2 ชุด แต่ละชุดปลูกในช่วงต้นฝน (พฤษภาคม) และ ปลายฝน (ตุลาคม-ธันวาคม)
โดยชุดที่ 1 ดำเนนิ การทดลองต้นฝน (พฤษภาคม) ระหว่างปี 2559 - 2560 และ ปลายฝน (ตลุ าคม-ธนั วาคม)
ระหว่างปี 2560 - 2561 ชุดที่ 2 ดำเนินการทดลอง ระหว่างปี 2561 - 2563 วางแผนการปลูกเพื่อเก็บ
ข้อมลู การสะสมน้ำหนักแห้งและการเจรญิ เติบโต จำนวน 3 ซำ้ พบวา่ ข้อมลู ทนี่ ำมาปรับแตง่ ในแบบจำลองพืช
ทำให้ค่าสัมประสิทธ์ิทางพันธุกรรมทไ่ี ด้จากการทดลอง สามารถใชป้ ระเมินผลผลิตได้ค่อนข้างดี แต่การจำลอง
การสะสมน้ำหนักแหง้ ในสว่ นของใบและลำต้นยังขาดความแม่นยำเนื่องจาก การเกบ็ ข้อมูลในสว่ นใบอาจจะมี
ความคลาดเคลื่อนในส่วนของใบแห้ง แต่อย่างไรก็ตามก่อนการนำไปใช้ประโยชน์ยังคงต้องทดสอบความ
แม่นยำของแบบจำลองโดยใชข้ ้อมลู ทห่ี ลากหลายจากแปลงทดลองอ่ืน เนือ่ งจากข้อมลู ทใ่ี ช้ในการปรับแต่งเป็น
ขอ้ มลู ท่ไี ด้จากสถานที่เดียวเท่านั้น
คำสำคญั แบบจำลอง คา่ สัมประสทิ ธทิ์ างพันธุกรรม มนั สำปะหลัง น้ำหนกั แห้ง

คำนำ
การพฒั นาแบบจำลองการเจริญเตบิ โตใช้ในการสร้างสถานการณก์ ารเจรญิ เติบโต และพฒั นาการของ
พชื สามารถนำมาใช้เปน็ เคร่ืองมอื ในการวิจยั ทางการเกษตร เพ่ือทำความเขา้ ใจปฏิสัมพันธร์ ะหว่างพันธุกรรม
สรีระวิทยา และสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของพืช ซึ่งมีตัวอย่างการใช้ประโยชน์
หลายด้านด้วยกัน เช่น ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจปลูกพืช ทดสอบเปรียบเทียบพันธุ์พืชใน

1ศนู ยว์ ิจยั พชื ไรข่ อนแกน่ สถาบนั วิจยั พชื ไร่และพชื ทดแทนพลงั งาน กรมวชิ าการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

579

หลากหลายสภาพแวดล้อม ศกึ ษาปฏกิ ริ ิยาสัมพนั ธร์ ะหว่างพันธกุ รรมและสภาพแวดลอ้ ม และการออกแบบพืช
ในอุดมคติ เป็นต้น (Ruiz-Nogueira et al., 2001; Suriharn et al., 2007) แบบจำลองการเจรญิ เติบโตของ
พืชโดยทั่วไปสามารถใช้ในการทำนายการเจริญเติบโต และพัฒนาการของพืช ซึ่งข้อมูลที่จำเป็นในการใช้
ประกอบไปด้วย ข้อมูลสภาพแวดล้อม ข้อมูลการจัดการพืช และข้อมูลลักษณะของพืช หรือ ค่าสัมประสิทธิ์
ทางพันธุกรรมของพืช (Hoogenboom et al., 2010) ซ่ึงก่อนการใช้แบบจำลองการเจริญเติบโตของพืช
จำเป็นต้องกำหนดคา่ สัมประสิทธิ์ทางพนั ธุกรรมของพนั ธพ์ุ ืช (Boote et al, 2001) ซงึ่ แต่ละพันธ์ุจะต้องมีค่า
แตกตา่ งกัน สำหรับมนั สำปะหลงั มีแบบจำลอง GUMCAS (Uehara and Tsuji, 1998) วนิ ยั และคณะ (2547)
วรยทุ ธ และคณะ (2548) และวรยทุ ธ (2551) ได้นำมาศึกษาพฒั นาใชก้ ับพันธมุ์ ันสำปะหลงั ของไทยหลายพันธุ์
นำมาใช้ศึกษาศักยภาพของผลผลิตและการผลิตในสภาพอาศัยน้ำฝนได้ (พนมศักดิ์ และคณะ, 2545 ) ซ่ึง
แบบจำลองสามารถคาดการณ์ผลผลิตได้ค่อนข้างแม่นยำ (สุกิจ และคณะ, 2553) ความแม่นยำของ
แบบจำลองเพื่อคาดการณ์ผลผลิตและการตอบสนองต่อการใช้ธาตุอาหารจำต้องมีการเก็บข้อมูลดินและ
สภาพแวดล้อมมาใช้เป็นในแบบจำลองโดยเฉพาะปริมาณนำ้ ฝนและการจัดการน้ำเน่ืองจากเปน็ ตัวแปรสำคัญ
ในการเพิม่ หรอื ลดผลผลิตของมนั สำปะหลัง (Kaweewong et al., 2013) วลยั พร และ คณะ (2554) นำมาใช้
ในการจัดทำทางเลือกในการให้คำแนะนำการเลือกช่วงปลูกและพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะสมกับพื้นท่ี
อย่างไรก็ตาม DSSAT4.6 ได้พัฒนาใช้แบบจำลอง CROPSIM-Cassava แทน GUMCAS จึงจำเป็นที่จะต้อง
ศึกษาหาค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของมันสำปะหลังให้เหมาะสมกับการใช้งานสำหรับ CROPSIM-
Cassava

วธิ ดี ำเนนิ การ
- อุปกรณ์

- มันสำปะหลังสายพันธุ์ก้าวหน้าที่มีแนวโน้มจะรับรองพันธุ์ : ชุดที่ 1 (เป็นพันธุ์ก้าวหน้าที่ได้จาก
ขน้ั ตอนการปรับปรุงพนั ธ์ุ ในชว่ งก่อนปี 2558) และชดุ ท่ี 2 (เป็นพนั ธกุ์ ้าวหนา้ ทีไ่ ดจ้ ากขนั้ ตอนการปรับปรุง
พันธุ์ ในชว่ งปี 2558-61)

- แบบจำลองพชื CSM-CROPSIM-Cassava Ver.4.6
- อุปกรณว์ ิเคราะหธ์ าตอุ าหารในดนิ และพชื
- อุปกรณ์บันทึกและเก็บขอ้ มลู ภูมอิ ากาศ
- ปยุ๋ เคมีเกรด 46-0-0, 18-46-0 และ 0-0-60
- เคร่อื งมอื วัดเปอรเ์ ซน็ ต์แปง้
- วธิ ีการ

ดำเนินการทดลองในดินทรายหรือดินร่วนปนทราย ทำการทดลองที่แปลงทดลองของศูนย์วิจัยพืชไร่
ขอนแก่น ตำบลศิลา อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โดยศึกษาในมันสำปะหลังพันธุ์ก้าวหน้า 2 ชุด
แต่ละชดุ ปลูกในชว่ งตน้ ฝน (พฤษภาคม) และ ปลายฝน (ตลุ าคม-ธนั วาคม) โดยชดุ ที่ 1 ดำเนินการทดลองต้น
ฝน (พฤษภาคม) ระหว่างปี 2559 - 2560 และ ปลายฝน (ตลุ าคม-ธนั วาคม) ระหวา่ งปี 2560 - 2561 ชุดท่ี

580

2 ดำเนินการทดลอง ระหว่างปี 2561 - 2563 วางแผนการปลูกเพื่อเก็บข้อมูล จำนวน 3 ซำ้ ประกอบด้วย
มันสำปะหลังพนั ธุ์ก้าวหน้าประมาณ 3 พันธุ์ โดยแต่ละพันธุป์ ลูกพื้นที่ประมาณ 2 ไร่ ใช้ระยะปลูก 1x1 เมตร
ขนาดแปลงยอ่ ย 24x33 เมตร ก่อนปลกู แช่ทอ่ นพันธุด์ ้วยไทอะมีโธแซม 25% WG อตั รา 4 กรัมตอ่ น้ำ 20 ลิตร
ใส่ปุ๋ย 1.5 เท่าของค่าวิเคราะห์ดิน (กรมวิชาการเกษตร, 2548) ดูแลรักษาตามคำแนะนำของกรมวิชาการ
เกษตร ให้นำ้ ตามความตอ้ งการของมันสำปะหลัง กำจัดวชั พชื โดยวธิ กี ล

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
1. การเจริญเตบิ โตและการสะสมนำ้ หนัก

มันสำปะหลังปี 59/60 ปลูกฤดฝู น ดำเนินการในแปลงทดลองภายในศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ชุดดิน
วารนิ พกิ ดั แปลงทดลอง UTM 48 Q 267449E 1823865N ดำเนนิ การการวิเคราะหด์ นิ กอ่ นปลูก ผลวิเคราะห์
ดินก่อนปลูก พบว่า ดินบนที่ระดับความลึก 0-20 เซนติเมตร มีค่าความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 5.2 มีปริมาณ
อินทรียวัตถุต่ำ 0.45 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์สูง 88 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และ
โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 69 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนดินล่างที่ระดับความลึก 20-50 เซนติเมตร มีค่า
ความเป็นกรด-ด่าง 5.8 มปี รมิ าณอนิ ทรยี วัตถุ 0.29 เปอรเ์ ซ็นต์ ฟอสฟอรัสทเี่ ปน็ ประโยชน์สูง 49 มิลลิกรัมต่อ
กโิ ลกรมั และโพแทสเซยี มที่แลกเปลย่ี นได้สงู 88 มลิ ลกิ รัมต่อกโิ ลกรมั (Table 1) และลกั ษณะของดินภายใน
หน้าตัดดิน พบว่า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ส่วนดินล่าง มีเนื้อดินเป็นดินทรายปนร่วน และดิน
เหนียวปนทรายในชั้นที่ลึกลงไป ดินมีปฏิกิริยาดินเป็นกรด มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ำมาก ฟอสฟอรัสที่เป็น
ประโยชน์ได้สูงในดินบนทรี่ ะดับความลกึ 0–36 เซนตเิ มตรและลดลงเม่ือระดับความลกึ มากขึ้น โพแทสเซียมท่ี
แลกเปลี่ยนได้มีค่า 97 ในดินชั้นความลึก 0–36 เซนติเมตร ค่าความหนาแน่นรวมของดินบนและดินล่างอยู่
ระหว่าง 1.21 และ 1.28 กรมั /ซม3 ตามลำดบั (Table 2) และทำการปลูกมนั สำปะหลงั พันธ์ุเกษตรศาสตร์ 50
พันธุ์ระยอง 9 และพนั ธ์ุ CMR54-31-53 เมอ่ื วันที่ 9 มถิ นุ ายน 2559

เกบ็ ข้อมูลนำ้ หนกั สดของมันสำปะหลงั พนั ธเ์ุ กษตรศาสตร์ 50 พนั ธรุ์ ะยอง 9 และพันธุ์ CMR54-31-53
ทอี่ ายุ 2-4 เดอื น พบวา่ มนั สำปะหลังพันธ์ุ CMR54-31-53 มกี ารเจรญิ เตบิ โตคอ่ นข้างช้า เนื่องจากคุณภาพของ
ทอ่ นพันธ์ุค่อนข้างตำ่ มนั สำปะหลงั พันธ์ุเกษตรศาสตร์ 50 มีการเจรญิ เติบโตและสะสมนำ้ หนักได้เร็วกว่าพันธุ์
ระยอง 9 เน่ืองจากเป็นการปลูกในช่วงตน้ ฤดูฝน ในมนั สำปะหลังอายุ 6 เดือนพนั ธุ์ CMR54-31-53 มีความสูง
น้อยที่สุดแต่มีจำนวนใบ จำนวนหัวตอ่ ต้นและน้ำหนักหัวสดมากที่สุด เมื่อมันสำปะหลังอายุ 8-10 เดือน การ
เจริญเติบโตเมื่ออายุ 12 เดือน มันสำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ยังคงมีความสูงเพิ่มขึ้นกว่าพนั ธุ์อ่ืนโดย
พันธุ์ CMR54-31-53 ความสูงน้อยที่เหมาะเหมือนในชว่ งอายุ 10 เดือน แต่พันธุ์ CMR54-31-53 มีจำนวนใบ
จำนวนหัวต่อต้นและน้ำหนักหัวสดมากที่สุด และทั้ง 3 พันธุ์มีน้ำหนักใบต่อต้นใกล้เคียงกันที่อายุ 12 เดือน
(Table 3-8)

มนั สำปะหลงั ปี 60/61 ปลูกฤดแู ล้งดำเนนิ การในแปลงทดลองภายในศนู ยว์ ิจัยพืชไร่ขอนแก่น ชุดดิน
วารนิ พกิ ัดแปลงทดลอง UTM 48 Q 267332E 1823862N ดำเนนิ การการวิเคราะหด์ ินกอ่ นปลูก ผลวเิ คราะห์
ดินก่อนปลูก พบว่า ดินบนที่ระดับความลึก 0-20 เซนติเมตร มีค่าความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 5.5 มีปริมาณ

581

อินทรียวัตถุต่ำ 0.65 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์สูง 75 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และ
โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 77 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนดินล่างที่ระดับความลึก 20-50 เซนติเมตร มีค่า
ความเป็นกรด-ด่าง 5.2 มปี ริมาณอินทรียวตั ถุ 0.45 เปอรเ์ ซ็นต์ ฟอสฟอรัสทเี่ ป็นประโยชนส์ ูง 65 มิลลิกรัมต่อ
กิโลกรัม และโพแทสเซียมทแ่ี ลกเปล่ยี นได้สงู 81 มิลลกิ รมั ตอ่ กโิ ลกรมั (Table 9)

การเจริญเติบโตของมนั สำปะหลังปี 60/61 ปลูกฤดูแล้ง อายุ 2-10 เดือนพบว่าพันธ์ุเกษตรศาตร์ 50
มีความสูงมากกว่าพันธุ์อื่นในทุกช่วงอายุ แต่จำนวณใบสดต่อต้นพบว่า พันธุ์ CMR54-31-53 มีจำนวนใบ
มากกว่าพนั ธ์อุ นื่ ๆและเพื่อข้ึนในทกุ ช่วงอายุเช่นเดยี วกันกับพนั ธุ์เกษตรศาสตร์ 50 แต่พนั ธร์ุ ะยอง 9 มีจำนวน
ใบสูงสุดเมื่ออายุ 6 เดือนและเริ่มลดลงหลังจากอายุ 6 เดือน จำนวนหัวต่อต้นพบว่าพันธุ์ CMR54-31-53 มี
จำนวนหัวตอ่ ตน้ มากกวา่ พันธอุ์ ื่นๆเมอื่ อายุ 4 เดอื นข้นึ ไป ในส่วนนำ้ หนกั หวั สดพนั ธุ์ CMR54-31-53 มีน้ำหนัก
มากกว่าพันธุ์อื่นที่อายุ 10 เดือน และทุกพันธุ์มีน้ำหนักใบสดต่อต้นสูงสุดที่อายุ 6 เดือน เมื่ออายุ 12 เดือน
พบว่า พันธุ์ CMR54-31-53 มีน้ำหนักหัวสดต่อต้นมากที่สุดคือ 5.33 กิโลกรัมต่อต้น รองลงมา คือ
เกษตรศาสตร์ 50 และ ระยอง 9 การเจริญเติบโตในส่วนของลำต้นพันธุเ์ กษตรศาสตร์ 50 มีการเจริญเติบโต
มากกวา่ พันธุ์อืน่ ๆ (Table 10-15)

มันสำปะหลังปี 61/62 ปลูกฤดูฝน ดำเนินการในแปลงทดลองภายในศูนย์วิจัยพชื ไร่ขอนแก่น ชุด
ดินวาริน พิกัดแปลงทดลอง UTM 48 Q 267449E 1823865N ดำเนินการการวิเคราะห์ดินก่อนปลูก ผล
วิเคราะห์ดินก่อนปลูก พบว่า ดินบนที่ระดับความลึก 0-20 เซนติเมตร มีค่าความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 5.2 มี
ปริมาณอินทรียวัตถุต่ำ 0.45 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชนส์ ูง 88 มิลลิกรัมต่อกโิ ลกรัม และ
โพแทสเซียมท่ีแลกเปลี่ยนได้ 69 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนดินล่างที่ระดับความลึก 20-50 เซนติเมตร มีค่า
ความเป็นกรด-ดา่ ง 5.8 มปี ริมาณอินทรยี วตั ถุ 0.29 เปอร์เซน็ ต์ ฟอสฟอรัสทเ่ี ป็นประโยชน์สูง 49 มิลลิกรัมต่อ
กิโลกรัม และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้สูง 88 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (Table 16) และทำการปลูกมัน
สำปะหลังพนั ธพ์ุ ันธุ์ระยอง 9 พันธ์ุระยอง86-13 และพันธ์ุ CMR53-87-20 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2561

การเจริญเตบิ โตของมันสำปะหลังปี 61/62 ปลูกฤดูฝน อายุ 2-12 เดือนพบว่าพนั ธ์ุ CMR53-87-20 มี
จำนวนใบสดต่อต้น จำนวนหัวต่อต้น น้ำหนักสด หัว ต้น เหง้าและใบสดต่อต้น มากกว่าพันธุ์ระยอง 9 และ
ระยอง86-13 ในทุกช่วงอายุ แต่ความสูงในชว่ งอายุ 12 เดือนน้อยกว่าพันธ์ุระยอง86-13 แต่เมื่อเก็บขอ้ มลู ที่
อายุ 12 เดือนพบวา่ พันธ์ุ CMR53-87-20 มนี ้ำหนกั หัวสดมากกว่ามนั สำปะหลังพันธุ์อื่นๆ โดยมีน้ำหนักหัวสด
5,177 กรัมต่อตน้ (Table 17-22)

มนั สำปะหลงั ปี 62/63 ปลูกฤดแู ล้ง ดำเนินการในแปลงทดลองภายในศูนย์วิจยั พืชไรข่ อนแก่น ชดุ ดิน
วาริน พกิ ดั แปลงทดลอง UTM 48Q 267469E 1823885N ดำเนินการการวิเคราะห์ดนิ ก่อนปลกู ผลวิเคราะห์
ดินก่อนปลูก พบว่า ดินบนที่ระดับความลึก 0-20 เซนติเมตร มีค่าความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 5.5 มีปริมาณ
อินทรียวัตถุต่ำ 0.65 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์สูง 96 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และ
โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 75 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนดินล่างที่ระดับความลึก 20-50 เซนติเมตร มีค่า
ความเป็นกรด-ดา่ ง 5.9 มีปรมิ าณอินทรียวตั ถุ 0.45 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรสั ท่ีเป็นประโยชน์สูง 72 มิลลิกรัมต่อ
กโิ ลกรัม และโพแทสเซยี มท่ีแลกเปล่ยี นได้สงู 95 มิลลกิ รัมต่อกโิ ลกรัม (Table 23) ทำการปลูกมันสำปะหลัง

582

พันธุ์พันธุ์ระยอง 9 พันธุ์ระยอง86-13 และพันธุ์ CMR53-87-20 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562 ทำการติดตั้ง
ระบบนำ้ เพ่อื ให้น้ำแบบหยด

การเจรญิ เตบิ โตของมันสำปะหลังปี 62/63 ปลูกฤดูแลง้ อายุ 2-12 เดือนพบว่า พนั ธุ์ระยอง 9 มีความ
สงู มากกว่าพันธอุ์ นื่ ๆ เกอื บทุกชว่ งอายกุ ารเจรญิ เตบิ โต จำนวนใบตอ่ ตน้ พนั ธ์ุ CMR53-87-20 มากกวา่ พนั ธ์อุ ื่น
เมือ่ มีอายุมากกวา่ 8 เดอื น จำนวนหัวตอ่ ตน้ พนั ธ์ุ CMR53-87-20 มากกว่าพนั ธุ์อ่นื เม่ือมอี ายมุ ากกวา่ 6 เดือน
แต่ลดลงเมื่ออายุ 12 เดือน น้ำหนักลำต้นและน้ำหนักหัวต่อต้น พันธุ์ CMR53-87-20 มากกว่าพันธุ์อื่นเมื่อมี
อายุมากกว่า 8 เดือน (Table 24-29)
2. การปรับแต่งแบบจำลอง

นำข้อมูลเข้าแบบจำลอง CSM-CSCRP-Cassava ด้านการจัดการแปลงทดลองปลายฝนเนื่องจากให้
การเจริญเติบโตและผลผลิตดีกว่าแปลงทดลองต้นฝน สามารถเป็นตัวแทนของศักยภาพในการให้ผลผลิตของ
มันสำปะหลงั ข้อมูลประกอบดว้ ย คา่ วเิ คราะห์ดินแปลงทดลอง วันปลูก ระยะปลกู วนั ใสป่ ุ๋ย อัตราปุ๋ย วันเก็บ
เกี่ยว ในแบบฟอร์ม FileX ข้อมูลการสะสมน้ำหนักแห้งในแต่ละช่วงเวลาที่เก็บตัวอย่าง ได้แก่ น้ำหนักลำต้น
น้ำหนกั ใบ น้ำหนักเหงา้ น้ำหนักหวั นำเข้าขอ้ มูลในแบบฟอร์ม FileT และข้อมลู น้ำหนกั แหง้ ของนำ้ หนักลำต้น
นำ้ หนกั ใบ น้ำหนกั เหงา้ นำ้ หนักหวั นำเขา้ ข้อมลู ในแบบฟอรม์ FileA

ปรับค่าสัมประสิทธิ์พันธุกรรมโดยใช้โปรแกรม Genetic Coefficient Calculator (GENCALC)
(Hunt et al., 1993) เรม่ิ โดยการปรบั ตวั แปรทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับลักษณะพัฒนาการกอ่ น คอื อายวุ นั แตกกิง่ ที่ระดับ
ต่างๆ ได้แก่ B01ND B12ND B23ND B34ND และ B45ND คือ อายุการแตกกิ่งระดับท่ี 1 2 4 และ 5
ตามลำดับ โดยปรับค่าตัวแปรที่ทำให้ผลต่างระหว่างค่าจำลองสถานการณ์และค่าสังเกตจากการทดลองจริง
ของอายุการแตกกิ่งมีค่าน้อยที่สุด จากนั้นจึงเริ่มปรับค่าของตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตโดยเริ่ม
ค่าตัวแปร LA1S LAXS และ LAXND ที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเตบิ โตของใบ พร้อมทั้งปรับตัวแปร LLIFA ที่มี
ผลต่อผลผลิต และตวั แปร SRFR ทม่ี ผี ลต่อน้ำหนักแหง้ ต้นและใบ นอกจากนี้ ยังไดป้ รับตัวแปร PHINT ซง่ึ มีผล
ต่อน้ำหนักแห้งรวมและน้ำหนักแห้งต้น ผลจากการปรับค่าสัมประสิทธิ์พันธุกรรมทำให้ได้ค่าสัมประสิทธิ์
พันธุกรรมของมันสำปะหลัง 5 พนั ธ์ุ ไดแ้ ก่เกษตรศาสตร์ 50 พนั ธร์ุ ะยอง 9 พนั ธ์ุระยอง86-13 CMR54-31-53
และพันธุ์ CMR53-87-20 (Table 30) ค่าสัมประสิทธิ์พันธุกรรมของมันสำปะหลังที่ได้ จะถูกนำไปทดสอบ
ความสอดคล้องของแบบจำลอง กับข้อมูลที่ได้จากแปลงทดลองมันสำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 พันธ์ุ
ระยอง 9 พันธุ์ระยอง86-13 CMR54-31-53 และพันธ์ุ CMR53-87-20 ในการทดลองท่ี 1.13


Click to View FlipBook Version