The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by appleati, 2021-12-27 04:16:11

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

779

กาแฟอาราบิก้าพันธุ์เชียงใหม่ 80 เป็นพันธุ์ที่กรมวิชาการเกษตรได้มีการปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้มีความ
ต้านทานตอ่ ราสนิม ท่ีได้มาจากจากการผสมพันธ์รุ ะหวา่ งพันธุ์ H.W 26/5 กบั พันธุ์ SL 28 โดยเริ่มจากศูนย์วิจัยโร
คราสนมิ กาแฟ (CIFC = C entro de Investigacao das Ferrugens do Cafeciro) ในประเทศโปรตุเกส จากนั้น
ได้ลูกผสมชั่วที่ 5 ในปี 2528 ส่งมาปลูกที่ประเทศไทย โดยศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ (ขุนวาง) ทำการ
คัดเลือกจนได้ถึงชัว่ ที่ 7 ในปี 2539-2544 จากนั้นทำการปลูกเปรียบเทยี บในพื้นที่ที่มีระดบั ความสูง 750-1,300
เมตรจากระดับน้ำทะเล (กรมวิชาการเกษตร, 2550) แต่ในปัจจุบันพบว่าคุณสมบัติด้านความต้านทานต่อโรครา
สนมิ ในกล่มุ ประชากรพันธุ์เชยี งใหม่ 80 มีความแปรปรวนอย่างมาก ตง้ั แตอ่ ่อนแอจนถงึ ทนทานต่อโรค ทำให้ต้อง
ทำการศึกษาหาสาเหตขุ องความแปรปรวนน้ี เพ่อื การจดั การที่ถกู ตอ้ ง

เชอ้ื ราสนิม (Hemileia vastatrix) เป็นปรสติ ทส่ี รา้ งความเสียหายอย่างมากให้กับพืชเศรษฐกิจหลายชนิด
ส่งผลให้ผลผลิตของพชื ลดลงอย่างมากในแต่ละปี โดยทั่วไปวงจรชวี ิตของเชื้อรานั้น ประกอบด้วย 2 ระยะ ได้แก่
dikaryotic (aeciospore และ urediniospore)และ monokaryotic (basidiospore) ส่วนใหญร่ ะยะท่ีเป็นสาเหตุ
ในการก่อโรคราสนมิ ในกาแฟ คอื ระยะ dikaryotic ทีม่ ีการสรา้ งสปอร์ แบบ urediniospore เป็นระยะท่ีสืบพันธุ์
แบบไมอ่ าศยั เพศ (Gold and Mendgen, 1991) การศึกษากาแฟพันธ์ุ Brazilian ทัง้ พันธุท์ ่อี ่อนแอและทนทานตอ่
เชื้อราสนิมชนิด ll (race ll) พบว่าการเจริญของเส้นใย hypha จะมีลักษณะที่จำเพาะในแต่ละระยะของเชื้อรา
สนิมเมื่อเชื้อเข้าไปทางปากใบ (stomata) ของกาแฟ (Ramiro et al., 2010) ในระยะแรกเริ่มจะมีการสร้าง
‘pioneer haustoria’ ทันที ในเซลล์คุม (guard cell) และเซลล์ข้างเซลล์คุม (subsidiary cell) หลังจากน้นั ก็จะ
สร้าง ‘secondary haustoria’ ซึ่งเป็นระยะที่จะสร้างเส้นใย hypha เข้าไปในเซลล์ mesophyll ลักษณะการ
แสดงอาการของโรคราสนิมนน้ั จะข้ึนอย่กู ับตำแหนง่ เนื้อเย่ือที่เชื้อเขา้ ไป เน้อื เยอื่ ทต่ี า่ งกันการสรา้ ง haustoria ของ
เช้ือราก็จะมโี ครงสร้างท่ีจำเพาะและแตกต่างกนั ออกไป เช้อื ราสนิมจะสร้างโคโลนี (colony) จากน้ันก็จะการเพ่ิม
จำนวนโคโลนีมากขึ้นแล้วจึงมีการแพร่กระจายโดยยืด hyphae เข้าไปในเซลล์แล้วสร้าง haustorial mother
cells(HMCs) ซึ่งทำหนา้ ที่ในการทำลายผนังเซลลข์ องพชื และเปน็ ตวั เริ่มตน้ ในการสร้าง haustoriumภายในเซลล์
ของโฮสท์ (host) เพอ่ื ดดู นำ้ และสารอาหารจากโฮส์ทนอกจากนี้ยงั เปน็ เซลล์ที่ส่งสญั ญาณระหว่างโฮส์ทและปรสิต
ให้สามารถอยู่รวมกับเซลล์ของโฮส์ท โดยมีการส่ง virulence เข้าไปในเซลล์โฮส์ท (O’Connell &Panstruga,
2006) หลังจากน้นั กม็ กี ารสรา้ ง haustoria หนาแนน่ มากข้นึ และสรา้ งสปอรท์ ่ีทำให้สามารถมองเหน็ ได้ในลักษณะ
เป็นแผลแป้งสเี หลอื งส้มเกิดขนึ้ บนผิวใบ

การทนทานต่อเชื้อในพชื นั้นอาจจะมีมาก่อนสำหรับในพันธุท์ ี่มียีนต้านทานหรือหลังบุกรุกและการสร้าง
haustoria ของเชือ้ รา พืชส่วนใหญจ่ ะตอ่ ต้านและปอ้ งกันการสร้างตัวของ haustoria ของเชื้อรา ในพชื ที่ยังไม่เคย
ได้รับเชื้อมาก่อน หากมีการบุกรุกของเชื้อเข้าไปในเซลล์พืช พืชจะต่อต้านต่อการสรา้ ง haustoria ของเชื้อรา ซ่งึ
ส่วนใหญเ่ ก่ยี วของกับ resistance (R) genes การตา้ นทานของพืชต่อเชอ้ื โรคโดยท่ัวไปจะมกี ารแสดงออกของยีน
กลุ่ม hypersensitive response(HR) เมื่อมีการบุกรุกของเชื้อและมีการสร้าง haustorium ของเชื้อราสนิม
(Heath,1997) มีรายงานเกี่ยวกับการต้านทานต่อราสนิมของ Coffea arabica นั้นน่าจะเกิดจากการแสดงออก
ของยีนกลุ่ม HR อาทิเช่น CaPR1b, CaPR10, CaR111, CaWRKY1, CaRLK, และ CaGT (Silva et al., 2002;
Ramiro, et al. 2010) ยีน CaGT ทำหน้าที่ในการสร้างโปรตีน salicylic acid-glucosyltransferase ยีน

780

CaWRKY1 สร้างโปรตีน WRKY ซึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกันกับ zinc finger-typetranscription factorsที่ทำหน้า
เกี่ยวกับการควบคุมการป้องกันและตอบสนองต่อเชื้อโรคที่เข้ามาในเซลล์พืช (Eulgem and Somssich, 2007)
Receptor-like kinases (RLKs) เป็นโปรตีนบริเวณเยื่อเลือกผ่าน (trans-membrane) ทำหน้าที่ในการรับส่ง
สัญญาณผ่านโปรตีนตวั รบั บรเิ วณเนอื้ เยื่อ สำหรับในพชื ชนดิ ของโปรตีนตัวรับบริเวณเนอื้ เย่ือเลอื กผา่ นมีหลายชนิด
แตกตา่ งกันและรบั สญั ญาณท่แี ตกต่างกนั จากการกระตนุ้ จากสิง่ แวดลอ้ ม RLKs สามารถแบ่งตามออกเปน็ สองกลุ่ม
ตามหนา้ ท่ีการทำงาน กล่มุ แรกทำหนา้ ท่ีเก่ยี วกบั การควบคมุ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของพืชภายใต้สภาวะ
แวดล้อมปกติ ในกลุ่มที่สองเป็นกลุ่มที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการตอบสนองและป้องกันการติดเชื้อและความเครียด
ตา่ งๆ ของพชื สำหรบั การศกึ ษาโปรตนี RLKs ในยีนกลุ่มทีม่ ีการตอบสนองต่อความเครยี ดและการตา้ นทานต่อเช้ือ
โรค ในการศึกษายนี Xa21 ทีเ่ ปน็ receptor kinase-like protein (RLK) ทำหนา้ ที่ในการตอบสนองต่อการบุกรุก
ของเชื้อในข้าว พบว่าสามารถต้านทานต่อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ของเชื้อได้หลายสายพันธุ์
สำหรับในกาแฟ Ramiro et al. (2009) ได้ทำการศึกษายีนในกาแฟอาราบิก้า สายพันธุ์ TupiIAC1669-33 และ
Catuai IAC81 ทั้งพันธุ์ทนและอ่อนแอต่อโรค ทั้งหมด 7 ยีนประกอบด้วย CaR111, CaWRKY1, CaRLK, CaGT
CaPR1b, CaPR10 และ CaUbiquitin ยีนสว่ นใหญท่ ำหนา้ เป็นเสน้ ทางในการสง่ สัญญาณเพอ่ื ให้เกิดการตอบสนอง
เม่ือมีเชอ้ื บกุ รกุ เขา้ มาในเซลล์พืช โดยเขาทำการศึกษารูปแบบการแสดงออกของยนี ท้งั เจ็ดเม่อื มีการติดเชื้อราสนิท
(Hemileia vastatrix) ตัง้ แต่ระยะแรกในการบุกรกุ (primary haustoria) ของเชื้อเข้าในเซลล์พืช จนกระทงั้ ระยะ
secondary haustoria ที่มีการแสดงออกของโรคราสนิทอย่างชัดเจน โดยอาศัยตามหลักการตามทฤษฎี gene-
by-gene (Flor,1947) โดยศึกษาปฎิสัมพันธ์ระหว่างยีนของเชื้อราสนิม กับยีนของ host ที่เชื้อบุกรุกเข้าไป โดย
CaWRKY1, CaR111, CaGT และ CaRLK มีหน้าท่ีเกี่ยวของกับการตอบสนองและป้องกัน (defense-related
genes) ตอ่ เช้อื โรคเมอื่ มกี ารบุกรุกของเชอ้ื ในขณะทีย่ ีน CaPR1b และ CaPR10 มีการแสดงของทีจ่ ำเพาะของพืช
เกี่ยวกับการเกิดโรค (pathogenesis-related proteins) ของพืช สำหรบั CaUbiquitin ถกู เลือกใชเ้ ป็นยนี ควบคุม
(internal control gene) จากผลการศึกษาพบว่ากาแฟพันธุ์อ่อนแอและพันธุ์ทนมีการแสดงออกของยีนที่
ตา้ นทานตอ่ ราสนิมแตกต่างกนั อย่างชัดเจนในระยะ ‘secondary haustoria’ โดยพบยีน CaPR1b และ CaPR10
แสดงออกสูงสุดในกาแฟพันธุ์ต้านทานต่อราสนิม แต่พบว่ายีนดังกล่าวนี้แสดงออกในระดับที่ต่ำในกาแฟพันธุ์
อ่อนแอ ในทางตรงกนั ข้ามพบว่ายีน CaWRKY1 และ CaRLK มกี ารแสดงออกในพนั ธอ์ ่อนแอเท่านั้น

ดงั น้ันในการศึกษาครงั้ นี้มวี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื จะตรวจสอบการแสดงออกของยีนที่เก่ียวข้องกับการต้านทาน
โรคราสนิมทั้ง 7 ยีน ได้แก่ CaR111, CaWRKY1, CaRLK, CaGT, CaPR1b, CaPR10 และ CaUbiquitin และ
โครงสร้างทางพันธุกรรมในกาแฟสายพนั ธ์ุ Arabica sp. ที่รวบรวมไว้ของกรมวิชาการเกษตรเพื่อวเิ คราะห์สาเหตุ
ของความแปรปรวนในความต้านทานโรคราสนิม เพื่อการคัดเลือกพันธุ์และการใช้ประโยชน์ในงานปรับปรุงพันธ์ุ
กาแฟอาราบกิ า้ ของไทย

วธิ ดี ำเนนิ การและอปุ กรณ์
สิ่งที่ใช้ในการทดลอง : กาแฟอาราบิก้าที่รวบรวมไว้ที่ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวง (ขุน
วาง) ศนู ยว์ ิจัยและพัฒนาการเกษตรทสี่ งู เชยี งราย (วาวี) สถานวี ิจัยโครงการหลวงแมห่ ลอด

781

แบบและวิธกี ารทดลอง :
วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารทดลอง

1. การแยกความแตกต่างของยนี ต้านทานโรคราสนมิ ด้วยเทคนคิ HRM และการวเิ คราะห์ลำดบั นิวคลโิ อ
ไทด์

วธิ ีการทดลอง : เก็บตัวอยา่ งใบ ทำการสกัดดเี อน็ เอ ตรวจสอบชิน้ ส่วนยนี เป้าหมายทงั้ 7 ยนี ดว้ ยเทคนคิ พซี ี
อารโ์ ดยไพร์เมอร์ทอั้ ้างอิงตาม Ramiro, et al. 2009 ดงั น้ี

CaPR1b*(DQ335594) F-GATTACCTGGACGCCCATAA R-GCTGCCAGGTTTTCTCCATA
CaPR10 *(CF589103) F- GCCACCATCCTTGAAGAGAA R- CAACTCTCTGCTTGGCAGTCT
CaR111 *(CF589193) F-TCCAAATCGCTTCGACACC R-GAGACGTCTTGCAAGGTTTTGA
CaGT *(CO773975) F- ACTCCAGCAACAACCACCATTA R- GTTGCGGTTTGTATATGGAGATTG
CaWRKY1*(CO773974) F-TGCAACAAGGACAGCACCAG R- CGTGATCGCGGCCGT
CaRLK *(CF589181) F- ATGGGAGAAAAGAATGGCAGAAG R- GGCCAATTACAGTTTGAAAACACC
CaUbiquitin *(AF297089) F- AACATTGAGGGTGGTTCTGTTC R- GCAGAAAACCAACTAAGACCTAACAA

การทำพซี อี าร์ : ปฏกิ ริ ยิ า PCR ประกอบดว้ ย 10X buffer 1.5 µl, 2.5 mM dNTP 1.2 µl, 25 mM
MgCl2 0.9 µl, 5U Taq DNA polymerase 0.3 U, DNA template 3 µl ในปริมาตรรวม 15 µl เพ่มิ ปริมาณดี
เอ็นเอด้วยโปรแกรม Pre-incubation 95ºC/5 นาที 1 รอบ, ตามด้วย Denaturation 95 ºC /15 วินาที
Annealing 57 ºC/30 วนิ าที Extension 72 ºC/40 วินาที จำนวน 40 รอบ ตามด้วย Final extension 72 ºC/7
นาที 1 รอบ

การตรวจ Tm ด้วย Real-Time PCR : ยีนแต่ละตัวจะใช้สภาวะในการเพิ่มชิ้นส่วนยีนไม่เท่ากัน และ
สภาวะในการทำ Real-Time PCR กับ conventional PCR ก็แตกตา่ งกัน โดยจะใชส้ ภาวะเรมิ่ ต้น ดงั น้ี
Pre-incubation 95 ºC/10 นาที 1 รอบ ตามด้วย Denaturation 95 ºC /15 วินาที Annealing 58 ºC/20
วินาที Extension 72 ºC/40 วินาที จำนวน 45 รอบ ตามด้วย Melting Curve denaturing 95 ºC Annealing
65 ºC Extension 97 ºC /5 วินาที 1 นาที Cooling 40 ºC/30 วินาที

การตรวจลำดับเบส (sequencing) : การหาลำดบั เบสของยนี เป้าหมายเพอื่ ยนื ยนั ผลโดยเมื่อได้ลำดับเบส
มาแล้วนำมาเปรยี บเทียบกับลำดับเบสที่อยู่ในฐานข้อมลู นำตัวอย่างดเี อ็นเอทีเ่ ตรียมไว้โดยผ่านการทำให้บรสิ ุทธ์ิ
แลว้ ทำการหาลำดบั เบสด้วยสารเคมชี ุด ABI Big Dye Terminator v3.1 Cycle Sequencing Kit ตามตามที่วิธีท่ี
ระบุในคู่มือ และตรวจสอบลำดับเบสด้วยเครื่อง ABI 3500 Genetic Analyzer จากนั้นอ่านผลลำดับเบสด้วย
โปรแกรม Seqscap (Appliedbiosystems)

782

2. การตรวจการแสดงออกของยนี ต้านทานโรคราสนิม
การสกัดอาร์เอน็ เอ : นำตัวอย่างใบกาแฟ มาสกัด RNA โดยใช้ชุดสกัด GF-1 Total RNA Extraction kit
(Vivantis, California, U.S.A.) ตามทว่ี ิธที ร่ี ะบุในคู่มอื จากนัน้ ตรวจคุณภาพของอารเ์ อน็ เอด้วยวิธีอเิ ล็กโทรโฟริซิส
วัดความเข้มข้นและความบริสุทธ์ขิ องอารเ์ อ็นเอท่ีสกดั ได้ด้วยเครอ่ื งสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ NanoDrop® (Thermo
Fisher Scientific Inc., Wilmington, U.S.A.) กำจัดดีเอ็นเอที่อาจหลงเหลืออยู่ในสารละลายอาร์เอ็นเอด้วย
เอนไซม์ DNaseI (Vivantis, California, U.S.A.) หาก RNA ทีส่ กัดได้มคี วามเขม้ ขน้ และมีความบริสทุ ธ์ิอยู่ในระดับ
ที่เหมาะสมคอื ช่วง 2.0-2.2 จงึ นำไปใชเ้ ป็นต้นแบบในการสังเคราะห์ cDNA ดว้ ย Thermo Scientific RevertAid
First Strand cDNA Synthesis kit (Thermo Fisher Scientific, Massachusetts, U.S.A.) โดยใช้ไพรเมอร์ชนดิ
ออลิโกดีที (oligo dT primer) เป็นตัวตั้งต้นในการสังเคราะห์สายดีเอ็นเอสายแรก (first strand cDNA) ด้วย
เครอ่ื งพซี อี าร์ แล้วนำ cDNA ทีไ่ ด้ไปเก็บรักษาไวท้ ่ีอณุ หภูมิ -20 องศาเซลเซียส เพื่อนำไปใช้ในปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิ
เมอเรส (Polymerase Chain Reaction, PCR)
การสังเคราะห์ cDNA : สังเคราะห์ cDNA ด้วย Thermo Scientific RevertAid First Strand cDNA
Synthesis kit (Thermo Fisher Scientific, Massachusetts, U.S.A.) โดยใช้ RNA เรมิ่ ต้น 1µg/µl ใช้ไพร์เมอรช์
นิด Oligo(dT)18 primer 1 µl ในปริมาตรรวม 12 µl นำไปบ่มที่อุณหภูมิ 65 ºC เป็นเวลา 5 นาที ในเครื่องพีซี
อาร์ แล้วเก็บไว้ในน้ำแข็ง เตรียมส่วนผสม RT-Mix (Reaction Buffer (5X, green, ) 4 µl RioLock RNase
Inhibitor (20 U/µl) 1 µ l dNTP mix (10 mM each) 2 µl , Revert Aid M-MuLV reverse transcriptase
(200 U/µl) 1 µl เฉพาะหลอดทดสอบ ส่วนหลอด control ไม่เติม ปริมาตรรวม 20 µl นำไปสังเคราะห์ cDNA
ในเครื่องพีซีอาร์โดยใช้อุณหภูมิและจำนวนรอบ ดังนี้ Pre-heating 94 ºC/3 นาที Incubation 42ºC/60 นาที
Heating 70ºC 5 นาที
การเพิ่มปริมาณชิ้นส่วนดีเอ็นเอของยีนที่สนใจด้วยปฏิกิริยา real time PCR : การทดสอบสภาวะท่ี
เหมาะสมในการวเิ คราะห์การแสดงออกของยนี ด้วยเครือ่ ง real-time PCR (Roche Diagnostics, Thailand) โดย
สว่ นประกอบทใ่ี ช้ในการเพ่ิมปรมิ าณชนิ้ ส่วนดีเอน็ เอของยีนที่สนใจ Pre-incubation 95 ºC/10 นาที 1 รอบ ตาม
ด้วย Denaturation 95 ºC /15 วินาที Annealing 60 ºC/20 วินาที Extension 72 ºC/40 วินาที จำนวน 45
รอบ ตามด้วย Melting Curve denaturing 95 ºC Annealing 65 ºC Extension 97 ºC /5 วินาที 1 นาที
Cooling 40 ºC/30 วินาที
การวิเคราะหผ์ ลการแสดงออกของยีน ใชว้ ธิ กี ารวดั ปริมาณแบบสัมพทั ธ์ (relative quantification)ซง่ึ เปน็
การหาปริมาณ DNA เริ่มต้นที่ต่างกัน 2 ตัวอย่างโดยเปรียบเทียบค่า Crossing point (cp) หรือค่า threshold
cycler (ct) ซึ่งค่าที่ได้จากการคำนวนจำออกมาเปน็ จำนวนเท่า โดยจำต้องนำค่า cp ของยีนที่ใชเ้ ป็น reference
(housekeeping gene) ใช้เป็นเปน็ ค่าเปรยี บเทียบกับคา่ cp ของยนี ทีใ่ ชศ้ ึกษาการแสดงออกของยนี
โดยการหาปริมาณการแสดงออกของยีน (expression level) คำนวนจากวิธี ∆∆Ct (∆∆Ct method)
ของ Livak and Schmittgen, (2001) จากสมการ
Ratio = 2-∆∆Ct
โดย ∆∆Ct = (Ct Target – reference)sample - (Ct Target – reference) calibrator

783

สถานที่ทำการทดลอง : ศนู ย์วิจัยพชื ไรข่ อนแก่น
การเกบ็ ขอ้ มลู : รอยโรคราสนมิ บนใบ ขนาดชน้ิ ยีน ระดับการแสดงออกของยีน
ระยะเวลา ตุลาคม 2558 –กนั ยายน 2564

ผลการทดลองและวจิ ารณ์
การตรวจพิสูจน์ความเหมือนของยีนด้วยเทคนิค HRM : ผลการตรวจวิเคราะห์ค่า Tm ของยีนทั้ง 7
ชนิดได้แก่ CaR111, CaWRKY1, CaRLK, CaGT, CaPR1b, CaPR10 และ CaUbiquitin ในกาแฟ Robusta,
Typica, Liberica และ CM80 พบว่ากาแฟแต่ละพันธุ์มีค่า Tm ของแต่ละยีนแตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่ามีการ
เรียงตัวของลำดับเบสที่แตกต่างกัน พบว่า ยีน R111 มีค่า Tm =82, ยีน Ubiquitin Tm=79, RLK Tm=85,
PR10 Tm=78 และ 82, PR1b Tm=86, GT พันธ์ุ Liberica Tm = 82, พันธุ์อื่น Tm = 84, WRKY1 พันธุ์
Liberica Tm = 76 พันธุ์อื่น Tm = 86, พบว่าพันธ์ุ Liberica มีค่า Tm ของยีน GT และ WRKY1 แตกต่างจาก
พนั ธอุ์ ื่น (ภาพที่ 1)
ขอ้ มูลลำดบั เบสของยีนต้านทานโรคราสนิมในกาแฟ : สามารถเพิ่มปริมาณดีเอน็ เอเพอ่ื ตรวจลำดับเบส
ได้เพียง 2 ยีน ได้แก่ ยีน RLKs, PR1b ส่วนยีน GT สามารถตรวจได้เพียงพันธุ์ Typica จากผลการเปรียบเทียบ
ลำดับเบสกับฐานข้อมูลสากล พบว่า ลำดับเบสของยีน RLK ที่ได้ มีความเหมือนกับยีนในกลุ่ม protein kinase
ของ C. Arabica ในระดบั ความเหมอื น 82% ลำดับเบสของยีน PR1b ทไ่ี ด้จากการทดลองน้ี มคี วามเหมือนกับ ยนี
ในกลุ่ม pathogenesis-related protein1 (PR1) ของ C. Arabica 78% ส่วนลำดับเบสของยนี GT ที่ได้ มีความ
เหมอื นกบั ยนี ในกลมุ่ UDP-glycosyltransferase 74G1-like ของ Nicotiana tomentosiformis ในระดับความ
เหมอื น 89%

784

ภาพท่ี 1 คา่ Tm ของยีนทเี่ ก่ียวข้องกบั ความตา้ นทานโรคราสนิม 7 ยีน ได้แก่ CaR111, CaWRKY1, CaRLK,
CaGT, CaPR1b, CaPR10 และ CaUbiquitin ในกาแฟ Robusta, Typica, Liberica และ CM80

785

การตรวจการแสดงออกของยีนต้านทานโรคราสนิม : ทำการวิเคราะห์การแสดงออกของยีนในกลุ่ม
ตัวอย่างท่ีเก็บทั้ง 2 ช่วงฤดู ได้แก่ ฤดูฝนและฤดูหนาว เพื่อตรวจระดับการแสดงออกของยีนก่อนการระบาดของ
เชื้อราสนมิ โดยเก็บตัวอย่างใบจากต้นเดิม ได้ดำเนินการตรวจการแสดงออกของยีนที่ก่อโรคราสนิมในกาแฟกลุ่ม
ตวั อยา่ งเดือนกันยายน และ ธนั วาคม 2562 ทเ่ี ก็บมาจำนวน 44 ตวั อย่าง (ภาคผนวก ตารางท่ี 1) แต่ละตัวอย่าง
แบง่ เป็นตวั อย่างท่ไี ม่มอี าการ และมีอาการ ท่ีเกบ็ จากก่ิงเดยี วกนั และตน้ เดยี วกนั ไดท้ ำการศึกษายนี แล้ว จำนวน 5
ยีน ได้แก่ R111, WRKY, GT, PR1b และ PR10 ส่วนอีก 1 ยีน คือ RLK ไม่สามารถตรวจการแสดงออกได้ และ
Ubiquitin ถูกใช้เป็นยีนควบคุม ทำการเปรียบเทียบการแสดงออกของยีนทั้งสองช่วงเวลาแบ่งเป็น การ
เปรียบเทยี บระหว่าง ตัวอย่างที่ไมม่ ีอาการของโรคเดอื นกนั ยายนกบั ตวั อย่างที่มอี าการของโรคเดือนธนั วาคม และ
ตัวอย่างที่มีอาการและไม่มีอาการของโรคจากกิ่งเดียวกันในเดือนธันวาคม บันทึกลักษณะอาการของโรค พบว่า
กลุ่มพันธุ์ CM80 มีการแสดงอาการของโรคราสนิมน้อยกว่ากลุ่ม Typica และกลุ่มอื่นที่นำมาศึกษา มียีนที่มีการ
แสดงสูงในกลุ่ม CM80 เมื่อเทียบระหว่างใบที่ไม่มีอาการโรคในช่วงเดือนกันยายน และใบที่มีอาการของโรคใน
เดือนธนั วาคมไดแ้ ก่ R111, GT, PR1b (ภาพท่ี 2) และเมอ่ื เปรียบเทียบกบั ความแตกต่างของการแสดงออกของยนี
ชดุ เดยี วกนั น้ใี นตวั อยา่ งของเดือนธนั วาคมท่มี ีการเกดิ โรคราสนมิ พบว่ายนี PR1b มีค่าการแสดงออกของยีนในใบท่ี
มีการแสดงอาการของโรคสูงขึ้นกว่าใบที่ไม่มีการแสดงอาการของโรค (ภาพที่ 3) ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ว่ายนี
PR1b มคี วามสำคัญกบั การแสดงอาการทนโรคราสนิมในพนั ธุ์ CM80 ท้งั นี้ความทนทานของความทนโรคราสนมิ ใน
พันธุ์ CM80 นี้อาจมีการทำงานร่วมกันกับยีนประกอบอื่นด้วย คือ R111, GT และ PR10 อย่างไรก็ตาม ในการ
แสดงออกของยีนทนทานต่อโรคของกลุม่ พันธ์ุ CM80 นน้ั ยังพบว่ามีความแปรปรวน จงึ อาจเปน็ สาเหตหุ นึ่งทีท่ ำให้
กลุ่มพันธุ์ CM80 ที่ได้นี้ มีความทนทานต่อโรคราสนิมได้ไม่เท่ากัน ซึ่งอาจเกิดจากพื้นฐานของยีนกลุ่มดังกล่าวมี
ความแตกต่างกนั ได้

786

อาการของโรคราสนมิ : ใบทะลุเปน็ รูกลม ไมม่ อี าการ เปน็ วงสีส้ม วงสสี ้มและทะลเุ ป็นรู
ภาพท่ี 2 ความแตกต่างของระดับการแสดงออกของยีน R111, WRKY, GT, PR1b และ PR10 ในใบของกาแฟ

อาราบิกา้ 44 หมายเลข ระหว่างเดือนกันยายนทไ่ี ม่มีอาการโรคราสนิม และเดือนธันวาคมทม่ี ีอาการโรคราสนิม

787

อาการของโรคราสนิม : ใบทะลุเปน็ รกู ลม ไมม่ อี าการ เป็นวงสีส้ม วงสีสม้ และทะลเุ ปน็ รู
ภาพที่ 3 ความแตกต่างของระดับการแสดงออกของยีน R111, WRKY, GT, PR1b และ PR10 ในใบของกาแฟ

อาราบกิ า้ 44 หมายเลข ระหวา่ งเดือนธนั วาคมทีไ่ มม่ อี าการโรคราสนมิ เทียบกบั ท่มี อี าการโรคราสนิมใน
เดือนเดยี วกัน

788
ผลการวิเคราะห์ผลการแสดงออกของยีนที่เกีย่ วข้องกับการต้านทานโรคราสนิมในกาแฟจำนวน 6 ยีนที่

ทำการศกึ ษาเก็บตวั อย่างในเดอื น ก.พ. 2564 และรอ่ งรอยการทำลายของโรคบนใบ พบวา่ กลมุ่ ตัวอย่าง CM80 มี
ร่องรอยของโรคน้อยกว่ากลมุ่ อื่นแสดงใหเ้ หน็ วา่ มคี วามทนทานต่อโรค และกลมุ่ Typica มีรอ่ งรอยของโรคมากกว่า
กล่มุ อื่น แสดงใหเ้ หน็ วา่ เป็นกลมุ่ ท่อี ่อนแอตอ่ โรคราสนิม ในการตรวจวเิ คราะห์การแสดงออกของยนี พบว่าในกลุ่ม
Typica มีการแสดงออกของยนี PR1b และ PR10 สูงกว่ากลุม่ อืน่ แสดงว่าทัง้ สองยีนน้ีอาจเก่ียวข้องกบั การแสดง
ความอ่อนแอต่อโรค หรือเป็นกลุ่ม susceptibility factor ในขณะที่กลุ่ม CM80 พบว่ามีการทำงานของยีน GT
คอ่ นข้างสงู กวา่ กล่มุ อ่นื แต่ไม่เด่นชัด ซ่ึงอาจเกดิ จากการทำงานร่วมกับยีนอื่น (ภาพท่ี 2) อย่รู ะหว่างการวิเคราะห์
ขอ้ มูลทางสถติ ิดา้ นความสมั พนั ธ์ของการแสดงออกของยีนและความต้านทานต่อโรค

ภาพที่ 4 ระดบั การแสดงออกของยนี WRKY, R111, PR1b, PR10*, GT และ RLK ในใบของกาแฟอาราบกิ ้า 41
หมายเลข ระหว่างเดือนกุมภาพนั ธ์ุ 2564 ในใบมมี อี าการโรคราสนิม * ขาดข้อมูลหมายเลข 93
สรปุ ผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
การศึกษายนี ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การแสดงความต้านทานโรคราสนิมในกาแฟอาราบิก้า โรคราสนมิ ในกาแฟเกิด

จากเช้ือรา Hemileia vastatrix ศกึ ษาในยีน 7 ชนิด ไดแ้ ก่ CaR111, PR10, CaWRKY1, CaRLK, CaGT CaPR1b,
CaPR10 และใช้ CaUbiquitin เป็นยีนควบคุม ในการพัฒนาวิธีการตรวจความแตกต่างของยีนด้วยเทคนิค HRM
ดำเนินการทดสอบในกาแฟ 4 พันธุ์ ได้แก่ Liberica, Arabica, Robusta และ Typica สามารถตรวจหาค่า Tm
ของยนี ที่ทำการศึกษาได้ ซึง่ สามารถนำมาใช้ในการศกึ ษาตวามแปรปรวนหรอื จดั กล่มุ ของยีนในประชากรทีต่ ้องการ
ศึกษาได้ จากผลการทดลองพบว่าพันธุ์ Liberica มีค่า Tm ของยีน GT และ WRKY1 แตกต่างจากพันธุ์อื่น ผล

789

การศึกษาลำดับเบสของยีนทั้ง 7 ชนิด ในกาแฟทั้ง 4 สายพันธุ์ สามารถตรวจลำดับเบสได้เพียง 2 ยีน ได้แก่ ยีน
RLKs, PR1b ส่วนยนี GT สามารถตรวจได้เพียงพนั ธ์ุ Typica พบว่าลำดับเบสของยนี ทีไ่ ด้มีความใกล้เคียงกับกลุ่ม
ยีนทเ่ี กยี่ วข้องกบั ความตา้ นทานโรค ในการตรวจการแสดงออกของยนี ตา้ นทานโรคราสนมิ พบวา่ ยนี PR1b มีการ
แสดงออกสงู ในกลุ่มทีไ่ ม่ทนราสนิมทั้งสองชว่ งปีทที่ ำการทดสอบ ในขณะที่ยนี GT พบวา่ มกี ารแสดงออกที่คอ่ นข้าง
สูงในกลุ่มพันธุ์ CM80 แต่เนื่องจากความแปรปรวนของประชากรกลุ่มพันธุ์ CM80 ที่ส่งผลต่อความต้านทานรา
สนมิ ท่ีไม่สมำ่ เสมอ จึงทำใหก้ ารวเิ คราะหก์ ารแสดงออกของยีนน้ีในกลุ่มประชากรทนโรคไม่เดน่ ชดั ดังน้ันอาจต้อง
คัดเลืกประชากรที่ใช้ในการศึกษาที่มีปฏิกิริยาต่อโรคที่ชัดเจน จึงจะทำให้สามารถระบุชนิดของยีนที่มีผลต่อการ
ต้านทานโรคราสนิม

การนำผลงานใชป้ ระโยชน์

1. ได้เผยแพร่ผลงานวิจัยในงานประชุมกาแฟนานาชาติ และได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในการประชุม
“26th International Conference on Coffee Science (ASIC 2016)” เรอื่ งที่ PA 192 ชอ่ื เรอ่ื ง Investigation
of coffee rust (Hemileiavastatrix) resistance genes in Coffea Arabica L. var. Chiangmai 80. โ ด ย
Sakuanrungsirikul, S., Srithawong, S., Sripukdee, W., Punsang, A., Phonthirat, S., Khomarwut, C.,
Hanthewee, M., and Noppakhunwong, U. ในการประชุมที่ Yunnan ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
ระหวา่ งวันท่ี 13-19 พ.ย. 2559

2. นำเสนอผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์เรื่อง “Investigating the Resistance (R) Genes Associated
With Coffee Leaf Rust Disease in Coffee (Coffea spp.) in Thailand By Melting Peak Analysis” ในงาน
ประชุม “1st ASEAN Coffee Industry Development Conference 2018” ระหว่างวนั ที่ 14-17 ก.พ. 2562 ณ
จังหวดั เชียงใหม่ จดั โดย สมาคมพชื สวนและกรมวชิ าการเกษตร

790

เอกสารอ้างองิ

Eulgem T, Somssich IE, 2007. Networks of WRKY transcription factors in defense signaling. Current Opinion in
Plant Biology 10, 366–71.

Gold RE, Mendgen K, 1991. Rust basidiospore germlings and disease initiation. In: Cole GT, Hoch C, eds. The
Fungal Spore and Disease Initiation in Plants and Animals. New York, USA: Plenum, 67–99.

Heath MC, 1977. A comparative study of nonhost interactions with rust fungi. Physiological Plant Pathology 10,
73–88.

Livak KJ and Schmittgen TD. 2001. Analysis of relative gene expression data using real-time quantitative PCR

and the 2(-Delta Delta C(T)) Method. Methods. 25(4):402-8.

O’Connell RJ, Panstruga R, 2006. Teˆte-a`-teˆte inside a plant cell: establishing compatibility between plants
and biotrophic fungi and oomycetes. New Phytologist 171, 699–718.

Ramiro et al. (2010) Ramiro D, Jalloul A, Petitot A-S, De Sá MFG, Maluf MP, Fernandez D. Identification of coffee
WRKY transcription factor genes and expression profiling in resistance responses to pathogens. Tree
Genetics & Genomes. 2010;6(5):767–781. doi: 10.1007/s11295-010-0290-1

Ramiro, D.A., Escoute, J., Petitot, A.S., Nicole, M., Maluf, M.P. and Fernandez, D. 2009. Biphasic haustorial
differentiation of coffee rust (Hemileia vastatrixrace II) associated with defence responses in resistant
and susceptible coffee cultivars. Plant Pathology 58(5): 944–955.

Silva MC, Nicole M, Guerra-Guimara˜es L, Rodrigues Jr CJ, 2002. Hypersensitive cell death and post-haustorial
defence responses arrest the orange rust (Hemileia vastatrix) growth in resistant coffee leaves.
Physiological and Molecular Plant Pathology 60, 169–83.

791

ภาคผนวก

ตารางที่ 1 รายช่อื ตวั อยา่ งท่ใี ช้ในการศกึ ษาการแสดงออกของยีนต้านทานโรคราสนมิ

หมายเลขและชอื่ ตวั อย่าง แหลง่ ที่มา หมายเลขและชื่อตัวอยา่ ง แหล่งทม่ี า
เกษตรหลวงขุนวาง
2.CM80 2/25 SF เกษตรหลวงขนุ วาง 65.Typica 2/20 B3 Ty เกษตรหลวงขุนวาง
เกษตรหลวงขุนวาง
3.CM80 2/28 SF เกษตรหลวงขุนวาง 66.Typica 2/24 B5 Ty เกษตรหลวงขนุ วาง
เกษตรหลวงขนุ วาง
4.CM80 2/31 SF เกษตรหลวงขุนวาง 67.Typica 2/29 B4 Ty เกษตรหลวงขนุ วาง
เกษตรหลวงขนุ วาง
5.CM80 2/33 SF เกษตรหลวงขนุ วาง 68.Typica 2/44-2 B5 Ty เกษตรหลวงขุนวาง
เกษตรหลวงขนุ วาง
6.CM80 2/36 SM เกษตรหลวงขุนวาง 69.Typica 2/45 B5 Ty เกษตรหลวงขนุ วาง
ตวั อย่างตาย
7.CM80 2/39 SM เกษตรหลวงขนุ วาง 70.Typica 2/45-1 B6 Ty เกษตรหลวงขุนวาง
เกษตรหลวงขนุ วาง
8.CM80 2/42 SM เกษตรหลวงขนุ วาง 71.Typica 3/5 B7 Ty ตัวอย่างตาย
เกษตรหลวงขุนวาง
9.CM80 2/45 SM เกษตรหลวงขนุ วาง 72.Typica 3/2 B7 Ty เกษตรหลวงขุนวาง
เกษตรหลวงขุนวาง
10.CM80 2/48 SM เกษตรหลวงขุนวาง 77.Catuai Rojo T1 โครงการแมห่ ลอด
โครงการแมห่ ลอด
47. 1/1 B2T5 เกษตรหลวงขุนวาง 78.Catuai Rojo T2 โครงการแมห่ ลอด
โครงการแม่หลอด
48. 1/4 B3T3 เกษตรหลวงขุนวาง 79.Catuai Rojo T3 เกษตรหลวงขนุ วาง
เกษตรหลวงขุนวาง
49. 2/8 B1T3 เกษตรหลวงขนุ วาง 80.Catuai Rojo T4 เกษตรหลวงขนุ วาง

50. 2/22 B2T5 เกษตรหลวงขุนวาง 81.Catuai Rojo T5

51. 2/27 B4T5 เกษตรหลวงขนุ วาง 82.Catuai Rojo T6

52. 2/34 B4T6 เกษตรหลวงขุนวาง 83.Catura Rojo T1

53. 3/2 B7T7 เกษตรหลวงขนุ วาง 87.Catura Rojo T5

54. 3/5 B7T1 เกษตรหลวงขุนวาง 89.Sanromon T1

58.Typica 2/5 B3 SF Ty เกษตรหลวงขนุ วาง 73. Typica 1.

59.Typica 2/12 B2 T4Ty เกษตรหลวงขุนวาง 74. Typica 2.

60.Typica 2/13 B2 T4Ty ตวั อย่างตาย 75. Typica 3.

61.Typica 2/13 B4 T2Ty ตวั อย่างตาย 76.Mattari

62.Typica 2/15 B2 T3Ty เกษตรหลวงขนุ วาง 92.CM80 3/2 SM

63.Typica 2/16 B3 T5Ty เกษตรหลวงขุนวาง 93.CM80 3/15 SM

64.Typica 2/16 B3 T1Ty เกษตรหลวงขุนวาง 95.CM80 2/25 SM

792

แผนงานวิจัย

วจิ ัยและพัฒนากลว้ ยไม้

793

การส่งถา่ ยยีน Antisense ACC (1-aminocyclopropane-1-carboxylase)
ต่อการยืดอายุการบานของกล้วยไม้สกุลหวายเอียสกุล

Investigation of the effect of Antisense ACC (1-aminocyclopropane-1-
carboxylase) gene on flower longivity in Dendrobium Orchid Earsakul

ศุจริ ัตน์ สงวนรังศิริกุล1 วรี กรณ์ แสงไสย์1 ประภาพร ฉนั ทานุมตั ิ2 รชั นี ศริ ิยาน2 ชมัยพร ไกยฝ่าย1
เบญจวรรณ รตั วัต1 ธวชั ชยั ทรพั ย์ถิระ1 และยุพนิ กสนิ เกษมพงษ3์

รายงานความก้าวหนา้
การดำเนินงานปี 2563-2564 ไม่ได้มีการส่งถา่ ยยีนเพิม่ แต่ทำการแยกขยายต้นจากโปรโตคอร์มท่ไี ด้รบั
การถ่ายยีนแล้วจากช่วงแรกของการดำเนนิ งาน นำมาชักนำให้เกิดต้นอ่อน มีการตรวจยีนเป้าหมาย 3 ยีน ได้แก่
35S promotor, NOS terminator และ NOS-ACO ดำเนินการตรวจครั้งที่ 1 ในต้นอ่อนเพื่อคัดเลือกต้นที่มียีน
เปา้ หมาย 1 ใน 3 หรอื ครบทงั้ 3 ยนี เพอ่ื คัดตน้ มาเพาะเลย้ี งต่อจนได้ต้นสมบูรณ์ในขวด แล้วนำออกปลูกในสภาพ
ธรรมชาติ ในกรงกันแมลง จากนั้นทำการเพื่อตรวจยีนเป้าหมายซ้ำ เพื่อคัดเลือกตน้ สมบรู ณท์ ่ียงั มียีนเป้าหมาย 1
ใน 3 หรือทั้ง 3 ยีน ทั้งนี้เนื่องจากอาจมีการสูญเสียยีนที่ได้รับการถ่ายเข้าไปในระหว่างการเจริญเติบโต ทำการ
ตรวจเช็คการเจริญเติบโต ได้แก่ ความสูง จำนวนหน่อ การออกดอก ทุก 3 เดือน และการแสดงออกของยีน
เป้าหมาย ไดแ้ ก่ ยีน ACO ในตน้ ทส่ี มบูรณ์
ในปี 2563-2564 มีต้นกล้วยไม้หวายที่ได้รับและไม่ได้รับการส่งถ่ายยีนเพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ
ทั้งหมด 132 ขวด มีต้นที่นำออกมาเพาะเลี้ยงในสภาพธรรมชาติเหลืออยู่ 81 ต้น โดยทยอยปลูก วัดความสูงตน้
และจำนวนหน่อของตน้ อ่อนที่นำออกปลูก พบว่ามีจำนวนหน่อต่อต้น 1-6 หน่อ และความสูงต้น 1-4 เซนติเมตร
เป็นตน้ ท่ีตรวจพบยีนเปา้ หมายท้ัง 3 ยนี 43 ต้น ขณะน้ีอยู่ระหว่างอนุบาล และรอการตรวจเช็คยนี เป้าหมาย ส่วน
ต้นกล้วยไมห้ วายท่ีเพาะเลี้ยงในกรงเพาะ จากเดิมมีจำนวน 136 ตน้ เหลอื รอด 124 ต้น มคี วามสูงระหวา่ ง 1.00-
24.5 เซนตเิ มตร จำนวนหน่อ 1-4 หน่อ ตรวจพบการแสดงออกของยนี actin 54 หมายเลข พบการแสดงออกของ
ยีน 35S promoter ใน 55 หมายเลข และ NOS terminator ใน 4 หมายเลข ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจการ
แสดงออกของยนี ACO

คำนำ
ปจั จยั สำคัญทเี่ ป็นปญั หาหน่งึ ของการผลิตกล้วยไม้ คือการเหย่ี วและดอกรว่ งเรว็ ในระหว่างการขนส่ง การ
วางจำหน่ายและการปักแจกัน การเหี่ยวและหลุดร่วงของดอกเกิดเนื่องจากก๊าซเอทีลีนที่พืชสร้างขึ้น เป็นผลให้
กลีบดอกเหี่ยวและหลุดร่วงง่ายในกล้วยไม้สกุลหวายได้แม้เพียงได้รับเอทิลีนในระดับความเข้มข้นต่ำ โดยเฉพาะ

1ศูนยว์ จิ ัยพชื ไรข่ อนแก่น สถาบนั วิจยั พืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแก่น
2ศูนย์วิจัยพชื สวนศรีษะเกษ สถาบนั วิจัยพชื สวน อำเภอเมือง จังหวดั ศรษี ะเกษ
3สถาบนั วิจัยพชื สวน จตุจักร กรุงเทพมหานคร

794

อยา่ งยงิ่ ในกลว้ ยไมส้ กลุ แวนดา้ จะตอบสนองตอ่ ก๊าซนน้ี ีม้ ากที่สดุ ในชว่ ง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้มีการศึกษาการส่ง
ถ่ายยีน antisense ACC syntase และ antisense ACC oxidase เข้าสู่พืชเพื่อยืดอายุการใช้งานของดอกไม้
หลายชนิด พบว่าพืชท่ผี ่านการดัดแปลงพนั ธุกรรมสามารถออกดอกที่บานนานกว่าพนั ธ์เุ ดิม 2 วนั และมีการผลิต
ก๊าซเอทิลีนลดลง (Kende, 1993) นอกจากนี้ยังมีรายงานว่าพืชที่ได้รับการถ่ายยีนดังกล่าวนี้สามารถยืดอายุการ
หลุดร่วงของดอกและใบได้นานกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการถ่ายยีน (Jones and Woodson, 1997; Sugiyama and
Satoh, 2015; Kosugi et al., 2000) ดังนั้นวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ ได้แก่ การถ่ายยีน Antisense ACC
oxidase (ACO) เข้าสู่กลว้ ยไมส้ กลุ หวายและศึกษาการแสดงออกของยีนน้ีในการยืดอายุการบานของดอกกล้วยไม้
สกุลหวายเอยี สกุล

วธิ ีดำเนนิ การและอปุ กรณ์
พืชที่ใชใ้ นการทดลอง : โปรโตคอรม์ กล้วยไมห้ วายเอยี สกุล จากศนู ย์วจิ ยั พชื สวนเชียงราย
วิธีการ :

การเพาะเพิ่มปริมาณโปรโตคอร์ม : นำโพรโตคอร์ไปเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร NDM ( NAA
0.1 mg/L, BA 1.0 mg/L, ผงมนั ฝรง่ั 10 g/L น้ำตาลมอลโทส 10 ก./ล. ผงว้นุ 8 ก./ล. pH 5.4) เพาะเลยี้ งภายใต้

อณุ หภูมิ 252oC ให้แสง 16 ช่ัวโมงต่อวนั ความเข้มแสงประมาณ 40 molm-2s-1
การส่งถ่ายยีน ACC oxidase เข้าสู่ Agrobacterium ประกอบด้วย (1) การเตรียม competent cell

ของเชื้อ Agrobacterium tumefacient โดยนำโคโลนีเดี่ยวของเช้ือมาเลี้ยงในอาหาร LB ปริมาตร 20 มิลลิลิตร
บม่ ท่ี 28 oC นาน 24 ชวั่ โมง แกว่งดว้ ยความเร็ว 200 rpm ดดู เช้ือปรมิ าตร 1 มลิ ลิลติ ร ลงในอาหาร LB ปริมาตร
20 มิลลลิ ิตร บม่ ท่ี 28 oC นาน 3-4 ชั่วโมง แกวง่ ที่ความเรว็ 200 rpm วดั OD ที่ 600 nm ให้ได้ระหว่าง 0.6-0.8
ดดู เช้ือใสห่ ลอด 1.5 มลิ ลิลติ ร ปริมาตร 1 มิลลิลติ ร ไปวางบนน้ำแข็ง 15 นาที ปนั่ ตกตะกอนที่ 10,000 rpm นาน
5 นาที 4 oC เกบ็ ตะกอน เติม TE buffer ปริมาตร 1,00 lป่ันตกตะกอนท่ี 10,000 rpm นาน 1 นาที 4oC เก็บ
ตะกอน เติม TE buffer ปริมาตร 500 l ปั่นตกตะกอนที่ 10,000 rpm นาน 1 นาที 4oC เทสารละลายทิ้ง นำ
competent cell ไปใช้ทนั ที หรือเก็บใน 40 % glycerol ท่ี -70oC (2) การสกัดพลาสมดิ ลกู ผสม (recombinant
plasmid) ด้วยเทคนิค Alkaline lysis โดยใช้ GF-1 Plasmid DNA Extraction Kit ( Vivantis) : ดำเนินการโดย
เพ่ิมจำนวนแบคทเี รียที่มพี ลาสมดิ สายผสมในอาหาร nutrient broth 1.5 ml ทเ่ี ติม 100 µg/µl Amplicilin เล้ยี ง
เชื้อที่อุณหภูมิ 37oC เป็นเวลา 16 ชั่วโมง แล้วสกัดพลาสมิดลูกผสมตามวิธีการของชุดสกดั (3) การนำพลาสมิด
ลูกผสม และเวกเตอร์พาหะ pCambia 1305 มาตัดด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะ BstEII และ NCOI โดยนำพลาสมิด
pCambia 1305 ที่สกัดได้จากเซลล์ E. coli ตัดด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะ BstEII และ NcoI (10X buffer 4 µl
พลาสมิด 1µg/ µl ปรมิ าตร 12 µl เอนไซมต์ ัดจำเพาะ BstEII และ NcoI (10 U/ µl) ชนิดละ 2 µl nuclease –
free water 2 µl บ่มที่ 37oC นาน 18 ชั่วโมง (4) นำพลาสมิดที่มียีน ACC oxidase ที่สกัดจากเซลล์ E. coli มา
ตัดด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะ BstEII และ NcoI (10X buffer 4 µl พลาสมิด 1µg/µl xปริมาตร 14 µl เอนไซม์ตัด
จำเพาะ BstEII และ NcoI (10 U/ µl) ชนิดละ 2 µl บ่มท่ี 37oC นาน 18 ชวั่ โมง (5) การแยกชิน้ ส่วนยนี ให้บริสุทธิ์
โดยใช้ชุด Gel /PCR DNA Fragments Extraction kit (Real genomics) ดำเนินการตามวิธีการในชุดสกัด (6)

795

ทำการเชื่อมชน้ิ สว่ นยนี ACC oxidase ที่ตดั เข้ากับพลาสมิด pCambia 1305 ที่ตดั ด้วยเอนไซม์ BstEII และ NCOI
ด้วยเอนไซม์ T4 ligase (pCambia 1304 (BstEII และ NCOI) 20 ng ปริมาตร 5 µl, Insert DNA (BstEII และ
NCOI) 20 ng ปริมาตร 12 µl, 10x T4 ligase Buffer 2 µl, T4 ligase 1 µl บม่ ที่ 22oC นาน 18 ช่วั โมง (7) การ
ส่งถ่ายยีนโดยวิธี electroporation ดำเนินการโดย นำ competent cells ของเชื้อ Agrobacterium
tumefacien ที่ได้เตรียมไว้แล้วปริมาตร 100 µl มาผสมกับ Recombinant พลาสมิด (pCambia 1305)
ปริมาตร 4µl บม่ ไว้ในน้ำแข็งนาน 15 นาที ดูดเชื้อที่ได้ใส่ใน Electroporation cuvette ขนาด 0.2 cm. นำไป
เข้าเครื่อง electroporatorโดยตั้งค่าของเครื่องดังนี้ Capacitor 25 µF, Voltage 2.5 kV, Resistor 400 Ohm
หลังจาก pulse เติมอาหาร LB ปริมาตร 1 ml นำไปบ่มที่อุณหภูมิ 37 oC เขย่านาน 4 ชม. นำเชื้อมาตกตะกอน
แล้วเติมอาหาร LB ปริมาตร 200 µl ผสมเชื้อให้เข้ากันแล้วดูดใส่อาหาร LB ที่มีสารปฎิชีวนะ Kanamycin 50
mg/L ทำการเกลย่ี เช้อื ให้ทวั่ เพลตอาหาร นำไปบ่มที่อุณหภมู ิ 28 oC นาน 1 วัน ตรวจสอบเชอื้ ที่ขนึ้

การคดั เลือกโคโลนีแบคทีเรียท่ีมี recombinant plasmid ประกอบดว้ ย (1) การตรวจสอบตรวจสอบ
ยีน ACO ในเช้ือท่ีเพาะเลีย้ งได้ด้วยวธิ ี PCR (10x Taq buffer ปรมิ าตร 1.5 µl , 25 mM MgCl2 0.6 µl, 10 mM
dNTP 0.3 µl, 20 µM Primer Forward และ Reverse ชนิดละ 0.375 µl, 5U/ µl Taq DNA polrmerase
(Fermentas) 0.15 µl, DNA template 1 µl ปรมิ าตรรวม 15 µl) ใชไ้ มจ้ ้มิ ฟันฆ่าเชอื้ จม้ิ เช่ือทเี่ ป็นโคโลนีเดี่ยว
มาขีดบนอาหารเลี้ยงเช่ือเพื่อเป็น Master plate แล้ว จุ่มลงในหลอดปฏิกิริยา PCR โปรแกรมในการทำปฏิกิริยา
PCR เปน็ ดังนี้ 94 °C 5 นาที ตามดว้ ยชุดอุณหภูมิ 94 °C 1 นาที 54 °C 1 นาที 72 °C 1 นาที จำนวน 30 รอบ
ตามด้วย 72 °C 10 นาที เก็บรักษาที่ 25 °C ตรวจผลของปฏิกิริยา PCR ด้วยทคนิค agarose gel
electrophoresis นำโคลนที่ตรวจพบยีน มาเลี้ยงเพิ่มปริมาณในอาหารเหลว LB ที่เติม Kanamycin 50 µg/ml
เล้ยี งท่อี ุณหภมู ิ 37 °C พร้อมเขย่า เพอ่ื ใชใ้ นขน้ั ตอนการถา่ ยยนี ตอ่ ไป

ทดสอบอิทธิพลของสารปฏิชีวนะ Cefotaxime ต่อการเจริญของ A. tumefaciens (pCAMBIA1305)
โดยเลยี้ ง A. tumefaciens (pCAMBIA1305) ในอาหารเหลว LB ท่มี สี ารปฏชิ ีวนะKanamycin 50 mg/L นาน 18
ช่วั โมง นำมาวดั คา่ ความยาวคลนื่ 550 นาโนเมตร (OD550) ใหม้ คี า่ เท่ากบั 1.5-1.8 นำไปศกึ ษาผลของสารปฏิชีวนะ
Cefotaxime ต่อการเจริญของ A. tumefaciens โดยทดสอบความ ไวของจุลินทรีย์ (Microbial susceptibility)
ต่อสารปฏิชีวนะโดยวิธี Disc plate technique โดยดูดอาหารท่ีมี A. tumefaciens ลงในหลอด 1.5 ml ปลอด
เชื้อ เขี่ยเชื้อบนอาหาร LB จากนั้นนำกระดาษกรองที่ปลอดเชื้อขนาด 5 มม. จุ่มสารละลาย Cefotaxime ความ
เข้มข้นต่าง ๆ คือ 0, 100, 200, 300, 400 และ 500 mg/L นำมาวางบนอาหารแข็ง LB ที่มี A. tumefaciens
นำไปบ่มท่ีอุณหภูมิ 28oC เป็นเวลา 24 ช่วั โมง ทดสอบท้ังหมด 5 ซำ้ บนั ทกึ ผลโดยวัดขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลางของ
บรเิ วณท่ี A. tumefaciens ถูกยบั ยั้งหรอื บริเวณวงใส (Clear zone)

ส่งถ่ายยีนด้วยวิธี Cocultivation ร่วมกับ A. tumefaciens สายพันธ์ุ EHA105 (pCAMBIA1305)
โดยเลย้ี ง A. tumefaciens สายพันธ์ุ EHA105 (pCAMBIA1304) ในอาหารเหลว LB ทมี่ สี ารปฏชิ ีวนะ Kanamycin
50 mg/L เป็นเวลา 14 ชั่วโมง เขย่าด้วยความเร็ว 150 รอบต่อนาที แล้วนำมาวัดค่า OD550 ให้มีค่าอยู่ระหว่าง
1.5-1.8 นำสารละลาย A. tumefaciens มาผสมกับอาหารเหลวสูตร ½ MS ในอัตราส่วน 2 : 1 และเติม
Acetosyringone 100 mg/L ก่อนบ่มร่วมกับโพรโทคอร์มกล้วยไม้ นำโพรโทคอร์มกล้วยไม้ขนาด 2-3 มม. บ่ม

796

รว่ มกบั สารละลาย A. tumefaciens ที่อณุ หภูมิห้องระยะเวลา 60 นาที เขย่าดว้ ยความเร็ว 150 รอบต่อนาที ซับ
โพรโทคอร์มกล้วยไม้ให้แห้งด้วยกระดาษปลอดเชื้อ นำไปเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร ½ MS ที่ไม่เติมสาร
ปฏชิ วี นะเป็นเวลา 3 วนั จนสงั เกตเห็นการเจริญของ A. tumefaciens นำโพรโทคอรม์ กลว้ ยไมม้ าลา้ งดว้ ยน้ำกล่ัน
ปลอดเชื้อ 30 นาที นำโพรโทคอร์มกล้วยไม้มาล้างด้วยน้ำกลั่นปลอดเชื้อที่เติมสารปฏิชีวนะซีโฟแทกซีม 400
mg/L เป็นเวลา 60 นาที 2 รอบ ซับโพรโทคอร์มให้แห้งด้วยกระดาษปลอดเชื้อ เลี้ยงโพรโทคอร์มกล้วยไม้ บน
อาหารสงั เคราะห์สตู ร ½ MS ทีเ่ ตมิ สารปฏิชีวนะ Cefotaxime ความเขม้ ข้น 400 มก./ล. ร่วมกบั สารปฏิชีวนะไฮ
โกรมัยซนิ 20 มก./ล. ตามลำดับ เป็นเวลา 1 เดือน เพาะเลี้ยงภายใต้อุณหภูมิ 252oC ให้แสง 16 ชั่วโมงต่อวัน
ความเขม้ แสง 40 µmol m-2s-1 เมอื่ ครบ 1 เดอื น ยา้ ยโพรโทคอร์มกลว้ ยไม้ บนอาหารสังเคราะห์สูตร ½ MS ที่ไม่
มียาปฏิชีวนะ ตรวจยีนเครื่องหมายด้วยเทคนิค PCR ใน กล้วยไม้ที่เจริญเป็นต้น โดยสกัดดีเอนเอด้วยวิธี CTAB
ตรวจปริมาณและคุณภาพดีเอนเอด้วย Nanometer ตรวจยีนเครื่องหมาย (35S promoter) ด้วยเทคนิค PCR
ปร ะ ก อ บด้ว ย 1 X buffer, 1 mM MgCl2, 0.2 mM dNTP, 0.3 µM Primer F และ R, 0 . 0 5 U Taq DNA
polymerase (Fermentas) และ Template DNA 1 µl ปรมิ าตรรวม 15 µl ทำปฏกิ ิรยิ า PCR เป็นดังน้ี 94 °C 3
นาที ตามดว้ ยชุดอณุ หภมู ิ 94 °C 20วนิ าที 60ºC 40 วนิ าที 72 °C 1 นาที จำนวน 40 รอบ ตามดว้ ย 72 °C 3 นาที
เกบ็ รกั ษาที่ 25 °C ตรวจผลของปฏิกิริยา PCR ดว้ ยทคนิค agarose gel electrophoresis

ตรวจยีนเครื่องหมาย (NOS Terminator) ด้วยเทคนิค PCR ประกอบด้วย 1X buffer, 1 mM MgCl2,
0.2 mM dNTP, 0.25 µM Primer F และ R, 0.5 U Taq DNA polymerase (Fermentas) และ Template
DNA 1 µl ปริมาตรรวม 15 µl ทำปฏิกิริยา PCR เป็นดังน้ี 94 °C 3 นาที ตามด้วยชุดอุณหภูมิ 94 °C 20วินาที
60ºC 40 วินาที 72 °C 1 นาที จำนวน 40 รอบ ตามดว้ ย 72 °C 3 นาที เก็บรักษาท่ี 25 °C ตรวจผลของปฏิกริ ิยา
PCR ดว้ ยทคนิค agarose gel electrophoresis

ตรวจยีนเครื่องหมาย (NOS Terminator - ACO) ด้วยเทคนิค PCR ประกอบด้วย 1X buffer, 2 mM
MgCl2, 0.25 mM dNTP, 0.2 µM Primer F แ ล ะ R, 0 . 2 U Taq DNA polymerase (Fermentas) แ ล ะ
Template DNA 1 µl ปรมิ าตรรวม 15 µl ทำปฏิกริ ยิ า PCR เป็นดงั น้ี 94 °C 5 นาที ตามดว้ ยชุดอุณหภมู ิ 94 °C
1 นาที 54ºC 1 นาที 72 °C 1 นาที จำนวน 30 รอบ ตามด้วย 72 °C 10 นาที เก็บรักษาที่ 25 °C ตรวจผลของ
ปฏกิ ิริยา PCR ด้วยทคนิค agarose gel electrophoresis
การบันทึกข้อมูล: ตรวจผลการส่งถ่ายยีน ACC Oxidase โดยตรวจยีนตำแหน่ง 35S Promoter, NOS
terminator และ NOS terminator ถึง ACO ด้วยวธิ ี direct PCR ตรวจผลดว้ ย electrophoresis ทสี่ ภาวะ 1%
agarose gel ; 100 โวลต์ 45 นาที แล้วบนั ทกึ ผลดว้ ย Gel documentation และรายงานผล
เวลาและสถานท่ี : 2559-2564 ดำเนนิ การที่ ศูนยว์ ิจยั พชื ไรข่ อนแก่น

ผลการทดลองและวจิ ารณ์
การทดลองประกอบดว้ ยการเพาะเล้ียงขยายปริมาณโปรโตคอร์มกล้วยไมส้ กุลหวายเอยี สกุล และส่งถ่าย
ยีน antisense ACO เข้าส่โู ปรโตคอร์ด้วยเทคนคิ Co-cultivation โดยใช้ A. tumerfacien เป็นตวั นำพลาสมิดลูก
ผสมที่มียีน antisense ACO เชื่อมต่อในพลาสมดิ พาหะ เข้าสู่โปรโตคอร์ม แล้วคัดเลือกต้นที่ได้รับการส่งถ่ายยีน

797

แล้วด้วยอาหารที่มียาปฏิชีวนะ เพาะขยายต้นที่ได้ แล้วทำการตรวจหายีนเครื่องหมาย 3 ชนิดในต้น
transformants ได้แก่ 35S-promotor, NOS-terminator และ ACO-NOS รวมทั้งตรวจการแสดงออกของยีน
ACC oxidase ดว้ ยเทคนิค Relative quantification ด้วย Realtime PCR

การส่งถ่ายยีน antisense ACO เข้าสู่โปรโตคอร์มและการคัดเลือกต้นที่ได้รับการส่งถ่ายยีน
(Transformant) : การส่งถ่ายยีนได้ดำเนนิ การไปจำนวน 5 ครั้งในปี 2559-2560 มีการคัดเลือกโปรโตคอร์มท่ี
ได้รับการส่งถ่ายยีนโดยคัดเลือกในอาหารที่มียาปฏิชีวนะ แล้วทำการชักนำให้เกิดต้นอ่อนในอาหารสังเคราะห์
จากนั้นตรวจยีนเป้าหมาย 3 ชนิดในต้นอ่อนที่ได้ คัดเลือกต้นที่มียีนเป้าหมายทั้ง 3 ยีน หรือ 1 ใน 3 ยีน นำมา
เพาะเลี้ยงในสภาพธรรมชาติ เพื่อตรวจเช็คการเจริญเติบโต การออกดอก และการแสดงออกของยีนเป้าหมาย
โดยเฉพาะยีน ACO

ผลการดำเนินงานในปี 2563-2564 พบว่ามตี ้นกลว้ ยไม้หวายที่ขยายพันธจ์ุ ากโปรโตคอร์มท่ีได้รับการถ่าย
ยีนและอยู่ระหว่างเพาะเลี้ยงไว้ในสภาพต้นสมบูรณ์ในอาหารแข็งสตู ร ½ MS จำนวน 132 ขวด (ต้น) อยู่ระหวา่ ง
การดำเนินการเพ่ือตรวจยีนเป้าหมายเพื่อคดั เลือกต้นอ่อนสำหรับนำออกปลูกกรงกันแมลงต่อไป มีต้นอ่อนที่จาก
เนือ้ เยอื่ ที่ผ่านการตรวจยีนเป้าหมายเบ้ืองต้นแล้ว และทยอยนำออกปลกู ในกรงกันแมลง มอี ายุระหว่าง 2-7 เดือน
หลังการย้ายปลูก จำนวน 81ตน้ เพาะเลย้ี งที่ ศวร.ขก. และอยรู่ ะหว่างการดำเนินงานเพื่อตรวจยนี เป้าหมายซ้ำ มี
ต้นสมบูรณ์ที่ผ่านการตรวจยีนเป้าหมายแล้ว เพาะเลี้ยงในโรงเรอื นท่ี ศวส.ศก. อายุมากกว่า 7 เดือนหลังการย้าย
ปลูกจากเดิมจำนวน 136 ต้น เหลอื รอดจำนวน 124 ต้น อยรู่ ะหว่างเพาะเลย้ี ง และบนั ทึกการเจรญิ เตบิ โต

การตรวจการแสดงออกของยนี ACO ในกลว้ ยไมส้ กุลหวายในตน้ ทอี่ ยใู่ นสภาพเพาะเล้ยี งเนื้อเยื่อด้วย
Realtime PCR : การทดลองตรวจการแสดงออกของยนี ACO ด้วยวธิ ี Relative quantification ในต้นที่ไมม่ กี าร
ส่งถา่ ยยนี พบวา่ ตำแหน่งใบมผี ลตอ่ การแสดงออกของยนี ตำแหน่งใบยอดมกี ารแสดงออกนอ้ ยกวา่ ตำแหน่งใบที่อยู่
ตำ่ ลงมา (ภาพท่ี 1) สาเหตอุ าจเกิดจากความสมบูรณ์ของต้น เนือ่ งจากยงั เป็นต้นอ่อนทีเ่ พาะเลย้ี งในขวด

798

คร้ังท่ี ตำแหนง่ ท่ี 1 ตำแหน่งที่ 2 ตำแหนง่ ท่ี 3
1 1.525 1.654 1.167
2 1.668 1.486 1.113

ภาพท่ี 1 การแสดงออกของยีน ACO ในใบของกลว้ ยไม้หวายเอยี สกลุ ที่เพาะเลี้ยงในสภาพเนอ้ื เยื่อที่ไม่มกี ารสง่ ถ่ายยีน
เทียบกับการแสดงออกของยีน Actin ในต้นอายุ 8 เดือน (ครั้งที่ 1) และ 11 เดือน (ครั้งที่ 2) ภาพซ้าย
ตำแหน่งท่ี 1 เป็นใบลา่ งสดุ ตำแหน่งที่ 2 เปน็ ใบกลาง และตำแหนง่ ที่ 3 เปน็ ใบบนสุด
การตรวจแสดงออกของยีน ACO ในใบกล้วยไม้สกุลหวายในต้นที่อยู่ในสภาพธรรมชาติด้วย

Realtime PCR : ในตน้ ทเ่ี คยมีการออกดอกแลว้ อายุประมาณ 8-11 เดือน พบว่าตำแหนง่ ใบท่ี 3 (ใบยอด) มีการ
แสดงออกสูงกวา่ ตำแหนง่ ท่ี 1 และ 2 อกี ทั้งมีค่าการแสดงออกของยีนสงู กว่าค่าทไ่ี ด้จากการตรวจในตน้ ทีเ่ พาะเล้ียง
ในสภาพเนื้อเยื่อถึงประมาณ 25 เท่า และใบบนสุดมีการแสดงออกของยีนสูงสุด (ภาพที่ 2) ดังนั้นการตรวจการ
แสดงออกของยนี ACO ในตน้ สมบรู ณท์ เ่ี พาะเลีย้ งในสภาพธรรมชาติ ตอ้ งทำใช้ใบยอดในการศึกษา

ภาพที่ 2 การแสดงออกของยีน ACO ในใบของกลว้ ยไม้หวายเอียสกุลที่เพาะเลี้ยงในธรรมชาติไม่มีการสง่ ถ่ายยีน
เคยมีการออกดอกแล้ว เทียบกับการแสดงออกของยนี Actin ในต้นอายุ 8 เดือน (ครั้งที่ 1) และ 11 เดือน
(ครั้งที่ 2) ภาพซ้าย ตำแหน่งที่ 1 เป็นใบล่างสุด ตำแหน่งที่ 2 เป็นใบกลาง และตำแหน่งที่ 3 เป็นใบ
บนสุด

799
การทดลองวิเคราะหค์ วามแตกต่างการแสดงออกของยีน ACO ในใบของตน้ กล้วยไม้ที่ไดร้ บั การส่งถ่ายยีน
ที่ตรวจพบยีนเป้าหมายครบทั้ง 3 ยีน เทียบกับต้นที่ไม่ได้รับการส่งถ่ายยีน (ต้นควบคุม) โดยใช้ต้นอายุ 6 เดือน
และ 12 เดอื น ทเี่ พาะเลี้ยงในขวด พบวา่ มีค่าการแสดงออกของยีน ACO เพียง 0.23 และ 0.54 เท่าเม่ือเทียบกับ
ตน้ ควบคมุ ทีไ่ ม่ไดร้ ับการสง่ ถ่ายยีนแสดงให้เห็นวา่ ยนี ACO ถกู ยับยง้ั การแสดงออกบางส่วนด้วย antisense

ครัง้ ที่ ระดับการแสดงออก
1 0.23
2 0.54

ภาพที่ 3 การแสดงออกของยีน ACO ในใบของกลว้ ยไมห้ วายเอยี สกุลหมายเลข 372 ทเี่ พาะเลยี้ งในสภาพเน้ือเย่ือ
ที่มีการส่งถ่ายยีน เทียบกับการแสดงออกของยีน Actin ในต้นอายุ 6 เดือน (ครั้งที่ 1) และ 12 เดือน
(คร้งั ท่ี 2)

การคัดเลือกต้นกล้วยไม้ที่ได้รับการส่งถ่ายยีนด้วยการตรวจยีนเป้าหมาย : ในปี 2563-2564 มีต้น
กล้วยไม้ที่อยู่ระหว่างการเพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชือ้ จำนวน 132 ขวด ในจำนวนนี้เป็นโปรโตคอร์มจำนวน 20
ขวด เป็นตน้ อ่อน 62 ขวด (ต้น) และตน้ สมบรู ณ์ 50 ขวด (ตน้ ) ในตวั อย่างกลุ่มนย้ี ังไม่ได้ทำการตรวจยีนเป้าหมาย

ภาพท่ี 4 โปรโตคอรม์ (ซ้าย) และต้นสมบูรณ์ (ขวา) ของกลว้ ยไมห้ วายท่ีไม่ได้รบั การสง่ ถ่ายยีน (ES) ทีเ่ พาะเลี้ยงใน
สภาพปลอดเชือ้

มตี น้ ทค่ี ดั ได้จากต้นสมบรู ณ์ที่เลี้ยงในสภาพปลอดเชอ้ื ท่ีผา่ นการตรวจยนี เป้าหมายเบือ้ งตน้ แล้ว และทยอยนำออก
ปลูกในกรงกันแมลง จำนวน 81ต้น มีอายุระหว่าง 2-7 เดือนหลังการย้ายปลกู ทำการเพาะเลี้ยงที่ ศวร.ขก. และ
อยู่ระหว่างการดำเนินงานเพื่อตรวจยีนเป้าหมายซ้ำ มีต้นท่ีคัดได้จากต้นสมบูรณ์ที่เลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อที่ผ่าน
การตรวจยนี เป้าหมายเบ้อื งตน้ แล้ว นำไปเพาะเล้ยี งในโรงเรอื นที่ ศวส.ศก. อายมุ ากกวา่ 7 เดอื นหลงั การย้ายปลูก
จำนวน 124 ต้นจากเริ่มต้น 136 ต้น ผลการตรวจการแสดงออกของยีนในกล้วยไม้ชุดนี้ พบต้นที่มีการแสดงออก

800

ของยีนเจ้าบ้าน (Actin) ที่ใช้เป็นยีนอ้างอิงในการตรวจการแสดงออกของยีนจำนวน 54 หมายเลข (ต้น) มีต้นท่ี
ตรวจไมพ่ บการแสดงออกของยีนนี้อีกจำนวน 70 ต้น ซึ่งอาจเกิดจากไม่สามารถสกัด cDNA ได้หรือ cDNA ที่ได้มี
คุณภาพไม่ดี จึงไม่สามารถนำมาใช้ในการเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมด้วยปฏิกิริยาพีซีอาร์ได้ และจะทำการ
ดำเนนิ การทดสอบซ้ำในกล่มุ น้ี สว่ นการตรวจยนี เปา้ หมาย 3 ชนดิ ในตัวอย่างกลุ่มนี้ พบการแสดงออกของยีน 35S
promoter ใน 55 หมายเลข และ NOS terminator ใน 4 หมายเลข โดยพบว่ามีการแสดงออกที่น้อยมาก ทั้งน้ี
อาจเกดิ จากการใช้สัดส่วนในการตรวจปฏิกริ ิยาทไี่ ม่ถกู ต้อง สาเหตเุ กิดจาก cDNA ท่ีได้มีปรมิ าณต่ำ ทำให้ปฏิกิริยา
การเพิม่ ปริมาณสารพันธกุ รรมเกดิ ไมส่ มบรู ณ์ ขณะนีอ้ ยู่ระหวา่ งดำเนินการตรวจซำ้ และตรวจการแสดงออกของยีน
ACO ในกลมุ่ ต้นทป่ี ลกู ที่โรงเรือน ศวส.ศก. ต่อไป

การศกึ ษาระยะเวลาดอกบานและการแสดงออกของยนี ในต้นทป่ี ลูกในสภาพโรงเรือน : ในปี 2559 ได้
มีการทดสอบการออกดอกในกล้วยไม้ที่ผ่านถ่ายยีนชุดที่ 1 ท่ีเป็นต้นอ่อนเพาะเลี้ยงในขวด จำนวน 9 ต้น นำไป
ปลูกในกรงตาข่ายภายในโรงเรือนของสถาบันวิจัยพืชสวน ในจำนวนนี้มี 2 ต้นที่เริ่มแทงช่อดอก เมื่ออายุได้ 14
เดือนหลังเพาะเลี้ยงในโรงเรือน ต้นที่ 1 มีระยะเวลาดอกบานถึงร่วง 68-73 วัน ต้นที่ 2 เริ่มแทงช่อดอกเมือ่ 13
พ.ย. 2559 (ภาพที่ 5) แต่พบว่าดอกร่วงก่อนเวลา เนื่องจากฝนตกหนกั ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ การบันทึกการ
ออกดอกในกลว้ ยไม้ชุดแรก ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ ีการแทงช่อดอกใหม่ สาเหตุเกิดจากต้นไม่สมบูรณ์ นอกจากน้ีหลายต้น
ตาย ขณะนอ้ี ยูร่ ะหว่างการตดิ ตามการเจริญเตบิ โตของตวั อยา่ งชุดที่เพาะเล้ยี งท่ี ศวส.ศก.

ภาพที่ 5 การออกดอกของต้นกล้วยไม้หวายเอียสกุลที่ได้รับการส่งถ่ายยีน Antisense ACO ที่อายุ 14 เดือน
เพาะเลย้ี งในกรงตาข่ายภายในโรงเรือนปดิ

สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
ปัญหาในการดำเนินงานพบว่าต้นทีย่ ้ายออกปลูกในสภาพธรรมชาติในกรงกันแมลง ตายจำนวนมากจาก
สภาพอากาศร้อนและแล้งจัด จากผลการทดลองเบอื้ งต้นพบว่าการถ่ายยนี antisense ต่อตำแหนง่ อนุรักษ์ภายใน
ยีน ACO1 ของกล้วยไม้หวายเอียสกุล สามารถยับยั้งการแสดงออกของยีนนี้ได้อย่างไม่สมบูรณ์ การทดสอบ
ระยะเวลาดอกบานในตน้ ทรี่ ับการถ่ายยนี เบ้อื งตน้ พบวา่ มีช่วงเวลานานกว่าต้นทไ่ี มม่ ีการถา่ ยยีน แต่เนื่องจากเป็น
การออกดอกชุดแรก จึงยงั ไม่สามารถสรุปผลได้ชัดเจน นอกจากนยี้ ังเปน็ ทนี่ ่าสงั เกตวุ ่าต้นกล้วยไม้เหลา่ นมี้ กี ารออก
ดอกท่ชี ้าและการเจรญิ เติบโตช้า ทง้ั นีอ้ าจเกดิ จากสภาพการเพาะเลย้ี งที่ไมเ่ หมาะสมหรอื ผลจากการสง่ ถ่ายยนี ซึ่ง

801

รอการตรวจพสิ ูจน์จากกลว้ ยไม้ชุดที่อยรู่ ะหว่างการเพาะเล้ียงในกรงกันแมลงเพ่ือศึกษาข้อมูลในส่วนของการออก
ดอกและการเจรญิ เติบโตต่อไป

การนำผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์
นำเสนอผลงานภาคโปสเตอร์ในการประชมุ 22nd World Orchid Conference เร่อื ง Partial silencing
of 1-aminocyclopropane-1-carboxylate oxidase gene in Dendrobium Earsakul by antisense DNA
complementary to a conserved sequence region เดือน พฤศจิกายน 2560 ที่ประเทศเอกวาดอร์ และ
ได้รับรางวัล Best poster abstract 1 ใน 6 รางวลั ในการประชมุ น้ี

กติ ติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณเพื่อนร่วมงานกลุ่มวิจัยกล้วยไม้ จากสถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร ที่ให้ข้อมูล
ตวั อย่างสำหรับการทดลอง และคำปรึกษา ขอขอบคณุ ทีป่ รึกษางานวจิ ัย ผู้ช่วยนกั วิจยั ทุกทา่ น ทรี่ ่วมกนั ดำเนินงาน
อยา่ งจรงิ จัง ทำให้งานวิจัยสามารถดำเนนิ การได้เป้นอยา่ งดี

เอกสารอ้างองิ

Jones ML, Woodson, WR. 1997. Pollination-induced ethylene in carnation (role of stylar ethylene in corolla
senescence). Plant Physiol 115:205–212

Kende, H. 1993. Ethylene Biosynthesis. Annual Review of Plant Physiology and Plant Molecular Biology. 44:1,
283-307

Kosugi, Y., Shibuya, K., Tsuruno, N., Iwazaki, Y., Mochizuki, A., Yoshioka,T., Hashiba, T. And Satoh, S. 2000.
Expression of genes responsible for ethylene production and wilting are differently regulated in carnation
(Dianthus caryophyllus L.) petals. Plant Sci. 158 : 139-145

Sugiyama, S. and Satoh, S. 2015. Pyridinedicarboxylic Acids Prolong the Vase Life of Cut Flowers of Spray-type
‘Light Pink barbara’ Carnation by Accelerating Flower Opening in Addition to an Already-known Action of
Retarding Senescence. Hort. J. 84 (2): 172–177.

802

แผนงานวิจยั

การพัฒนาและขยายผลเทคโนโลยกี ารจัดการป๋ยุ ออ้ ยแบบเกษตรกรมีสว่ นร่วมในพื้นท่ี
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง (โครงการวิจยั เดี่ยว)

803

วัดค่าคุณภาพนำ้ ออ้ ยโครงการพฒั นาและขยายผลเทคโนโลยีการจดั การปุย๋ อ้อยแบบเกษตรกรมี
สว่ นร่วมในพ้ืนทีภ่ าคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนล่าง

ปิยะรตั น์ จังพล1* ทรงสทิ ธิ์ ทาขลุ ี1 และอรอมุ า สวมชยั ภูมิ1
บทคดั ยอ่

การวดั ค่าคณุ ภาพความหวาน (C.C.S.) เป็นระบบการคิดคุณภาพนำ้ ออ้ ย ซ่ึงได้นำแบบอย่างมาจากระบบ
การซ้ือขายออ้ ยของประเทศออสเตรเลยี เป็นคา่ ปริมาณนำ้ ตาลที่มีอยู่ในอ้อยซึ่งสามารถหบี สกดั ออกมาเป็นน้ำตาล
ทรายขาวบรสิ ุทธ์ิ ซ่งึ ค่าคณุ ภาพความหวานนี้จะเปน็ ตวั กำหนดผลตอบแทนของเกษตรกรท่ีไดร้ บั จากโรงงานน้ำตาล
เน่ืองจากในน้ำออ้ ยมสี ารประกอบสงิ่ เจอื ปนมากมาย การวดั คณุ ภาพน้ำอ้อยจึงมีหลายปจั จัย เชน่ ค่าบรกิ ซ์ (ความ
เข้มข้น) ค่าโพล (ปริมาณน้ำตาลซูโคส) ค่าไฟเบอร์ (ปริมาณเส้นใย) ค่าความเป็นกรดด่าง ประกอบการหาค่า
คุณภาพน้ำอ้อยดังกล่าว ในการทดลองการทดสอบและพฒั นาเทคโนโลยกี ารจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
ผลิตการผลิตอ้อยในเขตอาศัยน้ำฝนจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ นครราชสีมา และมหาสารคาม ภายใต้ โครงการ
พัฒนาและขยายผลเทคโนโลยีการจัดการปุ๋ยอ้อยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนล่าง ได้ส่งอ้อยเพื่อนำมาหาคุณภาพน้ำอ้อยในแปลงเกษตรจำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์
นครราชสีมา และมหาสารคาม โดยส่งตวั อยา่ งออ้ ยเข้ามาเพอ่ื วิเคราะห์หาคุณภาพน้ำอ้อยจำนวน 80 ตวั อย่าง ใน
เดือนธันวาคม 2563 และไดส้ ่งผลการวเิ คราะห์คุณภาพนำ้ ออ้ ยให้ผทู้ ำการทดลองเรียบรอ้ ยแลว้
คำสำคัญ: ค่าคณุ ภาพความหวาน ค่าบรกิ ซ์ ค่าโพล คา่ ไฟเบอร์

1ศูนย์วจิ ยั พืชไรข่ อนแกน่ สถาบนั วิจัยพืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลังงาน อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

804

ตารางท่ี 1 วันท่ี สถานที่ และ จำนวนตัวอย่างออ้ ยทส่ี ง่ มาวิเคราะห์คุณภาพนำ้ ออ้ ย ณ หอ้ งปฏบิ ตั ิการศูนยว์ ิจยั พชื

ไรข่ อนแก่น ปี 2562/63

ลำดับที่ วนั /เดอื น/ปี สถานที่ จำนวนตวั อยา่ ง

1 25 ธันวาคม 2563 ศวพ. บรุ รี มั ย์ 20

2 25 ธันวาคม 2563 ศวพ. สุรนิ ทร์ 20

3 25 ธันวาคม 2563 ศวพ. โนนสงู 20

4 25 ธันวาคม 2563 ศวพ. มหาสารคาม 20

รวม 80

805

แผนงานวจิ ัย
วจิ ัยศกึ ษาการปรบั ตวั และการลดผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศตอ่

ระบบการผลิตพชื ในประเทศไทย

806

พัฒนาและทดสอบโปรแกรมเตือนภยั โรคใบขาว
Develop and Evaluate the Sugarcane white leaf disease warning program

กาญจนา กริ ะศกั ด์ิ1* เนติรัฐ ชมุ สุวรรณ76 ชยนั ต์ ภกั ดีไทย76 วภิ ารตั น์ ดำรเิ ข้มตระกลู 2 และแคทลยิ า เอกอุน่ 3

บทคัดยอ่
สภาพอากาศที่แปรปรวนส่งผลต่อการเจริญเติบโตของโรคที่สำคัญ เช่น โรคใบขาวอ้อยจะมีการระบาด
มากในดินเนื้อหยาบ เช่นดินทรายและแปลงอ้อยอยู่ในสภาพแห้งแล้งหรือฝนทิ้งช่วงนาน ทำให้ผลผลิตลดลง
มากกว่า 50% จึงพฒั นาและทดสอบสมการความสมั พนั ธข์ องสภาพแวดลอ้ มและปัจจัยอ่ืน ๆ ตอ่ การเกดิ อาการใบ
ขาว โดย รอ้ ยละของการแสดงอาการใบขาว = 12.1038 + (เนอื้ ดนิ x 0.76923) + (พนั ธ์ุ x -2.05701) + (อณุ หภูมิ
ต่ำสุด x -0.43107) โดยมี ค่า R²=0.46 อาจจะไมส่ ามารถทำนายการแสดงอาการใบขาวของอ้อยไดอ้ ย่างแม่นยำ
แต่พบว่าเนื้อดิน พันธุ์และอุณหภูมิต่ำสุดมีผลต่อการเกิดอาการใบขาวของอ้อย โดยมีค่า P-Value เป็น 0.0150
0.0004 และ 0.0011 ตามลำดบั
คำสำคญั : การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ใบขาว อ้อย

คำนำ
ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พื้นที่ปลูกอ้อยส่วนใหญป่ ลูกในดินทรายหรือร่วนปนทราย บาง
พน้ื ทพี่ บปัญหาแห้งแลง้ ยาวนาน ฝนตกไมส่ มำ่ เสมอ หรอื สภาพอากาศแปรปรวน และพบปญั หาทีส่ ำคัญท่ีทำให้ผล
ผลติ ของออ้ ยลดลงคอื การเกดิ โรคใบขาวซ่ึงสามารถทำให้ผลผลิตลดลง 30-100% ในปี 2551 พบการระบาดของ
โรคใบขาวในพ้นื ที่ 3 จงั หวัด ไดแ้ ก่ ขอนแก่น มหาสารคาม และอุดรธานี ทำให้ผลผลิตลดลงมากกว่า 50% สาเหตุ
ของโรคเกดิ จากเชือ้ ไฟโตพลาสมาจากเพลี้ยจักจั่นเปน็ แมลงพาหะนำโรค อ้อยที่เป็นโรคจะมีคลอโรฟิลลล์ ดลง ใบ
ออ้ ยทเี่ ป็นโรคจึงมสี ีขาวหรือสเี ขยี วอ่อน หรอื ขาวสลับกับเขยี วอ่อน มกี ารแตกกอฝอยคลา้ ยกอหญ้า ไม่เจริญเติบโต
และตายไป สามารถเกิดไดท้ ุกระยะของการเจริญเติบโต นอกจากนั้นการระบาดยังสามารถติดไปกับท่อนพนั ธุ์ได้
ด้วย (แฉล้ม และสุพัตรา, 2551) และจากสภาวะปัจจุบนั การเปล่ียนแปลงสภาพอากาศ (Climate variability or
change) หรือภาวะโลกรอ้ น (Global warming) ทเ่ี กิดขน้ึ นบั วันจะรุนแรงมากขึ้น และส่งผลกระทบรุนแรงตอ่ การ
ทำการเกษตรในทุกประเทศ การศึกษาอณุ หภูมขิ องโลกท่ีเปลย่ี นแปลง พบวา่ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา (ค.ศ.1906-
2005) อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น 0.74 องศาเซลเซียส (โดย IPCC หรือ Intergovernmental Panel on Climate
Change, 2007) ซึ่งมากกว่าที่เคยประเมินไว้ (0.60 องศาเซลเซียส โดย IPCC 2001) และในรอบ 156 ปี (ค.ศ.
1850 – 2006) ปีที่อุณหภูมิสูงสุด เป็นปีหลัง ๆนี้ทั้งสิ้น เช่นเดียวกันกับในประเทศไทย การติดตามอุณหภูมิที่

1ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไรข่ อนแกน่ สถาบนั วจิ ยั พืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลงั งาน กรมวิชาการเกษตร
2ศูนย์วิจัยและพฒั นาการเกษตรเลย สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 กรมวชิ าการเกษตร
3ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ สำนกั วจิ ัยและพฒั นาการเกษตรเขตที่ 3 กรมวชิ าการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

807

สถานีตรวจวดั สนามบนิ เชยี งใหมโ่ ดยขอ้ มลู จากกรมอุตุนิยมวทิ ยาในรอบ 30 ปี ระหว่าง ค.ศ. 1971-2000 เทยี บกับ
ในรอบ 10 ปี ล่าสุด ระหว่าง ค.ศ. 2003-2012 พบว่าอุณหภูมิสูงสุดเพิ่มข้ึน 0.60 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสดุ
เพ่ิมข้นึ 0.81 องศาเซลเซียส และปรมิ าณนำ้ ฝนสะสมรายปี เพ่ิมข้ึน 13.2 มลิ ลิเมตร (อรรถชยั , 2556) นอกจากน้ี
สภาพอากาศที่แปรปรวนยงั สง่ ผลต่อการเจรญิ เตบิ โตของโรคทส่ี ำคัญ เช่น โรคใบขาวออ้ ยจะมีการระบาดมากในดิน
เนื้อหยาบ เช่น ดนิ ทราย และ แปลงอ้อยอยใู่ นสภาพแห้งแลง้ หรอื ฝนทง้ิ ชว่ งนาน

วิธีดำเนนิ การ
วธิ ีการ

มี 3 ขนั้ ตอน
ขนั้ ตอนที่ 1 พฒั นาสมการความสัมพนั ธ์ของสภาพแวดลอ้ ม การระบาด และระดบั ความเสียหาย

ของอ้อยจากโรคใบขาว ที่ได้จากการทดลองที่ 1 มาวิเคราะห์ผล จัดทำระบบเตือนภัยโรคใบขาว โดยวิเคราะห์
ความเสี่ยงการระบาดของโรคใบขาวในพื้นที่ที่มีปัจจัยเสี่ยงด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในพื้นที่ปลูกอ้อยจังหวัด
อุดรธานี กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ชยั ภมู ิ และนครราชสีมา

ขั้นตอนที่ 2 สอบทานความถูกต้องของระบบเตือนภัย โดยการตรวจนับการระบาดของโรคใบ
ขาวและระดับความเสยี หาย ในแปลงปลกู อ้อยของเกษตรกรใหม่เปรยี บเทียบกับผลวเิ คราะหก์ ารระบาดของโรคใบ
ขาวด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

ข้ันตอนท่ี 3 พัฒนาระบบเตือนภัยโรคใบขาวใหแ้ มน่ ยำขน้ึ โดยปรับขอ้ มลู ในสมการความสัมพันธ์
ของสภาพแวดลอ้ ม การระบาด และระดับความเสียหายของออ้ ยจากโรคใบขาว ให้ใกลเ้ คียงกบั การระบาดของโรค
ใบขาวจรงิ ในแปลงปลกู ของเกษตรกร

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง

จากข้อมูลการสำรวจการแสดงอาการใบขาวของอ้อยจากการทดลองที่ 1.1 ความสัมพันธ์ของ

สภาพแวดล้อม โรคใบขาว และความเสียหายของอ้อย นำข้อมูลการแสดงอาการใบขาวมาจัดทำความสัมพันธ์

ระหวา่ งรอ้ ยละของการแสดงอาการใบขาวสงู สดุ ของแต่ละแปลงที่ดำเนนิ การสำรวจกับข้อมูลพันธ์ุและข้อมูลความ

อุดมสมบูรณ์ของดิน โดยใช้การวิเคราะห์ทางสถิติการถดถอยแบบขั้นตอน (Stepwise regression) ซึ่งเป็น

วิเคราะห์เพื่อเลือกตัวแปรต้นที่เหลืออยู่ในสมการ มีนัยสําคัญทางสถิติทุกตัวแปร (นงลักษณ์, 2553) พบ

ความสัมพนั ธ์ระหว่างอายุ พนั ธุ์ ปริมาณอนิ ทรยี ว์ ัตถุในดินและปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ในดิน

ต่อรอ้ ยละของการแสดงอาการใบขาว ดงั สมการ

%SWLD = -10.8335 + (อายุ x 1.36824) + (พนั ธุ์ x 6.102) + (อนิ ทรยี ์วตั ถุ

ในดนิ x 17.371) + (Exchangeable K x -0.05582)

โดยมี ค่า R²=0.40 ซึ่งอาจจะไม่สามารถทำนายการแสดงอาการใบขาวของอ้อยได้อย่างแม่นยำจึง

ดำเนินการปรับปรุงวิธีการเก็บข้อมูลสภาพแวดล้อม โดยเน้นการใช้ข้อมูลสภาพอากาศจาก New_LocClim

(Grieser et al., 2006) โดยใช้ Interpolation techniques ในการคำนวณข้อมูลสภาพอากาศอากาศจากสถานี

808

ตรวจวัดอากาศรอบ ๆ บริเวณแปลงเก็บข้อมูล คำนวนเป็นสภาพอากาศรายวัน ใช้ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิสูงสุด

ต่ำสุดและปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยย้อนหลัง 30 วัน มาเป็นประกอบกับระดับการแสดงอาการโดยใช้ Stepwise

Regression analysis พบความสมั พันธร์ ะหว่างเน้ือดิน พันธแ์ุ ละอณุ หภูมิตำ่ สุดต่อร้อยละของการแสดงอาการใบ

ขาว ดังสมการ

%SWLD = 12.1038 + (เน้ือดนิ x 0.76923) + (พันธ์ุ x -2.05701) +

(อณุ หภูมิต่ำสดุ x -0.43107)

โดยมี ค่า R²=0.46 อาจจะไม่สามารถทำนายการแสดงอาการใบขาวของอ้อยไดอ้ ย่างแม่นยำเช่นเดียวกัน

จากการสำรวจเพ่ือเก็บข้อมูลการแสดงอาการใบขาวของอ้อย เพอ่ื จัดทำความสมั พันธร์ ะหว่างร้อยละของ

การเกิดอาการใบขาวกบั สภาพแวดล้อมในช่วงของการสำรวจ 2 ปีแรก (2559-2560) มุ่งเน้นการเปรียบเทียบกบั

ระดับของการเกดิ อาการใบขาวกับสภาพแวดลอ้ มในเชิงพนื้ ที่ และในปี 2561-2562 ทมี่ งุ่ เน้นการเปรียบเทียบกับ

ระดับของการเกิดอาการใบขาวกับสภาพแวดล้อมในส่วนของข้อมูลสภาพอากาศ ถึงแม้ว่าจะไดส้ มการที่แสดงถงึ

ความสัมพันธ์โดยการวิเคราะห์ทางสถิตโิ ดยใช้ Stepwise Regression analysis ในการเลือกตัวแปรทีม่ ีนัยสาํ คญั

ทางสถิติต่อร้อยละของการเกิดอาการใบขาวแต่สมการที่ได้จากทั้งสองกรณี ยังมีค่าค่าความผันแปรของตัวแปร

ตอบสนอง (R-Squared) ค่อนข้างตำ่ คือ 0.40 และ 0.46 ตามลำดบั

จากการสำรวจพื้นที่แสดงอาการใบขาวของอ้อย จำนวน 50 แปลง นำพิกัดแปลงมาค้นหาข้อมูลสภาพ

อากาศจาก New_LocClim (Grieser et al., 2006) โดยใช้อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 30 วัน ร่วมกับเนื้อดินและพันธ์ุ

อ้อย นำเขา้ สมการ

%SWLD = 12.1038 + (เนือ้ ดนิ x 0.76923) + (พนั ธ์ุ x -2.05701) +

(อณุ หภูมิต่ำสดุ x -0.43107)

แต่เนื่องจาก พื้นที่สำรวจส่วนใหญ่ ไม่พบการแสดงอาการใบขาว จึงทำให้ไม่สามารถใช้สมการในการ

ทำนายรอ้ ยละการแสดงอาการใบขาวได้ แต่อย่างไรก็ตาม ในกรณขี องความสัมพนั ธ์ของการเกิดอาการใบขาวของ

อ้อยต่อข้อมูลสภาพอากาศพบวา่ เนื้อดิน พันธุ์และอณุ หภมู ิต่ำสุดมีผลตอ่ การเกดิ อาการใบขาวของอ้อย โดยมีค่า

P-Value เปน็ 0.0150 0.0004 และ 0.0011ตามลำดับ การจดั การปัจจยั เหล่านม้ี ีผลต่อการเกิดอาการใบขาวของ

อ้อยเชน่ เดียวกัน และเนอ่ื งจากคา่ R-Squared ทไ่ี ด้ค่อนข้างตำ่ จงึ ทำให้สมการไม่สามารถทำนายร้อยละการแสดง

อาการใบขาวได้อยา่ งแมน่ ยำ

809

ตารางท่ี 1 แปลงเกษตรกรที่ดำเนินการสำรวจปี 2563 อุณหภูมสิ ูงสดุ เฉลี่ย 30 อณุ หภูมติ ่ำสดุ เฉลี่ย 30
วนั วนั
ลำดับ อายุ % การแสดง เนื้อ ชนิด พนั ธุ์ 32.8 18.37
(วัน) อาการ ดนิ อ้อย 34.26 21.79
35.35 20.62
1 165 0 2 1 1 35.75 20.62
2 165 0.07 4 1 1 34.26 27.79
3 129 0 4 2 1 34.26 27.79
4 73 0 3 2 1 34.31 21.9
5 73 0 3 1 1 29.73 21.14
6 73 0 4 1 1 35.42 20.74
7 74 0 3 1 1 35.42 20.74
8 130 0 4 2 1 30.01 16.58
9 74 0 2 1 1 30.01 16.58
10 74 0.33 3 1 1 30.01 16.58
11 99 0 4 1 1 30.01 16.58
12 110 0 4 1 1 30.01 16.58
13 110 0 4 1 1 31.17 17.17
14 38 0 4 2 1 30.09 16.66
15 110 0 4 1 1 30.09 16.66
16 80 0 4 1 1 30.09 16.66
17 80 0 4 1 1 30.09 16.66
18 98 0 4 1 1 28.69 16.09
19 111 0 4 1 4 28.69 16.09
20 111 0 4 2 1 28.69 16.09
21 86 0.37 4 1 5 28.69 16.09
22 86 0 4 1 1 28.69 16.09
23 65 0 3 1 1 28.69 16.09
24 86 0 4 1 1 28.69 16.09
25 86 0 4 1 1 29.67 16.03
26 76 0 4 1 5 29.67 16.03
27 76 0 4 1 1 29.3 16.4
28 122 0 3 1 1 34 21.36
29 82 0 3 1 1 34 20.57
30 87 0 4 1 6 34 21.36
31 72 0 5 1 1 34 21.36
32 72 0 5 2 1
33 38 0 5 1 3
34 72 0 5 2 1

810

ลำดับ อายุ % การแสดง เน้ือ ชนดิ พนั ธ์ุ อุณหภูมสิ งู สดุ เฉลีย่ 30 อณุ หภมู ิตำ่ สดุ เฉลี่ย 30

(วัน) อาการ ดิน อ้อย วัน วนั

35 72 0 2 1 1 34 21.36

36 52 0 2 1 1 34.42 20.18

37 72 0 2 1 1 33.15 20.29

38 73 0 5 2 1 34.08 21.45

39 53 0 5 1 1 34.08 21.45

40 73 0 3 2 1 34.08 21.45

41 142 0 1 2 1 33.96 24.14

42 142 0.26 1 2 1 33.96 24.14

43 142 0 5 2 1 33.96 24.14

44 57 0 1 1 1 33.96 24.14

45 158 0 5 2 1 33.96 24.14

46 42 0.82 5 1 1 33.96 24.14

47 68 0.08 5 1 1 33.93 24.12

48 68 1.34 5 1 1 33.93 24.12

49 179 0 5 2 1 33.93 24.12

50 220 1.2 3 2 1 33.93 24.12

ภาพที่ 1 แปลงสำรวจจงั หวัดอดุ รธานี

811
ภาพที่ 2 แปลงสำรวจจังหวดั กาฬสนิ ธุ์
ภาพที่ 3 แปลงสำรวจจงั หวัดมหาสารคาม

812
ภาพที่ 4 แปลงสำรวจจงั หวดั ขอนแก่นและจงั หวดั ชัยภมู ิ
ภาพท่ี 5 แปลงสำรวจจงั หวดั นครราชสีมา

813

สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
ปัจจัยการแสดงอาการใบขาว อาจจะไม่ได้มากจากสภาพแวดล้อมทั้งหมดอาจจะมาจากหลายปัจจัย
รว่ มกัน โดยกาญจนาและคณะ (2555) รายงานวา่ ปญั หาของโรคใบขาวที่เกิดจากเชอ้ื ไฟโตพลาสมา ในปัจจุบันยัง
ไม่มเี ทคโนโลยใี ดทส่ี ามารถแก้ไขปัญหานไ้ี ด้ ดังนน้ั วธิ ีการควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคทีด่ ีทสี่ ุด คือ การปลูกอ้อย
โดยใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากโรคควบคู่กับการจัดการในแปลงผลิตและโรคใบขาวมีการแพร่ระบาดโดยผ่านแมลง
พาหะนำโรค ไดแ้ ก่ เพล้ียจกั จนั่ สนี ำ้ ตาล (Matsumuratettix hiroglyphicus และ Yamatotettix flavovittatus)
และผ่านทางท่อนพันธุ์ ซึ่งการถ่ายทอดทางท่อนพันธุ์ทำให้การแพร่กระจายของโรคเป็นไปได้อยา่ งกว้างขวางและ
รวดเรว็ การปลูกโดยใช้พันธุ์ออ้ ยสะอาดและปลอดโรคจึงเปน็ วิธกี ารสำคญั ในการจดั การโรค แต่ในสภาพแปลงปลูก
อ้อยปัจจุบันพันธุ์อ้อยดังกล่าวหาได้ยากยิ่งนอกจากนั้น ปัจจุบันยังไม่พบว่ามีอ้อยพันธุ์ใดทนทานต่อโรคใบขาว
(นลิ ุบล และคณะ, 2555) กอบเกยี รติ และคณะ (2554) อา้ งตามกอบเกียรติ (2555) รายงานว่า ความรนุ แรงของ
โรคใบขาวอ้อยมกั ระบาดมากในปีฤดกู าลปลูกทป่ี ระสบภัยแล้งรนุ แรง (ฝนนอ้ ยและทิ้งช่วงเป็นเวลานานกว่าปกติ)
เช่น ในปี 2552/53 พบว่า มีการระบาดของใบขาวอ้อย ตั้งแต่ 0.001-50.0 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเกิดโรคกับอ้อยตอ
(ratoon cane) มากกว่าอ้อยปลูก (plant cane) อีกทั้งการจัดการตั้งแต่การเตรียมดิน ฤดูปลูกที่เหมาะสม การ
จดั การธาตอุ าหารและนำ้ ก็มผี ลตอ่ การเกิดอาการใบขาวเช่นเดยี วกนั จากขอ้ มลู ที่ได้ พันธอ์ุ อ้ ยเป็นปัจจัยสำคญั ที่ทำ
ให้อ้อยแสดงอาการใบขาว การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีคุณภาพดีเลือกพันธุ์อ้อยที่เลี่ยงต่อการเกิดโรคต่ำ จะช่วยลดการ
แสดงอาการใบขาว อกี ทง้ั ปริมาณอนิ ทรีย์วัตถุในดินซึง่ ขึน้ อยู่กับเน้อื ดนิ กเ็ ป็นปัจจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการแสดงอาการ
ใบขาวเช่นเดยี วกัน การเลอื กพนื้ ทที่ เี่ หมาะสมจงึ เปน็ การลดความเสย่ี งต่อการแสดงอาการใบขาวได้อกี ทางหนง่ึ

เอกสารอา้ งองิ

กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ. 2555. การจัดการสมดุลธาตุอาหารเพื่อเพิ่มความทนทานต่อโรคใบขาว ของอ้อยผลิตท่อนพันธุ์. ใน
เอกสารประกอบการบรรยายการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ หลักสูตร “การถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารป้องกันกำจดั โรคใบขาว
ออ้ ย” วนั ท่ี 24-25 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์วิจัยและพฒั นาเกษตรสุพรรณบรุ ี

กาญจนา วาระวชิ ะนี, วันเพ็ญ ศรที องชัย และปริเชษฐ์ ตัง้ กาญจนภาสน์. 2555. พฒั นาเทคนคิ การตรวจสอบเช้ือไฟโตพลาสมา
สาเหตุโรคใบขาวอ้อยด้วยกรดนิวคลีอกิ ตวั ตรวจ. รายงานผลงานวจิ ยั ประจำปี 2556 สำนกั วิจยั พัฒนาการอารกั ขาพืช.
กรมวิชาการเกษตร. หนา้ 2218-2232.

แฉล้ม มาศวรรณา และ สพุ ตั รา ดลโสภณ. 2551. โรคใบขาวอ้อย การระบาดทเี่ ร้ือรงั และรุนแรง. กสิกร 81(3): น. 45-54.
นงลักษณ์ วริ ชั ชยั . 2553. ชุดวชิ า 21701 การวจิ ัยหลกั สูตรและการเรยี นการสอน หน่วยท่ี 7 การศึกษาวรรณกรรม ทเี่ กีย่ วข้อง

และหน่วยที่ 10 สถิติวเิ คราะหเ์ ชงิ ปริมาณ: สถิตบิ รรยายและสถติ พิ าราเมตริก หลักสตู รปรญิ ญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์
มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช.
นิลบุ ลและคณะ, 2555. การจดั การโรคใบขาวออ้ ยด้วยการใชพ้ ันธ์ปุ ลอดโรค. แกน่ เกษตร 40 ฉบับพิเศษ 3 : 241-248 (2555). 241-2.
อรรถชัย จินตะเวช. 2556. “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและผลกระทบต่อผลผลิตพืชหลักในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง”. วารสาร
มหาวิทยาลยั นครพนม ISSN 2228 – 9356 : 5-23
J. Grieser, R. Gommes and M. Bernardi. 2006. New LocClim - the Local Climate Estimator of FAO. Geophysical
Research Abstracts. Vol. 8. 08305.

814

พัฒนาและทดสอบโปรแกรมเตือนภัยหนอนกอลายจดุ เลก็
Develop and Evaluate the Early shoot borer warning program

ชยนั ต์ ภกั ดไี ทย1* เนตริ ฐั ชมุ สุวรรณ79 วภิ ารัตน์ ดำริเข้มตระกลู 2 และแคทลิยา เอกอนุ่ 3

บทคดั ยอ่
สภาพอากาศที่แปรปรวนส่งผลต่อการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กที่เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญที่สุด
หากมีการระบาดมากทำให้ผลผลิตลดลง 5-40% โดยพบระบาดในทุกแหล่งที่ปลูก จึงพัฒนาและทดสอบสมการ
ความสัมพันธข์ องสภาพแวดล้อมและปจั จัยอื่น ๆ ต่อการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กโดย ร้อยละของการ
เข้าทำลายของหนอกอลายจุดเล็ก = 32.1989 + (เนื้อดิน x -1.82637) + (อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 14 วัน x -
0.72945) + (ปริมาณน้ำฝนสะสม 14 วัน x 5.698x101-3) โดยมี ค่า R²=0.41 อาจจะไม่สามารถทำนายร้อยละ
ของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจดุ เล็กได้อย่างแม่นยำ แต่พบว่าเนื้อดิน อุณหภูมิสูงสุด ปริมาณน้ำฝนสะสม
14 วัน มีผลต่อการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก โดยมีค่า P-Value เป็น 0.0142 0.0342 และ 0.0031
ตามลำดบั
คำสำคัญ : การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ หนอนกอลายจดุ เล็ก อ้อย

คำนำ
ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พื้นที่ปลูกอ้อยส่วนใหญ่ปลูกในดินทรายหรือร่วนปนทราย บาง
พืน้ ทพ่ี บปัญหาแห้งแล้งยาวนาน ฝนตกไมส่ มำ่ เสมอ หรอื สภาพอากาศแปรปรวน และพบปัญหาทส่ี ำคญั ที่ทำให้ผล
ผลติ ของออ้ ยลดลงคือ การเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเลก็ ที่เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญที่สุด หากมกี ารระบาดมาก
ทำให้ผลผลิตลดลง 5-40% โดยพบระบาดในทุกแหล่งท่ีปลูก โดยเฉพาะที่จังหวัดอุดรธานี และขอนแก่น คิดเป็น
มลู ค่าความเสียหายมากกว่า 2,058 ลา้ นบาท การเข้าทำลายอ้อยของหนอนกอพบตลอดชว่ งอายุการเจริญเติบโต
ของอ้อย ในระยะแตกกอ (อ้อยอายุ 1-4 เดือน) มี 5 ชนิด คือ หนอนกอลายจุดเล็ก หนอนกอสีขาว หนอนกอสี
ชมพู หนอนกอลายใหญ่หรือลายแถบ หนอนกอลายจุดใหญ่ แต่ท่ีทำความเสยี หายรุนแรง คือ หนอนกอลายจุดเล็ก
เนื่องจากอ้อยมีการเจริญเติบโตไม่สม่ำเสมอ นอกจากนัน้ เมือ่ นำหน่อออ้ ยท่ีถูกเข้าทำลายมากไปปลูกทำเปน็ ทอ่ น
พันธุ์อ้อย จะทำให้การงอกลดลงหรือไม่งอกเลยหรือถ้างอกอ้อยจะไม่สมบูรณ์ และจากสภาวะปัจจุบันการ
เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Climate variability or change) หรือภาวะโลกร้อน (Global warming) ที่เกิดขึ้น
นับวนั จะรุนแรงมากข้นึ และสง่ ผลกระทบรุนแรงต่อการทำการเกษตรในทกุ ประเทศ การศกึ ษาอณุ หภูมิของโลกท่ี
เปลี่ยนแปลง พบวา่ ในช่วงทศวรรษทผ่ี า่ นมา (ค.ศ.1906-2005) อณุ หภูมิของโลกสงู ขึน้ 0.74 องศาเซลเซยี ส (โดย

1ศนู ย์วจิ ัยพชื ไรข่ อนแกน่ สถาบนั วจิ ัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวชิ าการเกษตร
2ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาการเกษตรเลย สำนักวิจัยและพฒั นาการเกษตรเขตที่ 3 กรมวชิ าการเกษตร
3ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการเกษตรกาฬสินธ์ุ สำนกั วิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 กรมวชิ าการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

815

IPCC หรือ Intergovernmental Panel on Climate Change, 2007) ซึ่งมากกว่าที่เคยประเมินไว้ (0.60 องศา
เซลเซียส โดย IPCC 2001) และในรอบ 156 ปี (ค.ศ.1850 – 2006) ปีที่อุณหภูมิสูงสุด เป็นปีหลัง ๆนี้ทั้งสิ้น
เช่นเดียวกันกับในประเทศไทย การติดตามอุณหภูมิที่สถานีตรวจวัดสนามบินเชียงใหม่โดยข้อมูลจากกรม
อุตุนิยมวิทยาในรอบ 30 ปี ระหว่าง ค.ศ. 1971-2000 เทียบกับในรอบ 10 ปี ล่าสุด ระหว่าง ค.ศ. 2003-2012
พบว่าอุณหภูมิสูงสุดเพ่ิมขึ้น 0.60 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดเพ่ิมข้ึน 0.81 องศาเซลเซียส และปริมาณน้ำฝน
สะสมรายปี เพิ่มขึ้น 13.2 มิลลิเมตร (อรรถชัย, 2556) นอกจากนี้สภาพอากาศที่แปรปรวนยังส่งผลต่อวงจรชีวิต
ของหนอนกอลายจุดเล็ก ซึ่งพบระบาดมากในดินเนื้อหยาบ เช่น ดินทราย และแปลงอ้อยท่ีอยู่ในสภาพแห้งแล้ง
หรอื ฝนทงิ้ ช่วงนาน

วิธีดำเนินการ
อปุ กรณ์

- แปลงออ้ ยในแหล่งปลูกอ้อยสำคญั ของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
- เทปวัดระยะ
- ไมป้ กั แปลง
- ปา้ ยพลาสตกิ
- เครอื่ งมอื ประมวลผล
- เคร่ืองวดั พิกดั GPS
วธิ กี าร
มี 3 ขัน้ ตอน

ขั้นตอนท่ี 1 พฒั นาสมการความสมั พันธ์ของสภาพแวดล้อม การระบาด และระดับความเสียหาย
ของออ้ ยจากหนอนกอลายจุดเล็ก ทีไ่ ด้จากการทดลองที่ 1.3 มาวเิ คราะห์ผล จัดทำระบบเตอื นภยั หนอนกอลายจุด
เลก็ โดยโดยวิเคราะหค์ วามเส่ยี งการระบาดของหนอนกอในพื้นท่ีท่ีมปี ัจจัยเส่ยี งด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ในพนื้ ท่ี
ปลูกอ้อยจงั หวดั อุดรธานี กาฬสนิ ธุ์ มหาสารคาม ชัยภูมิ และนครราชสมี า

ขั้นตอนที่ 2 สอบทานความถกู ต้องของระบบเตอื นภยั โดยการตรวจนับการระบาดของหนอนกอ
และระดับความเสียหาย ในแปลงปลกู ออ้ ยของเกษตรกรใหม่เปรียบเทียบกับผลวิเคราะหก์ ารระบาดของหนอนกอ
ลายจดุ เลก็ ดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

ขั้นตอนที่ 3 พัฒนาระบบเตือนภัยหนอนกอลายจุดเล็กให้แม่นยำขึ้น โดยปรับข้อมูลในสมการ
ความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อม การระบาด และระดับความเสียหายของอ้อยจากหนอนกอลายจุดเล็ก ให้
ใกลเ้ คียงกบั การระบาดจริงในแปลงปลูกของเกษตรกร

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
จากข้อมูลการสำรวจการแสดงอาการใบขาวของอ้อยจากการทดลองที่ 1.3 ความสัมพันธ์ของ
สภาพแวดล้อม หนอนกอลายจุดเล็ก และความเสียหายของอ้อย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การสำรวจมาหา

816

ความสมั พันธร์ ะหว่างร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กสูงสุด แตล่ ะแปลงท่ดี ำเนินการสำรวจกับ
ข้อมูลพันธุ์และข้อมลู ความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยใช้การวิเคราะหท์ างสถิตกิ ารถดถอยแบบขั้นตอน (Stepwise
regression) ซึ่งเป็นวิเคราะห์เพื่อเลือกตัวแปรต้นที่เหลืออยู่ในสมการมนี ัยสําคัญทางสถิติทุกตัวแปร (นงลักษณ์,
2553) พบความสมั พนั ธร์ ะหว่างพนั ธ์ุ ปริมาณแมกนีเซียมในดินต่อร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุด
เลก็ (%Early Shoot Borer) ดังสมการ

%EarlyShootBorer = -0.70137 + (Var x 7.05999) + (Mg x 0.02825)
โดยมี ค่า R²=0.25 ซึ่งอาจจะไม่สามารถทำนายร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กของ
อ้อยได้อย่างแมน่ ยำ จึงดำเนินการปรับปรุงวธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มูลสภาพแวดลอ้ ม โดนเน้นการใช้ข้อมูลสภาพอากาศจาก
New_LocClim (FAO, 2014; Grieser et al., 2006). โดยใช้ Interpolation techniques ในการคำนวณข้อมูล
สภาพอากาศอากาศจากสถานีตรวจวัดอากาศรอบ ๆ บริเวณแปลงเกบ็ ข้อมลู คำนวนเป็นสภาพอากาศรายวัน ใช้
ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิสูงสุด ต่ำสุดและประมาณน้ำฝนเฉลี่ยย้อนหลัง 14 วัน มาประกอบกับร้อยละของการเข้า
ทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กโดยใช้ Stepwise Regression analysis พบความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อดิน พันธ์ุ
และอุณหภูมสิ ูงสดุ ปริมาณนำ้ ฝนสะสม 14 วนั ต่อรอ้ ยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจดุ เล็ก ดงั สมการ
%EarlyShootBorer = 32.1989 + (เนื้อดนิ x -1.82637) + (อุณหภูมิสงู สดุ เฉลี่ย 14 วนั x -0.72945)

+ (ปริมาณน้ำฝนสะสม 14 วัน x 5.698x101-3)
โดยมี ค่า R²=0.41 อาจจะไม่สามารถทำนายร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กไดอ้ ย่าง
แมน่ ยำเชน่ เดียวกนั
จากการสำรวจเพ่ือเก็บขอ้ มูลร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก เพอื่ จัดทำความสัมพันธ์
ระหว่างร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กกับสภาพแวดล้อมในช่วงของการสำรวจ 2 ปีแรก
(2559-2560) ม่งุ เนน้ การเปรียบเทียบกบั ระดับการเข้าทำลายกบั สภาพแวดล้อมในเชงิ พน้ื ท่ี และในปี 2561-2562
ที่มุ่งเน้นการเปรียบเทียบกับระดับการเขา้ ทำลายกับสภาพแวดล้อมในส่วนของขอ้ มูลสภาพอากาศ ถึงแม้ว่าจะได้
สมการที่แสดงถงึ ความสัมพนั ธ์โดยการวิเคราะห์ทางสถติ ิโดยใช้ Stepwise Regression analysis ในการเลือกตวั
แปรท่ีมีนัยสําคัญทางสถติ ิตอ่ รอ้ ยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก แตส่ มการท่ีไดจ้ ากทัง้ สองกรณี ยงั
มีคา่ ค่าความผนั แปรของตวั แปรตอบสนอง (R-Squared) คอ่ นข้างตำ่ คือ 0.25 และ 0.41 ตามลำดบั
ในกรณีของสภาพแวดลอ้ มในเชงิ พ้นื ที่พบวา่ พันธุ์ ปรมิ าณแมกนีเซยี มในดนิ ต่อรอ้ ยละของการเข้าทำลาย
ของหนอนกอลายจุดเล็ก โดยมคี า่ P-Value เป็น 0.0237 และ 0.0024 ตามลำดบั การจัดการปจั จัยเหล่าน้ีมผี ลต่อ
ร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเลก็
ในกรณีของความสัมพันธ์ของร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเลก็ ต่อข้อมูลสภาพอากาศ
พบวา่ เนอื้ ดนิ พนั ธ์แุ ละอณุ หภูมสิ ูงสุด ปรมิ าณน้ำฝนสะสม 14 วนั ต่อร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลาย
จุดเลก็ โดยมีคา่ P-Value เปน็ 0.0142 0.0342 และ 0.0031 ตามลำดบั การจัดการปจั จัยเหล่านม้ี ีผลต่อร้อยละ
ของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจดุ เลก็ เชน่ เดียวกนั

817

จากการสำรวจพื้นที่แสดงการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก จำนวน 50 แปลง นำพิกัดแปลงมา
ค้นหาขอ้ มูลสภาพอากาศจาก New_LocClim (Grieser et al., 2006) โดยใช้อุณหภมู ติ ่ำสดุ เฉลี่ย 30 วนั ร่วมกับ
เนือ้ ดิน อณุ หภมู ิสูงสุด ปรมิ าณน้ำฝนสะสม 14 วนั นำเขา้ สมการ

%EarlyShootBorer = 32.1989 + (เน้ือดิน x -1.82637) + (อณุ หภูมิสูงสุดเฉลย่ี 14 วัน x -0.72945)
+ (ปรมิ าณนำ้ ฝนสะสม 14 วนั x 5.698x101-3)

แต่เนื่องจาก พื้นที่สำรวจส่วนใหญ่มีการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กอยู่ในระดับต่ำ จึงทำให้ไม่
สามารถใช้สมการในการทำนายร้อยละการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กได้ แต่อย่างไรก็ตาม ในกรณีของ
ความสัมพนั ธข์ องการทำนายร้อยละการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก ตอ่ ขอ้ มลู สภาพอากาศพบว่า เนื้อดิน
อุณหภูมสิ งู สดุ ปรมิ าณน้ำฝนสะสม 14 วนั มผี ลต่อการเขา้ ทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก โดยมีค่า P-Value เป็น
0.0142 0.0342 และ 0.0031 ตามลำดับ การจดั การปจั จยั เหล่านม้ี ผี ลต่อรอ้ ยละของการเข้าทำลายของหนอนกอ
ลายจุดเล็กเชน่ เดยี วกนั และเนอ่ื งจากค่า R-Squared ทไ่ี ด้ค่อนขา้ งตำ่ จึงทำใหส้ มการไมส่ ามารถทำนายรอ้ ยละการ
เข้าทำลายของหนอนกอลายจดุ เล็ก

ตารางท่ี 1 แปลงเกษตรกรท่ีดำเนนิ การสำรวจปี 2563

ลำดับ อายุ % การแสดง เนอ้ื ชนิด พันธ์ุ อุณหภูมสิ งู สดุ อุณหภูมิตำ่ สุด ปรมิ าณนำ้ ฝน
เฉล่ยี 14 วัน เฉล่ยี 14 วนั สะสม 14 วนั
(วัน) อาการ ดิน ออ้ ย
34.6 24.8 147.8
1 165 3.81 2 11 33.8 24.7 174.4
33.8 24.7 174.4
2 165 4.13 4 11 34.9 23.0 40.8
34.6 21.3 26.4
3 129 1.44 4 21 36.5 23.8 67.1
33.2 24.6 175.2
4 73 5.92 3 21 33.1 20.2 15.2
35.4 24.1 71.7
5 73 5.86 3 11 31.9 24.0 150.8
33.4 24.7 177.3
6 73 9.32 4 11 32.4 24.2 153.8
32.4 24.2 153.8
7 74 1.51 3 11 32.1 25.5 133.2
33.1 20.2 15.2
8 130 3.25 4 21 32.6 24.3 168.0
33.2 24.6 175.2
9 74 7.92 2 11 32.4 25.2 30.1
30.3 24.6 76.9
10 74 1.92 3 11 32.4 24.2 153.8

11 99 4.35 4 11

12 110 2.57 4 11

13 110 1.65 4 11

14 38 4.08 4 21

15 110 6.71 4 11

16 80 6.34 4 11

17 80 3.7 4 11

18 98 1.65 4 11

19 111 4.9 4 14

20 111 2.34 4 21

818

ลำดบั อายุ % การแสดง เนื้อ ชนิด พนั ธ์ุ อณุ หภูมิสงู สดุ อุณหภูมติ ำ่ สุด ปริมาณน้ำฝน
เฉลี่ย 14 วัน สะสม 14 วนั
(วัน) อาการ ดนิ ออ้ ย เฉลีย่ 14 วัน
24.7 174.4
21 86 3.27 4 15 33.8 24.6 122.4
24.0 150.8
22 86 1.95 4 11 35.4 24.8 147.8
24.7 176.3
23 65 0.92 3 11 31.9 23.0 40.8
23.2 43.8
24 86 2.14 4 11 34.6 24.2 66.4
17.9 6.1
25 86 3.18 4 11 35.4 24.4 123.8
24.6 107.9
26 76 2.54 4 15 34.9 24.0 150.8
23.5 43.8
27 76 1.78 4 11 35.9 24.8 170.1
24.0 87.3
28 122 7.42 3 11 36.2 24.8 170.1
24.6 107.9
29 82 2.7 3 11 31.4 23.2 61.9
24.1 71.7
30 87 0.1 4 16 32.1 22.6 33.5
24.0 83.9
31 72 5.16 5 11 35.2 24.6 175.2
24.9 139.0
32 72 3.33 5 21 31.9 24.5 173.5
24.1 71.7
33 38 6.73 5 13 35.9 24.3 168.0
21.7 23.8
34 72 7.88 5 21 34.1 24.6 119.3
21.7 23.8
35 72 0.7 2 11 35.8 25.1 37.0

36 52 1.5 2 11 34.1

37 72 5.18 2 11 35.2

38 73 4.84 5 21 35.5

39 53 0.13 5 11 35.4

40 73 1.59 3 21 36.3

41 142 5.39 1 21 29.1

42 142 7.26 1 21 33.2

43 142 4.01 5 21 35.1

44 57 1.46 1 11 33.0

45 158 9.52 5 21 35.4

46 42 4.69 5 11 32.6

47 68 2.41 5 11 34.1

48 68 3.66 5 11 35.4

49 179 9.49 5 21 34.1

50 220 0.57 3 21 31.3

819
ภาพที่ 1 แปลงสำรวจจังหวดั อดุ รธานี
ภาพที่ 2 แปลงสำรวจจงั หวัดกาฬสินธุ์

820
ภาพที่ 3 แปลงสำรวจจงั หวัดมหาสารคาม

ภาพที่ 4 แปลงสำรวจจงั หวัดขอนแกน่ และจงั หวดั ชัยภมู ิ

821

ภาพท่ี 5 แปลงสำรวจจังหวัดนครราชสมี า
สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ

ปัจจัยการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กอาจจะไม่ได้มากจากสภาพแวดล้อมทั้งหมดอาจจะมาจาก
หลายปัจจัยร่วมกัน จากการศึกษาของ จิราวรรณ (2553) พบว่าการทำลายของหนอนกอมีความสัมพันธ์ใน
ทางบวกกับจำนวนหน่อในแปลงที่มีลักษณะเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายจำนวน 3 แปลงมีค่า R-Squared =
0.316, 0.422 และ 0.27 ในแปลงดินเหนียวจำนวน 2 แปลงค่า R-Squared 0.448 และ 0.486 ตามลำดับ การ
เผาอ้อยใบอ้อยกอ่ นและหลงั ตัดอ้อยเข้าโรงงาน เป็นการทำลายแมลงศัตรธู รรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแตนเบียน
ไขท่ รโิ คแกรมมา และแตนเบยี นหนอนโคทีเซียทีพ่ บในธรรมชาติ และยังทำลายความชื้นและความอุดมสมบูรณ์ของ
ดิน (ชูชาติ, 2558) และพบว่าช่วงอ้อยเป็นลำและมีฝนตกชุกจะพบมดมากอาจจะทำการเขา้ ทำลายของหนอนกอ
ลายจดุ เลก็ ลดลง เนอ่ื งจากมดเป็นตัวห้ำและมีบทบาทในการควบคมุ หนอนกอออ้ ย (พิทักษ์พงศ์, 2546; Adams et
al., 1981; Bessin and Reagan, 1993) อีกทั้งการจัดการตั้งแต่การเตรียมดิน ฤดูปลูกที่เหมาะสม การจัดการ
แปลงปลูก การจัดการธาตุอาหารเช่นงานทดลองของ Camargo et al., (2010) ที่ศึกษาการใช้ซิลิคอน ในอ้อย
เพื่อควบคมุ หนอนเจาะลำต้นซึ่งทำใหห้ นอนเข้าทำลายลดลง รวมถึงการการเลอื กพื้นที่ที่เหมาะสมจึงเป็นการลด
การเข้าทำลายของหนอนกอลายจดุ เลก็ ได้อีกทางหน่งึ

822

เอกสารอ้างอิง

จิราวรรณ ศรีใส. 2553. ผลผลิตและปฏิกิรยิ าของสายพนั ธุ์อ้อยตอ่ การเข้าทำลายของหนอนกอ ปลวกและโรคออ้ ยในสภาพพืน้ ท่ี
ปลกู ตา่ งกนั . (Yields and reaction of sugarcane lines to sugarcane borers, termites and diseases in different
planting areas). วิทยานพิ นธ์วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลติ พืช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี.
157 หน้า.

ชูชาติ สุขมาก. 2558. ขา่ วเกษตรน่ารู้. สบื ค้นเมอื่ 1 กุมภาพนั ธ์ 2563. จาก
https://ewt.prd.go.th/ewt/region4/ewt_news.php?nid=71395&filename=index

นงลักษณ์ วิรัชชัย 2553. ชดุ วิชา 21701 การวิจัยหลักสูตรและการเรยี นการสอน หน่วยท่ี 7 การศึกษาวรรณกรรม ทเ่ี ก่ียวข้อง
และหนว่ ยท่ี 10 สถิติวิเคราะห์เชิงปรมิ าณ: สถิติบรรยายและสถติ พิ าราเมตริก หลกั สตู รปริญญา ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาหลกั สูตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช.

พิทกั ษ์พงศ์ ป้อมปราณ.ี 2546. ความหลากชนดิ และการแพรกระจายของมดในไร่อ้อยพฤติกรรมการกนิ และประสิทธภิ าพของมด
ชนิดทส่ี ำคัญในการควบคุมหนอนกอออยในสภาพไร่.วิทยานพิ นธ์ ปรญิ ญาวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี
การผลติ พืช มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

อรรถชัย จินตะเวช. 2556. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและผลกระทบต่อผลผลิตพืชหลักในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง. วารสาร
มหาวิทยาลยั นครพนม ISSN 2228 – 9356 : 5-23

Adam, C.T., Summers, T.E., Lofgren, C.S., Focks, D.A. and Prewit, J.C. 1981. Interrelationship of ants and the
sugarcane borer in Florida sugarcane fields. Environ. Entomol. 10(3): 415-418.

Bessin, R.T. and Reagan, T.E. 1993. Cultivar resistance and arthropod predation of sugarcane borer (Lepidoptera:
Pyralidae) affects incidence of deadhearts in Louisiana sugarcane. J. Econ. Entomol. 86(3): 929-932.

de Camargo, M.S. , A. R. Gomes Júnior , P. Wyler , G. H. Korndörfer. 2010. Silicate fertilization in sugarcane: Effects
on soluble silicon in soil, uptake and occurrence of stalk borer (Diatraea accharalis). 19th World
Congress of Soil Science, Soil Solutions for a Changing World. 1 – 6 August 2010, Brisbane, Australia.

J. Grieser, R. Gommes and M. Bernardi. 2006. New LocClim - the Local Climate Estimator of FAO. Geophysical
Research Abstracts. Vol. 8. 08305.

823

ระบบเตอื นภัยใบขาวอ้อย ในพ้นื ทีป่ ลูกรอบโรงงานนำ้ ตาล

กาญจนา กิระศักด์ิ1 อสิ ระ พุทธสิมมา2 มัทนา วานชิ ย์182 แคทลิยา เอกอ่นุ 3 ภาคภูมิ ถนิ่ คำ82
ทนุธรรม บญุ ฉิม1 เนตริ ฐั ชุมสวุ รรณ1 เพ็ญรัตน์ เทยี มเพ็ง2 สโรชา ถงึ สขุ 2 วิภารัตน์ ดำริเขม้ ตระกูล4

มนัสชญา สายพนสั 5 และวา่ ท่ี ร.ต.อนุชา เหลาเคน6

รายงานความก้าวหนา้
ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน พื้นที่ปลูกอ้อยส่วนใหญป่ ลูกในดินทรายหรือร่วนปนทราย บาง
พ้ืนท่ีพบปญั หาแหง้ แล้งยาวนาน ฝนตกไม่สมำ่ เสมอ หรอื สภาพอากาศแปรปรวน และพบปัญหาทส่ี ำคัญท่ีทำให้ผล
ผลิตของอ้อยลดลงคือ การเกิดโรคใบขาวซึ่งสามารถทำให้ผลผลิตลดลงร้อยละ 30-100 จากการดำเนินงานเก็บ
ข้อมูลจัดทำความสัมพันธ์ระหว่างการแสดงอาการใบขาวกับสภาพแวดล้อมวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ Stepwise
Regression analysis กรณีของสภาพแวดล้อมในเชิงพื้นที่พบว่า พันธุ์ ปริมาณอินทรีย์วัตถุในดินและปริมาณ
โพแทสเซยี มที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ในดนิ มผี ลต่อการเกิดอาการใบขาวของอ้อย โดยมีค่า P-Value เป็น 0.0092
0.0001 และ 0.0064 ตามลำดับ การจัดการปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อการเกิดอาการใบขาวของอ้อย ในกรณีของ
ความสัมพนั ธข์ องการเกิดอาการใบขาวของอ้อยต่อข้อมูลสภาพอากาศพบว่า เนอ้ื ดนิ พันธ์ุและอุณหภูมิต่ำสุดมีผล
ต่อการเกิดอาการใบขาวของอ้อย โดยมีค่า P-Value เป็น 0.0150 0.0004 และ 0.0011ตามลำดับ การจัดการ
ปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อการเกิดอาการใบขาวของอ้อยเช่นเดียวกัน จึงได้นำผลที่ได้ไปอบรมเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย
เจ้าหน้าที่โรงงานนำ้ ตาลและกลุ่มเจ้าหนา้ ผู้รับผิดชอบงานโครงการ 1 ตำบล 1 เกษตรทฤษฎใี หม่ของกรมส่งเสรมิ
การเกษตร เป้าหมาย 880 ราย เพื่อให้สามารถป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดอาการใบขาวในพื้นที่ ลดการแพร่
ระบาดของโรคใบขาวไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
คำสำคญั ออ้ ย ใบขาว สภาพอากาศแปรปรวน สภาพแวดลอ้ ม อณุ หภมู ิ

คำนำ
ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน พื้นที่ปลูกอ้อยส่วนใหญป่ ลูกในดินทรายหรือร่วนปนทราย บาง
พ้นื ทีพ่ บปญั หาแห้งแลง้ ยาวนาน ฝนตกไมส่ มำ่ เสมอ หรือสภาพอากาศแปรปรวน และพบปัญหาทส่ี ำคัญท่ีทำให้ผล
ผลิตของอ้อยลดลงคอื การเกดิ โรคใบขาวซง่ึ สามารถทำใหผ้ ลผลติ ลดลงร้อยละ 30-100 ในปี 2551 พบการระบาด
ของโรคใบขาวในพืน้ ที่ 3 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น มหาสารคาม และอุดรธานี ทำให้ผลผลิตลดลงมากกว่ารอ้ ยละ

1 ศูนยว์ ิจยั พชื ไรข่ อนแกน่ สถาบนั วจิ ยั พืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลงั งาน กรมวิชาการเกษตร
2 ศนู ย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบรู ณ์ สำนกั วิจัยและพฒั นาการเกษตรเขท่ี 2 กรมวิชาการเกษตร
3 ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ สำนกั วิจยั และพฒั นาการเกษตรเขที่ 3 กรมวิชาการเกษตร
4 ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาการเกษตรเลย สำนักวิจยั และพัฒนาการเกษตรเขที่ 3 กรมวชิ าการเกษตร
5 ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร สำนักวจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขที่ 2 กรมวิชาการเกษตร
6 ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาการเกษตรมหาสารคาม สำนกั วจิ ัยและพฒั นาการเกษตรเขที่ 4 กรมวิชาการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

824

50 สาเหตุของโรคเกดิ จากเชอ้ื ไฟโตพลาสมาจากเพลย้ี จักจน่ั เปน็ แมลงพาหะนำโรค ออ้ ยทเ่ี ปน็ โรคจะมีคลอโรฟิลล์
ลดลง ใบอ้อยที่เป็นโรคจึงมสี ีขาวหรือสีเขียวอ่อน หรือขาวสลับกับเขียวอ่อน มีการแตกกอฝอยคล้ายกอหญ้า ไม่
เจริญเติบโตและตายไป สามารถเกิดได้ทุกระยะของการเจรญิ เติบโต นอกจากนัน้ การระบาดยังสามารถติดไปกบั
ท่อนพันธุ์ได้ด้วย (แฉล้มและสุพัตรา, 2551) จากสภาวะปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Climate
variability or change) หรือภาวะโลกร้อน (Global warming) ที่เกิดขึ้นนับวันจะรุนแรงมากขึ้น และส่งผล
กระทบรุนแรงตอ่ การทำการเกษตรในทุกประเทศ การศกึ ษาอณุ หภูมิของโลกที่เปล่ียนแปลง พบวา่ ในช่วงทศวรรษ
ที่ผ่านมา (ค.ศ.1906-2005) อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น 0.74 องศาเซลเซียส (โดย IPCC หรือ Intergovernmental
Panel on Climate Change, 2007) ซง่ึ มากกว่าทเ่ี คยประเมินไว้ (0.60 องศาเซลเซียส โดย IPCC 2001) และใน
รอบ 156 ปี (ค.ศ.1850 – 2006) ปีที่อุณหภูมิสูงสุด เป็นปีหลัง ๆนี้ทั้งสิ้น เช่นเดียวกันกับในประเทศไทย การ
ติดตามอุณหภูมิที่สถานีตรวจวัดสนามบินเชียงใหม่โดยข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยาในรอบ 30 ปี ระหว่าง ค.ศ.
1971-2000 เทียบกับในรอบ 10 ปี ล่าสุด ระหว่าง ค.ศ. 2003-2012 พบว่าอุณหภูมิสูงสุดเพิ่มขึ้น 0.60 องศา
เซลเซยี ส อุณหภูมิต่ำสดุ เพิ่มข้ึน 0.81 องศาเซลเซยี ส และปรมิ าณน้ำฝนสะสมรายปี เพม่ิ ขึน้ 13.2 มลิ ลิเมตร (อรรถ
ชัย, 2556) สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปและเกี่ยวข้องกับการเกษตร ได้แก่ การเริ่มต้นฤดูมรสุมที่ล่าช้าออกไป
หรือเร็วขึ้นในบางปี อุณหภูมิที่สูงขึ้น การสิ้นสุดของฝนไม่แน่นอน เกิดพายุบ่อยครั้ง มีสภาพฝนตกชุก และ
โดยเฉพาะฝนทิ้งชว่ งที่เกิดบ่อยขึ้น อาจจะส่งผลให้ปรบั ตัวและเปลี่ยนพืชอาศยั (Plant Host) ได้ (Fuhrer, 2003)
สุนี และคณะ (2552) ทำการทดสอบการปลูก และตดั ออ้ ยเพื่อหลกี เลย่ี งการเกดิ โรคในภาคตะวนั ตก พบว่าอ้อยที่
ปลูกและตดั ระหวา่ งเดอื นมกราคม ถึงมนี าคม อ้อยจะแสดงอาการใบขาวน้อยที่สุด สามารถลดความเสียหายจาก
โรคใบขาวได้มากกวา่ 50% และการตรวจสอบแปลงปลกู ออ้ ย เพ่ือกำจัดตน้ ทแ่ี สดงอาการใบขาว จะชว่ ยลดการแพร่
ระบาดของโรคได้

วธิ ดี ำเนนิ การ
วธิ ีการ

มี 4 ขน้ั ตอน
ข้ันตอนท่ี 1 จัดทำแผนงานวิจยั รว่ มกับโรงงานนำ้ ตาล หรอื กลุ่มเกษตรกรในพน้ื ที่
ขั้นตอนที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการในการใช้ระบบเตือนภัยแก่เจ้าหน้าที่โรงงานน้ำตาล หรือกลมุ่

เกษตรกรในพ้ืนท่ี
ขั้นตอนที่ 3 ให้ข้อมูลในการเฝ้าระวัง รณรงค์ และปรับใช้เทคโนโลยีการป้องกันและบรรเทา

ความเสียหาย ในพื้นที่เสี่ยงภัยใบขาวอ้อย โดยการใช้พันธุ์อ้อยสะอาดการจัดการดิน และธาตุอาหารตามความ
ต้องการพืช

ข้นั ตอนที่ 4 วเิ คราะห์ สรุปผล

รายงานความกา้ วหนา้
จากการสำรวจเพ่ือเก็บข้อมูลการแสดงอาการใบขาวของอ้อย เพื่อจัดทำความสัมพนั ธร์ ะหว่างร้อยละของ
การเกิดอาการใบขาวกับสภาพแวดล้อมในชว่ งของการสำรวจ 2 ปีแรก (2559-2560) มุ่งเน้นการเปรียบเทียบกับ

825

ระดับของการเกิดอาการใบขาวกับสภาพแวดล้อมในเชิงพื้นที่ และในปี 2561-2562 ทม่ี งุ่ เน้นการเปรียบเทียบกับ
ระดับของการเกดิ อาการใบขาวกับสภาพแวดล้อมในส่วนของข้อมูลสภาพอากาศ ถึงแม้ว่าจะไดส้ มการที่แสดงถึง
ความสัมพันธ์โดยการวิเคราะห์ทางสถติ ิโดยใช้ Stepwise Regression analysis ในการเลือกตวั แปรที่มีนัยสาํ คญั
ทางสถิติต่อร้อยละของการเกิดอาการใบขาวแต่สมการที่ได้จากทั้งสองกรณี ยังมีค่าค่าความผันแปรของตัวแปร
ตอบสนอง (R-Squared) ค่อนข้างต่ำคอื 0.40 และ 0.46 ตามลำดับ

ในกรณีของสภาพแวดลอ้ มในเชิงพื้นทพี่ บว่า พนั ธุ์ ปรมิ าณอินทรียว์ ัตถุในดินและปรมิ าณโพแทสเซยี มที่
สามารถแลกเปลีย่ นได้ในดินมีผลต่อการเกิดอาการใบขาวของออ้ ย โดยมคี ่า P-Value เป็น 0.0092 0.0001 และ
0.0064 ตามลำดับ การจัดการปจั จัยเหล่านมี้ ีผลต่อการเกิดอาการใบขาวของออ้ ย

ในกรณีของความสมั พนั ธข์ องการเกิดอาการใบขาวของออ้ ยตอ่ ขอ้ มลู สภาพอากาศพบวา่ เนื้อดิน พันธุ์และ
อณุ หภูมิตำ่ สดุ มผี ลตอ่ การเกดิ อาการใบขาวของออ้ ย โดยมีคา่ P-Value เปน็ 0.0150 0.0004 และ 0.0011
ตามลำดับ การจัดการปจั จยั เหล่านีม้ ีผลต่อการเกิดอาการใบขาวของอ้อยเชน่ เดียวกนั

แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากค่า R-Squared ที่ได้ค่อนข้างต่ำอาจกล่าวได้ว่าปัจจัยการแสดงอาการใบขาว
อาจจะไม่ได้มากจากสภาพแวดล้อมทั้งหมดอาจจะมาจากหลายปัจจัยร่วมกัน โดยกาญจนา และคณะ (2555)
รายงานวา่ ปัญหาของโรคใบขาวท่ีเกิดจากเชอื้ ไฟโตพลาสมา ในปจั จุบนั ยังไมม่ เี ทคโนโลยีใดท่ีสามารถแก้ไขปัญหา
นี้ได้ ดังนั้นวิธีการควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคที่ดีที่สดุ คือ การปลูกอ้อยโดยใช้ทอ่ นพันธุ์ทีป่ ราศจากโรคควบคู่
กับการจดั การในแปลงผลติ และโรคใบขาวมีการแพร่ระบาดโดยผา่ นแมลงพาหะนำโรค ไดแ้ ก่ เพลี้ยจกั จ่ันสีน้ำตาล
(Matsumuratettix hiroglyphicus และ Yamatotettix flavovittatus) และผา่ นทางทอ่ นพนั ธ์ุ ซ่งึ การถ่ายทอด
ทางท่อนพนั ธุ์ทำใหก้ ารแพร่กระจายของโรคเป็นไปได้อย่างกวา้ งขวางและรวดเร็ว การปลูกโดยใชพ้ ันธุ์อ้อยสะอาด
และปลอดโรคจึงเปน็ วธิ ีการสำคัญในการจัดการโรค แต่ในสภาพแปลงปลูกออ้ ยปัจจุบนั พนั ธุ์ออ้ ยดงั กล่าวหาได้ยาก
ย่ิงนอกจากน้ัน ปัจจุบนั ยงั ไม่พบว่ามอี ้อยพนั ธ์ุใดทนทานต่อโรคใบขาว (นลิ ุบล และคณะ, 2555) กอบเกียรติ และ
คณะ (2554) อ้างตามกอบเกียรติ (2555) รายงานว่า ความรุนแรงของโรคใบขาวอ้อยมักระบาดมากในปีฤดูกาล
ปลูกที่ประสบภัยแล้งรุนแรง (ฝนน้อยและทิง้ ช่วงเปน็ เวลานานกว่าปกต)ิ เช่น ในปี 2552/53 พบว่า มีการระบาด
ของใบขาวอ้อย ตั้งแต่ 0.001-50.0 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเกิดโรคกับอ้อยตอ (ratoon cane) มากกว่าอ้อยปลูก (plant
cane) อีกทั้งการจัดการตั้งแต่การเตรียมดิน ฤดูปลูกที่เหมาะสม การจัดการธาตุอาหารและน้ำก็มีผลต่อการเกดิ
อาการใบขาวเช่นเดียวกัน จากข้อมูลที่ได้ พันธุ์อ้อยเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้อ้อยแสดงอาการใบขาว การใช้ท่อน
พันธุ์ที่มีคุณภาพดีเลือกพันธุ์อ้อยที่เลี่ยงต่อการเกิดโรคต่ำ จะช่วยลดการแสดงอาการใบขาว อีกทั้งปริมาณ
อินทรียว์ ตั ถใุ นดนิ ซ่งึ ขนึ้ อยู่กบั เนือ้ ดนิ ก็เปน็ ปัจจยั ที่เก่ยี วข้องกับการแสดงอาการใบขาวเช่นเดียวกัน การเลือกพ้ืนท่ี
ท่ีเหมาะสมจงึ เปน็ การลดความเสีย่ งตอ่ การแสดงอาการใบขาวไดอ้ ีกทางหนึง่
การฝกึ อบรมเกษตรกร

ดำเนินการฝึกอบรมเกษตรเพื่อสร้างการรับรู้เรื่องอ้อยใบขาว โดยมีเป้าหมาบอบรมเกษตรจำนวน 880
ราย ดำเนินการแล้วดังน้ีอบรมเกษตร วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
สินคา้ เกษตรอำเภอวังสะพุง จังหวดั เลย (ศพก. วงั สะพงุ ) จำนวนผู้เขา้ รบั การอบรม 80 ราย

826

1. อบรมเกษตร วันท่ี 16 มนี าคม 2564 ณ ศาลาประชาคม หมู่ 7 ต.วงั หิน อ.หนองสองห้อง จ.ขอนแกน่
จำนวนผ้เู ขา้ รับการอบรม 40 ราย

2. อบรมเกษตร วันที่ 22 มนี าคม 2564 ณ ศาลาประชาคม หมู่ 9 ต.ปอแดง อ.ชนบท จ.ขอนแกน่ จำนวน
ผเู้ ขา้ รับการอบรม 40 ราย

3. อบรมเกษตร วันที่ 24 มนี าคม 2564 โรงงานนำ้ ตาลทิพยก์ ำแพงแพชร หมู่ 9 ต.เทพนิมติ ร อ.บึง
สามคั คี จ.กำแพงเพชร จำนวนผูเ้ ข้ารบั การอบรม 40 ราย

4. อบรมเกษตร วันท่ี 1 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารสว่ นตำบลปากชอ่ ง ต.ปากชอ่ ง อ.
จอมบึง จ.ราชบรุ ี จำนวนผ้เู ขา้ รับการอบรม 80 ราย

5. อบรมเกษตร วนั ท่ี 2 เมษายน 2564 ณ หอ้ งประชุมองค์การบรหิ ารส่วนตำบลรางสาลี่ ต.รางสาลี่ อ.
ทา่ ม่วง จ.กาญจนบุรี จำนวนผเู้ ข้ารับการอบรม 80 ราย

6. อบรมเกษตร วนั ท่ี 8 เมษายน 2564 ณ หอ้ งประชุมโรงเรยี นเนรมติ ศกึ ษา ต.โอโล อ.ภเู ขียว จ.ชยั ภูมิ
จำนวนผเู้ ขา้ รับการอบรม 80 ราย

7. อบรมเกษตร วนั ที่ 9 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมศนู ยว์ จิ ยั และพัฒนาการเกษตรมหาสารคาม ต.ท่า
สองคอน อ.เมืองมหาสารคาม จ.มหาสารคาม จำนวนผ้เู ขา้ รบั การอบรม 80 ราย

จำนวนรวม 560 ราย คงเหลือ 320 ราย แต่เนื่องจากเกิดสถานการณ์การระบาดของโคโรน่าไวรัส
(COVID-19) ระลอกที่ 3 ทำให้ไม่สามารถดำเนนิ การจัดฝึกอบรมใหค้ รบตามจำนวนได้

เอกสารอา้ งอิง

กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ. 2555. การจัดการสมดุลธาตุอาหารเพื่อเพิ่มความทนทานต่อโรคใบขาว ของอ้อยผลิตท่อนพันธุ์. ใน
เอกสารประกอบการบรรยายการฝึกอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ หลกั สูตร “การถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารปอ้ งกันกำจัดโรคใบขาว
ออ้ ย” วันที่ 24-25 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาเกษตรสพุ รรณบรุ ี

กาญจนา วาระวิชะนี, วันเพญ็ ศรีทองชัย และปรเิ ชษฐ์ ต้งั กาญจนภาสน์. 2555. พฒั นาเทคนคิ การตรวจสอบเช้อื ไฟโตพลาสมา
สาเหตโุ รคใบขาวอ้อยดว้ ยกรดนิวคลีอกิ ตวั ตรวจ. รายงานผลงานวจิ ัยประจำปี 2556 สำนักวจิ ัยพัฒนาการอารักขาพชื .
กรมวชิ าการเกษตร. หนา้ 2218-2232.

แฉลม้ มาศวรรณา และ สพุ ตั รา ดลโสภณ. 2551. โรคใบขาวอ้อย การระบาดท่ีเรอ้ื รังและรุนแรง. กสกิ ร 81(3): น. 45-54.
นิลุบลและคณะ, 2555. การจัดการโรคใบขาวอ้อยด้วยการใช้พันธุ์ปลอดโรค. แก่นเกษตร 40 ฉบับพิเศษ 3 : 241-248 (2555).

241-2
สุนี ศรีสิงห์. 2552. การทดสอบฤดูปลูกเพื่อเหลีกเลี่ยงโรคใบขาวในเขตภาคตะวันตก รายงานความก้าวหน้าไตรมาส 3 วันที่ 30

กรกฎาคม 2552 ณ สถาบันวจิ ยั พืชไร่ กรมวิชากาเกษตร.(สไลด์ Powerpoint)
อรรถชัย จินตะเวช. 2556. “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและผลกระทบต่อผลผลิตพืชหลักในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง”. วารสาร

มหาวทิ ยาลัยนครพนม ISSN 2228 – 9356 : 5-23
Fuhrer, J. 2003. “ Agroecosystem responses tocombinations of elevated CO2, ozone, and global climate

change,” Agriculture, Ecosystems & Environment. 97(1-3): 1-20.

827

ระบบเตอื นภยั หนอนกอลายจุดเลก็ ในพ้นื ที่ปลูกรอบโรงงานน้ำตาล

ชยนั ต์ ภักดไี ทย1 อิสระ พทุ ธสิมมา2 กาญจนา กิระศักด์ิ188 มทั นา วานชิ ย์1 แคทลยิ า เอกอุ่น3 ภาคภมู ิ ถิ่นคำ1 ทนธุ รรม บุญฉิม

1

เนติรัฐ ชุมสวุ รรณ182 เพญ็ รตั น์ เทียมเพง็ 2 สโรชา ถงึ สขุ 2 วิภารัตน์ ดำริเขม้ ตระกลู 4
มนสั ชญา สายพนสั 5 และวา่ ที่ ร.ต.อนชุ า เหลาเคน6

รายงานความก้าวหน้า
ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พื้นที่ปลูกอ้อยส่วนใหญ่ปลูกในดินทรายหรือร่วนปนทราย บาง
พื้นที่พบปัญหาแห้งแล้งยาวนาน หนอนกอลายจุดเล็กที่เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญที่สุด หากมีการระบาดมากทำให้
ผลผลิตลดลงรอ้ ยละ 5-40 เมือ่ นำหน่ออ้อยทถี่ ูกเขา้ ทำลายมากไปปลกู ทำเปน็ ท่อนพนั ธ์ุอ้อย จะทำใหก้ ารงอกลดลง
หรือไม่งอกเลยหรือถ้างอกอ้อยจะไม่สมบูรณ์ จากการดำเนินงานเก็บข้อมูลจัดทำความสัมพันธ์ระหว่างการเข้า
ทำลายของหนอนกอลายจดุ เล็กกบั สภาพแวดลอ้ มวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ Stepwise Regression analysis กรณี
ของสภาพแวดล้อมในเชิงพื้นที่พบว่า พันธุ์ ปริมาณแมกนีเซียมในดินต่อร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอ
ลายจุดเล็ก โดยมีค่า P-Value เป็น 0.0237 และ 0.0024 ตามลำดับ การจัดการปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อรอ้ ยละของ
การเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก ในกรณีของความสัมพันธ์ของรอ้ ยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลาย
จดุ เลก็ ต่อขอ้ มลู สภาพอากาศพบว่า เน้อื ดิน พันธ์แุ ละอุณหภมู ิสงู สุด ปริมาณนำ้ ฝนสะสม 14 วันตอ่ ร้อยละของการ
เขา้ ทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก โดยมีค่า P-Value เปน็ 0.0142 0.0342 และ 0.0031 ตามลำดับ การจัดการ
ปจั จยั เหล่านี้มีผลต่อร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กเช่นเดียวกนั การจัดการปัจจัยเหล่านี้มีผล
ต่อการการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก จึงได้นำผลที่ได้ไปอบรมเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย เจ้าหน้าที่โรงงาน
น้ำตาลและกลุ่มเจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานโครงการ 1 ตำบล 1 เกษตรทฤษฎีใหม่ของกรมส่งเสริมการเกษตร
เป้าหมาย 880 ราย เพื่อให้สามารถป้องกันและเฝ้าระวังการการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กในพืน้ ที่ ลด
ความเสยี หายในการผลติ อ้อยได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
คำสำคญั : ออ้ ย การเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก สภาพอากาศแปรปรวน สภาพแวดล้อม อุณหภมู ิ

1ศูนยว์ จิ ัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบนั วิจยั พชื ไร่และพืชทดแทนพลงั งาน กรมวิชาการเกษตร
2ศนู ยว์ จิ ยั และพัฒนาการเกษตรเพชรบูรณ์ สำนักวิจยั และพัฒนาการเกษตรเขท่ี 2 กรมวิชาการเกษตร
3ศูนย์วิจยั และพัฒนาการเกษตรกาฬสนิ ธุ์ สำนักวิจัยและพฒั นาการเกษตรเขท่ี 3 กรมวิชาการเกษตร
4ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นาการเกษตรเลย สำนกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขที่ 3 กรมวิชาการเกษตร
5ศูนย์วจิ ัยและพฒั นาการเกษตรพิจิตร สำนกั วจิ ัยและพัฒนาการเกษตรเขที่ 2 กรมวิชาการเกษตร
6ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการเกษตรมหาสารคาม สำนกั วิจัยและพัฒนาการเกษตรเขที่ 4 กรมวิชาการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

828

คำนำ
ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน พื้นที่ปลูกอ้อยส่วนใหญป่ ลูกในดินทรายหรือร่วนปนทราย บาง
พ้ืนท่ีพบปัญหาแหง้ แลง้ ยาวนาน ฝนตกไมส่ มำ่ เสมอ หรอื สภาพอากาศแปรปรวน และพบปัญหาทีส่ ำคัญที่ทำให้ผล
ผลิตของอ้อยลดลงคือ หนอนกอลายจดุ เล็กทเ่ี ปน็ แมลงศัตรูที่สำคญั ที่สุด หากมีการระบาดมากทำให้ผลผลิตลดลง
รอ้ ยละ 5-40 เนอ่ื งจากออ้ ยมีการเจรญิ เตบิ โตไม่สม่ำเสมอ นอกจากนัน้ เมือ่ นำหนอ่ อ้อยท่ถี ูกเข้าทำลายมากไปปลูก
ทำเป็นท่อนพนั ธ์ุออ้ ย จะทำใหก้ ารงอกลดลงหรือไม่งอกเลยหรอื ถ้างอกอ้อยจะไม่สมบรู ณ์ จากสภาวะปัจจุบันการ
เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Climate variability or change) หรือภาวะโลกร้อน (Global warming) ที่เกิดขึ้น
นบั วนั จะรุนแรงมากขึ้น และสง่ ผลกระทบรุนแรงตอ่ การทำการเกษตรในทุกประเทศ การศึกษาอณุ หภูมิของโลกที่
เปล่ยี นแปลง พบว่า ในช่วงทศวรรษที่ผา่ นมา (ค.ศ.1906-2005) อุณหภูมิของโลกสงู ข้นึ 0.74 องศาเซลเซยี ส (โดย
IPCC หรือ Intergovernmental Panel on Climate Change, 2007) ซึ่งมากกว่าที่เคยประเมินไว้ (0.60 องศา
เซลเซียส โดย IPCC 2001) และในรอบ 156 ปี (ค.ศ.1850 – 2006) ปีที่อุณหภูมิสูงสุด เป็นปีหลัง ๆนี้ทั้งส้ิน
เช่นเดียวกันกับในประเทศไทย การติดตามอุณหภูมิที่สถานีตรวจวัดสนามบินเชียงใหม่โดยข้อมูลจากกรม
อุตุนิยมวิทยาในรอบ 30 ปี ระหว่าง ค.ศ. 1971-2000 เทียบกับในรอบ 10 ปี ล่าสุด ระหว่าง ค.ศ. 2003-2012
พบว่าอุณหภูมิสูงสุดเพิ่มขึ้น 0.60 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดเพิ่มขึน้ 0.81 องศาเซลเซียส และปริมาณน้ำฝน
สะสมรายปี เพิม่ ขึน้ 13.2 มลิ ลิเมตร (อรรถชยั , 2556) สภาพอากาศที่เปลีย่ นแปลงไปและเกย่ี วข้องกับการเกษตร
ได้แก่ การเริ่มต้นฤดูมรสุมทีล่ ่าช้าออกไป หรือเร็วขึ้นในบางปี อุณหภูมิที่สูงขึ้น การสิ้นสุดของฝนไมแ่ น่นอน เกิด
พายุบ่อยครง้ั มีสภาพฝนตกชุก และโดยเฉพาะฝนทงิ้ ช่วงที่เกิดบ่อยข้ึน อาจจะสง่ ผลให้ปรับตวั และเปล่ียนพืชอาศัย
(Plant Host) ได้ (Fuhrer, 2003) ซ่ึงอาจจะเป็นส่วนหน่งึ ท่ีทำให้การทำลายของหนอนกอลายจุดเลก็ เปล่ียนไปจากเดิม

วิธีดำเนนิ การ
วธิ ีการ

มี 4 ข้ันตอน
ข้ันตอนท่ี 1 จดั ทำแผนงานวิจัยรว่ มกบั โรงงานน้ำตาล หรือกลุ่มเกษตรกรในพ้นื ที่
ขั้นตอนที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการในการใช้ระบบเตือนภยั แก่เจ้าหนา้ ที่โรงงานน้ำตาล หรือกลมุ่

เกษตรกรในพ้นื ท่ี
ขน้ั ตอนที่ 3 ให้ข้อมูลในการเฝา้ ระวงั รณรงค์ และการปรับใชเ้ ทคโนโลยีการป้องกนั และบรรเทา

ความเสียหาย ในพื้นที่เสี่ยงภัยหนอนกอลายจดุ เล็ก โดยการจัดการดินและธาตุอาหารตามความต้องการพืช การ
ปลอ่ ยศตั รธู รรมชาตเิ พอื่ ควบคุมหนอนกอลายจดุ เล็ก

ข้ันตอนท่ี 4 วิเคราะห์ สรุปผล


Click to View FlipBook Version