The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:38:52

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

ร า ย ง า น ฉ บ ับ

สมบูรณ์

โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพ่อื การพฒั นา
พน้ื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

กุมภาพันธ์ 2562

เสนอต่อ มลู นธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาริ
จดั ทาโดย สานักงานศูนยว์ ิจยั และให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพ้ืนทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สารบญั

เรื่อง หนา้

สารบญั รูป ..................................................................................................................................................ง
สารบญั ตาราง.............................................................................................................................................จ
1 บทนา....................................................................................................................................................1

หลักการและเหตุผล ....................................................................................................................1
วัตถุประสงค์................................................................................................................................2
ขอบเขตการดาเนนิ งาน ...............................................................................................................2
2 กรอบแนวคิดการดาเนนิ งาน..................................................................................................................8
การทบทวนองค์ความรู้และเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาพ้ืนท่ีตามปรัญชาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ......................................................................................................................................9
2.1.1 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎใี หม่ ...........................................................................9
การอบรมอาชพี เสริม.................................................................................................................. 21
2.1.2 โมเดลการปฏบิ ัติ (Practical Model) การพฒั นาท่ยี งั่ ยืนตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง.. 22
2.1.3 บนั ได 7 ขั้นสู่การรวมกลมุ่ อย่างยั่งยนื .............................................................................. 25
2.1.4 คูม่ ือสารวจและรวมรวมข้อมูลเพ่อื การรวมกลุม่ อยา่ งยั่งยืน.............................................. 29
การยกระดบั การพฒั นาขีดความสามารถบุคลากรของส่วนราชการตวั อย่าง.............................. 39
การพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรกู้ ารรวมกลมุ่ ให้กบั บคุ ลากรของมลู นธิ ิปิดทองหลงั พระฯ..... 43
3 ต้นแบบหลกั สูตรและกระบวนการฝึกอบรมการรวมกลุม่ อย่างยัง่ ยืน สาหรบั ส่วนราชการตวั อย่าง ...... 49
ขนั้ ตอนการพัฒนาต้นแบบหลักสูตรและกระบวนการฝึกอบรมการรวมกลุ่มอยา่ งยั่งยนื ............ 49
กระบวนการฝึกอบรม............................................................................................................... 49
เอกสารหลกั สตู รการรวมกลุ่มอย่างยง่ั ยนื .................................................................................. 50
เอกสารหมายเลข 1: เอกสารประกอบการบรรยายชว่ งท่ี 1...................................................... 51
เอกสารหมายเลข 2: ข้อมูลกรณศี ึกษา ..................................................................................... 86
เอกสารหมายเลข 3: แบบฟอร์มวิเคราะห์สถานะและระดับการพัฒนาสหกรณ์อย่างยั่งยืน ตาม

บันได 7 ขั้น................................................................................................................... 101
เอกสารหมายเลข 4: แบบฟอร์มวางแผนพัฒนาสหกรณต์ ามบันได 7 ขัน้ ................................ 128
เอกสารหมายเลข 5: เอกสารประกอบการบรรยายสรุปช่วงท่ี 5 ............................................. 130
4 ผลการจัดโครงการอบรมตน้ แบบในสว่ นราชการตัวอย่าง.................................................................. 166

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

-ก-

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพนื้ ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

การจัดโครงการอบรมต้นแบบ คร้งั ที่ 1 ระหวา่ งวันที่ 10-11 กนั ยายน 2561......................... 166
4.1.1 วัตถปุ ระสงค์.................................................................................................................. 166
4.1.2 ผลการจดั โครงการอบรมตน้ แบบ คร้ังที่ 1 ..................................................................... 166
การจดั โครงการอบรมต้นแบบ ครั้งที่ 2 ระหว่างวนั ท่ี 26-28 พฤศจิกายน 2561 .................... 210
4.2.1 วตั ถุประสงค์.................................................................................................................. 210
4.2.2 ผลการจัดโครงการอบรมต้นแบบ ครัง้ ท่ี 2 ..................................................................... 210
5 ผลการทบทวนสถานการณก์ ารนาองค์ความรู้และเคร่ืองมือที่พัฒนาข้ึนโดยมูลนิปิดทองหลังพระฯ ไปใช้
ขยายผลการพฒั นาพ้ืนทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในพน้ื ทตี่ น้ แบบ........................................... 254
วัตถปุ ระสงค์........................................................................................................................... 254
ผลสารวจ ............................................................................................................................... 254
5.2.1 ผลการทบทวนการนาองค์ความรู้และเคร่ืองมือของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ไปใช้ในพื้นที่

..................................................................................................................................... 254
5.2.2 สรุปสถานการณ์ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในพ้ืนที่

ตน้ แบบ ......................................................................................................................... 272
5.2.3 การใหค้ วามรู้บนั ได 7 ข้นั สูก่ ารรวมกลุ่มอย่างย่งั ยนื แก่บุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ

ในพื้นทต่ี น้ แบบ ............................................................................................................. 280
ประเด็นอนื่ ๆ ทเี่ ป็นเสียงสะท้อนจาก workshop................................................................... 285
6 ตัวอย่างพ้ืนท่ีของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ท่ีนาบันได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่างยั่งยืนไปปรับใช้ จานวน
1 แหง่ (จังหวดั อุดรธานี)........................................................................................................................ 288
การลงพ้ืนที่ครงั้ ที่ 2................................................................................................................ 288
6.1.1 วัตถุประสงค์.................................................................................................................. 288
6.1.2 ผลการการจัดทาแผน/ กิจกรรมการพัฒนากลุ่มตามบันได 7 ขั้น สู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน

..................................................................................................................................... 288
6.1.3 ภาพบรรยากาศการลงพ้นื ทคี่ รัง้ ที่ 2............................................................................... 293
การลงพ้นื ท่ีครัง้ ที่ 3................................................................................................................ 294
6.2.1 วตั ถุประสงค์.................................................................................................................. 294
6.2.2 ผลการดาเนินงานตามแผนทกี่ าหนดไว้ .......................................................................... 294
6.2.3 ภาพบรรยากาศการลงพืน้ ทคี่ ร้ังท่ี 3............................................................................... 305
7 ผลการถ่ายทอดความรู้บุคลากรในการนาแนวปฏิบัติบันได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่างยั่งยืนไปทดลอง
ปฏิบัตจิ รงิ ในพ้นื ที่ตน้ แบบของมูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระฯ ในพน้ื ท่ตี น้ แบบ................................................. 307
วัตถปุ ระสงค์........................................................................................................................... 307

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

-ข-

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพนื้ ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

บทเรยี นจากพื้นทต่ี น้ แบบ 5 แหง่ ทไ่ี ดน้ าองค์ความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นกลุม่ ของพน้ื ทต่ี นเอง...... 308
7.2.1 พน้ื ที่ตน้ แบบขอนแกน่ (ตวั อย่างกลุ่มไก่พืน้ บา้ น) ........................................................... 308
7.2.2 พ้นื ทต่ี ้นแบบกาฬสินธ์ุ (ตวั อย่างกลุ่มปลกู ผักปลอดภยั ).................................................. 311
7.2.3 พืน้ ที่ต้นแบบอทุ ัยธานี (ตัวอย่างแกน่ มะกรูดโมเดล) ....................................................... 315
7.2.4 พน้ื ที่ตน้ แบบเพชรบุรี (ตัวอยา่ งกลมุ่ แมบ่ ้าน) ................................................................. 318
7.2.5 พนื้ ที่ต้นแบบน่าน (ตวั อย่างกลุ่มวสิ าหกิจชมุ ชนผ้ปู ลกู มะนาวบ้านยอด) ......................... 321
7.2.6 โดยสรปุ ......................................................................................................................... 324
8 ตวั ช้ีวัดการขับเคลอื่ นการรวมกลมุ่ อย่างย่งั ยืน................................................................................... 325
8.1 ตัวชี้วดั ................................................................................................................................... 325
8.1.1 ตัวชี้วัดในข้ันท่ี 1 ตรวจสอบความพร้อมของกลุม่ ........................................................... 325
8.1.2 ตัวชวี้ ดั ในขั้นที่ 2 สรา้ งความเขา้ ใจในสทิ ธแิ ละหน้าที่และจัดสรรประโยชน์ใหเ้ ป็นธรรม . 326
8.1.3 ตัวชีว้ ดั ในข้ันท่ี 3 พัฒนาโมเดลธรุ กจิ และระบบการจัดการกลุม่ ใหท้ นั สมัย ..................... 327
8.1.4 ตัวชว้ี ดั ในขนั้ ที่ 4 เพิ่มประสิทธภิ าพการผลิตและการขาย .............................................. 328
8.1.5 ตัวชี้วัดในขั้นท่ี 5 กระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกในขั้นตอนหลักของกลุ่มตามหลักการ

ของสหกรณ์................................................................................................................... 329
8.1.6 ตวั ชว้ี ดั ในขั้นท่ี 6 ส่งเสรมิ การใชฐ้ านข้อมูลและองคค์ วามร้เู พ่อื ปรบั ปรุงการบรหิ ารกลมุ่ 330
8.1.7 ตัวช้ีวดั ในขน้ั ท่ี 7 สร้างทกั ษะการทางานรว่ มกับหน่วยงาน ใหต้ รงจดุ สาคญั และต่อเน่ือง331
9 ผลการจัดอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ให้มีความเข้าใจในการใช้งาน
คมู่ อื ....................................................................................................................................................... 333

**************

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

-ค-

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพื้นท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สารบัญรูป

รปู ท่ี หน้า

รปู ท่ี 2.1 กรอบแนวคิดการดาเนินงาน....................................................................................................... 8
รูปที่ 2.2 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง .................................................................................................. 10
รูปท่ี 2.3 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎใี หม่ ................................................................................. 16
รูปที่ 2.4 ทฤษฎใี หม่................................................................................................................................ 23
รูปที่ 2.5 โมเดลการปฏบิ ตั ิ (Practical Model) ฉบับปรับปรงุ ใหม่.......................................................... 24
รปู ท่ี 2.6 บนั ได 7 ขน้ั สกู่ ารรวมกลมุ่ อยา่ งย่ังยนื ....................................................................................... 26
รูปที่ 2.7 ค่มู อื สารวจและรวบรวมข้อมลู เพอ่ื การรวมกลมุ่ อย่างยงั่ ยืน....................................................... 29
รูปที่ 2.8 แนวทางยกระดับขีดความสามารถในการพฒั นาบคุ ลากรของส่วนราชการตวั อยา่ ง ................... 40
รูปท่ี 2.9 แนวทางพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้การรวมกลุ่มให้กับบุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ
................................................................................................................................................................ 44
รปู ท่ี 7.1 ผลการสารวจสถานะเบอ้ื งตน้ ของตวั อย่างกลุม่ ไก่พืน้ บา้ น จ.ขอนแกน่ ....................................308
รูปท่ี 7.2 ผลการสารวจสถานะเบื้องต้นของตวั อย่างกลมุ่ ปลูกผกั ปลอดภยั จ.กาฬสินธ์ุ ..........................312
รปู ท่ี 7.3 ผลการสารวจสถานะเบ้ืองต้นของตัวอยา่ งแกน่ มะกรูดโมเดล จ.อุทยั ธานี................................315
รูปที่ 7.4 ผลการสารวจสถานะเบือ้ งตน้ ของตวั อยา่ งกลุ่มแม่บ้าน จ.เพชรบรุ ี ..........................................318
รูปที่ 7.5 ผลการสารวจสถานะเบื้องตน้ ของตัวอย่างกลุม่ วิสาหกิจชมุ ชนผูป้ ลูกมะนาวบ้านยอด จ.น่าน..321
รปู ท่ี 8.1 ความหมายและองค์ประกอบการพัฒนาตามบนั ไดขัน้ ท่ี 1 ......................................................325
รปู ท่ี 8.2 ตัวชว้ี ดั การพัฒนาตามบันไดขน้ั ที่ 1 ........................................................................................326
รปู ที่ 8.3 ความหมายและองค์ประกอบการพัฒนาในบันไดข้ันท่ี 2.........................................................327
รูปที่ 8.4 ตัวช้ีวดั การพัฒนาตามบนั ไดขั้นท่ี 2 ........................................................................................327
รูปที่ 8.5 ความหมายและองค์ประกอบการพัฒนาในบนั ไดขั้นท่ี 3.........................................................328
รูปที่ 8.6 ตวั ช้ีวัดการพัฒนาตามบันไดข้นั ท่ี 3 ........................................................................................328
รปู ท่ี 8.7 ความหมายและองค์ประกอบการพฒั นาในบนั ไดข้ันที่ 4.........................................................329
รูปที่ 8.8 ตวั ชวี้ ดั การพัฒนาตามบันไดข้นั ที่ 4 ........................................................................................329
รปู ท่ี 8.9 ความหมายและองค์ประกอบการพฒั นาในบนั ไดขั้นท่ี 5.........................................................330
รปู ท่ี 8.10 ตัวชีว้ ัดการพฒั นาตามบนั ไดขน้ั ที่ 5 ......................................................................................330
รูปที่ 8.11 ความหมายและองคป์ ระกอบการพฒั นาในบันไดขนั้ ท่ี 6.......................................................331
รูปที่ 8.12 ตัวชว้ี ดั การพฒั นาตามบันไดขัน้ ท่ี 6 ......................................................................................331
รูปที่ 8.13 ความหมายและองค์ประกอบการพัฒนาในบันไดขน้ั ที่ 7.......................................................332
รปู ท่ี 8.14 ตัวชีว้ ดั การพัฒนาตามบันไดข้นั ที่ 7 ......................................................................................332

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

-ง-

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพัฒนาพนื้ ทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา้

ตารางที่ 2.1 พระราชดารัสดา้ นการรวมกลุ่มของชมุ ชน ........................................................................... 16
ตารางที่ 2.2 ขน้ั ตอนการยกระดบั ขีดความสามารถในการพัฒนาบุคลากรของส่วนราชการตัวอยา่ ง......... 40
ตารางที่ 2.3 ขั้นตอนการพัฒนา/ถ่ายทอดองค์ความรู้การรวมกลุ่มให้บุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ
................................................................................................................................................................ 44
ตารางที่ 4.1 การจัดกลมุ่ ประเดน็ ที่เปน็ ปัญหา/พฒั นายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปัญหา............168
ตารางที่ 4.2 ประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขั้นที่ 1 ตรวจสอบ
ความพร้อมของคนในพนื้ ที่ ....................................................................................................................179
ตารางที่ 4.3 ประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขั้นท่ี 2 สร้างความ
เขา้ ใจในสทิ ธิ หนา้ ที่ และการจดั สรรประโยชน์ใหเ้ ปน็ ธรรม....................................................................183
ตารางที่ 4.4 ประเดน็ ทเ่ี ป็นปญั หา/พฒั นายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขน้ั ท่ี 3 พัฒนาโมเดล
ธุรกจิ และระบบการจัดการกลุ่มใหท้ ันสมยั .............................................................................................188
ตารางที่ 4.5 ประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในข้ันที่ 4 เพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลติ และการขาย ........................................................................................................193
ตารางที่ 4.6 ประเดน็ ที่เปน็ ปญั หา/พฒั นายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขั้นที่ 5 กระตุน้ การมี
สว่ นรว่ มของสมาชิกในขัน้ ตอนหลกั ของกลมุ่ ..........................................................................................196
ตารางท่ี 4.7 ประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขั้นที่ 6 ส่งเสริมการ
ใช้ฐานข้อมลู และองคค์ วามรเู้ พอื่ ปรบั ปรุงการบรหิ ารกลมุ่ ......................................................................198
ตารางท่ี 4.8 ประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขั้นที่ 7 สร้างทักษะ
การทางานรว่ มกบั หน่วยงาน ให้ตรงจุดสาคัญและต่อเน่ือง.....................................................................201
ตารางที่ 4.9 ความคดิ เหน็ ของผู้เข้าอบรมหลังเข้าอบรม ผเู้ ขา้ อบรมมีความตัง้ ใจท่ีจะนาบันได 7 ขนั้ ไปปรับ
ใชอ้ ย่างไรบ้าง........................................................................................................................................204
ตารางท่ี 4.10 ความคิดเห็นเก่ยี วกบั เร่ืองที่อยากใหก้ รมสง่ เสริมสหกรณส์ นับสนนุ เพื่อผูเ้ ข้าอบรมสามารถนา
บนั ได 7 ขนั้ ไปขับเคล่ือนในสหกรณ์ใหเ้ กิดผลเป็นรปู ธรรม....................................................................205
ตารางท่ี 4.11 การจัดกลุม่ ประเดน็ ทเี่ ปน็ ปัญหา/พัฒนายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปญั หา..........212
ตารางท่ี 4.12 ประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขั้นท่ี 1 ตรวจสอบ
ความพร้อมของคนในพ้ืนที่ ....................................................................................................................224

สานกั งานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

-จ-

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพ้ืนทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตารางท่ี 4.13 ประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในข้ันท่ี 2 สร้างความ
เข้าใจในสทิ ธิ หนา้ ท่ี และการจดั สรรประโยชน์ให้เปน็ ธรรม....................................................................228
ตารางที่ 4.14 ประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในข้ันท่ี 3 พัฒนา
โมเดลธุรกิจและระบบการจัดการกลมุ่ ให้ทนั สมัย ...................................................................................233
ตารางที่ 4.15 ประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในข้ันที่ 4 เพิ่ม
ประสทิ ธิภาพการผลติ และการขาย ........................................................................................................237
ตารางท่ี 4.16 ประเดน็ ทเ่ี ป็นปัญหา/พัฒนายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในข้ันท่ี 5 กระตุ้นการ
มสี ่วนร่วมของสมาชกิ ในข้นั ตอนหลกั ของกลุ่ม........................................................................................240
ตารางท่ี 4.17 ประเด็นท่ีเปน็ ปญั หา/พฒั นายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปญั หาในขนั้ ที่ 6 ส่งเสริมการ
ใช้ฐานขอ้ มลู และองค์ความรูเ้ พือ่ ปรับปรุงการบรหิ ารกลุ่ม ......................................................................242
ตารางที่ 4.18 ประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในข้ันท่ี 7 สรา้ งทักษะ
การทางานรว่ มกับหน่วยงาน ให้ตรงจุดสาคญั และต่อเนือ่ ง.....................................................................245
ตารางท่ี 4.19 ความคิดเห็นของผู้เข้าอบรมหลังเข้าอบรม ผู้เข้าอบรมมีความต้ังใจที่จะนาบันได 7 ขั้นไป
ปรบั ใช้อย่างไรบ้าง.................................................................................................................................248
ตารางที่ 4.20 ความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั เร่ืองที่อยากให้กรมสง่ เสรมิ สหกรณส์ นับสนนุ เพื่อผูเ้ ขา้ อบรมสามารถนา
บันได 7 ขน้ั ไปขับเคลื่อนในสหกรณ์ให้เกิดผลเปน็ รปู ธรรม....................................................................250
ตารางท่ี 5.1 องคค์ วามรู้ท่ีนกั พัฒนาเคยได้รบั การฝึกอบรม (กล่มุ A) .....................................................256
ตารางท่ี 5.2 องคค์ วามรู้ทน่ี กั พัฒนาเคยได้รบั การฝึกอบรม (กลุ่ม B) .....................................................258
ตารางท่ี 5.3 องค์ความรู้ทน่ี ักพัฒนาเคยไดร้ ับการฝึกอบรม (กลุ่ม C) .....................................................259
ตารางท่ี 5.4 รูปแบบและระดับการนาองคค์ วามรู้ไปใช้งานในพ้นื ที่ (กลุม่ A) .........................................261
ตารางที่ 5.5 รปู แบบและระดับการนาองคค์ วามรู้ไปใชง้ านในพ้ืนที่ (กลุม่ B) .........................................262
ตารางที่ 5.6 รปู แบบและระดับการนาองค์ความรไู้ ปใชง้ านในพืน้ ที่ (กลุม่ C) .........................................263
ตารางที่ 5.7 องค์ความรู้ท่ีนักพัฒนาเคยไดร้ ับการฝึกอบรมและนาไปใช้งานในพืน้ ที่ จาแนกรายพ้นื ท่ี....264
ตารางท่ี 5.8 กลุ่ม PA: ปัญหาการเตรียมความพร้อมของคนและพน้ื ท่ี และแนวทางประยุกตใ์ ชค้ วามรู้..273
ตารางท่ี 5.9 กลุ่ม PB: ปัญหาการพัฒนาในระดับที่ 1: ครัวเรือนพ่ึงตนเอง และแนวทางประยุกต์ใช้ความรู้
.............................................................................................................................................................. 276
ตารางท่ี 5.10 กลุ่ม PB: ปัญหาการพัฒนาในระดบั ท่ี 2: ชุมชนพึ่งตนเองได้ และแนวทางประยุกต์ใชค้ วามรู้
.............................................................................................................................................................. 278
ตารางท่ี 5.11 สรุปผลการเรยี นรบู้ ันได 7 ข้นั และความต้งั ใจนาไปใช้....................................................281
ตารางท่ี 5.12 การประเมินความกา้ วหน้าของกลุ่มตามกรอบบนั ได 7 ขั้น..............................................282
ตารางที่ 5.13 ประเด็นปัญหาและความยากในการทาตามกรอบบนั ได 7 ข้นั .........................................283

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

-ฉ-

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพนื้ ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ตารางที่ 7.1 ภาพรวมของการลงพ้นื ท่ีเพอื่ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้.................................................................307
ตารางท่ี 7.2 ตวั อยา่ งขอ้ มลู การสารวจตามบันได 7 ข้นั สู่การรวมกลุม่ อย่างย่ังยนื ของกล่มุ ไก่พืน้ บา้ น ....309
ตารางท่ี 7.3 ตวั อย่างข้อมลู การสารวจตามบนั ได 7 ขั้น สู่การรวมกลุ่มอยา่ งยั่งยนื ของกลุ่มปลกู ผักปลอดภัย
.............................................................................................................................................................. 312
ตารางท่ี 7.4 ตวั อยา่ งขอ้ มูลการสารวจตามบันได 7 ข้นั สกู่ ารรวมกลมุ่ อยา่ งย่ังยืนของแกน่ มะกรดู โมเดล315
ตารางท่ี 7.5 ตัวอย่างขอ้ มลู การสารวจตามบันได 7 ข้นั สู่การรวมกลุม่ อย่างย่ังยืนของกลุ่มแมบ่ ้าน.........318
ตารางท่ี 7.6 ตัวอย่างข้อมูลการสารวจตามบันได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้
ปลูกมะนาวบา้ นยอด .............................................................................................................................322

**************

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

-ช-

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพื้นท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1 บทนา

หลักการและเหตุผล
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงพระราชทาน “ปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพียง” ให้เป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 โดยแนวคิดดังกล่าวตั้งอยู่บน
รากฐานของภูมิสังคมของไทย เป็นแนวทางการพัฒนาท่ีต้ังอยู่บนทางสายกลางและความไม่ประมาท
คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง โดยใช้ความรู้และคุณธรรมเป็น
พื้นฐานในการตัดสินใจในกิจกรรมการประกอบอาชีพและการดารงชีวิต เพื่อให้การประกอบอาชีพและ
ชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมกี ารพฒั นาไปอย่างเป็นลาดับขั้นและม่ันคง

ตลอดระยะเวลา 5 ปีท่ีผ่านมา มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาริได้มีการศึกษา
พระราชดารัส พระราชดาริ แนวทางการทรงงาน และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างลึกซ้ึง ควบคู่
ไปกับการลงพืน้ ท่ีจริงอยา่ งเปน็ ลาดบั ข้ัน ดังนี้

➔ การบริหารจัดการองค์ความรู้จากโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ พบว่า มีกลไก
หลายองค์ประกอบท่ีสามารถจะนามาปรับใช้เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผล
กระบวนการขับเคล่ือนความรู้และแนวพระราชดาริฯ สู่การพัฒนาในระดับประชาชน/
ชุมชน/พ้ืนที่/ภมู ภิ าค/ประเทศอยา่ งเป็นลาดบั ข้นั โดยจัดทาออกมาในรปู แบบโมเดลการ
ปฏบิ ตั ิ (Practical Model) การพัฒนาท่ยี ัง่ ยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

➔ การดาเนินการตามปัจจัยการพัฒนาใน โมเดลการปฏิบัติ (Practical Model) การ
พฒั นาที่ยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถแบง่ เป็นลาดบั ขน้ั 3 ระดบั คอื
(1) ครัวเรือนพึ่งตนเอง เป็นการบรหิ ารจัดการทรัพยากรดินและนา้ และจัดการผลติ ด้าน
การเกษตรภายในครวั เรอื น อันเปน็ การผลิตเพอื่ พออยพู่ อกนิ และพ่ึงตนเอง
(2) ชมุ ชนรวมกลมุ่ พงึ่ ตนเองได้ มีหวั ใจของการพฒั นาอยทู่ ่ี “การรวมกลุม่ ” เปน็ การรวม
พลังกันภายในชุมชนในรูปกลุ่มต่างๆ อาจเป็นสหกรณ์หรือวิสาหกิจชุมชน เพื่อร่วม
แรงดาเนินงานในเรื่องต่างๆ ทั้งในด้านการผลิต การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ
การศกึ ษา สังคม และศาสนา และ
(3) การเชือ่ มโยงออกสู่ภายนอก เปน็ การเชอ่ื มโยงตดิ ต่อประสานกบั ชุมชนภายนอก เช่น
ธนาคาร บริษัท ห้างร้านเอกชน เพ่ือจัดหาแหล่งทุนหรือแหล่งเงินมาช่วยในการ
ลงทนุ พัฒนาในด้านตา่ ง ๆ และพัฒนาคุณภาพชีวิตความเปน็ อยู่ของชุมชนใหด้ ีขนึ้

➔ ผลวิจัยจากการวิเคราะห์บทเรียนความสาเร็จและอุปสรรคในการรวมกลุ่มจาก
กรณีศึกษา 10 แห่ง ได้ค้นพบบันได 7 ขั้นสู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน และคู่มือการ
ขบั เคล่อื นทฤษฎีใหม่เพือ่ การพฒั นาพ้นื ที่ในขน้ั ที่ 2

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

-1-

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพ้นื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ดังน้ัน เพื่อให้องค์ความรู้ที่เกิดข้ึนจากผลการศึกษาข้างต้น ได้มีการขยายผลการขับเคลื่อน
ทฤษฎีใหม่เพื่อการพัฒนาพ้ืนท่ี ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่หน่วยงาน กลุ่มและบุคคลที่
เก่ียวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จึงควรมีความร่วมมือเชิงวิชาการกับส่วน
ราชการท่ีมีบทบาทหลัก เพื่อนาองค์ความรู้ไปสกู่ ารปฏิบัติในการยกระดับการรวมกลุ่ม และหาแนวทาง
ความร่วมมือเพื่อร่วมกนั ขับเคล่ือนทฤษฎใี หม่ ใหเ้ กดิ สัมฤทธิผลในภมู ภิ าคตา่ งๆ ของประเทศต่อไป

วัตถปุ ระสงค์
(1) เพ่ือร่วมกับส่วนราชการตัวอย่างในการปรับปรุงและยกระดับแนวทางพัฒนาบุคลากร ให้

สามารถขยายผลองค์ความรู้ด้านการรวมกลุ่มอย่างยั่งยืน ตามทฤษฎีใหม่และปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
(2) เพ่ือร่วมกับส่วนราชการตัวอย่างในการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการฝึกอบรม รวมทั้ง
สร้างทีมวิทยากรต้นแบบ เพ่ือขยายผลองค์ความรู้ด้านการรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน ตามทฤษฎี
ใหม่และปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(3) เพอื่ รว่ มกับส่วนราชการตัวอยา่ งในการพฒั นาแนวทางประเมินผลและยกระดบั การรวมกลุม่
(4) เพื่อพัฒนาและถ่ายทอดองคค์ วามรกู้ ารรวมกลุ่มอย่างยัง่ ยืนให้กับบุคลากรของมลู นธิ ปิ ิดทอง
หลังพระฯ

ขอบเขตการดาเนินงาน
(1) ร่วมกับมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ คัดเลือกส่วนราชการตัวอย่างที่มีศักยภาพและความพร้อม

ในการเข้าร่วมโครงการ เช่น กรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นต้น รวมไปถึงการเข้าหารือกับส่วน
ราชการตัวอย่างเพ่ือกาหนดขอบเขตและคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายท่ีจะร่วมดาเนินการใน
โครงการ เชน่
– กรมส่งเสริมสหกรณ์ : คัดเลือกพื้นที่/กลุ่มเป้าหมายเป็นสหกรณ์ในพื้นที่โครงการอัน

เน่ืองมาจากพระราชดาริและพ้ืนท่ีโครงการหลวง โดยมีหน่วยงานในส่วนกลางท่ีจะ
ร่วมดาเนินงานในโครงการ ประกอบด้วย กองประสานงานโครงการพระราชดาริ และ
สานกั พฒั นาและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ เปน็ ต้น
(2) ร่วมกับส่วนราชการตัวอย่างตรวจสอบและทบทวนแนวทางพัฒนาบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับ
การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน ตามทฤษฎีใหม่และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งประเด็น
สาคญั ในเชิงระบบและกลไก อาทิ
– ทบทวนแนวทางในปัจจุบัน ที่ใช้ในการวางแผนพัฒนาบุคลากรด้านการขับเคลื่อนการ
รวมกลมุ่ เชน่

สานักงานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

-2-

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้นื ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

– แนวทางประเมินสถานะ/ผลสาเร็จของการรวมกลุ่มที่ส่วนราชการตัวอย่างใช้ใน
การพัฒนากลมุ่ เป้าหมาย (เชน่ สหกรณใ์ นพ้ืนทต่ี ่างๆ)

– แนวทางระบุความต้องการ/ความจาเป็นของกลุ่มในการปรับปรุง/ยกระดับการ
รวมกลมุ่

– แนวทางระบุความจาเป็นในการฝึกอบรม (training need analysis) สาหรับ
เจ้าหน้าทีส่ ่งเสรมิ /ขบั เคล่ือนการรวมกล่มุ และเจ้าหนา้ ทฝ่ี กึ อบรม

– แนวทางกาหนดหลักสูตรและจัดฝึกอบรมด้านการรวมกลุ่มแก่บุคลากรในกลุ่ม
ต่างๆ

– สนับสนุนให้ส่วนราชการตัวอย่างทดลองใช้คู่มือสารวจและรวมรวมข้อมูลเพื่อการ
รวมกลุ่มอย่างยั่งยืน (บันได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่างยั่งยืน) ไปประเมินสถานะของ
การรวมกลมุ่ ในปัจจุบัน เพ่อื รวบรวมข้อมูลและสถติ ิทีเ่ กิดข้ึนไปใชใ้ นการวิเคราะห์และ
ยกระดบั แนวทางพัฒนาบคุ ลากรที่เกยี่ วข้องต่อไป

(3) ร่วมกับส่วนราชการตวั อย่างพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการฝึกอบรม
– ร่วมกับส่วนราชการตัวอย่างกาหนดหลักเกณฑ์และคัดเลือกพื้นที่กรณีศึกษาจานวน 5
พื้นที่ ใน 5 ภูมิภาค เพื่อสอบทานสถานะและสรุปบทเรียนการรวมกลุ่มตามกรอบ
บันได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน โดยมีกระบวนการคัดเลือกท่ีเป็นไปตามหลัก
วิชาการและน่าเชื่อถอื เช่น
– กาหนดประชากรท่ีเป็นกลุ่มต้นแบบทีจ่ ะศกึ ษา ซง่ึ ควรเป็นกลุ่มทเ่ี ก่ียวข้องกับ
การขับเคล่ือนการรวมกลุ่มอย่างย่ังยืนตามทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียง
เช่น การกาหนดขอบเขตประชากรเป็นสหกรณ์ในพ้ืนท่ีโครงการอัน
เน่ืองมาจากพระราชดาริและพื้นท่ีโครงการหลวง จานวน 126 แห่งท่ัว
ประเทศ เปน็ ตน้
– กาหนดหลกั เกณฑก์ ารคดั เลอื กพื้นทก่ี รณีศึกษา โดยใชว้ ธิ กี าหนดตวั อยา่ งตาม
วัตถุประสงค์ (purposive sampling) เพื่อคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่สามารถ
สะท้อนถึงการรวมกลุ่มในมติ ิตา่ งๆ ได้มากทส่ี ุด เช่น
– กระจายตัวใน 5 ภูมิภาค ท่ัวประเทศ เพ่ือเห็นความแตกต่างทางภูมิ
สังคม
– อยูใ่ นบันไดขัน้ ต่างๆ เพ่อื ให้เห็นปัจจยั ในการยกระดบั การรวมกลุ่มในแต่
ละขั้น
– มรี ะยะเวลาในการดาเนินงานท่ียาวนาน เพอ่ื ใหเ้ หน็ ววิ ัฒนาการของการ
พัฒนา

สานักงานศูนย์วจิ ัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-3-

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพ้นื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

– มีสมาชิกจานวนมากเพ่ือให้เห็นบทบาทและกระบวนการมีส่วนร่วมของ
สมาชิก

– มมี ูลค่าห้นุ จานวนมาก เพ่อื ใหเ้ หน็ ถึงการเติบโตและม่นั คงของกลุม่
– มีลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น เพ่ือที่จะสามารถนามาพัฒนาโมเดลเฉพาะ

ในอนาคต เชน่ เปน็ กลมุ่ ที่มีนวตั กรรมผลติ ภัณฑ์ / เพม่ิ มูลค่าสนิ ค้า / มี
โมเดลธุรกิจที่ม่ันคงเป็นกลุ่มที่รวบรวมสินค้าจากภูมิภาคและเป็นฐาน
กระจายสินค้าแก่ผู้บริโภคในส่วนกลางอย่างกว้างขวาง เป็นกลุ่มสังคม
ผู้สูงอายุ เปน็ ต้น
– คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างในรอบแรก 20-30 ตัวอย่าง โดยพิจารณาตาม
หลักเกณฑ์ที่กาหนด จากนั้น ประชุมหารือกับมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ และ
สว่ นราชการตวั อย่าง เพื่อคัดเลอื ก 5 ตวั อยา่ งใน 5 ภูมภิ าค
– ร่วมกับส่วนราชการตัวอย่างในการลงพ้ืนท่ีเพ่ือประเมินสถานะ/ผลสาเร็จของการ
รวมกลุ่ม และศึกษากระบวนการรวมกลุ่มของพื้นท่ีกรณีศึกษา ท้ังบทบาทของ
เจา้ หน้าท่ีสง่ เสริมจากสว่ นราชการตวั อย่าง และบทบาทของผ้นู าและสมาชกิ กลุ่ม
– สรุปบทเรียนและรวบรวมแนวปฏิบัติท่ีดีจากพ้ืนท่ีกรณีศึกษาเพื่อนาไปประกอบการ
พัฒนาต้นแบบหลักสูตรและกระบวนการฝึกอบรมการรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน โดยสรุป
บทเรยี นในประเด็นสาคัญ อาทิ กระบวนการ ปัจจัยสคู่ วามสาเรจ็ ปัญหาอปุ สรรคของ
การรวมกลุ่ม และบทบาทการสนับสนุนของส่วนราชการตัวอย่างและหน่วยงานอ่ืนๆ
ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
– พัฒนา (รา่ ง) ต้นแบบหลกั สตู รและกระบวนการฝึกอบรมการรวมกลมุ่ อย่างยั่งยืน โดย
วิธีควบรวมองค์ความรู้การรวมกลุ่มอย่างยั่งยืนของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ กับ
หลักสูตรที่มีอยู่เดิมของส่วนราชการตัวอย่าง รวมท้ังนาสรุปบทเรียนและแนวปฏบิ ตั ิที่
ดจี ากพืน้ ที่กรณีศกึ ษามาใช้ประกอบเน้ือหาของหลกั สตู ร
(4) ร่วมกับสว่ นราชการตัวอยา่ งจดั โครงการอบรมต้นแบบ โดยสนับสนนุ องคค์ วามรู้และร่วมทีม
วทิ ยากร
– รว่ มกบั ส่วนราชการตัวอย่างในการจดั โครงการอบรมต้นแบบ จานวน 80 – 100 คน
โดยสนับสนุนองคค์ วามรู้และรว่ มทมี วทิ ยากรกบั ส่วนราชการตวั อย่าง
– โครงการอบรมต้นแบบ ในส่วนกลาง 1 ครัง้ โดยมเี ป้าหมายในการสรา้ ง
วิทยากรตน้ แบบ (train the trainer) อย่างน้อย 10-20 คน

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

-4-

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพัฒนาพ้ืนท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

– โครงการอบรมต้นแบบในภูมิภาคทัว่ ประเทศ จานวน 5 พื้นท่ีใน 5 ภมู ิภาค
โดยมเี ปา้ หมายในการสร้างวิทยากรต้นแบบ (train the trainer) อย่างนอ้ ย
70-80 คน

– ประเมนิ ผลและปรบั ปรุงต้นแบบหลกั สตู รและกระบวนการฝกึ อบรมการรวมกลมุ่ อย่าง
ย่ังยืน

(5) ร่วมกบั ส่วนราชการตวั อย่างพัฒนาแนวทางประเมินผลและยกระดบั การรวมกลุ่ม
– ปรับปรุงคู่มือสารวจและรวมรวมข้อมลู เพ่อื การรวมกลุ่มอย่างยัง่ ยืน (บันได 7 ข้ันสกู่ าร
รวมกลุ่มอย่างยั่งยืน) ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทการขับเคลื่อนการรวมกลุ่ม
อย่างยง่ั ยนื ของส่วนราชการตวั อย่าง

(6) ร่วมกับมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ทบทวนสถานการณ์การนาองคความรู้และเครื่องมือท่ี
พัฒนาข้ึนโดยมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ไปใช้ขยายผลการพัฒนาพ้ืนที่ตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ต้นแบบของมูลนธิ ิปิดทองหลังพระฯ โดยวิเคราะหป์ ัญหาทเ่ี กิดขึ้น
ในพ้ืนท่ีต้นแบบและหาแนวทางในการพัฒนาไปสู่ระดับท่ี 2 ชุมชนรวมกลุ่มพึ่งตนเองได้
และระดับท่ี 3 คอื ชมุ ชนสามารถเชอื่ มโยงออกสภู่ ายนอก
– จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ในส่วนกลาง โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักพัฒนาใน 9 พ้ืนที่
พ้ืนท่ีละ 3 คน รวมเป็น 27 คน และบุคลากรในส่วนกลางอีก 3-8 คน รวมเป็น
กลมุ่ เปา้ หมาย 30-35 คน โดยดาเนนิ การดังนี้
– ทบทวนการนาองค์ความรู้และเคร่ืองมืออื่นท่ีมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ
พัฒนาขึ้น ว่าทางพ้ืนท่ีได้นาไปทดลองใช้แล้วได้ผลอย่างไรบ้าง ติดขัดปัญหา
อย่างไร มบี ทเรียนในการแลกเปลย่ี นกับนกั พัฒนาในพืน้ ท่ีอนื่ อยา่ งไรบ้าง
– สรุปสถานการณ์ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการนาองค์ความรู้ไป
ประยุกตใ์ ชใ้ น 9 พืน้ ท่ตี ้นแบบของมลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระฯ

(7) ร่วมกับมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ คัดเลือกพื้นที่ตัวอย่างของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จานวน
1 แหง่ เพ่อื เป็นตัวอย่างในการให้ความรู้และผลักดันการนาบันได 7 ขั้นสู่การรวมกลุ่มอย่าง
ยง่ั ยนื ไปทดลองปฏบิ ัติจรงิ ในพื้นที่ โดยดาเนินการดงั น้ี
– ร่วมกับมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ กาหนดหลักเกณฑ์และคัดเลือกพื้นที่ตัวอย่าง จานวน
1 พื้นท่ี เพื่อเป็นพ้ืนที่ที่ทีมที่ปรึกษาจะเข้าให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิดในการประยุกตใ์ ช้
บันได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน ให้เหมาะสมกับบริบทของพ้ืนที่ โดยมี
กระบวนการคัดเลือกท่เี ปน็ ไปตามหลกั วิชาการและน่าเช่ือถือ เชน่
– เป็นพื้นที่ท่ีมีการรวมกลุ่มในระดับท่ี 2 ชุมชนรวมกลุ่มพ่ึงตนเองได้มาระยะ
หน่ึงแล้ว เช่น น่าน อุดร และขอนแก่น เป็นต้น แต่จะไม่เลือกพื้นที่ท่ีพึ่งเร่ิม

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

-5-

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพ้นื ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

พฒั นาในระดบั ที่ 1 ครวั เรอื นพึง่ พาตนเองได้ เพราะยังขาดความพรอ้ มในการ
รวมกลุ่ม ถ้าเลือกมาเปน็ ตัวอยา่ งกจ็ ะยงั ไมเ่ หน็ ผลแต่อยา่ งใด
– ทีมพัฒนาในพื้นที่ ควรมีความเชื่อม่ันอย่างแรงกล้าและมีความยินดีท่ีจะนา
บนั ได 7 ขัน้ สู่การรวมกลุ่มอยา่ งยง่ั ยืนไปประยุกตใ์ ช้
– ลงพื้นที่ให้คาแนะนา 3 ครั้ง โดยคร้ังแรกเป็นการเริ่มโครงการและสร้างความรู้ความ
เข้าใจ ครง้ั ที่ 2 เป็นการตดิ ตาม และคร้ังที่ 3 เปน็ การประเมินผล
(8) ร่วมกับมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ให้ความรู้บุคลากรในการนาแนวปฏิบัติบันได 7 ขั้นสู่การ
รวมกลุ่มอย่างยั่งยืนไปทดลองปฏิบัติจริงในพื้นท่ีต้นแบบของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ใน
พืน้ ท่ีต้นแบบ 9 แห่ง
– จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในส่วนกลาง โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักพัฒนาใน 9 พ้ืนท่ี
พื้นท่ีละ 3 คน รวมเป็น 27 คน และบุคลากรในส่วนกลางอีก 3-8 คน รวมเป็น
กลุ่มเปา้ หมาย 30-35 คน โดยดาเนนิ การดงั นี้
– สอบทานความเข้าใจพ้ืนฐานของทีมพัฒนาใน 9 พ้ืนท่ี เกี่ยวกับการนาบันได
7 ขั้นสู่การรวมกลมุ่ อย่างย่ังยนื ไปปรับใช้ ว่าจากโครงการพัฒนาแนวทางการ
ขบั เคล่ือนทฤษฎใี หม่เพือ่ การพัฒนาพน้ื ท่ีในข้นั ที่ 2 ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ในปี 2560 ได้เคยจัดถ่ายทอดความรู้บันได 7 ขั้นสู่การรวมกลุ่ม
อย่างยั่งยืนให้แก่ทีมพัฒนาไปแล้วน้ัน มีพื้นที่ใดบ้างที่ได้นาบันได้ 7 ข้ันไป
ทดลองใชแ้ ล้ว และเม่ือไดท้ ดลองใช้ไปแลว้ พบวา่ ผลอยา่ งไรบา้ ง ตดิ ขัดปญั หา
อย่างไร และมบี ทเรยี นในการแลกเปลี่ยนกบั นกั พฒั นาในพ้นื ท่อี น่ื อยา่ งไรบา้ ง
– ให้ความรู้ความเข้าใจเพิ่มเติมเก่ียวกับการประยุกต์ใช้บันได 7 ข้ันสู่การ
รวมกลุ่มอย่างย่ังยืน เพื่อให้ทีมพัฒนานาไปปรับใช้ในพ้ืนที่ท่ีตนรับผิดชอบท้ัง
9 พืน้ ที่ ได้ชดั เจนมากยิ่งขน้ึ
– จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อถอดบทเรียน หลังจากท่ี 9 พื้นท่ีได้นาบันได 7 ขั้นสู่การ
รวมกลุ่มอยา่ งยัง่ ยืนไปประยกุ ต์ใช้ โดยเน้อื หาแยกเป็น 2 กล่มุ ไดแ้ ก่
– บทเรียนจากพ้ืนท่ีตัวอย่าง 1 แห่ง ที่ทีมท่ีปรึกษาลงพ้ืนท่ีให้คาแนะนาอย่าง
ใกลช้ ดิ
– บทเรียนจากพื้นท่ีตน้ แบบอกี 8 แหง่ ทไี่ ด้นาองค์ความรไู้ ปประยุกต์ใชเ้ อง
– สรุปบทเรียนการนาแนวปฏบิ ัติบนั ได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่างยั่งยืนไปทดลองปฏบิ ัติ
จริงในพื้นที่ต้นแบบของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ซ่ึงอาจออกมาในรูปแบบของโมเดล
การพฒั นาท่ีมจี ุดเน้นท่ีแตกต่างกันตามบริบทของพนื้ ที่ต้นแบบ
(9) พฒั นาและถา่ ยทอดองค์ความรูก้ ารรวมกลุ่ม ให้กบั บคุ ลากรของมูลนิธปิ ิดทองหลงั พระฯ

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

-6-

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้นื ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

– นาองค์ความรู้ท่ีได้จากการถอดบทเรียนและแนวปฏิบัติที่ดีจากพ้ืนที่กรณีศึกษาของ
ส่วนราชการตัวอย่างและพื้นที่ตัวอย่างของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ มาพัฒนาต่อยอด
เคร่ืองมือสาหรบั การดาเนนิ งานพฒั นาของมูลนิธปิ ิดทองหลังพระฯ อาทิ
– ปรบั ปรุงคมู่ อื สารวจและรวมรวมข้อมูลเพื่อการรวมกลมุ่ อยา่ งย่ังยนื (บนั ได 7
ขัน้ สกู่ ารรวมกลุม่ อย่างย่ังยืน) ทไี่ ดจ้ ากโครงการพฒั นาแนวทางการขบั เคลื่อน
ทฤษฎีใหม่เพ่ือการพัฒนาพ้ืนที่ในข้ันที่ 2 ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ให้เหมาะสมต่อการนาไปใช้งานโดยบุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ
มากย่งิ ข้นึ
– พัฒนาตัวช้ีวัดและคู่มือปฏิบัติการขับเคล่ือนการรวมกลุ่มอย่างยั่งยืน ตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใช้วางแผน ปฏิบัติการพัฒนา และติดตามผล
ความกา้ วหนา้ ในการพัฒนากลมุ่ อย่างยั่งยืน

– จัดอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ให้มีความรู้ความ
เข้าใจในการใช้งานคู่มือสารวจและรวมรวมข้อมูลเพ่ือการรวมกลุ่มอย่างย่ังยืนและ
คมู่ ือปฏบิ ตั กิ ารขับเคล่ือนการรวมกลุ่มอย่างยั่งยนื ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทไ่ี ด้
พัฒนาและปรบั ปรงุ ขนึ้
**************

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-7-

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพื้นทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2 กรอบแนวคิดการดาเนินงาน

การดาเนินโครงการขยายผลองค์ความรู้การขับเคล่ือนทฤษฎีใหม่เพ่ือการพัฒนาพื้นที่ตาม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้กาหนดกรอบแนวคิดการดาเนินงานไว้ 3 ส่วนหลัก ได้แก่ (1) การ
ทบทวนองคค์ วามรู้และเคร่ืองมือในการขับเคลอ่ื นการพฒั นาพ้ืนทีต่ ามปรัญชาของเศรษฐกิจพอเพียง (2)
การยกระดับการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรของส่วนราชการตัวอย่าง และ (3) การพัฒนาและ
ถ่ายทอดองคค์ วามรกู้ ารรวมกลุ่มให้กับบุคลากรของมลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระฯ

รปู ท่ี 2.1 กรอบแนวคิดการดาเนนิ งาน
ส่วนที่ 1 การทบทวนองค์ความรู้และเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ตามปรัญชา
ของเศรษฐกิจพอเพียง เร่ิมต้นด้วยการทบทวนพระราชดารัสเก่ียวกับการพัฒนาตามปรัญชาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎีใหม่ ตามดว้ ยโมเดลการปฏบิ ัติ (practical model) และบนั ได 7 ขน้ั สู่การ
รวมกลมุ่ อย่างย่ังยนื เป็นตน้
ส่วนที่ 2 การยกระดับการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรของส่วนราชการตัวอย่าง ซึ่งในท่ีนี้
คือกรมส่งเสริมสหกรณ์ โดยเริ่มจากการศึกษาและทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง จากนั้นลงพื้นท่ีตัวอย่าง

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

-8-

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

จานวน 5 แห่ง และทาการสรุปบทเรียนและแนวปฏิบัติท่ีดีเพ่ือนามาพัฒนาหลักสูตรต้นแบบ โครงการ
อบรมต้นแบบ และคูม่ ือบนั ได 7 ขัน้ เพื่อการสง่ เสริมสหกรณ์

ส่วนท่ี 3 การพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้การรวมกลุ่มให้กับบุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลงั
พระฯ โดยลงพื้นที่อย่างต่อเนือ่ งเพื่อให้คาปรึกษาแก่พ้ืนท่ีตัวอย่างการพัฒนาของมูลนิธปิ ิดทองหลังพระ
ฯ จานวน 1 แห่ง จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ให้นักพัฒนาและบุคลากรจาก 9 พ้ืนที่พัฒนา และทาการ
ถอดบทเรียนเพ่ือพัฒนาคู่มอื 2 เล่ม คือ คู่มือสารวจและรวบรวมขอ้ มลู เพ่ือการรวมกลมุ่ อยา่ งย่ังยืน และ
ค่มู ือบนั ได 7 ขนั้ เพอ่ื การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน

การทบทวนองค์ความรู้และเคร่ืองมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ตามปรัญชาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
2.1.1 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและทฤษฎใี หม่
ผลการทบทวนหนังสือ “เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่” (มูลนิธิชัยพัฒนา, 2550) พบว่า
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
(พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9) ที่พระราชทานมาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2517 หรือ 40 ปีที่ผ่านมา
โดยที่แนวคิดดังกล่าวต้ังอยู่บนรากฐานของภูมิสังคมของไทยเป็นแนวทางการพัฒนาท่ีต้ังอยู่บนพ้ืนฐาน
ของทางสายกลาง และความไม่ประมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกัน
ในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพ้ืนฐานในการดารงชีวิต ซ่ึงจะนาไปสู่ความสุขในการ
ดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งแทจ้ รงิ โดยความหมายและสาระสาคัญของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีดังน้ี

 เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผู้ผลิต หรือผู้บริโภค พยายามเริ่มต้นผลิต หรือบริโภค
ภายใต้ขอบเขตข้อจากัดของรายได้ หรือทรัพยากรท่ีมีอยู่ไปก่อน ซ่ึงก็คือหลักในการ
ลดการพึ่งพา เพ่ิมขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตได้ด้วยตัวเอง และลด
ภาวะการเส่ียงจากการไมส่ ามารถควบคุมระบบตลาดได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

 เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถประยุกต์ใช้ได้ทุกระดบั ทุกสาขา ทกุ ภาคของเศรษฐกิจ ไม่
จาเป็นจะต้องจากัดเฉพาะแต่ภาคเกษตร หรือ ภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาค
อสังหาริมทรัพย์ และการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ โดยมีหลักการที่คล้ายคลึงกัน
คือ เน้นการเลือกปฏิบตั ิอย่างพอประมาณ มีเหตุมีผล และสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ตนเอง
และสังคม

ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง ประกอบไปดว้ ยคณุ สมบัติ 3 ประการ ดังนี้
 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่
เบยี ดเบยี นตนเองและผู้อ่นื เช่น การผลิตและการบรโิ ภคทอ่ี ยูใ่ นระดบั พอประมาณ

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-9-

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพน้ื ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไป
อย่างมีเหตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตปุ จั จัยทเ่ี กย่ี วข้อง ตลอดจนคานงึ ถงึ ผลทีค่ าดว่าจะ
เกิดขน้ึ จากการกระทานนั้ ๆ อย่างรอบคอบ

 ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้าน
ต่างๆ ที่จะเกิดข้ึน โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดว่าจะ
เกดิ ขึน้ ในอนาคต

โดยมเี งือ่ นไขของการตัดสินใจและดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ อยูใ่ นระดับพอเพยี ง 2 ประการ ได้แก่
 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่างๆ ที่เก่ียวข้องรอบด้าน
ความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบการ
วางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ัติ
 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มี
ความซ่ือสตั ยส์ ุจริตแลมคี วามอดทน มีความเพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวติ

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ทไ่ี ม่นอ้ ยเกนิ ไปและไม่มากเกนิ ไป
โดยไมเ่ บยี ดบังตนเองและผู้อนื่ เช่น การผลิตและบรโิ ภคทอ่ี ยู่ในระดบั
พอประมาณ พอประมาณ
มีเหตุผล ูมิคุม้ กนั
2. ความมเี หตุผล หมายถงึ การตัดสินใจเกีย่ วกบั ระดบั ความพอเพยี งน้นั
จะต้องเป็นไปอยา่ งมีเหตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตปุ จั จัยทเี่ ก่ียวข้อง
ตลอดจนคานงึ ถึงผลทีค่ าดว่าจะเกดิ ขนึ้ จากการกระทานั้นๆ อย่าง
รอบคอบ

3. ูมิคมุ้ กัน หมายถึง การเตรยี มตวั ให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการ
เปล่ยี นแปลงด้านต่างๆ ท่จี ะเกิดขน้ึ โดยคานงึ ถึงความเปน็ ไปไดข้ อง
สถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดวา่ จะเกดิ ข้ึนในอนาคต

ความรู้ คุณ รรม โดยมี “เง่อื นไข” ของการตดั สินใจและดาเนนิ กิจกรรมต่างๆ ใหอ้ ยู่ในระดบั
พอเพยี ง 2 ประการ ดังนี้
ท่ีมา : เศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎีใหม่ 1. เงอื่ น ขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรูเ้ กย่ี วกับวิชาการต่างๆ ท่ี
(มูลนธิ ชิ ัยพฒั นา, 19 กนั ยายน 2550)
เกย่ี วข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรนู้ ้ันมาพิจารณาให้
เชือ่ มโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมดั ระวังในการปฏบิ ัติ
2. เง่อื น ขคณุ รรม ทีจ่ ะตอ้ งเสริมสร้าง ประกอบดว้ ย มคี วามตระหนักใน
คุณธรรม มีความซอ่ื สัตยส์ จุ รติ และมีความอดทน มีความเพยี ร ใช้
สติปญั ญาในการดาเนินชีวติ

รูปที่ 2.2 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตัวอยา่ งพระราชดารัสเกี่ยวกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ไดแ้ ก่

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 10 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพัฒนาพนื้ ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

 เปา้ หมายการพฒั นาเปน็ ลาดับข้ัน
“..... การพฒั นาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับข้ัน ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอ
มี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่
ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เม่ือได้พ้ืนฐานความม่ันคงพร้อมพอควร และ
ปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจข้ันท่ีสูงข้ึน
โดยลาดบั ตอ่ ไป....”
พระราชดารสั วันท่ี 18 กรกฎาคม 2517

“.. เมื่อปี 2517 วันนั้นฉันพูดถึงว่า เราควรปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกินน้ีก็แปลว่า
เศรษฐกิจพอเพียงน่ันเอง ถ้าแต่ละคนพอมีพอกินได้ ก็ใช้ได้ ย่ิงถ้าท้ังประเทศพอกินก็ยิ่งดี
..”

พระราชดารสั เน่อื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสดิ าลัย วันท่ี 4 ธันวาคม 2541

“..... คนไม่เข้าใจว่ากิจการใหญ่ๆ เหมือนสร้างเช่ือนป่าสักก็เป็นเศรษฐกิจพอเพียง
เหมือนกัน เขานึกว่าเป็นเศรษฐกิจใหม่ เป็นเศรษฐกิจที่หา่ งไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง
แตท่ จ่ี รงิ แล้วเป็นเศรษฐกจิ พอเพียงเหมอื นกัน....”

พระราชดารัส เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสดิ าลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2542

 ความพอประมาณในการผลิตและบริโภค
“..... การจะเป็นเสือนั้นไม่สาคัญ สาคัญอยู่ท่ีเรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบ
พอมีพอกนิ นั้น หมายความว่า อุม้ ชูตัวเองได้ ให้มีพอเพยี งกับตนเอง ความพอเพียงนั้น
มิได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง
อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร
บางส่ิงบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในท่ีไม่ห่างไกลเท่าไร
ไมต่ ้องเสยี ค่าขนส่งมากนัก....”
พระราชดารสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลยั วันที่ 5 ธันวาคม 2539
“..... ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายคอื ทาอะไรใหเ้ หมาะสมกบั ฐานะตวั เอง คือ
ทาจากรายได้ 200-3000 บาท ขึ้นไปเป็น 20,000–30,000 บาท คนชอบเอาคาพูด
ของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง.... ท่ีฉันคิดคือเป็น
Self-Sufficiencyof Economy เช่น ถ้าเขาตอ้ งการดูทวี ี ก็ควรให้เขามดี .ู ... ในหมบู่ ้าน

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 11 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพ้นื ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ไกลๆ ท่ฉี นั ไปเขามีทีวีดูแต่ใชแ้ บตเตอรี เขาไม่มไี ฟฟ้า แตถ่ า้ Sufficiency นนั้ มีทีวีเขา
ฟมุ่ เฟือย เปรียบเสมอื นคนไมม่ สี ตางค์ไปตัดสทู ใส่ ....”

พระราชดารัส ณ พระตาหนักเปย่ี มสุข วังไกลกังวล
วันที่ 17 มกราคม 2544

 ความมเี หตผุ ลในการใชท้ รัพยากร
“..... เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาของเศรษฐกิจ การท่ีต้องใช้รถไถต้องไปซื้อ เราต้องใช้ต้อง
หาเงินมาสาหรับซื้อน้ามันสาหรับรถไถ เวลารถไถเก่าเราต้องย่ิงซ่อมแซม แต่เวลาใช้
น้ันเราก็ต้องป้อนน้ามันเป็นอาหาร เสร็จแล้วมันคายควัน ควันเราสูไปแล้วก็ปวดหัว
ส่วนควายเวลาเราใช้เราก็ต้องป้อนอาหาร ต้องให้หญ้าให้อาหารมันกิน แต่ว่ามันคาย
ออกมา ท่มี นั คายออกมาก็เปน็ ป๋ยุ แลว้ ก็ใช้ได้สาหรบั ใหท้ ี่ดนิ ของเราไม่เสีย....”
พระราชดารสั เน่อื งในพระราชพิธีพีชมงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวัญ
ณ ศาลาดุสิดาลัย วนั ที่ 9 พฤษภาคม 2529
“..... เศรษฐกิจพอเพียง เรามีเคร่อื งปน่ั ไฟก็ใชเ้ ครื่องป่ันไฟ หรือถ้าขั้นโบราณกวา่ มืดก็
จุดเทียน คือมีทางท่ีจะแก้ปัญหาเสมอ ฉะน้ัน เศรษฐกิจพอเพียงก็มีเป็นข้ันๆ แต่จะ
บอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงน้ี ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อยเปอร์เซ็นต์ท่ีเป็นส่งิ ที่ทาไมไ่ ด้
จะต้องมีการแลกเปลี่ยน ต้องมีการช่วยกัน ถ้ามีการช่วยกัน แลกเปลี่ยนกัน ก็ไม่ใช่
พอเพียงแลว้ แตว่ ่าพอเพียงในทฤษฎใี นหลวงน้ี คอื ใหส้ ามารถท่ีจะดาเนนิ งานได้....”
พระราชดารัส เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ที่ 5 ธันวาคม 2542

 มู คิ ุ้มกนั
“..... ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณ์ในทางดี ท่ีเขาเรียกว่าเล็งผลเลิศก็เห็นว่า
ประเทศไทย เรานี่ก้าวหน้าดี การเงินการอุตสาหกรรมการค้าดี กาไร อีกทางหน่ึงก็
ต้องบอกว่าเรากาลังเส่ือมลงไปใหญ๋ ทฤษฎีว่า ถ้ามีเงินเท่านั้นๆ มีการกู้เท่าน้ันๆ
หมายความว่าเศรษฐกจิ ก้าวหน้า แลว้ กป็ ระเทศกเ็ จริญกห็ วังว่าจะเป็นมหาอานาจ ขอ
โทษเลยต้องเตือนเขาว่า จริงตัวเลขดี แต่ว่าถ้าเราไม่ระมัดระวังในความต้องการ
พ้นื ฐานของประชาชนนั้นไม่มีทาง....”
พระราชดารัส เนอื่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วันท่ี 5 ธนั วาคม 2536

สานักงานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 12 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

“..... ท่ีเป็นห่วงนั้น เพราะแม้ในเวลา 2 ปี ที่เป็นปีกาญจนาภิเษกก็ได้เห็นส่ิงท่ีทาให้
เห็นได้ว่า ประชาชนยังมีความเดือดร้อนมาก และมีส่ิงท่ีควรจะแก้ไขและดาเนินการ
ต่อทุกด้าน มีภัยธรรมชาติกระหน่า ภัยธรรมชาติน้ีเราคงสามารถที่จะบรรเท่าได้หรือ
แก้ไขได เพียงแต่ว่าต้องใช้เวลาพอใช้ มีภัยท่ีมาจากจิตใจคน ซึ่งก็แก้ไขได้เหมือนกัน
แต่ว่ายากกวา่ ภัยธรรมชาติ....”

พระราชดารสั เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสดิ าลยั วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2539

 ความรู้
“..... เราไม่เป็นประเทศร่ารวย เรามีพอสมควร พออยู่ได้ แต่ไม่เป็นประเทศก้าวหน้า
อย่างมาก เราไม่อยากเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมาก เพราะถ้าเราเป็นประเทศ
ก้าวหน้าอย่างมากม่ีแต่ถดถอย ประเทศแหล่าน้ันที่เป็นอุตสาหกรรมก้าวหน้า จะมีแต่
ถอยหลังและถอยหลังอย่างน่ากลัว แต่ถ้าเรามีการบริหารแบบคนจน แบบท่ีไม่ติดกับ
ตารามากเกินไป ทาอยา่ งสามคั คีนีแ่ หละ คือ เมตตากัน จะอยไู่ ดต้ ลอดไป....”
พระราชดารัส เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2534

 คณุ รรม
“..... พอเพียง มีความหมายกว้างขวางย่ิงกว่าน้ีอีก คือคาว่าพอ ก็พอเพียงน้ีก็พอแค่
นั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้อย เม่ือมีความโลภน้อยก็
เบียดเบียนคนอ่ืนน้อย.... ซ่ือตรง ไม่โลกอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพียงน้ี
อาจจะมี มีมาก อาจจะมีของหรูหรากไ็ ด้ แตว่ า่ ต้องไมไ่ ปเบยี ดเบยี นคนอนื่ ....”
พระราชดารสั เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดสุ ิดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2541

ทฤษฏีท่ีเป็นตัวอย่างของการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ท่ีเด่นชัดที่สุด คือ ทฤษฎีใหม่
ซึ่งสาระสาคัญของทฤษฎใี หม่ สามารถสรุปได้ดังตอ่ ไปนี้

 ความสาคัญของทฤษฎใี หม่
• บรหิ ารจัดการท่ีดนิ แปลงเล็กเพื่อประโยชนส์ งู สดุ ของเกษตรกร
• คานวณปริมาณนา้ ทจี่ ะกักเกบ็ ใหเ้ พียงพอต่อการเพาะปลกู ตลอดปี

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 13 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพน้ื ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

• วางแผนพัฒนาที่สมบูรณ์แบบสาหรับเกษตรรายย่อย เป็น 3 ระดับข้ันอย่าง
ชัดเจนและเช่ือมโยงกัน

 ทฤษฎใี หม่ข้นั ตน้
• เปา้ หมาย : เกษตรกรมผี ลผลติ พอกนิ ตลอดปี
• กิจกรรมสาคญั : แบง่ การใชป้ ระโยชนท์ ี่ดินออกเป็น 4 สว่ น
- ส่วนท่ี 1 : 30% ขุดสระกักเก็บน้าฝนใช้ท้ังปี เล้ยี งสตั ว์/พชื นา้
- ส่วนที่ 2 : 30% ปลูกขา้ ว
- ส่วนที่ 3 : 30% ปลกู พืชหลังนา
- ส่วนที่ 4 : 10% ทีอ่ ยอู่ าศยั โรงเรอื น เลย้ี งสัตว์
• ตวั ช้ีวัดความสาเรจ็
- เกษตรกรพอกินตลอดปี
- ลดรายจา่ ย
- เพมิ่ รายไดจ้ ากผลผลติ ทีเ่ กนิ บรโิ ภค (ถา้ มี)
• ปจั จัยสคู่ วามสาเรจ็ / ปัจจยั ทีจ่ ะทาใหย้ นื หยดั ในระดบั นไ้ี ด้
- เกษตรกรส่วนใหญ่เขา้ ใจในหลกั การและปฏบิ ัติได้

 ทฤษฎใี หม่ขน้ั ท่ี 2
• เป้าหมาย : ชมุ ชนเขม้ แข็ง ไมเ่ บยี ดเบยี นกัน แบง่ ปันและใชท้ รัพยากรร่วมกัน
เพื่อลดตน้ ทุน/เพ่ิมผลผลติ
• กิจกรรมสาคญั : ชมุ ชนร่วมแรงและแบ่งปนั ทรพั ยากรต่อไปน้ี
- การผลิต : ร่วมแรงกันผลิตตงั้ แต่ หาพันธพุ์ ชื เตรยี มดิน นา้
- การตลาด : เม่อื ได้ผลผลิตแล้ว ต้องหาและใชโ้ ครงสร้างพื้นฐานต่างๆ
ร่วมกัน เช่น ใช้ลานตากข้าวร่วมกัน หายุ้งข้าว/ เคร่ืองสีข้าวรวม
และร่วมกนั จาหน่ายผลผลิตให้ไดร้ าคาดี
- การเปน็ อยู่ : มีปัจจัยพ้นื ฐานเชน่ อาหาร เคร่อื งนุ่งหม่ ฯลฯ
- สวัสดกิ าร : ชุมชนมสี ถานอี นามัย มกี องทนุ ไวก้ ูย้ ืม
- การศึกษา : ชุมชนมีบทบาทส่งเสริมการศึกษา เช่น กองทุนเพ่ือ
การศกึ ษาของเยาวชนในพืน้ ที่
- สงั คมและศาสนา : ชุมชนเป็นที่รวมในการพฒั นาจติ ใจ
• ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 14 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

- ผลผลิตชมุ ชนเพิ่มขึน้ และราคาผลผลิตสูงข้ึน
- มกี ารซื้อขายแลกเปล่ียนปัจจยั การผลติ ในชมุ ชน
• ปจั จัยสู่ความสาเร็จ / ปัจจัยท่จี ะทาใหย้ นื หยัดในระดบั น้ไี ด้
- กิจกรรมทั้งหมดต้องได้รับความร่วมมือจากสมาชิกในชุมชน และทุก

ฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ท้ังส่วนราชการ มูลนิธิ และเอกชน โดยเฉพาะการ
สร้างแหลง่ กกั เกบ็ นา้

 ทฤษฎใี หม่ขนั้ ที่ 3
• เป้าหมาย : เครือข่ายสังคมใหญ่เข้มแข็ง (ชุมชน องค์กร ธุรกิจ) แบ่งปัน
ช่วยเหลือกัน ถ่ายทอดภูมิปัญญา เงินทุน/เทคโนโลยี เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิม
และอย่รู ว่ มกนั อยา่ งยงั่ ยนื
• กจิ กรรมสาคัญ : ชมุ ชนเชื่อมโยงกับเครือขา่ ยต่างๆ เพอ่ื
- รวมกนั เป็นสหกรณ์ขายส่งเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์
- เช่อื มโยงกบั แหลง่ ทุน สามารถเพมิ่ ศักยภาพในการผลิต
- เชื่อมโยงกับภาคเอกชน รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี สาหรับการเพิ่ม
มลู คา่ ผลิตภณั ฑ์
- ร่วมมือกนั ขายผลผลิตตรงไปยังบรษิ ทั ผ้ซู ือ้ รายใหญ่
• ตัวชวี้ ัดความสาเร็จ
- ผลผลติ ชุมชนมมี ูลคา่ สงู ข้ึน
• ปัจจยั สคู่ วามสาเร็จ / ปัจจยั ท่ีจะทาใหย้ นื หยัดในระดับน้ีได้
- ……

ผลจากการทบทวนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่สามารถสรุปกรอบโครงสร้างของ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ได้ดังรูปที่ 2.3 โดยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้มีการ
ผลิตและบริโภคตามศักยภาพของพื้นท่ี เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และ
วฒั นธรรม โดยอยู่บนหลักของความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมคิ ุ้มกนั บนเง่ือนไขของความรู้และ
คุณธรรม ซึ่งเมื่อนาไปปรับใช้เป็นทฤษฎใี หม่ ก็จาแนกการพัฒนาในแต่ละระดบั โดยมีเป้าหมายในแต่ละ
ระดับอย่างชัดเจน ได้แก่ ความพอเพียงในระดับครัวเรือน ความพอเพียงในระดับชุมชน และความ
พอเพยี งในระดับพื้นท่ี

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 15 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพ้นื ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง การพฒั นา 3. ความพอเพียงระดับพ้ืนท่ี มู ิ าค
ตามลาดับขนั้  เป้าหมาย : เครือขา่ ยสังคมใหญ่
การผลติ และบริโ ค เข้มแขง็ ชุมชน องค์กร ธรุ กิจ
ตามศกั ย าพของพืน้ ท่ี แบ่งปัน ชว่ ยเหลอื กนั ถา่ ยทอดภมู ิ
เท่าทนั การเปลย่ี นแปลงทาง ปญั ญา เงนิ ทนุ เทคโนโลยี เพือ่ สรา้ ง
เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม มูลค่าเพิ่ม และอยู่ร่วมกนั อยา่ งยง่ั ยนื

และวฒั น รรม

พอประมาณ 2. ความพอเพยี งระดับชุมชน
มีเหตุผล มี ูมคุ้มกัน  เป้าหมาย : ชุมชนเขม้ แข็ง ไม่เบียดเบียน
กนั แบ่งปนั และใชท้ รพั ยากรร่วมกนั เพ่ือ

ลดต้นทุน เพมิ่ ผลผลิต

ความรู้ คณุ รรม 1. ความพอเพียงระดับครวั เรือน
 เปา้ หมาย : เกษตรกรพอกินตลอดปี

รปู ที่ 2.3 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและทฤษฎีใหม่
การพัฒนาประเทศในแต่ละพื้นท่ีมีความซับซ้อนแตกต่างกันไปตามสภาพภูมิสังคม นับเป็น
พระมหากรุณาธิคุณท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานแนวคิด/ทฤษฎี
เพ่ือเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชน ส่งผลให้ประชาชนในหลายพื้นที่ของประเทศไดน้ า
องคค์ วามรู้ดงั กล่าวไปปรบั ใช้ ในการพัฒนา โดยดาเนินโครงการพฒั นาต่าง ๆ หรือการริเรม่ิ กิจกรรมการ
พัฒนาต่าง ๆ ในแต่ละพื้นท่ี ส่งผลใหพ้ ้นื ท่ีดงั กล่าวมีคุณภาพชวี ิตที่ดขี ึ้น มอี าหารพอกนิ ตลอดปี และบาง
รายสามารถนาผลผลิตทีม่ ีมากกว่าการบรโิ ภคไปจาหน่ายได้เงินกลบั มาเป็นทุนรอนของครอบครวั โดยมี
พระราชดารสั ด้านการรวมกล่มุ ของชุมชนของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ทีค่ ณะ
ท่ปี รึกษาไดร้ วบรวมไว้ดงั น้ี

ตารางท่ี 2.1 พระราชดารัสด้านการรวมกลุม่ ของชมุ ชน

เรื่อง พระราชดารสั ที่มา ประเดน็ สาคัญ

1. การสรา้ งราย ด้ • ผลผลติ มคี ณุ ภาพ
และจานวน
การสรา้ ง “… ผลิตผลในทางเกษตรก็เป็นส่ิงท่ีสาคัญ เราจะต้องผลิตให้มี พระราชดารสั พระราชทานแก่ สมา่ เสมอ
มูลคา่ เพิ่มให้ คุณ าพที่ดีที่สม่าเสมอ และมีจานวนสม่าเสมอ เพราะว่าตลาด กลมุ่ เกษตกรหบุ กระพง อาเภอ
ผลติ ณั ฑ์ ชะอา จงั หวัดเพชรบุรี วันเสารท์ ี่
26 พฤษภาคม 2516

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 16 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพัฒนาพนื้ ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เรอื่ ง พระราชดารสั ท่ีมา ประเดน็ สาคัญ
• ตรงตามความ
โครงสรา้ ง คือการค้าต้องอาศัยความสม่าเสมอของคุณภาพ และปริมาณถงึ
พ้นื ฐานการ ตอ้ งการของตลาด
ผลิต จะจาหน่ายได้สะดวกและไดร้ าคาดี...” • การค้นคว้าวิจยั

กระบวนการ ... หลักการของสถานทีน่ ก้ี ค็ ือจะตอ้ งดูวา่ ผลิตผลผลิตอย่างไรตั้งแต่ พระราชดารัส พระราชทาน แก่ การดดั แปลง
บรหิ าร • การผลติ ดดั แปลง
จัดการ ต้น... มีการค้นคว้าวิจัย ว่าจะดัดแปลงผลิตผลเหล่านั้นอย่าง ร คณะกรรมการสหกรณ์การเกษตร
สหกรณน์ ิคม สหกรณป์ ระมง จาหน่าย บรโิ ภค
สาหรับให้ไปสู่ผู้บริโภค เช่นโคนมก็ให้นมซ่ึงผ่านกรรมวิธีต่างๆ และสมาชกิ ผู้รบั นมสด ณ ใหส้ อดคล้องกัน
เพื่อท่ีจะเป็นนมสาหรับบริโภค นมสาหรับเก็บไว้ได้นานหน่อย โครงการส่วนพระองค์ สวน • สรา้ งมลู ค่าเพิ่มให้
ผลิตภณั ฑ์
หรอื ขา้ วก็มีโรงสีสาหรบั สขี า้ ว แลว้ ก็ส่งไปใหแ้ กส่ มาชกิ ... ซ่งึ ทกุ ส่งิ จิตรลดา วันศุกร์ ที่ 8 พฤษภาคม
ทุกอย่างเก่ียวข้องกับการเกษตรน้ีก็เป็นเช่นเดียวกัน ต้องผลิต 2530 • การตัง้ โรงงานโดย
มีเกษตรกรร่วม
ดัดแปลง จาหน่าย และบริโ ค คือใช้ ถ้าตลอดทางเป็น ปโดยดี เป็นเจา้ ของ

และแตล่ ะคนกไ็ ด้ทาด้วยความซือ่ สตั ย์สุจรติ ดว้ ยความต้งั ใจดี ด้วย • การตั้งสหกรณ์

ความมีหลักวิชาที่ดี ทุกคนก็ได้ประโยชน์ ทุกคนได้รับผลที่ดี ไม่ว่า • การลงทุนท่ี
เหมาะสม โดย
ผู้ผลิต ไม่ว่าผู้ที่ดัดแปลง ไม่ว่าผู้ท่ีบริโภค ได้ประโยชน์ท้ังน้ัน และ ดอกเบ้ยี ทีไ่ ม่ควร
สงู จนเกนิ ไป
ทาให้ส่วนรวมของเรามีความมัน่ คงได้ ...”

“...เมื่อต้ังโรงสี ปลูกข้าวเองบ้าง และไปซื้อข้าวจากเกษตรกรบา้ ง พระราชดารสั พระราชทานแก่

นามาสี และขายในราคาท่ีเหมาะสม เปน็ ในรปู สหกรณ์ ทที่ าท่ีสวน คณะบุคคลต่างๆทีเ่ ขา้ เฝ้าฯ ถวาย
ชยั มงคลเน่ืองในโอกาสวนั เฉลิม
จิตรฯนี้ไม่ได้ใชข้ ้าวท่ีปลกู ในสวนจติ รฯ เพราะว่าข้าวที่ปลกู ในสวน พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ า
จิตรฯ เอาไปเข้าพิธีแรกนาขวัญ ข้าวท่ีโรงสีน้ี เป็นข้าวที่ซ้ือมา ลยั สวนจิตรลดาฯ พระราชวัง

จากเกษตรกรโดยตรง โดยให้ราคาท่ีเหมาะสม เกษตรกรก็มี ดสุ ติ วนั พฤหสั บดีท่ี 4 ธันวาคม
ความสุข เพราะขายข้าวในราคาท่ีเหมาะสม และผู้บริโ คก็ซ้ือ 2540

ด้ในราคาถูก เพราะว่าไม่ต้องมกี ารขนสง่ มากเกนิ ไป ไม่ต้องมคี น

กลางมากเกินไป ตกลงท้งั ผูผ้ ลิตและผูบ้ รโิ ภคกม็ คี วามสุข”

“... วิ ที ี่จะให้ผผู้ ลิตนมโคสามารถจาหน่ายนม ด้ก็มที างเดียวคือ พระราชดารสั พระราชทาน แก่

ต้ังโรงงาน แล้วให้โรงงานนั้นเป็นของผู้ผลิต มิใช่ว่าบริษัทฝร่ัง คณะกรรมการดาเนินงานสร้าง
โรงงานนมผงทีต่ าบลหนองโพ
หรือญ่ีปุ่นมาลงทุนสร้างโรงงานแปรส าพวัตถุดิบให้เป็นสินค้า จังหวัดราชบุรี ณ พระตาหนกั
ต่อ ปน้ัน ความคิดเช่นนี้เป็นความคิดที่เรารับ ม่ ด้ .... แต่ถ้าผ้ทู ่ี จติ รลดารโหฐาน วันศกุ ร์ ท่ี 11

ผลิตวัตถุดิบกับผู้ที่แปรสภาพเป็นเจ้าของเดียวกันจะไม่เกิดปญั หา กันยายน 2513
เพราะว่าทากันเอง แต่การทากันเองนี้มีความลาบากอยู่ที่ต้องมี

วินัยอยู่มาก ต้องมีความเสียสละเพ่ือส่วนรวมของกิจการอย่าง

สาคัญ ถ้าตั้งในรูปสหกรณ์ ด้ก็จะเป็นการดี แต่ถ้าสร้างในรูป

สหกรณ์ ม่ ด้ด้วยเหตุผลใดกต็ าม ก็เห็นควรลม้ เลิกกจิ การ...”

“…คนๆ เดียวจะทากิจการโคนมน้ี จะไม่ได้เพราะว่าต้องมีการ พระราชดารสั พระราชทาน แก่

ลงทุน เมื่อมีการลงทุนแล้วก็หมายถึงว่า จะต้องมีทุนมาลง ทุนน้ัน คณะกรรมการดาเนนิ งานสรา้ ง
โรงงานนมผงที่ตาบลหนองโพ
จะต้องได้มาจากการกู้ แต่ถ้ากู้ในอัตราดอกเบ้ียสูงอย่างท่ีชอบกู้ จังหวดั ราชบรุ ี ณ พระตาหนกั
กนั ลงทา้ ยมคี นเดียวทจี่ ะรวย คือ "เจ้าหนี้"...” จติ รลดารโหฐาน วันศุกร์ ท่ี 11

กันยายน 2513

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 17 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพื้นท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เรือ่ ง พระราชดารสั ที่มา ประเดน็ สาคัญ
(การบรหิ าร • การกาหนด
เงิน “……ระเบียบการที่จะตั้งโรงงานและบริหารโรงงานและกิจการ พระราชดารัส พระราชทาน แก่
กฎระเบยี บ) กฎระเบยี บที่เปน็
ต่างๆ น้ี ก็จะต้องร่างกฎบังคับให้รัดกุมในรูปสหกรณ์ในอนาคต คณะกรรมการดาเนินงานสรา้ ง ท่ยี อมรับและ
กระบวนการ โรงงานนมผงทีต่ าบลหนองโพ ทันสมยั
บริหาร ....ขอให้ทุกคนได้พิจารณา แล้วก็ช่วยกันออกความคิด ... เม่ือ จงั หวดั ราชบุรี ณ พระตาหนกั
จดั การ ถูกต้องก็บรรจุเข้าไปในระเบียบการ ก็คงจะยังมีปัญหาอีกไม่น้อย จิตรลดารโหฐาน วันศกุ ร์ ที่ 11 • การกาหนด
(โครงสร้าง โครงสร้าง
การจัดการ ถ้ามีปัญหาอะไรกม็ าพจิ ารณากนั ...” กันยายน 2513 ผบู้ ริหารและ
องค์กร) บคุ ลากรที่
“... ปัญหาสาคัญท่ีสุดก็มปี ัญหาการบริหารโรงงาน ต้ังแต่การผลติ พระราชดารัส พระราชทาน แก่ เหมาะสม
การกยู้ มื /
เงนิ ทนุ การแปรสภาพ จนกระท่ังการค้าขาย อันน้ีก็จะเป็นปัญหาใหญ่ คณะกรรมการดาเนนิ งานสร้าง • การกาหนด
สหกรณ์ ใครจะเป็นกรรมการ ใครจะเป็นผู้ขาย ปัญหาเหล่าน้ีเราจะต้อง โรงงานนมผงทต่ี าบลหนองโพ โครงสร้างผถู้ ือหนุ้
ขบ ...” จงั หวัดราชบรุ ี ณ พระตาหนกั
จิตรลดารโหฐาน วันศกุ ร์ ท่ี 11 • การกยู้ มื เพ่ือ
ลงทนุ ในกจิ การ
กันยายน 2513 อยา่ งค้มุ คา่ โดย
คานึงถงึ ผลผลตท่ี
“... วิธีท่ีจะให้ผู้ผลิตนมโคสามารถจาหน่ายนมได้ก็มีทางเดียวคือ พระราชดารัส พระราชทาน แก่ มีคุณค่า

ตั้งโรงงาน แล้วให้โรงงานน้ันเป็นของผู้ผลิต มิใช่ว่าบริษัทฝร่ังหรอื คณะกรรมการดาเนนิ งานสรา้ ง • การกาหนด
โรงงานนมผงที่ตาบลหนองโพ นโยบายเงินทนุ /
ญ่ีปุ่นมาลงทุนสร้างโรงงานแปรสภาพวัตถุดิบให้เป็นสินค้าต่อไป จงั หวดั ราชบุรี ณ พระตาหนกั กยู้ ืม
น้ัน ความคิดเช่นนี้เป็นความคิดท่ีเรารับไม่ได้ .... แต่ถ้าผู้ท่ีผลิต จติ รลดารโหฐาน วันศุกร์ ที่ 11

วัตถุดิบกับผู้ท่ีแปรส าพเป็นเจ้าของเดียวกันจะ ม่เกิดปัญหา กันยายน 2513
เพราะวา่ ทากนั เอง ...”

“ถ้าทางานดี ก็จะทาใหส้ ามารถได้รบั เงนิ กสู้ ินเชอ่ื อันนเ้ี ป็นสิ่งหนง่ึ พระราชดารัสในโอกาสที่ผ้นู า

ท่ีทราบว่าชาวสหกรณ์ทุกคนหรือเกือบทุกคนเข้าใจว่า การต้ัง สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคม
และสหกรณ์ประมงทั่วประเทศ
สหกรณ์นั้นมีความดีอยู่เป็นสาคัญอยู่ท่ีว่าไปกู้เงินเขาได้ ไปกู้จาก เฝา้ ทลู ละอองธลุ ีพระบาท ณ
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ข้อนี้ก็เป็นของดีส่วนหนึ่ง อีก ศาลาดสุ ดิ าลัย วันพธุ ที่ 14

ส่วนหน่งึ อาจเปน็ อนั ตรายได้ ว่าการ ปกู้ยมื เงนิ ในรปู ใดๆ มเี สีย ด้ พฤษภาคม 2523
มีอันตราย ด้ เพราะว่าแต่ละคนด้วยกาลังของตนอาจจะมีไม่พอ

สาหรบั กจิ การทจ่ี ะใหม้ คี วามกา้ วหนา้ โดยเร็ว แต่วา่ ถา้ ไม่คดิ ดีๆ ไป

กู้ยืมเพราะคดิ วา่ เป็นสหกรณไ์ ปกยู้ ืมเขาได้ ก็กู้ยืมมาลงทนุ ในสิ่งท่ี

ม่คุม้ ค่า หรือ เอาทนุ คืนเขา ม่ ด้ อนั นี้เสยี หายมาก”

“การที่ไปกู้ยมื เขา ถ้าเอาเงินมาใช้ในทางที่ถูกสร้างสรรค์กิจการให้ พระราชดารัสในโอกาสทผ่ี นู้ า

มีกาไรได้ ให้มีความก้าวหนา้ ได้ ก็ควรทาได้ โดยเฉพาะไปกู้ยมื จาก สหกรณก์ ารเกษตร สหกรณน์ คิ ม
และสหกรณ์ประมงทั่วประเทศ
ธนาคารซ่ึงต้ังข้ึนมาโดยเฉพาะสาหรับเกษตรและสหกรณ์ อันนี้ก็ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ
นับว่าปลอดภัย ... ฉะน้ัน การที่จะไปกู้ยืมในฐานะบุคคลก็ตาม ศาลาดสุ ิดาลัย วนั พธุ ท่ี 14

หรือในฐานะสหกรณ์ก็ตาม จะต้องคิดให้ดีว่าการกู้มือน้ันมีเหตุผล พฤษภาคม 2523
หรือไม่ การกู้ยืมแล้วก็มาทาให้ผลิตผลของเรามีคุณสมบัติ หรือมี

ราคาสูงขึ้นก็ถูกต้อง ... ฉะน้ัน ก็ขอสนับสนุนเรื่องการลงทุนด้วย

การ ปกแู้ ล้วมาลงทนุ เพ่อื ท่จี ะทาให้ผลติ ผลของเรามคี ณุ ค่ามาก

ขึ้น”

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 18 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพนื้ ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เรือ่ ง พระราชดารสั ท่มี า ประเด็นสาคญั
บคุ ลากร “การจดั ตั้งกลุ่มสหกรณ์นัน้ ตอ้ งกาหนดนโยบายใหด้ ีแต่ตน้ ม่ใช่
เพียงแตเ่ ปน็ แหลง่ เงินกู้ และตอ่ มาประลบปัญหาหนีส้ ูญ ในท่สี ุด พระราชดารัส พระราชทานแก่ • สมาชิกสหกรณ์
กจิ การก็ล้มเหลว ปโดยปรยิ าย ทั้งนี้ นา่ จะดตู วั อย่างจากสหกรณ์ ศูนยร์ วมนม สถานบี ารุงสตั ว์ ตอ้ งมีความ
ที่ประสบความสาเรจ็ เชน่ สหกรณโ์ คนมหนองโพ จังหวดั ราชบรุ ี” สกลนคร บา้ นหนองยาง จ. สามัคคีและมีวินยั
สกลนคร วันที่ 19 พฤศจกิ ายน
“…สมาชิกแต่ละสหกรณ์ จะต้องเพาะความสามัคคีกัน ความ 2532 • การดดั แปลง
เข้าใจอันดซี ่งึ กนั และกัน ... แตล่ ะคนตอ้ งมีวนิ ยั จริง ...” พระราชดารัส พระราชทานแก่ ผลิตผลเพอ่ื สร้าง
สหกรณก์ ารเกษตร สหกรณ์นิคม มลู คา่ และ
2. การสง่ เสริมสมาชกิ และสหกรณ์การประมง ทว่ั จาหน่ายเพอื่ เป็น
การเป็น “…นอกจากในด้านเกษตรกรหรือในด้านเกษตรโดยตรง ก็ยังต้อง ราชอาณาจกั ร ณ ศาลาดุสดิ าลยั รายได้
แหล่งขาย อาศัยทางอุตสาหกรรมและทางธุรกิจ เพ่ือที่จะให้ชีวิตนั้นมี วันจนั ทร์ที่ 7 พฤษภาคม 2522
วตั ถุดิบ ประโยชน์และทากิจการงานให้เป็นรายได้ที่เต็มเปี่ยม ผลิตผล • การเสรมิ สรา้ ง
พระราชดารัสในโอกาสทีผ่ ้แู ทน ความรคู้ วาม
ต่างๆ นั้นย่อมต้องมาดัดแปลงเปล่ียนแปลง แม้แต่ข้าวก็จะต้อง กรรมการสหกรณก์ ารเกษตร เขา้ ใจเกี่ยวกับการ
มาสีให้บริโ ค ด้ หรือต้องมาให้นัก ุรกิจดาเนินการเพ่ือที่จะ สหกรณ์นิคม สหกรณป์ ระมง ยวุ สหกรณ์
จาหน่ายออก ปให้เปน็ ราย ด้...” เกษตรกร และสมาชกิ ผู้รบั นมสด
เฝา้ ทลู ละอองธุลีพระบาท ณ • การเสริมสรา้ ง
การให้ “...ตั้งศูนย์การอบรมการสหกรณ์แก่เจ้าหน้าที่ ตลอดถึง โครงการสว่ นพระองค์ สวน ความรู้/การดูแล
ความรู้ ประชาชนตอ่ ปด้วย ...” จติ รลดาวันพุธ ที่ 11 พฤษภาคม สมาชกิ ในวิชาการ
เกษตรกร 2531 ผลติ ความเป็นอยู่
“…อาชีพในด้านการเกษตรทุกทุกอยา่ งตอ้ งอาศัยปัจจัยหลายด้าน พระราชดารัส ในพธิ ีเปดิ ประชมุ และการจาหน่าย
...ความรู้ในวิชาการผลิตและความรู้ในการเป็นอยู่ ท้ังความรู้ใน รัฐสภาสมัยประชมุ สามญั ณ พระ
ด้านจาหนา่ ย ลว้ นเป็นความรทู้ ี่จะตอ้ งประสานกนั หมด... ” ทนี่ ั่งอนนั ตสมาคม วันจันทรท์ ี่ 25 • คุณสมบัตกิ าร
มถิ นุ ายน 2500 ทางานร่วมกัน
“...ในคาว่าสหกรณ์น้ีก็ชี้แจงอยู่แล้วว่าเรามีหน้าที่อะไร แต่ว่าให้ พระราชดารัส พระราชทานแก่ และการใช้ความรู้
ลึกซึ้งเข้าไปต้องนึกถึงว่าทางานร่วมกันนั้นต้องทาอะ รบ้าง มี สหกรณก์ ารเกษตร สหกรณน์ คิ ม ความสามารถใน
คุณสมบัติอะ รบ้างคุณสมบัติสาคัญก็คือความเผ่ือแผ่ให้แก่กัน และสหกรณ์การประมง ทว่ั การเผอ่ื แผแ่ ละ
ซ่ึงกเ็ รยี กกันว่าสามคั คี อีกอยา่ งหนึ่งก็คอื ใชค้ วามรู้ความสามารถ ราชอาณาจกั ร ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั ชว่ ยเหลอื กัน
นั้นมาเผ่ือแผ่มาชว่ ยกนั ทาคนเดียวยาก แต่ถ้าร่วมกันทา งานนัน้ วันจันทรท์ ี่ 7 พฤษภาคม 2522
จะง่ายขึ้นและมีผลที่ม่ันคงย่ิงขึ้น แต่ในการทางานร่วมกัน ต้องมี พระราชดารัสพระราชทานแก่ • สมาชิกตอ้ งใช้
คณุ สมบัตอิ ีกอย่างหนึ่งทส่ี าคญั จะตอ้ งมคี วามสุจรติ ...” คณะสมาชกิ สหกรณผ์ เู้ ล้ียงโคนม ความรหู้ รอื
“...สมาชิกทกุ คนจะต้องเรยี นร้วู ิชาการให้ใช้วทิ ยาการตา่ งๆนี้ให้ กรรมการสหกรณก์ ารเกษตร
ถูกต้อง ถ้าใช้ มถ่ ูกตอ้ งกเ็ กิดผลเสยี หาย ด้ คอื วิชาการทง้ั ในด้าน สหกรณ์นคิ ม และสหกรณก์ าร
กลไกต่างๆ และวิชาการ แม้จะในด้านการต้ังสหกรณ์หรือในด้าน ประมงทั่วราชอาณาจกั ร ณ ศาลา
การค้า...” ดุสดิ าลัย วันศกุ ร์ที่ 9 พฤษภาคม
2529

พระราชดารสั พระราชทานแก่
คณะสมาชกิ สหกรณผ์ ้เู ล้ียงโคนม
กรรมการสหกรณก์ ารเกษตร
สหกรณ์นิคม และสหกรณก์ าร

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 19 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพื้นทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เร่ือง พระราชดารัส ทม่ี า ประเดน็ สาคัญ

ประมงทั่วราชอาณาจกั ร ณ ศาลา วทิ ยาการต่าง ๆ
ดสุ ิดาลัย วนั ศุกรท์ ี่ 9 พฤษภาคม อย่างถกู ต้อง
2529

การอบรม “...ในประเทศไทย เราดาเนนิ งานมาเป็นเวลานานแลว้ ในเรอื่ งท่ีจะ พระราชดารสั พระทานแก่ • การจดั ทาบญั ชี
การทาบัญชี ให้ชาวบ้านได้อยู่ดีกินดี จนกระท่ังเป็นประเพณีของชาวบ้านของ ผเู้ ขา้ ร่วมสมั มนาเรือ่ งการ ครวั เรือนที่ใชง้ า่ ย
ครัวเรือน คนไทยท่ีจะ ม่ต้องทาบัญชีมากเกิน ป อาจจะหาว่าเลอะเทอะ ประยกุ ตเ์ ทคโนโลยกี ารถา่ ยทา ไมม่ ากเกินไป
หาว่าไม่เป็นเร่ืองเป็นราว เพราะว่าเมืองไทยนี้ออกจะตามสบาย ภาพถา่ ยทางอากาศและ
การกยู้ ืม/ เกินไป ตามสบายน้ีอาจจะดีเหมือนกัน ไปแสดงบัญชียาก แต่ว่า ดาวเทียมในการวางแผนการใช้ • ความเขา้ ใจในการ
เงินทุนดา้ น ตามสบายมันดี เพราะมันสบาย...” ที่ดินลุม่ น้าทางเหนือของประเทศ จดั ทาบญั ชี
พนั พ์ุ ืชและ ไทย ณ โรงแรมรนิ คา จงั หวดั ครวั เรอื น
ยา “...เมื่อผลิตอะ รแล้วก็จาหน่าย ปก็มีราย ด้ ก็ต้องทาบัญชี เชยี งใหม่ วันจันทรท์ ี่ 7 มกราคม
ชาวบ้านทาบัญชีบางทีไม่ค่อยถูก ทางราชการทาบัญชีก็ถูกต้อง 2523 • การจัดทาบญั ชี
เกินไป ..” พระราชดารสั ในโอกาสที่ประธาน ของสหกรณ์
คณะกรรมการพเิ ศษเพอื่
“ให้ดาเนินการจัดตั้งศูนย์รับซ้ือยาง ทั้งยางแผ่นและน้ายาง ประสานงานโครงการอนั • การหาเงินกทู้ ี่มี
(Latex โดยการรวบรวมราษฎร 20 – 30 ครอบครัว เหมือนกับ เนื่องมาจากพระราชดาริ นา อัตราดอกเบย้ี ตา่
สหกรณ์หมู่บ้าน และให้ตั้งอยู่ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง ผู้เข้าร่วมสัมมนาและบคุ คลต่างๆ ให้สมาชิก
เม่อื โรงผลติ ยางเสรจ็ แลว้ ก็ใหท้ าผลิตภัณฑ์จากนา้ ยางต่อไป...”“... ท่ีเกยี่ วขอ้ งเฝา้ ฯ เพื่อรบั
เม่ือดาเนินการแล้วเสร็จ จะทาบันทึกว่าเราลงทุนเท่า ร ค่า พระราชทานพระบรมราโชบาย
เครื่องมือเท่า ร เวลาทาแล้วขาย ด้เงินเท่า ร่ เงินท่ี ด้มาก็ต้อง เก่ยี วกบั การดาเนินงานในชว่ ง
ทาบัญชี บัญชีเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์ฯ ตามธรรมดาศูนยฯ์ ต้องมี ตอ่ ไป ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ศกุ รท์ ่ี
รายได้ส่งเข้าคลัง แต่ท่ีนี่เป็นการทาบัญชีเป็นส่วนหนึ่งของ 26 สิงหาคม 2531
การศึกษา จะต้องต้ังทุนข้ึนมา เม่ือสามารถเก็บเองไว้ได้ และ พระราชดารสั พระราชทานแก่
จะต้องทาเหมือนชาวบ้าน ชาวบ้านก็ต้องทาบัญชี ศูนย์ฯ น้ีต้อง บ้านโคกกแู ว จงั หวัดนราธิวาส
เปน็ ตวั อยา่ งของการทาบัญชี ผลติ ณั ฑ์ยางก็ตอ้ งทาบญั ชี” วันที่ 26 กนั ยายน 2531
“... ถ้ามีกิจการใดที่จะต้องหาเงินทุนมาลงทุน เช่น หาพันธ์ุพืชท่ีดี
มาลงทุนเสียก่อน ก็สามารถที่จะหาทุนมาให้กู้ให้ยืมในอัตรา พระราชดารัสในโอกาสท่ีอธบิ ดี
ดอกเบี้ยท่ีต่า ท่ีดี ดีกว่าที่จะให้แต่ละคนในกลุ่มหรือในหมู่บ้าน กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ นาประธาน
ปหาทุนมาในดอกเบย้ี สูงและ มแ่ นน่ อนว่าจะ ดผ้ ลดีหรือ ม่ ...” สหกรณ์การเกษตรและสหกรณ์
นคิ มท่ัวประเทศ
เฝ้าทูลละอองธลุ พี ระบาท ณ

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 20 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพน้ื ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เรือ่ ง พระราชดารสั ทีม่ า ประเด็นสาคัญ

3. การดแู ลความเป็นอยูข่ องสมาชกิ ศาลาดสุ ดิ าลัย วันพฤหสั บดีท่ี 12 • การมสี วสั ดิการ
รา้ นค้า “...ท่ีหุบกระพงนี่เป็นเวลาหลายปีท่ีมีผู้เพ่ิมเข้าในกลุ่มลุกข้ึนในท่ี พฤษภาคม 2520 ดแู ลความเป็นอยู่
สวัสดิการ ประชุมบอกว่าผมขอเงิน ก็เลยถามว่าจะเอาเงินไปทาอะไร ก็บอก สมาชิก
พระบรมราโชวาท พระราชทาน
ว่าผมหิวผมไม่มีกิน ก็บอกว่าไม่มีกินก็ทางานซี เขาบอกว่าเขาทา แก่คณะกรรมการสมาคม • หัตถกรรมสรา้ ง
แต่ว่าผักทเี่ ขาปลูกมันยังเล็กยงั ขายไม่ได้ เพราะเขาเพมิ่ รบั มาทา ก็ เศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศ รายไดพ้ เิ ศษ
ขาดข้าว กไ็ มม่ ีอะไรทาน ก็เลยเข้าใจเหตผุ ลที่เขาขอเงิน และอยาก ไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ
ทราบวา่ เขาเข้าใจจริงหรือไม่ ก็เลยถามวา่ ถ้าใหข้ า้ วจะเอาไหม เขา พระตาหนักจติ รลดารโหฐาน วนั • การประกอบ
บอกว่าเขาชอบก็เลยบอกว่าจะให้เงินแก่กลุ่มเป็นส่วนรวม และ องั คารท่ี 17 มิถนุ ายน 2518 อาชีพเสรมิ นอก
ให้กลุ่ม ปซ้ือข้าวโดยใช้วิ ีเช่ือก่อน มาเอาข้าว ปแล้วจดเอา ว้ ฤดูทานา
เม่ือมีราย ด้มาก็ใช้คืน เท่ากับเป็นธนาคารแห่งหนึ่ง เป็น พระบรมราโชวาท พระราชทาน
สวสั ดกิ าร วิ นี พี้ ิสจู น์วา่ ดผ้ ล ...” แก่คณะกรรมการสมาคม • ความเข้าใจซึ่งกนั
“...สหกรณ์ก็ต้องสะสมเงินทุนและก็ทาเหมือนว่าสหกรณ์นั้นเป็น เศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศ และกนั /ความเหน็
นายทุน เม่ือมีกา รแล้วก็มาแบ่งตามส่วน ด้ อันนี้ก็จะเกิด ไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ ณ อกเห็นใจกัน
ส วั ส ดิ ก า ร ด้ ว ย เ พ ร า ะ ว่ า ค น ท่ี ท า น้ อ ย ก็ มี สิ ท ธิ ใ น ส วั ส ดิ ก า ร พระตาหนกั จิตรลดารโหฐาน วัน
เหมอื นกัน ...” อังคารที่ 17 มิถุนายน 2518
พระราชดารัส พระราชทานแก่
การอบรม “ให้จัดตัง้ ข้ึนเพือ่ ใชเ้ ปน็ สถานท่ีฝกึ อาชีพราษฎร ซึง่ ประกอบด้วย ศนู ย์สง่ เสรมิ ศลิ ปาชีพบ้านจาร ใน
อาชพี เสรมิ ช่างเฟอร์นิเจอร์ ช่างตีเหล็ก ทอผ้า ดอกไม้ประดิษฐ์ เลี้ยงสัตว์ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกติ ์ พระ
ปลูกหม่อน เล้ียงไหม ปลูกป่าสมุนไพร ทาอิฐบล็อค ฯลฯ เพ่ือจา บรมรมชนิ ีนาถ ตาบลบา้ นม่วง
การสง่ เสรมิ น่ายเป็นราย ด้พิเศษ กับจะ ด้เป็นตัวอย่างแก่ราษฎรหมู่บ้าน อาเภอบา้ นม่วง จังหวัดสกลนคร
คุณ รรม/ ใกลเ้ คียง” วันท่ี 18 พฤศจกิ ายน 2533
จริย รรม พระราชดารัส พระราชทานแก่
“... โครงการท่ีจะให้มีงานทานอกฤดูการทานา หรือแม่จะอยู่ใน คณะบคุ คลท่ีเข้าเฝา้ ฯ ถวายพระ
ฤดูกาลทานา แต่เกิดมีภัยธรรมชาติ เช่นน้าท่วม หรือ น้าแห้ง พรชยั มงคล เนอื่ งในโอกาสวัน
เกิดข้ึน ปีนั้นเก็บเกย่ี วข้าว ม่ ด้ เขาก็จะ ปทาอาชีพอื่นก็ ด้ เช่น เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุ
ทอผ้า หรือ ทาหัตถกรรมอื่นๆ ไปรับจ้าง เร่ืองทอผ้านี้ก็เป็นเรอื่ ง สดิ าลัย วันพฤหสั บดที ่ี 4
ของแผนกศิลปาชพี ซึ่งเป็นแผนกที่เวลาไปเยยี่ มราษฎร เป็นแผนก ธนั วาคม 2523
สาคัญ ...”
“... สมาชิกแต่ละคนมีความสาคัญ ถ้าสมาชิกทาตนไม่ตรงตาม พระราชดารสั ในโอกาสที่อธบิ ดี
จุดประสงคข์ องสหกรณ์ ก็เท่ากับทรยศตัวเอง ก็ไม่คุม้ ฉะนนั้ ขอย้า กรมปศุสัตว์ นาผแู้ ทนเกษตรกรผู้
วา่ ความซอ่ื สตั ยส์ ุจริตต่อกนั และตอ่ ตัวเองเป็นสง่ิ สาคญั และเป็น เลี้ยงโคนมและผแู้ ทนสมาชิก
หวั ใจของการอย่เู ปน็ สหกรณ์ ...” สถานีผสมเทยี ม เขา้ ทูลละอองธุลี
พระบาท ณ ปะราพธิ บี รเิ วณ
โครงการเกษตรสวนจติ รลดา วนั

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 21 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพนื้ ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เร่ือง พระราชดารสั ทีม่ า ประเด็นสาคัญ
• ความซอ่ื สัตย์
การกู้ยมื / “... ฉะนั้น การตั้งเป็นสหกรณ์นี้ และเข้าใจกันดี เก้ือหนุนซ่ึงกัน พฤหสั บดี ที่ 12 พฤษภาคม
เงินทนุ เพอื่ และกันในกลุ่มสหกรณ์ เป็นการดีมากและทาความเจริญ ส่ิงที่ 2520 สุจรติ ตอ่ กนั และ
การศึกษา/ สาคัญในการดารงความเป็นบึกแผ่นของสหกรณ์และกิจการ พระราชดารสั ในโอกาสท่ีอธบิ ดี ตอ่ ตัวเอง
อ่นื ๆ สหกรณ์ในประเทศ ทยนี้ ก็คือความเข้าใจซึ่งกันและกัน กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ นาประธาน • ความ
ความเหน็ อกเห็นใจ ความ ... ทเ่ี รียกว่าความซีอ่ สัตย์สจุ ริตต่อกัน สหกรณ์การเกษตรและสหกรณ์ ขยนั หมนั่ เพียร
คือ ไม่ใช่ว่าซื่อสัตย์สุจริตในการปฏิบัติแต่ละคน แต่ว่าซ่ือสัตย์ นคิ มท่ัวประเทศ • ความสามคั คี
สุจริตต่อกนั ...” เฝา้ ทลู ละอองธุลีพระบาทณ
“... ฉะนั้น ความขยันหมน่ั เพียรกเ็ ปน็ ศนู ยก์ ลางอยา่ งหนึ่ง เรยี กว่า ศาลาดุสิดาลยั วันพฤหัสบดีที่ 12 • การมเี งินทนุ
เป็นกุญแจอย่างหน่งึ ของความสาเร็จของสหกรณ์ ...ผู้ท่ีจะอย่ไู ด้ พฤษภาคม 2520 ช่วยเหลอื สมาชิก
เป็นกลุม่ เปน็ ก้อนก็ตอ้ งสามคั คี สามัคคกี แ็ ปลว่าพรอ้ มเพรยี ง ถา้ ม่
พร้อมเพรียงกัน กิจการก็ ม่ก้าวหน้า คือ กิจการไม่เป็นไปตามท่ี พระราชดารสั พระราชทานแก่
เราต้องการ แล้วถ้ากิจการไม่เป็นไปตามท่ีเราต้องการ กิจการล้ม คณะผนู้ าสหกรณ์การเกษตรและ
เราเป็นส่วนหน่ึงของกิจการ เราก็ล้มเหมือนกัน ฉะน้ัน คาว่า สหกรณ์นคิ ม ณ ศาลาดุสิดาลัย
สามัคคีคือความพร้อมเพรียง เป็นส่ิงสาคัญในการดาเนิน วนั พฤหสั บดที ี่ 11พฤษภาคม
สหกรณ์” 2521
“...ผู้ท่ี ม่สบายเดอื ดรอ้ น อาจให้เงินสง่ เสริมเปน็ สวสั ดกิ าร ใหไ้ ป
เลยก็ได้ หรือให้มาติดต่อทางโรงพยาบาลให้แพทย์เคลอ่ื นท่ไี ปชว่ ย พระบรมราโชวาท พระราชทาน
...” แกค่ ณะกรรมการสมาคม
เศรษฐศาสตร์เกษตรแหง่ ประเทศ
ไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ ณ
พระตาหนักจติ รลดารโหฐาน วัน
อังคารที่ 17 มิถนุ ายน 2518

2.1.2 โมเดลการปฏิบตั ิ (Practical Model) การพัฒนาทยี่ งั่ ยืนตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานพระราชดาริ“ทฤษฎีใหม่” เพื่อเป็น

แนวทางการดาเนนิ งานผา่ นมูลนิธิชัยพัฒนารวม 3 ขนั้ ตอน เริม่ จาก ข้นั ที่ 1 เมือ่ วนั ที่ 15 มีนาคม 2537
เปน็ การบริหารจัดการทรัพยากรดินและนา้ และจดั การผลติ ด้านการเกษตรภายในครวั เรือน อนั เป็นการ
ผลิตเพื่อพออยู่พอกินและพ่ึงตนเอง ส่วนข้ันที่ 2 เมื่อวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2538 เป็นการรวมพลังกัน
ภายในชุมชนในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์เพ่ือร่วมแรงดาเนินงานในเรื่องตา่ ง ๆ ทั้งในด้านการผลิต การตลาด
ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา และขั้นที่ 3 เม่ือวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2538 เป็น
การเชือ่ มโยงติดต่อประสานกับชุมชนภายนอก เช่น ธนาคาร บริษทั หา้ งรา้ นเอกชน เพื่อจดั หาแหล่งทุน
หรือแหล่งเงินมาช่วยในการลงทุนพัฒนาในด้านต่าง ๆ และพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน
ใหด้ ขี ้นึ สามารถพ่งึ พาตนเอง

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 22 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้นื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ทฤษฎีใหม่

ขัน้ ท่ี 1: ครัวเรอื นพึ่งตนเอง ขน้ั ท่ี 2: รวมกลุ่ม สหกรณ์ ข้นั ท่ี 3: ออกสู่ ายนอก
บริหารจดั การทด่ี ินและน้า เพ่อื การผลิต การตลาด และดแู ล เชอ่ื มโยงเครือขา่ ย ายนอก
ความเป็นอย่ขู องสมาชกิ ชมุ ชน ด้านอาชพี ทนุ การตลาด การผลิต
ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ สร้าง มู คิ ุ้มกันก่อนออกสู่ ายนอก และรกั ษาทุนทางสังคมใหย้ งั่ ยนื
พอกนิ ตลอดป
รปู ที่ 2.4 ทฤษฎีใหม่

มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ได้พัฒนาแนวทางปฏิบัติในการใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ เพ่ือการ
พัฒนาอย่างเป็นลาดับข้ันตามแนวพระราชดาริ (Framework for Practical Application) โดยนา
หลักการ/ทฤษฎีสาคัญ มาปรับใช้ในแต่ละขั้นตอนของงานพัฒนา ตั้งแต่ในระดับครัวเรือน ระดับชุมชน
และในระดับพ้ืนท่ี/ภูมิภาค โดยจัดทาออกมาในรูปแบบโมเดลการปฏิบัติ (Practical Model) การ
พฒั นาท่ียั่งยืนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ในงานวิจัยระยะที่ 3 ในโครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนทฤษฎีใหม่เพ่ือการพัฒนาพื้นที่
ในข้นั ท่ี 2 ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถปรับปรุงโมเดลการปฏิบัติ (Practical Model) ให้
มคี วามครอบคลุมและชดั เจนยิง่ ข้นึ ดังน้ี

ครวั เรอื นพ่งึ ตนเอง ชุมชนรวมกลุ่มพ่งึ ตนเอง ด้ ชุมชนออกสู่ ายนอก ความยัง่ ยนื
ของคนสว่ น
ครัวเรือนพงึ่ พาตนเองได้ มีผลผลติ พอกนิ ตลอดปี พัฒนาครวั เรอื นเขม้ แข็งส่กู ารรวมกล่มุ เพอื่ กลมุ่ ท่ีเขม้ แขง็ เช่ือมโยงกับภายนอก
มรี ายไดเ้ พม่ิ ข้นึ รายจ่ายและหนี้สนิ ลดลง สรา้ งความม่นั คงทางเศรษฐกิจ สงั คมและ เพอื่ นาองค์ความรใู้ หม่ เทคโนโลยใี หม่ ใหญ่ใน
สิ่งแวดลอ้ มในชุมชน ในรปู แบบต่างๆ เงินทุนมาตอ่ ยอดการพฒั นาให้ย่งั ยืน ประเทศ
หนสว่ ยร้างงาทนกั ใษหะ้ตกรางรจทดุ าสงาาคนัญรว่/ตมอ่กเับนอ่ื ง นโยบาย/
ปรMะเiมnนิdeSdusFtaarinmaebrle- กรสะมตาุ้นชกกิ าในรมขีส้นั ่วตนอรน่วหมลขักอง ใชปอ้ รงคับค์ปวรางุ มกรลเูุ้่มพื่อ แผนการพฒั นา
1. สร้างมลู คา่ 2. เชื่อมโยงกับ ประเทศ
3. บรหิ ารจัดการทด่ี ินขนาดเลก็ ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ . ส่งเสริม 2. พัฒนาการผลติ ให้ เพิม่ ของสินคา้ หนว่ ยงานทนี่ า่ เช่ือถอื งบประมาณ
การเกษตร สอดคล้องกบั ความ สนบั สนุน
ปรบั การจัดสรร พฒั นาการผลติ ให้ ทาบัญชี สมาชิก ตอ้ งการของตลาด และเช่ียวชาญจรงิ
ท่ดี ินเพอ่ื การ สอดคลอ้ งกับความ ครวั เรือน สหกรณ์ เครือข่ายสหกรณก์ ้าวหน้า
เพาะปลูก/เล้ยี ง ตอ้ งการบริโภคและ และหาทาง
สตั วใ์ หมใ่ ห้ ความตอ้ งการของ ลดรายจา่ ยท่ี วสิ าหกจิ ชุมชน
เหมาะสมเสมอ ตลาดในชมุ ชน สูงเกินไป

ทบทวนผลการผลติ สม่าเสมอ

ตอกยา้ ทฤษฎีใหม่ แสลอะนวแิเคลระาตะิดหต์บาญัมกชาีครรบัวนัเรทือึกน พกฒั านราจโัดมกเาดรลกธลรุ มุ่กใิจหแท้ ลนัะสระมบยั บ กาเพรผ่มิ ลปิตรแะลสะทิ กธาิภราขพาย

2. ทากจิ กรรมเกษตรพออยู่พอกนิ 1. รวมกลุ่มขัน้ ต้นเพือ่ ดูแลสมาชกิ การบูรณาการความช่วยเหลือ
กลุ่มอ(ราวชมพี ข/ายกผลลุม่ ผกลาิตร)ตลาด การขยายตลาด
ทักษะ/ ทรัพยากรท่ีมี /วสั ดุ การสรา้ ง
แรงงานใน อปุ กรณ์ท่ีงา่ ย ประหยัด รายไดน้ อก กองทนุ กลุ่ม(โโครรงงสสี โรรา้ งงอกดั าปรผุยลเมติ ด็ ช)ุมชน การวจิ ัยและพฒั นาผลติ ัณฑใ์ หม่
ครวั เรอื น ภาคเกษตร (รวกมลซุ่มอ้ื ปเมัจลจ็ดัยพกาันรธผุ์ ปลยุิตอชินุมชทนรยี ์ ) การบรหิ ารจัดการกล่มุ
ถกู หลักวิชา (ท่ดี ิน (หัตถกรรม/
เงินทนุ เมล็ดพันธุ์ ปยุ ) แปรรปู ) ตพรรวอ้ จมสขออบงคกวลาุม่ ม แลสะรจ้างดั คสวรารมปเรขะ้าโใยจชในนสใ์ หิทเ้ธปิห็นนธา้ รทร่ีม

เกษตรครวั เรือนพ่ึงพาธรรมชาติ
/เกษตรผสมผสาน

สกรา้ารงจอดั าสสรารสปมรัคะรโยแชลนะ์ ใ/หเค้กวษาตมรรผ้ทู สฤมษผฎสีใาหนม่ ออบาชรีพม

1. บริหารจัดการนา้ และป่าให้ ดป้ ระโยชน์ตลอดป

ระบบบรหิ ารจดั การนา้ ประปโ่ายช3นอ์ 4ยา่ องย่าง หนว่ ยงาน าครัฐ เอกชน สถาบนั การเงนิ /
สถาบนั การศึกษา องคก์ ร ม่แสวงหากา ร แหลง่ ทุน
แหล่งนา้ ธรรมชาติ ปา่ ไมธ้ รรมชาติ

สานักงานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 23 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพื้นทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รูปที่ 2.5 โมเดลการปฏบิ ัติ (Practical Model) ฉบับปรับปรงุ ใหม่

โมเดลปฏิบัติ (Practical Framework) ของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ (ปรับปรุงใหม่)
เปน็ แนวปฏบิ ัติในการพฒั นาครัวเรอื นและชุมชนไปส่คู วามยั่งยืนอยา่ งเปน็ ลาดับขน้ั ตอน ดงั น้ี

ระดับท่ี 1 ครัวเรอื นพ่ึงตนเอง
 เป้าหมาย
o ครัวเรือนพ่ึงพาตนเองได้ มีผลผลิตพอกินตลอดปี มีรายได้เพิ่มขึ้น รายจ่าย
และหน้ีสินลดลง
 แนวปฏบิ ตั สิ าหรับครวั เรือน โดยเนน้ การผลิตเพอ่ื พ่ึงตนเอง
1. บริหารจัดการน้าและป่าให้ ด้ประโยชน์ตลอดป: ครัวเรือนร่วมพัฒนา
แหล่งน้าและป่าไม้ให้ใช้ประโยชน์ได้ตลอดปี เช่น ปรับปรุงฝาย อ่างเก็บน้า
และระบบสง่ นา้ รวมท้ังสรา้ งสระนา้ ในแปลงเกษตรของครัวเรือน
2. ทากิจกรรมเกษตรพออยู่พอกิน: ครัวเรือนทาการผลิตอย่างเหมาะสมกับ
ทักษะ จานวนแรงงานและทรัพยากรท่ีมี เช่น ท่ีดนิ แหล่งน้า และเงนิ ทุนท่ีมี
เริ่มจากการมีผลผลิตพอกินก่อน ทาเกษตรผสมผสานเพื่อให้เกิดผลผลิต
สลับกนั ตลอดปี
3. บรหิ ารจดั การท่ดี ินขนาดเล็กให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด : ครัวเรอื นทบทวนผล
การผลิตสม่าเสมอ เพื่อปรับวิธีจัดสรรที่ดินเพื่อการเพาะปลูก/เล้ียงสัตว์ใหม่
ให้เหมาะสม ตลอดจนพัฒนาการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการบริโภค
และความต้องการของตลาดในชุมชนที่ไม่ตอ้ งเสียค่าขนส่งไปไกล นอกจากนี้
ควรทาบัญชีครวั เรือนและหาทางลดรายจ่ายทสี่ งู เกนิ ไป

ระดบั ที่ 2 ชุมชนรวมกลุ่มพ่ึงตนเอง ด้
 เป้าหมาย
o พัฒนาครัวเรือนเข้มแข็งสู่การรวมกลุ่มเพ่ือสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
สังคมและสิ่งแวดล้อมในชุมชน ในรูปแบบต่างๆ อาทิ กลุ่มอาชีพ วิสาหกิจ
ชุมชน และสหกรณ์
 แนวปฏบิ ัตสิ าหรบั กลุ่ม
1. รวมกลุ่มและดูแลความเป็นอยู่สมาชิก: สมาชิกในชุมชนร่วมกันวิเคราะห์
หาแนวทางและกิจกรรมท่ีสาคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาชุมชน ทั้งในด้าน

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 24 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพืน้ ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

อาชีพ สังคมและสิ่งแวดล้อม จนมีการรวมกลุ่มกันสร้างพลังในการ
ขบั เคลอื่ น
2. พัฒนาการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด: ผู้บริหารและ
สมาชิกกลุ่มศึกษาว่าตลาดต้องการผลผลิตทางการเกษตรประเภทใด
คุณภาพระดับใด ปริมาณเท่าใด และนาข้อมูลดังกล่าวมาปรับแผนการผลิต
ของกลุ่มและสมาชกิ ใหส้ อดคลอ้ งกนั
3. ส่งเสริมการเกษตรสมาชิก: กลุ่มต้องให้ความรู้ใหม่ๆ แก่สมาชิกอย่าง
ต่อเนื่อง เพอ่ื ให้สมาชิกสามารถพัฒนามาตรฐาน มผี ลผลติ ในปรมิ าณเพ่ิมขึ้น
และมีมาตรฐานคุณภาพสม่าเสมอตามท่ีตลาดต้องการ จัดทาข้อตกลง
รว่ มกันในการจดั สรรรายได้เพ่อื พัฒนาชมุ ชน

ระดบั ที่ 3 ชมุ ชนออกสู่ ายนอก
 เป้าหมาย
o กลุ่มที่เข้มแข็งแล้ว สามารถเชื่อมโยงกับภายนอก เพื่อนาองค์ความรู้ใหม่
เทคโนโลยีใหม่ และเงินทนุ มาต่อยอดการพฒั นาให้ย่งั ยืน
 แนวปฏบิ ัตสิ าหรับกล่มุ
1. สร้างมูลค่าเพ่ิมของสินค้า : แสวงหาแนวทางการพัฒนาและเพิ่มมูลค่า
สินคา้ ให้แขง่ ขันได้ดี เช่น การออกผลติ ภณั ฑ์ใหม่ การสร้างนวัตกรรม รวมทง้ั
การสร้างแบรนด์ให้สินค้าของชมุ ชนเปน็ ท่ีจดจาในคุณภาพมาตรฐานอันเป็น
เอกลักษณ์
2. เชื่อมโยงกับหน่วยงาน ายนอกที่น่าเชื่อถือและมีความเช่ียวชาญจริง :
ชุมชนต้องรู้ว่ามีฐานความรู้ความเชี่ยวชาญเดิมอย่างไร และจาเป็นต้องได้
การสนบั สนุนในด้านใด จากใคร เพ่อื ท่จี ะสรา้ งมูลคา่ เพิม่ ของสนิ ค้า/สร้างแบ
รนด์ เช่น เทคโนโลยีการผลิตใหม่ๆ รูปแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ๆ หรือการทา
การตลาด จากน้ันจึงร่วมกนั แสวงหาความร่วมมือจากองค์กรภายนอกชุมชน
ท่มี ีความเหมาะสม

2.1.3 บนั ด 7 ขั้นสกู่ ารรวมกลุ่มอยา่ งยงั่ ยนื
การรวมกล่มุ นบั เป็นหวั ใจสาคัญในการยกระดับภูมิคุ้มกนั จากครัวเรือนพ่ึงพาตนเองได้ อย่างไร

ก็ตาม การท่ีจะยกระดับมาสู่ชุมชนรวมกลุ่มพึ่งตนเองได้และการนาชุมชนออกสู่ภายนอกเพื่อเชื่อมโยง

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 25 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพืน้ ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

องค์ความรู้ เทคโนโลยี และแหล่งทุนนั้น ควรดาเนินการอย่างรอบคอบตามกรอบบันได 7 ข้ันสู่การ
รวมกลุ่มอย่างย่งั ยืน ดังน้ี

. กระตุน้ การมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกในข้นั ตอนหลกั . ส่งเสริมการใชฐ้ านขอ้ มลู และองคค์ วามรู้ 3.
ของกลุ่มตามหลกั การของสหกรณ์ เพ่อื ปรับปรงุ การบริหารกลมุ่

❑ ประชุมกลมุ่ ยอ่ ยและประชมุ กลมุ่ ใหญ่อย่างสมา่ เสมอ ❑ วิเคราะห์และใชป้ ระโยชน์จากรายงานทางการเงิน
❑ ใหค้ วามรู้ใหมแ่ ละร่วมแก้ปัญหาการเกษตรของสมาชกิ ❑ หาความรใู้ หม่มาปรบั ปรงุ การบรหิ ารกลมุ่
❑ จัดกจิ กรรมดแู ลความเป็นอยสู่ มาชกิ /ช่วยเหลอื ชุมชน
❑ สมาชกิ มสี ิทธิและรว่ มออกเสียงในขน้ั ตอนหลักตาม ออกสู่ ายนอกเพ่ือ
หลักการของสหกรณ์ เชื่อมโยงแหล่งทนุ
องค์ความรู้ และ
. เพิม่ ประสิท ิ าพการผลิตและการขาย
เทคโนโลยี
❑ ลดตน้ ทนุ การผลติ
❑ เพ่ิมผลผลิต/เพิม่ มูลคา่ ผลผลิต 2.
❑ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการเขา้ ถึงตลาด/
กลุ่มเปา้ หมาย

. พัฒนาโมเดล รุ กิจและ ชุมชนรวมกลมุ่ . สร้างทกั ษะการทางานร่วมกบั หน่วยงาน
ระบบการจัดการกลมุ่ ให้ทันสมยั พงึ่ ตนเอง ด้ ใหต้ รงจุดสาคัญและตอ่ เนื่อง

❑ โมเดลธรุ กจิ ❑ ร้บู ทบาทการใหบ้ รกิ ารของแตล่ ะหนว่ ยงาน
❑ กฎกติกา ในการอย่รู ่วมกนั ❑ รจู้ กั ใช้ประโยชน์จากความรแู้ ละทรัพยากร
❑ ระเบียบบญั ชีการเงนิ
❑ ฐานข้อมูลและการรายงานผล ของหนว่ ยงาน

❑ การควบคุมภายใน . สร้างความเข้าใจในสิท ิหนา้ ทีแ่ ละจัดสรร

ประโยชนใ์ หเ้ ป็น รรม
❑ สทิ ธหิ นา้ ที่ของผนู้ า/ กรรมการ
❑ สทิ ธหิ น้าท่ีของสมาชกิ
1. 1. ตรวจสอบความพรอ้ มของกลมุ่ ❑ สทิ ธหิ น้าทข่ี องฝ่ายบรหิ าร/ เจา้ หนา้ ที่
ครวั เรือนพ่ึงตนเอง ❑ การจดั สรรผลประโยชนแ์ ละพฒั นาสมาชิก
❑ สาเหตทุ ่จี าเปน็ ตอ้ งรวมกลมุ่ ❑ การดแู ลชุมชน
❑ ความสามารถผนู้ าในการขับเคลื่อนกลมุ่

อยา่ งต่อเนือ่ ง
❑ ความสามารถทางการเงินของสมาชิก
❑ ความสามารถในการผลิตของสมาชกิ
❑ ผลงานการบริหารกลมุ่ ที่ผา่ นมา (ถ้ามี)

รปู ท่ี 2.6 บันได 7 ขัน้ สู่การรวมกลมุ่ อยา่ งยง่ั ยืน

ขนั้ ที่ 1 ตรวจสอบความพรอ้ มของกลุ่ม
ตรวจสอบความพร้อมในการรวมกลุ่ม โดยดูจากสาเหตุที่ทาให้ต้องรวมกลุ่ม ซ่ึงอาจเกิดจาก
ประสบปัญหาร่วมกนั อยา่ งรุนแรง หรือการมองเห็นโอกาสร่วมกัน ในดา้ นธรุ กจิ ด้านทรัพยากร
ในพ้ืนท่ี หรือด้านสังคมวัฒนธรรม ซ่ึงหากไม่รวมกลุ่มจะไม่สามารถแก้ปัญหาหรือใช้ประโยชน์
จากโอกาสน้ันได้ รวมไปถงึ การมีผ้นู าทีส่ ามารถขับเคลื่อนกลุ่มไดอ้ ย่างต่อเนื่อง การมสี มาชิกที่มี
ความร้ทู างการเงินและการผลิต รวมถึงการมีประสบการณ์ในการรวมกลุ่มมาก่อน โดยแบ่งตาม
องคป์ ระกอบสาคญั ดงั น้ี

1.1 สาเหตทุ ี่จาเปน็ ตอ้ งรวมกล่มุ
1.2 ความสามารถผ้นู าในการขับเคลื่อนกลมุ่ อย่างตอ่ เนือ่ ง
1.3 ความสามารถทางการเงินของสมาชิก
1.4 ความสามารถในการผลติ ของสมาชกิ
1.5 ผลงานการบริหารกลุ่มท่ีผ่านมา (ถ้าเคยดาเนินงานกลมุ่ ในรูปแบบอื่นมากอ่ น)

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 26 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพืน้ ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ขัน้ ที่ 2 สร้างความเขา้ ใจในสิท แิ ละหน้าทแี่ ละจัดสรรประโยชน์ให้เป็น รรม
สร้างความเข้าใจว่าทุกฝ่ายมีทั้งหน้าที่ในการเป็นผู้ให้และมีสิทธิในการได้รับประโยชน์จากกล่มุ
ท้ังผู้นา/กรรมการที่ต้องมีวิสัยทัศน์ นาพากลุ่มรุดหน้าไปอย่างมั่นคงและต่อเนื่อง สมาชิกที่ต้อง
ร่วมปฏิบัติตามมาตรฐานกลุ่ม และฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติหน้าที่เพ่ือสมาชิกอย่าง
เต็มที่ รวมท้งั กาหนดแนวทางจดั สรรประโยชน์ที่จะเกิดขน้ึ ในอนาคตอย่างเปน็ ธรรม การพัฒนา
สมาชิกให้มีความรู้และคุณธรรมท่ีเหมาะสมกับการดาเนินงานของกลุ่ม โดยแบ่งตาม
องคป์ ระกอบสาคญั ดังน้ี

2.1 สทิ ธแิ ละหนา้ ทข่ี องผนู้ า/กรรมการ
2.2 สทิ ธิและหนา้ ทขี่ องสมาชกิ
2.3 สทิ ธิและหนา้ ทขี่ องฝา่ ยบรหิ าร/ เจา้ หน้าที่
2.4 การจดั สรรผลประโยชนแ์ ละพัฒนาสมาชกิ
2.5 การดูแลชมุ ชน
ข้นั ที่ 3 พัฒนาโมเดล ุรกิจและระบบการจัดการกลมุ่ ให้ทันสมยั
พฒั นาให้กลุ่มมรี ะบบและกลไกที่พร้อมต่อการทางาน เรมิ่ ตน้ จากการกาหนดโมเดลธรุ กจิ ที่ระบุ
ตลาดและผลติ ภณั ฑ์ท่ีมมี ูลค่าเพิ่มสูงข้ึน รวมไปถึงการสร้างระบบบริหารจัดการกลุ่มให้ทนั สมัย
ครอบคลุมต้ังแต่ กฎกติกาในการอยู่ร่วมกัน ระเบียบบัญชีการเงิน ฐานข้อมูลและการรายงาน
ผล และการควบคุมภายในเพ่ือป้องกันและการเรียนรู้จากข้อผิดพลาดจากการดาเนินงาน โดย
แบง่ ตามองค์ประกอบสาคญั ดงั น้ี
3.1 โมเดลธรุ กจิ
3.2 กฎกติกาในการอยู่รว่ มกัน
3.3 ระเบยี บบญั ชีการเงนิ
3.4 ฐานข้อมูลและการรายงานผล
3.5 การควบคุมภายใน
ขั้นที่ 4 เพิม่ ประสทิ ิ าพการผลิตและการขาย
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการขายอย่างสม่าเสมอเพ่ือให้แข่งขันในตลาดได้อย่างต่อเน่ือง
โดยการสร้างความแตกต่างของผลผลิต และ/หรือ การเป็นผู้นาด้านต้นทุน ซึ่งกลุ่มสามารถ
เลือกทากิจกรรมต่างๆ ไปพร้อมกันได้ ท้ังการเพ่ิมปริมาณผลผลิต การเพ่ิมมูลค่าผลผลิต การ
เพ่ิมประสิทธิภาพการเข้าถึงตลาด/กลุ่มเป้าหมาย และการลดต้นทุนการผลิต โดยแบ่งตาม
องค์ประกอบสาคญั ดังนี้
4.1 ลดตน้ ทนุ การผลิต
4.2 เพม่ิ ผลผลิต/เพม่ิ มลู คา่ ผลผลิต

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 27 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพนื้ ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

4.3 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการเข้าถึงตลาด/กล่มุ เป้าหมาย
ขน้ั ท่ี 5 กระตุ้นการมสี ่วนร่วมของสมาชกิ ในข้นั ตอนหลกั ของกลุ่ม
กระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกในทุกขั้นตอนหลักของกลุ่ม เพื่อให้สมาชิกมีความมั่นใจและ
ภาคภูมใิ จกลมุ่ ช่วยกนั รักษากลุ่มใหอ้ ยู่ไปนาน ๆ โดยมกี ารจดั ประชุมกลุม่ ย่อยและประชุมกลุ่ม
ใหญ่อย่างสม่าเสมอ เพื่อแจ้งข่าวสารและผลการดาเนินงานของกลุ่ม รับฟังและแก้ไขปัญหา
ของสมาชิกและกาหนดทิศทางการดาเนินงานกลุ่มในอนาคต ตลอดจน จัดกิจกรรมช่วยเหลือ
เพื่อนสมาชิกและชุมชน อันเป็นการสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ โดยแบ่งตามองค์ประกอบ
สาคญั ดงั น้ี

5.1 ประชมุ กลมุ่ ย่อยและประชุมกลุ่มใหญอ่ ย่างสม่าเสมอ
5.2 ใหค้ วามร้ใู หม่และร่วมแกป้ ัญหาการเกษตรของสมาชิก
5.3 จัดกจิ กรรมดแู ลความเป็นอยสู่ มาชิก/ชว่ ยเหลือชมุ ชน
5.4 สมาชกิ มีสทิ ธแิ ละรว่ มออกเสียงในขนั้ ตอนหลกั ตามหลักการของสหกรณ์
ขน้ั ที่ 6 สง่ เสรมิ การใชฐ้ านขอ้ มูลและองค์ความรูเ้ พอ่ื ปรบั ปรงุ การบริหารกลุ่ม
ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูลและองค์ความรู้เพื่อปรับปรุงการบริหารกลุ่ม ทาให้กลุ่มมีภูมิคุ้มกัน
ปรบั ตัวได้ทันเวลา โดยการวิเคราะห์และใชป้ ระโยชนจ์ ากรายงานทางการเงนิ เพ่อื ปรบั แผนการ
ขายของกลุ่ม แผนการผลติ ของกลมุ่ และสมาชิก และแกป้ ญั หาอน่ื ๆ รวมทั้ง การหมัน่ หาความรู้
ใหม่มาปรับปรุงการบริหารกลุ่ม ซ่ึงอาจเป็นความรู้จากทั้งภายในและภายนอกกลุ่ม โดยแบ่ง
ตามองคป์ ระกอบสาคญั ดงั นี้
6.1 การวเิ คราะห์และใช้ประโยชน์จากรายงานทางการเงิน
6.2 การหาความรู้ใหม่มาปรับปรุงการบรหิ ารกลุม่
ขน้ั ท่ี 7 สร้างทักษะการทางานรว่ มกบั หนว่ ยงาน ใหต้ รงจดุ สาคัญและต่อเนอ่ื ง
สร้างทักษะการทางานร่วมกับหน่วยงานให้ตรงจุดสาคัญและต่อเน่ือง โดยต้องรู้บทบาทการ
ให้บริการของแต่ละหน่วยงาน และรู้จักใช้ประโยชน์จากความรู้และทรัพยากรของหน่วยงาน
เพ่อื ช่วยแก้ปัญหาทีก่ ลุ่มไม่มีกาลงั พอจะแก้ไข หรอื เพื่อชว่ ยยกระดบั /มาตรฐานการทางานของ
กลมุ่ โดยแบง่ ตามองคป์ ระกอบสาคัญ ดงั น้ี
7.1 รู้บทบาทการให้บริการของแตล่ ะหน่วยงาน
7.2 รจู้ กั ใชป้ ระโยชนจ์ ากความรู้และทรัพยากรของหน่วยงาน

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 28 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพืน้ ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2.1.4 ค่มู ือสารวจและรวมรวมข้อมูลเพ่ือการรวมกลุ่มอย่างยั่งยืน
เพื่อให้การดาเนินงานของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการส่งเสริมการรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน ได้มีการ

พัฒนาคู่มือสารวจและรวบรวมข้อมูลเพื่อการรวมกลุ่มอย่างย่ังยืนขึ้นตามกรอบของบันได 7 สู่การ
รวมกลุม่ อยา่ งย่ังยนื โดยมรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้

รูปที่ 2.7 คมู่ อื สารวจและรวบรวมข้อมลู เพื่อการรวมกลุม่ อย่างย่ังยนื
2.1.4.1 ขั้นที่ 1 ตรวจสอบความพร้อมของกลุ่ม

ตรวจสอบความพร้อมในการรวมกลุ่ม โดยดูจากสาเหตุท่ีทาให้ต้องรวมกลุ่ม ซึ่งอาจเกิดจาก
ประสบปัญหาร่วมกันอย่างรุนแรง หรือการมองเห็นโอกาสร่วมกัน ในด้านธุรกิจ ด้านทรัพยากรในพ้ืนที่
หรือด้านสังคมวัฒนธรรม ซ่ึงหากไม่รวมกลุ่มจะไม่สามารถแก้ปัญหาหรือใช้ประโยชน์จากโอกาสนั้นได้
รวมไปถึงการมีผู้นาท่ีสามารถขับเคลื่อนกลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง การมีสมาชิกที่มีความรู้ทางการเงินและ
การผลิต รวมถึงการมปี ระสบการณใ์ นการรวมกลุ่มมาก่อน โดยแบง่ ตามองค์ประกอบสาคญั ดงั น้ี

1.1 สาเหตทุ ีจ่ าเปน็ ตอ้ งรวมกลุม่
1.2 ความสามารถผู้นาในการขบั เคลอ่ื นกลุ่มอย่างต่อเนือ่ ง
1.3 ความสามารถทางการเงินของสมาชกิ
1.4 ความสามารถในการผลติ ของสมาชกิ
1.5 ผลงานการบรหิ ารกล่มุ ท่ผี ่านมา (ถา้ เคยดาเนนิ งานกลุม่ ในรปู แบบอืน่ มาก่อน)

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 29 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพ้นื ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

❖ สาเหตุทจี่ าเป็นต้องรวมกลมุ่
มูลเหตุหรือจุดเร่ิมตน้ ที่ทาใหค้ นในชุมชนต้องรวมกลมุ่ ซ่งึ อาจเกดิ จากการประสบปญั หาร่วมกัน

อยา่ งรุนแรงหรือการมองเหน็ โอกาสรว่ มกัน ทงั้ ด้านธรุ กจิ ด้านทรัพยากรในพื้นท่ี และด้านทนุ ทางสังคม
วัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งหากไม่รวมกลุ่มจะไม่สามารถแก้ปัญหาหรือใช้ประโยชน์จากโอกาสน้ันได้ จึง
ควรสารวจและรวบรวมข้อมูลทีส่ าคัญ ไดแ้ ก่

 ขอบเขตของการรวมกลุม่
 ลักษณะการรวมกลุ่ม
 ทมี่ าและความเข้าใจในการรวมกลมุ่
 หนว่ ยเกีย่ วขอ้ ง (หน่วยงานท่ีสนับสนุน/ชว่ ยเหลอื ในการรวมกลมุ่ )
❖ ความสามารถผู้นาในการขับเคลอื่ นกลมุ่ อย่างตอ่ เน่อื ง
ผู้นาต้องเป็นผู้นาตามธรรมชาติ คนในชุมชนเคารพศรัทธาและเป็นท่ียอมรบั ตลอดจนต้องเปน็
ผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการนากลุ่มไปสู่เป้าหมายร่วมกันที่คนในชุมชนต้องการ จึงควรสารวจ
และรวบรวมข้อมูลทีส่ าคัญ ไดแ้ ก่
 ผนู้ าในการขบั เคลอ่ื น
 การนากลุ่มไปสู่เป้าหมายร่วมกนั
 การยอมรับโดยสมาชิก
 หนว่ ยเกย่ี วขอ้ ง (หนว่ ยงานทส่ี นบั สนุน/ชว่ ยเหลือในการรวมกลมุ่ )
❖ ความสามารถทางการเงินของสมาชกิ
สมาชกิ ของกลุ่มต้องมีความเข้าใจการเงินขั้นพ้นื ฐานในระดับครัวเรือน และแสดงให้เห็นถึงการ
ยึดถอื วนิ ยั ทางการเงินอย่างต่อเน่ือง ตลอดจนสามารถให้คาแนะนาที่ถูกต้องและกระตุ้นสมาชิกคนอื่นๆ
ได้ จึงควรสารวจและรวบรวมขอ้ มูลท่ีสาคญั ไดแ้ ก่
 ความเข้าใจทางการเงนิ ขน้ั พนื้ ฐาน
 การลดคา่ ใชจ้ ่ายของสมาชิก
 การเพ่มิ รายได้ของสมาชิก
 การออมทรพั ยข์ องสมาชิก
 หน่วยเกีย่ วข้อง (หนว่ ยงานทส่ี นบั สนนุ /ชว่ ยเหลอื ในการรวมกลมุ่ )
❖ ความสามารถในการผลิตของสมาชิก
สมาชิกของกลุ่มท่ีต้องการรวมตัวกันเพื่อการผลิตและ/หรือการตลาด ต้องมีผลผลิตในปริมาณ
และคุณภาพทสี่ มา่ เสมอ เปน็ ระยะเวลาตอ่ เนื่องหลายรอบการผลติ และมปี ริมาณผลผลติ มากพอสาหรับ
การขายอย่างตอ่ เนือ่ ง จึงควรสารวจและรวบรวมขอ้ มูลที่สาคญั ไดแ้ ก่
 ผลผลิตของสมาชิก

สานักงานศนู ย์วจิ ัยและให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 30 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพืน้ ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 การขาย/จาหนา่ ยผลผลติ
 หน่วยเก่ียวข้อง (หนว่ ยงานท่สี นับสนนุ /ช่วยเหลอื ในการรวมกลุ่ม)
❖ ผลงานการบรหิ ารกลมุ่ ทผี่ ่านมา (ถา้ เคยดาเนนิ งานกลมุ่ ในรูปแบบอน่ื มาก่อน)
กลุ่มมีผลการดาเนินงานได้ตามเป้าหมายและเป็นที่พอใจแก่สมาชิกอย่างต่อเนื่อง ตลอดจน
กลุ่มมีความต้องการร่วมกันในการพัฒนาหรือขยายผลให้ดียิ่งข้ึน จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมูลที่
สาคัญ ไดแ้ ก่
 ผลประกอบการของกลมุ่
 การดูแลสมาชิก
 หนว่ ยเก่ียวขอ้ ง (หน่วยงานที่สนับสนุน/ชว่ ยเหลอื ในการรวมกล่มุ )
2.1.4.2 ขน้ั ที่ 2 สร้างความเข้าใจในสิท ิและหนา้ ท่แี ละจัดสรรประโยชนใ์ หเ้ ปน็ รรม
สร้างความเข้าใจว่าทุกฝ่ายมีทั้งหน้าที่ในการเป็นผูใ้ ห้และมีสทิ ธิในการได้รับประโยชน์จากกลุ่ม
ทั้งผู้นา/กรรมการที่ต้องมีวิสัยทัศน์ นาพากลุ่มรุดหน้าไปอย่างมั่นคงและต่อเนื่อง สมาชิกท่ีต้องร่วม
ปฏิบัติตามมาตรฐานกลุ่ม และฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติหน้าท่ีเพ่ือสมาชิกอย่างเต็มที่ รวมท้ัง
กาหนดแนวทางจัดสรรประโยชน์ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตอย่างเป็นธรรม การพัฒนาสมาชิกให้มีความรู้
และคณุ ธรรมทีเ่ หมาะสมกับการดาเนินงานของกลุ่ม โดยแบง่ ตามองค์ประกอบสาคญั ดงั นี้
2.1 สิทธิและหน้าทข่ี องผ้นู า/กรรมการ
2.2 สทิ ธิและหน้าท่ขี องสมาชิก
2.3 สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องฝา่ ยบรหิ าร/เจ้าหน้าท่ี
2.4 การจัดสรรผลประโยชน์และพัฒนาสมาชกิ
2.5 การดแู ลชุมชน

❖ สทิ แิ ละหนา้ ที่ของผู้นา/กรรมการ
ผู้นามีวิสัยทัศน์ พาองค์กรรุดหน้าไปอย่างต่อเนื่อง หาโอกาสทางการตลาดใหม่ๆ และความ

ร่วมมือจากหน่วยงานเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพกล่มุ ติดตามประเมินผลการปฏบิ ัติงานของฝ่ายบริหาร เพื่อ
ป้องปรามการทุจริต ประพฤติตนเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติตามข้อบังคับและมาตรฐานของกลมุ่ อย่าง
เท่าเทยี มสมาชกิ รายอ่นื โดยไมม่ สี ิทธพิ ิเศษ จงึ ควรสารวจและรวบรวมขอ้ มูลทส่ี าคญั ได้แก่

 ความเขา้ ใจในสทิ ธขิ องผู้นา/กรรมการ
 ความเขา้ ใจในหนา้ ท่ีของผู้นา/กรรมการ
 การประพฤติตนของผนู้ า/กรรมการ
 หน่วยเกี่ยวข้อง (หน่วยงานที่สนับสนุน/ช่วยเหลือในการสร้างความเข้าใจในสิทธิและ

หนา้ ท่ี)

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 31 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพนื้ ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

❖ สิท ิและหนา้ ทข่ี องสมาชกิ
สมาชิกส่วนใหญ่ยึดม่ันในการปฏิบัติตนตามตามข้อบังคับและมาตรฐานของกลุ่ม เข้าร่วม

กิจกรรมของกลุ่มอย่างสม่าเสมอ รวมทั้งร่วมติดตามการดาเนินงานของกรรมการและฝ่ายบริหาร และ
คอยเสนอความคิดเห็นเพือ่ ปรับปรุงกล่มุ จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมูลที่สาคัญ ไดแ้ ก่

 ความเขา้ ใจในสิทธิของสมาชกิ
 ความเข้าใจในหนา้ ท่ขี องสมาชิก
 การประพฤตติ นของสมาชิก
 หน่วยเก่ียวข้อง (หน่วยงานท่ีสนับสนุน/ช่วยเหลือในการสร้างความเข้าใจในสิทธิและ

หนา้ ท)ี่
❖ สทิ แิ ละหนา้ ที่ของฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่

ฝ่ายบริหารพัฒนาระบบการบริหารงานกลุ่มให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้โปร่งใส
ตรวจสอบได้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถบุคลากรให้สอดคล้องกับกิจการของกลุ่ม ให้มีคนสืบทอดงาน
จากรุ่นสรู่ ุ่น จึงควรสารวจและรวบรวมขอ้ มลู ท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่

 ความเขา้ ใจในสทิ ธขิ องฝ่ายบรหิ าร/เจา้ หนา้ ท่ี
 ความเข้าใจในหน้าทีข่ องฝ่ายบริหาร/เจา้ หน้าท่ี
 การประพฤตติ นของฝ่ายบริหาร/เจา้ หนา้ ท่ี
 หน่วยเกี่ยวข้อง (หน่วยงานที่สนับสนุน/ช่วยเหลือในการสร้างความเข้าใจในสิทธิและ

หน้าที่)
❖ การจดั สรรผลประโยชน์และพัฒนาสมาชิก

สมาชิกเห็นพ้องกันว่าต้องมีการจัดสรรกาไรเพ่ือปันผลใหส้ มาชิกและเพ่ือเป็นเงินสารองในการ
พัฒนากลุ่ม การจัดสวัสดิการแก่สมาชิกและครอบครัว ตลอดจนมีกิจกรรมพัฒนาความรู้และคุณธรรม
ของสมาชิกให้เหมาะสมกับการดาเนินงานของกลุ่มอย่างสม่าเสมอ จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมูลที่
สาคัญ ไดแ้ ก่

 การจดั สรรผลประโยชน์
 การจดั สวสั ดกิ ารแก่สมาชิกและครอบครัว
 การพัฒนาสมาชกิ
 หน่วยเกี่ยวข้อง (หน่วยงานท่ีสนับสนุน/ช่วยเหลือในการจัดสรรผลประโยชน์และพัฒนา

สมาชิก)
❖ การดแู ลชุมชน

สมาชิกเห็นพ้องกันว่าต้องมีการจดั สรรกาไรสว่ นหน่ึงเพื่อดูแลชุมชน/สังคม ในด้านการเปน็ อยู่
สวัสดกิ าร การศึกษา สงั คมและศาสนา จงึ ควรสารวจและรวบรวมข้อมูลทีส่ าคัญ ไดแ้ ก่

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 32 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพืน้ ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

 ขอบเขตการดูแลชมุ ชน/สังคม (จากผลกาไรของกลุ่ม)
 ท่ีมาและผลการดูแลชมุ ชน/สังคม
 หน่วยเกี่ยวขอ้ ง (หนว่ ยงานท่สี นับสนุน/ช่วยเหลือในการดูแลชุมชน)

2.1.4.3 ข้ันท่ี 3 พัฒนาโมเดล ุรกิจและระบบการจดั การกลุ่มให้ทันสมัย
พัฒนาให้กลมุ่ มรี ะบบและกลไกที่พร้อมต่อการทางาน เริ่มต้นจากการกาหนดโมเดลธุรกิจที่ระบุ

ตลาดและผลิตภัณฑ์ท่ีมีมูลค่าเพิ่มสูงข้ึน รวมไปถึงการสร้างระบบบริหารจัดการกลุ่มให้ทันสมัย
ครอบคลุมตั้งแต่ กฎกติกาในการอยู่ร่วมกัน ระเบียบบัญชีการเงิน ฐานข้อมูลและการรายงานผล และ
การควบคุมภายในเพื่อป้องกันและการเรียนรู้จากข้อผิดพลาดจากการดาเนินงาน โดยแบ่งตาม
องคป์ ระกอบสาคญั ดังนี้

3.1 โมเดลธรุ กิจ
3.2 กฎกตกิ าในการอยู่รว่ มกัน
3.3 ระเบียบบัญชกี ารเงิน
3.4 ฐานข้อมูลและการรายงานผล
3.5 การควบคุมภายใน

❖ โมเดล ุรกิจ
การจัดทาแผนธุรกิจ การกาหนดตลาด/ กลุ่มเป้าหมายที่เจาะจง ชัดเจน และสอดคล้องกับ

สนิ คา้ / บริการของกลุ่ม รวมทัง้ มีการเพ่ิมมูลค่าทางการตลาด โดยการออกผลติ ภัณฑ์ใหม่อยู่เป็นระยะๆ
นาผลิตภัณฑ์เข้าสู่การรับรองมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น GAP มผช. อย. เป็นต้น จึงควรสารวจและ
รวบรวมขอ้ มูลท่สี าคญั ไดแ้ ก่

 การจดั ทาแผนธรุ กจิ
 คณุ ภาพ/มาตรฐานผลิตภัณฑ์/บริการ
 การพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ
 หน่วยเก่ียวข้อง (หนว่ ยงานทส่ี นับสนุน/ชว่ ยเหลือในการพฒั นาโมเดลธรุ กิจ)
❖ กฎกตกิ าในการอยูร่ ว่ มกนั
การทาให้สมาชิกทุกคนตระหนักถึงวัตถุประสงค์ท่ีแท้จริงของการรวมกลุ่ม การจัดทาระเบียบ
ข้อบังคับของกลุ่มร่วมกัน โดยสมาชิกทุกคนต้องรับรู้และมีส่วนร่วมในการจัดทา โดยเฉพาะเรื่องการ
จัดสรรผลประโยชน์ของกลุ่มและสมาชิก ท้ังในระยะส้ัน ระยะกลาง และระยะยาว จึงควรสารวจและ
รวบรวมขอ้ มูลท่สี าคญั ได้แก่
 การกาหนดวัตถปุ ระสงค์การรวมกลมุ่

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 33 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพนื้ ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

 ระเบยี บขอ้ บังคบั ของกลมุ่
 การส่อื สารความเขา้ ใจในกฎกติกาในการอยู่รว่ มกนั
 หน่วยเก่ียวข้อง (หน่วยงานท่ีสนับสนุน/ช่วยเหลือในการสร้างความเข้าใจกฎกติกาในการ

อยูร่ ่วมกัน)
❖ ระเบียบบัญชกี ารเงนิ

การออกระเบียบบัญชีการเงินเพื่อให้เกิดวินัยในการใช้จ่ายเงิน การจัดทารายงานทางการเงิน
เพื่อแสดงสถานะทางการเงินและผลการดาเนินงาน รวมท้ังจัดทาสต๊อกและบัญชีคุมอย่างเป็นระบบ
เพือ่ ใหง้ า่ ยต่อการติดตามตรวจสอบ จงึ ควรสารวจและรวบรวมขอ้ มูลทีส่ าคญั ได้แก่

 การกาหนดระเบียบบัญชกี ารเงนิ และการส่อื สารความเขา้ ใจ
 การดาเนินการตามระเบยี บบัญชีการเงนิ
 การบรหิ ารจดั การ Inventory
 หน่วยเก่ียวข้อง (หน่วยงานที่สนับสนุน/ช่วยเหลือในการสร้างความเข้าใจในระเบียบบัญชี

การเงิน)
❖ ฐานขอ้ มูลและการรายงานผล

การพัฒนาและการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล การจัดทารายงานสถานการณ์การดาเนินงาน
ของกลมุ่ อย่างต่อเนือ่ ง เพอ่ื ทจี่ ะไดร้ ้ถู ึงสถานการณ์ของกลุ่มและสามารถวางแผนรบั มือกับสถานการณ์ได้
อยา่ งทนั ท่วงที จงึ ควรสารวจและรวบรวมข้อมูลท่ีสาคัญ ได้แก่

 การพัฒนาฐานขอ้ มลู ของกล่มุ
 การประโยชน์ฐานข้อมูล
 หน่วยเกี่ยวข้อง (หน่วยงานที่สนับสนุน/ช่วยเหลอื ในการพัฒนาฐานข้อมูลและการรายงาน

ผล)
❖ การควบคุม ายใน

การกาหนดมีวิธีการป้องกันและการเรียนรู้จากข้อผิดพลาดจากการดาเนินงาน จึงควรสารวจ
และรวบรวมข้อมูลท่สี าคัญ ไดแ้ ก่

 การควบคุมภายใน
 การกาหนดมีวธิ ีการป้องกนั
 หนว่ ยเก่ยี วข้อง (หนว่ ยงานทส่ี นับสนุน/ช่วยเหลอื ในการควบคุมภายใน)

2.1.4.4 ข้นั ที่ 4 เพ่มิ ประสิท ิ าพการผลิตและการขาย
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการขายอย่างสม่าเสมอเพื่อให้แข่งขันในตลาดได้อย่างต่อเน่ือง

โดยการสร้างความแตกต่างของผลผลิต และ/หรือ การเป็นผู้นาด้านต้นทุน ซ่ึงกลุ่มสามารถเลือกทา

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 34 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้ืนที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กิจกรรมต่างๆ ไปพร้อมกันได้ ท้ังการเพิ่มปริมาณผลผลิต การเพ่ิมมูลค่าผลผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพ
การเข้าถึงตลาด/กลุม่ เป้าหมาย และการลดตน้ ทนุ การผลติ โดยใช้ความรู้ใหม่ และ/หรอื เทคโนโลยใี หม่
เขา้ มาช่วย แบง่ ตามองค์ประกอบสาคญั ดงั น้ี

4.1 ลดตน้ ทนุ การผลติ
4.2 เพม่ิ ผลผลติ /เพิ่มมูลค่าผลผลติ
4.3 เพิม่ ประสทิ ธิภาพการเขา้ ถงึ ตลาด/กลุม่ เป้าหมาย

❖ ลดต้นทุนการผลติ
ปรับเปล่ียนการใช้วัตถุดิบหรือปัจจัยการผลิตท่ีช่วยลดต้นทุน รวมท้ังการนาความรู้ใหม่/

เทคโนโลยมี าปรับปรงุ กระบวนการเพ่อื ลดต้นทนุ จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมูลท่ีสาคัญ ได้แก่
 ตน้ ทนุ การผลิต
 แนวทาง/วิธกี ารลดตน้ ทุน
 หนว่ ยเกี่ยวข้อง (หนว่ ยงานทส่ี นับสนนุ /ช่วยเหลือในการลดต้นทนุ การผลติ )

❖ เพ่มิ ผลผลติ /เพิ่มมลู ค่าผลผลิต
มีวิธีการตรวจสอบและแก้ปัญหาในกระบวนการผลิต รวมท้ังการนาความรู้ใหม่/เทคโนโลยีมา

ปรับปรงุ กระบวนการเพ่ือเพิ่มผลผลิต จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมลู ทสี่ าคญั ได้แก่
 การแก้ไขปัญหาในกระบวนการผลิต
 การปรบั ปรงุ กระบวนการเพอ่ื เพ่ิมผลผลิตและเพ่ิมมูลค่าผลผลติ
 หน่วยเกยี่ วขอ้ ง (หนว่ ยงานท่สี นบั สนุน/ช่วยเหลอื ในการเพิ่มผลผลิตและเพ่ิมมลู คา่ ผลผลิต)

❖ เพิม่ ประสิท ิ าพการเข้าถงึ ตลาด/กลมุ่ เป้าหมาย
มีการหาตลาดใหม่ๆ อย่ตู ลอดทั้งในระดับชุมชน ภูมิภาค ประเทศ และต่างประเทศ รวมไปถึง

ชอ่ งทางการขายออนไลน์ จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมูลทีส่ าคัญ ได้แก่
 ตลาดในระดับชมุ ชน (หมบู่ า้ น ตาบล อาเภอ จงั หวัด)
 ตลาดในระดับประเทศ (ตลาดในจังหวดั อื่นๆ/งานแสดงสนิ คา้ ท่ี กทม.)
 ตลาดต่างประเทศ (ตลาดในตา่ งประเทศ)
 ตลาดออนไลน์
 หน่วยเกี่ยวข้อง (หน่วยงานท่ีสนบั สนุน/ช่วยเหลอื ในการพฒั นาตลาด)

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 35 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพนื้ ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2.1.4.5 ขั้นท่ี 5 กระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกในขั้นตอนหลักของกลุ่มตามหลักการของ
สหกรณ์
กระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกในทุกขั้นตอนหลักของกลุ่ม เพ่ือให้สมาชิกมีความม่ันใจและ

ภาคภูมิใจกลุ่ม ช่วยกันรักษากลุ่มให้อยู่ไปนานๆ โดยมีการจัดประชุมกลุ่มย่อยและประชุมกลุ่มใหญ่
อย่างสม่าเสมอ เพ่ือแจ้งข่าวสารและผลการดาเนินงานของกลุ่ม รับฟังและแก้ไขปัญหาของสมาชิกและ
กาหนดทิศทางการดาเนินงานกลุ่มในอนาคต ตลอดจน จัดกิจกรรมช่วยเหลือเพ่ือนสมาชิกและชุมชน
อันเป็นการสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ และท่ีสาคัญคือ สมาชิกมีสิทธิและร่วมออกเสียงตามหลักการ
และขัน้ ตอนหลักของสหกรณ์ โดยแบ่งตามองคป์ ระกอบสาคญั ดงั น้ี

5.1 การจัดประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยและประชมุ กลุ่มใหญ่อย่างสมา่ เสมอ
5.2 การให้ความรู้ใหม่และร่วมแก้ปญั หาการเกษตรของสมาชิก
5.3 การจดั กิจกรรมดูแลความเปน็ อยู่สมาชกิ /ชว่ ยเหลอื ชมุ ชน
5.4 สมาชกิ มสี ทิ ธิและร่วมออกเสียงในข้ันตอนหลักตามหลักการของสหกรณ์

❖ การจัดประชุมกลุ่มยอ่ ยและประชุมกลมุ่ ใหญอ่ ย่างสม่าเสมอ
การจัดประชุมกลุ่มย่อยและประชุมกลุ่มใหญ่อย่างสม่าเสมอ เพื่อแจ้งข่าวสารและผลการ

ดาเนนิ งานของกลุ่ม รับฟงั และแกไ้ ขปญั หาของสมาชิกและกาหนดทิศทางการดาเนินงานกลุ่มในอนาคต
จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมลู ทสี่ าคัญ ได้แก่

 การจัดประชุม
 ผลที่ได้รับจากการประชมุ
 หน่วยเก่ียวข้อง (หน่วยงานท่ีสนับสนุน/ช่วยเหลอื ในการสง่ เสรมิ ให้เกิดการประชมุ กลุ่มทม่ี ี

ประสทิ ธิภาพ)
❖ การใหค้ วามรูใ้ หม่และรว่ มแก้ปัญหาการเกษตรของสมาชิก

จัดกิจกรรมรับฟังและแก้ไขปัญหาของสมาชิก โดยมีการหาความรู้ใหม่ทั้งจากภายในและ
ภายนอกกล่มุ มาชว่ ยแก้ปญั หาการเกษตรของสมาชกิ จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมูลทีส่ าคัญ ไดแ้ ก่

 การหาองค์ความรใู้ หม่
 องค์กรท่ีเปน็ แหลง่ องค์ความรู้
 การนาความรู้ใหม่มาใช้แก้ปญั หาของสมาชิก
❖ จดั กจิ กรรมดแู ลความเปน็ อย่สู มาชิก/ช่วยเหลือชุมชน
มีการจัดกิจกรรมเพื่อให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมอย่างสม่าเสมอ ดูแลความเป็นอยู่ของสมาชิก
เพ่ือทาให้สมาชิกรู้สึกถึงความเปน็ เจ้าของ การมีส่วนร่วมและเกิดความภูมิใจท่ีเป็นสมาชิกของกลุ่ม โดย

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 36 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การดูแลในรูปแบบต่างๆ อาทิ สวัสดิการสาหรับสมาชิกต้ังแต่เกิดจนตาย การร่วมกิจกรรม
สาธารณประโยชนต์ ่างๆ ในนามของกล่มุ เป็นตน้ จึงควรสารวจและรวบรวมขอ้ มลู ท่สี าคญั ได้แก่

 กจิ กรรมดแู ลความเป็นอยูข่ องสมาชิก
 กิจกรรมการสรา้ งความสามคั คแี ละภาคภมู ใิ จของกล่มุ
 หน่วยเกี่ยวข้อง (หน่วยงานท่ีสนับสนุน/ช่วยเหลือในการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมของ

กล่มุ )
❖ สมาชิกมีสิท แิ ละรว่ มออกเสียงตามหลักการและขนั้ ตอนหลกั ของสหกรณ์

สมาชิกมีสิทธิและร่วมออกเสียงในข้ันตอนหลักตามหลักการของสหกรณ์ ในการกาหนดแนว
ทางการดาเนนิ งานของกลุ่ม รวมทั้งร่วมตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะ จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมูล
ทสี่ าคญั ไดแ้ ก่

 หลักการและขน้ั ตอนของสหกรณ์
 กจิ กรรมใหส้ มาชกิ มีสว่ นรว่ มกาหนดแนวทางการดาเนนิ การกล่มุ
 หน่วยเกี่ยวข้อง (หน่วยงานท่ีสนับสนุน/ช่วยเหลือในการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมของ

กล่มุ )

2.1.4.6 ขนั้ ท่ี 6 สง่ เสรมิ การใชฐ้ านข้อมูลและองคค์ วามรู้เพื่อปรับปรงุ การบรหิ ารกลุ่ม
ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูลและองค์ความรู้เพ่ือปรับปรุงการบริหารกลุ่ม ทาให้กลุ่มมีภูมิคุ้มกัน

ปรับตัวไดท้ นั เวลา โดยการวเิ คราะห์และใชป้ ระโยชน์จากรายงานทางการเงิน เพื่อปรับแผนการขายของ
กลุ่ม แผนการผลิตของกลุ่มและสมาชิก และแก้ปัญหาอื่นๆ รวมทั้ง การหม่ันหาความรู้ใหม่มาปรับปรุง
การบริหารกลุ่ม ซ่ึงอาจเป็นความรู้จากทั้งภายในและภายนอกกลุ่ม โดยแบ่งตามองค์ประกอบสาคัญ
ดังนี้

6.1 การวเิ คราะห์และใชป้ ระโยชน์จากรายงานทางการเงิน
6.2 การหาความรใู้ หมม่ าปรับปรงุ การบรหิ ารกล่มุ
❖ การวิเคราะห์และใช้ประโยชนจ์ ากรายงานทางการเงนิ
การวิเคราะห์และใช้ประโยชน์จากรายงานทางการเงิน เพ่ือปรับแผนการขาย ให้เหมาะสมกับ
สถานะทางการเงินของกลุ่ม เช่น เพิ่มช่องทางการขายออนไลน์ ท่ีมีต้นทุนการตลาดต่ากว่า ปรับ
แผนการผลิตของสมาชิก ใหเ้ หมาะสมกับสถานะทางการเงนิ ของกลุ่ม จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมูลท่ี
สาคัญ ได้แก่
 รายงานทางการเงนิ
 การใชป้ ระโยชน์จากรายงานทางการเงิน

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 37 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพืน้ ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

 หน่วยเกี่ยวข้อง (หน่วยงานที่สนับสนุน/ช่วยเหลือในการวิเคราะห์และใช้ประโยชน์จาก
รายงานทางการเงิน)

❖ การหาความรใู้ หม่มาปรบั ปรุงการบริหารกลุ่ม
นาความรู้จากภายนอกมาปรับปรงุ การบริหารกลุ่มให้มีมาตรฐาน เชน่ การบริหารกลุ่มจากกรม

ส่งเสริมสหกรณ์ การบัญชีจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เป็นต้น รวมท้ังนาวิธีการทางานที่ประสบ
ความสาเรจ็ ของสมาชิกมาขยายผลในกลมุ่ จึงควรสารวจและรวบรวมข้อมลู ทีส่ าคัญ ได้แก่

 องคค์ วามรู้ที่ตอ้ งการ
 องคก์ รท่ีเปน็ แหลง่ องค์ความรู้

2.1.4.7 ขั้นท่ี 7 สร้างทกั ษะการทางานรว่ มกบั หน่วยงาน ใหต้ รงจดุ สาคัญและต่อเนื่อง
สร้างทักษะการทางานร่วมกับหน่วยงานให้ตรงจุดสาคัญและต่อเนื่อง โดยต้องรู้บทบาทการ

ให้บริการของแต่ละหน่วยงาน และรู้จักใช้ประโยชน์จากความรู้และทรัพยากรของหน่วยงานเพื่อช่วย
แก้ปัญหาที่กลุ่มไม่มีกาลังพอจะแก้ไข หรือ เพื่อช่วยยกระดับ/มาตรฐานการทางานของกลุ่ม โดยแบ่ง
ตามองคป์ ระกอบสาคญั ดงั น้ี

7.1 รบู้ ทบาทการใหบ้ รกิ ารของแต่ละหนว่ ยงาน
7.2 ร้จู กั ใช้ประโยชนจ์ ากความรู้และทรพั ยากรของหน่วยงาน

❖ รู้บทบาทการให้บริการของแตล่ ะหนว่ ยงาน
รู้บทบาทการให้บริการของแต่ละหน่วยงาน ว่าแต่ละหน่วยงานมีความเช่ียวชาญด้านใด เช่น

การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ การตลาด การบญั ชีและควบคมุ ภายใน จึงควรสารวจและรวบรวมขอ้ มูล
ทีส่ าคญั ไดแ้ ก่

 บทบาทการใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยงานภายนอกทงั้ ภาครัฐและเอกชน
 ความสมั พนั ธก์ บั หน่วยงานภาครฐั
 ความสัมพนั ธก์ ับหนว่ ยงานภาคเอกชน สมาคม ชมรม และหนว่ ยงานภาคประชาชน
❖ รู้จักใช้ประโยชนจ์ ากความร้แู ละทรพั ยากรของหน่วยงาน
กลุ่มมีความต้องการที่ชัดเจนว่าต้องการให้หน่วยงานเข้ามาช่วยในจุดใด สามารถเช่ือมจุดแข็ง
ของหน่วยงานและเครือข่ายภายนอก โดยดงึ ทรัพยากร (เทคโนโลยี เงินทุน องคค์ วามรู้) เข้ามาปรับปรุง
การผลิต การขายหรือการบริหารจัดการได้ตรงกับความต้องการของกลุ่ม ต่อเนื่อง และเปน็ รปู ธรรม จึง
ควรสารวจและรวบรวมข้อมูลทส่ี าคัญ ไดแ้ ก่
 ความต้องการ/ความคาดหวงั
 ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากหน่วยงานภายนอก

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และให้คาปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 38 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพนื้ ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

การยกระดบั การพัฒนาขีดความสามารถบคุ ลากรของส่วนราชการตัวอย่าง
การยกระดับการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรของส่วนราชการตัวอย่างได้ถูกวางแผนอย่าง
เปน็ ระบบเพอ่ื บรรลุวัตถปุ ระสงค์ใน 3 ส่วน คือ (1) การถา่ ยทอดความรู้บนั ได 7 ขน้ั สู่การรวมกลมุ่ อย่าง
ยงั่ ยืนแกส่ ว่ นราชการตวั อย่าง (2) การสกัดความร้ทู ีเ่ ป็นเทคนิคแนวปฏบิ ัติในการขับเคลื่อนการรวมกลุ่ม
ตามกรอบภารกิจของส่วนราชการตัวอย่าง ในแต่ละขั้นของบันได 7 ขั้น และ (3) การได้คู่มือบันได 7
ขั้นสู่เพ่ือการส่งเสริมสหกรณ์และหลักสตู รต้นแบบที่สามารถนาไปขยายผลการพัฒนาบุคลากรของสว่ น
ราชการตัวอยา่ งในพ้นื ทต่ี า่ งๆ ทวั่ ประเทศต่อไป
แนวทางในการยกระดับการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรของสว่ นราชการตัวอยา่ ง เรมิ่ จาก
ร่วมกับมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ คัดเลือกส่วนราชการตัวอย่างท่ีมีศักยภาพและความพร้อมในการเข้า
ร่วมโครงการ เช่น กรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นต้น รวมไปถึงการเข้าหารือกับส่วนราชการตัวอย่างเพ่ือ
กาหนดขอบเขตและคัดเลอื กกลุ่มเป้าหมายที่จะร่วมดาเนินการในโครงการ จากนั้นร่วมกับส่วนราชการ
ตัวอย่างตรวจสอบและทบทวนแนวทางพัฒนาบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการรวมกลุ่มอย่างยั่งยืน ตาม
ทฤษฎีใหม่และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งประเด็นสาคัญในเชิงระบบและกลไก ต่อมาเป็น
การคัดเลือกและลงพ้ืนท่ี 5 กรณีศึกษาของส่วนราชการตัวอย่างเพ่ือสรุปบทเรียนและแนวปฏิบัติที่ดี
จากนั้นนาข้อมูลทั้งหมดที่ได้มาทาการร่างคู่มือบันได 7 ขั้นเพื่อการส่งเสริมสหกรณ์ พัฒนาหลักสูตร
ต้นแบบ พัฒนาโครงการอบรมต้นแบบ และท้ายที่สุดทาการสรุปคู่มือบันได 7 ข้ัน เพื่อการส่งเสริม
สหกรณเ์ พอื่ นาไปสู่การขยายผลต่อไป

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 39 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพ้นื ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รูปท่ี 2.8 แนวทางยกระดบั ขีดความสามารถในการพฒั นาบุคลากรของสว่ นราชการตัวอย่าง

แนวทางในการดาเนนิ การพัฒนามุ่งหวงั ให้เกิดการขยายผลโดยสว่ นราชการตวั อย่าง ดังน้ัน จึง
จาเป็นตอ้ งสรา้ งกระบวนการมีส่วนรว่ มระหวา่ งคณะท่ีปรึกษา มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระฯ ในฐานะผพู้ ฒั นา
หลักของบันได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่างยง่ั ยืน และกรมส่งเสริมสหกรณ์ในฐานะส่วนราชการตัวอย่างท่ี
จะนาผลผลติ ทไี่ ดไ้ ปประยุกต์ใช้จรงิ โดยมรี ายละเอยี ดของขัน้ ตอนการพัฒนาดงั ตอ่ ไปนี้

ตารางที่ 2.2 ข้นั ตอนการยกระดบั ขดี ความสามารถในการพัฒนาบคุ ลากรของส่วนราชการตัวอย่าง

กิจกรรมหลกั บทบาท / การมสี ว่ นรว่ ม ผลผลิต

คณะที่ปรกึ ษา มูลนิ ิปดิ ทองหลังพระ ส่วนราชการ

ฯ ตวั อย่าง

1) คดั เลอื กส่วน - รวบรวมและ - รว่ มคัดเลอื กคดั เลือก กลุ่มตัวอยา่ งท่ี

ราชการตวั อยา่ ง นาเสนอข้อมลู ของ สว่ นราชการตัวอย่าง มศี กั ยภาพและ

ทม่ี ศี ักยภาพและ ส่วนราชการต่างๆ กับคณะท่ปี รกึ ษา ความพรอ้ ม

ความพรอ้ มใน ท่ีมภี ารกิจในการ

การเข้ารว่ ม ขบั เคลื่อนการ

โครงการ รวมกลมุ่

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 40 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้นื ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมหลกั บทบาท / การมสี ว่ นร่วม ผลผลิต
2) ตรวจสอบและ แนวทางพฒั นา
คณะทป่ี รกึ ษา มูลนิ ิปดิ ทองหลงั พระ ส่วนราชการ บุคลากรท่ีมีอยู่
ทบทวนแนวทาง เดมิ
พัฒนาบุคลากร ฯ ตวั อยา่ ง
ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับ ต้นแบบ
การรวมกลมุ่ - ทบทวนแนวทางใน - เขา้ ร่วมประชุม/ให้ - สนบั สนุนข้อมลู หลกั สตู รและ
อย่างยัง่ ยนื กระบวนการ
ปัจจุบัน ท่ีใช้ใน ขอ้ คิดเหน็ กบั สว่ น เก่ียวกับพัฒนา ฝึกอบรมการ
3) พฒั นาหลกั สตู ร รวมกลมุ่ อยา่ ง
และ การวางแผนพฒั นา ราชการตัวอยา่ ง บุคลากรด้านการ ยงั่ ยนื
กระบวนการ
ฝึกอบรม บุคลากรด้านการ - รว่ มให้ขอ้ คดิ เหน็ ขบั เคล่ือนการ

ขับเคล่อื นการ ในการประมวลผล รวมกลมุ่

รวมกลมุ่ และใหค้ าแนะนา - นาคูม่ อื สารวจ

- สนบั สนุนใหส้ ่วน ในการนาข้อมูล และรวมรวม

ราชการตวั อยา่ ง และสถติ ทิ ่ไี ดไ้ ป ขอ้ มูลเพือ่ การ

ทดลองใชค้ ู่มือ ปรับใชใ้ นขนั้ ต่อไป รวมกลมุ่ อยา่ ง

สารวจและรวม ยั่งยืน (บนั ได 7

รวมขอ้ มลู เพ่ือการ ขั้นสู่การรวมกลุ่ม

รวมกลมุ่ อยา่ ง อยา่ งยงั่ ยนื ) ไป

ยัง่ ยนื (บันได 7 ประเมนิ สถานะ

ข้นั สกู่ ารรวมกลุ่ม ของการรวมกลุ่ม

อย่างยั่งยืน) ไป ในปจั จบุ นั

ประเมนิ สถานะ

ของการรวมกลมุ่

ในปจั จุบัน

- รวบรวมข้อมลู และ

สถิติทีเ่ กิดขึน้ ไปใช้

ในการวิเคราะห์

และยกระดับ

แนวทางพัฒนา

บุคลากรที่

เกย่ี วข้อง

- กาหนดหลักเกณฑ์ - เขา้ ร่วมประชมุ /ให้ - สนบั สนุนขอ้ มลู

และคัดเลือกพืน้ ท่ี ข้อคิดเห็นกบั ส่วน กลุ่มตัวอยา่ ง /

กรณีศกึ ษาจานวน ราชการตัวอย่าง พ้นื ท่ีกรณศี กึ ษา

5 พืน้ ท่ี ใน 5 - ร่วมลงพ้ืนที่ และ - สนบั สนนุ ข้อมลู

ภูมภิ าค เพอื่ สอบ ให้ความคิดเหน็ ใน โครงสรา้ ง

ทานสถานะและ การพฒั นา หลักสตู รท่ีมีอยู่

สรุปบทเรยี นการ หลกั สตู รและ ในปจั จุบัน

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 41 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพนื้ ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กจิ กรรมหลกั บทบาท / การมีส่วนรว่ ม ผลผลิต

4) จดั โครงการ คณะทป่ี รึกษา มูลนิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ ส่วนราชการ
อบรมตน้ แบบ
ฯ ตวั อยา่ ง

รวมกลมุ่ ตามกรอบ กระบวนการ - ร่วมลงพ้ืนที่ และ

บันได 7 ข้ัน ฝกึ อบรม ให้ความคดิ เหน็

- ลงพ้ืนทเี่ พื่อ ในการพฒั นา

ประเมนิ สถานะ/ หลักสตู รและ

ผลสาเร็จของการ กระบวนการ

รวมกลมุ่ และ ฝึกอบรม

ศกึ ษากระบวนการ

รวมกลมุ่ ของพน้ื ท่ี

กรณีศึกษา

- สรุปบทเรียนและ

รวบรวมแนว

ปฏบิ ัตทิ ดี่ ีจากพ้นื ท่ี

กรณศี กึ ษา

- พัฒนา (รา่ ง)

ตน้ แบบหลักสตู ร

และกระบวนการ

ฝึกอบรมการ

รวมกลมุ่ อยา่ ง

ยง่ั ยืน

- จัดโครงการอบรม - เขา้ รว่ มประชมุ /ให้ - สนบั สนนุ ผลการจัด

ต้นแบบ ข้อคิดเห็นกบั ส่วน งบประมาณใน อบรมต้นแบบ

- ประเมินผลและ ราชการตวั อยา่ ง การจดั โครงการ

ปรบั ปรงุ ตน้ แบบ - รว่ มสงั เกตการณ์ อบรมตน้ แบบ

หลกั สตู รและ การจดั โครงการ - ร่วมเปน็ วิทยากร

กระบวนการ อบรมตน้ แบบ ในการจัด

ฝึกอบรมการ - ร่วมให้ โครงการอบรม

รวมกลมุ่ อยา่ ง ขอ้ เสนอแนะใน ตน้ แบบ

ย่งั ยืน การประเมนิ ผล

และปรบั ปรุง

ตน้ แบบหลกั สตู ร

และกระบวนการ

ฝึกอบรมการ

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 42 -


Click to View FlipBook Version