The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by appleati, 2021-12-27 04:16:11

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

729

6) 16-8-16 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ ร่วมกบั ป๋ยุ อนิ ทรีย์อตั รา 1 ตนั ตอ่ ไร่
7) 16-8-16 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ สับกลบต้นใบมันสำปะหลงั อัตรา 3 ตนั ตอ่ ไร่
8) 0-0-0 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ สับกลบตน้ ใบมันสำปะหลงั อัตรา 3 ตนั ต่อไร่
วธิ ีปฏิบตั ิการทดลอง
ดำเนินการทดลองในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังระยะยาว ดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2518-2519 ซึ่งเป็นแปลง
ทดลองเดิมในพน้ื ทดี่ ินร่วนทราย ท่ีศูนย์วจิ ัยพชื ไรข่ อนแกน่ จังหวดั ขอนแก่น โดยการปรบั ปรุงดินด้วยวัสดุอินทรีย์
ปุ๋ยอินทรยี ์ และป๋ยุ เคมีเพ่ือเพิ่มผลผลิตและคุณภาพผลผลิตมนั สำปะหลังระยะยาว กอ่ นเร่ิมการทดลองในแต่ละฤดู
ปลูก สุ่มเก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกที่ระดับความลึก 0-20 เซนติเมเมตร และ 20-50 เซนติเมตร มาวิเคราะห์
คุณสมบัติทางเคมี และปริมาณธาตุอาหารในดิน แล้วทำการไถและเตรียมแปลงทดลอง ขนาดแปลงย่อย 8x10
เมตร แปลงที่ใส่ปุ๋ยอินทรีย์จะทำการหว่านและสับกลบก่อนปลกู แปลงที่ใส่วสั ดุอินทรีย์จะทำการสบั กลบตน้ ใบ
มนั สำปะหลงั ก่อนปลูกทำการปลูกมนั สำปะหลงั ต้นฤดูฝน ระยะปลูก 1x1 เมตร จำนวน 1 ตน้ ตอ่ หลมุ ใส่ปุ๋ยเคมี
เมอื่ มันสำปะหลังอายุ 1-2 เดือน โดยใสป่ ยุ๋ เคมสี องข้างตน้ หา่ งจากตน้ 20-30 เซนตเิ มตร ใสค่ รงั้ เดียวหลังปลูกดูแล
รักษาแปลงปลูก กำจัดวัชพืชเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1 เดือน 3 เดือน และตามความจำเป็นตลอดฤดูปลูก เก็บ
เกี่ยวผลผลิตมนั สำปะหลังเมอ่ื อายุ 11 เดือน พ้นื ทเ่ี กบ็ เก่ียว 48 ตารางเมตรสมุ่ เกบ็ ตัวอย่างดินก่อนปลูกและหลัง
เกบ็ เกยี่ ว และตัวอย่างพืชขณะเก็บเก่ียว เพ่ือวเิ คราะหห์ าปริมาณธาตอุ าหาร ๆ และปรมิ าณอินทรยี คาร์บอนในดิน
และพชื

รายงานความก้าวหนา้
ได้พื้นที่ดำเนินการทดลองแปลงปลูกมันสำปะหลังระยะยาวที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น จังหวัดขอนแกน่
ซงึ่ ไดท้ ำการปลูกและดแู ลรกั ษาแปลงทดลองฤดูปลกู ปี 2562/2563 และจัดเตรียมวสั ดุทางการเกษตรสำหรับใช้ใน
การทดลองฤดปู ลูกปี 2563/2564
แปลงทดลองศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ค่าวิเคราะห์ดินก่อนปลูก แปลงทดลองฤดูปลูก ฤดูปลูกปี
2562/2563 ดำเนินการเก็บตัวอย่างดินก่อนปลูก อยู่ระหว่างการวิเคราะห์ตัวอย่างในห้องปฏิบัติการ ปลูกมัน
สำปะหลังพันธุ์ระยอง 86-13 ตามกรรมวิธีวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 บันทึกการเจริญเติบโตเมื่อมันสำปะหลัง
อายุ 3 เดือน พบว่า การใสป่ ุ๋ยในทกุ กรรมวิธไี มม่ ีผลต่อความสงู ของมนั สำปะหลัง โดยการใช้ปยุ๋ 16-8-16 กิโลกรัม
N-P2O5-K2O ต่อไร่สับกลบต้นใบมันสำปะหลัง อัตรา 3 ตันต่อไร่ มีแนวโน้มให้ความสูงมากที่สุด 149 เซนติเมตร
(ตารางที่ 1)
การเจริญเติบโตเมื่อมนั สำปะหลังอายุ 6 เดือน พบว่า การใส่ปุ๋ยในทุกกรรมวิธ๊ไม่มีผลต่อความสูงของมนั
สำปะหลัง โดยการใช้ปุ๋ย 16-8-16 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่สับกลบต้นใบมันสำปะหลัง อัตรา 3 ตันต่อไร่ มี
แนวโน้มใหค้ วามสงู มากท่ีสดุ 186 เซนติเมตร (ตารางที่ 1)
การเจริญเติบโตเม่ือมันสำปะหลังอายุ 9 เดือน พบว่า การใช้ปุ๋ย 16-8-16 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
สับกลบต้นใบมนั สำปะหลงั อตั รา 3 ตันตอ่ ไร่ ใหค้ วามสูงมากที่สุด 221 เซนติเมตร แตกตา่ งกับกรรมวิธีอื่นอย่างมี

730

นัยสำคัญ แต่ให้ความสูงไม่แตกต่างกับกรรมวิธีที่ใชป้ ุ๋ย 16-8-16 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์
อัตรา 1 ตันตอ่ ไร่ ซง่ึ ใหค้ วามสงู มากทสี่ ดุ 214 เซนติเมตร (ตารางท่ี 1)

เก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อมันสำปะหลงั มีอายุ 12 เดือน พบว่า การสับต้นใบมันสำปะหลังสับกลบอัตรา 3 ตัน
ตอ่ ไร่ลงแปลงปลูกใหผ้ ลผลติ มากที่สุด 4,523 กโิ ลกรมั ต่อไร่ แตไ่ มแ่ ตกต่างในทางสถิตกิ ับกรรมวิธที ีใ่ ช้ปุ๋ยเคมี 16-8-
16 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไรร่ ว่ มกบั สบั กลบต้นใบมันสำปะหลงั อัตรา 3 ตันตอ่ ไร่ กรรมวิธีที่ใชป้ ุ๋ยเคมี 16-8-16 กก.
N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 1 ตันต่อ กรรมวิธีที่ใช้ปุ๋ยเคมี 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ และ
กรรมวิธที ่ีใช้ปุ๋ยเคมี 16-0-16 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ สว่ นเปอร์เซน็ ต์แป้ง พบมากท่สี ุดในกรรมวิธีที่ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี
(25.93%) และแตกต่างในทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่ใส่ปุ๋ยโพแทสซียม (16-8-0 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่) ผลผลิต
แป้งมมี ากท่ีสุดในกรรมวิธีการสับต้นใบมนั สำปะหลงั สับกลบอัตรา 3 ตนั ตอ่ ไร่ โดยใหผ้ ลผลิตแปง้ 1,068 กิโลกรัม
ตอ่ ไร่

แปลงทดลองฤดูปลูก ฤดปู ลูกปี 2563/2564 ดำเนินการเก็บตวั อย่างดนิ ก่อนปลูก อยู่ระหว่างการวิเคราะห์
ตวั อยา่ งในห้องปฏิบัติการ ปลูกมันสำปะหลังพนั ธุ์ระยอง 86-13 ตามกรรมวธิ วี ันท่ี 28 พฤษภาคม 2563 บันทึก
การเจริญเติบโตเมือ่ มันสำปะหลังอายุ 3 6 และ 9 เดือน พบว่า การใส่ปุ๋ย 16-8-16 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
สับกลบต้นใบมันสำปะหลัง อัตรา 3 ตันต่อไร่ ให้ความสูงมากที่สุด 71 184 และ 195 เซนติเมตรตามลำดับ
แตกตา่ งกับกรรมวธิ ีอ่นื อยา่ งมีนยั สำคญั ทกุ ชว่ งการเจรญิ เติบโต (ตารางท่ี 3)

ตารางที่ 1 ความสงู ของมันสำปะหลังทมี่ ีจัดการปยุ๋ และไถกลบเศษซากพืชลงดินอยา่ งต่อเนือ่ งระยะยาวที่อายุ 3

เดือน และ 6 เดอื น จ.ขอนแกน่ ปี 2562/2563

กรรมวิธี ความสงู (ซม.)

3 เดอื น 6 เดอื น 12 เดือน

1. 0-0-0 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ 79 101 143 cd
2. 16-0-0 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ 84 106 148 c
3. 16-8-0 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ 89 112 171 b
4. 16-0-16 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ 99 119 180 b
5. 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ 118 152 214 a
6. 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่รว่ มกบั ปุ๋ยอนิ ทรยี อ์ ตั รา 1 ตันต่อไร่ 123 154 221 a
7. 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ต่อไรส่ ับกลบต้นใบมนั สำปะหลงั อัตรา 149 186 170 b

3 ตนั ต่อไร่

8. ตน้ ใบมันสำปะหลังสับกลบอัตรา 3 ตนั ตอ่ ไร่ 111 137 122 d

เฉลย่ี 106 133 143 cd

CV (%) 10.61 10.31 8.64

731

ตารางที่ 2 ผลผลิต เปอรเ์ ซน็ ต์แป้ง และผลผลิตแป้ง ของมนั สำปะหลังท่ีมีจดั การปยุ๋ และไถกลบเศษซากพืชลงดิน

อยา่ งตอ่ เน่ืองระยะยาวอายุ 12 เดอื น จ.ขอนแกน่ ปี 2562/2563

กรรมวิธี ผลผลิต (กก./ไร่) เปอร์เซ็นตแ์ ป้ง ผลผลิตแป้ง (กก./ไร่)

1. 0-0-0 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ 950 d 25.93 a 246 d
2. 16-0-0 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 1,312 cd 24.98 ab 332 cd
3. 16-8-0 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 2,154 bcd 21.95 b 490 bcd
4. 16-0-16 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 3,335 abc 24.23 ab 829 abc
5. 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 3,702 ab 22.50 ab 849 ab
6. 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับปุ๋ย 3,497 ab 24.70 ab 839 abc

อินทรีย์อตั รา 1 ตันตอ่ ไร่

7. 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไรส่ ับกลบต้นใบ 4,187 ab 22.88 ab 957 ab
มนั สำปะหลัง อตั รา 3 ตันต่อไร่

8. ต้นใบมันสำปะหลังสบั กลบอัตรา 3 ตันต่อไร่ 4,523 a 23.75 ab 1,068 a

เฉล่ีย 2,958 23.87 701

CV (%) 47.91 9.91 49.53

ตารางที่ 3 ความสูงของมันสำปะหลงั ทม่ี ีจัดการปยุ๋ และไถกลบเศษซากพืชลงดนิ อยา่ งต่อเน่ืองระยะยาวที่อายุ 3

เดือน จ.ขอนแก่น ปี 2563/2564

กรรมวธิ ี ความสูง (ซม.)

3 เดือน 6 เดือน 9 เดอื น

1. 0-0-0 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 34 d 87 d 97 e
2. 16-0-0 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ 38 cd 116 cd 134 cd
3. 16-8-0 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 45 bcd 119 bc 132 d
4. 16-0-16 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 49 bc 134 bc 146 bcd
5. 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 54 b 151 b 161 bc
6. 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่รว่ มกบั ปุ๋ยอินทรียอ์ ตั รา 1 ตันตอ่ ไร่ 53 b 145 bc 175 ab
7. 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่สับกลบต้นใบมนั สำปะหลงั 71 a 185 a 195 a

อตั รา 3 ตนั ต่อไร่

8. ต้นใบมันสำปะหลงั สับกลบอัตรา 3 ตันต่อไร่ 57 b 137 bc 154 bcd

เฉล่ยี 50 134 149

CV (%) 18.52 16.16 13.12

732

ภาพท่ี 1 ปรมิ าณน้ำฝน อณุ หภูมิสงู สุด-ต่ำสุด ภายในแปลงทดลองศูนย์วิจยั พชื ไร่ขอนแก่น แปลงปลูก
มนั สำปะหลังปี 2562/2563 (ข้อมูลวนั ท่ี 28 ก.ย. 62 -14 พ.ย. 62 ขอ้ มูลเสยี หาย)
เอกสารอ้างองิ

ชุมพล นาควิโรจน์, หริ่ง มีสวัสดิ์, กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ และมาโนช ดอนเส. 2540. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ
ปยุ๋ เคมสี ตู ร 16-8-16 และ 16-16-16 กับมันสำปะหลงั . เอกสารผลงานวจิ ยั ประกอบการจัดนิทรรศการมันสำปะหลัง
และการแปรรูปผลผลิตภัณฑ์ โครงการเผยแพร่และขยายผลงานวิจัยเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมครั้งที่ 1.
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 26-28 มถิ ุนายน 2540. หนา้ 12.

โชติ สทิ ธิบศุ ย์ และ ชมุ พล นาควโิ รจน.์ 2529. การทดลองปุ๋ยระยะยาวกบั มันสำปะหลงั ของดินชดุ ดินห้วยโป่ง. เอกสารทางวชิ าการ
ดา้ นปฐพวี ทิ ยา เลม่ ท่ี 2 กองปฐพวี ทิ ยา กรมวิชาการเกษตร.

วัลลยี ์ อมรพล, กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ และ รงุ่ รวี บญุ ทง่ั . 2555. ศกึ ษาการตอบสนองของมันสาปะหลังต่อการจดั การธาตุ
อาหารในกลุม่ ดินทราย: ชดุ ดินสัตหีบ. หน้า 7-25. รายงานประจำปี 2554 โครงการวิจัยและพัฒนาวิธีการเขตกรรมมัน
สาปะหลัง. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สิงหาคม 2555.

733

แผนงานวจิ ัย

วจิ ัยปรบั ปรงุ พันธข์ุ ้าวโพดฝกั สด(โครงการวิจยั เดีย่ ว)

734

การเปรยี บเทียบในท้องถนิ่ พันธข์ุ ้าวโพดหวาน

ภาคภมู ิ ถ่นิ คำ1* ฉลอง เกิดศร2ี และวรรษมน มงคล3

รายงานความก้าวหนา้
การประเมินศักยภาพการให้ผลผลิตของข้าวโพดหวานลูกผสมดีเด่น ชุดปี 2561 จำนวน 9 ลูกผสม
ร่วมกบั ข้าวโพดหวานลูกผสมที่เป็นการค้า จำนวน 5 พนั ธ์ุ วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบลอ็ คสมบูรณ์ จำนวน 3
ซ้ำ ทศ่ี ูนย์วิจัยพืชไรข่ อนแก่น ในตน้ ฤดูฝน ปี 2563 สามารถคดั เลือกขา้ วโพดหวานลูกผสมดเี ด่น S18193 S18205
และ S18024 มีศักยภาพในการให้ผลผลติ สงู ใกล้เคียงกับขา้ วโพดหวานลกู ผสมทีเ่ ปน็ พนั ธุ์การค้า เหมาะสำหรับการ
ผลิตเพื่ออุตสาหกรรม ข้าวโพดหวานลูกผสมดีเด่น S18048 และ S18050 มีคุณภาพบริโภคดี รูปทรงสวยงาม
เหมาะสำหรับการผลิตเพือ่ ตลาดฝักสด ขา้ วโพดหวานลกู ผสมดีเดน่ เหล่าน้ีจะนำไปเปรียบเทียบพนั ธ์ุในไร่เกษตรกร
ตอ่ ไป
คำสำคญั : ขา้ วโพดหวาน ปรบั ปรงุ พันธ์ุ เสถียรภาพ

คำนำ
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณค่าของพันธุ์ข้าวโพดข้าวหวานท่ีได้ พัฒนาข้ึนมา ซึ่งมีหลาย
ขั้นตอน การเปรียบเทียบพันธุ์ในท้องถิ่นเป็นขั้นตอนหนึ่งเพื่อประเมินคุณค่าของพันธุ์ในการปรับตัวต่อ
สภาพแวดล้อมในแหล่งปลูกต่าง ๆ โดยมีพันธ์ุ สงขลา 84-1 ชัยนาท 2 Wan54 sm1351 และ Hybrix 3 เป็น
พันธุ์ตรวจสอบ

วธิ ีดำเนินการ
อุปกรณ์

1. พนั ธุ์ข้าวโพดขา้ วหวานลกู ผสมท่ดี แี ละพนั ธก์ุ ารค้า
2. ปยุ๋ เคมีสตู ร 18-46-0 สตู ร 0-0-60 และ สตู ร 46-0-0
3. สารเคมีปอ้ งกนั กำจัดศัตรพู ชื วิธกี าร
วิธกี ารปฏบิ ตั ิการทดลอง
วางแผนการทดลองแบบสมุ่ บลอ็ กสมบรู ณ์ (RCB) มี 3 ซำ้ พันธ์ุขา้ วโพดข้าวหวานลูกผสมทดสอบจำนวน
5 พันธุ์ มพี นั ธุ์การคา้ เปน็ พันธ์เุ ปรยี บเทียบ 5 พันธ์ุ

1 ศูนยว์ จิ ัยพชื ไร่ขอนแกน่ สถาบนั วจิ ยั พืชไร่และพชื ทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่
2 ศนู ย์วิจยั พชื ไรช่ ัยนาท สถาบันวจิ ยั พชื ไร่และพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอสรรพยา จังหวดั ชยั นาท
3 ศูนยว์ ิจัยพชื ไร่ชยั นาท สถาบันวิจยั พชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน อำเภอสรรพยา จงั หวดั ชยั นาท

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

735

วิธีการปฏิบัติ
1.เตรียมดิน และใสป่ ยุ๋ รองพ้ืนสตู ร 18-46-0 อตั รา 17 กก./ไร่ และสูตร 0-0-60 อัตรา 30 กก./ไร่
2.ปลูกข้าวโพดหวานพันธ์ุลูกผสม และพันธุเ์ ปรียบเทียบ มีระยะปลูก 0.75 x 0.25 เมตร จำนวน 4 แถว

ต่อแปลงยอ่ ย ปลกู แถวยาว 5 เมตร ขนาดแปลงยอ่ ย 3 x 5 เมตร
3.เมอ่ื ขา้ วโพดหวานอายุ 14 วันหลังปลูก ถอนแยกให้เหลอื 1 ต้นตอ่ หลุม และใส่ปยุ๋ ครงั้ ที่ 1 สูตร 46-0-0

อัตรา 117 กก./ไร่ พร้อมกำจัดวชั พชื
4.เมื่อข้าวโพดหวานอายุประมาณ 40-45 วันหลังปลูก ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 สูตร 46-0-0 อัตรา 16 กก./ไร่

พรอ้ มกำจดั วัชพชื
5.เก็บเกีย่ ว 2 แถวกลาง หลังวันออกไหม 50 เปอร์เซน็ ต์ 20 วนั

การบนั ทกึ ข้อมูล
ผลผลติ และองค์ประกอบผลผลติ
นำ้ หนกั ฝักทั้งเปลือก และปอกเปลือกทดี่ ี 10 ฝัก
วนั ออกดอก 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ และวันออกไหม 50 เปอร์เซน็ ต์
อตั ราแลกเน้ือ
ลกั ษณะทางการเกษตรอื่นๆ เชน่ จำนวนตน้ จำนวนฝกั ความสงู ต้น ความสงู ฝัก ขนาดฝัก เป็นตน้

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
นำ้ หนกั สดทง้ั เปลือก

นำ้ หนกั สดทั้งเปลือกแตกตา่ งกนั ทางสถติ ิ พนั ธุ์ S18193 มนี ำ้ หนักสดทงั้ เปลือกสงู ทสี่ ดุ 2,382 กิโลกรมั /ไร่
ไม่แตกต่างกบั สายพันธุ์/พันธ์ุ S18205 ชัยนาท 2 และ S18035 มนี ำ้ หนักสดทง้ั เปลือก 2,332 2,311 และ 2,240
กิโลกรมั /ไร่ ตามลำดบั (ตารางท่ี 1)
นำ้ หนักสดปอกเปลือก

น้ำหนักสดปอกเปลือกแตกต่างกันทางสถิติ สายพันธุ์ S18193 มีน้ำหนักสดปอกเปลือกสูงที่สุด 1,664
กิโลกรัม/ไร่ ไม่แตกต่างกับพันธ์ุ/สายพันธ์ุ HiBrix 59 ชัยนาท2 และ S18205 มีน้ำหนักสดปอกเปลือก 1,657
1,607 และ 1,593 กิโลกรมั /ไร่ (ตารางที่ 1)
นำ้ หนกั ฝักดี 10 ฝักไมป่ อกเปลอื ก

นำ้ หนกั สดฝักดี 10 ฝกั ไม่ปอกเปลอื กแตกตา่ งกันทางสถิติ สายพนั ธุ์ S18205 มนี ำ้ หนักสดฝกั ดี 10 ฝักไม่
ปอกเปลือกสูงที่สุด 4.0 กิโลกรัม ไม่แตกต่างกับพันธุ์ HiBrix 59 มีน้ำหนักสดฝักดี 10 ฝักไม่ปอกเปลือก 3.7
กิโลกรัม รองลงมาพันธุ์ ชัยนาท2 และ WAN 54 มีน้ำหนักสดฝักดี 10 ฝักไม่ปอกเปลือก 3.7 และ3.7 กิโลกรัม
ตามลำดบั (ตารางท่ี 1)

736

นำ้ หนกั ฝักดี 10 ฝกั ปอกเปลอื ก
น้ำหนักสดฝักดี 10 ฝักปอกเปลือกแตกต่างกันทางสถิติ พบว่าพันธุ์ HiBrix 59 มีน้ำหนักสดฝักดี 10 ฝัก

ปอกเปลอื กสงู ท่ีสุด 2.8 กโิ ลกรัม ไม่แตกต่างกบั สายพนั ธ์ุ/พันธ์ุ S18205 และ WAN 54 มนี ำ้ หนักสดฝักดี 10 ฝัก
ปอกเปลอื ก 2.7 กโิ ลกรัม รองลงมาสายพันธ์ุ/พันธ์ุ S18193 ชยั นาท2และ SM1351 มนี ำ้ หนักสดฝกั ดี 10 ฝกั ปอก
เปลือก 2.6 2.6 และ 2.6 กโิ ลกรัม ตามลำดบั (ตารางที่ 1)
วนั ออกดอกตัวผู้ 50 เปอร์เซ็นต์

ทุกสายพันธุ์วันออกดอกตัวผู้ 50 เปอร์เซ็นต์ แตกต่างกันทางสถิติ มีจำนวนวันออกดอกตัวผู้ 50
เปอร์เซ็นต์เฉลี่ย 54 วัน พันธุ์ทดสอบ WAN 54 ออกดอกตัวผู้ 50 เปอร์เซ็นต์ 50 วัน เร็วที่สุด สายพันธุ์เปรียน
เทียบออกดอกตวั ผู้ 50 เปอร์เซ็นต์ 51-56 วนั (ตารางที่ 2)
วนั ออกไหม 50 เปอรเ์ ซ็นต์

ทุกสายพันธุ์วันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ แตกต่างกันทางสถิติ มีวันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์เฉลี่ย 56 วัน
สายพันธุ์ทดสอบ S18024 วันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ และพันธุ์สงขลา 84-1 ช้าที่สุด 59 วัน ส่วนสายพันธ์ุ
S18189 และ WAN 54 วนั ออกไหม 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ เร็วทส่ี ดุ 52 วนั (ตารางที่ 2)
วนั เกบ็ เก่ียว และคะแนนเปลอื กหุ้มฝกั

วันเก็บเกี่ยวแตกต่างกันทางสถติ ิ วันเก็บเกี่ยวผลผลิตทุกสายพันธุ์ 75 วัน สายพันธุ์ S1662 เก็บเกี่ยวเรว็
ท่สี ุด 74 วนั สายพันธุ์ S18189 เก็บเกยี่ วเร็วท่ีสดุ 71 วัน เชน่ เดียวกับพันธุ์ WAN 54 ทกุ สายพนั ธุ์มคี ะแนนเปลือก
หุ้มฝักแตกต่างกันทางสถิติ สายพันธุ์ทดสอบมีคะแนนเปลือกหุม้ ฝักแตกต่างทางสถิติซึ่งเปลือกหุ้มฝักปิดยาวกวา่
ปลายฝักอยู่ระหว่าง 2 - >2 เซนติเมตร สายพันธุ์ S18106 มีคะแนนเปลือกหุ้มฝัก 5.0 คะแนน เท่ากับพันธุ์
เปรยี บเทยี บ WAN 54 ซงึ่ เปลือกหุ้มฝกั ปดิ เสมอปลายฝกั มากกวา่ 2 เซนตเิ มตร (ตารางท่ี 2)
ค่า Brix ขา้ วโพดหวาน

คา่ Brix ขา้ วโพดหวานแตกตา่ งกันทางสถติ ิ สายพันธุ์ S18050 มีคา่ Brix สงู ทสี่ ุด 14.0 บรกิ ซ์ ไม่แตกต่าง
กับ สายพนั ธุ์/พนั ธุ์ S18024 สงขลา 84-1 มีค่าBrix 12.7 บริกซ์ แตกตา่ งกับสายพันธุ์ S18189 มีค่าBrixน้อยท่ีสุด
9.2 บรกิ ซ์ (ตารางท่ี 2)
ความยาวฝกั ความยาวปลายฝกั และความกวา้ งฝกั

ความยาวฝักแตกตา่ งกันทางสถติ ิ โดยท่ีสายพนั ธุ์ S18193 มคี วามยาวฝกั มากทสี่ ดุ 19.2 เซนตเิ มตร แตไ่ ม่
แตกต่างกับสายพันธุ์ S18035 มีความยาวฝัก 19.0 เซนติเมตร ส่วนสายพันธุ์ S18191 มีความยาวฝักสั้น 15.0
เซนติเมตร ทางด้านความยาวปลายฝกั ไม่แตกตา่ งกนั ทางสถติ ิ สายพันธ์ุ S18191 มีความยาวปลายฝกั ยาวทส่ี ดุ 3.7
เซนติเมตร ส่วนสายพันธุ์ S18050 มีความยาวปลายฝักสั้นที่สุด 1.3 เซนติเมตร ความกว้างฝักไม่แตกต่างกันทาง
สถติ ิ สายพันธุ์ S18050 S18106 และ S18189 มีความกว้างฝักมากที่สดุ 4.2 เซนตเิ มตร (ตารางที่ 3)
ความสูงตน้ และความสูงฝัก

ความสงู ต้นข้าวโพดทุกสายพนั ธุแ์ ตกตา่ งกนั ทางสถติ ิ มีความสูงต้นเฉลี่ย 129.9 เซนติเมตร พันธุ์ WAN 54
และ ชยั นาท 2 มีความสงู ตน้ มากที่สุด 146.5 และ 146.2 เซนตเิ มตร ไม่แตกต่างกันทางสถติ ิ ทางดา้ นความสูงฝัก
แตกตา่ งกนั ทางสถิติ พบวา่ สายพนั ธ์ุ S18205 มคี วามสงู ฝักสูงที่สุด 73.3 เซนติเมตร ไมแ่ ตกตา่ งกบั พันธ์ุ ชัยนาท2

737

และ WAN 54 มีความสูงฝัก 66.8 และ 66.2 เซนติเมตร ส่วนสายพันธุ์ S18050 มีความสูงฝักต่ำที่สุด 43.1
เซนตเิ มตร (ตารางที่ 3)

ตารางท่ี 1 ผลผลติ ของขา้ วโพดหวาน ศนู ยว์ ิจยั พชื ไร่ขอนแกน่ ปี 2563

นำ้ หนักสดท้งั เปลือก น้ำหนักสดปอกเปลอื ก น้ำหนักฝกั ดี 10 ฝัก
(kg/rai) (kg/rai)
พนั ธุ์ ไมป่ อกเปลือก ปอกเปลือก

(kg) (kg)

S18024 1,984 a-d 1,458 a-c 3.3 bc 2.4 a-d
S18035 2,240 ab 1,436 a-c 3.5 a-c 2.3 cd
S18048 2,112 a-d 1,458 a-c 3.6 a-c 2.5 a-d
S18050 1,628 d 1,123 cd 2.5 de 1.8 ef
S18106 1,664 cd 1,067 d 2.4 e 1.6 f
S18189 1,920 a-d 1,230 b-d 3.2 bc 2.1 de
S18191 2,098 a-d 1,394 a-d 3.5 a-c 2.3 b-d
S18193 2,382 a 1,664 a 3.7 a-c 2.6 a-c
S18205 2,332 ab 1,593 a 4.0 a 2.7 ab
Songkla 84-1 2,041 a-d 1,543 ab 3.1 cd 2.3 cd
Chai Nat 2 2,311 ab 1,607 a 3.7 a-c 2.6 a-c
WAN 54 2,148 a-c 1,522 ab 3.6 a-c 2.7 a-c
SM 1351 1,842 b-d 1,366 a-d 3.4 a-c 2.6 a-c
HiBrix 59 2,205 ab 1,657 a 3.7 ab 2.8 a
Mean
2,065 1,437 3.4 2.4
F-test * **
** **
CV (%) 12.89 12.73
9.82 9.16

738

ตารางท่ี 2 ลักษณะทางเกษตรของข้าวโพดหวาน ศูนยว์ จิ ยั พืชไรข่ อนแกน่ ปี 2563

พันธุ์ วนั ออกดอกตัวผู้ วนั ออกไหม วันเกบ็ เกี่ยว คะแนนเปลอื ก Brix
50% 50% หมุ้ ฝกั
12.7 ab
S18024 56 a 59 a 78 a 3.3 bc 11.3 ab
12.5 ab
S18035 55 a 58 ab 77 ab 4.7 a 14.0 a
12.0 ab
S18048 54 ab 55 abc 74 abc 4.0 abc 9.2 b
10.0 ab
S18050 51 b 53 c 72 c 4.7 a 12.2 ab
12.2 ab
S18106 52 ab 56 abc 75 abc 5.0 a 12.7 ab
10.0 ab
S18189 52 ab 52 c 71 c 4.0 abc 11.2 ab
12.1 ab
S18191 53 ab 54 bc 73 bc 3.3 bc 12.0 ab

S18193 56 a 58 ab 77 ab 3.3 bc 11.7
*
S18205 54 ab 55 abc 74 abc 3.0 c 11.83

Songkla 84-1 56 a 59 a 78 a 5.0 a

Chai Nat 2 55 a 57 ab 76 ab 4.0 abc

WAN 54 50 b 52 c 71 c 5.0 a

SM 1351 52 ab 54 bc 73 bc 4.3 ab

HiBrix 59 55 a 58 ab 77 ab 4.3 ab

Mean 54 56 75 4.1

F-test * ** ** **

CV (%) 3.60 4.27 3.18 12.86

หมายเหตุ: คะแนนลักษณะเปลอื กหมุ้ ปลายฝกั

1 = ปลายฝักโผลอ่ อกจากเปลือกหมุ้ ฝัก

2 = เปลอื กหุ้มฝักปดิ เสมอปลายฝัก

3 = เปลอื กหมุ้ ฝกั ปิดยาวกวา่ ปลายฝกั 1 เซนตเิ มตร

4 = เปลอื กหมุ้ ฝักปดิ ยาวกว่าปลายฝกั 2 เซนติเมตร

5 = เปลอื กหุม้ ฝกั ปิดยาวกว่าปลายฝักมากกว่า 2 เซนตเิ มตร

739

ตารางท่ี 3 องคป์ ระกอบผลผลติ ของขา้ วโพดหวาน ศนู ย์วิจยั พชื ไร่ขอนแก่น ปี 2563

พนั ธ์ุ ความยาวฝกั ความยาวปลายฝกั ความกวา้ งฝัก (cm) ความสงู ตน้ (cm) ความสูงฝกั (cm)
(cm) (cm)
50.5 cd
S18024 18.1 ab 1.8 4.0 117.5 b 56.4 bcd
S18035 19.0 a 1.9 4.0 131.0 ab 55.8 bcd
S18048 18.5 ab 1.5 4.1 127.4 ab 43.1 d
S18050 16.1 b-d 1.3 4.2 116.2 b 57.8 bc
S18106 15.3 cd 2.9 4.2 131.7 ab 51.3 cd
S18189 16.7 a-d 1.9 4.2 124.1 b 52.1 cd
S18191 15.0 d 3.7 4.1 120.3 b 60.5 abc
S18193 19.2 a 2.5 4.0 133.3 ab 73.3 a
S18205 18.6 ab 2.7 4.0 134.4 ab 51.8 cd
Songkla 84-1 16.6 a-d 1.8 4.0 124.0 b 66.2 ab
Chai Nat 2 16.7 a-d 3.0 4.0 146.3 a 66.8 ab
WAN 54 17.9 a-c 1.5 4.0 146.5 a 55.9 bcd
SM 1351 17.0 a-d 2.7 4.1 135.2 ab 62.9 abc
HiBrix 59 18.5 ab 1.7 4.1 131.3 ab 57.5
2.2 4.1 129.9
Mean 17.4 **
12.72
F-test ** ns ns *

CV (%) 7.87 51.10 4.31 8.03

สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
ข้าวโพดหวานลูกผสมดีเด่น S18193 S18205 และ S18024 มีศักยภาพในการใหผ้ ลผลิตสูงใกล้เคยี งกบั
ขา้ วโพดหวานลูกผสมทีเ่ ป็นพันธุก์ ารค้า เหมาะสำหรบั การผลติ เพื่ออตุ สาหกรรม

เอกสารอา้ งองิ

ฉลอง เกดิ ศรี วรรษมน มงคล สุพรรณณี เป็งคำ มณฑิกาณธิ์ สังขน์ อ้ ย นงลักษ์ ปน้ั ลาย พงศ์พนั ธุ์ เบา้ ทอง เชาวนาถ พฤทธิเทพ
และ ปวีณา ไชยวรรณ์. 2563. การเปรยี บเทียบมาตรฐานพันธ์ุข้าวโพดหวานลกู ผสม. หน้า 297-306. ใน : รายงาน
ผลงานวจิ ยั ปี 2562 ถ่วั เขยี ว ข้าวโพดฝักสด พชื เศรษฐกิจอื่น. ศนู ย์วจิ ยั พืชไร่ชัยนาท สถาบันวจิ ัยพืชไร่และพืชทดแทน
พลงั งาน กรมวชิ าการเกษตร.

740

การคดั เลอื กข้าวโพดหวานต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ดว้ ยเครื่องหมายดีเอน็ เอ

ธรี วุฒิ วงศว์ รัตน์1* ฉลอง เกิดศรี2 วรรษมน มงคล2 และเชาวนารถ พฤทธิเทพ2

บทคดั ย่อ
การคัดเลือกพันธุ์ข้าวโพดหวานทีม่ ลี กั ษณะตา้ นทานโรคใบไหม้แผลใหญ่โดยใชเ้ ครื่องหมายดีเอ็นเอชนดิ 1)
RAPD (random amplified polymorphic DNA) 2 ) ชน ิด ISSR inter simple sequence repeat 3 ) SCAR
(sequence characterized amplified region) และ 4) ชนิด SSR (simple sequence repeat) โดยใช้สาร
พันธุกรรมต้นแบบจากตัวอย่างที่ตรวจสอบแล้วว่ามีความต้านทานและอ่อนแอต่อโรค ซึ่งการทดลองนี้ใช้พันธ์ุ
ไฮบริด 3 เปน็ พันธต์ุ า้ นทาน (60 % leaf area infected) และพนั ธุ์หวาน 54 เปน็ พันธุ์อ่อนแอ (23 % leaf area
infected) เปน็ พนั ธเุ์ ปรยี บเทยี บ พบว่ามีเพียงเครื่องหมายดีเอน็ เอชนิด SSR จำนวน 12 คู่ ท่สี ามารถเพิ่มปริมาณดี
เอน็ เอได้ทุกตวั อย่างและให้แถบดีเอน็ เอที่แตกต่างกนั ระหวา่ งกลุ่มท่ีต้านทานและออ่ นแอ เมอ่ื นำเครื่องหมายดีเอ็น
เอทง้ั 12 คูม่ าใชใ้ นการเพ่ิมปรมิ าณดีเอน็ เอสารพันธกุ รรมตน้ แบบท่ีสกัดได้จากตัวอย่างข้าวโพดหวาน 65 ตัวอย่าง
พบว่า สามารถแยกออกเป็น 2 กลุ่ม ตามลักษณะความต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ เพื่อให้การจัดกลุ่มมีความ
น่าเช่อื ถอื มากข้ึนควรตรวจสอบขอ้ มูลความต้านทานใบไหม้แผลใหญ่รว่ มด้วย
คำสำคัญ: ข้าวโพดขา้ วเหนยี ว ความผนั แปรทางพันธกุ รรม เคร่ืองหมายดเี อน็ เอ

คำนำ
ข้าวโพดหวานสามารถปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศ สถานการณ์การผลิตของข้าวโพดหวานปี 2562
ประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกทั้งประเทศ 240,629 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 501,242 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 2,107
กิโลกรัมต่อไร่ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563) อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมข้าวโพดหวานบรรจุกระปอ๋ งท่ี
ยังคงมีอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เพราะมีความต้องการของตลาดที่เพิ่มสูงขึ้นแต่ปัจจุบันยังพบว่า
ผูป้ ระกอบการยงั ประสบปัญหาขาดแคลนวัตถุดบิ เพื่อป้อนเขา้ สโู่ รงงาน ทำให้ราคาผลผลิตสงู และกระทบถึงต้นทุน
การผลิต ประกอบกับปัญหาในเรื่องของพื้นที่เพาะปลูกข้าวโพดหวานลดลง เนื่องจากเกษตรกรหันไปปลูกพืช
ทดแทนชนิดอื่น เช่น มันสำปะหลัง อ้อย หรือการที่เกษตรกรหันไปปลูกพืชที่อยู่ในโครงการประกันราคาของ
รัฐบาลยง่ิ ส่งผลกระทบอย่างหนกั ให้กบั โรงงานแปรรปู ซงึ่ จะต้องหาวธิ ีในการเพ่มิ ผลผลติ ต่อไร่ให้สูงขน้ึ เพ่ือทดแทน
พน้ื ทเี่ พาะปลูกที่ลดลง นอกจากน้ี ความรุนแรงของการระบาดโรคขา้ วโพดหวานมีแนวโน้มเพ่มิ มากขน้ึ จากผลของ
การปลกู ข้าวโพดหวานทมี่ พี นั ธุกรรมออ่ นแอต่อโรค โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ โรคใบไหมแ้ ผลใหญ่ (Northern Corn Leaf
Blight: NCLB) มสี าเหตเุ กิดจากเช้ือรา Exserohilum turcicum (Pass.) Leonard & Suggs โรคใบไหม้แผลใหญ่
ทำให้ผลผลิตลดลงถึงร้อยละ 30-40 ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของเชื้อและระยะการเจริญเติบโตของข้าวโพด การ
ป้องกันกำจดั โรคที่มปี ระสิทธิภาพมากท่ีสุดคอื การใช้พนั ธุต์ ้านทานตอ่ โรค ซงึ่ จะสามารถลดความเสยี หายได้ ดังน้ัน

1ศนู ย์วิจัยพชื ไร่ขอนแกน่ สถาบันวิจยั พชื ไร่และพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่
2ศูนยว์ ิจยั พืชไรข่ อนแก่น สถาบนั วิจัยพืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

741

การปรบั ปรุงพนั ธุข์ า้ วโพดเพอื่ ให้ไดพ้ นั ธุท์ ่ีให้ผลผลิตสงู แลว้ ต้องมีความต้านทานโรคดว้ ย แตใ่ นการคัดเลือกด้วยวิธี
ดงั้ เดิมจะใช้ระยะเวลาท่ียาวนาน และประสทิ ธภิ าพไม่ดีนัก โดยเฉพาะกบั การคัดเลอื กลักษณะที่มเี ก่ียวข้องจำนวน
มากหรือลักษณะทางปริมาณ ปัจจุบันมีการใช้เครือ่ งหมายดีเอ็นเอมาเปน็ เครื่องมือช่วยในการบง่ ชี้ความแตกต่าง
ของสายพันธุ์พชื ซ่งึ สามารถจำแนกสายพนั ธ์พุ ชื ได้อย่างแม่นยำ การนำเครอื่ งหมายดีเอ็นมาใช้ในงานปรับปรุงพันธุ์
ทำให้การคัดเลือกสายพันธุ์ที่มีลักษณะตามต้องการนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้นเนือ่ งจากเป็นการคัดเลือกจากจีโน
ไทป์โดยตรง และสามารถตรวจสอบได้ในทุกระยะการเจริญเตบิ โตของสิ่งมีชวี ิต จึงช่วยประหยัดเวลา ลดแรงงาน
ลดตน้ ทุน และพ้นื ทใี่ นการเพาะปลูกได้ การสรา้ งพนั ธ์ขุ า้ วโพดตา้ นทานโรคเปน็ วธิ ีที่ดีที่สดุ ที่ใช้ในการความเสียหาย
จากโรคใบไหม้แผลใหญ่ การใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอเข้ามาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการคัดเลือกพันธุ์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ การพัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายแบบ random amplified polymorphic DNA (RAPD) ใน
ประชากร F2 พบว่าเครื่องหมายดีเอน็ เอชนิด OPA07521 OPA16457 OPA09520 และ OPE20536 มีความเกี่ยวข้อง
กับความต้านทานโรค และเครื่องหมายดีเอ็นเอเหล่านี้ถูกเปลี่ยนมาเป็น sequence characterized amplified
region (SCAR) ได้แก่ SCA07521 SCA16457 SCA09520 และ SCE20536 ซึ่งนำไปใช้ในการคัดเลือกพันธุกรรม
ต้านทานโรค (Kampila et al., 2008) การคัดเลือกลูกผสม Ki48xKi47 รุ่น F2 ทั้งหมด 160 สายพันธุ์ โดยการ
วิเคราะหห์ าตำแหน่ง Quantitative Trait Locus (QTL) โดยใช้ SSR markers จำนวน 100 คู่ บน 10 โครโมโซม
ของข้าวโพด พบความแตกต่างทางพันธุกรรมระหว่างสายพันธุ์พ่อแม่ ทั้ง 10 โครโมโซม แต่พบมากที่สุดบน
โครโมโซม 5 และ 8 ท่โี ครโมโซม 5 พบเครื่องหมายดเี อ็นเอ UMC1365 และบนโครโมโซม 8 พบเคร่ืองหมายดีเอน็
เอ umc1095, umc1268 และ umc2356 สามารถจำแนกตำแหน่งยีนต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ในประชากร
ได้ (กญั ญณัช และพิมพพ์ รรณ, 2556) การใชเ้ ครอ่ื งหมายดเี อ็นเอ SSR markers ชนดิ bnlg1721 และ umc1042
บนโครโมโซม 2 พบว่าอยู่ใกล้กับยีนต้านทาน Ht1 (R2 = 0.298 และ 0.2626 ตามลำดับ p<0.0001) ซ่ึง
เครื่องหมายดีเอ็นเอทั้งสองชนดิ น่าจะนำมาใช้ในการคัดเลือกข้าวโพดต้านทานโรคได้ (Puttarach et al., 2016)
การใช้เครอ่ื งหมายดีเอ็นเอมาเป็นเครื่องมือในการคดั เลือกสายพนั ธุ์ที่ให้ผลผลิตสงู และต้านทานโรค ซ่ึงเป็นความ
ตอ้ งการของเกษตร จงึ มีความสำคญั อย่างมาก วตั ถปุ ระสงคข์ องการทดลองน้ีเพือ่ ใช้เครื่องหมายดเี อ็นเอชว่ ยคดั เลอื ก
ลูกผสมพันธุ์ตา้ นทานโรคใบไหมแ้ ผลใหญ่

วิธดี ำเนินการ
1. อปุ กรณ์

1.1 วสั ดุ อปุ กรณ์ เครือ่ งมอื สำหรับการเพมิ่ ปริมาณดีเอ็นเอและการตรวจสอบผลผลติ พซี อี าร์
1.1.1 เคร่อื งเพมิ่ ปรมิ าณสารพันธกุ รรมดว้ ยเทคนคิ พีซอี าร์
1.1.2 เคร่อื งแยกขนาดดีเอ็นเอดว้ ยกระแสไฟฟ้า แบบแนวนอน
1.1.3 เคร่อื งปน่ั แยกสารควบคุมอุณหภมู ไิ ด้ชนดิ ต้ังโต๊ะ
1.1.4 เคร่ืองดดู จ่ายสารละลาย

1.2 ชดุ นำ้ ยาและสารเคมีทใี่ ช้สำหรับงานด้านเคร่ืองหมายโมเลกลุ
1.3 กลอ้ งถ่ายภาพ

742

2. วิธีการ
1. การเตรียมตวั อย่างและการสกดั ดเี อน็ เอ

รวบรวมตัวอย่างข้าวโพดหวานที่ต้านทาน (Bulk resistant) และอ่อนแอ (Bulk susceptible) มีพันธ์ุ
เปรียบเทียบ ได้แก่ พันธุ์ไฮบริกซ์ 3 (อ่อนแอต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่) และข้าวโพดหวาน 54 (ต้านทานต่อโรคใบ
ไหม้แผลใหญ่) คัดเลือกเมล็ดข้าวโพดทีส่ มบูรณต์ ัวอย่างละ 20 เมล็ด นำมาเพาะใหง้ อกเป็นตน้ กลา้ ตัดใบอ่อนมา
หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ประมาณ 0.1 กรัม ใส่ลงในโกรง่ ที่มีไนโตรเจนเหลว บดให้ละเอียดเป็นผงแลว้ ใช้ชดุ น้ำยาสกัดดี
เอ็นเอสำเร็จรูป (DNA extraction GF-1, Vivantis) จากนั้นตรวจสอบคุณภาพสารละลายดเี อ็นเอทีส่ กัดได้การวัด
ค่าการดูดกลนื แสง
2. การคัดเลือกเครอื่ งหมายดีเอน็ เอ

นำดีเอน็ เอท่ไี ด้จากการ Bulk resistant และ Bulk susceptible มาเปน็ ดีเอน็ เอตน้ แบบในเพม่ิ ปริมาณดี
เอ็นเอด้วยเทคนิค PCR โดยใช้ไพรเมอร์ชนิด random amplified polymorphic DNA (RAPD), ชนิด inter
simple sequence repeat (ISSR) และชนิด simple sequence repeat (SSR) นำผลผลิตทีไ่ ด้จากการใช้ไพรเม
อร์ชนิด RAPD และ ISSR มาแยกขนาดดีเอ็นเอที่ต่างกันดบนเจลอะกาโรส 1.2% ที่เติมสีย้อม Visafe และ
ตรวจสอบผลภายใต้แสงสีน้ำเงิน ส่วนผลผลิตที่ได้จากการใช้ไพรเมอร์ชนิด SSR นำมาแยกขนาดดีเอ็นเอทีต่ ่างกนั
บนเจลพอลิอะครลิ าไมดค์ วามเข้มขน้ 4.5 เปอร์เซน็ ต์ ในบัฟเฟอร์ความเขม้ ข้น 0.5x TBE ใชก้ ระแสไฟฟ้า 50 โวลต์
นาน 3 ชั่วโมง นำมาย้อมแถบดีเอน็ เอด้วยซิลเวอร์ไนเตรต และนำแผ่นกระจกมาบันทึก ภาพเพอื่ นำไปวเิ คราะหผ์ ล
3. การตรวจสอบเคร่อื งหมายดีเอน็ เอ

ทำการเพิ่มปรมิ าณดเี อ็นเอข้าวโพดหวาน 62 ตวั อย่าง แบง่ เปน็ ตวั อยา่ งที่ผา่ นการตรวจหาระดับของโรค
และจำแนกกลุ่มตามความต้านทานโรคแลว้ จำนวน 15 ตวั อยา่ ง และตวั อย่างท่ยี ังไม่ผา่ นการตรวจหาระดับความ
ต้านทานโรค จำนวน 50 ตัวอยา่ ง ได้แก่ พันธุ์ไฮบรกิ ซ์ 3 (อ่อนแอตอ่ โรคใบไหม้แผลใหญ่) และข้าวโพดหวาน 54
(ต้านทานตอ่ โรคใบไหมแ้ ผลใหญ่) ด้วยเทคนคิ PCR โดยใช้ไพรเมอรท์ ีค่ ัดเลือกได้ ตรวจสอบผลผลิตขนึ้ อยกู่ บั การ
เลือกใช้ชนิดของไพรเมอร์ทเี่ หมาะสม บนั ทึกผลของการตรวจสอบด้วยวธิ กี ารถ่ายภาพ

พิจารณาภาพถ่ายแถบดีเอ็นเอโดยการเปรยี บเทียบดเี อ็นเอทีอ่ ยู่ตำแหน่งเดียวกนั ทุกตำแหน่ง ถ้ามีแถบดี
เอน็ เอปรากฏใหส้ ัญลกั ษณ์ “1” ถา้ ไมม่ ีแถบดเี อ็นเอปรากฏให้สญั ลักษณ์ “0” บันทกึ ข้อมูลทุกตำแหนง่ ของแถบดี
เอน็ เอในแต่ละไพรเมอร์ที่ใช้ แลว้ นำขอ้ มูลท่ไี ดเ้ ปรยี บเทียบความเหมอื นและความแตกตา่ งของแถบดเี อน็ เอท้งั หมด
มาวิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งขา้ วโพดหวานแต่ละพันธุ์ โดยใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรปู NTSYSpc version 2.1p หา
ความสัมพนั ธ์ทางพนั ธุกรรมโดยใช้ simple matching, Jaccard coefficients และสรา้ งแผนภูมคิ วามสัมพนั ธ์ด้วย
วธิ กี ารจัดกลุม่ แบบคา่ เฉลี่ยเลขคณิต UPGMA (Unweighted Pair Group Method with Arithmetic Mean)

743
ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
1. ผลการคดั เลือกเครือ่ งหมายดีเอ็นเอ
1.1 การคัดเลอื กเคร่อื งหมายดีเอ็นเอชนดิ RAPD ท่ีเหมาะสม
จากนำดีเอน็ เอจากกลุ่มตัวอย่าง Bulk resistant และ Bulk susceptible มาเพิ่มปรมิ าณดรเอน็ เอโดยใช้
ไพรเมอร์ชนิด RAPD จำนวน 100 สาย พบว่ามีไพรเมอร์ 7 สายที่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างพันธ์ุที่มี
ระดบั ความตา้ นทานตา่ งกนั ดงั นี้ Pr2 Pr3 Pr4 Pr11 Pr18 OPB08 OPZ03 แสดงดงั ภาพท่ี 1

ภาพท่ี 1 เครื่องหมายดีเอน็ เอชนิด RAPD (random amplified polymorphic) ทส่ี ามารถแสดงแถบดเี อน็ เอที่มี
ความแตกต่างกนั ระหวา่ งกลมุ่ พันธ์ุต้านทานและออ่ นแอต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่

2. การคดั เลือกเครือ่ งหมายดีเอน็ เอชนดิ ISSR ทเ่ี หมาะสม
จากนำดเี อ็นเอจากกลุ่มตัวอย่าง Bulk resistant และ Bulk susceptible มาเพ่ิมปริมาณดรเอ็นเอโดยใช้

ไพรเมอร์ชนิด ISSR จำนวน 100 สาย พบว่ามีไพรเมอร์ 4 สายที่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างพันธ์ุที่มีระดับ
ความต้านทานต่างกัน ดงั น้ี D12 D14 M11 M12 แสดงดังภาพท่ี 2

ภาพที่ 2 เครอื่ งหมายดีเอ็นเอชนิด ISSR (inter simple sequence repeat) ทสี่ ามารถแสดงแถบดีเอน็ เอทีม่ ี
ความแตกตา่ งกนั ระหวา่ งกลมุ่ พนั ธต์ุ ้านทานและออ่ นแอต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่

744
3. การคัดเลอื กเครอ่ื งหมายดเี อน็ เอชนดิ SSR ที่เหมาะสม

จากนำดีเอน็ เอจากกลุ่มตัวอย่าง Bulk resistant และ Bulk susceptible มาเพิม่ ปริมาณดรเอ็นเอโดยใช้
ไพรเมอร์ชนิด SSR จำนวน 100 คู่ พบว่ามีไพรเมอร์ 20 สายที่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างพันธุ์ท่มี ีระดบั
ความตา้ นทานต่างกัน ดังน้ี M02 M05 M07 M12 M13 M14 M15 M17 M20 P03 P05 P11 แสดงดังภาพท่ี 3

ภาพที่ 3 เครอื่ งหมายดีเอ็นเอชนิด SSR (simple sequence repeat) ที่สามารถแสดงแถบดเี อ็นเอที่มีความ
แตกตา่ งกันระหวา่ งกล่มุ พนั ธ์ุตา้ นทานและอ่อนแอตอ่ โรคใบไหม้แผลใหญ่

4. ผลการจัดกลมุ่ ข้าวโพดหวานโดยใชเ้ ครอ่ื งหมายดเี อ็นเอ
ดีเอ็นเอที่สกัดได้จากพันธุ์ข้าวโพดหวานที่ความต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ (มีพื้นที่ใบติดเชื้อ 60

เปอร์เซ็นต์) จำนวน 10 ตัวอย่าง ได้แก่ CN-NLBHX75-RRSC0)-21-B CN-NLBHX75-RRSC0)-56-B CN-NLBH
X75-RRSC0)-84-B CN-NLBHX66-RRSC0)-2-B CN-NLBHX66-RRSC0)-35-B CN-NLBHX66-RRSC0)-44-B CN-
NLBHX66-RRSC0)-94-B CN-NLBHX66-RRSC0)-146-1 CNS75 CNS66 และ พันธุ์ที่อ่อนแอ (มีพื้นที่ใบติดเช้ือ
16.5 เปอร์เซ็นต์) จำนวน 5 ตัวอย่าง ได้แก่ CN-NLBHX75-RRSC0)-3-1 CN-NLBHX75-RRSC0)-12-B CN-
NLBHX75-RRSC0)-111-B CN-NLBHX75-RRSC0)-134-1 CN-NLBHX75-RRSC0)-161-B ถูกนำมาใช้ในการเพ่ิม
ปริมาณดีเอน็ เอ โดยมีพนั ธ์ไุ ฮบรดิ 3 มีพืน้ ทีใ่ บติดเช้ือ 60 เปอร์เซน็ ต์ และพันธ์ุอ่อนแอ คือพนั ธุห์ วาน 54 มีพน้ื ที่ใบ
ติดเช้อื 23.2 เปอร์เซ็นต์ เป็นพนั ธุ์เปรยี บเทียบ พบว่า มีเพียงเคร่อื งหมายดเี อน็ เอชนิด SSR จำนวน 12 คู่ เท่าน้นั ท่ี
สามารถเพม่ิ ปริมาณดีเอน็ เอได้ครบทกุ ตัวอย่าง (ผลสำเร็จ 100%) และแยกขนาดช้นิ เอน็ เอได้ พบว่าให้แถบดีเอ็น
เอท้งั หมด 96 แถบ เป็นแถบดเี อน็ เอทแ่ี ตกต่าง (polymorphism) จำนวน 78 แถบ เมอื่ นำแถบดีเอ็นเอทั้งหมดที่
ได้มาสร้างแผนภูมิทางพนั ธุกรรมด้วยวิธี UPGMA พบว่าสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 กลุ่มตามระดับความตา้ นทาน
โรค ดังภาพท่ี 4

745

กลุม่ ต้านทาน
โรคใบไหมแ้ ผลใหญ่

กลุม่ อ่อนแอ
โรคใบไหมแ้ ผลใหญ่

ภาพที่ 4 แผนภูมคิ วามสมั พันธ์ทางพนั ธกุ รรม RW = พันธุ์หวาน 54 (ต้านทานโรค) และ SH = พันธไ์ุ ฮบรดิ 3 (อ่อนแอตอ่ โรค) S3
= CN-NLBHX75-RRSC0)-3-1 S13 = CN-NLBHX75-RRSC0)-12-B S117 = CN-NLBHX75-RRSC0)-111-B S141 =
CN-NLBHX75-RRSC0)-134-1 S169 = CN-NLBHX75-RRSC0 )-161-B R22 = CN-NLBHX75-RRSC0)-21-B R59 =
CN-NLBHX75-RRSC0)-56-B R88 = CN-NLBH X75-RRS C0)-84-B R191 = CN-NLBHX66-RRSC0)-2-B R = 226
CN-NLBHX66-RRSC0)-35-B R235 =CN-NLBHX66-RRSC0)-44-B R288 = CN-NLBHX66-RRSC0)-94-B R342 =
CN-NLBHX66-RRSC0)-146-1 CNS75 CNS66

และนำเครื่องหมายดีเอ็นเอชนิด SSR ทั้ง 12 คู่นี้มาทดสอบเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอสารพันธุกรรมต้นแบบ
จำนวน 50 ตัวอย่าง การวิเคราะห์ความสัมพันธท์ างพันธุกรรม โดยใช้โปรแกรม NTSYS-pc รุ่น 2.01e และเลือก
การจดั กลุ่มแบบ UPGMA แล้ว พบว่าค่าดชั นคี วามเหมือน 0.63-1.00 และเม่อื พจิ ารณาดัชนีความเหมอื นท่ี 0.65
สามารถแยกออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีพันธุ์พันธุ์ไฮบริด 3 เป็นตัวควบคุมต้านทาน (RW) ประกอบด้วย R88
R226 R235 R288 R234 R66 R75 168-5 104-1 030-4 160-6 209-6 073-5 Bio-18 042-1 039-5 119-1
193-2 056-4 071-4 003-3 66 135-2 และกลมุ่ ท่ี 2 คือ กลมุ่ ท่ีมีพนั ธพุ์ นั ธุห์ วาน 54 เปน็ ตวั ควบคุมอ่อนแอ (SH)
ประกอบดว้ ย S3 S13 S170 S080 S128 S117 151-2 0838-5 069-4 056-6 020-1 091-1 136-1 010-2 009-
4 157-1 202-2 063-5 Bio-21 037-3 032-4 177-1 092-5 75 159-1 065-7 130-4 856 125-4 159-1 065-7
130-4 856 125-4 036-5 099-1 181-2 036-5 066-4 Bio-7 204-5 Bio-40 018-2 106-2 เห็นได้ว่ากลุ่มที่ 2
เป็นทมี่ ีขนาดใหญ่กว่า

746

0838-5 RW กลมุ่ ตา้ นทาน
0.63 R88 โรคใบไหมแ้ ผลใหญ่
R226
R235 กลุ่มอ่อนแอ
R288 โรคใบไหมแ้ ผลใหญ่
R324
0.73 0.82 0.91 R66
Coefficient 168-5
R75
104-1
030-4
160-6
209-6
073-5
Bio-18
042-1
039-5
119-1
193-2
056-4
071-4
003-3
a66
135-2
SH
S3
S13
S170
S080
S128
S117
151-2
0838-5
069-4
R22
056-6
020-1
091-1
136-1
057-1
010-2
009-4
157-1
202-2
063-5
Bio-21
037-3
032-4
177-1
092-5
a75
159-1
065-7
130-4
a856
125-4
036-5
099-1
181-2
036-5
066-4
Bio-7
204-5
Bio-40
018-2
106-2

1.00

ภาพท่ี 5 แผนภมู ิความสมั พนั ธ์ทางพันธุกรรม RW = พันธ์ุหวาน 54 (ต้านทานโรค) และ SH = พันธ์ุไฮบรดิ 3
(อ่อนแอ) ตอ่ โรคใบไหม้แผลใหญ่ดว้ ยโปรแกรม NTSYS-pc รุ่น 2.01e เลอื กการจัดกลุ่มแบบ UPGMA
(unweighted pair group method with arithimethic mean)

สรปุ ผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
การทดลองนี้ได้ทำการคัดเลือกเครื่องหมายดีเอ็นเอที่เหมาะสมสำหรับการคัดเลือกพันธุข์ ้าวโพดหวานท่ี
ต้านทานโรคใบไหมแ้ ผลใหญ่ เคร่อื งหมายดีเอ็นเอทนี่ ำมาใช้ ได้แก่ 1) RAPD (random amplified polymorphic
DNA) 2) ชนดิ ISSR inter simple sequence repeat 3) SCAR (sequence characterized amplified region)
และ 4) ชนิด SSR (simple sequence repeat) โดยใช้สารพันธุกรรมต้นแบบจากการรวมกลุ่มตัวอย่างท่ี
ตรวจสอบแล้วว่ามคี วามต้านทานและอ่อนแอต่อโรค ซึ่งการทดลองนี้ใช้พนั ธุไ์ ฮบริด 3 เป็นพันธุ์ควบคุมต้านทาน
และพนั ธ์หุ วาน 54 เป็นพันธุค์ วบคุมอ่อนแอ พบวา่ มีเพียงเครื่องหมายดีเอน็ เอชนิด SSR จำนวน 12 คู่ ที่สามารถ
เพมิ่ ปรมิ าณดีเอน็ เอไดท้ ุกตัวอย่างและใหแ้ ถบดเี อน็ เอที่แตกต่างกนั ระหว่างกลมุ่ ที่ต้านทานและอ่อนแอ เม่ือนำมา
ทดสอบกับการสกดั ดีเอน็ เอจากตวั อยา่ งที่ทราบลักษณะความต้านทานตอ่ โรค พบว่า สามารถแยกตัวอย่างออกเป็น
2 กลุ่ม ตามลักษณะความต้านทานได้ และเม่อื นำเคร่ืองหมายดีเอ็นเอทงั้ 12 ชนิดมาใชใ้ นการเพิม่ ปริมาณดีเอ็นเอ
สารพันธุกรรมต้นแบบที่สกัดได้จากตัวอย่างข้าวโพดหวาน unknown จำนวน 50 ตัวอย่าง พบว่า สามารถแยก
ออกเปน็ 2 กลมุ่ กลมุ่ ท่ี 2 ซึง่ เปน็ กลุ่มทมี่ ีลักษณะอ่อนแอต่อโรคจะมขี นาดใหญก่ ว่า อยา่ งไรก็ตามจำเป็นตอ้ งยนื ยัน
ผลการทดลองนด้ี ้วยการตรวจสอบระดบั ความตา้ นทานของโรคใบไหมแ้ ผลใหญ่ดว้ ย

747

เอกสารอ้างอิง

กัญญณัช ศิริธัญญา และ พิมพ์พรรณ เมืองนา. 2556. เทคนิคการประเมินความต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ และการจำแนก
ตำแหนง่ ยีนต้านทานด้วยโมเลกุลเครอ่ื งหมายในข้าวโพด. วารสารวิชาการและวจิ ยั มทร. พระนคร ฉบับพเิ ศษ 229-240.

ข้อมลู เศรษฐกิจการเกษตร. 2564. ตารางแสดงรายละเอยี ดข้าวโพดหวาน ใน ข้อมูลเศรษฐกจิ เกษตร. อา้ งเมอื่ วันที่ 21 กุมภาพันธ์
2564 http://www.oae.go.th/

พิมพ์พรรณ เมืองมา. 2557. การใช้โมเลกุลเครื่องหมายจำแนกยีนต้านทานโรคใบไหม้แลใหญ่ที่เกิดจากเชื้อรา Exserohilum
turcicum ในข้าวโพด. วิทยานิพนธห์ ลกั สูตรวิทยาศาสตรม์ หาบณั ฑติ (พืชศาสตร์) 109 หนา้ .

Khampila, J., P. Theerakulpisut, K. Lertrat, W. Saksirirat, J. Sanitchon and N. Muangsan. Identification of RAPD
markers for northern corn leaf blight resistance in waxy corn (Zey may var. ceratina). Asian Journal of
Plant Sciences 7(1): 18-21.

Barakat, MN., AA. El-Shafei and AA. Al-Doss. 2009 Identification of molecular markers linked to northern corn
leaf blight resistance in yellow population of maize. Genes, Genomes and Genomics 3 (Special Issue1):
89-95.

Osman, HT., GB. Maha, EK. Ahmed and RA. Nader. 2015. Marker assisted-selection for leaf blight in maize (Zey
mays L.). Middle East Journal of Agriculture 4(3): 417-426.

Puttarach, J., P. Puddhanon, S. Siripin, V. Sangtong and S. Songchantuek. 2016. Marker assisted selection for
resistance to northern corn leaf blight in sweet corn. SABRAO Journal of Breeding and Genetics 48(1):
72-76.

Wang, H., ZX. Xiao, FG. Wang, YN. Xiao, JR. Zhao, YL. Zheng and FZ. Qui. 2012. Mapping of HtNB, a gene conferring
non-lesion resistance before heading to Exserohilum turcicum (Pass.), in a maize inbred line derived
from the Indonesian variety Bramadi. Genetics and Molecular Research 11(3): 2523-2533.

748

การเปรียบเทยี บในทอ้ งถิ่นพันธ์ุขา้ วโพดขา้ วเหนียว
Regional Yield Trial of Hybrid Waxy Corn Variety

ภาคภูมิ ถิน่ คำ1* วรรษมล มงคล2 และฉลอง เกดิ ศร3ี

รายงานความกา้ วหนา้
ศึกษาเปรียบเทียบพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว เพื่อคัดเลือกลูกผสมดีเด่นเข้าทดสอบและประเมินผลตาม
ขัน้ ตอนการเปรียบเทียบต่อไป วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCB) 9 สาย
พันธุ์ดีเด่น และพันธุ์เปรียบเทียบ 5 พันธ์ุ รวม 14 ทรีทเมนท์ จำนวน 3 ซ้ำ ดำเนินการที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น
ผลการทดลองพบว่า ผลผลิตท้ังเปลอื กต่อไร่ของสายพันธดุ์ ีเดน่ มีผลผลติ สูงกวา่ พันธ์ุเปรียบเทียบ แต่ไม่แตกต่างทาง
สถิติสายพันธุ์ CNW18109 มีน้ำหนักสดทั้งเปลือกสูงที่สุด 590 กิโลกรัม/ไร่ สายพันธุ์ CNW18109 มีน้ำหนักสด
ปอกเปลือกสูงที่สุด 488 กิโลกรัม/ไร่ รองลงมาพันธุ์ CNW18053 มีน้ำหนักสดปอกเปลือก 430 กิโลกรัม/ไร่ วัน
ออกดอกตัวผู้ 50 เปอร์เซน็ ต์ แตกต่างกนั ทางสถติ ิสถติ ิ มจี ำนวนวันออกดอกตวั ผู้ 50 เปอรเ์ ซ็นต์เฉล่ีย 49 วัน สาย
พนั ธ์ุ CNW18026 ออกดอกตวั ผู้ 50 เปอร์เซน็ ต์ เร็วท่ีสดุ 43 วนั ทุกสายพันธวุ์ นั ออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ แตกต่าง
กันทางสถิติ มีวันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์เฉลี่ย 52 วัน สายพันธุ์ CNW18026 ออกดอกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ เร็ว
ที่สุด 45 วันความยาวฝักไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยที่สายพันธุ์ CNW18026 มีความยาวฝักมากที่สุด 15.6
เซนติเมตร สายพันธุด์ เี ด่นมแี นวโนม้ ดีกวา่ พันธุเปรยี บเทยี บ
คำสำคัญ: ขา้ วโพดข้าวเหนียว เปรียบเทียบท้องถิน่

คำนำ
ข้นั ตอนหลกั ในการปรับปรุงพนั ธุ์พืชมีอยู่ 4 ขั้นตอน ไดแ้ ก่ 1) การคัดเลือกสายพันธ์ุทม่ี ีลักษณะที่ต้องการ
2) การสร้างพันธุ์ใหม่ 3) การทดสอบและประเมินผลพันธุ์ใหม่ และ 4) การรักษาความตรงต่อพันธุ์และการ
ขยายพนั ธ์ุ ขน้ั ตอนการทดสอบและประเมนิ ผลผลิตพันธ์ุใหม่ เปน็ การแยกความแตกต่างของพนั ธุใ์ หม่ท่ีเกิดขึน้ จาก
พันธุกรรม และสง่ิ แวดลอ้ ม หรอื ปฏกิ ิริยาของทัง้ สองสิง่ ออกจากกนั เพ่อื ใหส้ ามารถคัดเลอื กพันธุ์ท่ีสร้างขึ้นใหม่ได้
อย่างถูกต้องแม่นยำ กรมวิชาการเกษตรไดก้ ำหนดขั้นตอนการทดสอบ และประเมินผลผลิตไว้ 5 ระดับ ได้แก่ 1)
การเปรียบเทียบเบื้องตน้ (preliminary trial) 2) การเปรยี บเทียบมาตรฐาน (standard trial) 3) การเปรียบเทียบ
ในท้องถิ่น (regional trial) 4) การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร (farm trial) และ 5) การทดสอบในไร่เกษตรกร
(field test)

1 ศูนยว์ จิ ยั พชื ไร่ขอนแกน่ สถาบนั วจิ ยั พชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแก่น
2 ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไร่ชยั นาท สถาบนั วจิ ยั พืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน อำเภอสรรพยา จงั หวดั ชยั นาท
3 ศูนยว์ ิจยั พชื ไร่ชัยนาท สถาบันวจิ ัยพืชไร่และพชื ทดแทนพลงั งาน อำเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

749

ในปี 2562 สามารถคัดเลือกข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมดีเด่น (elite waxy corn hybrids) จากการ
ทดลองเปรียบเทียบมาตรฐานได้จำนวน 9 ลูกผสม จึงต้องได้รับการทดสอบและประเมินผลในการเปรียบเทียบ
พันธุ์ในท้องถิ่น เพื่อประเมินปฏิกิริยาระหว่างพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อม ( genotype by environment
interaction) ซึ่งจะทำให้ได้ทราบว่าพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์ใดที่สามารถปลูกได้ทั่วไป หรือปลูกได้
เฉพาะในพื้นที่ที่เจาะจงเท่านั้น และคัดเลือกลูกผสมที่ดีเด่นเข้าทดสอบและประเมินผลในการเปรียบเทียบในไร่
เกษตรกรตอ่ ไป

วธิ ีดำเนินการ
อปุ กรณ์

1. พันธ์ุขา้ วโพดขา้ วข้าวเหนียวลูกผสม และพนั ธก์ุ ารค้า
2. ปุ๋ยเคมีสตู ร 18-46-0 สตู ร 0-0-60 และ สูตร 46-0-0
3. สารเคมีปอ้ งกนั กำจดั ศัตรูพชื วิธกี าร
วธิ ีการปฏบิ ัตกิ ารทดลอง
วางแผนการทดลองแบบสุ่มบลอ็ กสมบรู ณ์ (RCB) มี 3 ซ้ำ พนั ธุ์ขา้ วโพดขา้ วเหนียวลูกผสมทดสอบจำนวน
5 พันธ์ุ มีพนั ธุ์การคา้ เปน็ พนั ธ์เุ ปรยี บเทียบ 4 พันธุ์
วธิ กี ารปฏิบัติ
ปลกู เปรียบเทยี บการให้ผลผลติ และคณุ ภาพผลผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวลกู ผสมจำนวน 6-8 พันธุ์ มีพันธ์ุ
ข้าวโพดขา้ วเหนยี วลูกผสมทีเ่ ป็นการค้าของภาครัฐและเอกชนเป็นพันธ์ุเปรยี บเทียบ จำนวน 2-4 พนั ธุ์ ปลูกระยะ
ระหว่างแถว 75 เซนติเมตร ระยะระหว่างต้น 25 เซนติเมตร ปลูกแถวยาว 5 เมตร จำนวน 4 แถวต่อแปลงย่อย
บันทึกข้อมูลลกั ษณะทางการเกษตร เกบ็ เกี่ยวผลผลติ และบนั ทกึ ข้อมูลผลผลติ จากพนื้ ท่ีเก็บเกี่ยว 4 แถว โดยเก็บ
เก่ียวผลผลิตหลงั จากวันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ จำนวน 18-20 วัน
การบันทึกขอ้ มูล
- ผลผลติ และองค์ประกอบผลผลิต
- น้ำหนกั ฝกั ทงั้ เปลอื ก และปอกเปลอื กทีด่ ี 10 ฝัก
- วันออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ และวันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์
- ลกั ษณะทางการเกษตรอืน่ ๆ เช่นจำนวนต้น จำนวนฝัก ความสงู ตน้ ความสงู ฝัก ขนาดฝกั เป็นต้น

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
น้ำหนกั สดทัง้ เปลือกต่อไร่

น้ำหนักสดทั้งเปลือกไม่แตกต่างกนั ทางสถิติ สายพันธุ์ CNW18109 มีน้ำหนักสดทั้งเปลือกสูงที่สุด 590
กิโลกรัม/ไร่ รองลงมาพันธุ์ CNW18053 และ CNW18224 มีน้ำหนักสดทั้งเปลือก 572 และ 565 กิโลกรัม/ไร่
ตามลำดับ และสายพันธดุ์ ีเดน่ มีผลผลิตสูงกว่าพันธุเ์ ปรยี บเทยี บ (ตารางท่ี 1)

750

น้ำหนักสดปอกเปลอื กตอ่ ไร่
น้ำหนักสดปอกเปลือกไม่แตกต่างกันทางสถิติ สายพันธุ์ CNW18109 มีนำ้ หนกั สดปอกเปลอื กสูงที่สุด488

กิโลกรัม/ไร่ รองลงมาพันธุ์ CNW18053 และ CNW18206 มีน้ำหนักสดปอกเปลือก 430 และ 409 กิโลกรัม/ไร่
(ตารางที่ 1)
น้ำหนกั ฝักดี 10 ฝกั ไม่ปอกเปลือก

น้ำหนกั สดฝกั ดี 10 ฝกั ไม่ปอกเปลอื กไม่แตกต่างกันทางสถิติ สายพันธ์ุ CNW18108 และ CNW18053 มี
น้ำหนักสดฝักดี 10 ฝักไม่ปอกเปลือกสูงที่สุด 2.2 กิโลกรัม รองลงมาสายพันธ์ุ CNW18109 และ CNW18224 มี
นำ้ หนกั สดฝักดี 10 ฝักไมป่ อกเปลือกสูงทส่ี ุด 2.1 กิโลกรมั (ตารางที่ 1)
น้ำหนักฝักดี 10 ฝกั ปอกเปลอื ก

น้ำหนักสดฝักดี 10 ฝักปอกเปลือกแตกต่างกันทางสถิติ พบว่าสายพันธุ์ CNW18109 และ CNW18053
มีน้ำหนักสดฝักดี 10 ฝักปอกเปลือกสูงที่สุด 1.6 กิโลกรัม รองลงมาสายพันธุ์ CNW18108 และ CNW18236 มี
นำ้ หนกั สดฝักดี 10 ฝักปอกเปลอื กสงู ท่สี ุด 1.5 กโิ ลกรมั (ตารางท่ี 1)
วันออกดอกตัวผู้ 50 เปอร์เซ็นต์

ทุกสายพันธุ์วันออกดอกตัวผู้ 50 เปอร์เซ็นต์ แตกต่างกันทางสถิติ มีจำนวนวันออกดอกตัวผู้ 50
เปอร์เซ็นต์เฉล่ีย 49 วนั สายพันธุ์ CNW18026 ออกดอกตัวผู้ 50 เปอร์เซน็ ต์ เรว็ ทีส่ ุด 43 วัน รองลงมา สายพันธ์ุ
CNW18109 ออกดอกตัวผู้ 50 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างกับพันธุ์เปรียบเทียบ Chai Nat 84-1 ออกดอกตัวผู้ 50
เปอร์เซน็ ต์ 46 วัน พันธ์ุ Violet white926 ออกดอกตัวผู้ 50 เปอร์เซ็นต์ ชา้ ท่สี ดุ 53 วนั (ตารางท่ี 2)
วันออกไหม 50 เปอรเ์ ซน็ ต์

ทุกสายพันธุ์วันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ แตกต่างกันทางสถิติ มีวันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์เฉลี่ย 52 วัน
สายพนั ธ์ุ CNW18026 ออกดอกไหม 50 เปอรเ์ ซ็นต์ เร็วทีส่ ุด 45 วัน รองลงมาสายพันธ์ุ CNW18109 ออกดอกตัว
ผู้ 50 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างกับพันธ์ุเปรียบเทียบ Chai Nat 84-1 ออกดอกตัวผู้ 50 เปอร์เซ็นต์ 47 และ 48 วัน
พันธ์ุ Violet white926 ออกดอกไหม 50 เปอรเ์ ซ็นต์ ช้าทส่ี ดุ 56 วัน (ตารางที่ 2)
วันเกบ็ เกี่ยว และคะแนนเปลอื กหุม้ ฝัก

วนั เกบ็ เกย่ี วแตกตา่ งกันทางสถติ ิ วันเก็บเกยี่ วผลผลติ ทุกสายพนั ธ์ุ 72 วัน สายพันธ์ุ CNW18026 เก็บเกยี่ ว
เร็วท่สี ุด 65 วนั สายพนั ธุ์ Sweet Violet เกบ็ เก่ยี วชา้ ที่สุด 75 วนั ทกุ สายพันธุ์มีคะแนนเปลอื กหุ้มฝักแตกต่างกัน
ทางสถิติ สายพนั ธุ์ CNW18178 คะแนนลกั ษณะเปลือกหมุ้ ปลายฝกั น้อยที่สดุ 3.7 คะแนน (ตารางที่ 2)
ความยาวฝกั ความยาวปลายฝัก และความกวา้ งฝัก

ความยาวฝักไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยท่ีสายพันธ์ุ CNW18026 มีความยาวฝกั มากท่สี ดุ 15.6 เซนติเมตร
รองลงมาสายพันธุ์ CNW18108 และพันธุ์ Chai Nat 2 มีความยาวฝัก 15.4 และ 14.3 เซนติเมตร ส่วนสายพันธ์ุ
CNW18236 มีความยาวฝักสั้น 12.1 เซนติเมตร ทางด้านความยาวปลายฝักแตกต่างกันทางสถิติ สายพันธุ์
CNW18178 มคี วามยาวปลายฝกั ยาวท่ีสดุ 3.7 เซนตเิ มตร ไม่แตกต่างพันธุ์ Sweet violet และ Violet white926
มีความยาวปลายฝัก 3.3 และ 3.2 เซนติเมตร ส่วนสายพันธ์ุ CNW18026 มีความยาวปลายฝักสั้นที่สุด 0.9

751

เซนติเมตร ความกวา้ งฝกั ไม่แตกตา่ งกนั ทางสถิติ สายพันธุ์ CNW18109 มีความกวา้ งฝักมากท่ีสุด 4.2 เซนติเมตร
ส่วนพันธุ์ Sweet violet มีความกว้างฝักน้อยที่สดุ 3.8 เซนตเิ มตร (ตารางท่ี 3)
ความสูงต้น และความสูงฝัก

ความสูงต้นข้าวโพดทุกสายพันธุ์แตกต่างกันทางสถิติ มีความสูงต้นเฉลี่ย 114.8 เซนติเมตร สายพันธุ์
CNW18053 มีความสูงต้นสูงที่สุด 137.7 เซนติเมตร ส่วนสายพันธุ์ CNW18026 มีความสูงต้นน้อยที่สุด 96.4
เซนติเมตร ทางด้านความสูงฝักแตกต่างกันทางสถิติ พบว่า สายพันธุ์ CNW18053 มีความสูงฝักสูงที่สุด 66.8
เซนตเิ มตร ส่วนสายพนั ธ์ุ CNW18026 มคี วามสูงฝกั ต่ำที่สุด 32.3 เซนติเมตร (ตารางท่ี 3)

ตารางที่ 1 ผลผลิตของข้าวโพดข้าวเหนยี ว ศูนย์วิจยั พืชไรข่ อนแกน่ ปี 2563

พนั ธ์ุ นำ้ หนักสดทัง้ เปลือก นำ้ หนักสดปอกเปลอื ก นำ้ หนกั ฝกั ดี 10 ฝัก
(kg/rai)
(kg/rai) ไม่ปอกเปลือก (kg) ปอกเปลอื ก (kg)

CNW18109 590 448 2.1 1.6
CNW18026 526 370 1.9 1.3
CNW18178 501 352 1.9 1.3

CNW18206 501 409 1.9 1.4
CNW18108 526 388 2.2 1.5

CNW18224 565 398 2.1 1.4

CNW18236 505 395 2.0 1.5
CNW18250 526 324 1.9 1.2

CNW18053 572 430 2.2 1.6
Chai Nat 2 526 377 1.9 1.4
Sweet wax 254 523 380 1.7 1.3

Sweet violet 484 388 1.4 1.1
Violet white926 498 334 1.9 1.4
Chai Nat 84-1 491 341 1.8 1.3

Mean 524 381 1.9 1.4

F-test ns ns ns ns

CV (%) 16.41 14.65 22.98 16.83
ns ไม่แตกต่างกันทางสถิติ

752

ตารางที่ 2 ลักษณะทางเกษตรของข้าวโพดข้าวเหนยี ว ศนู ยว์ จิ ัยพชื ไรข่ อนแกน่ ปี 2563

พนั ธ์ุ วันออกดอกตวั ผู้ 50% วันออกไหม 50% วนั เก็บเก่ยี ว คะแนนเปลือกหมุ้ ฝัก

CNW18109 46 f 47 f 67 f 5.0 a
CNW18026 43 g 45 g 65 g 4.3 b
CNW18178 48 d-f 51 de 71 de 3.7 c
CNW18206 48 ef 49 ef 69 ef 5.0 a
CNW18108 50 b-d 52 cd 72 cd 4.0 bc
CNW18224 52 ab 55 ab 75 a 5.0 a

CNW18236 52 a-c 54 a-c 74 ab 5.0 a
CNW18250 51 a-c 54 bc 74 a-c 5.0 a
CNW18053 51 bc 53 cd 73 b-d 5.0 a

Chai Nat 2 50 c-e 52 cd 72 cd 5.0 a
Sweet wax 254 50 b-e 52 cd 72 cd 5.0 a
Sweet violet 51 a-c 54 bc 74 a-c 5.0 a

Violet white926 53 a 56 a 75 a 5.0 a
Chai Nat 84-1 46 f 48 f 68 f 5.0 a

Mean 49 52 72 4.8

F-test ** ** ** **

CV (%) 2.68 2.49 1.72 4.47

หมายเหตุ: คะแนนลักษณะเปลอื กหุ้มปลายฝกั
1 = ปลายฝกั โผลอ่ อกจากเปลอื กหุ้มฝัก
2 = เปลือกหุ้มฝกั ปดิ เสมอปลายฝัก
3 = เปลอื กหุ้มฝกั ปิดยาวกวา่ ปลายฝัก 1 เซนติเมตร
4 = เปลอื กหมุ้ ฝักปดิ ยาวกวา่ ปลายฝกั 2 เซนติเมตร
5 = เปลอื กหุม้ ฝกั ปดิ ยาวกว่าปลายฝักมากกว่า 2 เซนตเิ มตร
1/ตวั อักษรทเี่ หมอื นกันตามแนวต้งั (ตวั พิมพเ์ ล็ก) แสดงว่าไม่มคี วามแตกต่างกนั ทางสถิตทิ ่รี ะดับความเชอ่ื มั่น 95%
** มคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำคญั ยงิ่ ทางสถิติที่ระดบั ความเช่อื ม่ัน 99% ดว้ ยวธิ ี DMRT
ns ไม่แตกต่างกันทางสถิติ

753

ตารางท่ี 3 องคป์ ระกอบผลผลติ ของขา้ วโพดข้าวเหนยี ว ศูนยว์ จิ ยั พชื ไร่ขอนแกน่ ปี 2563

พันธ์ุ ความยาวฝกั ความยาวปลายฝกั ความกวา้ งฝัก (cm) ความสูงต้น (cm) ความสงู ฝัก (cm)
(cm) (cm)

CNW18109 14.0 2.7 ab 4.2 100.2 de 46.5 bc

CNW18026 15.6 0.9 b 4.0 96.4 e 32.3 d

CNW18178 12.2 3.7 a 4.1 102.6 de 42.5 b-d

CNW18206 13.0 2.5 ab 4.1 104.3 de 40.7 cd

CNW18108 15.4 2.1 ab 3.9 108.1 c-e 51.4 bc

CNW18224 14.1 1.8 ab 4.1 130.7 ab 54.6 a-c

CNW18236 12.1 2.8 ab 4.2 117.5 a-e 53.7 a-c

CNW18250 12.7 2.4 ab 4.1 129.2 a-c 56.1 ab

CNW18053 13.3 1.3 ab 4.2 137.7 a 66.8 a

Chai Nat 2 14.3 2.1 ab 4.0 127.2 a-c 55.7 ab

Sweet wax 254 12.8 1.2 ab 4.1 112.6 b-e 45.7 b-d

Sweet violet 11.7 3.3 ab 3.8 120.7 a-d 56.3 ab

Violet white926 14.3 3.2 ab 4.1 121.5 a-d 51.8 bc

Chai Nat 84-1 12.3 2.9 ab 4.1 99.0 e 43.9 b-d

Mean 13.4 2.4 4.1 114.8 49.9

F-test ns * ns ** **

CV (%) 13.22 36.94 4.02 9.78 14.55

1/ตัวอกั ษรทีเ่ หมือนกันตามแนวตัง้ (ตัวพมิ พเ์ ลก็ ) แสดงว่าไม่มีความแตกตา่ งกันทางสถติ ิท่รี ะดบั ความเชื่อม่นั 95%

** มีความแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สำคญั ย่งิ ทางสถติ ทิ ่ีระดบั ความเช่ือมน่ั 99% ด้วยวธิ ี DMRT

ns ไมแ่ ตกต่างกันทางสถิติ

สรปุ ผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
สายพันธ์ุดีเด่นมแี นวโนม้ ใหผ้ ลผลิตน้ำหนกั สดทัง้ เปลอื กตอ่ ไร่สงู กวา่ พนั ธเ์ุ ปรยี บเทยี บ เชน่ เดียวกับผลผลิต
น้ำหนักสดปอกเปลือกต่อไร่ สายพันธุ์ CNW18108 และ CNW18053 มีน้ำหนกั สดฝักดี 10 ฝักไม่ปอกเปลือกสงู
ที่สุด 2.2 กิโลกรัม และน้ำหนักสดฝักดี 10 ฝักปอกเปลือกสูงที่สุด 1.6 กิโลกรัม วันเก็บเกีย่ วผลผลิตทุกสายพันธุ์
เฉลี่ย 72 วัน สายพันธุ์ CNW18026 มีความยาวฝักมากที่สุด 15.6 เซนติเมตร รองลงมาสายพันธุ์ CNW18108
และพันธุ์ Chai Nat 2 มีความยาวฝัก 15.4 และ 14.3 เซนติเมตร ความสูงต้นข้าวโพดทุกสายพันธุ์เฉลี่ย 114.8
เซนตเิ มตร ความสงู ฝกั ข้าวโพดทกุ สายพนั ธเ์ุ ฉล่ยี 49.9 เซนตเิ มตร

754

การทดสอบเคร่ืองหมายโมเลกุลช่วยคัดเลือกลกั ษณะความเหนยี วนุ่มของข้าวโพดข้าวเหนยี ว

ธรี วุฒิ วงศ์วรตั น์1* ฉลอง เกิดศรี2 วรรษมน มงคล2 และภาคภมู ิ ถ่ินคำ1

รายงานความกา้ วหน้า
การศึกษาความผันแปรของลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน Wx1 และ SS ในข้าวโพดข้าวเหนยี วที่สัมพนั ธ์กบั
ลกั ษณะความเหนยี วนมุ่ เพือ่ นำมาใช้เปน็ เครื่องหมายดีเอ็นเอคัดเลอื กพันธ์ุขา้ วโพดขา้ วเหนยี วท่ีมีความเหนียวนุ่ม
ต่างกันตามต้องการ งานวิจัยพบว่า Wx1 มีรูปแบบการผันแปรแบบการขาดหายไปหรือการเพิ่มเติม (INDEL) 2
ตำแหน่ง คือบริเวณ exon ที่ 7 (wx-D7) และ exon ที่ 7 (wx-D10) ซึ่งมีผลทำให้การถอดรหัสกรดอะมิโน
เปลย่ี นแปลง แต่จากการจดั กลุ่มโดยใช้ลำดับกรดอะมิโน สามารถจดั ได้ 2 กลุ่ม ซง่ึ ไม่สัมพนั ธ์กบั ค่าความหนืดของ
ข้าวโพดข้าวเหนียว ในขณะที่ยีน SS มีรูปแบบการผนั แปรแบบแทนท่ี (Substitution) 7 ตำแหน่ง กระจายอย่ใู น
บริเวณ exon ที่ 4 และ 5 เมื่อถอดรหัสกรดมอะมิโนพบว่ามีลำดับกรดอะมิโนเปลี่ยนแปลง 3 ตำแหน่ง เมื่อนำ
ขอ้ มลู ลำดบั กรดอะมโิ นมาจัดกลมุ่ พบว่าสามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 กลมุ่ กลุ่มท่ี 1 กล่มุ ทม่ี ีกรดอะมิโนในตำแหน่ง
ที่ 43 71 และ 161 เป็น กรดแอสปาร์ตกิ กรดไลซนี และกรดอะลานนี ตามลำดับ กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่มีกรดอะมิโนใน
ตำแหน่ง ที่ 43 71 และ 161 เป็นกรดกลูตามกิ กรดอาร์จีนนิ และกรดวาลีน ตามลำดับ และพบวา่ กลมุ่ ที่ 1 จดั เปน็
กลุ่มข้าวโพดข้าวเหนียวท่ีมีค่าความหนืดสูงสดุ (peak viscosity) ต่ำ ดังนั้นยีนนี้จึงสามารถท่ีจะนำไปประยุกต์ใช้
เปน็ เครื่องหมายดีเอน็ เอช่วยคัดเลือกข้าวโพดข้าวเหนยี วเพื่อใหไ้ ด้ข้าวโพดข้าวเหนียวท่ีมีลักษณะเหนียวนุ่มซึ่งเป็น
ลักษณะที่ได้รบั การยอมรบั ของผู้บริโภคต่อไป
คำสำคญั : ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม ถ่ัวลิสง เคร่ืองหมายเอสเอสอาร์

คำนำ
ขา้ วโพดข้าวเหนยี วเป็นขา้ วโพดท่นี ิยมบริโภคฝักสด เนือ่ งจากมีรสชาติดีและมีความเหนียวนุ่มเหมือนข้าว
เหนียว ลักษณะแป้งในเมล็ดเป็นแป้งอ่อนซึ่งประกอบด้วยอะไมโลแพคติน ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และมีลักษณะ
โครงสรา้ งเปน็ กงิ่ สาขารวมตัวเป็นกล่มุ ลกั ษณะเหนยี วนุ่มของข้าวโพดข้าวเหนียวเป็นผลมาจากการการกลายพันธุ์
ของยีน Waxy ซ่ึงควบคมุ การสงั เคราะห์ปริมาณอะไมโลส (Klosgen et al., 1986) สง่ ผลทำให้สงั เคราะหอ์ ะไมโล
สลดลง อะไมโลเพคตินเปน็ พอลเิ มอร์เชิงกิ่งของกลูโคส เกิดจากหน้าทีข่ องเอนไซม์หลายชนดิ ซึ่งเอนไซม์ starch
synthase III ถกู ถอดรหสั มาจากยนี SS เป็นเอนไซมท์ ี่มีบทบาทหน้าทีในการตอ่ สายแขนงพอลิเมอรข์ องอะไมโลเพ
คตินให้ยาวขึ้นในข้าวโพดขา้ วเหนียว (Lin et al., 2012) การเปลี่ยนแปลงลำดบั นิวคลีโอไทดท์ ี่มีผลทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงลำดับกรดอะมิโนและมีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ starch synthase IIa ซึ่งมีผลต่อโครงสร้าง
ของอะไมโลเพคตินและอุณหภูมิแป้งสุกของข้าว (Nakamura et al., 2005) การเปลี่ยนแปลงในระดับยีนนี้เกิด
จากการเปล่ยี นแปลงการเรยี งตัวของลำดับนิวคลีโอไทด์ ซงึ่ สง่ ผลใหก้ ารถอดรหัสกรดอะมิโนเปลี่ยนแปลงด้วย อาจ

1ศูนยว์ ิจยั พืชไรข่ อนแก่น สถาบนั วิจัยพืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

755

มีผลทำให้ไม่มีการสร้างโปรตีนหรือเอนไซม์ หรืออาจสังเคราะห์ขึ้นมาได้แต่สมบัติเปลี่ยนไปจากเดิมหรือหมด
ประสิทธภิ าพการทำงาน ดังนนั้ การตรวจหาลำดบั นวิ คลโี อไทด์ในบรเิ วณของยนี ท่ตี ้องการข้อมูล จะทำให้ได้ข้อมูล
ความผันแปรของทางพันธุกรรม ซึ่งข้อมูลเหล่านี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องหมายดีเอ็นเอที่จำเพาะกับ
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของยีน (direct marker assisted selection) ซึ่งมีความแม่นยำในการคัดเลือก
เนื่องจากเป็นการพัฒนามาจากส่วนของยีนที่ทำหน้าที่กำหนดรหัสพันธุกรรมที่ควบคุมการทำงานของลักษณะ
เปา้ หมายทต่ี ้องการ (Collard et al., 2005) ดังนน้ั ในข้นั ตอนกอ่ นทจี่ ะไดม้ าซึง่ เครอื่ งหมายดีเอน็ เอท่ีช่วยคัดเลือก
ลักษณะความเหนียวนุ่มของข้าวโพดข้าวเหนียว จึงต้องศึกษาความผันแปรของลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน Wx1
และ SS

วธิ ดี ำเนนิ การ
1. อุปกรณ์

1.1 วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื สำหรบั การเพมิ่ ปริมาณดีเอ็นเอและการตรวจสอบผลผลติ พซี ีอาร์
1.1.1 เครื่องเพิ่มปรมิ าณสารพันธุกรรมด้วยเทคนิคพซี ีอาร์
1.1.2 เคร่ืองแยกขนาดดีเอ็นเอด้วยกระแสไฟฟา้ แบบแนวนอน
1.1.3 เครื่องป่นั แยกสารควบคมุ อุณหภูมไิ ด้ชนดิ ต้ังโตะ๊
1.1.4 เคร่ืองดดู จ่ายสารละลาย

1.2 ชุดนำ้ ยาและสารเคมีท่ใี ช้สำหรบั งานดา้ นเคร่อื งหมายโมเลกุล
1.3 กลอ้ งถ่ายภาพ
2. วธิ ีการ
1. การเตรียมตัวอยา่ งและการสกดั ดีเอ็นเอ
เมล็ดข้าวโพดข้าวเหนียว 38 พันธุ์/สายพนั ธ์ุ คัดเลือกเมล็ดทีส่ มบูรณ์ตัวอย่างละ 20 เมล็ด นำมาเพาะให้
งอกเป็นตน้ กลา้ ตดั ใบออ่ นมาหั่นเปน็ ชิ้นเล็ก ๆ ประมาณ 0.1 กรัม ใสล่ งในโกรง่ ท่มี ีไนโตรเจนเหลว บดให้ละเอียด
เป็นผงแล้วใช้ชุดน้ำยาสกัดดีเอ็นเอสำเร็จรูป (DNA extraction GF-1, Vivantis) จากนั้นตรวจสอบคุณภาพ
สารละลายดเี อน็ เอท่สี กัดไดก้ ารวัดค่าการดดู กลืนแสง
2. การเพ่มิ ปริมาณดีเอ็นเอดว้ ยเทคนคิ PCR
นำตัวอย่างดีเอ็นเอที่สกัดได้มาเพ่ิมปริมาณดีเอ็นเอด้วยเทคนิค PCR เพื่อเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอโดยใช้ไพร
เมอร์ GS และ SS ที่ออกแบบมาจำเพาะกบั ดีเอน็ ของยนี GBSSI และ SSIII ตรวจสอบผลผลิตโดยใช้เจล อะกาโรส
หลังจากนั้นทำดีเอ็นเอให้บริสุทธิ์ และวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ด้วยเครื่อง IIIumina Hiseq (illumine) ด้วย
เทคนิค BT-Sequencing (Barcode taq sequencing base on Next generation sequencing ตามกรรมวิธีของ
บริษัท Celemics ประเทศสาธารณรฐั เกาหลี
3. การวเิ คราะหล์ ำดับนิวคลโี อไทด์และลำดบั กรดอะมโิ น
นำข้อมูลลำดับนิวคลีโอไทด์ที่ไดม้ าจัดเรียงตำแหน่งเปรยี บเทยี บกันโดยใช้โปรแกรม ClustalW2 ด้วยวิธี
Multiple alignment ใหถ้ กู ต้องตรงกันทกุ ตวั อย่าง แล้วนำไปเทียบกบั ลำดับนวิ คลโี อไทด์ในฐานข้อมูล GenBank

756

และนำลำดับนิวคลีโอไทด์มาถอดรหัสกรดอะมิโนด้วยโปรแกรม ExPASy https://web.expasy.org/translate/
แล้วนำมาสร้างแผนภูมิความสันพันธ์ทางพันธุกรรม (Phylogenetic tree) ด้วยโปรแกรม MEGA-X (Molecular
Evolution Genetics Analysis) ด้วยวธิ ี Neighbor-joining โดยกำหนดคา่ bootstrap test ท่ี 1,000 ซำ้

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
1. การวิเคราะหข์ อ้ มูลลำดบั นิวคลโี อไทด์

การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วยเทคนิค PCR โดยใช้ไพรเมอร์ GBSS และ SS ที่จำเพาะกับยีน Waxy1 และ
SS ตามลำดับ ในขา้ วโพดข้าวเหนยี ว 38 พันธ์ุ/สายพันธุ์ พบว่าไพรเมอร์ GBSS สามารถเพิม่ ปริมาณดเี อ็นเอได้ 17
ตวั อย่าง (ผลสำเร็จ 44.73) ผลผลติ ช้ินดีเอน็ เอมีขนาด 2,485-2,506 คเู่ บส เมอ่ื ตรวจสอบความถูกต้องของลำดับนิ
วคลีโอไทด์ โดยการเทียบกับฐานข้อมูล GenBank พบว่ามีความใกล้เคียง (% identify) 97.54-98.80% กับ
ข้าวโพดขา้ วเหนยี ว (Zea may) หมายเลขลำดับนวิ คลีโอไทด์จำเพาะ EU041691 ในขณะทไี่ พรเมอร์ SS สามารถ
เพมิ่ ปรมิ าณดีเอ็นเอได้ 35 ตวั อยา่ ง (ผลสำเรจ็ 92.10%) ผลผลิตชน้ิ ดเี อน็ เอมีขนาด 1,808-1,812 คู่เบส เมื่อเทียบ
กับลำดับนิวคลีโอไทด์ในฐานข้อมูล GenBank พบว่ามีความใกล้เคียง (% identify) 98.02-98.23% กับข้าวโพด
ขา้ วเหนยี ว (Zea may) หมายเลขลำดับนวิ คลโี อไทด์จำเพาะ JF273457 เห็นได้ว่าขอ้ มลู ลำดบั นวิ คลโี อไทด์ของทั้ง
สองยีนน้มี ีความนา่ เช่ือถือและความถกู ตอ้ งจริง
2. ความผันแปรของลำดบั นิวคลโี อไทด์ยีน Waxy1

ยีน Waxy1 มขี นาดลำดับนิวคลโี อไทด์ท้ังหมด 4,339 ค่เู บส (หมายเลขจำเพาะนวิ คลโี อไทด์ EU041691)
ประกอบด้วยบริเวณ intron (ส่วนที่ไม่ถอดรหัสเปน็ กรดอะมิโน) 13 introns และบริเวณ exon (ส่วนที่ถอดรหัส
เป็นกรดอะมิโน) 14 exons (Klosgen et al., 1986; Zheng et al., 2013) เมื่อถูกถอดรหัสจะได้เป็นโปรตีน
GBSS1 มีบทบาทหน้าทีในการสังคราะห์อะไมโลส และปริมาณอะไมโลสเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงคุณภาพการหุงต้มสุกที่
ผู้บริโภคยอมรับ การกลายพันธุ์ของยีน Wx ส่งผลให้มีการสังเคราะห์ GBBSI ลดลงจึงมีผลกระทบโดยตรงต่อ
ปริมาณอะไมโลส งานวิจัยนี้สามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอและจัดเรียงลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน Wx ได้ 2,485-
2,506 คเู่ บส ประกอบด้วย 11 introns (บรเิ วณ intron ท่ี 4-14) และ 11 exons (บรเิ วณ exon ที่ 4-14) เม่อื นำ
ลำดับนิวคลีโอไทด์มาเทียบกันกัน พบว่ามีความผันแปรในรูปแบบการขาดหายไป (deletion) และการเพิ่มเติม
(insertion) การเพิม่ ขึน้ หรือขาดหายไปของลำดับนิวคลีโอไทด์ มักเรียกว่า INDEL (insertion and deletion) ใน
ทกุ บริเวณ intron ยกเว้น intron ที่ 5 และสว่ นบรเิ วณ exon พบความผันแปรรูปแบบ INDEL เฉพาะ exon ที่ 7
และ 10 เท่านน้ั จำนวน 5 และ 15 นิวคลโี อไทด์ ตามลำดับ สอดคลอ้ งกบั รายงานวิจยั การวเิ คราะห์ลำดบั นิวคลีโอ
ไทด์ของยีน Wx จากข้าวโพดข้าวเหนียว 55 หมายเลขพันธุ์ พบว่าบริเวณ exon ที่ 7 (wx-D7) และ ที่ 10 (wx-
D10) มีการกลายพนั ธ์ใุ นรปู แบบการขาดหายไป 30 และ 15 คู่เบส (Fan et al., 2008)

เมื่อทำการถอดรหัสกรดอะมิโนจากนวิ คลีโอไทด์ท่ีได้พบว่า ไดก้ รดอะมโิ น 438-443 ชนดิ เม่อื นำกรดอะมิ
โนมาเรียงเทียบกัน พบความผันแปรของลำดับกรดอะมิโนบริเวณ exon ที่ 7 และ 10 จำนวน 1 และ 5 ชนิด
ตามลำดับ สอดคล้องกับรายงานการศกึ ษาลำดับนิวคลีโอไทด์บรเิ วณ wx-D7 พบการขาดหายไปของลำดับนิวคลีโอ
ไทด์พบได้ในรอยต่อระหว่าง exon-intron ที่ 7 มีผลทำให้เกิดรหัสหยุด (stop codon) เป็นผลให้ไม่มีการ

757
สังเคราะห์โปรตีน GBSSI (Bao et al., 2012) การขาดหายไปของลำดับนิวคลีโอไทด์ 15 คู่เบสของบริเวณ wx-
D10 ทำให้ลำดับกระดอะมิโนที่ได้จากการถอดรหัสพันธุกรรมหายไป 5 ชนิด มีผลทำให้รูปแบบโดเมนของ
glucusul transferase domain 1 (GTD1) ของโปรตีน GBSSI เปลี่ยนไป (Fan et al., 2008) จากรายงานวิจัย
การศึกษาปริมาณอะไมโลสในข้าวโพดข้าวเหนียว พบว่าแป้งขา้ วโพดขา้ วโพดท่ีได้จากแต่ละตัวอย่างมีปริมาณอะ
ไมโลสน้อยและไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (ธีรวุฒิ และคณะ, 2563; Ketthaisong et al.,
2015) ปริมาณอะไมโลสในแปง้ ที่ลดลงมีผลทำให้ลักษณะความหนดื สงู สดุ (peak viscosity) ลดลง (Valle et al.,
1996) ค่าความหนืดสูงสุด เป็นค่าที่มีความสำคัญยิ่งสำหรับใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินสายพันธุ์ข้าวโพดข้าว
เหนียวในระหว่างการปรบั ปรุงพันธุ์และมคี วามสัมพันธ์กับคุณภาพการบริโภค (Ketthaisong et al., 2014) การ
วิเคราะห์ลักษณะความหนืดของแป้งขา้ วโพดขา้ วเหนียวจำนวน 31 ตัวอย่างพบว่าค่าความหนืดของแป้งข้าวโพด
ขา้ วเหนยี วมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมนี ัยสำคัญ WES003 มคี า่ ความหนืดสูงสุด และ WKA005 WKNN016
และ YNB01 มคี า่ ความหนืดนอ้ ยทีส่ ุด (ธีรวฒุ ิ และคณะ, 2563)

เมื่อนำลำดับกรดอะมิโนมาจัดกลุ่ม พบว่าสามารถแบ่งออกไปเป็น 2 กลุ่ม (ภาพที่ 1) เมื่อเทียบกับข้อ
มูลคา่ ความหนดื จากรายงานของ ธีรวุฒิ และคณะ (2563) พบว่าไมม่ ีความสมั พนั ธก์ นั ดงั น้ันข้อมูลลำดับนิวคลีโอ
ไทด์ของยีนนีจ้ ึงไม่เหมาะสำหรับการนำมาใชอ้ อกแบบเครือ่ งหมายดีเอ็นเอสำหรับการตรวจหาความเหนยี วนุ่มใน
ขา้ วโพดขา้ วเหนียว อยา่ งไรก็ตามมีการใชต้ ำแหนง่ กลายพันธ์ุ wx-D7 และ ท่ี 10 wx-D10 เปน็ เครือ่ งหมายดเี อ็นเอ
ในการจำแนกพนั ธุ์ขา้ วโพดข้าวเหนียวพืน้ เมืองและข้าวโพดขา้ วเหนียวลกู ผสมในเช้ือพนั ธุกรรมขา้ วโพดข้าวเหนียวจีน
(Fan et al., 2008; Bao et al., 2012)

ภาพท่ี 1 แผนภมู ิความสมั พันธ์ทางพันธกุ รรมของข้าวโพดขา้ วเหนยี ว
ท่ไี ดจ้ ากขอ้ มูลลำดับกรดอะมโิ นของที่ถอดรหัสมาจากยีน Wx1

758

3. ความผนั แปรของลำดบั นิวคลโี อไทด์ยีน SS
ยีน SS มีขนาดลำดับนิวคลีโอไทด์ทั้งหมด 11,617 คู่เบส (หมายเลขจำเพาะนิวคลีโอไทด์ JF273457)

ประกอบด้วยบริเวณ intron (ส่วนที่ไม่ถอดรหัสเปน็ กรดอะมิโน) 16 introns และบริเวณ exon (ส่วนที่ถอดรหัส
เป็นกรดอะมิโน) 17 exons (Lin et al., 2012) เมื่อถูกถอดรหัสจะได้เป็นโปรตนี SSIII มีบทบาทหน้าทีในการตอ่
สายแขนงพอลิเมอรข์ องอะไมโลเพคตนิ ให้ยาวขึ้น ดงั นัน้ การเปลีย่ นแปลงกรดอะมโิ นมีผลต่อการทำงานของโปรตีน
SSIII ทำให้โครงสร้างขออะไมโลเพคตนิ เปลี่ยนแปลงด้วย งานวิจยั นีส้ ามารถเพ่มิ ปรมิ าณดีเอน็ เอและจัดเรียงลำดับ
นิวคลีโอไทด์ของยีน SS ได้ 1,808-1,812 คู่เบส ประกอบด้วย 3 introns (บริเวณ intron ที่ 3-5) และ 2 exons
(บรเิ วณ exon ท่ี 4-5) เมอื่ นำลำดับนิวคลีโอไทดบ์ รเิ วณ exon มาเทยี บกันกนั พบว่ามีความผนั แปรในรปู แบบการ
แทนที่ (substitution) 7 ตำแหน่ง กระจายอยู่ในบริเวณ exon ทั้งสอง เมื่อลำดันนิวคลีโอไทด์บริเวณ exon มา
ถอดรหัสกรดอะมิโน พบว่าไดก้ รดอะมิโน 170 ชนิด ชนิด เมอื่ นำกรดอะมโิ นมาเรียงเทยี บกนั พบความผนั แปรของ
ลำดับกรดอะมิโน 3 ตำแหน่ง ดังนี้ตำแหน่งที่ 43 71 และ 161 เมื่อนำข้อมูลลำดับกรดอะมิโนทั้งหมดมาสร้าง
แผนภมู ิความสมั พนั ธ์ทางพนั ธกุ รรม พบวา่ สามารถแบ่งออกได้เปน็ 2 กลมุ่ (ภาพที่ 2) กล่มุ ที่ 1 กล่มุ ท่ีมีกรดอะมิโน
ในตำแหน่ง ที่ 43 71 และ 161 เป็น กรดแอสปาร์ติก กรดไลซีน และกรดอะลานีน ตามลำดับ กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่มี
กรดอะมิโนในตำแหนง่ ที่ 43 71 และ 161 เป็นกรดกลตู ามิก กรดอาร์จนี ิน และกรดวาลนี ตามลำดับ จากรายงาน
การหาค่าความหนืดของแป้งข้าวโพดข้าวเหนียว พบว่า WKA005 WKNN016 YNB01 WPK018 WPK031 มีค่า
น้อยสุด และแตกต่างจากตัวอย่างอื่นๆอีก 26 ตัวอย่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ธีรวุฒิ และคณะ, 2563) ซึ่ง
ตวั อยา่ งดังกล่าวถกู จดั อยู่ในกลุ่มที่ 2

สรปุ ผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
จากการศึกษานี้พบว่ายีน Wx1 มีรูปแบบการผันแปรแบบการขาดหายไปหรือการเพิ่มเติม (INDEL) 2
ตำแหน่ง ซึ่งมีผลทำให้การถอดรหัสกรดอะมิโนเปลี่ยนแปลง แต่จากการจัดกลุ่ม สามารถจัดได้ 2 กลุ่ม ซึ่งไม่
สัมพันธ์กับค่าความหนืดของขา้ วโพดข้าวเหนียว ดังนั้นยีนน้ีจึงไม่เหมาะกบั การนำมาใช้พัฒนาเปน็ เคร่ืองหมายดี
เอ็นเอในการช่วยคัดเลือกขา้ วโพดขา้ วเหนยี วตามลกั ษณะความเหนยี วนมุ่ ได้ ในขณะท่ียีน SS มีรปู แบบการผนั แปร
แบบแทนที่ (Substitution) 7 ตำแหน่ง เมื่อถอดรหัสกรดมอะมิโนพบว่ามีลำดับกรดอะมิโนเปลี่ยนแปลง 3
ตำแหนง่ และเม่อื นำลำดบั กรดอะมโิ นมาจดั กล่มุ พบวา่ สอดคลอ้ งกบั ค่าความหนดื ของขา้ วโพดข้าวเหนยี ว ดงั น้ันยนี
นี้จึงสามารถที่จะนำไปประยุกต์ใชเ้ ป็นเครื่องหมายดีเอ็นเอช่วยคดั เลือกขา้ วโพดขา้ วเหนียวเพื่อให้ไดข้ ้าวโพดข้าว
เหนยี วทีม่ ลี กั ษณะเหนยี วนุ่มซึ่งเป็นลักษณะทไี่ ดร้ บั การยอมรับของผูบ้ ริโภคตอ่ ไป

759

ภาพท่ี 2 แผนภมู ิความสมั พนั ธท์ างพนั ธุกรรมของขา้ วโพดข้าวเหนียว
ที่ไดจ้ ากขอ้ มลู ลำดับกรดอะมิโนของท่ถี อดรหสั มาจากยีน SS

760

เอกสารอ้างอิง

ธรี วฒุ ิ วงศว์ รัตน์ ฉลอง เกิดศรี วรรษมน มงคล และภาคภูมิ ถ่ินคำ. 2563. การพัฒนาเครือ่ งหมายโมเลกลุ เพือ่ จำแนกความเหนียว
นุ่มของข้าวโพดข้าวเหนียวด้วยวิธี High-resolution melting (HRM) real-time PCR. เอกสารประกอบการประชุม
วชิ าการ นำเสนอผลงานประจำปี 2562.

Bao, J.D., Yao, J.Q., Zhu, J.Q., Hu, W.M., Cai, D.G. Li, Y., Shu, Q.Y. and F. L.J. 2012. Identification of glutinous maize
landraces and inbred lines with altered transcription of waxy gene. Molecular Breeding 30: 1707-1714.

Collard, B.C.Y., Jahufer, M.Z.Z., Brouwer, J.B. and Pang, E.C.K. 2005. An introduction to markers quantitative trait
loci (QTL) mapping and marker-assisted selection for crop improvement: The basic concepts. Euphytica
142: 169-196.

Valle, G.D., Colonna, P. and Patria, A. 1996. Influence of amylose content on the viscous behavior of low
hydrated molten starches. Journal of Rheology 40: 347-362.

Fan, L., Quan, L., Leng, X., Guo, X., Hu, W., Ruan, S., Ma, H., Zeng M. 2008. Molecular evidence for post-
domestication selection in the Waxy gene of Chinese waxy maize. Molecular Breeding 22: 329-338.

Fredriksson, H., Silverio, J., Andersson, R., Eliasson, A.C. and Aman, P. 1998. Physicochemical properties of waxy
corn starch and corn amylopectin illuminated with linearly polarized visible light. Carbohydrate
Polymers 35: 119-134.

Ketthaisong, D., Suriharn, B., Tangwongchai, R., Jane, J.I. and Lertrat, K. 2015. Physicochemical and morphological
properties of starch from fresh waxy corn kernels. Journal of Food Science and Technology 52(10):
6529-6537.

Ketthaisong, D., Suriharn, B., Tangwongchai and Lertrat, K. 2015. Combining ability analysis in complete diallel
cross of waxy corn (Zea mays var. ceratina) for starch pasting viscosity characteristics. Scientia
Horticulturae 175: 229-235.

Klosgen, R.B., Gierl, A., Schwarz-Sommer, Z., and Saedler, H. 1986. Molecular analysis of the waxy locus of Zea
mays. Molecular Genetic and Genomics 203: 237-244.

Lin, Q., Huang, B., Zhang, M., Zhang, X., Rivenbark, J., Lappe, R., James, M.G., Myers, A.M. and Hennen-Bierwagen,
T.A. 2012. Functional Interactions between starch synthase III and isoamylase-type starch-debranching
enzyme in maize endosperm. Plant Physiology 158: 679-692.

Nakamura, Y., Francisco, J.P.B., Hosaka, Y. Sato, A., Sawada, T., Kubo, A. and Fujita, N. 2005. Essential amino acids
of starch synthase IIa differentiate amylopectin structure and starch quality between japonica and
indica rice varieties, Plant Molecular Biology 58: 213-227.

Zheng, H., Wang, H., Yang, H., Wu, J., Shi, B, Cai, R., Xu, Y., Wu, A., Luo, L. 2013. Genetic diversity and molecular
evolution of Chinese waxy maize germplasm. PLoS One 8: 1-11.

761

แผนงานวิจัย

วจิ ัยและพัฒนาถ่วั เหลอื งเพื่อเพิม่ ผลผลติ และความมั่นคงทางอาหาร

762

การปรบั ปรงุ พันธ์ุถวั่ เหลืองเพือ่ ผลผลิตสูง (ชุดปี 54) : การเปรยี บเทียบในไร่เกษตรกร
Soybean breeding for high yield (set 2011): Farmer Trial

รวีวรรณ เชือ้ กติ ตศิ กั ด์ิ1* นารีรัตน์ เณรอยู่1 สุมณฑา นนทะนำ1 รชั นี โสภา2 และอ้อยทนิ ผลพานชิ 2

บทคัดย่อ
การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ถั่วเหลืองเพื่อผลผลิตสูง ชุดปี 2554 ดำเนินการในพื้นที่จังหวัด
ขอนแกน่ ในฤดแู ลง้ ปี 2562 และ 2563 โดยเปรยี บเทียบถ่วั เหลอื งสายพนั ธุด์ เี ดน่ 4 สายพนั ธุ์รว่ มกบั พนั ธุ์เชยี งใหม่
60 และ เชียงใหม่ 6 วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 4 ซ้ำ พบว่า ในฤดูแล้งปี 2562 และ 2563 สายพันธุ์
CM0809-3 ให้ผลผลิตสูงสุดที่ 398 และ 182 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์เชียงใหม่ 60 ร้อยละ 46 และ 52
ตามลำดับ และสูงกว่าพันธุเ์ ชียงใหม่ 6 ร้อยละ 33 และ 28 ตามลำดับ และเมื่อนำผลผลิตทั้ง 2 ปีมาเฉลี่ยพบว่า
สายพันธุ์ CM0809-3 ให้ผลผลิตสูงสุด 290 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์เชียงใหม่ 60 และเชียงใหม่ 6 ร้อยละ 48
และ 31 ตามลำดบั สอดคล้องกบั พื้นท่ีอ่นื ๆ ทท่ี ำการทดสอบ จึงคัดเลือกสายพันธ์ุ CM0809-3 ทใ่ี หผ้ ลผลติ สงู เพ่ือ
เสนอขอรับรองพนั ธุ์ตอ่ ไป
คำสำคญั : ถวั่ เหลอื ง ผลผลติ สูง ไร่เกษตรกร

คำนำ
ถ่ัวเหลืองเป็นพืชความมนั่ คงทางอาหารที่มปี ริมาณโปรตีนในเมลด็ สูงมากกวา่ พืชไรต่ ระกลู ถ่วั อืน่ ๆ จึงเป็น
แหลง่ โปรตีนราคาถูก มคี วามเกี่ยวข้องกบั วิถีชวี ิตของชุมชนในเชิงของวฒั นธรรมอาหารโปรตีนสูง และเป็นพืชร่วม
ในระบบปลูกพืชที่สำคัญ จากการขยายตัวของอุตสาหกรรม และความต้องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพและ
ปลอดภยั ทีเ่ พมิ่ มากข้ึน ทำให้ปริมาณการผลิตไม่เพยี งพอกับความต้องการใช้ในประเทศ ทำให้ต้องนำเข้าเมล็ดจาก
ตา่ งประเทศในแตล่ ะปีมูลค่านบั หมนื่ ล้านบาท โดยในปี 2561/2562 สามารถผลติ ถว่ั เหลืองได้ประมาณ 1.3% ของ
ปริมาณความต้องการใชท้ ้ังหมด ปจั จบุ ันเนอ้ื ที่เพาะปลูกและผลผลิตถ่ัวเหลืองของไทยมแี นวโน้มลดลงร้อยละ 8.18
และรอ้ ยละ 4.26 ตอ่ ปี ตามลำดับ แต่ผลผลิตตอ่ ไรม่ ีแนวโน้มเพิม่ ขึ้นรอ้ ยละ 4.32 ตอ่ ปี พ้ืนที่ปลูกที่สำคญั อยใู่ นเขต
ภาคเหนือ รอ้ ยละ 77 ในปัจจบุ ันกรมวิชาการเกษตรได้รับรองพนั ธถ์ุ ่ัวเหลอื งไรจ่ ำนวน 22 พันธุ์ พันธ์ทุ น่ี ยิ มปลูกใน
ปัจจุบันได้แก่ เชียงใหม่ 60 ให้ผลผลิตสูง ปรับตัวได้กว้าง แต่มีปัญหาเรื่องการงอกของเมล็ดพันธุ์ในสภาพดนิ ชื้น
แฉะ พันธุ์สจ.5 ให้ผลผลิตดีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพันธุ์เชียงใหม่ 2 เป็นพันธุ์อายุสั้น นิยมปลูกใน
ระบบปลกู พืชทม่ี ีขอ้ จำกัดดา้ นระยะเวลาหรอื ในพืน้ ที่ท่มี นี ้ำนอ้ ย ดังนั้นการพฒั นาพันธ์ุใหม่ ๆ จงึ มคี วามจำเปน็ ต้อง
พัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง เพ่อื เพิ่มศักยภาพการผลิตและคุณภาพให้สงู ขึน้ รองรบั ความตอ้ งการใช้ และเสริมสร้างความ
ม่ันคงและยงั่ ยนื ของประเทศต่อไป

1ศนู ย์วิจยั พืชไรข่ อนแก่น สถาบนั วจิ ัยพชื ไร่และพืชทดแทนพลังงาน อำเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแก่น
2ศูนยว์ จิ ยั พืชไร่เชยี งใหม่ สถาบนั วจิ ัยพืชไร่และพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอสนั ทราย จังหวดั เชียงใหม่

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

763

วธิ ีดำเนนิ การ
อปุ กรณ์

1. ถวั่ เหลืองสายพันธก์ุ า้ วหนา้ จำนวน 4 สายพันธ์ุ ได้แก่ CM0801-22 CM0809-3 CM0908-1 CM1222-
14-1 และพนั ธุเ์ ปรยี บเทยี บเชียงใหม่ 60 และ เชยี งใหม่ 6 รวม 6 สายพันธุ์/พนั ธ์ุ

2. ปุ๋ยเคมเี กรด 12-24-12 อัตรา 25 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่
3. สารเคมีปอ้ งกันกำจดั ศัตรถู วั่ เหลือง
4. สารเคมีป้องกนั และกำจัดวชั พืช
5. อปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นแปลงทดลอง
วิธกี าร
วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 4 ซำ้
กรรมวิธี ได้แก่ ถัว่ เหลอื งสายพันธกุ์ า้ วหน้าจำนวน 4 สายพันธุ์ ได้แก่ CM0801-22 CM0809-3 CM0908-
1 CM1222-14-1 และพนั ธุเ์ ปรยี บเทียบเชยี งใหม่ 60 และ เชียงใหม่ 6 รวม 6 สายพันธ์/ุ พันธุ์
วธิ ีปฏบิ ตั กิ ารทดลอง
เตรียมพื้นที่โดยการไถพรวนและปรับหน้าดินให้มีความสม่ำเสมอ ปลูกถั่วเหลืองสายพันธุต์ ่างๆ ใช้ระยะ
ปลูกระหว่างแถว 50 เซนติเมตร ระหว่างหลุม 50 เซนติเมตร หยอดหลุมละ 3-5 เมล็ด หลังปลูกพ่นสารเคมีคุม
วชั พืชโดยใชอ้ ลาคลอร์ อตั รา 500 มิลลลิ ติ รตอ่ ไร่ขณะที่ดินมีความชื้น เม่ือถ่ัวเหลืองอายุประมาณ 21 วนั หลังปลูก
ถอนแยกใหเ้ หลือจำนวนตน้ 3 ตน้ ตอ่ หลุม ใส่ปุย๋ เคมีสตู ร 12-24-12 โดยโรยขา้ งแถวแล้วพรวนดนิ กลบโคนตน้ พ่น
สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชและกำจัดวัชพืชตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร เก็บเกี่ยวเมื่อฝักถั่ว
เหลืองเปลีย่ นเป็นสีน้ำตาล 95 เปอร์เซ็นตข์ องฝกั ทั้งหมด บันทึกข้อมูลวนั ปฏิบัติการต่างๆ ได้แก่ วันปลูก วันงอก
วันออกดอก และวันเก็บเกีย่ ว ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตและลักษณะการเกษตรอื่น ๆ ที่สำคัญ คุณสมบัติ
ของดินกอ่ นปลูก
เวลาและสถานที่
ดำเนินการทดลองในฤดูแล้งปี 2562 และ 2563 ที่ไร่เกษตรกร อำเภอชุมแพ และอำเภอเมือง จังหวัด
ขอนแก่น ปลี ะ 1 แปลงทดลอง

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
ฤดูแล้งปี 2562 ดำเนินการที่ไร่เกษตรกรอำเภอชุมแพจังหวัดขอนแก่น จำนวน 1 แปลง ปลูกถั่วเหลือง
วันที่ 12 มกราคม 2562 ใส่ปุ๋ยเกรด 12-24-12 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562 พบว่า มี
ความแตกต่างกันทางสถิตท้ังผลผลิตและองคป์ ระกอบผลผลิต ยกเวน้ จำนวนเมล็ดต่อฝัก สายพนั ธ์ุ CM0809-3 ให้
ผลผลิตสูงสุด 398 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติกับ CM0908-1 CM0801-22 และ เชียงใหม่ 6 โดย
ผลผลิตจะสัมพันธ์กับจำนวนตน้ เก็บเกีย่ วและเป็นไปในทำนองเดยี วกัน 4 สายพันธุ์/พันธุ์ดังกล่าวจะมีจำนวนตน้
เก็บเกยี่ วสูงดว้ ย สายพันธ์ุ CM0908-1 และ CM1222-14-1 มีนำ้ หนัก 100 เมลด็ สงู ทส่ี ุดไมแ่ ตกต่างกัน (21.5 และ
21.0 กรัม ตามลำดบั ) สายพนั ธุ์ CM0801-22 และพนั ธ์ุเชียงใหม่ 6 มคี วามสูงต้นสูงที่สุดไม่แตกตา่ งกนั (70.5 และ

764

74.0 เซนติเมตร ตามลำดบั ) พนั ธุเ์ ชยี งใหม่ 6 มจี ำนวนข้อต่อตน้ สูงทส่ี ดุ (10.2 ขอ้ ) สายพนั ธ์ุ CM0809-3 มีจำนวน
กิ่งต่อต้นสูงที่สุด (2.1 กิ่ง) สายพันธุ์ CM0801-22 และพันธ์ุเชียงใหม่ 6 มีจำนวนฝักต่อต้นสูงที่สุดไม่แตกต่างกัน
และไม่แตกต่างจากสายพันธุ์/พันธุ์อื่น ๆ (33.3 และ 34.0 ฝัก ตามลำดับ) ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติของ
จำนวนเมล็ดต่อฝัก โดยมีค่าเฉลี่ย 2.5 เมล็ด และอายุเก็บเกี่ยวของทุกสายพันธุ์/พันธุ์ อยู่ระหว่าง 91-95 วัน
(Table 1)

ฤดูแล้งปี 2563 โดยปลูกถั่วเหลืองวันที่ 12 มกราคม 2563 พบว่า ถั่วเหลืองสายพันธุ์ CM0809-3 ให้
ผลผลิตสูงที่สุด 182 กิโลกรัมต่อไร่ สายพันธุ์ CM0801-22 และ CM1222-14-1 มีน้ำหนัก 100 เมล็ดสูงที่สุดไม่
แตกต่างกัน (20.5 และ 20.6 กรัม ตามลำดับ) แต่ไม่แตกต่างจากสายพันธุ์/พันธุอ์ ืน่ ๆ สายพันธุ์ CM1222-14-1
และพันธุ์เชียงใหม่ 6 มีความสูงต้นสูงที่สุด (37.0 และ 38.8 เซนติเมตร ตามลำดับ ขณะที่พันธุ์เชียงใหม่ 60 มี
จำนวนข้อต่อต้นสูงที่สุด 10.4 ข้อ สายพันธุ์ CM0809-3 มีจำนวนกิ่งต่อต้นสูงที่สุด 1.8 กิ่ง พันธุ์เชียงใหม่ 60 มี
จำนวนฝักต่อตน้ สูงทส่ี ดุ 31.0 ฝัก และสายพนั ธุ์ CM0809-3 มจี ำนวนเมลด็ ตอ่ ฝกั สงู ทีส่ ุดไม่แตกตา่ งจากสายพันธุ์/
พนั ธุอ์ ื่นๆ (2.8 เมล็ด) (Table 2)

เมอ่ื นำผลผลิตท้ัง 2 ปี มาหาค่าเฉลยี่ พบว่า สายพนั ธ์ุ CM0809-3 ให้ผลผลิคสงู สุด 290 กโิ ลกรมั ต่อไร่ สูง
กว่าพันธุ์เชียงใหม่ 6 ร้อยละ 31 และ เชียงใหม่ 60 ร้อยละ 48 ซึ่งสอดคล้องกับพื้นที่อื่นๆ ที่ทำการทดสอบ จึง
คดั เลือกสายพนั ธุ์ CM0809-3 ท่ีปรับตวั ได้กว้าง เพือ่ เสนอขอรับรองพันธต์ุ อ่ ไป

สรปุ ผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
ในพนื้ ท่กี ารปลูกถ่วั เหลอื งอำเภอชมุ แพ และอำเภอเมอื งจังหวัดขอนแกน่ ซึ่งส่วนใหญจ่ ะผลิตถั่วเหลืองใน
ฤดูแล้ง สภาพดินเป็นดินทราย สายพันธุ์ CM0809-3 ให้ผลผลิตสูงสุดทั้งในปี 2562 ปละ 2563 โดยให้ผลผลิต
เฉลี่ย 398 และ 182 กิโลกรมั ต่อไร่ ตามลำดบั หรือให้ผลผลติ เฉลี่ย 290 กิโลกรัมตอ่ ไร่ เป็นสายพันธุ์ที่ปรับตัวกับ
สภาพแวดลอ้ มไดก้ วา้ ง เหมาะสำหรับการปลูกถว่ั เหลอื งในจังหวัดชอนแก่น

765

Table 1 Yield, yield component and some agronomic traits of 6 soybean lines/varieties form Farm

Trials experiment at Chum Phae district, Khon Kaen province in the dry season, 2019

Varieties/lines Yield (kg/rai) 100 seeds Plant no. of no. of no. of no. of no. of plants
seeds/plant Harvest
weight (g) height nodes/plant branches/plant pods/plant
2.6 70,737 ab
CM0801 -22 317 ab 18.83 b 71 a 9.4 bc 0.5 c 33.3 a 2.6 70,010 ab
2.4 73,039 a
CM0809 -3 398 ab 17.72 cd 58 bc 9.3 bc 2.1 a 25.8 c 2.6 61,622 b
2.4 61,074 b
CM0908 -1 396 a 21.49 a 55 c 8.7 cd 0.6 c 27.0 bc 2.7 63,794 ab
2.5 66,713
CM1222 -14 -1 214 bc 21.03 a 62 bc 8.3 d 0.7 c 24.5 c ns
9.2 *
CM60 272 bc 18.55 bc 63 b 9.2 bc 0.7 c 30.8 ab 9.5

CM6 300 ab 17.04 d 74 a 10 a 1.3 b 34.0 a

Mean 316 19.11 64 9.2 1.0 29.2

F-test * ** * ** * *

CV (%) 21.7 5.2 11.4 6.4 57 13.8

ค่าเฉล่ียท่ีตามด้วยอกั ษรเหมือนกันในแต่ละสดมภ์ไมแ่ ตกต่างกันทางสถิตทิ ่รี ะดบั ความเชอ่ื มน่ั 95% โดย DMRT

Table 2 Yield, yield component and some agronomic traits of 6 soybean lines/varieties form

Farm Trials experiment at Muang district, Khon Kaen province in the dry season, 2020

Varieties/lines Yield (kg/rai) 100 seeds Plant no. of no. of no. of no. of no. of plants
seeds/plant Harvest
weight (g) height nodes/plant branches/plant pods/plant
2.3 b 26,511 bc
CM0801 -22 112 c 20.50 ab 33 bc 8.5 bc 0.6 c 20.7 b 2.8 a 33,033 ab
2.4 b 29,947 b
CM0809 -3 182 a 18.91 bc 30 c 9.4 abc 1.6 a 23.4 ab 2.5 ab 38,722 a
2.7 ab 23,033 c
CM0908 -1 125 c 20.21 ab 28 c 8.4 c 0.5 c 23.9 ab 2.7 ab 32,478 ab
2.6 30,621
CM1222 -14 -1 158 ab 20.59 a 37 ab 8.8 bc 0.8 bc 21.2 b
* **
CM60 120 c 18.56 c 33 bc 10 a 1.2 abc 31.0 a 9.0 14.00

CM6 142 bc 19.45 abc 39 a 9.7 ab 1.5 ab 26.3 ab

Mean 140 19.70 33 9.2 1.0 24.4

F-test ** * ** * * *

CV (%) 14.6 5.0 10 7.9 52 20.6

ค่าเฉล่ยี ท่ตี ามด้วยอักษรเหมอื นกันในแต่ละสดมภไ์ มแ่ ตกต่างกันทางสถิตทิ ร่ี ะดบั ความเชอ่ื มน่ั 95% โดย DMRT

766

แผนงานวิจยั

วิจัยการบริหารศัตรพู ืชแบบบูรณาการเพอ่ื เพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ ของพืชเศรษฐกิจทีส่ ำคญั
(โครงการวิจยั เดยี่ ว)

767

การบริหารศตั รูถ่ัวเหลอื งโดยวธิ ีผสมผสาน
Integrated Pest Management on Soybean

อนุวัฒน์ จนั ทรสวุ รรณ1 สรุ รี ตั น์ ทองคำ2 สิริชยั สาธวุ จิ ารณ์3 ปิยะรตั น์ จงั พล4 และทรงสิทธ์ิ ทาขลุ ี4

รายงานความกา้ วหนา้
ศกึ ษาวิธกี ารบรหิ ารศตั รูถัว่ เหลืองโดยวธิ ีผสมผสาน เพื่อป้องกนั กำจดั ศตั รทู ีส่ ำคญั ของถ่วั เหลอื ง ลดการใช้
สารเคมี ทำใหไ้ ดผ้ ลผลิตถว่ั เหลืองทป่ี ลอดภัย เป็นทตี่ ้องการของตลาดและผบู้ ริโภค โดยเลือกพืน้ ทป่ี ลกู ถวั่ เหลอื งใน
แปลงของเกษตรกร ตำบลบัวใหญ่ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น จำนวน 2 แปลง ๆ ละ 1 ไร่ คือ แปลงการ
ป้องกันกำจัดแมลงศัตรูถัว่ เหลืองโดยวิธีผสมผสาน และวิธขี องเกษตรกร ตรวจนับโรค วัชพืช และแมลงศตั รูท่เี ขา้
ทำลายถว่ั เหลือง ตัง้ แต่ปลูก จนถงึ เก็บเกย่ี ว ปลกู ถว่ั เหลืองวันท่ี 11 ธันวาคม 2562 พบวา่ ในแปลงผสมผสาน พบ
เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบ และหนอนเจาะฝักถั่ว แต่พบหนอนกระทู้ผักเข้าทำลายเกิน
ระดับเศรษฐกิจ (พบหนอนกระทู้ผัก 1 ตัว/ต้น) โดยพบหนอนกระทู้ผัก เฉลี่ย 1 ตัว/ต้น จึงทำการเก็บตัวหนอน
ออกจากแปลง จำนวน 2 ครงั้ จากนัน้ พบหนอนกระทผู้ ักเฉลี่ย 0.1 ตวั /ตน้ ในระยะตดิ ฝกั พบหนอนเจาะฝกั ถัว่ เข้า
ทำลายฝัก 0.61% จงึ ไมไ่ ด้ทำการปอ้ งกนั กำจัด สำหรับวัชพืช หลังปลกู ถั่วเหลอื ง พน่ สารเพนดเิ มทาลนิ 45.5% CS
อตั รา 227.5 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ จำนวน 1 ครง้ั หลังพน่ สารฯ 30 วัน พบขา้ ว และหญ้าข้าวนก 45 และ 1 ตน้ /
ตารางเมตร ตามลำดับ แต่ไม่พบหญา้ อื่นๆ และพน่ สารกำจดั วชั พชื คลโี ทดิม 24% EC อตั รา 24 กรมั สารออกฤทธิ์
ตอ่ ไร่ จำนวน 1 ครัง้ พบข้าว 2 ต้น/ตารางเมตร แตไ่ มพ่ บหญ้าอ่ืนๆ ไมพ่ บโรคระบาดในแปลงถั่วเหลอื ง ได้ผลผลิต
246 กโิ ลกรมั ต่อไร่ มีต้นทุนการผลติ 2,345 บาทตอ่ ไร่ และ มีผลตอบแทนการลงทนุ (B/C ratio) เทา่ กับ 2.1 ในแปลง
เกษตรกร กอ่ นพ่นสารป้องกนั กำจัด พบหนอนกระทผู้ ักเฉลี่ย 0.7 ตวั /ตน้ พ่นสารปอ้ งกนั กำจัดหนอนแมลงวันเจาะ
ลำต้น และพ่นสารป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ ไตรอะโซฟอส 40% EC อัตรา 50 มล./น้ำ 20 ลิตร จำนวน 2 ครั้ง
หลงั พน่ พบหนอนกระทู้ผกั เฉลี่ย 0.02 ตวั /ตน้ ในระยะตดิ ฝัก พบหนอนเจาะฝักถ่วั เข้าทำลายฝัก 0.65% สำหรับ
วัชพืช หลังปลูกถั่วเหลือง พ่นสารกำจัดวัชพืช อะลาคลอร์ 48% EC อัตรา 336 กรัมสารออกฤทธิต์ ่อไร่ จำนวน 1
ครงั้ จากน้นั 30 วัน พบขา้ ว หญา้ ข้าวนก หญา้ นกสีชมพู หญา้ ตีนนก กกทราย และเซง่ ใบมน 50 15 5 4 3 และ 8
ต้น/ตารางเมตร ตามลำดับ เมื่อถั่วเหลอื งอายุ 60 วัน พบข้าว หญ้าข้าวนก หญ้านกสีชมพู หญ้าตีนนก กกทราย
และเซ่งใบมน 38 10 5 3 2 และ 8 ต้น/ตารางเมตร ตามลำดับ ได้ผลผลิต 189 กิโลกรัมต่อไร่ มีต้นทุนการผลิต
2,405 บาทต่อไร่ และ มีผลตอบแทนการลงทุน (B/C ratio) เท่ากับ 0.57 การป้องกันกำจัดศัตรูถั่วเหลืองโดยวิธี
ผสมผสาน ลดการใช้สารฆ่าแมลง 100% แต่มีการใช้สารป้องกันกำจัดวัชพืช เพิ่มขึ้น 50 % ไม่พบโรคระบาดใน
แปลงถวั่ เหลอื ง

1ศนู ย์วจิ ัยพืชไรส่ ุพรรณบรุ ี สถาบนั วจิ ยั พืชไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน อำเภออ่ทู อง จังหวัดสพุ รรณบุรี
2สถาบนั วิจยั พืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลงั งาน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ
3สำนักวจิ ัยพฒั นาการอารกั ขาพชื กรมวชิ าการเกษตร
4ศูนย์วิจยั พชื ไร่ขอนแก่น สถาบนั วิจัยพชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน อำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น

768

คำสำคัญ: ถ่ัวเหลอื ง ศตั รู ถั่วเหลือง วิธผี สมผสาน

คำนำ
ถว่ั เหลือง เป็นพืชที่สำคัญชนดิ หน่ึงของประเทศไทย โดยใชบ้ รโิ ภคภายในประเทศ ในรูปของอุตสาหกรรม
น้ำมันพืช อุตสาหกรรมอาหารสตั ว์ และผลิตภณั ฑจ์ ากถวั่ เหลอื ง รวมทง้ั บริโภคโดยตรง เช่น การแปรรปู เปน็ อาหาร
ชนดิ ต่างๆ ได้แก่ เต้าหู้ เตา้ เจยี้ ว และขนมหวาน (สถาบันวจิ ยั พืชไร่, 2547)
ในปี 2563 ประเทศไทยมพี ืน้ ที่ปลูกถ่วั เหลืองประมาณ 104,193 ไร่ ไดผ้ ลผลติ 26,283 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย
252 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ซง่ึ ไม่เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการใชภ้ ายในประเทศ จึงตอ้ งมกี ารนำเข้าทัง้ ในรปู เมล็ดแห้งและกาก
ถั่วเหลือง โดยนำเข้า 4,044 ล้านตัน มีมูลค่า 50,493 ล้านบาท (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563) การเพ่มิ
ประสิทธภิ าพในการผลิตถ่ัวเหลืองให้มปี ริมาณเพียงพอต่อความต้องการใชภ้ ายในประเทศ จะเป็นการลดการขาด
ดุลทางการคา้ จากการนำเขา้ ถ่ัวเหลือง
แหล่งปลูกถัว่ เหลอื งท่ีสำคญั ของประเทศไทยอยู่ในภาคเหนือ ได้แก่ จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน ชัยภูมิ ตาก น่าน
สุโขทัย เชียงราย เชียงใหม่ แพร่ ขอนแก่น และ ลำปาง เป็นต้น จังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมากที่สุด คือ จังหวัด
แม่ฮ่องสอน มีพื้นที่ปลูก 45,381 ไร่ รองลงมา คือ จังหวัดชัยภูมิและตาก มีพื้นที่ปลูก 9,565 และ 7,962 ไร่
ตามลำดับ แหลง่ ปลกู ทสี่ ำคญั รองลงมาจากภาคเหนือ คอื ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ไดแ้ ก่ จงั หวดั ชัยภมู ิ ขอนแก่น
เลย และอุดรธานี เป็นต้น จังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมากที่สุด คือ จังหวัดชัยภูมิ มีพื้นที่ปลูก 9,565 ไร่ รองลงมา คือ
จงั หวดั ขอนแก่น และเลย มีพื้นท่ปี ลกู 2,877 และ 1,260 ไร่ ตามลำดบั (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2562)
แมลงศัตรูนบั วา่ เปน็ อปุ สรรคสำคัญอยา่ งหนง่ึ ในการผลิตถวั่ เหลือง พบเขา้ ทำลายทุกระยะการเจริญเติบโต
ของถ่วั เหลอื ง แมลงศตั รูประเภทปากกัดท่ีสำคญั ของถวั่ เหลือง ได้แก่ หนอนแมลงวนั เจาะลำต้นถัว่ หนอนม้วนใบ
หนอนกระทผู้ กั หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะ และแมลงศตั รูประเภทปากดูดทส่ี ำคัญของถ่ัวเหลือง ได้แก่ แมลง
หวีข่ าวยาสูบ เพลยี้ ออ่ นถ่ัวเหลือง และเพล้ียจักจั่น เป็นตน้ ซ่ึงจะระบาดอย่างรุนแรงเมอ่ื สภาพอากาศแห้งแล้ง หรือ
ฝนทงิ้ ช่วงเป็นเวลานาน (ศรีสมร และคณะ, 2544)
แมลงหวขี่ าวยาสูบ เขา้ ทำลายทุกระยะการเจริญเติบโตของถ่ัวเหลอื ง ตวั อ่อนและตัวเตม็ วัยของแมลงหว่ีขาว
ยาสูบจะดูดกนิ น้ำเล้ียงจากใบ ทำให้ต้นแคระแกร็น นอกจากน้ีแมลงหวี่ขาวยาสูบยงั เป็นพาหะ นำโรค ใบยอดย่นมาสู่
ถวั่ เหลอื ง ทำให้ใบบดิ เบย้ี ว เสน้ ใบหดสั้น ลำตน้ ไมแ่ ข็งแรง ล้มงา่ ย ฝักหดสน้ั บดิ เบีย้ ว ผิวฝักยน่ ซง่ึ เปน็ สาเหตุที่ทำ
ใหผ้ ลผลติ ของถัว่ เหลืองลดลง (ศรีสมร และคณะ, 2544)
เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง เป็นแมลงศัตรูปากดูดที่สำคัญของถั่วเหลือง เพลี้ยออ่ นถั่วเหลืองเขา้ ทำลายต้งั แต่ถว่ั
เหลืองเจรญิ เตบิ โตอย่ใู นระยะทีใ่ บประกอบข้อท่ี 2 บานเตม็ ท่ี ระบาดสงู สุดในระยะท่ีถว่ั เหลืองเริม่ ติดฝักอ่อนจนถึง
ระยะเร่มิ ตดิ เมล็ด ทำใหต้ น้ ถั่วเหลอื งแคระแกรน ใบหงิกงอ และฝกั บิดเบย้ี ว ผลผลติ ลดลงมากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์
(ศรีสมร และคณะ, 2544)
เพลย้ี จกั จั่น เป็นแมลงปากดูดขนาดเลก็ เขา้ ทำลายถัว่ เหลืองโดยตัวอ่อนและตวั เต็มวยั ดูดกินน้ำเล้ียงจาก
ใบ ทำให้ขอบใบมีสีเหลืองซดี และห่อขึ้นดา้ นบน ถ้าระบาดมากจะทำให้ใบร่วง ต้นแคระแกรน และผลผลิตลดลง
(ศรีสมร และคณะ, 2544)

769

มวนเขียวข้าว เขา้ ทำลายต้งั แต่ถ่วั เหลืองอยใู่ นระยะเรมิ่ ติดฝักออ่ นแตย่ งั ไม่ตดิ เมล็ด ฝักออ่ นทีถ่ ูกทำลายจะ
ลบี และรว่ งหลน่ สว่ นฝกั แกท่ ย่ี งั ไม่แหง้ เมลด็ จะเป็นจุดสีดำ เมลด็ ไม่เจริญเตบิ โตและฝักลีบ ถา้ มวนเขยี วข้าวระบาด
มาก ในระยะถ่ัวเหลอื งเริม่ ติดเมลด็ และระยะฝักเต่งแตย่ ังมีสีเขยี ว การเข้าทำลายของมวนเขียวข้าวยังทำให้ฝักลีบ
เพ่ิมขนึ้ และผลผลติ ลดลง (ศรสี มร และคณะ, 2544)

หนอนแมลงวนั เจาะลำต้นถ่วั เปน็ แมลงศตั รทู ่สี ำคัญชนดิ หนึ่งของถว่ั เหลอื ง เข้าทำลายถัว่ เหลืองต้งั แต่ระยะ
ตน้ กลา้ ตัวเต็มวัยเป็นแมลงวันขนาดเลก็ เมอ่ื ตวั หนอนฟักออกมาจากไข่จะชอนไชตามเสน้ ใบไปท่ีก้านใบเพื่อเข้าไป
กัดกินเนื้อเยื่อของลำต้นที่บริเวณไส้กลางลำต้น การเข้าทำลายของหนอนแมลงวันเจาะลำต้นถั่ว ทำให้ผลผลิตถั่ว
เหลืองลดลงมากกว่า 40 เปอรเ์ ซ็นต์ (ศรสี มร และคณะ, 2544)

หนอนม้วนใบ เขา้ ทำลายตง้ั แต่ถว่ั เหลอื งเจรญิ เติบโตทางลำต้นและใบ จนถงึ ระยะออกดอก ตดิ ฝกั และฝัก
เต็ม หนอนทีฟ่ ักออกมาจากไข่ใหม่ๆ จะอยูร่ วมกนั เปน็ กลมุ่ ชักใยบางๆ คลมุ ตวั ไว้ แล้วกดั กินผิวใบ เมอ่ื หนอนโตข้นึ
จะกระจายออกไปทว่ั ทัง้ แปลง สร้างใยยดึ ใบเข้าหากนั แลว้ กัดกินอยใู่ นใบทหี่ อ่ จนหมด (ศรีสมร และคณะ, 2544)

หนอนกระทู้ผัก เข้าทำลายตั้งแต่ถั่วเหลืองเจริญเติบโตทางลำต้นและใบ จนถึงระยะออกดอกและติดฝกั
หนอนทฟ่ี ักออกมาจากไขใ่ หม่ ๆ จะอยรู่ วมกันเป็นกลุ่ม แทะผวิ ใบด้านล่าง ทำใหเ้ หลอื แต่เส้นใบ เมื่อผิวใบแห้งจะ
มองเหน็ เปน็ สขี าว เม่อื หนอนโตขึ้น จะแยกกล่มุ ออกไปกดั กนิ ใบทัว่ ทั้งแปลง (ศรีสมร และคณะ, 2544)

หนอนเจาะสมอฝ้าย เข้าทำลายถ่ัวเหลืองในตงั้ แตร่ ะยะติดฝกั หนอนจะกดั กินเมลด็ ภายในฝกั จนหมดแล้ว
เคลอ่ื นย้ายไปทำลายฝกั อน่ื ถ้าระบาดมาก หนอนจะกดั ตรงข้วั ฝกั ทำใหฝ้ ักรว่ งหลน่ ไม่สามารถเก็บผลผลิตได้ (ศรี
สมร และคณะ, 2544)

หนอนเจาะฝกั ถว่ั เปน็ แมลงศตั รทู ่ีสำคญั ของถวั่ เหลืองในระยะติดฝัก ตัวหนอนจะเจาะเขา้ ไปกัดกินเมล็ดท่ี
อย่ใู นฝักหลงั จากฟักออกมาจากไข่ ตัวหนอนสามารถย้ายไปกัดกินฝักอื่นๆ ไดโ้ ดยชักใยดึงฝักมาตดิ กนั แลว้ เจาะเข้า
ไปกัดกินเมล็ดที่อยู่ในฝักใหม่ การทำลายของหนอนเจาะฝักถั่วทำให้ผลผลิตของถั่วเหลืองลดลงมากกว่า 40
เปอรเ์ ซ็นต์ (ศรีสมร และคณะ, 2544)

การปอ้ งกนั กำจดั ศัตรูถัว่ เหลอื งมีหลายวธิ ี ไดแ้ ก่ การใช้วิธีเขตกรรม วิธกี ล ชวี วธิ ี การใช้พนั ธ์ุต้านทาน และ
การใช้สารเคมี การใช้สารเคมีซงึ่ ให้ผลดีและรวดเร็ว แต่การใชส้ ารเคมอี ย่างตอ่ เน่อื งทำให้แมลงสร้างความต้านทาน
ต่อสารเคมีบางชนิด เกษตรกรจึงเพิ่มอัตราการใช้สารเคมีให้สูงขึ้น ทำให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น เกิดปัญหาพิษ
ตกค้างในผลผลิตและสิ่งแวดล้อม แมลงศัตรูธรรมชาติท่ีมีประโยชน์ถูกทำลาย การระบาดของแมลงศตั รูข้าวโพด
หวานที่เกิดขึน้ ในปัจจบุ นั จึงเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น กลุ่มกีฏและสัตววิทยา (2553) ได้แนะนำใหพ้ ่นสารฆ่าแมลง
เมื่อพบแมลงระบาดหรอื เข้าทำลายถึงระดับเศรษฐกิจ การใช้ระดับเศรษฐกิจในการตัดสนิ ใจก่อนทำการใช้สารฆา่
แมลง สามารถลดจำนวนครั้งการใช้สารฆ่าแมลงได้ชัดเจนเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้สารฆ่าแมลงของเกษตรกร
(สวุ ัฒน์ และคณะ, 2544)

การบรหิ ารศัตรูถ่วั เหลืองโดยวธิ ีผสมผสาน เป็นการป้องกันกำจัดศตั รูที่สำคญั ของถั่วเหลือง โดยนำวิธีการ
ตา่ งๆ ท่มี ปี ระสิทธภิ าพมาใช้ร่วมกนั และลดการใชส้ ารเคมี ทำให้ไดผ้ ลผลิตถ่ัวเหลอื งที่ปลอดภัย เปน็ ทต่ี ้องการของ
ตลาดและผบู้ รโิ ภค

770

วธิ ดี ำเนนิ การ
กรรมวธิ ีการทดลอง

แบง่ เป็น 2 กรรมวิธี ได้แก่ 1. การปอ้ งกนั กำจัดศัตรูถ่วั เหลืองโดยวิธีผสมผสาน และ 2. การปอ้ งกนั กำจดั
ศัตรถู ่วั เหลืองตามวธิ ีของเกษตรกร
วธิ ีปฏิบตั ิการทดลอง

1. เปรียบเทียบชนิดและปริมาณศัตรูพืช ชนิด อัตราการใช้ ราคา และจำนวนครั้งที่ใช้ของสารกำจัด
ศัตรูพืช ผลผลิตและราคา ต้นทุนการผลิต ระหว่างการป้องกันกำจัดศัตรถู ั่วเหลืองโดยวธิ ีผสมผสาน (IPM) และ
การป้องกันกำจดั ศัตรูถว่ั เหลอื งตามวธิ ีของเกษตรกร (F)

2. ขน้ั ตอนและวิธีดำเนนิ การ
(1) เลอื กแปลงเกษตรกร ทดสอบการปอ้ งกนั กำจดั ศัตรูถว่ั เหลอื งโดยวิธผี สมผสาน (IPM) โดยการ

ควบคุมของนักวิชาการ เปรียบเทียบกับวิธีของเกษตรกร (F) โดยเกษตรกรเป็นผู้ดูแลเอง ทดสอบในแปลงของ
เกษตรกรจำนวน 2 ราย โดยแบ่งพื้นทอ่ี อกเปน็ 2 แปลงๆ ละ 1 ไร่

(2) การปอ้ งกนั กำจัดศตั รถู ่วั เหลือง
แปลงการป้องกันกำจัดศัตรูถั่วเหลืองโดยวิธีผสมผสาน (IPM) ทำการป้องกันกำจัดศัตรูถั่วเหลืองโดยใช้
หลายๆวิธีรว่ มกัน ได้แก่ วิธีเขตกรรม เช่น การไถและตากดินเพื่อกำจัดเศษซากพชื วัชพืช กำจัดแหล่งขยายพันธ์ุ
ของศัตรูพืช วิธีกล เช่น การเก็บกลุ่มไข่ หรือ ตัวหนอนของแมลงศัตรูพืชมาทำลาย เก็บพืชที่มีอาการของโรคไป
ทำลายนอกแปลง วิธีป้องกันกำจัดโดยใช้เชื้อแบคทีเรีย Bt. และวธิ ปี อ้ งกนั กำจดั โดยใชส้ ารเคมีปอ้ งกันกำจัดศตั รูพืช
ดำเนนิ การโดยตรวจนบั ศตั รูพืชทกุ สัปดาห์
1. แมลงศัตรูถว่ั เหลือง

สุ่มต้นถั่วเหลืองจากพื้นที่ 10 จุด ๆ ละ 10 ต้น รวมเป็น 100 ต้น ตรวจนับแมลงศัตรูถั่วเหลือง
พ่นสารฆ่าแมลง เมือ่ พบแมลงระบาดหรอื เขา้ ทำลายถงึ ระดบั เศรษฐกิจ

2. โรคถั่วเหลอื ง
สุ่มต้นถั่วเหลือง จากพื้นที่ 10 จุด ๆ ละ 10 ต้น รวมเป็น 100 ต้น ตรวจโรคถั่วเหลือง พ่นสาร

ปอ้ งกันกำจดั โรคพืช เมือ่ พบการระบาดของโรค หรอื ถ่ัวเหลืองแสดงอาการเปน็ โรค
3. วัชพชื
สมุ่ นบั วัชพืชจากพน้ื ท่ี 20 จุด ๆ ละ 0.25 ตารางเมตร (0.5x0.5 เมตร)
แปลงเกษตรกร (F) เกษตรกรทำการป้องกันกำจัดศัตรูถั่วเหลืองตามวิธีของเกษตรกร โดยพ่นด้วยสารฆ่า

แมลง ไตรอะโซฟอส 40% EC พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น เมตาแลกซิล 25% WP แมนโคเซบ 80% WP
คาร์เบนดาซมิ 50% WP เปน็ ตน้ และพ่นสารกำจัดวชั พืช อะลาคลอร์ 48% EC เกบ็ ขอ้ มลู และปฏิบัติงานในแปลง
ของเกษตรกรเหมือนกบั การป้องกนั กำจดั ศัตรูถวั่ เหลอื งโดยวิธผี สมผสาน (IPM)
การบนั ทึกขอ้ มูล

- ชนดิ และปริมาณของแมลงศตั รูถั่วเหลอื ง
- ชนดิ และปริมาณของศัตรูธรรมชาติ

771

- เปอร์เซน็ ต์การเปน็ โรค
- ชนิดและจำนวนต้นของวัชพชื
- ชนดิ ของสารป้องกันกำจัดศัตรูพชื
- จำนวนครัง้ ในการพน่ สารป้องกนั กำจดั ศตั รพู ชื และปริมาณการใชน้ ำ้
- ค่าสารป้องกันกำจดั ศตั รูพืช
- ค่าใช้จา่ ยอื่นๆ
- ผลผลิตและราคาผลผลติ
- วเิ คราะห์สารพษิ ตกค้างในผลผลิตถ่ัวเหลอื ง
- วเิ คราะห์ผลตอบแทนการลงทนุ (B/C ratio)

ผลการทดลอง
ปลูกถั่วเหลืองในแปลงของเกษตรกร ตำบลบัวใหญ่ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น (ภาพที่ 1) โดยแบง่
พนื้ ที่ออกเปน็ 2 แปลงๆ ละ 1 ไร่ คือ แปลงการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูถว่ั เหลอื งโดยวธิ ีผสมผสาน และแปลงการ
ป้องกันกำจัดแมลงศัตรูถั่วเหลืองวิธีของเกษตรกร ตรวจนับศัตรูที่เข้าทำลายถั่วเหลือง เมื่อถั่วเหลืองอายุ 7 วัน
จนถงึ เก็บเก่ยี ว (ภาพท่ี 2) พบว่า ในแปลงผสมผสาน พบเพล้ียออ่ น เพลย้ี ไฟ หนอนกระทผู้ ัก หนอนมว้ นใบ และ
หนอนเจาะฝักถั่ว แต่พบหนอนกระทู้ผักเข้าทำลายเกินระดับเศรษฐกิจ (พบหนอนกระทู้ผัก 1 ตัว/ต้น) โดยพบ
หนอนกระทู้ผัก เฉลี่ย 1 ตัว/ต้น (ภาพที่ 3-4) จึงทำการป้องกันกำจัดโดยเก็บตัวหนอนออกจากแปลง จำนวน 2
ครัง้ หลงั จากทำการป้องกนั กำจัด พบหนอนกระทผู้ กั เฉลยี่ 0.1 ตวั /ต้น ในระยะตดิ ฝกั พบหนอนเจาะฝักถ่ัว เข้า
ทำลายฝักไมถ่ งึ ระดับเศรษฐกิจ (พบฝกั ถกู ทำลาย 10%) โดยพบฝักถกู ทำลาย 0.61% จงึ ไมไ่ ดท้ ำการปอ้ งกันกำจัด
ไม่พบโรคระบาดในแปลงถั่วเหลือง สำหรับวัชพืช หลังปลูกถั่วเหลือง ก่อนถั่วเหลืองและวัชพชื งอก พ่นสารกำจัด
วัชพืช เพนดิเมทาลิน 45.5% CS อัตรา 227.5 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ จำนวน 1 ครั้ง หลังพ่นสารกำจัดวชั พืช 30
วนั พบขา้ ว และหญ้าขา้ วนก 45 และ 1 ตน้ /ตารางเมตร ตามลำดับ แตไ่ มพ่ บหญา้ นกสชี มพู หญา้ ตีนนก กกทราย
และเซง่ ใบมน (ภาพที่ 5) หลังปลกู ถ่วั เหลือง 30 วัน พน่ สารกำจัดวชั พืช คลโี ทดิม 24% EC อัตรา 24 กรมั สารออก
ฤทธิ์ต่อไร่ จำนวน 1 ครั้ง หลังพ่นสารกำจดั วชั พืช 30 วัน พบข้าว 2 ต้น/ตารางเมตร แต่ไม่พบหญา้ ข้าวนก หญ้า
นกสีชมพู หญา้ ตีนนก กกทราย และเซ่งใบมน (ภาพท่ี 7) ในแปลงเกษตรกร เกษตรกรพน่ สารไตรอะโซฟอส 40%
EC อตั รา 50 มล./นำ้ 20 ลิตร จำนวน 2 ครง้ั โดยพน่ ปอ้ งกันกำจัดหนอนแมลงวนั เจาะลำตน้ และพน่ ปอ้ งกันกำจัด
หนอนกระทผู้ กั โดยพบหนอนกระทู้ผัก เฉลีย่ 0.7 ตวั /ต้น หลังจากทำการป้องกันกำจัด พบหนอนกระทู้ผัก เฉลี่ย
0.02 ตัว/ต้น ในระยะติดฝัก พบหนอนเจาะฝักถั่ว เข้าทำลายฝัก 0.65% ไม่พบโรคระบาดในแปลงถั่วเหลือง
สำหรับวชั พืช หลังปลกู ถ่วั เหลือง ก่อนถั่วเหลอื งและวชั พชื งอก พน่ สารกำจดั วชั พชื อะลาคลอร์ 48% EC อัตรา 336
กรัมสารออกฤทธิต์ ่อไร่ จำนวน 1 ครั้ง หลังพ่นสารกำจัดวัชพชื 30 วัน พบข้าว หญ้าข้าวนก หญ้านกสีชมพู หญ้า
ตีนนก กกทราย และเซ่งใบมน 50 15 5 4 3 และ 8 ต้น/ตารางเมตร ตามลำดบั (ภาพท่ี 6) เมอื่ ถั่วเหลืองอายุ 60
วัน พบขา้ ว หญา้ ขา้ วนก หญา้ นกสีชมพู หญ้าตีนนก กกทราย และเซง่ ใบมน 38 10 5 3 2 และ 8 ต้น/ตารางเมตร
ตามลำดับ (ตารางที่ 1) ในแปลงผสมผสาน ได้ผลผลิต 246 กโิ ลกรัมต่อไร่ มีตน้ ทนุ การผลิต 2,345 บาทต่อไร่ และ มี

772

ผลตอบแทนการลงทุน (B/C ratio) เท่ากับ 2.1 (ตารางที่ 2) ส่วนในแปลงเกษตรกร ได้ผลผลิต 189 กิโลกรัมต่อไร่มี
ต้นทุนการผลิต 2,405 บาทต่อไร่ และ มีผลตอบแทนการลงทุน (B/C ratio) เท่ากับ 0.57 (ตารางที่ 2) การป้องกัน
กำจัดศัตรูถั่วเหลืองโดยวิธีผสมผสาน ทำให้มีการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชลดลง โดยลดการใช้สารฆ่าแมลง
100% แตม่ กี ารใช้สารป้องกนั กำจดั วชั พืช เพิ่มขึน้ 50 % (ตารางท่ี 3)

สรปุ ผลการทดลอง
การป้องกนั กำจดั ศัตรถู ่ัวเหลืองโดยวิธีผสมผสาน ทำให้มีการใช้สารป้องกันกำจดั ศัตรูพืชลดลง โดยลดการ
ใช้สารฆา่ แมลง 100% แต่มีการใชส้ ารป้องกันกำจดั วัชพืช เพม่ิ ขึ้น 50 %

เอกสารอ้างอิง

กลุ่มกีฏและสัตววิทยา. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและสัตว์ศัตรูพืช ปี 2553. เอกสารวิชาการเกษตร สำนักวิจัย
พฒั นาการอารกั ขาพชื กรมวชิ าการเกษตร กรุงเทพฯ. 303 หนา้ .

ศรีสมร พทิ ักษ์, บญุ ทิวา วาทริ อยรมั ย์, เตอื นจิตต์ สัตยาวิรทุ ธ์, วเิ ชยี ร บำรงุ ศรี, วรญั ญา มาลี และอัจฉรา หวงั อาษา. 2544. แมลง
ศัตรูถั่วเหลืองและการป้องกันกำจดั . กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูพืชนำ้ มันและพืชไร่ตระกลู ถั่ว กองกีฏและสัตววิทยา กรม
วชิ าการเกษตร, กรงุ เทพฯ. 54 หน้า.

สถาบนั วจิ ยั พืชไร่. 2547. ถั่วเหลือง, หน้า. 73-94. ใน : เอกสารวิชาการ การปลกู พืชไร.่ กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ.
สุวัฒน์ รวยอารีย์, เตือนจิตต์ สัตยาวิรุทธ์ และปรีชา วังศิลาบัตร. 2544. ระดับเศรษฐกิจและการพยากรณ์การระบาดของแมลง

ศัตรูพืช, หน้า 16-36. ใน : รายงานผลการดำเนินงาน การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานคร้ัง ที่ 4. 29-31
สงิ หาคม 2544 ณ โรงแรมรเี จนทช์ ะอำ อำเภอชะอำ จงั หวดั เพชรบรุ ี.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2563. ถ่วั เหลืองรวมรุ่น ใน : ขอ้ มลู การผลติ สินค้าเกษตร ปี 2562. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรุงเทพฯ.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2563 ข. สถิตินำเข้า ปี 2563. ใน : ข้อมูลการผลิตสินค้าเกษตร ปี 2562. กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ กรงุ เทพฯ.

ภาพท่ี 1 แปลงปลูกถัว่ เหลอื ง ภาพท่ี 2 การตรวจนับแมลงศัตรถู ่วั เหลอื ง

773

ภาพที่ 3 ลกั ษณะการทำลายของหนอนกระทู้ผัก ภาพท่ี 4 หนอนกระทผู้ ัก

ภาพที่ 5 หลังพน่ สารกำจัดวชั พืชประเภท ภาพท่ี 6 หลงั พ่นสารกำจัดวชั พืชประเภท
กอ่ นงอก 30 วนั ในแปลงผสมผสาน กอ่ นงอก 30 วัน ในแปลงเกษตรกร

ภาพที่ 7 หลงั พน่ สารกำจดั วชั พืชประเภท ภาพที่ 8 หลงั พน่ สารกำจัดวชั พืชประเภทหลงั งอก

หลังงอก 30 วนั ในแปลงผสมผสาน 30 วัน ในแปลงเกษตรกร

774

ตารางท่ี 1 ศัตรูของศัตรูถั่วเหลืองที่พบ หลังทำการป้องกันกำจัด ในแปลงผสมผสานและแปลงเกษตรกร ตำบลบัวใหญ่
อำเภอนำ้ พอง จงั หวดั ขอนแกน่ เดอื นธันวาคม 2562 ถึง มีนาคม 2563

ชนิดศตั รพู ืช แปลง แปลงเกษตรกร
ผสมผสาน
แมลงศัตรูพืช
หนอนกระทู้ผัก 1 0.7
ก่อนป้องกันกำจัด (ตวั /ต้น) 0.1 0.02
หลังป้องกนั กำจดั (ตัว/ต้น) 0.61 0.65
หนอนเจาะฝกั ถ่ัว (% ฝกั ถูกทำลาย) --

โรคพชื 45 50
วชั พชื 2 38

ขา้ ว 1 15
หลงั พน่ สารกำจัดวชั พืชประเภทก่อนงอก 30 วัน (ต้น/ตร.ม.) 0 10
หลงั พ่นสารกำจัดวชั พชื ประเภทหลังงอก 30 วนั (ตน้ /ตร.ม.)
05
หญา้ ขา้ วนก 05
หลงั พน่ สารกำจัดวชั พชื ประเภทก่อนงอก 30 วนั (ตน้ /ตร.ม.)
หลังพ่นสารกำจัดวัชพืชประเภทหลงั งอก 30 วนั (ตน้ /ตร.ม.) 04
03
หญ้านกสีชมพู
หลงั พ่นสารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก 30 วัน(ตน้ /ตร.ม.) 03
หลังพ่นสารกำจัดวชั พืชประเภทหลังงอก 30 วัน (ตน้ /ตร.ม.) 02

หญา้ ตีนนก 08
หลังพ่นสารกำจัดวชั พชื ประเภทก่อนงอก 30 วัน (ต้น/ตร.ม.) 08
หลังพน่ สารกำจัดวัชพชื ประเภทหลงั งอก 30 วัน (ตน้ /ตร.ม.)

กกทราย
หลังพน่ สารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก 30 วัน (ต้น/ตร.ม.)
หลังพ่นสารกำจัดวชั พชื ประเภทหลังงอก 30 วนั (ตน้ /ตร.ม.)

เซ่งใบมน
หลังพน่ สารกำจัดวชั พืชประเภทกอ่ นงอก 30 วัน (ตน้ /ตร.ม.)
หลังพน่ สารกำจัดวชั พืชประเภทหลังงอก 30 วนั (ตน้ /ตร.ม.)

775

ตารางท่ี 2 ตน้ ทุนการผลิต กำไรสุทธิ และผลตอบแทนการลงทุนของถัว่ เหลือง ในแปลงผสมผสานและ แปลงเกษตรกร ตำบล
บวั ใหญ่ อำเภอน้ำพอง จังหวดั ขอนแก่น เดือนธันวาคม 2562 ถึง มนี าคม 2563

รายการ แปลงผสมผสาน แปลงเกษตรกร

ตน้ ทุนการผลิต (บาท/ไร่)

ค่าเตรยี มแปลง 500 500

ค่าปลูก 170 170

คา่ แรง 1/ 800 900

คา่ เมลด็ พันธุ์ 300 300

คา่ ป๋ยุ เคมี --

คา่ ปุ๋ยคอก --

คา่ ปุย๋ อินทรีย์ 300 300

คา่ ปุ๋ยเกล็ด -- -

คา่ สารฆา่ แมลง - 95

ค่าสารป้องกันกำจัดโรคพชื --

ค่าสารกำจดั วัชพืช 275 140

รวมตน้ ทนุ การผลติ (บาท/ไร่) (C) 2,345 2,405

ผลผลิต (กก./ไร่) 246 189

ราคาผลผลติ (กก./ไร่) 20 20

รายได้ (บาท/ไร)่ (B) 4,920 3,780

กำไรสทุ ธิ (บาท/ไร่) 2,575 1,375

ผลตอบแทนต่อการลงทนุ (B/C ratio) 2.10 0.57

1/ คา่ แรง คอื คา่ ใส่ปยุ๋ ค่าพน่ สารฆา่ แมลง คา่ พน่ สารกำจดั โรคพืช และค่าพน่ สารกำจดั วชั พชื

ตารางที่ 3 จำนวนครั้งในการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชของถั่วเหลือง ในแปลงผสมผสานและ แปลงเกษตรกร ตำบลบัว

ใหญ่ อำเภอนำ้ พอง จงั หวดั ขอนแก่น เดือนธันวาคม 2562 ถึง มีนาคม 2563

วิธกี าร การใช้สารป้องกันกำจดั ศัตรูพชื (ชนิด/คร้งั )

สารฆ่าแมลง สารป้องกันกำจัดโรคพชื สารกำจัดวชั พชื

แปลงผสมผสาน 0- 2/2

แปลงเกษตรกร 1/2 - 1/1

ลดจำนวนครงั้ ในการใช้ (%) 100 - 50

776

แผนงานวจิ ยั

วิจัยและพัฒนาเพ่อื เพมิ่ การผลติ กาแฟคณุ ภาพ

777

การหายีนทีต่ ้านทานต่อโรคราสนมิ ในกาแฟอาราบิก้าลูกผสม ชุดที่ 3/1
Investigating the Resistance (R) Genes Associated With
Coffee Leaf Rust Disease in Arabica Coffee hybrid set 3/1

ศุจริ ตั น์ สงวนรงั ศริ ิกุล1 วรี กรณ์ แสงไสย์1 วสนั ต์ สิงค์คำ1 ธวชั ชยั ทรัพย์ถิระ1 เบญจวรรณ รัตวัตร์1
ศภุ รตั น์ ศรีธะวงศ์1 สินนี าถ พลธริ าช1 และฉัตรนภา ขม่ อาวธุ 2

รายงานความก้าวหนา้
การศกึ ษาในงานวิจัยนมี้ ีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบยีนและการแสดงออกของยนี ที่เก่ียวข้องกับการแสดง
ความตา้ นทานโรคราสนิมในกาแฟอาราบกิ ้า โรคราสนมิ ในกาแฟเกิดจากเชื้อรา Hemileia vastatrix การทนทาน
ต่อเช้ือในพชื นั้นอาจจะมีมาก่อนสำหรับในพันธ์ทุ ี่มยี ีนต้านทานหรือหลงั บกุ รุกและการสร้าง haustoria ของเช้ือรา
ในพืชทย่ี ังไม่เคยไดร้ ับเชอ้ื มากอ่ น หากมีการบุกรุกของเชื้อเขา้ ไปในเซลล์พชื พชื จะต่อตา้ นต่อการสร้าง haustoria
ของเชื้อรา ซึ่งส่วนใหญ่เกี่ยวของกับ resistance (R) genes ศึกษายีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความต้านทานโรค
ดังกล่าวทั้ง 6 ชนิด ได้แก่ CaR111, PR10, CaWRKY1, CaRLK, CaGT CaPR1b, CaPR10 และใช้ CaUbiquitin
เปน็ ยีนตวบคมุ เพอื่ วเิ คราะหย์ ีนและการแสดงออกของยีนดังกลา่ วในอาราบกิ ้าสายพันธต์ุ า่ งๆ รวมถงึ พนั ธุ์เชยี งใหม่
80 ซงึ่ เป็นพนั ธุ์ตา้ นทานโรคราสนมิ ของกรมวชิ าการเกษตร
ในการศึกษาการตรวจยีนต้านทานโรคราสนิม ได้พัฒนาวิธีการตรวจความแตกต่างของยีนด้วยเทคนิค
HRM และการตรวจลำดับนิวคลิโอไทด์ ดำเนินการทดสอบในกาแฟ 4 พันธุ์ ได้แก่ Liberica, Arabica, Robusta
และ Typica ทำการพัฒนาวิธีการเพิ่มปริมาณยีน และวิธีการวิเคราะห์ความแตกต่างด้วยเทคนิค HRM ด้วย
realtime PCR ผลการทดลองพบว่า ยีน R111 มีค่า Tm =82, ยีน Ubiquitin Tm=79, RLK Tm=85, PR10
Tm=78 และ 82, PR1b Tm=86, GT พันธ์ุ Liberica Tm = 82, พันธุ์อื่น Tm = 84, WRKY1 พันธุ์ Liberica
Tm = 76 พันธุ์อื่น Tm = 86, พบว่าพันธ์ุ Liberica มีค่า Tm ของยีน GT และ WRKY1 แตกต่างจากพันธุ์อ่ืน ผล
การศึกษาลำดบั เบสของยีนทงั้ 7 ชนดิ ในกาแฟ 4 สายพันธ์ุ พบว่าสามารถเพม่ิ ปริมาณดเี อ็นเอเพือ่ ตรวจลำดับเบส
ได้เพียง 2 ยีน ได้แก่ ยีน RLKs, PR1b ส่วนยีน GT สามารถตรวจได้เพียงพันธุ์ Typica จากผลการเปรียบเทียบ
ลำดับเบสกับฐานข้อมูลสากล พบว่า ลำดับเบสของยีน RLK ที่ได้ มีความเหมือนกับยีนในกลุ่ม protein kinase
ของ C. Arabica ในระดับความเหมอื น 82% ลำดบั เบสของยีน PR1b ทไ่ี ด้จากการทดลองน้ี มคี วามเหมือนกับ ยีน
ในกลุม่ pathogenesis-related protein1 (PR1) ของ C. Arabica 78% ส่วนลำดับเบสของยีน GT ที่ได้ มีความ
เหมอื นกับ ยีนในกลุ่ม UDP-glycosyltransferase 74G1-like ของ Nicotiana tomentosiformis ในระดับความ
เหมือน 89%
การตรวจการแสดงออกของยีนตา้ นทานโรคราสนิม ทำการวิเคราะห์ในกลุ่มตัวอย่างทีเ่ ก็บทั้ง 2 ช่วงฤดู
ได้แก่ ฤดูฝนและฤดหู นาว เพือ่ ตรวจระดับการแสดงออกของยนี กอ่ นการระบาดของเช้ือราสนิม โดยเกบ็ ตัวอยา่ งใบ

1ศนู ยว์ ิจัยพืชไรข่ อนแก่น สถาบนั วิจยั พชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแก่น
2ศูนย์วิจยั เกษตรหลวงเชียงใหม่ สถาบันวจิ ยั พชื สวน อำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชียงใหม่

778

จากต้นเดิม ได้ดำเนินการตรวจการแสดงออกของยีนที่ก่อโรคราสนิมในกาแฟกลุ่มตัวอย่างเดือนกันยายน และ
ธนั วาคม 2562 ที่เกบ็ มาจำนวน 44 ตวั อยา่ ง แต่ละตวั อย่างแบง่ เป็นตัวอย่างท่ไี มม่ อี าการ และมอี าการ ที่เก็บจาก
กิ่งเดียวกันและต้นเดียวกัน ได้ทำการศึกษายีนแล้ว จำนวน 5 ยีน ได้แก่ R111, WRKY, GT, PR1b และ PR10
สว่ นอกี 1 ยีน คอื RLK ไมส่ ามารถตรวจการแสดงออกได้ และ Ubiquitin ถกู ใชเ้ ปน็ ยีนควบคุม ทำการเปรียบเทยี บ
การแสดงออกของยีนทั้งสองช่วงเวลาแบ่งเป็น การเปรียบเทียบระหว่าง ตัวอย่างที่ไม่มีอาการของโรคเดือน
กันยายนกบั ตวั อย่างทมี่ ีอาการของโรคเดือนธนั วาคม และตัวอย่างทีม่ อี าการและไมม่ อี าการของโรคจากกง่ิ เดียวกัน
ในเดือนธนั วาคม บนั ทึกลักษณะอาการของโรค พบวา่ กลุม่ พันธุ์ CM80 มีการแสดงอาการของโรคราสนิมน้อยกว่า
กลุ่ม Typica และกลุ่มอ่ืนท่ีนำมาศึกษา มียีนที่มีการแสดงสงู ในกลุ่ม CM80 เมื่อเทียบระหวา่ งใบท่ีไม่มีอาการโรค
ในชว่ งเดือนกันยายน และใบที่มีอาการของโรคในเดือนธันวาคมได้แก่ R111, GT, PR1b และเมื่อเปรียบเทียบกับ
ความแตกตา่ งของการแสดงออกของยนี ชดุ เดียวกนั นใ้ี นตวั อย่างของเดือนธนั วาคมท่ีมีการเกิดโรคราสนมิ พบว่ายีน
PR1b มีค่าการแสดงออกของยีนในใบที่มีการแสดงอาการของโรคสูงขึ้นกว่าใบที่ไม่มีการแสดงอาการของโรค
ดังนั้นจึงมีความเปน็ ไปได้ว่ายนี PR1b มีความสำคัญกับการแสดงอาการทนโรคราสนมิ ในพันธุ์ CM80 ทั้งนี้ความ
ทนทานของความทนโรคราสนิมในพันธุ์ CM80 นี้อาจมีการทำงานร่วมกันกับยีนประกอบอืน่ ด้วย คือ R111, GT
และ PR10 ส่วนผลการวิเคราะห์ตัวอย่างใบกาแฟ ที่เก็บในเดือนกุมภาพันธุ์ 2564 จากต้นเดิม จำนวน 44
หมายเลข ยังคงพบว่ากลุ่มพนั ธุ์ CM80 มีการแสดงอาการของโรคราสนมิ นอ้ ยกวา่ กลุ่ม Typica และพบว่ายีน GT
มีการแสดงออกในกลมุ่ CM80 บางหมายเลขสูงกว่ากลมุ่ Typica ในขณะท่ีกลมุ่ Typica มกี ารแสดงออกของยีน
PR1b และ PR10 สูง ซึ่งอาจแสดงถงึ ยีนท่ีเกยี่ วขอ้ งกับความออ่ นแอต่อโรคราสนิม อยา่ งไรก็ตาม ในการแสดงออก
ของยีนทนทานต่อโรคของกลุม่ พันธุ์ CM80 น้นั ยังพบวา่ มคี วามแปรปรวน จงึ อาจเป็นสาเหตุหนึง่ ท่ีทำให้กลุ่มพันธ์ุ
CM80 ทีไ่ ด้น้ี มีความทนทานต่อโรคราสนิมไดไ้ มเ่ ท่ากนั ซง่ึ อาจเกิดจากพ้ืนฐานของยนี กลมุ่ ดงั กลา่ วมคี วามแตกต่างกนั ได้

คำนำ
พันธุ์กาแฟเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญโดยทั้งกาแฟโรบัสต้าและกาแฟอะราบิกา ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้าน
การให้ผลผลิตและคุณภาพกาแฟอะราบิกาท่ีเกษตรกรปลูกอยู่ท่วั ไปมีความอ่อนแอต่อโรคราสนิม และแอนแทรก
โนส ทำให้ผลผลิตลดลงส่งผลต่อปริมาณผลผลิตซึ่งปกติมีปริมาณต่ำอยู่แล้วตามคุณลักษณะของพันธุ์ แม้ว่าผล
การดำเนินงานวิจัยปรบั ปรุงพันธุก์ าแฟในชว่ งปี 2532-2558 สามารถวิจัยไดพ้ นั ธ์ุกาแฟอะราบกิ า ได้พันธุ์รบั รอง
จำนวน 1 พันธุ์ได้แก่ พันธุ์เชียงใหม่ 80 และคาดว่าในปี 2558 สามารถคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาสายพันธุ์
ตา้ นทานโรคราสนิมลกู ผสมช่ัวที่ 6 ในสภาพธรรมชาติ ได้จำนวน 2 สายต้น ไดแ้ ก่ พนั ธ์ุ H 528/46 ML 2/10-29-
65-23 และ H 420/9 ML 2/4-78-31-34 และคัดเลือกพนั ธุก์ าแฟอะราบิกาลกู ผสม HDT Derivatives กลุม่ พนั ธุ์
Cavimor ชั่วที่ 6 จำนวน 2 สายต้น ได้แก่ H420/9 ML 1/3 KW 54 และ H 420/9 ML 2/1 KW 82 ซึ่งจะ
สามารถนำไปทดสอบและเปรียบเทียบเพื่อให้ได้พนั ธุ์ที่จะได้พันธุ์แนะนำในปี 2559 ต่อไป แต่ความหลากหลาย
ทางด้านพันธุกรรมยังอยู่ในปริมาณจำกัด ทำให้การพัฒนาด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชกาแฟยัง
ดำเนนิ การไดไ้ มเ่ ตม็ ทีจ่ ำเปน็ ต้องมกี ารวิจัยปรับปรงุ พันธ์ุกาแฟอะราบิกาอย่างต่อเนอ่ื ง เพือ่ ขยายฐานพันธุกรรมให้
มคี วามหลากหลายสำหรบั ใช้เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตใหส้ ามารถแข่งขันกับประเทศผ้ผู ลติ รายอื่นไดอ้ ยา่ งย่ังยืน


Click to View FlipBook Version