The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by appleati, 2021-12-27 04:16:11

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

829

รายงานความก้าวหนา้
จากการสำรวจเพือ่ เก็บข้อมูลร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก เพื่อจัดทำความสัมพันธ์
ระหว่างร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กกับสภาพแวดล้อมในช่วงของการสำรวจ 2 ปีแรก
(2559-2560) มุ่งเนน้ การเปรียบเทียบกับระดับการเข้าทำลายกับสภาพแวดล้อมในเชิงพนื้ ที่ และในปี 2561-2562
ที่มุ่งเน้นการเปรียบเทียบกบั ระดับการเข้าทำลายกับสภาพแวดล้อมในส่วนของข้อมูลสภาพอากาศ ถึงแม้ว่าจะได้
สมการที่แสดงถงึ ความสัมพนั ธโ์ ดยการวิเคราะห์ทางสถติ ิโดยใช้ Stepwise Regression analysis ในการเลือกตัว
แปรที่มีนัยสําคญั ทางสถติ ิต่อรอ้ ยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเลก็ แต่สมการท่ไี ด้จากทัง้ สองกรณี ยงั
มคี า่ ค่าความผันแปรของตวั แปรตอบสนอง (R-Squared) ค่อนข้างต่ำคือ 0.25 และ 0.41 ตามลำดับ
ในกรณขี องสภาพแวดล้อมในเชิงพ้ืนที่พบว่า พนั ธ์ุ ปรมิ าณแมกนีเซยี มในดินต่อร้อยละของการเข้าทำลาย
ของหนอนกอลายจดุ เล็ก โดยมคี า่ P-Value เป็น 0.0237 และ 0.0024 ตามลำดบั การจดั การปจั จยั เหลา่ น้ีมีผลต่อ
รอ้ ยละของการเขา้ ทำลายของหนอนกอลายจดุ เลก็
ในกรณีของความสัมพันธ์ของร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเลก็ ต่อข้อมูลสภาพอากาศ
พบวา่ เน้ือดนิ พันธุแ์ ละอุณหภูมสิ ูงสดุ ปรมิ าณน้ำฝนสะสม 14 วันตอ่ ร้อยละของการเขา้ ทำลายของหนอนกอลาย
จุดเล็ก โดยมคี า่ P-Value เปน็ 0.0142 0.0342 และ 0.0031 ตามลำดบั การจัดการปจั จัยเหล่าน้ีมีผลต่อร้อยละ
ของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กเชน่ เดียวกนั
แต่อยา่ งไรก็ตามเนอื่ งจากค่า R-Squared ที่ได้คอ่ นข้างต่ำอาจกล่าวได้ว่าปจั จัยการเข้าทำลายของหนอน
กอลายจุดเล็กอาจจะไม่ได้มากจากสภาพแวดล้อมทั้งหมดอาจจะมาจากหลายปัจจัยร่วมกัน จากการศึกษาของจิ
ราวรรณ (2553) พบว่า การทำลายของหนอนกอมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับจำนวนหน่อในแปลงที่มีลักษณะ
เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายจำนวน 3 แปลงมีค่า R-Squared = 0.316, 0.422 และ 0.27 ในแปลงดินเหนียว
จำนวน 2 แปลงคา่ R-Squared 0.448 และ 0.486 ตามลำดบั การเผาออ้ ยใบอ้อยก่อนและหลงั ตดั ออ้ ยเข้าโรงงาน
เป็นการทำลายแมลงศัตรูธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ แตนเบียนไข่ทริโคแกรมมา และแตนเบียนหนอนโคทีเซียที่
พบในธรรมชาติ และยังทำลายความชื้นและความอุดมสมบูรณ์ของดิน (ชูชาติ, 2558) และพบว่าช่วงอ้อยเป็นลำ
และมีฝนตกชุกจะพบมดมากอาจจะทำการเข้าทำลายของหนอนกอลายจดุ เลก็ ลดลง เนอ่ื งจากมดเป็นตัวห้ำและมี
บทบาทในการควบคมุ หนอนกออ้อย (พทิ กั ษ์พงศ์, 2546; Adams et al., 1981; Bessin and Reagan, 1993) อีก
ท้งั การจดั การตงั้ แตก่ ารเตรยี มดนิ ฤดปู ลกู ท่ีเหมาะสม การจดั การแปลงปลกู การจดั การธาตุอาหารเชน่ งานทดลอง
ของ Camargo et al., (2010) ที่ศึกษาการใช้ซิลิคอน ในอ้อยเพื่อควบคุม หนอนเจาะลำต้นซึ่งทำให้หนอนเข้า
ทำลายลดลง รวมถึงการการเลือกพืน้ ทท่ี ่ีเหมาะสมจงึ เปน็ การลดการเข้าทำลายของหนอนกอลายจดุ เลก็ ไดอ้ กี ทางหน่ึง
และจากผลการเก็บผลผลิตพบว่าแปลงอ้อยที่มีการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กปี 2561 มีระดบั
การเข้าทำลายอยู่ที่ ระดับ 1-5 (0-100%) เมื่อดำเนินการเก็บผลผลิตสามารถสร้างสมการความสัมพันธ์ระหว่าง
ระดบั การเข้าทำลายของหนอนกอลายจดุ เลก็ เทยี บกับการลดลงของผลผลิต ดังสมการ

830 y = -1.7625x2 - 16.32x + 20.671
โดยมี R²= 0.80 โดย y คอื รอ้ ยละของการลดลงของผลผลิต

x คอื ระดบั การเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก (1) ไมม่ กี ารเขา้ ทำลาย (2)
ร้อยละ 1-25 (3) ร้อยละ 26-50 (4) รอ้ ยละ 51-75 (5) รอ้ ยละ 75-100

การฝึกอบรมเกษตรกร
ดำเนนิ การฝกึ อบรมเกษตรเพอื่ สร้างการรับรเู้ รื่องการเขา้ ทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก โดยมีเป้าหมาย

อบรมเกษตรจำนวน 880 ราย ดำเนนิ การแล้วดงั น้ี
1. อบรมเกษตร วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
อำเภอวงั สะพุง จังหวดั เลย (ศพก.วังสะพุง) จำนวนผูเ้ ขา้ รับการอบรม 80 ราย
2. อบรมเกษตร วันท่ี 16 มีนาคม 2564 ณ ศาลาประชาคม หมู่ 7 ต.วังหิน อ.หนองสองห้อง จ.
ขอนแกน่ จำนวนผู้เข้ารับการอบรม 40 ราย
3. อบรมเกษตร วันท่ี 22 มีนาคม 2564 ณ ศาลาประชาคม หมู่ 9 ต.ปอแดง อ.ชนบท จ.ขอนแก่น
จำนวนผู้เข้ารับการอบรม 40 ราย
4. อบรมเกษตร วันที่ 24 มีนาคม 2564 โรงงานน้ำตาลทิพย์กำแพงแพชร หมู่ 9 ต.เทพนิมิตร อ.บึง
สามัคคี จ.กำแพงเพชร จำนวนผู้เขา้ รับการอบรม 40 ราย
5. อบรมเกษตร วนั ท่ี 1 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารสว่ นตำบลปากชอ่ ง ต.ปากชอ่ ง อ.
จอมบึง จ.ราชบรุ ี จำนวนผูเ้ ข้ารบั การอบรม 80 ราย
6. อบรมเกษตร วันท่ี 2 เมษายน 2564 ณ ห้องประชมุ องค์การบรหิ ารส่วนตำบลรางสาล่ี ต.รางสาล่ี อ.
ทา่ มว่ ง จ.กาญจนบุรี จำนวนผเู้ ข้ารับการอบรม 80 ราย
7. อบรมเกษตร วนั ที่ 8 เมษายน 2564 ณ ห้องประชมุ โรงเรียนเนรมิตศกึ ษา ต.โอโล อ.ภเู ขียว จ.ชัยภูมิ
จำนวนผ้เู ขา้ รับการอบรม 80 ราย
8. อบรมเกษตร วันที่ 9 เมษายน 2564 ณ ห้องประชุมศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการเกษตรมหาสารคาม ต.
ท่าสองคอน อ.เมอื งมหาสารคาม จ.มหาสารคาม จำนวนผู้เขา้ รับการอบรม 80 ราย
จำนวนรวม 560 ราย คงเหลอื 320 ราย แต่เนื่องจากเกิดสถานการณ์การระบาดของโคโรน่าไวรสั

(COVID-19) ระลอกท่ี 3 ทำให้ไม่สามารถดำเนินการจดั ฝกึ อบรมใหค้ รบตามจำนวนได้

831

เอกสารอ้างอิง

จิราวรรณ ศรีใส. 2553. ผลผลิตและปฎกิ ริ ิยาของสายพันธุ์อ้อยต่อการเข้าทำลายของหนอนกอ ปลวกและโรคอ้อยในสภาพพ้นื ท่ี
ป ล ู ก ต ่ า ง ก ัน . ( Yields and reaction of sugarcane lines to sugarcane borers, termites and diseases in
different planting areas). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยสี รุ นารี. 157 หนา้ .

ชชู าติ สุขมาก. 2558. ข่าวเกษตรนา่ รู้. สืบคน้ เม่ือ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2563. จาก
https://ewt.prd.go.th/ewt/region4/ewt_news.php?nid=71395&filename=index

พิทักษ์พงศ์ ป้อมปราณี. 2546. ความหลากชนิดและการแพรกระจายของมดในไร่อ้อยพฤติกรรมการกินและประสิทธิภาพของมด
ชนิดทสี่ ำคญในการควบคุมหนอนกอออยในสภาพไร.่ วทิ ยานพิ นธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี
การผลิตพชื มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นาร.ี

อรรถชัย จินตะเวช. 2556. “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและผลกระทบต่อผลผลิตพืชหลักในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง”. วารสาร
มหาวิทยาลยั นครพนม ISSN 2228 – 9356 : 5-23

Adam, C.T., Summers, T.E., Lofgren, C.S., Focks, D.A. and Prewit, J.C. 1 9 8 1 . Interrelationship of ants and the
sugarcane borer in Florida sugarcane fields. Environ. Entomol. 10(3): 415-418.

Bessin, R.T. and Reagan, T.E. 1993. Cultivar resistance and arthropod predation of sugarcane borer (Lepidoptera:
Pyralidae) affects incidence of deadhearts in Louisiana sugarcane. J. Econ. Entomol. 86(3): 929-932.

de Camargo, M.S. , A. R. Gomes Júnior , P. Wyler , G. H. Korndörfer. 2010. Silicate fertilization in sugarcane: Effects
on soluble silicon in soil, uptake and occurrence of stalk borer (Diatraea accharalis). 19th World
Congress of Soil Science, Soil Solutions for a Changing World. 1 – 6 August 2010, Brisbane, Australia.

Fuhrer, J. 2003. “ Agroecosystem responses tocombinations of elevated CO2, ozone, and global climate
change,” Agriculture, Ecosystems & Environment. 97(1-3): 1-20.

832

การวิเคราะห์วอเตอรฟ์ ุตพรนิ้ ท์ของการผลิตมนั สำปะหลัง : ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน

รวีวรรณ เช้อื กิตตศิ ักด์ิ1* นารรี ตั น์ เณรอยู่ 1 สุมณฑา นนทะนำ1 และวลัยพร ศะศิประภา2

รายงานความก้าวหนา้
การวิเคราะห์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของการผลิตมันสำปะหลังในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 7 จังหวัด
ได้แก่ ชัยภูมิ เลย อุดรธานี กาฬสินธุ์ ขอนแก่น สกลนคร และมุกดาหาร ในปีการผลิต 2560/2561-2562/2563
โดยการสัมภาษณ์ใช้แบบสอบถามเกษตรกรจำนวน 101 ราย พื้นที่ 1,337 ไร่ พบว่า เกษตรนิยมใช้พันธุ์มัน
สำปะหลังของกรมวชิ าการเกษตรคิดเป็นรอ้ ยละ 64.6 66.5 และ 66.5 ตามลำดบั ส่วนพันธุ์ทีน่ ยิ มปลูกมากท่สี ุดคือ
พันธุเ์ กษตรศาสตร์ 50 รองลงมาไดแ้ ก่พันธ์รุ ะยอง 72
พน้ื ที่ผลิตมันสำปะหลังภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน 7 จงั หวดั ได้แก่ จังหวดั ชยั ภูมิ เลย อุดรธานี
กาฬสนิ ธุ์ ขอนแกน่ สกลนคร และมกุ ดาหาร ใน 3 ฤดูกาลผลติ ในปี 2560/61 2561/62 และ 2562/63 ใหผ้ ลผลิต
เฉลี่ย 4.9 ตันตอ่ ไร่ และมีปริมาณการใช้ป๋ยุ ไนโตรเจน 7.2 กิโลกรมั ต่อไร่ มีคา่ เกรย์วอเตอร์ฟตุ พรน้ิ ท์เฉลีย่ เท่ากบั
32.1 ลกู บาศก์เมตรตอ่ นำ้ หนกั หวั สด 1 ตัน มีค่ากรีนวอเตอรฟ์ ตุ พรนิ้ ต์เฉลย่ี เทา่ กบั 108.5 ลกู บาศกเ์ มตรต่อน้ำหนกั
หัวสด 1 ตัน และมีค่าวอเตอร์ฟุตพริน้ ท์เฉลีย่ 140.5 ลูกบาศกเ์ มตรต่อนำ้ หนกั หวั สด 1 ตนั
คำสำคัญ: มนั สำปะหลงั วอเตอรฟ์ ตุ พร้ินท์ บลวู อเตอร์ฟตุ พริน้ ต์ เกรย์วอเตอร์ฟุตพรน้ิ ต์ กรีนวอเตอร์ฟุตพริน้ ต์

คำนำ
มนั สำปะหลังเปน็ พืชเศรษฐกิจที่สำคญั สรา้ งรายไดจ้ ากการส่งออกผลติ ภัณฑม์ นั สำปะหลงั ปีละ 5-9 หมื่น
ล้านบาท และเกี่ยวข้องกับเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังไม่น้อยกว่า 550,000 ครัวเรือน ในพื้นที่มากกว่า 54
จังหวัด ในปีพ.ศ. 2563 มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.92 ล้านไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 3,252 กิโลกรัมต่อไร่ (สำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร, 2563) จากสภาพภูมิอากาศที่ร้อนและแห้งแล้งในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ทำให้ระบบการผลิตของมัน
สำปะหลังเปลี่ยนแปลง อาทิเช่น การปลูกล่าช้าออกไป ปลูกแล้วกระทบแล้ง ทำให้ผลผลิตลดลงจึงมีการพัฒนา
ระบบการให้นำ้ ในมนั สำปะหลัง การใหน้ ำ้ ในระหวา่ งชว่ งอายุ 2-5 เดือน ทำใหไ้ ดผ้ ลผลิตหัวสดเพ่มิ ขน้ึ เฉล่ีย 27.7%
(วินัยและคณะ, 2550) น้ำเป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญยิ่ง ประกอบกับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศที่กำลงั
ส่งผลให้เกิดความแห้งแล้ง และขาดแคลนน้ำในบางพื้นที่ จึงมีแนวคิดในการบริหารจัดการน้ำผ่านเครื่องมือท่ี
เรียกว่า วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ (Water footprint: WF) วัดการใช้น้ำทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยคำนวณปริมาณนำ้
จากผลรวมของทุกขั้นตอนตลอดห่วงโซ่ของการผลิตสินค้า หรือบริการ มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อหน่วย มัน
สำปะหลงั สามารถแปรรูปเป็นผลติ ภัณฑไ์ ด้หลากหลายการศกึ ษาวอเตอรฟ์ ุตพร้นิ ท์ในการผลิตมันสำปะหลังจึงเป็น
ต้นน้ำของภาคอุตสาหกรรม จากรายงานที่ผา่ นมาการประเมินวอเตอร์ฟุตพร้ินท์ของมนั สำปะหลังใช้ข้อมูลมือสอง

1 ศนู ย์วิจยั พชื ไรข่ อนแก่น สถาบนั วิจยั พชื ไรแ่ ละพืชทดแทนพลังงาน อำเภอเมอื ง จังหวัดขอนแกน่
2 ศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพมหานคร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

833

เปน็ หลกั เชน่ มันสำปะหลังของโลก คำนวณวอเตอรฟ์ ุตพริ๊นทแ์ ยกเป็นกรนี บลู และเกรยว์ อเตอร์ 550 0 และ 13
คิว/ตัน ตามลำดับ (Mekonnen and Hoekstra, 2011) ส่วนการผลิตเอทานอลจากมันสำปะหลังมีวอเตอร์
ฟุตพริน๊ ท์ 2,544 ลิตรนา้ํ /ลติ รเอทานอล (อนตั ยา และคณะ, 2557) โดยปริมาณ 64 - 77 % เปน็ กรีนวอเตอร์ (ชิ
นาธิปกรณ์ และ ธำรงรตั น์, 2554; อนัตยา และคณะ, 2557) ซึ่งติดมากบั การผลิตมนั สำปะหลงั ในแปลง ทำให้เห็น
ว่าการผลิตในภาคเกษตรใช้น้ำมาก หากผลผลิตต่อไร่สูงขึ้นจะสามารถลดขนาดของวอเตอร์ฟุตพริ๊นท์ลงได้อีก
ดังนั้นการจัดการน้ำในแปลงปลูกมันสำปะหลัง และการเพิ่มผลผลิตต่อไร่มีความสำคัญ จึงดำเนินการศึกษาเพ่อื
ประเมนิ ปรมิ าณการใชน้ ำ้ ตั้งแตป่ ลกู จนกระทัง่ ได้ผลผลิตหวั สด 1 ตนั ปรมิ าณน้ำใชส้ ว่ นต่างๆ และระยะเวลาท่ีเกิด
การใช้น้ำ ในสภาพเงื่อนไขที่มีการจัดการน้ำแตกต่างกันจากแปลงปลูกจริง ประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับการ
จัดการน้ำมีอยอู่ ย่างจำกดั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

วธิ ดี ำเนนิ การ
วธิ ดี ำเนินงาน/ขนั้ ตอนการวิจัย

1. รวบรวมขอ้ มลู พ้ืนทป่ี ลูกมนั สำปะหลังและกำหนดพ้นื ทเ่ี กบ็ ตวั อย่างสำรวจ ในพน้ื ที่ปลูกมันสำปะหลัง
เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 7 จังหวัด ได้แก่ ชัยภูมิ เลย อุดรธานี กาฬสินธุ์ ขอนแก่น สกลนคร และ
มกุ ดาหาร

2. สำรวจเก็บขอ้ มูลแปลงเกษตรกรในจังหวัดแหล่งปลูกมนั สำปะหลังทส่ี ำคัญ
3. การวิเคราะหว์ อเตอรฟ์ ุตพร้ินท์ของมนั สำปะหลงั ของเกษตรกรแตล่ ะฤดูกาล

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
จากข้อมูลพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ปีเพาะปลูก 2559/2560 กำหนดจุดสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูล
พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังพื้นที่ภาคนะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตามสัดส่วนของพื้นที่เพาะปลูกมันสำปะหลังใน
จังหวัดท่ีมพี น้ื ที่ปลูกมันสำปะหลังมากกว่า 100,000 ไรข่ นึ้ ไป ตามข้อมลู สถติ ิการเกษตรของประเทศไทย ปี 2559
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2560) ซึ่งในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มีจังหวัดที่มีพื้นท่ีปลูกตามท่ี
กำหนดจำนวน 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ เลย อุดรธานี กาฬสินธุ์ ขอนแก่น สกลนคร และมุกดาหาร
ดำเนินการสุม่ สัมภาษณ์เกษตรกรและสำรวจพ้นื ท่ีปลูกมันสำปะหลงั ตามสัดส่วนพ้ืนท่ีปลูกโดยใช้ข้อมูลปีการผลิต
2559/2560 รวมสมั ภาษณ์เกษตรกร 101 ราย พืน้ ที่ 1,337 ไร่ (ตารางท่ี 1) โดยใชแ้ บบสัมภาษณ์ซึง่ ประกอบด้วย
การใช้พันธุ์มันสำปะหลัง การเตรียมแปลงปลูก การปรับปรุงดินก่อนปลูก การใช้ปัจจัยการผลิตทางเกษตรต่างๆ
การจัดการดูแลรักษา การให้นำ้ ชลประทาน (ถ้ามี) และการเก็บเกี่ยวผลผลติ ได้แก่ อายุเก็บเกี่ยว เดือนเกบ็ เกี่ยว
ผลผลิตหัวสดต่อไร่ และปริมาณแป้งในหัวสด ผลการสัมภาษณ์เกษตรกรและสำรวจพืน้ ท่ีปลูกมันสำปะหลัง แยก
สรุปเป็นรายปีเพาะปลูกเพื่อการคำนวณวอเตอร์ฟุตปรินท์แต่ละรายแต่ละปีการผลิต ซึ่งสามารถสรุปในส่วนของ
ฤดูกาลผลติ ของปเี พาะปลูก 2560/61 2561/62 และ 2562/63
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ปีการผลิต 2560/61 มีการใช้พันธุ์มันสำปะหลังหลากหลายส่วนใหญ่
เป็นพันธุ์ของกรมวิชาการเกษตร ได้แก่ พันธุ์ระยอง 72 ระยอง 5 ระยอง 7 ระยอง 9 ระยอง 11 ระยอง 86-13

834

รวมพื้นท่ีคิดเป็นรอ้ ยละ 64.6 และพนั ธข์ุ องหนว่ ยงานอน่ื ไดแ้ ก่ พนั ธเ์ุ กษตรศาสตร์ 50 หว้ ยบง 60 และห้วยบง 80
คิดเป็นร้อยละ 32.1 และยังมีพันธุ์อ่ืนๆ ที่เรียกชื่อต่างกันและไม่ทราบช่ือพันธุ์ที่ถกู ต้อง คิดเป็นร้อยละ 3.3 พันธุ์ท่ี
นิยมปลูกมากที่สุด ได้แก่ พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ที่มีการใช้ร้อยละ 19.0 รองลงมาได้แก่ พันธุ์ระยอง 72 และ
ระยอง 11 มีการใช้ร้อยละ 18.7 และ 12.0 ตามลำดับ (ตารางที่ 2) ในฤดูกาลผลิต 2561/62 เกษตรกรยังนิยม
ปลกู พันธุเ์ กษตรศาสตร์ 50 มากทสี่ ดุ ร้อยละ 17.8 และพันธ์ขุ องกรมวิชาการเกษตรก็ยังเป็นพันธท์ุ ี่ครอบคลุมพื้นท่ี
ปลกู มนั สำปะหลงั มากท่ีสดุ ร้อยละ 66.5 เช่นเดียวฤดกู าลผลิตปี 2562/2563 เกษตรกรยังคงใช้พนั ธุ์เดิม

ตารางที่ 1 จำนวนเกษตรกรที่สมั ภาษณ์ และพ้ืนทีส่ ำรวจ การผลิตมนั สำปะหลังของเกษตรกรปลูกมันสำปะหลัง

ในเขตภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน ในปีการผลติ 2559

จงั หวัด พน้ื ท่ีเพาะปลูก1/ สัมภาษณเ์ กษตรกร พนื้ ที่สำรวจ
(ไร่)
ปี 2559 (ไร)่ (ราย)
363
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน 325
258
1. ชัยภูมิ 541,038 28 154
110
2. เลย 354,728 18 80
47
3. อุดรธานี 311,802 16 1,337

4. กาฬสนิ ธุ์ 252,183 13

5. ขอนแก่น 206,444 10

6. สกลนคร 130,762 9

7. มุกดาหาร 142,308 7

รวม 1,939,265 101

1/ขอ้ มูลจาก สถติ ิการเกษตรของประเทศไทย ปี 2559 สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (2560)

ตารางที่ 2 ร้อยละของการใชพ้ ันธุ์มันสำปะหลังของเกษตรกร 7 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ในปี

การเพาะปลูก 2560/61 2561/62 และ 2562/2563

พันธุ์ 2560/61 ปกี ารเพาะปลกู (%การใช้พนั ธ)ุ์ 2562/63
2561/62

ระยอง 5 10.3 9.9 9.9

ระยอง 72 13.8 15.5 15.5

ระยอง 7 1.2 0.8 0.8

ระยอง 9 11.2 10.9 10.9

ระยอง 11 8.3 8.6 8.6

ระยอง 86-13 0.3 0.2 0.2

กษ 50 18.5 17.8 17.8

กษ 72 0.1 0.3 0.3

หว้ ยบง 60 5.8 8.7 8.7

ห้วยบง 80 7.6 5.6 5.6

ห้วยบง 90 0.1 0.1 0.1

ระยองอน่ื ๆ 19.5 20.6 20.6

พนั ธ์อ่นื ๆ 3.3 1.1 1.1

หมายเหตุ : การสำรวจในครงั้ นสี้ มั ภาษณ์เกษตรกรในอำเภอทีม่ ีพ้นื ทก่ี ารปลูกมนั สำปะหลังมากในแตล่ ะจังหวัด

835

การวเิ คราะหว์ อเตอร์ฟตุ พริน้ ท์ของการผลติ มันสำปะหลัง
ปกี ารผลติ 2560/61
การวิเคราะห์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์การปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรในแหล่งปลูก 7 จังหวัด ปีการผลิต

2560/61 การให้ผลผลิตหวั สดต่อไร่ และการใชป้ ยุ๋ ไนโตรเจนเป็นปัจจัยสำคญั ในการกำหนดค่าวอเตอร์ฟุต พร้ินต์
ทั้งนี้ได้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอุตนุ ิยมวิทยาในแต่ละแหล่งปลูก รวมทั้งข้อมูลในกรณีแปลงเกษตรกรทีใ่ ห้น้ำ
เสริมในการผลิตมันสำปะหลัง และจัดการข้อมูลให้สามารถเชื่อมโยงกับวันปลูก วันเก็บเกี่ยวในแต่ละราย และ
นำมาวิเคราะห์หาคา่ การคายระเหยน้ำของพชื อ้างอิง คา่ ความต้องการนำ้ ของการปลูกมนั สำปะหลงั เพื่อวิเคราะห์
ค่ากรีนวอเตอร์ฟุตพริ้นต์ (WFGreen) และค่าบลูวอเตอร์ฟุตพริ้นต์ (WFBlue) และค่าเกรย์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์
(WFgray) ของการปลูกมันสำปะหลงั

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ให้ผลผลิตเฉลี่ย 4.5 ตันต่อไร่ จังหวัดอุดาธานี ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด
5.8 ตันต่อไร่ ส่วนจังหวัดเลย และขอนแก่นให้ผลผลิตต่ำสุด 3.9 ตันต่อไร่ ส่วนปริมาณการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเฉลยี่
5.8 กิโลกรัมต่อไร่ จังหวัดกาฬสินธุ์มีการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนสูงสุด 7.6 กิโลกรัมต่อไร่ และจังหวัดมุกดาหารใช้ปุ๋ย
ไนโตรเจนต่ำสุด 4.2 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนค่าเกรย์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์เฉลี่ย 29.8 ลูกบาศก์เมตรต่อตันหัวสด โดย
จงั หวดั กาฬสินธุ์ มีค่ากรนี วอเตอรฟ์ ตุ พร้นิ ทส์ งู สดุ ท่ี 36.1 ลกู บาศกเ์ มตรต่อตนั หัวสด และจังหวดั อดุ รธานี มคี า่ เกรย์
วอเตอรฟ์ ตุ พริน้ ทต์ ่ำสุดที่ 25.0 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ตนั หัวสด มีคา่ กรนี วอเตอรฟ์ ตุ พรนิ้ ท์เฉล่ีย 119.1 ลูกบาศก์เมตร
ตอ่ ตนั หวั สด จังหวดั สกลนครมีคา่ กรีนวอเตอรฟ์ ุตพริ้นต์สูงที่สุด 180 ลูกบาศกเ์ มตรต่อตนั หัวสด ในขณะที่จังหวัด
อุดรธานีมีค่ากรนี วอเตอร์ฟุตพริน้ ต์ต่ำท่สี ุดท่ี 74 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ตนั หัวสด โดยท้งั 7 จังหวัดไมม่ ีการใหน้ ำ้ อาศัย
น้ำฝน จงึ ทำให้ค่าบลูวอเตอรฟ์ ุตพรนิ้ ต์เป็น และคา่ เฉลย่ี วอเตอรฟ์ ุตพร้ินต์เทา่ กับ 148.9 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ตนั หัวสด
(ตารางที่ 3)
ปกี ารผลิต 2561/62

ปีการผลิต 2561/62 ให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 4.4 ตันต่อไร่ ใกลเ้ คยี งกับปีการผลิต 2560/2561 โดยจังหวัด
อุดรธานีให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ยสงู สุด 6.1 ตันต่อไร่ ในขณะที่จังหวัดมกุ ดาหารใหผ้ ลผลิตหัวสดเฉลี่ยตำ่ สุด 3.4 ตัน
ต่อไร่ สำหรับวิเคราะห์ค่าเกรย์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์ พบว่า เกษตรกรใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในกระบวนการผลิตเฉลี่ย 6.4
กโิ ลกรมั ไนโตรเจนตอ่ ไร่ เมื่อคำนวณปรมิ าณน้ำทีใ่ ช้บำบัดไนโตรเจนของกระบวนการผลิต (เกรย์วอเตอรฟ์ ตุ พริน้ ท์)
มคี า่ 33.1 ลูกบาศก์เมตรตอ่ นำ้ หนักหัวสด 1 ตัน (ตารางท่ี 4)

จงั หวดั มกุ ดาหารมีคา่ กรีนวอเตอรฟ์ ุตพร้นิ ต์สงู ท่ีสดุ 211.3 ลบ.ม.ตอ่ ตันหวั สด ในขณะท่ีจังหวัดอุดรธานีมี
ค่ากรีนวอเตอร์ฟุตพริน้ ต์ตำ่ ที่สุดท่ี 78.3 ลูกบาศก์เมตรต่อตันหัวสด โดยทั้ง 7 จังหวัดไม่มีการให้น้ำ อาศัยน้ำฝน
จึงทำให้คา่ บลูวอเตอร์ฟุตพรน้ิ ต์เป็นศนู ย์ และคา่ เฉลีย่ กรนี วอเตอร์ฟุตพริ้นต์ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน
130 ลกู บาศกเ์ มตรต่อตันหวั สด และค่าเฉลย่ี วอเตอร์ฟุตพร้นิ ต์เท่ากบั 163.0 ลูกบาศกเ์ มตรต่อตันหวั สด
ปกี ารผลิต 2562/63

สำรวจและสัมภาษณ์เก็บรวบรวมข้อมูลเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังโดยเน้นในแหล่งปลูกเดิมในปี การ
ผลิต 2562/63 ในพน้ื ท่ี 7 จงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน ชะลอไปในช่วงสถานการณ์การระบาดของโค
วคิ และการปรับลดงบประมาณ ทำให้การสำรวจทำได้ไมส่ มบูรณ์สว่ นทีด่ ำเนนิ การได้บางสว่ น พอสรุปได้ ดังนี้

836

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน การวิเคราะห์ข้อมูลในแหล่งปลูกทั้ง 7 จังหวัด ให้ผลผลิตหัวสดเฉล่ีย
5.9 ตันต่อไร่ มากกว่าปีการผลิต 2561/2562 โดยจังหวัดอุดรธานีให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ยสูงสุด 7.6 ตันต่อไร่
ในขณะที่จังหวัดกาฬสินธุให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ยต่ำสุด 4.6 ตันต่อไร่ สำหรับวิเคราะห์ค่าเกรย์วอเตอร์ฟุตพริ้นท์
พบว่า เกษตรกรใชป้ ยุ๋ ไนโตรเจนในกระบวนการผลิตเฉล่ยี 9.6 กิโลกรมั ไนโตรเจนต่อไร่ เมอื่ คำนวณปรมิ าณน้ำท่ีใช้
บำบดั ไนโตรเจนของกระบวนการผลิต (เกรย์วอเตอร์ฟุตพริ้นท)์ มีคา่ 33.4 ลกู บาศกเ์ มตรต่อน้ำหนกั หวั สด 1 ตัน

จังหวัดกาฬสินธุ์มีค่ากรีนวอเตอร์ฟุตพริ้นต์สูงที่สุด 94.4 ลูกบาศก์เมตรต่อตันหัวสด ในขณะที่จังหวัด
ขอนแก่นมีค่ากรีนวอเตอร์ฟุตพริ้นต์ต่ำที่สุดที่ 58.9 ลูกบาศก์เมตรต่อตันหัวสด โดยทั้ง 7 จังหวัดไม่มีการให้น้ำ
อาศัยน้ำฝน จึงทำให้ค่าบลูวอเตอร์ฟุตพริ้นต์เป็น ศูนย์ และค่าเฉลี่ยกรีนวอเตอร์ฟุตพริ้นต์ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 76.3 ลูกบาศก์เมตรต่อตันหัวสด และค่าเฉลี่ยวอเตอร์ฟุตพริ้นต์เท่ากับ 109.7
ลกู บาศกเ์ มตรต่อตันหวั สด

ตารางท่ี 3 ผลผลติ หัวสดเฉลยี่ ต่อไร่ ปริมาณการใช้ปยุ๋ ไนโตรเจนเฉลยี่ และเกรย์วอเตอร์ของการปลกู มันสำปะหลัง

7 จังหวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน ในปกี ารผลิต 2560/61

จังหวัด ผลผลติ เฉลีย่ ปรมิ าณการใช้ WFgray WFgreen WFblue WF
(ตนั /ไร่) ปุย๋ ไนโตรเจนเฉล่ีย
1. ชยั ภมู ิ (ลบ.ม./ตนั หัวสด) (ลบ.ม./ตันหวั สด) (ลบ.ม./ตนั หวั สด) (ลบ.ม./ตันหวั สด)
2. เลย (กก./ไร่)
3. อุดรธานี
4. กาฬสินธุ์ 4.1 5.4 29.6 132.0 0 161.6
5. ขอนแก่น
6. สกลนคร 3.9 5.5 29.9 120.0 0 149.9
7. มกุ ดาหาร
5.8 6.2 25.0 74.0 0 99.0
เฉลี่ย
4.5 7.6 36.1 119.0 0 155.1

3.9 5.7 28.7 107.0 0 135.7

4.5 5.8 29.3 180.0 0 209.3

4.6 4.2 29.9 102.0 0 131.9

4.5 5.8 29.8 119.1 0 148.9

ตารางที่ 4 ผลผลิตหัวสดเฉลี่ยต่อไร่ ปริมาณการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเฉลี่ยและวอเตอร์ฟุตปรินท์ของการปลูกมัน
สำปะหลงั 7 จงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน ในปีการผลติ 2561/62

จังหวดั ผลผลติ เฉลี่ย ปรมิ าณการใช้ปยุ๋ ไนโตรเจนเฉลีย่ WFgray WFgreen WFblue WF
(ตนั /ไร่) (กก./ไร)่ (ลบ.ม./ตนั หัวสด)
1. ชยั ภูมิ (ลบ.ม./ตันหัว (ลบ.ม./ตนั หวั (ลบ.ม./ตนั หัว
2. เลย 4.1 5.4 28.8
3. อดุ รธานี 4.0 9.6 57.0 สด) สด) สด)
4. กาฬสินธุ์ 6.1 6.5 24.4
5. ขอนแก่น 4.8 5.2 18.2 141.6 0 170.4
6. สกลนคร 5.1 5.9 23.9 136.6 0 193.6
7. มกุ ดาหาร 3.5 3.5 21.7 78.3 0 102.7
3.4 9.0 57.4 90.2 0 108.4
เฉล่ยี 4.4 6.4 33.1 123.0 0 146.9
128.8 0 150.5
211.3 0 268.7
130.0 0 163.0

837

ตารางที่ 5 ผลผลิตหัวสดเฉลี่ยต่อไร่ ปริมาณการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเฉลี่ยและวอเตอร์ฟุตปรินท์ของการปลูกมัน
สำปะหลัง 7 จงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน ในปีการผลิต 2562/63

จังหวัด ผลผลติ เฉล่ีย ปริมาณการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเฉล่ีย WFgray WFgreen WFblue WF
(กก./ไร)่ (ลบ.ม./ตันหวั สด) (ลบ.ม./ตนั หัว (ลบ.ม./ตนั หัวสด) (ลบ.ม./ตนั หัว
1. ชยั ภมู ิ (ตัน/ไร่)
2. เลย สด) สด)
3. อุดรธานี 5.6
4. กาฬสินธ์ุ 5.9 8.4 30.6 86.9 0 117.5
5. ขอนแก่น 7.6
6. สกลนคร 4.6 12.1 42.7 66.6 0 109.2
7. มุกดาหาร 6.4
5.3 9.2 24.5 61.1 0 85.6
เฉล่ีย 5.9
5.9 11.1 44.6 94.4 0 139.0

12.5 39.0 58.9 0 97.9

5.9 22.5 90.8 0 113.3

8.3 30.2 75.2 0 105.4

9.5 33.4 76.3 0 109.7

ตารางที่ 6 ผลผลิต และปรมิ าณการใชป้ ุ๋ยไนโตรเจนของการปลกู มันสำปะหลงั 7 จงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

ตอนบน ในปกี ารผลติ 2560/2561-2562/63

จงั หวัด ผลผลติ (ตันตอ่ ไร่) ปริมาณการใชป้ ุย๋ ไนโตรเจน (กิโลกรัมต่อไร)่

1. ชยั ภูมิ 60/61 61/62 62/63 เฉลี่ย 60/61 61/62 62/63 เฉลีย่
2. เลย
3. อุดรธานี 4.1 4.1 5.6 4.6 5.4 5.4 8.4 6.4
4. กาฬสนิ ธุ์ 5.5 9.6 12.1 9.1
5. ขอนแก่น 3.9 4.0 5.9 4.6 6.2 6.5 9.2 7.3
6. สกลนคร 7.6 5.2 11.1 8.0
7. มกุ ดาหาร 5.8 6.1 7.6 6.5 5.7 5.9 12.5 8.0
5.8 3.5 12.5 7.3
เฉลยี่ 4.5 4.8 4.6 4.6 4.2 9.0 8.3 7.2

3.9 5.1 6.4 5.1 5.8 6.4 9.5 7.2

4.5 3.5 5.3 4.4

4.6 3.4 5.9 4.6

4.5 4.4 5.9 4.9

ตารางที่ 7 วอเตอร์ฟตุ ปรนิ ท์ของการปลกู มันสำปะหลัง 7 จงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน ในปีการผลิต
2560/2561-2562/63

WFgray 60/61 WFgreen WF เฉล่ีย
จังหวัด (ลบ.ม./ตันหวั สด) 132.0 (ลบ.ม./ตันหวั สด) (ลบ.ม./ตนั หวั สด) 149.8
120.0 61/62 62/63 เฉลี่ย 60/61 61/62 62/63 150.9
60/61 61/62 62/63 เฉล่ีย 74.0 141.6 86.9 120.2 161.6 170.4 117.5 95.8
1. ชยั ภูมิ 29.6 28.8 30.6 29.7 119.0 136.6 66.6 107.7 149.9 193.6 109.2 134.2
2. เลย 29.9 57.0 42.7 43.2 107.0 71.1 99.0 102.7 85.6 126.8
3. อุดรธานี 25.0 24.4 24.5 24.6 180.0 78.3 61.1 101.2 155.1 108.4 139.0 157.7
4. กาฬสินธุ์ 36.1 18.2 44.6 33.0 102.0 90.2 94.4 96.3 135.7 146.9 97.9 168.7
5. ขอนแก่น 28.7 23.9 39.0 30.5 119.1 123.0 58.9 133.2 209.3 150.5 113.3 140.5
6. สกลนคร 29.3 21.7 22.5 24.5 128.8 90.8 129.5 131.9 268.7 105.4
7. มุกดาหาร 29.9 57.4 30.2 39.2 211.3 75.2 108.5 148.9 163.0 109.7
130.0 76.3
เฉลยี่ 29.8 33.1 33.4 32.1

838

สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
พื้นที่ผลิตมันสำปะหลังภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ เลย อุดรธานี
กาฬสินธ์ุ ขอนแกน่ สกลนคร และมุกดาหาร ใน 3 ฤดูกาลผลิต ในปี 2560/61 2561/62 และ 2562/63 ให้ผลผลิต
เฉลี่ย 4.9 ตันต่อไร่ และมีปริมาณการใช้ปุ๋ยไนโตรเจน 7.2 กิโลกรัมต่อไร่ มีค่าเกรย์วอเตอรฟ์ ุตพริน้ ท์เฉลีย่ เทา่ กบั
32.1 ลูกบาศก์เมตรต่อน้ำหนักหัวสด 1 ตัน มีค่ากรีนวอเตอร์ฟุตพริ้นต์เฉลี่ยเท่ากับ 108.5 ลูกบาศก์เมตรต่อ
นำ้ หนักหวั สด 1 ตัน และมคี ่าวอเตอรฟ์ ตุ พริ้นท์เฉลยี่ 140.5 ลูกบาศก์เมตรต่อน้ำหนักหัวสด 1 ตนั (ตารางที่ 6 และ 7)

เอกสารอ้างอิง

ชินาธิปกรณ์ พงศ์ภิญโญภาพ และ ธำรงรตั น์ มุง่ เจริญ. 2554. วอเตอร์ฟตุ พร้ินท์ของกระบวนการผลติ เอทานอลจากมนั สำปะหลงั
ในประเทศไทย. วิศวกรรมสาร มก. 75 (24) 41-52

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2560. มนั สำปะหลังโรงงาน: เนอ้ื ที่เพาะปลูก เนอ้ื ทเี่ ก็บเกี่ยว ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่รายอำเภอ
ปี 2559. http://www.oae.go.th/assets/portals/1/files/production/fieldcrop/casava/3-59

สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. 2563. มนั สำปะหลัง: เนื้อที่เพาะปลูก เนือ้ ท่ีเกบ็ เกยี่ ว ผลผลิต และผลผลิตต่อไรแ่ ยกตามชนดิ พันธ์ุ
ระดบั จังหวดั ปี 2563.
http://www.oae.go.th/assets/portals/1/fileups/prcaidata/files/varitties%20casava63.pdf

อนัตยา บุญฮวด นาฎสุดา ภูมจิ าํ นงค์ และอจั ฉราอัศวรจุ กิ ลุ ชัย. 2557. การประเมินวอเตอร์ฟุตพร้นิ ท์ของการผลติ เอทานอลจากมัน
สําปะหลงั พ้ืนท่จี ังหวัดลพบุรี ประเทศไทย. หน้า 392-379. [Online] เข้าถงึ ได้ที่
http://gsbooks.gs.kku.ac.th/57/grc15/files/pmo19.pdf.

Mekonnen, M. M. and A. Y. Hoekstra. 2011. The green, blue and grey water footprint of crops and derived crop
products. Hydrol. Earth Syst. Sci., 15, 1577–1600.

839

แผนงานวิจยั
วิจัยการศกึ ษาผลของการจดั การดนิ ปยุ๋ และนำ้ ในระบบการผลติ ขา้ วโพดเลี้ยงสตั วอ์ อ้ ย
มันสำปะหลงั ถวั่ เหลืองและถัว่ เขยี วต่อการเปลย่ี นแปลงคณุ ภาพดินและการปลอ่ ยก๊าซ

เรอื นกระจก (โครงการวิจัยเดีย่ ว)

840

การศกึ ษาการจัดการน้ำทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพอยา่ งตอ่ เนือ่ งต่อการเปล่ียนแปลงคณุ ภาพดนิ และการ
ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกในระบบการผลติ อ้อย จ. ขอนแก่น

The Study of Continuously Effective Water Management on Improved Soil Quality and
Greenhouse Gas Emissions in Sugarcane Production System, Khon Kaen Province

ชยนั ต์ ภักดีไทย1* เนตริ ฐั ชมุ สวุ รรณ96 และศรีสดุ า ทพิ ยรกั ษ2์

บทคัดย่อ
การกักเก็บคาร์บอน (carbon storage) ในพื้นที่เกษตรเป็นแนวทางหนึ่งที่หลายประเทศนำไปใช้เพื่อ
ประโยชน์ในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ปริมาณคาร์บอนที่ถูกกักเก็บไว้ในดินมีการ
เปล่ียนแปลงตลอดเวลาข้ึนอยูก่ ับหลายปัจจัย แต่ปัจจัยหลกั ๆ ไดแ้ ก่ การใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ิน สภาพภูมิอากาศ และ
การทำการเกษตร ทำให้มีการยอ่ ยสลายของอินทรยี วตั ถใุ นดิน และปลดปล่อยคาร์บอนสูบ่ รรยากาศ จึงดำเนนิ การ
ศกึ ษาโดยวางแผนทดลองแบบ RCB 5 กรรมวิธี ๆ ละ 3 ซำ้ โดยทกุ กรรมวิธใี ส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 24-9-18 กิโลกรัม N-
P2O5-K2O ตอ่ ไร่ 1) ปลูกอ้อยโดยอาศยั น้ำฝน 2) ปลกู ออ้ ยโดยใหน้ ้ำเสรมิ ด้วยระบบนำ้ หยด 12.5 เปอร์เซน็ ต์ของ
ความจุความชื้นของดิน ภายในระดับความลึก 1 เมตร (AWC) เมื่ออ้อยอายุ 30-240 วัน 3) ปลูกอ้อยโดยให้น้ำ
เสริม 25.0 เปอร์เซ็นต์ของ AWC 4) ปลูกอ้อยโดยให้น้ำเสริม 37.5 เปอร์เซ็นต์ของ AWC 5) ปลูกอ้อยโดยให้น้ำ
เสริม 50.0 เปอร์เซ็นต์ของ AWC การให้น้ำน้ำได้ที่ระดับ 12.5%–37.5% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์
ทำใหอ้ ้อยตอสามารถให้ผลผลิต 7.74 – 12.88 ตันต่อไร่ ปริมาณคารบ์ อนในลำของอ้อยตอพันธขุ์ อนแก่น 3 รวม 3
ปีพบว่า การให้น้ำ 12.5% ของปริมาณความช้ืนทีเ่ ป็นประโยชน์ มีปริมาณคาร์บอนมากที่สุด 4,603 กก. C/ไร่ซ่งึ
เปน็ สว่ นสูญเสยี คาร์บอนออกจากพืน้ ที่ปลูกอ้อย ในของคารบ์ อนท่กี ลบั คนื สรู่ ะบบการผลติ ออ้ ยไดแ้ ก่ใบสด โดยการ
ให้น้ำ 12.5% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ มีปริมาณคาร์บอนมากที่สุด 258 กก. C/ไร่ และในใบแห้ง
พบวา่ การใหน้ ำ้ 50.0% ของปรมิ าณความชนื้ ท่เี ป็นประโยชน์ มีปริมาณคารบ์ อนมากท่ีสุด 470 กก. C/ไร่
คำสำคญั อ้อย คารบ์ อน คาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ

คำนำ
ภาวะโลกร้อนมีสาเหตุมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งจากภาคอุตสาหกรรมและการเกษตรอัน
เนื่องมาจากกิจกรรมความตอ้ งการของมนุษย์ซึง่ เพิม่ ข้ึนตามจำนวนประชากรโลก โดยปจั จบุ นั ความเข้มขน้ ของก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขน้ึ เปน็ 380 สว่ นในล้านสว่ น จากเดมิ เมอื่ 150 ปกี อ่ นท่มี ีเพยี ง 280 ส่วนในลา้ นสว่ น การ
กักเก็บคาร์บอน (carbon storage) ในพื้นทเี่ กษตรเปน็ แนวทางหน่งึ ที่หลายประเทศนำไปใช้เพ่ือประโยชน์ในการ
ลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ปริมาณคาร์บอนที่ถูกกักเก็บไว้ในดินมีการเปลี่ยนแปลง

1 ศนู ย์วจิ ัยพชื ไรข่ อนแก่น สถาบนั วิจยั พชื ไรแ่ ละพืชทดแทนพลังงาน กรมวชิ าการเกษตร
2 ข้าราชการบำนาญ กรมวิชาการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

841

ตลอดเวลาขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย แต่ปัจจัยหลัก ๆ ได้แก่ การใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพภูมิอากาศ และการทำ
การเกษตร ทำให้มีการย่อยสลายของอนิ ทรียวตั ถุในดิน และปลดปล่อยคาร์บอนสู่บรรยากาศ ในทางกลบั กนั หากมี
การจัดการดิน-ปุ๋ย-นำ้ และพืชอยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธภิ าพกับพืน้ ที่ปลกู พ้นื ที่ทำการเกษตรก็จะเปน็ แหล่งกัก
เกบ็ คารบ์ อนทีส่ ำคญั แหลง่ หน่ึง ประเทศไทยยังจดั เปน็ กลุ่มที่มกี ารปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกเปน็ อนั ดับท่ี 25 ของโลก
และเป็นลำดบั ที่ 2 ในอาเซียน รองจากประเทศอนิ โดนีเซีย จากการศกึ ษาและจัดทำฐานขอ้ มูลการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกภาคเกษตรของสำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (2555) เพื่อประเมินความต้องการข้อมูลด้านการเกษตรท่ี
ต้องจัดเก็บเพิ่มตามคูม่ ือการจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจกของ IPCC โดยจำแนกตามแหล่งปล่อย เช่น นาข้าว ปศุ
สัตว์ การจัดการพื้นท่ี ฯลฯ และรายสินค้าที่สำคัญ เช่น ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ำมัน
ฯลฯ และอ่นื ๆ โดยจดั ทำฐานขอ้ มูลการคำนวณและแสดงตวั อย่างการคำนวณตามวธิ ีการการประเมนิ วัฏจักรชีวิต
(Life cycle assessment; LCA) ครอบคลมุ ตงั้ แตก่ ารผลติ จนถึงการเกบ็ เกีย่ วผลผลิต พบวา่ การปลูกพชื ไร่ลว้ นแต่
ทำให้มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิ โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกดังกล่าว ส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรมการใช้
ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งการปลูกอ้อยในปี พ.ศ. 2554 มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งสิ้น 2.2 ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทยี บเทา่

วธิ ีดำเนนิ การ
อุปกรณ์

- ปุ๋ยเคมีที่ใช้ ไดแ้ ก่ ยเู รีย ทริปเปิลซูเปอรฟ์ อสเฟต และโพแทสเซียมคลอไรด์
- อ้อยตอพันธขุ์ อนแกน่ 3 (ปี 2560 เป็นอ้อยตอท่ี 6)
- ท่อน้ำแบบพอี ี พวี ีซี หวั น้ำหยด เคร่ืองกรองนำ้ และเคร่ืองสูบนำ้ ขนาด 20-40 แรงมา้
- สวา่ นเกบ็ ตัวอยา่ งดนิ และอุปกรณ์เกบ็ ตวั อย่างดินแบบ Undisturbed core sample
- ค่มู อื ตรวจสอบสีดนิ ถุง ขวดพลาสติก ถังพลาสติกเกบ็ ตัวอยา่ งนำ้ ผา้ พลาสติกปรู องนำ้ กนั กระแทก
- เครือ่ งวัดนำ้ ฝนในสนาม ตาชงั่ เทปวดั ระยะขนาด 50 เมตรและอ่ืน เปน็ ต้น
- สารเคมีป้องกันกำจดั ศัตรอู ้อยตามความจำเป็น
- อุปกรณส์ ำหรับดกั จับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้แก่ กระป๋องพลาสติก ขวดแก้ว และฐานรองทเ่ี ป็น
ตะแกรง
วิธีการ
ดำเนินการทดลองในแปลงทดลองอ้อยตอ ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ยอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552
วางแผนทดลองแบบ RCB 5 กรรมวิธี ๆ ละ 3 ซำ้ โดยทุกกรรมวิธีใสป่ ุ๋ยเคมอี ัตรา 24-9-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O
ตอ่ ไร่
1) ปลูกออ้ ยโดยอาศยั น้ำฝน
2) ปลูกออ้ ยโดยให้น้ำเสริมดว้ ยระบบน้ำหยด 12.5 เปอรเ์ ซน็ ต์ของความจคุ วามชน้ื ของดิน ภายในระดบั

ความลกึ 1 เมตร (AWC) เม่ืออ้อยอายุ 30-240 วัน
3) ปลูกออ้ ยโดยใหน้ ้ำเสรมิ 25.0 เปอรเ์ ซ็นตข์ อง AWC

842

4) ปลกู อ้อยโดยให้น้ำเสรมิ 37.5 เปอร์เซ็นตข์ อง AWC
5) ปลูกออ้ ยโดยให้น้ำเสริม 50.0 เปอรเ์ ซน็ ต์ของ AWC
สมุ่ เก็บตวั อย่างดิน วิเคราะหป์ ริมาณธาตอุ าหารพืชและอนิ ทรยี ค์ าร์บอนในดินก่อนปลูกพชื ในแตล่ ะปี ดูแล
รักษาอ้อยตอพนื้ ท่ี ขนาดแปลงย่อย 9x9 เมตร แปลงย่อยห่างกัน 1.5 เมตร เพื่อเป็นร่องระบายน้ำ แบบระบบปลูก
พืชเดี่ยว (sole crop) ใช้ระยะแถวปลูก 1 เมตร วางลำเหลื่อมสลับโคนและปลาย โดยปลูกและเก็บเกี่ยวตาม
ฤดูกาลของเกษตรกรปฏิบัติ แบ่งใส่ปยุ๋ เคมีเป็นสามครัง้ เท่า ๆ กัน สำหรับอ้อยตอ ใสป่ ุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและ
โพแทสเซียมอัตรา 24-9-18 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ คร้งั ท่ี 1 ใส่ 1/3 (N-P-K) หลังจากเกบ็ เกี่ยวอ้อยตอ 4 ครั้งที่ 2 ใส่ 1/3
(N-P-K) เมื่ออ้อยมีอายุ 2-3 เดือน และ ครั้งที่ 3 ใส่ 1/3 (N-P-K ) เมื่ออ้อยมีอายุ 4-5 เดือนหลังปลูก โดยใส่เป็น
แถวข้างร่องปลูกห่างจากแถวอ้อยประมาณ 10-15 เซนติเมตร เก็บเกี่ยวและสุ่มเก็บตัวอย่างอ้อยเมื่ออายุ
ประมาณ12 เดอื น ดำเนนิ การในออ้ ยตอพันธุ์ขอนแก่น 3 ตอท่ี 8-10

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
1. สภาพแวดลอ้ มตลอดฤดูปลูก

1.1. สมบัตขิ องดนิ
ดินในพื้นที่ทดลองเป็นชุดดินวาริน ดินบนและดินล่างมีเนื้อดินเป็นดิน (Table 1) ดินบนและดินล่างมีพี
เอช 6.3 และ 6.0 ตามลำดับ ดนิ บนและดินล่างมีอนิ ทรยี วัตถุ 0.59 และ 0.51 % ฟอสฟอรสั ที่เปน็ ประโยชน์ต่อ
พืช 29 และ 15 มก./กก. โพแทสเซยี มท่แี ลกเปลย่ี นได้ 45 และ 55 มก./กก. ตามลำดับ
1.2 ปริมาณน้ำฝน
ฤดูปลูกปี 2560/61 ปริมาณน้ำฝนรวมตลอดฤดูปลูกเท่ากับ 1,268 มิลลิเมตร (ภาพที่ 1) ฤดูปลูกปี
2561/62 ปรมิ าณนำ้ ฝนรวมตลอดฤดูปลูกเท่ากับ 1,145 มลิ ลิเมตร (ภาพที่ 2) ฤดปู ลูกปี 2562/63 ปริมาณน้ำฝน
รวมตลอดฤดปู ลกู เทา่ กับ 1,090 มิลลเิ มตร (ภาพที่ 3)
2. ผลของการจัดการนำ้ ทีม่ ีประสิทธิภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ งต่อผลผลติ และองคป์ ระกอบผลผลิต
ฤดปู ลูกปี 2560/61 ออ้ ยตอ 8
การเจริญเติบโต เมื่ออ้อยตอ 8 อายุ 6 9 และ 12 เดือน กรรมวิธีที่มีการจัดการน้ำอ้อยมีความสูงไม่
แตกต่างกนั เมือ่ มกี ารให้นำ้ แต่แตกต่างกบั กรรมวิธีทไ่ี มม่ กี ารใหน้ ำ้ อย่างมีนัยสำคญั จำนวนหน่อตอ่ กอไม่มีแตกต่าง
กนั ในทางสถติ ิ จำนวณหน่อตอ่ กอเม่ืออายุ 6 เดือนไม่มคี วามแตกต่างกันในทางสถิตแิ ต่เม่อื อายุ 9 เดือนพบอ้อยที่
ไมม่ ีการให้น้ำมจี ำนวนหน่อต่อกอมากท่ีสุดคือ 4.5 หนอ่ ต่อกอ แตเ่ มื่ออายุ 12 เดอื นกลับพบวา่ ในกรรมวิธีที่มีการ
ให้น้ำมจี ำนวนหน่อมากที่สุด ในกรรมวิธีที่ให้นำ้ 25 และ 50 เปอรเ์ ซ็นตข์ องความจคุ วามชน้ื ที่เป็นประโยชน์ในดิน
ขนาดของลำเม่อื อายุ 6 เดือนมีความแตกตา่ งกนั ในทางสถติ โิ ดยกรรมวิธีทม่ี ีการให้น้ำมขี นาดลำแตกต่างกบั กรรมวิธี
ท่ไี ม่มีการให้น้ำอย่างมีนยั สำคัญ แต่ในอายุ 9 และ 12 ขนาดลำในแต่ละกรรมวธิ ีไมม่ ีความแตกต่างกันในทางสถิติ
(ตารางที่ 2-4)
เก็บเกี่ยวผลผลิต วันที่ 8 มกราคม 2561 กรรมวธิ ที ี่มกี ารจดั การน้ำที่แตกต่างกนั ไมท่ ำให้จำนวนลำต่อไร่
แตกต่างกันในทางสถิติ กรรมวิธีท่ีให้น้ำหยด 37.5% ของปริมาณความชื้นท่ีเปน็ ประโยชน์ ให้ผลผลิตอ้อยตอที่ 8

843

มากที่สุด 10.56 ตัน/ไร่ ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีอืน่ ที่มีการให้น้ำ แต่แตกต่างกับกรรมวิธีที่ไม่มีการให้น้ำ
อยา่ งมีนยั สำคัญ ค่า CCS ไม่มคี วามแตกตา่ งในทางสถิติแต่กรรมวิธที ไ่ี มใ่ หน้ ้ำมแี นวโน้มให้ค่า CCS สงู กวา่ กรรมท่ีมี
การให้นำ้ ผลผลิตน้ำตาลพบว่ากรรมวิธีท่ีใหน้ ้ำหยด 50.0% ของปรมิ าณความชน้ื ท่เี ปน็ ประโยชน์ มผี ลผลิตน้ำตาล
มากทส่ี ดุ 1,383 กิโลกรัมต่อไร่ ไม่แตกต่างทางสถติ ิกับกรรมวิธีอื่นทม่ี ีการให้น้ำ แต่แตกตา่ งกับกรรมวิธที ไ่ี ม่มีการให้
น้ำอยา่ งมีนัยสำคญั (ตารางที่ 5)

ฤดปู ลูกปี 2561/62 อ้อยตอ 9
การเจริญเตบิ โต เมื่ออ้อยตอ 9 อายุ 5 เดือน ทุกกรรมวิธกี ารจดั การน้ำ อ้อยมีความสูงไม่แตกตา่ งในทาง
สถิติ จำนวนหนอ่ ตอ่ กอพบว่าอ้อยตอที่ไม่มกี ารใหน้ ้ำ จำนวนหน่อตอกอน้อยที่สุดแตกตา่ งกับกรรมวิธีท่ีมีการให้น้ำ
อยา่ งมีนัยสำคัญ (ตารางที่ 6) เมือ่ อ้อยตอ 9 อายุ 8 เดอื นพบว่ากรรมวธิ ีทีม่ ีการจัดการน้ำออ้ ยมีความสงู ไม่แตกต่าง
กันเม่ือมกี ารให้น้ำ แตแ่ ตกต่างกับกรรมวธิ ีท่ไี ม่มีการใหน้ ้ำอยา่ งมีนยั สำคัญ แตจ่ ำนวนหน่อตอ่ ตน้ พบว่า กรรมวิธีที่
ไม่มีการให้นำ้ มีจำนวนหน่อมากที่สุด 8.6 หนอ่ ต่อกอ และเสน้ ผ่านศูนย์กลางลำของอ้อยตอ ไม่มีความแตกต่างกัน
ในทางสถิติทุกกรรมวธิ ี (ตารางท่ี 7) เมื่ออ้อยอายุ 11 เดือน กรรมวิธีที่ให้น้ำหยด 50.0% ของปริมาณความชื้นท่ี
เปน็ ประโยชน์ ความสงู 264 เซนติเมตร ไมแ่ ตกต่างทางสถิติกบั กรรมวิธีอื่นที่มกี ารใหน้ ำ้ แตแ่ ตกตา่ งกับกรรมวิธีที่
ไมม่ ีการใหน้ ำ้ อย่างมนี ัยสำคญั แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม การจัดการนำ้ ไมท่ ำให้จำนวนหน่อและเส้นผ่านศูนย์กลางแตกต่าง
กนั ในทางสถติ ิ (ตารางท่ี 8)
เก็บเกี่ยวอ้อยตอ 9 วันที่ 8 มกราคม 2562 พบว่าการให้น้ำที่ระดับแตกต่างกัน มีผลต่อจำนวนลำต่อไร่
แตกต่างกันในทางสถิติ โดยการให้น้ำ 37.5% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์มีจำนวนลำต่อไร่มากที่สุด
9,798 ลำต่อไร่ แต่เมื่อให้น้ำท่ี 12.5% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ทำให้ผลผลิตออ้ ยและผลผลิตน้ำตาล
มากที่สุด 12.88 ตันต่อไร่และ 1,661 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ แตกต่างกับกรรมวิธีอืน่ อย่างมีนัยสำคัญ ส่วนค่า
CCS ไมม่ คี วามแตกต่างกนั เมอื่ มกี ารใหน้ ้ำในระดบั ที่แตกต่างกนั (ตารางท่ี 9)
ฤดปู ลูกปี 2562/63 อ้อยตอ 10
การเจรญิ เตบิ โต เมื่อออ้ ยตอ 10 อายุ 5 เดอื น ทุกกรรมวิธีการจัดการน้ำออ้ ยมีความสูงไม่แตกต่างในทาง
สถติ ิ จำนวนหน่อต่อกอพบว่าอ้อยตอที่ไม่มีการใหน้ ้ำจำนวนหนอ่ ตอกอน้อยที่สุดแตกต่างกับกรรมวิธีที่มีการให้น้ำ
อย่างมีนัยสำคัญ (ตารางที่ 10) เมื่ออ้อยตอ 10 อายุ 9 เดือนพบว่ากรรมวิธีที่มีการจัดการน้ำอ้อยมีความสูงไม่
แตกต่างกันเมื่อมีการให้น้ำ แต่แตกต่างกับกรรมวิธีที่ไม่มีการให้น้ำอย่างมีนัยสำคัญ แต่จำนวนหน่อต่อต้นพบวา่
กรรมวิธีที่ไม่มีการให้น้ำมีจำนวนหน่อมากที่สุด 7.2 หน่อต่อกอ และเส้นผ่านศูนย์กลางลำของอ้อยตอ ไม่มีความ
แตกต่างกันในทางสถิติทุกกรรมวิธี (ตารางที่ 11) เม่ืออ้อยอายุ 12 เดือน พบว่ากรรมวิธีที่มีการจัดการน้ำอ้อยมี
ความสูงไม่แตกต่างทางสถิติแตแ่ ตกต่างกับกรรมวิธีท่ีไมม่ ีการให้น้ำ โดยการให้น้ำ 12.5% ของปริมาณความชืน้ ที่
เป็นประโยชน์ มคี วามสงู มากท่สี ุด 207 เซนตเิ มตร และการใหน้ ำ้ ที่แตกต่างกนั ไม่ทำให้จำนวนหน่อและขนาดเส้น
ผ่านศนู ยก์ ลางลำแตกต่างกันในทางสถิตแิ ต่แตกต่างกับกรรมวธิ ีท่ีไม่มกี ารใหน้ ้ำ โดยการใหน้ ้ำ 37.5% ของปริมาณ
ความชื้นทเ่ี ป็นประโยชน์ ใหจ้ ำนวนหน่อและเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางลำของอ้อยตอสงู สุดเปน็ 6.5 หน่อตอ่ กอและ 2.76
เซนติเมตรตามลำดบั (ตารางท่ี 12)

844

เก็บเกี่ยวอ้อยตอ 10 วันที่ 9 มกราคม 2563 การให้น้ำที่ระดับแตกต่างกันไม่มีผลต่อจำนวนลำต่อไร่แต่
แตกต่างกับกรรมวิธีที่ไมม่ ีการใหน้ ้ำ โดยการให้นำ้ 12.5% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์มจี ำนวนลำตอ่ ไร่
มากที่สุด 6,933 ลำต่อไร่ และการให้น้ำที่ 12.5% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ทำให้ผลผลิตอ้อยและ
ผลผลิตน้ำตาลมากทีส่ ุด 7.74 ตนั ต่อไรแ่ ละ 1,357 กิโลกรัมตอ่ ไร่ แตกตา่ งกบั กรรมวธิ ีอ่ืนอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนค่า
CCS การให้น้ำ 50.0% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ มีประมาณ CCS มากที่สุด 17.90 ไม่แตกต่างทาง
สถติ กิ ับกรรมวิธีอื่นที่มีการให้นำ้ แตแ่ ตกตา่ งกบั กรรมวธิ ีท่ีไมม่ กี ารใหน้ ำ้ อย่างมีนยั สำคัญ (ตารางท่ี 13)
3. ผลของการจัดการนำ้ ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพอย่างตอ่ เนอื่ งตอ่ การกกั เกบ็ คารบ์ อนในส่วนต่าง ๆ ของอ้อย

ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในอ้อยตอ 8 พันธุ์ขอนแก่น 3 พบว่าการจัดการน้ำที่แตกต่างกันไม่ทำให้
ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในส่วนต่าง ๆของอ้อยแตกต่างกันในทางสถิติ โดยในส่วนของลำอ้อย การให้น้ำหยด
50.0% ของปริมาณความชื้นทเี่ ปน็ ประโยชน์ มีแนวโนม้ พบปริมาณการกักเก็บคาร์บอนมากท่ีสุด 44.7% ในใบสด
พบว่ากรรมวิธอี าศัยน้ำฝนมีแนวโน้มพบปริมาณการกกั เก็บคาร์บอนมากที่สุด 45.7% และในใบแห้งพบว่ารรมวิธี
อาศยั น้ำฝนมีแนวโนม้ พบปริมาณการกกั เก็บคาร์บอนมากท่สี ุด 44.5% เช่นเดียวกนั (ตารางที่ 14)

ปริมาณการกกั เกบ็ คาร์บอนในอ้อยตอ 9 พันธุ์ขอนแก่น 3 พบว่า พบว่าการจัดการนำ้ ที่แตกตา่ งกนั ไมท่ ำ
ให้ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในส่วนต่าง ๆของอ้อยแตกต่างกันในทางสถิติ โดยในส่วนของลำอ้อย กรรมวิธีท่ี
อาศัยน้ำฝน มีแนวโน้มพบปริมาณการกักเก็บคาร์บอนมากที่สุด 63% ในใบสดพบว่ากรรมวิธีให้น้ำ 12.5% ของ
ปริมาณความชื้นท่ีเป็นประโยชน์ มีแนวโน้มพบปริมาณการกกั เก็บคาร์บอนมากที่สุด 56.0% และในใบแห้งพบวา่
กรรมวิธีให้น้ำ 25.0% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ มีแนวโน้มพบปริมาณการกักเก็บคาร์บอนมากที่สุด
56.9% (ตารางท่ี 15)

ปริมาณการกกั เก็บคารบ์ อนในอ้อยตอ 10 พันธ์ุขอนแกน่ 3 พบว่า พบวา่ การจัดการน้ำทแี่ ตกตา่ งกันไม่ทำ
ใหป้ ริมาณการกักเก็บคารบ์ อน ในสว่ นใบสดและใบแหง้ แตกต่างกันในทางสถติ ิ แตใ่ นสว่ นของลำออ้ ย กรรมวิธีที่มี
การให้น้ำ 12.5% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ พบปริมาณการกักเก็บคาร์บอนมากที่สุด 56.3% ไม่
แตกตา่ งทางสถิติกบั กรรมวิธีอื่นที่มีการให้นำ้ แตแ่ ตกตา่ งกับกรรมวิธที ่ไี มม่ กี ารใหน้ ้ำอยา่ งมีนยั สำคญั (ตารางที่ 16)

ปริมาณคาร์บอนในลำ ของอ้อยตอพันธุ์ขอนแก่น 3 รวม 3 ปีพบว่า การให้น้ำ 12.5% ของปริมาณ
ความชื้นที่เป็นประโยชน์ มีปริมาณคาร์บอนมากที่สุด 4,603 กก. C/ไร่ ในใบสด พบว่า การให้น้ำ 12.5% ของ
ปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ มีปริมาณคาร์บอนมากที่สุด 258 กก. C/ไร่ และ ในใบแห้ง พบว่า การให้น้ำ
50.0% ของปริมาณความชนื้ ทีเ่ ป็นประโยชน์ มปี ริมาณคารบ์ อนมากทีส่ ดุ 470 กก. C/ไร่

845

4. การสะสมอินทรยี ค์ ารบ์ อนในดนิ ในพนื้ ท่ีปลกู อ้อย
เมื่อเริ่มดำเนินการทดลองกรรมวธิ ีการให้นำ้ 12.5% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ มีปริมาณการ

สะสมอนิ ทรียค์ าร์บอนในดนิ มากที่สดุ 3.69 gC kg-1 และเมือ่ ส้ินสดุ การทดลอง ปริมาณอนิ ทรยี ค์ ารบ์ อนลดลงเหลือ
3.37 gC kg-1
5. การปลอ่ ยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ในพื้นทปี่ ลกู ออ้ ย

ฤดูปลกู ปี 2560/61 อ้อยตอ 8
เมื่อให้น้ำตามกรรมวิธี เก็บข้อมูลที่อายุ 350 วันหลังตัด โดยช่วงอายุ 0 - 100 วันหลังตัด ปริมาณการ
ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของทุกกรรมวิธีแนวโน้มปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มข้ึนตามการอายุอ้อยตอ
แต่กรรมวธิ ีที่มกี ารจัดการน้ำมีแนวโน้มปลอ่ ยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ลดลงหลังจากอายอุ ้อยตอ 100 วันขึ้นไป เมื่อ
อ้อยตออายุ 257 วัน ในกรรมวิธที ี่ไม่มีการให้น้ำมีปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุด 7,676 mg
CO2/m2/วัน และเม่ืออ้อยตออายุ 350 วนั ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมในกรรมวิธีการให้น้ำท่ี
25.0% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมต่ำกว่ากรรมวิธีอื่นมีปริมาณ
4,574,470 mg CO2/m2/350 วนั โดยกรรมวิธีทมี่ กี ารปลอ่ ยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมมากทสี่ ุดคือ กรรมวิธีท่ี
ไมม่ กี ารให้น้ำ 5,433,986 mg CO2/m2/350 วัน (ภาพท่ี 4)
ฤดูปลูกปี 2561/62 อ้อยตอ 9
เมื่อให้น้ำตามกรรมวิธี เก็บข้อมูลที่อายุ 202 วันหลังตัด โดยช่วงอายุ 0 - 100 วันหลังตัด ปริมาณการ
ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของทุกกรรมวิธีแนวโนม้ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิม่ ขึ้นตามการอายุอ้อยตอ
แตก่ รรมวธิ ีท่ีมกี ารจัดการนำ้ มแี นวโนม้ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงหลังจากอายอุ ้อยตอ 100 วันขึ้นไป ใน
กรรมวิธีทไี่ ม่มีการให้นำ้ มีปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์สะสมมากที่สุด 1,972,016 mg CO2/m2/ 312
วัน และปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมในกรรมวิธีการใหน้ ้ำที่ 25% ของปริมาณความชื้นที่เป็น
ประโยชน์ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมต่ำกว่ากรรมวิธีอ่ืนมปี ริมาณ 1,701,437 mg CO2/m2/ 312 วัน
(ภาพที่ 5)
ฤดูปลูกปี 2562/63 อ้อยตอ 10
วัดปริมาณการปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมในแต่ละกรรมวิธีต้งั แตห่ ลงั ตัดถงึ อายุ 313
วันหลังตดั พบวา่ หลังจากการเก็บเก่ยี วผลผลติ การให้นำ้ 12.5% ของปริมาณความชืน้ ที่เปน็ ประโยชน์ มีการปล่อย
ปริมาณก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์สงู ทีส่ ุดรวม 1,730,043 mg CO2/m2/ 313 วนั (ภาพท่ี 6)

846

ตารางที่ 1 คุณสมบัติทางเคมีและธาตุอาหารในดินที่ระดับความลึก 0-50 เซนติเมตร ของดินก่อนปลูก

แปลงทดลองศนู ยว์ ิจยั พชื ไรข่ อนแก่น

Soil depth (cm) pH1 Organic2 Organic Available P3 Exchangeable K4 Textural5
(mg/kg)
matter(%) Carbon(%) (mg/kg) class

48Q 267936E 1824015N 0.59 0.34 29 45 sand
0-20 6.3 0.51 0.29 15 55 Sand
20-50 6.0

Peech (1965) soil : water = 1:1 2 Walkley and Black (1965)
3 Bray and Kurtz (1945) 4 Schollenberger and Simon (1945) 5 Hydrometer method

ตารางที่ 2 ความสูง จำนวนหน่อและเส้นผ่านศนู ยก์ ลางของอ้อยตอ 8 พันธุ์ขอนแกน่ 3 ที่มีการจัดการน้ำอย่าง

ตอ่ เน่อื ง อายุ 6 เดือน

กรรมวิธี ความสูง (ซม.) จำนวนหนอ่ เส้นผา่ นศนู ย์กลาง (ซม.)

1) ไมใ่ หน้ ้ำ (อาศัยนำ้ ฝน) 59 b 5.9 2.41 b

2) ใหน้ ำ้ หยด 12.5% 133 a 4.9 3.04 a

3) ให้น้ำหยด 25.0% 117 a 4.5 3.11 a

4) ใหน้ ำ้ หยด 37.5% 131 a 4.8 3.04 a

5) ใหน้ ้ำหยด 50.0% 140 a 5.0 3.07 a

คา่ เฉล่ยี 116 5.0 2.93

F-test * ns *

CV (%) 12.19 22.53 11.31

ตัวเลขทอ่ี ยู่ในช่วงสดมภเ์ ดยี วกันทม่ี อี ักษรเหมอื นกนั ไมแ่ ตกต่างกนั ในทางสถติ ทิ ่ีระดับความเชื่อมัน่ 95%

1/สภาพอาศัยน้ำฝน 2/จดั การนำ้ ตามความตอ้ งการของอ้อย

ตารางที่ 3 ความสงู จำนวนหนอ่ และเส้นผา่ นศนู ย์กลางของออ้ ยตอ 8 พนั ธข์ุ อนแก่น 3 ทีม่ กี ารจดั การนำ้ อยา่ ง

ตอ่ เนอ่ื ง อายุ 9 เดือน

กรรมวธิ ี ความสงู (ซม.) จำนวนหนอ่ เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง (ซม.)

1) ไมใ่ หน้ ้ำ (อาศัยน้ำฝน) 132 b 4.5 a 2.79

2) ใหน้ ้ำหยด 12.5% 228 a 4.2 ab 2.86

3) ให้นำ้ หยด 25.0% 223 a 3.3 ab 2.80

4) ใหน้ ้ำหยด 37.5% 230 a 3.5 ab 2.73

5) ให้นำ้ หยด 50.0% 221 a 2.7 b 2.68

ค่าเฉลย่ี 207 3.6 2.77

F-test * ns *

CV (%) 7.44 24.41 6.05

ตัวเลขท่ีอยู่ในชว่ งสดมภ์เดยี วกันที่มีอกั ษรเหมือนกนั ไม่แตกต่างกันในทางสถติ ิท่ีระดบั ความเช่ือมน่ั 95%

1/สภาพอาศยั น้ำฝน 2/จดั การน้ำตามความต้องการของออ้ ย

847

ตารางที่ 4 ความสูง จำนวนหน่อและเส้นผ่านศนู ยก์ ลางของอ้อยตอ 8 พันธุ์ขอนแกน่ 3 ที่มีการจัดการน้ำอย่าง

ตอ่ เนอื่ ง อายุ 12 เดอื น

กรรมวธิ ี ความสงู (ซม.) จำนวนหน่อ เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง (ซม.)

1) ไม่ใหน้ ้ำ (อาศยั น้ำฝน) 157 b 4.1 ab 2.50

2) ให้นำ้ หยด 12.5% 249 a 4.9 a 2.70

3) ใหน้ ำ้ หยด 25.0% 265 a 3.3 b 2.67

4) ให้นำ้ หยด 37.5% 281 a 3.6 ab 2.62

5) ใหน้ ้ำหยด 50.0% 261 a 4.9 a 2.80

ค่าเฉลีย่ 243 4.1 2.66

F-test * * ns

CV (%) 10.84 17.95 8.09

ตัวเลขท่อี ย่ใู นชว่ งสดมภเ์ ดียวกันที่มีอกั ษรเหมอื นกัน ไม่แตกต่างกันในทางสถิติทรี่ ะดบั ความเช่อื มน่ั 95%

1/สภาพอาศัยนำ้ ฝน 2/จัดการน้ำตามความตอ้ งการของอ้อย

ตารางที่ 5 จำนวนลำ ผลผลิต CCS และผลผลิตน้ำตาลของอ้อยตอ 8 พันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำอย่าง

ต่อเน่ือง อายุ 12 เดอื น

กรรมวธิ ี ผลผลิต

จำนวนลำ (ลำ/ไร)่ ผลผลิต (ตัน/ไร่) CCS ผลผลิตน้ำตาล (กก./ไร)่

1. ไมใ่ หน้ ้ำ 4,464 4.90 b 13.93 635 b

2. 12.5% AWC 7,190 9.50 a 13.49 1,277 ab

3. 25.0% AWC 7,091 9.93 a 11.56 1,141 ab

4. 37.5% AWC 6,479 10.56 a 9.79 955 ab

5. 50.0% AWC 6,242 10.36 a 13.37 1,383 a

F-Test ns * ns *

CV. (%) 28.13 9.05 12.43 33.46

ตวั เลขที่อยู่ในชว่ งสดมภเ์ ดยี วกันที่มอี ักษรเหมือนกัน ไม่แตกตา่ งกนั ในทางสถิตทิ ่ีระดบั ความเชอื่ ม่ัน 95%

1/สภาพอาศัยน้ำฝน 2/จดั การน้ำตามความตอ้ งการของออ้ ย

848

ตารางท่ี 6 ความสูง จำนวนหนอ่ ของอ้อยตอ 9 พนั ธุข์ อนแกน่ 3 ที่มีการจัดการน้ำอยา่ งต่อเนื่อง อายุ 5 เดอื น

กรรมวธิ ี ความสูง (ซม.) จำนวนหน่อ

1) ไมใ่ ห้น้ำ (อาศัยน้ำฝน) 37 7.1 b

2) ใหน้ ้ำหยด 12.5% 70 8.5 ab

3) ใหน้ ำ้ หยด 25.0% 73 9.0 ab

4) ให้น้ำหยด 37.5% 75 10.5 a

5) ให้นำ้ หยด 50.0% 80 11.5 a

คา่ เฉลีย่ 67 9.3

F-test ns *

CV (%) 9.28 17.92

ตัวเลขท่ีอยู่ในช่วงสดมภเ์ ดียวกนั ทม่ี อี ักษรเหมอื นกนั ไม่แตกต่างกนั ในทางสถิตทิ รี่ ะดับความเชอื่ ม่ัน 95%

1/สภาพอาศยั น้ำฝน 2/จดั การนำ้ ตามความต้องการของออ้ ย

ตารางที่ 7 ความสูง จำนวนหน่อและเส้นผ่านศนู ย์กลางของอ้อยตอ 9 พันธุ์ขอนแกน่ 3 ที่มีการจัดการน้ำอย่าง

ต่อเนอ่ื ง อายุ 8 เดอื น

กรรมวิธี ความสงู (ซม.) จำนวนหนอ่ เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง (ซม.)

1) ไม่ให้นำ้ (อาศยั นำ้ ฝน) 123 b 8.6 a 2.92

2) ใหน้ ำ้ หยด 12.5% 191 a 5.1 b 3.06

3) ใหน้ ้ำหยด 25.0% 178 a 5.7 ab 3.12

4) ใหน้ ้ำหยด 37.5% 176 a 6.5 ab 3.01

5) ให้น้ำหยด 50.0% 194 a 5.1 b 3.13

คา่ เฉลย่ี 173 6.2 3.05

F-test ** ns

CV (%) 7.05 27.24 4.59

ตวั เลขทอี่ ยใู่ นชว่ งสดมภเ์ ดียวกนั ทม่ี อี กั ษรเหมือนกนั ไมแ่ ตกต่างกนั ในทางสถิติทร่ี ะดับความเชอื่ มั่น 95%

1/สภาพอาศยั น้ำฝน 2/จัดการน้ำตามความต้องการของออ้ ย

849

ตารางที่ 8 ความสูง จำนวนหน่อและเส้นผา่ นศูนย์กลางของอ้อยตอ 9 พันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำอย่าง

ตอ่ เนือ่ ง อายุ 11 เดือน

กรรมวิธี ความสูง (ซม.) จำนวนหนอ่ เส้นผา่ นศนู ย์กลาง (ซม.)

1) ไม่ใหน้ ำ้ (อาศยั นำ้ ฝน) 179 b 7.6 2.74

2) ใหน้ ำ้ หยด 12.5% 253 a 6.1 2.85

3) ให้น้ำหยด 25.0% 243 a 5.7 2.95

4) ใหน้ ำ้ หยด 37.5% 237 a 6.5 3.06

5) ใหน้ ำ้ หยด 50.0% 264 a 5.9 3.03

235 6.3 2.93

F-test * ns ns

CV (%) 10.03 20.62 7.24

ตัวเลขที่อย่ใู นช่วงสดมภ์เดยี วกนั ทีม่ อี กั ษรเหมือนกัน ไมแ่ ตกตา่ งกันในทางสถิติท่รี ะดบั ความเช่ือมนั่ 95%

1/สภาพอาศยั น้ำฝน 2/จดั การน้ำตามความต้องการของอ้อย

ตารางที่ 9 จำนวนลำ ผลผลิต CCS และผลผลิตน้ำตาลของอ้อยตอ 9 พันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำอย่าง

ตอ่ เน่อื ง อายุ 11 เดอื น

กรรมวธิ ี ผลผลิต

จำนวนลำ (ลำ/ไร)่ ผลผลิต (ตัน/ไร)่ CCS ผลผลติ น้ำตาล (กก./ไร)่

1. ไม่ให้นำ้ 4,405 b 3.90 c 12.26 494 c

2. 12.5% AWC 8,296 a 12.88 a 12.83 1,661 a

3. 25.0% AWC 7,546 ab 12.48 a 11.47 1,421 ab

4. 37.5% AWC 9,798 a 8.92 b 11.51 944 bc

5. 50.0% AWC 8,158 a 10.92 ab 13.20 1,412 ab

F-Test * * ns *

CV. (%) 25.46 13.26 20.45 28.97

ตัวเลขทอ่ี ยใู่ นช่วงสดมภเ์ ดียวกนั ทม่ี อี ักษรเหมอื นกัน ไมแ่ ตกตา่ งกันในทางสถติ ิที่ระดบั ความเช่ือมนั่ 95%

1/สภาพอาศัยนำ้ ฝน 2/จดั การน้ำตามความตอ้ งการของออ้ ย

850

ตารางท่ี 10 ความสงู จำนวนหนอ่ ของอ้อยตอ 10 พันธ์ขุ อนแกน่ 3 ท่มี กี ารจดั การนำ้ อยา่ งต่อเนอื่ ง อายุ 5 เดือน

กรรมวิธี ความสูง (ซม.) จำนวนหนอ่

1) ไม่ให้นำ้ (อาศยั น้ำฝน) 15 5.1 b

2) ให้นำ้ หยด 12.5% 36 6.5 ab

3) ใหน้ ้ำหยด 25.0% 33 8.5 ab

4) ให้น้ำหยด 37.5% 31 9.4 a

5) ใหน้ ำ้ หยด 50.0% 35 10.4 a

ค่าเฉลี่ย 30 8.0

F-test ns *

CV (%) 39.28 27.92

ตัวเลขท่ีอยู่ในช่วงสดมภ์เดียวกนั ท่มี ีอักษรเหมือนกัน ไมแ่ ตกตา่ งกันในทางสถิตทิ ร่ี ะดบั ความเชอื่ มั่น 95%
1/สภาพอาศยั น้ำฝน 2/จัดการน้ำตามความตอ้ งการของออ้ ย

ตารางที่ 11 ความสูง จำนวนหน่อและเส้นผ่านศูนย์กลางของออ้ ยตอ 10 พนั ธ์ขุ อนแก่น 3 ท่ีมกี ารจดั การนำ้ อย่าง

ตอ่ เนอ่ื ง อายุ 9 เดือน

กรรมวธิ ี ความสงู (ซม.) จำนวนหนอ่ เส้นผ่านศูนยก์ ลาง (ซม.)

1) ไมใ่ หน้ ้ำ (อาศัยนำ้ ฝน) 33 b 7.2 a 2.72

2) ใหน้ ้ำหยด 12.5% 181 a 4.1 b 2.96

3) ใหน้ ้ำหยด 25.0% 167 a 6.7 ab 2.92

4) ใหน้ ำ้ หยด 37.5% 159 a 5.9 ab 2.81

5) ให้น้ำหยด 50.0% 181 a 5.1 b 3.03

คา่ เฉลย่ี 144 5.8 2.89

F-test ** ns

CV (%) 17.35 27.22 6.59

ตวั เลขทอ่ี ยู่ในชว่ งสดมภ์เดียวกนั ทม่ี อี ักษรเหมอื นกัน ไมแ่ ตกต่างกันในทางสถิติท่ีระดบั ความเชือ่ มน่ั 95%
1/สภาพอาศัยน้ำฝน 2/จดั การนำ้ ตามความต้องการของออ้ ย

851

ตารางที่ 12 ความสงู จำนวนหนอ่ และเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของออ้ ยตอ 10 พนั ธุ์ขอนแกน่ 3 ที่มกี ารจดั การน้ำอย่าง

ตอ่ เน่อื ง อายุ 12 เดอื น

กรรมวธิ ี ความสงู (ซม.) จำนวนหน่อ เส้นผา่ นศูนย์กลาง (ซม.)

1) ไม่ให้น้ำ (อาศยั นำ้ ฝน) 48 b 2.4 b 1.12 b

2) ใหน้ ้ำหยด 12.5% 207 a 6.3 a 2.62 a

3) ให้นำ้ หยด 25.0% 194 a 5.4 a 2.45 a

4) ให้น้ำหยด 37.5% 181 a 6.5 a 2.76 a

5) ใหน้ ้ำหยด 50.0% 195 a 5.6 a 2.69 a

คา่ เฉลี่ย 165 5.2 2.33

F-test * ns ns

CV (%) 13.76 24.14 24.32

ตัวเลขท่ีอยู่ในชว่ งสดมภ์เดยี วกนั ที่มอี ักษรเหมือนกนั ไมแ่ ตกตา่ งกันในทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั ความเชอื่ ม่ัน 95%

1/สภาพอาศัยน้ำฝน 2/จัดการน้ำตามความตอ้ งการของออ้ ย

ตารางที่ 13 จำนวนลำ ผลผลติ CCS และผลผลติ นำ้ ตาลของอ้อยตอ 10 พันธุ์ขอนแกน่ 3 ท่ีมีการจดั การน้ำอย่าง

ต่อเนอ่ื ง อายุ 11 เดือน

กรรมวธิ ี ผลผลิต

จำนวนลำ (ลำ/ไร่) ผลผลิต (ตนั /ไร)่ CCS ผลผลิตน้ำตาล (กก./ไร)่

1. ไมใ่ หน้ ้ำ 790 b 0.33 b 14.08 b 45

2. 12.5% AWC 6,933 a 7.74 a 17.83 a 1,357

3. 25.0% AWC 6,124 a 5.83 a 16.70 ab 1,003

4. 37.5% AWC 5,136 a 4.67 ab 17.73 a 827

5. 50.0% AWC 6,005 a 6.23 a 17.90 a 1,096

F-Test * ** ns

CV. (%) 28.22 46.56 7.33 47.99

ตัวเลขทอี่ ยูใ่ นช่วงสดมภเ์ ดยี วกนั ทมี่ ีอักษรเหมือนกนั ไม่แตกต่างกันในทางสถติ ิทรี่ ะดบั ความเชือ่ มั่น 95%

1/สภาพอาศัยนำ้ ฝน 2/จัดการนำ้ ตามความตอ้ งการของอ้อย

852

ตารางที่ 14 ปริมาณการกกั เกบ็ คาร์บอน (ร้อยละ) ในลำ ใบสดและใบแห้งของออ้ ยตอ 8 พนั ธ์ขุ อนแกน่ 3 ท่ีมกี าร

จัดการนำ้ อยา่ งต่อเนอื่ ง

กรรมวธิ ี ปรมิ าณการกกั เกบ็ คารบ์ อน (รอ้ ยละ)

ลำ ใบสด ใบแห้ง

1) ไมใ่ ห้นำ้ (อาศยั นำ้ ฝน) 35.3 45.7 44.5

2) ใหน้ ำ้ หยด 12.5% 35.3 40.0 43.5

3) ให้น้ำหยด 25.0% 38.0 43.7 41.2

4) ใหน้ ำ้ หยด 37.5% 35.0 41.3 40.6

5) ให้น้ำหยด 50.0% 44.7 43.3 42.2

F-test ns ns ns

CV (%) 21.22 14.49 11.51

ตัวเลขที่อยู่ในช่วงสดมภเ์ ดยี วกนั ท่มี อี ักษรเหมือนกัน ไม่แตกต่างกนั ในทางสถิติท่รี ะดบั ความเชอื่ มั่น 95%

1/สภาพอาศยั นำ้ ฝน 2/จดั การน้ำตามความต้องการของออ้ ย

ตารางที่ 15 ปริมาณการกักเกบ็ คารบ์ อน (ร้อยละ) ในลำ ใบสดและใบแห้งของอ้อยตอ 9 พันธ์ุขอนแก่น 3 ที่มีการ

จัดการนำ้ อย่างตอ่ เนื่อง

กรรมวิธี ปริมาณการกกั เก็บคาร์บอน (รอ้ ยละ)

ลำ ใบสด ใบแห้ง

1) ไมใ่ หน้ ้ำ (อาศยั นำ้ ฝน) 63.0 55.3 52.9

2) ให้นำ้ หยด 12.5% 59.3 56.0 51.6

3) ให้น้ำหยด 25.0% 53.0 53.7 56.9

4) ใหน้ ำ้ หยด 37.5% 60.3 51.0 56.8

5) ให้นำ้ หยด 50.0% 60.7 54.7 54.9

F-test ns ns ns

CV (%) 16.93 5.61 10.16

ตัวเลขท่ีอยู่ในชว่ งสดมภ์เดยี วกันทมี่ อี ักษรเหมอื นกัน ไมแ่ ตกตา่ งกนั ในทางสถิตทิ ่รี ะดับความเช่อื มน่ั 95%

1/สภาพอาศยั น้ำฝน 2/จดั การน้ำตามความตอ้ งการของออ้ ย

853

ตารางที่ 16 ปริมาณการกักเก็บคาร์บอน (ร้อยละ) ในลำ ใบสดและใบแห้งของอ้อยตอ 10 พันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มี

การจัดการนำ้ อยา่ งตอ่ เนื่อง

กรรมวิธี ปรมิ าณการกักเกบ็ คารบ์ อน (ร้อยละ)

ลำ ใบสด ใบแห้ง

1) ไมใ่ หน้ ้ำ (อาศยั นำ้ ฝน) 51.5 b 50.4 52.8

2) ให้นำ้ หยด 12.5% 55.7 a 51.0 51.6

3) ใหน้ ำ้ หยด 25.0% 56.0 a 50.0 52.3

4) ใหน้ ้ำหยด 37.5% 55.7 a 49.7 52.6

5) ใหน้ ้ำหยด 50.0% 56.3 a 51.0 52.3

F-test * ns ns

CV (%) 1.51 2.24 2.97

ตัวเลขทอี่ ยใู่ นช่วงสดมภเ์ ดียวกันท่มี อี ักษรเหมือนกนั ไม่แตกตา่ งกนั ในทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั ความเชอ่ื มนั่ 95%

1/สภาพอาศัยนำ้ ฝน 2/จดั การน้ำตามความตอ้ งการของอ้อย

ตารางท่ี 17 ปรมิ าณคารบ์ อนในลำ (กก C/ไร)่ ของอ้อยตอ พนั ธข์ุ อนแก่น 3 ปี 2560/61 – 2562/63 ที่มีการ

จดั การนำ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

กรรมวธิ ี ปริมาณการกักเกบ็ คาร์บอนในลำ (กก C/ไร)่

2560/61 2561/62 2562/63 รวม

1) ไม่ใหน้ ้ำ (อาศยั น้ำฝน) 523 770 55 1,348

2) ใหน้ ้ำหยด 12.5% 1,076 2,251 1,276 4,603

3) ให้น้ำหยด 25.0% 1,270 2,092 1,045 4,407

4) ให้นำ้ หยด 37.5% 1,238 1,713 746 3,697

5) ให้นำ้ หยด 50.0% 1,458 2,087 1,005 4,550

ตารางที่ 18 ปรมิ าณคารบ์ อนในใบสด (กก C/ไร)่ ของออ้ ยตอ พันธข์ุ อนแกน่ 3 ปี 2560/61 – 2562/63 ท่มี กี าร

จดั การนำ้ อย่างตอ่ เนอ่ื ง

กรรมวธิ ี ปรมิ าณการกกั เก็บคารบ์ อนในใบสด (กก C/ไร่)

2560/61 2561/62 2562/63 รวม

1) ไม่ให้น้ำ (อาศยั น้ำฝน) 22 37 13 72

2) ให้นำ้ หยด 12.5% 38 86 134 258

3) ให้น้ำหยด 25.0% 45 82 114 241

4) ให้น้ำหยด 37.5% 39 79 77 195

5) ให้น้ำหยด 50.0% 65 92 84 241

854

ตารางที่ 19 ปริมาณคาร์บอนในใบแหง้ (กก C/ไร่) ของอ้อยตอ พันธุ์ขอนแก่น 3 ปี 2560/61 – 2562/63 ที่มี

การจดั การน้ำอยา่ งตอ่ เน่ือง

กรรมวธิ ี ปริมาณการกกั เก็บคาร์บอนในใบแห้ง (กก C/ไร่)

2560/61 2561/62 2562/63 รวม

1) ไมใ่ หน้ ้ำ (อาศยั นำ้ ฝน) 44 54 16 114

2) ให้นำ้ หยด 12.5% 62 115 238 415

3) ใหน้ ำ้ หยด 25.0% 59 160 215 434

4) ให้น้ำหยด 37.5% 70 132 168 370

5) ใหน้ ้ำหยด 50.0% 98 150 222 470

ตารางที่ 20 ปรมิ าณอนิ ทรยี ์คาร์บอนในดินของอ้อยตอ พนั ธข์ุ อนแกน่ 3 ปี 2560/61 – 2562/63 ทมี่ ีการจัดการ

น้ำอยา่ งต่อเนื่องที่ระดบั ความลึก 0-20 เซนตเิ มตร

Av. SOC start Av. SOC End Change of SOC content

กรรมวิธี (gC kg-1) (gC kg-1) (gC kg-1 year-1)

2560/61 2562/63

1) ไมใ่ หน้ ำ้ (อาศยั น้ำฝน) 2.85 2.74 88.8

2) ให้น้ำหยด 12.5% 3.38 3.25 105.3

3) ใหน้ ้ำหยด 25.0% 3.15 3.11 100.8

4) ใหน้ ำ้ หยด 37.5% 3.69 3.67 118.9

5) ให้น้ำหยด 50.0% 2.78 2.79 90.4

ตารางท่ี 21 ปรมิ าณการปลดปลอ่ ยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากผิวดนิ ในอ้อยตอ พันธขุ์ อนแก่น 3 ปี

2560/61 – 2562/63 ที่มกี ารจดั การนำ้ อย่างตอ่ เน่ือง

กรรมวิธี CO2 emission CO2 emission from soil surface Average* Average C loss *
(g CO2 m-2day-1) (t CO2 rai-1 year-1) (t CO2 rai-1 year-1) (kg C-CO2 rai-1 year-1)
1) ไม่ให้นำ้ (อาศัยนำ้ ฝน)
2) ให้น้ำหยด 12.5% 4.62 2560/61 2561/62 2562/63 1.80
3) ใหน้ ้ำหยด 25.0% 4.81 1.69
4) ให้น้ำหยด 37.5% 4.32 1.81 1.97 1.61 1.55
5) ให้น้ำหยด 50.0% 4.52 1.62
4.60 1.60 1.75 1.73 1.65

1.52 1.70 1.43

1.74 1.82 1.29

1.63 1.86 1.46

855

อุณหภมู ิ (C) ปริมาณน้าฝน (มม.)
100.0
50.0 90.0
45.0 80.0 TMAX
40.0 70.0
35.0 60.0 TMIN
30.0 50.0
25.0 40.0 RAIN
20.0 30.0
15.0 20.0
10.0 10.0
5.0 0.0
0.0
จา้ นวนวันหลังปลูก
11 15 21 29 4143 6157 8171 10185 12199 141113 161127 181141 201155 221169 241183 261 281
301
321
341
361

ภาพท่ี 1 ปรมิ าณน้ำฝน อณุ หภูมิสูงสดุ -ต่ำสุด ภายในแปลงทดลองศูนยว์ ิจัยพชื ไร่ขอนแกน่ ปี 2560/2561

อณุ หภูมิ (C) ปริมาณนา้ ฝน (มม.)
45 70
40
35 60
30 TMAX
25
20 50
15 40 TMIN
10
5 30 RAIN
0
20

10

0
จา้ นวนวนั หลังปลูก
197
211
225
239
253

ภาพที่ 2 ปรมิ าณน้ำฝน อณุ หภมู ิสงู สุด-ต่ำสดุ ภายในแปลงทดลองศูนยว์ ิจยั พชื ไร่ขอนแก่น ปี 2561/62

856

อณุ หภมู ิ (C) ปรมิ าณนา้ ฝน (มม.)
45 160
40
35 140
30 120 TMAX
25
20 100 TMIN
15 80
10 60 RAIN
5
0 40

20

0
จ้านวนวนั หลังปลูก
1
21
41
61
81
101
121
141
161
181
201
221
241
261
281
301
321
341
361

ภาพที่ 3 ปรมิ าณนำ้ ฝน อณุ หภมู ิสูงสุด-ต่ำสดุ ภายในแปลงทดลองศูนยว์ จิ ยั พืชไรข่ อนแก่น ปี 2562/63

ภาพที่ 4 ปริมาณการปล่อย CO2 ในพ้นื ทปี่ ลกู ออ้ ยตอ พันธข์ุ อนแก่น 3 ปี 2560/61 – 2562/63
ท่ีมกี ารจัดการนำ้ อย่างตอ่ เนื่อง

สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
การให้จัดการน้ำเพื่อการเจริญเติบโตของอ้อยตอ สามารถให้น้ำได้ที่ระดับ 12.5%–37.5% ของปริมาณ
ความชื้นท่ีเป็นประโยชน์ ทำใหอ้ ้อยตอสามารถให้ผลผลิต 7.74 – 12.88 ตันตอ่ ไร่ ปรมิ าณคาร์บอนในลำของอ้อย
ตอพนั ธข์ุ อนแก่น 3 รวม 3 ปีพบวา่ การใหน้ ำ้ 12.5% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ มีปริมาณคารบ์ อนมาก
ทสี่ ดุ 4,603 กก. C/ไร่ซึ่งเป็นสว่ นสูญเสียคารบ์ อนออกจากพนื้ ทปี่ ลกู อ้อย ในของคารบ์ อนทก่ี ลับคนื สู่ระบบการผลิต
ออ้ ยได้แกใ่ บสด โดยการใหน้ ้ำ 12.5% ของปริมาณความชน้ื ที่เปน็ ประโยชน์ มปี รมิ าณคาร์บอนมากที่สุด 258 กก.

857

C/ไร่ และในใบแห้ง พบว่า การให้น้ำ 50.0% ของปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ มีปริมาณคาร์บอนมากที่สุด
470 กก. C/ไร่ ซึ่งเป็นปริมาณคาร์บอนที่สามารถเก็บกักในดินหากมีการไถกลบลงดิน ในส่วนการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ในพื้นที่ปลูกอ้อย กรรมวิธีที่ไม่มีการให้น้ำ หรือให้น้ำในระดับต่ำ 12.5%-25% ของปริมาณ
ความชนื้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ การปล่อยปริมาณกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์สงู กว่ากรรมวธิ ีทม่ี ใี ห้น้ำในปริมาณท่สี ูงกว่า

เอกสารอ้างอิง

Bray, R.H. and L.T. Kurtz. 1945. Determination of total organic and available forms of phosphorus in soils. Soil
Sci. 59: 39-45.

Page, A.L., R.H. Miller and D.R. Keey. 1982. Methods of soil analysis part 2 : chemical and microbiological
propertics second edition Agronomy No. 9 ASA, SSSA. Madison, Wisconsin, USA. 1159 p.

Peech,M. 1965. Soil pH by glass electrode pH meter, pp. 914-925. In C.A. Black, D.D.Evans, R.L. White,
L.E.Ensminger, F.E. Clark and R.C. Dinsuer (eds). Method of Soil Analysis Part 2 : Physical and
microbiological Propertics, Including Statistics of Measurement and Sampling American Society of
Agronomy Inc., Pubisher Madison,USA.

Schollenberger, C.L. and R.H. Simon. 1945. Determination of exchange capacity and exchangeable bases in soil-
ammonium acetate method. Soil Sci. 59:13-24.

Walkley, A. and C.A. Black. 1934. An examination of Degtjareff method for determining soil organic matter and
a proposed modification of the chromic acid titration method. Soil Sci. 37: 29-37.

858

การศกึ ษาวิธกี ารให้น้ำรว่ มกบั การจดั การปุ๋ยอย่างเหมาะสมต่อการเปลย่ี นแปลงคณุ ภาพดนิ และ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบการผลิตออ้ ย จ. ขอนแก่น

Study of Water and fertilizer management for improved soil quality and
greenhouse gas emissions in sugarcane production system,
Khon Kaen Province

ชยันต์ ภกั ดไี ทย1* เนตริ ฐั ชุมสุวรรณ98 และศรีสุดา ทพิ ยรักษ์2

บทคดั ยอ่
การปลูกพืชไร่เป็นสาเหตุหนึ่งท่ีทำให้มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิ โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ดงั กล่าว ส่วนใหญ่เกดิ จากกิจกรรมการใช้ปุย๋ เคมีและป๋ยุ อนิ ทรีย์ ซงึ่ การปลูกอ้อยในปี พ.ศ. 2554 มกี ารปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกทั้งสิ้น 2.2 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซดเ์ ทียบเท่า จึงได้ศึกษาวิธกี ารให้น้ำร่วมกับการจัดการปุ๋ยอย่าง
เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบการผลิตอ้อย โดยวางแผนการ
ทดลองแบบ Split plot 10 กรรมวธิ ี ๆ ละ 3 ซำ้ ปจั จยั หลัก คอื การให้น้ำ ได้แก่ 1) อาศยั น้ำฝน 2) ให้น้ำตาม
ความต้องการของพืช โดยวธิ นี ้ำหยด (อ้างองิ FAO Blaney-Criddle) ปัจจยั รอง คอื การใหป้ ุ๋ย ได้แก่ 1) ไม่ใส่ปุ๋ย
2) ใสก่ ากตะกอนหม้อกรองอ้อย 1,000 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ (โดยนำ้ หนักแหง้ ) 3) ใสป่ ยุ๋ เคมตี ามคา่ วิเคราะหด์ นิ 4) ใส่
ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่กากตะกอนหม้อกรองอ้อย 1,000 กิโลกรัมตอ่ ไร่ 5) ใส่ปยุ๋ เคมี 1.5 เท่าตาม
ค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่กากตะกอนหม้อกรองอ้อย 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ พบว่าในอ้อยปลูก การใช้ปุ๋ยเคมี 27-
4.5-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันต่อไร่ โดยให้ผลผลิตมากทีส่ ุด 26.18 ตัน
ตอ่ ไร่ ในอ้อยตอ 1 การจัดการนำ้ ทำให้ผลผลิตออ้ ยแตกต่างกนั ในทางสถิติ โดยกรรมวธิ ที ี่มกี ารให้น้ำผลผลติ 15.94
ตัน/ไร่ แต่ในอ้อยตอ 2 การจัดการดินและปุ๋ยทำให้ผลผลิตอ้อยและผลผลิตน้ำตาลแตกต่างกันในทางสถิติโดย
กรรมวิธีรองที่ใช้ปุ๋ยเคมี 27-4.5-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันต่อไร่ให้
ผลผลติ และผลผลติ นำ้ ตาลมากท่ีสุด 7.67 ตันต่อไร่ และ 1,627 กก.ตอ่ ไร่ และปรมิ าณคารบ์ อนท่ีสามารถเกบ็ กักใน
ดนิ หากมีการไถกลบลงดนิ จะเป็นคาร์บอนทอ่ี ยู่ในสว่ นของใบสดและใบแหง้ ซึ่งการใชป้ ุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับ
การใชก้ ากตะกอนหมอ้ กรอง 1,000 กิโลกรัมตอ่ ไรท่ ำให้ใบสดและใบแหง้ ออ้ ยตอ 1 มีปริมาณคารบ์ อนสะสมมากทีส่ ุด
คำสำคัญ ออ้ ย คารบ์ อน คารบ์ อนไดออกไซด์ การจัดการน้ำ

1ศนู ยว์ จิ ัยพชื ไรข่ อนแก่น สถาบนั วิจยั พชื ไร่และพชื ทดแทนพลังงาน กรมวชิ าการเกษตร
2ขา้ ราชการบำนาญ กรมวชิ าการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

859

คำนำ
ภาวะโลกร้อนมีสาเหตุมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งจากภาคอุตสาหกรรมและการเกษตรอัน
เนื่องมาจากกิจกรรมความตอ้ งการของมนษุ ย์ซงึ่ เพิ่มขึ้นตามจำนวนประชากรโลก โดยปัจจบุ ันความเข้มขน้ ของก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซดเ์ พ่ิมขึ้นเป็น 380 ส่วนในลา้ นสว่ น จากเดิมเมือ่ 150 ปกี อ่ นทม่ี เี พียง 280 ส่วนในล้านสว่ น การ
กักเกบ็ คาร์บอน (carbon storage) ในพ้ืนที่เกษตรเปน็ แนวทางหนึ่งท่ีหลายประเทศนำไปใช้เพ่ือประโยชน์ในการ
ลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ปริมาณคาร์บอนที่ถูกกักเก็บไว้ในดินมีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลาขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย แต่ปัจจัยหลักๆ ได้แก่ การใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพภูมิอากาศ และการทำ
การเกษตร ทำใหม้ ีการยอ่ ยสลายของอนิ ทรียวตั ถุในดิน และปลดปล่อยคารบ์ อนสบู่ รรยากาศ ในทางกลับกันหากมี
การจัดการดนิ -ปยุ๋ -นำ้ และพชื อยา่ งเหมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพกบั พื้นท่ีปลกู พนื้ ทีท่ ำการเกษตรก็จะเป็นแหล่งกัก
เก็บคารบ์ อนที่สำคัญแหลง่ หน่ึง ประเทศไทยยงั จัดเป็นกล่มุ ทม่ี กี ารปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกเปน็ อันดับท่ี 25 ของโลก
และเป็นลำดบั ท่ี 2 ในอาเซยี น รองจากประเทศอินโดนเี ซีย จากการศึกษาและจดั ทำฐานข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกภาคเกษตรของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2555) เพื่อประเมินความต้องการข้อมูลด้านการเกษตรที่
ต้องจัดเกบ็ เพมิ่ ตามคูม่ อื การจัดทำบญั ชกี ๊าซเรือนกระจกของ IPCC โดยจำแนกตามแหล่งปล่อย เชน่ นาขา้ ว ปศุ
สัตว์ การจัดการพื้นที่ ฯลฯ และรายสินค้าที่สำคัญ เช่น ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ำมนั
ฯลฯ และอื่นๆ โดยจัดทำฐานข้อมูลการคำนวณและแสดงตัวอย่างการคำนวณตามวิธีการการประเมินวัฏจักรชีวติ
(Life cycle assessment; LCA) ครอบคลุมตง้ั แต่การผลติ จนถึงการเกบ็ เก่ียวผลผลิต พบวา่ การปลูกพืชไร่ล้วนแต่
ทำให้มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิ โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกดังกล่าว ส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรมการใช้
ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งการปลูกอ้อยในปี พ.ศ. 2554 มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งสิ้น 2.2 ล้านตัน
คารบ์ อนไดออกไซด์เทยี บเทา่

วิธีดำเนนิ การ
อุปกรณ์

- ท่อนพนั ธอ์ุ ้อย พันธ์ุขอนแก่น 3
- ปุ๋ยเคมี ไดแ้ ก่ ยูเรีย ทริปเปลิ ซูเปอร์ฟอสเฟต โพแทสเซียมคลอไรด์
- กากตะกอนหม้อกรองอ้อย
- สารเคมปี ้องกันและกำจัดวชั พืช
- ทอ่ นำ้ แบบพอี ี พีวซี ี หวั น้ำหยด เครื่องกรองนำ้ และเครื่องสูบนำ้ ขนาด 20-40 แรงม้า
- เครอ่ื งมือวทิ ยาศาสตร์ เครือ่ งแก้ว สารเคมีสำหรบั วเิ คราะห์ดนิ และพืช
- สว่านเก็บตัวอยา่ งดิน และอุปกรณ์เก็บตัวอยา่ งดินแบบ Undisturbed core sample
- อุปกรณ์สำหรับดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้แก่ กระป๋องพลาสติก ขวดแก้ว และฐานรองที่เป็น
ตะแกรง

860

วธิ กี าร
ดำเนินการทดลองในแปลงทดลองที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น วางแผนการทดลองแบบ Split plot 10

กรรมวิธีๆละ 3 ซ้ำ ปจั จัยหลัก คือ การใหน้ ้ำ ไดแ้ ก่ 1) อาศยั นำ้ ฝน และ2) ใหน้ ้ำตามความต้องการของพืช โดย
วิธีน้ำหยด (อ้างอิง FAO Blaney-Criddle) ปัจจัยรอง คือ การให้ปุ๋ย ได้แก่ 1) ไม่ใส่ปุ๋ย 2) ใส่กากตะกอนหม้อ
กรองออ้ ย 1,000 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ (โดยน้ำหนักแหง้ ) 3) ใสป่ ุ๋ยเคมตี ามคา่ วเิ คราะห์ดนิ 4) ใส่ป๋ยุ เคมตี ามค่าวิเคราะห์
ดินร่วมกับใส่กากตะกอนหม้อกรองอ้อย 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ และ 5) ใส่ปุ๋ยเคมี 1.5 เท่าตามค่าวิเคราะห์ดิน
รว่ มกับใส่กากตะกอนหม้อกรองออ้ ย 1,000 กโิ ลกรัมต่อไร่

สุ่มเก็บตัวอยา่ งดิน วิเคราะห์ปรมิ าณธาตอุ าหารพืชและอินทรียค์ าร์บอนในดินก่อนปลูกพืชในแต่ละปี ไถ
เตรยี มดินด้วยผาล 3 พรวนและเปดิ รอ่ งปลูก แบง่ ใหม้ ีขนาดแปลงย่อย 7.8x8.0 เมตร โดยเวน้ แตล่ ะแปลงย่อยห่าง
กัน 1.0 เมตรเพื่อเป็นร่องระบายน้ำ หว่านวัสดุปรับปรุงดินรองกน้ ร่องปลูกให้ทัว่ ๆ และสม่ำเสมอตามกรรมวธิ ที ่ี
กำหนด ปลกู อ้อยแบบระบบปลกู พชื เด่ียว ใช้ระยะแถวปลูก 1.30 เมตร วางลำเหล่ือมสลับโคนและปลาย ปลกู ออ้ ย
ตามกรรมวิธี วนั ที่ 4 มกราคม 2560 ใสป่ ุ๋ยเคมแี บบโรยในร่องกอ่ นปลกู ดว้ ย ½ N-P-K และทเ่ี หลอื ใส่เป็นแถวข้าง
ร่องปลูกเมื่ออ้อยอายุ 3-4 เดือน และเก็บเก่ียวเมื่ออายุ 11-12 เดือน วิเคราะหป์ ริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่
ปล่อยจากผิวดิน ประยุกต์จากวิธีของ Anderson (1982) โดยใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ในการดักจับก๊าซ
คารบ์ อนไดออกไซดท์ ปี่ ล่อยออกมาจากพน้ื ผิวดินภายใน 1 รอบวัน ทุก ๆ 3 สปั ดาห์ และทกุ คร้ังท่มี กี จิ กรรมเกดิ ข้ึน
ในแปลงทดลอง เช่น ไถพรวน ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ใส่ปุ๋ยเคมี และเก็บดินมาวิเคราะห์ความชื้น วัดอุณหภูมิดินที่ระดับ
ความลึก 5-10 เซนติเมตร และอุณหภูมิอากาศ ด้วยทุกครงั้

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
1. สภาพแวดลอ้ มตลอดฤดปู ลูก

1.1. สมบัตขิ องดนิ
ดินในพืน้ ทีท่ ดลองเปน็ ชดุ ดินวารนิ ดินบนและดินลา่ งมพี ีเอช 5.3 และ 4.8 ตามลำดบั ดินบนและดินลา่ ง
มอี นิ ทรยี วัตถุ 0.36 และ 0.26 % ฟอสฟอรัสทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อพืช 37 และ 58 มก./กก. โพแทสเซียมท่ีแลกเปล่ยี น
ได้ 51 และ 74 มก./กก. ตามลำดับ (ตารางท่ี 1)
1.2 ปรมิ าณน้ำฝน
ฤดูปลูกปี 2560/62 ปริมาณน้ำฝนรวมตลอดฤดูปลกู เท่ากับ 1,268 มิลลเิ มตร (ภาพท่ี 1) ฤดปู ลกู ปี
2561/62 ปรมิ าณน้ำฝนรวมตลอดฤดูปลูกเท่ากบั 1,145 มิลลเิ มตร (ภาพท่ี 2) ฤดูปลูกปี 2562/63 ปริมาณน้ำฝน
รวมตลอดฤดปู ลูกเท่ากับ 1,090 มิลลิเมตร (ภาพที่ 3)
2. ผลของวิธกี ารให้นำ้ รว่ มกับการจัดการป๋ยุ อยา่ งเหมาะสมตอ่ ผลผลิตและองคป์ ระกอบผลผลิตของออ้ ย
ฤดูปลกู 2560/61
การเจริญเตบิ โต
เมื่ออ้อยอายุ 6 เดือน เส้นผ่านศูนย์กลางลำในกรรมวิธีหลักที่อาศัยน้ำฝนและกรรมวิธีที่ให้น้ำตามความ
ต้องการของอ้อยและกรรมวิธีรองที่มีการจัดการดินและปุ๋ยที่แตกต่างกันทำให้ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางลำไม่

861

แตกต่างกนั ในทางสถติ ิ ความสูงในกรรมวิธหี ลกั ทอี่ าศัยนำ้ ฝนและกรรมวิธีที่ใหน้ ำ้ ตามความต้องการของอ้อยอ้อยมี
ความสูงที่ไม่แตกต่างกันในทางสถิติแต่ในกรรมวิธีรองท่ีมีการจัดการดินและปุ๋ยที่แตกต่างกัน ในกรรมวิธี 27-4.5-
18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ต่อไร่มีความสูงมากที่สุด 165 เซนติเมตร ส่วน
จำนวนหนอ่ พบวา่ มีปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งการจดั การนำ้ และการจดั การป๋ยุ โดย ในกรรมวิธีทอี่ าศัยนำ้ ฝนรว่ มกับการใช้
27-4.5-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันต่อไร่ ให้จำนวนหน่อมากที่สุด 6.9
หนอ่ ตอ่ กอแต่ไมแ่ ตกต่างในทางสถิตกิ ับ วิธีการใหน้ ำ้ ตามความตอ้ งการของออ้ ยรว่ มกับการใช้ 27-4.5-18 กิโลกรัม
N-P2O5-K2O ตอ่ ไรร่ ว่ มกับกากตะกอนหมอ้ กรอง 1 ตนั ต่อไร่ (ตารางท่ี 3)

เมื่ออ้อยอายุ 9 เดือน เส้นผ่านศูนย์กลางลำในกรรมวิธีหลักที่อาศัยน้ำฝนและกรรมวิธีที่ให้น้ำตามความ
ต้องการของอ้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางลำไม่แตกต่างกันในทางสถิติแต่ในกรรมวิธีรองที่มีการจัดการดินและปุ๋ยที่
แตกต่างกัน กรรมวิธีที่ใช้ปุ๋ยเคมี 18-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่มีเส้นผ่านศูนย์กลางลำมากที่สุด 3.07
เซนติเมตรแตกต่างจากกรรมวธิ ีอ่ืน ๆ อยา่ งมีนัยสำคญั ความสงู พบวา่ ในกรรมวิธหี ลักทอ่ี าศยั น้ำฝนและกรรมวิธีที่
ใหน้ ำ้ ตามความต้องการของอ้อย มีความสูงไมแ่ ตกต่างกันในทางสถิติแต่ในกรรมวิธีรองที่มีการจดั การดินและปุ๋ยท่ี
แตกตา่ งกนั กรรมวธิ ีที่ใช้ป๋ยุ เคมี 27-4.5-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไรร่ ่วมกบั กากตะกอนหมอ้ กรอง 1 ตนั ต่อไร่
มีความสูงมากที่สุด 314 เซนติเมตรแตกต่างจากกรรมวิธีอื่น ๆ อย่างมีนัยสำคัญจำนวนลำพบว่ามีปฏิสัมพันธ์
ระหว่างการจัดการน้ำและการจัดการปุ๋ยโดย ในกรรมวิธีทีอ่ าศัยน้ำฝนร่วมกับการใช้ 18-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-
K2O ต่อไร่ร่วมกบั กากตะกอนหมอ้ กรอง 1 ตันตอ่ ไร่ ให้จำนวนหน่อมากที่สดุ 6.2 ลำตอ่ กอ (ตารางที่ 4)

เมื่ออ้อยอายุ 12 เดือน เส้นผ่านศนู ย์กลางลำในกรรมวธิ ีหลกั ท่ีอาศยั น้ำฝนและกรรมวิธีท่ีให้น้ำตามความ
ต้องการของอ้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางลำไม่แตกต่างกันในทางสถิติแต่ในกรรมวิธีรองที่มีการจัดการดินและปุ๋ยท่ี
แตกต่างกนั กรรมวิธีทีใ่ ช้ปุ๋ยเคมี 18-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันต่อไร่
มีเส้นผ่านศูนย์กลางลำมากที่สุด 3.00 เซนติเมตรแตกต่างจากกรรมวิธีอื่น ๆ อย่างมีนัยสำคัญ ความสูงพบว่าใน
กรรมวิธหี ลกั ทีอ่ าศยั น้ำฝนและกรรมวธิ ีที่ให้นำ้ ตามความต้องการของออ้ ย มีความสูงไม่แตกต่างกันในทางสถิตแิ ต่
ในกรรมวธิ ีรองทม่ี กี ารจัดการดินและปุย๋ ท่แี ตกต่างกัน กรรมวธิ ีทใี่ ชป้ ุ๋ยเคมี 27-4.5-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันต่อไร่มีความสูงมากที่สุด 368 เซนติเมตรแตกต่างจากกรรมวิธีอื่น ๆ อย่างมี
นัยสำคัญ จำนวนลำพบว่ามีปฏิสัมพันธ์ระหว่างการจัดการน้ำและการจัดการปุ๋ยโดย ในกรรมวิธีที่อาศัยน้ำฝน
รว่ มกับการใช้ 18-3-12 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกบั กากตะกอนหมอ้ กรอง 1 ตนั ตอ่ ไร่ ให้จำนวนหน่อมาก
ทส่ี ุด 5.8 ลำต่อกอ (ตารางท่ี 5)

ผลผลิต
เก็บเกี่ยวผลผลิตที่อายุ 12 เดือน ผลของการจัดการน้ำในอ้อยปลูกกรรมวิธีที่มีการให้น้ำให้ผลผลิตสูง
แตกต่างอย่างมนี ัยสำคญั กับกรรมวิธีทีไ่ มม่ ีการให้ให้ โดยผลผลิตอ้อย 25.03 ตนั ตอ่ ไร่ การจัดการปุ๋ยให้ผลผลิตสูง
แตกตา่ งอย่างมีนัยสำคญั โดยการใชป้ ยุ๋ เคมี 27-4.5-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ตอ่ ไรร่ ่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง
1 ตนั ตอ่ ไร่ โดยให้ผลผลติ มากที่สดุ 26.18 ตันต่อไร่ และเมอ่ื วัดคา่ CCS พบว่าผลของการจัดการนำ้ ในอ้อยปลูกค่า
CCS ที่ได้ไม่มีความแตกต่างกันแต่การจัดการปุ๋ย โดยกรรมวิธีที่ไม่มีการใส่ปุ๋ยให้ค่า CCS สูงที่สุด แตกต่างจาก

862

กรรมวธิ ีอน่ื อย่างมนี ัยสำคญั และยงั พบอีกว่าการจดั การน้ำและการจัดการดนิ และปุ๋ยท่ีแตกตา่ งกนั ไม่ทำให้ผลผลิต
นำ้ ตาลมีความแตกต่างกนั ในทางสถิติ (ตารางท่ี 6)

ฤดปู ลูก 2561/62
การเจริญเตบิ โต
หลังจากตดั แตง่ อ้อยตอ ดำเนนิ การให้นำ้ ตามกรรมวธิ ี วัดการเจริญเตบิ โตอ้อยตอ 1 อายุ 5 เดือน ความสูง
พบวา่ ในกรรมวิธีหลักท่ีอาศยั น้ำฝนและกรรมวธิ ีที่ให้น้ำตามความต้องการของออ้ ย มีความสงู ไม่แตกต่างกันในทาง
สถิติแต่ในกรรมวิธีรองที่มีการจดั การดินและปุ๋ยที่แตกตา่ งกัน กรรมวิธีที่ใช้ปุ๋ยเคมี 27-4.5-18 กิโลกรัม N-P2O5-
K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันต่อไรม่ ีความสงู มากที่สุด 65 เซนติเมตรแตกต่างจากกรรมวธิ อี ่นื ๆ
อย่างมีนัยสำคัญ จำนวนหน่อต่อกอพบว่ากรรมวิธีหลักที่อาศัยน้ำฝนและกรรมวิธที ี่ให้น้ำตามความต้องการของ
ออ้ ย และกรรมวธิ ีรองทม่ี กี ารจดั การดนิ และปยุ๋ ทแี่ ตกตา่ งกัน ไม่ทำใหอ้ ้อยมีจำนวนหนอ่ ต่อกอแตกต่างกัน (ตารางท่ี 7)
การเจริญเติบโตออ้ ยตอ 1 อายุ 8 เดอื น เส้นผ่านศูนย์กลางลำ กรรมวิธที ี่ใหน้ ำ้ ตามความต้องการของอ้อย
มีเส้นผ่านศนู ย์กลางลำแตกตา่ งกันในทางสถิตกิ บั กรรมวิธอี าศัยน้ำฝน โดยมีเสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 2.9 เซนตเิ มตร เม่ือ
วัดความสงู พบวา่ มีปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างการจดั การนำ้ และการจัดการดนิ และปยุ๋ ท่ีแตกตา่ งกัน โดยในกรรมวธิ ีท่อี าศัย
นำ้ ฝนมีความสูงน้อยที่สดุ แตกต่างในทางสถิตกิ บั กรรมวิธีท่ีมกี ารจัดการดนิ และป๋ยุ โดยในกรรมวิธที ใี่ หน้ ้ำตามความ
ตอ้ งการของออ้ ย กรรมวธิ ที ใ่ี ช้ปยุ๋ เคมี 27-4.5-18 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไรร่ ่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตัน
ต่อไร่มคี วามสูงมากท่ีสุด 186 เซนติเมตรแตกตา่ งจากกรรมวิธีอื่น ๆ อยา่ งมีนยั สำคัญ จำนวนลำกอพบว่ากรรมวิธี
หลักที่อาศัยน้ำฝนและกรรมวิธีที่ให้น้ำตามความต้องการของอ้อย และกรรมวิธีรองที่มีการจัดการดินและปุ๋ยที่
แตกต่างกนั ไม่ทำให้อ้อยมีจำนวนลำตอ่ กอแตกต่างกัน (ตารางที่ 8)
อ้อยอายุ 12 เดือน พบว่าการจดั การนำ้ และการจดั การดินและปยุ๋ ที่แตกตา่ งกนั ไม่ทำให้เส้นผ่านศูนย์กลาง
ลำและจำนวนลำตอ่ กอแตกต่างกันในทางสถิติ แตด่ ้านของความสงู อ้อย ในกรรมวิธที ม่ี กี ารจัดการน้ำไมท่ ำให้ความ
สูงอ้อยแตกต่างกัน การจัดการดินและปุ๋ยมีผลต่อความสูงอ้อย โดยกรรมวิธีที่ใช้ปุ๋ยเคมี 27-4.5-18 กิโลกรัม N-
P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันต่อไร่ ให้ความสูงมากที่สุด 248 เซนติเมตรแต่ไม่แตกต่าง
ในทางสถิติกบั กรรมวธิ ที ม่ี กี ารจดั การดินและปยุ๋ วธิ อี ืน่ แต่ผลจากการจดั การน้ำและการจัดการดนิ และปยุ๋ ท่แี ตกต่าง
กันไม่ทำใหจ้ ำนวนลำต่อกอแตกตา่ งกันในทางสถติ ิ (ตารางท่ี 9)
ผลผลติ
ผลผลิตอ้อยตอ 1 เก็บเกย่ี ว 16 ธนั วาคม 2561 พบว่า การจดั การน้ำทำให้ผลผลิตอ้อยแตกต่างกันในทาง
สถติ ิ โดยกรรมวิธีทม่ี ีการใหน้ ำ้ ผลผลิต 15.94 ตนั /ไร่ แตกตา่ งกับกรรมวิธที ี่ไม่มีการใหน้ ้ำซ่ึงในผลผลติ เพียง 11.99
ตนั /ไร่ สว่ นการจดั การดนิ และปุ๋ยไมท่ ำให้ผลผลิตอ้อยตอ 1 แตกต่างกนั ในทางสถิติ และยงั พบอีกวา่ การจัดการน้ำ
และการจดั การดนิ และปุย๋ ที่แตกต่างกนั ไม่ทำให้ค่า CCS และผลผลิตน้ำตาลมีความแตกต่างกันในทางสถิติ (ตารางท่ี 10)

863

ฤดปู ลูก 2562/63
การเจริญเติบโต
การเจรญิ เตบิ โตอ้อยตอ 2 อายุ 5 เดอื น เม่ือวัดความสูงพบวา่ ในกรรมวธิ ีหลกั ที่อาศัยน้ำฝนและกรรมวิธีที่
ให้น้ำตามความต้องการของอ้อย มคี วามสงู ไม่แตกต่างกันในทางสถิตแิ ต่ในกรรมวิธีรองทีม่ กี ารจัดการดินและปุ๋ยท่ี
แตกตา่ งกนั กรรมวธิ ที ใ่ี ช้ปยุ๋ เคมี 27-4.5-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไรร่ ว่ มกบั กากตะกอนหมอ้ กรอง 1 ตันต่อไร่
มีความสูงมากที่สุด 56 เซนติเมตรแตกต่างจากกรรมวิธีอื่น ๆ อย่างมีนัยสำคัญ จำนวนหน่อต่อกอพบว่ากรรมวิธี
หลักที่อาศัยน้ำฝนและกรรมวิธีที่ให้น้ำตามความต้องการของอ้อย และกรรมวิธีรองที่มีการจัดการดินและปุ๋ยท่ี
แตกต่างกนั ไม่ทำใหอ้ อ้ ยมีจำนวนหนอ่ ต่อกอแตกต่างกัน (ตารางที่ 11)
การเจริญเติบโตอ้อยตอ 2 อายุ 8 เดือน วัดความสูงพบว่ามีปฏิสัมพันธ์ระหว่างการจัดการน้ำและการ
จดั การดนิ และปุย๋ ท่แี ตกต่างกนั โดยในกรรมวธิ ีทอี่ าศยั น้ำฝน กรรมวธิ รี องทีใ่ ช้ปุ๋ยเคมี 27-4.5-18 กิโลกรัม N-P2O5-
K2O ต่อไร่รว่ มกบั กากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันตอ่ ไร่มีความสงู มากท่ีสุด 121 เซนตเิ มตรแตกตา่ งจากกรรมวธิ ีอ่ืน ๆ
อย่างมนี ยั สำคัญ กรรมวิธีท่ไี มม่ ีใช้ปุ๋ยมคี วามสูงนอ้ ยท่ีสุด ในกรรมวธิ ีทใ่ี ห้นำ้ ตามความต้องการของอ้อย กรรมวิธีที่
ใชป้ ๋ยุ เคมี 18-3-12 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไรร่ ่วมกบั กากตะกอนหมอ้ กรอง 1 ตันต่อไรม่ คี วามสูงมากท่ีสุด 148
เซนติเมตร ซง่ึ ไมแ่ ตกต่างจากกรรมวิธีท่ีใชป้ ยุ๋ เคมี 27-4.5-18 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่รว่ มกับกากตะกอนหม้อ
กรอง 1 ตันต่อไร่ จำนวนหนอ่ ตอ่ กอและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง พบว่ากรรมวิธีหลักที่อาศัยน้ำฝนและกรรมวิธีท่ี
ให้น้ำตามความต้องการของอ้อย และกรรมวิธีรองที่มีการจัดการดินและปุ๋ยที่แตกต่างกัน ไม่ทำให้อ้อยมีจำนวน
หนอ่ ตอ่ กอและขนาดลำแตกตา่ งกันในทางสถติ ิ (ตารางท่ี 12)
ออ้ ยอายุ 12 เดือน พบวา่ การจดั การนำ้ และการจดั การดินและปุ๋ยท่ีแตกต่างกนั ไมท่ ำใหเ้ สน้ ผ่านศนู ย์กลาง
ลำและจำนวนลำตอ่ กอแตกต่างกันในทางสถิติ แตด่ ้านของความสูงอ้อย ในกรรมวธิ ที ีม่ ีการจัดการน้ำไมท่ ำให้ความ
สูงอ้อยแตกต่างกัน การจัดการดินและปุ๋ยมีผลต่อความสูงอ้อย โดยกรรมวิธีที่ใช้ปุ๋ยเคมี 27-4.5-18 กิโลกรัม N-
P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันต่อไร่ ให้ความสูงมากที่สุด 194 เซนติเมตรแต่ไม่แตกต่าง
ในทางสถิติกับกรรมวิธีที่มีการจัดการดินและปุ๋ยวิธีอืน่ จำนวนลำต่อกอพบว่า มีปฏิสัมพันธร์ ะหว่างการจดั การนำ้
และการจัดการดินและปุ๋ยทีแ่ ตกต่างกัน โดยในกรรมวิธีท่ีอาศยั น้ำฝน กรรมวิธีรองที่ใช้ปุ๋ยเคมี 18-3-12 กิโลกรมั
N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันต่อไร่มีจำนวนลำมากที่สุด 4.2 ลำต่อกอในกรรมวิธีที่มีการ
จัดการนำ้ การจดั การดินและปุ๋ยไมม่ ีผลตอ่ จำนวนลำต่อกอในทางสถติ ิ (ตารางท่ี 13)
ผลผลิต
ผลผลิตอ้อยตอ 2 เก็บเกี่ยว 16 มกราคม 2563 พบว่า การจัดการน้ำไม่ทำให้ผลผลิตอ้อยแลผลผลิต
น้ำตาลแตกต่างกันในทางสถิติ แต่การจัดการดินและปุ๋ยทำให้ผลผลิตอ้อยตอ 2 และผลผลิตน้ำตาลแตกต่างกัน
ในทางสถิติโดยกรรมวิธีรองที่ใช้ปุ๋ยเคมี 27-4.5-18 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1
ตันต่อไรใ่ ห้ผลผลิตและผลผลิตน้ำตาลมากที่สุด 7.67 ตันต่อไร่ และ 1,627 กก.ต่อไร่ ตามลำดับ และยังพบอกี วา่
การจัดการน้ำและการจัดการดินและปุ๋ยที่แตกต่างกันไม่ทำให้ค่า CCS และผลผลิตน้ำตาลมีความแตกต่างกัน
ในทางสถติ ิ (ตารางที่ 14)

864

3. ผลของวธิ ีการใหน้ ำ้ รว่ มกบั การจัดการปุย๋ อยา่ งเหมาะสมต่อปริมาณอนิ ทรยี ค์ าร์บอนในส่วนตา่ งๆ ของอ้อย
จากผลการวิเคราะห์ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน ในอ้อยปลูกพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ยท่ี

แตกต่างกัน พบว่าร้อยละของอินทรีย์คารบ์ อนไม่แตกต่างกันในทางสถิติในส่วนลำ ใบสดและใบแห้ง โดยในส่วน
ของลำกรรมวธิ อี าศยั น้ำฝนมีแนวโน้มพบอนิ ทรีย์คาร์บอนมากที่สดุ 54.3% และการใชป้ ๋ยุ ตามคา่ วิเคราะห์ดิน (18-
3-12) แนวโน้มพบอินทรีย์คาร์บอนมากที่สุด 55.7% ในใบสด กรรมวิธีอาศัยน้ำฝนมีแนวโน้มพบอินทรีย์คาร์บอน
มากที่สุด 51.5% และการใช้กากตะกอนหมอ้ กรอง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่มีแนวโน้มพบอนิ ทรีย์คาร์บอนมากที่สุด
53.3% ในใบแห้ง กรรมวิธีให้น้ำตามความต้องการของอ้อยมีแนวโน้มพบอินทรีย์คาร์บอนมากที่สุด 41.9% และ
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (18-3-12) มีแนวโน้มพบอินทรีย์คาร์บอนมากที่สุด 45.2% (ตารางที่ 18) ปริมาณ
อินทรยี ค์ ารบ์ อนสะสมส่วนลำในกรรมวธิ ีที่มกี ารจัดการน้ำคดิ เปน็ 4,270 กก. C/ไร่ และการใชป้ ยุ๋ ตามค่าวิเคราะห์
ดิน (18-3-12) มีปริมาณอินทรีย์คาร์บอนสะสมมากที่สุด 4,483 กก. C/ไร่ ในส่วนใบสด กรรมวิธีอาศัยน้ำฝน มี
ปริมาณอินทรีย์คาร์บอนสะสมมากที่สุด 121 กก. C/ไร่ และการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (18-3-12) มีปริมาณ
อนิ ทรยี ์คารบ์ อนสะสมมากท่สี ุด 134 กก. C/ไร่ ในส่วนใบแหง้ กรรมวธิ ีทม่ี ีการจดั การน้ำมีปริมาณอนิ ทรีย์คาร์บอน
สะสมมากทส่ี ุด 159 กก. C/ไร่ และการใช้ปุ๋ยตามค่าวเิ คราะหด์ นิ (18-3-12) มปี รมิ าณอินทรียค์ าร์บอนสะสมมาก
ทส่ี ุด 168 กก. C/ไร่ (ตารางท่ี 19)

ในอ้อยตอ 1 พันธุ์ขอนแกน่ 3 ผลการวิเคราะห์ปริมาณอินทรีย์คารบ์ อน การจัดการน้ำและปุ๋ยที่แตกตา่ ง
กัน พบว่าร้อยละของอนิ ทรีย์คาร์บอนไม่แตกต่างกันในทางสถิติในส่วนลำและใบแห้ง โดยในส่วนของลำกรรมวิธี
อาศัยนำ้ ฝนมีแนวโน้มพบอนิ ทรยี ค์ าร์บอนมากที่สุด 52.9% และการใชก้ ากตะกอนหมอ้ กรอง 1,000 กโิ ลกรมั ต่อไร่
แนวโน้มพบอินทรีย์คาร์บอนมากที่สุด 54.5% ในใบแห้ง กรรมวิธีให้น้ำตามความต้องการของอ้อยมีแนวโน้มพบ
อินทรีย์คาร์บอนมากที่สุด 52.7% และการใช้กากตะกอนหม้อกรอง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ มีแนวโน้มพบอินทรีย์
คาร์บอนมากที่สดุ 54.2% แตพ่ บว่ามปี ฏิสัมพนั ธ์ระหว่าการจดั การน้ำและปุ๋ยต่อปริมาณอินทรีย์คาร์บอนในใบสด
โดยในกรรมวิธีที่อาศัยน้ำฝนการใช้ปุย๋ 18-3-12 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกบั ใช้กากตะกอนหม้อกรอง 1,000
กิโลกรัมตอ่ ไร่ มปี ริมาณอนิ ทรีย์คารบ์ อนมากที่สุด 57.3% แตกต่างจากกรรมวิธอี ื่นอย่างมีนยั สำคญั ในกรรมวิธีที่มี
การให้น้ำตามความต้องการของพืชพบว่า เมื่อให้ปุ๋ย 27-4.5-18 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับ ใช้กากตะกอน
หม้อกรอง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ มีปริมาณอินทรีย์คาร์บอนมากที่สุด 54.7% แตกต่างจากกรรมวิธีอื่นอย่างมี
นัยสำคญั (ตารางท่ี 20) ปรมิ าณอนิ ทรีย์คารบ์ อนสะสมส่วนลำในกรรมวิธที ม่ี กี ารจัดการนำ้ คิดเป็น 2,915 กก. C/
ไร่ และการใช้กากตะกอนหมอ้ กรอง 1,000 กโิ ลกรมั ต่อไร่ มีปริมาณอินทรยี ์คาร์บอนสะสมมากที่สดุ 2,712 กก. C/
ไร่ ในส่วนใบสด กรรมวธิ ที ่ีมกี ารจัดการน้ำมีปริมาณอินทรีย์คาร์บอนสะสมมากทส่ี ุด 114 กก. C/ไร่ และการใช้ปุ๋ย
18-3-12 กก. N-P2O5-K2O ต่อไรร่ ่วมกับ ใช้กากตะกอนหมอ้ กรอง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่มปี ริมาณอนิ ทรีย์คาร์บอน
สะสมมากที่สุด 119 กก. C/ไร่ ในส่วนใบแหง้ กรรมวิธีทม่ี กี ารจัดการน้ำมีปรมิ าณอนิ ทรีย์คาร์บอนสะสมมากท่ีสุด
150 กก. C/ไร่ และการใช้กากตะกอนหม้อกรอง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่มีปริมาณอินทรีย์คาร์บอนสะสมมากที่สุด
163 กก. C/ไร่ (ตารางที่ 21)

ออ้ ยตอ 2 พนั ธ์ุขอนแก่น 3 ผลการวเิ คราะห์ปริมาณอนิ ทรยี ์คาร์บอน การจดั การน้ำและปุ๋ยที่แตกต่างกัน
พบว่ารอ้ ยละของอนิ ทรียค์ าร์บอนไม่แตกตา่ งกันในทางสถติ ิในสว่ นลำและใบแหง้ โดยในสว่ นของลำกรรมวิธีอาศัย

865

น้ำฝนมีแนวโนม้ พบอนิ ทรีย์คาร์บอนมากท่ีสุด 51.5% และกรรมวธิ ที ไ่ี ม่มกี ารใส่ปุ๋ย มแี นวโน้มพบอินทรีย์คาร์บอน
มากทีส่ ุด 51.7% ในใบสด กรรมวิธีให้น้ำตามความต้องการของอ้อยมแี นวโน้มพบอนิ ทรีย์คารบ์ อนมากท่ีสดุ 49.3%
และเมื่อใหป้ ุ๋ย 18-3-12 กก. N-P2O5-K2O ต่อไรร่ ่วมกบั ใช้กากตะกอนหม้อกรอง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่มีแนวโนม้
พบอินทรีย์คาร์บอนมากทีส่ ุด 49.5% ในส่วนของใบแห้ง กรรมวิธีให้น้ำตามความต้องการของอ้อยมีแนวโน้มพบ
อินทรีย์คาร์บอนมากทีส่ ุด 49.3% และเมื่อให้ปุ๋ย 27-4.5-18 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับ ใช้กากตะกอนหมอ้
กรอง 1,000 กโิ ลกรมั ต่อไรม่ แี นวโน้มพบอนิ ทรยี ค์ าร์บอนมากท่สี ุด 50.0% (ตารางที่ 22) ปรมิ าณอินทรีย์คาร์บอน
สะสมส่วนลำในกรรมวธิ ที ี่มีการจัดการน้ำคิดเป็น 1,676 กก. C/ไร่ และใหป้ ๋ยุ 27-4.5-18 กก. N-P2O5-K2O ต่อไร่
รว่ มกับ ใช้กากตะกอนหม้อกรอง 1,000 กโิ ลกรัมตอ่ ไรม่ ปี ริมาณอินทรีย์คาร์บอนสะสมมากท่ีสุด 1,684 กก. C/ไร่
ในส่วนใบสด กรรมวิธีที่มีการจัดการน้ำมีปริมาณอินทรีย์คาร์บอนสะสมมากที่สุด 86 กก. C/ไร่ และการใช้กาก
ตะกอนหม้อกรอง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่มีปริมาณอินทรีย์คาร์บอนสะสมมากที่สุด 92 กก. C/ไร่ ในส่วนใบแห้ง
กรรมวิธีทมี่ ีการจดั การนำ้ มีปริมาณอนิ ทรีย์คาร์บอนสะสมมากท่ีสุด 297 กก. C/ไร่ และการใหป้ ุย๋ 18-3-12กก. N-
P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกบั ใช้กากตะกอนหม้อกรอง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่มปี ริมาณอินทรีย์คาร์บอนสะสมมากที่สดุ
320 กก. C/ไร่ (ตารางที่ 23)
4. การปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพ้ืนทีป่ ลูกออ้ ย

ฤดูปลูก 2560-2561
การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในพื้นที่ปลูกอ้อย การปลูกโดยไม่มีการจัดการน้ำกรรมวิธีที่ใส่ Filter
cake จะมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ปลอ่ ยออกจากพ้นื ทปี่ ลกู อ้อยมากกว่ากรรมวิธอี นื่ ๆเมื่ออายุ 143 วนั หลัง
ปลูก โดยมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 12,636 mg CO2/m2/วัน และจัดการน้ำตามความต้องการของ
อ้อยใชป้ ุ๋ยเคมี 18-3-12 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่จะมปี รมิ าณกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ปล่อยออกจากพื้นท่ีปลูก
อ้อยมากกวา่ กรรมวิธอี น่ื ๆ เมอื่ ออ้ ยอายุ 372 วัน ในกรรมวธิ ที ี่มกี ารจัดการน้ำ ในแปลงทดลองที่ไมม่ ีการปลูกอ้อย
มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมในพื้นท่ีปลกู อ้อยมากทีส่ ดุ 1,946,700 mg CO2/m2/372 วนั ในกรรมวธิ ี
ที่อาศัยน้ำฝน กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยอ้อยตามค่าวิเคราะห์ดนิ จะมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ปล่อยออกจากพ้นื ท่ี
ปลกู ออ้ ยสะสมมากกวา่ กรรมวธิ ีอน่ื ๆ โดยมคี ่า 1,891,042 mg CO2/m2/372 วัน (ตารางที่ 15)
ฤดปู ลกู 2561-2562
การปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ในพืน้ ที่ปลูกออ้ ย การปลูกโดยไมม่ กี ารจัดการน้ำกรรมวธิ ที ี่ไม่มีการใช้
ปุ๋ยจะมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ปล่อยออกจากพื้นที่ปลูกอ้อยมากกว่ากรรมวิธีอื่นๆเมื่ออายุ 95 วันหลัง
ปลกู โดยมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 8,429 mg CO2/m2/วนั และจัดการน้ำตามความตอ้ งการของอ้อย
กรรมวธิ ที ี่ไมม่ ีการใชป้ ุย๋ จะมีปริมาณกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ปล่อยออกจากพ้นื ท่ีปลกู อ้อยมากกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ
เมื่ออายุ 95 วันหลังปลูก โดยมีการปล่อยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ 9,928 mg CO2/m2/วัน เมอื่ อ้อยอายุ 334 วัน
ในกรรมวธิ ที มี่ ีการจัดการน้ำ ในแปลงทดลองท่ีไม่มีการปลูกอ้อย มีการปล่อยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ในพื้นที่ปลูก
ออ้ ยมากทส่ี ดุ 1,795,682 mg CO2/m2/334 วนั ในกรรมวิธที อี่ าศยั น้ำฝน กรรมวธิ ที ใี่ ช้ป๋ยุ เคมี 18-3-12 กโิ ลกรัม
N-P2O5-K2O ต่อไร่ร่วมกับกากตะกอนหม้อกรอง 1 ตันต่อไร่จะมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ปล่อยออกจาก
พ้นื ทีป่ ลกู ออ้ ยมากกวา่ กรรมวธิ ีอืน่ ๆโดยมีค่า 1,573,334 mg CO2/m2/334 วัน (ภาพท่ี 16)

866

ฤดปู ลูก 2562-2563
การปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ในพื้นทีป่ ลูกอ้อย การปลูกโดยไม่มีการจัดการน้ำกรรมวิธที ี่ไม่มีการใช้
ปยุ๋ จะมีปรมิ าณกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ปล่อยออกจากพน้ื ทปี่ ลูกอ้อยมากกว่ากรรมวธิ ีอ่นื ๆเมอื่ อายุ 256 วันหลัง
ปลูก โดยมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 6,399 mg CO2/m2/ วัน (ภาพที่ 11) และจัดการน้ำตามความ
ต้องการของอ้อยกรรมวิธีที่ไม่มีการใช้ปุ๋ย จะมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ปล่อยออกจากพื้นที่ปลูกอ้อย
มากกว่ากรรมวิธีอืน่ ๆเมื่ออายุ 103 วันหลังปลูก โดยมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 6,851 mg CO2/m2/
วนั (ภาพที่ 12) เม่ืออ้อยอายุ 389 วัน ในกรรมวิธีทมี่ กี ารจัดการน้ำ ในแปลงทดลองที่ไมม่ ีการปลูกอ้อย มีการปลอ่ ย
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในพื้นที่ปลูกอ้อยมากที่สุด 1,715,329 mg CO2/m2/389 วัน ในกรรมวิธีที่อาศัยนำ้ ฝน
กรรมวธิ ีทไี่ มม่ กี ารใชป้ ุย๋ จะมปี รมิ าณก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ปล่อยออกจากพน้ื ท่ีปลกู อ้อยมากกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ
โดยมคี ่า 1,834,092 mg CO2/m2/389 วนั (ภาพที่ 17)
การปลอ่ ยคาร์บอนจากพ้ืนทป่ี ลกู ออ้ ยท่มี ีวธิ ีการใหน้ ้ำร่วมกบั การจัดการปยุ๋ อย่างเหมาะสม ในกรรมวิธที ี่ไม่
การให้น้ำและไม่มีการใส่ปุ๋ย (0-0-0) มีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เฉลี่ย 2.78 t CO2 rai-1 year-1
เช่นเดียวกันกับในกรรมวิธีทม่ี ีการจัดการน้ำในกรรมวิธีท่ีไม่มีการใส่ปุ๋ย (0-0-0) มีปริมาณกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์
เฉลย่ี 2.63 t CO2 rai-1 year-1 ซงึ่ มีแนวโนม้ มากกวา่ กรรมวิธีอ่ืน (ตารางที่ 24)

ตารางที่ 1 คุณสมบัตทิ างเคมีและธาตอุ าหารในดินกอ่ นปลกู แปลงทดลองศูนยว์ จิ ัยพืชไร่ขอนแกน่

Soil depth pH Organic Organic Carbon Available P Exchangeable K

(cm) (1:1) matter (%) (%) (mg/kg) (mg/kg)

0-20 5.3 0.36 0.21 37 51

20-50 4.8 0.26 0.15 58 74

ตารางท่ี 2 ผลวเิ คราะห์กากตะกอนหมอ้ กรองออ้ ย 867

รายการทดสอบ ผลทดสอบ
pH (1:10) 7.1
EC (1:10) 5.2
Moisture Content (%) 23.5
Total Nitrogen (%) 1.2
Total Phosphate (%) 3.5
Total Potash (%) 0.6
Organic Matter (%) 13.6
Organic Carbon (%) 7.9
C/N 7/1
Ca (%) 4.9
Mg (%) 0.4
Fe (%) 0.9
Cu (%) 0.0
Zn (%) 0.0
Mn (%) 0.2

ตารางที่ 3 เส้นผ่านศูนย์กลางลำ ความสูงและจำนวนลำอ้อยปลูกพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ย

แตกตา่ งกันอายุ 6 เดือน

กรรมวิธี เสน้ ผา่ นศูนย์กลางลำ (ซม.) ความสูง (ซม.) จำนวนหน่อ

RF1/ IR2/ เฉลย่ี RF IR เฉลีย่ RF IR เฉลีย่

0-0-0 3.03 3.05 3.04 99 139 119 c 4.5 bc 4.6 bc 4.5

Filter cake 2.95 3.13 3.04 107 134 121 c 4.4 bc 4.1 c 4.3

18-3-12 3.10 3.08 3.09 116 174 145 b 5.3 bc 5.8 ab 5.6

18-3-12+Filter Cake 3.16 3.24 3.20 124 177 151 ab 5.8 ab 5.5 abc 5.6

27-4.5-18+Filter Cake 3.14 3.08 3.11 142 189 165 a 6.9 a 5.8 ab 6.4

เฉล่ีย 3.08 3.12 118 163 5.4 5.2

F-Test (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = *

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns (a) x (b) = *

CV (%) (a) 7.38 25.78 9.20

(b) 4.62 9.93 17.19

ตวั เลขที่อยู่ในชว่ งสดมภ์เดียวกันทมี่ ีอกั ษรเหมอื นกัน ไม่แตกตา่ งกันในทางสถติ ทิ ี่ระดบั ความเชอ่ื ม่ัน 95%

1/สภาพอาศยั นำ้ ฝน 2/จัดการนำ้ ตามความตอ้ งการของออ้ ย

ตารางที่ 4 เส้นผ่านศูนย์กลางลำ ความสูงและจำนวนลำอ้อยปลูกพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ย

แตกต่างกันอายุ 9 เดอื น

868

กรรมวธิ ี เส้นผา่ นศนู ยก์ ลางลำ (ซม.) ความสงู (ซม.) จำนวนลำ เฉลย่ี
RF1/ IR2/ เฉล่ีย RF IR เฉลยี่ RF IR 4.0
0-0-0 2.81 2.88 2.85 b 240 273 257 c 3.8 cd 4.2 bcd 3.6
Filter cake 2.90 2.98 2.94 ab 261 267 264 c 3.9 cd 3.4 d 4.5
18-3-12 3.13 3.01 3.07 a 273 307 290 b 4.8 a-d 4.2 bcd 5.6
18-3-12+Filter Cake 2.80 3.16 2.98 ab 282 334 308 ab 6.2 a 5.0 abc 4.7
27-4.5-18+Filter Cake 2.88 3.10 2.99 ab 298 330 314 a 5.5 ab 3.9 bcd
เฉลีย่ 2.90 3.03 271 302 4.8 4.1

F-Test (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = *

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns (a) x (b) = *

CV (%) (a) 8.98 22.24 8.43

(b) 5.99 20.07 4.42

ตวั เลขท่อี ยใู่ นชว่ งสดมภเ์ ดยี วกนั ท่มี อี กั ษรเหมอื นกนั ไม่แตกตา่ งกันในทางสถติ ทิ ร่ี ะดับความเชอื่ ม่ัน 95%

1/สภาพอาศยั น้ำฝน 2/จดั การนำ้ ตามความต้องการของออ้ ย

ตารางที่ 5 เส้นผ่านศูนย์กลางลำ ความสูงและจำนวนลำอ้อยปลูกพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ย

แตกตา่ งกันอายุ 12 เดอื น

กรรมวิธี เสน้ ผ่านศูนยก์ ลางลำ (ซม.) ความสงู (ซม.) จำนวนลำ

RF1/ IR2/ เฉล่ีย RF IR เฉล่ยี RF IR เฉลี่ย

0-0-0 2.80 2.91 2.85 b 299 347 323 c 3.9 c 4.4 bc 4.2

Filter cake 2.76 2.98 2.87 b 343 325 334 bc 4.5 bc 3.9 c 4.2

18-3-12 2.97 2.92 2.95 ab 336 365 350 ab 5.5 ab 4.6 bc 5.1

18-3-12+Filter Cake 2.87 3.12 3.00 a 351 381 366 a 5.3 ab 5.4 ab 5.3

27-4.5-18+Filter Cake 2.88 3.06 2.97 ab 373 362 368 a 5.8 a 5.0 abc 5.4

เฉลีย่ 2.86 3.00 340 356 5.0 4.7

F-Test (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = *

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns (a) x (b) = *

CV (%) (a) 7.14 8.30 5.36

(b) 3.58 5.32 14.59

ตัวเลขทอี่ ย่ใู นช่วงสดมภเ์ ดยี วกันทม่ี อี กั ษรเหมอื นกัน ไม่แตกตา่ งกันในทางสถติ ิท่ีระดบั ความเชื่อม่นั 95%
1/สภาพอาศยั นำ้ ฝน 2/จดั การน้ำตามความต้องการของออ้ ย

ตารางท่ี 6 ผลผลติ และ CCS อ้อยปลกู พันธ์ุขอนแก่น 3 ทมี่ ีการจัดการนำ้ และปยุ๋ แตกต่างกันอายุ 12 เดือน

กรรมวิธี ผลผลิต (ตนั /ไร่) CCS ผลผลติ น้ำตาล (กก./ไร)่

RF IR เฉลี่ย RF IR เฉลีย่ RF IR เฉล่ีย

869

0-0-0 20.00 24.94 22.47 bc 13.56 13.86 13.71 a 2,756 3,486 3,121
Filter cake 18.88 20.23 19.55 c 11.17 13.26 12.22 ab 2,153 2,713 2,433
18-3-12 22.06 24.42 23.24 ab 9.31 12.39 10.85 b 2,050 3,025 2,538
18-3-12+Filter Cake 23.18 26.51 24.84 ab 12.85 10.90 11.87 ab 2,986 2,890 2,938
27-4.5-18+Filter Cake 23.29 29.07 26.18 a 10.71 10.70 10.70 b 2,512 3,077 2,795
เฉลีย่ 21.48 b 25.03 a 11.52 12.22 2,492 3,038
F-Test (a) = * (b) = * (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = ns
(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 6.88 12.88 25.05

(b) 12.80 14.35 22.97

ตัวเลขที่อยู่ในชว่ งสดมภเ์ ดียวกนั ท่มี อี ักษรเหมอื นกัน ไม่แตกต่างกนั ในทางสถิตทิ รี่ ะดับความเชื่อม่ัน 95%

1/สภาพอาศยั นำ้ ฝน 2/จัดการนำ้ ตามความตอ้ งการของออ้ ย

ตารางที่ 7 ความสงู และจำนวนหน่อออ้ ยตอ 1 พนั ธุ์ขอนแกน่ 3 ท่ีมีการจัดการน้ำและปุ๋ยแตกต่างกันอายุ 5 เดอื น

กรรมวธิ ี ความสูง (ซม.) จำนวนหน่อ

RF IR เฉลยี่ RF IR เฉลยี่

0-0-0 39 52 46 c 6.9 6.8 6.9

Filter cake 54 55 54 bc 6.4 6.8 6.6

18-3-12 59 63 61 ab 6.4 7.3 6.8

18-3-12+Filter Cake 58 58 58 ab 8.2 7.6 7.9

27-4.5-18+Filter Cake 60 71 65 a 7.9 6.3 7.1

เฉลีย่ 54 60 7.1 7.0

F-Test (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 12.51 15.81

(b) 13.80 17.45

ตัวเลขทีอ่ ยใู่ นช่วงสดมภ์เดยี วกันทม่ี ีอักษรเหมอื นกัน ไม่แตกตา่ งกันในทางสถิติทรี่ ะดับความเชือ่ ม่นั 95%

1/สภาพอาศัยนำ้ ฝน 2/จัดการนำ้ ตามความต้องการของอ้อย

870

ตารางที่ 8 เสน้ ผ่านศนู ย์กลางลำ ความสงู และจำนวนลำอ้อยอ้อยตอ 1 พันธ์ขุ อนแก่น 3 ท่ีมีการจดั การนำ้ และปุ๋ย

แตกตา่ งกันอายุ 8 เดือน

กรรมวธิ ี เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางลำ (ซม.) ความสูง (ซม.) จำนวนลำ

RF1/ IR2/ เฉลี่ย RF IR เฉล่ยี RF IR เฉลย่ี

0-0-0 2.7 3.0 2.9 139 b 161 bc 150 3.2 3.8 3.5

Filter cake 2.7 2.9 2.8 177 a 158 c 168 3.6 3.5 3.6

18-3-12 2.8 2.9 2.8 167 a 179 ab 173 4.6 4.6 4.6

18-3-12+Filter Cake 2.8 3.0 2.9 171 a 177 ab 174 5.0 4.3 4.6

27-4.5-18+Filter Cake 2.7 2.8 2.8 174 a 186 a 180 4.0 3.6 3.8

เฉลี่ย 2.7 b 2.9 a 166 172 4.1 4.0

F-Test (a) = * (b) = ns (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = * (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 2.11 6.03 20.88

(b) 4.56 6.54 23.18

ตวั เลขทอี่ ยู่ในชว่ งสดมภเ์ ดยี วกนั ทมี่ ีอกั ษรเหมือนกัน ไมแ่ ตกต่างกันในทางสถิติท่ีระดบั ความเช่อื มัน่ 95%

1/สภาพอาศัยน้ำฝน 2/จดั การน้ำตามความตอ้ งการของอ้อย

ตารางที่ 9 เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางลำ ความสูงและจำนวนลำอ้อยอ้อยตอ 1 พนั ธุ์ขอนแก่น 3 ท่ีมีการจดั การนำ้ และปุ๋ย

แตกต่างกันอายุ 12 เดอื น

กรรมวธิ ี เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางลำ (ซม.) ความสูง (ซม.) จำนวนลำ

RF1/ IR2/ เฉลี่ย RF IR เฉลยี่ RF IR เฉลยี่

0-0-0 2.81 2.83 2.82 205 226 216 b 4.6 4.5 4.6

Filter cake 2.71 2.93 2.82 237 233 235 a 4.3 4.4 4.3

18-3-12 2.95 2.94 2.95 227 245 236 a 4.6 5.2 4.9

18-3-12+Filter Cake 2.72 2.92 2.82 238 250 244 a 5.4 5.3 5.3

27-4.5-18+Filter Cake 2.82 2.93 2.87 242 253 248 a 4.6 4.4 4.5

เฉลยี่ 2.80 2.91 230 242 4.7 4.8

F-Test (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 13.75 18.48 18.48

(b) 5.66 4.74 16.66

ตัวเลขทีอ่ ย่ใู นชว่ งสดมภ์เดยี วกันท่ีมีอกั ษรเหมอื นกัน ไม่แตกตา่ งกนั ในทางสถิตทิ ีร่ ะดบั ความเช่ือมั่น 95%

1/สภาพอาศยั นำ้ ฝน 2/จดั การนำ้ ตามความต้องการของออ้ ย

871

ตารางที่ 10 ผลผลิต CCS และผลผลิตน้ำตาลอ้อยตอ 1 พันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ยแตกต่างกัน

อายุ 12 เดอื น

กรรมวธิ ี ผลผลิต (ตนั /ไร)่ CCS ผลผลติ นำ้ ตาล (กก./ไร)่

RF1/ IR2/ เฉลย่ี RF IR เฉล่ีย RF IR เฉลยี่

0-0-0 10.20 14.67 12.43 16.85 17.40 17.13 1,712 2,549 2,130

Filter cake 13.50 14.53 14.02 17.57 18.03 17.80 2,369 2,618 2,494

18-3-12 11.83 16.63 14.23 16.98 17.07 17.02 2,013 2,838 2,425

18-3-12+Filter Cake 12.17 16.90 14.53 18.29 16.81 17.55 2,214 2,839 2,527

27-4.5-18+Filter Cake 12.23 16.97 14.60 17.57 17.42 17.49 2,148 2,936 2,542

เฉลย่ี 11.99 b 15.94 a 17.45 17.34 2,091 2,756

F-Test (a) = * (b) = ns (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 14.50 3.26 11.51

(b) 14.37 4.45 15.47

ตัวเลขที่อยู่ในชว่ งสดมภเ์ ดียวกนั ทีม่ อี ักษรเหมอื นกัน ไม่แตกตา่ งกันในทางสถติ ทิ รี่ ะดับความเชอ่ื มนั่ 95%

1/สภาพอาศัยน้ำฝน 2/จัดการน้ำตามความต้องการของอ้อย

ตารางที่ 11 ความสูงและจำนวนหน่ออ้อยตอ 2 พนั ธข์ุ อนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ยแตกต่างกันอายุ 5 เดอื น

กรรมวธิ ี ความสงู (ซม.) จำนวนหนอ่

RF IR เฉล่ยี RF IR เฉลย่ี

0-0-0 34 43 39 c 6.0 5.7 5.9

Filter cake 48 44 46 bc 5.6 5.5 5.6

18-3-12 52 55 53 ab 5.6 6.4 6.0

18-3-12+Filter Cake 52 51 51 ab 7.3 6.6 7.0

27-4.5-18+Filter Cake 52 60 56 a 6.9 5.3 6.1

เฉลยี่ 48 51 6.3 5.9

F-Test (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 20.89 40.35

(b) 13.89 17.80

ตวั เลขท่ีอยใู่ นช่วงสดมภ์เดยี วกนั ทีม่ อี กั ษรเหมอื นกนั ไมแ่ ตกตา่ งกนั ในทางสถติ ิที่ระดบั ความเชื่อมน่ั 95%

1/สภาพอาศัยนำ้ ฝน 2/จัดการนำ้ ตามความต้องการของออ้ ย

872

ตารางที่ 12 เส้นผา่ นศูนยก์ ลางลำ ความสูงและจำนวนลำอ้อยอ้อยตอ 1 พันธ์ขุ อนแก่น 3 ทม่ี กี ารจัดการน้ำและ

ปยุ๋ แตกต่างกันอายุ 8 เดอื น

กรรมวิธี เสน้ ผ่านศนู ย์กลางลำ (ซม.) ความสงู (ซม.) จำนวนลำ

RF1/ IR2/ เฉล่ีย RF IR เฉล่ีย RF IR เฉลี่ย

0-0-0 2.63 2.79 2.71 95 b 126 b 110 3.6 5.2 4.4

Filter cake 2.77 2.50 2.63 107 ab 137 ab 122 4.5 4.5 4.5

18-3-12 2.48 2.70 2.59 72 c 139 ab 105 4.0 5.2 4.6

18-3-12+Filter Cake 2.79 2.80 2.80 101 b 148 a 124 5.5 5.0 5.2

27-4.5-18+Filter Cake 2.58 2.67 2.63 121 a 144 a 132 4.5 4.4 4.4

เฉลี่ย 2.65 2.69 99 139 4.4 4.9

F-Test (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = * (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 18.81 45.62 32.15

(b) 8.44 7.75 18.59

ตวั เลขทีอ่ ยใู่ นชว่ งสดมภ์เดียวกนั ท่มี อี ักษรเหมือนกนั ไมแ่ ตกตา่ งกันในทางสถติ ทิ ่ีระดบั ความเชื่อมัน่ 95%

1/สภาพอาศยั นำ้ ฝน 2/จดั การนำ้ ตามความตอ้ งการของออ้ ย

ตารางที่ 13 เสน้ ผ่านศูนย์กลางลำ ความสูงและจำนวนลำอ้อยอ้อยตอ 1 พันธุข์ อนแก่น 3 ที่มกี ารจัดการน้ำและ

ปยุ๋ แตกต่างกันอายุ 12 เดือน

กรรมวธิ ี เสน้ ผ่านศนู ย์กลางลำ (ซม.) ความสงู (ซม.) จำนวนลำ

RF1/ IR2/ เฉล่ยี RF IR เฉลย่ี RF IR เฉลี่ย

0-0-0 2.56 2.65 2.61 153 191 172 bc 2.7 c 4.0 a 3.3

Filter cake 2.76 2.61 2.69 172 200 186 a 3.8 ab 3.6 a 3.7

18-3-12 2.80 2.59 2.70 141 199 170 c 3.1 bc 4.0 a 3.5

18-3-12+Filter Cake 3.05 2.68 2.87 165 205 185 ab 4.2 a 4.2 a 4.2

27-4.5-18+Filter Cake 2.65 2.69 2.67 186 201 194 a 3.9 ab 3.7 a 3.8

เฉลยี่ 2.77 2.65 163 199 3.5 3.9

F-Test (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns (a) x (b) = *

CV (%) (a) 18.18 28.72 31.44

(b) 7.51 6.17 13.61

ตัวเลขท่อี ยใู่ นช่วงสดมภ์เดยี วกนั ทม่ี อี กั ษรเหมอื นกนั ไม่แตกตา่ งกนั ในทางสถติ ทิ ่รี ะดบั ความเช่อื ม่นั 95%

1/สภาพอาศัยน้ำฝน 2/จดั การนำ้ ตามความต้องการของอ้อย

873

ตารางที่ 14 ผลผลิต CCS และผลผลิตน้ำตาลอ้อยตอ 1 พันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ยแตกต่างกัน

อายุ 12 เดอื น

กรรมวิธี ผลผลติ (ตัน/ไร)่ CCS ผลผลิตนำ้ ตาล (กก./ไร)่

RF1/ IR2/ เฉลย่ี RF IR เฉลี่ย RF IR เฉลี่ย

0-0-0 5.23 7.77 6.50 c 17.67 17.40 17.54 910 1,342 1,126 b

Filter cake 7.20 8.70 7.95 abc 16.82 18.03 17.43 1,221 1,567 1,394 ab

18-3-12 4.53 8.97 6.75 bc 16.91 17.07 16.99 766 1,549 1,158 b

18-3-12+Filter Cake 6.07 10.67 8.37 ab 18.29 16.81 17.55 1,098 1,771 1,435 ab

27-4.5-18+Filter Cake 7.67 10.97 9.32 a 17.57 17.42 17.49 1,349 1,904 1,627 a

เฉล่ีย 6.14 9.41 17.45 17.34 1,069 1,626

F-Test (a) = ns (b) = * (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 66.24 3.26 63.12 19.13

(b) 19.12 4.35 19.13

ตวั เลขท่ีอยู่ในช่วงสดมภ์เดยี วกันทม่ี ีอกั ษรเหมอื นกัน ไม่แตกต่างกนั ในทางสถติ ิท่รี ะดบั ความเชอ่ื มน่ั 95%

1/สภาพอาศัยน้ำฝน 2/จดั การนำ้ ตามความต้องการของออ้ ย

874

ตารางที่ 15 แสดงการปลดปล่อย CO2 จากพื้นดิน1/ในแปลงอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ย

แตกตา่ งกัน (mg CO2/m2/d) ออ้ ยปลูก 59/60

Water Treatment

management Age 0-0-0 Filter 18-3-12 18-3-12 27-4.5-18 Bare soil

(DAP) cake + Filter Cake + Filter Cake

23 2,947 2,353 2,999 2,534 2,663 2,611

54 4,574 5,039 4,160 4,444 3,824 4,315

82 3,620 2,663 2,430 2,676 2,715 2,676

113 5,455 6,153 5,378 4,886 6,438 5,972

143 9,379 12,636 9,973 9,999 9,068 8,732

Rainfed 175 2,967 3,820 4,440 4,751 4,492 4,828
205 4,214 3,206 4,770 4,899 4,369 4,318

241 8,429 4,292 9,256 6,076 6,283 7,420

267 6,069 4,570 5,837 5,216 6,742 5,733

310 3,768 2,760 4,906 4,777 4,777 3,898

332 2,708 4,130 2,967 3,018 2,605 2,269

372 3,768 2,863 3,768 3,303 2,812 2,967

23 2,689 2,611 2,792 2,947 2,999 3,103

54 4,108 4,987 4,186 4,806 4,031 5,013

82 2,870 3,413 2,637 2,624 2,560 3,141

113 5,378 4,447 5,481 4,835 4,680 4,240

143 8,500 8,732 12,223 10,051 8,551 9,043

Crop requirements 175 3,820 4,285 5,428 4,104 4,673 4,725
205 4,163 3,904 3,361 4,033 4,344 5,662

241 9,928 7,472 5,843 3,852 6,981 8,429

267 5,526 6,793 4,001 6,018 5,759 7,802

310 3,949 5,009 2,708 5,164 5,501 4,958

332 2,838 3,070 2,191 2,605 2,941 3,122

372 3,329 2,967 3,096 2,812 3,329 2,631

1/วดั โดยประยุกต์จากวิธขี อง Anderson (1982)

875

ตารางที่ 16 แสดงการปลดปล่อย CO2 จากพื้นดิน1/ในแปลงอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ย

แตกต่างกนั (mg CO2/m2/d) ออ้ ยตอ 60/61

Water Treatment

management Age 0-0-0 Filter 18-3-12 18-3-12 27-4.5-18 Bare soil

(DAP) cake + Filter Cake + Filter Cake

43 4,266 3,180 3,025 3,749 3,413 2,534

95 8,429 4,292 9,256 6,076 6,283 7,420

131 5,791 6,774 4,059 6,645 5,042 6,696

159 5,055 3,839 4,977 3,865 5,572 3,969

Rainfed 188 3,620 4,007 5,791 8,092 6,153 5,016
217 2,676 3,477 4,227 4,227 4,977 5,804

257 3,811 4,354 3,733 4,457 3,578 4,690

288 4,615 3,684 3,012 4,072 4,253 3,943

316 3,154 1,836 2,094 1,836 2,198 2,353

334 4,466 2,812 2,838 2,605 3,406 2,967

43 2,689 2,870 2,663 3,671 3,128 4,007

95 9,928 7,472 5,843 3,852 6,981 8,429

131 4,757 4,757 4,318 6,748 5,404 6,231

159 5,339 2,960 4,667 4,693 4,279 6,011

Crop requirements 188 3,723 3,904 4,007 7,136 4,861 7,110
217 2,702 4,667 2,934 4,305 5,339 6,425

257 4,018 3,397 3,242 4,819 4,147 4,354

288 4,486 3,762 3,064 4,331 4,822 3,762

316 3,413 1,706 1,525 2,379 1,939 2,430

334 3,096 2,967 2,915 2,605 2,889 3,148

1/วัดโดยประยกุ ตจ์ ากวิธีของ Anderson (1982)

876

ตารางที่ 17 แสดงการปลดปล่อย CO2 จากพื้นดิน1/ในแปลงอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการจัดการน้ำและปุ๋ย

แตกต่างกนั (mg CO2/m2/d) อ้อยตอ 61/62

Water Treatment

management Age 0-0-0 Filter 18-3-12 18-3-12 27-4.5-18 Bare soil

(DAP) cake + Filter Cake + Filter Cake

9 4,466 2,812 2,838 2,605 3,406 2,967

74 4,253 2,934 3,348 3,658 3,529 3,426

103 6,308 2,068 3,464 2,818 2,404 2,766

135 4,731 4,188 4,721 3,904 4,240 4,783

Rainfed 194 4,602 3,956 5,921 4,550 5,300 4,292

229 4,641 4,744 4,589 5,080 5,236 5,520

256 6,399 3,219 3,245 3,762 3,865 3,788

284 4,602 3,206 5,016 3,904 4,473 4,602

324 4,525 4,188 4,447 4,550 4,628 4,059

9 3,096 2,967 2,915 2,605 2,889 3,148

74 3,710 3,141 3,400 3,529 3,503 3,607

103 6,851 3,103 5,042 6,308 6,360 7,368

135 3,671 3,801 4,163 4,085 3,180 4,214

Crop requirements 194 4,499 4,835 4,033 4,188 3,697 4,421

229 4,848 4,925 4,382 5,804 5,184 6,916

256 4,744 3,943 3,969 3,555 3,607 3,452

284 3,697 4,137 3,951 4,421 3,801 4,111

324 3,982 4,938 4,240 4,447 4,137 4,473

1/วัดโดยประยุกต์จากวธิ ีของ Anderson (1982)

877

ตารางที่ 18 ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน (ร้อยละ) ในลำ ใบสดและใบแห้งของอ้อยปลูกพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการ

จัดการน้ำและปยุ๋ แตกต่างกัน

กรรมวธิ ี ปริมาณอินทรีย์คารบ์ อน (ร้อยละ)

ลำ ใบสด ใบแห้ง

RF1/ IR2/ เฉล่ยี RF IR เฉลย่ี RF IR เฉลย่ี

0-0-0 51.7 51.7 51.7 52.3 51.3 51.8 42.0 42.7 42.3

Filter cake 57.7 50.0 53.8 53.3 45.7 49.5 35.0 43.0 39.0

18-3-12 57.7 55.7 56.7 51.7 53.0 52.3 47.7 42.7 45.2

18-3-12+Filter Cake 53.0 50.7 51.8 49.3 49.3 49.3 39.7 40.3 40.0

27-4.5-18+Filter Cake 51.3 49.0 50.2 50.7 46.0 48.3 44.0 41.0 42.5

เฉล่ีย 54.3 51.4 51.5 49.1 41.7 41.9

F-Test (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = ns (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 21.05 15.32 19.47

(b) 7.98 13.03 10.93

ตวั เลขท่ีอยู่ในช่วงสดมภเ์ ดยี วกันทม่ี ีอกั ษรเหมอื นกัน ไม่แตกต่างกนั ในทางสถติ ิท่ีระดับความเชอ่ื มัน่ 95%

1/สภาพอาศยั นำ้ ฝน 2/จดั การน้ำตามความต้องการของอ้อย

ตารางที่ 19 ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน กก. C/ไร่ ในลำ ใบสดและใบแห้งของอ้อยปลูกพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการ

จดั การน้ำและปยุ๋ แตกต่างกัน

กรรมวธิ ี ปรมิ าณอินทรยี ค์ ารบ์ อน (กก. C/ไร)่

ลำ ใบสด ใบแหง้

RF1/ IR2/ เฉลย่ี RF IR เฉลีย่ RF IR เฉลยี่

0-0-0 3,498 4,357 3,927 139 102 121 136 185 161

Filter cake 3,713 3,473 3,593 96 94 95 81 137 109

18-3-12 4,294 4,672 4,483 124 145 134 156 180 168

18-3-12+Filter Cake 4,113 4,086 4,100 131 102 117 101 125 113

27-4.5-18+Filter Cake 4,143 4,764 4,453 117 129 123 119 169 144

เฉลยี่ 3,952 4,270 121 114 119 159

878

ตารางที่ 20 ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน (ร้อยละ) ในลำ ใบสดและใบแห้งของอ้อยตอ 1 พันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีการ

จัดการนำ้ และปุ๋ยแตกตา่ งกัน

กรรมวิธี ปริมาณอนิ ทรยี ค์ ารบ์ อน (ร้อยละ)

ลำ ใบสด ใบแหง้

RF1/ IR2/ เฉลีย่ RF IR เฉล่ยี RF IR เฉล่ีย

0-0-0 53.3 50.0 51.7 54 ab 53.3 ab 53.7 51.3 53.0 52.2

Filter cake 54.7 54.3 54.5 53 b 50 bc 51.5 54.3 54.0 54.2

18-3-12 51.7 51.7 51.7 54 ab 53 abc 53.5 51.0 52.0 51.5

18-3-12+Filter Cake 53.7 54.0 53.8 57.3 a 49 c 53.2 50.0 50.7 50.3

27-4.5-18+Filter Cake 51.3 51.0 51.2 53.3 ab 54.7 a 54.0 50.3 54.0 52.2

เฉลีย่ 52.9 52.2 54.3 52.0 51.4 52.7

F-Test (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = ns (a) = ns (b) = ns

(a) x (b) = ns (a) x (b) = * (a) x (b) = ns

CV (%) (a) 5.32 5.36 11.37

(b) 4.64 4.51 7.29

ตวั เลขที่อยใู่ นชว่ งสดมภ์เดยี วกันทมี่ ีอักษรเหมอื นกัน ไม่แตกตา่ งกันในทางสถติ ิท่รี ะดบั ความเชอ่ื มนั่ 95%

1/สภาพอาศยั นำ้ ฝน 2/จัดการนำ้ ตามความต้องการของอ้อย

ตารางที่ 21 ปริมาณอินทรยี ์คารบ์ อน กก. C/ไร่ ในลำ ใบสดและใบแห้งของอ้อยตอ 1 พันธุ์ขอนแกน่ 3 ที่มีการ

จดั การน้ำและปยุ๋ แตกตา่ งกัน

กรรมวธิ ี ปรมิ าณอนิ ทรยี ์คาร์บอน (กก. C/ไร่)

ลำ ใบสด ใบแหง้

RF1/ IR2/ เฉลย่ี RF IR เฉลี่ย RF IR เฉล่ยี

0-0-0 1,812 2,536 2,174 69 98 84 92 115 104

Filter cake 2,627 2,797 2,712 83 110 97 150 177 163

18-3-12 2,136 3,097 2,617 79 117 98 132 163 148

18-3-12+Filter Cake 2,244 3,152 2,698 103 135 119 119 127 123

27-4.5-18+Filter Cake 2,134 2,992 2,563 66 110 88 119 167 143

เฉลยี่ 2,191 2,915 80 114 122 150


Click to View FlipBook Version