The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by appleati, 2021-12-27 04:16:11

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

879

ตารางที่ 22 ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน (ร้อยละ) ในลำ ใบสดและใบแห้งของอ้อยตอ 2 พันธุ์ขอนแกน่ 3 ที่มีการ

จัดการนำ้ และปยุ๋ แตกตา่ งกัน

กรรมวธิ ี ปริมาณอินทรยี ์คารบ์ อน (รอ้ ยละ)

ลำ ใบสด ใบแหง้

RF1/ IR2/ เฉลย่ี RF IR เฉลยี่ RF IR เฉลย่ี

0-0-0 52.0 51.7 51.8 48.7 50.0 49.3 48.3 49.7 49.0

Filter cake 51.3 50.3 50.8 48.3 48.7 48.5 48.3 48.7 48.5

18-3-12 51.7 50.7 51.2 50.0 49.0 49.5 49.7 49.0 49.3

18-3-12+Filter Cake 51.3 52.0 51.7 49.7 49.3 49.5 48.7 49.7 49.2

27-4.5-18+Filter Cake 51.0 51.0 51.0 49.0 49.3 49.2 50.3 49.7 50.0

เฉลี่ย 51.5 51.1 49.1 49.3 49.1 49.3

F-Test (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 1.01 2.70 4.15

(b) 3.34 1.83 2.66

ตัวเลขท่อี ยูใ่ นชว่ งสดมภเ์ ดยี วกนั ทีม่ ีอักษรเหมือนกนั ไมแ่ ตกต่างกันในทางสถิติท่ีระดับความเชอื่ ม่ัน 95%

1/สภาพอาศัยนำ้ ฝน 2/จัดการน้ำตามความต้องการของอ้อย

ตารางที่ 23 ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน กก. C/ไร่ ในลำ ใบสดและใบแห้งของอ้อยตอ 2 พันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการ

จัดการน้ำและปุย๋ แตกตา่ งกัน

กรรมวธิ ี ปรมิ าณอินทรยี ค์ ารบ์ อน (กก. C/ไร)่

ลำ ใบสด ใบแห้ง

RF1/ IR2/ เฉลยี่ RF IR เฉล่ยี RF IR เฉล่ยี

0-0-0 1,330 1,563 1,446 64 73 68 216 242 229

Filter cake 1,509 1,527 1,518 96 88 92 280 361 320

18-3-12 1,011 1,631 1,321 57 94 76 293 257 275

18-3-12+Filter Cake 1,464 1,848 1,656 78 90 84 327 324 325

27-4.5-18+Filter Cake 1,558 1,811 1,684 95 87 91 321 301 311

เฉลีย่ 1,374 1,676 78 86 287 297

880

ตารางที่ 24 ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากผิวดินในอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการ

จดั การนำ้ และปุ๋ยแตกต่างกัน

กรรมวิธี CO2 emission CO2 emission from soil surface Average*
(g CO2 m-2day-1) (t CO2 rai-1 year-1) (t CO2 rai-1 year-1)

2560/61 2561/62 2562/63

อาศยั น้ำฝน

0-0-0 4.67 2.88 2.52 2.93 2.78

Filter cake 3.91 2.72 2.08 2.14 2.31

18-3-12 4.46 3.03 2.39 2.59 2.67

18-3-12+Filter Cake 4.32 2.84 2.52 2.37 2.57

27-4.5-18+Filter Cake 4.38 2.85 2.43 2.54 2.61

จดั การนำ้ ตามความต้องการของออ้ ย

0-0-0 4.45 2.85 2.41 2.62 2.63

Filter cake 4.19 2.90 2.14 2.42 2.49

18-3-12 4.00 2.69 1.91 2.43 2.35

18-3-12+Filter Cake 4.33 2.70 2.41 2.56 2.56

27-4.5-18+Filter Cake 4.29 2.81 2.40 2.41 2.54

อุณหภูมิ (C) ปรมิ าณน้าฝน (มม.)
100.0
50.0 90.0
45.0 80.0 TMAX
40.0 70.0
35.0 60.0 TMIN
30.0 50.0
25.0 40.0 RAIN
20.0 30.0
15.0 20.0
10.0 10.0
5.0 0.0
0.0
จ้านวนวนั หลังปลกู
1
21
41
61
81
101
121
141
161
181
201
221
241
261
281
301
321
341
361

ภาพที่ 1 ปรมิ าณนำ้ ฝน อุณหภูมิสูงสดุ -ตำ่ สุด ภายในแปลงทดลองศูนย์วจิ ยั พชื ไร่ขอนแกน่ ปี 2560/2561

อุณหภูมิ (C) 881
45
40 ปรมิ าณน้าฝน (มม.)
35 70
30 60
25 TMAX
20 50
15 40 TMIN
10 30 RAIN
5 20
0 10
0
จ้านวนวนั หลงั ปลูก
11
21 15
41 29
61 43
81 57
101 71
121 85
141 99
161 113
181 127
201 141
221 155
241 169
261 183
281 197
301 211
321 225
341 239
361 253
ภาพที่ 2 ปรมิ าณนำ้ ฝน อุณหภมู ิสงู สุด-ต่ำสุด ภายในแปลงทดลองศนู ย์วิจัยพชื ไรข่ อนแก่น ปี 2561/62

อณุ หภูมิ (C) ปรมิ าณน้าฝน (มม.)
45 160
40
35 140
30 120 TMAX
25
20 100 TMIN
15 80
10 60 RAIN
5
0 40

20

0
จ้านวนวันหลงั ปลูก

ภาพที่ 3 ปริมาณนำ้ ฝน อณุ หภูมิสูงสดุ -ตำ่ สุด ภายในแปลงทดลองศนู ย์วจิ ยั พชื ไรข่ อนแก่น ปี 2562/63

882

mg CO2/m2/d 0-0-0
14000
12000 Filter cake
10000
8000 18-3-12
6000
4000 18-3-12 + Filter
Cake
1.5 (18-3-12) + Filter
Cake
Bare soil

2000

0 จ้านวนวนั หลังปลกู
1 23 54 82 113 143 175 205 241 267 310 332 372

ภาพท่ี 4 ปริมาณการปลดปล่อย CO2 จากพืน้ ที่ปลกู อ้อยปลกู พนั ธุ์ขอนแก่น 3 โดยไม่มีการจัดการน้ำ
วดั โดยประยุกต์จากวิธขี อง Anderson (1982)

mg CO2/m2/d 0-0-0
14000

12000 Filter cake

10000 18-3-12
8000

6000 18-3-12 + Filter
Cake
4000 1.5 (18-3-12) +

2000 Filter Cake

0 จ้านวนวันหลังปลูก
1 23 54 82 113 143 175 205 241 267 310 332 372

ภาพท่ี 5 ปรมิ าณการปลดปล่อย CO2 จากพืน้ ท่ีปลกู อ้อยปลกู พันธข์ุ อนแกน่ 3 โดยมีการจดั การน้ำ
วัดโดยประยุกต์จากวธิ ีของ Anderson (1982)

883

mg CO2/m2/372 d

2,000,000 1,891,042 1,946,700
1,950,000
1,900,000 1,780,230 1,813,905 1,689,759 1,756,560 1,743,568 IR
1,850,000 1,798,108 1,697,547 1,772,099 1,784,056 Rain-Fed
1,800,000
1,750,000 1,681,303
1,700,000
1,650,000
1,600,000

0-0-0 Filter cake 18-3-12 18-3-12 + Filter 1.5 (18-3-12) + Bare soil กรรมวธิ ี
Cake Filter Cake

ภาพที่ 6 แผนภาพแสดงการเปรยี บปริมาณการปลอ่ ย CO2 ในพ้นื ท่ีอ้อยปลูกพนั ธ์ุขอนแกน่ 3 ทมี่ กี ารจดั การ
นำ้ และปยุ๋ แตกตา่ งกัน วดั โดยประยกุ ตจ์ ากวิธีของ Anderson (1982)

mg CO2/m2/d

10,000 0-0-0
9,000
8,000 Filter cake

7,000 18-3-12
6,000
5,000 18-3-12 +

Filter Cake
4,000 1.5 (18-3-12) +
3,000 Filter Cake

2,000

1,000

- จา้ นวนวันหลังปลกู
43 95 131 159 188 217 257 288 316 334

ภาพที่ 7 ปรมิ าณการปลดปล่อย CO2 จากพนื้ ที่ปลกู อ้อยตอ 1 พันธุ์ขอนแกน่ 3 โดยไม่มีการจัดการนำ้
วดั โดยประยุกต์จากวธิ ีของ Anderson (1982)

884

mg CO2/m2/d 0-0-0
12,000
Filter cake
10,000
18-3-12
8,000
18-3-12 + Filter
6,000 Cake
1.5 (18-3-12) +
4,000 Filter Cake
Bare soil
2,000
จ้านวนวนั หลงั ปลกู
- 131 159 188 217 257 288 316 334
43 95

ภาพที่ 8 ปรมิ าณการปลดปลอ่ ย CO2 จากพื้นท่ีปลูกอ้อยตอ 1 พนั ธ์ขุ อนแก่น 3 โดยมกี ารจดั การนำ้
วัดโดยประยุกตจ์ ากวิธขี อง Anderson (1982)

mg CO2/m2/334 d 1,795,682
1,850,000
1,800,000 1,509,254 1,496,598 1,538,030 IR
1,750,000 1,576,049 1,504,936
1,700,000
1,650,000 1,573,334
1,600,000 1,503,088
1,550,000 1,515,886
1,500,000
1,450,000 1,335,125
1,400,000 1,301,411
1,350,000
1,300,000 1,196,261 Rain-Fed
1,250,000
1,200,000 กรรมวธิ ี
1,150,000
1,100,000 Filter cake 18-3-12 18-3-12 + Filter Ca1ke.5 (18-3-12) + Filter Cake Bare soil
1,050,000
1,000,000

0-0-0

ภาพท่ี 9 แผนภาพแสดงการเปรียบปริมาณการปล่อย CO2 ในพนื้ ทอี่ ้อยตอ 1 พนั ธข์ุ อนแก่น 3 ทม่ี ีการจัดการ
นำ้ และปุ๋ยแตกต่างกัน วดั โดยประยกุ ตจ์ ากวธิ ีของ Anderson (1982)

885

mg CO2/m2/d 0-0-0
8,000
7,000

6,000 Filter cake

5,000 18-3-12

4,000 18-3-12 + Filter

3,000 Cake
1.5 (18-3-12) +

2,000 Filter Cake
Bare soil

1,000

- จา้ นวนวนั หลงั ตดั
9 74 103 135 194 229 256 284 324 360 389

ภาพที่ 10 ปริมาณการปลดปลอ่ ย CO2 จากพ้ืนทป่ี ลูกออ้ ยตอ 2 พนั ธุ์ขอนแก่น 3 ในกรรมวธิ ีทอี่ าศยั น้ำฝน วัด
โดยประยุกต์จากวธิ ขี อง Anderson (1982)

mg CO2/m2/d 0-0-0
8,000 Filter cake
7,000
6,000

5,000 18-3-12

4,000 18-3-12 + Filter
Cake

3,000 1.5 (18-3-12) +
Filter Cake

2,000 Bare soil

1,000

- จา้ นวนวันหลังตัด
9 74 103 135 194 229 256 284 324 360 389

ภาพท่ี 11 ปรมิ าณการปลดปลอ่ ย CO2 จากพนื้ ท่ปี ลูกอ้อยตอ 2 พันธขุ์ อนแก่น 3 โดยมกี ารจดั การน้ำ
วดั โดยประยกุ ตจ์ ากวิธีของ Anderson (1982)

886

mg CO2/m2/389 d 1,834,092
1,900,000

1,850,000

1,800,000 1,715,329

1,750,000

1,700,000 1,636,629 1,521,582 1,602,049
1,616,651
1,650,000 1,504,221
1,587,505
1,600,000 1,514,945 1,525,882

1,550,000 1,478,723 IR

1,500,000

1,450,000 1,336,873 Rain-Fed
1,400,000

1,350,000

1,300,000

1,250,000

1,200,000 กรรมวิธี

0-0-0 Filter cake 18-3-12 18-3-12 + Filter 1.5 (18-3-12) + Filter Bare soil

Cake Cake

ภาพท่ี 12 แผนภาพแสดงการเปรียบปริมาณการปล่อย CO2 ในพ้ืนที่ออ้ ยตอ 2 พันธข์ุ อนแกน่ 3 ท่ีมี

การจดั การนำ้ และป๋ยุ แตกต่างกัน วดั โดยประยกุ ตจ์ ากวธิ ขี อง Anderson (1982)

ภาพท่ี 13 ปริมาณการปลดปลอ่ ย CO2 จากพ้นื ทปี่ ลกู ออ้ ยปลกู อ้อยตอ1 อ้อยตอ 2 พนั ธ์ุขอนแกน่ 3 ในกรรมวิธี
ทอี่ าศัยน้ำฝนวัดโดยประยกุ ต์จากวิธขี อง Anderson (1982)

887

ภาพท่ี 14 ปริมาณการปลดปล่อย CO2 จากพนื้ ทีป่ ลูกอ้อยปลูก อ้อยตอ1 ออ้ ยตอ 2 พนั ธข์ุ อนแกน่ 3 โดยมกี าร
จัดการนำ้ วัดโดยประยุกตจ์ ากวธิ ีของ Anderson (1982)

ภาพท่ี 15 แผนภาพแสดงการเปรียบปริมาณการปล่อย CO2 ในพืน้ ที่ออ้ ยปลูกและ อ้อยตอ 1 พันธุ์ขอนแก่น
3 ท่มี ีการจดั การน้ำและปุ๋ยแตกตา่ งกัน ในกรรมวิธีทอี่ าศัยน้ำฝน วดั โดยประยกุ ตจ์ ากวธิ ขี อง Anderson
(1982)

888

ภาพท่ี 16 แผนภาพแสดงการเปรยี บปรมิ าณการปล่อย CO2 ในพนื้ ท่ีอ้อยปลกู และ อ้อยตอ 1 พันธข์ุ อนแกน่ 3 ทมี่ ี
การจัดการนำ้ และปยุ๋ แตกต่างกัน ในกรรมวิธที ่มี กี ารใหน้ ้ำ วัดโดยประยกุ ต์จากวธิ ีของ Anderson (1982)

สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
ในออ้ ยปลกู การใชป้ ยุ๋ เคมี 27-4.5-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหมอ้ กรอง 1 ตันต่อ
ไร่ โดยให้ผลผลิตมากที่สุด 26.18 ตันต่อไร่ ในอ้อยตอ 1 การจัดการน้ำทำให้ผลผลิตอ้อยแตกต่างกันในทางสถิติ
โดยกรรมวิธีที่มีการให้น้ำผลผลิต 15.94 ตัน/ไร่ แต่ในอ้อยตอ 2 การจัดการดินและปุ๋ยทำให้ผลผลิตอ้อยและ
ผลผลิตน้ำตาลแตกต่างกนั ในทางสถติ ิโดยกรรมวิธรี องท่ีใชป้ ุ๋ยเคมี 27-4.5-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับ
กากตะกอนหมอ้ กรอง 1 ตนั ต่อไรใ่ ห้ผลผลิตและผลผลิตนำ้ ตาลมากท่ีสุด 7.67 ตันตอ่ ไร่ และ 1,627 กก.ต่อไร่ แต่
อย่างไรก็ตามวิธีการใหน้ ้ำร่วมกับการจดั การปุ๋ยไมม่ ีผลตอ่ ปรมิ าณ CCS และการจดั การน้ำทำให้มีปริมาณอินทรีย์
คารบ์ อนสะสมส่วนลำ 4,270 กก. C/ไร่ ซึง่ เป็นส่วนสญู เสยี คาร์บอนออกจากพืน้ ที่ปลูกอ้อย ในอ้อยตอ 1 ปริมาณ
อินทรีย์คาร์บอนสะสมส่วนลำในกรรมวิธีที่มีการจัดการน้ำคิดเป็น 2,915 กก. C/ไร่ การใช้ปุ๋ย 18-3-12 กก. N-
P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับ ใช้กากตะกอนหม้อกรอง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่มีปริมาณอินทรีย์คาร์บอนสะสมมากที่สดุ
119 กก. C/ไร่ อ้อยตอ 2 ปรมิ าณอนิ ทรยี ค์ ารบ์ อนสะสมส่วนลำในกรรมวิธีทีม่ ีการจัดการน้ำคดิ เปน็ 1,676 กก. C/
ไร่ และให้ปุ๋ย 27-4.5-18 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไรร่ ่วมกบั ใชก้ ากตะกอนหม้อกรอง 1,000 กโิ ลกรัมต่อไร่มีปริมาณ
อนิ ทรยี ์คารบ์ อนสะสมมากทส่ี ุด 1,684 กก. C/ไร่
ส่วนของปริมาณคารบ์ อนทส่ี ามารถเกบ็ กกั ในดนิ หากมกี ารไถกลบลงดินจะเปน็ คารบ์ อนทอี่ ยู่ในสว่ นของใบ
สดและใบแหง้ อ้อยปลกู เมือ่ มกี ารจดั นำ้ และให้ปุ๋ยตามคา่ วิเคราะห์ดินจะใหป้ รมิ าณคาร์บอนสะสมในส่วนของใบสด
และใบแหง้ มากทส่ี ุด ในออ้ ยตอ 1 และออ้ ยตอ 2 การใชป้ ุ๋ยตามคา่ วเิ คราะหด์ นิ ร่วมกบั การใช้กากตะกอนหม้อกรอง
1,000 กิโลกรัมต่อไร่ทำให้ใบสดและใบแห้งอ้อยตอ 1 มีปริมาณคารบ์ อนสะสมมากที่สดุ ซึ่งหากสามารถจัดการใบ
สดและใบแห้งให้คลุกกลับลงดนิ จะทำให้เปน็ ประโยนชนต์ ่อการเจริญเติบโตของออ้ ยตอ่ ไป

889

เอกสารอา้ งอิง

Bray, R.H. and L.T. Kurtz. 1945. Determination of total organic and available forms of phosphorus in soils. Soil
Sci. 59: 39-45.

Page, A.L., R.H. Miller and D.R. Keey. 1982. Methods of soil analysis part 2 : chemical and microbiological
propertics second edition Agronomy No. 9 ASA, SSSA. Madison, Wisconsin, USA. 1159 p.

Peech,M. 1965. Soil pH by glass electrode pH meter, pp. 914-925. In C.A. Black, D.D.Evans, R.L. White,
L.E.Ensminger, F.E. Clark and R.C. Dinsuer (eds). Method of Soil Analysis Part 2 : Physical and
microbiological Propertics, Including Statistics of Measurement and Sampling American Society of
Agronomy Inc., Pubisher Madison,USA.

Schollenberger, C.L. and R.H. Simon. 1945. Determination of exchange capacity and exchangeable bases in soil-
ammonium acetate method. Soil Sci. 59:13-24.

Walkley, A. and C.A. Black. 1934. An examination of Degtjareff method for determining soil organic matter and
a proposed modification of the chromic acid titration method. Soil Sci. 37: 29-37.

890

การศึกษาการจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืชลงดินอยา่ งต่อเนือ่ งระยะยาวต่อการเปลย่ี นแปลง
คณุ ภาพดินและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ในระบบการผลติ มนั สำปะหลงั จ. ขอนแก่น

Effect of fertilizers and crop residue management on soil quality and
greenhouse gas emissions in long-term cassava production system,

Khon Kaen Province

ชยันต์ ภักดีไทย1* เนติรัฐ ชมุ สุวรรณ100 และศรสี ดุ า ทิพยรักษ2์

บทคดั ย่อ
การกักเก็บคาร์บอน (carbon storage) ในพื้นที่เกษตรเป็นแนวทางหนึ่งที่หลายประเทศนำไปใช้เพ่ือ
ประโยชน์ในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ปริมาณคาร์บอนที่ถูกกักเก็บไว้ในดินมีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึน้ อยูก่ ับหลายปจั จัย มันสำปะหลัง เป็นพชื ทมี่ คี วามสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
เน่อื งจากเปน็ ประเทศทมี่ พี ้ืนที่ปลูกมนั สำปะหลงั เปน็ อนั ดับที่ 3 ของโลก เนือ่ งจากมันสำปะหลังเป็นพืชท่ปี ลกู ง่าย
มีปัญหาในการผลิตน้อย ปรับตัวได้ดีในเกือบทุกสภาพพื้นท่ี จึงได้มีการการศึกษาการจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษ
ซากพืชลงดินอย่างต่อเน่อื งระยะยาวตอ่ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพดนิ และการปล่อยก๊าซเรอื นกระจก ในระบบการ
ผลิตมันสำปะหลังโดยวางแผนทดลองแบบ RCB 5 กรรมวิธีๆละ 4 ซ้ำ ได้แก่ 1) ไม่ใส่ปุ๋ย 2) ไถกลบต้นใบมัน
สำปะหลัง 3 ตนั ต่อไร่ 3) ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะหด์ นิ 4) ใสป่ ุย๋ เคมีตามค่าวเิ คราะห์ดนิ + ปุ๋ยหมกั 1 ตันต่อไร่
5) ใสป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวเิ คราะห์ดิน + ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลงั 3 ตันตอ่ ไร่ พบวา่ การใส่ปยุ๋ เคมตี ามค่าวิเคราะห์ดิน
รว่ มกับปุ๋ยหมกั 1 ตนั ตอ่ ไร่ตอ่ ปี ใหผ้ ลผลติ หวั สดและผลผลิตแป้งแตกต่างกับกรรมวิธอี น่ื อย่างมนี ัยสำคญั และการ
ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยหมัก 1-3 ตันต่อไร่ต่อปียังเป็นกรรมวิธีที่ทำให้ปริมาณการปล่อยก๊าซ
คารบ์ อนไดออกไซด์สะสมในพ้ืนทปี่ ลกู มนั สำปะหลงั มากทีส่ ุด
คำสำคัญ มันสำปะหลัง คาร์บอน คารบ์ อนไดออกไซด์ ก๊าซเรอื นกระจก

คำนำ
ภาวะโลกร้อนมีสาเหตุมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งจากภาคอุตสาหกรรมและการเกษตรอัน
เนื่องมาจากกจิ กรรมความตอ้ งการของมนุษย์ซงึ่ เพมิ่ ขนึ้ ตามจำนวนประชากรโลก โดยปัจจุบันความเข้มข้นของก๊าซ
คารบ์ อนไดออกไซด์เพม่ิ ขน้ึ เป็น 380 สว่ นในลา้ นส่วน จากเดมิ เมื่อ 150 ปกี ่อนทม่ี ีเพยี ง 280 ส่วนในลา้ นสว่ น การ
กักเก็บคาร์บอน (carbon storage) ในพน้ื ท่เี กษตรเป็นแนวทางหนงึ่ ท่ีหลายประเทศนำไปใช้เพ่ือประโยชน์ในการ

1 ศูนยว์ จิ ัยพชื ไรข่ อนแก่น สถาบันวจิ ยั พืชไรแ่ ละพชื ทดแทนพลงั งาน กรมวชิ าการเกษตรฃ
2 ข้าราชการบำนาญ กรมวชิ าการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

891

ลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ปริมาณคาร์บอนที่ถูกกักเก็บไว้ในดินมีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลาขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย แต่ปัจจัยหลัก ๆ ได้แก่ การใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพภูมิอากาศ และการทำ
การเกษตร ทำให้มีการย่อยสลายของอินทรียวตั ถุในดิน และปลดปลอ่ ยคาร์บอนส่บู รรยากาศ ในทางกลบั กนั หากมี
การจดั การดนิ -ปุ๋ย-นำ้ และพืชอย่างเหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพกบั พ้ืนทปี่ ลกู พื้นทท่ี ำการเกษตรกจ็ ะเปน็ แหล่งกัก
เกบ็ คาร์บอนทีส่ ำคญั แหล่งหนึ่ง ประเทศไทยยงั จัดเป็นกลุ่มทม่ี กี ารปล่อยก๊าซเรือนกระจกเปน็ อันดับท่ี 25 ของโลก
และเป็นลำดับที่ 2 ในอาเซียน รองจากประเทศอินโดนเี ซยี จากการศกึ ษาและจัดทำฐานขอ้ มูลการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกภาคเกษตรของสำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (2555) เพื่อประเมินความต้องการข้อมูลด้านการเกษตรที่
ต้องจัดเก็บเพิ่มตามคูม่ ือการจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกของ IPCC โดยจำแนกตามแหล่งปล่อย เช่น นาข้าว ปศุ
สัตว์ การจัดการพืน้ ที่ ฯลฯ และรายสินค้าที่สำคัญ เช่น ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ำมัน
ฯลฯ และอื่นๆ โดยจัดทำฐานข้อมลู การคำนวณและแสดงตวั อย่างการคำนวณตามวธิ ีการการประเมินวัฏจักรชีวติ
(Life cycle assessment; LCA) ครอบคลุมตง้ั แต่การผลิตจนถงึ การเกบ็ เกี่ยวผลผลิต พบว่า การปลูกพชื ไร่ลว้ นแต่
ทำให้มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิ โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกดังกล่าว ส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรมการใช้
ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งการปลูกอ้อยในปี พ.ศ. 2554 มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งสิ้น 2.2 ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซดเ์ ทียบเท่า

วิธดี ำเนินการ
อุปกรณ์

- ทอ่ นพนั ธุ์มนั สำปะหลัง พนั ธ์รุ ะยอง 86-13
- ปุ๋ยเคมี ไดแ้ ก่ ยเู รยี ทรปิ เปิลซูเปอร์ฟอสเฟต และโพแทสเซยี มคลอไรด์
- สารเคมปี อ้ งกนั กำจดั ศตั รพู ชื ตามความจำเปน็
- สว่านเก็บตวั อยา่ งดิน และอปุ กรณเ์ ก็บตวั อย่างดินแบบ Undisturbed core sample
- อปุ กรณ์สำหรับดักจับกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ไดแ้ ก่ กระป๋องพลาสตกิ ขวดแก้ว และฐานรองที่เปน็
ตะแกรง
วิธีการ
ดำเนินการในแปลงทดลองมนั สำปะหลังระยะยาว ท่ศี นู ย์วจิ ัยพชื ไรข่ อนแกน่ จ. ขอนแก่น วางแผนทดลอง
แบบ RCB 5 กรรมวิธี ๆ ละ 4 ซ้ำ ได้แก่ 1) ไม่ใส่ปุ๋ย 2) ไถกลบต้นใบมันสำปะหลัง 3 ตันต่อไร่ 3) ใส่ปุ๋ยเคมี
ตามคา่ วิเคราะห์ดนิ 4) ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน + ปุ๋ยหมกั 1 ตันตอ่ ไร่ และ 5) ใส่ปยุ๋ เคมีตามค่าวิเคราะห์
ดิน + ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลงั 3 ตันตอ่ ไร่
สุ่มเก็บตัวอย่างดิน วิเคราะห์ปรมิ าณธาตุอาหารพืชและอินทรียค์ าร์บอนในดินก่อนปลูกพืชในแต่ละปี ไถ
เตรยี มดินดว้ ยผาล 3 พรวนและเปิดรอ่ งปลูก ปลูกมนั สำปะหลังต้นฤดูฝน ขนาดแปลงยอ่ ย 8x10 เมตร ระยะปลูก
1x1 เมตร 1 ตน้ /หลุม หว่านป๋ยุ อนิ ทรีย์ และสับกลบต้นใบมันสำปะหลังกอ่ นปลูก ใสป่ ยุ๋ เคมสี องขา้ งตน้ หา่ งจากต้น
20-30 เซนตเิ มตร คร้งั เดยี วหลงั ปลูก 1-2 เดอื น และกำจัดวัชพืชตามความจำเปน็ ตลอดฤดปู ลูก เก็บเกี่ยวผลผลิต
มันสำปะหลัง เมื่ออายุ 11 เดือน พื้นที่เก็บเก่ียว 48 ตารางเมตร วิเคราะห์ปรมิ าณคารบ์ อนและไนโตรเจนในส่วน

892

ตา่ งๆของมนั สำปะหลัง (ตน้ ใบ เหงา้ หัว) วเิ คราะห์ปรมิ าณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทป่ี ล่อยจากผิวดิน ประยุกต์
จากวธิ ขี อง Anderson (1982) โดยใชโ้ ซเดยี มไฮดรอกไซดใ์ นการดกั จบั กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ท่ปี ล่อยออกมาจาก
พื้นผิวดินภายใน 1 รอบวัน ทุกๆ 3 สัปดาห์ และทุกครั้งที่มีกิจกรรมเกิดขึ้นในแปลงทดลอง เช่น ไถพรวน ใส่ปุ๋ย
อนิ ทรยี ์ ใสป่ ๋ยุ เคมี และเกบ็ ดินมาวิเคราะหค์ วามช้นื วดั อุณหภูมดิ นิ ท่รี ะดบั ความลกึ 5-10 เซนติเมตร และอุณหภูมิ
อากาศ ด้วยทุกครง้ั

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
1. สภาพแวดลอ้ มตลอดฤดูปลกู

1.1. สมบัตขิ องดิน
แปลงทดลองฤดูปลูกปี 2560 ค่าวิเคราะห์ดนิ ก่อนปลูกตามระดับความลึก 0-20 และ 20-50 เซนติเมตร
ค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณอินทรียวัตถุในดินของทุก ๆ กรรมวิธี อยู่ในเกณฑ์ต่ำทั้งหมด (0.36%-0.69%) ปริมาณ
ฟอสฟอรสั ทีเ่ ป็นประโยชน์ในกรรมวธิ ที ่ีไมม่ ีการใช้ป๋ยุ เคมี อยใู่ นเกณฑต์ ำ่ (5-11 มก./กก.) การใช้ปุ๋ยเคมีและการใช้
ปุ๋ยเคมีร่วมกับไถกลบตน้ ใบมันสำปะหลัง 3 ตันต่อไร่ ปริมาณฟอสฟอรสั ท่ีเปน็ ประโยชน์มคี ่า 20-25 มก./กก. แต่
การใชป้ ุ๋ยเคมีร่วมกับป๋ยุ หมกั 1 ตนั ตอ่ ไรท่ ำให้ปรมิ าณฟอสฟอรสั ที่เปน็ ประโยชน์มีคา่ สงู โดยมคี ่า 67-118 มก./กก.
ปรมิ าณโพแทสเซียมท่ีแลกเปลยี่ นได้ในดนิ กรรมวธิ ีทไ่ี ม่มีการใช้ปยุ๋ เคมี มีปรมิ าณน้อยที่สุดโดยมีค่าอยรู่ ะหว่าง 14-
21 มก./กก. แตใ่ นกรรมวธิ ที มี่ กี ารใช้ปุย๋ เคมีหรือใช้ปยุ๋ เคมีรว่ มกับวัสดุอน่ื ๆ มีปรมิ าณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้
อยรู่ ะหว่าง 43-54 มก./กก. (ตารางที่ 1-2)
ค่าวเิ คราะห์ดินก่อนปลกู แปลงทดลองฤดปู ลกู ปี 2561 การใช้ปุ๋ยเคมีรว่ มกับปุย๋ อนิ ทรีย์อัตรา 1 ตันต่อไร่
คา่ pH ของดนิ มีค่า 6.3 อินทรียว์ ัตถุ 0.53 และ 0.50 เปอร์เซน็ ต์ ในดินชั้นบนและดนิ ชน้ั ล่างซง่ึ สูงกว่ากรรมวิธีอื่น
แต่อยู่ในเกณฑ์ต่ำ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินชั้นบนอยู่ในเกณฑ์สูงกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ ปริมาณ
โพแทสเซยี มท่ีแลกเปลี่ยนได้อย่ใู นเกณฑ์ปานกลาง (ตารางท่ี 3-4)
คา่ วิเคราะหด์ ินกอ่ นปลูก แปลงทดลองฤดูปลูกปี 2562 การใสป่ ุย๋ เคมีตามค่าวิเคราะหด์ ิน คา่ pH ของดิน
มีค่า 4.6 อินทรยี ์วัตถุ 1.39 และ 0.96 เปอรเ์ ซน็ ต์ ในดนิ ชน้ั บนและดนิ ชนั้ ล่างซงึ่ สูงกว่ากรรมวิธีอ่ืนแต่อยู่ในเกณฑ์
ต่ำ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินชั้นบนอยู่ในเกณฑ์สูงกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ ปริมาณโพแทสเซียมท่ี
แลกเปลีย่ นไดอ้ ยู่ในเกณฑป์ านกลาง (ตารางท่ี 5-6)
1.2 ปริมาณน้ำฝน
ฤดูปลูกปี 2560 ปริมาณน้ำฝนรวมตลอดฤดูปลูกเท่ากับ 1,445 มิลลิเมตร (ภาพท่ี 1) ฤดูปลูกปี 2561
ปริมาณน้ำฝนรวมตลอดฤดปู ลูกเท่ากับ 1,094 มิลลิเมตร (ภาพที่ 2) ฤดูปลูกปี 2562 ปริมาณน้ำฝนรวมตลอดฤดู
ปลูกเทา่ กับ 1,069 มิลลิเมตร (ภาพท่ี 3)
2. การเจริญเติบโตและผลผลติ
ฤดปู ลกู 2560
การเจริญเติบโตของมนั สำปะหลงั ท่ีอายุ 3 เดอื นพบว่า กรรมวธิ ีที่ใส่ปยุ๋ เคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน + ไถกลบ
ต้นใบมันสำปะหลัง 3 ตันต่อไร่ มีความสูงมากที่สุด 124 เซนติเมตร แต่ไม่แตกต่างกับการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่า

893

วิเคราะห์ดินรว่ มกบั ป๋ยุ หมัก 1 ตนั ตอ่ ไร่ เม่ือมันสำปะหลงั อายุ 6 เดือนพบว่า กรรมวิธที ี่ใส่ปุย๋ เคมีตามค่าวิเคราะห์
ดิน + ไถกลบต้นใบมันสำปะหลัง 3 ตันต่อไร่ มีความสูงมากท่ีสุด 220 เซนติเมตร แต่ไม่แตกต่างกบั การใส่ปุ๋ยเคมี
ตามคา่ วิเคราะห์ดนิ ร่วมกับปยุ๋ หมกั 1 ตันตอ่ ไร่ เช่นเดยี วกนั กับช่วงอายุ 3 และ 6 เดือน (ตารางที่ 7)

เกบ็ เก่ยี วผลผลิตหัวสด วนั ที 1 พฤษภาคม 2561 กรรมวธิ ที ใี่ หผ้ ลผลิตหัวสดและผลผลิตแป้งมากที่สุดคือ
การใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยหมัก 1 ตันต่อไร่ต่อปี ให้ผลผลิตหัวสดและผลผลิตแป้งแตกต่างกับ
กรรมวิธีอื่นอย่างมีนัยสำคัญคือ 6,071 กิโลกรัมต่อไร่และ 1,463 กิโลกรัมต่อไร่ตามลำดับ เปอร์เซ็นต์แป้งจาก
กรรมวิธีการจัดการปยุ๋ ทีแ่ ตกต่างกันไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ (ตารางท่ี 8)

ฤดปู ลูก 2561
อายุ 3 เดอื นพบวา่ กรรมวธิ ที ี่ใส่ป๋ยุ เคมีตามค่าวเิ คราะห์ดนิ ร่วมกบั สับกลบตน้ ใบมันสำปะหลงั อตั รา 3 ตนั
ต่อไร่มคี วามสูงมากทีส่ ุด 70 เซนติเมตร แต่ไม่แตกต่างกับการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะหด์ ินร่วมกับปุ๋ยหมัก 1 ตัน
ต่อไร่และกรรมวิธีใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน การเจริญเติบของมันสำปะหลังที่อายุ 6 เดือนในกรรมวิธีที่ใส่
ป๋ยุ เคมตี ามค่าวเิ คราะห์ดนิ รว่ มกบั สับกลบต้นใบมันสำปะหลงั อตั รา 3 ตันต่อไร่มีความสูงมากที่สุด169 เซนติเมตร
แตกตา่ งในทางสถติ กิ ับกรรมวิธอี นื่ ยกเวน้ กรรมวธิ ีท่ีใสป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วิเคราะห์ดนิ รว่ มกับป๋ยุ อินทรีย์ อตั รา 1 ตนั ตอ่
ไร่ เมื่อมันสำปะหลังอายุ 9 เดือน ความสูงของมันสำปะหลังไม่มีความแตกต่างในทางสถิติ เมื่อมีการจัดการธาตุ
อาหารท่แี ตกต่างกัน แต่ในกรรมวธิ ที ี่ใช้ปุ๋ยเคมี 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่รว่ มกบั สบั กลบต้นใบมันสำปะหลัง
อตั รา 3 ตนั ต่อไร่มีแนวโนม้ ให้ความสงู มากทสี่ ุด189 เซนตเิ มตร (ตารางท่ี 9)
ผลผลิตมันสำปะหลังเกบ็ เกี่ยวอายุ 11 เดือนพบว่า กรรมวิธีใส่ปุ๋ยเคมีตามคา่ วิเคราะห์ดินร่วมกับไถกลบ
ต้นใบมนั สำปะหลัง 3 ตนั ต่อไร่ให้ผลผลิตสงู สุด 4,309 กิโลกรมั ต่อไรแ่ ตกต่างกับกรรมวธิ อี น่ื อย่างมีนัยสำคัญ เม่ือ
วัดเปอร์เซน็ ตแ์ ปง้ พบว่า กรรมวิธีทไ่ี มม่ ีปุ๋ยมเี ปอรเ์ ซ็นตแ์ ปง้ สูงสุด 24.35% แตกตา่ งกบั กรรมวิธีอื่นอย่างมีนัยสำคัญ
และเมือ่ คำนวณผลผลิตแป้งพบวา่ กรรมวธิ ีใส่ปุ๋ยเคมีตามคา่ วิเคราะห์ดินร่วมกับไถกลบตน้ ใบมันสำปะหลงั 3 ตันต่อ
ไร่ใหผ้ ลผลติ แปง้ สูงสุด 976 กิโลกรมั ตอ่ ไร่แตกต่างกับกรรมวธิ อี ่ืนอยา่ งมีนยั สำคญั (ตารางที่ 10)
ฤดูปลกู 2562
การเจรญิ เตบิ โตของมนั สำปะหลังท่ีอายุ 3 เดือนพบว่า กรรมวิธที ี่ใสป่ ยุ๋ เคมีตามคา่ วิเคราะห์ดินร่วมกับสับ
กลบตน้ ใบมนั สำปะหลงั อัตรา 3 ตันต่อไร่มคี วามสูงมากทีส่ ดุ 149 เซนติเมตร แตกต่างกรรมวิธีอืน่ อย่างมีนยั สำคญั
(ตารางที่ 14) การเจริญเติบอายุ 6 เดือนในกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับสับกลบต้นใบมัน
สำปะหลัง อัตรา 3 ตนั ต่อไร่มีความสงู มากที่สุด185 เซนติเมตรแตกต่างกรรมวิธอี น่ื อย่างมีนัยสำคัญ (ตารางท่ี 15)
เมื่ออายุ 9 เดือน ความสูงของมันสำปะหลังในกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับสับกลบต้นใบมัน
สำปะหลัง อัตรา 3 ตนั ต่อไร่มีความสงู มากท่ีสุด 221 เซนตเิ มตรแตกตา่ งในทางสถิตกิ ับกรรมวธิ อี ่ืน ยกเวน้ กรรมวิธี
ทใ่ี สป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วเิ คราะหด์ นิ รว่ มกบั ปุย๋ อินทรยี ์ อตั รา 1 ตันตอ่ ไร่ (ตารางที่ 11)
เกบ็ ผลผลติ เมอ่ื มันสำปะหลงั มีอายุ 12 เดือน พบว่า การสับตน้ ใบมันสำปะหลงั สบั กลบอัตรา 3 ตันต่อไร่
ลงแปลงปลูกให้ผลผลมากที่สุด 4,523 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ไม่แตกต่างในทางสถิตกิ ับกรรมวิธีที่ใชป้ ุ๋ยเคมี 16-8-16
กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกบั สับกลบตน้ ใบมันสำปะหลัง อัตรา 3 ตนั ต่อไร่ กรรมวธิ ที ี่ใชป้ ุย๋ เคมี 16-8-16 กก. N-
P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 1 ตันต่อ กรรมวิธีที่ใช้ปุ๋ยเคมี 16-8-16 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่และ

894

กรรมวธิ ที ่ใี ช้ปยุ๋ เคมี 16-0-16 กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่ สว่ นเปอร์เซน็ ต์แป้ง พบมากทส่ี ดุ ในกรรมวธิ ีที่ไม่มีใช้ปุ๋ยเคมี
(25.93%) ผลผลิตแป้งมีมากที่สุดในกรรมวิธีการสับต้นใบมันสำปะหลังสบั กลบอัตรา 3 ตันต่อไร่ 1,068 กิโลกรัม
ต่อไร่ (ตารางท่ี 12)
3. การกกั เกบ็ คาร์บอนในส่วนต่าง ๆ ของมนั สำปะหลัง

ฤดูปลกู 2560
จากผลการวิเคราะห์ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน ในหัว ลำต้น ใบและเหง้าของมันสำปะหลังที่มีจัดการปุ๋ย
และไถกลบเศษซากพืชลงดนิ อยา่ งต่อเนื่อง ปี 2560 ในส่วนของหัว พบว่าการจดั การปุ๋ยทำให้ร้อยละของอินทรีย์
คาร์บอนแตกต่างกันในทางสถิติโดยใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน + ไถกลบต้นใบมันสำปะหลัง 3 ตันต่อไร่มี
ปริมาณอินทรีย์คาร์บอนมากที่สุด 50.3% ในส่วนลำต้นไม่พบความแตกต่างกันในทางสถิติของปริมาณอินทรีย์
คาร์บอนของเมื่อมีการจดั การปยุ๋ ทแี่ ตกต่างกันโดยการใช้ป๋ยุ เคมีตามค่าวิเคราะหม์ ีแนวโนม้ พบปริมาณอินทรีย์มาก
ที่สุด 47.3% ในส่วนของใบสด ไม่พบความแตกต่างกันในทางสถิติของปริมาณอินทรีย์คาร์บอนของเมื่อมีการ
จดั การปุ๋ยทแ่ี ตกต่างกันโดยในกรรมวิธีทไ่ี ม่มีการใส่ปยุ๋ มีแนวโน้มพบปรมิ าณอินทรียม์ ากที่สุด 43.5% ในส่วนของ
เหง้า พบว่าการจัดการปุ๋ยทำให้ร้อยละของอินทรีย์คาร์บอนแตกต่างกันในทางสถิติ โดยการ ไถกลบต้นใบมัน
สำปะหลงั 3 ตนั ตอ่ ไร่มปี รมิ าณอนิ ทรยี ค์ ารบ์ อนมากที่สดุ 47.8% (ตารางที่ 13)
ฤดปู ลกู 2561
จากผลการวิเคราะห์ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน ในหัว ลำต้น ใบและเหง้าของมันสำปะหลังที่มีจัดการปุ๋ย
และไถกลบเศษซากพืชลงดนิ อย่างต่อเน่ือง ปี 2561 ในส่วนของหัว พบว่าการจัดการปุ๋ยทำให้ร้อยละของอินทรีย์
คารบ์ อนแตกตา่ งกันในทางสถิติโดยการไถกลบตน้ ใบมันสำปะหลงั 3 ตนั ต่อไร่มีปรมิ าณอนิ ทรีย์คาร์บอนมากท่ีสุด
29.8% ในสว่ นลำตน้ ไมพ่ บความแตกต่างกันในทางสถิติของปริมาณอนิ ทรยี ์คารบ์ อนเมอื่ มีการจัดการปุ๋ยที่แตกต่าง
กันโดยกรรมวิธีที่ใส่ปยุ๋ เคมีตามค่าวเิ คราะหด์ นิ รว่ มกบั ปุ๋ยหมัก 1 ตนั ตอ่ ไร่ มแี นวโน้มพบปริมาณอินทรีย์มากท่ีสุด
55.5% ในสว่ นของใบสด ไมพ่ บความแตกตา่ งกนั ในทางสถิติของปริมาณอนิ ทรีย์คารบ์ อนของเมื่อมกี ารจัดการปุ๋ยที่
แตกตา่ งกันโดยในกรรมวิธีที่ใสป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับไถกลบต้นใบมนั สำปะหลัง 3 ตันต่อไร่มีแนวโน้ม
พบปริมาณอินทรีย์มากที่สุด 31.8% ในส่วนของเหง้า พบว่าการจัดการปุ๋ยทำให้ร้อยละของอินทรีย์คาร์บอน
แตกต่างกันในทางสถิติ โดยการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยหมัก 1 ตันต่อไร่ มีปริมาณอินทรีย์
คารบ์ อนมากทสี่ ุด 43.3% (ตารางท่ี 14)
ฤดูปลูก 2562/2563
จากผลการวิเคราะห์ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน ในหัว ลำต้น ใบและเหง้าของมันสำปะหลังที่มีจัดการปุ๋ย
และไถกลบเศษซากพืชลงดินอย่างต่อเนื่อง ปี 2562 ในส่วนของหัว พบว่าการจัดการปุ๋ยไม่มีผลต่อร้อยละของ
อินทรีย์คาร์บอนแตกต่างกันในทางสถิติโดยกรรมวิธีที่ไม่มีการใส่ปุ๋ยมีแนวโน้มปริมาณอินทรีย์คาร์บอนมากที่สดุ
52.60% ในส่วนลำต้นไม่พบความแตกต่างกันในทางสถิติของปริมาณอินทรีย์คาร์บอนเมื่อมีการจัดการปุ๋ยที่
แตกต่างกันโดยกรรมวิธีที่ไม่มีการใสป่ ุ๋ย มีแนวโน้มพบปริมาณอินทรยี ์มากที่สุด 51.14% ในส่วนของใบสด ไม่พบ
ความแตกตา่ งกนั ในทางสถิติของปรมิ าณอนิ ทรยี ์คารบ์ อนของเม่ือมกี ารจัดการปยุ๋ ท่ีแตกต่างกนั โดยในกรรมวิธีท่ีใส่
ปยุ๋ เคมตี ามค่าวิเคราะห์ดินมีแนวโน้มพบปริมาณอนิ ทรียม์ ากที่สุด 45.78% ในส่วนของเหงา้ ไมพ่ บความแตกต่าง

895

กันในทางสถิติของปริมาณอินทรีย์คาร์บอนของเมื่อมีการจัดการปุ๋ยที่แตกต่างกันโดยในกรรมวิธี ไถกลบต้นใบมนั
สำปะหลงั 3 ตันต่อไร่ มีแนวโนม้ พบปรมิ าณอินทรีย์คารบ์ อนมากทสี่ ดุ 47.73% (ตารางท่ี 15)

จากการวิเคราะห์ปริมาณอินทรียค์ ารบ์ อนสะสมในหัวในหัว ลำตน้ ใบและเหงา้ ของมันสำปะหลัง รวม 3 ปี
ที่ดำเนินการทดลองพบว่ากรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับสับกลบต้นใบมันสำปะหลัง อัตรา 3 ตัน
ต่อไร่มีปรมิ าณรวมมากทีส่ ุด 2,188 993 162 และ 201 กก. C/ไร่ ตามลำดบั (ตารางท่ี 16-19)
4. การปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ในพ้นื ทป่ี ลกู ออ้ ย

ฤดปู ลูก 2560
จากการเก็บขอ้ มลู การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากพืน้ ที่ปลูกมันสำปะหลงั ท่ีมีการจัดการปุ๋ยและไถ
กลบเศษซากพืชลงดนิ อยา่ งตอ่ เนื่องระยะยาวพบว่า ในกรรมวิธี ไม่ใส่ปยุ๋ ใสป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ และใส่ปุ๋ยเคมี
ตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับไถกลบต้นใบมันสำปะหลัง 3 ตันต่อไร่ หลังปลูกมันสำปะหลัง 15 วัน มีปริมาณการ
ปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ลดลง แต่ ในกรรมวิธีไถกลบต้นใบมันสำปะหลัง 3 ตนั ตอ่ ไร่ และการใส่ปุ๋ยเคมีตาม
ค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยหมัก 1 ตันต่อไร่ หลังปลูกมันสำปะหลัง 15 วัน มีปริมาณการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น เมื่อมีการใส่ปุ๋ยมันสำปะหลังเมื่ออายุ 35 วันหลังปลูก มีปริมาณการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ลดลงในทุกกรรมวิธี ยกเว้นกรรมวิธีที่ไม่มีการใส่ปุ๋ย และเมื่อวันสำปะหลังอายุ 81 วัน ใน
กรรมวธิ ีทีม่ กี ารไถกลบมนั สำปะหลัง 3 ตนั ต่อไร่ มีปรมิ าณการปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์สูงกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ
จากการเก็บข้อมูลมันสำปะหลังอายุ 211 วัน พบว่า ในมันสำปะลังอายุเพิ่มขึ้นมีปริมาณการปล่อยก๊าซ
คารบ์ อนไดออกไซด์ลดลงในทุกกรรมวธิ ี โดยในกรรมวธิ ที ่มี ีการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน มีการการปล่อยก๊าซ
คารบ์ อนไดออกไซด์ลดลงในทุกชว่ งอายขุ องมันสำปะหลงั
การวัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์พบว่า กรรมวิธีที่ไม่ใส่ปุ๋ยมีปริมาณการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์สะสมนอ้ ยที่สุดคือ 1,147,462 mg CO2/m2/329 วัน แต่ให้ผลผลิตต่ำสุด ในกรรมวธิ ีที่ให้ผล
ผลิตมากที่สุดคือการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยหมัก 1 ตันต่อไร่ต่อปี ปริมาณการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์สะสมมากทส่ี ุดคือ 2,152,033 mg CO2/m2/329 วัน (ภาพท่ี 4)
ฤดปู ลกู 2561
การวัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์พบว่า เมื่อมันสำปะหลังอายุ 100 วัน กรรมวิธีที่ไม่ใส่ปุ๋ยมี
ปริมาณการปล่อยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์สะสมนอ้ ยท่ีสุดคอื 438,325 mg CO2/m2/100 วัน กรรมวิธที ี่ใสป่ ุ๋ยเคมี
ตามคา่ วิเคราะห์ดินร่วมกบั สบั กลบต้นใบมันสำปะหลัง อัตรา 3 ตนั ตอ่ ไร่ ปริมาณการปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์
สะสมมากท่สี ดุ คือ 1,052,883 mg CO2/m2/100 วนั
การวัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์พบว่า เมื่อมันสำปะหลังอายุ 219 วัน กรรมวิธีที่ไม่ใส่ปุ๋ยมี
ปรมิ าณการปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมนอ้ ยที่สุดคือ 834,411 mg CO2/m2/219 วนั กรรมวธิ ที ี่ใส่ปุ๋ยเคมี
ตามคา่ วเิ คราะหด์ ินรว่ มกับสบั กลบตน้ ใบมนั สำปะหลัง อตั รา 3 ตันตอ่ ไร่ ปรมิ าณการปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์
สะสมมากท่ีสดุ คือ 1,679,371 mg CO2/m2/219 วนั
การวัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์พบว่า เมื่อมันสำปะหลังอายุ 349 วัน กรรมวิธีที่ไม่ใส่ปุ๋ยมี
ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมน้อยที่สุดคือ 1,238,049 mg CO2/m2/349 วัน กรรมวิธีที่ใส่

896

ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับสับกลบต้นใบมันสำปะหลัง อัตรา 3 ตันต่อไร่ ปริมาณการปล่อยก๊าซ
คารบ์ อนไดออกไซดส์ ะสมมากทสี่ ดุ คือ 2,268,165 mg CO2/m2/349 วัน (ภาพท่ี 5)
ฤดูปลกู 2562

การวดั การปลอ่ ยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์พบว่า เมอื่ มันสำปะหลังอายุ 341 วนั กรรมวธิ ีท่ีใสป่ ุ๋ยเคมตี ามค่า
วิเคราะหด์ ินรว่ มกับสับกลบต้นใบมันสำปะหลงั อัตรา 3 ตนั ต่อไร่ มปี ริมาณการปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสม
มากที่สดุ คอื 1,360,839 mg CO2/m2/341 วัน กรรมวิธที ี่ไม่ใสป่ ุย๋ เคมี ปรมิ าณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
สะสมนอ้ ยท่ีสุดคือ 1,290,891 CO2/m2/341 วนั (ภาพที่ 6)

ตารางท่ี 1 ค่าวิเคราะห์ดินกอ่ นปลูก ท่ีระดบั ความลึก 0-20 เซนตเิ มตร ปี 2560

กรรมวธิ ี pH1 Organic2 Organic Available Exchangeable
P3 (mg/kg) K4 (mg/kg)
matter(%) Carbon(%) 14
11 23
ไม่ใสป่ ๋ยุ 4.8 0.40 0.23 15 43
21 48
ไถกลบตน้ ใบมันสำปะหลงั 3 ตนั ตอ่ ไร่ 5.4 0.55 0.32 118 51
23
ใสป่ ยุ๋ เคมีตามคา่ วเิ คราะห์ดิน 4.6 0.46 0.26

ใส่ปุ๋ยเคมตี ามคา่ วิเคราะห์ดิน + ปยุ๋ หมกั 1 ตันตอ่ ไร่ 6.6 0.69 0.40

ใสป่ ุ๋ยเคมีตามคา่ วเิ คราะหด์ ิน + ไถกลบต้นใบมัน 4.9 0.63 0.36

สำปะหลัง 3 ตนั ต่อไร่

Peech (1965) soil : water = 1:1 2 Walkley and Black (1965)
3 Bray and Kurtz (1945) 4 Schollenberger and Simon (1945) 5 Hydrometer method

ตารางที่ 2 ค่าวิเคราะห์ดินก่อนปลกู ทร่ี ะดับความลึก 20-50 เซนตเิ มตร ปี 2560

กรรมวธิ ี pH1 Organic2 Organic Available Exchangeable
P3 (mg/kg) K4 (mg/kg)
matter(%) Carbon(%) 21
5 34
ไมใ่ สป่ ุ๋ย 4.6 0.36 0.21 9 44
20 53
ไถกลบตน้ ใบมันสำปะหลงั 3 ตันต่อไร่ 4.9 0.42 0.24 67 54
25
ใส่ปยุ๋ เคมตี ามคา่ วิเคราะห์ดนิ 4.4 0.41 0.24

ใสป่ ุย๋ เคมีตามค่าวเิ คราะห์ดิน + ปุ๋ยหมกั 1 ตันต่อไร่ 6.0 0.53 0.31

ใส่ป๋ยุ เคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน + ไถกลบต้นใบมนั 5.1 0.52 0.30

สำปะหลงั 3 ตนั ตอ่ ไร่

Peech (1965) soil : water = 1:1 2 Walkley and Black (1965)
3 Bray and Kurtz (1945) 4 Schollenberger and Simon (1945) 5 Hydrometer method

897

ตารางที่ 3 ค่าวเิ คราะห์ดนิ ก่อนปลูก ทร่ี ะดบั ความลกึ 0-20 เซนติเมตร ปี 2561

กรรมวธิ ี pH1 Organic2 Organic Available Exchangeable
P3 (mg/kg) K4 (mg/kg)
matter(%) Carbon(%) 20
5 26
ไมใ่ สป่ ๋ยุ 4.2 0.30 0.17 16 39
24 47
ไถกลบต้นใบมันสำปะหลงั 3 ตันตอ่ ไร่ 4.8 0.40 0.23 167
42
ใส่ปยุ๋ เคมีตามคา่ วิเคราะห์ดิน 4.0 0.40 0.23 30

ใส่ปุ๋ยเคมตี ามค่าวเิ คราะห์ดิน + ปุย๋ หมัก 1 ตันต่อไร่ 6.3 0.53 0.31

ใส่ปยุ๋ เคมีตามคา่ วเิ คราะห์ดนิ + ไถกลบตน้ ใบมนั

สำปะหลัง 3 ตันตอ่ ไร่ 4.3 0.56 0.32

Peech (1965) soil : water = 1:1 2 Walkley and Black (1965)
3 Bray and Kurtz (1945) 4 Schollenberger and Simon (1945) 5 Hydrometer method

ตารางท่ี 4 ค่าวเิ คราะหด์ ินก่อนปลูก ทร่ี ะดบั ความลกึ 20-50 เซนตเิ มตร ปี 2561

กรรมวิธี pH1 Organic2 Organic Available Exchangeable
P3 (mg/kg) K4 (mg/kg)
matter(%) Carbon(%) 18
4 28
ไม่ใสป่ ๋ยุ 4.1 0.34 0.20 11 36
26 39
ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลัง 3 ตนั ตอ่ ไร่ 4.7 0.44 0.25 146
45
ใสป่ ยุ๋ เคมีตามค่าวเิ คราะหด์ ิน 4.1 0.43 0.25 24

ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วเิ คราะหด์ นิ + ปุ๋ยหมัก 1 ตันต่อไร่ 6.3 0.53 0.30

ใส่ปยุ๋ เคมีตามคา่ วเิ คราะหด์ นิ + ไถกลบตน้ ใบมนั

สำปะหลงั 3 ตันตอ่ ไร่ 4.2 0.53 0.30

Peech (1965) soil : water = 1:1 2 Walkley and Black (1965)
3 Bray and Kurtz (1945) 4 Schollenberger and Simon (1945) 5 Hydrometer method

ตารางท่ี 5 ค่าวเิ คราะหด์ ินกอ่ นปลกู ที่ระดับความลกึ 0-20 เซนติเมตร ปี 2562

กรรมวิธี pH1 Organic2 Organic Available Exchangeable
P3 (mg/kg) K4 (mg/kg)
matter(%) Carbon(%) 23
40 34
ไมใ่ สป่ ยุ๋ 3.7 1.26 0.73 51 35
53 28
ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลัง 3 ตันต่อไร่ 3.5 1.35 0.78 29 29
41
ใสป่ ุ๋ยเคมีตามคา่ วิเคราะหด์ นิ 4.6 1.39 0.81

ใสป่ ุย๋ เคมตี ามค่าวเิ คราะหด์ นิ + ปุย๋ หมกั 1 ตันต่อไร่ 4.0 1.42 0.82

ใสป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวเิ คราะห์ดนิ + ไถกลบต้นใบมนั 4.1 1.19 0.69

สำปะหลัง 3 ตนั ตอ่ ไร่

Peech (1965) soil : water = 1:1 2 Walkley and Black (1965)
3 Bray and Kurtz (1945) 4 Schollenberger and Simon (1945) 5 Hydrometer method

898

ตารางท่ี 6 ค่าวิเคราะหด์ นิ กอ่ นปลกู ทร่ี ะดบั ความลกึ 20-50 เซนติเมตร ปี 2562

กรรมวิธี pH1 Organic2 Organic Available Exchangeable
P3 (mg/kg) K4 (mg/kg)
matter(%) Carbon(%) 30
25 31
ไมใ่ สป่ ุย๋ 3.9 0.86 0.50 24 41
24 27
ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลัง 3 ตนั ตอ่ ไร่ 4.0 0.84 0.49 31 25
14
ใส่ปุ๋ยเคมตี ามค่าวิเคราะห์ดิน 4.4 0.96 0.56

ใส่ปุย๋ เคมตี ามคา่ วิเคราะหด์ ิน + ปุ๋ยหมัก 1 ตันตอ่ ไร่ 4.2 0.88 0.51

ใสป่ ยุ๋ เคมีตามคา่ วเิ คราะห์ดิน + ไถกลบต้นใบมนั 4.4 0.75 0.43

สำปะหลงั 3 ตันต่อไร่

Peech (1965) soil : water = 1:1 2 Walkley and Black (1965)
3 Bray and Kurtz (1945) 4 Schollenberger and Simon (1945) 5 Hydrometer method

ตารางท่ี 7 ความสูงของมันสำปะหลงั ทีม่ จี ัดการปยุ๋ และไถกลบเศษซากพืชลงดินอยา่ งตอ่ เน่อื งระยะยาวอายุ ปี

2560

กรรมวธิ ี ความสงู (ซม.)

3 เดือน 6 เดอื น 9 เดอื น

ไมใ่ สป่ ยุ๋ 59 d 97 d 94 c

ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลัง 3 ตันตอ่ ไร่ 73 cd 133 cd 145 b

ใส่ปุ๋ยเคมตี ามค่าวิเคราะหด์ ิน 97 bc 156 bc 164 b

ใส่ปยุ๋ เคมตี ามค่าวิเคราะห์ดนิ + ปยุ๋ หมัก 1 ตันตอ่ ไร่ 118 ab 194 ab 210 a

ใส่ปยุ๋ เคมตี ามคา่ วเิ คราะหด์ ิน + ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลัง 3 ตันตอ่ ไร่ 124 a 199 a 220 a

F-test * * *

CV (%) 18.20 17.05 17.22

ตัวเลขที่อยใู่ นช่วงสดมภเ์ ดยี วกนั ทม่ี อี กั ษรเหมอื นกัน ไมแ่ ตกตา่ งกนั ในทางสถติ ิทร่ี ะดบั ความเช่อื มน่ั 95%

ตารางที่ 8 ผลผลิต เปอร์เซ็นต์แป้งและผลผลิตแป้งของมันสำปะหลังที่มีจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืช

ลงดินอย่างตอ่ เน่อื งระยะยาวอายุ 11 เดือน ปี 2560

กรรมวิธี ผลผลติ เปอรเ์ ซน็ ต์แป้ง ผลผลติ แปง้ (กก./

(กก./ไร)่ ไร)่

ไม่ใส่ปุ๋ย 773 c 27.43 212 c

ไถกลบต้นใบมันสำปะหลงั 3 ตนั ตอ่ ไร่ 2,573 b 23.90 614 bc

ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวเิ คราะหด์ ิน 3,242 b 23.50 776 b

ใสป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะหด์ นิ + ปุ๋ยหมกั 1 ตันต่อไร่ 6,071 a 24.27 1,463 a

ใสป่ ยุ๋ เคมีตามคา่ วเิ คราะหด์ ิน + ไถกลบตน้ ใบมันสำปะหลัง 3 5,552 a 24.80 1,379 a

ตันตอ่ ไร่

F-test * ns *

CV (%) 24.91 6.80 26.28

ตวั เลขทอี่ ยู่ในชว่ งสดมภ์เดยี วกันทีม่ อี กั ษรเหมือนกัน ไม่แตกตา่ งกันในทางสถติ ิทรี่ ะดับความเชือ่ ม่นั 95%

899

ตารางที่ 9 ความสงู ของมันสำปะหลงั ทม่ี ีจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืชลงดินอยา่ งตอ่ เน่อื งระยะยาว ปี 2561

กรรมวธิ ี ความสูง (ซม.)

3 เดือน 6 เดอื น 9 เดอื น

ไม่ใสป่ ุ๋ย 45 b 86 d 104

ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลัง 3 ตนั ตอ่ ไร่ 48 b 119 c 156

ใส่ปุ๋ยเคมตี ามค่าวิเคราะหด์ นิ 64 ab 137 bc 174

ใส่ปยุ๋ เคมีตามค่าวเิ คราะหด์ นิ + ปยุ๋ หมัก 1 ตันตอ่ ไร่ 59 ab 156 ab 189

ใส่ปยุ๋ เคมีตามคา่ วิเคราะหด์ ิน + ไถกลบต้นใบมันสำปะหลงั 3 ตันต่อไร่ 70 a 169 a 145

F-test * * ns

CV (%) 21.48 13.08 9.13

ตวั เลขทอี่ ยูใ่ นชว่ งสดมภเ์ ดยี วกันท่ีมีอักษรเหมือนกัน ไมแ่ ตกตา่ งกันในทางสถติ ทิ ่ีระดบั ความเชื่อมนั่ 95%

ตารางที่ 10 ผลผลติ เปอรเ์ ซ็นต์แป้งและผลผลิตแป้งของมันสำปะหลังที่มีจัดการป๋ยุ และไถกลบเศษซากพืชลงดิน

อยา่ งตอ่ เนือ่ งระยะยาวอายุ 11 เดอื น ปี 2561

กรรมวิธี ผลผลิต เปอรเ์ ซ็นตแ์ ป้ง ผลผลติ แป้ง
(กก./ไร่) (กก./ไร)่

ไมใ่ สป่ ๋ยุ 584 d 24.35 a 142 c

ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลงั 3 ตนั ตอ่ ไร่ 1,786 cd 22.23 b 397 bc

ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วิเคราะห์ดิน 3,713 ab 22.48 b 826 a

ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วเิ คราะหด์ นิ + ป๋ยุ หมัก 1 ตันตอ่ ไร่ 2,730 bc 19.75 c 538 b

ใส่ปยุ๋ เคมีตามคา่ วิเคราะห์ดนิ + ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลัง 3 ตนั 4,309 a 22.90 ab 976 a
ตอ่ ไร่

F-test * * *

CV (%) 36.08 4.95 32.33

ตัวเลขที่อยู่ในช่วงสดมภ์เดยี วกนั ทม่ี ีอักษรเหมือนกนั ไม่แตกต่างกนั ในทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั ความเชือ่ มนั่ 95%

ตารางท่ี 11 ความสูงของมนั สำปะหลงั ท่มี ีจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืชลงดินอย่างต่อเนอ่ื งระยะยาว ปี 2562

กรรมวิธี ความสูง (ซม.)

3 เดือน 6 เดอื น 9 เดอื น

ไมใ่ สป่ ๋ยุ 79 c 101 c 122 c

ไถกลบต้นใบมันสำปะหลงั 3 ตนั ตอ่ ไร่ 111 b 137 b 170 b

ใสป่ ยุ๋ เคมีตามค่าวเิ คราะหด์ นิ 118 b 152 b 180 b

ใสป่ ยุ๋ เคมตี ามค่าวเิ คราะหด์ ิน + ปยุ๋ หมัก 1 ตันตอ่ ไร่ 123 b 154 b 214 a

ใสป่ ยุ๋ เคมีตามค่าวเิ คราะห์ดนิ + ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลงั 3 ตนั ตอ่ ไร่ 149 a 185 a 221 a

F-test * * *

CV (%) 10.37 10.84 8.48

ตวั เลขท่อี ยใู่ นช่วงสดมภ์เดียวกันท่ีมอี กั ษรเหมอื นกนั ไม่แตกตา่ งกันในทางสถติ ิทร่ี ะดับความเชอื่ มัน่ 95%

900

ตารางท่ี 12 ผลผลติ เปอร์เซน็ ตแ์ ป้งและผลผลิตแป้งของมนั สำปะหลงั ที่มีจัดการป๋ยุ และไถกลบเศษซากพืชลงดิน

อย่างตอ่ เน่ืองระยะยาวอายุ 12 เดอื น

กรรมวิธี ผลผลติ เปอร์เซ็นตแ์ ป้ง ผลผลติ แป้ง

ไมใ่ ส่ปยุ๋ (ก9ก50./ไbร)่ 25.93 a (ก2ก46./ไbร)่

ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลัง 3 ตันตอ่ ไร่ 4,523 a 23.75 ab 1,068 a

ใส่ปยุ๋ เคมตี ามคา่ วเิ คราะห์ดิน 3,702 a 22.50 b 849 a

ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามค่าวเิ คราะห์ดนิ + ปยุ๋ หมกั 1 ตันตอ่ ไร่ 3,497 a 24.70 ab 839 a

ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วเิ คราะห์ดนิ + ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลงั 3 4,187 a 22.88 b 957 a

ตันตอ่ ไร่ F-test * ns *

CV (%) 42.81 8.24 43.67

ตัวเลขทอ่ี ย่ใู นชว่ งสดมภ์เดียวกันทม่ี ีอกั ษรเหมอื นกนั ไม่แตกต่างกนั ในทางสถิติทรี่ ะดบั ความเชื่อมัน่ 95%

ตารางท่ี 13 ปริมาณอินทรยี ์คาร์บอน (ร้อยละ) ในหัว ลำต้น ใบและเหง้าของมันสำปะหลังที่มจี ัดการปุ๋ยและไถ

กลบเศษซากพืชลงดินอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ปี 2560

กรรมวธิ ี ปริมาณอนิ ทรียค์ าร์บอน (ร้อยละ)

หัว ลำตน้ ใบ เหง้า

ไมใ่ สป่ ุ๋ย 42.5 b 41.5 43.5 44.5 ab

ไถกลบตน้ ใบมันสำปะหลงั 3 ตนั ตอ่ ไร่ 48.8 ab 41.8 40.0 47.8 a

ใส่ปยุ๋ เคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน 46.8 ab 47.3 36.0 41.5 ab

ใส่ปุ๋ยเคมตี ามค่าวเิ คราะหด์ ิน + ปยุ๋ หมัก 1 ตันต่อไร่ 45.5 ab 42.8 43.0 42.8 ab

ใส่ปยุ๋ เคมตี ามคา่ วิเคราะหด์ ิน + ไถกลบต้นใบมัน 50.3 a 43.5 39.3 37.3 b

สำปะหลงั 3 ตนั ต่อไร่

F-test * ns ns *

CV (%) 9.75 19.94 16.63 13.21

ตัวเลขท่ีอยูใ่ นช่วงสดมภ์เดยี วกันท่มี อี ักษรเหมือนกนั ไมแ่ ตกต่างกันในทางสถติ ทิ ่รี ะดับความเช่อื มนั่ 95%

901

ตารางท่ี 14 ปริมาณอินทรยี ์คาร์บอน (ร้อยละ) ในหวั ลำต้น ใบและเหงา้ ของมนั สำปะหลังทีม่ ีจดั การป๋ยุ และไถ

กลบเศษซากพชื ลงดนิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ปี 2561

กรรมวธิ ี ปริมาณอนิ ทรียค์ าร์บอน (รอ้ ยละ)

หวั ลำต้น ใบ เหง้า

ไม่ใสป่ ุ๋ย 25.0 ab 49.8 30.8 40.3

ไถกลบต้นใบมันสำปะหลงั 3 ตันต่อไร่ 29.8 a 46.8 27.3 40.3

ใส่ปุ๋ยเคมีตามคา่ วเิ คราะห์ดิน 19.8 b 44.3 28.0 38.8

ใส่ปยุ๋ เคมตี ามค่าวเิ คราะห์ดนิ + ปุย๋ หมกั 1 ตันต่อไร่ 23.3 b 55.5 31.5 43.3

ใสป่ ยุ๋ เคมีตามคา่ วเิ คราะห์ดิน + ไถกลบตน้ ใบมนั 24.3 ab 47.8 31.8 42.5

สำปะหลงั 3 ตนั ต่อไร่

F-test * ns ns ns

CV (%) 15.72 21.2 17.34 11.64

*ตวั เลขทอ่ี ยูใ่ นช่วงสดมภเ์ ดยี วกนั ทม่ี ีอกั ษรเหมือนกนั ไมแ่ ตกต่างกันในทางสถิติท่ีระดับความเชอ่ื มนั่ 95%

ตารางท่ี 15 ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน (ร้อยละ) ในหัว ลำต้น ใบและเหง้าของมันสำปะหลังที่มจี ัดการปุ๋ยและไถ

กลบเศษซากพชื ลงดนิ อย่างต่อเนอื่ ง ปี 2562

กรรมวิธี ปริมาณอนิ ทรีย์คารบ์ อน (ร้อยละ)

หวั ลำต้น ใบ เหงา้

ไม่ใสป่ ยุ๋ 52.60 51.14 44.32 44.8

ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลงั 3 ตันต่อไร่ 51.16 49.67 45.29 47.73

ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วิเคราะห์ดนิ 51.29 49.19 45.78 47.24

ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามค่าวิเคราะห์ดนิ + ปุ๋ยหมกั 1 ตันต่อไร่ 50.16 48.21 42.37 46.27

ใส่ปยุ๋ เคมีตามค่าวิเคราะหด์ ิน + ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลงั 49.67 50.16 44.8 42.86

3 ตันตอ่ ไร่

F-test * ns ns ns

CV (%) 2.15 3.28 2.98 4.69

*ตัวเลขทีอ่ ยู่ในช่วงสดมภเ์ ดยี วกนั ท่มี ีอกั ษรเหมือนกัน ไมแ่ ตกตา่ งกนั ในทางสถติ ิที่ระดบั ความเชื่อมน่ั 95%

ตารางที่ 16 ปรมิ าณอนิ ทรยี ค์ าร์บอน (กก. C/ไร่) ในหัวของมนั สำปะหลังที่มจี ัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืชลง

ดนิ อยา่ งตอ่ เนื่อง ปี 2560-2563

กรรมวิธี ปรมิ าณอินทรีย์คารบ์ อน (กก. C/ไร่)

2560 2561 2562 รวม

ไมใ่ สป่ ยุ๋ 158 57 71 286

ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลงั 3 ตันต่อไร่ 383 203 355 942

ใส่ปยุ๋ เคมตี ามค่าวิเคราะหด์ นิ 552 267 705 1,524

ใสป่ ุ๋ยเคมีตามคา่ วเิ คราะหด์ ิน + ปุ๋ยหมกั 1 ตันตอ่ ไร่ 828 224 590 1,643

ใส่ปุ๋ยเคมีตามคา่ วิเคราะห์ดิน + ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลงั 770 384 1,034 2,188

3 ตนั ต่อไร่

902

ตารางที่ 17 ปรมิ าณอนิ ทรยี ค์ าร์บอน (กก. C/ไร่) ในลำตน้ ของมันสำปะหลงั ทม่ี จี ัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืช

ลงดนิ อย่างต่อเนอื่ ง ปี 2560-2563

กรรมวิธี ปรมิ าณอนิ ทรีย์คาร์บอน (กก. C/ไร่)

2560 2561 2562 รวม

ไม่ใสป่ ยุ๋ 37 25 13 75

ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลงั 3 ตนั ต่อไร่ 74 49 69 193

ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วเิ คราะห์ดนิ 141 99 164 405

ใสป่ ยุ๋ เคมตี ามคา่ วิเคราะหด์ นิ + ปยุ๋ หมัก 1 ตันตอ่ ไร่ 279 165 210 654

ใสป่ ยุ๋ เคมตี ามค่าวเิ คราะหด์ ิน + ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลัง 290 177 526 993

3 ตนั ต่อไร่

ตารางที่ 18 ปริมาณอนิ ทรยี ค์ าร์บอน (กก. C/ไร่) ในใบของมันสำปะหลังที่มีจดั การปยุ๋ และไถกลบเศษซากพืชลง

ดินอยา่ งต่อเนือ่ ง ปี 2560-2563

กรรมวิธี ปริมาณอนิ ทรีย์คารบ์ อน (กก. C/ไร่)

2560 2561 2562 รวม

ไมใ่ สป่ ยุ๋ 6 9 3 19

ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลัง 3 ตันตอ่ ไร่ 20 16 14 51

ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามค่าวิเคราะหด์ นิ 22 28 28 79

ใส่ปยุ๋ เคมีตามค่าวเิ คราะห์ดิน + ปุ๋ยหมกั 1 ตันตอ่ ไร่ 53 36 31 119

ใสป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดนิ + ไถกลบต้นใบมันสำปะหลัง 40 40 82 162

3 ตนั ตอ่ ไร่

ตารางที่ 19 ปรมิ าณอนิ ทรีย์คาร์บอน (กก. C/ไร่) ในเหง้าของมันสำปะหลังทีม่ ีจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืช

ลงดินอยา่ งต่อเนือ่ ง ปี 2560-2563

กรรมวธิ ี ปริมาณอนิ ทรยี ์คารบ์ อน (กก. C/ไร่)

2560 2561 2562 รวม

ไม่ใสป่ ๋ยุ 14 14 5 33

ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลัง 3 ตนั ต่อไร่ 25 25 19 69

ใสป่ ุ๋ยเคมีตามคา่ วเิ คราะหด์ นิ 18 29 57 104

ใส่ปุ๋ยเคมตี ามคา่ วเิ คราะห์ดนิ + ปยุ๋ หมกั 1 ตันต่อไร่ 62 48 52 161

ใสป่ ยุ๋ เคมตี ามค่าวิเคราะห์ดิน + ไถกลบตน้ ใบมนั สำปะหลัง 44 50 107 201

3 ตนั ต่อไร่

903

ตารางที่ 20 ปริมาณอินทรีย์คาร์บอนในดินของมันสำปะหลังท่ีมีจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืชลงดินอย่าง

ตอ่ เนอื่ งที่ระดบั ความลึก 0-20 เซนติเมตร

Av. SOC Av. SOC End Change of SOC

กรรมวธิ ี start (gC kg-1) content
(gC kg-1) 2562/63 (gC kg-1 year-1)

2560/61

ไมใ่ ส่ปยุ๋ 2.30 1.90 62

ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลัง 3 ตันตอ่ ไร่ 3.20 2.35 76

ใสป่ ยุ๋ เคมตี ามค่าวิเคราะห์ดิน 2.60 2.35 76

ใส่ปยุ๋ เคมีตามคา่ วเิ คราะห์ดิน + ปุ๋ยหมัก 1 ตันต่อไร่ 4.00 3.10 100

ใส่ป๋ยุ เคมีตามคา่ วิเคราะหด์ นิ + ไถกลบต้นใบมัน 3.60 3.10 100

สำปะหลงั 3 ตนั ตอ่ ไร่

ตารางที่ 21 ปรมิ าณการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากผวิ ดนิ ในมนั สำปะหลังที่มีจัดการปุ๋ยและ
ไถกลบเศษซากพชื ลงดินอยา่ งต่อเนื่อง

กรรมวิธี CO2 CO2 emission from Average* Average C
emission soil surface (t CO2 rai-1 loss *
(g CO2 m-
2day-1) (t CO2 rai-1 year-1) year-1) (kg C-CO2 rai-
2560/ 2561/ 2562/ 1 year-1)

61 62 63

ไมใ่ สป่ ุ๋ย 3.84 18.36 19.81 20.65 19.61

ไถกลบต้นใบมนั สำปะหลัง 3 ตนั ต่อไร่ 4.97 32.59 30.15 20.89 27.88

ใส่ปุ๋ยเคมตี ามคา่ วิเคราะหด์ นิ 4.45 23.98 26.63 21.19 23.93

ใส่ป๋ยุ เคมีตามค่าวิเคราะห์ดนิ + ปุย๋ หมัก 1 5.14 34.43 29.16 21.19 28.26

ตันตอ่ ไร่

ใส่ป๋ยุ เคมีตามคา่ วิเคราะหด์ นิ + ไถกลบต้นใบ 5.24 30.47 36.29 21.77 29.51

มนั สำปะหลงั 3 ตนั ต่อไร่

904
ภาพที่ 1 ปริมาณนำ้ ฝน อุณหภูมิสงู สดุ -ตำ่ สดุ ภายในแปลงทดลองศูนยว์ ิจยั พชื ไรข่ อนแกน่ ปี 2561/62
ภาพท่ี 2 ปริมาณนำ้ ฝน อุณหภูมิสูงสดุ -ตำ่ สดุ ภายในแปลงทดลองศูนยว์ จิ ยั พชื ไร่ขอนแกน่ ปี 2561/62
ภาพท่ี 3 ปริมาณนำ้ ฝน อุณหภมู ิสงู สุด-ตำ่ สุด ภายในแปลงทดลองศนู ยว์ จิ ยั พชื ไร่ขอนแก่น ปี 2562/63

905

mg CO2/m2/d

2,500,001

2,036,932 2,152,033

2,000,001 1,904,091

1,500,001 1,498,882
1,000,001
1,147,462

500,001

1

ไม่ใสป่ ๋ยุ ไถกลบต้นใบมนั สําปะหลงั 3 ตันต่อ ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามค่าวเิ คราะห์ดิน ใสป่ ๋ยุ เคมตี ามค่าวิเคราะห์ดิน + ปุ๋ย ใส่ปุย๋ เคมีตามค่าวเิ คราะหด์ นิ + ไถ

ไร่ หมกั 1 ตันตอ่ ไร่ กลบตน้ ใบมนั สําปะหลงั 3 ตนั ตอ่ ไร่

ภาพท่ี 4 ปริมาณกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ ในแปลงทีม่ ีการจดั การปุ๋ยและไถกลบเศษซากพชื ลงดินอย่างตอ่ เนื่อง
ระยะยาวอายุ 329 วนั หลังปลูก วดั โดยประยุกต์จากวิธขี อง Anderson (1982) แปลงปลกู 2560

mg CO2/m2/d 2,268,165
2,500,000

2,000,000 1,884,111 1,822,462

1,664,647

1,500,000 1,238,049
1,000,000

500,000

-

ไม่ใส่ปุ๋ย ไถกลบตน้ ใบมนั สําปะหลัง 3 ตันต่อ ใสป่ ๋ยุ เคมตี ามค่าวเิ คราะห์ดิน ใสป่ ุย๋ เคมตี ามค่าวเิ คราะหด์ ิน + ปุย๋ ใสป่ ๋ยุ เคมีตามคา่ วเิ คราะหด์ ิน + ไถ

ไร่ หมกั 1 ตนั ต่อไร่ กลบต้นใบมันสาํ ปะหลงั 3 ตันต่อไร่

ภาพท่ี 5 ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในแปลงท่ีมีการจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืชลงดนิ อยา่ งตอ่ เน่ือง
ระยะยาวอายุ 349 วนั หลงั ปลกู วดั โดยประยกุ ตจ์ ากวิธขี อง Anderson (1982) แปลงปลกู 2561

906

mg CO2/m2/341d 1,360,839
1,380,000

1,360,000

1,340,000 1,324,270 1,324,352
1,320,000
1,300,000 1,305,898
1,280,000
1,290,891

1,260,000

กรรมวิธี

1,240,000

ไมใ่ ส่ปยุ๋ ไถกลบตน้ ใบมันสาํ ปะหลัง 3 ตนั ตอ่ ใส่ปุ๋ยเคมตี ามค่าวิเคราะห์ดิน ใส่ปุย๋ เคมตี ามค่าวิเคราะหด์ ิน + ปุ๋ย ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วเิ คราะหด์ นิ + ไถ

ไร่ หมัก 1 ตันต่อไร่ กลบต้นใบมันสําปะหลงั 3 ตันต่อไร่

ภาพที่ 6 ปรมิ าณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในแปลงท่ีมีการจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืชลงดนิ อยา่ งต่อเนอ่ื ง

ระยะยาวอายุ 341 วนั หลงั ปลูก วัดโดยประยกุ ตจ์ ากวิธีของ Anderson (1982) แปลงปลกู 2562

ภาพที่ 7 ปรมิ าณกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ในแปลงท่ีมีการจัดการปุ๋ยและไถกลบเศษซากพืชลงดนิ อย่างตอ่ เน่อื ง
ระยะยาวแปลงปลูก 2560-2562 วัดโดยประยุกต์จากวิธีของ Anderson (1982)

907

ภาพที่ 8 ปรมิ าณการปลดปล่อย CO2 จากพืน้ ท่ีแปลงทีม่ ีการจัดการปยุ๋ และไถกลบเศษซากพืชลงดินอย่างตอ่ เนือ่ ง
ระยะยาวโดยประยุกต์จากวิธขี อง Anderson (1982)

สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
จากผลการทดลองการใสป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวเิ คราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยหมกั 1 ตันต่อไร่ต่อปี ใหผ้ ลผลิตหัวสดและ
ผลผลิตแป้งแตกต่างกับกรรมวธิ ีอืน่ อย่างมีนัยสำคญั จากขอ้ มลู พบวา่ กรรมวธิ ที ่ใี สป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวเิ คราะหด์ ินร่วมกับ
สับกลบต้นใบมันสำปะหลัง อัตรา 3 ตันต่อไร่ปริมาณอินทรีย์คาร์บอนสะสมรวม 3 ปี ในหัวมันสำปะหลังซึ่งเปน็
สว่ นท่นี ำออกจากพนื้ ท่ีคิดเปน็ 2,188 กก. C/ไร่ สว่ นของลำตน้ ใบและเหง้าของมนั สำปะหลงั ซ่ึงเป็นส่วนท่ีใส่คืน
กลับลงพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเป็นคาร์บอนที่เก็บกักในพื้นที่ปลูกมีประมาณ 993 162 และ 201 กก. C/ไร่
ตามลำดับ และการใสป่ ุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินรว่ มกับปุ๋ยหมกั 1-3 ตันต่อไร่ตอ่ ปียงั เป็นกรรมวิธีท่ีทำให้ปริมาณ
การปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์สะสมในพืน้ ทป่ี ลูกมันสำปะหลงั มากทีส่ ดุ

เอกสารอ้างอิง

Bray, R.H. and L.T. Kurtz. 1945. Determination of total organic and available forms of phosphorus in soils. Soil
Sci. 59: 39-45.

Page, A.L., R.H. Miller and D.R. Keey. 1982. Methods of soil analysis part 2 : chemical and microbiological
propertics second edition Agronomy No. 9 ASA, SSSA. Madison, Wisconsin, USA. 1159 p.

Peech,M. 1965. Soil pH by glass electrode pH meter, pp. 914-925. In C.A. Black, D.D.Evans, R.L. White,
L.E.Ensminger, F.E. Clark and R.C. Dinsuer (eds). Method of Soil Analysis Part 2 : Physical and
microbiological Propertics, Including Statistics of Measurement and Sampling American Society of
Agronomy Inc., Pubisher Madison,USA.

Schollenberger, C.L. and R.H. Simon. 1945. Determination of exchange capacity and exchangeable bases in soil-
ammonium acetate method. Soil Sci. 59:13-24.

Walkley, A. and C.A. Black. 1934. An examination of Degtjareff method for determining soil organic matter and
a proposed modification of the chromic acid titration method. Soil Sci. 37: 29-37.

908

การศึกษาการจัดการปยุ๋ และระบบปลูกพชื อย่างต่อเนือ่ งระยะยาวต่อการเปล่ยี นแปลงคุณภาพดนิ
และการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกในระบบการผลติ มนั สำปะหลัง จ. ขอนแก่น

Fertilizer management and cropping systems to soil quality and greenhouse gas
emission in cassava production long-term

เนตริ ฐั ชุมสวุ รรณ1* ชยันต์ ภักดไี ทย1 วนิดา โนนบรรเทา2 และ เจิม จาบประโคน1

บทคัดยอ่
ศึกษาการจัดการปุ๋ยและระบบปลูกที่เหมาะสมในระบบการผลิตมันสำปะหลังระยะยาว เพื่อเพ่ิม
ประสิทธิภาพการกักเกบ็ คาร์บอนไว้ในดิน และลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ ดำเนินงานทดลอง ใน
แปลงทดลองที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ในชุดดินยโสธร (fine-loamy, siliceous isohyperthermic, Oxic
Paleustult) วางแผนการทดลองแบบ Split plot จำนวน 3 ซ้ำ ปัจจัยหลัก ระบบปลูกพืช 3 ระบบ ได้แก่ 1)
ระบบต่อเนอ่ื ง ปลกู มนั สำปะหลงั ตอ่ เนอื่ งทกุ ปี 2) ระบบหมุนเวยี น ปลกู มันสำปะหลงั หมนุ เวียนกับกับพืชตระกูล
ถัว่ (ถ่วั เขยี วตามด้วยถั่วพุ่ม) ปเี วน้ ปี 3) ระบบปลกู มันสำปะหลังแซมด้วยพืชตระกูลถ่ัว (ถ่ัวเขียวแซมระหว่างแถว
มันสำปะหลัง) ทกุ ปี และปัจจัยรอง การจดั การปุ๋ย 6 วธิ ี คอื 1) ไมใ่ ส่ปยุ๋ 2) ใส่ปยุ๋ อินทรีย์ อัตรา 1 ตันต่อไร่ 3) ใส่
ป๋ยุ เคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ 4) ใส่ปยุ๋ อินทรีย์ อตั รา 1 ตันตอ่ ไร่ ร่วมกบั ปยุ๋ เคมี เกรด 15-7-18
15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ 5) ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 15-7-18
อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ 6) ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 0.5 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 15-7-18 อัตรา 50
กิโลกรัมต่อไร่ จากงานวิจัยพบว่า การจัดการปุ๋ยมีผลต่อการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากผิวดินสู่
บรรยากาศ โดยการใส่ปุย๋ อินทรีย์ อัตรา 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรมั
ต่อไร่ ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุด เฉลี่ย 3.95 ตัน CO2 ต่อไร่ต่อปี ในขณะที่การไม่ใส่ปุ๋ย
ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์น้อยที่สุด เฉลี่ย 3.46 ตัน CO2 ต่อไร่ต่อปี อย่างไรก็ตามควรพิจารณา
ประสิทธิภาพการผลิตที่สามารถรักษาคุณภาพดินและไม่สง่ ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม ซงึ่ จะเห็นได้ว่าการใส่ปุ๋ยเคมี
เกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นกรรมวิธีที่เหมาะสมสำหรบั การผลิตมนั สำปะหลัง และควรมีการไถ
กลบเศษซากพชื หรอื ใสป่ ุ๋ยอินทรียห์ รอื ปลูกมันสำปะหลังหมนุ เวยี นพชื ตระกูลถ่ัวเพื่อเพม่ิ อนิ ทรยี ค์ าร์บอนในดิน

คำสำคัญ: ธนาคารคารบ์ อน การกกั เก็บคาร์บอน ระบบปลกู การจดั การปุย๋ มนั สำปะหลัง

1ศูนยว์ ิจัยพืชไร่ขอนแกน่ สถาบันวิจยั พืชไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่
2กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา สำนกั วจิ ยั พัฒนาปัจจยั การผลติ การเกษตร กรุงเทพฯ

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

909

คำนำ
ภาวะโลกร้อนหรอื ในบางครง้ั เรียกว่า การเปลีย่ นแปลงภมู ิอากาศ (climate change) คือปรากฏการณ์ท่ี
อณุ หภมู ิเฉลี่ยของผวิ โลก และมหาสมทุ รสงู ข้นึ มสี าเหตจุ ากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกหลัก 6 ชนดิ ไดแ้ ก่ ไอ
น้ำ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ ก๊าซมีเทน ก๊าซไนตรัสออกไซค์ สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) และก๊าซโอโซน
(The Nation Academies Report, 2008) ทั้งจากภาคอุตสาหกรรมและการเกษตร เนื่องมาจากกิจกรรมความ
ต้องการของมนุษย์ซึ่งเพิ่มขึ้นตามจำนวนประชากรโลก พื้นที่เกษตรเป็นแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญ
เนื่องจากทั่วโลกมีพื้นที่เกษตรถึง 5,023 ล้านเฮกตาร์ หรือร้อยละ 40 – 50 ของพื้นที่ผิวโลก โดยก๊าซคารบ์ อนได
ออกไซค์มีการปลดปล่อยมากที่สุด รองลงมาคือ ก๊าซมีเทน และก๊าซไนตรัสออกไซค์ (Jones and Briffa, 1992)
การกักเกบ็ คาร์บอน (carbon storage) ในพ้ืนท่เี กษตรเปน็ แนวทางหนึ่งท่ีหลายประเทศนำไปใช้เพ่ือประโยชน์ใน
การลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ โดยอาศัยการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis) ของพืช
ตรึงคารบ์ อนไดออกไซดไ์ ปเกบ็ สะสมไว้ในสว่ นเน้ือเยื่อพชื (ลำต้น ใบ ผล ราก) และเมอ่ื นำเศษซากเหล่านี้ใสก่ ลบั คืน
ลงไปในดนิ สารอนิ ทรยี ์เหล่านี้จงึ ถูกยอ่ ยสลาย และส่วนที่ย่อยสลายยากจะเหลือตกค้างอยูใ่ นรูปของฮิวมัสซ่ึงเป็น
องค์ประกอบหลักของอินทรียวัตถุ เรียกว่ากระบวนการดังกล่าวว่า กระบวนการกักเก็บคาร์บอน (Soil Carbon
Sequestration) (Lal, 2004; Lal et al., 2007; Yonekura et al., 2010) ปริมาณคาร์บอนในดินที่ถูกกักเกบ็ ไว้
ในดินมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นกับหลายปัจจัย แต่ปัจจัยหลักๆ ได้แก่ การใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพ
ภูมิอากาศ และการทำการเกษตร ทำให้อัตราการย่อยสลายของอินทรียวัตถุในดินและการปลดปล่อยคาร์บอนสู่
บรรยากาศ ในทางกลับกันหากมีการจัดการดิน ปุ๋ย น้ำ และพืชอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพกับพื้นที่ปลูก
พื้นท่ที ำการเกษตรจะเป็นแหลง่ กกั เกบ็ คารบ์ อนท่ีสำคัญแหลง่ หนง่ึ ดงั นั้นงานวจิ ัยนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบ
ปลูกพืชร่วมกบั การจดั การป๋ยุ ทีเ่ หมาะสม เพ่อื เพิ่มประสทิ ธิภาพการกกั เก็บคาร์บอนไว้ในดินและลดการปลดปล่อย
กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซค์ ในระบบปลกู มนั สำปะหลังระยะยาว

วิธดี ำเนนิ การ
อปุ กรณ์

- ระบุอุปกรณ์ท่สี ำคญั เชน่ เครอื่ งมือ พนั ธ์ุ สารเคมี ปุ๋ย ฯลฯ
- มนั สำปะหลังพนั ธุ์ระยอง 86-13
- เมล็ดพันธถ์ุ วั่ เขยี วพนั ธช์ุ ยั นาถ 84-1
- เมล็ดพันธ์ุถัว่ พมุ่ พันธ์ุอบุ ลราชธานี 1
- ป๋ยุ เคมีเกรด 15-7-18 และ 12-24-12
- ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ (ปุ๋ยหมักกากตะกอนหมอ้ กรอง)
- อปุ กรณส์ ำหรบั ดักจับก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ ไดแ้ ก่ กระปอ๋ งพลาสตกิ ขวดแก้ว และฐานรองทเี่ ป็น
ตะแกรง
- สว่านเกบ็ ตวั อย่างดนิ และอปุ กรณเ์ กบ็ ตัวอยา่ งดนิ แบบ Undisturbed core sample

910

- เครื่องมือวทิ ยาศาสตร์ (pH meter, EC meter, AAS และ spectrophotometer) เคร่ืองแกว้ และ
สารเคมีสำหรบั วเิ คราะหธ์ าตุอาหารในดนิ และพชื
- อุปกรณ์เกบ็ ตวั อย่างพชื ไดแ้ ก่ ถุงพลาสติก ถงุ กระดาษ ถุงตาข่าย และกรรไกร
- เครอ่ื งวัดหาปรมิ าณแป้งแบบ Riemann scale
- อุปกรณ์เก็บขอ้ มูล ไดแ้ ก่ เคร่อื งช่ัง 2, 3 และ 4 ตำแหน่ง ตาช่ังขนาด 3, 20 และ 60 กิโลกรัม
วธิ ีการ
การศกึ ษาการจดั การปุ๋ยและระบบปลกู พืชอย่างต่อเนอ่ื งระยะยาวตอ่ การเปลีย่ นแปลงคุณภาพดนิ และการ
ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกในระบบการผลิตมันสำปะหลงั จ. ขอนแก่น ดำเนนิ การทดลองในดนิ ร่วนปนทราย ชุดดนิ
ยโสธร (fine-loamy, siliceous, semiactive, isohyperthermic, Typic Paleustults) แปลงมันสำปะหลงั ระยะ
ยาว ณ ศูนยว์ ิจยั พืชไรข่ อนแก่น วางแผนการทดลองแบบ Split plot จำนวน 3 ซ้ำ ดงั น้ี

ปัจจยั หลกั คือ ระบบปลูกพืช (Cropping system : M) ไดแ้ ก่
C1 = ปลกู มันสำปะหลงั ตอ่ เนื่องทุกปี
C2 = ปลูกมันสำปะหลงั หมนุ เวยี นกับพืชตระกลู ถว่ั (ถัว่ เขียวตามด้วยถ่ัวพุ่ม) ปีเว้นปี
C3 = ปลูกมนั สำปะหลงั แซมดว้ ยพชื ตระกลู ถว่ั (ถ่ัวเขียวแซมระหว่างแถวมันสำปะหลัง)

ทกุ ปี
ปัจจยั รอง คอื การจดั การปุ๋ย (Fertilizer management : F) ไดแ้ ก่

F1 = ไมใ่ สป่ ยุ๋
F2 = ใส่ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ (ปยุ๋ หมกั กากตะกอนหม้อกรอง) อัตรา 1 ตนั ตอ่ ไร่
F3 = ใส่ปยุ๋ เคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมตอ่ ไร่
F4 = กรรมวธิ ีท่ี 2 + กรรมวธิ ที ่ี 3
F5 = กรรมวิธที ี่ 2 + 1/2กรรมวธิ ที ี่ 3
F6 = 1/2กรรมวิธีที่ 2 + 1/2กรรมวธิ ที ี่ 3
ดำเนินการทดลองในแปลงย่อยขนาด 7x8 เมตร (พื้นที่เก็บเกี่ยว 5x6 เมตร) หว่านปุ๋ยหมักกากตะกอน
หม้อกรองอ้อยให้ทั่วแปลงแล้วพรวนกลบก่อนปลูก 1-2 สัปดาห์ ระบบปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องทุกปี ปลูกมัน
สำปะหลงั ตน้ ฤดูฝน โดยใช้มันสำปะหลงั พนั ธุ์ระยอง 86-13 ใช้ระยะปลูก 1x1 เมตร ใสป่ ุ๋ยเคมีครั้งเดียวหลงั ปลกู 1 -
2 เดือน หลังการกำจัดวัชพืช โดยใส่ปุ๋ยสองข้าง ห่างจากต้น 20-30 เซนติเมตร และพรวนดินกลบ ระบบปลูกมัน
สำปะหลังหมนุ เวยี นพืชตระกูลถว่ั (ถว่ั เขยี วตามดว้ ยถ่ัวพมุ่ ) ปีเวน้ ปี ปลูกมนั สำปะหลงั 1 ปี (เหมือนระบบปลูกมัน
สำปะหลังต่อเนื่องทุกปี) แล้วปีต่อไปปลูกถั่วเขยี วพันธ์ุชัยนาท 84-1 ตามด้วยถั่วพุ่มพันธ์ุอุบลราชธานี ระยะปลูก
50x50 เซนติเมตร ปลกู 2 ตน้ ต่อหลุม สำหรับถ่วั เขียวใส่ปุ๋ยเคมีเกรด 12-24-12 อตั รา 25 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ เก็บเก่ียว
ถวั่ เขียวเมอื่ ฝักแกเ่ ต็มที่ และสับซากถว่ั เขยี วคลกุ ลงดนิ จากน้ันปลูกถว่ั พุม่ โดยไม่มกี ารใสป่ ุ๋ย เกบ็ เกยี่ วฝกั ถวั่ พุ่มเมื่อ
แก่เต็มที่และไถกลบเศษซากถั่วกลับลงในดิน ส่วนระบบปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยถั่วเขียว ปลูกมันสำปะหลัง
ระยะปลูก 1x1 เมตร ปลูกถั่วเขียวกึ่งกลางระหว่างแถวมันสำปะหลัง ใช้ระยะปลูกระหว่างหลุม 20 เซนติเมตร
จำนวน 2 ต้นต่อหลุม ใส่ปุย๋ เคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 25 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ใส่รองก้มหลุมพร้อมปลูก และใส่ปุ๋ยอัตรา

911

ที่เหลือหลังเก็บเกี่ยวถั่วเขียว เก็บเกี่ยวถั่วเขียวเมื่อฝักแก่เต็มที่ และสับเศษซากถั่วเขียวคลุมดิน เก็บเกี่ยวมัน
สำปะหลังเม่ืออายุ 11-12 เดือนหลังปลูก
บนั ทกึ ขอ้ มลู

1. สมุ่ เก็บตวั อย่างดนิ วิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดินกอ่ นปลูกท่รี ะดับความลึก 0-20
และ 20-50 เซนติเมตร คุณสมบัติทางกายภาพ ได้แก่ ความหนาแน่นดินรวม และอนุภาคของ sand, silt และ
clay และสมบัติทางเคมี ได้แก่ ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) อินทรีย์คาร์บอนในดิน ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
ประโยชน์ (available P) และปริมาณโพแทสเซยี มท่แี ลกเปล่ยี นได้ (exchangeable K)

2. วัดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์จากพื้นผิวดิน (ประยุกต์จากวิธีของ Anderson,
1982) ในรอบ 24 ชั่วโมง ทุก 1 เดือน และทุกครั้งท่ีมีกิจกรรมเกดิ ขึ้นในแปลงทดลอง เช่น หลังไถพรวน หลังใส่
ปุ๋ยอินทรีย์ หลังไถกลบเศษซากพืช เป็นต้น พร้อมทั้งเก็บดินมาวิเคราะห์ควา มชื้น วัดอุณหภูมิดินที่ 0-10
เซนติเมตร และอุณหภมู อิ ากาศ ทุกคร้งั ทม่ี กี ารดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ วเิ คราะห์สมดลุ ของคารบ์ อนในพื้นที่
จากปริมาณคาร์บอนที่ใส่ลงไปในพื้นที่โดยปุ๋ยอินทรีย์ และการไถกลบเศษซากพืชในพื้นที่ หักลบด้วยปริมาณ
คาร์บอนท่สี ูญหายออกไปจากพื้นที่โดยผลผลติ และสว่ นตา่ งๆ ของพชื (มันสำปะหลงั ถัว่ เขียว และถว่ั พุม่ ) ประเมิน
ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนไว้ในดินแต่ละปี และจัดทำบัญชีคาร์บอนในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีการบริหาร
จดั การพืน้ ทแ่ี ตกต่างกัน

3. ข้อมูลการเจริญเติบโตและผลผลติ น้ำหนักแหง้ ปรมิ าณคารบ์ อน และธาตุอาหารสว่ นต่าง ๆ ของพชื
เวลาและสถานท่ี

- ระยะเวลาดำเนนิ การทดลอง กันยายน 2559 - ตลุ าคม 2563
- ดำเนินงานทดลองที่ศูนยว์ จิ ัยพชื ไรข่ อนแก่น

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
ผลของการจดั การปยุ๋ และระบบปลกู ต่อการเปลยี่ นแปลงคุณภาพดินในพนื้ ทป่ี ลกู มนั สำปะหลัง

ผลของการจัดการปุ๋ยและระบบปลูกต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่อง
ตัง้ แตฤ่ ดูปลูก 2551/52 ถึง ฤดปู ลกู 2560/61 (ตารางที่ 1) พบวา่ ระบบปลูกท่ีไม่มผี ลให้คุณสมบัติของดินต่างกัน
แต่การจัดการปุ๋ยมีผลทำให้คุณสมบัติดินต่างกัน โดยกรรมวิธีที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ช่วยลดความเป็นกรดของดนิ
โดยเฉพาะกรรมวิธีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 1 ตันต่อไร่ ในขณะกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียวติดต่อกันเปน็
เวลานานทำให้ดินมคี วามเป็นกรดมากยิง่ ขึน้ เมื่อพจิ ารณาอนิ ทรียวตั ถุในดนิ พบวา่ กรรมวธิ ที ่ีมีการใส่ปุ๋ยช่วยเพ่ิม/
รักษาปริมาณอินทรียวัตถุให้ใกล้เคียงกับค่าเริ่มต้น ในขณะที่กรรมวิธีที่ไม่ใส่ปุ๋ย มีอินทรียวัตถุในดินเพียง 0.29
เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้กรรมวิธีที่มีการใส่ปุ๋ย มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินและโพแทสเซียมที่
แลกเปล่ียนไดใ้ นดนิ สงู กวา่ กรรมวธิ ที ่ไี มม่ ีการใส่ปุย๋ อย่างเหน็ ได้ชัด และมีคา่ ความหนาแนน่ ดนิ น้อยกวา่ กรรมวิธีที่ไม่
ใสป่ ุย๋

ผลของการจัดการปุ๋ยและระบบปลูกต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ฤดูปลูก
2560/61 ถงึ 2562/63 โดยภาพรวมระบบปลกู มนั สำปะลังไมม่ ีผลต่อการเปลยี่ นแปลงคณุ ภาพดนิ แตม่ แี นวโนม้ ว่า

912

ระบบปลูกมันสำปะหลังหมุนเวียนพชื ตระกูลถ่ัวมีค่าอนิ ทรยี วตั ถแุ ละฟอสฟอรสั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ในดินสูงกวา่ ท้ัง 2
ระบบปลูก ปัจจยั ทมี่ ีผลต่อการเปล่ียนแปลงคุณภาพดิน คือ การจัดการปุ๋ย ซึง่ จะเห็นไดว้ า่ การใส่ปุ๋ยอินทรีย์เพียง
อย่างเดยี วหรอื รว่ มกับปุ๋ยเคมชี ว่ ยยกระดับความเปน็ กรดเป็นด่างของดนิ แตก่ ารใสป่ ยุ๋ เคมีเพยี งอย่างเดียวทกุ ปี ดิน
มีฤทธิ์เป็นกรดจัดมาก (ตารางที่ 2) ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและการดูดใช้ธาตุอาหารของมันสำปะหลัง
อินทรียวัตถุและอินทรีย์คาร์บอนในดิน ดังตารางที่ 3 และ 4 พบว่า การใส่ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยเคมี หรือทั้งสอง
รว่ มกัน มีอนิ ทรียวัตถุในดินสูงกวา่ กรรมวธิ ีท่ไี ม่ใส่ปยุ๋ อยา่ งเห็นได้ชัด เช่นเดียวกบั ค่าฟอสฟอรัสทีเ่ ปน็ ประโยชน์และ
โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน ดังตารางที่ 5 และ6 ตามลำดับ และจะเห็นได้ว่าอนิ ทรยี วัตถใุ นดินของระบบ
ปลูกมันสำปะหลังหมุนเวียนพืชตระกูลถั่วมีแนวโน้มสูงกว่าระบบปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องและระบบปลูกมัน
สำปะหลงั หมุนเวียนพืชตระกลู ถวั่ สว่ นปรมิ าณฟอสฟอรสั ท่เี ป็นประโยชน์ในดิน
ผลของการจัดการปุย๋ และระบบปลูกต่อการใหผ้ ลผลติ และการสร้างชีวมวลของมันสำปะหลงั ถ่วั เขียว และถ่วั พุม่

ฤดูปลูก 2560/61 ดังตารางที่ 7 พบว่า ระบบปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องให้ผลผลิตหัวสด 3.30 ตันต่อไร่
ซึ่งมากกว่าระบบปลูกมันสะปะหลังแซมด้วยพืชตระกูลถัว่ (2.17 ตันต่อไร่) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การจัดการ
ปุ๋ย พบว่า การใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเกรด อัตรา 15-718 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ให้
ผลผลติ หวั สดสูงสดุ คือ 3.67 ตนั ต่อไร่ แตไ่ มต่ ่างกบั กรรมวธิ ีการใส่ปุย๋ เคมเี กรด อัตรา 15-718 อตั รา 100 กโิ ลกรัม
ต่อไร่ (3.62 ตันต่อไร่) ในขณะที่กรรมวิธีไม่ใส่ปุ๋ยให้ผลผลิตหัวสดเพียง 1.03 ตันต่อไร่ แต่ทั้งระบบปลูกและการ
จัดการปุ๋ยไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นต์แป้ง ผลผลิตเมล็ดถั่วเขียว (ตารางที่ 10) พบว่า ในกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา
0.5 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรัม ให้ผลผลิตเมล็ดถั่วเขียวสูงสุด 93 กิโลกรัมต่อไร่
ส่วนเศษซากสูงสุดพบในกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 100
กโิ ลกรัม (1,026 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่) นอกจากนยี้ งั ให้ผลผลิตเมล็ดและเศษซากถั่วพุ่ม 56 และ 311 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วน
ระบบมันสำปะหลังแซมดว้ ยพชื ตระกูลถั่ว พบว่า กรรมวิธีท่ีใสป่ ุย๋ อินทรยี ์ อตั รา 1 ตันต่อไร่ ใหผ้ ลผลิตเมลด็ ถว่ั เขียว
และเศษซากสูงสุด (65 และ 505 กิโลกรัมต่อไร่) ฤดูปลูก 2561/62 พบว่า การใส่ปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อัตรา
100 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้ง 3 ระบบปลูก ให้ผลผลิตหัวสดสูงสุด ในขณะที่การไม่ใส่ปุ๋ยให้ผลผลิตหวั สดต่ำที่สุด แต่ทั้ง
ระบบปลูกและการจัดการปุย๋ ไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นต์แปง้ (ตารางที่ 8) นอกจากนี้ยังพบว่า กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยอนิ ทรีย์
อัตรา 1 ตันต่อไร่ รว่ มกับปยุ๋ เคมี เกรด 15-7-18 อตั รา 100 กิโลกรมั ให้ผลผลิตเมลด็ ถว่ั เขยี วสูงสุด 78 กิโลกรมั ต่อ
ไร่ และให้เศษซากแห้ง 397 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ฤดปู ลูก 2562/63 พบวา่ การจัดการป๋ยุ มีผลตอ่ ผลผลติ หัวสด โดยการ
ใส่ปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ใหผ้ ลผลติ หัวสดสูงสุด 4.34 ตันตอ่ ไร่ ในขณะทก่ี ารไม่ใส่ปุ๋ยให้
ผลผลิตหัวสดเพียง 1.50 ตันต่อไร่ เมื่อพิจารณาด้านเปอร์เซ็นต์แป้ง พบว่า ระบบปลูกมันสำหลังมีปฏิสัมพนั ธ์กบั
การจัดการปุ๋ย โดยระบบปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่อง การใส่ปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ให้
ผลผลิตหัวสดสูงสุด 4.79 ตันต่อไร่ ในขณะที่ระบบปลูกมันสำปะหลังแวมด้วยพืชตระกูลถั่ว การใส่ปุ๋ยเคมี เกรด
15-7-18 อตั รา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ รว่ มกบั การใสป่ ุ๋ยอนิ ทรยี ์ อตั รา 1 ตันตอ่ ไร่ ให้ผลผลิตหวั สดสูงสดุ 4.34 ตันต่อ
ไร่ แต่ไม่แตกต่างกับกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว หรือใส่ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ (ตารางที่ 9) ผลผลิตเมล็ดถ่ัว
เขยี ว พบว่า ในกรรมวธิ ีท่ีใสป่ ๋ยุ อินทรีย์ อัตรา 1 ตันตอ่ ไร่ ให้ผลผลิตเมลด็ ถั่วเขียวสูงสุด 96 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนเศษ
ซากถว่ั เขียวและถ่ัวพุ่มสงู สุดพบในกรรมวิธีที่ใสป่ ุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 1 ตันตอ่ ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อัตรา

913

100 กิโลกรัม (322 และ 223 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ) ส่วนระบบมันสำปะหลังแซมด้วยพืชตระกูลถั่ว พบว่า
กรรมวธิ ที ่ใี สป่ ๋ยุ อนิ ทรยี ์ อัตรา 1 ตันตอ่ ไร่ ให้ผลผลติ เมล็ดถั่วเขียวและเศษซากสูงสุด (65 และ 505 กิโลกรมั ต่อไร)่
ผลของการจัดการปยุ๋ และระบบปลูกตอ่ การกักเกบ็ คาร์บอนในสว่ นตา่ งๆ ของมันสำปะหลงั ถ่ัวเขยี ว และถัว่ พุม่

เมือ่ พจิ ารณาการกักเก็บคาร์บอนในสว่ นต่างๆ ของมนั สำปะหลงั โดยภาพรวม (ตารางที่ 7-9) พบว่า การ
ใส่ปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ มีปริมาณคาร์บอนคาร์บอนในส่วนต่างๆ ของมันสำปะหลัง
โดยรวมมากกว่ากรรมวธิ ีอืน่ เนื่องจากการใส่ปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ส่งเสรมิ ให้พืชมีการ
เจริญเตบิ โตดีและให้ผลผลิตสงู จึงทำใหม้ กี ารดูดใช้คาร์บอนไดออกไซคจ์ ากบรรยากาศมาใช้ในการสังเคราะห์แสง
และสร้างมวลชวี ภาพได้มาก นอกจากน้ียงั พบวา่ ระบบปลกู มนั สำปะหลังหมุนเวยี นพืชตระกลู ถ่ัว ถั่วเขยี วท่ปี ลูกใน
กรรมวธิ ีทใ่ี ส่ปุ๋ยอินทรยี ์ อตั รา 100 กิโลกรมั ต่อไร่ รว่ มกับการใส่ปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อตั รา 100 กิโลกรัมตอ่ ไร่ มี
แนวโน้มปริมาณคาร์บอนในส่วนต่างๆ ของพืชสูงกว่ากรรมวิธีอื่น ส่วนในระบบปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยพืช
ตระกูลถั่ว พบวา่ กรรมวิธีทีใ่ สป่ ุย๋ อินทรีย์ อตั รา 1 ตันตอ่ ไร่ มีแนวโน้มปริมาณคาร์บอนในสว่ นต่างๆ ของพืชสงู กว่า
กรรมวิธีอ่ืน
ผลของการจัดการปุ๋ยและระบบปลูกต่อปริมาณการปลดปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากผิวดินใน
พ้นื ที่ปลูกมันสำปะหลงั

จากการตดิ ตามการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซดใ์ นพน้ื ที่ปลูกมันสำปะหลงั ภายใตก้ ารจดั การปยุ๋ และ
ระบบปลูกท่ีต่างกัน (ตารางที่ 11) พบว่า ระบบปลูกทั้ง 3 ระบบไม่แตกต่างกัน มีการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนได
ออกไซค์เฉลย่ี 6.44-6.47 กรมั CO2 ต่อตารางเมตรต่อวัน หรอื 3.76-3.78 ตนั CO2 ตอ่ ไรต่ อ่ ปี โดยสญู เสยี คารบ์ อน
เฉลี่ย 1,025-1,030 กิโลกรัม C ต่อไร่ต่อปี แต่การจัดการปุ๋ยมผี ลต่อการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซดอ์ ย่าง
ชัดเจน โดยพบว่า การใส่ปุ๋ยอนิ ทรีย์อัตรา 1 ตันตอ่ ไร่ รว่ มกบั การใสป่ ุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อตั รา 100 กิโลกรัมต่อ
ไร่ ปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สูงสุด 6.76 ต่อตารางเมตรต่อวัน หรือ 3.95 ตัน CO2 ต่อไร่ต่อปี โดยสูญเสีย
คาร์บอนเฉลยี่ 1,077 กิโลกรัม C ต่อไรต่ อ่ ปี รองลงมาคือการใส่ปยุ๋ อนิ ทรีย์ อตั รา 1 ตนั ต่อไร่ และพบว่ากรรมวิธีที่
ไมใ่ ส่ปุ๋ยมีการปลดปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซดน์ ้อยทส่ี ุด อย่างไรก็ตามควรพิจารณาประสิทธิภาพการให้ผลิตพืช
ควบคู่ไปด้วย ซึ่งจะเห็นได้ว่าการใสป่ ุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นกรรมวิธีท่ีใหผ้ ลผลิตมนั
สำปะหลังดีท่ีสุด และมีการปลดปลอ่ ยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดน์ ้อยรองลงมาจากกรรมวิธที ี่ไม่ใส่ปุ๋ย
ผลของการจัดการปุ๋ยและระบบปลูกตอ่ สมดลุ คาร์บอนในพน้ื ท่ปี ลกู มันสำปะหลงั

คาร์บอนทด่ี ินไดร้ บั มาจากการไถกลบเศษซากพชื ลงดนิ และการใส่ปุ๋ยอนิ ทรีย์ สว่ นคารบ์ อนท่ีสูญหายออก
จากพื้นทีเ่ กิดจากการนำเอาส่วนตา่ งๆ ของพืชออกไป โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งผลผลิตและสว่ นที่ใช้ขยายพนั ธุ์ และสูญ
หายไปในรปู ของกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดซ์ งึ่ เกิดจากกิจกรรมของจุลนิ ทรีย์ดินในการย่อยสลายเศษซากวัสดุอินทรีย์
ในดินและจากการหายใจของจุลินทรีย์และรากพืช จากผลการทดลองตั้งแต่ฤดูปลูก 2560/61-2562/63 พบว่า
การจัดการปุ๋ยมีปฏิสัมพันธ์กับระบบปลูก โดยการใส่ปุ๋ยปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ สูญเสยี
คาร์บอนเฉลีย่ มากทีส่ ุด ท้ัง 3 ระบบปลูก (652-1,039 กิโลกรมั C ตอ่ ไร่) ในขณะทกี่ ารใส่ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ อัตรา 1 ตัน
ต่อไร่ สูญเสียคาร์บอนเฉลี่ย น้อยที่สุด (212-510 กิโลกรัม C ต่อไร่) เมื่อพิจารณาระบบปลูกมันสำปะหลงั พบว่า
ระบบปลกู มนั สำปะหลงั ต่อเน่อื งทุกปีสญู เสียคารบ์ อนเฉลยี่ มากที่สดุ 710 กิโลกรมั C ตอ่ ไร่ ซง่ึ สาเหตุเกิดจากการ

914

นำผลผลิตและส่วนขยายพันธุ์ออกจากพื้นที่ ในขณะที่ระบบปลูกมันสำปะหลังหมุนเวียนพืชตระกูลถั่วสูญเสีย
คารบ์ อนเฉลี่ย 367 กิโลกรมั C ตอ่ ไร่ สว่ นผลการจัดการปุ๋ยต่อสมดลุ คารบ์ อน พบวา่ การใส่ปุย๋ ปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-
18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ สูญเสียคาร์บอนเฉลี่ย มากที่สุด 878 กิโลกรัม C ต่อไร่ ในขณะที่การใส่ปุ๋ยอินทรีย์
อัตรา 1 ตันตอ่ ไร่ สูญเสียคารบ์ อนเฉลยี่ นอ้ ยท่สี ุด 365 กิโลกรัม C ต่อไร่ (ตารางท่ี 15)
.

ตารางท่ี 1 สมบัตขิ องดินก่อนปลกู มันสำปะหลัง ฤดปู ลูก 2560/61 ณ ศนู ยว์ จิ ัยพชื ไร่ข

กรรมวธิ ี pH1 OM (%)2 Ava
C2 C3 เฉลีย่ 6 C1
C1 C2 C3 เฉล่ยี 5 C16

F1 5.2 5.2 5.3 5.2c 0.28 0.30 0.30 0.29c 30d

F2 6.0 6.1 6.3 6.2a 0.37 0.44 0.43 0.42a 66a

F3 4.5 4.6 4.8 4.6d 0.35 0.35 0.36 0.35b 40cd

F4 5.2 5.7 5.0 5.3c 0.36 0.46 0.39 0.40a 48bc

F5 5.8 6.1 5.7 5.9b 0.41 0.40 0.41 0.41a 58ab

F6 5.2 4.9 5.4 5.1c 0.35 0.38 0.33 0.35b 51abc

เฉลี่ย 5.3 5.4 5.4 0.35 0.39 0.37 49

CV (%) (a) 3.74 (a) 11.25 (a)

(b) 5.04 (b) 8.14 (b)

F-test (a) ns (a) ns (a)

(b) ** (b) * (b)

(a)x(b) ns (a)x(b) ns (a)x(b)

หมายเหตุ 1/Peech (1965) soil : water = 1:1 , 2/ Walkley and Black (1965), 3/ Bray and

5/คา่ เฉลี่ยในแถวเดยี วกันที่ตามด้วยอักษรตัวเลก็ ทตี่ า่ งกันแตกตา่ งกนั ทางสถิติที่ระดบั คว

6/ค่าเฉลีย่ ในแถวเดียวกนั ท่ีตามด้วยอักษรตวั เลก็ ทตี่ ่างกันแตกต่างกนั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั คว

ns ไม่แตกตา่ งอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติ

C1 = ระบบปลูกมันสำปะหลงั ต่อเนือ่ งทุกป,ี C2 = ระบบปลูกมันสำปะหลังหมุนเวยี นพ

F1 = ไมใ่ ส่ปยุ๋ , F2 = ปุ๋ยอินทรีย์ อตั รา 1 ตัน/ไร,่ F3 = ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 1

F5 = ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ อตั รา 1 ตนั /ไร่ ร่วมกบั ปุย๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่ และ

915

ขอนแกน่

ail. P (mg/kg)3 Exch. K (mg/kg)4 BD (g/cm2)
C1 C2 C3 เฉลย่ี
C26 C36 เฉลี่ย C16 C26 C36 เฉล่ีย 1.55 1.59 1.58 1.57
1.55 1.46 1.52 1.51
35c 23c 29 14c 11c 11c 12 1.53 1.54 1.55 1.54
1.48 1.47 1.51 1.49
59ab 56b 60 20bc 36a 33a 30 1.48 1.56 1.43 1.49
1.50 1.52 1.51 1.51
50b 44b 45 29a 28b 25b 28 1.52 1.52 1.52

73a 58b 60 28ab 34ab 37a 33

62ab 79a 66 25ab 29b 33a 29

61ab 50b 54 28ab 30ab 24b 27

57 52 24 28 27

36.57 (a) 16.24

16.93 (b) 15.13

ns (a) ns

** (b) **

* (a)x(b) **

Kurtz (1945), 4/ Schollenberger and Simon (1945)

วามเชื่อมนั่ 95 เปอรเ์ ซ็นต์ โดยวิธี DMRT

วามเช่อื มั่น 99 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดยวธิ ี DMRT

พืชตระกลู ถั่ว (ถ่ัวเขยี ว-ถั่วพุ่ม) และ C3 = ระบบปลูกมนั สำปะหลงั แซมด้วยพชื ตระกูลถ่ัว
100 กก./ไร,่ F4 = ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 1 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุย๋ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร่,
F6 = ปยุ๋ อนิ ทรีย์ อัตรา 0.5 ตัน/ไร่ ร่วมกับป๋ยุ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่

916

ตารางที่ 2 การจัดการปุ๋ยและระบบปลูกต่อการเปลี่ยนแปลงความเปน็ กรดเปน็ ดา่ ง (p

ณ ศนู ยว์ จิ ยั พืชไรข่ อนแกน่

pH

กรรมวิธี 2560/61 2561/62

C1 C2 C3 เฉลีย่ 1 C1 C2 C3 เฉลีย่ 1

F1 5.2 5.2 5.3 5.2 c 4.6 4.7 4.3 4.5 c

F2 6.0 6.1 6.3 6.2 a 5.5 5.7 5.7 5.6 a

F3 4.5 4.6 4.8 4.6 d 4.3 4.4 4.2 4.3 d

F4 5.2 5.7 5.0 5.3 c 4.8 5.4 5.0 5.1 b

F5 5.8 6.1 5.7 5.9 b 5.4 5.3 5.6 5.4 a

F6 5.2 4.9 5.4 5.1 c 4.7 5.1 5.2 5.0 b

เฉลยี่ 5.3 5.4 5.4 4.9 5.1 5.0

CV (%) (a) 3.74 (a) 4.65

(b) 5.04 (b) 4.34

F-test (a) ns (a) ns

(b) ** (b) **

(a)x(b) ns (a)x(b)

หมายเหตุ 1/คา่ เฉลย่ี ในแถวเดียวกันที่ตามด้วยอักษรตัวเลก็ ทตี่ า่ งกนั แตกต่างกนั ทางสถติ ิท่ีระดบั คว

2/คา่ เฉลีย่ ในแถวเดียวกันท่ีตามดว้ ยอักษรตัวเลก็ ทต่ี า่ งกันแตกตา่ งกันทางสถิติทร่ี ะดบั คว

C1 = ระบบปลูกมนั สำปะหลงั ต่อเน่อื งทกุ ปี, C2 = ระบบปลูกมนั สำปะหลังหมุนเวียนพ

F1 = ไมใ่ สป่ ๋ยุ , F2 = ปยุ๋ อนิ ทรีย์ อัตรา 1 ตัน/ไร่, F3 = ปุย๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 1

F5 = ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ อัตรา 1 ตัน/ไร่ รว่ มกับป๋ยุ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่ และ

pH) ของดิน ในพ้ืนที่ปลูกมนั สำปะหลัง ฤดูปลูก 2560/61 – 2563/64

H (1:1 water)

2562/63 2563/64

C12 C22 C32 เฉลีย่ C1 C2 C3 เฉลี่ย1

5.0 b 4.8 bc 5.0 c 4.9 5.3 5.0 5.4 5.2 c

5.7 a 5.3 a 5.7 a 5.6 5.8 5.6 6.0 5.8 a

4.2 c 4.4 c 4.5 d 4.3 4.7 4.7 4.8 4.7 d

5.1 b 5.1 a 5.4 ab 5.2 5.6 5.6 5.4 5.5 ab

5.1 b 5.5 a 5.2 bc 5.3 5.6 5.7 5.5 5.6 ab

4.8 b 4.7b c 5.1 bc 4.9 5.5 5.3 5.3 5.3 bc

5.0 5.0 5.1 5.4 5.3 5.4

(a) 2.29 (a) 2.75

(b) 3.82 (b) 4.73

(a) * (a) ns

(b) ** (b) **

(a)x(b) * (a)x(b) ns

วามเช่ือมนั่ 95 เปอร์เซน็ ต์ โดยวิธี DMRT

วามเชื่อมัน่ 99 เปอร์เซ็นต์ โดยวธิ ี DMRT, ns ไมแ่ ตกต่างอย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ิ

พชื ตระกลู ถัว่ (ถว่ั เขียว-ถ่ัวพุ่ม) และ C3 = ระบบปลกู มนั สำปะหลงั แซมด้วยพชื ตระกูลถวั่

100 กก./ไร,่ F4 = ปุย๋ อินทรยี ์ อัตรา 1 ตนั /ไร่ ร่วมกับปุย๋ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร,่

F6 = ปุ๋ยอินทรยี ์ อัตรา 0.5 ตนั /ไร่ รว่ มกบั ปุย๋ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่

ตารางที่ 3 การจัดการปุ๋ยและระบบปลูกต่อการเปล่ียนแปลงอนิ ทรยี วตั ถใุ นดนิ พ้ืนทปี่

O

กรรมวธิ ี 2560 2561

C1 C2 C3 เฉล่ีย1 C1 C2 C3 เ

F1 0.28 0.30 0.30 0.29c 0.37 0.41 0.39 0

F2 0.37 0.44 0.43 0.42a 0.46 0.54 0.49 0

F3 0.35 0.35 0.36 0.35b 0.42 0.46 0.45 0

F4 0.36 0.46 0.39 0.40a 0.42 0.48 0.39 0

F5 0.41 0.40 0.41 0.41a 0.38 0.45 0.48 0

F6 0.35 0.38 0.33 0.35b 0.44 0.45 0.46 0

เฉลยี่ 0.35 0.39 0.37 0.41 0.46 0.44

CV (%) (a) 11.25 (a) 10.00

(b) 8.14 (b) 16.23

F-test (a) ns (a) ns

(b) * (b) ns

(a)x(b) ns (a)x(b) ns

หมายเหตุ 1/คา่ เฉล่ียในแถวเดยี วกนั ที่ตามดว้ ยอกั ษรตวั เล็กทตี่ ่างกันแตกต่างกันทางสถิตทิ ี่ระดับคว

2/คา่ เฉลยี่ ในแถวเดยี วกันท่ีตามดว้ ยอักษรตวั เล็กทต่ี ่างกันแตกต่างกันทางสถติ ิท่รี ะดับควา

3/ค่าเฉลย่ี ในคอลมั นเ์ ดยี วกันที่ตามด้วยอักษรตัวใหญท่ ี่ต่างกนั แตกต่างกันทางสถิตทิ ร่ี ะด

C1 = ระบบปลูกมนั สำปะหลังตอ่ เน่อื งทกุ ป,ี C2 = ระบบปลกู มันสำปะหลังหมุนเวยี นพ

F1 = ไม่ใส่ปุ๋ย, F2 = ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ อัตรา 1 ตนั /ไร่, F3 = ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 1

F5 = ปุ๋ยอินทรยี ์ อตั รา 1 ตัน/ไร่ รว่ มกบั ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่ และ

917

ปลกู มันสำปะหลงั ฤดูปลกู 2560/61 – 2563/64 ณ ศนู ย์วจิ ยั พชื ไรข่ อนแก่น

Organic matter (%)

2562 2563

เฉล่ยี C1 C2 C3 เฉล่ยี 1 C12 C22 C32 เฉลย่ี

0.39 0.32 0.40 0.33 0.35b 0.40c 0.39c 0.41b 0.40

0.50 0.42 0.44 0.39 0.42a 0.49a 0.52a 0.50a 0.51

0.44 0.39 0.45 0.40 0.41a 0.44bc 0.53a 0.52a 0.50

0.43 0.44 0.47 0.49 0.47a 0.52a 0.54a 0.50a 0.52

0.44 0.34 0.55 0.42 0.43a 0.45b 0.51ab 0.53a 0.49

0.45 0.45 0.39 0.45 0.43a 0.49a 0.48b 0.54a 0.50

0.39B 0.45A 0.41B3 0.46 0.50 0.50

(a) 8.68 (a) 7.83

(b) 13.76 (b) 4.68

(a) * (a) ns

(b) ** (b) **

(a)x(b) ns (a)x(b) **

วามเชื่อมนั่ 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี DMRT

ามเชอื่ มน่ั 99 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดยวิธี DMRT

ดบั ความเชือ่ มัน่ 95 เปอรเ์ ซ็นต์ โดยวธิ ี DMRT, ns ไมแ่ ตกตา่ งอย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ิ

พืชตระกูลถั่ว (ถัว่ เขยี ว-ถั่วพุ่ม) และ C3 = ระบบปลกู มันสำปะหลงั แซมด้วยพืชตระกูลถวั่

100 กก./ไร,่ F4 = ปุ๋ยอินทรีย์ อตั รา 1 ตนั /ไร่ รว่ มกบั ปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร่,

F6 = ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ อัตรา 0.5 ตนั /ไร่ รว่ มกบั ป๋ยุ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่

918

ตารางที่ 4 การจดั การปยุ๋ และระบบปลกู ต่อการเปลี่ยนแปลงอินทรยี ์คาร์บอนในดนิ ใน

Or

กรรมวธิ ี 2560 2561

C1 C2 C3 เฉล่ยี 1 C1 C2 C3 เฉ

F1 0.16 0.17 0.17 0.17c 0.21 0.24 0.23 0

F2 0.21 0.26 0.25 0.24a 0.27 0.31 0.28 0

F3 0.20 0.20 0.21 0.20b 0.24 0.27 0.26 0

F4 0.21 0.27 0.23 0.23a 0.24 0.28 0.23 0

F5 0.24 0.23 0.24 0.24a 0.22 0.26 0.28 0

F6 0.20 0.22 0.19 0.20b 0.26 0.26 0.27 0

เฉลีย่ 0.20 0.23 0.21 0.24 0.27 0.26

CV (%) (a) 12.22 (a) 8.96

(b) 8.44 (b) 16.12

F-test (a) ns (a) ns

(b) * (b) ns

(a)x(b) ns (a)x(b) ns

หมายเหตุ 1/ค่าเฉล่ียในแถวเดียวกันที่ตามด้วยอักษรตัวเล็กทต่ี ่างกันแตกตา่ งกนั ทางสถติ ิทรี่ ะดับค

2/ค่าเฉลี่ยในแถวเดียวกนั ที่ตามด้วยอักษรตัวเลก็ ทต่ี ่างกนั แตกตา่ งกนั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับคว

3/ค่าเฉล่ยี ในคอลมั น์เดยี วกนั ที่ตามด้วยอักษรตวั ใหญท่ ่ีตา่ งกนั แตกตา่ งกันทางสถิตทิ ี่ระด

C1 = ระบบปลูกมันสำปะหลังตอ่ เน่อื งทกุ ปี, C2 = ระบบปลูกมนั สำปะหลังหมุนเวียนพ

F1 = ไม่ใสป่ ุ๋ย, F2 = ปยุ๋ อินทรีย์ อตั รา 1 ตนั /ไร,่ F3 = ปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 1

F5 = ปยุ๋ อินทรีย์ อตั รา 1 ตัน/ไร่ ร่วมกบั ปุย๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่ และ

นพน้ื ทปี่ ลกู มันสำปะหลงั ฤดูปลกู 2560/61 – 2563/64 ณ ศูนยว์ ิจยั พชื ไร่ขอนแก่น

rganic carbon (%)

2562 2563

ฉลย่ี C1 C2 C3 เฉลย่ี 1 C12 C22 C32 เฉลยี่

0.23 0.19 0.23 0.19 0.20b 0.23d 0.23c 0.24b 0.23

0.29 0.24 0.26 0.23 0.24a 0.28ab 0.30a 0.29a 0.30

0.26 0.23 0.26 0.23 0.24a 0.26cd 0.31a 0.30a 0.29

0.25 0.26 0.27 0.28 0.27a 0.30a 0.31a 0.29a 0.30

0.26 0.20 0.32 0.24 0.25a 0.26bc 0.30ab 0.31a 0.28

0.26 0.26 0.23 0.26 0.25a 0.28a 0.28b 0.31a 0.29

0.23B 0.26A 0.24B3 0.27 0.29 0.29

(a) 8.14 (a) 7.72

(b) 13.69 (b) 4.64

(a) * (a) ns

(b) ** (b) **

(a)x(b) ns (a)x(b) **

ความเชือ่ มนั่ 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี DMRT

วามเชือ่ ม่ัน 99 เปอรเ์ ซ็นต์ โดยวิธี DMRT

ดับความเชือ่ มั่น 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวธิ ี DMRT, ns ไมแ่ ตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ

พชื ตระกลู ถั่ว (ถ่วั เขยี ว-ถ่ัวพุ่ม) และ C3 = ระบบปลกู มนั สำปะหลังแซมด้วยพืชตระกูลถ่วั

100 กก./ไร,่ F4 = ปุ๋ยอินทรีย์ อตั รา 1 ตัน/ไร่ รว่ มกบั ปุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร่,

F6 = ปุ๋ยอินทรยี ์ อัตรา 0.5 ตัน/ไร่ รว่ มกับปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่

ตารางท่ี 5 การจัดการปยุ๋ และระบบปลูกต่อการเปล่ียนแปลงฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน

ขอนแกน่

Ava

กรรมวธิ ี 2560 2561

C12 C22 C32 เฉลยี่ C12 C22 C32 เฉ

F1 30 d 35 c 23 c 29 16d 31c 14e 2

F2 66 a 59 ab 56 b 60 74 a 52 b 43 cd 5

F3 40 cd 50 b 44 b 45 26 c 44 b 36 d 3

F4 48 bc 73 a 58 b 60 48 b 63 a 57 b 5

F5 58 ab 62 ab 79 a 66 42 b 68 a 68 a 6

F6 51 abc 61 ab 50 b 54 40 b 47 b 49 bc 4

เฉลี่ย 49 57 52 41 51 45

CV (%) (a) 36.57 (a) 16.22

(b) 16.93 (b) 12.61

F-test (a) ns (a) *

(b) ** (b) **

(a)x(b) * (a)x(b) **

หมายเหตุ 1/ค่าเฉลย่ี ในแถวเดยี วกันที่ตามดว้ ยอักษรตัวเลก็ ทต่ี ่างกนั แตกต่างกันทางสถติ ิที่ระดบั คว

C1 = ระบบปลกู มนั สำปะหลงั ต่อเนอ่ื งทุกป,ี C2 = ระบบปลกู มันสำปะหลังหมนุ เวียนพ

F1 = ไมใ่ ส่ปุย๋ , F2 = ปุย๋ อินทรยี ์ อัตรา 1 ตนั /ไร่, F3 = ปยุ๋ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 1

F5 = ป๋ยุ อินทรีย์ อตั รา 1 ตัน/ไร่ ร่วมกับปยุ๋ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่ และ

919
นใ์ นดิน พน้ื ที่ปลูกมนั สำปะหลงั ฤดูปลูก 2560/61 – 2563/64 ณ ศูนย์วจิ ัยพชื ไร่

ailable P (ppm)

2562 2563

ฉล่ีย C12 C22 C32 เฉล่ีย C12 C22 C32 เฉล่ีย

20 24 e 35 c 15 e 25 19 c 26 c 12 d 19

56 79 a 64 b 48 bc 64 51 a 64 a 62 a 59

35 41 d 43 c 33 d 39 32b c 49 b 32 c 38

56 71 b 76 a 56 b 68 55 a 73 a 48 b 59

60 61 c 78 a 71 a 70 55 a 44 b 62 a 54

45 58 c 56 b 44 c 52 43 ab 45 b 43b c 44

56 58 45 43 50 43

(a) 16.76 (a) 30.10

(b) 9.47 (b) 17.73

(a) * (a) ns

(b) ** (b) **

(a)x(b) ** (a)x(b) **

วามเชอื่ มนั่ 99 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดยวิธี DMRT

พืชตระกลู ถวั่ (ถว่ั เขยี ว-ถ่ัวพุ่ม) และ C3 = ระบบปลกู มนั สำปะหลงั แซมดว้ ยพชื ตระกูลถ่วั

100 กก./ไร,่ F4 = ปยุ๋ อินทรยี ์ อัตรา 1 ตัน/ไร่ ร่วมกบั ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร,่

F6 = ปยุ๋ อนิ ทรีย์ อัตรา 0.5 ตนั /ไร่ ร่วมกบั ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่

920

ตารางท่ี 6 การจดั การปยุ๋ และระบบปลูกต่อการเปล่ียนแปลงโพแทสเซยี มที่แลกเปลยี่ น

ณ ศนู ยว์ จิ ัยพืชไร่ขอนแกน่

Excha

กรรมวิธี 2560 2561

C12 C22 C32 เฉล่ยี C1 C2 C3 เฉล

F1 14 c 11 c 11 c 12 16 30 13 20

F2 20 bc 36 a 33 a 30 29 41 30 34

F3 29 a 28 b 25 b 28 24 33 31 29

F4 28 ab 34 ab 37 a 33 28 34 27 30

F5 25 ab 29 b 33 a 29 31 36 27 32

F6 28 ab 30 ab 24 b 27 28 29 27 28

เฉลยี่ 24 28 27 26 34 26

CV (%) (a) 16.24 (a) 37.03

(b) 15.13 (b) 30.44

F-test (a) ns (a) ns

(b) ** (b) *

(a)x(b) ** (a)x(b) ns

หมายเหตุ 1/คา่ เฉลี่ยในแถวเดยี วกันที่ตามด้วยอกั ษรตวั เล็กทตี่ ่างกนั แตกต่างกนั ทางสถิติทีร่ ะดับคว

2/ค่าเฉลย่ี ในแถวเดียวกนั ที่ตามดว้ ยอักษรตวั เลก็ ทต่ี ่างกนั แตกตา่ งกนั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั คว

C1 = ระบบปลกู มันสำปะหลงั ตอ่ เนือ่ งทุกป,ี C2 = ระบบปลกู มนั สำปะหลงั หมนุ เวียนพืช

F1 = ไมใ่ ส่ปยุ๋ , F2 = ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ อัตรา 1 ตนั /ไร,่ F3 = ปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100

F5 = ป๋ยุ อนิ ทรยี ์ อตั รา 1 ตนั /ไร่ รว่ มกบั ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่ และ F6

นไดใ้ นดนิ พื้นท่ีปลกู มันสำปะหลัง ฤดปู ลูก 2560/61 – 2563/64

angeable K (ppm)

2562 2563

ลยี่ 1 C12 C22 C32 เฉล่ยี C1 C2 C3 เฉลยี่ 1

b 34 b 24 c 51bc 37 25 30 24 27 b

a 63 a 58 ab 52 bc 57 45 46 45 45 a

a 59 a 62 ab 66 ab 62 41 56 47 48 a

a 59 a 73 a 74 a 69 47 55 49 51 a

a 45a b 55 b 44 c 48 41 40 58 46 a

a 62 a 45 b 66 ab 58 31 48 55 45 a

54 53 59 38 46 47

(a) 18.80 (a) 36.35

(b) 17.61 (b) 27.91

(a) ns (a) ns

(b) ** (b) *

(a)x(b) * (a)x(b) ns

วามเช่อื มั่น 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี DMRT

วามเช่ือม่นั 99 เปอรเ์ ซ็นต์ โดยวธิ ี DMRT, ns ไม่แตกตา่ งอย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ ิ

ชตระกูลถ่วั (ถ่วั เขยี ว-ถั่วพุ่ม) และ C3 = ระบบปลกู มนั สำปะหลังแซมด้วยพืชตระกูลถ่ัว

0 กก./ไร,่ F4 = ปุย๋ อินทรีย์ อตั รา 1 ตัน/ไร่ รว่ มกับปุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร่,

6 = ป๋ยุ อนิ ทรีย์ อัตรา 0.5 ตัน/ไร่ รว่ มกบั ป๋ยุ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่

921

ตารางท่ี 7 ผลผลติ เปอรเ์ ซน็ ตแ์ ป้ง และปริมาณคารบ์ อนในส่วนตา่ ง ๆ ของมันสำปะหลังภายใต้การจัดการปุ๋ยและ

ระบบปลกู แตกตา่ งกนั ฤดปู ลูก 2560/61 ณ ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไรข่ อนแก่น

กรรมวธิ ี ผลผลิตหัวสด เปอรเ์ ซ็นตแ์ ป้ง หวั ปริมาณคาร์บอน (กก C/ไร่)
(ตัน/ไร)่ (%) เหงา้ ใบ ลำต้นไมใ่ ชท้ ำพนั ธุ์ ลำต้นใช้ทำพนั ธ์ุ รวม

C1F1 1.59 25.4 225 c2 44 32 25 10 336

C1F2 3.22 24.2 387 b 58 43 34 65 587

C1F3 3.85 24.1 537 a 60 62 37 102 797

C1F4 4.35 23.6 607 a 56 63 28 100 854

C1F5 3.51 23.9 538 a 52 51 35 61 738

C1F6 3.27 24.6 412 b 60 43 36 45 597

C2F1 - - - -- - --

C2F2 - - - -- - --

C2F3 - - - -- - --

C2F4 - - - -- - --

C2F5 - - - -- - --

C2F6 - - - -- - --

C3F1 0.47 24.7 66 d 35 41 30 2 175

C3F2 2.39 24.6 363 b 47 48 41 36 536

C3F3 3.38 23.7 506 a 67 69 64 83 789

C3F4 2.99 24.7 401 ab 65 89 105 76 737

C3F5 1.64 25.8 230 c 47 62 47 74 460

C3F6 2.15 24.1 319 bc 53 60 46 44 521

F-test ns ns ** ns ns ns ns ns

922

ตารางที่ 7 (ต่อ)

ผลผลิตหัวสด เปอรเ์ ซน็ ต์ ปริมาณคาร์บอน (กก. C/ไร)่
(ตัน/ไร่) แปง้ (%)
กรรมวิธี หัว เหงา้ ใบ ลำตน้ ไมใ่ ช้ ลำตน้ ใช้ รวม
ทำพนั ธ์ุ ทำพันธ์ุ

ระบบปลูกมนั สำปะหลัง

C1 3.30 a 24.3 451 55 49 33 64 652

C2 - --- - - -

C3 2.17 b 24.6 314 53 62 56 53 536

CV (%) 12.82 6.13 18.57 23.23 42.26 51.77 42.77 25.75

F-test * ns * ns ns ns ns ns

กรรมวิธกี ารใส่ปยุ๋

F1 1.03 c2 25.1 145 40 c2 37 c1 27 6 c2 256 c2

F2 2.81 b 24.4 375 53 ab 46 bc 38 50 b 561 b

F3 3.62 a 23.9 521 63 a 65 ab 51 92 a 793 a

F4 3.67 a 24.2 504 61 ab 76 a 67 88 a 796 a

F5 2.58 b 24.9 384 49 bc 57 abc 41 68a b 599 b

F6 2.71 b 24.4 366 56 ab 52 abc 41 45 b 559 b

CV (%) 16.52 8.74 16.62 15.98 36.11 114.14 48.77 15.42

F-test ** ns ** ** * ns ** **

หมายเหตุ 1/ค่าเฉล่ยี ในแถวเดียวกันที่ตามด้วยอกั ษรตัวเล็กที่ต่างกันแตกต่างกนั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั ความเช่ือม่นั 95 เปอรเ์ ซ็นต์ โดย

วธิ ี DMRT

2/คา่ เฉล่ียในแถวเดียวกนั ท่ีตามด้วยอกั ษรตวั เล็กทต่ี ่างกันแตกต่างกนั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั ความเชอื่ ม่ัน 99 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดย

วิธี DMRT

ns ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิ

C1 = ระบบปลกู มนั สำปะหลงั ตอ่ เนื่องทกุ ปี, C2 = ระบบปลูกมันสำปะหลังหมนุ เวยี นพชื ตระกูลถัว่ (ถัว่ เขียว-ถั่วพุ่ม)

และ C3 = ระบบปลกู มันสำปะหลงั แซมด้วยพืชตระกูลถ่ัว

F1 = ไมใ่ สป่ ๋ยุ , F2 = ป๋ยุ อินทรยี ์ อัตรา 1 ตัน/ไร่, F3 = ปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร่, F4 = ปยุ๋ อินทรยี ์

อัตรา 1 ตัน/ไร่ ร่วมกบั ป๋ยุ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร่, F5 = ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ อัตรา 1 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี

เกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่ และ F6 = ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ อัตรา 0.5 ตัน/ไร่ ร่วมกบั ป๋ยุ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50

กก./ไร่

คารบ์ อนในสว่ นตา่ งๆ (กก C/ไร่) = น้ำหนักแหง้ ของส่วนต่างๆ x อินทรยี ค์ ารบ์ อน (%OC) / 100


Click to View FlipBook Version