The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:38:52

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 140 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 141 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 142 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 143 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 144 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 145 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 146 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 147 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 148 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 149 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 150 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 151 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 152 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 153 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 154 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 155 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 156 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 157 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 158 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 159 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 160 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 161 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 162 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 163 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 164 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพ้นื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

**************

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 165 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพ้ืนทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

4 ผลการจัดโครงการอบรมตน้ แบบในสว่ นราชการตัวอย่าง

การจัดโครงการอบรมตน้ แบบ ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 10-11 กันยายน 2561
4.1.1 วตั ถปุ ระสงค์

ในวันท่ี 10-11 กันยายน 2561 ได้มีการจัดกิจกรรมโครงการอบรมต้นแบบคร้ังท่ี 1 กิจกรรม
สัมมนาบันได 7 ขั้น สู่การรวมกลุ่มอย่างยั่งยืน โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเรียนรู้สู่การ
ปฏบิ ตั งิ านเพื่อพัฒนาองคก์ ร” โดยวตั ถปุ ระสงค์ ดังตอ่ ไปน้ี

1. เพ่ือเผยแพร่แนวทางการใช้บันได 7 ขั้นสู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืนให้แก่บุคลากร
ของกรมส่งเสริมสหกรณ์

2. เพ่อื สรา้ งวิทยากรต้นแบบ (Train the trainer)

4.1.2 ผลการจัดโครงการอบรมต้นแบบ ครัง้ ท่ี 1
การจัดกิจกรรมโครงการอบรมต้นแบบคร้ังที่ 1 กิจกรรมสัมมนาบันได 7 ข้ัน สู่การรวมกลุ่ม

อย่างยั่งยืน โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาองค์กร” ระหว่าง
วันที่ 10-11 กันยายน 2561 ณ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 1 จังหวัดปทุมธานี ซึ่งในการ
สัมมนาคร้ังน้มี ีผู้เขา้ ร่วม รวม 163 คน ประกอบด้วย ผู้อานวยการศนู ย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ที่
1 จังหวัดปทุมธานี ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ศูนย์ที่ 1-20 และ นักทรัพยากร
บุคคล ซ่ึงมีผลสารวจความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมอบรม ดังนี้ (ดูรายละเอียดรายช่ือผู้เข้าร่วมสัมมนา
เพมิ่ เติมในภาคผนวก ก)
1. การสารวจความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบัน ด 7 ขั้น ก่อน – หลัง เข้าอบรม ผู้เข้าอบรมมีความรู้

ความเข้าใจเก่ียวกับบนั ด 7 ขั้นมากนอ้ ยเพยี งใด
ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผตู้ อบแบบสารวจ 55 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 34 ของผูเ้ ข้าร่วม

อบรมท้ังหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจนั้น ประกอบด้วย ผอู้ านวยการศนู ยถ์ า่ ยทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์
ท่ี 1 จังหวัดปทุมธานี ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสหกรณ์ศูนย์ท่ี 1-20 และ นักทรัพยากร
บุคคล ซ่งึ ภายในแบบสารวจไดแ้ บง่ ระดับความรู้ความเขา้ ใจออกเปน็ 5 ระดบั ดังน้ี

1) ผ้เู ข้าอบรมมคี วามรู้ความเขา้ เกี่ยวกบั บนั ได 7 ขน้ั มากที่สดุ
2) ผเู้ ข้าอบรมมคี วามรู้ความเข้าเก่ียวกับบันได 7 ขนั้ มาก
3) ผเู้ ขา้ อบรมมคี วามรคู้ วามเข้าเกย่ี วกับบันได 7 ขัน้ ปานกลาง
4) ผเู้ ข้าอบรมมคี วามรู้ความเขา้ เกี่ยวกบั บันได 7 ข้ัน น้อย
5) ผู้เขา้ อบรมมีความรู้ความเข้าเก่ียวกับบันได 7 ขั้น น้อยมาก
ซึ่งสามารถสรุปผลการสารวจไดด้ งั นี้

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 166 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพื้นทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ระดบั ความรคู้ วามเข้าใจบนั ด 7 ขน้ั น้อยมาก น้อย ปานกลาง มาก มากทส่ี ดุ
ความร้คู วามเขา้ ใจบันได 7 ข้นั ก่อนเข้าอบรม 0 คน
29 คน 19 คน 7 คน 0 คน (0%)
ความรูค้ วามเข้าใจบันได 7 ขัน้ หลังเขา้ อบรม 1 คน
(52%) (35%) (13%) (0%) (2%)

0 คน 3 คน 24 27

(0%) (5%) (44%) (49%)

การสารวจความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั บนั ด 7 ข้นั ก่อน – หลัง เขา้ อบรม

35 27
30 29 24

25 19

20

15

10 7 0 01
3 มากท่ีสดุ
5
0 นอ้ ย ปานกลาง มาก

0
น้อยมาก

ก่อนเขา้ อบรม หลังเขา้ อบรม

2. การสารวจประเดน็ ที่เป็นปญั หา/ พฒั นายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ปญั หาบนั ดแตล่ ะขนั้
ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ของผู้เข้าร่วม

อบรมท้ังหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจ ประกอบด้วย ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่
1 จังหวัดปทุมธานี ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ศูนย์ท่ี 1-20 และ นักทรัพยากร
บุคคล เน่ืองจากแบบสอบถามเป็นแบบปลายเปิด ทาให้ผู้เข้าอบรมแต่ละคนระบุคาตอบได้ตาม
ประสบการณ์จริงของแต่ละคน คาตอบท่ีได้จงึ หลากหลาย

ทีมท่ีปรึกษาจึงได้ทาการประมวลคาตอบและจัดกลุ่มประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก และ
ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในแต่ละขั้นตามคาสาคัญ (keywords) ท่ีผู้เข้าอบรมแต่ละคนระบุมา
และทาการควบรวมประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาที่มีความ
คล้ายคลึงกันไว้ในข้อเดียวกัน ท้ังน้ี สามารถจัดกลุ่มประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะ
ในการแก้ไขปญั หา ในแต่ละขนั้ ได้ดงั น้ี

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 167 -

ตารางท่ี 4.1 การจดั กลุม่ ประเดน็ ทเี่ ปน็ ปญั หา/พฒั นายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญ

รหัส ประเด็นทเ่ี ปน็ ปัญหา/พฒั นายาก
ขนั้ ที่ 1 ตรวจสอบความพรอ้ มของคนในพืน้ ท่ี
B1.1 สาเหตุจาเป็นทต่ี ้องรวมกล่มุ
B1.1-1 รวมกลมุ่ จากนโนบายภาครัฐไมใ่ ชค่ วามตอ้ งการของสมาชิก
B1.1-2 รวมกลุ่มเพราะต้องการรับผลประโยชน์แต่ไม่ได้เห็นถึงความสาคัญของการรวมกลุ่มท่ี

แท้จริง
B1.1-3 รวมกลมุ่ เพราะตอ้ งการเปน็ สหกรณ์

B1.1-4 รวมกลมุ่ จากการท่ีผลผลิตไมม่ ที ่ีขาย/ ล้นตลาด

B1.2 ความสามารถผู้นาในการขบั เคล่อื นกล่มุ อย่างต่อเน่ือง
B1.2-1 ผู้นามาจากความมอี ิทธิพล ไม่ได้มาจากความเต็มใจของสมาชิก
B1.2-2 ผู้นากลุ่มมกั เป็นคนเดมิ ทอ่ี ยู่มานาน เช่น ผ้สู ูงอายุ
B1.2-3 ผู้นาไม่มีประสบการณ์ในการทางานมากอ่ น
B1.2-4 ผู้นากลุ่มขาดความพรอ้ มด้านความรู้ ความสามารถ ในการขับเคลอ่ื นกลุ่มไปในทิศทางท่ี

ถูกต้อง
B1.2-5 ผู้นาขาดความตง้ั ใจ เสียสละ ในการทางานเพอ่ื สหกรณอ์ ยา่ งจริงใจ

สานักงานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรกึ

- 16

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพืน้ ทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ญหา

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปญั หา
ขน้ั ที่ 1 ตรวจสอบความพรอ้ มของคนในพ้นื ที่
S1.1 สาเหตุจาเปน็ ทีต่ อ้ งรวมกลุ่ม
S1.1-1 สารวจความต้องการทีแ่ ทจ้ รงิ ในการรวมกลุม่ ก่อนการจดั ต้งั สหกรณ์
S1.1-2 คัดเลอื กสมาชกิ เข้ารวมกลุม่ ทีม่ าจากสมัครใจอยา่ งแท้จริง

S1.1-3 ทาความเข้าใจและปลูกฝังให้คนในกลุ่มตระหนักถึงความจาเป็น ความสาคัญ และ
ประโยชน์ในการรวมกลมุ่

S1.1-4 ให้ทดลองรวมกลุ่มสหกรณ์ก่อน 1-2 ปี และหลังจากน้ันก็ทาการประเมินว่ามีความ
พรอ้ มทจ่ี ะเปน็ สหกรณอ์ ยูห่ รือไม่

S1.2 ความสามารถผู้นาในการขบั เคลือ่ นกล่มุ อยา่ งตอ่ เน่ือง
S1.2-1 คดั เลอื กผนู้ าทมี่ ีความพรอ้ มและมจี ติ อาสาในการปฏบิ ตั ิหน้าท่อี ยา่ งแท้จริง
S1.2-2 คดั เลอื กผนู้ าทีม่ ปี ระสบการณใ์ นการบริหารงานแบบสหกรณ์
S1.2-3 สรรหาผูน้ าท่ีมีศกั ยภาพในการรวมสมาชกิ และเช่ือมโยงคนในกล่มุ ได้
S1.2-4 สรรหาผู้นาท่มี ีความรู้ ความสามารถ ในการขับเคลอื่ นกลุม่ ไปในทิศทางท่ีถกู ตอ้ ง

S1.2-5 สรา้ งผูน้ ารุ่นใหม่
S1.2-6 สร้างกระบวนการหรือรูปแบบการพัฒนาท่ีทาให้เกิดความพร้อมในการรวมกลุ่ม และ

ความชดั เจนในกฎ/กตกิ าของการรวมกลุ่ม

กษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

68 -

รหสั ประเดน็ ท่เี ปน็ ปญั หา/พฒั นายาก

B1.3 ความสามารถและความพร้อมของสมาชิก
B1.3-1 สมาชิกขาดความศรัทธาในตวั ผู้นา
B1.3-2 สมาชิกกลุ่มขาดคนรุน่ ใหมม่ าร่วมกล่มุ
B1.3-3 สมาชกิ ไมก่ ลา้ เปล่ียนแปลง
B1.3-4 สมาชิกไม่มีความรู้ ความพร้อม และความเขา้ ใจในการวมกล่มุ
B1.3-5 สมาชิกยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ทางการเงินข้ันพ้ืนฐาน ไม่รู้ต้นทุนการผลิตของ

ครวั เรอื น
ขัน้ ที่ 2 สร้างความเขา้ ใจในสิท แิ ละหนา้ ทแ่ี ละจัดสรรประโยชนใ์ ห้เป็น รรม
B2.1 สิท ิและหน้าทข่ี องผู้นา/ กรรมการ
B2.1-1 ผู้นา/กรรมการ ไม่ปฏิบตั ติ ามกฎขอ้ บงั คับของกลมุ่
B2.1-2 ความไมโ่ ปร่งใสในการทางานของผนู้ า/ กรรมการ
B2.1-3 ผนู้ า/ กรรมการ เป็นผ้สู ูงอายมุ ีมมุ มองในการบรหิ ารกลมุ่ ท่ไี มท่ ันสมยั

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรึก

- 16

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพัฒนาพืน้ ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปญั หา

S1.2-7 ปรับแนวคิดของผู้นาในการพูดคุยเพื่อให้เห็นความสาคัญในการจัดต้ังสหกรณ์และ
บทบาทของผู้นาสหกรณ์

S1.2-8 จัดอบรมให้ความรู้คณะทางานเพื่อให้เข้าใจแนวทางในการดาเนินงานที่ถูกต้องไปในทิศทาง
เดียวกัน

S1.3 ความสามารถและความพร้อมของสมาชกิ
S1.3-1 คัดเลอื กและตรวจสอบสมาชกิ ท่ีมีปัญหาอยา่ งแทจ้ รงิ เขา้ ร่วมกลมุ่
S1.3-2 จัดประชมุ กลุ่มยอ่ ยเพ่อื สร้างความศรทั ธาในตวั ผ้นู าแก่สมาชกิ
S1.3-3 ปรับเปล่ียนแนวคิดสมาชิกในกลุ่ม โดยใช้ตัวอย่างจากสมาชิกในกลุ่มที่ผ่านการนาไป

ปฏิบัติแลว้ ประสบความสาเรจ็
S1.3-4 จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม สร้างความเข้าใจในการรวมกลุ่ม รวมถึงแนวทางในการ

ดาเนนิ งานของกลมุ่ ใหก้ ับสมาชกิ
S1.3-5 สง่ เสริมใหส้ มาชกิ จัดทาบัญชคี รวั เรอื น สร้างวนิ ัยในการออมและการใช้เงิน

ขัน้ ท่ี 2 สร้างความเขา้ ใจในสิท ิและหน้าที่และจดั สรรประโยชนใ์ ห้เป็น รรม
S2.1 สิท แิ ละหน้าทีข่ องผนู้ า/ กรรมการ
S2.1-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเขา้ ใจ และปลูกจติ สานึก แก่ผู้นา/กรรมการ ในเร่ืองสทิ ธิ

หน้าที่ ของตนเองและกลมุ่ อยา่ งต่อเนอ่ื ง
S2.1-2 จดั อบรมใหค้ วามรู้เรื่องหลกั ธรรมภบิ าลแก่ผู้นา/กรรมการ
S2.1-3 ส่งเสริมให้ผู้นา/คณะกรรมการ เลือกใช้กระบวนการในการถ่ายทอดความรู้ที่เหมาะสม

แก่สมาชิก

กษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

69 -

รหัส ประเดน็ ที่เปน็ ปญั หา/พัฒนายาก
B2.1-4 ผู้นา/กรรมการทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกับฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ และ

สมาชิก
B2.1-5 ผู้นา/กรรมการ ยังไม่เข้าใจเร่ืองสิทธิและหน้าทข่ี องตนเองและของกล่มุ
B2.2 สิท ิและหน้าทีข่ องสมาชกิ
B2.2-1 สมาชกิ ไมป่ ฏิบตั ติ ามกฎขอ้ บังคับของกลมุ่

B2.2-2 สมาชิกขาดการมีสว่ นร่วมในการตดิ ตามการทางานของกลุม่
B2.2-3 สมาชิกทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกับผู้นา/กรรมการ และฝ่ายบริหาร/

เจ้าหนา้ ที่
B2.2-4 สมาชกิ ยงั ไม่เขา้ ใจเร่อื งสิทธิและหนา้ ทข่ี องตนเองและของกลุ่ม
B2.3 สิท ิและหนา้ ทีข่ องฝ่ายบรหิ าร/ เจ้าหน้าท่ี
B2.3-1 ฝ่ายบรหิ าร/เจา้ หน้าท่ี ไม่ปฏบิ ตั ิตามกฎข้อบังคับของกลมุ่

B2.3-2 ความไม่โปรง่ ใสในการทางานของฝ่ายบรหิ าร/ เจ้าหน้าที่
B2.3-3 ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ ทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกับผู้นา/กรรมการ และ

สมาชกิ
B2.3-4 ฝา่ ยบริหาร/เจา้ หนา้ ท่ี ยงั ไมเ่ ขา้ ใจเรอ่ื งสิทธิและหนา้ ทีข่ องตนเองและของกล่มุ

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ

- 17

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพ้นื ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปัญหา
S2.1-4 ผลักดันให้ผู้นา/กรรมการ ปฏิบัติตามกฎและหน้าที่ท่ีถูกต้องให้เป็นแบบอย่างท่ีดีเพื่อ

สร้างความนา่ เชือ่ ถอื ใหก้ บั สมาชกิ
S2.1-5 สรา้ งผู้นารนุ่ ใหมแ่ ละควรมกี ารถา่ ยทอดอดุ มการณด์ ัง่ เดมิ กบั ผนู้ ารนุ่ ใหม่
S2.2 สิท ิและหน้าทข่ี องสมาชิก
S2.2-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึก แก่สมาชิกในเร่ืองสิทธิ หน้าที่

ของตนเองและกลุ่มอย่างต่อเน่ือง
S2.2-2 ทาความเข้าใจกบั สมาชิกให้เห็นถงึ ประโยชน์ของการรวมกลุม่ ทาธุรกจิ

S2.3 สทิ แิ ละหน้าทีข่ องฝ่ายบรหิ าร/ เจ้าหน้าที่
S2.3-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึก แก่ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ ใน

เรือ่ งสิทธิ หนา้ ท่ี ของตนเองและกลุ่มอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
S2.3-2 จัดอบรมใหค้ วามรู้เรอ่ื งหลกั ธรรมภบิ าลแกฝ่ ่ายบริหาร/เจ้าหนา้ ท่ี
S2.3-3 จดั ฝกึ อบรมถ่ายทอดองค์ความร้ใู หม่ๆ เพ่ือนาไปสู่การพฒั นาศักยภาพบุคลากร

S2.3-4 ส่งเสริมให้ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ี เลือกใช้กระบวนการในการถ่ายทอดความรู้ที่
เหมาะสมแกส่ มาชิก

S2.3-5 ผลักดนั ให้ฝ่ายบริหาร/เจ้าหนา้ ที่ ปฏบิ ตั ิตามกฎและหนา้ ทท่ี ถี่ กู ตอ้ งใหเ้ ปน็ แบบอย่างที่ดี
เพื่อสร้างความนา่ เช่ือถอื ใหก้ ับสมาชิก

กษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

70 -

รหัส ประเดน็ ทเ่ี ปน็ ปญั หา/พัฒนายาก
B2.4 การจดั สรรผลประโยชน์และพัฒนาสมาชกิ
B2.4-1 การจดั สรรผลประโยชนไ์ มช่ ดั เจน
B2.4-2 การพัฒนาสมาชิกไม่ชดั เจน

ขนั้ ท่ี 3 พฒั นาโมเดล รุ กิจและระบบการจัดการกลุม่ ให้ทนั สมัย
B3.1 โมเดล รุ กจิ
B3.1-1 ขาดการจัดทาโมเดลธุรกิจ
B3.1-2 สมาชกิ กลุ่มยังไม่คอ่ ยยอมรบั ธุรกจิ ในรูปแบบใหม่ๆ

B3.1-3 บคุ ลากร (ผ้นู า ฝ่ายจดั การ คณะกรรมการ) ขาดความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณใ์ น
การทาธุรกิจ

B3.1-4 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจดั การ คณะกรรมการ) ขาดความรดู้ า้ นการตลาด การผลิต มาตรฐาน
การผลติ การสรา้ งแบรนด์ การเพิม่ ผลผลติ การแปรรปู

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึก

- 17

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพื้นท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปัญหา
S2.4 การจัดสรรผลประโยชนแ์ ละพัฒนาสมาชิก
S2.4-1 จดั กิจกรรมเพ่ือสร้างความเข้าใจเกี่ยวกบั การจัดสรรผลประโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั
S2.4-2 จดั สรรเงนิ ทุนเพอื่ การพัฒนาสมาชิก
S2.4-3 จัดทาแผนการพัฒนาความรู้เรื่องสหกรณ์ให้กับสมาชิกควบคู่กับการให้ความรู้ของกรม

สง่ เสริม
S2.4-4 ส่งเสริมให้มีการสืบทอดงานสหกรณ์จากรุ่นสรู่ ุ่นเพ่ือความย่ังยืนด้วยการสง่ เสริมรายได้

จากอาชพี ใหมๆ่ ที่สอดคลอ้ งกบั บริบทของทอ้ งถ่ิน/ ภมู ปิ ระเทศ
S2.4-5 จัดกจิ กรรมศกึ ษาดงู านกลุม่ ท่ปี ระสบความสาเร็จ
S2.4-6 เพม่ิ ชอ่ งทางให้แสดงความคดิ เห็นท่หี ลากหลายชอ่ งทางเพือ่ ความสะดวก
ขัน้ ท่ี 3 พัฒนาโมเดล รุ กจิ และระบบการจดั การกลุ่มให้ทนั สมยั
S3.1 โมเดล ุรกิจ
S3.1-1 ให้ความรู้เกี่ยวกับการทาธรุกิจ การบริหารธุรกิจ การจัดทาแผนธุรกิจ และช้ีให้เห็นถึง

ประโยชนท์ ่จี ะไดร้ ับจากการพัฒนาธรุ กิจ
S3.1-2 จัดหาผทู้ ี่มีความเชย่ี วชาญและประสบการณใ์ นการสร้างโมเดลธุรกิจมาชว่ ยให้คาปรกึ ษา

ดา้ นตา่ งๆ เช่น การตลาด การผลติ มาตรฐานการผลิต การสร้างแบรนด์ การเพิม่ ผลผลติ
การแปรรปู เปน็ ต้น แก่บุคลากรในกลมุ่
S3.1-3 ศกึ ษาและวิเคราะหค์ วามตอ้ งการให้ตรงกับความต้องการของตลาด

S3.1-4 กาหนดมาตรฐานของสินค้าเพ่ือเพมิ่ มูลค่าให้กับสนิ ค้า

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

71 -

รหสั ประเด็นที่เปน็ ปัญหา/พัฒนายาก

B3.2 กฎกตกิ าในการอย่รู ่วมกัน
B3.2-1 ผ้ถู ือกฎมกั แหกกฎ
B3.2-2 สมาชิกมสี ว่ นร่วมในการบริหารจดั การกล่มุ น้อย
B3.3 ระเบียบบัญชีการเงนิ
B3.3-1 ไม่มีบุคลากรท่ีสามารถทาบญั ชีได้
B3.3-2 ไมม่ รี ะบบบัญชแี ละข้อมูลทเ่ี พียงพอสาหรบั การบรหิ าร
B3.3-3 ไมม่ ีการอพั เดทบัญชีและสต๊อกสนิ คา้ ให้เปน็ ปัจจบุ ัน

B3.4 ฐานข้อมูลและการรายงานผล
B3.4-1 ไมม่ กี ารอพั เดทฐานขอ้ มูลและการจดั ทารายงานผล

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 17

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพนื้ ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปญั หา

S3.1-5 นาธุรกิจรูปแบบใหม่เข้ามาดาเนินธุรกิจของกลุ่ม และอธิบายชี้แจงให้ทุกคนท่ีเกี่ยวข้อง
นาไปปฏิบตั ิ

S3.1-6 สรา้ งโมเดลธุรกิจ จัดทาแผนธรุ กิจ และแผนบรหิ ารความเสยี่ ง
S3.2 กฎกติกาในการอยรู่ ว่ มกัน
S3.2-1 สร้างความเข้าใจถึงการมีสว่ นร่วมในการทาธุรกิจให้แก่ทุกคนในกลมุ่ (ผู้นา ฝ่ายบริหาร

สมาชิก)
S3.2-2 กาหนดกฎระเบียบการอยูร่ ว่ มกันและมบี ทลงโทษเมือ่ ทาผดิ กฎอย่างชัดเจน
S3.2-3 ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายร่วมกนั วางแผนในการทาธรุ กจิ การทาการตลาด
S3.3 ระเบียบบัญชีการเงนิ
S3.3-1 จดั หาเจา้ หน้าที่ด้านบัญชี
S3.3-2 สร้างระบบบญั ชีบนแพตฟอรม์ เดียวกนั ทั้งประเทศ โดยแยกตามประเภทสหกรณ์
S3.3-3 ให้ความรู้ด้านการจัดทาบัญชีแก่ทุกคนในกลุ่ม และช้ีแจงทาความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเลข

ทางบัญชแี กส่ มาชกิ รวมถงึ ส่งเสรมิ ให้สมาชิกจดั ทาบัญชี
S3.3-4 สรา้ งจติ สานกึ ให้สหกรณ์เหน็ ถึงความสาคัญของระบบบัญชแี ละการจดั ทาฐานขอ้ มลู
S3.3-5 สง่ เสรมิ ใหเ้ จ้าหน้าทนี่ าขอ้ มูลทางการเงนิ มาวิเคราะหห์ าจุดคุ้มทนุ
S3.4 ฐานข้อมลู และการรายงานผล
S3.4-1 จัดทาฐานข้อมลู และการรายงานผลให้อยู่ในรปู แบบสารสนเทศเพ่ือง่ายต้องการนามาใช้

ตัดสินใจ
S3.4-2 อัพเดทฐานข้อมลู และการจดั ทารายงานผลใหเ้ ป็นปัจจบุ นั อย่ตู ลอดเวลา
S3.4-3 จดั ทารายงานผลเป็นรายไตรมาส

กษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

72 -

รหัส ประเดน็ ท่ีเปน็ ปัญหา/พฒั นายาก
B3.5 การควบคมุ ายใน
B3.5-1 ไม่มีการกาหนดรูปแบบการควบคุมภายใน เช่น วิธีการป้องกันและการเรียนรู้จาก

ขอ้ ผิดพลาดจากการดาเนินงาน
B3.5-2 การควบคุมภายในโดยครอบงาจากที่ไมโ่ ปร่งใส หวังผลประโยชนส์ ว่ นตนและพวกพอ้ ง

ข้ันท่ี 4 เพมิ่ ประสทิ ิ าพการผลิตและการขาย
B4.1 ลดตน้ ทุนการผลิต
B4.1-1 ขาดความรูใ้ นการวิเคราะห์ตน้ ทุน
B4.1-2 ตน้ ทุนการผลติ สงู เกินไป

B4.1-3 ปัญหาในการปรบั เปลยี่ นวตั ถดุ ิบเพ่ือให้สามารถลดตน้ ทุนได้

B4.1-4 ขาดความรู้ในการนาเทคโนโลยีมาช่วยในการลดต้นทนุ
B4.1-5 สมาชกิ ไม่ใหค้ วามสาคญั กบั การคดิ ต้นทนุ ในการบรหิ ารจดั การ

B4.2 เพม่ิ ผลผลติ / เพิม่ มลู คา่ ผลผลิต
B4.2-1 ขาดความรดู้ า้ นการผลติ สนิ คา้ มาตรฐานการผลิต และการตลาด ให้มปี ระสทิ ธิภาพ

B4.2-2 ขาดทกั ษะดา้ นการแปรรูปสินค้าเพอ่ื เพิม่ ชอ่ งทางการตลาด

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 17

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพ้ืนทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปญั หา

S3.5 การควบคมุ ายใน
S3.5-1 สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้มีความโปร่งใส มีการชี้แจง อธิบาย ควบคุมเรื่องการเงินให้

สมาชกิ ทกุ คนไดท้ ราบ
S3.5-2 สรรหาผู้ตรวจสอบกิจการและผลักดันใหผ้ ตู้ รวจสอบกิจการต้องควบคุมตรวจสอบอย่าง

จรงิ จัง
ข้ันท่ี 4 เพม่ิ ประสิท ิ าพการผลติ และการขาย
S4.1 ลดต้นทนุ การผลิต
S4.1-1 ใหค้ วามรดู้ ้านการวิเคราะหต์ น้ ทนุ เพ่อื ให้องค์กรรู้ตัวตนของตนเอง
S4.1-2 สรา้ งความเขา้ ใจให้สมาชิกเหน็ ถึงความสาคัญ ตระหนักถึงการคานวณต้นทนุ ธรุ กิจ และ

สง่ เสรมิ ให้มีการคานวณต้นทุนในแต่ละธุรกิจให้ได้
S4.1-3 สร้างความเข้าใจและปรับทศั นคตใิ นการใชว้ ัตถุดบิ เพื่อเป็นการลดต้นทุน เช่น ปุย ยาฆ่า

แมลง เป็นต้น
S4.1-4 สนบั สนนุ การรวมกลมุ่ /เครอื ข่าย เพือ่ ลดต้นทนุ
S4.1-5 สนับสนุนให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเข้ามาให้ความรู้ สาธิตการเปลี่ยนแปลงการนา

เทคโนโลยตี ่างๆ มาใชใ้ นการลดต้นทนุ ชีใ้ หเ้ ห็นถึงข้อดี
S4.2 เพ่มิ ผลผลติ / เพิม่ มลู ค่าผลผลติ
S4.2-1 จดั หาผเู้ ชีย่ วชาญและผูท้ ่มี ีประสบการณด์ า้ นการผลติ มาเปน็ ทปี่ รึกษาให้ความรูด้ ้านการ

ผลิตและการตลาด
S4.2-2 จัดกิจกรรมพัฒนาเจ้าหน้าท่ีให้มีความรู้ ความสามารถ ในการให้คาแนะนา ส่งเสริม

สมาชกิ

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

73 -

รหัส ประเด็นทเี่ ป็นปัญหา/พฒั นายาก
B4.2-3 ไม่มกี ารศึกษาตลาดก่อนการเพิม่ ผลผลติ และไมม่ กี ารศึกษาค่แู ข่งในตลาด
B4.2-4 สินคา้ / บรกิ าร ยังไมต่ รงตามความตอ้ งการของตลาด
B4.2-5 สินค้า/ บรกิ าร ไม่มคี ุณภาพและไมไ่ ดม้ าตรฐาน

B4.3 เพ่มิ ประสิท ิ าพการเขา้ ถงึ ตลาด/ กลุ่มเป้าหมาย
B4.3-1 ขาดเงินทุนในการขยายธุรกิจและตลาด
B4.3-2 ไมส่ ามารถเข้าถงึ หรือหาตลาดใหมๆ่ ได้

ขั้นท่ี 5 กระตนุ้ การมสี ่วนร่วมของสมาชกิ ในขัน้ ตอนหลักของกล่มุ
B5.1 การจดั ประชมุ กลุ่มย่อยและประชมุ กลุ่มใหญ่อย่างสม่าเสมอ
B5.1-1 สมาชิกไม่ให้ความสาคัญในการทากิจกรรมกลุ่ม เนื่องจากไม่เข้าใจเร่ืองสิทธิและหน้าท่ี

ของตนเอง หรอื ผลประโยชนท์ ี่ตนเองจะไดร้ บั
B5.1-2 การประชุมกลุม่ ย่อยหรอื ประชมุ อน่ื ๆ ไม่ต่อเน่ือง สมา่ เสมอ
B5.1-3 สมาชิกไม่มาประชมุ หรอื มาประชุมแต่ไม่เสนอแนะขอ้ คิดเห็น

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 17

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปัญหา

S4.2-3 ส่งเสริมให้กรรมการ ฝ่ายจัดการ สมาชิก ศึกษาเรียนรู้เร่ืองการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มี
คุณภาพและได้มาตรฐานพร้อมออกสตู่ ลาด สามารถแขง่ ขันได้

S4.2-4 ส่งเสริมใหบ้ ุคลากรวางแผน วิเคราะห์ความเปน็ ไปไดท้ างการตลาดกอ่ นการผลิตเพือ่ ลด
ความเสย่ี งดา้ นการผลิต

S4.2-5 ให้ความรู้และส่งเสรมิ ให้สมาชิกทาการเกษตรแบบสมัยใหม่ โดยใช้ข้อมูลด้านการตลาด
ทเ่ี ปน็ ปัจจุบนั

S4.2-6 จัดกจิ กรรมศกึ ษาดูงานในสถานทท่ี ป่ี ระสบความสาเร็จ
S4.3 เพ่ิมประสิท ิ าพการเข้าถึงตลาด/ กลุ่มเป้าหมาย
S4.3-1 สร้างเครือข่ายพันธมิตร ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน เพ่ือเช่ือมโยงธุรกิจ

ในด้านเงนิ ทนุ และการตลาด
S4.3-2 จัดอบรมให้ความรู้เพ่ือเพิ่มทักษะในการพัฒนาการหาช่องทางการจัดจาหน่าย การทา

การตลาดออนไลน์
S4.3-3 จัดทาแผนการผลติ และแผนการตลาดเชิงกลยทุ ธ์
ขนั้ ท่ี 5 กระตนุ้ การมีสว่ นรว่ มของสมาชกิ ในข้ันตอนหลกั ของกลมุ่
S5.1 การจัดประชุมกลุ่มย่อยและประชุมกลุ่มใหญ่อยา่ งสมา่ เสมอ
S5.1-1 วางแผนปฏิบัติงานท่ีชัดเจน มีสถานท่ี ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สมาชิกจะสามารถมาร่วม

ประชุมออกความคิดเหน็ เสนอแนะได้
S5.1-2 จัดกิจกรรมอบรมกระตุ้นให้สมาชิกตระหนักถึงความสาคัญของการมสี ่วนรว่ มและสรา้ ง

ความเข้าใจถงึ ประโยชนใ์ นการประชุม
S5.1-3 จัดกิจกรรมอบรมสร้างความศรทั ธาและความเชื่อม่นั ใหม้ ีตอ่ กลุ่ม

กษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

74 -

รหัส ประเด็นทเ่ี ปน็ ปญั หา/พฒั นายาก
B5.1-4 การมีส่วนร่วมในการบริหารกลุ่มของบุคลากรในกลุ่ม (ผู้นา/กรรมการ ฝ่ายบริหาร/

เจา้ หนา้ ท่ี และสมาชิก) ยงั เป็นเพียงบางสว่ น
B5.1-5 ไมม่ บี ทลงโทษผู้ที่ไมม่ ีสว่ นร่วม

ข้ันท่ี 6 สง่ เสริมการใช้ฐานข้อมูลและองคค์ วามรเู้ พ่อื ปรบั ปรงุ การบรหิ ารกลุม่
B6.1 การวเิ คราะหแ์ ละใช้ประโยชนจ์ ากรายงานทางการเงนิ
B6.1-1 ไมม่ รี ะบบฐานขอ้ มลู

B6.1-2 ไม่มีการอัพเดทระบบฐานข้อมูลใหเ้ ปน็ ปจั จุบัน
B6.1-3 ฐานข้อมูลขององค์กรยังเป็นข้อมูลดิบ ขาดการวิเคราะห์ทาให้ไม่สามารถนามาใช้

ประโยชนไ์ ด้
B6.1-4 ฝา่ ยบริหาร/ เจ้าหนา้ ท่ีสหกรณ์ ไมใ่ ห้ความสาคญั กับขอ้ มูลทางการเงนิ มาใชใ้ นการบรหิ าร

กล่มุ
B6.1-5 คณะกรรมการกลุ่มยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจในการนาฐานข้อมูลและองค์ความรู้มาใช้

ประโยชน์
B6.1-6 สมาชกิ ทเ่ี ปน็ ผู้สูงอายุ ไมม่ คี วามรู้ดา้ นบัญชี

B6.1-7 ไม่มกี ารประชาสมั พันธ์ข่าวสารความร้แู กส่ มาชิก

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ

- 17

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพื้นที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปัญหา

S5.1-4 จัดกิจกรรมท่ีสร้างการมีส่วนร่วมหรือจัดประชุมทุกเดือนและให้มีความต่อเนื่อง ค่อยๆ
ดึงสมาชิกใหม้ สี ว่ นร่วมและขยายผลไปเรอ่ื ยๆ

S5.1-5 สรรหาผู้นาทีม่ ีความรู้ ประสบการณ์ด้านธรุ กจิ ทีแ่ ท้จรงิ มาชว่ ยในการขบั เคล่ือนกลุม่
S5.1-6 เพิม่ ชอ่ งทางในการสื่อสาร ประชาสัมพนั ธ์ขา่ วสารกจิ กรรมของกลุ่มในระบบ IT
S5.1-7 กาหนดบทลงโทษสาหรบั ผู้ที่ไมเ่ ขา้ ประชมุ
ขั้นท่ี 6 ส่งเสรมิ การใช้ฐานขอ้ มลู และองคค์ วามรเู้ พ่อื ปรบั ปรงุ การบริหารกล่มุ
S6.1 การวิเคราะห์และใชป้ ระโยชนจ์ ากรายงานทางการเงนิ
S6.1-1 สร้างระบบฐานข้อมูลท่ีถูกต้องครบถ้วน รวมถึงองค์ความรู้ท่ีเป็นมาตรฐานโดยกรม

ส่งเสรมิ สหกรณ์และเผยแพร่ให้ผู้ทม่ี สี ่วนเก่ียวขอ้ งนาไปใช้
S6.1-2 อพั เดทฐานข้อมูลให้เปน็ ปจั จุบันและวเิ คราะหข์ ้อมูลจากสภาพความเปน็ จรงิ
S6.1-3 จัดอบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นถึงความสาคัญในการนาข้อมูลจาก

ฐานขอ้ มลู มาวิเคราะห์ ใช้ประโยชนใ์ นการตดั สินใจ วางแผนกลุ่ม
S6.1-4 สรรหาคณะกรรมการหรือฝ่ายจัดการที่มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทาฐานข้อมูลมา

ถา่ ยทอดการจดั ทาฐานข้อมูลของกลมุ่
S6.1-5 สง่ เสรมิ ให้มกี ารนาเคร่อื งมือสารสนเทศทางการเงินหรือโปรแกรมสาเรจ็ รปู ทช่ี ่วยในการ

วิเคราะห์ข้อมูลมาใชใ้ นการปรับปรงุ บรหิ ารงานกลุม่
S6.1-6 ส่งเสริมให้มีการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินอย่างสม่าเสมอ เพ่ือให้ทราบถึงสถานการณ์

การดาเนินธรุ กิจในปัจจุบันและทราบถึงปญั หาอย่างทนั ถ่วงที
S6.1-7 ติดตามและประเมินผลเจ้าหน้าท่ีในการนาข้อมูลจากฐานข้อมูลมาใช้ประโยชน์อย่าง

สมา่ เสมอ

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

75 -

รหัส ประเด็นทีเ่ ป็นปัญหา/พัฒนายาก

B6.2 การหาความรู้ใหมม่ าปรับปรุงการบรหิ ารกลุ่ม
B6.2-1 คณะกรรมการผิดก้นั ความรใู้ หมๆ่ และไมย่ อมเรยี นรู้
B6.2-2 คณะกรรมการไมร่ วู้ ธิ ีการนาความร้ใู หม่ๆ ที่ได้มาปรบั ปรงุ การบริหารกลุ่ม
ข้นั ที่ 7 สร้างทกั ษะการทางานร่วมกบั หนว่ ยงาน ใหต้ รงจดุ สาคญั และตอ่ เนือ่ ง
B7.1 รบู้ ทบาทการให้บรกิ ารของแตล่ ะหน่วยงาน
B7.1-1 ไม่สามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู ของหน่วยงานต่างๆ ได้

B7.2 รูจ้ ักใช้ประโยชนจ์ ากความร้แู ละทรพั ยากรของหน่วยงาน
B7.2-1 ไม่กลา้ มีพันธมติ ร
B7.2-2 ขาดการเช่ือมโยงเครือขา่ ยระหว่างกลุ่มหรือหน่วยงานภายนอก
B7.2-3 ไมร่ ูว้ ธิ ีทจ่ี ะเขา้ หาหนว่ ยงานภายนอกตา่ งๆ
B7.2-4 ขาดความรใู้ นการบูรณาการเช่อื มโยงกับเครอื ขา่ ยอน่ื ๆ
B7.2-5 หนว่ ยงานเอกชนภายนอกเอาเปรียบ

สานักงานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 17

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพ้นื ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปญั หา

S6.1-8 ประชาสมั พนั ธ์ขา่ วสารความรูแ้ กส่ มาชกิ อย่างสมา่ เสมอ
S6.2 การหาความรใู้ หมม่ าปรบั ปรุงการบริหารกลุ่ม
S6.2-1 จัดอบรมใหค้ วามร้ใู หม่ทกุ ๆ 3 เดอื น
S6.2-2 สร้างสมาชิกร่นุ ใหม่ ใหค้ วามรูท้ างดา้ นบญั ชี
ขั้นท่ี 7 สร้างทักษะการทางานรว่ มกบั หน่วยงาน ใหต้ รงจุดสาคัญและตอ่ เนอื่ ง
S7.1 ร้บู ทบาทการให้บริการของแต่ละหน่วยงาน
S7.1-1 ส่งเสริมใหค้ ณะกรรมการ ฝ่ายจัดการศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มลู ของหน่วยงานสนบั สนนุ

เพ่ือขอรบั การสนับสนนุ ในด้านตา่ งๆ ทตี่ รงความต้องการของกลมุ่
S7.1-2 เพ่ิมการประชาสมั พันธ์ สรา้ งภาพลักษณ์ทีด่ ีขององคก์ ร ให้หน่วยงานภายนอกไดร้ จู้ ัก
S7.2 รู้จกั ใช้ประโยชนจ์ ากความรแู้ ละทรัพยากรของหนว่ ยงาน
S7.2-1 กาหนดแผนการสร้างพันธมิตรและบรู ณาการจากแผนธรุ กจิ ที่เหมาะสมกับศักยภาพของ

กลมุ่
S7.2-2 เพ่ิมช่องทางเพ่ือให้แต่ละหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้เข้ามาพบปะพูดคุยกันให้ความสาคัญ

ในการเช่อื มโยงเครือขา่ ยและทาให้เกิดความตอ่ เน่ือง เชน่ จัดเวทแี ลกเปลีย่ นรู้ เป็นต้น
S7.2-3 กาหนดนโยบายในการสนับสนุนให้มีความต่อเนื่องหรือกาหนดเป็นนโยบายหลัก เช่น

การจดั ทา timeline หรือกาหนดในวาระการประชุมประจาเดอื นของสหกรณ์ เป็นต้น
S7.2-4 ผลกั ดนั ใหม้ ตี วั แทนของสหกรณท์ ีส่ ามารถเจรจาประสานกบั หน่วยงานสนบั สนนุ ได้
S7.2-5 สนับสนุนการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ โดยให้มกี ารเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยทั้งภาครัฐ เอกชน

และหนว่ ยงานต่างๆ

กษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

76 -

รหัส ประเด็นที่เป็นปญั หา/พฒั นายาก
B7.2-6 หน่วยงานภายนอกท่ีเข้ามาสนับสนุน สนับสนุนไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ ความต้องการ

ของสหกรณ์
B7.2-7 หนว่ ยงานภายนอกที่เขา้ มาสนบั สนุนไมม่ คี วามต่อเน่ือง

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 17

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพนื้ ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปญั หา
S7.2-6 แกไ้ ขกฎหมายใหส้ หกรณ์/กลมุ่ ในบางขอ้ ท่ีจะทาใหส้ ามารถดาเนนิ งานไดค้ ลอ่ งตวั ข้นึ

กษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

77 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพน้ื ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

 ขั้นที่ 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพน้ื ที่
ในขั้นที่ 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพื้นที่ ได้แบ่งประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 14

ประเดน็ และขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหา 17 ประเดน็ โดยแบง่ เปน็ 3 กลุ่มย่อย ดงั นี้
1. กลุ่มย่อย B1.1 และ S1.1 สาเหตุจาเป็นท่ีต้องรวมกลุ่ม ประกอบด้วยประเด็นที่เป็น
ปญั หา/พัฒนายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปัญหาอย่างละ 4 ประเดน็
2. กลุ่มย่อย B1.2 และ S1.2 ความสามารถผู้นาในการขับเคลื่อนกลุ่มอย่างต่อเน่ือง
ประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก 5 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไข
ปญั หา 8 ประเดน็
3. กลุ่มยอ่ ย B1.3 และ S1.3 ความสามารถและความพร้อมของสมาชิกประกอบด้วยประเด็น
ที่เป็นปัญหา/พฒั นายากและขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปัญหาอย่างละ 5 ประเด็น
ในภาพรวมของขั้นท่ี 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพื้นท่ี ผลการรวบรวมแบบสารวจ

พบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ของผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจ
ได้ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก ไว้ท้ังหมด 14 ประเด็น ซ่ึง 3 อันดับแรกที่
ผตู้ อบแบบสารวจสว่ นใหญ่ใหค้ วามคิดเหน็ ได้แก่ อันดบั ที่ 1 คือ B1.3-4 สมาชกิ ไมม่ ีความรู้ ความพร้อม
และความเข้าใจในการรวมกลุ่ม มีผตู้ อบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้จี านวน 11 คน คดิ เป็น
ร้อยละ 20 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน รองลงมาคือ B1.1-2 รวมกลุ่มเพราะต้องการ
รับผลประโยชน์แต่ไม่ได้เห็นถึงความสาคัญของการรวมกลุ่มที่แท้จริง และ B1.2-4 ผู้นากลุ่มขาดความ
พร้อมด้านความรู้ ความสามารถ ในการขับเคล่ือนกลุ่มไปในทิศทางที่ถูกต้อง มีผู้ตอบแบบสารวจให้
ความคิดเห็นในประเดน็ นจ้ี านวน 8 คน เท่ากนั คดิ เป็นรอ้ ยละ 14 จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจทงั้ หมด
56 คน

ซ่ึงจากประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปญั หาท้ังหมด 17 ประเด็นดว้ ยกัน โดยประเดน็ ทสี่ าคัญ 2 อนั ดับแรก ได้แก่ อนั ดบั ท่ี 1 คือ S1.1-
3 ทาความเข้าใจและปลูกฝังให้คนในกลุ่มตระหนักถึงความจาเป็น ความสาคัญ และประโยชน์ในการ
รวมกลุ่ม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นน้ี จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 19 จากจานวน
ผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน รองลงมา คือ S1.1-1 สารวจความต้องการท่ีแท้จริงในการรวมกลุ่ม
ก่อนการจัดตั้งสหกรณ์ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นน้ี จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 14
จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทัง้ หมด 56 คน และประเด็นอ่ืนมีผู้ตอบแบบสารวจที่มีสดั ส่วนลดหลน่ั กัน
ไป ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 178 -

ตารางท่ี 4.2 ประเด็นทเี่ ปน็ ปญั หา/พัฒนายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปญั หาในขน้ั ที่

บนั ดแตล่ ะขน้ั มปี ระเดน็ ใดทเ่ี ปน็ ปัญหา/ พัฒนายาก อะ รบา้ ง

รหสั ประเดน็ ปญั หา หรอื พัฒนายาก จานวน คดิ เป็น
ผู้ตอบ %
ขน้ั ท่ี 1 ตรวจสอบความพรอ้ มของคนในพ้นื ที่
B1.1 สาเหตุจาเป็นท่ตี ้องรวมกลมุ่ 6 11%
B1.1-1 รวมกลมุ่ จากนโนบายภาครัฐไม่ใช่ความตอ้ งการของสมาชิก

B1.1-2 รวมกลมุ่ เพราะตอ้ งการรบั ผลประโยชน์แต่ไม่ได้เหน็ ถงึ ความสาคัญ 8 14%
ของการรวมกลุ่มท่แี ทจ้ ริง 1 2%

B1.1-3 รวมกล่มุ เพราะต้องการเปน็ สหกรณ์

B1.1-4 รวมกล่มุ จากการที่ผลผลติ ไม่มีท่ขี าย/ ล้นตลาด 2 4%

B1.2 ความสามารถผู้นาในการขบั เคลือ่ นกลมุ่ อยา่ งต่อเนอื่ ง 2 4%
B1.2-1 ผู้นามาจากความมอี ทิ ธิพล ไม่ไดม้ าจากความเตม็ ใจของสมาชิก

B1.2-2 ผู้นากล่มุ มักเปน็ คนเดิมทอ่ี ยู่มานาน เชน่ ผูส้ งู อายุ 2 4%
B1.2-3 ผู้นาไมม่ ีประสบการณใ์ นการทางานมากอ่ น 1 2%

B1.2-4 ผู้นากลุ่มขาดความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถ ในการ 8 14%
ขบั เคลอ่ื นกลุ่มไปในทิศทางทถ่ี กู ต้อง

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 17


Click to View FlipBook Version