The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:38:52

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

ตารางท่ี 4.17 ประเด็นท่เี ป็นปญั หา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหาในข้นั ท

บัน ดแต่ละข้นั มปี ระเดน็ ใดที่เปน็ ปัญหา/ พฒั นายาก อะ รบา้ ง

รหัส ประเดน็ ปญั หา หรอื พัฒนายาก จานวน คิดเป็น
ผู้ตอบ %

ข้ันที่ 6 สง่ เสริมการใชฐ้ านข้อมลู และองค์ความรเู้ พอ่ื ปรับปรงุ การบริหารกลุ่ม 16%

B6.1 การวิเคราะห์และใช้ประโยชน์จากรายงานทางการเงนิ

B6.1-1 ไมม่ รี ะบบฐานขอ้ มลู 19

B6.1-2 ขาดเครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการเกบ็ ขอ้ มูลทเี่ ป็นแบบมาตรฐานสากล 6 5%

B6.1-3 มีการเปลี่ยนแปลงแบบฟอร์มท่ีใช้ในการเก็บขอ้ มูลอยู่บอ่ ยครั้ง ทา 1 1%
ใหเ้ กดิ ความซ้าซอ้ น

B6.1-4 ขาดการจัดเก็บข้อมูลพ้ืนฐานท่ีจาเป็นของสมาชิกที่นามาใช้ 13 11%
ประโยชนไ์ ด้ เชน่ ขอ้ มูลการผลติ ข้อมูลทางการเงิน เป็นตน้ 13 11%

B6.1-5 ไม่มีการอพั เดทระบบฐานขอ้ มลู ให้เป็นปจั จุบนั

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรึก

- 24

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพืน้ ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ท่ี 6 ส่งเสริมการใชฐ้ านข้อมลู และองคค์ วามรูเ้ พอื่ ปรับปรุงการบรหิ ารกลมุ่

บนั ดแต่ละขัน้ มขี ้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ ขปัญหาอยา่ ง รบ้าง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปญั หา จานวน คิดเป็น
ผู้ตอบ %

ข้ันท่ี 6 สง่ เสรมิ การใชฐ้ านข้อมลู และองค์ความรู้เพ่อื ปรับปรุงการบริหารกลมุ่

S6.1 การวเิ คราะหแ์ ละใช้ประโยชนจ์ ากรายงานทางการเงิน

S6.1-1 สร้างระบบฐานข้อมูลท่ีถูกต้องครบถ้วน รวมถึงองค์ความรู้ที่ 15 13%

เป็นมาตรฐานโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์และเผยแพร่ใหผ้ ู้ท่ีมสี ่วน

เกี่ยวขอ้ งนาไปใช้ ซ่งึ สามารถเรียกใช้และเข้าถงึ ได้ทุกภาคส่วนท่ี

เก่ียวขอ้ ง

S6.1-2 อัพเดทฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและวิเคราะห์ข้อมูลจากสภาพ 17 15%

ความเป็นจริง

S6.1-3 จัดอบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นถึง 34 29%

ความสาคัญในการนาข้อมูลจากฐานข้อมูลมาวิเคราะห์ ใช้

ประโยชน์ในการตัดสินใจ วางแผนกลุม่

S6.1-4 สรรหาคณะกรรมการหรือฝ่ายจัดการท่ีมีความรู้ ความเข้าใจใน 6 5%

การจดั ทาฐานขอ้ มลู มาถา่ ยทอดการจัดทาฐานข้อมูลของกลุ่ม

S6.1-5 ส่งเสริมให้มีการนาเครื่องมือสารสนเทศทางการเงินหรือ 9 8%

โปรแกรมสาเร็จรูปท่ีช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลมาใช้ในการ

ปรบั ปรงุ บริหารงานกลมุ่

กษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

42 -

รหัส ประเดน็ ปัญหา หรือ พัฒนายาก จานวน คิดเป็น
ผ้ตู อบ %

B6.1-6 ฐานข้อมูลขององค์กรยังเป็นข้อมูลดิบ ขาดการวิเคราะห์ทาให้ไม่ 12 10%

สามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้

B6.1-7 ฝ่ายบริหาร/ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ไม่ให้ความสาคัญกับข้อมูลทาง 26 22%
การเงินมาใช้ในการบริหารกลมุ่ 33 28%
11 9%
B6.1-8 คณะกรรมการกลมุ่ ยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจในการนาฐานขอ้ มลู 5 4%
และองคค์ วามร้มู าใชป้ ระโยชน์
5 4%
B6.1-9 สมาชกิ ทีเ่ ป็นผูส้ งู อายุ ไม่มคี วามรูด้ ้านบญั ชี 2 2%
B6.1-10 ไมม่ ีการประชาสมั พันธข์ า่ วสารความร้แู ก่สมาชิก
B6.2 การหาความร้ใู หมม่ าปรบั ปรุงการบริหารกลุ่ม
B6.2-1 คณะกรรมการผิดก้ันความรู้ใหม่ๆ ไม่ยอมเรียนรู้ และไม่ยอมรับ

การเปลย่ี นแปลงหรอื รับฟงั ความคดิ จากฝ่ายสง่ เสรมิ ฯ
B6.2-2 คณะกรรมการไม่รู้วิธีการนาความรู้ใหม่ๆ ท่ีได้มาปรับปรุงการ

บรหิ ารกลุ่ม

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 24

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพัฒนาพนื้ ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปัญหา จานวน คดิ เป็น
ผตู้ อบ %

S6.1-6 ส่งเสริมให้มีการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินอย่างสม่าเสมอ 9 8%

เพ่ือให้ทราบถึงสถานการณ์การดาเนินธุรกิจในปัจจุบันและ

ทราบถึงปัญหาอย่างทันถ่วงที

S6.1-7 ติดตามและประเมนิ ผลเจ้าหน้าทใ่ี นการนาข้อมูลจากฐานขอ้ มูล 5 4%

มาใช้ประโยชนอ์ ย่างสมา่ เสมอ

S6.1-8 ประชาสมั พันธข์ ่าวสารความรู้แก่สมาชิกอย่างสมา่ เสมอ 4 3%

S6.2 การหาความรู้ใหมม่ าปรับปรุงการบริหารกลมุ่ 1 1%
S6.2-1 จัดอบรมให้ความรใู้ หมท่ ุกๆ 3 เดือน 2 2%

S6.2-2 สร้างสมาชิกรนุ่ ใหม่ ให้ความรทู้ างด้านบัญชี

กษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

43 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพื้นท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

 ขน้ั ที่ 7 สร้างทกั ษะการทางานรว่ มกับหนว่ ยงานใหต้ รงจดุ สาคญั และตอ่ เนื่อง
ในขนั้ ท่ี 7 สรา้ งทกั ษะการทางานร่วมกับหน่วยงานใหต้ รงจดุ สาคัญและต่อเน่ือง ได้แบง่ ประเด็น

ที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 12 ประเด็น และขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหาไว้ 9 ประเด็น โดยแบ่งเปน็ 2
กลุ่มยอ่ ย ดังนี้

3. กลุ่มย่อย B7.1 และ S7.1 รู้บทบาทการให้บริการของแต่ละหน่วยงาน ประกอบด้วย
ประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 3 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 2
ประเดน็

4. กลุ่มย่อย B7.2 และ S7.2 รู้จักใช้ประโยชน์จากความรู้และทรัพยากรของหน่วยงาน
ประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก 9 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไข
ปัญหา 7 ประเดน็

ในภาพรวมของข้ันท่ี 7 สร้างทักษะการทางานร่วมกับหน่วยงานให้ตรงจุดสาคัญและต่อเนื่อง
ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 117 คน คิดเป็นร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมอบรม
ทั้งหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ความคิดเหน็ เก่ียวกับประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก ไว้ท้ังหมด 8
ประเด็น ซึ่ง 2 อันดับแรกที่ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็น ได้แก่ อันดับท่ี 1 คือ B7.2-2
ขาดการเช่ือมโยงเครือข่ายระหว่างกลุ่มหรือหน่วยงานภายนอก เพราะมองว่าระบบราชการมีขั้นตอนที่
ค่อนข้างยุ่งยาก มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ีจานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 28 จาก
จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 117 คน และรองลงมาคือ B7.2-4 ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่ให้
ความสาคัญในการบรู ณาการเชือ่ มโยงกับเครือข่ายอ่ืนๆ มีผตู้ อบแบบสารวจใหค้ วามคดิ เห็นในประเด็นนี้
จานวน 25 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 21 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน

ซ่ึงจากประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปัญหาไว้ทั้งหมด 9 ประเด็น โดยประเด็นที่สาคัญ 2 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 คือ S7.1-3 เพิ่ม
ช่องทางเพ่ือให้แต่ละหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้เข้ามาพบปะพูดคุยกันให้ความสาคัญในการ เช่ือมโยง
เครือข่ายและทาให้เกิดความต่อเนื่อง เช่น การจัดเวทีแลกเปล่ียนรู้ เป็นต้น มีผู้ตอบแบบสารวจให้
ขอ้ เสนอแนะในประเด็นน้ี จานวน 21 คน คิดเปน็ ร้อยละ 18 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117
คน รองลงมาคือ S7.2-6 สนับสนุนการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ โดยให้มีการเช่ือมโยงเครือข่ายทั้ง
ภาครัฐ เอกชน และหน่วยงานต่างๆ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะ จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ
13 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน ตามลาดับ ส่วนประเด็นอื่นมีผู้ตอบแบบสารวจท่ีมี
สดั สว่ นลดหลน่ั กนั ไป ดังตารางต่อไปนี้

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 244 -

ตารางท่ี 4.18 ประเด็นที่เปน็ ปญั หา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขนั้ ท

บัน ดแตล่ ะขน้ั มปี ระเด็นใดทเี่ ป็นปญั หา/ พฒั นายาก อะ รบา้ ง

รหัส ประเดน็ ปัญหา หรือ พัฒนายาก จานวน คดิ เปน็
ผู้ตอบ %

ข้ันที่ 7 สรา้ งทักษะการทางานร่วมกบั หนว่ ยงาน ใหต้ รงจดุ สาคญั และตอ่ เนอ่ื ง 3%

B7.1 รู้บทบาทการใหบ้ รกิ ารของแตล่ ะหนว่ ยงาน

B7.1-1 วิสัยทัศน์ของผู้นากลุ่มท่ีไม่เปิดรับหน่วยงานภายนอก เน่ืองจาก 4

กลัวเสยี ประโยชน์หากฝา่ ยห่นง่ จะได้รบั ประโยชนจ์ ากกลุ่มบา้ ง

B7.1-2 ไมส่ ามารถเข้าถงึ ขอ้ มูลของหนว่ ยงานต่างๆ ได้ 11 9%

B7.1-3 ข้อมูลของหน่วยงานต่างๆ ไมม่ ีการอพั เดทใหเ้ ปน็ ปัจจุบัน 1 1%
B7.2 รู้จักใชป้ ระโยชน์จากความรแู้ ละทรพั ยากรของหนว่ ยงาน 2 2%
B7.2-1 ไมก่ ลา้ มีพันธมติ ร

B7.2-2 ขาดการเช่ือมโยงเครือข่ายระหว่างกลุ่มหรือหน่วยงานภายนอก 33 28%
เพราะมองวา่ ระบบราชการมขี ้ันตอนทค่ี ่อนข้างยุ่งยาก 5 4%

B7.2-3 ไมร่ วู้ ิธีทจ่ี ะเข้าหาหน่วยงานภายนอกต่างๆ

สานักงานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 24

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพัฒนาพ้ืนท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ที่ 7 สรา้ งทักษะการทางานร่วมกับหนว่ ยงาน ให้ตรงจดุ สาคญั และต่อเนือ่ ง

บัน ดแตล่ ะขัน้ มีขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ ขปัญหาอยา่ ง รบ้าง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปัญหา จานวน คดิ เปน็
ผตู้ อบ %

ขนั้ ท่ี 7 สร้างทักษะการทางานรว่ มกับหนว่ ยงาน ใหต้ รงจดุ สาคญั และต่อเนื่อง

S7.1 รู้บทบาทการให้บริการของแต่ละหนว่ ยงาน

S7.1-1 ส่งเสริมให้คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมลู 6 5%

ของหน่วยงานสนับสนุนเพื่อขอรับการสนับสนุนในด้านต่างๆ ที่

ตรงความต้องการของกลมุ่

S7.1-2 เพ่ิมการประชาสัมพันธ์ สร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร ให้ 2 2%

หนว่ ยงานภายนอกได้รู้จกั

S7.2 รู้จักใชป้ ระโยชน์จากความรูแ้ ละทรัพยากรของหน่วยงาน 9 8%
S7.2-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจในการบูรณาการเชื่อมโยง 5 4%
21 18%
กับเครือขา่ ยอ่นื ๆ
S7.2-2 กาหนดแผนการสร้างพันธมิตรและบูรณาการจากแผนธุรกิจที่

เหมาะสมกับศกั ยภาพของกล่มุ
S7.2-3 เพ่ิมช่องทางเพ่ือให้แต่ละหน่วยงานที่เก่ียวข้องได้เข้ามาพบปะ

พูดคุยกันให้ความสาคญั ในการเช่ือมโยงเครือข่ายและทาให้เกิด
ความต่อเนือ่ ง เช่น การจัดเวทแี ลกเปลี่ยนรู้ เปน็ ต้น

กษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

45 -

รหัส ประเดน็ ปญั หา หรอื พัฒนายาก จานวน คิดเปน็
ผตู้ อบ %

B7.2-4 ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่ให้ความสาคัญในการบูรณาการ 25 21%

เชอ่ื มโยงกบั เครือข่ายอืน่ ๆ

B7.2-5 หน่วยงานเอกชนภายนอกเอาเปรยี บ 2 2%

B7.2-6 หน่วยงานภายนอกท่ีเข้ามาสนับสนุน สนับสนุนไม่ตรงตาม 8 7%
วัตถปุ ระสงค์ ความตอ้ งการของสหกรณ์ 6 5%

B7.2-7 หน่วยงานภายนอกทเี่ ขา้ มาสนับสนุนไมม่ คี วามต่อเนอ่ื ง

B7.2-8 หน่วยงานภาครฐั ภายนอกเข้ามาช่วยเหลอื มากเกินไป จนสหกรณ์ 2 2%
ไมส่ ามารถพึ่งพาตนเองได้ 1 1%

B7.2-9 เงื่อนไขของหน่วยงานภายนอกบางหน่วยงานมีขอ้ จากดั ที่ทาใหไ้ ม่
สามารถเข้าถึงหรอื เช่ือมโยงได้

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 24

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพ้ืนที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปัญหา จานวน คิดเป็น
ผตู้ อบ %

S7.2-4 กาหนดนโยบายในการสนับสนุนให้มีความตอ่ เนื่องหรือกาหนด 3 3%

เป็นนโยบายหลัก เช่น การจัดทา timeline หรือกาหนดในวาระ

การประชมุ ประจาเดอื นของสหกรณ์ เปน็ ตน้

S7.2-5 ผลักดันให้มีตัวแทนของสหกรณ์ท่ีสามารถเจรจาประสานกับ 8 7%

หนว่ ยงานสนับสนนุ ได้

S7.2-6 สนับสนุนการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ โดยให้มีการเชื่อมโยง 15 13%

เครอื ขา่ ยทงั้ ภาครัฐ เอกชน และหนว่ ยงานตา่ งๆ

S7.2-7 แก้ไขกฎหมายให้สหกรณ์/กลุ่ม ในบางข้อท่ีจะทาให้สามารถ 2 2%

ดาเนนิ งานได้คล่องตัวขน้ึ

กษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

46 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพนื้ ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. การสารวจความคิดเห็นหลังเข้าอบรม ผู้เข้าอบรมมีความต้ังใจท่ีจะนาบัน ด 7 ขั้น ปปรับใช้
อย่าง รบ้าง
นอกจากผลการสารวจเก่ียวกบั การสารวจประเด็นท่เี ป็นปญั หา/พัฒนายากและข้อเสนอแนะใน

การแก้ปัญหาบันไดแต่ละข้ันแล้วนั้น ทีมท่ีปรึกษาได้ทาการสารวจความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับความ
ตั้งใจที่จะนาบันได 7 ข้ันไปปรับใช้อย่างไรบ้าง หลังจากเข้าร่วมอบรม ซ่ึงผลการรวบรวมแบบสารวจ
พบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 117 คน คิดเป็นร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมอบรมท้ังหมด 123 คน มีความ
คิดเห็นเก่ียวกับความต้ังใจท่ีจะนาบันได 7 ข้ันไปปรับใช้อย่างไรบ้าง หลังจากเข้าร่วมอบรม โดยทีมที่
ปรึกษาไดท้ าการจาแนกระดับความต้งั ใจทจี่ ะนาบันได 7 ขน้ั ไปปรับใชเ้ ป็น 6 ระดับ ดังนี้

1) นากลับไปคยุ /แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นในทีมส่งเสริม/ถ่ายทอด เพอื่ ให้เข้าใจรายละเอียด
บนั ได 7 ขั้น

2) นากลับไปถ่ายทอดความรู้นี้ใหแ้ ก่ ผ้นู า/กรรมการ ฝา่ ยจัดการ และสมาชกิ ในสหกรณ์
3) นากลับไปเป็นกรอบในการวเิ คราะห์สถานการณ์ของสหกรณ์
4) นากลบั ไปวางแผนพัฒนาสหกรณ์
5) ยงั ไม่ใช้ เพราะไมเ่ ห็นประโยชน์
6) อื่นๆ เป็นระดับที่เป็นปลายเปิดเพื่อให้ผู้ตอบแบบสารวจได้แสดงความคิดเห็นที่

นอกเหนือจาก 5 ข้อท่ีกล่าวมา หากผู้ตอบแบบสารวจมองว่า 5 ข้อท่ีกล่าวมาไม่ตรงกับ
คาตอบของตนเอง ซึ่งในการสารวจครั้งนี้มีผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ความคิดเห็นใน
ประเด็นอ่ืนๆ เพ่ิมเติมไว้ 3 ประเด็น ได้แก่ 1) นาไปใช้ในการอบรมและถ่ายทอดความรู้
ใหก้ บั เจ้าหน้าท่ีท่ีเกีย่ วข้องในการสง่ เสริมสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร 2) หากนาโปรแกรม
สาเร็จรูปมาใช้ในการประเมิน 7 ขั้น แบบสะดวก เข้าใจง่ายพร้อมการแปรผล เพ่ือ
นาไปใช้ และ 3) ยังไม่สามารถนาไปปรับใช้ หรือถา่ ยทอดไดอ้ ยา่ งถูกต้องแมน่ ยา

ท้ังนี้ผลจาการสารวจพบว่าระดับการนาบันได 7 ข้ันไปปรับใช้ท่ีมีผู้ตอบแบบสารวจมากที่สุด
4 อันดับแรก คือ ผู้ตอบแบบสารวจจะนากลับไปคุย/แลกเปล่ียนความคิดเห็นในทีมส่งเสริม/ถ่ายทอด
เพื่อให้เข้าใจรายละเอียดของบันได 7 ข้ัน มีผู้ตอบแบบสารวจจานวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 78 จาก
จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 117 คน อันดับท่ี 2 คือจะนากลับไปเป็นกรอบในการวิเคราะห์
สถานการณ์ของสหกรณ์ มีผู้ตอบแบบสารวจจานวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 76 จากจานวนผู้ตอบแบบ
สารวจทั้งหมด 117 คน และอันดับที่ 3 คือ จะนากลับไปวางแผนพัฒนาสหกรณ์ มีผู้ตอบแบบสารวจ
จานวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 72 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน และอันดับที่ 4 คือ
จะนากลับไปถ่ายทอดความรู้น้ีให้แก่ ผู้นา/กรรมการ ฝ่ายจัดการ และสมาชิกในสหกรณ์ มีผู้ตอบแบบ
สารวจจานวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 60 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน โดยทั้ง 4
ระดับที่กล่าวมานี้มีสัดส่วนของผู้ตอบแบบสารวจเกินร้อยละ 50 ของผู้เข้าอบรมที่ตอบแบบสารวจ
ทงั้ หมด สว่ นระดบั อ่ืนๆ มีผูต้ อบแบบสารวจทีม่ สี ัดสว่ นลดหล่นั กนั ไป ดงั นี้

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 247 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพน้ื ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตารางที่ 4.19 ความคิดเห็นของผู้เข้าอบรมหลังเข้าอบรม ผ้เู ขา้ อบรมมคี วามตั้งใจท่ีจะนาบันได 7 ขน้ั ไป

ปรับใชอ้ ยา่ งไรบ้าง

ขอ้ ท่ี หลงั เข้าอบรมครง้ั นี้ ท่านมีความตั้งใจท่จี ะนาบนั ด 7 ขน้ั จานวน คดิ เปน็
ปปรับใช้อย่าง รบ้าง ผ้ตู อบ %

1 นากลับไปคุย/แลกเปล่ียนความคิดเห็นในทีมส่งเสริม/ถ่ายทอด เพื่อให้เข้าใจ 91 78%

รายละเอยี ดของบันได 7 ขั้น

2 นากลับไปถ่ายทอดความรู้นี้ให้แก่ ผู้นา/กรรมการ ฝ่ายจัดการ และสมาชิกใน 70 60%

สหกรณ์

3 นากลับไปเปน็ กรอบในการวเิ คราะหส์ ถานการณ์ของสหกรณ์ 89 76%

4 นากลับไปวางแผนพัฒนาสหกรณ์ 84 72%

5 ยังไมใ่ ช้ เพราะไม่เห็นประโยชน์ 1 1%

6 อื่นๆ

6.1 นาไปใช้ในการอบรมและถ่ายทอดความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องในการ 3 3%

ส่งเสรมิ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร

6.2 หากนาโปรแกรมสาเร็จรูปมาใช้ในการประเมิน 7 ข้ัน แบบสะดวก เข้าใจง่าย 1 1%

พร้อมการแปรผล เพื่อนาไปใช้

6.3 ยังไม่สามารถนาไปปรับใช้ หรอื ถา่ ยทอดไดอ้ ย่างถูกตอ้ งแม่นยา 1 1%

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 248 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพื้นทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การสารวจความคดิ เห็นหลงั เขา้ อบรม ผเู้ ขา้ อบรมมคี วามต้ังใจที่จะนาบนั ด ข้ัน ปปรบั ใช้อยา่ ง รบา้ ง

ยงั ไมส่ ามารถนาไปปรับใช้ หรอื ถ่ายทอดได้อยา่ งถกู ตอ้ งแมน่ ยา 1 (1%)

หากนาโปรแกรมสาเรจ็ รูปมาใชใ้ นการประเมนิ 7 ขัน้ แบบ 1 (3%)
สะดวก เข้าใจงา่ ยพรอ้ มการแปรผล เพอื่ นาไปใช้ 3 (2%)

นาไปใชใ้ นการอบรมและถา่ ยทอดความรใู้ ห้กบั เจา้ หนา้ ทท่ี ี่
เก่ยี วขอ้ งในการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

ยงั ไมใ่ ช้ เพราะไม่เหน็ ประโยชน์ 1 (1%)

นากลับไปวางแผนพฒั นาสหกรณ์ 84 (72%)

นากลับไปเปน็ กรอบในการวิเคราะห์สถานการณ์ของสหกรณ์ 89 (76%)

นากลับไปถา่ ยทอดความร้นู ใ้ี หแ้ ก่ ผู้นา กรรมการ ฝ่ายจัดการ 70 (60%)
และสมาชิกในสหกรณ์ 91 (78%)

นากลบั ไปคยุ แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นในทีมส่งเสริม ถา่ ยทอด
เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจรายละเอยี ดของบันได 7 ขนั้

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

4. การสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องท่ีอยากให้กรมส่งเสริมสหกรณ์สนับสนุนเพื่อผู้เข้าอบรม
สามารถนาบัน ด ขนั้ ปขบั เคล่อื นในสหกรณใ์ หเ้ กิดผลเป็นรูป รรม
ต่อมาทีมท่ีปรึกษาได้ทาการสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อยากให้กรมส่งเสริมสหกรณ์

สนับสนุน เพ่ือผู้เข้าอบรมสามารถนาบันได 7 ขั้น ไปขับเคลื่อนในสหกรณ์ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม เพ่ือ
นามาเป็นข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการทางานและให้การสนับสนุนแก่ผู้ท่ีมีรส่วนเก่ียวข้องต่างๆ ที่
ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จากกรมส่งเสรมิ ได้ตรงตามความต้องการมากท่สี ุด

ผลการรวบรวมแบบสารวจพบวา่ มผี ูต้ อบแบบสารวจ 117 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 95 ของผูเ้ ขา้ ร่วม
อบรมทั้งหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจ ประกอบด้วย ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่
1 จังหวัดปทุมธานี ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ศูนย์ที่ 1-20 และ นักทรัพยากร
บุคคล มีความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองท่ีอยากให้กรมส่งเสริมสหกรณ์สนับสนุนเพื่อผู้เข้าอบรมสามารถนา
บันได 7 ขั้น ไปขับเคลื่อนในสหกรณ์ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ซึ่งในภาพรวมผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ความ
คดิ เหน็ ไว้ทัง้ 16 ประเดน็ โดย 2 อนั ดบั แรกท่ีมีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคดิ เห็นมากทสี่ ุด ไดแ้ ก่ อนั ดับ

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 249 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพืน้ ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ท่ี 1 คือการพัฒนาบุคลากรท่ีเก่ียวข้องให้มีความรู้ ความสามารถและความพร้อมที่จะนาความรู้ไป
ถ่ายทอดต่อ รวมถึงสนับสนุนด้านการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรเฉพาะด้านอย่างต่อเน่ืองและจริงจัง
เพื่อทาให้เป็นเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมมืออาชีพ มีผู้ตอบแบบสารวจจานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 21 จาก
จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 117 คน รองลงมาคือการสนับสนุนงบประมาณท่ีทันเหตุการณ์
เหมาะสมกับการทางาน มีผู้ตอบแบบสารวจจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 15 จากจานวนผู้ตอบแบบ
สารวจทง้ั หมด 117 คน สว่ นความคดิ เหน็ อื่นๆ มผี ตู้ อบแบบสารวจท่ีมีสัดส่วนลดหล่นั กันไป ดังนี้

ตารางท่ี 4.20 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอยากให้กรมส่งเสริมสหกรณ์สนับสนุนเพ่ือผู้เข้าอบรม

สามารถนาบนั ได 7 ข้ัน ไปขับเคลือ่ นในสหกรณ์ให้เกิดผลเปน็ รปู ธรรม

ขอ้ ที่ ทา่ นอยากใหก้ รมสง่ เสริมสหกรณส์ นับสนุนในเรอ่ื งใดบ้าง เพอื่ ให้ท่าน จานวน คดิ เป็น
สามารถนาบัน ด 7 ข้นั ปขับเคลื่อนในสหกรณ์ให้เกิดผลเป็นรปู รรม ผตู้ อบ %

1 พฒั นาบคุ ลากรทเี่ กย่ี วข้องให้มีความรู้ ความสามารถและความพรอ้ มทจ่ี ะนา 25 21%
ความรไู้ ปถ่ายทอดตอ่ รวมถงึ สนบั สนนุ ด้านการพฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากร
เฉพาะดา้ นอยา่ งตอ่ เนอื่ งและจรงิ จงั เพ่อื ทาใหเ้ ป็นเจา้ หน้าท่ีส่งเสรมิ มอื อาชีพ 17 15%
9 8%
2 สนบั สนุนงบประมาณที่ทันเหตุการณ์ เหมาะสมกับการทางาน 7 6%
3 จัดกิจกรรมสง่ เสริมใหบ้ ุคลากรทเ่ี กี่ยวข้องนาบันได 7 ขนั้ มาประยกุ ต์ใช้ในการ 7 6%

ดาเนนิ งาน 5 4%
4 เน้นการส่งเสริมพัฒนาด้านช่องทางการตลาดและคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้กับ 5 4%
4 3%
เกษตรกร 3 3%
5 จัดทาวีดิโอสรุปความรู้บันได 7 ขั้น ในการวิเคราะห์สหกรณ์เพ่ือง่ายต่อการ 3 3%
2 2%
ทบทวนความรทู้ ่ีได้อบรมไปในรูปแบบการต์ นู Animation ท่ีเข้าใจง่าย รวมถงึ
สามารถสรา้ งความสนใจใหก้ บั ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมได้เป็นอย่างดี
6 กาหนดนโยบายและจัดทาแผนงานท่ีสอดคล้องกันในแต่ละหน่วยงานให้
หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้องได้นาไปดาเนนิ การและปฏบิ ัติตาม
7 จัดทีมคณะอาจารย์หรือผู้เช่ียวชาญในเรื่องบันได 7 ข้ัน ลงพ้ืนท่ีสหกรณ์ที่มี
ปัญหาเพือ่ วางแผนธุรกจิ และพฒั นาสหกรณใ์ หเ้ กดิ เป็นรปู ธรรม
8 จดั ทาคู่มือบนั ได 7 ขนั้
9 จดั โครงการเพอ่ื ขยายผลการนาบันได 7 ขนั้ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการการวเิ คราะห์
สหกรณก์ บั สหกรณ์ทกุ จงั หวดั
10 เผยแพร่องคค์ วามรู้เก่ยี วกบั เรื่องบนั ได 7 ขน้ั สสู่ าธารณชน เพ่ือสรา้ งความรับรู้
รว่ มกันและคิดไปในทศิ ทางเดยี วกนั
11 พาไปศึกษาดูงานในสถานที่ที่ประสบความสาเร็จและสถานที่ที่ยังไม่ประสบ
ความสาเร็จ เพ่ือดูความแตกต่างและแนวคิดของท้ังสองพื้นท่ีว่าแตกต่างกัน
อย่างไร เพอื่ นามาปรับใชก้ บั กลมุ่

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 250 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ขอ้ ท่ี ท่านอยากใหก้ รมส่งเสริมสหกรณส์ นับสนนุ ในเร่ืองใดบา้ ง เพือ่ ให้ท่าน จานวน คดิ เปน็
สามารถนาบนั ด 7 ขนั้ ปขบั เคลื่อนในสหกรณใ์ หเ้ กดิ ผลเป็นรูป รรม ผตู้ อบ %
2%
12 สร้างเครอื ข่ายภายนอก 2 1%
13 การสร้างคนรุ่นใหม่ดา้ นเกษตรกรใหเ้ ข้าใจหลักการบันได 7 ขัน้ 1 1%
14 พัฒนาฐานข้อมูลกลางให้กับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องดึงข้อมูลใช้ได้สะดวก เช่น 1
1%
ข้อมลู ของสหกรณใ์ นแต่ละพนื้ ทท่ี เี่ ป็นปจั จุบนั 1
15 เครื่องมือในการแนะนาส่งเสริมสหกรณ์ไม่มากจนเกินไป คัดเลือกข้อมูลท่ี 1%
1
เหมาะสมท่ีสุด ใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน
16 กาหนดระยะเวลาในการดาเนินการควรเหมาะสมสอดคล้องเพราะจะได้

สามารถขบั เคลือ่ นได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเหน็ ผลจริง

าพบรรยากาศ

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 251 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 252 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพ้นื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

**************

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 253 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพนื้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

5 ผลการทบทวนสถานการณ์การนาองค์ความรู้และเครอื่ งมอื ท่ี
พัฒนาข้ึนโดยมูลนิปิดทองหลงั พระฯ ปใช้ขยายผลการพัฒนาพน้ื ท่ี

ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในพื้นท่ีต้นแบบ

วัตถปุ ระสงค์

การจัดเวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ะหวา่ งบคุ ลากรของมูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ในระหว่างวันท่ี 9-
10 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมวีธรา จังหวดั อดุ รธานี มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปน้ี

1. ทบทวนการนาองคค์ วามรแู้ ละเครื่องมือของมูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระฯ ไปใช้ในพน้ื ที่
1.1 ผลสารวจองค์ความรูแ้ ละเคร่อื งมอื ท่ีนักพฒั นาเคยได้รับ
1.2 ผลสารวจระดบั ของการนาองคค์ วามรไู้ ปใชใ้ นพนื้ ท่ี

2. สรุปสถานการณ์ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
พ้ืนทตี่ น้ แบบ
2.1 ปัญหาที่พบในการทางานในพน้ื ที่
2.2 แหล่งความรู้/แนวทางในการนาองคค์ วามรู้ไปใชใ้ นการแก้ปัญหา

3. ให้ความรู้เกี่ยวกับบันได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน แก่บุคลากรของมูลนิธิปิดทอง
หลังพระฯ ในพน้ื ทตี่ น้ แบบ
3.1 สอบทานความเข้าใจก่อนการอบรมใหค้ วามรบู้ ันได 7 ข้นั สกู่ ารรวมกลุ่มอย่างย่ังยนื
3.2 สอบทานความเขา้ ใจหลงั การอบรมบันได 7 ขนั้ ฯ และความต้ังใจในการนาไปใช้

ผลสารวจ

5.2.1 ผลการทบทวนการนาองคค์ วามรูแ้ ละเครื่องมือของมลู นิ ิปิดทองหลังพระฯ ปใชใ้ นพืน้ ที่

ทีมท่ีปรึกษาได้แจกแบบฟอร์มให้บุคลากรในพื้นท่ีระบุช่ือองค์ความรู้ท่ีได้รับจากส่วนกลางของ

มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ เพื่อเตรียมพร้อมในการปฏิบัติงานในพ้ืนที่ และขอให้ระบุลักษณะของการนา

ความรู้ไปใช้ ดังแบบฟอรม์ ตอ่ ไปนี้

ส่วนที่ 1 : องค์ความรทู้ ่ี ด้รับจากส่วนกลางของปิดทองฯ เพ่อื ให้ท่านพร้อมต่อการเขา้ ปฏบิ ัตหิ น้าทใี่ นพนื้ ทใี่ นโครงการ
1) ขอให้ท่านระบชุ ื่อองค์ความรู้ท่ที า่ น ได้รบั จากส่วนกลางของปดิ ทองฯ เพ่ือการเข้าปฏบิ ัตหิ นา้ ทีใ่ นพ้ืนท่ี
2) ขอใหท้ า่ นระบลุ กั ษณะการนาความรูไ้ ปใช้ โดยทาเครื่องหมาย ✓ในช่อง ❑ ที่ตรงกับท่านมากทส่ี ุด

ข้อ องค์ความรู้ เคยฟัง / เคยทด ใชท้ างาน ใชท้ าเปน็ ต่อยอด ด้ /
เคยอบรม ลองใช้ บ่อยๆ ประจา มีเทคนิคเพมิ่ เตมิ
1
2 (1) (2) (3) (4) (5)
3
❑ 1 ❑ 2 ❑ 3 ❑ 4 ❑ 5 โปรดระบุ
❑ 1 ❑ 2 ❑ 3 ❑ 4 ❑ 5 โปรดระบุ
❑ 1 ❑ 2 ❑ 3 ❑ 4 ❑ 5 โปรดระบุ

สานักงานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 254 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพื้นท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

5.2.1.1 าพรวมขององคค์ วามรู้ทน่ี กั พัฒนาเคย ด้รับการฝกึ อบรม
ผลการรวบรวมแบบสารวจ พบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 31 คน ประกอบด้วย น่าน 3 คน

อุดรธานี 7 คน ขอนแก่น 3 คน กาฬสินธ์ุ 1 คน เพชรบุรี 3 คน อุทัยธานี 4 คน ส่วนกลาง 1 คน ยะลา
1 คน ปัตตานี 4 คน และนราธิวาส 4 คน เนอื่ งจากแบบสอบถามเปน็ แบบปลายเปดิ ทาให้นักพัฒนาแต่
ละคนระบุคาตอบได้ตามประสบการณจ์ ริงของแตล่ ะคน คาตอบท่ไี ด้จงึ หลากหลาย

ทีมที่ปรึกษาจึงได้ทาการประมวลคาตอบและจัดกลุ่มองค์ความรู้ของทีมพัฒนาของปิดทองฯ
ตามคาสาคัญ (keywords) ที่นักพัฒนาแต่ละคนระบุมา และทาการควบรวมช่ือองค์ความรู้ที่มีความ
คล้ายคลึงกันไว้ในข้อเดียวกัน ทั้งน้ี สามารถจัดกลุ่มองค์ความรู้ที่นักพัฒนาเคยได้รับการฝึกอบรมและ
นาไปใชง้ านในพ้นื ที่ได้เปน็ 3 กลุ่ม ได้แก่

กลมุ่ A: ปรัชญา หลกั การ และความรพู้ ้นื ฐานสาหรับนกั พัฒนา
A1: ปรัชญาและหลักการ
A2: เทคนิคพืน้ ฐานเพอื่ เข้าใจชมุ ชน/พ้นื ท่ี
A3: ทักษะการบรหิ ารจดั การ

กล่มุ B: ความรู้สาหรับการพัฒนาในระดบั ท่ี 1: ครัวเรอื นพ่ึงตนเอง
B1: การบริหารจดั การน้า และทรัพยากร
B2: การสง่ เสริมอาชพี เกษตร / เทคนคิ การเกษตร
B3: การบรหิ ารจัดการในครวั เรอื น

กลมุ่ C: ความรู้สาหรบั การพฒั นาในระดบั ท่ี : ชุมชนพ่งึ ตนเอง ด้
C0: ความรพู้ ื้นฐานในการบรหิ ารจดั การกลมุ่
C1: บันไดขั้นท่ี 1 เชค็ ความพรอ้ มของคน
C2: บันไดข้นั ที่ 2 ตกลงปลงใจให้แนน่ อน (สิทธหิ น้าที่และการจดั สรรประโยชน)์
C3: บนั ไดขน้ั ที่ 3 ก่อร่างสร้างกล่มุ
C4: บันไดขั้นที่ 4 ลดต้นทนุ เพิ่มผลผลติ เพมิ่ รายได้
C5: บันไดขั้นที่ 5 ทกุ คนร่วมกันในทกุ ขน้ั ตอน

❖ กลุ่ม A: ปรชั ญา หลักการ และความรพู้ ้ืนฐานสาหรับนักพัฒนา
ในกล่มุ A ปรัชญา หลกั การ และความรู้พืน้ ฐานสาหรับนกั พัฒนา ประกอบไปด้วย 3 กลุ่ม

ยอ่ ย ไดแ้ ก่ กลมุ่ ยอ่ ย A1 ปรัชญาและหลกั การประกอบด้วยองคค์ วามรู้ 9 รายการ กลุ่มย่อย A2 เทคนคิ
พื้นฐานเพื่อการเข้าใจชุมชน/พ้ืนท่ี ประกอบด้วยองค์ความรู้ 5 รายการ และกลุ่มย่อย A3 ทักษะการ
บรหิ ารจัดการ ประกอบด้วยองค์ความรู้ 6 รายการ รวมองค์ความรใู้ นกลมุ่ A ท้งั หมด 20 รายการ

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 255 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพืน้ ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ในภาพรวมของกลุ่ม A มีองค์ความรู้ท้ังหมด 20 รายการ โดยองค์ความรู้ท่ีมีจานวน

นักพฒั นาเข้าถึงมากกว่า 20% มีจานวน 4 รายการ ส่วนองคค์ วามรู้ทีม่ ีจานวนนักพฒั นาเขา้ ถงึ น้อยกว่า

20% มจี านวน 16 รายการ

จากจานวนนักพัฒนาท่ีตอบแบบสอบถามท้ังหมด 31 คน พบว่า องค์ความรู้ที่นักพัฒนา

เคยไดร้ บั มากทส่ี ดุ 2 อนั ดบั แรกเปน็ ความรทู้ ่ีอย่ใู นกลุ่มย่อย A3 ทักษะการบริหารจดั การ โดยอนั ดบั ท่ี 1

คือ A31 การสื่อสาร (ฟงั พดู อ่าน เขยี น) การนาเสนอขอ้ มูล และการพฒั นาส่อื คุณภาพ มีผู้ได้รบั ความรู้

น้ี 22 คน (71%) รองลงมาคือ A32 การวางแผนและเขียนโครงการ มีผู้ได้รับความรู้นี้ 11 คน (35%)

ตามลาดับ

ในกลุ่มย่อย A1 ปรัชญาและหลักการ พบว่า องค์ความรู้ที่นักพัฒนาเคยได้รับมากท่ีสุด 2

อันดับแรก คือ A11 หลักการเข้าใจ เข้าถึงพัฒนา มีผู้ได้รับความรู้น้ี 6 คน (19%) และ A12 หลักการ

ทรงงาน 23 ข้อ มผี ้ไู ดร้ บั ความรนู้ ้ี 6 คน (19%) ตามลาดบั และในกล่มุ ย่อย A2 เทคนิคพืน้ ฐานเพื่อการ

เข้าใจชุมชน/พ้ืนท่ี พบว่า องค์ความรู้ที่นักพัฒนาเคยได้รับมากที่สดุ คือ A22 การสารวจข้อมูลชุมชน มี

ผ้ไู ด้รับความรู้นี้ 8 คน (26%)

ตารางท่ี 5.1 องคค์ วามรูท้ ่ีนักพฒั นาเคยไดร้ บั การฝึกอบรม (กลมุ่ A)

กลมุ่ A: ปรชั ญา หลักการ และความรู้พ้ืนฐานสาหรับนกั พฒั นา

รหสั องคค์ วามรู้ จานวนผู้ตอบ ร้อยละของผตู้ อบเทยี บกบั จานวนผตู้ อบทั้งหมด 22 คน (%)

(จาก 31 คน) % 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

A1 ปรัชญาและหลักการ

A11 หลักการเข้าใจ เขา้ ถึง พฒั นา 6 คน 19%

A12 หลักการทรงงาน 23 ข้อ 6 คน 19%

A13 เศรษฐกจิ พอเพียง / เกษตรทฤษฎใี หม่ 4 คน 13%

A14 องค์ความรู้ 6 มติ ิ และหลักการทางานของ 4 คน 13%
ปดิ ทอง

A15 หลกั การพฒั นาตามตาราแมฟ่ ้าหลวง และ 4 คน 13%
กระบวนการพัฒนา (อยูร่ อด พอเพยี ง ยงั่ ยนื )

A16 หลักการพัฒนาเชิงพนื้ ที่ 8 ขน้ั ตอน 14 ขน้ั 3 คน 10%
ตอบ (พชร.)

A17 หลักกสิกรรมธรรมชาติ 2 คน 6%

A18 ค่มู อื ยุทธศาสตรเ์ ศรษฐกจิ พอเพยี งภาค 1 คน 3%
เกษตรและชนบท (ยุทธศาสตร์ที่ 1)

A19 หลกั การเหน็ ประโยชน์สว่ นรวมเปน็ ทตี่ ้งั 2 คน 6%

A2 เทคนิคพ้ืนฐานเพื่อเขา้ ใจชมุ ชน/พืน้ ที่

A21 นกั พัฒนาภาคสนาม 2 คน 6%

A22 การสารวจขอ้ มลู ชมุ ชน 8 คน 26%

A23 การพัฒนาและการรวบรวมฐานขอ้ มลู 2 คน 6%

สานักงานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 256 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพ้ืนที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัส องคค์ วามรู้ จานวนผู้ตอบ ร้อยละของผ้ตู อบเทียบกบั จานวนผู้ตอบทง้ั หมด 22 คน (%)

(จาก 31 คน) % 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

A24 จัดทาค่มู อื การทางานใหพ้ นื้ ท่ดี า้ นตา่ งๆ/การ 3 คน 10%
ถอดบทเรยี นกรณ๊ศึกษา

A25 การแลกเปล่ียน การพัฒนา การประยกุ ตใ์ ห้มี 3 คน 10%
ความเหมาะสมในพื้นท่ี

A3 ทักษะการบริหารจัดการ

A31 การสือ่ สาร (ฟัง พูด อา่ น เขยี น) การนาเสนอ 22 คน 71%
ขอ้ มลู และการพัฒนาสอ่ื คุณภาพ

A32 การวางแผนและเขียนโครงการ 11 คน 35%

A33 การทางานแบบบรู ณาการความร่วมมอื (การ 7 คน 23%
ทาเวทชี าวบ้าน/การบูรณาการกับหนว่ ยงาน)

A34 ความรูด้ า้ นเทคโนโลยี 4 คน 13%

A35 คิดอย่างเป็นระบบ 2 คน 6%

A36 การบูรณาการความรตู้ ่างๆ 2 คน 6%

❖ กลุ่ม B: ความรู้สาหรบั การพัฒนาในระดบั ท่ี 1: ครัวเรอื นพงึ่ ตนเอง
ในกลุ่ม B: ความรู้สาหรับการพัฒนาในระดับที่ 1: ครัวเรือนพึ่งตนเอง ประกอบไปด้วย 3

กลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มย่อย B1: การบริหารจัดการนา้ และทรัพยากร ประกอบด้วยองค์ความรู้ 8 รายการ
กลุ่มย่อย B2: การส่งเสริมอาชีพเกษตร/เทคนิคการเกษตร ประกอบด้วยองค์ความรู้ 8 รายการ และ
กลุ่มย่อย B3: การบริหารจัดการในครัวเรือน ประกอบด้วยองค์ความรู้ 1 รายการ รวมองค์ความรู้ใน
กลุม่ B ท้ังหมด 17 รายการ

ในภาพรวมของกลุ่ม B มีองค์ความรู้ท้ังหมด 17 รายการ โดยองค์ความรู้ท่ีมีจานวน
นักพัฒนาเข้าถึงมากกว่า 20% มจี านวน 3 รายการ ส่วนองคค์ วามรทู้ ีม่ ีจานวนนักพัฒนาเข้าถงึ น้อยกว่า
20% มจี านวน 14 รายการ

จากจานวนนักพัฒนาท่ีตอบแบบสอบถามทั้งหมด 31 คน พบว่า องค์ความรู้ท่ีนักพัฒนา
เคยได้รับมากที่สุด 2 อันดับแรกเป็นความรู้ท่ีอยู่ในกลุ่มย่อย B2: การส่งเสริมอาชีพเกษตร/เทคนิค
การเกษตร อนั ดับที่ 1 คือ B23 แผนกระดาษในการส่งเสริม มผี ู้ไดร้ บั ความรู้น้ี 11 คน (35%) รองลงมา
คอื B26 การสง่ เสรมิ งานดา้ นปศสุ ตั ว์ มีผู้ไดร้ บั ความรูน้ ้ี 10 คน (32%) ตามลาดบั

ในกลุ่มย่อย B1: การบริหารจัดการน้าและทรัพยากร พบว่า องค์ความรู้ท่ีนักพัฒนาเคย
ได้รับมากที่สุด คือ B12 หลักการตามคู่มือฝายชะลอน้าพอเพียงของกรมชลประทาน (8 ขั้นตอน)/การ
สร้างฝายอนุรกั ษ์ฝายเกษตร และฝายต่างๆ ซ่งึ มีผู้ไดร้ ับความร้นู ี้ 8 คน (26%)

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 257 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตารางท่ี 5.2 องค์ความรูท้ ่ีนักพัฒนาเคยได้รับการฝึกอบรม (กลุม่ B)

กลุ่ม B: ความรู้สาหรับการพัฒนาในระดับท่ี 1: ครัวเรือนพงึ่ ตนเอง

รหสั องคค์ วามรู้ จานวนผตู้ อบ รอ้ ยละของผูต้ อบเทียบกบั จานวนผู้ตอบทงั้ หมด 22 คน (%)

จาก 31 คน % 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

B1 การบริหารจัดการน้า และทรพั ยากร

B11 การบรหิ ารจดั การนา้ /การสารวจแหล่งนา้ / 6 คน 19%
ปริมาณของนา้

B12 หลกั การตามคู่มือฝายชะลอนา้ พอเพยี งของ

กรมชลประทาน (8 ข้ันตอน) / การสร้างฝาย 8 คน 26%

อนุรกั ษ์ฝายเกษตร และฝายต่างๆ

B13 การพัฒนาแหล่งน้า 2 คน 6%

B14 GIS (แผนท่)ี 2 คน 6%

B15 ระบบนา้ หยด 4 คน 13%

B16 ออกแบบถังเกบ็ นา้ แบบดนิ ผสมซเี มนต์ 1 คน 3%

B17 ระบบพลงั งานทดแทน 1 คน 3%

B18 สารวจปา่ 2 คน 6%

B2 การส่งเสรมิ อาชีพเกษตร/เทคนคิ การเกษตร

B21 การพัฒนาดา้ นการเกษตร 2 คน 6%

B22 การจดั การผลผลิต 1 คน 3%

B23 แผนกระดาษในการสง่ เสริม/ปลูกบน 11 คน 35%
กระดาษ

B24 การทาปยุ / การทานา้ หมกั / การทา 5 คน 16%
สารชีวภาพ

B25 การปลูกผกั อินทรยี ์ 1 คน 3%

B26 การส่งเสริมงานดา้ นปศสุ ตั ว์ 10 คน 32%

B27 การพฒั นาการเกษตร (ฟารม์ /แปลงตวั อย่าง) 5 คน 16%

B28 ความรู้ดา้ นสขุ าภบิ าล 1 คน 3%

B3 การบรหิ ารจดั การในครัวเรือน

B31 การสง่ เสรมิ อาชพี ลดรายจา่ ยเพิ่มรายได้ 2 คน 6%

❖ กลุ่ม C: ความรสู้ าหรบั การพัฒนาในระดับท่ี : ชุมชนพึ่งตนเอง ด้
ในกลุ่ม C: ความรู้สาหรับการพัฒนาในระดับที่ 2: ชุมชนพ่ึงตนเองได้ ในเบื้องต้น ทีมที่

ปรึกษาได้จาแนกกลุ่มย่อยตามบันได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน โดยเลือกมาเฉพาะ 5 ขั้นแรกที่
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาในระดับที่ 2 ชุมชนพึ่งตนเองได้ และความรู้พื้นฐานของการรวมกลุ่ม จึงจาแนก
องค์ความรู้ได้เป็น 6 กลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มย่อย C0: ความรู้พ้ืนฐานในการบริหารจัดการกลุ่ม กลุ่มย่อย
C1: บันไดขั้นที่ 1 เช็คความพร้อมของคน กลุ่มย่อย C2: บันไดข้ันที่ 2 ตกลงปลงใจให้แน่นอน (สิทธิ
หน้าทแี่ ละการจดั สรรประโยชน)์ กลมุ่ ยอ่ ย C3: บนั ไดข้นั ที่ 3 กอ่ รา่ งสรา้ งกลุ่ม กลุ่มยอ่ ย C4: บันไดขนั้ ท่ี
4 ลดต้นทนุ เพม่ิ ผลผลติ เพิม่ รายได้ และ C5: บนั ไดข้นั ที่ 5 ทุกคนร่วมกนั ในทุกขั้นตอน

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 258 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพนื้ ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ในภาพรวมของกลุ่ม C มีองค์ความรู้ทั้งหมด 6 รายการ โดยองค์ความรู้ท่ีมีจานวน

นกั พฒั นาเขา้ ถึงมากกว่า 20% มจี านวน 1 รายการ ส่วนองคค์ วามรทู้ ีม่ ีจานวนนักพฒั นาเขา้ ถึงน้อยกว่า

20% มจี านวน 5 รายการ

จากจานวนนักพัฒนาท่ีตอบแบบสอบถามทั้งหมด 31 คน พบว่า องค์ความรู้ท่ีนักพัฒนา

เคยได้รับมากที่สุดอยู่ในกลุ่มย่อย C3: บันไดข้ันที่ 3 ก่อร่างสร้างกลุ่ม อันดับที่ 1 คือ C31 การบริหาร

จัดการกองทุน/ระบบบัญชีและการเงนิ มีผู้ได้รับความรูน้ ี้ 10 คน (32%) ตามมาด้วยองค์ความรู้ในกลุ่ม

ย่อย C0: ความรู้พื้นฐานในการบริหารจัดการกลุ่ม พบว่า องค์ความรู้ท่ีนักพัฒนาเคยได้รับมากที่สุดใน

กลุ่มย่อยน้ีคือ C01: บันได 7 ข้ัน สู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน/การพัฒนากลุ่ม มีผู้ได้รับความรู้น้ี 5 คน

(16%)

ตารางที่ 5.3 องคค์ วามรู้ทีน่ กั พัฒนาเคยไดร้ ับการฝกึ อบรม (กลมุ่ C)

กลมุ่ C: ความรู้สาหรบั การพัฒนาในระดับท่ี : ชมุ ชนพ่ึงตนเอง ด้

รหัส องค์ความรู้ จานวนผ้ตู อบ ร้อยละของผู้ตอบเทยี บกบั จานวนผู้ตอบทง้ั หมด 22 คน (%)

จาก 31 คน % 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

C0 ความรู้พื้นฐานในการบรหิ ารจดั การกลมุ่

C01 บนั ได 7 ขัน้ สู่การรวมกลมุ่ อย่างยง่ั ยืน / การ 5 คน 16%
พัฒนากลมุ่

C02 การร่วมกลุ่มชุมชน 1 คน 3%

C03 การจดั ทาแผนชมุ ชน 1 คน 3%

C1 บนั ดข้ันที่ 1 เชค็ ความพร้อมของคน

*** ไมม่ ี

C2 บัน ดขั้นที่ 2 ตกลงปลงใจใหแ้ นน่ อน

(สิท หิ นา้ ทแี่ ละการจดั สรรประโยชน์)

*** ไม่มี

C3 บัน ดขั้นที่ ก่อรา่ งสรา้ งกลมุ่

C31 การบรหิ ารจดั การกองทนุ /ระบบบัญชแี ละ 10 คน 32%
การเงนิ

C32 การตรวจสุขภาพกลมุ่ 1 คน 3%

C4 บัน ดขั้นท่ี ลดตน้ ทุน เพม่ิ ผลผลิต เพิม่

ราย ด้

C41 การตลาดและการวิเคราะห์ตลาด 2 คน 6%

C5 บนั ดข้ันท่ี 5 ทุกคนรว่ มกนั ในทกุ ขน้ั ตอน

*** ไม่มี

5.2.1.2 รูปแบบและระดบั การนาองคค์ วามรู้ ปใชง้ านในพืน้ ที่
ผลการสารวจเบื้องต้นพบว่า องค์ความรู้ในกลุ่ม A กลุ่ม B และกลุ่ม C มีรวมกันท้ังส้ิน 43

รายการ ซ่ึงแต่ละรายการน้ันมีจานวนนักพัฒนาที่เข้าถึงค่อนข้างน้อย กล่าวคือ มีองค์ความรู้รวม 35

สานักงานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 259 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพ้ืนทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รายการ ที่มีนักพัฒนาเข้าถึง/ได้รับการฝึกอบรม/ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ในสัดส่วนที่น้อยกว่า 20%
ของนักพฒั นาทีต่ อบแบบสารวจ โดยสามารถจาแนกการเขา้ ถึงความรใู้ นแต่ละกลมุ่ ได้ดงั นี้

• กลุ่ม A ปรัชญา หลักการ และความรู้พื้นฐานสาหรับนกั พัฒนา มีองค์ความรู้ทั้งหมด 20
รายการ โดยองคค์ วามรู้ที่มจี านวนนักพัฒนาเข้าถึงมากกวา่ 20% มจี านวน 4 รายการ
ส่วนองค์ความร้ทู ี่มีจานวนนักพฒั นาเขา้ ถงึ น้อยกว่า 20% มีจานวน 16 รายการ

• กล่มุ B: ความรสู้ าหรับการพัฒนาในระดับท่ี 1: ครวั เรือนพึ่งตนเอง มีองคค์ วามรู้ท้ังหมด
17 รายการ โดยองค์ความรู้ท่ีมีจานวนนักพัฒนาเข้าถึงมากกว่า 20% มีจานวน 3
รายการ สว่ นองคค์ วามรทู้ ่มี จี านวนนักพฒั นาเข้าถึงนอ้ ยกวา่ 20% มีจานวน 14 รายการ

• กลุ่ม C: ความรู้สาหรับการพัฒนาในระดับท่ี 2: ชุมชนพ่ึงตนเองได้ มีองค์ความรู้ทั้งหมด
6 รายการ โดยองค์ความรู้ทมี่ ีจานวนนักพัฒนาเขา้ ถึงมากกว่า 20% มีจานวน 1 รายการ
สว่ นองค์ความรูท้ ม่ี จี านวนนกั พัฒนาเขา้ ถึงน้อยกว่า 20% มีจานวน 5 รายการ

ทีมท่ีปรึกษาได้วิเคราะห์ลึกลงไปต่ออีกว่า ในบรรดานักพัฒนาจานวนประมาณ 20% ท่ีได้รับ
ความร้ใู นแตล่ ะรายการนน้ั ได้นาองคค์ วามรไู้ ปใชใ้ นรูปแบบใด มรี ะดบั การนาองคค์ วามรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มากน้อยเพียงใด โดยจาแนกระดบั การใช้ความรูเ้ ป็น 5 ระดับ ไดแ้ ก่

1) เคยฟงั / เคยอบรม
2) เคยทดลองใช้
3) ใชใ้ นการทางานบอ่ ยๆ
4) ใช้ในการทางานเป็นประจา
5) สามารถต่อยอด หรอื มเี ทคนคิ ใหม่ๆ เพิ่มเติม

❖ กลุ่ม A: ปรชั ญา หลักการ และความรพู้ ืน้ ฐานสาหรับนกั พฒั นา
ในกลุ่ม A ปรัชญา หลักการ และความรู้พื้นฐานสาหรับนักพัฒนา พบว่านักพัฒนานาองค์

ความรู้ไปใช้ในการทางานในหลายระดับ ต้ังแต่ทดลองใช้ ใช้บ่อยๆ ใช้เป็นประจา และสามารถต่อยอด
และมเี ทคนิคเพมิ่ เติม

องค์ความรู้ที่เริ่มมีการนาไปทดลองใช้มากท่ีสุด คือ A32 การวางแผนและเขียนโครงการ
มผี ทู้ ดลองใช้ความร้นู ้ี จานวน 11 คน และองคค์ วามรทู้ ่ีใช้บ่อยๆ มากทสี่ ดุ คอื A31 การสอ่ื สาร (ฟัง พูด
อา่ น เขยี น) การนาเสนอขอ้ มลู และการพัฒนาสื่อคณุ ภาพ มีผู้นาไปใช้งานบอ่ ยๆ จานวน 22 คน

ในขณะที่องค์ความรู้ท่ีนาไปใช้เป็นประจาสูงสุด 2 อันดับแรก คือ A33 การทางานแบบ
บรู ณาการความรว่ มมือ (การทาเวทีชาวบ้าน/การบูรณาการกับหน่วยงาน) มผี ู้ใชเ้ ปน็ ประจา 7 คน และ
A11 หลักการเข้าใจ เขา้ ถงึ พฒั นา มีผูใ้ ชเ้ ปน็ ประจา 6 คน

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 260 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพนื้ ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

นอกจากน้ี องค์ความรู้ที่สามารถต่อยอดและมีเทคนิคเพ่ิมเติมมี 2 รายการ คือ A19

หลักการเห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นท่ีตั้ง มีผู้ต่อยอด 2 คน และ A22 การพัฒนาและการรวบรวม

ฐานขอ้ มูล มผี ตู้ อ่ ยอด 2 คน เช่นเดยี วกัน

ตารางท่ี 5.4 รูปแบบและระดับการนาองคค์ วามรไู้ ปใช้งานในพืน้ ที่ (กลุม่ A)

กลมุ่ A: ปรชั ญา หลกั การ และความร้พู ้นื ฐานสาหรับนกั พฒั นา

รหสั องคค์ วามรู้ จานวนผูต้ อบ ระดับการนาองค์ความรู้ ปใช้

จากทั้งหมด (1) เคยฟัง (2) เคย (3) ใช้ทางาน (4) ใชท้ างาน (5) ต่อยอด/มี

31 คน เคยอบรม ทดลองใช้ บอ่ ยๆ เป็นประจา เทคนคิ ใหม่

A1 ปรัชญาและหลกั การ

A11 หลักการเขา้ ใจ เข้าถงึ พฒั นา 6 คน 4.00

A12 หลกั การทรงงาน 23 ขอ้ 6 คน 3.33

A13 เศรษฐกิจพอเพยี ง / เกษตรทฤษฎีใหม่ 4 คน 3.00

A14 องคค์ วามรู้ 6 มิติ และหลกั การทางานของปิดทอง 4 คน 2.75

A15 หลกั การพัฒนาตามตาราแม่ฟ้าหลวง และ 4 คน 4.00
กระบวนการพฒั นา (อยู่รอด พอเพยี ง ยงั่ ยนื )

A16 หลกั การพฒั นาเชิงพน้ื ท่ี 8 ข้ันตอน 14 ขน้ั ตอบ (พชร.) 3 คน 3.00

A17 หลักกสกิ รรมธรรมชาติ 2 คน 2.50

A18 คมู่ ือยุทธศาสตร์เศรษฐกิจพอเพยี งภาคเกษตรและ 1 คน 3.00
ชนบท (ยุทธศาสตร์ท่ี 1)

A19 หลกั การเห็นประโยชน์สว่ นรวมเป็นทตี่ ้ัง 2 คน 4.50
A2 เทคนคิ พ้ืนฐานเพ่ือเขา้ ใจชุมชน/พ้นื ท่ี

A21 นักพัฒนาภาคสนาม 2 คน 4.00 4.50
A22 การสารวจข้อมูลชมุ ชน 8 คน 3.38

(เศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดล้อม และอนื่ ๆ) 2 คน 3.33
A23 การพัฒนาและการรวบรวมฐานขอ้ มูล 3 คน 4.00
A24 จดั ทาคู่มอื การทางานใหพ้ ื้นท่ีดา้ นตา่ งๆ/การถอด 3 คน

บทเรียนกรณีศกึ ษา
A25 การแลกเปลยี่ น การพฒั นา การประยกุ ต์ให้มคี วาม

เหมาะสมในพืน้ ที่
A3 ทักษะการบริหารจัดการ

A31 การส่ือสาร (ฟงั พูด อา่ น เขยี น) การนาเสนอข้อมูล 22 คน 2.64
และการพฒั นาสื่อคณุ ภาพ 11 คน 2.36

A32 การวางแผนและเขยี นโครงการ

A33 การทางานแบบบรู ณาการความรว่ มมอื (การทาเวที 7 คน 4.00
ชาวบ้าน/การบรู ณาการกับหน่วยงาน) 4.00
4 คน 4.00
A34 ความรูด้ า้ นเทคโนโลยี 2 คน
A35 คดิ อยา่ งเปน็ ระบบ

A36 การบรู ณาการความรู้ต่างๆ 2 คน 2.50

สานักงานศนู ย์วจิ ัยและให้คาปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 261 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพนื้ ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

❖ กลมุ่ B: ความรสู้ าหรบั การพัฒนาในระดับที่ 1: ครัวเรอื นพึ่งตนเอง

ในกลุม่ B: ความรูส้ าหรบั การพฒั นาในระดับท่ี 1: ครวั เรือนพงึ่ ตนเอง พบวา่ นกั พฒั นานา

องค์ความรู้ไปใช้ในการทางานในหลายระดับ ต้ังแต่ทดลองใช้ ใช้บ่อยๆ ใช้เป็นประจา และสามารถต่อ

ยอดและมีเทคนิคเพ่ิมเตมิ

องค์ความรู้ที่นาไปทดลองใช้มากที่สุด 2 อันดับแรก คือ B24 การทาปุย/การทาน้าหมัก/

การทาสารชวี ภาพ มีผ้ทู ดลองใชค้ วามรู้น้ี จานวน 5 คน และ B27 การพัฒนาการเกษตร (ฟารม์ ตัวอย่าง

/ แปลงพืชผัก) มีผู้ทดลองใช้ความรู้น้ี จานวน 5 คน เช่นเดียวกัน ส่วนองค์ความรู้ที่ใช้บ่อยๆ มากที่สุด

คือ B26 การสง่ เสริมงานด้าน ปศสุ ัตว์ มผี ้นู าไปใช้งานบ่อยๆ จานวน 10 คน

องค์ความรู้ที่นาไปใช้เป็นประจามากท่ีสุด คือ B12 หลักการตามคู่มือฝายชะลอน้า

พอเพียงของกรมชลประทาน (8 ข้ันตอน) / การสร้างฝายอนุรักษ์ฝายเกษตร และฝายต่างๆ มีผู้ใช้เป็น

ประจา 8 คน ในขณะท่ีองค์ความรู้ที่นักพัฒนาสามารถตอ่ ยอดและมีเทคนิคเพ่ิมเติมมาก 2 รายการ คือ

B31 การส่งเสริมอาชีพลดรายจ่ายเพ่ิมรายได้ มีผู้ท่ีสามารถต่อยอดได้ 2 คน และ B25 การปลูกผัก

อนิ ทรีย์ มีผตู้ ่อยอดได้ 1 คน

ตารางที่ 5.5 รปู แบบและระดบั การนาองค์ความรู้ไปใชง้ านในพนื้ ที่ (กล่มุ B)

กลมุ่ B: ความรูส้ าหรับการพัฒนาในระดบั ที่ 1: ครัวเรอื นพ่ึงตนเอง

รหัส องคค์ วามรู้ จานวนผตู้ อบ ระดบั การนาองคค์ วามรู้ ปใช้

จากทั้งหมด (1) เคยฟัง (2) เคย (3) ใชท้ างาน (4) ใชท้ างาน (5) ตอ่ ยอด/มี
31 คน เคยอบรม ทดลองใช้ บอ่ ยๆ เป็นประจา เทคนิคใหม่

B1 การบรหิ ารจัดการน้า และทรพั ยากร

B11 การบริหารจัดการน้า /การสารวจแหล่งน้า / ปริมาณ 6 คน 3.00
ของนา้

B12 หลักการตามคู่มือฝายชะลอน้าพอเพียงของกรม 8 คน 4.13
ชลประทาน (8 ขั้นตอน) / การสร้างฝายอนุรักษ์ฝาย

เกษตร และฝายตา่ งๆ

B13 การพัฒนาแหล่งนา้ 2 คน 2.00

B14 GIS (แผนท)่ี 2 คน 3.00

B15 ระบบน้าหยด 4 คน 1.75

B16 ออกแบบถงั เก็บน้าแบบดนิ ผสมซีเมนต์ 1 คน 2.00

B17 ระบบพลังงานทดแทน 1 คน 4.00

B18 สารวจปา่ 2 คน 2.50

B2 การสง่ เสริมอาชพี เกษตร / เทคนคิ การเกษตร

B21 การพฒั นาด้านการเกษตร 2 คน 2.50

B22 การจัดการผลผลติ 1 คน 3.00

B23 แผนกระดาษในการส่งเสรมิ /ปลูกบนกระดาษ 11 คน 3.36

B24 การทาปยุ / การทานา้ หมกั / การทาสารชีวภาพ 5 คน 2.00

B25 การปลูกผกั อินทรีย์ 1 คน 5.00

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 262 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพน้ื ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัส องค์ความรู้ จานวนผู้ตอบ ระดับการนาองค์ความรู้ ปใช้ (5) ตอ่ ยอด/มี
จากท้งั หมด (1) เคยฟัง เทคนิคใหม่
B26 การส่งเสรมิ งานด้านปศุสัตว์ (2) เคย (3) ใช้ทางาน (4) ใช้ทางาน
B27 การพฒั นาการเกษตร (ฟารม์ ตวั อย่าง / แปลงพืชผกั ) 31 คน เคยอบรม ทดลองใช้ บอ่ ยๆ เป็นประจา
B28 ความรู้ด้านสขุ าภบิ าล
B3 การบรหิ ารจัดการในครัวเรือน 10 คน 3.40
B31 การส่งเสริมอาชีพลดรายจา่ ยเพม่ิ รายได้ 2.20
5 คน
*** ไม่มีเรอ่ื งบัญชคี รวั เรอื น 4.00
*** ไมม่ เี รอ่ื งการทบทวนแผนการผลติ 1 คน

2 คน 4.50

❖ กลุ่ม C: ความรูส้ าหรบั การพัฒนาในระดับที่ : ชมุ ชนพึง่ ตนเอง ด้

ในกลุ่ม C: ความรู้สาหรบั การพัฒนาในระดับท่ี 2: ชุมชนพ่ึงตนเองได้ พบว่า องค์ความรู้ท่ี

พึ่งมีการนามาทดลองใช้ คือ C01 บันได 7 ข้ัน สู่การรวมกล่มุ อย่างย่ังยืน/การพัฒนากลุ่ม มีผู้ทดลองใช้

5 คน ในขณะที่องค์ความรู้ที่ใช้บ่อยๆ มากที่สุด คือ C31 การบริหารจัดการกองทุน/ระบบบัญชีและ

การเงนิ มีผูน้ าไปใช้งานบอ่ ยๆ จานวน 10 คน

ตารางท่ี 5.6 รูปแบบและระดบั การนาองคค์ วามรไู้ ปใช้งานในพนื้ ท่ี (กลุ่ม C)

กลมุ่ C: ความรู้สาหรับการพัฒนาในระดับที่ : ชุมชนพ่ึงตนเอง ด้

รหัส องคค์ วามรู้ จานวนผตู้ อบ ระดบั การนาองค์ความรู้ ปใช้

จากทัง้ หมด (1) เคยฟงั (2) เคย (3) ใชท้ างาน (4) ใชท้ างาน (5) ตอ่ ยอด/มี
31 คน เคยอบรม ทดลองใช้ บอ่ ยๆ เป็นประจา เทคนคิ ใหม่

C0 ความร้พู นื้ ฐานในการบริหารจดั การกลมุ่

C01 บนั ได 7 ขน้ั สกู่ ารรวมกลมุ่ อย่างย่ังยืน/การพัฒนากลมุ่ 5 คน 2.60

C02 การรว่ มกลมุ่ ชุมชน 1 คน 3.00

C03 การจัดทาแผนชมุ ชน 1 คน 3.00

C1 บนั ดข้ันท่ี 1 ตรวจสอบความพร้อมของคน

*** ไม่มี

C2 บนั ดขั้นท่ี 2 ตกลงปลงใจใหแ้ นน่ อน (สิท หิ นา้ ที่
และการจัดสรรประโยชน)์

*** ไมม่ ี

C3 บัน ดขั้นท่ี 3 ก่อร่างสรา้ งกลมุ่

C31 การบรหิ ารจัดการกองทนุ /ระบบบัญชแี ละการเงนิ 10 คน 3.20

C32 การตรวจสุขภาพกลุ่ม 1 คน 2.00

C4 บัน ดขั้นที่ 4 ลดต้นทุน เพิ่มผลผลติ เพ่มิ ราย ด้

C41 การตลาดและการวิเคราะห์ตลาด 2 คน 3.00

C5 บนั ดขน้ั ที่ 5 ทกุ คนรว่ มกนั ในทกุ ข้ันตอน

*** ไมม่ ี

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 263 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพ้นื ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

5.2.1.3 องค์ความรู้ที่นักพฒั นาเคย ด้รบั การฝึกอบรม จาแนกตามพื้นท่ี

ผลการรวบรวมแบบสารวจ สามารถแสดงขอ้ มลู องค์ความรู้ทน่ี ักพฒั นาเคยไดร้ บั การฝึกอบรม

รวมท้งั รูปแบบและระดบั การนาองค์ความรู้ไปใช้ในแต่ละพ้นื ท่ี โดยจาแนกข้อมูลตามนักพัฒนาในแต่ละ

พน้ื ที่ได้ ดังตาราง

ตารางที่ 5.7 องค์ความรทู้ ่นี กั พฒั นาเคยไดร้ บั การฝกึ อบรมและนาไปใช้งานในพื้นท่ี จาแนกรายพื้นที่

กลมุ่ A: ปรัชญา หลักการ และความรู้พ้ืนฐานสาหรับนักพัฒนา

รหสั องคค์ วามรู้ จังหวดั จานวน ระดับการนาองค์ความรู้ ปใช้ คา่ เฉลยี่
(ผู้ตอบ
ผู้ตอบ (1) เคยฟัง (2) เคย (3) ใชท้ างาน (4) ใชท้ างาน (5) ตอ่ ยอด/มี (รายละเอียดความรู้ 31 คน)
ทดลองใช้ บอ่ ยๆ เปน็ ประจา เทคนิคใหม่ ใหม่/เทคนิคใหม)่
เคยอบรม

A1 ปรัชญาและหลักการ

A11 หลกั การเข้าใจ เขา้ ถึง เพชรบรุ ี 1 คน - - - 1 - -

พัฒนา (100.00)

นา่ น 2 คน - - - 1 1 - ปรับกระบวน/

(50.00) (50.00) ประยกุ ตใ์ ชใ้ นพน้ื ท่ี

อดุ รธานี 1 คน - - -1 - ขยายผลใน 4.00
จงั หวดั (6 คน)
--

(100.00)

อทุ ยั ธานี 1 คน - - - 1 - -
(100.00)

ยะลา 1 คน - - 1- - -
(100.00)

A12 หลกั การทรงงาน 23 เพชรบรุ ี 3 คน - 1 1 - 1 - อธิบายให้ชาวบา้ น

ข้อ (33.33) (33.33) (33.33) รแู้ ละทบทวนตัวเอง

น่าน 1 คน - -1 - - - 3.33
(100.00) (6 คน)

อุดรธานี 1 คน - - 1 - - -

(100.00)

อุทยั ธานี 1 คน - - - 1 - -

(100.00)

A13 เศรษฐกจิ พอเพียง / น่าน 2 คน - 1 - 1 -

เกษตรทฤษฎีใหม่ (50.00) (50.00)

อุดรธานี 1 คน - -1- - 3.00
(100.00) (4 คน)

อุทยั ธานี 1 คน - -1- -
(100.00)

A14 เพชรบุรี 3 คน - 1 2 - - - 2.75

(33.33) (66.67) (4 คน)

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 264 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้ืนท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั องค์ความรู้ จังหวัด จานวน ระดับการนาองคค์ วามรู้ ปใช้ ค่าเฉลี่ย

ผตู้ อบ (1) เคยฟงั (2) เคย (3) ใชท้ างาน (4) ใช้ทางาน (5) ต่อยอด/มี (รายละเอียดความรู้ (ผ้ตู อบ
เคยอบรม ทดลองใช้ บ่อยๆ เป็นประจา เทคนิคใหม่ ใหม่/เทคนิคใหม่) 31 คน)

องค์ความรู้ 6 มิติ และ อดุ รธานี 1 คน - - 1 - - -

หลกั การทางานของปิด (100.00)

ทอง

A15 หลกั การพฒั นาตาม กาฬสนิ ธุ์ 1 คน - - - 1 -

ตาราแม่ฟ้าหลวง และ น่าน 3 คน - - (100.00) - ขยายผลในระดบั 4.00
กระบวนการพฒั นา 111 จงั หวัด (4 คน)
(อยู่รอด พอเพยี ง (33.33) (33.33) (33.33)

ย่งั ยืน)

A16 หลักการพัฒนาเชงิ พนื้ ท่ี ส่วนกลาง 1 คน - - - 1 - - 3.00
- (3 คน)
8 ขน้ั ตอน 14 ข้ันตอบ (100.00)

(พชร.) อุดรธานี 2 คน - 1 1 - -

(50.00) (50.00)

A17 หลกั กสิกรรมธรรมชาติ อุดรธานี 2 คน 1 - - 1 - - 2.50

(50.00) (50.00) (2 คน)

A18 คมู่ อื ยุทธศาสตร์ สว่ นกลาง 1 คน - - 1 - - -

เศรษฐกจิ พอเพียงภาค (100.00) 3.00

เกษตรและชนบท (1 คน)

(ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1)

A19 หลักการเห็นประโยชน์ อดุ รธานี 2 คน - - - 1 1 - ช่วยเหลอื 4.50
ส่วนรวมเป็นที่ตงั้ (50.00) (50.00) ชาวบ้านในและ (2 คน)
นอกเวลางาน

A2 เทคนิคพื้นฐานเพื่อเขา้ ใจชมุ ชน/พืน้ ท่ี

A21 นกั พัฒนาภาคสนาม อุทัยธานี 1 คน - - - 1 - -

(100.00) 4.00

นราธวิ าส 1 คน - - - 1 - - (2 คน)

(100.00)

A22 การสารวจข้อมูลชมุ ชน เพชรบรุ ี 1 คน - - 1 - - -

(เศรษฐกิจ สังคม (100.00)

สิ่งแวดล้อม และอ่ืนๆ) นา่ น 3 คน - - - 2 1 - ใชใ้ นพื้นที/่

(67.67) (33.33) ประยุกต์ ใชพ้ นื้ ที่

ใกลเ้ คยี ง 3.38

อทุ ยั ธานี 1 คน - - - 1 - - (8 คน)

(100.00)

ปัตตานี 1 คน - - 1 - - -

(100.00)

นราธิวาส 2 คน - 2 - - - -

(100.00)

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 265 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพืน้ ที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั องคค์ วามรู้ จงั หวัด จานวน ระดับการนาองคค์ วามรู้ ปใช้ คา่ เฉล่ีย

ผ้ตู อบ (1) เคยฟงั (2) เคย (3) ใช้ทางาน (4) ใชท้ างาน (5) ต่อยอด/มี (รายละเอยี ดความรู้ (ผตู้ อบ
เคยอบรม ทดลองใช้ บอ่ ยๆ เป็นประจา เทคนิคใหม่ ใหม่/เทคนคิ ใหม่) 31 คน)

A23 การพฒั นาและการ น่าน 2 คน - - - 1 1 - ใชใ้ นพน้ื ท่ี/ 4.50

รวบรวมฐานข้อมูล (50.00) (50.00) ประยกุ ต์ ใชพ้ ้นื ที่ (2 คน)

ใกลเ้ คียง

A24 จัดทาคู่มือการทางานให้ นา่ น 2 คน - - - 1 1 - เรยี กใชไ้ ด้ทันที่

พื้นทดี่ ้านตา่ งๆ/การ - - (50.00) (50.00) หรอื ประกอบการ 3.33
ถอดบทเรยี นกรณีศกึ ษา - - รายงาน (3 คน)

ยะลา 1 คน 1 -

(100.00)

A25 การแลกเปล่ียน การ น่าน 3 คน - - 1 1 1 - ขยายโครงการ

พฒั นา การประยกุ ต์ให้ (33.33) (33.33) (33.33) และซอ่ มแซมฝาย 4.00

มีความเหมาะสมใน (3 คน)

พืน้ ที่

A3 ทกั ษะการบรหิ ารจัดการ

A31 การสอ่ื สาร (ฟงั พดู ขอนแก่น 3 คน - 1 1 1 -

อ่าน เขยี น) การ (33.33) (33.33) (33.33)

นาเสนอข้อมลู และการ เพชรบรุ ี 2 คน - - 2 - -

พฒั นาส่ือคุณภาพ (100.00)

น่าน 3 คน - - 1 1 1 - ถ่ายทอดให้

(33.33) (33.33) (33.33) ชมุ ชน

อุดรธานี 2 คน - 1 - 1 - - 2.64
- (22 คน)
(50.00) (50.00)

อุทัยธานี 3 คน - 3 - - -

(100.00)

ยะลา 1 คน 1 - - - - -

(100.00)

ปัตตานี 4 คน 1 1 2 - - -

(25.00) (25.00) (50.00)

นราธวิ าส 4 คน 2 - 1 1 - -

(50.00) (25.00) (25.00)

A32 การวางแผนและเขยี น กาฬสินธ์ุ 1 คน - 1 - - - -

โครงการ (100.00)

ขอนแกน่ 3 คน 1 1 1 - - -

(33.33) (33.33) (33.33) 2.36

อดุ รธานี 3 คน 1 - 1 1 - - (11 คน)

(33.33) (33.33) (33.33)

นา่ น 2 คน 1 - - - 1 - นาไปประยกุ ต์ใช้

(50.00) (50.00) ในพืน้ ท่ี

อทุ ยั ธานี 1 คน - 1 - - - -

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 266 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพนื้ ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัส องค์ความรู้ จงั หวัด จานวน ระดบั การนาองค์ความรู้ ปใช้ คา่ เฉลี่ย

A33 การทางานแบบบรู ณา ผู้ตอบ (1) เคยฟงั (2) เคย (3) ใช้ทางาน (4) ใชท้ างาน (5) ต่อยอด/มี (รายละเอียดความรู้ (ผู้ตอบ
การความร่วมมอื (การ เคยอบรม ทดลองใช้ บอ่ ยๆ เปน็ ประจา เทคนิคใหม่ ใหม่/เทคนคิ ใหม)่ 31 คน)
ทาเวทชี าวบา้ น/การบรู
ณาการกบั หนว่ ยงาน) (100.00)

A34 ความรู้ดา้ นเทคโนโลยี ยะลา 1 คน - 1 - - - -

A35 คดิ อย่างเป็นระบบ (100.00)

A36 การบรู ณาการความรู้ กาฬสนิ ธุ์ 2 คน - - - - 2 - เทคนิคเวลาทาเวที
ตา่ งๆ
(100.00) ชาวบ้าน

นา่ น 2 คน - - - 2 - -

(100.00) - 4.00
อุดรธานี 1 คน - - - 1 - (7 คน)

(100.00)

สว่ นกลาง 1 คน - - 1 - - -

(100.00)

ยะลา 1 คน - - 1 - - -

(100.00)

ขอนแกน่ 2 คน - - - 2 - - 4.00
(100.00) - (4 คน)

อุดรธานี 2 คน - - - 2 -

(100.00)

ขอนแกน่ 1 คน - - - 1 - -

(100.00) 4.00

อดุ รธานี 1 คน - - - 1 - - (2 คน)

(100.00)

อดุ รธานี 2 คน 1 - 1 - - - 2.50

(50.00) (50.00) (2 คน)

กลมุ่ B: ความรู้สาหรบั การพัฒนาในระดบั ที่ 1: ครวั เรือนพงึ่ ตนเอง

รหสั องค์ความรู้ จงั หวัด จานวน ระดบั การนาองค์ความรู้ ปใช้ ค่าเฉลี่ย
(ผู้ตอบ
ผู้ตอบ (1) เคยฟงั (2) เคย (3) ใช้ทางาน (4) ใช้ทางาน (5) ตอ่ ยอด/มี (รายละเอียด 31 คน)
เทคนิคใหม่)
เคยอบรม ทดลองใช้ บ่อยๆ เปน็ ประจา เทคนิคใหม่ 3.00
(6 คน)
B1 การบรหิ ารจดั การนา้ และทรพั ยากร

B11 การบรหิ ารจดั การน้า เพชรบรุ ี 1 คน - - - 1 - -

/การสารวจแหลง่ นา้ / (100.00)

ปริมาณของนา้ นา่ น 1 คน - - - - 1 - ปรบั ใช้กับพน้ื ที่

(100.00) ใกลเ้ คยี ง

อดุ รธานี 1 คน - - - 1 - -
(100.00)

ปัตตานี 1 คน - 1 - - - -
(100.00)

นราธิวาส 2 คน 1 1 - - - -

สานักงานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 267 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพนื้ ทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัส องคค์ วามรู้ จงั หวดั จานวน ระดับการนาองคค์ วามรู้ ปใช้ ค่าเฉล่ีย

ผ้ตู อบ (1) เคยฟงั (2) เคย (3) ใช้ทางาน (4) ใช้ทางาน (5) ต่อยอด/มี (รายละเอยี ด (ผู้ตอบ
เทคนคิ ใหม)่ 31 คน)
เคยอบรม ทดลองใช้ บอ่ ยๆ เป็นประจา เทคนิคใหม่

(50.00) (50.00)

B12 หลักการตามคูม่ อื ฝาย ส่วนกลาง 1 คน - - - - 1 - ปรบั ใช้กบั การ

ชะลอนา้ พอเพยี งของ (100.00) พฒั นาแหล่งนา้

กรมชลประทาน (8 พน้ื ท่ใี นขอนแกน่

ขน้ั ตอน) / การสรา้ ง (เพิ่มเตมิ จาก

ฝายอนรุ ักษ์ฝาย โครงการหลกั )

เกษตร และฝายต่างๆ เพชรบรุ ี 1 คน - - - - 1 - แหล่งหว้ ยทม่ี ี

(100.00) ปา่ มีต้นไม้ มี

แปลงเกษตร

นา่ น 1 คน - - - - 1 - นาไปขยายผล 4.13
อุทัยธานี 2 คน - - 1 - (100.00) การซ่อมแซม (8 คน)

1 - นามาปรับ

(50.00) (50.00) รูปแบบให้มีช่อง

ระบายตะกอน

เหมือนฝาย

คอนกรตี เสริม

เหลก็

ปัตตานี 1 คน - - - 1 - -

(100.00)

นราธิวาส 2 คน - - 2 - - -

(100.00)

B13 การพัฒนาแหล่งนา้ อทุ ัยธานี 1 คน 1 - - - - -

(100.00) 2.00

นราธวิ าส 1 คน - - 1 - - - (2 คน)

(100.00)

B14 GIS (แผนที)่ อดุ รธานี 1 คน - 1 - - - -

(100.00) 3.00

ปัตตานี 1 คน - - - 1 - - (2 คน)

(100.00)

B15 ระบบนา้ หยด เพชรบุรี 1 คน 1 - -- - -

(100.00)

นา่ น 2 คน 1 - 1 - - - 1.75

(50.00) (50.00) (4 คน)

นราธวิ าส 1 คน - 1 - - - -

(100.00)

B16 ออกแบบถงั เกบ็ น้า อุทยั ธานี 1 คน - 1 - - - - 2.00

แบบดินผสมซเี มนต์ (100.00) (1 คน)

B17 ระบบพลังงานทดแทน เพชรบรุ ี 1 คน - - - - 1 - 4.00

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 268 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั องค์ความรู้ จังหวดั จานวน ระดับการนาองค์ความรู้ ปใช้ ค่าเฉลย่ี

ผูต้ อบ (1) เคยฟงั (2) เคย (3) ใช้ทางาน (4) ใชท้ างาน (5) ตอ่ ยอด/มี (รายละเอยี ด (ผตู้ อบ
เทคนคิ ใหม)่ 31 คน)
เคยอบรม ทดลองใช้ บอ่ ยๆ เปน็ ประจา เทคนคิ ใหม่

(100.00) (1 คน)

B18 สารวจปา่ ปตั ตานี 1 คน - - 1 - - -

(100.00) 2.50

นราธิวาส 1 คน - 1 - - - - (2 คน)

(100.00)

B2 การสง่ เสรมิ อาชีพเกษตร / เทคนิคการเกษตร

B21 การพัฒนาด้าน อุดรธานี 1 คน - - 1 - - -

การเกษตร (100.00) 2.50

นราธวิ าส 1 คน - 1 - - - - (2 คน)

(100.00)

B22 การจัดการผลผลิต อุดรธานี 1 คน - - 1 - - - 3.00

(100.00) (1 คน)

B23 แผนกระดาษในการ สว่ นกลาง 1 คน - - - 1 - -

ส่งเสริม/ปลกู บน (100.00)

กระดาษ เพชรบรุ ี 3 คน - 1 1 - 1 - การพัฒนาตนเอง

(33.33) (33.33) (33.33) และวางแผนงาน

น่าน 1 คน - - 1 - - -

(100.00)

อดุ รธานี 2 คน - - - 2 - - 3.36

(100.00) (11 คน)

ยะลา 1 คน - - 1 - - -

(100.,00)

ปตั ตานี 2 คน - - 2 - - -

(100.00)

นราธวิ าส 1 คน - - 1 - - -

(100.00)

B24 การทาปยุ / การทานา้ เพชรบรุ ี 2 คน - 1 1 - - -

หมกั / การทา (50.00) (50.00)

สารชวี ภาพ นา่ น 1 คน - - 1 - - -

(100.00) 2.00

ยะลา 1 คน 1 - - - - - (5 คน)

(100.00)

นราธิวาส 1 คน 1 - - - - -

(100.00)

B25 การปลูกผักอินทรยี ์ กาฬสนิ ธุ์ 1 คน - - - - 1 - ถา่ ยทอดใหก้ ับ 5.00

(100.00) ทมี และชาวบา้ น (1 คน)

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 269 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพนื้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั องค์ความรู้ จงั หวัด จานวน ระดบั การนาองคค์ วามรู้ ปใช้ ค่าเฉลยี่

ผตู้ อบ (1) เคยฟงั (2) เคย (3) ใช้ทางาน (4) ใชท้ างาน (5) ตอ่ ยอด/มี (รายละเอียด (ผูต้ อบ
เทคนิคใหม)่ 31 คน)
เคยอบรม ทดลองใช้ บ่อยๆ เปน็ ประจา เทคนิคใหม่

B26 การสง่ เสริมงานด้าน น่าน 2 คน - - 1 - 1 - ประยุกต์ใชใ้ น

ปศสุ ัตว์ (50.00) (50.00) พื้นท่ีและชมุ ชน

ใกลเ้ คียง

อดุ รธานี 4 คน - - - 2 2 - นาความรจู้ าก

(50.00) (50.00) ประสบการณ์มา

ปรบั ใช้

- สามารถถา่ ยทอด 3.40
ให้ชาวบา้ น (10 คน)
- บริหารจดั การ

ยะลา 1 คน 1 - - - - -

(100.00)

ปตั ตานี 1 คน - - - 1 - -

(100.00)

นราธิวาส 2 คน 1 1 - - - -

(50.00) (50.00)

B27 การพัฒนาการเกษตร นา่ น 1 คน - - 1 - - -

(ฟารม์ ตวั อยา่ ง / (100.00)

แปลงพืชผัก) อุดรธานี 3 คน - 2 1 - - - 2..20

(66.67) (33.33) (5 คน)

นราธิวาส 1 คน 1 - - - - -

(100.00)

B28 ความร้ดู ้านสขุ าภิบาล อุดรธานี 1 คน - - - 1 - - 4.00

(100.00) (1 คน)

B3 การบริหารจัดการในครวั เรอื น

B31 การสง่ เสริมอาชีพลด นา่ น 2 คน - - - 1 1 - 4.50

รายจ่ายเพ่มิ รายได้ (50.00) (50.00) (2 คน)

กลมุ่ C: ความรู้สาหรับการพัฒนาในระดบั ที่ : ชมุ ชนพ่ึงตนเอง ด้

รหัส องค์ความรู้ จงั หวัด จานวน ระดับการนาองค์ความรู้ ปใช้ คา่ เฉล่ีย
(ผตู้ อบ
ผูต้ อบ (1) เคยฟัง (2) เคย (3) ใช้ทางาน (4) ใช้ทางาน (5) ตอ่ ยอด/มี (รายละเอียด 31 คน)
เทคนคิ ใหม่)
เคยอบรม ทดลองใช้ บอ่ ยๆ เป็นประจา เทคนคิ ใหม่ 2.60
- (5 คน)
C0 ความรพู้ นื้ ฐานในการบริหารจดั การกลมุ่
-
C01 บนั ได 7 ข้นั สกู่ าร สว่ นกลาง 1 คน - -1 - -
- -
รวมกลมุ่ อยา่ งยั่งยืน / (100.00)

การพัฒนากลุ่ม ขอนแก่น 2 คน - 1 1 -

(50.00) (50.00)

อุดรธานี 2 คน - 1 1 - -
(50.00) (50.00)

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 270 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพนื้ ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั องค์ความรู้ จังหวัด จานวน ระดบั การนาองคค์ วามรู้ ปใช้ ค่าเฉลย่ี
(ผตู้ อบ
ผูต้ อบ (1) เคยฟัง (2) เคย (3) ใชท้ างาน (4) ใชท้ างาน (5) ต่อยอด/มี (รายละเอียด 31 คน)
เคยอบรม ทดลองใช้ บ่อยๆ เป็นประจา เทคนคิ ใหม่ เทคนคิ ใหม่) 3.00
(1 คน)
C02 การรว่ มกลุม่ ชมุ ชน นา่ น 1 คน - -1 - - - 3.00
- (1 คน)
(100.00)
- 3.20
C03 การจดั ทาแผนชุมชน อดุ รธานี 1 คน - -1 - - (10 คน)
-
(100.00) - 2.00
- (1 คน)
C1 บนั ดขน้ั ที่ 1 เช็คความพรอ้ มของคน - 3.00
(2 คน)
*** ไมม่ ี

C2 บัน ดขั้นที่ 2 ตกลงปลงใจให้แน่นอน

(สทิ ิหน้าท่ีและการจดั สรรประโยชน์)

*** ไมม่ ี

C3 บนั ดขนั้ ที่ 3 กอ่ รา่ งสรา้ งกลุ่ม

C31 การบริหารจัดการ ส่วนกลาง 1 คน - - - 1 -

กองทนุ /ระบบบัญชี (100.00)

และการเงนิ ขอนแก่น 1 คน - - - 1 -

(100.00)

เพชรบุรี 1 คน - -1 - -

(100.00)

น่าน 3 คน - 1 1 - 1

(33.33) (33.33) (33.33)

อดุ รธานี 2 คน - -2 - -

(100.00)

อุทัยธานี 1 คน - 1 - - -

(100.00)

ยะลา 1 คน - -1 - -

(100.00)

C32 การตรวจสุขภาพกล่มุ นา่ น 1 คน - 1 - - -

(100.00)

C4 บัน ดขนั้ ท่ี 4 ลดตน้ ทุน เพิม่ ผลผลติ เพม่ิ ราย ด้

C41 การตลาดและการ อดุ รธานี 1 คน - - - - 1

วเิ คราะห์ตลาด (100.00)

ปัตตานี 1 คน 1 - - - -

(100.00)

C5 บัน ดขั้นที่ 5 ทุกคนรว่ มกนั ในทุกขั้นตอน

*** ไมม่ ี

คา่ เฉล่ีย 4.21 – 5.00 คือ ต่อยอด/มเี ทคนิคใหม่

คา่ เฉลีย่ 3.41 – 4.20 คอื ใชง้ านเปน็ ประจา

คา่ เฉลี่ย 2.61 – 3.40 คือ ใชท้ างานบอ่ ยๆ

ค่าเฉล่ีย 1.81 – 2.60 คอื เคยทดลองใช้

ค่าเฉลยี่ 1.00 – 1.80 คือ เคยฟังเคยอบรม

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 271 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพ้นื ที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

5.2.2 สรุปสถานการณ์ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการนาองค์ความรู้ ปประยุกต์ใช้ในพื้นท่ี
ตน้ แบบ
ทีมทปี่ รึกษาได้แจกแบบฟอรม์ ใหบ้ ุคลากรในพ้นื ทรี่ ะบุปัญหาทมี่ ักจะเกิดขึน้ ในการปฏิบัติงานใน

พ้นื ที่ และระบแุ หลง่ ความร้ทู น่ี ามาใช้ในการแก้ปญั หา พรอ้ มระบรุ ายละเอยี ด ดงั แบบฟอร์มตอ่ ไปนี้

ส่วนท่ี 2 : ปัญหาท่ีเกิด และแหลง่ ความรู้ทีน่ ามาใชแ้ กป้ ัญหา
1) ขอใหท้ า่ นระบุ ปัญหาทมี่ กั จะเกิดข้ึน ในการปฏิบตั ิงานในพื้นที่
2) ขอให้ท่านระบุ แหลง่ ความรูท้ ่ีท่านนามาแกป้ ัญหา โดยทาเครอ่ื งหมาย ✓ในช่อง ❑ ที่ตรงกบั ท่านมากทีส่ ุด

ขอ้ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ แหลง่ ความรูใ้ นการแกป้ ัญหา ระบุรายละเอยี ด (เช่น ชอ่ื องคค์ วามรู้ วิ ีการแก้ ข)

1 ❑ ความรทู้ ี่ไดจ้ ากสว่ นกลางของปิดทอง

❑ คิดเอง / หารือกบั ทมี

❑ ระดมความรจู้ ากชาวบ้าน/สมาชกิ กลุ่ม
❑ หาความรจู้ ากหน่วยงานภายนอก

❑ ยงั ตดิ ปญั หา / ยงั ไม่มคี วามรู้มาแกไ้ ข

2 ❑ ความรทู้ ไี่ ด้จากสว่ นกลางของปดิ ทอง

❑ คิดเอง / หารือกบั ทีม
❑ ระดมความรจู้ ากชาวบา้ น/สมาชกิ กลุม่

❑ หาความรู้จากหน่วยงานภายนอก

❑ ยังตดิ ปญั หา / ยังไม่มีความรูม้ าแกไ้ ข

ผลการรวบรวมแบบสารวจ พบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 31 คน ประกอบด้วย น่าน 3 คน
อุดรธานี 7 คน ขอนแก่น 3 คน กาฬสินธุ์ 1 คน เพชรบุรี 3 คน อุทัยธานี 4 คน ส่วนกลาง 1 คน ยะลา
1 คน ปัตตานี 4 คน และนราธิวาส 4 คน ท้ังนี้ ทีมท่ีปรึกษาได้ทาการประมวลคาตอบและจัดกลุ่ม
ปญั หาที่ทีมพฒั นาของมลู นธิ ิปิดทองหลงั พระฯ พบในการปฏิบัตหิ นา้ ที่ ไดเ้ ป็น 3 กลุ่ม ได้แก่

กลมุ่ PA: ปญั หาการเตรยี มความพร้อมของคนและพ้นื ที่
PA1: ทีมพัฒนาของปดิ ทอง และ อสพ.
PA2: คนและหน่วยงานในพื้นท่ี
PA3: ส่วนกลางของปิดทองฯ

กล่มุ PB: ปญั หาการพฒั นาในระดบั ท่ี 1: ครวั เรอื นพ่ึงตนเอง
PB1: การบริหารจัดการนา้ และทรพั ยากร
PB2: การสง่ เสริมอาชีพเกษตร / เทคนคิ การเกษตร

กลมุ่ PC: ปัญหาการพฒั นาในระดับท่ี : ชุมชนพ่งึ ตนเอง ด้
PC0: ความร้พู ื้นฐานในการบรหิ ารจัดการกลุม่
PC1: บันไดขนั้ ท่ี 1 เชค็ ความพร้อมของคน

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 272 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพ้ืนท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

PC2: บันไดข้นั ท่ี 2 ตกลงปลงใจใหแ้ นน่ อน (สทิ ธหิ น้าท่ีและการจดั สรรประโยชน)์
PC3: บันไดข้ันที่ 3 กอ่ ร่างสร้างกลมุ่
PC4: บนั ไดขั้นท่ี 4 ลดตน้ ทุน เพมิ่ ผลผลิต เพมิ่ รายได้
PC5: บนั ไดข้ันท่ี 5 ทุกคนร่วมกนั ในทุกขน้ั ตอน
❖ กลมุ่ PA: ปญั หาการเตรียมความพร้อมของคนและพน้ื ที่
ผลการสารวจความเห็นของนักพัฒนาที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 31 คน พบว่า ในกลุ่ม
PA: การเตรียมความพร้อมของคนและพ้ืนท่ี ประกอบไปด้วยปัญหา 3 กลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มย่อย PA1:
ทีมพัฒนาของปิดทองและอสพ. ประกอบด้วย 8 ปัญหา กลุ่มย่อย PA2: คนและหน่วยงานในพื้นท่ี
ประกอบดว้ ย 5 ปัญหา และกลมุ่ ย่อย PA3: ส่วนกลางของปดิ ทองฯ ประกอบดว้ ย 2 ปัญหา ซง่ึ รวมเปน็
ปญั หาในกลมุ่ PA ท้ังหมด 15 ปัญหา
ในภาพรวมของกลุ่ม PA มีปัญหาท้ังหมด 15 ปัญหา ซึ่งนักพัฒนาได้นาความรู้ที่ได้จาก
ส่วนกลางของปิดทองมาเป็นหลักในการแก้ไขปัญหา นอกจากน้ี ยังมีการหาความรู้จากแหล่งอ่ืนๆ
เพ่ิมเติม ทั้งการคิดเอง/หารือกับทีม ระดมความรู้จากชาวบ้าน/สมาชิกกลุ่ม และหาความรู้จาก
หน่วยงานภายนอก อย่างไรก็ตาม ยังมีนักพัฒนาบางคนที่ระบุว่า ยังติดปัญหาและยังไม่มีความรู้มา
แกไ้ ข 13 ปัญหา จากปญั หาที่มีอยู่ทัง้ หมด 15 ปญั หา
กลุ่มย่อย PA1: ทีมพัฒนาของปิดทองและอสพ. พบว่า ปัญหาที่นักพัฒนาพบร่วมกันมาก
ที่สุด 2 อันดับแรก คือ PA11 ทีมงานความรู้ไม่ครอบคลุม ไม่สอดรับกับประเด็นปัญหาหน้างานที่มี
หลายดา้ น และ PA14 คนนอ้ ยกวา่ งาน
กลุ่มย่อย PA2: คนและหน่วยงานในพื้นท่ี พบว่า ปัญหาท่ีนักพัฒนาพบร่วมกันมากท่ีสุด
คือ PA25 หน่วยงานยังแบ่งฝักแบ่งฝ่าย ยังไม่มีเช่ือมโยงสอดคล้องสนับสนุนกัน ไม่บูรณาการการ
ปฏิบัติงานและการติดตามผลระดับจังหวัด ตามมาด้วย PA21 กระบวนการทาความเข้าใจเข้าถึง
ชาวบ้านในชว่ งเริม่ โครงการทีช่ าวบ้านคิดว่าจะได้รบั ประโยชน์จากของฟรี คดิ ว่ามอี ะไรมาใหโ้ ดยลืมดูถึง
ปัจจัยความสาเร็จของแต่ละคน มีความเบื่อหน่ายเพราะปิดทองไม่ให้ของฟรี และ PA22 ชาวบ้านไม่
เข้าใจหลักของโครงการ ยังไม่มแี ผนรว่ มกนั
กลุม่ ยอ่ ย PA3: ส่วนกลางของปิดทองฯ ประกอบดว้ ยปญั หา 2 ปญั หา คือ PA31 นโยบาย
ท่ีให้ทาทุกดา้ นจนไม่รู้ว่าจะตอ่ ยอดเนน้ หลกั เรือ่ งอะไร และPA32 นโยบายบางท่ีไม่สอดคลอ้ งกบั พืน้ ที่

ตารางที่ 5.8 กลุ่ม PA: ปัญหาการเตรียมความพร้อมของคนและพน้ื ที่ และแนวทางประยกุ ต์ใชค้ วามรู้

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 273 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพน้ื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

กล่มุ PA: ปญั หาการเตรยี มความพร้อมของคนและพ้ืนที่

รหสั ปัญหาทเ่ี กดิ จังหวดั จานวน แหลง่ ความรใู้ นการแกป้ ญั หา (ตอบ ดม้ ากวา่ 1 ขอ้ )

ผตู้ อบ ความรูท้ ่ไี ด้ คิดเอง/ ระดมความรู้ ความรู้ ยงั ติดปญั หา ระบรุ ายละเอยี ด
หารอื ทีม ชาวบา้ น/สมาชกิ ภายนอก /ยังไมม่ ี (ชื่อองค์ความรู้ วธิ ีการแกไ้ ข)
จากปิดทอง ความรู้

PA1 ทีมพัฒนาของปิด ทอง และ อสพ.

PA11 ทมี งานความรู้ไม่ ส่วนกลาง 1 คน      - สง่ เสรมิ ชาวบา้ น แตไ่ มร่ ้ชู ดั

ครอบคลมุ ไม่สอด แจ้งจงึ ไมก่ ล้าตดั สนิ ใจ

รบั กับประเดน็ - ทีมงานบางคนมาจาก

ปญั หาหนา้ งานทมี่ ี ชาวบา้ นทยี่ ังติดแบบชาวบา้ น

หลายด้าน อุดรธานี 4 คน   -  -

อทุ ยั ธานี 1 คน  - - - -

PA12 ทีมงานมีความรแู้ ต่ สว่ นกลาง 1 คน   -   - หน่ึงคนดหู ลายเร่อื ง ซ่งึ บาง

ความชานาญไมพ่ อ เรื่องไมม่ อี งค์ความรู้ ไมม่ ีความ

ต้องใชว้ ิธเี รยี นรู้ ชานาญ ตอ้ งเรยี นรแู้ ละพัฒนา

หน้างาน เอง ทาใหผ้ ลการพฒั นาไม่

เตม็ ทเ่ี ทา่ ที่ควร

PA13 ทีมงานทางานแค่ ส่วนกลาง 1 คน      - ส่งเสรมิ ชาวบา้ น แตไ่ มร่ ู้ชดั

เอาให้เสรจ็ ยังไม่มี แจง้ จงึ ไม่กล้าตดั สนิ ใจ

ความรับผิดชอบ - ทมี งานบางคนมาจาก

ขาดความเอาใจใส่ ชาวบา้ นทย่ี งั ตดิ แบบชาวบา้ น

ติดรอคาสงั่ ตอ้ งให้

ตามและเตอื น

PA14 คนนอ้ ยกวา่ งาน อุดรธานี 4 คน   - -

PA15 ทีมปิดทองในพ้ืนท่ี กาฬสนิ ธุ์ 1 คน    - -
จะทางานเองเปน็
หลัก อดุ รธานี 2 คน   - - - - ความเขา้ ใจทไี่ มต่ รงกัน
ระหวา่ งเจ้าหน้าท่ีและ อพส.
PA16 การทางานร่วมกัน กาฬสินธุ์ 1 คน   - ต้องหารือกนั มากๆ
ระหวา่ ง อพส. กบั นา่ น 1 คน  - -
จนท. -
-
PA17 ความยากของงาน
ขอ้ มลู พื้นทแี ละ
เทคนคิ การใช้
เคร่อื งมอื ในการ
สารวจ

PA18 การตดิ ต่อสอื่ สาร เพชรบรุ ี 1 คน - - - -  - ระบบอินเตอรเ์ น็ตใชใ้ นการ

และการจบั สื่อสารและประสานงานมีเป็น

ประเดน็ เรียงความ บางชว่ ง

เน้อื หาสาคญั ขอนแก่น 2 คน  - - -

PA2 คนและหน่วยงานในพน้ื ที่

A21 กระบวนการทา ส่วนกลาง 1 คน      - จดั ทมี ลงพ้ืนท่พี ดู คยุ กบั

ความเขา้ ใจ เขา้ ถึง ชาวบ้านบอ่ ยๆให้ชาวบา้ นรู้สกึ

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 274 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพืน้ ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัส ปญั หาท่เี กดิ จังหวัด จานวน แหลง่ ความรูใ้ นการแกป้ ญั หา (ตอบ ดม้ ากวา่ 1 ขอ้ )

ผตู้ อบ ความรูท้ ่ไี ด้ คดิ เอง/ ระดมความรู้ ความรู้ ยงั ติดปัญหา ระบุรายละเอยี ด
หารือทมี ชาวบ้าน/สมาชิก ภายนอก /ยงั ไมม่ ี (ชอื่ องคค์ วามรู้ วธิ ีการแกไ้ ข)
จากปิดทอง ความรู้

ชาวบ้านในชว่ งเริม่ สนทิ สนม โดยเจาะพูดคยุ กบั

โครงการทีช่ าวบ้าน ผู้นา/ปราชญ์ท่เี ปน็ ปากเสยี ง

คดิ วา่ จะได้รับ แทนกันได้

ประโยชนจ์ ากของ - ชาวบา้ นปลูกพชื หลังนามาก

ฟรี คดิ วา่ มอี ะไรมา ข้ึนเพราะเห็นเพือ่ นทาได้แต่ลืม

ให้โดยลืมดูถึง วา่ ตนเองพรอ้ มแค่ไหน

ปจั จยั ความสาเรจ็ - ประชมุ แล้วไม่เหน็ การ

ของแต่ละคน มี เปลีย่ นแปลง

ความเบ่ือหน่าย เพชรบรุ ี 2 คน   -  - การพาชาวบ้านศึกษาดูงาน ลง

เพราะปิดทองไม่ให้ พื้นทีท่ าความเขา้ ใจซ้าๆ

ของฟรี

PA22 ชาวบา้ นไมเ่ ขา้ ใจ กาฬสนิ ธุ์ 1 คน - - - - --

หลักของโครงการ น่าน 2 คน  - - - - ใช้แนวทางการปรับและสรา้ ง

ยังไมม่ ีแผนร่วมกัน ความเขา้ ใจทบทวน สรา้ งการมี

ส่วนร่วม

PA23 แผนแมบ่ ทของ/ กาฬสนิ ธุ์ 1 คน - - - - -

พื้นทชี่ มุ ชนยงั ไมม่ ี

ทิศทางในการ

นาไปสู่ความยั้งยนื

PA24 การเขยี นโครงการ ขอนแกน่ 1 คน  - - -  - อบรมการเขียนโครงการ

ทไ่ี ม่วัดผล ได/้ ไมไ่ ด้

PA25 หน่วยงานยงั แบง่ สว่ นกลาง 1 คน -  - - -

ฝกั แบง่ ฝ่าย ยังไมม่ ี อดุ รธานี 4 คน    - - ปญั หาสว่ นใหญเ่ กิดจากคณะ

เชือ่ มโยงสอดคลอ้ ง กรรมการไม่ทางาน

สนับสนุนกนั ไม่ นา่ น 1 คน  - - -

บูรณาการการ

ปฏบิ ตั งิ านและการ

ติดตามผลระดับ

จงั หวัด

PA3 สว่ นกลางของปดิ ทอง

PA31 นโยบายทีใ่ หท้ าทกุ ส่วนกลาง 1 คน      -

ดา้ นจนไม่รู้วา่ จะ

ตอ่ ยอดเน้นหลกั

เรื่องอะไร

PA32 นโยบายบางทีไ่ ม่ อุดรธานี 2 คน  -  - - -

สอดคลอ้ งกับพื้นท่ี

สานกั งานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 275 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพ้นื ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

❖ กลุ่ม PB: ปญั หาการพฒั นาในระดบั ที่ 1: ครวั เรือนพงึ่ ตนเอง
ในกลุ่ม PB: ปัญหาการพัฒนาในระดับท่ี 1: ครัวเรือนพ่ึงตนเอง ประกอบไปด้วยปัญหา 2

กลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มย่อย PB1: การบริหารจัดการน้าและทรัพยากร ประกอบด้วย 5 ปัญหา กลุ่มย่อย
PB2: การส่งเสริมอาชีพเกษตร / เทคนิคการเกษตร ประกอบด้วย 6 ปัญหา ซ่ึงรวมเป็นปัญหาในกลุ่ม
PB ทัง้ หมด 11 ปญั หา

ในภาพรวมของกลุ่ม PB มีปัญหาท้ังหมด 11 ปัญหา ซ่ึงนักพัฒนาได้นาความรู้ที่ได้จาก
หลายแหล่งมาใช้ในการแก้ปัญหา ทั้งจากส่วนกลางของปิดทอง การคิดเอง/หารือกับทีม ระดมความรู้
จากชาวบ้าน/สมาชกิ กลุ่ม และหาความรู้จากหน่วยงานภายนอก อย่างไรก็ตาม ยังมีนักพัฒนาบางคนท่ี
ระบวุ า่ ยังตดิ ปญั หาและยังไมม่ ีความรมู้ าแกไ้ ข 9 ปญั หา จากปญั หาท่ีมีอยู่ทงั้ หมด 11 ปญั หา

กลุ่มยอ่ ย PB1: การบรหิ ารจัดการนา้ และทรัพยากร ประกอบด้วย 5 ปัญหา ส่วนใหญต่ ้อง
ระดมความรู้จากสมาชิกและความรู้จากภายนอกมาแก้ไข อย่างไรก็ตาม ยังมีนักพัฒนาบางคนท่ีระบุวา่
มีปัญหาท่ียังติดค้างและยังไม่มีความรู้มาแก้ไขอีก 4 ปัญหา ได้แก่ PB12 ปัญหามิเตอร์ไม่หมุน PB13
ปัญหาการสบู น้าด้วยพลงั งานแสงอาทิตย์ PB14 ปัญหาการดแู ลอุปกรณร์ ะบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
ยังเป็นหน้าที่ของ อสพ. ไม่ใช่ของชาวบ้าน และ PB15 ปัญหาการบุกรุกป่าและการบังคับใช้กฎหมายที่
ไม่เข้มแข็ง

กลุ่มย่อย PB2: การส่งเสริมอาชีพเกษตร/เทคนิคการเกษตร ประกอบด้วย 6 ปัญหา ใช้
ความรู้ทุกแหล่งในการแก้ปัญหา ท้ังจากส่วนกลางของปิดทอง การคิดเอง/หารือกับทีม ระดมความรู้
จากชาวบ้าน/สมาชิกกลุ่ม และหาความรู้จากหน่วยงานภายนอก อย่างไรก็ตาม ยังมีนักพัฒนาบางคนที่
ระบุว่ามีปัญหาท่ียังติดค้างและยังไม่มีความรู้มาแก้ไขอีก 5 ปัญหา โดยปัญหาท่ีพบร่วมกันมากท่ีสุด 2
อันดับแรก คือ PB22 เทคนิคการพัฒนาภาคการเกษตรต่างๆ และ PB26 ชาวบ้านทาไม่ต่อเน่ือง เช่น
ปุย น้าหมกั และไม่มกี ารทาตามคาแนะนาของเจา้ หนา้ ที่

ตารางที่ 5.9 กลุ่ม PB: ปัญหาการพัฒนาในระดับที่ 1: ครัวเรือนพึ่งตนเอง และแนวทางประยุกต์ใช้

ความรู้

กล่มุ PB: ปญั หาการพฒั นาในระดบั ท่ี 1: ครัวเรือนพ่งึ ตนเอง

รหสั ปญั หาทเ่ี กิด จังหวดั จานวน แหลง่ ความรู้ในการแกป้ ัญหา (ตอบ ดม้ ากว่า 1 ข้อ)

ผตู้ อบ ความร้ทู ่ี คดิ เอง/ ระดมความรู้ ความรู้ ยงั ติดปญั หา/ ระบรุ ายละเอยี ด
ได้จากปิด หารือทมี ชาวบ้าน/ ภายนอก ยงั ไม่มี (เชน่ ช่ือองคค์ วามรู้ วธิ กี ารแกไ้ ข)
ความรู้
ทอง สมาชิก

PB1 การบริหารจัดการน้า และทรัพยากร

PB11 การจดั น้าชุมชนไมม่ ี น่าน 1 คน - -- - - ระดมปัญหาและแนวทางแกไ้ ข

ความสมา่ เสมอ กฎ ระเบยี บ

PB12 ปญั หามเิ ตอรไ์ มห่ มุน อดุ รธานี 2 คน - - -   - ได้ประสานขอความรูใ้ นการ

แก้ไขแล้วไม่มีแนวทางปฏบิ ตั ิ

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 276 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพน้ื ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั ปัญหาทเ่ี กิด จงั หวัด จานวน แหล่งความรใู้ นการแกป้ ัญหา (ตอบ ดม้ ากวา่ 1 ขอ้ )

ผูต้ อบ ความรู้ท่ี คิดเอง/ ระดมความรู้ ความรู้ ยงั ติดปญั หา/ ระบรุ ายละเอียด
ได้จากปดิ หารอื ทีม ชาวบ้าน/ ภายนอก ยังไม่มี (เชน่ ชอื่ องคค์ วามรู้ วธิ ีการแก้ไข)
ความรู้
ทอง สมาชกิ

PB13 ปัญหาการสูบนา้ ด้วย เพชรบุรี 1 คน - - - - 

พลังงานแสงอาทติ ย์

PB14 การดูแลอปุ กรณ์ เพชรบรุ ี 2 คน - - -  - ประชุมทาความเขา้ ใจบอ่ ยๆ

ระบบไฟฟ้าพลงั งาน กระตนุ้ ผู้นาหาแนวทา

แสงอาทติ ย์ยงั เปน็

หนา้ ท่ีของ อสพ.ไม่ใช่

ของชาวบา้ น

PB15 การบุกรุกป่าและการ อุทัยธานี 2 คน - - - - -

บังคบั ใชก้ ฎหมายทีไ่ ม่

เขม้ แข็ง

PB2 การสง่ เสริมอาชพี เกษตร /

เทคนิคการเกษตร

PB21 เทคนคิ การพฒั นา กาฬสนิ ธุ์ 1 คน   - -  - อบรมและศึกษาดูงานแลว้

ภาคการเกษตรต่างๆ นามาขยายตอ่ แตก่ ย็ งั พบปญั หา

บ้าง

PB22 เทคนิคการพัฒนา เพชรบุรี 2 คน - - -   - ใชธ้ รรมชาติปรับธรรมชาติ

ภาคการเกษตรต่างๆ อธรรมปรบั อธรรมคอื นาสิ่งท่ีมีอยู่

ในธรรมชาติ เช่นสมนุ ไพรมาทา

เปน็ สารฆ่าแมลง

นา่ น 1 คน - - - - ป้องกันและจัดโครงการเพ่มิ

ผลผลติ ขา้ ว

อดุ รธานี 3 คน     -

อุทัยธานี 1 คน - - - - - หนว่ ยงานภายนอก เชน่ เกษตร

อาเภอ ปศุสตั ว์อาเภอ

PB23 อัตราการตายของ นา่ น 1 คน - - -  - - ประสานปศสุ ัตวจ์ ังหวัด เพอ่ื

สตั ว์ในพนื้ ที่ สร้างความเขา้ ใจในกล่มุ ผู้เลย้ี ง

และทาวัคซีน

PB24 ปญั หาดนิ เป็นกรด เพชรบรุ ี 1 คน - - - -  - ใชป้ นู ขาวปรบั ปรงุ บารงุ ดินองค์

ความรู้เรือ่ งดนิ

PB25 การใช้สารเคมี เพชรบุรี 2 คน   -   - ทาสารไล่แมลง

PB26 ชาวบ้านทาไม่ เพชรบุรี 3 คน - -    - การหมกั ปยุ จากเกษตรอาเภอ

ต่อเนอ่ื ง เชน่ ปยุ นา้

หมกั และไม่มีการทา

ตามคาแนะนาของ

เจา้ หนา้ ที่

สานกั งานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 277 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพืน้ ที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

❖ กลมุ่ PC: ความรู้สาหรับการพัฒนาในระดบั ที่ : ชุมชนพง่ึ ตนเอง ด้

ในกลุ่ม PC: ความรู้สาหรับการพัฒนาในระดับท่ี 2: ชุมชนพ่ึงตนเองได้ ประกอบไปด้วย

ปัญหา 4 กลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มย่อย PC1: บันไดข้ันที่ 1 เช็คความพร้อมของคน ประกอบด้วย 1 ปัญหา

กลุ่มย่อย PC2: บันไดข้ันที่ 2 ตกลงปลงใจให้แน่นอน (สิทธิหน้าที่และการจัดสรรประโยชน์)

ประกอบด้วย 2 ปัญหา กลุม่ ย่อย PC3: บนั ไดขั้นที่ 3 ก่อร่างสรา้ งกลุ่ม ประกอบด้วย 5 ปัญหา และกลมุ่

ย่อย PC4: บันไดขั้นท่ี 4 ลดต้นทุน เพ่ิมผลผลิต เพิ่มรายได้ประกอบด้วย 6 ปัญหา ซ่ึงรวมเป็นปญั หาใน

กลุ่ม PC ท้งั หมด 14 ปญั หา

ในภาพรวมของกลุ่ม PC มีปัญหาท้ังหมด 14 ปัญหา ซึ่งนักพัฒนาได้นาความรู้ท่ีได้จาก

หลายแหล่งมาใช้ในการแก้ปัญหา ท้ังจากส่วนกลางของปิดทอง การคิดเอง/หารือกับทีม ระดมความรู้

จากชาวบ้าน/สมาชิกกลุ่ม และหาความรู้จากหน่วยงานภายนอก อย่างไรก็ตาม ยังมีนักพัฒนาบางคนที่

ระบวุ ่า ยงั ติดปัญหาและยังไม่มคี วามรมู้ าแกไ้ ข 13 ปญั หา จากปัญหาทมี่ ีอยูท่ ัง้ หมด 14 ปัญหา

กลุ่มย่อย PC1: บันไดขั้นท่ี 1 เช็คความพร้อมของคน ประกอบด้วย 1 ปัญหา คือ PC11

การรวมกลมุ่ แบบไมพ่ รอ้ ม - ขาดการมสี ว่ นร่วมของสมาชิก

กลุ่มย่อย PC2: บันไดข้ันท่ี 2 ตกลงปลงใจให้แน่นอน (สิทธิหน้าท่ีและการจัดสรร

ประโยชน์) ประกอบด้วย 2 ปัญหา คือ PC21 คณะกรรมการกองทุนทางานไม่ค่อยเต็มที่ และ PC22

การร่วมกลุ่มอาชพี ที่ไมเ่ ข้มแขง็ – เกษตรกร/สมาชิกไมซ่ ือ่ สตั ย์

กลุ่มย่อย PC3: บันไดขั้นที่ 3 ก่อร่างสร้างกลุ่ม ประกอบด้วย 5 ปัญหา พบว่าปัญหา 2

อันดับแรกที่พบร่วมกันมากที่สุด คือ PC35 การขับเคลื่อนนโยบายเพื่อให้เกิดผลสาเร็จตรงกับความ

ต้องการการขยายผลของชาวบ้าน และ PC31 การทาบญั ชีและควบคุมเงนิ กองทุนไม่ชัดเจน

กลุ่มย่อย PC4: บันไดขั้นที่ 4 ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต เพ่ิมรายได้ประกอบด้วย 6 ปัญหา

พบว่าปัญหาที่พบร่วมกันมากท่ีสุดคือ PC43 การแปรรูป (คุณภาพผลผลิตไม่สม่าเสมอ/ผลผลิตล้น

ตลาด/ผลผลิตไม่ต่อเน่ืองท่ีจะส่งตลาด) รองลงมา คือ PC44 เทคนิคการตลาดและการต่อรองกับพ่อคา้

คนกลาง และ PC42 การปรับกระบวนการผลติ ให้มีมาตรฐาน

ตารางท่ี 5.10 กลุ่ม PB: ปญั หาการพฒั นาในระดบั ที่ 2: ชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ และแนวทางประยุกต์ใช้

ความรู้

กลมุ่ PC: ปญั หาการพัฒนาในระดบั ท่ี : ชุมชนพง่ึ ตนเอง ด้

รหัส ปัญหาท่ีเกดิ จงั หวดั จานวน แหลง่ ความรู้ในการแกป้ ัญหา (ตอบ ดม้ ากวา่ 1 ขอ้ )

ผตู้ อบ ความรู้ คดิ เอง/ ระดมความรู้ ความรู้ ยงั ติดปัญหา/ ระบรุ ายละเอียด
จากปิด หารือทมี ชาวบ้าน/ ภายนอก ยังไม่มีความรู้ (เชน่ ช่ือองคค์ วามรู้ วธิ กี ารแกไ้ ข)
ทอง สมาชิก

PC1 บนั ดข้นั ท่ี 1 เชค็ ความพรอ้ มของคน

PC11 นา่ น 1 คน - - - - -

อุดรธานี 1 คน - -  - -

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 278 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพ้ืนท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั ปญั หาทีเ่ กิด จังหวดั จานวน แหลง่ ความรูใ้ นการแกป้ ญั หา (ตอบ ดม้ ากว่า 1 ข้อ)

ผู้ตอบ ความรู้ คิดเอง/ ระดมความรู้ ความรู้ ยงั ติดปญั หา/ ระบุรายละเอียด
จากปดิ หารือทมี ชาวบ้าน/ ภายนอก ยังไม่มคี วามรู้ (เช่น ชอ่ื องคค์ วามรู้ วิธกี ารแก้ไข)
ทอง สมาชิก

การรวมกลมุ่ แบบไม่ อุทยั ธานี 4 คน - -  -

พร้อม - ขาดการมี

ส่วนรว่ มของสมาชิก

PC2 บนั ดขน้ั ที่ ตกลงปลงใจให้แนน่ อน (สทิ หิ น้าท่แี ละการจัดสรรประโยชน์)

PC21 คณะกรรมการ เพชรบุรี 2 คน -  - - ทาการประชุมและหาแนว
ทางแกไ้ ขโดยยดึ หลักความ
กองทนุ ทางานไมค่ ่อย

เต็มท่ี ตอ้ งการของสมาชิก

อดุ รธานี 7 คน      - ไม่ชินกับภาษาอสี านจงึ ไม่

เขา้ ใจในการแก้ไขปญั หา

PC22 การร่วมกลุ่มอาชพี ที่ น่าน 2 คน    - - มีตลาดใหม่ หรือมรี าคาสูง

ไม่เขม้ แข็ง – กข็ ายไป

เกษตรกร/สมาชกิ ไม่ - ใชก้ ฎ ระเบียบไม่เดด็ ขาด

ซอื่ สตั ย์

PC3 บนั ดข้ันที่ ก่อรา่ งสรา้ งกลุ่ม

PC31 การทาบญั ชแี ละ กาฬสินธ์ุ 2 คน  - - - 

ควบคมุ เงนิ กองทนุ ไม่

ชดั เจน

ขอนแก่น 2 คน - - - - กรมบญั ชสี หกรณ์

PC32 หนี้สินกองทุน อดุ รธานี 3 คน      - แต่งตง้ั คณะทางานระดบั

อาเภอ มีการประชุมทบทวน

แผนและการแกไ้ ข กระตุ้น

การดาเนนิ งาน

PC33 กองทนุ มกี าร อดุ รธานี 3 คน      - ประชุมให้ตอ่ เนอ่ื ง ทบทวน

ดาเนินงานไมต่ ่อเน่อื ง ผล

- หารอื รว่ มกับทมี

- บันได 7 ขัน้

PC34 การประเมนิ ขอนแก่น 2 คน  - - -  - อบรมบันได 7 ข้นั

ความกา้ วหนา้ กองทุน

ไมส่ ม่าเสมอ

PC35 การขบั เคลื่อน สว่ นกลาง 3 คน      -

นโยบายเพ่อื ให้เกิดผล ขอนแกน่ 3 คน    - - บันได 7 ขัน้ -

สาเร็จตรงกบั ความ ปรึกษาผูน้ ากลุม่ -สมาชกิ

ตอ้ งการการขยายผล หาทางแก้

ของชาวบา้ น - การนาเสนอ

PC4 บัน ดข้นั ที่ ลดตน้ ทุน เพม่ิ ผลผลิต เพ่มิ ราย ด้

PC41 ปลูกพืชไม่ค่อยได้ อดุ รธานี 2 คน -  - - -

มาตรฐาน

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 279 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพ้ืนทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัส ปญั หาทเ่ี กดิ จงั หวัด จานวน แหล่งความร้ใู นการแกป้ ญั หา (ตอบ ดม้ ากว่า 1 ข้อ)

ผ้ตู อบ ความรู้ คิดเอง/ ระดมความรู้ ความรู้ ยงั ติดปัญหา/ ระบุรายละเอียด
จากปิด หารอื ทมี ชาวบา้ น/ ภายนอก ยงั ไม่มคี วามรู้ (เชน่ ชอื่ องคค์ วามรู้ วิธกี ารแกไ้ ข)
ทอง สมาชกิ

PC42 การปรับกระบวนการ อดุ รธานี 4 คน      - ประชมุ ทบทวนวางแผน

ผลิตใหม้ ีมาตรฐาน เขยี นแผนกระดาษ ดาเนิน

การตามแผน

PC43 การแปรรูป (คุณภาพ น่าน 3 คน      - ทมี จัดหาตลาดและพอ่ คา้

ผลผลิตไม่สมา่ เสมอ/ ในพนื้ ท่รี ะบายผลผลติ

ผลผลิตล้นตลาด/ - ความลาบากของระบบ

ผลผลติ ไมต่ อ่ เนอ่ื งท่ี ขนส่ง

จะส่งตลาด) - สว่ นจงั หวดั ผจก. แก้ไข

- หาความรูเ้ พมิ่ เตมิ และดู

งาน

- หาตลาดในการแปรรปู

เพิ่มเตมิ

- ใชส้ ารชวี ภณั ฑ์

อดุ รธานี 1 คน - -  - -

อทุ ยั ธานี 4 คน  -  - หาตลาดให้ชาวบา้ นโดย

ชาวบ้านบรหิ ารจัดการเก็บ

- วางแผนการผลติ สินคา้

ทางการเกษตรโดยหน่วยงาน

- ผลติ สินคา้ เกษตรให้ได้

มาตรฐาน

PC44 เทคนิคการตลาดและ อุดรธานี 5 คน      - การรว่ มดาเนนิ งานกับ

การต่อรองกับพอ่ คา้ หนว่ ยงานตา่ งๆที่เกย่ี วขอ้ ง

คนกลาง อุทยั ธานี 1 คน - - - - - สร้างภมู ิคุม้ กันใหก้ ับ

ชาวบา้ นเพอื่ ให้เกิดความ

เข้มแข็งสร้างการตอ่ รองกับ

พอ่ คา้ คนกลาง

PC45 การทอ่ งเท่ยี ว อทุ ัยธานี 2 คน - - -   - การศกึ ษาดูงานพ้ืนที่ /

ชุมชนทม่ี ีการท่องเทยี่ วตลอด

ท้ังปีเพื่อกลบั มาพัฒนา

PC46 ความเส่ยี งดา้ นตา่ งๆ น่าน 1 คน - - - -  - ภยั ธรรมชาติ ปัญหาเรื่อง

ราคา

5.2.3 การให้ความรบู้ นั ด ขน้ั สกู่ ารรวมกลุ่มอยา่ งยั่งยนื แก่บคุ ลากรของมูลนิ ปิ ิดทองหลังพระฯ
ในพื้นที่ต้นแบบ

5.2.3.1 ผลประเมนิ ความร้กู อ่ นและหลังอบรม และความตง้ั ใจในการนาบัน ด 7 ขน้ั ปประยกุ ตใ์ ช้
ผลการรวบรวมแบบสารวจ พบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 12 คน ประกอบด้วย น่าน 2 คน

อุดรธานี 4 คน ขอนแก่น 0 คน กาฬสินธ์ุ 0 คน เพชรบุรี 2 คน อุทัยธานี 4 คน และส่วนกลาง 0 คน

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและให้คาปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 280 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้นื ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พบว่า ก่อนเข้ารับการอบรม โดยเฉลี่ยผู้เข้ารับการอบรมมีความเข้าใจในบันได 7 ข้ันในระดับน้อย

(2.50) และเม่อื ผ่านการอบรมระดับความเข้าใจเพิม่ ขึน้ เปน็ ระดับมาก (3.58)

ร้อยละ 75 ของผู้ตอบแบบสารวจ ตั้งใจจะนาบันได 7 ข้ันกลับไปพูดคุย แลกเปลี่ยนความ

คิดเห็นในทีมพัฒนา และ อสพ. เพ่ือให้เข้าใจรายละเอียดบันได 7 ข้ัน และนากลับไปวางแผนพัฒนา

กลมุ่ ในพ้ืนท่ี และรอ้ ยละ 58.33 ของผตู้ อบแบบสารวจ ตง้ั ใจจะนาบันได 7 ขั้นกลบั ไปถ่ายทอดแก่ ผนู้ า/

กรรมการ และสมาชกิ ในกลมุ่ /พื้นท่ี และนากลบั ไปเป็นกรอบในการวิเคราะห์สถานการณ์พื้นท่ี ทงั้ น้ี มี

ผู้ตอบแบบสารวจร้อยละ 8.33 ทยี่ งั ไม่ใช้ เพราะไมเ่ ห็นประโยชน์ของบันได 7 ขัน้

ตารางท่ี 5.11 สรุปผลการเรยี นรู้บันได 7 ขั้น และความต้ังใจนาไปใช้

ลาดบั การประเมิน สถิติ จังหวดั าพรวม

เพชรบุรี นา่ น อดุ ร านี อุทยั านี

1. ผตู้ อบแบบประเมนิ จานวน 2 2 4 4 12

(ร้อยละ) (16.67) (16.67) (33.33) (33.33) (100.00)

2. ความรู้เกี่ยวกับบันได 7 ขั้น กอ่ นการเขา้ คา่ เฉลยี่ 3.00 3.50 2.75 1.50 2.50

อบรม ระดับ ปานกลาง มาก ปานกลาง น้อยมาก น้อย

3. ความร้เู กี่ยวกบั บันได 7 ขน้ั หลงั การเขา้ คา่ เฉล่ยี 3.50 4.00 3.75 3.25 3.58

อบรม ระดบั ปานกลาง มาก มากทีส่ ุด มาก มาก

4. ความตัง้ ใจในการนาไปปรับใช้หลงั การอบรม

4.1 นากลบั ไปพดู คุย แลกเปล่ยี นความ จานวน 2 2 2 3 9 คน

คิดเหน็ ในทมี พฒั นา และ อสพ. เพอื่ ให้ (รอ้ ยละ) (28.57) (28.57) (16.767) (37.50) (75.00)

เขา้ ใจรายละเอียดบันได 7 ขั้น

4.2 นากลับไปถา่ ยทอดแก่ ผ้นู า/กรรมการ จานวน 1 2 2 2 7 คน

และสมาชิก ในกลุ่ม/พืน้ ท่ี (ร้อยละ) (14.29) (28.57) (16.767) (25.00) (58.33)

4.3 นากลับไปเปน็ กรอบในการวิเคราะห์ จานวน 2 1 3 1 7 คน

สถานการณ์พน้ื ท่ี (ร้อยละ) (28.57) (14.26) (25.00) (15.50) (58.33)

4.4 นากลับไปวางแผนพฒั นากลมุ่ ในพืน้ ท่ี จานวน 2 2 4 1 9 คน

(รอ้ ยละ) (28.57) (28.57) (3.33) (15.50) (75.00)

4.5 ยงั ไมใ่ ช้ เพราะไมเ่ หน็ ประโยชน์ จานวน - - - 1 1 คน

(รอ้ ยละ) (15.50) (8.33)

ค่าเฉลีย่ 4.21 – 5.00 คอื มากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.41 – 4.20 คือ มาก
ค่าเฉล่ีย 2.61 – 3.40 คือ ปานกลาง
คา่ เฉลี่ย 1.81 – 2.60 คอื นอ้ ย
คา่ เฉลย่ี 1.00 – 1.80 คือ น้อยมาก

สานกั งานศนู ยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 281 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพ้ืนทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

5.2.3.2 ผลการนาบนั ด 7 ข้ัน ปประเมนิ ความกา้ วหน้าของพ้ืนที่

ทีมท่ีปรึกษาได้แจกแบบฟอร์มให้นักพัฒนาจากแต่ละพื้นท่ีทาการประเมินความก้าวหน้าของ

การรวมกลุ่มในพ้ืนท่ีท่ีตนดูแล โดยใช้บันได 7 ขั้น เป็นกรอบในการประเมิน ซึ่งผลการประเมินตนเอง

ของนกั พัฒนาจากพื้นท่ีตา่ งๆ แสดงดงั ตาราง

ตารางท่ี 5.12 การประเมินความก้าวหน้าของกลุ่มตามกรอบบันได 7 ข้นั

ลาดบั การประเมิน สถิติ จังหวัด

เพชรบรุ ี น่าน อดุ ร านี อทุ ัย านี

1. ผ้ตู อบแบบประเมนิ จานวน 2 2 4 4

(รอ้ ยละ) (16.67) (16.67) (33.33) (33.33)

2. กล่มุ ทก่ี า้ วหนา้ ทส่ี ดุ ในพ้ืนท่ี คอื กลมุ่ - สัตวป์ กี - ไกพ่ ้ืนเมอื ง - โรงสขี ้าว - แกน่ มะกรูด

- แม่บา้ น - พชื หลงั นา - แปรรูปผลผลิต โมเดล

ทาอาหาร - มะนาว ทางการเกษตร

- ข้าวสาร

ดาเนนิ การอย่ใู น บนั ไดข้นั ที่ 1 จานวน - 1 -2

(รอ้ ยละ) (33.33) (66.67)

ดาเนินการอยู่ใน บนั ไดขนั้ ท่ี 2 จานวน - - 11

(รอ้ ยละ) (50.00) (50.00)

ดาเนนิ การอยใู่ น บนั ไดข้นั ที่ 3 จานวน 2 1 3-

(รอ้ ยละ) (33.33) (16.67) (50.50)

ดาเนินการอยใู่ น บนั ไดขน้ั ท่ี 4 จานวน - - --

(ร้อยละ)

ดาเนินการอยใู่ น บันไดข้นั ที่ 5 จานวน - - --

(ร้อยละ)

ดาเนินการอยู่ใน บันไดข้ันที่ 6 จานวน - - --

(รอ้ ยละ)

ดาเนนิ การอยใู่ น บันไดขน้ั ท่ี 7 จานวน - - --

(รอ้ ยละ)

3. กล่มุ ทีต่ ดิ ขัด / พฒั นา ด้ชา้ ทส่ี ุด กลมุ่ - ขา้ วสาร - แปรรปู ผลผลติ - เมล็ดพันธุ์ - เกษตรแกน

- กองทนุ หมู ทางการเกษตร ข้าว มะกรดู โมเดล

- ประมง

- โรงสีขา้ ว

ดาเนินการอยู่ใน บันไดข้ันท่ี 1 จานวน 1 2 41

(รอ้ ยละ) (12.50) (25.00) (50.00) (12.50)

ดาเนินการอยใู่ น บันไดขนั้ ท่ี 2 จานวน 1 - -1

(รอ้ ยละ) (50.00) (50.00)

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 282 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพ้ืนท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ลาดับ การประเมิน สถิติ จงั หวดั
น่าน อดุ ร านี
เพชรบรุ ี -- อทุ ัย านี
-
ดาเนินการอยู่ใน บันไดขนั้ ที่ 3 จานวน - --
-
(ร้อยละ) --
-
ดาเนินการอยู่ใน บันไดข้นั ท่ี 4 จานวน - -- -

(ร้อยละ) -- -

ดาเนนิ การอยใู่ น บันไดขน้ั ที่ 5 จานวน -

(รอ้ ยละ)

ดาเนินการอยู่ใน บนั ไดข้ันที่ 6 จานวน -

(ร้อยละ)

ดาเนนิ การอยใู่ น บนั ไดขั้นที่ 7 จานวน -

(รอ้ ยละ)

ทีมที่ปรึกษาได้ให้นักพัฒนาทาการระบุประเด็นปัญหาและความยากในการพัฒนาในแต่ละข้ัน

ของบันได 7 ขน้ั สู่การรวมกลมุ่ อย่างย่งั ยนื พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจระบปุ ระเดน็ ปัญหาและความยากใน

ทุกข้ันบันได โดยบันไดขั้นที่ 2 เป็นขั้นท่ีมีปัญหาและยากท่ีสุด โดยผู้ตอบแบบสารวจทั้ง 100% เห็นว่า

บันไดข้ันที่ 2 เป็นขั้นท่ีมีปัญหาและยากที่สุด รองลงมาคือบันไดขั้นท่ี 1 และ 3 มีผู้ตอบแบบสารวจ

91.67%

ตารางท่ี 5.13 ประเด็นปญั หาและความยากในการทาตามกรอบบนั ได 7 ขั้น

ขั้นที่ ประเดน็ ปัญหา และความยาก จานวน รอ้ ยละ
(n = 12)

ขนั้ ท่ี 1 1.1 มแี ตผ่ ูน้ า/คณะกรรมการ สมาชกิ อยู่เฉยๆ 5 41.67

1.2 ไมเ่ หน็ ปัญหาร่วมกนั ไม่สามัคคี ชมุ ชนไมพ่ ร้อม 4 33.33

1.3 สมาชกิ ไม่ทาบญั ชี 2 16.67

สรุปรวมข้นั ที่ 1 11 91.67

ขั้นที่ 2 2.1 ทุกฝ่ายความไม่เข้าใจใน บทบาท หนา้ ทขี่ องตัวเอง 3 25.00

2.2 คนในชุมชนไม่ได้บรหิ ารจัดการกลุ่มดว้ ยตวั เอง 2 16.67

2.3 สมาชกิ ไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบที่วางไว้ 2 16.67

2.4 ผูน้ าไมส่ ามารถจัดการให้สมาชิกในกลุ่มทาตามกฎ 1 8.33

2.5 ผนู้ ามีความสามารถไม่พอที่จะนากลมุ่ 2 16.67

2.6 ผู้นาไม่รู้บทบาทหน้าท่ตี ัวเอง 1 8.33

2.7 ผ้นู าไม่สามารถบริหารจัดการกลุม่ ไดต้ ่อเน่ือง 1 8.33

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 283 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพ้นื ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ข้นั ท่ี ประเด็นปัญหา และความยาก จานวน รอ้ ยละ
(n = 12)
สรุปรวมขน้ั ท่ี 2 100.00
ขั้นท่ี 3 3.1 การทาบญั ชีกลุ่ม 12 25.00
3 25.00
3.2 การพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง / การต่อยอด ยกระดบั 3 16.67
3.3 การทาตลาดต่อเนื่องทุกระดับ (บน กลาง ล่าง) 2 8.33
3.4 การพัฒนากระบวนการผลติ 1 8.33
3.5 การยกระดบั คุณภาพของสนิ ค้า 1 8.33
3.6 กฎระเบียบ / การทาตามกฎระเบยี บ 1 91.67
11 16.67
สรุปรวมข้ันท่ี 3 2 16.67
ข้นั ท่ี 4 4.1 การเพ่ิมผลผลิต เพม่ิ รายได้ 2 16.67
2 8.33
4.2 ลดต้นทุนการผลติ (ความรู้+นวตั กรรมที่เหมาะสม) 1 58.33
4.3 การเพ่ิมตลาด 7 8.33
4.4 การทาผลผลิตและการขายท่ีตอ่ เน่ือง 1 8.33
1 8.33
สรปุ รวมขั้นท่ี 4 1 8.33
ขั้นที่ 5 5.1 การจดั สรรผลประโยชน์ (คณุ ธรรมของชาวบา้ น) 1 8.33
1 8.33
5.2 สมาชกิ ใหมไ่ ม่เข้าร่วมประชุม 1 50.00
5.3 การประชุมเปน็ ประจาอย่างต่อเนอ่ื ง 6 8.33
5.4 การมสี ว่ นร่วมในการตรวจสอบกลุม่ 1 8.33
5.5 ดูแลความเป็นอยู่ของสมาชิก / ชว่ ยเหลอื ชุมชน 1 8.33
5.6 ความสามัคคีของคนในกลุม่ 1 25.00
3 16.67
สรุปรวมขน้ั ที่ 5 2
ขั้นที่ 6 6.1 สมาชกิ ในกล่มุ ยังไมเ่ ห็นถึงความสาคญั ของเทคโนโลยี 8.33
1 25.00
6.2 หนว่ ยงานท่ีเขา้ มาบูรณาการในการดาเนินงาน 3
6.3 เครือข่ายและภาคี

สรุปรวมข้ันท่ี 6
ขั้นที่ 7 7.1 ความเชอื่ มโยงระหว่างกลุ่มกับตลาดภายนอก หรือ

สว่ นงานตา่ งๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง
7.2 การสรา้ งมลู ค้าเพม่ิ ให้กบั สนิ ค้า

สรปุ รวมขั้นที่ 7

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 284 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ประเด็นอืน่ ๆ ทเี่ ป็นเสียงสะท้อนจาก workshop
นอกจากผลสารวจที่ได้ข้อมูลจากการที่นักพัฒนาตอบแบบสารวจที่ได้แจกไปน้ัน ในระหว่างการ
ปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน Workshop สามารถสรุปประเด็นสาคัญท่ีผู้เข้าร่วมสัมมนาสะท้อนมา
ดังน้ี
• รูปแบบการทางานของปดิ ทอง ในบางเรื่องยังไม่สอดคล้องกบั การพฒั นาในพื้นท่ี อาทิ นโยบาย

การให้ต้ังกองทุน เน่ืองจากในบางพื้นท่ีอาจจะไม่จาเป็นต้องมีเพราะไม่ได้มาจากความต้องการ
ของชมุ ชนจริง
• มลู นิธปิ ดิ ทองควรตอ้ งขับเคลือ่ นด้วยกลยุทธ์จากระดับพนื้ ทไ่ี ม่ใช่จากระดับนโยบาย
• การพัฒนาศักยภาพของนักพัฒนาในพ้ืนท่ีในเร่ืองต่างๆ อาทิ การบริหารจัดการกองทุน ส่วน
ใหญค่ วามรู้ความเข้าใจของนักพัฒนาในเรื่องการบรหิ ารจัดการกองุทนยงั อยู่ในระดับต่า (เฉล่ีย
มคี วามเขา้ ใจในเรอ่ื งกองทนุ ในระดับ 5 จาก 10)
• นักพัฒนาอยากให้ทีมอาจารย์ลงไปตรวจประเมินแต่ละพ้ืนที่ตามบันได 7 ชั้น พร้อมท้ังแนะนา
แนวทางแก้ไข/ ปรบั ปรุง
• อยากให้เน้นเร่ืองการพัฒนาทรัพยากรบุคคลโดยเฉพาะ อสพ ในพื้นท่ีท่ีจะรับงานต่อเม่ือมลู นธิ ิ
ปดิ ทองถอนตวั ออกจากพนื้ ท่ี
• การพัฒนาหรือสนับสนุนถ้ายังใช้เงินของมูลนิธิปิดทองอยู่ กลุ่มส่วนใหญ่จะล้ม ไม่สามารถ
ดาเนินงานด้วยตนเองได้ ควรให้มีระบบการยืม คืน เงินอย่างเป็นระบบ เช่น ใหเงินสนับสนุน
โดยผ่าน ธกส. โดยไม่ใช่ให้เงินตรงไปกับกลุ่ม ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นอยู่ คือ มูลนิธิปิดทองไม่
สามารถเก็บเงินคืนจากชุมชนได้
• ในอนาคต modern trade อาทิ แมคโคร จะดาเนินงานตามระเบียบของกระทรวงสาธารณสุข
คือ จะรับซ้ือสินค้าจากแหล่งรับซื้อที่อาคาร/ สถานท่ีได้มาตรฐาน GMP เท่าน้ันในปี 2561 ซ่ึง
กลุ่มทที่ างปดิ ทองเข้าไปสนบั สนุนในแต่ละพน้ื ทย่ี ังไม่ได้คดิ ในเร่ืองนี้
• ทาธุรกิจในรูปแบบกลุ่มกับคู่ค้าต้องมีเลขที่ผู้เสียภาษีอากรซ่ึงบางพื้นที่ยังไม่มีความรู้ในเร่ืองนี้
บางกลุ่มยังใชเ้ ลขที่เสียภาษอี ากรของมูลนิธปิ ดิ ทองอยเู่ พ่ือให้กลุม่ สามารถขายของได้

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 285 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 286 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 287 -


Click to View FlipBook Version