The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:38:52

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพน้ื ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กิจกรรมหลกั บทบาท / การมสี ่วนร่วม ผลผลิต

5) พฒั นาแนวทาง คณะที่ปรึกษา มลู นิ ิปิดทองหลังพระ สว่ นราชการ คมู่ ือบนั ได 7
ประเมินผลและ ขน้ั เพือ่ การ
ยกระดบั การ ฯ ตัวอยา่ ง สง่ เสริม
รวมกลมุ่ สหกรณ์
รวมกลมุ่ อยา่ ง

ย่ังยืน

- ปรบั ปรงุ คมู่ ือ - เขา้ ร่วมประชุม/ให้ - จดั สรรบุคลากร

สารวจและรวม ข้อคดิ เห็นกบั ส่วน มาร่วมสรุป

รวมขอ้ มลู เพื่อการ ราชการตวั อยา่ ง เน้อื หา/แนว

รวมกลมุ่ อย่าง - รว่ มใหข้ อ้ แนะนา ปฏบิ ตั ิของส่วน

ยัง่ ยืน (บันได 7 ในการปรบั ปรงุ ราชการตัวอย่าง

ข้นั ส่กู ารรวมกลุม่ คมู่ ือฯ เพื่อการปรบั ปรุง

อยา่ งย่งั ยนื ) ฉบบั คู่มอื ฯ

สว่ นราชการ

ตวั อย่าง

การพฒั นาและถา่ ยทอดองค์ความรกู้ ารรวมกล่มุ ใหก้ บั บคุ ลากรของมูลนิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ
แนวทางในการการพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้การรวมกลุ่มให้กับบุคลากรของมูลนิธิปิด
ทองหลังพระฯ เริ่มจากการทบทวนสถานการณ์การนาองคความรู้และเครื่องมือที่พัฒนาข้ึนโดยมูลนิธิ
ปดิ ทองหลงั พระฯ ไปใชข้ ยายผลการพฒั นาพื้นท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ตนแบบ โดย
วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในพ้ืนที่ต้นแบบและหาแนวทางในการพัฒนาไปสู่ระดับที่ 2 ชุมชนรวมกลุ่ม
พง่ึ ตนเองได้ และระดบั ท่ี 3 คอื ชุมชนสามารถเชอื่ มโยงออกสู่ภายนอก
จากนัน้ ทาการพัฒนาใน 2 สว่ น คอื เชงิ ลกึ และเชิงกว้างควบคู่กนั สว่ นที่ 1 การพัฒนาในเชงิ ลึก
นั้นจะทาการคัดเลือกพ้ืนท่ีต้นแบบของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จานวน 1 แห่ง เพื่อเป็นตัวอย่างในการ
ให้ความรูแ้ ละผลกั ดนั การนาบันได 7 ข้นั สู่การรวมกลุ่มอย่างยัง่ ยืนไปทดลองปฏิบตั ิจริงในพนื้ ท่ี ส่วนท่ี 2
การพัฒนาในเชิงกว้าง คือ การให้ความรู้บุคลากรในการนาแนวปฏิบัติบันได 7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่าง
ย่งั ยืนไปทดลองปฏิบตั ิจรงิ ในพ้นื ที่ต้นแบบของมูลนิธิปิดทองหลงั พระฯ ในพน้ื ที่ตน้ แบบ 9 แห่ง
ผลการพัฒนาในเชิงลึกและเชิงกว้างจะถูกนามาถอดบทเรียนเพ่ือการทาการปรับปรุงคู่มือ
สารวจและรวมรวมข้อมูลเพ่ือการรวมกลุ่มอย่างยั่งยืน (บันได 7 ขั้นสู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน) ท่ีได้จาก
โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคล่ือนทฤษฎีใหม่เพ่ือการพัฒนาพื้นที่ในข้ันที่ 2 ตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ให้เหมาะสมต่อการนาไปใช้งานโดยบุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ มากย่ิงข้ึน
รวมไปถึงการพัฒนาคู่มือบันได 7 ข้ันเพ่ือการรวมกลุ่มอย่างยั่งยืน สาหรับบุคลากรมูลนิธิปิดทองหลัง
พระฯ นาไปใชช้ ้วางแผน ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนา และติดตามผลความกา้ วหน้าในการพฒั นากลุ่มอยา่ งยง่ั ยนื

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 43 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพื้นท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

สุดท้ายเป็นการจัดอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ให้มีความรู้
ความเข้าใจในการใช้งานคู่มือสารวจและรวมรวมข้อมูลเพื่อการรวมกลุ่มอย่างยั่งยืนและคู่มือบันได 7
ข้ันเพ่อื การรวมกลุ่มอย่างย่งั ยนื ท่ีไดพ้ ฒั นาและปรบั ปรุงขึน้

รูปท่ี 2.9 แนวทางพัฒนาและถา่ ยทอดองคค์ วามรู้การรวมกลมุ่ ใหก้ ับบคุ ลากรของมูลนิธปิ ิดทองหลงั พระฯ

แนวทางในการดาเนินการพัฒนามุ่งหวังให้เกิดการขยายผลโดยมูลนิธิปดิ ทองหลังพระฯ ดังน้ัน
จึงจาเป็นต้องสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างคณะท่ีปรึกษา และมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ โดยมี
รายละเอยี ดของข้นั ตอนการพัฒนาดงั ต่อไปนี้

ตารางท่ี 2.3 ขั้นตอนการพัฒนา/ถา่ ยทอดองค์ความรกู้ ารรวมกลมุ่ ให้บคุ ลากรของมลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระฯ

กิจกรรมหลกั บทบาทของคณะทปี่ รึกษา บทบาทของคณะทางาน ผลผลติ

ของปิดทองฯ

1) ทบทวนสถานการณ์ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน - สนับสนุนข้อามลู พื้นที่ ผ ล ก า ร ท บ ท ว น

การนาองคความรู้ ส่วนกลาง โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ต้นแบบของมูลนิธิปิด สถานการณ์การนา

แ ล ะ เ ค ร่ื อ ง มื อ ที่ เปน็ นักพัฒนาใน 9 พ้นื ท่ี พืน้ ทีล่ ะ ทองหลงั พระฯ องค ความรู้และ

พัฒนาขึ้นโดยมูลนิธิ 3 คน รวมเป็น 27 คน และ - ประสานให้บุคลากร เ ค รื่ อ ง มื อ ท่ี

ปิดทองหลังพระฯ บุคลากรในส่วนกลางอีก 3-8 คน กลุ่มเปา้ หมายเข้าร่วม พั ฒ น า ข้ึ น โ ด ย

ไปใช้ขยายผลการ รวมเป็นกลมุ่ เป้าหมาย 30-35 คน เวทีแลกเปล่ยี นเรียนรู้ มูลนิธิปิดทองหลัง

พั ฒ น า พื้ น ท่ี ต า ม พระฯ

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 44 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพน้ื ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กจิ กรรมหลกั บทบาทของคณะทป่ี รึกษา บทบาทของคณะทางาน ผลผลติ

ของปดิ ทองฯ

ป รั ช ญ า ข อ ง - ทบทวนการนาองค์ความรู้ - ร่วมให้คาแนะนาและ

เศรษฐกิจพอเพียง และเคร่ืองมืออ่ืนท่ีมูลนิธิปิด ร่วมให้ความเห็นใน

ในพ้ืนที่ตนแบบ ทองหลังพระฯ พัฒนาข้ึน ว่า การสรุปบทเรยี น

ทางพ้ืนท่ีได้นาไปทดลองใช้

แล้วได้ผลอย่างไรบ้าง ติดขัด

ปัญหาอย่างไร มีบทเรียนใน

การแลกเปลี่ยนกับนักพัฒนา

ในพ้ืนทอ่ี ื่นอยา่ งไรบา้ ง

- ส รุ ป ส ถ า น กา ร ณ์ ปั ญ ห า

อุปสรรค และแนวทางในการ

นาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้

ใน 9 พ้ืนท่ีต้นแบบของมูลนิธิ

ปิดทองหลงั พระฯ

2) คั ด เ ลื อ ก พ้ื น ท่ี - กาหนดหลักเกณฑ์และคัดเลือก - ร่ ว ม ก า ห น ด ตัวอย่างพื้นท่ีท่ีนา

ต้นแบบของมูลนิธิ พ้ืนที่ตัวอย่าง จานวน 1 พ้ืนที่ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ แ ล ะ บันได 7 ขั้นสู่การ

ปิดทองหลังพระฯ เพื่อเป็นพน้ื ท่ีทีท่ มี ทีป่ รึกษาจะเข้า คัดเลือกพืน้ ทต่ี ัวอย่าง ร ว ม ก ลุ่ ม อ ย่ า ง

จานวน 1 แห่ง เพ่ือ ให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิดในการ - ร่วมลงพื้นท่ี และให้ ย่ั งยื นไ ป ป รั บ ใช้

เป็นตัวอย่างในการ ประยุกต์ใช้บันได 7 ข้ันสู่การ ความคิดเหน็ อย่างต่อเน่ือง 1

ใ ห้ ค ว า ม รู้ แ ล ะ รวมกลุ่มอย่างยั่งยืน ให้เหมาะสม แหง่

ผ ลั ก ดั น ก า ร น า กบั บริบทของพน้ื ท่ี

บันได 7 ขั้นสู่การ - ลงพ้ืนท่ีให้คาแนะนา 3 ครั้ง โดย

รวมกลุ่มอย่างย่ังยืน ครั้งแรกเป็นการเร่ิมโครงการและ

ไปทดลองปฏิบัติ สร้างความรู้ความเข้าใจ คร้ังที่ 2

จริง เปน็ การติดตาม และคร้งั ท่ี 3 เป็น

การประเมนิ ผล

3) ให้ความรู้บุคลากร - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน - ประสานให้บุคลากร ผลการถ่ายทอด

ใ น ก า ร น า แ น ว ส่วนกลาง โดยมีกลุ่มเป้าหมาย กลมุ่ เปา้ หมายเข้ารว่ ม ความรู้บุคลากรใน

ปฏบิ ัตบิ ันได 7 ขัน้ สู่ เป็นนักพัฒนาใน 9 พ้ืนท่ี พ้นื ทีล่ ะ เวทีแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ การนาแนวปฏิบัติ

การรวมกลุ่มอย่าง 3 คน รวมเป็น 27 คน และ - ร่วมให้คาแนะนาและ บันได 7 ขั้นสู่การ

ยั่ ง ยื น ไ ป ท ด ล อ ง บุคลากรในส่วนกลางอีก 3-8 คน ร่วมให้ความเห็นใน ร ว ม ก ลุ่ ม อ ย่ า ง

ปฏิบัติจริงในพื้นท่ี รวมเป็นกลมุ่ เป้าหมาย 30-35 คน การสรปุ บทเรียน ย่ังยืนไปทดลอง

ต้นแบบของมูลนิธิ โดยดาเนนิ การ ปฏิบัติจริงในพื้นที่

ปิดทองหลังพระฯ - สอบทานความเข้าใจพื้นฐาน ต้นแบบของมูลนิธิ

ของทีมพัฒนาใน 9 พื้นที่ ปิดทองหลังพระฯ

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 45 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพน้ื ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมหลกั บทบาทของคณะทปี่ รึกษา บทบาทของคณะทางาน ผลผลติ
ของปดิ ทองฯ
ในพื้นท่ีต้นแบบ 9 เก่ียวกับการนาบันได 7 ขั้นสู่ ในพ้ืนที่ต้นแบบ 9
แห่ง การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืนไป แหง่
ปรับใช้ วา่ จากโครงการพัฒนา
แนวทางการขับเคล่ือนทฤษฎี
ใหม่เพื่อการพัฒนาพ้ืนที่ในขนั้
ท่ี 2 ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง ในปี 2560 ได้เคยจดั
ถ่ายทอดความรู้บันได 7 ข้ันสู่
การรวมกลุ่มอย่างยั่งยืนให้แก่
ทีมพัฒนาไปแล้วน้ัน มีพ้ืนท่ี
ใดบ้างที่ได้นาบันได้ 7 ข้ันไป
ทดลองใช้แล้ว และเมื่อได้
ท ด ล อ ง ใ ช้ ไ ป แ ล้ ว พ บ ว่ า ผ ล
อย่างไรบ้าง ติดขัดปัญหา
อย่างไร และมีบทเรียนในการ
แลกเปล่ียนกับนักพัฒนาใน
พ้นื ทอี่ นื่ อย่างไรบา้ ง
- ให้ความรู้ความเข้าใจเพิ่มเติม
เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้บันได
7 ข้ันสู่การรวมกลุ่มอย่าง
ยั่งยืน เพ่ือให้ทีมพัฒนานาไป
ป รั บ ใ ช้ ใ น พื้ น ท่ี ท่ี ต น
รับผิดชอบท้ัง 9 พื้นที่ ได้
ชัดเจนมากยงิ่ ขึ้น
- จัดเวทีแลกเปลยี่ นเรียนรเู้ พื่อถอด
บทเรียน หลังจากที่ 9 พ้ืนที่ได้นา
บันได 7 ขั้นสู่การรวมกลุ่มอย่าง
ย่ังยืนไปประยุกต์ใช้ โดยเนื้อหา
แยกเปน็ 2 กล่มุ ได้แก่
- บทเรียนจากพื้นท่ีตัวอย่าง 1
แห่ง ท่ีทีมท่ีปรึกษาลงพื้นท่ีให้
คาแนะนาอย่างใกล้ชดิ

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 46 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพ้ืนทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กจิ กรรมหลกั บทบาทของคณะทปี่ รึกษา บทบาทของคณะทางาน ผลผลติ

ของปดิ ทองฯ

- บทเรียนจากพื้นที่ต้นแบบอีก

8 แห่ง ท่ีได้นาองค์ความรู้ไป

ประยกุ ต์ใช้เอง

- สรุปบทเรียนการนาแนวปฏิบัติ

บันได 7 ขั้นสู่การรวมกลุ่มอย่าง

ย่งั ยนื ไปทดลองปฏิบตั ิจรงิ ในพ้นื ท่ี

ต้นแบบของมูลนิธิปิดทองหลัง

พระฯ ซึ่งอาจออกมาในรูปแบบ

ของโมเดลการพัฒนาท่ีมจี ุดเน้นท่ี

แตกต่างกันตามบริบทของพื้นท่ี

ตน้ แบบ

4) ปรับปรุงคู่มือสารวจ - นาองค์ความรู้ท่ีได้จากการถอด - ร่วมให้ข้อแนะนาใน คู่ มื อ ส า ร ว จ แ ล ะ

และรวมรวมข้อมูล บทเรียนและแนวปฏิบัติที่ดีจาก การปรับปรุงคู่มอื ฯ รวบรวมข้อมูลเพื่อ

เพ่ือการรวมกลุ่ม พ้ืนที่กรณีศึกษาของส่วนราชการ การรวมกลุ่มอย่าง

อยา่ งยงั่ ยนื ตัวอย่างและพ้ืนท่ีตัวอย่างของ ยั่งยืน (บันได 7 ขั้น

มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ มาพัฒนา สู่การรวมกลุ่มอย่าง

ต่อยอดและปรับปรุงคู่มือสารวจ ยั่ ง ยื น ) ฉ บั บ

แ ล ะ ร ว ม ร ว ม ข้ อ มู ล เ พ่ื อ ก า ร ป รั บ ป รุ ง จ า ก

รวมกลุ่มอยา่ งยงั่ ยืน (บนั ได 7 ข้ันสู่ โครงการพัฒนาแนว

ก า ร ร ว ม ก ลุ่ มอ ย่ าง ย่ั ง ยื น ใ ห้ ทางการขับเคลื่อน

เหมาะสมต่อการนาไปใช้งานโดย ทฤษฎีใหม่เพ่ือการ

บุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลัง พัฒนาพื้นท่ีในข้ันที่

พระฯ มากยงิ่ ขึ้น 2 ตามปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง

5) พัฒนาตัวช้ีวัดและ - นาองค์ความรู้ท่ีได้จากการถอด - ร่วมให้ข้อแนะนาใน คู่มือบันได 7 ขั้น

คู่ มื อ ป ฏิ บั ติ ก า ร บทเรียนและแนวปฏิบัติท่ีดีจาก การพัฒนาคู่มือฯ เพื่อการรวมกลุ่ม

ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร พื้นที่กรณีศึกษาของส่วนราชการ อย่างย่ังยืน

รวมกลมุ่ อย่างยัง่ ยืน ตัวอย่างและพ้ืนท่ีตัวอย่างของ

มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ มาพัฒนา

ตั ว ชี้ วั ด แ ล ะ คู่ มื อ ป ฏิ บั ติ ก า ร

ขับเคล่ือนการรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน

ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือ

ใช้วางแผน ปฏิบัติการพัฒนา และ

ติดตามผลความก้าวหน้าในการ

พัฒนากลมุ่ อยา่ งยัง่ ยืน

สานักงานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 47 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้นื ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กจิ กรรมหลกั บทบาทของคณะทป่ี รกึ ษา บทบาทของคณะทางาน ผลผลติ

ของปิดทองฯ

6) จัดอบรมถ่ายทอด - จั ด อ บ ร ม ถ่ าย ทอด ความรู้แก่ - ประสานให้บุคลากร ผ ล ก า ร จั ด อ บ ร ม

ความรู้แก่บุคลากร บุคลากรของมูลนิธิปิดทองหลัง กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ถ่ายทอดความรู้แก่

ของมูลนิธิปิดทอง พระฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจใน เวทแี ลกเปลย่ี นเรยี นรู้ บุคลากรของมูลนิธิ

หลงั พระฯ การใช้งานคู่มอื สารวจและรวมรวม - ร่วมให้คาแนะนาใน ปิดทองหลังพระฯ

ข้อมูลเพื่อการรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน การถา่ ยทอดความรู้ ให้มีความรู้ความ

และคู่มือปฏิบัติการขับเคลื่อนการ เข้าใจในการใช้งาน

รวมกลุ่มอย่างยั่งยืน ตามปรัชญา คมู่ อื ท่พี ัฒนาขึน้

เศรษฐกิจพอเพียง ท่ีได้พัฒนาและ

ปรับปรุงข้ึน

**************

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 48 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้ืนท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3 ตน้ แบบหลักสตู รและกระบวนการฝกึ อบรมการรวมกลุม่ อย่างย่ังยืน
สาหรับส่วนราชการตวั อย่าง

ข้ันตอนการพัฒนาตน้ แบบหลักสูตรและกระบวนการฝึกอบรมการรวมกลุ่มอยา่ งยั่งยืน
ทมี ทป่ี รกึ ษาฯ ได้ร่วมกับทีมงานของมูลนิธปิ ิดทองหลังพระฯ และส่วนราชการตวั อยา่ งพัฒนา

ต้นแบบหลักสูตรและกระบวนการฝึกอบรมการรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน สาหรับส่วนราชการ โดยมีข้ันตอน
หลกั ดงั น้ี

• ร่วมกับส่วนราชการตัวอย่างในการลงพื้นที่เพ่ือประเมินสถานะ/ผลสาเร็จของการ
รวมกลุ่ม และศึกษากระบวนการรวมกลุ่มของพื้นที่กรณีศึกษา ท้ังบทบาทของ
เจา้ หนา้ ท่ีสง่ เสรมิ จากส่วนราชการตวั อย่าง และบทบาทของผูน้ าและสมาชกิ กลุ่ม

• สรุปบทเรียนและรวบรวมแนวปฏิบัติที่ดีจากพ้ืนที่กรณีศึกษาเพ่ือนาไปประกอบการ
พัฒนาต้นแบบหลักสูตรและกระบวนการฝึกอบรมการรวมกลุ่มอย่างย่ังยืน โดยสรุป
บทเรยี นในประเด็นสาคัญ อาทิ กระบวนการ ปัจจยั สคู่ วามสาเร็จ ปญั หาอปุ สรรคของ
การรวมกลุ่ม และบทบาทการสนับสนุนของส่วนราชการตัวอย่างและหน่วยงานอื่นๆ
ท่ีเก่ียวขอ้ ง

• พัฒนา (ร่าง) ต้นแบบหลกั สูตรและกระบวนการฝึกอบรมการรวมกลมุ่ อย่างยั่งยนื โดย
วิธีควบรวมองค์ความรู้การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืนของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ กับ
หลักสูตรท่ีมีอยู่เดิมของส่วนราชการตัวอย่าง รวมทั้งนาสรุปบทเรียนและแนวปฏิบตั ิที่
ดจี ากพน้ื ที่กรณีศกึ ษามาใช้ประกอบเนื้อหาของหลักสตู ร

กระบวนการฝกึ อบรม
กระบวนการฝึกอบรมประกอบไปดว้ ย 5 ข้ันตอนหลัก ได้แก่
• ช่วงท่ี 1 : การบรรยาย โดยวิทยากรหลักทาการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับท่ีมาและ
วิธีการใชเ้ คร่อื งมอื บันได 7 ขัน้ สูก่ ารรวมกลมุ่ อยา่ งย่ังยืน
• ช่วงท่ี 2 : การจัดเวทีเสวนา โดยวิทยากรหลักจะเชิญวิทยากรจากกรณีศึกษาอย่าง
น้อย 2 กรณีศึกษาข้ึนเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งทีมวิทยากรจะมาจาก 2 ฝั่ง คือ
1) สานักงานสหกรณ์จังหวัด ประกอบด้วยสหกรณ์จังหวัด และ/หรือ บุคลากรด้าน
ส่งเสริมสหกรณ์ 2) สหกรณ์กรณีศึกษา ประกอบด้วย ตัวแทนกรรมการ ฝ่ายจัดการ
และ/หรือสมาชิก ทั้งนี้ วิทยากรหลักจะเป็นผู้ถามประเด็นการพัฒนา ปัญหาอุปสรรค
และวิธีแก้ไข ตามบันได 7 ข้ัน ส่วนวิทยากรจากกรณีศึกษาจะเป็นผู้เล่าเนื้อหา

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 49 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพ้ืนทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เหตุการณ์ และให้แสดงทัศนะเพิ่มเติมในแต่ละประเด็นคาถาม นอกจากน้ี จะเปิด
โอกาสให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ซักถาม และ/หรือ ให้คาแนะนาเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ข้อมูล
ที่ครบถว้ นมากท่สี ุด
• ช่วงที่ 3 : กิจกรรมกลุ่มระดมความเห็นเพื่อวิเคราะห์สหกรณ์กรณีศึกษา โดย
ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับเอกสารทั้งหมด 3 ชุด ได้แก่ 1) ข้อมูลกรณีศึกษา 2)
แบบฟอร์มวิเคราะห์สถานะและระดับการพัฒนาสหกรณ์อย่างยั่งยนื ตามบันได 7 ขั้น
และ 3) แบบฟอร์มวางแผนพัฒนาสหกรณ์ตามบันได 7 ข้ัน ท้ังน้ี ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะ
ไดร้ ับมอบหมายใหว้ เิ คราะห์สถานะการพัฒนาของกรณีศกึ ษา โดยวิเคราะหต์ ามแต่ละ
ประเด็นของบันได 7 ข้ัน ข้อมูลท่ีใช้ประกอบการวิเคราะห์มาจาก 2 แหล่ง คือ ข้อมูล
จากเอกสารกรณีศึกษาและข้อมูลจากเวทีสัมมนาในช่วงที่ 2 จากนั้นสรุป จุดด้อย/
ปญั หา จดุ เด่น/โอกาส พร้อมระบุเป้าหมายและกิจกรรมการพฒั นาท่ีเหมาะสมต่อไป
• ช่วงที่ 4 : กิจกรรมกลุ่มนาเสนอผลการวิเคราะห์สหกรณ์กรณีศึกษา และ
ข้อเสนอแนะ โดยผู้เข้าร่วมสัมมนาส่งตัวแทนขึ้นนาเสนอผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
ประกอบด้วย จุดด้อย/ปัญหา จุดเด่น/โอกาส รวมท้ังระบุเป้าหมายและกิจกรรมการ
พฒั นาทเี่ หมาะสมต่อไป
• ช่วงที่ 5 : การบรรยายสรุป โดยวิทยากรหลักทาการบรรยายสรุปเกี่ยวกับจุดเน้นใน
แตล่ ะขนั้ ของเครอื่ งมอื บนั ได 7 ข้ันสู่การรวมกลมุ่ อยา่ งยง่ั ยืน และวิธีปฏิบัติที่ดที ไ่ี ด้จาก
กิจกรรมกล่มุ

เอกสารหลกั สูตรการรวมกลุ่มอยา่ งยั่งยนื
เอกสารหลกั สูตรการอบรมประกอบไปดว้ ย 5 รายการ ไดแ้ ก่
• ช่วงที่ 1 : การบรรยาย มีเอกสารท้งั หมด 1 ชดุ ไดแ้ ก่
 เอกสารหมายเลข 1: เอกสารประกอบการบรรยายช่วงที่ 1
• ช่วงท่ี 3 : กิจกรรมกลุ่มระดมความเห็นเพ่ือวิเคราะห์สหกรณ์กรณีศึกษา มีเอกสาร
ทงั้ หมด 3 ชุด ไดแ้ ก่
 เอกสารหมายเลข 2: ขอ้ มูลกรณศี กึ ษา
 เอกสารหมายเลข 3: แบบฟอร์มวิเคราะห์สถานะและระดับการพัฒนา
สหกรณอ์ ย่างย่งั ยืน ตามบนั ได 7 ขน้ั
 เอกสารหมายเลข 4: แบบฟอรม์ วางแผนพัฒนาสหกรณต์ ามบันได 7 ข้นั
• ช่วงท่ี 5 : การบรรยายสรุป มเี อกสารทั้งหมด 1 ชดุ ไดแ้ ก่
 เอกสารหมายเลข 5: เอกสารประกอบการบรรยายสรปุ ชว่ งท่ี 5

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 50 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพน้ื ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 เอกสารหมายเลข 1: เอกสารประกอบการบรรยายชว่ งที่ 1

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 51 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 52 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 53 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 54 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 55 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 56 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 57 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 58 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 59 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 60 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 61 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 62 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 63 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 64 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 65 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 66 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 67 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 68 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 69 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 70 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 71 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 72 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 73 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 74 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 75 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 76 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 77 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 78 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 79 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 80 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 81 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 82 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 83 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 84 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 85 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพน้ื ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

 เอกสารหมายเลข 2: ขอ้ มูลกรณีศกึ ษา
กรณีศกึ ษาท่ี 1 : สหกรณโ์ คนมวารชิ ูมิ จงั หวดั สกลนคร
1. ขอ้ มูลท่ัว ปของสหกรณ์
❖ ขอ้ มลู พืน้ ฐาน
o จดทะเบียนสหกณ์เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์25 35 สมาชิกแรกต้ัง จานวน 194 คน โค
นมแรกตัง้ 540 ตัว หุ้นแรกต้งั 19,400 บาท
o จานวนสมาชกิ ปจั จุบนั 139 คน ทุนดาเนนิ งาน 232,681,172.80 บาท (ข้อมูล ณ วันท่ี
31 มีนาคม 2560)
o ปัจจุบันสหกรณ์มีเจ้าหน้าท่ีรวมทั้งสิ้น 98 คน แบ่งเป็นเจ้าหน้าที่ในฝ่ายการผลิต
จานวน 60 คน และเจา้ หนา้ ท่ใี นสานักงาน จานวน 38 คน
o อาชพี หลักของสมาชกิ คอื ทานา อาชพี เสรมิ คือ เลยี้ งโคนม
o ประชากรส่วนใหญ่ในอาเภอวาริชภูมิเป็นคนเผ่าภูไท ซึ่งลักษณะของคนเผ่าภูไท คือ
เปน็ คนหัวก้าวหน้าและกลา้ ลองทาสิ่งใหม่ๆ
❖ รุ กิจของสหกรณ์

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 86 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพน้ื ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

o ธุรกจิ แปรรปู นมพลาสเจอรไ์ รส์
o ธรุ กจิ แปรรูปนม UHT
o ธุรกิจโรงงานอาหารสัตว์
o ธุรกิจสนิ เชื่อ
o ธุรกจิ จดั หาสินค้ามาจาหน่าย
o ธรุ กจิ รวบรวมนา้ นมดิบ
o ธรุ กิจรบั ฝากเงนิ

❖ สถานะทางการเงิน จากงบกาไร (ขาดทุน) ณ วันที่31 มีนาคม 2559

สินทรัพยห์ มนุ เวียน 127,528,351.83 บาท

สนิ ทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวียน 68,714,121.77 บาท

รวมสินทรพั ย์ 196,242,473.60 บาท

หน้ีสนิ หมุนเวียน 140,866,515.68 บาท

หนีส้ ินไม่หมนุ เวยี น 45,330,520.34 บาท

รวมหน้สี ิน 186,197,036.02 บาท

ทุนเรอื นหนุ้ 16,445,000.00 บาท

ทนุ สารอง - บาท

ทนุ สะสมตามข้อบงั คับ ระเบียบและอืน่ ๆ 6,304,096.67 บาท

กาไรสทุ ธิประจาปี 4,168,384.79 บาท

ทุนสหกรณ์ 10,045,437.58 บาท

รวมหนส้ี นิ และทุนของสหกรณ์ 196,242,473.60 บาท

2. ขอ้ มูลการการดาเนินงานของสหกรณ์
2.1 พัฒนาการด้าน ุรกิจ
เริ่มแรกมีกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ บ้านป่าโจด – ดงบัง จานวน 32 ราย ได้รับการ
ส่งเสริมเก่ียวกับการปรับปรุงพันธ์โุ ค และการผลิตเมล็ดพันธพุ์ ืชอาหารสตั ว์ (หญ้าลูซี่และถ่ัวฮา
มาต้า) เพื่อจาหน่ายให้กรมปศุสัตว์ต่อมาได้นาโคพันธุ์แท้จากต่างประเทศมาบริการผสมเทียม
เพื่อผลิตลูกโคจาหน่ายให้องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย จนกระท่ังปี 2528
อ.ส.ค. เลิกโครงการจึงงดซื้อลูกโคจากกลุ่มเกษตรกร ต่อมาในปีเดียวกันพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราช
ดาเนนิ ทอดพระเนตรการดาเนนิ งานของสถานบี ารุงพันธ์สตั วส์ กลนคร และทรงมพี ระราชดารัส

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 87 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพืน้ ที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ให้กรมปศุสัตว์ร่วมกับจังหวัดสกลนครส่งเสริมการเลี้ยงโคนมข้ึนในจังหวัดสกลนครซึ่งมี
เป้าหมายเพื่อสนองพระราชดาริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ให้มีการส่งเสริมการเลี้ยงโค
นมขึ้นในจังหวัดสกลนคร กรมปศุสัตว์จึงเริ่มดาเนินงานส่งเสริมการเล้ียงโคนมโดยชวน
เกษตรกรมาเลี้ยงโคนมและรีดนมขายและแนะนาใหเ้ กษตรกรรวมกันเป็นกลุ่มธรรมชาติรวมทั้ง
สนับสนุนเกษตรกรโดยส่งเกษตรกร 6-7 คนท่ีสนใจไปอบรมการเลี้ยงโคนมท่ีจังหวัดขอนแก่น
ต่อมาเกษตรกรในอาเภอวาริชภูมิสนใจท่จี ะเลย้ี งโคนมมากข้ึนจึงรวมตวั กันจดทะเบยี นเป็นกลุ่ม
ผูเ้ ลยี้ งสัตวบ์ ้านเขาเขียว

ปี พ.ศ. 2529 ได้เร่ิมรีดนมวัวตัวแรก และได้ขยายผลให้มีการเลี้ยงโคนมมากข้ึน โดย
เกษตรกรแตล่ ะคนจะเลี้ยงโคนมและจูงววั มารวมกันรีดนมที่เดียวกัน ส่งขายน้านมดบิ ทส่ี หกรณ์
โคนม จังหวัดอุดรธานี และส่วนที่เหลอื ก็จะนามาต้มโดยใชร้ ะบบแก็สทาให้เย็นแลว้ ใส่ขวดขาย
ตามหมู่บ้าน ต่อมาวัวของสมาชิกเร่ิมมากข้ึน น้านมท่ีได้เร่ิมล้นตลาด กลุ่มจึงนาน้านมดิบมา
รวมกันใส่ท้ายรถกระบะนาไปขายท่ีสหกรณ์ขององค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย
(อ.ส.ค.) จังหวัดขอนแก่น แต่ขายไม่ได้เพราะใช้เวลาขนส่งนานทาให้น้านมเสีย เม่ือเกิดปัญหา
ไม่สามารถขายน้านมดิบได้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เข้ามา
ช่วยเหลือและมอบหมายให้กรมปศุสัตว์ดูแล กรมปศุสัตว์จึงเข้ามาสอนการทานมพลาสเจอร์
ไรส์ และกล่มุ ได้เร่มิ ผลติ นมพลาสเจอรไ์ รส์ บรรจุถงุ ๆ ละ 200 ซซี ี ออกจาหน่ายในปี 2530

ปี พ.ศ. 2534 กล่มุ เริม่ ประสบปัญหาดา้ นการตลาด มีปริมาณน้านมดบิ ทีเ่ หลือจากการ
แปรรปู มากขึน้ บริษทั อตุ สาหกรรมนมไทย จากัด ตรามะลิ เลง็ เห็นวา่ กลมุ่ มีศักยภาพทจ่ี ะขยาย
งานทางด้านการผลิตนมให้ได้ปริมาณเพียงพอและคุณภาพได้มาตรฐาน และบริษัทฯ ยินดีรับ
ซ้ือน้านมดิบจากกลุ่มแต่ต้องให้กลุ่มจดทะเบียนเป็นสหกรณ์โคนมก่อนเพราะต้องการทาธุรกิจ
กบั กล่มุ ท่มี ฐี านะเป็นนิติบคุ คลมากกว่าบคุ คลธรรมดา

ปี พ.ศ. 2535 กลุ่มเกษตรกรได้รวมตัวกันจัดต้ังเป็นสหกรณ์ และได้จดทะเบียนเป็น
สหกรณ์สหกรณ์โคนมวาริชภูมิ จากัด เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2535 มีสมาชิกแรกเร่ิม
194 ครอบครัว แบ่งเป็น 16 กลุ่ม มีโคนม 540 ตัว และมีหุ้นแรกตั้ง 19,400 บาท มีเขตการ
ดาเนินงานครอบคลุม 10 อาเภอ อาเภอวาริชภูมิ อาเภอกุดบาก อาเภอนิคมน้าอูน อาเภอ
สว่างแดนดิน อาเภอส่องดาว อาเภอพังโคน อาเภออากาศอานวย อาเภอวานรนิวาส อาเภอ
เจรญิ ศิลป์ และอาเภอพรรณนานิคม

ปี พ .ศ.2537 สหกรณ์ประสบปัญหาทางการเงิน ไม่มีเงินพอท่ีจะจ่ายให้กับสมาชิก
ตวั แทนกลมุ่ จึงเขา้ เฝา้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารีเพือ่ ขอความชว่ ยเหลือ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระราชทานความช่วยเหลือต่อเนื่อง
ดังน้ี

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 88 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

• พระราชทานเงินทุนจากมูลนิธิชัยพัฒนาจานวน 1,200,000บาท ให้สหกรณ์กู้ยืม
ดอกเบ้ียต่าผ่อนระยะยาว สหกรณ์ได้นามาก่อสร้างอาคารรับนมดิบ โกดังเก็บสินค้า
เคร่ืองมือตรวจสอบคุณภาพ ปรับปรุงขยายไฟฟ้า ซ้ือท่ีดินเพิ่มเติมโดยดาเนินการแลว้
เสร็จเม่ือ ปี พ.ศ.2537

• พระราชทานถังเก็บน้านมดิบขนาดบรรจุ 10,000 ลิตร (10 ตัน) พร้อมระบบทาความ
เย็น แบบแผ่นแลกเปล่ียนความเย็นมูลค่า2,568,000 บาท ดาเนินการแล้วเสร็จ
ปลายปี พ.ศ.2538

• พระราชทานทุนการศึกษาให้แก่บุตรสมาชิก 3 คน เม่ือเรียนจบแล้วได้มาปฏิบัติงานที่
สหกรณ์

• ทรงมีพระราชดาริให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องช่วยเหลือเงินทุนเพ่ือจัดซื้อเครื่องจักรผลิต
นมพาสเจอร์ไรส์ โดยสหกรณไ์ ดร้ บั งบใหเ้ ปล่าจากงบพัฒนาจังหวัดจานวน 1,309,000
บาท และงบกองทนุ รวมเพ่ือชว่ ยเหลอื เกษตรกร ผ่านกรมสง่ เสริมสหกรณใ์ ห้กยู้ มื ไม่คิด
ดอกเบี้ยจานวน 4,000,000บาท ได้จัดซื้อเคร่ืองจักรผลิตนมพาสเจอร์ไรส์กาลังการ
ผลิต 500 ลติ ร ชัว่ โมง ดาเนนิ การแลว้ เสรจ็ ในเดอื น พฤศจิกายน /พ.ศ. 2538

• พระราชทานเงินทุนเพื่อใช้หมุนเวียนจานวน 1,090,000 บาท จากเงินท่ีมีผู้บริจาค
ทูลเกล้าถวายเม่ือคร้ังเสด็จเปิดโรงงานผลิตอาหารสัตว์สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี
เมอื่ วันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2538

ต่อมาช่วงปี พ .ศ.2549-2551 สหกรณ์มีข้อจากัดคือมีรถขนส่งแค่ 2 คัน และน้านม
ดิบเร่ิมล้นตลาดขายน้านมดิบไม่หมด สหกรณ์และกลุ่มผู้เลี้ยงโคนมรวมตัวกันประท้วงโดยการ
เทน้านมดิบท้ิงเป็นเวลากว่า 2 ปี และเพ่ือแก้ปัญหานมล้นตลาด ปี พ.ศ. 2551 สหกรณ์จึงขอ
กู้เงินมาจากสหกรณ์ออมทรัพย์จังหวัดสกลนครเพื่อมาสร้างโรงงานนม UHT และปี พ.ศ.
2552-2553 สหกรณ์ขอกู้เงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์
การเกษตร (ธกส.) จานวน 47 ล้าน สาหรบั เปน็ เงนิ ทุนหมนุ เวยี น และ จานวน 50 ลา้ น สาหรบั
ใชใ้ นการผลติ ซ่ึงผลจากการทาโรงงานผลติ นม UHT

ปี พ.ศ. 2554 สร้างโรงงาน UHT แล้วเสร็จ และในวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2554
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินประกอบพิธี เปิด
โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์นมของสหกรณ์โคนมวาริชภูมิ จากัด และทรงมีรับสั่งให้มีการจัดการ
ฟาร์มโดยเฉพาะวัสดุอุปกรณ์ ดูแลเร่ืองความสะอาดอุปกรณ์ท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐานและเน้น
คุณภาพน้านมดบิ ให้มีการบาบดั นา้ เสยี หรือกลิ่น และใหส้ หกรณส์ ง่ เสริมลูกหลานของสมาชิกผู้
เล้ียงโคนมได้กลับมาทางานทส่ี หกรณ์อยา่ งต่อเนื่องต่อไป ซึ่งการดาเนินงานโรงงาน UHT ทาให้

สานักงานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 89 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพนื้ ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สหกรณ์และเกษตรท่ีเป็นสมาชิกมีรายได้เพ่ิมมากข้ึน จากเดิมขายได้สัปดาห์ละ 1 ล้านบาท
เพิ่มเปน็ สัปดาหล์ ะ 2.4 ล้านบาท ซึง่ ตลาดสว่ นใหญค่ อื นมโรงเรยี น

ช่วงปี พ .ศ.2556-2557 สหกรณเ์ ร่ิมขยายตลาดมาทานมพาณิชย์ โดยในปี พ.ศ. 2556
เร่ิมขายร้านค้าทั่วไปในพ้ืนที่จังหวัดสกลนครแตไ่ ม่ประสบความสาเร็จเท่าท่ีควร และเป็นโจทย์
ท่ียงั แก้ไมต่ กว่าทาไมคนสกลไม่กินนมสกล ตอ่ มาสหกรณไ์ ดเ้ พ่มิ ช่องทางใหมใ่ นการทาตลาดนม
พาณิชย์ โดยส่งขายห้างสรรพสินค้า เริ่มมีการออกแบบโลโก้และสร้างแบรนด์ พร้อมท้ังขึ้น
ทะเบียนเป็น OTOP 5 ดาว ใน ปี พ.ศ.2556 และ ปี พ .ศ.2557 กลุ่มเซ็นทรัลมาเป็น retail
store ที่จงั หวัดสกลนคร และตดิ ตอ่ สนิ ค้า OTOP 5 ดาว ใหน้ ามาขายที่ retail store สหกรณ์
จงึ สนใจและตดิ ต่อเพื่อนานม UHT เขา้ ไปขาย ปี พ.ศ.2558 สหกรณ์ติดต่อเพ่ือนานม UHT เขา้
ไปขายใน Big C

ปี พ .ศ.2559 สหกรณ์ขยายตลาดโดยการเข้าสู่ช่องทางออนไลน์โดยการเปิดเพสขาย
นม UHT ทาง facebook โดยยอดขายจากช่องทางออนไลน์เดือนละประมาณ 20,000 บาท
และยอดขายโดยรวมเพิ่มขึ้นหลังจากในหลวงรชั กาลท่ี 9 สวรรคต โดยยอดขายเพิ่มขน้ึ จาก 20
ล้าน มาเป็น 53 ลา้ น และลา่ สุดยอกขายอย่ทู ่ี 109 ล้านบาท

ปัจจุบัน สมาชิกสามารถผลิตน้านมดิบเพ่ือส่งขายสหกรณ์ได้อย่างสม่าเสมอแต่เม่ือ
หลายเดือนก่อนสหกรณ์โดนตัดโควตานมโรงเรียน 25% เน่ืองจากน้านมดิบไม่ได้มาตรฐาน
ตามท่กี าหนด จงึ ยงั ต้องมีการพฒั นาในเร่ืองคุณภาพน้านมดิบและผลิตภณั ฑ์แปรรูป (กรรมการ
สหกรณ์ 14 คน ฟารม์ โคนมไมผ่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน 9 คน)

2.2 การบริหารเงินทุน ต้นทุน และค่าใช้จา่ ย
สหกรณ์ได้รับความช่วยเหลือด้านเงินทุนมาอย่างต่อเนื่อง ในปี พ .ศ.2537 ที่สหกรณ์

ประสบปัญหาทางการเงิน ไม่มีเงินพอท่ีจะจ่ายให้กับสมาชิก ตัวแทนกลุ่มจึงเข้าเฝ้าสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเพื่อขอความช่วยเหลือ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระราชทานเงินทุนจากมูลนิธิชัยพัฒนาจานวน
1,200,000บาท ให้สหกรณ์กู้ยืมดอกเบ้ียต่าผ่อนระยะยาว เพ่ือก่อสร้างอาคารรับนมดิบ โกดัง
เก็บสินค้าเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ พระราชทานถังเก็บน้านมดิบขนาดบรรจุ 10,000 ลิตร
(10 ตัน) พร้อมระบบทาความเย็น แบบแผ่นแลกเปลยี่ นความเย็นมูลค่า 2,568,000 บาท และ
ในปี พ.ศ. 2538 พระราชทานเงนิ ทนุ เพอ่ื ใชห้ มนุ เวยี นจานวน 1,090,000 บาท

นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2538 หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้ช่วยเหลือเงินทุนเพ่ือจัดซื้อ
เคร่ืองจักรผลิตนมพาสเจอร์ไรส์ โดยสหกรณ์ได้รับงบให้เปล่าจากงบพัฒนาจังหวัดจานวน
1,309,000 บาท และงบกองทุนรวมเพ่ือช่วยเหลือเกษตรกร ผ่านกรมส่งเสริมสหกรณ์ให้กู้ยืม

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 90 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพืน้ ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ไม่คิดดอกเบ้ียจานวน 4,000,000บาท ได้จัดซื้อเครื่องจักรผลิตนมพาสเจอร์ไรส์กาลังการผลิต
500 ลติ ร/ช่วั โมง

พ.ศ. 2552-2553 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้
สนับสนุนเงนิ กู้ จานวน 47 ลา้ น สาหรบั เปน็ เงินทุนหมุนเวียน และ จานวน 50 ลา้ น สาหรบั ใช้
ในการผลติ ซ่งึ ผลจากการทาโรงงานผลิตนม UHT

ชว่ ง ปี พ .ศ.2558-2559 สหกรณ์เร่ิมประสบปัญหาขาดทุนจากเร่ืองคา่ เส่อื มราคาและ
การขยายตลาดเข้า modern trade เนื่องจากสหกรณไ์ ม่ได้คดิ ต้นทุนสนิ ค้าและไม่มีความรู้และ
ความเข้าใจในรายละเอียดสัญญาการขายใน modern trade ซ่ึงต้องมีการหักค่าใช้จ่ายจาก
modern trade หลายรายการ อาทิ ค่ากระจายสินค้า ค่าทาโปรโมชั่น ค่าโบว์ชัวร์ เป็นต้น ทา
ให้ถึงแม้สามารถเข้าไปขายใน modern trade ได้แต่ก็ต้องขาดทุนเนื่องจากราคาขายต่ากว่า
ต้นทุนท้ังหมดที่สหกรณ์ต้องจ่าย ตัวอย่างเช่น ต้นทุนรวมของนมต่อกล่องอยู่ที่ 8.36 บาทต่อ
กล่อง (มาจาก ต้นทุนผลิต 6.8 บาท ต้นทุนค่าขนส่ง 26 สตางค์ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ท่ีทาง TOP
Supermarket หักอีก 12.75% คิดเป็น 1.12 บาท และค่าใช้จ่ายอื่นๆ 0.38 บาท) แต่สหกรณ์
ขายให้ TOP Supermarket ในราคา 7.3 บาทต่อกล่อง และขายให้ Big C ในราคา 6.9 บาท
ต่อกล่อง เป็นต้น

ปี พ .ศ.2561 เน่ืองจากสหกรณ์ขาดทุนจากการขายนมให้กับ modern trade จึง
กลับมาคิดต้นทุนนมต่อกล่องและได้เข้าไปติดต่อเจรจาเพ่ือขอปรับราคาขายให้กับ TOP
Supermarket จาก 7.3 บาทต่อกล่อง เป็น 8.8 บาทต่อกล่อง และ Big C จาก 6.9 บาทต่อ
กล่อง เป็น 8.8 บาทต่อกล่อง (ต้นทุนรวม 8.36 บาทต่อกล่อง) ราคาขายในช่องทางออนไลน์
ขายกล่องละ 7.50 บาท (ไมร่ วมคา่ ขนสง่ )

2.3 บทบาทสมาชิก กรรมการ และฝา่ ยจัดการ
ในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ ผ้นู าของกลุ่มสว่ นใหญเ่ ปน็ คนท่ีชาวบ้านให้ความเคารพ

นับถือและเป็นคนมาจากตระกูลด้ังเดิมของพื้นที่คือตระกูลแพงศรี กรรมการส่วนใหญ่เป็น
เกษตรกรไม่ค่อยมีความรู้เรื่องการบริหารจัดการและการเงินการบัญชี การตัดสินใจและ
ดาเนนิ การสว่ นใหญ่จะนาโดยฝ่ายจัดการเปน็ หลัก

กรรมการส่วนใหญ่จะเป็นคนกลุ่มเดิมๆ เนื่องจากสมาชิกส่วนใหญ่ให้ความสาคัญกับ
การทางานในฟาร์ม และไม่อยากเข้าไปเป็นกรรมการ สมาชิกส่วนใหญ่เข้าใจว่าหน้าท่ีของ
สมาชิกคือการเลีย้ งโคใหด้ แี ละนาน้านมดิบมาขายให้กับสหกรณ์

ผู้จัดการสหกรณ์เติบโตมาจากการเป็นเจ้าหน้าที่ในสหกรณ์ ฝ่ายจัดการของสหกรณ์
เน้นการให้ความรู้กับสมาชิกในเร่ืองการพัฒนาเพ่ือสนับสนุนธุรกิจของสหกรณ์ เช่น การให้

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 91 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพ้นื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ความรู้ในเร่ืองมาตรฐานฟาร์ม วิธีการเลี้ยงโคนม และการผลิตอาหารสัตว์ เป็นต้น นอกจากน้ี
ในส่วนของกระบวนการรับสมาชิกก็จะสอบทานเฉพาะด้านความพร้อมในการเลี้ยงโคนม เช่น
จานวนโค และพ้ืนที่ในการเล้ียง เป็นต้น และให้ความรู้พื้นฐานแก่สมาชิกในเรื่องของการเลี้ยง
โคนมและมาตรฐานฟาร์ม

กรณศี ึกษาที่ 2 : สหกรณ์การเกษตรหมูบ่ า้ นจฬุ า รณ์พฒั นา 10 จากดั
1. ขอ้ มลู ทวั่ ปของสหกรณ์

❖ ขอ้ มลู พนื้ ฐาน
o จดทะเบยี นสหกรณ์ เมื่อวนั ที่ 20 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2535 ระยะเวลา 26 ปี
o จานวนสมาชกิ 141 คน อายุเฉล่ยี 70 ปี (ขอ้ มูล ณ วันที่ 1 มกราคม 2561)
o อาชพี หลักของสมาชกิ คือ ทาสวนยางและสวนผลไม้

❖ วตั ถุประสงคห์ ลักของการจดั ตงั้ สหกรณ์
เพอื่ ส่งเสรมิ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสงั คมของสมาชกิ

❖ ุรกิจของสหกรณ์
ธุรกิจรวบรวมนา้ ยางพารา

❖ สถานะทางการเงิน จากงบกาไร (ขาดทนุ ) ณ วันท่ี 30 มถิ ุนายน 2560

สนิ ทรพั ย์หมนุ เวียน 3,005,303.34 บาท

สินทรพั ย์ไม่หมุนเวียน 341,413.70 บาท

รวมสินทรพั ย์ 3,346,717.04 บาท

หนี้สินหมุนเวียน 21,433.00 บาท

หนสี้ ินไมห่ มุนเวียน 322,567.18 บาท

รวมหน้สี ิน 344,000.18 บาท

ทุนเรือนหุน้ 564,350.00 บาท

ทุนสารอง 1,799,580.21 บาท

ทนุ สะสมตามข้อบังคบั ระเบียบ และอืน่ ๆ 636,013.60 บาท

กาไรสุทธปิ ระจาปี 2,773.05 บาท

ทนุ สหกรณ์ 3,002,716.86 บาท

รวมหน้ีสินและทุนของสหกรณ์ 3,346,717.04 บาท

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 92 -


Click to View FlipBook Version