The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by appleati, 2021-12-27 04:16:11

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น63 เล่ม2

682

ตารางที่ 1 ความสงู (เซนติเมตร) มันสำปะหลงั พนั ธ์รุ ะยอง 72 ทอี่ ายุ 3 6 และ 9 เดอื นหลงั ปลกู และช่วงเก็บ

เก่ียว ผลจากการปลูกมนั สำปะหลงั ระยะยาวทม่ี รี ะบบปลูกและการจัดการปยุ๋ ตา่ งกนั ที่ศูนย์วิจัย

พืชไร่ขอนแก่น ปี 2562/63

ระบบปลกู การจัดการปุ๋ย 3 เดือน ความสงู (เซนติเมตร)

6 เดอื น 9 เดือน เกบ็ เก่ยี ว

None 66 82 86 85

มนั สำปะหลงั ต่อเนอื่ ง CF 128 161 171 177
CP 86 109 120 122

CP+0.5CF 116 130 140 132

มนั สำปะหลงั None - - - -
หมนุ เวียน CF - - - -
พชื ตระกลู ถว่ั CP - - - -
CP+0.5CF - - - -

มันสำปะหลงั แซม None 72 86 90 101
ด้วย CF 132 169 174 198
CP 83 101 118 112
พชื ตระกูลถัว่ CP+0.5CF 101 117 125 132

หมายเหตุ None = ไม่ใส่ปยุ๋ CP = ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ อัตรา 1 ตนั ต่อไร่ CF = ปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ และ 0.5 CF = ปุ๋ยเคมี
เกรด 15-7-18 อตั รา 50 กิโลกรมั ต่อไร่

683

ตารางที่ 2 ผลผลิตหัวสด ดัชนเี กบ็ เก่ยี ว เปอร์เซ็นต์แป้ง ผลผลิตแปง้ และนำ้ หนักแห้งเศษซากคืนแปลงของมนั

สำปะหลงั พนั ธุ์ระยอง 72 ผลจากการปลูกมนั สำปะหลังระยะยาวที่มีระบบปลูกและการจัดการปยุ๋

ต่างกนั ทศ่ี ูนยว์ ิจัยพืชไรข่ อนแกน่ ปี 2562/63

ระบบปลูก การจัด นน.หัวสด ดัชนีเกบ็ เปอรเ์ ซ็นต์ นน.แป้ง นน.แห้งซากคืนแปลง 2/

การปุ๋ย (ตัน/ไร)่ เกีย่ ว แป้ง (%) (กก./ไร)่ (กก./ไร)่

None 0.63 0.57 14.0 8.8 105

มันสำปะหลัง CF 5.55 0.58 14.5 80.5 386

ต่อเนอ่ื ง CP 3.21 0.75 14.6 46.9 214

CP+0.5CF 2.77 0.64 13.6 37.7 304

มันสำปะหลัง None - - - - -
หมุนเวียนพืช CF - - - - -
ตระกลู ถัว่ CP - - - - -
CP+0.5CF - - - - -

มนั สำปะหลัง None 1.28 0.70 15.0 19.2 141
แซมดว้ ยพชื CF 6.39 0.60 14.2 90.7 448
ตระกูลถว่ั CP 2.34 0.73 14.4 33.7 151
CP+0.5CF 2.50 0.59 14.0 35.0 231

หมายเหตุ 1/ น้ำหนักแห้งซากคืนแปลง = นำ้ หนักแหง้ ใบ เหง้า และลำต้นทใี่ ชท้ ำพนั ธ์ุไมไ่ ด้
None = ไม่ใส่ปุ๋ย CP = ปุ๋ยอนิ ทรีย์ อตั รา 1 ตนั ต่อไร่ CF = ปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ และ 0.5 CF = ปุ๋ยเคมี
เกรด 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่

684

ตารางท่ี 3 ผลผลิตฝกั สด รายได้ และน้ำหนักซากแห้งของถ่วั ลสิ งพันธไ์ุ ทนาน 9 ในระบบปลกู มนั สำปะหลัง
หมนุ เวยี นพชื ตระกูลถว่ั และมันสำปะหลงั แซมด้วยพชื ตระกูลถั่ว ท่ศี ูนยว์ ิจัยพชื ไรข่ อนแก่น ปี
2562/63

ระบบปลูก การจัดการ ผลผลติ ฝกั สด รายได้ นำ้ หนกั เศษซาก
ปยุ๋ (กก./ไร่) (บาท/ไร)่ แห้ง 1/ (กก./ไร่)

None - - -

มนั สำปะหลงั ต่อเนอ่ื ง CF -- -
CP -- -

CP+0.5CF - - -

None 275 6,875 441

มนั สำปะหลังหมุนเวยี นพืชตระกูลถัว่ 2/ CF 285 7,125 392
CP 300 7,500 472

CP+0.5CF 190 4,750 563

None 175 4,375 162

มนั สำปะหลังแซมดว้ ยพชื ตระกลู ถว่ั CF 50 1,250 172
CP 143 3,575 463

CP+0.5CF 68 1,700 297

หมายเหตุ 1/ น้ำหนักเศษซากแห้ง = นำ้ หนกั แหง้ ต้น ใบ และรากถัว่ ลสิ ง

None = ไมใ่ ส่ปุย๋ CP = ปยุ๋ อินทรยี ์ อัตรา 1 ตันตอ่ ไร่ CF = ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรมั ต่อไร่ และ

0.5 CF = ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่

2/ถ่วั ลิสงในระบบหมนุ เวียน ทุกกรรมวิธี ใส่ปยุ๋ เคมีเกรด 12-24-12 อัตรา 25 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ และหว่านยบิ ซัม 50

กิโลกรมั ตอ่ ไร่ เม่อื ออกดอก

ราคาถัว่ ลสิ งฝักสด 25 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

685

ตารางท่ี 4 ต้นทุน รายได้ และรายไดส้ ุทธจิ ากการปลูกมันสำปะหลัง และถ่ัวลิสง จากการปลกู มันสำปะหลัง

ระยะยาวท่ีมรี ะบบปลกู และการจัดการปยุ๋ ตา่ งกัน ทศี่ นู ยว์ จิ ัยพชื ไร่ขอนแกน่ ปี 2562/63

ระบบปลกู พชื วธิ กี ารใส่ปยุ๋ ต้นทุน (บาท/ไร่) รายได้ (บาท/ไร่) รายได้สุทธิ
มนั สำปะหลัง ถว่ั ลิสง รวม มนั สำปะหลัง ถวั่ ลิสง รวม (บาท/ไร่)

None 3,485 0 3,485 1,512 0 1,512 -1,973

มนั สำปะหลัง CF 7,945 0 7,945 13,320 0 13,320 5,375

ต่อเนอื่ ง CP 7,075 0 7,075 7,704 0 7,704 629

CP+0.5CF 8,005 0 8,005 6,648 0 6,648 -1,357

มนั สำปะหลัง None 0 7,200 7,200 0 8,250 8,250 1,050
หมุนเวียนพชื CF 0 7,230 7,230 0 8,550 8,550 1,320
ตระกลู ถั่ว CP 0 7,275 7,275 0 9,000 9,000 1,725
CP+0.5CF 0 6,945 6,945 0 5,700 5,700 -1,245

มนั สำปะหลัง None 2,385 3,313 5,698 3,072 5,250 8,322 2,625
แซมด้วยพืช CF 6,940 2,938 9,878 15,336 1,500 16,836 6,959
ตระกูลถั่ว CP 5,215 3,217 8,432 5,616 4,290 9,906 1,475
CP+0.5CF 6,445 2,992 9,437 6,000 2,040 8,040 -1,397

หมายเหตุ None = ไม่ใสป่ ๋ยุ CP = ปุ๋ยอนิ ทรีย์ อัตรา 1 ตนั ตอ่ ไร่ CF = ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ และ

0.5 CF = ปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรมั ตอ่ ไร่

ราคาท่อนพันธ์ุมันสำปะหลงั 320 บาท/ไร่ ราคาปุ๋ยเคมี 15-7-18 17 บาท/กก. ราคาปุย๋ หมัก 2 บาท/กก. ค่า

เตรียมดิน คา่ แรงงานปลูก และดูแลรกั ษามนั สำปะหลัง 2,850 บาท/ไร่ คา่ หวา่ นปยุ๋ หมกั 300 บาท./ไร่ คา่ ใส่

ปยุ๋ เคมีมันสำปะหลัง 300 บาท/ไร่ คา่ เกบ็ เก่ยี วและขนส่งมนั สำปะหลงั 0.50 บาท/กก. ราคาเมล็ดพันธ์ุถ่ัวลิสงรวม

ค่าแรงกะเทาะ 45 บาท/กก. อัตราเมลด็ พันธุ์ 30 กก.ฝกั แหง้ /ไร่ ในระบบปลกู มันสำปะหลงั หมุนเวียน และ 15

กก.ฝกั แหง้ /ไร่ ในระบบพชื แซม ค่าปยุ๋ เคมี 12-24-12 อัตรา 25 กก./ไร่ ราคา 20 บาท/กก. ยิบซมั ราคา 6.5

บาท/กก. คา่ เตรียมดิน ค่าแรงงานปลูกและดแู ลรักษาแปลงถัว่ ลสิ ง 3,600 บาท/ไร่ ในระบบพชื หมนุ เวียน และ

1,800 บาท ในระบบพืชแซม คา่ แรงงานถอนและปลิด 3 บาท/กก. ราคามนั สำปะหลงั 2,400 บาท/ตัน และถว่ั

ลิสงฝักสด ราคา 30 บาท/กก.

686

ตารางท่ี 5 คุณสมบตั ิทางเคมีของดนิ ท่ีความลึก 0-20 หลงั เก็บเก่ียวมันสำปะหลงั ระยะยาวที่มีระบบปลกู และ

การจัดการปยุ๋ ต่างกนั ทศ่ี นู ย์วิจยั พืชไร่ขอนแกน่ ปี 2562/63

การจัด pH EC OM Avail. P Exch. K Exch. Ca Exch.
การปุ๋ย
ระบบปลกู (1:1 in (1:5) (%) (mg/kg) (mg/kg) (mg/kg) Mg

water (dS/m) (mg/kg)

ปี 2523 6.2 0.66 0.38 8 35 nd nd

หลงั เก็บเก่ียวปี 2562/63

None 5.5 0.0061 0.30 2 23 75 12

มันสำปะหลงั CF 4.6 0.0075 0.46 23 50 29 3

ต่อเนอ่ื ง CP 6.4 0.0110 0.54 46 25 281 12

CP+0.5CF 5.9 0.0114 0.49 65 39 194 6

มันสำปะหลัง None 5.6 0.0089 0.45 7 21 105 15
หมุนเวียนพืช CF 5.0 0.0097 0.61 27
ตระกูลถั่ว CP 5.7 0.0171 0.57 26 51 71 9
CP+0.5CF 5.6 0.0103 0.70 52
30 257 12

43 207 9

มันสำปะหลงั None 6.0 0.0140 0.49 3 14 387 9
แซมด้วยพืช CF 4.6 0.0083 0.52 15
ตระกูลถว่ั CP 6.8 0.0182 0.74 75 37 36 4
CP+0.5CF 6.2 0.0142 0.55 53
39 413 15

66 241 8

ระบบปลกู

มันสำปะหลงั ตอ่ เนื่อง 5.6 0.0 0.4 34.3 34.2 144.9 8.1

มนั สำปะหลงั หมนุ เวยี น

พชื ตระกูลถวั่ 5.5 0.0 0.6 28.0 36.3 160.2 11.1

มันสำปะหลงั แซมด้วย

พชื ตระกูลถวั่ 5.9 0.0 0.6 36.3 39.2 269.3 8.9

การจัดการปุย๋

None 5.7 0.0 0.4 3.9 19.3 189.3 12.2

CF 4.7 0.0 0.5 21.7 46.4 45.5 5.1

CP 6.3 0.0 0.6 49.1 31.3 317.0 12.6

CP+0.5CF 5.9 0.0 0.6 56.6 49.3 214.1 7.7

หมายเหตุ : None = ไมใ่ สป่ ยุ๋ CP = ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ อัตรา 1 ตันตอ่ ไร่ CF = ปยุ๋ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ และ

0.5 CF = ปุย๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กโิ ลกรัมต่อไร่

687

ตารางที่ 6 คณุ สมบตั ิทางเคมีของดนิ ที่ความลึก 20-50 หลงั เกบ็ เกีย่ วมันสำปะหลังระยะยาวทมี่ ีระบบปลกู และ

การจดั การปยุ๋ ต่างกัน ท่ศี นู ย์วจิ ยั พชื ไร่ขอนแกน่ ปี 2562/63

การจัด pH EC OM Avail. P Exch. K Exch. Exch. Mg
การปุ๋ย (1:1 in
ระบบปลกู water) (1:5) (%) (mg/kg) (mg/kg) Ca (mg/kg)

(dS/m) (mg/kg)

None 5.5 0.0068 0.26 2 17 114 16

มนั สำปะหลัง CF 4.6 0.0079 0.40 26 37 27 3

ตอ่ เนอ่ื ง CP 6.3 0.0116 0.49 49 43 252 13

CP+0.5CF 5.9 0.0127 0.40 50 34 218 9

มนั สำปะหลงั None 5.0 0.0098 0.43 4 32 74 11
หมุนเวยี นพชื CF 4.6 0.0085 0.55 23
ตระกลู ถว่ั CP 6.2 0.0200 0.58 30 44 37 4
CP+0.5CF 5.5 0.0119 0.64 58
24 311 12

78 243 7

มันสำปะหลัง None 5.1 0.0074 0.39 3 30 144 10
แซมดว้ ยพืช CF 4.6 0.0072 0.48 17
ตระกูลถั่ว CP 6.8 0.0128 0.59 57 36 57 3
CP+0.5CF 6.0 0.0167 0.51 97
57 355 12

34 279 8

ระบบปลกู

มนั สำปะหลงั ต่อเนอ่ื ง 5.6 0.0 0.4 34.3 34.2 144.9 8.1

มันสำปะหลงั หมุนเวียน 5.5 0.0 0.6 28.0 36.3 160.2 11.1
พชื ตระกูลถว่ั

มนั สำปะหลงั แซมดว้ ย 5.9 0.0 0.6 36.3 39.2 269.3 8.9
พชื ตระกลู ถั่ว

การจัดการปยุ๋

None 5.7 0.0 0.4 3.9 19.3 189.3 12.2

CF 4.7 0.0 0.5 21.7 46.4 45.5 5.1

CP 6.3 0.0 0.6 49.1 31.3 317.0 12.6

CP+0.5CF 5.9 0.0 0.6 56.6 49.3 214.1 7.7

หมายเหตุ : None = ไมใ่ ส่ป๋ยุ CP = ปยุ๋ อินทรีย์ อัตรา 1 ตนั ตอ่ ไร่ CF = ป๋ยุ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ และ

0.5 CF = ปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรัมตอ่ ไร่

688

สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
การปลูกมันสำปะหลังเพื่อรักษาคุณสมบัติของดินในการให้ผลผลิตยั่งยืนในระบบปลูกมันสำปะหลัง
ต่อเนื่องทุกปีและระบบปลูกมันสำปะหลังแซมดว้ ยพืชตระกูลถั่ว ควรใส่ปุ๋ยเคมี 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรมั
ต่อไร่ ซึ่งให้ผลผลิตมันสำปะหลัง (5.55 และ 6.39 ตันต่อไร่ ตามลำดับ) และมีรายได้สุทธิสูงกว่ากรรมวธิ ีอ่ืน
(5,375 และ 6,959 บาทต่อไร่ ตามลำดับ) การจัดการปุ๋ยมีผลต่อคุณสมบัติของดิน การใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่าง
เดียวต่อเนื่องทุกปีส่งผลให้ดินมีฤทธิ์เป็นกรดเพิ่มขึ้น ในขณะที่การใส่ปุ๋ยอินทรีย์เพียงอย่างเดียวและร่วมกบั
ปยุ๋ เคมีช่วยรักษาความเป็นกรดเป็นด่างให้ใกล้เคียงกับค่าเริ่มตน้ และการไมใ่ สป่ ุ๋ยสง่ ผลต่อศักยภาพการให้ผล
ผลิตและคณุ สมบตั ิของดนิ ลดลง

กติ ตกิ รรมประกาศ
ขอขอบคุณสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 ที่ช่วยอนุเคราะห์การวิเคราะห์คุณภาพของปุ๋ย
หมักกากตะกอนหม้อกรอง

เอกสารอ้างองิ

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2563. สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2561. ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงาน
เศรษฐกจิ การเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรุงเทพมหานคร.

689

การเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลิตมนั สำปะหลังโดยใช้ระบบปลกู พืชและการจัดการชนดิ และอตั ราปุย๋
Increasing cassava production long-term efficiency by cropping systems,
fertilizer grade and rate

เนตริ ฐั ชมุ สวุ รรณ1* ชยนั ต์ ภกั ดไี ทย1 สมฤทยั ตันเจริญ2 และเจิม จาบประโคน1

รายงานความกา้ วหนา้
ศกึ ษาระบบปลกู พชื รว่ มกับการจดั การชนิดและอัตราปยุ๋ เพอื่ หาแนวทางรกั ษาเสถียรภาพของผลผลิต
และความอุดมสมบูรณ์ของดินในการผลิตมันสำปะหลังระยะยาว ตั้งแต่ปี 2551 ซึ่งปี 2561 เป็นปีที่ 11
ดำเนินการในแปลงทดลองที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น โดยวางแผนการทดลองแบบ Split plot จำนวน 3 ซ้ำ
ปัจจยั หลกั ระบบปลกู พืช 3 ระบบ ไดแ้ ก่ 1) ระบบปลูกมนั สำปะหลังตอ่ เน่ืองทกุ ปี 2) ระบบปลูกมันสำปะหลัง
หมุนเวยี นกบั กบั พืชตระกูลถวั่ (ถัว่ เขยี วตามด้วยถั่วพุ่ม) ปีเว้นปี 3) ระบบปลูกมนั สำปะหลังแซมด้วยพืชตระกูล
ถ่ัว (ถั่วเขียวแซมระหว่างแถวมันสำปะหลัง) ทกุ ๆ ปี และปจั จยั รอง วิธีการใสป่ ยุ๋ 4 วธิ ี คือ 1) ไม่ใส่ปุ๋ย 2) ใส่
ปยุ๋ เคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ 3) ใสป่ ๋ยุ หมกั กากตะกอนหม้อกรอง อัตรา 1 ตนั ตอ่ ไร่ 4) ใส่
ปุย๋ หมักกากตะกอนหม้อกรอง อตั รา 1 ตันต่อไร่ รว่ มกับปุ๋ยเคมี เกรด 15-7-18 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัม
ต่อไร่ 5) ใส่ป๋ยุ หมักกากตะกอนหมอ้ กรอง อัตรา 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุย๋ เคมี เกรด 15-7-18 15-7-18 อตั รา 50
กิโลกรมั ต่อไร่ 6) ใส่ปุ๋ยหมกั กากตะกอนหม้อกรอง อัตรา 0.5 ตันตอ่ ไร่ รว่ มกับปยุ๋ เคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 50
กิโลกรัมต่อไร่ ผลการทดลอง พบวา่ ระบบปลกู มนั สำปะหลังต่อเนื่องทุกปี การใส่ปยุ๋ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา
100 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ใหผ้ ลผลิตหวั สดสูงสดุ 4.78 ตนั ตอ่ ไร่ ผลผลิตแป้ง 919 กิโลกรมั ต่อไร่ น้ำหนักเศษซากแหง้
คืนแปลง 699 กิโลกรัมต่อไร่ และมีรายได้สุทธิ 3,623 บาทต่อไร่ ระบบปลูกมนั สำปะหลังแซมด้วยพืชตระกลู
ถ่วั การใสป่ ุ๋ยอินทรยี ์ อัตรา 0.5 ตันตอ่ ไร่ ร่วมกับปยุ๋ เคมีเกรด 15-7-18 อตั รา 50 กโิ ลกรัมต่อไร่ มีรายได้สุทธิ
สงู สุด 3,882 บาทตอ่ ไร่ และระบบปลกู มนั สำปะหลงั หมนุ เวยี นด้วยพืชตระกูลถ่ัว ทกุ กรรมวธิ ใี ห้ผลตอบแทนไม่
คุ้มค่าแก่การลงทุน แต่ระบบปลูกมันสำปะหลังหมุนเวียนด้วยพืชตระกูลถั่ว ช่วยยกระดับคุณภาพดินให้ดีข้ึน
โดยเฉพาะอินทรียวัตถุในดิน และทุกระบบปลูกการใส่ปุ๋ยเคมีติดต่อกันเป็นเวลานานส่งผลให้ดินมีความเป็น
กรดเพิ่มขึ้น การใส่ปยุ๋ อนิ ทรยี ์เพียงอย่างเดียวหรือใสร่ ว่ มกับปยุ๋ เคมี ชว่ ยยกระดบั คณุ ภาพดินให้ดีขึ้น ลดความ
เป็นกรด ชว่ ยเพ่มิ อนิ ทรียวัตถแุ ละธาตุอาหารพชื
คำสำคญั : ผลผลิต คุณสมบตั ิดนิ ระบบปลกู การจดั การปยุ๋ มนั สำปะหลงั ระยะยาว

1ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบนั วิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน่
2กล่มุ วิจัยปฐพีวทิ ยา สำนกั วิจยั พัฒนาปัจจัยการผลติ การเกษตร กรุงเทพฯ

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

690

คำนำ
มันสำปะหลงั (Manihot esculenta Crantz) เป็นพชื เศรษฐกิจที่สำคญั ของประเทศไทย มีพ้ืนที่ปลูก
ทั้งประเทศ 9.44 ล้านไร่ พ้ืนทีเ่ ก็บเก่ยี ว 8.92 ลา้ นไร่ ผลผลติ รวม 29.0 ล้านตัน และผลผลติ ตอ่ ไร่ 3.25 ตันต่อ
ไร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพ้นื ทีป่ ลูก 5.34 ล้านไร่ พน้ื ท่เี กบ็ เกีย่ ว 4.96 ลา้ นไร่ ผลผลติ รวม 16.3 ล้านตัน
และผลผลิตต่อไร่ 3.05 ตันต่อไร่ (สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563) การใช้ทีด่ นิ ในการผลิตมันสำปะหลัง
ในปัจจุบันพบว่า มกี ารใชท้ ด่ี ินอยา่ งไมเ่ หมาะสมขาดการดูแลรกั ษา ขาดการปรับปรุงบำรงุ ดนิ ใหเ้ หมาะสม ทำ
ใหท้ รัพยากรดินมีสภาพเส่อื มโทรม มีความอดุ มสมบรู ณ์ตำ่ ความสามารถในการให้ผลผลติ พชื ต่ำ เกษตรกรส่วน
ใหญ่ใช้ปุ๋ยเคมมี ากเกินความจำเปน็ หรือน้อยเกนิ ไป รวมทั้งมีการใช้สารเสริมหรอื วัสดุปรับปรุงดนิ เพิ่มมากขึน้
แต่ยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีผลกระทบต่อโครงสร้างและสมบัติของดิน ทำให้ดินเสื่อมสภาพ
นอกจากน้ีในการปลูกพชื อย่างตอ่ เนื่องโดยไม่มกี ารปรับปรุงดนิ ตลอดจนการจัดการดินทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง ทำให้ดินมี
ความอุดมสมบูรณ์ลดลงและมีคุณสมบัติไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ทำให้ศักยภาพในการให้ผล
ผลิตของดนิ ต่ำ และไม่สามารถผลติ พชื ไดอ้ ย่างยั่งยืน การบำรงุ ดนิ ท่มี ุง่ เนน้ การใชป้ ยุ๋ เคมแี ต่เพยี งอย่างเดียว ทำ
ให้ดินขาดอินทรียวัตถุ และอาจมีคุณสมบัติทางเคมี กายภาพ และชีวภาพ ที่ไม่เหมาะสมกับการผลิตพืช
จำเป็นต้องมีการผสมผสานกับวิธีการปรับปรุงดินโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ วัสดุอินทรีย์ ระบบการปลูกพืชที่
เหมาะสมทจี่ ะมีผลตอ่ การเพ่มิ เติมธาตุอาหารในดิน โดยยดึ หลกั ของการจดั การธาตอุ าหารพืชที่เหมาะสมกับพืช
เพ่อื ทำให้ดินมีความอุดมสมบรู ณ์และมีคุณสมบัติเหมาะสมตอ่ การผลติ พืชอย่างยัง่ ยืน เพ่อื เปน็ แนวทางในการ
จัดการดินและปัจจัยการผลิตต่างๆ ในพื้นที่อยา่ งถูกต้องและเหมาะสมในการผลิตพืชระยะยาว วัตถุประสงค์
ของงานวจิ ัย เพอ่ื ศึกษาเทคโนโลยีการผลติ มันสำปะหลังโดยใชร้ ะบบปลกู พืชและการจัดการชนิดและอัตราปุ๋ย
ท่เี หมาะสมตอ่ การผลติ มันสำปะหลงั ระยะยาว

วธิ ีดำเนินการ
อปุ กรณ์

1. มันสำปะหลังพนั ธ์รุ ะยอง 86-13
2. ถวั่ เขยี วพนั ธช์ุ ยั นาถ 84-1
3. ถ่วั พุ่มพนั ธอ์ุ ุบลราชธานี 1
4. ป๋ยุ เคมีเกรด 15-7-18 และ 12-24-12
5. ปยุ๋ หมักกากตะกอนหม้อกรอง
6. อุปกรณ์เก็บและเตรียมตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีและปรมิ าณธาตุอาหาร ได้แก่
แทง่ เจาะดิน ถงุ ถงั พลาสติก และตะแกรงร่อนดนิ
7. อุปกรณ์ขุดหัวและเก็บตวั อย่างพืช ได้แก่ ไม้งัดหัว จอบ ถุงกระดาษ กรรไกร มีดสับตัวอย่าง และ
ตาชงั่ 3 และ 60 กก.
8. เคร่อื งวดั หาปรมิ าณแปง้ แบบ Riemann scale

691

9. เครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ดินและพืช ได้แก่ ตาชั่งดิจิตอล 2 และ 3 ตำแหน่ง เครื่องวัด pH และ
EC, Atomic Absorption spectroscopy และ Spectrophotometer

10. ตอู้ บ เพ่ืออบตวั อย่างพชื นำไปวิเคราะห์ธาตอุ าหารและหาความชน้ื
11. อุปกรณ์ เครอื่ งแกว้ และสารเคมวี เิ คราะห์ดนิ และพืช
วธิ กี าร
ดำเนินงานในแปลงที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ตั้งแต่ปี 2551 ซึ่งปี 2563 เป็นปีที่ 13 วางแผนการ
ทดลองแบบ Split plot มีจำนวน 3 ซ้ำ ประกอบด้วย ปัจจัยหลัก ระบบปลูกมันสำปะหลัง 3 ระบบ คือ 1.
ปลูกมันสำปะหลงั ต่อเนือ่ งทกุ ปี 2. ปลกู มันสำปะหลงั หมนุ เวยี นกบั พืชตระกูลถัว่ (ถั่วเขียวตามดว้ ยถั่วพ่มุ ) และ
3. ปลกู มนั สำปะหลังแซมด้วยพืชตระกูลถว่ั (ถั่วเขียวแซมระหว่างแถวมนั สำปะหลัง) ปจั จัยรอง การจัดการป๋ยุ
6 กรรมวิธี คือ 1. ไม่ใส่ปุ๋ย 2. ใส่ปุ๋ยเคมี 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ 3. ใส่ปุ๋ยหมักกากตะกอนหม้อ
กรอง อตั รา 1 ตันต่อไร่ 4. ใส่ปุ๋ยหมักกากตะกอนหม้อกรอง อตั รา 1 ตันตอ่ ไร่ ร่วมกับปยุ๋ เคมี เกรด 15-7-18
15-7-18 อตั รา 100 กิโลกรมั ต่อไร่ 5. ใส่ป๋ยุ หมักกากตะกอนหมอ้ กรอง อัตรา 1 ตันต่อไร่ รว่ มกับปยุ๋ เคมี เกรด
15-7-18 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ และ 6. ใส่ปุ๋ยหมักกากตะกอนหม้อกรอง อัตรา 0.5 ตันต่อไร่
ร่วมกับปุย๋ เคมี เกรด 15-7-18 อัตรา 50 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ขนาดแปลงทดลองย่อย 7x8 เมตร พน้ื ทีเ่ กบ็ เก่ียว 5x6 เมตร
วธิ ปี ฏบิ ตั ิการทดลอง
ฤดูปลูก 252/63 สุ่มเก็บตัวอย่างดินก่อนปลูก ที่ระดับความลึก 0-20 และ 20-50 เซนติเมตร เพ่ือ
วิเคราะหป์ ริมาณธาตอุ าหารพชื ในดนิ ปลูกมันสำปะหลงั พนั ธร์ุ ะยอง 86-13 ในระบบปลกู มนั สำปะหลังตอ่ เน่อื ง
และระบบปลูกมนั สำปะหลังแซมดว้ ยพืชตระกูลถั่ว โดยตดั ท่อนพนั ธุ์ยาวประมาณ 25 เซนติเมตร แช่ท่อนพันธ์ุ
ดว้ ยสารกำจัดแมลง thiamethoxam (Actara 25%WG) อตั รา 4 กรมั ตอ่ น้ำ 20 ลิตร เปน็ เวลา 1 ชวั่ โมง ก่อน
นำไปปลกู ปกั ทอ่ นพันธุล์ ึก 1 ใน 3 ของทอ่ นพันธ์ุ ใชร้ ะยะปลกู 1x1 เมตร ปลูกถวั่ เขยี วพนั ธชุ์ ัยนาท 84-1 ใน
ระบบปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยถั่วเขียว โดยปลูกถั่วเขียว 1 แถวระหว่างแถวมันสำปะหลัง โดยใช้ระยะ
ระหว่างต้น 20 เซนติเมตร จำนวน 2 ต้นต่อหลุม และในระบบปลูกมันสำปะหลังหมุนเวียนกับพืชตระกูลถั่ว
โดยปฏิบัติปีเวน้ ปลูกถั่วเขียวระยะปลูก 50x20 เซนติเมตร จำนวน 2 ต้นต่อหลุม หลังเก็บเกี่ยวถัว่ เขียว (80
วันหลังปลูก) ปลูกถั่วพุ่มพันธุ์อุบลราชธานี 1 วิธีการใส่ปุ๋ย กรรมวิธีที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ หว่านปุ๋ยหมักกาก
ตะกอนหมอ้ กรองอ้อยก่อนปลกู มันสำปะหลังและถว่ั เขยี ว 2 สัปดาห์ ตามอัตราทีก่ ำหนดในแต่ละกรรมวธิ ี และ
ไถคลกุ ลงในดิน ระบบปลูกมนั สำปะหลงั ตอ่ เนอื่ งใส่ปยุ๋ เคมีตามกรรมวิธีที่กำหนดหลังปลูกมนั สำปะหลัง 44 วัน
ส่วนระบบปลูกมันสำปะหลังหมุนเวยี นกับพืชตระกูลถั่ว (ฤดูปลูกมันสำปะหลังปี 2562/63 ปลูกถั่วเขียวพันธ์ุ
ชัยนาท 84-1) ใส่ปุ๋ยเคมีเกรด 12-24-12 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ หลังปลูก 15 วัน ในขณะที่ระบบปลูกปลกู
มันสำปะหลังแซมด้วยถั่วเขียว แบ่งใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 (ใสปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 ก่อนปลูก อัตรา 25
กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ และครงั้ ที่ 2 ใสป่ ุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อตั ราทีเ่ หลือในแต่ละกรรมวิธีท่ีกำหนด หลังเก็บเก่ียวถั่ว
เขียว เกบ็ เกีย่ วมันสำปะหลังทีอ่ ายุ 11 เดอื นหลงั ปลกู
การบันทกึ ข้อมูล
1. ขอ้ มูลสภาพอากาศจากเครือ่ งบันทึกข้อมูลอากาศของศนู ย์วจิ ยั พชื ไร่ขอนแก่น

692

2. ผลวเิ คราะหด์ นิ ทรี่ ะดับความลกึ 0-20 และ 20-50 ซม. กอ่ นปลกู วเิ คราะห์หาความเปน็ กรด-ดา่ ง
ปรมิ าณอนิ ทรียวตั ถุ ฟอสฟอรัสที่เปน็ ประโยชน์ โพแทสเซยี ม แคลเซยี ม และแมกนีเซียมที่แลกเปล่ียนได้

3. ผลผลติ ฝักสดถัว่ ลิสงในระบบพชื หมนุ เวยี นและพชื แซม และน้ำหนกั แหง้ ของเศษซากถั่วลสิ ง
4. ความสูงทอี่ ายุ 3, 6 และ 9 เดอื นหลงั ปลกู และช่วงเกบ็ เก่ยี ว
5. นำ้ หนกั หัวสด ความเขม้ ข้นของแป้ง และคำนวณน้ำหนกั แป้ง โดยใช้สตู ร

ผลผลิตแปง้ = น้ำหนักสดหวั xความเขม้ ขน้ ของแป้ง/100
เวลาและสถานท่ี

- ระยะเวลาดำเนนิ การทดลอง 7 มถิ ุนายน 2562 – 30 เมษายน 2563
- ดำเนินงานทดลองท่ศี นู ย์วจิ ัยพืชไร่ขอนแก่น

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
ผลของระบบปลูกและการจัดการปุ๋ยต่อความสูงของมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 86-13 ดังตารางที่ 1
พบว่า ระบบปลกู มันสำปะหลงั ไมม่ ีผลตอ่ การเจริญเติบโตทางด้านความสูง แต่การจัดการปุย๋ ส่งผลให้ความสูง
มนั สำปะหลงั แตกตา่ งกนั อย่างชัดเจน โดยมนั สำปะหลังทีไ่ ดร้ ับปุย๋ เคมีเกรด 15-7-18 อตั รา 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่
ใหค้ วามสงู กวา่ กรรมวิธอี ื่น ทกุ ชว่ งอายุ ในขณะท่ีกรรมวิธีทไี่ มใ่ สป่ ยุ๋ มันสำปะหลงั มีความสงู ตำ่ สุด
ผลของการจัดการปุ๋ยและระบบปลูกต่อน้ำหนักหัวสด (ตารางที่ 2) พบว่า ระบบปลูกมันสำปะหลัง
และการจัดการปุ๋ยมีปฏิสัมพันธ์กัน โดยระบบปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่อง กรรมวิธที่ใส่ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18
อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ให้น้ำหนักหัวสดและน้ำหนักแห้งคืนแปลงสูงสุด คือ 4.78 ตันต่อไร่ และ 699
กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ และให้น้ำหนักแป้ง 1,028 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนระบบปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยพชื
ตระกูลถั่ว กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่
ให้น้ำหนกั หัวสด นำ้ หนกั แป้ง และนำ้ หนักแหง้ คืนแปลงสงู สุด คอื 4.34 ตนั ต่อไร่ 937 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ และ 771
กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่าระบบปลูกมนั สำปะหลังและการจัดการปุ๋ย ไม่มีผลทำให้เปอร์เซ็นต์
แป้งแตกต่างกัน และจะเห็นได้ว่า กรรมวิธีที่ไม่ใส่ปุ๋ย ทำให้มันสำปะหลังมีน้ำหนักหัวสด น้ำหนักแป้ง และ
น้ำหนักแห้งซากคืนแปลง ตำ่ กวา่ ทุกกรรมวิธี ทงั้ สองระบบ
น้ำหนักแห้งเมล็ดและน้ำหนักแห้งซากถั่วเขียวพนั ธุ์ชัยนาท 84-1 (ตารางที่ 3) พบว่า ในระบบปลูกมัน
สำปะหลังหมุนเวียนด้วยพืชตระกลู ถั่วปีเว้นปี ซึ่งน้ำหนักเมลด็ แห้งที่มากที่สุด (74 กิโลกรัมต่อไร่) เมื่อปลูกใน
แปลงมันสำปะหลังท่มี ีการใส่ปุ๋ยอินทรยี เ์ พยี งอย่างเดียว แตน่ ้ำหนกั แหง้ ซากมากทส่ี ุด (322 กโิ ลกรัมต่อไร)่ เม่ือ
ปลูกในแปลงมันสำปะหลังที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100
กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนในระบบปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยพืชตระกูลถั่ว น้ำหนักเมล็ดแห้งที่มากที่สุด (47.3
กโิ ลกรัมต่อไร่) ในกรรมวิธีที่ใส่ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ อัตรา 0.5 ตันต่อไร่ ร่วมกบั ปุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อตั รา 50 กโิ ลกรัม
ต่อไร่ แต่นำ้ หนกั แห้งซากมากท่ีสุด (136 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร)่ ในกรรมวธิ ีท่ใี ส่ปุย๋ อนิ ทรยี เ์ พยี งอย่างเดยี ว
ถั่วพุ่มพันธุ์อุบลราชธานี ในระบบปลูกมันสำปะหลังหมุนเวียนด้วยพืชตระกูลถั่วปีเว้นปี พบว่า การใส่
ปยุ๋ อนิ ทรีย์อัตรา 1 ตนั ต่อไร่ ร่วมกับปยุ๋ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรมั ต่อไร่ ใหน้ ้ำหนักแห้งซากสูงกว่า

693

กรรมวิธีอื่น คือ 223 กิโลกรัมต่อไร่ ปัญหาที่พบ ดำเนินการเก็บเกี่ยวถั่วพุ่มพันธุ์อุบลราชธานีก่อนกำหนด
เน่ืองจาก ความชื้นในดินไม่เพียงพอตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและผลผลติ หากปล่อยไวต้ ้นถ่วั พุ่มจะแห้งตาย

ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ แสดงในตารางที่ 4 พบว่า ระบบปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องทุกปี การใส่
ปุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรมั ต่อไร่ ให้รายไดส้ ุทธสิ งู สดุ 3,623 บาทต่อไร่ รองลงมาคือ การใส่ปุ๋ย
อินทรยี อ์ ตั รา 0.5 ตนั ต่อไร่ ร่วมกบั ป๋ยุ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ซ่ึงใหร้ ายได้สทุ ธิ 3,039 บาท
ต่อไร่ ส่วนระบบปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยพืชตระกูลถั่ว ซึ่งการใส่ปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 0.5 ตันต่อไร่ ร่วมกับ
ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ให้รายไดส้ ุทธิสูงสุด 3,882 บาทต่อไร่ นอกจากมีรายได้จากมัน
สำปะหลงั ยังมรี ายไดก้ ่อนเก็บเก่ียวมันสำปะหลังจากถ่วั เขียว แต่เนอื่ งจากชว่ งเกบ็ เกี่ยวผลผลิตตรงกับช่วงฝน
ส่งผลให้ผลผลิตเน่าเสียหาย จึงส่งผลให้ผลผลิตและรายได้ที่ได้รับต่ำ และส่งผลให้ระบบปลูกมันสำปะหลัง
หมุนเวยี นพืชตระกูลถั่ว ขาดทนุ -22 ถึง -2,688 บาทตอ่ ไร่ ประกอบกบั ฝนท้งิ ชว่ ง สง่ ผลให้ความชื้นไม่เพียงพอ
ต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของถั่วพุ่ม จึงดำเนินการเก็บเกี่ยวถั่วพุ่มพันธุ์อุบลราชธานีก่อนกำหนด
ส่งผลให้ไมไ่ ด้รบั รายไดจ้ ากถั่วพุ่ม

ผลของการจัดการปยุ๋ และระบบปลูกต่อการเปลยี่ นแปลงคุณภาพดนิ ในพื้นทปี่ ลกู มันสำปะหลงั (ตาราง
ท่ี 5) โดยภาพรวมระบบปลกู มนั สำปะลังไมม่ ีผลต่อการเปลย่ี นแปลงคุณภาพดิน แตม่ แี นวโน้มวา่ ระบบปลูกมัน
สำปะหลงั หมุนเวียนพชื ตระกูลถัว่ มีค่าอนิ ทรียวัตถุและฟอสฟอรัสท่ีเปน็ ประโยชนใ์ นดินสูงกวา่ ทง้ั 2 ระบบปลูก
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดิน คือ การจัดการปุ๋ย ซึ่งจะเห็นได้ว่าการใส่ปุ๋ยอินทรีย์เพียงอย่าง
เดียวหรือร่วมกบั ปุ๋ยเคมชี ่วยยกระดับความเปน็ กรดเปน็ ดา่ งของดิน แตก่ ารใสป่ ๋ยุ เคมีเพยี งอย่างเดียวทกุ ปี ดินมี
ฤทธิเ์ ป็นกรดจดั มาก ไม่เหมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโตและการดดู ใชธ้ าตุอาหารของมนั สำปะหลัง อินทรยี วัตถุใน
ดิน ดังตารางที่ 3 พบว่า การใสป่ ๋ยุ อินทรยี ์ หรือปุ๋ยเคมี หรอื ท้ังสองรว่ มกนั มอี ินทรียวัตถุในดินสูงกว่ากรรมวธิ ที ่ี
ไม่ใสป่ ุ๋ยอย่างเหน็ ได้ชัด เชน่ เดียวกบั คา่ ฟอสฟอรสั ที่เป็นประโยชนแ์ ละโพแทสเซียมท่ีแลกเปล่ียนได้ในดิน และ
จะเห็นได้ว่าอนิ ทรยี วัตถุในดนิ ของระบบปลูกมนั สำปะหลงั หมุนเวียนพชื ตระกูลถวั่ มีแนวโนม้ สูงกว่าระบบปลูก
มนั สำปะหลงั ตอ่ เนื่องและระบบปลกู มนั สำปะหลงั หมุนเวยี นพชื ตระกูลถ่ัว

694

ตารางท่ี 1 ความสงู (เซนตเิ มตร) มันสำปะหลงั พันธร์ุ ะยอง 86-13 ที่อายุ 3 6 และ 9

ปลูก การจัดการชนดิ และอตั ราปุ๋ยต่างกนั ท่ศี นู ย์วิจัยพชื ไรข่ อนแก่น ปี 25



กรรมวธิ ี 3 เดอื น 6 เดอื น

C11 C2 C31 เฉลีย่ C1 C2 C3 เฉ

F1 58 d - 56 d 57 95 - 88 9

F2 73 c - 62 d 67 110 - 96 10

F3 105 a - 105 a 105 150 - 134 14

F4 89 b - 87 b 88 132 - 121 12

F5 99 a - 75 c 87 141 - 118 13

F6 101 a - 88 b 95 144 - 127 13

เฉลย่ี 88 - 79 129 A2 - 114 B2

CV (%) (a) 8.3 (a) 11.2

(b) 5.9 (b) 9.8

F-test (a) ns (a) *

(b) * (b) *

(a)x(b) * (a)x(b) ns

หมายเหตุ 1/ค่าเฉลยี่ ในแถวเดียวกันท่ีตามด้วยอกั ษรตัวเลก็ ทต่ี ่างกนั แตกต่างกันทางสถติ ิท่ีระดบั คว

2/ค่าเฉลี่ยในคอลมั น์เดียวกนั ท่ีตามด้วยอักษรตวั ใหญท่ ่ีต่างกันแตกตา่ งกนั ทางสถิตทิ ร่ี ะด

ns ไมแ่ ตกต่างอย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิ

C1 = ระบบปลูกมันสำปะหลงั ต่อเนอ่ื งทกุ ปี, C2 = ระบบปลกู มันสำปะหลงั หมนุ เวียนพ

F1 = ไมใ่ ส่ป๋ยุ , F2 = ปุ๋ยอนิ ทรีย์ อัตรา 1 ตนั /ไร,่ F3 = ปยุ๋ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 1

F5 = ป๋ยุ อนิ ทรีย์ อตั รา 1 ตนั /ไร่ รว่ มกบั ปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่ และ

9 เดอื นหลังปลูก และชว่ งเกบ็ เก่ียว ผลจากการปลูกมนั สำปะหลังระยะยาวที่มรี ะบบ

562/63

ความสงู (เซนติเมตร)

9 เดือน ช่วงเกบ็ เกย่ี ว

ฉลยี่ 1 C1 C2 C3 เฉลยี่ 1 C1 C2 C3 เฉลย่ี 1

92 d 116 - 116 116 c 126 - 123 125 c

03 c 130 - 126 128 b 162 - 140 151 b

42 a 161 - 161 161 a 180 - 187 184 a

27 b 150 - 150 150 a 177 - 197 187 a

30 b 161 - 147 154 a 179 - 176 178 a

36 a 161 - 155 158 a 196 - 176 186 a

147 A2 - 143 B2 170 - 167

(a) 6.6 (a) 12.8

(b) 3.7 (b) 8.4

(a) * (a) ns

(b) * (b) *

(a)x(b) ns (a)x(b) ns

วามเชอ่ื ม่ัน 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี DMRT

ดบั ความเชื่อม่นั 95 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดยวิธี DMRT

พชื ตระกูลถั่ว (ถ่วั เขียว-ถั่วพุ่ม) และ C3 = ระบบปลกู มนั สำปะหลงั แซมดว้ ยพืชตระกูลถ่วั
100 กก./ไร่, F4 = ปุย๋ อินทรยี ์ อตั รา 1 ตนั /ไร่ รว่ มกับปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร,่
ะ F6 = ปุย๋ อินทรยี ์ อัตรา 0.5 ตัน/ไร่ รว่ มกับปุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่

ตารางที่ 2 ผลผลิตหวั สด เปอรเ์ ซ็นต์แปง้ ผลผลติ แป้ง และนำ้ หนักแห้งเศษซากคนื แป

ระบบปลูก การจดั การชนดิ และอัตราปุ๋ยตา่ งกนั ที่ศูนย์วจิ ยั พืชไรข่ อนแก่น



กรรมวธิ ี นน.หัวสด (ตัน/ไร)่ เปอรเ์ ซน็ ตแ์ ป้ง (%)

C11 C2 C31 เฉลี่ย C1 C2 C3

F1 1.55 d - 1.46 c 1.50 23.1 - 23.2

F2 3.29 c - 3.44 b 3.36 23.8 - 21.6

F3 4.78 a - 3.91 ab 4.35 21.5 - 23.5

F4 3.45 bc - 4.34 a 3.89 21.8 - 21.6

F5 4.22 ab - 3.97 ab 4.09 21.9 - 23.0

F6 4.56 a - 3.73 ab 4.14 23.0 - 20.9

เฉลยี่ 3.64 3.47 22.5 - 22.3

CV (%) (a) 10.7 (a) 13.8

(b) 12.9 (b) 5.5

F-test (a) ns (a) ns

(b) * (b) ns

(a)x(b) * (a)x(b) ns

หมายเหตุ 1/ค่าเฉลยี่ ในแถวเดียวกนั ท่ีตามด้วยอกั ษรตัวเล็กทตี่ า่ งกันแตกต่างกันทางสถติ ิท่ีระดับคว

2/คา่ เฉล่ียในแถวเดยี วกนั ท่ีตามด้วยอกั ษรตัวเลก็ ทตี่ ่างกันแตกต่างกันทางสถิตทิ ี่ระดบั คว

ns ไม่แตกต่างอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติ

C1 = ระบบปลกู มนั สำปะหลงั ต่อเน่อื งทุกปี, C2 = ระบบปลกู มนั สำปะหลงั หมุนเวยี นพ

F1 = ไมใ่ สป่ ุ๋ย, F2 = ปุย๋ อนิ ทรยี ์ อัตรา 1 ตนั /ไร่, F3 = ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 10

F5 = ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ อตั รา 1 ตนั /ไร่ รว่ มกับปุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่ และ F

695

ปลงของมนั สำปะหลงั พันธร์ุ ะยอง 86-13 ผลจากการปลกู มันสำปะหลังระยะยาวทม่ี ี

น ปี 2562/63

ความสงู (เซนติเมตร)

ผลผลติ แปง้ (ตัน/ไร)่ นน.แห้งเศษซากคนื แปลง (กก./ไร)่

เฉลีย่ C11 C2 C31 เฉล่ยี C11 C2 C31 เฉลี่ย

23.2 358 d - 339 c 348 390 b - 351 c 370

22.7 783 bc - 743 b 763 413 b - 451 bc 432

22.5 1,028 a - 919 a 973 699 a - 601 ab 650

21.7 752 c - 937 a 845 546 ab - 771 a 658

22.5 924 ab - 913 a 919 628 a - 475 bc 551

21.9 1,049 a - 780a b 914 646 ab - 472 bc 559

816 - 772 554 - 520

(a) 6.3 (a) 28.5

(b) 12.0 (b) 19.4

(a) ns (a) ns

(b) ** (b) *

(a)x(b) * (a)x(b) *

วามเชื่อม่ัน 95 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดยวิธี DMRT

วามเชอ่ื มัน่ 99 เปอร์เซน็ ต์ โดยวิธี DMRT

พืชตระกลู ถ่ัว (ถั่วเขยี ว-ถั่วพุ่ม) และ C3 = ระบบปลกู มันสำปะหลงั แซมด้วยพชื ตระกูลถ่ัว
00 กก./ไร่, F4 = ปุย๋ อินทรีย์ อตั รา 1 ตนั /ไร่ ร่วมกับปุย๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร่,
F6 = ปุ๋ยอนิ ทรีย์ อัตรา 0.5 ตนั /ไร่ ร่วมกบั ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่

696

ตารางท่ี 3 นำ้ หนักเมลด็ แหง้ และนำ้ หนักแห้งซากของถ่ัวเขยี วพันธช์ุ ัยนาท 84-1 และถว่ั พ่มุ พนั ธอ์ุ บุ ลราชธานี

ในระบบปลูกมนั สำปะหลงั หมนุ เวยี นพืชตระกูลถว่ั และมันสำปะหลงั แซมดว้ ยพืชตระกูลถวั่

ท่ศี ูนย์วิจัยพชื ไร่ขอนแกน่ ปี 2562/63

ระบบปลูกพชื วิธกี ารใส่ ถัว่ เขยี วพันธ์ุชัยนาท 84-1 ถ่ัวพุ่มพันธอุ์ บุ ลราชธานี

ปยุ๋ นน.เมลด็ แห้ง (กก./ไร)่ นน.แห้งซาก (กก./ไร)่ นน.แห้งซาก (กก./ไร)่

F1 61 197 65

มนั สำปะหลงั F2 96 294 162
หมนุ เวยี น F3 54 224 125
พชื ตระกูลถั่ว F4 81 322 223
F5 60 189 65

F6 34 183 116

F1 36 147 -

F2 43 151 -

มันสำปะหลัง F3 25 110 -

แซมด้วยพชื ตระกลู ถวั่ F4 45 97 -

F5 38 121 -

F6 62 125 -

697

ตารางที่ 4 ต้นทุน รายได้ และรายได้สุทธจิ ากการปลูกมันสำปะหลงั และถ่ัวลิสง จากการปลกู มนั สำปะหลงั

ระยะยาวท่มี ีระบบปลกู การจดั การชนิด และอัตราปยุ๋ ต่างกัน ที่ศนู ย์วจิ ยั พชื ไร่ขอนแกน่ ปี

2562/63

ตน้ ทุน (บาท/ไร่) รายได้ (บาท/ไร)่ รายไดส้ ุทธิ
(บาท/ไร่)
ระบบปลูกพชื วิธีการใส่ป๋ยุ มนั ถ่วั รวม มนั ถัว่ รวม
สำปะหลัง เขยี ว สำปะหลงั เขียว

F1 3,943 0 3,943 3,709 0 3,709 -234

F2 6,812 0 6,812 7,881 0 7,881 1,069

มนั สำปะหลัง F3 7,863 0 7,863 11,486 0 11,486 3,623

ต่อเนือ่ ง F4 9,193 0 9,193 8,268 0 8,268 -925

F5 8,728 0 8,728 10,117 0 10,117 1,389

F6 7,899 0 7,899 10,938 0 10,938 3,039

F1 0 4,272 4,272 0 2,745 2,745 -1527

มันสำปะหลัง F2 0 4,342 4,342 0 4,320 4,320 -22
หมุนเวยี นพืช
ตระกูลถ่ัว F3 0 4,258 4,258 0 2,430 2,430 -1828
F4 0 4,312 4,312 0 3,645 3,645 -667
F5 0 4,270 4,270 0 2,700 2,700 -1570

F6 0 4,218 4,218 0 1,530 1,530 -2688

F1 2,475 1,747 4,222 3,504 1,620 5,124 902

มนั สำปะหลัง F2 5,463 1,761 7,224 8,247 1,935 10,182 2,958
แซมด้วยพืช F3 5,997 1,725 7,722 9,370 1,125 10,495 2,773
ตระกูลถว่ั F4 8,213 1,765 9,978 10,405 2,025 12,430 2,452
F5 7,177 1,751 8,928 9,514 1,710 11,224 2,296

F6 6,060 1,799 7,859 8,951 2,790 11,741 3,882

หมายเหตุ ราคาท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง 320 บาท/ไร่ ราคาปุ๋ยเคมี 15-7-18 17 บาท/กก. ราคาปุ๋ยหมัก 2 บาท/กก.

ค่าเตรียมดิน ค่าแรงงานปลูก และดูแลรักษามันสำปะหลัง 2,850 บาท/ไร่ ค่าหว่านปุ๋ยหมัก 300 บาท./ไร่

ค่าใส่ปุ๋ยเคมีมันสำปะหลัง 300 บาท/ไร่ ค่าเก็บเกี่ยวและขนส่งมันสำปะหลัง 0.50 บาท/กก. ราคาเมล็ดพันธุ์ถ่ัว

เขยี ว 40 บาท/กก. อัตราเมล็ดพันธุ์ 5 กก./ไร่ ในระบบปลูกมันสำปะหลงั หมุนเวียน และ 2.5 กก./ไร่ ในระบบพืช

แซม ค่าปุ๋ยเคมี 12-24-12 อัตรา 25 กก./ไร่ ราคา 20 บาท/กก. ค่าเตรียมดิน ค่าแรงงานปลูก และดูแลรักษา

แปลงถั่วเขียว 3,150 บาท/ไร่ ในระบบพืชหมุนเวียน และ 1,800 บาท ในระบบพืชแซม ค่าแรงงานปลิดและ

กะเทาะ 2 บาท/กก. ราคามนั สำปะหลงั 2,400 บาท/ตัน และเมล็ดถวั่ เขียว ราคา 45 บาท/กก.

F1 = ไม่ใสป่ ุ๋ย, F2 = ปยุ๋ อินทรยี ์ อตั รา 1 ตนั /ไร,่ F3 = ปยุ๋ เคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร,่ F4 = ปยุ๋

อนิ ทรีย์ อตั รา 1 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 100 กก./ไร่, F5 = ปุย๋ อินทรีย์ อัตรา 1 ตัน/ไร่

รว่ มกบั ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่ และ F6 = ปุย๋ อินทรยี ์ อตั รา 0.5 ตัน/ไร่ ร่วมกบั ปยุ๋ เคมเี กรด

15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่

698

ตารางที่ 5 คณุ สมบตั ิทางเคมีของดนิ ท่ีความลึก 0-20 เซนติเมตร หลังเก็บเกีย่ วมันสำป

ขอนแกน่ ปี 2562/63



กรรมวธิ ี pH (1:1 water) OM (%)

C1 C2 C3 เฉลีย่ 2 C1 C2 C3

F1 5.3 5.0 5.4 5.2 c 0.40c 0.39c 0.41b

F2 5.8 5.6 6.0 5.8 a 0.49a 0.52a 0.50a

F3 4.7 4.7 4.8 4.7 d 0.44bc 0.53a 0.52a

F4 5.6 5.6 5.4 5.5 ab 0.52a 0.54a 0.50a

F5 5.6 5.7 5.5 5.6 ab 0.45b 0.51ab 0.53a

F6 5.5 5.3 5.3 5.3 bc 0.49a 0.48b 0.54a

เฉล่ีย 5.4 5.3 5.4 0.46 0.50 0.50

CV (%) (a) 2.75 (a) 7.83

(b) 4.73 (b) 4.68

F-test (a) ns (a) ns

(b) ** (b) **

(a)x(b) ns (a)x(b) **

หมายเหตุ 1/ค่าเฉลย่ี ในแถวเดยี วกันท่ีตามด้วยอักษรตวั เลก็ ทต่ี ่างกันแตกต่างกันทางสถติ ิทีร่ ะดับคว

2/ค่าเฉลีย่ ในแถวเดียวกนั ท่ีตามดว้ ยอักษรตัวเล็กทต่ี ่างกันแตกต่างกันทางสถติ ิทรี่ ะดบั คว

ns ไม่แตกตา่ งอย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ิ

C1 = ระบบปลกู มันสำปะหลงั ตอ่ เนื่องทกุ ปี, C2 = ระบบปลูกมนั สำปะหลงั หมุนเวยี นพ

F1 = ไม่ใสป่ ยุ๋ , F2 = ปุ๋ยอินทรยี ์ อัตรา 1 ตัน/ไร,่ F3 = ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา

F5 = ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 1 ตนั /ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อตั รา 50 กก./ไร่ และ

ปะหลงั ระยะยาวที่มีระบบปลกู การจัดการชนดิ และอตั ราปุ๋ยต่างกัน ทศ่ี ูนย์วจิ ัยพชื ไร่

ความสงู (เซนตเิ มตร) เฉล่ีย Exch. K (mg/kg)
Avail. P (mg/kg) 19 C1 C2 C3 เฉล่ยี 1
59 25 30 24 27 b
เฉล่ยี C11 C21 C31 38 45 46 45 45 a
0.40 19 c 26 c 12 d 59 41 56 47 48 a
0.51 51 a 64 a 62 a 54 47 55 49 51 a
0.50 32b c 49 b 32 c 44 41 40 58 46 a
0.52 55 a 73 a 48 b 31 48 55 45 a
0.49 55 a 44 b 62 a 38 46 47
0.50 43 ab 45 b 43b c (a) 36.35
(b) 27.91
43 50 43 (a) ns
(a) 30.10 (b) *
(b) 17.73 (a)x(b) ns
(a) ns
(b) **
(a)x(b) **
วามเชอ่ื ม่นั 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี DMRT
วามเชื่อมัน่ 99 เปอร์เซน็ ต์ โดยวธิ ี DMRT

พชื ตระกลู ถว่ั (ถวั่ เขียว-ถั่วพุ่ม) และ C3 = ระบบปลูกมนั สำปะหลังแซมดว้ ยพชื ตระกลู ถ่ัว
100 กก./ไร่, F4 = ปยุ๋ อนิ ทรีย์ อตั รา 1 ตัน/ไร่ ร่วมกับปยุ๋ เคมีเกรด 15-7-18 อตั รา 100 กก./ไร่,
ะ F6 = ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 0.5 ตนั /ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กก./ไร่

699

สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
การปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องเป็นเวลา 13 ปี หากไม่มีบำรุงดิน ดินเสื่อมโทรมลงทุกๆ ปี ส่งผลให้
ศักยภาพในการผลิตพืชลดลง ควรจัดการระบบปลูกและการจัดการปุ๋ยให้เหมาะสมเพื่อช่วยรักษาความอุดม
สมบูรณ์ของดินไว้ ระบบปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องทุกปี การใส่ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่
ใหผ้ ลผลิตหัวสดสงู สดุ 4.78 ตันตอ่ ไร่ ผลผลิตแปง้ 919 กิโลกรัมต่อไร่ นำ้ หนกั เศษซากแห้งคนื แปลง 699 กิโลกรัม
ตอ่ ไร่ และมีรายไดส้ ทุ ธิ 3,623 บาทตอ่ ไร่ ระบบปลกู มนั สำปะหลงั แซมดว้ ยพืชตระกูลถ่วั การใสป่ ุ๋ยอนิ ทรีย์ อัตรา 1
ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตหัวสดสูงสุด 4.34 ตันต่อไร่ ผลผลิต
แป้ง 937 กิโลกรัมต่อไร่ และน้ำหนักเศษซากแห้งคืนแปลง 771 กิโลกรัมต่อไร่ แต่รายได้สุทธิการใส่ปุ๋ยอินทรีย์
อัตรา 0.5 ตันต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ มีรายได้สุทธิสูงสุด 3,882 บาทต่อไร่
และระบบปลูกมันสำปะหลังหมุนเวียนด้วยพืชตระกูลถั่ว ทุกกรรมวิธีให้ผลตอบแทนไม่คุ้มค่าแก่การลงทุน
เนื่องจาก ฝนตกช่วงเก็บเกี่ยวสง่ ผลให้ผลผลิตเนา่ เสีย และฝนทิ้งช่วงระหว่างปลูกถ่ัวพุ่มส่งผลต่อการเจริญเติบโต
และการให้ผลผลิต แต่ระบบปลูกมันสำปะหลังหมุนเวียนด้วยพืชตระกูลถั่ว ช่วยยกระดับคุณภาพดินให้ดีขึ้น
โดยเฉพาะอินทรียวัตถุในดิน และทุกระบบปลูกการใส่ปุ๋ยเคมีติดต่อกันเป็นเวลานานส่งผลให้ดินมีความเป็นกรด
เพิ่มขน้ึ การใส่ปยุ๋ อินทรยี ์เพยี งอย่างเดียวหรือใส่ร่วมกบั ปุย๋ เคมี ชว่ ยยกระดบั คุณภาพดนิ ให้ดขี ึน้ ลดความเป็นกรด
ชว่ ยเพม่ิ อนิ ทรยี วตั ถแุ ละธาตอุ าหารพืช

กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณสำนักวจิ ยั และพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 ที่ช่วยอนเุ คราะหก์ ารวิเคราะห์คุณภาพของปยุ๋ หมกั
กากตะกอนหมอ้ กรอง ศูนยว์ ิจัยพชื ไรช่ ยั นาท ทช่ี ่วยอนุเคราะหเ์ มลด็ พันธถ์ุ ว่ั เขียวพันธุช์ ยั นาท 84-1 และศูนย์วจิ ัย
พชื ไรอุบลราชธานี ทช่ี ่วยอนุเคราะห์เมล็ดพนั ธุ์ถ่ัวพุ่มพันธ์ุอุบลราธานี

เอกสารอา้ งอิง
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2563. สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2563. ศูนย์สารสนเทศการเกษตร

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรุงเทพมหานคร.

700

การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ มนั สำปะหลังโดยใช้ระบบปลกู พชื และการจดั การปุ๋ย
ในกลมุ่ ดนิ ทราย-ไร่เกษตรกร จ.ขอนแก่น

Increasing cassava cropping systems and fertilizer management efficiency on
cassava production in sandy soil of farmer field Khon Kaen province

เนตริ ัฐ ชุมสวุ รรณ1* ศภุ ชยั อติชาติ1 สมฤทยั ตันเจริญ2 และเจมิ จาบประโคน1

รายงานความก้าวหน้า
ศึกษาเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังโดยการปรบั ปรงุ ดิน
ด้วยระบบปลูกมันสำปะหลังร่วมกับพืชตระกูลถั่ว ที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตมันสำปะหลัง รักษาความ
อุดมสมบูรณ์ของดิน และรักษาความยั่งยืนในการผลิตมันสำปะหลัง โดยปี 2563 ศึกษาระบบพืชแซมมัน
สำปะหลังและถั่วที่มีศักยภาพในพื้นท่ี ดำเนินการทดลอง ไร่เกษตรกร ตำบลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง
จังหวัดขอนแก่น วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block จำนวน 4 ซ้ำ ประกอบด้วย 8
กรรมวิธี คือ มันสำปะหลังแซมด้วยพชื ตระกลู ถั่ว 6 ชนดิ คือ ถวั่ เขยี ว ถ่ัวเหลือง ถว่ั ลิสง ถั่วมะแฮะ ถ่ัวพุ่ม และปอ
เทือง ร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ และวิธีตรวจสอบ 2 กรรมวิธี คือ มันสำปะหลังใส่
ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ และมันสำปะหลังใส่ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่
การเลือกระบบปลกู พืชทเ่ี หมาะสม นอกจากช่วยรกั ษาหน้าดนิ คลุมวชั พชื และเป็นแหล่งของธาตุอาหาร
บางส่วนให้แกม่ นั สำปะหลงั แลว้ ยังเปน็ รายไดเ้ สริม ผลการทดลอง พบว่า ระบบปลกู มันสำปะหลังแซมด้วยถ่ัวลิสง
ซึ่งใหผ้ ลผลิตมันสำปะหลัง 4.75 ตันต่อไร่ และผลผลิตถ่วั ลิสง 208 กิโลกรัมฝกั สดต่อไร่ ถงึ แมม้ ีตน้ ทุนสูงถึง 9,668
บาทตอ่ ไร่ แต่ใหร้ ายได้สงู ถึง 16,596 บาทต่อไร่ และมีรายไดส้ ุทธิสูงสดุ คอื 6,928 บาทต่อไร่
คำสำคญั : ผลผลติ ระบบปลูก การจดั การปุ๋ย พชื ตระกูลถัว่ มันสำปะหลัง

คำนำ
พื้นทีป่ ลูกมันสำปะหลังสว่ นใหญ่ของไทยอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสว่ นใหญป่ ลูกในดินที่มีความ
อุดมสมบูรณ์ต่ำ ที่มีชนิดดินส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มดิน (great group) โดยเฉพาะดินที่มี ลักษณะเนื้อดินร่วน
(Loamy Paleustults) สำหรับชนิดดนิ ในระดบั ชุดดิน (soil series) ที่พบมากในกลุ่มดิน Paleustults คือ ดินชุด
โคราช วาริน ยโสธร และดินชุดสตึก (มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย, 2552) ซึ่งดินเหล่านี้มี
เนอ้ื ดนิ มที รายเป็นองคป์ ระกอบหลกั ทำให้มีความสามารถตำ่ ทั้งในการดูดซับธาตอุ าหารและน้ำ จึงเป็นสาเหตุหลัก
หนง่ึ ท่ีทำให้ผลผลิตต่ำ การปลูกมนั สำปะหลงั ติดต่อกันยาวนานทำให้ดินเส่ือมโทรมลงทุกปี (โชติและคณะ, 2533)
การชะล้างหน้าดินในแปลงปลูกมันสำปะหลงั เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ดินมีการสูญเสียหน้าดิน ด้วยระยะระหวา่ ง

1ศนู ย์วจิ ยั พืชไร่ขอนแกน่ สถาบันวิจัยพืชไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน่
2กล่มุ วิจัยปฐพีวทิ ยา สำนักวิจัยพฒั นาปจั จัยการผลติ การเกษตร กรุงเทพฯ

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

701

ต้นและแถว 0.5-1.0 เมตร เปน็ สาเหตุทำให้ในช่วงแรกของการเจรญิ เติบโต เมื่อทรงพ่มุ ยังไม่สามารถคลุมหน้าดิน
ไดร้ วดเร็ว มีความเสีย่ งต่อการถกู ชะล้างหน้าดนิ ไดง้ ่าย โดยเฉพาะการปลกู ตน้ ฤดูฝน มันสำปะหลงั เป็นพืชอายุยาว
สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ที่อายุตั้งแต่ 6 ถึง 16 เดือน จึงสามารถจัดระบบปลูกพืชได้หลากหลาย ศรีสุดาและ
คณะ (2556) รายงานการปลูกพืชตระกูลถั่วร่วมกบั มนั สำปะหลัง ถึงแม้ว่าการปลูกหมุนเวียนมันสำปะหลังกับถัว่
ลิสง+ถั่วมะแฮะ จะให้ผลผลิตต่ำกว่าการปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่อง แต่สามารถรักษาระดับความอุดมสมบูรณไ์ ด้
ดกี วา่ แต่การใสป่ ุย๋ โดยเฉพาะปยุ๋ หมกั มกี ารลงทนุ มากกว่ารายได้ทีไ่ ด้รับ กอบเกยี รติและคณะ (2548) พบวา่ การ
ใช้ปยุ๋ เคมี NPK ในอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน การปลูกถั่วพุม่ แซมระหว่างแถวมันสำปะหลัง และปลูกแฝกเป็นแถบ
สามารถช่วยลดการสูญเสียหน้าดิน การใช้ระบบปลูกพชื นอกจากจะช่วยคลุมหน้าดิน การย่อยสลายของเศษซาก
หลังการเก็บเกี่ยวยังช่วยปลดปล่อยธาตุอาหารให้แก่พืชที่ปลูกตามหรือปลูกแซมได้ โดยเฉพาะพืชตระกูลถั่วที่มี
ความสามารถในการตรึงไนโตรเจน ทำใหเ้ พม่ิ ไนโตรเจนในระบบท่ีพืชหลักในระบบสามารถนำไปใช้ได้ การปลูกถั่ว
พมุ่ แซมระหวา่ งแถวมนั สำปะหลงั ในดินชดุ แม่ริม สามารถลดการสญู เสียหน้าดินถึงรอ้ ยละ 47 และ 28 ในดนิ ทราย
จังหวดั ระยอง (กอบเกียรติ และคณะ, 2548) การเลอื กระบบปลกู พืชที่เหมาะสม นอกจากชว่ ยรักษาหนา้ ดนิ คลุม
วชั พืช และเปน็ แหลง่ ของธาตุอาหารบางสว่ นให้แก่มนั สำปะหลังแล้ว และเป็นรายไดเ้ สริม จงึ เปน็ ทมี่ าของงานวิจัย
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและคัดเลือกและการจัดการปุ๋ยพืชสดที่เหมาะต่อการผลิตมันสำปะหลังในกลุ่มดินทราย
จังหวดั ขอนแก่น

วิธีดำเนนิ การ
อุปกรณ์

1. มันสำปะหลังพันธ์รุ ะยอง 86-13 ถัว่ ลิสงพนั ธ์ไุ ทนาน 9
2. พืชตระกลู ถั่ว ไดแ้ ก่ ถ่วั เขียว ถัว่ พุม่ ถั่วลิสง ถ่ัวมะแฮะ ถ่วั เหลอื ง และปอเทือง
3. ป๋ยุ เคมเี กรด 15-7-18
4. อุปกรณ์เก็บตัวอย่างดิน ได้แก่ อุปกรณ์เก็บตัวอย่างดินแบบ Undisturbed core sample สว่านเก็บ
ตวั อย่างดิน ถงุ พลาสตกิ เก็บตัวอยา่ งดนิ
5. อปุ กรณ์เก็บตวั อย่างพชื ไดแ้ ก่ ถุงกระดาษ ถุงตาข่าย มดี และกรรไกรตัดตวั อย่างพืช
6. อปุ กรณข์ ดุ หัวและเก็บตัวอย่างพชื ได้แก่ ไมง้ ดั หัว จอบ ถุงกระดาษ กรรไกร มีดสับตวั อยา่ ง และ ตาช่ัง
3 และ 60 กก.
7. เคร่อื งวดั หาปริมาณแป้งแบบ Riemann scale
8. เครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ดินและพืช ได้แก่ ตาชั่งดิจิตอล 2 และ 3 ตำแหน่ง เครื่องวัด pH และ EC,
Atomic Absorption spectroscopy และ Spectropho-tometer
9. ต้อู บ เพอ่ื อบตัวอยา่ งพชื นำไปวิเคราะหธ์ าตุอาหารและหาความชื้น
10. อปุ กรณ์ เคร่ืองแก้ว และสารเคมีวิเคราะหด์ ินและพืช

702

วิธกี าร
วางแผนการทดลอง แบบ RCB จำนวน 4 ซำ้ ประกอบด้วยระบบปลกู ถว่ั แซมระหว่างแถวมนั สำปะหลัง 8

วธิ ี ได้แก่
1) ปลกู มนั สำปะหลงั แซมดว้ ยถ่ัวเขียว+ป๋ยุ 15-7-18 อัตรา 100 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่
2) ปลูกมนั สำปะหลงั แซมถว่ั พุ่ม+ปยุ๋ 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรมั ต่อไร่
3) ปลูกมนั สำปะหลังแซมถว่ั ลสิ ง+ป๋ยุ 15-7-18 อัตรา 100 กโิ ลกรัมต่อไร่
4) ปลกู มนั สำปะหลังแซมถั่วมะแฮะ+ปุ๋ย 15-7-18 อัตรา 100 กโิ ลกรัมต่อไร่
5) ปลูกมันสำปะหลงั แซมถั่วพรา้ +ปยุ๋ 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่
6) ปลูกมนั สำปะหลงั แซมปอเทอื ง+ปุ๋ย 15-7-18 อัตรา 100 กโิ ลกรมั ต่อไร่
7) ปลูกมนั สำปะหลงั +ปุ๋ย 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรมั ต่อไร่
8) ปลูกมนั สำปะหลัง+ปยุ๋ 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรมั ตอ่ ไร่

วิธีปฏบิ ัตกิ ารทดลอง
ดำเนินการทดลองที่ไร่เกษตรกร อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น ก่อนปลูกเก็บดินที่ระดับ 0-20 และ 20-50

เซนติเมตร เพื่อวัดคุณสมบัติทางเคมีและปริมาณธาตุอาหารในดิน ปลูกมันสำปะหลังพันธุ์ที่ระยอง 86-13 โดยใช้
ระยะปลกู 1x1 เมตร และปลูกพืชปุ๋ยสดแซมระหว่างแถวมันสำปะหลงั 1 แถว (ระยะหา่ งจากแถวมนั สำปะหลังข้าง
ละ 50 เซนติเมตร) ปลูกพืชปุ๋ยสดทั้ง 6 ชนิด โดยระหว่างต้น 20 เซนติเมตร พื้นที่แปลงทดลองย่อย 8x8 เมตร
วิธีการใส่ปุ๋ยใส่ปุ๋ยเคมีพร้อมปลูก 25 กิโลกรัมต่อไร่ทุกกรรมวิธี และใส่ปุ๋ยอัตราท่ีเหลือตามกรรมวิธีที่กำหนด เม่ือ
มนั สำปะหลังอายุ 38 วันหลงั ปลูก เกบ็ เกยี่ วถว่ั ลิสง ถว่ั พร้า ถวั่ มะแฮะอายุ 90 วนั และปอเทือง ถั่วเขยี ว ถวั่ พมุ่ อายุ
75 วัน สับคลุกเศษซากถั่วในดิน เก็บเกี่ยวมันสำปะหลังเมื่ออายปุ ระมาณ 13 เดือนหลังปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยว 6x6
เมตร โดยการถอนตน้ แยกหัว ใบ เหง้า และลำ ลำใหแ้ ยกเปน็ ลำทส่ี ามารถนำไปใช้เปน็ ท่อนพนั ธุ์ได้ และเป็นท่อน
พนั ธ์ไุ มไ่ ด้ ช่งั นำ้ หนกั ลำสดของลำแตล่ ะส่วน นำลำทที่ ำท่อนพันธุไ์ ดอ้ อกจากแปลง ชั่งนำ้ หนกั สด หวั ใบ และเหง้า
ก่อนสมุ่ ตวั อยา่ งส่วนละ 0.5-1.0 กโิ ลกรัม นำไปอบใหแ้ ห้งและชง่ั น้ำหนัก เพื่อนำไปใชใ้ นการคำนวณหาน้ำหนักแหง้
เศษซากมนั ทเ่ี หลอื ใหไ้ ถกลบลงแปลง และเกบ็ ดนิ หลงั จากการเกบ็ เก่ยี ว
การบันทึกข้อมูล

1. บันทึกข้อมูลคุณสมบัติทางเคมีและปริมาณธาตุอาหารในดิน ได้แก่ ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน
อินทรียวตั ถุ ฟอสฟอรัสที่เปน็ ประโยชน์ และโพแทสเซยี มท่แี ลกเปลี่ยนได้ ของดินทร่ี ะดบั ความลกึ 0-20 และ 20-
50 เซนตเิ มตร

2. ความสามารถในการเจรญิ เติบโต โดยประเมนิ จากความเร็วในการคลุมหน้าดนิ ของถวั่ แต่ละชนิด ความ
สูงของทรงพมุ่ ของถว่ั นำ้ หนกั แหง้ ของเศษซากถวั่ น้ำนำ้ หนกั สดและแหง้ ของผลผลติ

3. ความสงู ของมันสำปะหลังอายุ 3, 6 และ 9 เดอื นหลงั ปลกู และชว่ งเกบ็ เกย่ี ว
4. น้ำหนกั สดและนำ้ หนกั แหง้ หวั เหงา้ ต้น และใบมนั สำปะหลงั
5. เปอรเ์ ซน็ ตแ์ ป้ง โดยใช้เครอื่ งวดั แบบ Reimann Scale
6. ประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์

703

เวลาและสถานท่ี
-ระยะเวลา ตลุ าคม 2562 – พฤศจิกายน 2563
-สถานที่ทำการทดลอง ไรเ่ กษตรกร อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง
ผลวิเคราะห์ดินก่อนปลูกก่อนปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยพืชปุ๋ยสด ไร่เกษตรกร ตำบลเขาสวนกวาง
อำเภอเขาสวนกวาง จงั หวัดขอนแก่น (ตารางท่ี 1) พบว่า ดินท่ีระดบั ความลกึ 0-20 เซนติเมตร มคี า่ ความเป็นกรด
จดั (pH 5.4) คา่ การนำไฟฟ้าตำ่ อนิ ทรียวัตถุในดนิ เพยี ง 0.45 เปอรเ์ ซน็ ต์ ฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชนอ์ ยู่ในระดับต่ำ
(4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) โพแทสเซียมและแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้อยู่ในระดับต่ำ (13 และ 14 มิลลิกรัมต่อ
กิโลกรัม ตามลำดับ) และแคลเซียมทีแ่ ลกเปลี่ยนได้อยู่ในระดบั สูง (376 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ผลวิเคราะห์ดนิ ท่ี
ระดับความลึก 20-50 เซนติเมตร ค่าความเป็นกรดปานกลาง (pH 5.6) ค่าการนำไฟฟ้าต่ำ อินทรียวัตถุในดินตำ่
(0.35 เปอรเ์ ซ็นต์) ฟอสฟอรสั ที่เปน็ ประโยชน์อยู่ในระดบั ต่ำ (1 มิลลิกรมั ต่อกิโลกรมั ) โพแทสเซียมและแมกนเี ซยี ม
ทแ่ี ลกเปล่ียนไดอ้ ยู่ในระดับต่ำ (17 และ 20 มลิ ลิกรัมตอ่ กโิ ลกรัม ตามลำดบั ) และแคลเซยี มทแี่ ลกเปล่ียนได้อยู่ใน
ระดับสงู (492 มลิ ลิกรมั ตอ่ กิโลกรมั ) ซงึ่ โดยรวมมีระดบั ความอุดมสมบรู ณ์ของดนิ อยู่ในระดบั ต่ำ
การเจริญเตบิ โตพชื ปยุ๋ สดทอ่ี ายุ 1 เดือนหลังปลกู พบวา่ พชื ปุ๋ยสดทเี่ จรญิ เตบิ โตดี คอื ถ่วั พุ่ม มนี ำ้ หนักสด
รวมสูงสุด คือ 20.0 กรัมต่อต้น ซึ่งมีความสูง 24.6 เซนติเมตร และความกว้างทรงพุ่ม 36.0 เซนติเมตร รองลงมา
ได้แก่ ถั่วลิสง, ถั่วเขียว ปอเทือง ถั่วเหลือง และถั่วมะแฮะ (ตารางที่ 2) การเจริญเติบโตพืชปุ๋ยสดที่อายุ 2 เดือน
หลงั ปลูก พบว่า พชื ปุ๋ยสดท่เี จริญเตบิ โตดี คอื ปอเทอื ง มนี ้ำหนกั แห้งรวมสูงสุด คือ 10.67 กรมั ตอ่ ตน้ ซงึ่ มคี วามสงู
118 เซนติเมตร และความกว้างทรงพุ่ม 26.0 เซนติเมตร รองลงมา ได้แก่ ถั่วลิสง ถั่วพุ่ม ถั่วเขียว ถั่วเหลือง และ
ถว่ั มะแฮะ (ตารางท่ี 3)
ผลระบบปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยของพืชปุ๋ยสดต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตและผลตอบแทนทาง
เศรษฐกิจ (ตารางท่ี 4) พบวา่ การเจริญเตบิ โตทางดา้ นความสูงของมนั สำปะหลังพันธ์รุ ะยอง 86-13 ไมแ่ ตกต่างกัน
ทางสถติ ิ โดยมันสำปะหลงั มคี วามสงู อยู่ 33.8 - 52.4 เซนติเมตร, 64.7-87.9 เซนติเมตร, 93–120 เซนติเมตร และ
170-190 เซนติเมตร ที่อายุ 3, 6, 9 เดือน และช่วงเก็บเกี่ยว ตามลำดับ จากตารางที่ 5 พบว่า ผลผลิตหัวสด
แตกตา่ งกันอย่างชัดเจน โดยระบบปลกู มันสำปะหลงั อย่างเดยี วที่ใส่ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อ
ไร่ ใหผ้ ลผลิตหวั สด 4.76 ตันตอ่ ไร่ รองลงมาคือระบบปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยถัว่ ลิสง 4.75 ตันต่อไร่ ผลผลิตที่
ได้น้อยที่สุด คือ ระบบปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยถั่วมะแฮะ 3.03 ตันต่อไร่ ส่วนเปอร์เซ็นต์แปง้ และน้ำหนักแห้ง
ซากคืนแปลงไมแ่ ตกต่างกัน โดยมีเปอรเ์ ซ็นตแ์ ปง้ อยู่ระหว่าง 20.1-23.8 เปอรเ์ ซ็นต์ และน้ำหนกั แห้งซากคืนแปลง
(น้ำหนักแห้งเหง้า ใบ และลำต้นไม่ใช้ทำพันธุ์) 468-619 กิโลกรัมต่อไร่ เมือพิจารณาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
แสดงในตารางที่ 6 พบว่า ระบบปลูกมันสำปะหลังแซมด้วยพชื ตระกลู ถั่วมีตน้ ทุนการผลิตที่สูงกว่าระบบปลูกมนั
สำปะหลังเพียงอยา่ งเดยี ว โดยระบบปลูกมันสำปะหลงั แซมดว้ ยถ่ัวลิสงร่วมกับการใส่ปยุ๋ เคมีเกรด 15-7-18 อัตรา
100 กิโลกรัมต่อไร่ มีต้นทุนสูงถึง 9,668 บาทต่อไร่ แต่ให้รายได้สูงถึง 16,596 บาทต่อไร่ และมีรายได้สุทธิมาก
ทส่ี ุด คือ 6,928 บาทตอ่ ไร่ ในขณะระบบปลกู มนั สำปะหลังเพียงอย่างเดียว ท่ใี ส่ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อตั รา 100

704

กิโลกรัมต่อไร่ ให้รายได้สุทธิ 4,726 บาทต่อไร่ ซึ่งจะเห็นได้ว่าการเลือกพืชตระกูลถั่วที่เหมาะสม สามารถเพ่ิม
รายได้ถึงแม้มีต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ในทางตรงกันข้ามหากเลือกพืชตระกูลถั่วที่ไม่เหมาะสม จะส่งผลต่อการ
เจริญเตบิ โตและการให้ผลผลติ มันสำปะหลัง และทำใหม้ ตี ้นทนุ การผลิตทีเ่ พ่มิ ขึน้ ทำให้ไดร้ ับผลตอบแทนทไ่ี มค่ ุ้มค่า
แกก่ ารลงทนุ ซง่ึ จากขอ้ มูลงานทดลองจะเห็นได้วา่ ถว่ั มะแฮะและปอเทืองทำให้ผลผลิตมนั สำปะหลังลดลง และมี
ต้นทุนการผลิตทส่ี ูงขนึ้

ผลวเิ คราะห์ดนิ หลงั เก็บเกย่ี ว ทีร่ ะดบั ความลกึ 0-20 เซนตเิ มตร (ตารางท่ี 7) พบวา่ ทกุ กรรมวิธีไมแ่ ตกต่าง
กัน โดยมีฤทธิ์เปน็ กรดจัด มอี นิ ทรียวัตถใุ นดนิ 0.42 4-0.45 เปอรเ์ ซน็ ต์ และฟอสฟอรัสท่ีเปน็ ประโยชน์ในดิน 4-6
มิลลกิ รัมตอ่ กโิ ลกรมั แตค่ ่าโพแทสเซยี มที่แลกเปล่ียนไดใ้ นดนิ แตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติ โดยกรรมวิธีท่ี
ปลูกมนั สำปะหลงั แซมดว้ ยถวั่ มะแฮะดนิ มีค่าโพแทสเซียมทแ่ี ลกเปล่ียนได้ในดนิ สูงสุด 93 มิลลิกรมั ต่อกโิ ลกรัม แต่
กรรมวิธที ่ปี ลกู มันสำปะหลังแซมดว้ ยถัว่ มะแฮะดนิ มคี า่ โพแทสเซยี มท่ีแลกเปลี่ยนไดใ้ นดินต่ำสุดแต่ไม่แตกต่างกนั

ตารางท่ี 1 ผลวิเคราะหด์ ินระดับความลึก 0-20 และ 20-50 ซม. กอ่ นปลกู มันสำปะหลังแซมด้วยพชื ตระกูลถ่ัว

ไรเ่ กษตรกร ตำบลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง จงั หวัดขอนแกน่ ฤดปู ลกู 2562/63

ระดบั ความลึก pH EC(1:5) OM avai P exch K exch Ca exch Mg
(1:5) dS/m % mg/kg mg/kg mg/kg mg/kg

0-20 cm 5.4 0.0064 0.45 4 13 376 14

20-50 cm 5.6 0.0050 0.35 1 17 492 22

ตารางที่ 2 การเจรญิ เติบโตพชื ตระกลู ถัว่ ท่ีอายุ 1 เดือนหลังปลูก ท่ไี รเ่ กษตรกร ตำบลเขาสวนกวาง อำเภอเขา

สวนกวาง จงั หวัดขอนแก่น ฤดูปลูก 2562/63

พืชตระกลู ความสงู ความกวา้ งทรง จำนวนปม น้ำหนักแห้ง (กรัมตอ่ ตน้ )

ถวั่ (เซนตเิ มตร) พมุ่ (เซนตเิ มตร) (ปมต่อต้น) ราก ต้น ใบ รวม1/

ถวั่ เหลอื ง 18.8 14.5 2 0.8 ab 3.0 bc 3.2 b 7.0 bc

ถัว่ เขียว 18.0 24.5 3 0.9 ab 6.3 abc 8.7 a 15.8 ab

ถว่ั ลสิ ง 14.8 26.5 35 1.0 ab 9.1 a 8.7 a 18.7 a

ถ่ัวพ่มุ 24.6 36.0 6 1.2 a 8.1 a 10.7 a 20.0 a

ถว่ั มะแฮะ 32.9 17.5 4 0.5 b 1.6 c 2.0 b 4.0c

ปอเทอื ง 55.5 13.5 5 1.1 ab 6.9 ab 6.5 ab 14.6 ab

F-test - - - ** ** ** **

CV (%) - - - 23.7 28.1 22.4 24.6

หมายเหตุ 1/ คา่ เฉล่ียในแถวเดียวกนั ที่ตามด้วยอักษรตวั เลก็ ท่ีตา่ งกันแตกต่างกันทางสถิตทิ ี่ระดับความเช่ือมัน่ 99 เปอรเ์ ซ็นต์ โดยวิธี DMRT

705

ตารางท่ี 3 การเจรญิ เติบโตพชื ปุ๋ยสดทีอ่ ายุ 2 เดอื นหลงั ปลกู ทไ่ี ร่เกษตรกร ตำบลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวน

กวาง จงั หวดั ขอนแก่น ฤดปู ลกู 2562/63

พชื ตระกลู ถวั่ ความสูง ความกวา้ ง จำนวนปม นำ้ หนักแหง้ (กรมั ตอ่ ตน้ )

(เซนตเิ มตร) ทรงพมุ่ (ปมตอ่ ต้น) ราก1/ ต้น ใบ ฝักออ่ น1/ รวม1/
(เซนติเมตร)

ถ่ัวเหลอื ง 35 22 2 0.61 bc 2.09 bc 3.24 0.74 a 6.68 ab

ถวั่ เขียว 31 29 2 0.86 a 2.38 bc 4.98 0.66 a 8.88 ab

ถั่วลสิ ง 23 23 48 0.64 bc 3.67 ab 4.98 0.30 ab 9.59 ab

ถ่ัวพ่มุ 30 34 2 0.80 ab 3.37 bc 5.11 0.20 ab 9.48 ab

ถัว่ มะแฮะ 61 23 1 0.54 c 1.62 c 2.36 0.00 b 4.53 b

ปอเทือง 118 26 4 0.81 ab 5.45 a 4.41 0.00 b 10.67 a

F-test - - - * ns ns * *

CV (%) - - - 10.8 21.2 23.7 72.8 22.0

หมายเหตุ 1/ ค่าเฉล่ียในแถวเดียวกันท่ีตามด้วยอกั ษรตวั เล็กทต่ี า่ งกันแตกต่างกนั ทางสถิติท่ีระดับความเช่อื มั่น 95 เปอรเ์ ซ็นต์ โดยวิธี

DMRT

ns ไมแ่ ตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ิ

ตารางท่ี 4 การเจริญเติบโตทางด้านความสงู (เซนติเมตร) ของมนั สำปะหลังพนั ธุ์ระยอง 86-13 ที่อายุ 3, 6, 9 เดือน

หลังปลูก และท่อี ายเุ ก็บเก่ยี ว ไรเ่ กษตรกร ตำบลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น

พชื ตระกลู ถั่ว 3 เดอื น 6 เดอื น 9 เดอื น เกบ็ เกยี่ ว
(เซนติเมตร) (เซนตเิ มตร) (เซนติเมตร) (เซนติเมตร)

ถั่วเหลอื ง 43.0 72.9 114 175

ถัว่ เขยี ว 41.2 69.2 118 176

ถ่วั ลิสง 42.1 79.3 120 185

ถัว่ พุ่ม 33.8 64.7 93 155

ถ่ัวมะแฮะ 41.2 75.8 110 170

ปอเทอื ง 35.9 67.3 98 171

วชั พืช 1 43.3 75.3 111 175

วัชพชื 2 52.4 87.9 120 190

F-test ns ns ns ns

CV (%) 19.6 16.4 16.1 13.2

หมายเหตุ ns ไม่แตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิ

วัชพชื 1 คอื แปลงที่ปลอ่ ยใหว้ ชั พืชขึน้ และใส่ปุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อตั รา 50 กโิ ลกรมั ต่อไร่

วชั พืช 2 คือ แปลงทป่ี ลอ่ ยใหว้ ัชพชื ขน้ึ และใสป่ ุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อตั รา 100 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

706

ตารางที่ 5 เปอรเ์ ซ็นตแ์ ป้ง ผลผลติ และนำ้ หนักแหง้ ซากของมันสำปะหลงั พันธุร์ ะยอง 86-13 ท่ีอายเุ ก็บเก่ยี ว ไร่
เกษตรกร ตำบลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง จังหวดั ขอนแกน่ ฤดูปลกู 2562/63

พชื ตระกลู เปอรเ์ ซน็ ต์ ผลผลิตหัวสด นำ้ หนักแหง้ (กิโลกรัมต่อไร)่
ถั่ว แปง้ (%) (ตันตอ่ ไร่) 1/ เหงา้
ใบ1/ ลำต้นไมใ่ ช้ ลำตน้ ใช้ เศษซาก
ทำพันธ์ ทำพนั ธุ์1/ คืนแปลง

ถว่ั เหลอื ง 23.0 4.45 ab 236 200 b 59 316 a 495

ถว่ั เขยี ว 22.5 4.57 ab 244 228 b 98 257 ab 570

ถัว่ ลสิ ง 22.9 4.75 a 268 220 b 61 307 a 550

ถว่ั พุ่ม 20.1 3.90 bc 262 285 a 72 198 b 619

ถั่วมะแฮะ 20.8 3.03 d 241 180 b 62 198 b 483

ปอเทือง 20.4 3.30 cd 280 213 b 82 172 b 575

วชั พืช 1 23.8 4.11 ab 244 178 b 47 168 b 468

วัชพืช 2 23.1 4.76 a 264 212 b 56 199 b 532

F-test ns * ns * ns * ns

CV (%) 8.9 11.0 23.2 16.8 40.0 27.4 18.3

หมายเหตุ 1/ คา่ เฉลย่ี ในแถวเดยี วกนั ที่ตามด้วยอักษรตวั เล็กทต่ี า่ งกันแตกต่างกันทางสถิตทิ รี่ ะดับความเชอื่ ม่ัน 95 เปอรเ์ ซ็นต์ โดยวิธี

DMRT

ns ไม่แตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติ

วชั พืช 1 คือ แปลงทปี่ ล่อยใหว้ ชั พชื ขนึ้ และใสป่ ุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อตั รา 50 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่

วัชพืช 2 คือ แปลงท่ีปลอ่ ยให้วชั พืชขึ้นและใส่ปุย๋ เคมเี กรด 15-7-18 อตั รา 100 กโิ ลกรัมต่อไร่

เศษซากคืนแปลง คือ นำ้ หนักแห้งเหงา้ +ใบ+ลำต้นไมใ่ ชท้ ำพนั ธ์ุ

707

ตารางท่ี 6 ต้นทนุ รายได้ และรายไดส้ ุทธจิ ากการปลูกมนั สำปะหลัง และพืชตระกูลถัว่ จากการปลูกมนั สำปะหลงั

ระยะยาวที่มรี ะบบปลกู การจดั การชนิด และอตั ราปุ๋ยตา่ งกัน ที่ศนู ยว์ ิจัยพืชไร่ขอนแก่น ปี 2562/63

กรรมวธิ ี ตน้ ทุน (บาท/ไร)่ รายได้ (บาท/ไร)่ รายไดส้ ทุ ธิ
(บาท/ไร่) 1/
มนั สำปะหลัง พืชตระกูลถ่ัว รวม1/ มนั สำปะหลงั พืชตระกูลถ่ัว รวม1/

ถัว่ เหลือง 5,969 1,810 7,779 b 10,675 1,222 11,897 bc 5,751 ab

ถว่ั เขยี ว 6,029 1,765 7,794 b 10,965 2,580 13,545 b 3,407 c

ถั่วลิสง 6,119 3,549 9,668 a 11,396 5,200 16,596 a 6,928 a

ถั่วพุ่ม 5,694 1,772 7,465 bc 9,353 1,519 10,873 cd 4,107 c

ถัว่ มะแฮะ 5,260 1,899 7,159 c 7,271 3,995 11,266 cd 4,118 c

ปอเทือง 5,397 1,732 7,129 c 7,929 1,030 8,958 e 1,829 d

วชั พชื 1 6,700 0 6,700 d 11,426 0 11,426 cd 4,726 bc

วัชพืช 2 6,373 0 6,373 e 9,856 0 9,856 de 3,483 c

F-test - - ** - - ** **

CV (%) - - 2.9 - - 10.2 23.0

หมายเหตุ 1/ คา่ เฉล่ยี ในแถวเดยี วกนั ท่ีตามด้วยอักษรตัวเล็กที่ต่างกันแตกต่างกันทางสถิติทีร่ ะดบั ความเชอ่ื ม่ัน 99 เปอร์เซน็ ต์ โดยวิธี

DMRT

ราคาท่อนพันธม์ุ นั สำปะหลงั 320 บาท/ไร่ ราคาป๋ยุ เคมี 15-7-18 17 บาท/กก. ค่าเตรียมดนิ ค่าแรงงานปลกู และดูแล

รักษามนั สำปะหลงั 2,850 บาท/ไร่ ในระบบพืชแซม 1,425 บาท คา่ ใส่ปุ๋ยเคมีมนั สำปะหลงั 300 บาท/ไร่ เมล็ดพนั ธุ์ถ่ัว

เหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ถั่วพุ่ม ถั่วมะแฮะ และปอเทือง ราคา 22 30 45 25 70 และ 25 บาท/กก. ตามลำดับ อัตรา

เมล็ดพันธุ์ 7.5 2.5 30 3 3 และ 3 กก./ไร่ ตามลำดับ ค่าแรงงานปลูก และดูแลรกั ษาแปลงพืชตระกูลถั่วในระบบพืช

หมุนเวียน 1,575 บาท ค่าเก็บเกี่ยวและขนส่งมันสำปะหลัง 0.50 บาท/กก. ค่าแรงงานปลิดและกะเทาะ 2 บาท/กก.

ราคามนั สำปะหลัง 2,400 บาท/ตนั และเมล็ดถัว่ เหลือง ถ่ัวเขยี ว ถ่ัวลิสง ถวั่ พุม่ ถว่ั มะแฮะ และปอเทือง ราคา 35 45

25 25 70 และ 25 บาท/กก. ตามลำดับ

วชั พืช 1 คือ แปลงท่ีปลอ่ ยให้วชั พชื ขึ้นและใสป่ ยุ๋ เคมีเกรด 15-7-18 อตั รา 50 กโิ ลกรัมต่อไร่

วัชพืช 2 คอื แปลงท่ปี ลอ่ ยให้วัชพชื ขน้ึ และใส่ปุ๋ยเคมีเกรด 15-7-18 อตั รา 100 กิโลกรมั ต่อไร่

708

ตารางท่ี 7 ผลวเิ คราะหด์ ินหลังเกบ็ เกีย่ วมันสำปะหลังระยอง 86-13 ที่ระดับความลกึ 0-20 เซนตเิ มตร ไร่

เกษตรกร ตำบลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง จงั หวัดขอนแกน่ ฤดูปลกู 2562/63

พืชปุย๋ สด pH (1:5) 0-20 เซนตเิ มตร
OM (%) Avai. P (mg/kg) Exch. K (mg/kg) 1/

ถัว่ เหลอื ง 5.4 0.42 4 59 d

ถว่ั เขยี ว 5.2 0.42 6 73 bcd

ถว่ั ลสิ ง 5.4 0.44 5 60 d

ถั่วพมุ่ 5.2 0.44 5 76 bc

ถั่วมะแฮะ 5.2 0.44 5 93 a

ปอเทือง 5.3 0.45 4 83 ab

วชั พชื 1 5.3 0.43 5 66 cd

วัชพชื 2 5.3 0.43 4 88 ab

F-test ns ns ns **

CV (%) 5.2 8.1 22.6 13.6

หมายเหตุ 1/ ค่าเฉล่ยี ในแถวเดียวกนั ที่ตามด้วยอกั ษรตวั เล็กทตี่ า่ งกันแตกต่างกันทางสถิติทร่ี ะดับความเช่อื ม่ัน 99 เปอร์เซน็ ต์ โดยวิธี

DMRT

ns ไมแ่ ตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ

วัชพชื 1 คือ แปลงทป่ี ลอ่ ยใหว้ ัชพชื ข้ึนและใสป่ ุ๋ยเคมเี กรด 15-7-18 อัตรา 50 กิโลกรมั ตอ่ ไร่

วชั พืช 2 คือ แปลงทป่ี ลอ่ ยใหว้ ชั พชื ขน้ึ และใสป่ ุย๋ เคมเี กรด 15-7-18 อตั รา 100 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่

709

สรุปผลการทดลองและขอ้ เสนอแนะ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังด้วยระบบปลูกมันสำปะหลังร่วมกับพืชตระกูลถ่ัวที่เหมาะสม
ที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตมันสำปะหลัง และรักษาความยั่งยืนในการผลิตมันสำปะหลัง คอื ระบบปลูกมนั
สำปะหลงั แซมดว้ ยถว่ั ลิสง ซึง่ ให้ผลผลิตมันสำปะหลงั 4.75 ตนั ต่อไร่ และผลผลิตถวั่ ลิสง 208 กิโลกรัมฝักสดต่อไร่
ถงึ แมม้ ีตน้ ทนุ สูงถึง 9,668 บาทต่อไร่ แตใ่ หร้ ายได้สงู ถงึ 16,596 บาทต่อไร่ และมรี ายไดส้ ทุ ธิสูงสุด คือ 6,928 บาท
ต่อไร่ การเลือกระบบปลูกพืชที่เหมาะสม นอกจากช่วยรักษาหน้าดิน คลุมวัชพืช และเป็นแหล่งของธาตุอาหาร
บางส่วนให้แก่มนั สำปะหลังแล้ว ยงั เปน็ รายไดเ้ สริม

กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณศนู ย์วิจยั พืชไรช่ ัยนาท ทีช่ ่วยอนเุ คราะห์เมล็ดพนั ธุ์ถั่วเขยี วพันธุ์ชยั นาท 84-1 และศูนย์วิจัยพืช
ไรอบุ ลราชธานี ทีช่ ่วยอนเุ คราะห์เมล็ดพันธุ์ถัว่ พมุ่ พนั ธอุ์ ุบลราธานี

เอกสารอ้างองิ

กอบเกยี รติ ไพศาลเจรญิ ประดิษฐ์ บุญอำพล ชุมพล นาควิโรจน์ สพุ นิ สุวรรณ และ N. Matsumoto. 2548. ผลของปุ๋ยอินทรีย์
ไนโตรเจนที่มีตอ่ การเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชไร่. รายงานผลงานวิจยั ประจำปี 2548. ศูนย์วิจัยพืชไรข่ อนแกน่
สำนักวจิ ยั และพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 3 กรมวชิ าการเกษตร.

โชติ สิทธิบุศย์ ชุมพล นาควิโรจน์ กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ ชัยโรจน์ วงศ์วิวัฒน์ไชย และ มณเฑียร โสมภีร์. 2533. อิทธิพลระยะ
ยาวของปุย๋ NPK และวัสดอุ นิ ทรียท์ มี่ ตี ่อผลผลิตมนั สำปะหลัง ในดนิ ชดุ ยโสธร. รายงานผลงานวิจยั ดิน-ปุ๋ยพืชไร่ 2533.
กลุม่ งานวิจัยดนิ และป๋ยุ พืชไร่ กองปฐพีวทิ ยา กรมวิชาการเกษตร.

ม ู ล น ิ ธ ิ ส ถ าบ ัน พ ั ฒ น าม ัน ส ำป ะห ล ั ง แ ห ่ ง ปร ะ เ ทศ ไ ท ย , 2552. ก า ร เ ต ร ีย ม ด ิน , http://www.tapiocathai.org/
pdf/Tapioca%20Plan/a_soil.pdf

ศรีสุดา ทิพยรักษ์ กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ เจิม จาบประโคน. 2556. ศึกษากึ่งสาธิตผลระยะยาวของระบบปลูกพืชและใส่ปุ๋ย
ผสมผสานต่อการผลติ มันสำปะหลงั และความอุดมสมบรู ณข์ องดนิ รายงานประจำปี ศูนย์วจิ ยั พืชไรข่ อนแก่น หนา้ 383-
396.

710

การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตมันสำปะหลังโดยใช้ระบบปลูกพชื การจัดการปยุ๋
และน้ำในกลมุ่ ดินทราย

ศภุ ชัย อตชิ าติ1 เนตริ ัฐ ชมุ สวุ รรณ1 ชยันต์ ภกั ดีไทย1 และสมฤทัย ตันเจริญ2

รายงานความกา้ วหน้า
ได้ดำเนินการปลูกมันสำปะหลังและแซมด้วยพืชตระกูลถั่ว เมื่อ วันที่ 4 มกราคม 2564 โดย ปลูกมัน
สำปะหลัง ระยะปลูก 1x1 เมตร ระหว่างแถวปลูกพืชตระกูลถั่ว ที่ใช้คือ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม และถั่วลิสง
เตรียมการปลูกถ่วั พร้อมมันสำปะหลังใช้ระยะห่างระหว่างตน้ 25 เซนตเิ มตร หลังปลกู ใหน้ ำ้ ทง้ั สองแปลงเพื่อให้มัน
สำปะหลงั และถัว่ มีการงอกทไ่ี มต่ ่างกนั พชื ตระกลู ถ่ัวมอี ตั ราการงอกเร็ว กว่ามันสำปะหลังในขณะที่มันสำปะหลังมี
การแตกยอดชา้ กว่าโดยเฉพาะอย่างย่งิ เม่ือกระทบอากาศเยน็
ถวั่ เขยี ว ถว่ั พุ่ม และถว่ั ลสิ งมอี ัตราการงอกดีกว่าถ่ัวเหลือง โดยถัว่ เหลอื งจะมีอาการใบติดหรือใบหงิกเม่ือ
การแตกใบอ่อนกระทบอากาศหนาว แต่ไมม่ ีผลต่อการเจรญิ เติบโต จากน้นั ทำการไถกลบซากพืชแชม และติดตาม
การเจรญิ เติบโตชองมนั สำปะหลงั ตอ่ ไป

ศกึ ษาชนิดของถวั่ ที่เหมาะสมในพ้ืนท่ีปลกู มันสำปะหลงั ในสภาพดินทราย เมอ่ื มกี ารใหน้ ำ้
แผนการทดลอง

วางแผนการทดลอง แบบ Split plot จำนวน 4 ซำ้
Main plot ประกอบดว้ ย การใหน้ ้ำ ได้แก่ 1) ไม่มีการให้น้ำ และ 2) มกี ารให้น้ำ
Subplot ประกอบด้วย ชนิดถ่วั 5-6 ชนดิ ได้แก่ 1) ถั่วชนดิ ที่ 1 2) ถั่วชนิดท่ี 2 3) ถ่ัวชนิดที่ 3 4)

ถว่ั ชนดิ ที่ 4 5) ถวั่ ชนดิ ที่ 5 และ 6) ถั่วชนดิ ที่ 6
วิธกี ารดำเนินงาน

คัดเลือกถั่วที่เหมาะสมที่สามารถใช้ได้ในระบบ เช่น ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม ถั่วลิสง ถั่วมะแฮะ ถั่วพร้า และปอ
เทือง เกบ็ ดนิ เพือ่ วัดคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพที่ระดับความลึก 0-20 และ 20-50 เซนตเิ มตร ก่อนและหลัง
ปลูก ดำเนนิ งานตามกรรมวิธที ดลอง โดยใชข้ นาดแปลงย่อย 5x6 เมตร เว้นระยะระหวา่ งแปลงย่อย 1.5 เมตร เก็บ
เก่ียวในพนื้ ที่ 4x4 เมตร ต้นฤดูฝน ปลูกถัว่ โดยใช้ระยะระหว่างแถว 50 เซนตเิ มตร และระหว่างตน้ 20 เซนติเมตร
โดยปลกู 2 ต้นตอ่ หลุม ใสป่ ุย๋ ถัว่ ตามความตอ้ งการ เก็บเก่ียวถวั่ เมอ่ื ให้ผลผลิต
การบันทกึ ขอ้ มูล

1. คุณสมบัติของดนิ ทง้ั ทางเคมีและกายภาพ
2. ความสามารถในการเจริญเติบโต โดยประเมินจากความเร็วในการคลุมหน้าดินของถั่วแต่ละชนิดและ
ความสงู ของทรงพุ่มตอ่ ตน้

1ศูนยว์ ิจยั พืชไร่ขอนแกน่ สถาบันวิจยั พืชไร่และพืชทดแทนพลงั งาน อำเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่
2กลมุ่ วจิ ัยปฐพวี ิทยา กองวจิ ัยพัฒนาปัจจยั การผลิตทางการเกษตร กรมวชิ าการเกษตร

711

3. การร่วงของใบ โดยบันทกึ อายุถั่วเม่ือเริม่ มีการร่วงของใบและเก็บรวบรวมใบร่วงเพอ่ื นำมาชั่งน้ำหนกั
4. บันทึกการสร้างปมที่อายุ 1 และ 2 เดือน โดยสุ่มถั่วแปลงละ 5 หลุม ขุดรากที่ระดับความลึก 0-30
เซนติเมตร และห่างจากหลุม 10 เซนติเมตร บันทกึ น้ำหนกั รากต้น ใบ ราก ปมไรโซเบียม และ จำนวนปม
5. ปญั หาโรค แมลง และวัชพชื
6. นำ้ หนกั สดและแหง้ ขององค์ประกอบพชื คือ ลำต้น ใบ และราก เม่อื สุ่มตรวจปมและเก็บเกี่ยว
7. ปรมิ าณธาตุอาหารในถว่ั แตล่ ะชนดิ
8. เก็บข้อมูลการเปลย่ี นแปลงปรมิ าณธาตุอาหารในดนิ จากการไถกลบเศษซากถ่วั
9. ผลผลติ และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
สถานทดี่ ำเนินการ
ไร่เกษตรกรจังหวดั ขอนแก่น
ระยะเวลาการทดลอง
เมษายน – สิงหาคม 2560
ผลการดำเนินงาน
ดำเนนิ การท่ี บ้านนำ้ เกลย้ี ง ตำบล สำราญ อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแก่น โดยการสำรวจและคัดเลือกพ้ืน
ทด่ี นิ ทราย มีเกษตรกรร่วม 1 ราย พน้ื ท่ี 2 ไร่ ได้ดำเนนิ การเก็บตัวอย่างดินเพอื่ วิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารในดิน
(ตารางที่ 1) จากการเก็บข้อมูลความต้องการปลูกพืชตระกูลถั่วและพืชแซมในแปลงมันสำปะหลัง ได้จัดเตรียม
แปลงเพอื่ ปลูกพืชตระกูลถ่ัวเพอื่ ศึกษาการย่อยสลายไดแ้ ก่ ถ่วั เขียว ถ่วั พมุ่ ถวั่ ลิสงและถัว่ มะแฮะ คากวา่ จะเริม่ ปลูก
ได้ในช่วงกลางเดอื นเมษายน 2560 ต่อไป
สัมภาษณ์เกษตรกรจำนวน 30 ราย และสำรวจการปลูกพืชตระกูลถั่ว ตลาด ความต้องการถั่วในพื้นที่
พบวา่ เกษตรกรต้องการปลูกพชื ตระกลู ถ่วั เพอื่ บำรงุ ดนิ ได้แก่ ปอเทอื ง (มากทสี่ ดุ ) ถวั่ พุ่ม ถัว่ มะแฮะ ตอ้ งการปลูก
พชื ตระกลู ถัว่ เศรษฐกิจเพ่อื รายได้เสรมิ ไดแ้ ก่ ถ่วั ลิสง ถ่วั เขยี ว ถว่ั เหลือง
เตรียมเมล็ดพันธุ์พชื ตระกูลถั่ว ได้แก่ ปอเทือง ถั่วพุ่ม ถั่วมะแฮะ ถั่วพร้า ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง เพื่อ
ศึกษาชนิดถั่วที่เหมาะสมในพื้นที่ และจัดเตรียมวัสดุการเกษตรสำหรับทดลอง สามารถเริ่มดำเนินการทดลอง
ภายในกลางเดือนเมษายน – พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ดำเนินการปลูกพืชตระกูลถั่วจำนวน 6 ชนิดและเว้นให้วัชพืชขั้นตามธรรมชาติจำนวน 1 แปลงรวม 8
แปลง ตง้ั แต่กลางเดอื นมิถุนายน 2560 ตดิ ตามการเจรญิ เติบโต และทำการเก็บตัวอย่างถั่ว วัดการสร้างปมเม่ือถั่ว
อายุ 73 วันและ เม่ือวันท่ี 24 สงิ หาคม 2560 จากนัน้ ไดเ้ ร่ิมเกบ็ ผลผลติ ถั่วเขยี วและถั่วพ่มุ เม่อื วนั ที่ 12 กันยายน
2560 โดยถั่วมีอายุ 90 วัน โดยจะเริ่มเก็บเมื่อถั่วถึงระยะเก็บเกี่ยว พบว่าถั่วลิสงให้เศษซากสูงสุด คือ 1,153
กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาคือถั่วมะแฮะและถั่วพุ่มให้เศษซาก 1,104 และ 1,040 กก./ไร่ตามลำดับเมื่อเก็บเกี่ยวท่ี
อายุ 3 เดอื นท้งั นี้ถ่วั มะแฮะซึ่งมีอายุยาวนานกวา่ ยงั สมารถเพมิ่ น้ำหนกั เศษซากไดแ้ ต่เมือ่ เกบ็ เก่ียวทรี่ ะยะน้ีจึงยังไม่
สามารถใหผ้ ลผลิตไดใ้ นเชงิ เศรษฐกิจ เหมอื นถ่ัวเหลือง ถัว่ พุ่มและถวั่ เขยี ว ซ่งึ สามารถให้ผลผลิตเมล็ดได้

712

ตารางท่ี 1 ค่าวเิ คราะหด์ นิ กอ่ นดำเนินการทดลองของบ้านน้ำเกล้ียง ตำบลสำราญ อำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น

ทร่ี ะดบั ความลกึ 0-20 และ 20-50 ซม.

ระดบั ความ pH (1:1) EC (1:5) OM avai P exch K exch Ca exch Mg

ลกึ (ซม.) dS/m % mg/kg mg/kg mg/kg mg/kg

0-20 5.5 0.0066 0.40 0.82 75.97 157.82 7.59

20-50 5.6 0.0028 0.06 0.13 40.24 64.54 3.08

ตารางที่ 2 คา่ วเิ คราะหเ์ ปอร์เซ็นต์เน้อื ดนิ บ้านนำ้ เกล้ียง ตำบลสำราญ อำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น ที่ระดบั

ความลกึ 0-20 และ 20-50 ซม.

ระดับความลึก (ซม.) Sand (%) Silt (%) Clay (%) Texture

0-20 80.45 14.80 4.75 Loamy sand

20-50 80.51 14.75 4.74 Loamy sand

ภาพที่ 1 เตรยี มปลกู พืชตระกลู ถั่ว

713

ภาพท่ี 2 ปลกู พชื ตระกลู ถั่ว 14 มถิ ุนายน 2560
ภาพที่ 3 วดั การคลุมปลูกพชื ตระกลู ถั่ว 26 มิถุนายน 60 (อายุ 12 วัน)

ภาพท่ี 4 การเจริญเตบิ โตปลกู พืชตระกลู ถ่ัว 26 มถิ ุนายน 60 (อายุ 12 วัน)
ภาพท่ี 5 วดั การคลมุ ปลกู พืชตระกูลถั่ว 26 กรกฎาคม 60 60 (อายุ 42 วัน)

714
ภาพท่ี 6 เกบ็ ตวั อยา่ งถว่ั 26 กรกฎาคม 60 วดั การสรา้ งปม (42 วนั )
ภาพท่ี 7 สภาพการสรา้ งปม

ภาพท่ี 8 สภาพการเจรญิ เติบโตเปรยี บเทยี บชนดิ ถั่วต่าง ๆ

715

ภาพที่ 9 เกบ็ ตัวอย่างถ่ัว วัดการสรา้ งปม ( 73 วนั ) เมอ่ื วนั ที่ 24 สิงหาคม 60

ตน้ +ใบ+ราก

1200 ตน้ +ใบ+ราก
1000

800
600
400
200

0

ภาพท่ี 10 เปรียบเทยี บนำ้ หนักผลผลติ ของถว่ั แต่ละชนิด (กก./ไร)่

100
90
80
70
60
50 นน.ฝักช่วงเก็บเก่ียว
40 นน.ฝักช่วงนวด
30
20
10
0

ภาพที่ 11 เปรียบเทียบนำ้ หนักฝักของถัว่ แตล่ ะชนิด (กก./ไร)่

716

ศึกษารูปแบบการย่อยสลายและการปลดปลอ่ ยธาตุอาหารของถัว่ ที่มีศักยภาพในแตล่ ะพ้นื ท่ี
แผนการทดลอง -
วิธกี ารดำเนนิ งาน

ตุลาคม - ธนั วาคม 2560 หลงั เก็บเก่ยี วถ่วั นำเศษซากถ่วั ทีม่ ศี ักยภาพทีไ่ ดจ้ ากการคดั เลือก ศกึ ษาการย่อย
สลายในแต่ละชุดดิน โดยการฝังถุงตาข่าย หรือนำมาศึกษาในกระป๋อง ในแปลงที่มีการให้น้ำและไมไ่ ดใ้ ห้น้ำ โดย
คลุกเศษซากพืชในดิน ให้น้ำในแปลงเมื่อความชื้นลดต่ำกว่า 60% ของความจุความชื้นสนาม (Field Capacity)
ประเมนิ เศษซากที่เหลอื โดยวิธกี ารฝังถุงเขยี ว และเก็บถงุ เขียวหลงั จากฝัง 0, 7, 14, 21, 28, 42, 56, 70, 84 และ
98 วัน นำเศษซากพืชที่เหลือวัดคุณสมบัตทิ างเคมีและปริมาณธาตอุ าหารที่เหลือ เช่น ปริมาณลิกนิน โพลีฟีนอล
ปริมาณไนโตรเจน นำมาคำนวณอัตราการย่อยสลายและการปลดปล่อยธาตุอาหาร เป็นข้อมูลประกอบการย่อย
สลายและปลดปล่อยธาตอุ าหาร เกบ็ ดนิ เพ่ือประเมนิ การเปล่ียนแปลงธาตอุ าหารและกิจกรรมของจุลนิ ทรีย์ โดยวัด
ปริมาณแอมโมเนียม และไนเตรท ไนโตรเจน microbial biomass กอ่ นการใสเ่ ศษซากถว่ั (0 วัน) หลงั การใส่ซาก
ถั่ว 28, 56 และ 98 วัน เพื่อหาชนิดถั่วที่มีการย่อยสลายและปลดปล่อยธาตุอาหารในเวลาที่สอดคล้องกับความ
ตอ้ งการใชธ้ าตุอาหารของมนั สำปะหลัง
การบันทกึ ข้อมลู

1. คุณสมบัติทางเคมีและปริมาณธาตุอาหารทีเ่ หลือของซากพืช เช่น ปริมาณลิกนิน โพลีฟีนอล ปริมาณ
ไนโตรเจน

2. อัตราการย่อยสลายและการปลดปลอ่ ยธาตอุ าหาร
3. ปริมาณธาตุอาหารในดินและกิจกรรมของจุลินทรีย์ โดยวัดปริมาณแอมโมเนียม ไนเตรท microbial
biomass
สถานทดี่ ำเนินการ
ไร่เกษตรกรจงั หวดั ขอนแก่น
ระยะเวลาการทดลอง
ตุลาคม – ธันวาคม 2560
ผลการดำเนินการ

ผลของการใหน้ ้ำตอ่ ระบบพชื หมนุ เวียนมนั สำปะหลงั และถ่ัวท่มี ศี ักยภาพในพน้ื ที่
แผนการทดลอง

วางแผนการทดลอง แบบ Split plot จำนวน 4 ซ้ำ Main plot คือ 1) การให้น้ำ และ 2) ไม่ให้น้ำ
Subplot คือ ชนดิ ถ่ัว 3-4 ชนิดรว่ มกับการใสป่ ุ๋ย ไดแ้ ก่ 1) ถ่วั ชนิดที่ 1 ปรบั ปรงุ ดนิ และใสป่ ๋ยุ ตามคำแนะนำ 2) ถั่ว
ชนิดที่ 2 ปรับปรุงดินและใส่ป๋ยุ ตามคำแนะนำ 3) ถ่วั ชนิดที่ 3 ปรับปรุงดินและใส่ป๋ยุ ตามคำแนะนำ 4) ถัว่ ชนดิ ที่ 4
ปรบั ปรงุ ดินและใสป่ ุ๋ยตามคำแนะนำ และ 5) ปลกู มนั สำปะหลงั ปรบั ปรุงดนิ และใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

717

วธิ ีการดำเนนิ งาน
ปี 2561 ปลกู ถว่ั และมนั สำปะหลังตน้ ฝนโดยใชพ้ ันธ์ุทีเ่ หมาะสมในพนื้ ท่แี ละใช้ระยะปลกู ตามคำแนะนำ ใส่

ปยุ๋ ตามความตอ้ งการของพืช โดยเก็บดนิ ก่อนท่ีระดับ 0-20 และ 20-50 เซนติเมตร เพอ่ื วัดคณุ สมบัติทางเคมีและ
ปริมาณธาตุอาหารในดิน เก็บเกี่ยวถั่วหลังจากเกบ็ ผลผลิต หรือเมื่อสร้างมวลชีวภาพสูงสุด หลังเก็บเกี่ยวถั่วคลุกลง
แปลง และสุ่มตัวอย่างนำมาศึกษาการย่อยสลายและการปลดปล่อยธาตุอาหารในแปลง โดยวิธีฝังถงุ เขียว และเก็บ
ถงุ เขียว เก็บเก่ียวมนั สำปะหลงั เมื่ออายุประมาณ 11-12 เดือน

วิธกี ารใหน้ ้ำ ให้ตามความจำเป็น เม่ือความชน้ื ความจุสนามต่ำกวา่ 60%
พื้นทแ่ี ปลงทดลองยอ่ ย 8x8 เมตร และพ้ืนท่ีเกบ็ เกีย่ ว 7x7 เมตร เวน้ ระยะระหว่างแปลง 1.5 เมตร
ปี 2562 ปลูกมันสำปะหลังพันธ์ุท่ีเหมาะสมในพื้นท่ี ทั้งในวิธีการ 1-5 โดยเก็บดินก่อนท่ีระดบั 0-20 และ
20-50 เซนติเมตร และใชร้ ะยะปลูกตามความเหมาะสม ใสป่ ุ๋ยตามคำแนะนำและค่าวิเคราะห์ดิน วิธีการให้น้ำ ให้
ตามความจำเป็น เมื่อความชื้นความจุสนามต่ำกว่า 60% เก็บเกี่ยวมันสำปะหลังเมื่ออายุประมาณ 11-12 เดือน
ในชว่ งเมษายน 2563 โดยการถอนตน้ แยกหัว ใบ เหง้า และลำ ลำใหแ้ ยกเปน็ ลำท่ีสามารถนำไปใช้เป็นท่อนพันธ์ุ
ได้ และเป็นท่อนพันธุ์ไม่ได้ นับจำนวนลำและชั่งน้ำหนักลำสดของลำแต่ละส่วน สุ่มวัดความยาวและเส้นผ่าน
ศนู ย์กลางลำแตล่ ะสว่ นอยา่ งละ 10 ลำ นำลำทที่ ำทอ่ นพันธ์ุไดอ้ อกจากแปลง ช่ังน้ำหนกั สด หวั ใบ และเหง้า กอ่ น
สุ่มตัวอย่างส่วนละ 0.5-1.0 กิโลกรัม นำไปอบให้แห้งและชั่งน้ำหนัก เพื่อนำไปใช้ในการคำนวณหาน้ำหนักแห้ง
เศษซากมันทเี่ หลือให้ไถกลบลงแปลง และเกบ็ ดนิ หลงั จากการเก็บเก่ียว
การบนั ทึกขอ้ มลู
1. คุณสมบัติของดนิ ท้งั ทางเคมีและกายภาพก่อนปลูกและหลงั เก็บเก่ียวทั้งถัว่ และมนั สำปะหลงั
2. ความสามารถในการเจริญเติบโต โดยประเมินจากความเร็วในการคลุมหน้าดินของถั่วแต่ละชนิดและ
ความสูงของทรงพุ่มของถั่ว
3. ปญั หาโรค แมลง และวัชพืช
4. น้ำหนกั สดและแหง้ ของผลผลิตและเศษซากถ่ัว
5. ปรมิ าณธาตุอาหารในถั่วแต่ละชนิด
6. น้ำหนักเศษซากที่เหลือส่วนของต้นและใบ ที่อายุ 1, 2, 3, 4, 8, 12, และ 15 สัปดาห์ ในถุงเขียวที่ฝงั
และปรมิ าณธาตุอาหารท่เี หลือ
7. เก็บดนิ วเิ คราะห์ปริมาณแอมโมเนียมและไนเตรท มวลชีวภาพของปริมาณคาร์บอนและไนโตรเจนของ
จุลนิ ทรยี ์ (microbial biomass N และ C) และธาตุอาหารอนื่ ๆ พร้อมการเกบ็ ซากถั่ว
8. การเจรญิ เติบโตของมันสำปะหลัง โดยวัดความสงู ทุก 3 เดือน
9. ผลผลิต และผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ ของมนั สำปะหลังและถวั่
สถานท่ดี ำเนนิ การ
ไรเ่ กษตรกรจังหวัดขอนแกน่
ระยะเวลาการทดลอง

เมษายน 2561 – ตลุ าคม 2563

718

ผลการดำเนินการ
ผลวิเคราะห์ดินก่อนปลูกมันสำปะหลังที่ระดับความลึก 0-20 และ 20-50 เซนติเมตร ในระบบปลูกมัน

สำปะหลังหมุนเวยี นพชื ตระกลู ถัว่ ฤดูปลูกปี 2562/2563 (ตารางที่ 3) ดำเนินการเกบ็ เกี่ยวมันสำปะหลังชว่ งเดอื น
ตุลาคม เก็บบันทกึ ขอ้ มลู ผลผลิต น้ำหนักแห้งองค์ประกอบผลผลิต (ตารางที่ 4 -6) ผลผลิตมนั สำปะหลัง (ตารางท่ี
4) พบวา่ การให้นำ้ ให้ผลผลิตของมันสำปะหลงั 6,075 กโิ ลกรัมต่อไร่ แตกตา่ งกนั ทางสถิติกบั การไม่ให้น้ำซ่ึงให้ผล
ผลิต 3,084 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อพิจารณาระบบพืชหมุนเวียนมันสำปะหลังและถั่ว มีผลทำให้ผลผลิตมันสำปะหลงั
แตกต่างกันทางสถิติ โดยระบบมันสำปะหลังหมุนเวียนถั่วมะแฮะให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด 5,656 กิโลกรัมต่อไร่
ในขณะที่ระบบมันสำปะหลังหมนุ เวียนถั่วพุ่มให้ผลผลิตเฉลี่ยต่ำสุด 3,504 กิโลกรัมต่อไร่ เปอร์เซ็นต์แปง้ ของมนั
สำปะหลงั (ตารางที่ 5) พบว่า การใหน้ ำ้ และระบบพืชหมุนเวียน ไมท่ ำให้เปอร์เซ็นต์แป้งแตกต่างกันทางสถิติ โดย
ใหเ้ ปอรเ์ ซน็ ตแ์ ปง้ เฉล่ีย 16.3 เปอรเ์ ซ็นต์ ผลผลติ แปง้ ของมนั สำปะหลงั (ตารางที่ 6) พบวา่ การให้น้ำใหผ้ ลผลิตแป้ง
เฉลี่ย 963 กโิ ลกรมั ต่อไร่ แตกต่างกนั ทางสถติ ิกับการไม่ใหน้ ้ำซงึ่ ให้ผลผลิตแป้งเฉลย่ี 508 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ในขณะที่
เมอื่ พจิ ารณาระบบพชื หมุนเวียนไมท่ ำให้ผลผลิตแป้งแตกตา่ งกันทางสถติ ิ โดยให้ผลผลิตแป้งเฉลย่ี 738 กิโลกรมั ตอ่ ไร่

ตารางที่ 3 ผลวเิ คราะหด์ นิ ระดับความลกึ 0-20 และ 20-50 ซม. กอ่ นปลูกมนั สำปะหลังในระบบพชื หมนุ เวยี นมนั สำปะหลงั และถั่ว

ที่ไร่เกษตรกร จังหวัดขอนแก่น ปี 2562/2563

ระดับความลกึ pH EC(1:5) OM avai P exch K exch Ca exch Mg
(1:5) dS/m % mg/kg mg/kg mg/kg mg/kg

0-20 cm 5.3 0.1630 0.28 4.0 34 90 3

20-50 cm 4.5 0.0861 0.06 1.0 49 31 1

ตารางท่ี 4 ผลผลติ มนั สำปะหลัง (กก./ไร่) ของมนั สำปะหลังในระบบพืชหมุนเวียนมันสำปะหลังและถั่วโดยการให้น้ำและไม่ให้น้ำ

ที่ไร่เกษตรกร จงั หวดั ขอนแก่น ปี 2562/2563

ระบบพืชหมนุ เวียน (B) การให้นำ้ (A)

ใหน้ ้ำ ไมใ่ ห้นำ้ คา่ เฉลย่ี (B)

มนั สำปะหลังหมุนเวียนถ่ัวเขียว 7,125 3,368 5,247 ab

มันสำปะหลังหมุนเวียนถั่วพุ่ม 4,096 2,912 3,504 c

มนั สำปะหลงั หมนุ เวยี นถ่ัวมะแฮะ 7,552 3,760 5,656 a

มันสำปะหลังหมนุ เวียนถ่ัวเหลือง 5,576 3,072 4,324 abc

มนั สำปะหลังหมุนเวียนถั่วลสิ ง 4,760 2,832 3,796 bc

มันสำปะหลังหมุนเวียนปอเทือง 5,323 2,704 4,013 bc

มันสำปะหลงั 6,768 3,275 5,022 ab

มันสำปะหลัง 7,400 2,752 5,076 ab

คา่ เฉลย่ี (A) 6,075 A 3,084 B 4,580

CV (a) = 64.1% CV (b) = 28.3% การใหน้ ำ้ (A) = *, ระบบพชื หมุนเวียน (B) = *, A X B= ns

หมายเหตุ ค่าเฉล่ยี ในแถวเดยี วกนั ท่ตี ามด้วยอกั ษรตัวเล็กที่ต่างกันแตกต่างกันทางสถติ ิทร่ี ะดับความเชอ่ื มน่ั 95 เปอรเ์ ซ็นต์

719

ตารางที่ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์แป้งมนั สำปะหลัง (%) ของมนั สำปะหลงั ในระบบพชื หมนุ เวยี นมนั สำปะหลงั และถ่ัวโดยการ

ใหน้ ำ้ และไม่ให้นำ้ ทไี่ รเ่ กษตรกร จังหวัดขอนแก่น ปี 2562/2563

ระบบพืชหมุนเวยี น (B) การให้นำ้ (A)

ใหน้ ้ำ ไม่ใหน้ ้ำ ค่าเฉลย่ี (B)

มันสำปะหลงั หมนุ เวียนถวั่ เขยี ว 15.1 17.9 16.5

มนั สำปะหลงั หมุนเวยี นถั่วพมุ่ 17.3 14.1 15.7

มันสำปะหลงั หมุนเวยี นถว่ั มะแฮะ 14.0 16.2 15.1

มนั สำปะหลงั หมนุ เวยี นถว่ั เหลือง 20.0 16.4 18.2

มนั สำปะหลงั หมนุ เวียนถวั่ ลสิ ง 16.2 17.3 16.7

มนั สำปะหลังหมนุ เวียนปอเทือง 16.1 17.3 16.7

มันสำปะหลัง 16.2 16.2 16.2

มันสำปะหลัง 14.4 16.6 15.5

ค่าเฉล่ยี (A) 16.2 16.5 16.3

CV (a) = 15.4% CV (b) = 15.4% การให้น้ำ (A) = ns, ระบบพชื หมนุ เวยี น (B) = ns, A X B= ns

หมายเหตุ ค่าเฉลย่ี ในแถวเดียวกนั ทตี่ ามด้วยอักษรตัวเล็กท่ีตา่ งกนั แตกตา่ งกันทางสถิติท่ีระดับความเชือ่ ม่ัน 95

เปอร์เซน็ ต์

ตารางที่ 6 ผลผลิตแปง้ มนั สำปะหลงั (กก./ไร่) ของมนั สำปะหลังในระบบพชื หมุนเวียนมนั สำปะหลงั และถ่ัวโดย

การใหน้ ้ำและไมใ่ ห้น้ำ ทไ่ี ร่เกษตรกร จังหวดั ขอนแก่น ปี 2562/2563

ระบบพชื หมุนเวียน (B) การใหน้ ้ำ (A)

ให้น้ำ ไมใ่ หน้ ้ำ ค่าเฉลย่ี (B)

มนั สำปะหลังหมนุ เวยี นถว่ั เขียว 1,059 594 826

มนั สำปะหลงั หมนุ เวยี นถั่วพุม่ 672 405 538

มันสำปะหลังหมนุ เวียนถั่วมะแฮะ 1,105 604 854

มันสำปะหลังหมนุ เวยี นถ่วั เหลือง 1,125 504 815

มันสำปะหลงั หมุนเวียนถั่วลสิ ง 764 482 623

มนั สำปะหลังหมุนเวียนปอเทอื ง 861 483 672

มันสำปะหลงั 1,018 538 778

มนั สำปะหลงั 1,097 452 778

ค่าเฉลี่ย (A) 963 A 508 B 738

CV (a) = 56.2% CV (b) = 35.1% การให้น้ำ (A) = *, ระบบพชื หมุนเวียน (B) = ns, A X B= ns

หมายเหตุ คา่ เฉลีย่ ในแถวเดยี วกันที่ตามดว้ ยอกั ษรตัวเล็กที่ต่างกันแตกตา่ งกันทางสถติ ทิ รี่ ะดบั ความเชือ่ ม่ัน 95 เปอร์เซ็นต์

720

ผลของการใหน้ ำ้ ตอ่ ระบบพชื แซมมนั สำปะหลงั และถ่วั ทีม่ ศี ักยภาพในพน้ื ท่ี
แผนการทดลอง

วางแผนการทดลอง แบบ Split plot จำนวน 4 ซ้ำ Main plot ประกอบด้วย 1) ไม่ให้น้ำ 2) ให้น้ำ
Subplot ประกอบด้วย การใสป่ ยุ๋ เคมี 2 ระดบั คอื 1) ใส่ป๋ยุ ตามคำแนะนำ 2) ใส่ปยุ๋ 1.5 เทา่ ของคำแนะนำ Sub-
subplot ประกอบดว้ ย ระบบปลกู ถั่วแซมระหวา่ งแถวมนั สำปะหลัง 5 วธิ ี คือ 1) ถั่วชนดิ ที่ 1 แซมระหว่างแถวมัน
สำปะหลัง 2) ถัว่ ชนิดท่ี 2 แซมระหว่างแถวมนั สำปะหลัง 3) ถวั่ ชนดิ ที่ 3 แซมระหวา่ งแถวมนั สำปะหลัง 4) ถว่ั ชนิด
ที่ 4 แซมระหวา่ งแถวมันสำปะหลงั และ 5) ปลูกมนั สำปะหลงั โดยไม่มีพชื แซม
วิธกี ารดำเนนิ งาน

หลังจากได้ผลการทดลองศกึ ษาระบบพืชแซมในการทดลองที่ 1.3 ในปี 2562 นำมาศกึ ษาการใหน้ ้ำ
เริ่มดำเนินการปี 2562 ปลูกมันสำปะหลัง ใช้ระยะที่เหมาะสมจากการปลูกในการทดลอง 1.3 แบ่งใส่
ปุย๋ เคมพี ร้อมปลูกรอ้ ยละ 25 และใส่ที่เหลือหลังจากเก็บเกี่ยวถ่ัวและไถคลุกเศษซากถวั่ ในดนิ ในวิธใี หน้ ำ้ ให้เมอื่ ดิน
มีความจคุ วามชน้ื สนามตำ่ กวา่ 60% กำจัดวัชพชื โรค และแมลง ตามความจำเปน็
ประเมินเศษซากที่เหลือ โดยวิธกี ารฝงั ถุงเขยี ว และเก็บถุงเขยี วหลังจากฝัง 0, 7, 14, 21, 28, 42, 56, 70,
84 และ 98 วนั นำเศษซากพชื ที่เหลอื วัดคุณสมบัติทางเคมแี ละปริมาณธาตอุ าหารท่ีเหลือ เชน่ ปรมิ าณลิกนิน โพ
ลีฟีนอล ปริมาณไนโตรเจน นำมาคำนวณอัตราการย่อยสลายและการปลดปล่อยธาตุอาหาร เป็นข้อมูล
ประกอบการย่อยสลายและปลดปล่อยธาตุอาหาร เก็บดินเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงธาตุอาหารและกิจกรรม
ของจลุ นิ ทรยี ์ โดยวัดปริมาณแอมโมเนียม และไนเตรท ไนโตรเจน microbial biomass กอ่ นการใสเ่ ศษซากถัว่ (0
วนั ) หลังการใสซ่ ากถ่ัว 28, 56 และ 98 วนั
ขนาดแปลงทดลอง 9x7 เมตร เวน้ ระยะระหวา่ งแปลง 1 เมตร พนื้ ที่เก็บเกี่ยว 6x6 เมตร
เก็บเก่ยี วมันสำปะหลงั ตน้ ฤดูฝน ทอี่ ายุ 11-12 เดอื น โดยการถอนต้น แยกหัว ใบ เหงา้ และลำ ลำใหแ้ ยก
เปน็ ลำทส่ี ามารถนำไปใช้เปน็ ท่อนพันธไุ์ ด้ และเป็นทอ่ นพนั ธไ์ุ ม่ได้ นบั จำนวนลำและช่งั น้ำหนักลำสดของลำแต่ละ
ส่วน สุม่ วดั ความยาวและเสน้ ผา่ นศูนย์กลางลำแต่ละสว่ นอย่างละ 10 ลำ นำลำทท่ี ำทอ่ นพันธ์ไุ ด้ออกจากแปลง ช่ัง
น้ำหนักสด หัว ใบ และเหง้า ก่อนสุ่มตัวอย่างส่วนละ 0.5-1.0 กิโลกรัม นำไปอบให้แห้งและชั่งน้ำหนัก เพื่อ
นำไปใชใ้ นการคำนวณหานำ้ หนกั แหง้ เศษซากมันทีเ่ หลือให้ไถกลบลงแปลง
การบนั ทึกข้อมูล
1. คุณสมบัติของดนิ ท้งั ทางเคมีและกายภาพกอ่ นปลกู และหลงั เก็บเก่ยี วทัง้ ถั่วและมนั สำปะหลัง
2. ปริมาณและเวลาการใหน้ ้ำ
3. การแขง่ ขนั ของถั่วแต่ละชนิดและมนั สำปะหลัง โดยประเมนิ จากความเรว็ ในการคลุมหนา้ ดนิ ของถั่วแต่
ละชนิดและความสงู ของมันสำปะหลงั หลังปลกู 3, 6 และ 9 เดือน
4. ปญั หาโรค แมลง และวชั พืช
5. น้ำหนกั สดและแหง้ ของผลผลติ และเศษซากถั่ว
6. ปรมิ าณธาตุอาหารในถั่วแตล่ ะชนิด

721

7. น้ำหนักเศษซากที่เหลือส่วนของต้นและใบในถุงเขียว 0, 7, 14, 21, 28, 42, 56, 70, 84 และ 98 วัน

หลงั จากฝัก และปริมาณธาตอุ าหารทีเ่ หลือ

8. ปริมาณแอมโมเนียมและไนเตรต มวลชีวภาพของปรมิ าณคาร์บอนและไนโตรเจนของจลุ ินทรีย์ (microbial

biomass C และ N) และธาตุอาหารอ่ืนๆ ในดิน

9. ผลผลติ และผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ ของมันสำปะหลังและถ่วั

สถานที่ดำเนินการ

ไรเ่ กษตรกรจังหวดั ขอนแกน่

ระยะเวลาการทดลอง

เมษายน 2562 – เมษายน 2564

ผลการดำเนินการ

ตารางท่ี 7 ผลวเิ คราะหด์ ินระดบั ความลึก 0-20 และ 20-50 ซม.ก่อนปลกู ปี 2563/64 แปลง

บ้านน้ำเกลย้ี ง จงั หวัดขอนแก่น

ความลึก sand silt clay Texture

(cm) (%) (%) (%)

0-20 80.47 12.78 6.76 Loamy sand

20-50 82.47 12.78 4.75 Loamy sand

ภาพที่ 12 เก็บเกี่ยวมันสำปะหลังฤดูปลูกปี 2562/63 พร้อมชั่งน้ำหนักสดต้น ใบ เหง้า และหัวมันสำปะหลัง
และวัดเปอรเ์ ซ็นต์แป้ง

722
ภาพที่ 13 เตรียมการปลูกถวั่ พรอ้ มมนั สำปะหลัง ฤดปู ลกู ปี 2563/64
ภาพท่ี 14 หลังปลกู ใหน้ ำ้ ทง้ั สองแปลงเพื่อให้มนั สำปะหลงั และถวั่ มกี ารงอกทีไ่ ม่ตา่ งกนั
ภาพที่ 15 หลงั ปลูกพืชตระกลู ถั่วมกี ารงอกเร็วกวา่ มนั สำปะหลัง

723

ดำเนินการวางแผน เตรียมพื้นที่ วัสดุ ปุ๋ย ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกมาวิเคราะห์
สมบตั ทิ างเคมแี ละกายภาพของดินทร่ี ะดับความลึก 0-20 และ 20-50 เซนตเิ มตร (ตารางที่ 7) ดำเนินการปลูกมัน
สำปะหลังพันธุ์ระยอง 11 และแซมด้วยพืชตระกูลถั่ว เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2563 โดยปลูกมันสำปะหลังระยะ
ปลูก 1x1 เมตร ระหวา่ งแถวปลกู พืชตระกูลถัว่ ไดแ้ ก่ ถวั่ เหลอื ง ถัว่ เขยี ว ถวั่ พุม่ ถว่ั ลสิ ง และถว่ั มะแฮะ หลังปลูก
ได้ตรวจเช็คความงอก พบว่า ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม และถั่วลิสง มีอัตราการงอกดีกว่าถั่วเหลือง และถั่วมะแฮะ และ
สามารถงอกก่อนท่อนพันธุ์มันสำปะหลงั ภายหลังจากการให้น้ำคร้ังที่ 3 ประสบปัญหาน้ำในบอ่ น้ำมีการสูบใช้จน
หมด จึงไม่สามารถให้น้ำต่อได้ ทำให้พืชตระกูลถั่วเริ่มแหง้ ตาย โดยถั่วเหลือง ถั่วมะแฮะ ถั่วพุ่ม ถั่วเขียว และถ่ัว
ลสิ ง ทยอยแหง้ ตายตามลำดับ
ปี 2564

ได้ดำเนินการปลูกมันสำปะหลังและแซมด้วยพืชตระกูลถั่ว เมื่อ วันที่ 4 มกราคม 2564 โดย ปลูกมัน
สำปะหลัง ระยะปลูก 1x1 เมตร ระหว่างแถวปลูกพืชตระกูลถั่ว ที่ใช้คือ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม และถั่วลิสง
เตรียมการปลูกถั่วพร้อมมันสำปะหลังใช้ระยะห่างระหว่างต้น 25 ซม หลังปลูกให้น้ำทั้งสองแปลงเพื่อให้มัน
สำปะหลังและถั่วมกี ารงอกที่ไม่ต่างกนั พชื ตระกูลถวั่ มอี ัตราการงอกเร็ว กวา่ มันสำปะหลังในขณะทมี่ นั สำปะหลังมี
การแตกยอดชา้ กว่าโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเมอ่ื กระทบอากาศเย็น

ถว่ั เขยี ว ถว่ั พุ่ม และถัว่ ลสิ งมอี ัตราการงอกดกี วา่ ถ่วั เหลือง โดยถั่วเหลืองจะมีอาการใบติดหรือใบหงิกเม่ือ
การแตกใบออ่ นกระทบอากาศหนาว แตไ่ ม่มผี ลตอ่ การเจรญิ เติบโต

ผลการวเิ คราะห์ตวั อยา่ งดนิ ปี 2564
พนื้ ทเ่ี กบ็ ตัวอย่างความลึกSand Silt Clay Soil Texture

cm % % %
1 แปลงมนั สำปะหลงั บ้านนำ้ เกล้ยี ง 0-20 79.43 13.16 6.45 Loamy sand
2 แปลงมนั สำปะหลงั บา้ นนำ้ เกลยี้ ง 20-50 81.47 12.83 4.39 Loamy sand

724

ตารางที่ 8 แสดงการเจรญิ เตบิ โตทางด้านความสูงของพชื ตระกูลถ่วั แซมมันสำปะหลงั ความสงู พืชตระกลู ถัว่

แซมมันสำปะหลัง (เซนตเิ มตร) อายุ 1 เดอื น

พืชแซม ให้น้ำ ไม่ใหน้ ้ำ

เฉลี่ย ต่ำสดุ สงู สดุ เฉลยี่ ตำ่ สุด สงู สดุ

1 ถว่ั เขียว 4.5 5.8 5.6 5.4 6.5 6.6

2 ถัว่ พมุ่ 5.6 5.4 6 6.3 7.3 5

3 ถั่วเหลือง 5.4 4.8 4.7 5.1 5.6 5.1

4 ถ่วั ลิสง 6.4 5.7 6.3 7 7.8 7

5 วา่ ง

1 ถ่วั เขียว 5.7 6.6 5.4 6.4 6.7 5.8

2 ถวั่ พุ่ม 6.8 5.3 4.9 5.4 6.3 7.2

3 ถั่วเหลือง 6.3 4.7 5.3 5.8 4.3 6.5

4 ถว่ั ลิสง 4.3 5.5 5.4 5.6 5 5.4

5 วา่ ง

1 ถว่ั เขยี ว 5.9 7.4 7 6.7 7.4 7.5

2 ถ่ัวพุ่ม 6.4 5.6 6 5.5 5 5.9

3 ถ่วั เหลือง 8.2 8.3 9,2 7.7 8.3 7.4

4 ถว่ั ลิสง 6.5 6.4 7.2 5.9 7.5 6.9

5 วา่ ง

ภาพท่ี 16 การเจริญเตบิ โตความสูงอายุ 1 เดือน ของถัว่ เขียวแซมมันสำปะหลัง

725

8 1
7
6 12345678
5 ไม่ใหน้ า้ สมุ่ วดั ความสงู ตน้ ที่(ซม)
4
3
2
1
0

12345678

ถ่วั พุ่ม ใหน้ า้ สมุ่ วดั ความสงู ตน้ ที่ (ซม)

123

ภาพท่ี 17 การเจริญเตบิ โตความสงู อายุ 1 เดือน ของถ่ัวพมุ่ แซมมันสำปะหลงั

10

8

6

4

2

0 1
12345678
12345678
ถ่วั เหลอื ง ใหน้ า้ สมุ่ วดั ความสงู ตน้ ที่ (ซม) ไมใ่ หน้ า้ สมุ่ วดั ความสงู ตน้ ที่ (ซม)

123

ภาพท่ี 18 การเจริญเติบโตความสงู อายุ 1 เดอื น ของถ่วั เหลืองแซมมนั สำปะหลงั

726

8 1

6 12345678
ไม่ใหน้ า้ สมุ่ วดั ความสงู ตน้ ท่ี (ซม)
4

2

0
12345678

ถ่วั ใหน้ า้ สมุ่ วัดความสงู ตน้ ที่ (ซม)
ลสิ ง

123

ภาพที่ 19 การเจริญเตบิ โตความสงู อายุ 1 เดอื น ของถ่วั ลสิ งแซมมันสำปะหลัง

ภาพท่ี 20 การเจรญิ เติบโตความสูงอายุ 1 เดอื นเฉล่ยี ตำ่ สดุ และสงู สดุ ของพชื ตระกลู ถ่วั แซมมันสำปะหลงั

727

การจัดการธาตอุ าหารพชื ระยะยาวด้วยวัสดอุ นิ ทรีย์ ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ และปุ๋ยเคมใี นพื้นที่ปลูก
มนั สำปะหลังต่อผลผลิต : ดินร่วนทราย จ.ขอนแกน่

สมฤทัย ตันเจริญ1 ชยนั ต์ ภักดีไทย2 วัลลีย์ อมรพล3 เสาวรี บำรงุ 4
ปิยะนันท์ ววิ ฒั นว์ ิทยา5 และบรรณพชิ ญ์ สัมฤทธ์ิ5

รายงานความกา้ วหนา้
ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน พื้นที่ปลูกอ้อยส่วนใหญ่ปลูกในดินทรายหรือร่วนปนทราย บาง
พื้นที่พบปัญหาแห้งแล้งยาวนาน หนอนกอลายจุดเล็กที่เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญที่สุด หากมีการระบาดมากทำให้
ผลผลิตลดลงรอ้ ยละ 5-40 เม่อื นำหน่อออ้ ยทถี่ กู เขา้ ทำลายมากไปปลูกทำเปน็ ทอ่ นพนั ธุ์อ้อย จะทำใหก้ ารงอกลดลง
หรือไม่งอกเลยหรือถ้างอกอ้อยจะไม่สมบูรณ์ จากการดำเนินงานเก็บข้อมูลจัดทำความสัมพันธ์ระหว่างการเข้า
ทำลายของหนอนกอลายจดุ เลก็ กบั สภาพแวดล้อมวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ Stepwise Regression analysis กรณี
ของสภาพแวดล้อมในเชิงพื้นที่พบว่า พันธุ์ ปริมาณแมกนีเซียมในดินต่อร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอ
ลายจุดเล็ก โดยมีค่า P-Value เป็น 0.0237 และ 0.0024 ตามลำดับ การจัดการปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อรอ้ ยละของ
การเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก ในกรณขี องความสัมพันธ์ของร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลาย
จดุ เลก็ ต่อขอ้ มูลสภาพอากาศพบว่า เนื้อดิน พนั ธุ์และอณุ หภูมิสงู สุด ปริมาณนำ้ ฝนสะสม 14 วนั ตอ่ รอ้ ยละของการ
เขา้ ทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก โดยมีค่า P-Value เปน็ 0.0142 0.0342 และ 0.0031 ตามลำดบั การจัดการ
ปัจจัยเหล่านม้ี ีผลต่อร้อยละของการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเลก็ เชน่ เดียวกัน การจัดการปัจจัยเหล่านี้มีผล
ต่อการการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็ก จึงได้นำผลที่ได้ไปอบรมเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย เจ้าหน้าที่โรงงาน
น้ำตาลและกลุ่มเจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานโครงการ 1 ตำบล 1 เกษตรทฤษฎีใหม่ของกรมส่งเสริมการเกษตร
เป้าหมาย 880 ราย เพื่อให้สามารถป้องกันและเฝ้าระวังการการเข้าทำลายของหนอนกอลายจุดเล็กในพื้นที่ ลด
ความเสยี หายในการผลิตออ้ ยได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
คำสำคัญ ธาตุอาหาร ระยะยาว วสั ดุอินทรีย์ ปยุ๋ อินทรีย์ ปยุ๋ เคมี มนั สำปะหลัง

คำนำ
การปลูกมันสำปะหลังอย่างต่อเน่ืองมีแนวโน้มทำให้ดินเสื่อมโทรมลงทุกๆ ปี (ชุมพล และคณะ, 2540;
โชติ และคณะ, 2529) สอดคล้องกับ วัลลีย์ และคณะ (2555) ซึ่งทำการปลูกมันสำปะหลัง 3 พันธ์ุ ในดินทราย
ชุดดินสัตหีบ จังหวัดระยอง พบว่า มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 86-13 มีประสิทธิภาพในการใช้ไนโตรเจนเพื่อ

1 กลุ่มวจิ ัยปฐพีวทิ ยา กองวิจัยพัฒนาปจั จัยการผลติ ทางการเกษตร กรมวชิ าการเกษตร
2 ศูนย์วิจัยพชื ไรข่ อนแกน่ สถาบนั วจิ ยั พืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลงั งาน กรมวชิ าการเกษตร
3 ศูนยว์ ิจยั พชื ไรร่ ะยอง สถาบันวจิ ยั พชื ไรแ่ ละพชื ทดแทนพลังงาน กรมวชิ าการเกษตร
4 ศูนยว์ ิจยั และพฒั นาการเกษตรนครราชสมี า สำนกั วิจัยและพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4 กรมวชิ าการเกษตร
5 กลุ่มวิจัยปฐพวี ทิ ยา กองวิจยั พัฒนาปจั จัยการผลติ ทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร

*Corresponding Author E-mail: [email protected]

728

สร้างผลผลิตสูงสุด 338 กิโลกรัมผลผลิตต่อกิโลกรัม N รองลงมาคือ พันธุ์ระยอง 11 และระยอง 9 ซึ่งมี
ประสิทธิภาพในการใช้ไนโตรเจนเพื่อสร้างผลผลิต 318 และ 279 กิโลกรัมผลผลิตต่อกิโลกรัม N ตามลำดับ
และพบว่าโพแทสเซียมจะสะสมอยู่ในหัวมันสำปะหลังมากกว่าธาตุอาหารหลักอ่ืนๆ เมื่อมีการเคลื่อนย้ายผลผลิต
ออกจากพื้นท่ีทำให้ธาตุอาหารในดินลดลง ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกมันสำปะหลัง
ซ้ำในพื้นที่เดิมจึงจำเป็นที่จะต้องมีการจัดการดิน การจัดการน้ำ และการจัดการธาตุอาหารให้เพียงพอและ
เหมาะสมต่อความต้องการของพืชแต่ละชนิด การจัดการท่ีไม่เหมาะสมย่อมทำให้ดินเส่ือมความอุดมสมบูรณ์ลง
เร่ือยๆ การทำการวจิ ัยเพ่อื ให้ระบบการผลติ มันสำปะหลังอย่างย่ังยืน มคี วามจำเป็นทตี่ อ้ งรกั ษาความอุดมสมบูรณ์
ของดินทั้งทางเคมีและกายภาพ การจัดการธาตุอาหารให้พอเพียงโดยมีการผสมผสานปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ใน
สัดส่วนที่พอเหมาะ นอกจากช่วยเพิม่ ธาตอุ าหาร ปรับปรุงคุณสมบัติทางเคมี กายภาพและชีวภาพ ยังสามารถลด
ต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมี และเมื่อมีการให้น้ำเพิ่มเติมด้วยวิธีและปริมาณที่พอเหมาะน่าจะช่วยเพิ่มผลผลิต และเพิ่ม
รายได้ให้แก่เกษตรกรได้ นอกจากนี้ผลงานวิจัยที่ประสบผลสำเร็จยังจะได้ถูกนำไปประเมินและถ่ายทอดให้แก่
เกษตรกร โดยเกษตรกรมีส่วนรว่ ม ทำใหเ้ กษตรกรไดเ้ ขา้ ถึงเทคโนโลยี และให้คำแนะนำในการปรบั แกเ้ ทคโนโลยีให้
เหมาะกบั เกษตรกรในพน้ื ท่ี

วธิ ีดำเนนิ การ
สิ่งทีใ่ ช้ในการทดลอง

1) มันสำปะหลังพันธท์ุ ่ีเหมาะสมในพนื้ ที่ (ไดแ้ ก่ พันธรุ์ ะยอง 11 และพนั ธเุ์ กษตรศาสตร์ 50)
2) ปยุ๋ เคมี ไดแ้ ก่ ปยุ๋ แอมโมเนียมซลั เฟต (21-0-0) ปยุ๋ ไดแอมโมเนยี มฟอสเฟต (18-46-0) ปุ๋ยโพแทสเซียม
คลอไรด์ (0-0-60)
3) ปุ๋ยอนิ ทรยี ์
4) อุปกรณ์เก็บตัวอย่างดิน ได้แก่ อุปกรณ์เก็บตัวอย่างดินแบบ Undisturbed core sample สว่านเกบ็
ตัวอยา่ งดิน ถุงพลาสติก เก็บตัวอยา่ งดนิ
5) อุปกรณเ์ ก็บตวั อยา่ งพชื ได้แก่ ถุงกระดาษ ถุงตาข่าย มีด กรรไกรตัดตวั อยา่ งพชื
6) สารเคมีป้องกนั และกำจัดวัชพชื
7) เคร่อื งมอื วทิ ยาศาสตร์ เครือ่ งแก้ว และสารเคมีสำหรับวิเคราะห์ดินและพืช
แบบและวธิ กี ารทดลอง
วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCB) มี 4 ซ้ำ ประกอบด้วย 8
กรรมวิธี ได้แก่

1) 0-0-0 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่
2) 16-0-0 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
3) 16-8-0 กิโลกรมั N-P2O5-K2O ต่อไร่
4) 16-0-16 กโิ ลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่
5) 16-8-16 กโิ ลกรมั N-P2O5-K2O ตอ่ ไร่


Click to View FlipBook Version