The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by appleati, 2021-12-27 04:16:11

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

972

ภาพที่ 11 ผลการทดลองเพิม่ ปรมิ าณดีเอ็นเอขนุนทส่ี กดั ด้วยวธิ ี CTAB ด้วยปฏิกิยาพซี ีอาร์
การปรับเปลี่ยนวิธกี ารสกดั ดเี อ็นเอใหมโ่ ดยเพิ่มสารประกอบยเู รยี (7M NH4 NO3) ลงในบัฟเฟอรใ์ น

การสกัด พบว่าทำให้ไดด้ เี อนเอที่บริสทุ ธิม์ ากยิ่งข้ึน สามารถนำไปใช้ในการคดั เลอื กเคร่อื งหมายโมเลกุลต่อไปได้
การทดสอบคุณภาพและความเข้มข้นของดเี อ็นเอในการทำปฏกิ ิริยา PCR : การทดลองนำดีเอ็นเอ

ที่ได้จากการสกัดด้วยการเพิ่มสารยูเรียในขบวนการสกัด พบว่าได้ดีเอ็นเอขนุนที่มีความบริสุทธิ์ สามารถ
นำไปใชใ้ นการทำปฏิกริ ยิ า PCR ได้ ได้ผลผลิต PCR เปน็ แถบดเี อน็ อทีช่ ัดเจนขนึ้ (ภาพท่ี 12)

ภาพท่ี 12 การทดสอบคุณภาพแของดเี อ็นเอขนุน หมายเลข 6-17 ในการเพ่ิมปริมาณดีเอน็ เอด้วยไพรเ์ มอร์
ISSR 57 ด้วยวิธี TouchDown PCR
การตรวจลายพมิ พ์ดีเอ็นเอดว้ ยวิธี ISSR TouchDown PCR : ได้ดำเนนิ การตรวจลายพิมพดื เี อ็น

เอของขนุนจำนวนแลว้ จำนวน 17 หมายเลข โดยใชพ้ ร์เมอรท์ ่คี ดั เลอื กไว้ 20 ไพร์เมอร์ ทำการตรวจขนาดของ
แถบดเี อน็ เอท่ไี ด้ด้วยเครอื่ งแยกขนาดดเี อ็นเออตั โนมัติ (ภาพท่ี 13) ขณะนีอ้ ย่รู ะหว่างการวเิ คราะหผ์ ลของ
ขนาดดเี อน็ เอที่ได้ เพือ่ บนั ทึกเปน็ ลายพมิ พด์ เี อ็นเอ และวเิ คราะหข์ ้อมูลด้วยสถิติในข้ันต่อไป

973

ภาพท่ี 13 ตวั อย่างการวเิ คราะหข์ นาดชนิ้ ส่วนดีเอ็นเอที่ไดจ้ ากการตรวจวเิ คราะหด์ ว้ ยวธิ ี ISSR TouchDown
PCR ขนนุ 17 หมายเลข ดว้ ยไพรเมอร์ ISSR 56, 57 และ 58

6. การตรวจวเิ คราะหล์ ักษณะประจำพนั ธใุ์ นระดับดเี อน็ เอของแตงกวาและแตงรา้ น :

ได้รับตวั อย่างแตงกวาจำนวน 22 หมายเลขในไตรมาส 2-2563 ดงั นี้

1. CL 583 Premium บ.กรนี ซีสสกลนคร 2.C675 อะเมซอน บ.กรนี ซีสสกลนคร

3. C694 Yuri บ.กรนี ซสี สกลนคร 4. C588 คงกระพนั 1 บ.กรนี ซสี สกลนคร

5. CM712 ก้องนภา บ.กรีนซสี สกลนคร 6.C662 Pretty บ.กรนี ซีสสกลนคร

7. C664 มาวนิ บ.กรนี ซีสสกลนคร 8. C697 Platinum บ.กรีนซีสสกลนคร

9. C665 กรนี เนอร์ บ.กรนี ซสี สกลนคร 10. ล้านนา 6 (435)

11. ล้านนา 5 (442) 12. ลา้ นนา 2 (446)

13. ล้านนา 13 (433) 14. ล้านนา 12 (401)

15. ล้านนา 9 (402) 16. ล้านนา 11 (443)

17. ลา้ นนา 4 (448) 18. ล้านนา 10 (434)

19. ล้านนา 1 (457) 20. ลา้ นนา 8 (301)

21. ล้านนา 3 (445) 22. ล้านนา 7 (444)

การสกดั ดเี อ็นเอและคดั เลือกเคร่อื งหมายโมเลกุล : ทำการสกดั ดเี อน็ เอแตงกวาได้ทัง้ 22 หมายเลข
จากผลการทดลองการคัดเลือกไพรเมอร์ที่เหมาะสมในการนำมาจำแนกสายพันธุ์ ด้วยใช้วิธี ISSR-
Touchdown PCR โดยใชไ้ พรเ์ มอร์ ISSR จำนวน 95 ไพรเ์ มอร์ พบวา่ สามารถคัดเลือกไพรเ์ มอร์ที่เพ่ิมปริมาณ
ดีเอ็นเอแตงกวาได้อย่างชัดเจนจำนวน 31 ไพร์เมอร์ สำหรับนำไปใช้ในการตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อการ
จำแนกสายพันธ์ุ

974
การทดสอบคุณภาพและความเขม้ ข้นของดเี อ็นเอในการทำปฏิกริ ิยา PCR : การทดสอบโดยการ

นำดีเอ็นเอแตงกวาที่ได้ทั้ง 22 ตัวอย่าง ไปละลายที่ความเข้มข้น 1/50 1/100 1/200 1/400 1/800 ในน้ำ
กลั่นและนำไปเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วย Touchdown PCR โดยใช้ไพรเมอร์ ISSR 11 เพื่อหาความเข้มข้นที่
เหมาะสมในการทำ PCR พบวา่ ดเี อ็นเอของแตงกวาหมายเลข 10, 17, 19 และ 20 มีปัญหาการเกิดปฏกิ ิริยาท่ี
ไม่สมบูรณ์ โดยพบว่าผลผลิต PCR ที่ได้มีความแปรปรวนในแต่ละความเข้มข้น การเจือจางดีเอ็นเอใหม่เป็น
1/50 1/100 1/200 1/400 1/800 1/1000 ทำใหไ้ ดผ้ ลผลิต PCR เป็นแถบดีเอ็นเอทีช่ ัดเจนในทกุ การเจือจาง
ทท่ี ดสอบ (ภาพที่ 14)

ภาพที่ 14 การทดสอบคุณภาพและความเข้มข้นของดเี อ็นเอแตงกวา หมายเลข 10, 17, 19, 18 และ 20 ใน
การเพ่ิมปริมาณดีเอ็นเอด้วยไพร์เมอร์ ISSR 11 ในการทำปฏิกริ ยิ าชนิด TouchDown PCR ทำ
การเจอื จางดีเอ็นเอที่ 1/50, 1/100, 1/200, 1/400, 1/800 และ 1/1,000 ดว้ ยน้ำกลนั่ ภาพบน :
การเกิดปฏกิ ิริยา PCR ทไ่ี ม่สมบูรณ์ในหมายเลข 10, 17, 18, 19 และ 20 เจอื จางท่ี 1/50 ถึง
1/800 ภาพลา่ ง : การทดสอบซ้ำด้วยการเจอื จาง 1/50 ถึง 1/1000
การตรวจลายพิมพ์ดเี อ็นเอด้วยวิธี ISSR TouchDown PCR : ได้นำดีเอน็ เอของแตงกวาท้ัง 22

หมายเลข ท่ไี ด้ความความเขม้ ข้นดเี อ็นเอท่ีเหมาะสม มาทำการตรวจลายพมิ พด์ ีเอ็นเอดว้ ยไพร์เมอรท์ ี่คัดเลือก
ไว้แล้ว 20 ไพรเมอร์ ไดท้ ำการตรวจขนาดของแถบดเี อน็ เอทไี่ ด้ดว้ ยเครอื่ งแยกขนาดดีเอน็ เออัตโนมัติ (ภาพท่ี
15) ครบทุกตวั อย่างแลว้ ขณะน้ีอยู่ระหวา่ งการวิเคราะห์ผลของขนาดดีเอ็นเอที่ได้ เพื่อบนั ทึกเป็นลายพมิ พ์ดี
เอน็ เอ และวเิ คราะหข์ อ้ มลู ด้วยสถติ ิในขน้ั ตอ่ ไป

975

ภาพท่ี 15 ตวั อย่างการวเิ คราะหข์ นาดชนิ้ ส่วนดีเอ็นเอทีไ่ ด้จากการตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี ISSR TouchDown
PCR แตงกวา 22 สายพนั ธ์ุ สายพันธลุ์ ะ 2 ซ้ำ ดว้ ยไพรเมอร์ ISSR 35 และ ISSR 36

7. การตรวจวเิ คราะหล์ ักษณะประจำพันธใุ์ นระดบั ดีเอน็ เอของไม้ดอกสกุลขม้นิ : ได้รบั ตัวอย่างพืช

จำนวน 20 หมายเลข ในลักษณะใบแหง้ พร้อมรายละเอียดแหล่งทีเ่ กบ็ ตัวอย่าง ดังรายการตอ่ ไปน้ี

ลำ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ชอื่ ไทย แหลง่ ทีเ่ กบ็ หมายเลขผ้เู กบ็
ดบั กระเจยี วสม้ อทุ ยานแห่งชาติน้ำตกพาเจริญ อ.พบพระ จ.ตาก
P.Prom 840
1 Curcuma roscoeana
Wichai 02
Wall.
P.Prom 856
2 Curcuma roscoeana กระเจยี วส้ม อ.ปางมะผา้ จ.แมฮ่ อ่ งสอน
P. Prom-Royal Thai
Wall. Great Reign 02
P. Prom-Royal Thai
3 Curcuma harmadii ชอ่ มรกต อทุ ยานแหง่ ชาตินำ้ ตกสามหลั่น อ.เมอื งสระบรุ ี สระบรุ ี Great Reign 02
P. Prom-Great King 01
Gagnep
P. Prom-Great King 02
4 Curcuma "Royal Thai รอยัลไทย เกรท โครงการศนู ย์บรกิ ารพฒั นาขยายพนั ธุ์ไม้ดอกไม้บานไรอ่ ันเนอ่ื งจาก
เรน พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชยี งใหม่ P. Prom-Beauty
Great Reign" รอยลั ไทย เกรท โครงการศนู ย์บริการพฒั นาขยายพันธุไ์ ม้ดอกไมบ้ านไร่อนั เนื่องจาก Princess 01
เรน พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชียงใหม่ P. Prom-Beauty
5 Curcuma "Royal Thai เกรทคงิ โครงการศนู ยบ์ รกิ ารพัฒนาขยายพันธไ์ุ ม้ดอกไม้บานไร่อันเนื่องจาก Princess 02
พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชยี งใหม่ P. Prom-Royal Thai
Great Reign" เกรทคงิ โครงการศูนยบ์ รกิ ารพัฒนาขยายพนั ธ์ไุ ม้ดอกไม้บานไร่อนั เน่อื งจาก Thai Garnet 01
พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชียงใหม่ P. Prom-Royal Thai
6 Curcuma "Great King" บวิ ตี้ พรนิ้ เซส็ โครงการศูนย์บรกิ ารพัฒนาขยายพนั ธุ์ไมด้ อกไมบ้ านไร่อันเน่ืองจาก Thai Garnet 02
พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชยี งใหม่ P. Prom-Pimjai 01
7 Curcuma "Great King" บิวต้ี พรน้ิ เซส็ โครงการศูนย์บรกิ ารพัฒนาขยายพนั ธุ์ไมด้ อกไมบ้ านไรอ่ นั เนื่องจาก
พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชยี งใหม่ P. Prom-Pimjai 02
8 Curcuma "Beauty รอยัลไทย ไทย โครงการศนู ย์บรกิ ารพฒั นาขยายพันธุไ์ มด้ อกไมบ้ านไร่อนั เนอ่ื งจาก
Princess" การ์เนท พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชยี งใหม่ P. Prom-Royal Thai
รอยลั ไทย ไทย โครงการศนู ยบ์ รกิ ารพฒั นาขยายพนั ธุ์ไม้ดอกไมบ้ านไรอ่ ันเนื่องจาก Golden Reign
9 Curcuma "Beauty การ์เนท พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชียงใหม่
Princess" พมิ พใ์ จ โครงการศูนย์บรกิ ารพฒั นาขยายพันธไ์ุ มด้ อกไมบ้ านไรอ่ ันเนอื่ งจาก
พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชยี งใหม่
10 Curcuma "Royal Thai พิมพใ์ จ โครงการศูนยบ์ ริการพฒั นาขยายพันธไ์ุ ม้ดอกไม้บานไร่อนั เนอ่ื งจาก
Thai Garnet" พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชียงใหม่
รอยัล ไทย โกล โครงการศูนย์บริการพฒั นาขยายพนั ธไ์ุ มด้ อกไม้บานไร่อนั เนอื่ งจาก
11 Curcuma "Royal Thai เดน็ เรน พระราชดำริ อ.หางดง จ.เชียงใหม่
Thai Garnet"

12 Curcuma "Pimjai"

13 Curcuma "Pimjai"

14 Curcuma "Royal Thai
Golden Reign"

976

ลำ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชอื่ ไทย แหล่งท่เี ก็บ หมายเลขผู้เกบ็
ดบั
ศนู ย์วิจัยพืชสวนเชียงราย อ.เมืองเชยี งราย จ.เชยี งราย P. Prom-Chiang Rai1
15 Curcuma "Chiang Rai1" เชียงราย 1 ศูนย์วิจยั พชื สวนเชยี งราย อ.เมอื งเชียงราย จ.เชยี งราย P. Prom-Chiang Rai2
ศนู ยว์ ิจัยพืชสวนเชยี งราย อ.เมอื งเชยี งราย จ.เชียงราย P. Prom-Chiang Rai3
16 Curcuma "Chiang Rai2" เชยี งราย 2 อทุ ยานแห่งชาตนิ ำ้ ตกสามหลน่ั อ.เมืองสระบรุ ี สระบรุ ี P. Prommanus 855

17 Curcuma "Chiang Rai3" เชียงราย 3 ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการเกษตรเพรชบูรณ์ อ.เขาค้อ จ.เพรชบูรณ์ P. Prommanus 858
แปลงรวบรวมไม้ดอก มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กทม. P. Prom-Red Shadow 01
18 Curcuma samlanesis กระเจียวสาม
หลั่น

19 Curcuma myanmarensis บวั เข็ม

20 Curcuma "Redshadow" เรดชาโด้

การสกัดดเี อน็ เอและคัดเลอื กเครอ่ื งหมายโมเลกุล : ทำการสกดั ดีเอ็นเอตัวอยา่ งพชื แลว้ ทัง้ 20
หมายเลข

การทดสอบคุณภาพและความเข้มข้นของดีเอ็นเอในการทำปฏิกิริยา PCR : นำดีเอ็นเอของทุก
ตัวอย่างมาทำการทดสอบความเข้มข้นที่เหมาะสมในการเพิ่มปริมาณดีเอน็ เอท่ีโดยการเจือจางดีเอ็นเอเปน็ 6
ความเข้มข้น คือ 1/50 1/100 1/200 1/400 1/800 และ 1/1,000 จากนั้นนำไปทดสอบการเพิ่มปริมาณดี
เอ็นเอด้วยปฏกิ ิริยา PCR โดยใช้ไพรเมอร์ ISSR 58 เพื่อหาความเขม้ ขน้ ที่เหมาะสมของแต่ละตัวอย่างสำหรับ
นำไปใช้ตรวจสอบกับอีก 20 ไพรเมอรท์ ี่คดั เลือกไว้ ผลการทดสอบพบว่าดีเอ็นเอมีปัญหาการปนเปื้อน ทำให้
การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอไม่สมบูรณ์ มีเพียงหมายเลขที่ 4 เท่านั้นที่ดีเอ็นเมีคุณภาพ สามารถนำใช้การเพิ่ม
ปรมิ าณดีเอ็นเอน็ เอได้ (ภาพที่ 16)

ภาพท่ี 16 การทดสอบคณุ ภาพและความเข้มข้นของดีเอน็ เอปทุมมาทเ่ี หมาะสมในการเพิ่มปริมาณดีเอน็ เอดว้ ย
ปฏิกริ ิยา PCR โดยใชไ้ พรเ์ มอร์ ISSR 58 ในการทำปฏิกิรยิ าชนดิ TouchDown PCR กับดีเอ็นเอ
ปทุมมา 20 หมายเลข ทำการเจือจางดเี อน็ เอที่ 1/50, 1/100, 1/200, 1/400, 1/800 และ
1/1,000 ด้วยนำ้ กลั่น

977

จากผลนี้แสดงให้เห็นวา่ ไมส่ ามารถนำดีเอ็นเอทีไ่ ดไ้ ปใช้ในการตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอได้ ไดส้ กดั ดีเอ็น
เอใหมด่ ้วยวธิ ีการท่มี ีสารยูเรียเปน็ สว่ นประกอบ และเพิ่มสาร CTAB ในขบวนการลา้ งดีเอ็นเอ ทำใหไ้ ด้ดีเอ็นเอ
ทม่ี คี ณุ ภาพดขี ึ้น นำมาตรวจคุณภาพของดเี อน็ เอโดยการทดสอบการเพิ่มปรมิ าณดเี อน็ เอด้วยไพร์เมอร์ 1 ชนิด
ดว้ ยดีเอ็นเอปทุมมาหมายเลข 1-20 ท่ีความเขม้ ขน้ 6 ระดับ พบวา่ ให้ผลแถบดีเอน็ เอทีช่ ัดเจน

การตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอด้วยวิธี ISSR TouchDown PCR : ขณะนี้ได้ทำการตรวจลายพิมพ์ดี
เอ็นเอทั้ง 20 หมายเลข ด้วยไพร์เมอร์ที่คัดเลือกแล้วเป็นจำนวน 6 คู่ จากการใช้ดีเอ็นเอเจือจางทีท่ ดสอบไว้
ของแตล่ ะหมายเลข และอยรู่ ะหว่างดำเนินการตรวจดว้ ยไพรเ์ มอรอ์ กี 14 ไพรเ์ มอร์

สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
โครงการวจิ ัยน้ีมีการทดลองท้งั สน้ิ 7 การทดลอง ดำเนินการในพืช 7 กลมุ่ 9 ชนิดพชื ได้แก่ (1) อ้อย
(2) ถั่วเหลือง (3) ฝ้าย (4) มะม่วงและมะปราง (5) ลิ้นจี่และขนุน (6) แตงกวาและแตงร้าน และ (7) ไม้ดอก
สกุลขมิ้น การดำเนินงานในส่วนการตรวจวิเคราะห์ลักษณะประจำพันธุ์ในระดับดีเอ็นเอ ที่ดำเนินการท่ี
ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น กลุ่มตัวอย่างพืชที่ดำเนินการตรวจลายพมิ พ์ดีเอ็นเอเสร็จสิ้นแล้ว ได้แก่ อ้อยจำนวน
19 พันธุ์ ถั่วเหลืองจำนวน 27 หมายเลข มะปรางจำนวน 7 หมายเลข ขนุนจำนวน 17 หมายเลข แตงกวา
จำนวน 22 หมายเลข อย่รู ะหว่างการวเิ คราะห์ผล ส่วนปทุมมา จำนวน 20 หมายเลข ตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
ไปแล้ว 6 ไพร์เมอร์ เหลืออีก 14 ไพร์เมอร์ ฝ้าย 28 หมายเลข การสกัดดีเอ็นเอพบว่ามีปัญหาการปนเปื้อน
สารประกอบฟีนอลิกสูง และอยู่ระหว่างการปรบั วิธีการสกัดให้ได้ดเี อ็นเอที่มีความบริสุทธิ์มากยิ่งขึ้น มะม่วง
113 หมายเลข ดำเนินการไปตรวจลายพมิ พ์ดีเอ็นเอแลว้ จำนวน 47 หมายเลข อยู่ระหว่างการตรวจลายพิมพ์ดี
เอ็นเอในอกี 66 หมายเลขทีเ่ หลือ ลิ้นจ่ี 79 หมายเลข ตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอแลว้ 6 หมายเลขและอยู่ระหว่าง
การสกัดดเี อน็ เอดีเอน็ เอในตัวอย่างอีก 73 หมายเลข พืชบางชนิดมีปัญหาสารปนเป้ือนในใบ โดยเฉพาะอยา่ ง
ยิ่งยางและสารประกอบฟีนอลิก เป็นกลุ่มที่ยับยั้งปฏิกิริยา PCR การสกัดดีเอ็นเอให้บริสุทธิ์จึงเป็นขัน้ ตอนท่ี
สำคัญที่สุดในการตรวจลายพิมพืดีเอ็นเอ ตามด้วยความเข้มข้นดีเอ็นเอที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยา PCR
ดังนนั้ ต้องทำการทดสอบหาสภาวะทเี่ กิดผลผลิต PCR ที่ไม่มีความแปรปรวน

เอกสารอา้ งองิ

ศจุ ริ ัตน์ สงวนรงั ศิริกลุ วรี เดช โขนสนั เทยี ะ รัชนี ขันธหัตถ์ เพียงเพ็ญ ศรวัต ประพิศ วองเทยี ม ศภุ ชยั สารกาญจน์ อจั ฉรา
ล่ิมศลิ า. 2553. ฐานข้อมูลลายพมิ พ์ดเี อ็นเอของมนั สำปะหลงั พนั ธุ์ไทย พันธุ์ลูกผสม และพันธ์ุตา่ งประเทศ.
ผลงานวิจัยดเี ดน่ และผลงานวจิ ยั ทเ่ี สนอเขา้ ร่วมพจิ ารณาเปน็ ผลงานวจิ ยั ดีเด่น ประจำปี 2552. กรมวิชาการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ หน้า 16-30.

Rohlf, F.J. 2002. NTSYS-pc. Numerical Taxonomy and Multivariate Analysis System, Version-2.1. New York:
Applied Biostatistics.

978

โครงการขับเคลื่อนผลงานวจิ ัยส่กู ารใชป้ ระโยชน์

979

โครงการพฒั นาเกษตรอจั ฉรยิ ะ: อ้อยโรงงาน กรมวชิ าการเกษตร

ชยันต์ ภักดีไทย1* กาญจนา กิระศักด์ิ88 ภาคภูมิ ถิ่นคำ82 มทั นา วานิชย์82 ทนุธรรม บญุ ฉิม82
และเนติรัฐ ชมุ สวุ รรณ88

1. ช่อื แปลงเรียนรู้......แปลงเรียนรูเ้ กษตรอจั ฉรยิ ะอ้อยโรงงาน ... พื้นทแ่ี ปลงเรียนรู้......100... (ไร)่
ท่ตี ง้ั แปลง...... 111 ต หนอง ระ เวียง พิมาย, ตำบล รังกาใหญ่ อำเภอ พมิ าย นครราชสมี า 30110....
พกิ ัด X…15.130726... Y…102.394270…

2. ผู้รับผิดชอบแปลงเรยี นรู้
ชอ่ื .....นายชยนั ต์ ภักดไี ทย... ตำแหน่ง......นกั วชิ าการเกษตรชำนาญการ.......
หน่วยงาน……ศนู ยว์ จิ ัยพชื ไรข่ อนแกน่ สถาบนั วจิ ัยพชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน…………

3.การจดั กิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรเู้ ทคโนโลยเี กษตรอจั ฉริยะ

3.1 แผน...50....ราย - ผล............50.......ราย

3.2 ระยะเวลาท่ดี ำเนนิ งาน ตุลาคม 2562-กันยายน 2563

3.3 ชื่อหัวข้อจัดอบรม - การจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศโดยใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ (Open

source software) โดยใชร้ ูปแบบการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารพร้อมเอกสารประกอบการฝกึ อบรม

4. การจดั ทำแปลงเรยี นรู้เทคโนโลยีเกษตรอจั ฉริยะ

แผนจัดทำแปลงเรียนรู้ ...100.. ไร่/โรงเรือน ผลการจัดทำแปลงเรียนรู้ ..100... ไร่/โรงเรือน

กิจกรรมที่ดำเนินงาน ผลการดำเนนิ งาน

สำรวจแปลงอ้อยโรงงานปี 61/62 การบินสำรวจแปลงออ้ ยโรงงาน ถ่ายภาพถ่ายทางอากาศ โดยใช้

โดยใช้ UAV ถ่ายภาพดว้ ยกล้อง RGB UAV ถ่ายด้วยกล้อง RGB (ภาพสีจริง)

ก่อนการเกบ็ เกีย่ ว ภาพถ่ายทางอากาศ วนั ที่ 20 กุมภาพนั ธ์ 2563

1ศนู ย์วิจยั พืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจยั พชื ไร่และพืชทดแทนพลงั งาน กรมวิชาการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

980

แผนทคี่ วามสงู ของอ้อยโรงงาน วันท่ี 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2563

จดั ทำแผนทส่ี ุขภาพพชื (Plant การประเมินความสมบรู ณ์ของออ้ ยได้จากภาพถ่ายจากอากาศยาน
Health Map)
ไรค้ นขับ โดยใช้อุปกรณต์ รวจวดั แบบมาตรฐาน (RGB Sensor) ตรวจวัด

สุขภาพพชื โดยประมวลผลภาพถ่ายทางอากาศโดย โดยใช้ Green-Red

Vegetation Index (GRVI) ตามสตู ร GRVI = (Green – Red) / (Green +

Red) ใช้โปรแกรม Quantum GIS หรอื QGIS ซง่ึ เป็นโปรแกรม Desktop

GIS ประเภทหน่ึงทมี่ ปี ระสิทธิภาพในการนำมาใช้จดั การขอ้ มูลปริภมู จิ ัดอยู่

ในกลมุ่ ซอฟตแ์ วร์รหสั เปิด (Free and Open Source Software: FOSS)

คำนวณได้ภาพในลักษณะของ Single Band ค่าทไี่ ด้มาสรา้ งความสมั พนั ธ์

ระหว่างคา่ SCMR และ Total N ได้สมการ (1)

Y (%N Concentration) = 0.0279x(SCMR) + โดย R² = 0.57* ------------>
1.4833 (1)

981

การประมาณคา่ ความสมบรู ณ์ของออ้ ยไดจ้ ากภาพถ่ายจากอากาศ

ยานไรค้ นขบั โดยใช้ GRVI ใช้โปรแกรม Quantum GIS หรอื QGIS ซงึ่ เป็น

โปรแกรม Desktop GIS ประเภทหน่ึงท่ีมีประสิทธภิ าพในการนำมาใชจ้ ดั การ

ข้อมลู ปริภูมิจัดอยู่ในกลมุ่ ซอฟตแ์ วรร์ หัสเปดิ (Free and Open Source

Software: FOSS) คำนวณไดภ้ าพในลกั ษณะของ Single Band นำมาสร้าง

ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง GRVI และ คา่ SCMR ไดส้ มการ (2)

Y (SCMR) = 124.32x(GRVI) - 42.818 โดย R²= 0.68* ------------>
(2)

จากสมการ 1 และ 2 ทำให้สามารถสรา้ งสมการความสมั พนั ธ์ท่ีใช้

ทำนายค่า N Concentration GRVI โดยใชส้ มการ (3)

Y (%N Concentration) = 4.3351x(GRVI) - โดย R²= 0.61* ------------>
0.2158 (3)

คำแนะนำปริมาณไนโตรเจนที่เหมาะสมในอ้อยอยู่ในช่วง 2.00-

2.60% และอยู่ในระดบั วิกฤติเมือ่ ต่ำกวา่ 1.8% (Kaler et al., 2016) จาก

สมการท่ไี ดจ้ ะพบวา่ ในอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 หลงั จากใส่ปยุ๋ ตามค่าวิเคราะห์

ดิน ระดับของ ค่า GRVI ที่คำนวณได้จากอากาศยานไร้คนขับควรมากกว่า

0.465 ซี่งสามารถใช้ประมาณค่าความอดุ มสมบูรณ์ของอ้อยในแปลงขนาด

ใหญ่ได้ ความเขม้ ของสใี บมคี วามสัมพันธ์กบั พันธ์อุ ้อยที่ใช้ เนื่องจากอ้อยแต่

ละพนั ธ์มุ ปี ระสทิ ธิภาพการดูดใช้ไนโตรเจนที่แตกต่างกนั

ใสป่ ุ๋ยอ้อยตอ 1 ตามกรรมวธิ ี แบง่
พน้ื ทีเ่ ป็นตารางกริดขนาด 112 x 112
เมตรตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์
ดนิ ใชป้ ุย๋ อตั รา 15-9-6 และ 6-9-6
N-P2O5-K2O

982
5. ตารางแสดงกล่มุ เปา้ หมาย พิกัดแปลง ผลผลิต คณุ ภาพ ตน้ ทนุ การผลิต ที่ไดจ้ าก

ลำดับ ชอ่ื -สกลุ เลขที่บตั ร ท่อี ยู่ เบอร์ พกิ ดั แปลงตน้

เกษตรกรต้นแบบ ประชาชน โทรศัพท์

X

1 แปลงผลติ ท่อนพนั ธุ์ 111 ต หนอง ระ 15.130726 10

โรงงานน้ำตาลพมิ าย เวียง พิมาย, ตำบล

รังกาใหญ่ อำเภอ พิ
มาย นครราชสมี า
30110....

กการถา่ ยทอดเทคโนโลยี (สำหรบั แปลงทเ่ี กบ็ เกี่ยวผลผลิตเสรจ็ แล้ว)

นแบบ พน้ื ท่ี การผลติ พชื ตามวธิ ีของ การผลิตพชื ตามเทคโนโลยี
Y แปลง เกษตรกร ในแปลงต้นแบบ
ตน้ แบบ
02.394270 (ไร)่ ต้นทุน ผลผลติ รายได้ ตน้ ทุน ผลผลิต รายได้
การ (กก./ไร)่ สทุ ธิ การผลิต (กก./ สทุ ธิ
100 ผลิต (บาท/ (บาท/ ไร)่ (บาท/
(บาท/ ไร)่
ไร)่ ไร่) ไร)่

983

6. เทคโนโลยี/นวตั กรรม/องค์ความรู้ใหม/่ โจทย์วิจยั /ทไ่ี ด้จากการจัดทำแปลงเรยี นรเู้ กษตรอัจฉริยะ

1. การจัดการปุ๋ยตามคา่ วิเคราะห์ดินแบบแมน่ ยำตามพกิ ัดกริด

2. การจัดทำแผนท่ีภาพถ่ายทางอากาศจากอากาศยานไรค้ นขับ เพ่อื ประเมินสภาพแปลงปลกู

3. การใช้ภาพถา่ ยทางอากาศจากอากาศยานไร้คนขับ เพอื่ ประเมนิ สุขภาพพชื

7. ผลท่ีได้จากการจัดทำแปลงเรียนรู้เทคโนโลยเี กษตรอัจฉรยิ ะ (เพ่อื ข้อมลู ในการช้ีแจงงบประมาณปี 2564)

- ผลผลิต (output)

1. ได้ข้อมูลเพื่อแสดงถึงวิธีการใช้ปุ๋ยอ้อยตามค่าวิเคราะห์ดินแบบแม่นยำ โดยการวิเคราะห์ปริมาณ

ธาตุอาหารในดินตามพิกดั กริด ขนาดพื้นที่เก็บตัวอย่าง 7.84 ไร่ แสดงให้เกษตรกรและผูป้ ระกอบการเหน็ ว่า

การใชป้ ยุ๋ ในแปลงขนาดใหญ่ไม่จำเป็นต้องใช้ในอัตราเดยี วกนั ทั้งแปลง เพอื่ การลดต้นทนุ การผลิต ภายใต้การ

ใชป้ จั จัยการผลติ อยา่ งแมน่ ยำ การใชป้ ุ๋ยของเกษตรกร ปี 2562 ตามแผนงานของเกษตรกรจะใชป้ ุย๋ 18-18-18

ราคา กระสอบละ 850 บาท อัตรา 50 กก./ไร่/ปี พื้นที่อ้อยทั้งหมด 91 ไร่ คิดเป็นเงิน 77,350 บาท จาก

คำแนะนำการใสป่ ุ๋ยอ้อยตามคา่ วิเคราะห์ดินแบบแมน่ ยำตามพกิ ัดกริด พบวา่ จะตอ้ งใช้ปุ๋ย 2 อตั ราคือ 12-9-6

กก. N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่จำนวน 23.75 ไร่ ราคาต้นทนุ ปุ๋ย 843 บาทตอ่ ไร่ คิดเปน็ เงนิ 20,021.25 บาท และ 6-
9-6 กก. N-P2O5-K2O ต่อไรจ่ ำนวน 67 ไร่ ราคาต้นทนุ ปุ๋ย 684 บาทต่อไร่ คิดเปน็ เงนิ 45,828 บาท ค่าต้นทุน
ปุ๋ย 65,849.25 บาท เม่ือเปรยี บเทยี บส่วนตา่ งของตน้ ทนุ ค่าปยุ๋ ท้ังหมด 11,500.75 บาท สามารถลดตน้ ทุนการ

ใช้ปยุ๋ ต่อไรล่ งได้ 126 บาทต่อไร่

2. แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ: อ้อยโรงงาน ได้มีการประยุกต์ใช้และฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใช้

WebODM ซ่ึงเปน็ ซอฟต์แวร์รหสั ท่เี ปดิ พฒั นามาจาก Open Drone Map ใช้ในการทำแผนที่จากภาพถ่ายทาง

อากาศด้วยโดรน สามารถใช้งานได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย การใช้งานโดยผู้ใช้งานอัพโหลดข้อมูลภาพจากอากาศ

ยานไร้คนขับเขา้ ไป แลว้ กส็ ่ังให้ประมวลผลภาพถ่ายทางอากาศตามขั้นตอน ผลลัพธจ์ ากการประมวลผลออกมา

เป็นแผนที่ Orthomosaic แผนที่ Digital Surface Model (DSM) แผนที่ Digital Terrain Model (DTM) /

Digital Elevation Model (DEM) นำมาใช้ในการติดตามการเจริญเติบโตของอ้อยต่อไป ซึ่งเกษตรกร

ผปู้ ระกอบการหรือผ้สู นใจสามารถนำไปประยุกต์ใช้โดยไมม่ ีค่าใชจ้ ่าย

ซอฟตแ์ วร์ที่นิยมใช้ ราคา

WebODM ไม่มีคา่ ใชจ้ า่ ยในการใชง้ าน

Pix4Dmapper Pro 1 เดอื น ราคาอยู่ที่ 9,000 บาท 1 ปี ราคาอยูท่ ่ี 100,000 บาท ใบอนญุ าตถาวร ราคาอยทู ี่

250,000 บาท

Agisoft PhotoScan ใบอนุญาตมาตรฐาน ราคาอยทู่ ี่ 100,000 บาท

Professional Edition

3Dsurvey ใบอนญุ าตถาวร ราคาอยทู่ ี่ 107,771.44 บาท

Drone2Map for ArcGIS 1ปี ราคาอยู่ที่ 47,600.25 บาท

Drone Mapper ใบอนญุ าตถาวร ราคาอยทู่ ี่ 35,887.89 บาท

984

ตารางราคา

ท่ีมา: https://gistnu.wordpress.com/2019/03/24/uav-software/

3. ได้ข้อมูลการจัดการแปลงผลิตอ้อยในพื้นที่ขนาดใหญ่ เทคนิคการประเมินสภาพแปลงปลูก การ
ประเมินความลาดชันและความสม่ำเสมอของแปลงปลูก โดยใช้ภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขับ ผ่านการ
ประมวลผลโดยใช้ซอฟต์แวรโ์ อเพนซอร์ซ (Open source software) ซง่ึ เป็นซอฟต์แวร์ที่ไม่มีค่าใช้จ่ายในการ
ติดตั้งเพื่อการใช้งานและยังใช้งานได้โดยง่าย โดยวิธีการประเมินสุขภาพพืชเบื้องต้น (Plant Health map)
จากการใช้กล้องที่ใช้เซ็นเชอร์แบบ RGB ซึ่งเป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่ติดตั้งในอากาศยานไร้คนขับ ผ่านการ
ประมวลผลโดยใช้ซอฟต์แวรโ์ อเพนซอรซ์ (Open source software) ซงึ่ เปน็ ซอฟตแ์ วร์ทีไ่ ม่มีค่าใช่จ่ายในการ
ตดิ ต้งั เพือ่ การใชง้ านและยังใช้งานได้โดยง่าย การเกบ็ ตัวอยา่ งวเิ คราะห์ในพ้ืนที่ปลูก 1 ไร่ ใช้ตัวอย่างประมาณ
15-20 ตัวอย่างต่อไร่ ค่าใช้จ่ายในการวิเคราะห์ตัวอย่างตามประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง อัตราค่า
วิเคราะห์และทดสอบวัตถุตัวอย่าง พ.ศ. 2561 ค่าใช้จ่ายในการทดสอบปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total
Nitrogen : N) ในพชื ราคาตัวอย่างละ 400 บาทไมร่ วมคา่ ดำเนินการเก็บตัวอย่างในพืน้ ท่ี 100 ไร่ จะมตี ัวอย่าง
ท้งั หมด 2,000 ตวั อย่าง คดิ เปน็ เงิน 80,000 บาท สำหรับการวิเคราะห์ แต่การใชอ้ ากาศยานไร้คนขบั ถ่ายภาพ
ประเมินผลผ่าน WebODM ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์รหัสที่เปิด มีค่าใช้จ่ายอยู่ประมาณ 25,000 บาท เท่านั้น เวลา
ดำเนนิ การวิเคราะห์ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใชเ้ วลา 15-30 วนั แลว้ แต่ปริมาณเคร่อื งมอื อากาศยานไรค้ นขับสามารถ
ประมวลผลได้ภายใน 3-5 วนั ข้ึนอย่กู บั สมรรถนะเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

ตารางเปรียบเทยี บ ค่าใช้จ่าย (บาท) เวลา
วิธี 80,000 15-30 วัน
วเิ คราะห์หอ้ งปฏิบัตกิ าร 25,000 3-5 วนั
ภาพถ่ายทางอากาศ

985

- ผลลัพธ์ (outcome)
เกษตรกร เจ้าหน้าท่ีและผูป้ ระกอบการ สามารถเขา้ ถึงเทคโนโลยกี ารจัดการปยุ๋ ตามคา่ วิเคราะห์ดิน
แบบแม่นยำของกรมวชิ าการเกษตร การใชอ้ ากาศยานไรข้ ับในประเมินสภาพแปลงปลูกขนาดใหญ่และวธิ กี าร
ประเมินสขุ ภาพพชื เบ้ืองต้น นำไปปรับใช้ในกระบวนการผลผลิตออ้ ยไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ
- ผลกระทบ (Impact)
เกษตรในกลุ่มที่ดำเนินการผลิตอ้อยโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยมุ่งเน้นทำการเกษตรในรูปแบบ
แปลงผลิตขนาดใหญ่ สามารถปรับใชเ้ ทคโนโลยที ี่สอดคล้องและเหมาะสมกับรูปแบบการผลิตอ้อยในประเทศ
ลดความเส่ียงในการดำเนินกจิ กรรมทางการเกษตร มีการบรกิ ารจัดการภายใต้ขอ้ มูลทถี่ กู ตอ้ ง แม่นยำ
8. ปัญหา/อปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ
ปัญหาในเรื่องของงบประมาณ และความต่อเนื่องของงาน การพัฒนาทีมงานในการดำเนินงาน และ
การเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถดำเนินการจัดอบรมได้ตามเวลาและ
จำนวนผู้เข้าอบรมตามที่กำหนด และยังขาดงบประมาณในการพัฒนาระบบการนับต้นพืช (Plant Stand
Counting) สำหรบั ใชใ้ นการประเมินจำนวน เพอื่ คาดการณผ์ ลผลิตอยา่ งแม่นยำ
ตัวอยา่ งการนับจำนวนต้นพืช

986
9. ภาพประกอบการดำเนนิ งาน

987

โครงการเรยี นรกู้ ารเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสนิ คา้ เกษตร

ธรี วฒุ ิ วงศว์ รตั น์1*

ผลการดำเนนิ งานโครงการศนู ย์เรยี นรกู้ ารเพ่มิ ประสิทธิภาพสินคา้ เกษตร (ศพก.) ปีงบประมาณ 2563
ผลวิเคราะหส์ ภาพพน้ื ทีเ่ ป้าหมายกอ่ นดำเนินการ ดังน้ี ใชพ้ ้ืนท่ี ศพก. บ้านโสกจาน เนอ่ื งจากเป็นจุดที่

มีเกษตรกรเข้ามาเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและนำไปเป็นแนวทางการปฏิบัติ ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่นเป็นหน่วย
งานวิจัยที่มีงานผลงานวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงจึงดำเนินการทำแปลงต้นแบบ “การเพ่ิม
ประสิทธิภาพการผลิตถัว่ ลิสง” ทั้งหมด 3 แปลง เป็นแปลงในพ้ืนที่ ศพก. หลัก (บ้านโสกจาน) มีนายสุริยันต์
พิเชฐพงศ์วิมุติ เปน็ เจ้าของศพก. และ ศพก. เครอื ข่าย 2 แปลง ไดแ้ ก่ บา้ นหนองแวงโอง และบา้ นหนองแวงไร่
มนี างประภาพร กุนะ และ นายธชั ชยั อคั ฮาด เปน็ เจา้ ของ ศพก. ตามลำดับ ผลงานวิจยั ทน่ี ำไปใช้ ไดแ้ ก่ พันธ์ุ
ถัว่ ลสิ งขอนแก่น 5 การใส่ปุ๋ยตามคา่ วเิ คราะห์ดิน การใชไ้ รโซเบียม การจัดการหลังการเกบ็ เกีย่ ว การแปรรปู ถ่ัว
ลิสงเพื่อเพิ่มมูลค่า ในการจัดทำแปลงต้นแบบ พบว่า ได้ผลผลิตฝักสด (กก./ไร่) ผลผลิตฝักแห้ง (กก./ไร่)
เปอรเ์ ซน็ ตก์ ะเทาะ ดังตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ผลผลติ ของถ่วั ลิสงพนั ธุข์ อนแกน่ 5 ท่ีไดจ้ ากแปลงตน้ แบบ

แปลงต้นแบบ ผลผลติ ฝกั สด (กก./ ผลผลิตฝักแหง้ เปอรเ์ ซ็นตก์ ะเทาะ นำ้ หนัก 100 เมลด็
(กรมั )
ไร่) (กก./ไร)่ 42.3

แปลง ศพก.หลัก 740 264 60.1 44.2

บ้านโสกจาน 44.5

แปลง ศพก. เครือข่าย 800 285 55.1

(บา้ นหนองแวงโอง)

แปลง ศพก. เครือข่าย 1200 420 64.1

(บา้ นหนองแวงไร่)

ผลผลิตของถั่วลิสงจากแปลงต้นแบบ ศพก. หลัก บ้านโสกจาน ได้นำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ
เช่น ข้าวตังหน้าถั่วลิสง ถั่วลิสงเคลือบ ถั่วลิสงอบเนย สร้างรายได้เสริมให้เกษตรเจ้าของ ศพก. ผลผลิตของ
ถั่วลิสงจากแปลงต้นแบบ ศพก. เครือข่าย บ้านหนองแวงโอง ขายในรูปถั่วลิสงฝักสดทั้งหมด 35 บาทต่อ
กิโลกรัม ในขณะที่ผลผลติ ของถั่วลิสงจากแปลงต้นแบบ ศพก. เครือข่าน บ้านหนองแวงไร่ แบ่งเป็นขายในรปู
ถั่วลสิ งฝักสด 35 บาทตอ่ กิโลกรมั ชายถั่วลสิ งฝักแห้ง 45 บาทตอ่ กโิ ลกรมั สำหรับการนำไปเปน็ เมลด็ พันธุ์ และ
นำไปแปรรปู เป็นผลิตภณั ฑ์ นอกจากน้ีเมล็ดถั่วลิสงบางส่วนเก็บไว้สำหรับบรโิ ภคในครวั เรือน

1ศนู ย์วจิ ยั พืชไร่ขอนแก่น สถาบนั วจิ ยั พืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลังงาน อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

988

เกษตรกรเจ้าของแปลงต้นแบบทั้ง 3 ราย ยอมรับเทคโนโลยีของกรมวิชาการเกษตร เทคโนโลยีที่
นำไปใช้ในพื้นที่ ศพก. ทั้ง 3 แหล่ง เป็นเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพ้ืนที่ ได้ผลผลิตสูง สร้างรายได้เสริมให้
เกษตรกรเจ้าของ ศพก. ได้ และในระหวา่ งการดำเนินงานจัดทำแปลงตน้ แบบ มเี กษตรกรและเจ้าหน้าที่รัฐให้
ความสนใจ สอบถามรายละเอียดเทคโนโลยีการผลติ ถ่วั ลิสงทีน่ ำไปใช้ในแปลงตน้ แบบ และพร้อมท่ีจะยอมรับ
เทคโนโลยีจากผลงานวจิ ยั ของกรมวิชาการเกษตรนำไปทดลองใชใ้ นพน้ื ท่ขี องตนเอง

989

โครงการขบั เคล่อื นผลงานวิจยั สกู่ ารใช้ประโยชน์ ประจำปงี บประมาณ 2563

เนติรัฐ ชมุ สุวรรณ1* กาญจนา กิระศกั ดิ์1 ชยันต์ ภกั ดีไทย1 ภาคภมู ิ ถนิ่ คำ1 และ ธีรวุฒิ วงศว์ รัตน์1

โครงการขยายผลเทคโนโลยีถัว่ ลสิ งพันธข์ุ อนแกน่ 9 และเพิม่ ประสิทธภิ าพการผลติ ถัว่ ลิสงระดบั ชมุ ชน
ปัญหาที่สำคัญในการผลิตถั่วลิสงในจังหวัดขอนแก่น คือ ผลผลิตและคุณภาพผลผลิตต่ำ เนื่องจาก

เกษตรกรขาดความรู้เทคโนโลยีการผลิต ทั้งเรื่องพนั ธุ์ การจัดการปุ๋ยที่เหมาะสม รวมท้ังปัญหาแมลงศัตรูพชื
และโรคต่างๆ ขาดความรดู้ ้านการผลิตเมล็ดพนั ธ์ุท่มี ีคุณภาพดีและตรงตามมาตรฐาน เมล็ดพันธ์ุท่ีใช้ปลูกด้อย
คุณภาพ และพันธท์ุ ี่ใช้ปนหรอื เมล็ดพนั ธ์ไุ ม่บริสุทธ์ิ สง่ ผลใหผ้ ลผลิตทไ่ี ดม้ ีคุณภาพและผลผลติ ต่ำ เมล็ดพันธ์ุไม่
เพยี งพอสำหรับการปลูกในฤดูถัดไป จึงเปน็ ท่มี าของโครงการขยายผลเทคโนโลยีถ่ัวลิสงพันธ์ุขอนแก่น 9 และ
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถั่วลิสงระดับชุมชน โดยนำเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยของกรมวิชาการเกษตรไป
แก้ปัญหาในพื้นที่เกษตรกร ถ่ายทอดเทคโนโลยีของกรมวิชาการเกษตรด้วยวิธีการอบรม และจัดทำแปลง
ต้นแบบการผลติ ถ่ัวลิสงทดี่ ีมีคณุ ภาพ โดยนำเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมสำหรบั พน้ื ที่ และส่งเสริมการใช้ถ่ัวลิสงพันธ์ุ
ขอนแก่น 9 ซึ่งให้ผลผลิตฝักแห้งสูงกวา่ พันธุ์ไทนาน 9 และขอนแก่น 5 ร้อยละ 7 และ 6 ตามลำดับ มีขนาด
เมล็ดโต และเป็นพันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคโคนเน่าขาว ช่วยเพิ่มผลผลิตต่อพื้นที่ ลดต้นทุนการผลิต หรือเพิ่ม
ผลตอบแทนให้แก่เกษตรกร เพิ่มศักยภาพให้เกษตรกรสามารถผลิตเมล็ดพันธ์ุถั่วลิสงไวใ้ ช้เอง เพื่อให้มีเมล็ด
พันธ์หุ มนุ เวยี นใช้เพียงพอตลอดทง้ั ปี เพ่ือแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ และสามารถกระจายพันธุ์จาก
ภาคราชการสูเ่ กษตรกรภายในชมุ ชนและพื้นท่ีใกล้เคยี งได้โดยตรง ซึ่งถือว่าเปน็ อีกหนึ่งทางเลือกให้เกษตรกรได้
เลือกใช้พนั ธุ์ถั่วลิสงคุณภาพดีของรัฐ เกษตรกรมีรายได้เพิม่ ขึ้นจากการจำหน่ายเมล็ดพนั ธ์ุให้แก่เกษตรกรราย
อนื่ ๆ ทต่ี ้องการปลูกได้ และสร้างความยั่งยืนในการผลิตถว่ั ลิสง

วธิ ีการนำผลงานวจิ ัยสู่กลุ่มเปา้ หมาย
1. กจิ กรรมอบรมเกษตรกร
จัดฝึกอบรมหลักสูตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถั่วลิสงที่ดีมีคุณภาพ และการ

ปรับปรุงสภาพและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์แก่เกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสง พร้อมทั้งแจกเอกสารประกอบการ
ฝึกอบรม ได้แก่ เอกสารประกอบการฝึกอบรม แผ่นผับถั่วลิสงพันธุ์ขอนแก่น 9 และแผ่นผับการใช้ปุ๋ยตามคา่
วิเคราะหด์ นิ ในการผลติ พืชตระกลู ถ่วั ดำเนินการจดั ฝกึ อบรม 2 รนุ่ ซ่ึง รุ่นที่ 1 เม่ือวันท่ี 25 สงิ หาคม 2563 ณ
ศาลาเอนกประสงค์ บ้านอ้อคำ ตำบลกระนวน อำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น มีผู้เข้าร่วมฝึกอบรมจำนวน 25
ราย และรนุ่ ท่ี 2 เมอ่ื วันที่ 26 สิงหาคม 2563 ณ ศาลาเอนกประสงค์ บา้ นทรายมูล ตำบลทรายมูล อำเภอน้ำ
พอง จังหวัดขอนแก่น มีผู้เข้าร่วมฝึกอบรมจำนวน 25 ราย ก่อนฝึกอบรมผู้เข้าร่วมฝึกอบรมทำแบบทดสอบ
ก่อนอบรม และหลงั ฝกึ อบรม (ตารางท่ี 1 และ 2) ผลสำเรจ็ ที่ไดจ้ ากการถ่ายทอดเทคโนโลยี พบวา่ เกษตรกรมี
ความร้แู ละสามารถผลิตถ่วั ลสิ งทด่ี ีมคี ุณภาพ จำนวน 50 ราย

1ศนู ย์วิจัยพืชไรข่ อนแก่น สถาบนั วิจยั พืชไร่และพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแกน่

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

990

2. กจิ กรรมปัจจัยการผลติ
ดำเนนิ การเตรียมเมล็ดพนั ธุถ์ วั่ ลิสงขอนแก่น 9 ปยุ๋ เคมี ปยุ๋ ชวี ภาพไรโซเบียมสำหรับ

ถั่วลิสง สารปรับปรุงดิน (ยิปซัม) และสารป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช สำหรับสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้แก่
เกษตรกร โดยสง่ มอบใหเ้ กษตรกรกอ่ นปฏบิ ตั งิ าน

3. กิจกรรมแปลงตน้ แบบ
คัดเลอื กเกษตรกรผู้ปลูกถ่ัวลิสงจำนวน 10 ราย (รายละ 1 ไร)่ ไดแ้ ก่ เกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสง
อำเภอซำสูง จงั หวัดขอนแกน่ จำนวน 5 ราย และ อำเภอน้ำพอง จังหวดั ขอนแก่น จำนวน 5 ราย (ตารางที่ 3)
สำรวจพื้นที่ปลูกถั่วลิสง และเก็บตัวอย่างดินที่ระดับความลึก 0-20 เซนติเมตร เพื่อวิเคราะห์คุณสมบัติทาง
กายภาพและทางเคมีของดินกอ่ นปลกู สำหรับใช้แนะนำป๋ยุ ตามค่าวิเคราะหด์ นิ สำหรับปลูกถัว่ ลสิ งให้เกษตรกร
ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ (ตารางที่ 4-7) เตรียมปัจจัยการผลติ ไดแ้ ก่ เมลด็ พันธุ์ถ่ัวลสิ งขอนแกน่ 9 ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยชีวภาพ
ไรโซเบยี มสำหรับถัว่ ลิสง สารปรับปรุงดนิ (ยิปซัม) และสารป้องกนั กำจดั แมลงศัตรพู ชื แจกปัจจัยการผลติ ถ่ัว
ลิสงกอ่ นดำเนนิ กจิ กรรม พรอ้ มทงั้ ใหค้ ำแนะนำและสาธิตวิธกี ารปฏิบัตแิ ต่ละขนั้ ตอนการผลิตถ่ัวลิสง และตรวจ
ตดิ ตามแปลงและให้คำแนะนำแก้ปญั หาการผลติ แก่เกษตรกรทุกขั้นตอน
ผลการดำเนินงานแปลงตน้ แบบบา้ นทรายมลู ตำบลทรายมลู อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
(ตารางที่ 8) พบว่า เกษตรกรสามารถผลิตพนั ธุ์ถ่วั ลิสงพนั ธ์ุขอนแก่น 9 ได้แตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับวิธีการปฏิบัติ
ของเกษตรกร โดยได้ผลผลิตฝักแห้ง 96 – 238 กิโลกรัมต่อไร่ มีน้ำหนัก 100 เมล็ด 49.3 – 57.5 กรัม และมี
เปอร์เซ็นตก์ ะเทาะ 50.5 – 70.0 เปอรเ์ ซ็นต์ มตี ้นทุนการผลติ 6,427 – 7,898 บาทตอ่ ไร่ มรี ายได้จากการขาย
เพื่อทำพนั ธ์ุ 4,320 – 10,710 บาทตอ่ ไร่ มรี ายได้สทุ ธอิ ยู่ระหวา่ ง -552 ถึง 2,812 บาทต่อไร่ ขอ้ มูลการยอมรับ
เทคโนโลยีของเกษตรกรผู้ร่วมโตรงการ พบว่า เกษตรกรแปลงต้นแบบยอมรับเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสง ซึ่ง
ชว่ ยเพิ่มศักยภาพการผลติ ถวั่ ลิสงที่ดีมีคุณภาพ มเี มล็ดพันธไุ์ ว้ใชใ้ นฤดูถดั ไป ลดปัญหาการขาดแคลนเมล็ดพันธุ์
ในท้องที่ และสร้างรายได้เพิ่มจากการจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ เทคโนโลยีปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน และการใช้ปุ๋ย
ชีวภาพสำหรับถ่ัวลิสง ช่วยใหล้ ดการใช้ป๋ยุ เคมี ลดตน้ ทนุ ค่าปุ๋ย และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ส่วนเทคโนโลยีถั่ว
ลิสงพันธข์ุ อนแกน่ 9 เกษตรกรต้นแบบใหก้ ารยอมรบั หากเปรียบเทียบกับถ่ัวลิสงเมลด็ ขนาดกลางพนั ธุอ์ ่ืน เช่น
ไทนาน 9 และ ขอนแก่น 5 โดยให้เหตุผลว่า ถั่วลิสงพันธุ์ขอนแก่น 9 ให้ผลผลิตดี ฝักและเมล็ดโตกว่าพนั ธ์ุไท
นาน 9 และ ขอนแก่น 5 แต่หากเปรียบเทียบกับถั่วลิสงพันธุ์ขอนแก่น 6 ซึ่งเกษตรกรนิยมปลูกในพื้นที่
เกษตรกรชอบถั่วลิสงพันธุ์ขอนแกน่ 6 มากกว่า เน่อื งจาก ฝักและเมล็ดมีขนาดโตกว่า ผลผลิตฝกั สดและฝักแห้ง
สงู กวา่ ปลิดงา่ ย แมม้ ีอายุเก็บเก่ียวนานถงึ 120 วนั โดยถวั่ ลสิ งพนั ธุ์ขอนแก่น 6 ผลผลติ 205 กิโลกรัมฝักแห้ง
มีนำ้ หนัก 100 เมลด็ 70.2 กรมั และมีเปอรเ์ ซน็ ตก์ ะเทาะ 56.3 เปอรเ์ ซ็นต์ มีตน้ ทนุ การผลิตทง้ั สน้ิ 7,822 บาท
ต่อไร่ รายได้จากการขายในรูปฝักแห้ง (กิโลกรัมละ 30 บาท) 6,150 บาทต่อไร่ และมีรายได้สุทธิ – 1,672
บาทต่อไร่ ถึงแม้ว่าถั่วลิสงพันธขุ์ อนแก่น 9 ให้ผลผลติ เฉลยี่ ท่ตี ่ำกว่าถัว่ ลิสงขอนแกน่ 6 แตก่ ารผลิตและขายเป็น
เมล็ดเมลด็ พันธ์ุให้รายไดส้ ทุ ธทิ ด่ี กี วา่ แม้จะมวี ิธกี ารปฏิบตั เิ พิ่มข้นึ เล็กน้อย ปัญหาทพี่ บ เน่ืองจากฝนทิ้งช่วงเป็น
ระยะเวลานานชว่ งตดิ ฝกั และพฒั นาเมลด็ เกษตรกรไม่สารถใหน้ ้ำเสริมได้ ส่งผลต่อผลผลิตถั่วลิสงท่ไี ด้รับตำ่

991

ผลการดำเนนิ งานแปลงตน้ แบบบา้ นทรายมลู ตำบลทรายมูล อำเภอนำ้ พอง จงั หวดั ขอนแก่น
โดยภาพรวม (ตารางท่ี 9) พบวา่ เกษตรกรสามารถผลิตพันธ์ุถ่วั ลิสงพันธุข์ อนแกน่ 9 ได้แตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับ
วิธีการปฏิบัติของเกษตรกร โดยได้ผลผลิตฝักแห้ง 154 – 283 กิโลกรัมต่อไร่ มีน้ำหนัก 100 เมล็ด 53.6 –
62.4 กรัม และมีเปอร์เซ็นต์กะเทาะ 58.2 – 63.3 เปอร์เซ็นต์ มีต้นทุนการผลิต 7,218 – 7,790 บาทต่อไร่ มี
รายได้จากการขายเพ่ือทำพนั ธุ์ 7,695 – 12,735 บาทตอ่ ไร่ มรี ายไดส้ ุทธิอยู่ระหว่าง 477 ถึง 4,945 บาทต่อไร่
ข้อมูลการยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกรผู้ร่วมโตรงการ พบว่า เกษตรกรยอมรับเทคโนโลยีถั่วลิสงพัน ธุ์
ขอนแก่น 9 เนือ่ งจากไดป้ ลูกเปรียบเทยี บแล้วพบว่า ถั่วลิสงพันธขุ์ อนแก่น 9 ให้ผลผลติ ทสี่ งู กว่าถั่วลิสงพันธ์ุไท
นาน 9 (ผลผลิต 154 กิโลกรัมฝักแห้ง มีน้ำหนัก 100 เมล็ด 44.0 กรัม และมีเปอร์เซ็นต์กะเทาะ 60.3
เปอร์เซ็นต์ มีต้นทุนการผลิตทั้งสิ้น 6,825 บาทต่อไร่ รายได้จากการขายในรูปฝักแห้ง (กิโลกรัมละ 30 บาท)
4,620 บาทตอ่ ไร่ และมีรายไดส้ ุทธิ -2,205 บาทตอ่ ไร่) ถว่ั ลสิ งพนั ธ์ขุ อนแกน่ 9 มขี นาดฝักและเมล็ดที่ใหญ่กว่า
ปลิดง่ายกวา่ และมอี ายุเกบ็ เกีย่ วใกล้เคยี งกันกับถวั่ ลิสงพันธไ์ุ ทนาน 9 เทคโนโลยกี ารผลติ ถ่ัวลสิ งตามคำแนะนำ
ชว่ ยเพมิ่ ศักยภาพการผลิตถัว่ ลิสง ผลผลิตมคี ุณภาพ มีเมล็ดพนั ธ์ไุ ว้ใช้ในฤดูถดั ไปลดปญั หาการขาดแคลนเมล็ด
พันธุ์ในท้องที่ และสร้างรายได้เพิ่มจากการจำหน่ายเมล็ดพนั ธุ์ และเทคโนโลยีปุ๋ยตามค่าวิเคราะหด์ ินและปยุ๋
ชวี ภาพสำหรับถัว่ ลิสง ช่วยลดการใช้ปุ๋ยเคมีและลดตน้ ทุนค่าปุ๋ย แตม่ ีขอ้ จำกัดในการส่งตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์
คณุ ทางเคมี ใชร้ ะยะเวลาในการตรวจวเิ คราะหน์ าน ผลวิเคราะหท์ ไ่ี ดไ้ ม่ทนั สำหรับปลกู ในฤดู

สรปุ ผลการดำเนนิ งาน
เกษตรกรมีความรู้และสามารถผลิตถั่วลิสงที่ดีมีคุณภาพ จำนวน 50 ราย และแปลงต้นแบบการเพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพการผลติ ถั่วลิสงทีด่ มี ีคุณภาพ พืน้ ทีร่ วม 10 ไร่ เกษตรกรต้นแบบมคี วามพึงพอใจอยา่ งมากสำหรับ
เทคโนโลยกี ารผลติ ถั่วลิสงที่ดีมีคุณภาพ เทคโนโลยถี ว่ั ลิสงพนั ธ์ุขอนแก่น 9 และเทคโนโลยีปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์
ดนิ และการใช้ปุ๋ยชีวภาพสำหรับถัว่ ลิสง และจะนำคำแนะนำไปปฏบิ ัติ เพือ่ เพมิ่ ศักยภาพการผลิตถั่วลิสงท่ีดีมี
คุณภาพ มีเมล็ดพันธไุ์ วใ้ ช้ในฤดถู ัดไป ลดปญั หาการขาดแคลนเมล็ดพันธ์ใุ นทอ้ งท่ี และสรา้ งรายไดเ้ พิ่มจากการ
จำหน่ายเมลด็ พนั ธุ์

เอกสารอา้ งองิ

กรมวิชาการเกษตร. 2561. การใชป้ ุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในการผลิตพชื ตระกลู ถั่ว [แผน่ พับ]. กลุ่มวจิ ยั ปฐพีวิทยา กองปัจจัย
การผลิตทางการเกษตร กรมวชิ าการเกษตร.

สวุ พนั ธ์ รตั นะ และเสถียร พมิ สาร. 2536. ดินและปุ๋ยสำหรบั ถัว่ ลิสง. น. 48-76 ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรการ
ใชเ้ ทคโนโลยีเพ่อื เพ่มิ ผลผลิตถ่วั ลิสง. 1-5 มีนาคม 2536 ณ ศนู ย์วจิ ัยพืชไร่ขอนแก่น จังหวดั ขอนแก่น.

992

ตารางที่ 1 รายชื่อเกษตรกร รุ่นที่ 1 และผลการทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรมหลักสูตรการเพ่ิม

ประสิทธิภาพการผลิตถั่วลิสงที่ดีมีคุณภาพ และการปรับปรุงสภาพและการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุ

เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2563 ณ ศาลาเอนกประสงค์ บ้านอ้อคำ ตำบลกระนวนอำเภอ.ซำสูง

จงั หวัดขอนแกน่

ชื่อ-สกุล เกษตรกร คะแนน ใสเ่ ครอื่ งหมาย /
pretest posttest ที่เป็นเกษตรกรต้นแบบ

1. นางสำเนยี ง เคนมิ่ง 2 10

2. นางสาวเวนิ บาลพทิ ักษ์ 6 10

3. นางสมคดิ โพธิศ์ รี 7 10

4. นางดอกไม้ รตั นนาม 4 10

5. นางสายฝน โพธศ์ิ รี 6 10

6. นางศริ ิพร จนี ซำนิ 39

7.นายทองพูล คำมลู 7 10 /

8. นายมุข สมปัญญา 5 10

9. นางสาวคำ โพธ์ศรี 7 10

10. นางสาวจวงจันทร์ โคตะมะ 7 10

11. นางสาวภาณี แก้วใส 2 10

12. นางบุญโฮม เอกตาแสง 3 10 /

13. นางระเบียบ อาษาสนา 59

14. นางสาวหนกู นั แกว้ ใสย์ 3 10

15. นางสำเนา เอกตาแสง 7 10

16. นางหนูเตรยี ม ครยก 5 10

17. นางเสงยี่ ม โพธิศ์ รี 7 10

18. นางสาวเขียว แสนบตุ ร 7 10

19. นางสาวทองจนั ทร์ เหล่าสนุ า 5 10 /

20. นางสวรรค์ อาษาสนา 5 10 /

21. นายสุขมุ ผดุงชยั 4 10

22. นางสงั วาลย์ โพธศิ์ รี 5 10

23. นายทองคำ สมปัญญา 59 /

24. นายสดุ ใจ เอกตาแสง 5 10

25. นางอีย้ งคำ ชัยเดช 4 10

เฉล่ีย 5.04 9.88

993

ตารางที่ 2 รายชื่อเกษตรกร รุ่นที่ 2 และผลการทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรมหลักสูตรการเพ่ิม

ประสิทธิภาพการผลิตถั่วลิสงที่ดีมีคุณภาพ และการปรับปรุงสภาพและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์

เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2563 ณ ศาลาเอนกประสงค์ บ้านทรายมูล ตำบลทรายมูล อำเภอน้ำพอง

จังหวัดขอนแก่น

ช่อื -สกลุ เกษตรกร คะแนน ใสเ่ ครอื่ งหมาย /
pretest posttest ท่ีเป็นเกษตรกรตน้ แบบ

1. นางคำพอง บำรงุ บ้านทมุ่ 6 10

2. นางอุมาพันธ์ตรี พมิ พ์ทรายมูล 6 10

3. นางจันญา สชี มภู 5 10 /

4. นางฉวี มณแี สน 69

5. นางนิตยา วงษแ์ ก้ว 69

6. นางพษิ มยั กา้ วกง้ึ 6 10

7. นางเอมออน ชาญชำนิ 5 10

8. นางนุจรินทร์ กล้าหาญ 7 10

9. นายวงษ์ ดตทรายมลู 58

10. นางอรญั ญา โยธาวัน 4 10 /

11. นางสมพาร วงพมิ ล 69

12. นางสเุ ทยี น ชมุ แวงวาปี 48

13. นางดารารัตน์ สมี าจันทร์ 5 10 /

14. นางพมิ พพ์ า พมิ พ์ทรายมูล 6 10

15. นางอำพร โพธแิ์ ข็ง 9 10

16. นางเทียนศรี สชี มภู 5 10

17. นางอำพร นักธรรม 49

18. นางหฤทัย ประเสริฐสงั ข์ 69

19. นางคำเวิน หลา้ กัน 4 10 /

20. นางสาวบุญเรอื ง สชี มภู 5 10

21. นางอมรรัตน์ สอี าษา 5 10

22. นางสรุ ินทร์ โคตรทองทพิ ย์ 8 10

23. นายบุญเส็ง หล้ากัน 4 10

24. นางจริ ภา โพธแ์ิ ข็ง 7 10 /

25. นางอลุ ยั วัลย์ สิมพลี 59

เฉล่ีย 5.56 9.60

994

ตารางท่ี 3 ขอ้ มลู เกษตรกรแปลงตน้ แบบโครงการขยายผลเทคโนโลยีถั่วลิสงพนั ธขุ์ อน

ลำดบั ที่ ชอื่ -สกลุ ท่ีอยู่

เกษตรกรต้นแบบ

1 นางอรัญญา โยธาวัน 155 ม.2 บ.ทรายมลู ต.ทรายมูล อ.นำ้ พอง จ

2 นางดารารตั น์ สีมาจนั ทร์ 105 ม.2 บ.ทรายมูล ต.ทรายมูล อ.นำ้ พอง จ

3 นางคำเวนิ หลา้ กนั 8 ม.2 บ.ทรายมูล ต.ทรายมูล อ.น้ำพอง จ.

4 นางจันญา สชี มภู 59 ม.2 บ.ทรายมูล ต.ทรายมูล อ.นำ้ พอง จ.ข

5 นางจิรภา โพธิ์แขง็ 77 ม.2 บ.ทรายมูล ต.ทรายมูล อ.นำ้ พอง จ.ข

6 นายทองพลู คำมลู 18 ม.4 บ.อ้อคำ ต.กระนวน อ.ซำสงู จ.ขอนแ

7 นายทองคำ สมปัญญา 236/1 ม.4 บ.ออ้ คำ ต.กระนวน อ.ซำสูง จ.ข

8 นางทองจนั ทร์ เหล่าสนุ า 58 ม.4 บ.ออ้ คำ ต.กระนวน อ.ซำสูง จ.ขอนแ

9 นางสวรรค์ อาษาสนา 20 ม.4 บ.ออ้ คำ ต.กระนวน อ.ซำสูง จ.ขอนแ

10 นางบญุ โฮม เอกตาแสง 112 ม.4 บ.ออ้ คำ ต.กระนวน อ.ซำสูง จ.ขอน

นแกน่ 9 และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตถั่วลิสงระดับชมุ ชน

เบอร์ พิกดั แปลงตน้ แบบ พื้นท่แี ปลงต้นแบบ

โทรศัพท์ X Y (ไร่)

จ.ขอนแก่น 0653373292 16.666054 102.890885 1

จ.ขอนแก่น 0612907330 16.641241 102.900963 1

.ขอนแกน่ 0990723601 16.666259 102.890880 1

ขอนแกน่ 0619054126 16.641039 102.9000949 1

ขอนแกน่ - 16.646108 102.909812 1

แก่น 0959745350 16.541143 103.056394 1

ขอนแก่น - 16.541585 103.054442 1

แก่น 0990723601 16.575437 103.063602 1

แกน่ 0880615512 16.574301 103.063492 1

นแกน่ - 16.568722 103.066834 1

ตารางที่ 4 ผลวิเคราะห์ดินระดับความลึก 0-20 ก่อนปลูกถ่วั ลสิ ง และคำแนะนำปยุ๋ ตา

รายชื่อเกษตรกร เน้อื ดิน pH EC(1:5) OM a
(1:5) dS/m % m

1. นางอรญั ญา โยธาวนั ดนิ ร่วนปนทราย 4.8 0.0428 0.61

2. นางดารารัตน์ สีมาจนั ทร์ ดนิ ร่วนปนทราย 4.9 0.0217 0.47

3. นางคำเวนิ หล้ากัน ดนิ รว่ นปนทราย 4.7 0.0317 0.56

4. นางจนั ญา สีชมภู ดินร่วนปนทราย 4.9 0.0290 0.32

5. นางจริ ภา โพธิแ์ ขง็ ดินรว่ น 4.9 0.0551 1.45

หมายเหตุ 1/ คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวเิ คราะห์ดินในการผลติ พืชตระกูลถว่ั (กรมวิช

ตารางที่ 5 ผลวเิ คราะหด์ นิ ระดบั ความลกึ 0-20 ก่อนปลูกถัว่ ลสิ ง และคำแนะนำปุ๋ยตา

รายช่อื เกษตรกร เนื้อดิน pH EC(1:5) OM a
(1:5) dS/m % m

1. นายทองพลู คำมูล ดินร่วนปนทราย 4.8 0.0141 0.70

2. นายทองคำ สมปัญญา ดินรว่ นปนทราย 5.2 0.0078 0.62

3. นางทองจนั ทร์ เหล่าสนุ า ดินร่วนปนทราย 4.6 0.0245 0.59

4. นางสวรรค์ อาษาสนา ดนิ ร่วนปนทราย 4.7 0.0252 0.76

5. นางบญุ โฮม เอกตาแสง ดินร่วนปนทราย 4.6 0.0233 0.50

หมายเหตุ 1/ คำแนะนำการใชป้ ุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในการผลิตพืชตระกลู ถั่ว (กรมวิช

995

ามค่าวเิ คราะห์ดนิ บา้ นทรายมลู ตำบลทรายมูล อำเภอนำ้ พอง จังหวดั ขอนแก่น

avai P exch K exch Ca exch Mg คำแนะนำปยุ๋ ตาคา่ วิเคราะหด์ ิน1/

mg/kg mg/kg mg/kg mg/kg N P2O5 K2O

14 51 166 18 3 3 3

5 56 545 114 3 9 3

12 46 104 18 3 6 3

3 57 540 76 3 9 3

44 66 564 41 0 3 3

ชาการเกษตร, 2561)

ามค่าวิเคราะห์ดิน บ้านออ้ คำ ตำบลกระนวน อำเภอซำสูง จงั หวดั ขอนแกน่

avai P exch K exch Ca exch Mg คำแนะนำปุย๋ ตาค่าวเิ คราะหด์ นิ 1/

mg/kg mg/kg mg/kg mg/kg N P2O5 K2O

10 64 119 13 3 9 3

6 60 108 10 3 9 3

6 73 82 14 3 9 3

6 47 67 15 3 9 3

6 61 70 12 3 9 3

ชาการเกษตร, 2561)

996

ตารางท่ี 6 ระดบั ความอดุ มสมบูรณ์ของดนิ และธาตุอาหารพชื ในดนิ สำหรบั ถัว่ ลิสง

ค่าวิเคราะห์ ระดับความอดุ มสมบรู ณ์

ตำ่ ปานกลาง สงู
6.0-6.8
ความเป็นกรดเปน็ ด่าง (pH) < 5.4 5.5-6.0 > 10
> 80
ฟอสฟอรัสท่เี ป็นประโยชน์ (P) mg/kg < 5.0 5-10 > 1.5
> 10
โพแทสเซียมทแี่ ลกเปล่ยี นได้ (K) mg/kg < 40 40-80 > 300
> 20
อินทรียวตั ถุ (OM) % < 1 1.0-1.5 > 14
-
CEC me/100 g soil < 5 5-10 > 20
> 0.20
แคลเซียมที่แลกเปล่ียนได้ (Ca) mg/kg < 120 120-300 -

แมกนเี ซียมทีแ่ ลกเปลยี่ นได้ (Mg) mg/kg < 10 10-20

ซัลเฟต-ซลั เฟอร์ (SO-4-S) mg/kg < 10 10-14

สังกะสที ่ีสกัดได้ (Zn) mg/kg < 0.3 -

เหล็กท่ีสกดั ได้ (Fe) mg/kg < 3 3-20

โบรอน (B) mg/kg < 0.13 0.13-0.20

โมลิบดีนมั (Mo) mg/kg < 0.004 -

ทมี่ า: สวุ พนั ธ์ และเสถยี ร (2536)

ตารางท่ี 7 คำแนะนำการใชป้ ๋ยุ สำหรับพชื ตระกูลถว่ั

ปรมิ าณธาตอุ าหารแนะนำ

รายการวเิ คราะห์ ผลวิเคราะหด์ นิ ใชป้ ุ๋ยชวี ภาพ* ไมใ่ ชป้ ุย๋
ไรโซเบียม ชวี ภาพ
ไรโซเบียม

น้อยกว่า 1 0 3 กิโลกรัม N/ไร่

อินทรยี วัตถุ (%) 1-2 0 0 กิโลกรัม N/ไร่

มากกวา่ 2 0 0 กิโลกรมั N/ไร่

ฟอสฟอรัสทเี่ ป็นประโยชน์ น้อยกวา่ 8 9 9 กิโลกรัม P2O5/ไร่
(มิลลิกรัม/กิโลกรัม) 8 – 12 6 6 กิโลกรัม P2O5/ไร่
มากกวา่ 12 3 3 กิโลกรมั P2O5/ไร่

โพแทสเซยี มที่แลกเปลยี่ น นอ้ ยกวา่ 40 6 6 กิโลกรัม K2O/ไร่

ได้ (มิลลิกรัม/กโิ ลกรมั ) 40 – 80 3 3 กิโลกรมั K2O/ไร่

มากกวา่ 80 0 0 กโิ ลกรมั K2O/ไร่

*การใช้ปยุ๋ ชวี ภาพไรโซเบยี มสามารถลดการใชป้ ยุ๋ ไนโตรเจนได้ 50 – 100%

997

ตารางที่ 8 ข้อมูลด้านตน้ ทนุ ปริมาณและคณุ ภาพผลผลิต รายได้ แปลงต้นแบบบ้านทรายมูล ตำบลทรายมูล

อำเภอนำ้ พอง จงั หวดั ขอนแกน่

ขั้นตอนการปฏิบัติ อรญั ญา ดารารตั น์ คำเวิน จนั ญา จิรภา วธิ ี
เกษตรกร

1. คา่ ใช้จ่าย

1.1 ค่าแรงงาน (บาทต่อไร)่ 4,485 4,938 4,405 4,630 4,230 4,775

ค่าเตรียมดิน 750 750 750 750 750 750

คา่ ปลูก รวมค่าเตรยี มพนั ธุ์ 900 900 900 900 900 900

คา่ ดแู ลรักษา 2,100 2,100 2,100 2,100 2,100 2,100

คา่ เก็บเกี่ยว 735 1,188 655 880 480 1,025

1.2 ค่าวสั ดุ (บาทตอ่ ไร่) 2,516 2,777 1,872 2,327 2,066 2,866

คา่ เมลด็ พันธ์ุ 1,800 1,800 1,350 1,350 1,350 1,800

คา่ ปยุ๋ (ปยุ๋ ชีวภาพไรโซเบยี ม ปุ๋ยตามคา่ 550 811 356 811 550 900
วเิ คราะหด์ ิน และยปิ ซัม)

ค่ายาปราบศัตรพู ืชและวัชพชื 116 116 116 116 116 116

คา่ วสั ดอุ ื่นๆ น้ำมันเช้ือเพลิง และคา่ 50.0 50.0 50.0 50.0 50.0 50.0
ซ่อมแซมอุปกรณ์

1.3 เสยี โอกาสเงินลงทนุ (บาทตอ่ ไร่) 163 180 147 162 147 178

1.4 คา่ เชา่ ท่ดี นิ (บาทตอ่ ไร)่

1.5 ค่าเสื่อมอปุ กรณ์ (บาทต่อไร่) 2.65 2.65 2.65 2.65 2.65 2.65

1.6 คา่ เสยี โอกาสอปุ กรณ์ (บาทตอ่ ไร)่ 0.42 0.42 0.42 0.42 0.42 0.42

2. ผลผลติ และคุณภาพผลผลิต

- ผลผลติ ฝกั แหง้ (กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่) 147 238 131 176 96 205

- นำ้ หนกั 100 เมลด็ (กรมั ) 56.1 57.5 49.3 57.2 53.1 70.2

- เปอร์เซน็ ตก์ ะเทาะ 62.7 65.4 50.5 70.0 66.3 56.3

3. ราคาผลผลติ (บาทตอ่ ไร่) 45.0 45.0 45.0 45.0 45.0 30

4. ต้นทุน 7,167 7,898 6,427 7,122 6,446 7,822

5. รายได้ 6,615 10,710 5,895 7,920 4,320 6,150

6. กำไร / ขาดทนุ -552 2,812 -532 798 -2,126 -1,672

998

ตารางที่ 9 ขอ้ มลู ด้านต้นทนุ ปรมิ าณและคุณภาพผลผลติ รายได้ แปลงต้นแบบบา้ นออ้ คำ ตำบลกระนวน

อำเภอซำสูง จังหวดั ขอนแกน่

ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติ ทองพลู ทองคำ ทองจันทร์ สวรรค์ บญุ โฮม วิธี
เกษตรกร

1. คา่ ใชจ้ า่ ย

1.1 คา่ แรงงาน (บาทต่อไร่) 4,607 4,729 4,942 5,166 4,811 4,520

คา่ เตรยี มดนิ 750 750 750 750 750 750

คา่ ปลกู รวมค่าเตรียมพันธ์ุ 900 900 900 900 900 900

คา่ ดูแลรกั ษา 2,100 2,100 2,100 2,100 2,100 2,100

คา่ เกบ็ เก่ียว 857 979 1,192 1,416 1,061 770

1.2 ค่าวสั ดุ (บาทต่อไร่) 2,443 2,777 2,443 2,443 2,777 2,416

คา่ เมลด็ พนั ธ์ุ 1,350 1,800 1,350 1,350 1,800 1,350

คา่ ปยุ๋ (ปุ๋ยชวี ภาพไรโซเบียม ป๋ยุ ตามคา่ วิเคราะห์ดิน และยปิ ซมั ) 811 811 811 811 811 630

ค่ายาปราบศัตรพู ืชและวัชพืช 232 116 232 232 116 116

ค่าวัสดอุ นื่ ๆ น้ำมนั เชือ้ เพลิง และคา่ ซ่อมแซมอปุ กรณ์ 50.0 50.0 50.0 50.0 50.0 50.0

1.3 เสยี โอกาสเงินลงทุน (บาทต่อไร)่ 165 175 172 178 177 162

1.4 คา่ เช่าท่ีดิน (บาทตอ่ ไร่)

1.5 คา่ เส่ือมอุปกรณ์ (บาทตอ่ ไร)่ 2.65 2.65 2.65 2.65 2.65 2.65

1.6 คา่ เสยี โอกาสอปุ กรณ์ (บาทต่อไร)่ 0.42 0.42 0.42 0.42 0.42 0.42

2. ผลผลิต และคณุ ภาพผลผลติ 171 196 238 283 212 154
- ผลผลติ ฝักแห้ง (กโิ ลกรัมตอ่ ไร)่ 53.6 62.4 57.6 55.8 54.1 44.0
- น้ำหนกั 100 เมลด็ (กรมั ) 58.2 62.4 60.1 59.2 63.3 60.3
- เปอรเ์ ซน็ ต์กะเทาะ

3. ราคาผลผลติ (บาทตอ่ ไร่) 45.0 45.0 45.0 45.0 45.0 30

4. ตน้ ทนุ 7,218 7,684 7,560 7,790 7,768 6,825

5. รายได้ 7,695 8,820 10,710 12,735 9,540 4,620

6. กำไร / ขาดทุน 477 1,136 3,150 4,945 1,772 -2,205

999

ทดสอบพันธุ์อ้อยเอนกประสงค์ที่ให้ผลผลิตต่อพ้ืนท่ีสูง
Field Test of High Yielding Multipurpose Sugarcane Cultivars

รววี รรณ เชื้อกิตติศกั ด์ิ1* อัมราวรรณ ทพิ ยวัฒน์1 ปิยะรัตน์ จงั พล1 กมลวรรณ เรียบรอ้ ย1
แสงเดือน ชนะชยั 1 และวรี ะพล พลรกั ดี2

บทคัดย่อ
การทดสอบพันธุ์อ้อยอเนกประสงค์ ในพื้นที่ปลูกอ้อยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และ
ภาคเหนือ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อคดั เลอื กพันธ์ุอ้อยเอนกประสงค์ท่ใี ห้ผลผลิตสงู กวา่ พันธุข์ อนแก่น 3 มากกว่า
ร้อยละ 5 ไว้ตอได้ดี และเหมาะสำหรับปลูกในสภาพแวดล้อมที่มีข้อจำกัดในการผลิตอ้อย โดยนำอ้อย
เอนกประสงค์ 7 โคลน (TPJ04-768 KK08-059 KK09-0857 KK09-0939 KK09-0844 KK09-0941 และ
KK09-0358) ร่วมทดสอบกับอ้อยพันธ์ุการค้า 5 พันธุ์ (ขอนแก่น3 K88-92 LK92-11 KK07-037 และ KK07-
250) วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 3 ซ้ำ ดำเนนิ การจำนวน 8 แปลงในพน้ื ทจี่ ังหวดั ขอนแกน่ 2 แปลง
จังหวัดกาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ชัยนาท เพชรบุรี สุโขทัย และอุตรดิตถ์ จังหวัดละ 1 แปลง เก็บเกี่ยวอ้อยได้เพยี ง 7
แปลง เนื่องจากแปลง จงั หวัดเพชรบุรี กระทบแลง้ หลงั การใส่ปุย๋ ไม่มีฝนตก ทำให้อ้อยตายเป็นจำนวนมาก จึง
ยกเลิกแปลงเพชรบุรี จากแปลงทดสอบ 7 แปลง เก็บเกี่ยวเมื่ออ้อยอายุ 8- 10 เดือน พบว่า มีโคลนดีเด่นที่
ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์เปรียบเทียบทั้ง 3 พันธุ์ไดแ้ ก่ KK07-037 และ KK09-0844 ในขณะที่ความหวาน ไม่มี
โคลนดีเดน่ ท่ีมคี วามหวานสงู กวา่ พันธุ์ LK92-11 แตจ่ ะมโี คลน KK07-250 ทม่ี คี วามหวานสงู กว่าพนั ธุ์ขอนแก่น
3 และ K88-92 และเมื่อนำมาคำนวณผลผลิตน้ำตาล พบว่า ไม่มีโคลนดีเด่นที่มีผลผลิตน้ำตาลสูงกว่าพันธุ์
ขอนแก่น 3 แตโ่ คลน KK07-250 และ KK07-037 ที่ใหผ้ ลผลิตน้ำตาลสูงกวา่ พันธ์ุ LK92-11 และ K88-92 และ
โคลน KK09-0844 มีผลผลิตน้ำตาลใกล้เคียงกับพันธุ์ LK92-11 และ K88-92 เช่นเดียวกันกับผลผลิต
กากน้ำตาล อ้อยการค้าและอ้อยอเนกประสงค์ไม่แตกต่างกัน ส่วนผลผลิตชานอ้อย อ้อยอเนกประสงค์ให้
ผลผลติ ชานออ้ ยสูงกว่าพนั ธุ์ตรวจสอบ และเม่ือนำผลผลิตส่วนต่างๆ มาคำนวณเปน็ รายได้ พบวา่ มีอ้อยโคลน
ดเี ด่นท่ีมศี กั ยภาพให้รายไดส้ งู กวา่ พันธตุ์ รวจสอบ ทัง้ 3 พันธ์ุ ไดแ้ ก่ KK07-037 KK07-250 และ KK09-0939
คำสำคญั : อ้อยเอนกประสงค์

1 ศูนยว์ ิจัยพชื ไรข่ อนแก่น สถาบนั วิจยั พชื ไร่และพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่
2 ข้าราชการบำนาญ สถาบนั วจิ ัยพืชไร่และพชื ทดแทนพลงั งาน กรมวชิ าการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

1000

Abstract

Multipurpose sugarcane cultivars have normally high cane and bagasse yields but
medium sugar content comparing with commercial sugarcane cultivars especially in unsuitable
area for sugarcane growing (always drought?). The objective of this experiment was to select
multipurpose sugarcane clones giving total income (from sugar, molasses and bagasse yield)
5% higher than KK3 cultivar in unsuitable areas for sugarcane. Randomized Complete Block
Design with 3 replications was applied. The treatments were 12 sugarcane clones composed
of 7 DOA multipurpose sugarcane clones (TPJ04-768, KK08-059, KK09-0857, KK09-0939, KK09-
0844, KK09-0941 and KK09-0358) and 5 commercial cultivars (KK07-037, KK07-250, KK3, LK92-
11 and K88-92). The experiment was conducted in 8 sites, Khon Kaen (2 sites), Kalasin,
Chaiyaphum, Chai Nat, Phetchaburi, Sukhothai and Uttaradit, one in each. It happened that
many sugarcane plants in Phetchaburi site died after transplanting due to lack of rain therefore
this site’s data was discarded. The planted cane in all sites were harvested when they were
8-10 months old because of late planting in 30 May 2018. Clone KK07-037 and KK09-0844 had
higher cane yield than K88-92, KK3 and LK92-11. Clone LK92-11 gave the highest CCS value.
Clone KK07-250 provided higher CCS value than KK3 and K88-92. KK3 cultivar had the highest
sugar yield. Clone KK07-250 and KK07-037 gave higher sugar yield than LK92-11 and K88-92
and clone KK09-0844 gave the same sugar yield as LK92-11 and K88-92. Molasses yield of
multipurpose sugarcane clones and commercial cultivars were the same but multipurpose
sugarcane clones had higher bargasse yield than commercial sugarcane cultivars. These led to
higher total income of clones KK07-037, KK07-250 and KK09-0939 than KK3, K88-92 and LK92-
11. The collection of the data in 1st and 2nd ratoon crops were to be continually practiced
before selection of the best clone for recommendation.
Keyword: multipurpose sugarcane

คำนำ
ออ้ ยเป็นวัตถุดิบในการผลติ น้ำตาลทราย และมผี ลติ ภัณฑร์ ว่ มได้แกก่ ากน้ำตาลท่ีเป็นวัตถุดิบสำคัญใน
การผลิตเอทานอล และชานอ้อยทใ่ี ช้เปน็ เชือ้ เพลงิ ในการผลติ นำ้ ตาล และผลติ พลงั งานไฟฟา้
การพัฒนาพนั ธ์อุ ้อยทผ่ี ่านมาเนน้ อ้อยทีม่ ีความหวานสูง แต่ในปัจจบุ นั ได้ใช้ประโยชน์จากทุกส่วนที่ได้
จากอ้อย และมกี ารขยายการผลติ ออ้ ยและน้ำตาลเพิ่มขนึ้ การขยายพ้ืนท่มี ีท้งั ท่ีเหมาะสมและไม่เหมาะสม ใน
พื้นที่ที่เหมาะสมการผลิตออ้ ยเพือ่ ผลิตน้ำตาลยังให้ผลตอบแทนสูงกวา่ ผลิตภัณฑ์อื่น แต่ในพื้นที่ที่คอ่ นข้างไม่
เหมาะสมการให้ผลผลิตและการไวต้ อของอ้อยพันธุ์การค้าในปจั จุบันให้ผลผลิตตอ่ พืน้ ที่ต่ำโดยเฉพาะในอ้อยตอ

1001

ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่นร่วมกับ JIRCAS (Japan International Research Center for Agricultural
Sciences) จึงไดม้ กี ารพัฒนาพันธ์อุ อ้ ยโดยใชเ้ ช้ือพันธุกรรมจากอ้อยปา่ (Saccharum spontaneum) เรียกว่า
อ้อยเอนกประสงค์ โดยคัดเลือกพันธทุ์ ี่ให้ผลผลิตน้ำตาล และชานอ้อยตอ่ พ้นื ท่ีสูงและในอ้อยตอการลดลงของ
ผลผลิตไม่มากนัก สำหรับใช้ในพื้นที่ที่ค่อนข้างไม่เหมาะสมนักสำหรับอ้อย จากการทดสอบผลผลิตขั้ น
เปรียบเทยี บพันธุม์ พี ันธด์ุ ีเด่นที่นา่ จะเหมาะสมสำหรับพืน้ ท่ที ่ีค่อนขา้ งจำกดั สำหรับอ้อย แต่ยังขาดการทดสอบ
ในหลายสภาพพืน้ ที่ และอ้อยกลุ่มนี้มีคา่ ความบรสิ ุทธิ์ (purity) ค่อนข้างต่ำกวา่ พันธุ์อ้อยการค้า จึงควรศึกษา
ความคมุ้ ค่าเชิงพาณิชย์ในการผลิตน้ำตาลและผลิตภัณฑ์ร่วมในระดบั การผลิตจริง เพ่ือแนะนำพันธุ์อ้อยกลุ่มน้ี
ในพื้นทีท่ ่ีเหมาะสมซ่ึงจะทำให้เกดิ ความคุ้มคา่ และย่งั ยนื ในการผลติ ออ้ ย น้ำตาล และผลิตภณั ฑ์ร่วมตอ่ ไป

การประเมินผลผลติ พันธอ์ุ ้อยเอนกประสงค์ 7 พนั ธ์ุ TPJ04-768 KK08-059 KK09-0857 KK09-0939
KK09-0844 KK09-0941 และ KK09-0358 ร่วมกับอ้อยพันธุ์การค้า 5 พันธุ์ ทั้งพันธุ์ที่นิยมปลูก และพันธุ์
กา้ วหน้า (ขอนแก่น3, K88-92, LK92-11, KK07-037 และ KK07-250) ในอ้อยปลูก ออ้ ยตอปีที่ 1 และอ้อยตอ
ปีที่ 2 ในสภาพแวดล้อมท่ีมีข้อจำกัดในการผลิตอ้อย ในพ้ืนท่ภี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (4 แปลง) ภาคเหนือ (2
แปลง) และภาคกลาง (2 แปลง) รวม 8 แปลงทดลอง เพ่ือคดั เลือกพันธ์อุ ้อยเอนกประสงค์ท่ใี ห้ผลผลิตสูงกว่า
พันธ์ุขอนแก่น 3 มากกวา่ ร้อยละ 5 ไวต้ อได้ดี และเหมาะสำหรับปลูกในสภาพแวดล้อมทมี่ ีขอ้ จำกัดในการผลติ อ้อย

วิธดี ำเนินการ
ดำเนินการในพื้นที่ที่ค่อนข้างไม่เหมาะสมสำหรับอ้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (4 แปลง)
ภาคเหนือ (2 แปลง) และภาคกลาง (2 แปลง) รวม 8 แปลงทดลอง พันธุ์อ้อยเอนกประสงค์ 7 พันธุ์ (พันธุ์
(TPJ04-768, KK08-059, KK09-0857, KK09-0939, KK09-0844, KK09-0941 และ KK09-0358 ร่วมกับออ้ ย
พันธุ์การค้า 5 พันธุ์ ทั้งพันธุ์ที่นิยมปลูก และพันธุ์ก้าวหน้า (ขอนแก่น3, K88-92, LK92-11, KK07-037 และ
KK07-250) รวม 12 พนั ธุ/์ โคลน
- ปี 2561 ปลูกอ้อยตามแผนการทดลอง Randomized Complete Block Design 3 ซ้ำ แปลงย่อย
4 แถว ยาว 8 เมตร เก็บเกี่ยว 2 แถวกลาง เก็บตัวอย่างดินที่ระดับ 0-20 เซนติเมตร และ 20-60 เซนติเมตร
ก่อนปลกู เพ่อื วเิ คราะหค์ ่า pH, %OM, Avai P, Exch K, และเนือ้ ดิน ปลูกออ้ ยเปน็ แถวโดยการวางลำคู่ ระยะ
ระหวา่ งแถวเทา่ กับ 1.5 เมตร ใสป่ ยุ๋ เคมีตามค่าวเิ คราะห์ดิน โดยแบง่ ใส่ 2 คร้ัง ครั้งแรกใส่พรอ้ มปลูก คร้ังท่ี 2
ใส่หลงั จากอ้อยงอก 3 เดือน กำจัดวัชพืชไม่ให้รบกวนอ้อยตลอดฤดูปลูก เก็บเกีย่ วในช่วงฤดูหีบอ้อยคือเดือน
ธนั วาคม-มนี าคม บนั ทึกปริมาณน้ำฝน
การปฏบิ ัติดแู ลรกั ษาออ้ ยตอ กำจดั วัชพืชด้วยแรงงานคน ใสป่ ุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน คร้ังแรกใส่ในช่วง
ต้นฤดูฝน เมื่อดินมีความชื้นพอทีป่ ุ๋ยจะละลาย และอ้อยสามารถนำไปใช้ได้ ครั้งที่ 2 ใส่หลังจากครั้งแรกสอง
เดอื นคร่ึง
บนั ทึกวันปฏิบตั ิการตา่ งๆ วันงอก จำนวนหนอ่ งอกเมอื่ หนึ่งเดอื นครง่ึ สุ่มอ้อยแปลงยอ่ ยละ 10 ตน้ วัด
ความสูงทกุ 2 เดือน เริ่มจาก 3 เดอื นหลังปลูกถึงเดือนตลุ าคม บนั ทกึ โรคและแมลง

1002

การเก็บเก่ียว บันทกึ จำนวนหลุม จำนวนลำและน้ำหนักในพ้นื ท่เี ก็บเกย่ี ว สุ่มออ้ ยแปลงย่อยละ 10 ต้น
วัดความยาว เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง ค่าบริกซ์ ค่าโพล และเปอรเ์ ซน็ ต์เย่ือใยคำนวณผลผลิตต่อไร่จากน้ำหนักลำและ
พืน้ ที่เกบ็ เก่ยี ว คำนวณคา่ ซซี เี อสและความบริสทุ ธิข์ องนำ้ ออ้ ย จากค่าบรกิ ซ์ โพล และไฟเบอร์ คำนวณ ผลผลิต
น้ำตาล ผลผลิตชานออ้ ย และผลผลติ นำ้ ตาลรวม

ผลผลติ นำ้ ตาล =(ผลผลติ อ้อย x ซีซีเอส)/100
ผลผลิตชานอ้อย =(ผลผลิตออ้ ย x เปอรเ์ ซน็ ต์เย่ือใย)/100
ผลผลิตกากนำ้ ตาล = ผลผลติ x 40.68 (ค่าเฉล่ียของประเทศปี 2561/2562)
ผลผลิตกากน้ำตาล = ผลผลติ x 45.25 (คา่ เฉลยี่ ของประเทศปี 2562/2563)
การคำนวณรายได้จากส่วนต่างๆ ของอ้อย ([3] สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, 2562 และ
2563)
- ราคาขนั้ ตน้ 700 บาท/ตัน ปี 2561/2562 และ 750 บาท/ตนั ปี 2562/2563 ท่ี 10 ซซี เี อส
- อัตราขึ้นลง 42 บาท/ซีซีเอส/ตัน ปี 2561/2562 และ 45 บาท/ซีซีเอส/ตัน ปี 2562/2563
- ราคากากน้ำตาลเฉล่ีย 3,758.68 บาท/ต้น
- ราคาขายชานอ้อย ณ โรงงานนำ้ ตาลขอนแกน่ 945 บาท/ต้น
- ปี 2562/2563 เกบ็ ข้อมูลผลผลติ ในอ้อยตอปีที 1 เชน่ เดียวกบั ออ้ ยปลกู

ผลและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
ดำเนนิ การทดสอบพนั ธอ์ุ อ้ ย 12 พนั ธ์/ุ โคลนพันธุ์ วางแผนการทดลองแบบ RCB 3 ซำ้ 8 สถานท่ี ภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนือ (4) ภาคเหนือ (2) ภาคกลาง (2) ในอ้อยปลูก เตรียมพันธุอ์ ้อยโดยการชำข้อจำนวน 12
พันธุ์/โคลนพันธุ์ เดิมการเตรียมท่อนพันธุ์เป็นท่อนๆ ละ 3 ตา ปลูกหลุมละ 2 ท่อน ซึ่งจะใช้ท่อนพันธุ์เป็น
จำนวนมาก แตม่ ีการปรบั เปล่ยี นแผนงานไมม่ กี ารขยายท่อนพันธใ์ุ นปีแรก และทอ่ นพันธุ์มนี อ้ ย จึงเตรียมพันธ์ุ
โดยการชำขอ้ และปลูกหลุมละ 1 ต้นหรือ 1 ขอ้
ดำเนินการติดตอ่ แปลงทดลองในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคกลาง และภาคเหนือ จำนวน 8
แปลง โดยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือดำเนินการในพื้นที่อำเภอเมืองและอำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น
อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ และ อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธ์ุ จังหวัดละ 1 แปลง ในพื้นทีภ่ าคเหนอื
ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์และ อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย และภาคกลาง
ดำเนนิ การในพ้ืนท่ี อำเภอหนองหญ้าปลอ้ ง จงั หวัดเพชรบรุ ีและอำเภอสวรรคบรุ ี จังหวัดชัยนาท โดยปลูกต้ังแต่
วันที่ 18 เมษายน–14 มิถนุ ายน 2561 (ดงั รายละเอยี ดในตารางที่ 1) ใชร้ ะยะปลูก 1.2-1.6x0.5 เมตร และหลัง
ปลูกพ่นสารควบคุมวัชพืชก่อนงอกโดยใช้อามีทรีน ยกเว้นแปลงที่ 6 ที่ใช้รถแทรกเตอร์พรวนดนิ ระหว่างรอ่ ง
ปลูก และมีการใส่ปุ๋ยรองพื้นพร้อมปลูก 2 แปลง ได้แก่ แปลงที่ 1 และแปลงที่ 6 โดยใส่ปุ๋ยเกรด 15-15-15
อัตรา 40 และ 20 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ตามลำดบั (ตารางที่ 1)
จากการวัดพกิ ัดแปลงทั้ง 8 แปลง จดั แบง่ ชดุ ดินได้ 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุม่ ชดุ ดินในพ้ืนที่ลุ่ม และกลุ่มชุด
ดนิ ในพ้ืนที่ดอน เขตดนิ แห้ง ทง้ั 2 กลุ่มชดุ ดิน เป็นกลมุ่ ดินทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ตำ่ ถงึ ปานกลาง

1003

กลมุ่ ชุดดินในพื้นทลี่ ุ่ม ได้แก่ กล่มุ ชดุ ดินที่ 4 และ 20 เป็นดินที่มีการระบายนำ้ เลว โดยเฉพาะกลุ่มชุด

ดินท่ี 4 ทม่ี โี ครงสร้างดินเหนยี วแนน่ ทึบ เกิดจากตะกอนลำนำ้ ทีม่ อี ายุยังนอ้ ย เชน่ เดียวกบั กล่มุ ชุดดนิ ท่ี 20 ท่ีมี

การระบายนำ้ เลว และยงั ประสบปญั หาดินเค็ม เกดิ จากตะกอนลำนำ้ ท่ีมีคราบเกลือลอยนำ้ หรอื มีชั้นดานแข็งท่ี

สะสมเกลอื ภายในความลกึ 100 ซม. จากผิวดิน

กลมุ่ ชดุ ดินในพน้ื ทีด่ อน เขตดินแห้ง ได้แก่ กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 33 40 41 46 และ 48 ส่วนใหญ่มีความเป็น

กรดจัดถงึ ปานกลาง และมีความอดุ สมบรู ณ์ต่ำถึงปานกลาง เนื้อดนิ ทั้งดินทราย ดินร่วน ดนิ กรวด หรอื ดนิ ลูกรัง

เปน็ ดินทมี่ ีอนุภาคใหญ่ จึงระบายน้ำดี

ตารางท่ี 1 สถานทปี่ ลูก วนั ปลกู ระยะปลกู

แปลงที่ สถานทดี่ ำเนินการ พิกดั แปลง กลมุ่ ชดุ ระยะปลูก วันปลกู วันเกบ็ เกี่ยว
ดินที่ ออ้ ยปลกู อ้อยตอ 1

1 อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ 266752x1809517 20 1.5 x 0.5 18 เม.ย. 61 15 ก.พ. 62 4 ก.พ. 63

2 อ.พระยนื จ.ขอนแก่น 258776x1806765 41 1.4 x 0.5 24 พ.ค. 61 27 ก.พ. 62 3 ม.ค. 63

3 อ.ภูเขียว จ.ชยั ภูมิ 193166x1823818 55 1.5 x 0.5 27 เม.ย. 61 20 ก.พ. 62 28 ม.ค. 63

4 อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธ์ุ 395967x1820156 40 1.5 x 0.5 21 เม.ย. 61 22 ก.พ. 62 -

5 อ.สรรคบุรี จ.ชยั นาท 626485x1660403 4 1.5 x 0.5 14 มิ.ย. 61 15 ก.พ. 62 11 ม.ค. 63

6 อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย 594638x1922076 33 1.6 x 0.5 27 เม.ย. 61 19 ก.พ. 62 ธ.ค. 62

7 อ.ลับแล จ.อตุ รดิตถ์ 604155x1945850 46 1.2 x 0.5 25 เม.ย. 61 21 ก.พ. 62 -

8 อ.หนองหญ้าปล้อง จ.เพชรบรุ ี 578482x1452923 48 1.5 x 0.5 31 พ.ค. 61 - -

ตารางท่ี 2 ผลวเิ คราะหด์ ิน อัตราปยุ๋ แนะนำ และปรมิ าณการใส่ปุย๋ ตามคำแนะนำ

แปลง ผลวิเคราะหด์ นิ อตั ราปุ๋ยแนะนำ*

ที่ สถานที่ดำเนนิ การ pH OM Avai. P Exc. K อ้อยปลกู ออ้ ยตอ 1
(%) (ppm) (ppm)
1 อ.เมือง จ.ขอนแก่น 27-3-18 27-3-18
4.9 0.64 45 50

2 อ.พระยืน จ.ขอนแก่น 4.8 0.32 4 44 27-9-18 27-9-18

3 อ.ภูเขียว จ.ชัยภมู ิ 7.6 1.91 8 72 12-6-12 15-6-12

4 อ.กฉุ นิ ารายณ์ จ.กาฬสินธ์ุ 5.4 0.58 9 65 27-6-12 27-6-12

5 อ.สรรคบรุ ี จ.ชัยนาท 6.6 1.52 41 78 12-3-12 15-3-12

6 อ.หนองหญ้าปล้อง จ.เพชรบรุ ี 5.6 0.96 3 128 15-9-6 18-9-6

7 อ.สวรรคโลก จ.สโุ ขทยั 5.2 2.20 96 283 12-3-6 15-3-6

8 อ.ลับแล จ.อุตรดติ ถ์ 5.4 2.90 41 257 6-3-6 9-3-6

* กลุ่มวิจัยปฐพีวทิ ยา กองวิจยั พัฒนาปัจจยั การผลิตทางการเกษตร (2561)

กอบเกยี รตแิ ละคณะ (2555) วิเคราะหโ์ อกาสขาดน้ำ และระยะตา่ งๆ ของการเจริญเติบโตของอ้อยท่ี

ปลกู ขา้ มแล้งในดินชดุ วาริน จังหวดั ขอนแกน่ พบว่า ระยะตง้ั ตัว (ปลูกจนถงึ อายุ 30 วัน) ออ้ ยตอ้ งการน้ำวันละ

0.7 มม. ระยะแตกกอและยืดปล้อง (140 วัน) อ้อยต้องการน้ำวันละ 2.8 มม. ระยะสะสมน้ำตาลอ้อย (125

วัน) ต้องการนำ้ วนั ละ 6.6 มม. และระยะสกุ แก่อ้อย (35 วนั ) ต้องการน้ำวนั ละ 5.3 มม. ตลอดอายุจนถึงเก็บ

เกีย่ วอ้อยประมาณ 12 เดอื น ออ้ ยมีความตอ้ งการน้ำไมน่ ้อยกว่า 1,200 มิลลิเมตร ถา้ ออ้ ยได้รับนำ้ น้อยกว่าจะ

สง่ ผลกระทบตอ่ ผลผลิตและคุณภาพออ้ ย

1004

แปลงที่ 1 อ.เมือง จ.ขอนแกน่
วัดพิกัดแปลง และเก็บตัวอย่างดิน ส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการของศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ปลูกอ้อย

วันที่ 18 เมษายน 2561 โดยใช้อ้อยชำข้อระยะปลูก 1.5x0.5 เมตร และใส่ปุ๋ยรองพื้นเกรด 15-15-15 อัตรา
40 กิโลกรมั /ไร่ ใหน้ ำ้ ตามร่องในวันท่ี 19 เมษายน 2561 และพ่นสารคมุ วชั พืชอามีทรีน อัตรา 600 กรมั /ไร่ ใน
วันที่ 20 เมษายน 2561 และกำจัดวัชพืชครั้งที่ 2 โดยใช้รถไถพรวนระหว่างร่องอ้อยในวันที่ 12 มิถุนายน
2561 จากการวัดพกิ ัดแปลง พบว่า เป็นกล่มุ ชุดดินที่ 20 ซึง่ เป็นกลมุ่ ดินเค็มเกิดจากตะกอนลำนำ้ มีการระบาย
น้ำค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ดิน ที่มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน
เทา่ กับ 4.9 อนิ ทรยี วตั ถุ 0.64% ฟอสฟอรัสทีเ่ ป็นประโยชน์เท่ากับ 45 mg/kg และโปแตสเซียมที่แลกเปล่ียน
ได้เท่ากับ 50 ppm. (ตารางที่ 2) จากผลการวิเคราะห์ดินกำหนดเกรดปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน คือ 27-3-18
กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O และจากการใส่ปยุ๋ รองพื้นพรอ้ มปลูกด้วยปุย๋ เกรด 15-15-15 อัตรา 40 กโิ ลกรัม/ไร่ ใน
วันที่ 4 กรกฎาคม 2561 ใส่ปุ๋ยแต่งหน้าเพิ่มเติมด้วย 46-0-0 18-46-0 และ 0-0-60 อัตรา 66 9 และ 53
กโิ ลกรมั /ไร่ ตามลำดับ พร้อมท้งั พรวนดนิ กำจดั วัชพชื ระหวา่ งร่อง

เก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อยเมื่ออายุ 9 เดือน ในวันที่ 5 มกราคม 2562 พบว่า พันธุ์อ้อยที่แตกต่างกันมี
ผลผลิต ค่าความหวาน ผลผลิตน้ำตาล กากน้ำตาล และชานอ้อยไม่แตกต่างกันทางสถิติ (ตารางที่ 3-7) เม่ือ
นำมาคำนวณราคารายได้จากอ้อยทั้งน้ำตาล ความหวาน กากน้ำตาล และชานอ้อย พบว่า KK09-0844 มี
รายได้รวมสงู ที่สุด เทา่ กบั 12,661 บาท สูงกวา่ พนั ธุต์ รวจสอบทัง้ 3 พนั ธ์ุ (ตารางที่ 8)

ผลผลิต และความหวานของอ้อยค่อนข้างต่ำ เพราะเกบ็ เก่ียวออ้ ยเพียง 9 เดอื น ทำให้มีระยะเวลาใน
การสะสมน้ำตาลนอ้ ยและไดร้ บั ปริมาณน้ำฝนนอ้ ยกวา่ ความต้องการ โดยในระยะตงั้ ตวั อ้อยมกี ารเจริญเติบโตดี
ซงึ่ อ้อยมคี วามต้องการน้ำ 22 มม. และไดร้ ับน้ำ 49.4 มม. แต่ในระยะแตกกอ-ยืดปลอ้ ง และระยะสะสมน้ำตาล
อ้อยไดร้ บั ปริมาณนอ้ ยกวา่ ความตอ้ งการทำให้ผลผลิตและความหวานค่อนข้างต่ำ (ภาพท่ี 1)

หลังเก็บเกี่ยวอ้อยปลูกตัดแต่งตออ้อย ได้มีการให้น้ำตามร่องปลูกในช่วงแรกหลังเก็บเกี่ยว 1 คร้ัง
หลงั จากดนิ มีความช้ืนในชว่ งเดอื น พฤษภาคม-มิถนุ ายน กำจดั วัชพืช และใสป่ ยุ๋ ตามค่าวิเคราะห์ดินเกรด 27-
3-18 ในอ้อยตอ หลังจากที่มีการให้ปุ๋ย 2 ครั้ง เก็บเกี่ยวอ้อยตอ1 เมื่ออายุ 12 เดือน ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์
2563 พบว่า พันธุ์อ้อยที่แตกต่างกนั มีผลผลิต ผลผลิตน้ำตาล กากอ้อย และชานอ้อย ไม่แตกต่างกันทางสถิติ
(ตารางที่ 3 5 6 และ 7) แต่ค่าความหวาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ โดยอ้อยพันธุ์ KK3 มีค่า
ความหวานสูงสุดคือ 19.7 องศาบริกซ์ และพันธุ์ที่มีความหวานต่ำที่สุดคือ พันธุ์ KK09-0941 เท่ากับ 11.4
องศาบริกซ์ (ตารางที่ 4) เมื่อนำมาคำนวณราคารายได้จากอ้อยทั้งน้ำตาล ความหวาน กากน้ำตาล และชาน
อ้อย พบวา่ KK3 มีรายได้รวมสูงทสี่ ุด เท่ากบั 14,960 บาท รองลงมาคอื K88-92 KK09-0358 LK92-11 และ
KK09-0941 มรี ายได้รวมเท่ากบั 11,621 10,595 10.587 และ 10,454 บาท ตามลำดับ (ตารางที่ 8)

และเมอื่ นำผลผลติ และองค์ประกอบผลผลติ ของพันธุอ์ ้อย ในอ้อยปลูกและออ้ ยตอ1 หาความสัมพันธ์
กัน พบว่า ผลผลิตอ้อย และผลผลิตน้ำตาล ไม่สามารถหาปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุ์ได้ เนื่องจากในอ้อยตอ
ผลผลิตดังกล่าวมีความแปรปรวนมาก ดังนั้นจึงสามารถหาค่าความแตกต่างจากค่าเฉล่ียในอ้อยปลกู และอ้อย
ตอ พบว่า พันธุ์อ้อยที่มีค่าเฉลี่ยของผลผลิตสูงสุดคือ พันธุ์ K88-92 KK3 KK09-0941 และ KK09-0358 ให้

1005
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 11.8 11.2 11.0 และ 10.3 ตันต่อไร่ ตามลำดับ ในขณที่ผลผลิตน้ำตาล ผลผลิตกากน้ำตาล
และผลผลิตชานอ้อยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ผลผลิตน้ำตาลพันธุ์ที่ให้ค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ พันธุ์ KK3 1.8
ตนั ซซี ีเอสตอ่ ไร่ รองลงมาคือพนั ธุ์ K88-92 และ KK09-0941 เทา่ กบั 1.4 และ 1.2 ตันซีซีเอสตอ่ ไร่ ตามลำดบั

ผลผลิตเฉลี่ยอ้อยตอ 1 ลดลงร้อยละ 32 จาก 11.2 ตัน/ไร่ เป็น 7.6 ตัน/ไร่ เนื่องจากได้รับปริมาณ
น้ำฝนตลอดฤดูกาลผลิต 852 มิลลเิ มตร โดยไดร้ ับน้ำฝนชว่ งตน้ ฤดูเพยี ง แตข่ าดในชว่ งการสะสมนำ้ ตาล ได้รับ
น้ำเพียง 337 มิลลิเมตร แต่ในขณะที่อ้อยมีความต้องการน้ำถึง 828 มิลลิเมตร ไม่มีฝนตกเลยตั้งแต่เดือน
ตุลาคมจนถึงเก็บเกี่ยว ดังภาพที่ 2 และเมื่อนำมาคำนวณราคารายได้จากอ้อยทั้งน้ำตาล ความหวาน
กากน้ำตาล และชานอ้อย พบว่า ขอนแกน่ 3 มีรายได้รวมสงู ท่ีสดุ ทัง้ ในออ้ ยปลูก และอ้อยตอ 1 เท่ากบั 12,449
และ 11,621 รวมทั้งสิน้ 26,927 บาท รองลงมาเป็น KK88-92 และ KK09-0941 ตามลำดบั (ตารางท่ี 8)

ภาพที่ 1 ปริมาณนำ้ ฝนราย 10 วนั อณุ หภูมิสูงสดุ และตำ่ สดุ ปี 2561- 2562 ของสถานอี ตุ ุนิยมวทิ ยาท่าพระ

ภาพท่ี 2 ปริมาณน้ำฝนราย 10 วัน อณุ หภมู ิสูงสดุ และต่ำสดุ ปี 2562- 2563 ของสถานอี ุตุนิยมวิทยาทา่ พระ

1006

แปลงท่ี 2 อ.พระยนื จ.ขอนแกน่
ไถเตรียมดินครั้งที่ 1 หมักหญ้าประมาณ 1 เดือน ไถดะและไถพรวน ยกร่องระยะระหว่างร่อง 1.4

เมตร วัดพิกัดแปลง และเก็บตัวอย่างดินก่อนปลูก ส่งวิเคราะห์ที่ห้องปฏิบตั ิการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น จาก
การวัดพิกัดแปลง พบว่า เป็นกลุ่มชุดดินที่ 41 เป็นกลุ่มดินทรายหนาปานกลาง ที่เกิดจากตะกอนลำน้ำหรือ
ตะกอนเนื้อหยาบ ทับอยู่บนชั้นดินที่มีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว หรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง
ปฏิกิริยาดนิ เป็นกรดเล็กน้อยถึงเป็นกลาง การระบายน้ำดี อยู่บนชั้นดนิ ที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง มีความ
อุดมสมบูรณ์ต่ำ และสอดคล้องกับผลวิเคราะห์ดิน ที่พบว่า มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดินเท่ากับ 4.8
อินทรียวัตถุ 0.32% ฟอสฟอรสั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์เท่ากับ 4 mg/kg และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้เท่ากับ 44
ppm. (ตารางท่ี 2) เปน็ ดินทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณร์ ะดับตำ่ มาก จากผลการวิเคราะห์ดนิ กำหนดเกรดปุ๋ยตามค่า
วิเคราะห์ดิน คือ 27-9-18 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ปลูกออ้ ยวนั ที่ 24 พฤษภาคม 2561 โดยใชอ้ ้อยชำขอ้ ระยะ
ปลูก 1.4x0.5 เมตร หลังปลูกพ่นสารคุมวัชพืชอามีทรีน อัตรา 600 กรัม/ไร่ ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 เกรด 15-15-15
อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2561 และใส่ปุ๋ยครัง้ ท่ี 2 ในเดือนกันยายน 2561 จากภาพที่ 2
จะเหน็ ไดว้ า่ ออ้ ยได้รับปรมิ าณน้ำฝนอย่างเพยี งพอในระยะต้งั ตัวและแตกกอ ทำให้อ้อยมีการเจริญเติบโตดี โดย
โคลน KK09-0358 มีการเจริญเติบโตสูงที่สุด แต่ในระยะยืดปล้องและสะสมน้ำตาล อ้อยได้รับน้ำในปริมาณ
น้อยกว่าความต้องการส่งผลให้ผลผลิตเฉลี่ยค่อนข้างต่ำเท่ากับ 6.90 ตัน/ไร่ และการเก็บเก่ียวอ้อยที่มีอายุ 9
เดอื น ผลผลติ ผลผลติ นำ้ ตาล กากนำ้ ตาล และชานออ้ ย ไม่มคี วามแตกตา่ งกนั ทางสถติ ิ ยกเวน้ ความหวานพนั ธุ์
อ้อยจะมคี วามหวานแตกต่างกนั ทางสถิติ โดยมคี วามหวานเฉลย่ี 13.27 ซซี เี อส ไมม่ อี ้อยโคลนใดมีความหวาน
สูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบ LK92-11 และ ขอนแก่น 3 แต่จะมีโคลน KK07-250 ที่มีความหวานใกล้เคียงและไม่
แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนใหญ่อ้อยมีความหวานไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้นโคลน KK09-0941
(ตารางที่ 3-7) ผลผลิตเฉลี่ยอ้อยต่ำ และเมื่อคำนวณรายได้จากผลผลิตทุกส่วนของอ้อย พบว่า อ้อยโคลน
KK09-0358 และ KK09-0857 ให้รายได้สูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบทั้ง 3 พันธุ์ โดยมีรายได้เท่ากับ 8,949 และ
8,323 บาท/ไร่ ตามลำดับ (ตารางท่ี 8)

ตัดแตง่ ออ้ ยตอหลังการเก็บเก่ียว เกบ็ เก่ยี วอ้อยตอ 1 เมอื่ อายุ 11 เดอื น พบว่า ผลผลิต ผลผลติ น้ำตาล
และองค์ประกอบผลผลิตมีความแตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้นความหวานไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ และ
จากการทอี่ อ้ ยตอเป็นโรคใบขาวมากและประสบภาวะแล้งจัดสง่ ผลให้ผลผลิตเฉลี่ยต่ำโดยมีผลผลติ เฉล่ียเท่ากับ
1.42 ตัน/ไร่ K88-92 ใหผ้ ลผลิต ผลผลิตนำ้ ตาล และกากน้ำตาล สูงสดุ เทา่ กับ 2.51 ตัน/ไร่ 0.31 ตนั ซีซเี อส/ไร่
102 กิโลกรัม/ไร่ ตามลำดับ แต่ไม่แตกต่างกนั ทางสถิตกิ บั ทุกพนั ธุ์/โคลน ยกเว้น LK92-11 (ตารางที่ 6) ส่วน
ขานอ้อย KK09-0939 และ TPJ04-768 ให้ผลผลิตชานอ้อยสูงกว่าพันธุต์ รวจสอบทั้ง 3 พันธุ์ พันธุ์ตรวจสอบ
ทั้ง 3 พันธุ์ให้ผลผลิตต่ำกว่าโคลนดีเด่น (ตารางที่ 7) และเมื่อนำมาคิดรายได้จากผลผลิต ความหวาน
กากนำ้ ตาล และชานอ้อย จากราคาเรม่ิ ต้นท่ี 750 บาท/ตัน ท่ีความหวาน 10 ซีซเี อส และเพิม่ 45 บาท/ตนั ที่
ความหวานเพ่ิมขึ้น 1 ซีซีเอส ราคากากน้ำตาลตันละ 3,758 บาท ชานออ้ ย ตันละ 1,000 บาท พบว่า KK09-
0939 จะมีรายได้สูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบทั้ง 3 พันธุ์ โดยมีลตอบแทน 2,763 บาท/ไร่ รองลงมาได้แก่ K88-92
KK09-0875 TPJ04-768 KK09-0941 และ KK08-059 (ตารางท่ี 8)

1007
จากการทป่ี ี 2562/2563 ออ้ ยได้รบั ปรมิ าณนำ้ ฝนน้อย (ภาพท่ี 4) เกิดปัญหาภยั แลง้ สง่ ผลให้ ผลผลิต
และคณุ ภาพอ้อยในออ้ ยตอ 1 ลดลงดังตารางท่ี 1-3 ซ่งึ กระทบตอ่ รายไดเ้ ชน่ เดียวกนั (ตารางท่ี 8)

ภาพท่ี 3 ปริมาณน้ำฝน อุณหภมู สิ ูงสดุ และต่ำสดุ ปี 2561- 2562 ของสถานอี ุตุนิยมวทิ ยาทา่ พระ

ภาพท่ี 4 ปริมาณนำ้ ฝน อณุ หภูมสิ ูงสดุ และตำ่ สุดปี 2562- 2563 ของสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยาทา่ พระ
แปลงที่ 3 อ.ภูเขยี ว จ.ชัยภมู ิ

ปลูกอ้อยวนั ท่ี 27 เมษายน 2561 โดยใชอ้ ้อยชำขอ้ ใช้ระยะปลูก 1.5x0.5 เมตร วัดพิกัดแปลงและเก็บ
ตัวอย่างดินก่อนปลูก ส่งวิเคราะห์ที่ห้องปฏิบัติการศูนย์วจิ ัยพืชไร่ขอนแก่น จากการวัดพิกัดแปลง พบว่าเป็น
กลุ่มชุดดินที่ 55 เป็นกลุม่ ดนิ ลึกปานกลางถึงช้ันหนิ พื้น เศษหิน ก้อนหินหรือลูกรงั ปฏิกิริยาดินเป็นกลางหรอื
เป็นดา่ ง การระบายนำ้ ดีถงึ ดปี านกลาง ความอุดมสมบรู ณ์ปานกลาง สว่ นผลวิเคราะห์ดิน พบว่า มคี ่าความเป็น
กรด-ด่างของดินเทา่ กับ 7.6 อนิ ทรียวัตถุ 1.91% ฟอสฟอรัสทเ่ี ปน็ ประโยชนเ์ ทา่ กบั 8 mg/kg และโปแตสเซียม

1008

ที่แลกเปลี่ยนได้เท่ากับ 72 ppm (ตารางที่ 2) เป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ระดับปานกลาง จากผลการ
วเิ คราะหด์ นิ กำหนดเกรดปุย๋ ตามคา่ วิเคราะหด์ นิ คอื 12-6-12 กิโลกรมั N-P2O5-K2O หลงั ปลูกพน่ สารคุมวัชพืช
อามีทรีน อัตรา 600 กรัม/ไร่ กำจัดวัชพืชคร้ังท่ี 1 ในวันท่ี 4 กรกฎาคม 2561 กำจัดวัชพืชครัง้ ที่ 2 พร้อมใส่
ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ไถกลบและพูนโคนอ้อยในวันที่ 10 สิงหาคม 2561 อ้อยจะมีการเจริญเติบโตใน
ระยะแรกดเี นื่องจากได้รบั ปริมาณน้ำฝนเพยี งพอ (ภาพที่ 4) แต่ยังไม่เพียงต่อการยืดปล้อง และสะสมนำ้ ตาล
ส่งผลให้เมื่อเก็บเกี่ยวอ้อยที่อายุ 10 เดือน ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562 พบว่า ค่าความหวาน และผลผลิต
น้ำตาล มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ยกเว้นผลผลิตอ้อยและกากน้ำตาลที่ไมม่ ีความแตกต่างกันในทุก
สายพันธุ์/พันธ์ุ ผลผลิตอ้อยโคลนพนั ธ์ุ KK09-0844 KK09-0358 และ KK09-0941 ให้ผลผลิตสูงสุด 11.7 ตัน
ต่อไร่ (ตารางที่ 3) ค่าความหวานพันธุ์ที่ให้ความหวานสูงสุดคือ KK07-250 ไม่แตกต่างกับพันธุ์ ขอนแก่น 3
และ LK92-11 ที่ 13.1 12.7 และ 13.0 ซีซีเอส ตามลำดับ พันธุ์ที่ให้ความหวานรองลงมาคือ KK09-0939 ที่
10.9 ซีซีเอส (ตารางที่ 4) อย่างไรก็ตาม พบว่าพันธุ์ที่ให้ผลผลิตน้ำตาลสูงสุด คือ KK07-250 และ KK07-037
ที่ 1.5 ตันต่อไรเ่ ท่ากนั ไม่แตกต่างกับพันธุข์ อนแก่น 3 LK92-11 และ KK09-0939 เท่ากับ 1.3 1.2 และ 1.2
ตันซีซเี อสต่อไร่ ตามลำดับ (ตารางที่ 5) ส่วนชานอ้อยมีความแตกตา่ งกันทางสถิติ อ้อยโคลนดีเด่นทุกพันธ์ใุ ห้
ปริมาณชานอ้อยสูงกวา่ พันธุ์ตรวจสอบทัง้ 3 พันธ์ุ โดย KK09-0857 มชี านออ้ ยสูงที่สดุ เท่ากบั 1.67 ตันต่อไร่
รองลงมาได้แก่ KK09-0358 KK09-0939 KK07-037 KK08-059 KK09-0844 TPJ04-768 KK09-0941 และ
KK07-250 ตามลำดบั (ตารางท่ี 7) ออ้ ยโคลนดีเดน่ 5 โคลน ใหร้ ายได้สงู กว่าพนั ธ์ุตรวจสอบทง้ั 3 พนั ธุ์ ได้แก่
KK07-037 KK07-250 KK09-0939 KK08-059 และ KK09-0844 โดยมีรายได้เท่ากับ 12,555 11,048
10,174 9,662 และ 9,422 บาทตอ่ ไร่ ตามลำดบั (ตารางท่ี 8)

เก็บเกี่ยวอ้อยตอ 1 เมื่อวันที่ 27-28 มกราคม 2563 พบว่า ผลผลิตอ้อย และค่าความหวาน มีค่า
แตกต่างกันทางสถิติ โดยโคลน KK09-0857 ให้ผลผลิตอ้อยสูงที่สุดเท่ากับ 8.8 ตันต่อไร่ อันดับรองลงมาคอื
KK09-0358 และ KK07-037 ท่ีให้ผลผลติ ออ้ ยเท่ากบั 6.9 และ 6.8 ตนั ตอ่ ไร่ ตามลำดับ (ตารางท่ี 3) ในขณะท่ี
ค่าความหวานโคลน KK07-250 ให้ความหวานสูงที่สุด 16.1 ซีซีเอส ไม่แตกต่างทางสถิติกับพันธุ์มาตรฐาน
ขอนแก่น 3 และ LK92-11 ที่มีค่าความหวาน 15.4 และ 14.7 ซีซีเอส ตามลำดับ (ตารางที่ 4) อย่างไรกต็ าม
พบว่า ผลผลิตน้ำตาลของอ้อยทุกโคลน/พนั ธุ์มีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยโคลน/พันธุ์ที่มีแนวโน้มที่ให้ผล
ผลิตน้ำตาลสงู ไดแ้ ก่ KK07-037 KK07-250 และ KK3 เท่ากบั 0.76 0.76 และ 0.77 ตนั ซีซีเอสตอ่ ไร่ (ตารางท่ี
5) และเมื่อนำผลผลิตส่วนต่างๆ มาคำนวณเป็นรายได้ พบว่า มีโคลนดีเด่น 3 โคลนที่ให้รายได้สูงสุด ได้แก่
KK07-037 KK07-250 และ KK09-0939 ให้รายไดเ้ ท่ากับ 12,555 11,048 และ 10,174 บาทต่อไร่ ตามลำดบั (ตารางที่ 8)

เมื่อนำผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของพันธุ์อ้อยมาหาค่าเฉลี่ยในอ้อยปลูกและอ้อยตอ พบว่า
พนั ธุ์อ้อยทีม่ ีคา่ เฉล่ยี ของผลผลิตสูงสุดคือ KK07-037 และ KK09-0857 ให้ค่าเฉล่ยี เท่ากับ 10.6 และ 10.3 ตัน
ต่อไร่ ตามลำดับ ในขณะทีผ่ ลผลิตนำ้ ตาลพนั ธุ์ทใี่ ห้ค่าเฉลี่ยสงู สุดคอื พนั ธุ์ KK07-037 และ KK09-250 1.1 ตัน
ซีซีเอสต่อไร่ รองลงมาคือพันธุ์ LK92-11 และ ขอนแก่น 3 เท่ากับ 1.0 ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามลำดับ พันธุ์ที่ให้
ความหวานสูงสุดคือ KK07-250 เท่ากับ 14.6 ซีซีเอส สูงกว่าพันธุ์ขอนแก่น 3 และ LK92-11 เท่ากับ 13.7
และ 14.2 ซซี ีเอส ตามลำดับ (ตารางที่ 47)

1009
ผลผลิตเฉลี่ยอ้อยตอ 1 ลดลงร้อยละ 51 จาก 10.9 ตัน/ไร่ เป็น 5.5 ตัน/ไร่ เนื่องจากได้รับปริมาณ
นำ้ ฝนช่วงตั้งตวั น้อย ฝนทง้ิ ช่วงส่งผลทำให้อ้อยตอ 1 ท่ีงอกแสดงอาการใบขาวจึงต้องทำการขุดท้งิ ดังภาพท่ี 6
และเมื่อนำมาคำนวณราคารายได้จากอ้อยทั้งน้ำตาล ความหวาน กากน้ำตาล และชานอ้อย พบว่า พันธ์ุ
KK07-037 มีรายได้รวมสูงที่สุดทั้งในอ้อยปลูก และอ้อยตอ 1 เท่ากับ 12,555 และ 10,464 บาท รวมทั้งสิน้
23,019 บาท รองลงมาเป็น KK07-250 และ KK09-0939 เทา่ กบั 19,884 และ 19,544 บาท ตามลำดับ (ตารางที่ 8)

ภาพที่ 5 ปรมิ าณนำ้ ฝน อุณหภมู ิสงู สดุ และตำ่ สุดปี 2561- 2562 ของสถานีตรวจอากาศชยั ภูมิ

ภาพที่ 6 ปริมาณนำ้ ฝน อณุ หภูมสิ งู สุด และตำ่ สุดปี 2562- 2563 ของสถานีตรวจอากาศชยั ภูมิ

1010

แปลงท่ี 4 อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
ปลูกอ้อยวันที่ 21 เมษายน 2561 โดยใช้อ้อยชำข้อใช้ระยะปลูก 1.5x0.5 เมตร วัดพิกัดแปลง และ

เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูก ส่งวิเคราะห์ที่ห้องปฏิบตั ิการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น จากการวัดพิกัดแปลง พบว่า
เป็นกลุ่มชุดดินที่ 40 เป็นกลุ่มดินปนทราย ดินร่วนหยาบลึกถึงลึกมากที่เกิดจากตะกอนลำน้ำหรือวัตถุต้น
กำเนิดเนื้อหยาบ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดหรือเปน็ กลาง การระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ
สอดคล้องกับผลวิเคราะห์ดินที่พบว่า มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดินเท่ากับ 5.4 อินทรียวัตถุ 0.58%
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เท่ากับ 9 mg/kg และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้เท่ากับ 65 ppm. (ตารางที่ 2)
เป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ จากผลการวิเคราะห์ดินกำหนดเกรดปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน คือ 27-6-12
กิโลกรมั N-P2O5-K2O หลงั ปลกู พ่นสารคมุ วัชพชื อามีทรนี อตั รา 600 กรมั /ไร่ กำจัดวชั พชื ครงั้ ที่ 1 ในวนั ท่ี 22
มิถุนายน 2561 กำจัดวัชพืชครั้งที่ 2 พร้อมใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ไถกลบและพูนโคนอ้อยในวันที่ 6
สิงหาคม 2561 เก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อยที่อายุ 10 เดือน ในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562 พบว่า ผลผลิตอ้อย ค่า
ความหวาน และ ผลผลิตน้ำตาล มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (ตารางที่ 3-5) ผลผลิตอ้อยโคลนพันธุ์
KK09-0844 ให้ผลผลิตสูงสุด 13 ตันต่อไร่ ไม่แตกต่างกับโคลนพันธุ์/พันธุ์ KK08-059 KK09-0358 K88-92
และ KK07-250 เท่ากับ 10.7 10.3 9.7 และ 9.7 ตันต่อไร่ ตามลำดับ ค่าความหวานพันธุ์ที่ให้ความหวาน
สงู สดุ คือ ขอนแก่น 3 ไม่แตกตา่ งกบั พันธ์ุ LK92-11 ที่ 16.4 และ 15.4 ซซี เี อส ตามลำดับ พันธทุ์ ่ใี ห้ความหวาน
รองลงมาคือ KK07-250 ที่ 14.0 ซีซีเอส อย่างไรก็ตาม พบว่าพันธุ์ที่ใหผ้ ลผลิตน้ำตาลสูงสุด คือ KK09-0844
ที่ 1.5 ตนั ตอ่ ไร่ ไมแ่ ตกต่างกับพันธุ์ KK07-250 และ KK08-059 ที่ 1.4 และ 1.3 ตนั ซซี ีเอสต่อไร่ ซง่ึ ทั้ง 3 สาย
พันธุ์ให้ผลผลิตอ้อยสูง ผลผลิตน้ำตาลสูง ส่วนกากน้ำตาลมีความแตกต่างกันทางสถิติเช่นเดียวกัน โดยโคลน
KK07-037 ให้ผลผลิตกากน้ำตาลสูงที่สุด 060 ตันต่อไร่ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติกับพันธุ์/โคลน K88-92
KK07-250 KK08-059 KK09-0857 KK09-0939 KK09-0844 KK09-0941 และ KK09-0358 (ตารางที่ 6)
ส่วนชานอ้อยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ในขณะที่จำนวนลำต่อไร่ จำนวนลำต่อกอ พบว่า KK09-0844 มี
จำนวนลำสงู สดุ เท่ากับ 11,578 และ 5.7 ลำ ตามลำดบั และพนั ธ์ุ K88-92 และขอนแกน่ 3 มขี นาดลำสูงสุดที่
3.27 และ 3.13 เซนติเมตร (ตารางที่ 7) และเมื่อนำผลผลิตส่วนต่างๆ มาคำนวณเป็นรายได้ พบว่า มีโคลน
ดีเด่น 4 โคลนที่ให้รายได้สูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบทั้ง 3 พันธุ์ ได้แก่ KK07-037 KK07-250 KK09-0939 และ
KK08-059 ทีใหร้ ายได้เทา่ กบั 12,838 11,942 10,762 และ 10,232 บาทต่อไร่ ตามลำดับ (ตารางท่ี 8)

เมื่ออ้อยตอ1 งอกอายุครบ 2 เดือน ตรวจนับเปอร์เซ็นต์กองอกพบว่า อ้อยตอ 1 มีความงอกอยู่
ระหว่าง 86-100 เปอร์เซ็นต์ พันธุ์ที่งอกสูงสุดคือ KK08-059 KK09-0939 KK09-0358 และขอนแก่น 3 โดย
พบกอใบขาวจำนวนมากตงั้ แตอ่ ้อยเร่ิมงอก พันธุ์ท่ีมเี ปอรเ์ ซ็นตก์ อใบขาวสงู สุด คอื K88-92 และ KK09-0857
เทา่ กบั 58.7 และ 52.3 เปอร์เซน็ ต์ โดยพันธ์ุที่พบน้อยที่สุดคือ LK92-11 ที่ 12.7 เปอรเ์ ซ็นต์ แต่เน่ืองจากพบ
อ้อยมีอาการโรคใบขาวมากเนื่องจากประสบปัญหาภัยแล้ง หลังการเก็บเก่ียวมีปรมิ าณฝนตกน้อย (ภาพที่ 8)
เกษตรกรจงึ ขอไถท้ิง จึงไมส่ ามารถเกบ็ เกี่ยวออ้ ยตอได้

1011

ภาพท่ี 7 ปริมาณน้ำฝน อุณหภมู ิสงู สุด และต่ำสุดปี 2561- 2562 ของสถานีตรวจอากาศร้อยเอด็

90.0 45.0 ปริมาณนา้ ฝน (มม.)
80.0 40.0

อณุ หภมู ิต่าสดุ
70.0 35.0

อุณหภูมิสงู สดุ
60.0 30.0
50.0 25.0
40.0 20.0
30.0 15.0
20.0 10.0
10.0 5.0

0.0 0.0

ภาพท่ี 8 ปรมิ าณน้ำฝน อณุ หภูมสิ ูงสดุ และตำ่ สดุ ปี 2562 ของสถานีตรวจอากาศรอ้ ยเอ็ด
แปลงท่ี 5 อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท

ปลกู ออ้ ยวันที่ 14 มิถุนายน 2561 โดยใชอ้ อ้ ยชำข้อใชร้ ะยะปลกู 1.5x0.5 เมตร วดั พกิ ัดแปลงและเก็บ
ตัวอย่างดนิ กอ่ นปลูก ส่งวิเคราะหท์ ีห่ ้องปฏิบัติการศนู ย์วจิ ัยพชื ไร่ขอนแก่น จากการวดั พิกัดแปลง พบว่า เป็น
กลุ่มชุดดินที่ 4 กลุ่มดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนลำน้ำที่มีอายุยังน้อย โครงสร้างแน่นทึบ ดินแห้งแข็ง
และแตกระแหง ทำให้ไถพรวนยาก ขาดแคลนน้ำ และนำ้ ท่วมขังในฤดูฝน ทำความเสียหายกับพืชท่ีไม่ชอบน้ำ
ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงเป็นด่าง การระบายน้ำค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง สอดคล้องกับการ
วิเคราะห์ดิน ที่พบว่า มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดินเท่ากับ 6.6 อินทรียวัตถุ 1.52% ฟอสฟอรัสที่เป็น
ประโยชนเ์ ทา่ กบั 41 mg/kg และโปแตสเซยี มท่ีแลกเปล่ียนได้เทา่ กับ 78 ppm. (ตารางที่ 2) เป็นดินท่ีมีความ
22 กพ 63
5 มีค 63
15 มีค 63
25 มีค 63
4 เมย 63
14 เมย 63
24 เมย 63
4 พค 63

1012

อุดมสมบูรณ์ระดับปานกลาง จากผลการวิเคราะห์ดินกำหนดเกรดปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน คือ 12-3-12
กิโลกรัม N-P2O5-K2O หลังปลูกพ่นสารคุมวัชพืชอามีทรีน อัตรา 600 กรัม/ไร่ ดำเนินการใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 ใน
วันท่ี 10 กรกฎาคม 2561 เกรด 15-15-15 อตั รา 50 กโิ ลกรมั ต่อไร่ อ้อยมีการเจริญเตบิ โตดี ในช่วงแรก เพราะ
ได้รับน้ำจากฝนอย่างเพียงพอ (ภาพท่ี 7) เมื่อเก็บเกี่ยวอ้อยที่อายุ 8 เดือน พบว่า ผลผลิต ความหวาน และ
ผลผลิตน้ำตาล มีความแตกต่างกนั ทางสถิติ (ตารางท่ี 3-5) ผลผลติ ความหวาน และผลผลิตเฉลีย่ คอ่ นข้างน้อย
เนอื่ งมาจากมจี ำนวนลำเก็บเก่ยี วนอ้ ย และได้รบั น้ำปริมาณไมเ่ พยี งพอ โดยในระยะแรกไดร้ บั อยา่ งเพยี งพอ ทำ
ใหก้ ารเจรญิ เตบิ โตช่วงแรกรวดเร็ว แต่มีเขา้ สู่ระยะยดื ปล้องและสะสมน้ำตาล ไดร้ บั นำ้ เพียง 676 มม. ในขณะ
ที่พืชต้องการน้ำถึง 828 มม. (ภาพที่ 9) จึงมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และเก็บเกีย่ วอ้อยอายุ 8 เดือน มี
โคลนดีเด่นที่ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบ ได้แก่ KK07-037 เนื่องจากมีจำนวนลำเก็บเกี่ยวสูงที่สุด และ
KK07-250 ใหค้ วามหวานสงู กว่าพันธ์ุตรวจสอบ แต่ไมม่ ีโคลนพันธ์ุใดทใี่ หผ้ ลผลิตนำ้ ตาลสงู กวา่ พันธุ์ K88-92 ท่ี
ให้ผลผลติ น้ำตาลเท่ากับ 0.97 ตนั ซีซีเอสตอ่ ไร่ แต่ไมแ่ ตกตา่ งกันทางสถิติกับพันธ์ุ KK07-250 KK07-037 และ
KK09-0844 ส่วนผลผลิตกากนำ้ ตาล และชานอ้อยมีความแตกต่างกันทางสถติ ิ มีเพียงโคลน KK09-0941 ที่มี
ผลผลติ กากน้ำตาลสูงกว่าพันธ์ุ K88-92 แตไ่ ม่แตกต่างกนั ทางสถิติกับโคลน KK07-037 (ตารางท่ี 4) และชาน
อ้อยมี 2 โคลนพันธุ์ที่ให้ผลผลิตชานอ้อยสูงกว่าพนั ธุ์ตรวจสอบ ได้แก่ KK07-037 และ TPJ04-768 ที่ให้ชาน
อ้อยเท่ากับ 1.46 และ 1.25 ตันต่อไร่ ตามลำดับ (ตารางที่ 5) และโคลนพนั ธ์ุที่มีรายได้สงู กว่าพันธุ์ตรวจสอบ
ได้แก่ KK07-037 เนือ่ งจากมีผลผลิตสูงกว่า โดยให้รายได้ 10,217 บาทต่อไร่ (ตารางที่ 8)

หลังเก็บเกี่ยวตัดแต่งตออ้อย ใส่ปุ๋ยในเดือนเมษายน 2562 เกรด 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่
ตรวจเช็คความงอก วัดความสูง นบั จำนวนกอตอ่ ไร่ เปอร์เซน็ ต์การเป็นโรคแสด้ ำ และการเขา้ ทำลายของหนอน
กอ ในเดือนพฤษภาคม 2562 พบว่า อ้อยทั้ง 12 พันธุ์/โคลน มีความงอกเฉลี่ย 86 เปอร์เซ็นต์ โคลน KK08-
059 และ KK09-0844 มคี วามงอกตำ่ KK07-250 และ KK09-0939 มคี วามงอกสงู สุด 98 เปอรเ์ ซ็นต์ เมื่อเก็บ
เกย่ี วอ้อยตอ 1 เมอื่ อ้อยอายุ 11 เดือน พบวา่ ผลผลติ ความหวาน ผลผลติ นำ้ ตาล และองค์ประกอบผลผลิตมี
ความแตกตา่ งกนั ทางสถิติ โดยมี 2 โคลนดีเดน่ ที่ใหผ้ ลผลิตสงู กว่าพนั ธ์ตุ รวจสอบทั้ง 2 พันธ์ุได้แก่ KK07-250
และ KK08-059 ที่ให้ผลผลิตเท่ากับ 13.54 และ 13.27 ตัน/ไร่ ตามลำดับ (ตารางที่ 3) ส่วนความหวานไม่
พนั ธ์ุ/โคลนดีเดน่ ที่มีความหวานสงู กว่าพนั ธุ์ขอนแกน่ ท่ีมคี วามหวาน 15.38 ซซี ีเอส แตไ่ มแ่ ตกต่างกันทางสถิติ
กับทุกพันธุ/์ โคลน ยกเว้น TPJ04-768 (ตารางที่ 4) เม่ือคำนวณผลผลิตน้ำตาล KK07-250 ให้ผลผลิตน้ำตาล
สูงสดุ 2.08 ตนั ซซี ีเอส/ไร่ แตไ่ ม่แตกตา่ งกนั ทางสถิตกิ ับพันธุ์ขอนแก่น 3 และ KK08-059 (ตารางที่ 5) ผลผลิต
กากน้ำตาล KK07-250 KK08-059 และ TPJ04-768 มีผลผลิตกากน้ำตาลสูงกว่าพันธุ์ตรวจสอบทั้ง 3 พันธุ์
(ตารางท่ี 6) สว่ นชานออ้ ย TPJ04-768 KK07-250 ใหผ้ ลผลิตชานออ้ ยสงู กวา่ พนั ธุต์ รวจสอบท้งั 2 พนั ธ์ุ (ตาราง
ที่ 7) เมื่อนำมาคำนวณรายไดจ้ ากผลผลติ ความหวาน กากนำ้ ตาล ชานออ้ ย พบว่า รายไดร้ วมมี 2 โคลน ไดแ้ ก่
KK07-250 และ KK08-059 ที่มีรายได้รวมสูงกว่าพันธุ์ขอนแก่น 3 และ K88-92 ที่ให้ผลตอบแทน 16,920
และ 13,926 บาท/ไร่ ตามลำดบั (ตารางที่ 8)

เมื่อนำผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของพันธุ์อ้อยมาหาค่าเฉลี่ยในอ้อยปลูกและอ้อยตอ พบว่า
พันธุ์อ้อยที่มีค่าเฉลี่ยของผลผลิตสูงสุดคือ KK07-037 และ KK07-250 ให้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 11.1 ตันต่อไร่

1013
ในขณะที่ผลผลิตน้ำตาลพันธุ์ที่ให้ค่าเฉลี่ยสูงสดุ คือ พันธุ์ KK07-250 และขอนแก่น 3 เท่ากับ 1.49 และ 1.12
ตันซีซีเอสต่อไร่ ตามลำดับ พันธุ์ที่ให้ความหวานสูงสุดคือ KK07-250 เท่ากับ 14.6 ซีซีเอส สูงกว่าพันธุ์
ขอนแก่น 3 และ LK92-11 เทา่ กับ 12.9 และ 14.2 ซีซเี อส ตามลำดับ เม่อื นำมาคำนวณราคารายได้จากอ้อย
ทั้งน้ำตาล ความหวาน กากน้ำตาล และชานอ้อย พบว่า พันธุ์ KK07-250 มีรายได้รวมสูงทีส่ ุดทั้งในออ้ ยปลูก
และอ้อยตอ 1 เท่ากับ 8,314 และ 16,920 บาท รวมทั้งสิ้น 25,234 บาท รองลงมาเป็น KK07-037 และ
ขอนแกน่ 3 เทา่ กบั 20,840 และ 20,635 บาท ตามลำดบั

ภาพท่ี 9 ปริมาณน้ำฝน อุณหภมู ิสูงสดุ และต่ำสุดปี 2561- 2562 ของสถานีอตุ นุ ยิ มวิทยาชยั นาท

ภาพท่ี 10 ปริมาณน้ำฝน อณุ หภมู สิ ูงสุด และต่ำสดุ ปี 2562- 2563 ของสถานอี ตุ ุนิยมวทิ ยาชัยนาท

1014
แปลงท่ี 6 อ.หนองหญ้าปล้อง จ.เพชรบุรี

วัดพิกัดแปลง และเก็บตัวอย่างดิน ส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการของศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ปลูกอ้อย
วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2561 โดยใช้ออ้ ยชำขอ้ ระยะปลกู 1.5x0.5 เมตร และใส่ปุย๋ รองพ้นื เกรด 15-15-15 อตั รา
20 กิโลกรัม/ไร่ หลังปลูกไถพรวนระหว่างร่องเพื่อกำจัดวัชพืช ปลูกซ่อมวันที่ 26 มิถุนายน2561 และกำจัด
วัชพืชครั้งท่ี 2 โดยใชร้ ถไถพรวนระหวา่ งรอ่ งอ้อยในวันที่ 28 มิถนุ ายน 2561 จากการวดั พกิ ดั แปลง พบว่า เป็น
กลุ่มชดุ ดนิ ท่ี 48 เป็นกลุ่มดนิ ตื้นถึงก้อนหนิ หรอื เศษหนิ และอาจพบชั้นหนิ พืน้ ภายในความลึก 150 เซนติเมตร
จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดถึงเป็นกลาง การระบายน้ำดี ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ สอดคล้องกับผลการ
วิเคราะห์ดิน พบว่า แปลงที่ใช้ทดสอบมีค่าคามเป็นกรด-ด่างของดินเท่ากับ 5.6 อินทรียวัตถุ 0.96%
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เท่ากับ 3 mg/kg และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้เท่ากับ 128 ppm. จากผลการ
วเิ คราะห์ดนิ กำหนดเกรดปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน คอื 15-9-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O (ตารางที่ 2) และจากการ
ใส่ปุ๋ยรองพื้นพร้อมปลูกด้วยปุ๋ยเกรด 15-15-15 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ ในการใส่ปุ๋ยแต่งหน้าเพิ่มเติมด้วย
46-0-0 18-46-0 และ 0-0-60 อัตรา 56 35 และ 53 กิโลกรัม/ไร่ ตามลำดับ พร้อมทั้งพรวนดินกำจัดวัชพืช
ระหว่างร่อง แต่หลังจากใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 ไม่มีฝนตก ประสบปัญหาฝนแล้ง ทำให้อ้อยเจริญเติบโตไม่ดีและอ้อย
แห้งตายเป็นจำนวนมาก ไมส่ ามารถเก็บเก่ยี วผลผลติ ได้ จึงขอยกเลกิ แปลงจังหวัดเพชรบุรี (ภาพท่ี 11)

ภาพท่ี 11 ปรมิ าณนำ้ ฝน อุณหภูมสิ งู สดุ และตำ่ สุดปี 2561- 2562 ของสถานอี ุตุนยิ มวิทยาราชบรุ ี

แปลงท่ี 7 อ.สวรรคโลก จ.สโุ ขทยั
ปลูกอ้อยวันที่ 27 เมษายน 2561 โดยใช้อ้อยชำข้อใช้ระยะปลูก 1.5x0.5 เมตร วัดพิกัดแปลง และ

เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูก ส่งวิเคราะห์ที่ห้องปฏิบัติการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น หลังปลูกพ่นสารคุมวัชพืช
อาทราซีน อัตรา 600 กรัม/ไร่ จากการวัดพิกัดแปลง พบว่า เป็นกลุ่มชุดดินที่ 33 เป็นกลุ่มดินทรายแป้ง
ละเอียดหรือดินร่วนละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนแม่น้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด ปฏิกิริยาดินเป็นกรด

1015

เลก็ นอ้ ยถึงเป็นกลาง การระบายนำ้ ดีถงึ ดปี านกลาง ความอดุ มสมบรู ณ์ปานกลาง สอดคลอ้ งกบั ผลวิเคราะห์ดิน
ทมี่ ีคา่ ความเปน็ กรด-ดา่ งของดินเทา่ กับ 5.2 อนิ ทรยี วัตถุ 2.20% ฟอสฟอรัสทเ่ี ป็นประโยชน์เทา่ กบั 96 mg/kg
และโปแตสเซยี มท่ีแลกเปลย่ี นไดเ้ ท่ากบั 283 ppm. (ตารางท่ี 2) เป็นดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ระดับปานกลาง
จากผลการวเิ คราะหด์ ินกำหนดเกรดปุย๋ ตามค่าวเิ คราะห์ดนิ คือ 12-3-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O กำจดั วัชพืชครัง้
ที่ 1 เมื่อวันที่ 17-19 พฤษภาคม 2561 และใส่ปุ๋ยคร้ังท่ี 1 วันที่ 1 มิถุนายน 2561 สูตร 15-15-15 อัตรา 50
กิโลกรัมต่อไร่ พนั ธอ์ุ อ้ ยท่แี ตกต่างกนั มผี ลให้ผลผลิตอ้อยที่เก็บเก่ยี วได้ท่อี ายุ 10 เดือน มีคา่ ไม่แตกต่างกันทาง
สถติ ิ แตอ่ อ้ ยพนั ธุ์ KK09-0939 มีแนวโนม้ ให้ผลผลติ ที่สงู ที่สุด เทา่ กบั 13.26 ตนั ต่อไร่ ขณะท่คี ่าเฉลี่ยของพันธ์ุ
ออ้ ยทุกพนั ธม์ุ คี า่ เท่ากบั 10.14 ตันต่อไร่ (ตารางท่ี 3) และสำหรบั ค่าซซี ีเอสและผลผลติ น้ำตาลพบว่า พนั ธ์อุ ้อย
ที่แตกต่างกันมีค่าซีซีเอสแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ โดยพันธุ์ LK92-11 มีค่าซีซีเอสสูงสุดคือ
16.70 เปอรเ์ ซน็ ต์ แต่ไมแ่ ตกต่างกนั ทางสถติ ิกับพนั ธุ์ KK07-250 ทมี่ คี ่าเท่ากับ 15.33 ขณะทพี่ นั ธุ์ TPJ03-768
และพันธุ์ KK08-059 มีค่าซีซีเอสต่ำสุด เท่ากับ 9.07 และ 9.40 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ (ตารางที่ 4) ทั้งน้ี
นอกจากพันธุ์ LK92-11 จะมีค่าซีซีเอสสูงสุดแล้วยังพบว่าพันธุ์ดังกล่าวมีผลผลิตน้ำตาลสูงสุดด้วยเช่นกันคอื
1.74 ตนั ต่อไร่ (ตารางท่ี 5) และพนั ธุ์อ้อยทีแ่ ตกตา่ งกนั มีผลให้ผลผลิตน้ำตาลแตกต่างกนั อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติด้วยเช่นกัน ส่วนผลผลิตกากน้ำตาล และชานอ้อยมีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยมีโคลน KK09-0939
และ KK07-037 มีผลผลิตกากนำ้ ตาลสูงกว่าพนั ธต์ุ รวจสอบ โดยมกี ากน้ำตาลเท่ากบั 0.54 และ 0.46 ตนั ต่อไร่
ตามลำดบั (ตารางที่ 6) ส่วนชานอ้อยออ้ ยโคลนดีเด่น ส่วนใหญม่ ีผลผลิตชานอ้อยสงู กวา่ พนั ธุ์ตรวจสอบ ยกเว้น
KK07-250 โดยมีผลผลิตเฉลี่ยระหว่าง 1.18-1.27 ตันต่อไร่ (ตารางที่ 7) เมื่อนำผลผลิตส่วนต่างๆ มาคำนวณ
เป็นรายได้ พบว่า มีโคลนดีเด่น 2 โคลนที่มีรายได้สูงกว่าพันธุต์ รวจสอบ ได้แก่ KK09-0939 และ KK07-037
ซง่ึ มรี ายไดเ้ ทา่ กบั 14,648 และ 11,284 บาทต่อไร่ (ตารางที่ 8)

เมื่อนำผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของพันธ์ุอ้อยมาหาค่าเฉลี่ยในอ้อยปลูกและอ้อยตอ พบว่า
พันธุ์อ้อยที่มีค่าเฉลี่ยของผลผลิตสูงสุดคือ KK07-037 ให้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.3 ตันต่อไร่ รองลงมาคือ KK09-
0939 และ LK92-11 ให้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.2 และ 10.7 ตันต่อไร่ ในขณะที่ผลผลิตน้ำตาลพันธุ์ที่ให้ค่าเฉลี่ย
สูงสุดคือ พันธุ์ LK92-11 KK0-037 และขอนแกน่ 3 เท่ากับ 1.66 1.48 และ 1.42 ตันซีซเี อสต่อไร่ ตามลำดับ
พันธท์ุ ี่ให้ความหวานสูงสุดคือ LK92-11 เทา่ กับ 15.4 ซซี ีเอส สงู กว่าพันธุ์ขอนแกน่ 3 และ KK07-250 เท่ากับ
14.3 และ 13.9 ซซี เี อส ตามลำดับ เมอื่ นำมาคำนวณราคารายได้จากอ้อยทัง้ น้ำตาล ความหวาน กากน้ำตาล
และชานอ้อย พบว่า พนั ธุ์ KK07-037 มีรายไดร้ วมสูงที่สุดทัง้ ในออ้ ยปลูก และออ้ ยตอ 1 เท่ากบั 11,824 และ
20,426 บาท รวมทั้งส้ิน 32,250 บาท รองลงมาเป็น KK09-0939 และ LK92-11 เทา่ กบั 31,827 และ 28,882
บาท ตามลำดบั (ตารางท่ี 8)

1016

ภาพท่ี 12 ปริมาณน้ำฝน อณุ หภูมิสงู สุด และตำ่ สดุ ปี 2561- 2562 ของสถานีอุตนุ ิยมวิทยาศรีสำโรง

ภาพท่ี 13 ปรมิ าณนำ้ ฝน อุณหภูมิสงู สดุ และตำ่ สุดปี 2562- 2563 ของสถานอี ุตุนยิ มวทิ ยาศรสี ำโรง
แปลงท่ี 8 อ.เมอื ง จ.อตุ รดิตถ์

ปลกู อ้อยวันที่ 25 เมษายน 2561 โดยใช้ออ้ ยชำขอ้ ใชร้ ะยะปลกู 1.5x0.5 เมตร วัดพกิ ัดแปลงและเก็บ
ตวั อยา่ งดนิ ก่อนปลูก ส่งวิเคราะห์ทห่ี ้องปฏบิ ัตกิ ารศนู ย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น หลังปลูกพน่ สารคุมวัชพืชอามีทรีน
อัตรา 600 กรัม/ไร่ จากการวัดพิกัดแปลง พบว่า เป็นกลุ่มดินตื้นถึงก้อนกรวด หรือเศษหินปนลูกรังหนามาก
ปฏกิ ิริยาดินเปน็ กรดจัดมาก การระบายน้ำดี ความอุดมสมบูรณ์ตำ่ แตเ่ ป็นพื้นที่ทีม่ กี ารปลูกพชื และมีการบำรุง
ดินอย่างต่อเนื่องทำให้ผลวิเคราะห์ดิน พบว่า เป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ระดับค่อนข้างสูง มีค่าความเป็น

1017
กรด-ด่างของดินเท่ากับ 5.4 อินทรียวตั ถุ 2.92% ฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์เท่ากับ 41 mg/kg และโปแตสเซียมท่ี
แลกเปลย่ี นได้เท่ากบั 257 ppm. (ตารางที่ 2) จากผลการวิเคราะหด์ นิ กำหนดเกรดปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน คือ
6-3-6 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O กำจัดวัชพืชคร้งั ท่ี 1 เมือ่ วนั ท่ี 28-30 พฤษภาคม 2561 ปลูกซอ่ มและใสป่ ุ๋ยคร้ังที่
1 วันที่ 1 พฤษภาคม 2561 สูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อย ( 10 เดือน)
ผลผลติ ออ้ ย ไม่แตกตา่ งกันทางสถิตแิ ละพบว่าทุกพนั ธ์มุ ผี ลผลิตต่ำกวา่ 10 ตันต่อไร่ (ตารางท่ี 3) ซึง่ สาเหตุเกิด
จากปลูกอ้อยช้าเกินไป และมีระยะเวลาเก็บเกี่ยวเพียงแค่ 10 เดือนเท่านัน้ ส่งผลให้ผลผลิตมีค่าตำ่ ประกอบ
กับหลังเดือนกรกฎาคม 2561 ไม่มีฝนตก ซึ่งเป็นช่วงที่อ้อยต้องการน้ำเพื่อการยืดปล้อง ทำให้ผลผลิตและ
คณุ ภาพของออ้ ยคอ่ นข้างตำ่ (ภาพท่ี 16) พนั ธอุ์ อ้ ยทแี่ ตกต่างกันมคี า่ ซีซีเอสแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำคัญยิ่งทาง
สถิติ โดยโคลนพันธุ์ KK07-250 มีค่าซีซีเอสสูงสุดคือ 14.53 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติกับพันธุ์
LK92--11 และ KK07-037 ที่มีค่าเท่ากับ 11.33 และ 10.90 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ (ตารางที่ 4) ผลผลิต
นำ้ ตาลก็มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ พบพันธ์ุ KK07-250 มีผลผลิตนำ้ ตาลสูงทีส่ ุด ท่ี 1.27 ตัน
ต่อไร่ (ตารางที่ 5) และเมื่อนำผลผลิตส่วนต่างๆ มาคำนวณหารายได้ พบว่า โคลน KK07-250 สูงกว่าพันธ์ุ
ตรวจสอบ โดยมรี ายได้รวม 10,082 บาทตอ่ ไร่ สว่ นพนั ธ์ุตรวจสอบทีม่ รี ายได้มากทสี่ ุดคือ พันธุ์ขอนแกน่ 3 ที่มี
รายได้ 8,568 บาทต่อไร่ (ตารางท่ี 8)

หลังจากเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ไดท้ ำการแต่งตอและใหน้ ำ้ 1 ครัง้ ในเดือนมนี าคม เก็บข้อมูลความงอก โรค
ใบขาว โรคแส้ดำ และจำนวนหนอนกอ วันที่ 18 เมษายน 2562 พบว่า มีเปอร์เซ็นต์ความงอกต่ำ ที่ 4-38
เปอร์เซ็นต์ และพบหนอนกอเข้าทำลาย ที่ 0-3 เปอร์เซ็นต์ ไม่พบโรคใบขาวและโรคแส้ดำ ดังนั้นแปลงนี้ไม่
สามารถเก็บข้อมูลต่อไปได้

ภาพท่ี 14 ปริมาณน้ำฝน อุณหภมู ิสงู สดุ และตำ่ สุดปี 2561- 2562 ของสถานตี รวจอากาศอุตรดิตถ์

1018

ภาพที่ 15 ปริมาณนำ้ ฝน อณุ หภมู ิสูงสดุ และตำ่ สดุ ปี 2561- 2562 ของสถานตี รวจอากาศอุตรดติ ถ์

จากการดำเนนิ งานในออ้ ยปลูกและออ้ ยตอ 1 สามารถเก็บเกีย่ วผลผลติ อ้อยปลูก 7 แปลง และอ้อยตอ
1 จำนวน 5 แปลง ผลปรากฏว่ามีเพียงโคลน KK07-037 ที่มีผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ขอนแก่น 3 โดยให้ผลผลิต
เฉลย่ี 9.01 ตนั /ไร่ สูงกวา่ พันธขุ์ อนแกน่ 3 ร้อยละ 8 และมี 2 โคลนดีเด่น ท่มี ีผลผลิตใกล้เคียงกับขอนแก่น 3
ไดแ้ ก่ KK07-250 และ KK09-0857 ท่ใี ห้ผลผลติ เท่ากับ 8.12 และ 8.10 ตัน/ไร่ (ตารางที่ 3) ส่วนในเรื่องของ
ความหวานไม่มีโคลนดีเด่นที่มีความหวานสูงกว่าพันธุ์ขอนแก่น 3 ที่มีความหวานเฉลี่ย 13.79 ซีซีเอส มี
KK07-250 ทม่ี ีความหวานใกลเ้ คยี ง โดยมีความหวานเทา่ กับ 13.57 ซีซีเอส (ตารางท่ี 4) และเมือ่ นำไปคำนวณ
เป็นผลผลิตน้ำตาลผลเป็นไปในทำนองเดยี วกับคา่ ความหวาน (ตารางท่ี 5) พันธ์ุขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้ำตาล
สูงที่สุดเท่ากับ 1.17 ตนั /ไร่ รองลงมาได้แก่ KK07-250 LK92-11 KK07-037 K88-92 KK08-059 และ KK09-
0939 ผลผลติ กากนำ้ ตาลเฉลยี่ ทั้ง 12 แปลง เท่ากับ 0.40 ตัน/ไร่ มอี อ้ ยโคลนเด่นที่ใหผ้ ลผลกากนำ้ ตาลสูงกว่า
พนั ธเ์ุ ปรยี บเทียบ จำนวน 5 โคลน ได้แก่ KK09-0857 KK07-037 KK09-0358 KK07-250 และ KK09-0939
(ตารางที่ 6) ส่วนผลผลิตชานอ้อยโคลนดีเด่นส่วนใหญ่ให้ผลผลิตชานอ้อยสูงกว่าพันธ์ุเปรียบเทียบท้ัง 3 พันธ์ุ
ยกเวน้ โคลน KK09-0844 (ตารางที่ 7) และเมื่อนำมาคำนวณเป็นรายไดจ้ ากผลผลิตต่างๆ มอี อ้ ยโคลนดเี ดน่ คือ
KK07-037 ทมี่ รี ายไดส้ งู กว่าพันธ์ขุ อนแกน่ 3 โดยมรี ายได้เฉล่ีย 9,555 บาท/ไร่ ในขณะทข่ี อนแกน่ 3 มีรายได้
รวม 9,327 บาท/ไร่ อีกโคลนดีเด่นท่นี ่าสนใจ ได้แก่ KK07-250 มรี ายได้รวมเท่ากับ 9,251 บาท/ไร่ (ตารางที่
8) แต่ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีการรับซื้ออ้อยในด้านพลังงานโดยตรง เกษตรกรจะมีรายได้จากผลผลิต
และความหวานเท่านัน้ เมอื่ พจิ ารณารายได้จากผลผลติ และความหวาน พบวา่ โคลนพันธ์ุ KK07-037 ใหร้ ายได้
สูงกว่าพันธุเ์ ปรียบเทียบทั้ง 3 พันธุ์ โดยมรี ายไดเ้ ฉลีย่ 7,009 บาทตอ่ ไร่ สูงกวา่ พันธ์ขุ อนแก่น 3 K88-92 และ
LK92-11 ร้อยละ 1 10 และ 13 ตามลำดบั (ตารางท่ี 8) นอกจากน้ีโคลน KK07-250 ให้รายไดส้ ูงกวา่ พันธ์ุ K88-
92 และ LK92-11 รอ้ ยละ 6 และ 9 ตามลำดับ โดยมรี ายไดเ้ ฉลีย่ 6,689 6,295 และ 6,074 บาทต่อไร่


Click to View FlipBook Version