The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:38:52

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพัฒนาพ้นื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพน้ื ที่

บนั ดแตล่ ะข้นั มีข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ ขปญั หาอยา่ ง รบ้าง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปัญหา จานวน คิดเป็น
ผตู้ อบ %
ขัน้ ท่ี 1 ตรวจสอบความพรอ้ มของคนในพืน้ ท่ี
S1.1 สาเหตจุ าเป็นทตี่ อ้ งรวมกลมุ่ 8 14%
S1.1-1 สารวจความต้องการท่ีแท้จริงในการรวมกลุ่มก่อนการจัดตั้ง 4 7%

สหกรณ์
S1.1-2 คัดเลอื กสมาชิกเข้ารวมกลุ่มท่ีมาจากสมัครใจอยา่ งแทจ้ รงิ

S1.1-3 ทาความเข้าใจและปลูกฝังใหค้ นในกลมุ่ ตระหนกั ถึงความจาเป็น 10 18%
ความสาคญั และประโยชนใ์ นการรวมกลุ่ม 1 2%

S1.1-4 ให้ทดลองรวมกลุ่มสหกรณ์ก่อน 1-2 ปี และหลังจากนั้นก็ทา 5 9%
การประเมินว่ามคี วามพร้อมทจ่ี ะเปน็ สหกรณ์อยู่หรอื ไม่ 1 2%
3 5%
S1.2 ความสามารถผนู้ าในการขบั เคลอ่ื นกลุ่มอยา่ งต่อเน่อื ง 1 2%
S1.2-1 คัดเลือกผู้นาท่ีมีความพร้อมและมีจิตอาสาในการปฏิบัติหน้าท่ี

อยา่ งแท้จรงิ
S1.2-2 คัดเลือกผู้นาที่มีประสบการณใ์ นการบรหิ ารงานแบบสหกรณ์

S1.2-3 สรรหาผู้นาที่มีศักยภาพในการรวมสมาชิกและเชื่อมโยงคนใน
กลมุ่ ได้

S1.2-4 สรรหาผนู้ าทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ในการขับเคลื่อนกลุ่มไปใน
ทิศทางท่ีถูกตอ้ ง

กษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

79 -

รหสั ประเดน็ ปัญหา หรอื พฒั นายาก จานวน คดิ เป็น
ผตู้ อบ %

B1.2-5 ผู้นาขาดความต้ังใจ เสียสละ ในการทางานเพ่ือสหกรณ์อย่าง 2 4%

จริงใจ

B1.3 ความสามารถและความพรอ้ มของสมาชกิ 2 4%
B1.3-1 สมาชิกขาดความศรทั ธาในตวั ผนู้ า
4%
B1.3-2 สมาชกิ กลุ่มขาดคนร่นุ ใหมม่ าร่วมกล่มุ 2 2%
B1.3-3 สมาชกิ ไมก่ ลา้ เปลยี่ นแปลง 1
20%
B1.3-4 สมาชิกไม่มีความรู้ ความพร้อม และความเข้าใจในกา 11
รวมกลุ่ม 3 5%

B1.3-5 สมาชิกยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ทางการเงินข้ัน
พื้นฐาน ไม่รตู้ ้นทุนการผลติ ของครัวเรือน

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึก

- 18

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพื้นท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัส ประเดน็ ปัญหา หรือ พัฒนายาก จานวน คดิ เป็น
S1.2-5 สรา้ งผูน้ ารนุ่ ใหม่ ผตู้ อบ %

5 9%

S1.2-6 สร้างกระบวนการหรือรูปแบบการพัฒนาท่ีทาให้เกิดความ 1 2%
พร้อมในการรวมกลุ่ม และความชัดเจนในกฎ/กติกาของการ
รวมกลมุ่ 1 2%
2 4%
S1.2-7 ปรับแนวคดิ ของผู้นาในการพูดคุยเพื่อให้เห็นความสาคัญในการ
จัดต้ังสหกรณ์และบทบาทของผู้นาสหกรณ์ 2 4%
2 4%
S1.2-8 จัดอบรมให้ความรู้คณะทางานเพื่อให้เข้าใจแนวทางในการ 2 4%
ดาเนนิ งานทถ่ี ูกตอ้ งไปในทศิ ทางเดยี วกนั 4 7%
3 5%
S1.3 ความสามารถและความพร้อมของสมาชกิ
S1.3-1 คัดเลือกและตรวจสอบสมาชิกที่มีปัญหาอย่างแท้จริงเข้าร่วม

กลมุ่

S1.3-2 จดั ประชมุ กล่มุ ยอ่ ยเพอื่ สร้างความศรัทธาในตัวผูน้ าแกส่ มาชิก
S1.3-3 ปรบั เปลยี่ นแนวคิดสมาชกิ ในกลุ่ม โดยใชต้ ัวอย่างจากสมาชิกใน

กลมุ่ ทผ่ี า่ นการนาไปปฏิบัตแิ ล้วประสบความสาเรจ็

S1.3-4 จัดกิจกรรมเตรยี มความพร้อม สร้างความเข้าใจในการรวมกลุ่ม
รวมถึงแนวทางในการดาเนนิ งานของกลุ่มให้กบั สมาชกิ

S1.3-5 ส่งเสริมให้สมาชิกจัดทาบัญชีครัวเรือน สร้างวินัยในการออม
และการใช้เงนิ

กษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

80 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ข้ันที่ 2 สรา้ งความเขา้ ใจในสิท ิ หนา้ ที่ และจดั สรรประโยชนใ์ หเ้ ปน็ รรม
ในข้ันที่ 2 สร้างความเข้าใจในสิทธิ หน้าท่ี และจัดสรรประโยชน์ให้เป็นธรรม ได้แบ่งประเด็นท่ี

เป็นปัญหา/พัฒนายาก 15 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 18 ประเด็น โดยแบ่งเป็น 4
กลมุ่ ย่อย ดงั น้ี

1. กลุ่มย่อย B2.1 และ S2.1 สิทธิและหน้าที่ของผู้นา/กรรมการ ประกอบด้วยประเด็นที่เป็น
ปัญหา/พัฒนายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปญั หาอยา่ งละ 5 ประเดน็

2. กลุ่มย่อย B2.2 และ S2.2 สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกประกอบด้วยประเด็นที่เป็นปัญหา/
พัฒนายาก 4 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 2 ประเดน็

3. กล่มุ ย่อย B2.3 และ S2.3 สทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของฝ่ายบริหาร/เจา้ หน้าที่ประกอบด้วยประเด็น
ทเ่ี ป็นปญั หา/พฒั นายาก 4 ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 5 ประเดน็

4. กลมุ่ ยอ่ ย B2.4 และ S2.4 การจดั สรรผลประโยชน์และพฒั นาสมาชกิ ประกอบด้วยประเด็น
ที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 2 ประเด็น และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปญั หา 6 ประเด็น

ในภาพรวมของข้ันท่ี 2 สร้างความเข้าใจในสิทธิ หน้าท่ี และการจัดสรรประโยชน์ให้เป็นธรรม
ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ของผู้เข้าร่วมอบรม
ท้งั หมด โดยผ้ตู อบแบบสารวจได้ใหค้ วามคิดเห็นเกย่ี วกับประเด็นที่เป็นปญั หา/พัฒนายาก ไว้ทง้ั หมด 15
ประเด็น ซึ่ง 3 อันดับแรกท่ีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็น ได้แก่ อันดับแรกคือ B2.2-4
สมาชิกยังไม่เข้าใจเรื่องสิทธิ หน้าท่ีของตนเองและของกลุ่ม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นใน
ประเด็นน้ีจานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 71 จากจานวนผูต้ อบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน รองลงมาคือ
B2.3-4 ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ียังไม่เข้าใจเรื่องสิทธิ หน้าท่ีของตนเองและของกลุ่ม มีผู้ตอบแบบสารวจ
ให้ความคดิ เหน็ ในประเด็นนี้จานวน 27 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 48 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 56
คน และ B2.1-5 ผู้นา/กรรมการยังไม่เข้าใจเร่ืองสิทธิ หน้าท่ีของตนเองและของกลุ่ม มีผู้ตอบแบบ
สารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ีจานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 46 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจ
ทง้ั หมด 56 คน ตามลาดับ

ซ่ึงจากประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แกไ้ ขปัญหาไว้ท้ังหมด 18 ประเด็น โดยประเดน็ ท่สี าคัญ 3 อันดับแรก ไดแ้ ก่ อนั ดบั ท่ี 1 คือ S2.2-1 จัด
อบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึกแก่สมาชิกในเร่ืองสิทธิของตนเองและกลุ่มอย่าง
ต่อเนื่อง มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นน้ี จานวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 66 จากจานวน
ผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน รองลงมา คือ S2.1-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูก
จติ สานึกแก่ผู้นา/กรรมการ ในเรอ่ื งสิทธิ หนา้ ทขี่ องตนเองและกลุ่มอย่างต่อเน่ือง มผี ตู้ อบแบบสารวจให้
ข้อเสนอแนะประเด็นน้ี จานวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 55 และอันดับที่ 3 คือ S2.3-1 จัดอบรมให้
ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึกแก่ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ี ในเรื่องสิทธิ หน้าที่ของตนเอง

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 181 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพนื้ ที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

และกล่มอยา่ งต่อเน่ือง โดยมีผู้ตอบแบบสารวจใหข้ ้อเสนอแนะประเดน็ น้ี จานวน 26 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
46 จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจทง้ั หมด 56 คน และประเดน็ อ่ืนมผี ู้ตอบแบบสารวจท่ีมสี ัดส่วนลดหล่ัน
กนั ไป ดังตารางต่อไปนี้

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 182 -

ตารางที่ 4.3 ประเด็นท่ีเปน็ ปัญหา/พัฒนายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขนั้ ที่

บัน ดแต่ละขัน้ มีประเดน็ ใดทเี่ ป็นปัญหา/ พฒั นายาก อะ รบา้ ง

รหัส ประเดน็ ปญั หา หรอื พฒั นายาก จานวน คิดเป็น
ผูต้ อบ %

ขน้ั ท่ี 2 สร้างความเขา้ ใจในสทิ แิ ละหน้าท่แี ละจดั สรรประโยชน์ให้เป็น รรม 4%

B2.1 สิท แิ ละหนา้ ทีข่ องผู้นา/ กรรมการ

B2.1-1 ผนู้ า/กรรมการ ไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎข้อบงั คับของกลุ่ม 2

B2.1-2 ความไม่โปรง่ ใสในการทางานของผู้นา/ กรรมการ 2 4%
B2.1-3 ผู้นา/ กรรมการ เป็นผู้สูงอายุมีมุมมองในการบริหารกลุ่มท่ีไม่ 1 2%
2 4%
ทนั สมัย 26 46%
B2.1-4 ผู้นา/กรรมการทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกับฝ่าย
2 4%
บริหาร/เจ้าหนา้ ท่ี และสมาชิก 2%
B2.1-5 ผูน้ า/กรรมการ ยงั ไม่เข้าใจเรอื่ งสทิ ธแิ ละหนา้ ทขี่ องตนเองและของ

กลุ่ม
B2.2 สิท แิ ละหน้าที่ของสมาชกิ
B2.2-1 สมาชิกไมป่ ฏิบตั ติ ามกฎขอ้ บงั คบั ของกล่มุ

B2.2-2 สมาชิกขาดการมสี ่วนร่วมในการตดิ ตามการทางานของกลุ่ม 1

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึก

- 18

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพนื้ ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2 สร้างความเขา้ ใจในสิทธิ หนา้ ท่ี และการจัดสรรประโยชนใ์ ห้เป็นธรรม

บนั ดแตล่ ะข้นั มขี อ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ ขปัญหาอย่าง รบา้ ง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปัญหา จานวน คดิ เป็น
ผูต้ อบ %

ข้ันที่ 2 สร้างความเข้าใจในสทิ ิและหน้าท่ีและจัดสรรประโยชน์ใหเ้ ปน็ รรม 55%

S2.1 สทิ ิและหน้าทขี่ องผนู้ า/ กรรมการ 2%
5%
S2.1-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึก แก่ 31 2%
2%
ผู้นา/กรรมการ ในเรื่องสิทธิ หน้าท่ี ของตนเองและกลุ่มอย่าง
66%
ต่อเนอ่ื ง 2%

S2.1-2 จัดอบรมให้ความรเู้ ร่ืองหลกั ธรรมภิบาลแก่ผู้นา/กรรมการ 1

S2.1-3 ส่งเสริมให้ผู้นา/คณะกรรมการ เลือกใช้กระบวนการในการ 3

ถา่ ยทอดความร้ทู ีเ่ หมาะสมแก่สมาชกิ

S2.1-4 ผลักดันให้ผู้นา/กรรมการ ปฏิบัติตามกฎและหน้าท่ีที่ถูกต้องให้ 1

เป็นแบบอย่างทดี่ เี พอ่ื สร้างความน่าเช่ือถอื ให้กบั สมาชิก

S2.1-5 สร้างผู้นารุ่นใหม่และควรมีการถ่ายทอดอุดมการณ์ด่ังเดิมกับ 1

ผู้นารนุ่ ใหม่

S2.2 สทิ แิ ละหน้าทีข่ องสมาชิก

S2.2-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึก แก่ 37

สมาชิกในเร่อื งสิทธิ หนา้ ที่ ของตนเองและกลุ่มอยา่ งตอ่ เนื่อง

S2.2-2 ทาความเข้าใจกับสมาชิกใหเ้ ห็นถงึ ประโยชน์ของการรวมกลมุ่ 1

ทาธรุ กิจ

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

83 -

รหสั ประเดน็ ปญั หา หรอื พฒั นายาก จานวน คิดเปน็
ผู้ตอบ %

B2.2-3 สมาชิกทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกับผู้นา/กรรมการ 1 2%

และฝา่ ยบริหาร/เจา้ หน้าที่

B2.2-4 สมาชกิ ยงั ไม่เขา้ ใจเรอื่ งสิทธิและหน้าทขี่ องตนเองและของกลุม่ 40 71%

B2.3 สทิ ิและหน้าท่ขี องฝา่ ยบรหิ าร/ เจา้ หนา้ ท่ี

B2.3-1 ฝ่ายบรหิ าร/เจ้าหนา้ ท่ี ไม่ปฏบิ ตั ิตามกฎขอ้ บังคับของกลุ่ม 2 4%

B2.3-2 ความไมโ่ ปรง่ ใสในการทางานของฝา่ ยบริหาร/ เจา้ หนา้ ท่ี 2 4%
4%
B2.3-3 ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ี ทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกับ 2 48%
ผนู้ า/กรรมการ และสมาชิก 27

B2.3-4 ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ ยังไม่เข้าใจเรื่องสิทธิและหน้าท่ีของตนเอง
และของกลุ่ม

B2.4 การจัดสรรผลประโยชนแ์ ละพัฒนาสมาชกิ 3 5%
B2.4-1 การจดั สรรผลประโยชน์ไมช่ ดั เจน 1 2%

B2.4-2 การพฒั นาสมาชิกไมช่ ัดเจน

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 18

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพัฒนาพืน้ ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปญั หา จานวน คดิ เป็น
ผูต้ อบ %

S2.3 สิท ิและหน้าท่ีของฝ่ายบริหาร/ เจา้ หน้าที่ 26 46%

S2.3-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลกู จติ สานึก แก่ฝา่ ย 1 2%
บรหิ าร/เจ้าหนา้ ที่ ในเรอื่ งสิทธิ หนา้ ที่ ของตนเองและกล่มุ อยา่ ง 2 4%
ต่อเนอื่ ง 1 2%
1 2%
S2.3-2 จัดอบรมให้ความรู้เร่ืองหลักธรรมภิบาลแก่ฝ่ายบริหาร/
เจ้าหน้าท่ี 2 4%
1 2%
S2.3-3 จัดฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อนาไปสู่การพัฒนา 2 4%
ศักยภาพบุคลากร

S2.3-4 ส่งเสริมให้ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ี เลือกใช้กระบวนการในการ
ถา่ ยทอดความรทู้ ่เี หมาะสมแก่สมาชกิ

S2.3-5 ผลักดันให้ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติตามกฎและหน้าที่ที่
ถูกต้องให้เป็นแบบอย่างที่ดีเพื่อสร้างความน่าเช่ือถือให้กับ
สมาชิก

S2.4 การจัดสรรผลประโยชนแ์ ละพัฒนาสมาชกิ

S2.4-1 จัดกิจกรรมเพ่ือสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสรร
ผลประโยชนท์ ีจ่ ะได้รบั

S2.4-2 จดั สรรเงินทนุ เพอ่ื การพัฒนาสมาชกิ

S2.4-3 จัดทาแผนการพฒั นาความรู้เรอื่ งสหกรณใ์ ห้กบั สมาชกิ ควบคู่กับ
การให้ความรขู้ องกรมสง่ เสรมิ

กษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

84 -

รหสั ประเด็นปัญหา หรือ พฒั นายาก จานวน คิดเป็น
ผ้ตู อบ %

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 18

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพ้ืนที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปัญหา จานวน คิดเป็น
ผู้ตอบ %

S2.4-4 ส่งเสริมให้มีการสบื ทอดงานสหกรณจ์ ากรุน่ สรู่ ุ่นเพื่อความยั่งยนื 1 2%

ด้วยการส่งเสริมรายได้จากอาชีพใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับบริบท

ของทอ้ งถิ่น/ ภมู ิประเทศ

S2.4-5 จัดกิจกรรมศึกษาดูงานกลุ่มทปี่ ระสบความสาเร็จ 1 2%

S2.4-6 เพิ่มช่องทางให้แสดงความคิดเห็นที่หลากหลายช่องทางเพ่ือ 1 2%

ความสะดวก

กษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

85 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพ้นื ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ข้นั ท่ี 3 พัฒนาโมเดล ุรกิจและระบบการจัดการกลุ่มให้ทันสมัย
ในข้ันท่ี 3 พัฒนาโมเดลธุรกิจและระบบการจัดการกลุ่มให้ทันสมัย ได้แบ่งประเด็นที่เป็น

ปัญหา/พัฒนายาก 12 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 19 ประเด็น โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม
ย่อย ดงั น้ี

1. กลุ่มย่อย B3.1 และ S3.1 โมเดลธุรกิจ ประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก 4
ประเด็นและข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 6 ประเดน็

2. กลุ่มย่อย B3.2 และ S3.2 กฎกติกาในการอยู่ร่วมกันประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/
พฒั นายาก 2 ประเด็น และขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปญั หา 3 ประเด็น

3. กลมุ่ ย่อย B3.3 และ S3.3 ระเบยี บบญั ชีการเงนิ ประกอบดว้ ยประเด็นท่เี ป็นปัญหา/พัฒนา
ยาก 3 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปญั หา 5 ประเดน็

4. กลุ่มย่อย B3.4 และ S3.4 ฐานข้อมูลและการรายงานผลประกอบด้วยประเด็นที่เป็น
ปญั หา/พฒั นายาก 1 ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหา 3 ประเด็น

5. กลุ่มย่อย B3.5 และ S3.5 การควบคุมภายในประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนา
ยากและข้อเสนอแนะในการแก้ไขปญั หาอยา่ งละ 2 ประเด็นเทา่ กนั

ในภาพรวมของข้นั ท่ี 3 พฒั นาโมเดลธรุ กิจและระบบการจดั การกลุ่มให้ทนั สมัย ผลการรวบรวม
แบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ของผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด โดยผู้ตอบ
แบบสารวจได้ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก ไว้ท้ังหมด 12 ประเด็น ซึ่ง 3
อันดับแรกท่ีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็น ได้แก่ อันดับแรกคือ B3.1-1 ขาดการจัดทา
โมเดลธุรกิจ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ีจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 20 จาก
จานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 56 คน รองลงมาคือ B3.1-3 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจัดการ
คณะกรรมการ) ขาดความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในการทาธุรกิจ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความ
คดิ เห็นในประเด็นนจ้ี านวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16 จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน และ
อันดับท่ี 3 คือ B3.3-2 ไม่มีระบบบัญชีและข้อมูลท่ีเพียงพอสาหรับการบริหารและ B3.4-1 ไม่มีการ
อัพเดทฐานข้อมูลและการจัดทารายงาน มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ีจานวน 8 คน
เท่ากัน คดิ เป็นร้อยละ 14 จากจานวนผ้ตู อบแบบสารวจทัง้ หมด 56 คน

ซ่ึงจากประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปัญหาไว้ทั้งหมด 19 ประเด็น โดยประเด็นที่สาคัญ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับท่ี 1 คือ S3.1-1 ให้
ความรู้เกี่ยวกับการทาธุรกิจ การบริหารธุรกิจ การจัดทาแผนธุรกิจ และช้ีให้เห็นถึงประโยชน์ท่ีจะไดร้ ับ
จากการพัฒนาธุรกิจ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นนี้ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 16
จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน อันดับที่ 2 คือ S3.1-2 จัดหาผู้ที่มีความเช่ียวชาญและ
ประสบการณใ์ นการสร้างโมเดลธรุ กิจมาชว่ ยให้คาปรึกษาด้านตา่ งๆ เชน่ การตลาด การผลติ มาตรฐาน

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 186 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพ้ืนทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

การผลิต การสร้างแบรนด์ การเพิ่มผลผลิต การแปรรูป เป็นต้น แก่บุคลากรในกลุ่ม รวมถึง S3.1-3
ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการให้ตรงกับความต้องการของตลาด และ S3.5-2 สรรหาผู้ตรวจสอบ
กิจการและผลักดันให้ผู้ตรวจสอบกิจการต้องควบคุมตรวจสอบอย่างจริงจัง มีผู้ตอบแบบสารวจให้
ข้อเสนอแนะใน 3 ประเด็นนี้จานวน 7 คน เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 13 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจ
ทั้งหมด 56 คน อันดับที่ 3 คือ S3.4-1 จัดทาฐานข้อมูลและการรายงานผลให้อยู่ในรูปแบบสารสนเทศ
เพ่ือง่ายต้องการนามาใช้ตัดสินใจ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 11
จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจทง้ั หมด 56 คน และประเด็นอ่ืนมีผู้ตอบแบบสารวจท่ีมีสดั ส่วนลดหลัน่ กนั
ไป ดังตารางต่อไปนี้

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 187 -

ตารางที่ 4.4 ประเดน็ ทเี่ ปน็ ปัญหา/พฒั นายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขนั้ ท่ี

บนั ดแต่ละขัน้ มีประเดน็ ใดท่เี ปน็ ปญั หา/ พฒั นายาก อะ รบ้าง

รหสั ประเดน็ ปัญหา หรอื พัฒนายาก จานวน คดิ เป็น
ผูต้ อบ %
ขนั้ ท่ี 3 พัฒนาโมเดล ุรกจิ และระบบการจัดการกลมุ่ ให้ทันสมัย
B3.1 โมเดล รุ กจิ 11 20%
B3.1-1 ขาดการจดั ทาโมเดลธุรกจิ

B3.1-2 สมาชกิ กลมุ่ ยังไม่คอ่ ยยอมรบั ธรุ กจิ ในรูปแบบใหมๆ่ 4 7%

B3.1-3 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) ขาดความรู้ ความ 9 16%
เข้าใจ และประสบการณ์ในการทาธรุ กิจ 7 13%

B3.1-4 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) ขาดความรู้ด้าน
การตลาด การผลิต มาตรฐานการผลติ การสร้างแบรนด์ การเพ่มิ
ผลผลติ การแปรรูป

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 18

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพื้นท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

3 พัฒนาโมเดลธุรกจิ และระบบการจัดการกล่มุ ใหท้ ันสมัย

บัน ดแต่ละขน้ั มขี ้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ ขปัญหาอย่าง รบ้าง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปญั หา จานวน คดิ เป็น
ผ้ตู อบ %
ข้ันท่ี 3 พัฒนาโมเดล รุ กิจและระบบการจดั การกลุ่มใหท้ นั สมัย
S3.1 โมเดล ุรกิจ 9 16%
S3.1-1 ให้ความรเู้ กี่ยวกับการทาธรกุ จิ การบริหารธรุ กจิ การจดั ทาแผน 7 13%

ธุรกจิ และชีใ้ ห้เห็นถึงประโยชนท์ ่จี ะได้รับจากการพัฒนาธุรกจิ 7 13%
S3.1-2 จัดหาผู้ที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการสร้างโมเดล 3 5%

ธุรกิจมาช่วยให้คาปรึกษาด้านต่างๆ เช่น การตลาด การผลิต
มาตรฐานการผลิต การสร้างแบรนด์ การเพิ่มผลผลิต การแปร
รูป เป็นต้น แก่บุคลากรในกลุม่
S3.1-3 ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการให้ตรงกับความต้องการของ
ตลาด
S3.1-4 กาหนดมาตรฐานของสินค้าเพื่อเพ่มิ มูลคา่ ให้กับสนิ ค้า

S3.1-5 นาธุรกิจรูปแบบใหม่เข้ามาดาเนินธุรกิจของกลุ่ม และอธิบาย 2 4%
ชีแ้ จงใหท้ ุกคนทเี่ กยี่ วข้องนาไปปฏบิ ัติ 3 5%

S3.1-6 สร้างโมเดลธรุ กิจ จดั ทาแผนธุรกจิ และแผนบริหารความเสี่ยง

กษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

88 -

รหสั ประเดน็ ปัญหา หรอื พฒั นายาก จานวน คดิ เป็น
B3.2 กฎกติกาในการอยู่ร่วมกนั ผู้ตอบ %
B3.2-1 ผูถ้ ือกฎมักแหกกฎ
1 2%
B3.2-2 สมาชิกมสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการกลุ่มน้อย
3 5%

B3.3 ระเบยี บบัญชีการเงิน 1 2%
B3.3-1 ไมม่ ีบคุ ลากรที่สามารถทาบัญชีได้ 8 14%
B3.3-2 ไมม่ ีระบบบญั ชแี ละข้อมลู ทเี่ พยี งพอสาหรับการบริหาร
2 4%
B3.3-3 ไม่มีการอพั เดทบญั ชีและสต๊อกสินค้าใหเ้ ป็นปัจจบุ นั

B3.4 ฐานขอ้ มูลและการรายงานผล 8 14%
B3.4-1 ไมม่ กี ารอัพเดทฐานขอ้ มูลและการจัดทารายงานผล

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 18

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพนื้ ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปัญหา จานวน คดิ เปน็
ผตู้ อบ %

S3.2 กฎกติกาในการอยรู่ ่วมกนั

S3.2-1 สร้างความเขา้ ใจถึงการมีส่วนร่วมในการทาธุรกจิ ให้แก่ทกุ คนใน 5 9%

กลมุ่ (ผู้นา ฝ่ายบรหิ าร สมาชกิ )

S3.2-2 กาหนดกฎระเบียบการอยู่ร่วมกันและมีบทลงโทษเมือ่ ทาผิดกฎ 1 2%

อยา่ งชัดเจน

S3.2-3 ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายร่วมกันวางแผนในการทาธุรกิจ การทา 2 4%

การตลาด

S3.3 ระเบยี บบัญชีการเงิน

S3.3-1 จัดหาเจา้ หน้าท่ีด้านบญั ชี 1 2%

S3.3-2 สร้างระบบบญั ชีบนแพตฟอรม์ เดยี วกันท้งั ประเทศ โดยแยกตาม 1 2%

ประเภทสหกรณ์

S3.3-3 ให้ความรู้ด้านการจัดทาบัญชีแก่ทุกคนในกลุ่ม และชี้แจงทา 4 7%

ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเลขทางบัญชีแก่สมาชิก รวมถึงส่งเสริม

ใหส้ มาชกิ จดั ทาบญั ชี

S3.3-4 สรา้ งจิตสานกึ ให้สหกรณ์เหน็ ถึงความสาคัญของระบบบญั ชีและ 2 4%

การจัดทาฐานขอ้ มูล

S3.3-5 ส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ีนาข้อมูลทางการเงินมาวิเคราะห์หา 1 2%

จดุ คุ้มทนุ

S3.4 ฐานข้อมูลและการรายงานผล

S3.4-1 จัดทาฐานข้อมูลและการรายงานผลใหอ้ ยู่ในรูปแบบสารสนเทศ 6 11%

เพ่อื ง่ายตอ้ งการนามาใช้ตดั สินใ

กษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

89 -

รหสั ประเด็นปญั หา หรือ พัฒนายาก จานวน คิดเป็น
ผู้ตอบ %

B3.5 การควบคมุ ายใน 7 13%
1 2%
B3.5-1 ไมม่ กี ารกาหนดรปู แบบการควบคุมภายใน เช่น วิธีการปอ้ งกันและ
การเรียนรจู้ ากขอ้ ผิดพลาดจากการดาเนนิ งาน

B3.5-2 การควบคุมภายในโดยครอบงาจากที่ไม่โปร่งใส หวังผลประโยชน์
ส่วนตนและพวกพอ้ ง

สานกั งานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรึก

- 19

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพ้ืนทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปญั หา จานวน คิดเป็น
ผู้ตอบ %

S3.4-2 อัพเดทฐานข้อมูลและการจัดทารายงานผลให้เป็นปัจจุบันอยู่ 1 2%

ตลอดเวลา

S3.4-3 จัดทารายงานผลเป็นรายไตรมาส 1 2%

S3.5 การควบคมุ ายใน

S3.5-1 สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้มีความโปร่งใส มีการชี้แจง อธิบาย 2 4%

ควบคุมเรือ่ งการเงนิ ใหส้ มาชกิ ทุกคนไดท้ ราบ

S3.5-2 สรรหาผ้ตู รวจสอบกจิ การและผลักดนั ให้ผ้ตู รวจสอบกจิ การต้อง 7 13%

ควบคมุ ตรวจสอบอย่างจริงจัง

กษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

90 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพนื้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ขัน้ ที่ 4 เพิ่มประสทิ ิ าพการผลติ และการขาย
ในข้ันที่ 4 เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและการขาย ได้แบ่งประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก 12

ประเดน็ และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปญั หา 14 ประเดน็ โดยแบ่งเป็น 3 กลุม่ ย่อย ดังนี้
1. กลุ่มยอ่ ย B4.1 และ S4.1 โมเดลธุรกจิ ประกอบด้วยประเดน็ ท่ีเปน็ ปัญหา/พฒั นายากและ
ข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหาอย่างละ 5 ประเดน็ เท่ากัน
2. กลุ่มย่อย B4.2 และ S4.2 กฎกติกาในการอยู่ร่วมกันประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/
พัฒนายาก 5 ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปญั หา 6 ประเด็น
3. กลุ่มย่อย B4.3 และ S4.3 ระเบยี บบญั ชีการเงินประกอบดว้ ยประเด็นทเี่ ปน็ ปัญหา/พัฒนา
ยาก 2 ประเด็น และขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปญั หา 3 ประเด็น
ในภาพรวมของข้ันที่ 4 เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและการขาย ผลการรวบรวมแบบสารวจ

พบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ของผู้เข้าร่วมอบรมท้ังหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจ
ได้ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก ไว้ท้ังหมด 12 ประเด็น ซึ่ง 3 อันดับแรกท่ี
ผตู้ อบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็น ได้แก่ อันดับท่ี 1 คือ B4.2-1 ขาดความร้ดู า้ นการผลิตสินค้า
มาตรฐานการผลิต และการทาการตลาดท่ีมีประสิทธภิ าพ มผี ูต้ อบแบบสารวจใหค้ วามคิดเหน็ ในประเด็น
น้ีจานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 25 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน รองลงมาคือ B4.1-5
สมาชิกไม่ให้ความสาคัญกับการคิดต้นทุนในการบริหารจัดการและ B4.2-2 ขาดทักษะด้านการแปรรูป
สินค้าเพื่อเพิ่มช่ิงทางการตลาด มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นใน 2 ประเด็นน้ีจานวน 7 คนเท่ากนั
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13 จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจทัง้ หมด 56 คน และอนั ดบั ท่ี 3 คือ B4.1-1 ขาดความรู้
ในการวเิ คราะห์ต้นทนุ และ B4.3-2 ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ หรอื หาตลาดใหม่ๆ ได้ มผี ู้ตอบแบบสารวจใหค้ วาม
คิดเหน็ ใน 2 ประเดน็ น้จี านวน 6 คนเทา่ กนั คดิ เป็นรอ้ ยละ 11 จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจทั้งหมด 56
คน

ซ่ึงจากประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปัญหาไว้ทั้งหมด 14 ประเด็น โดยประเด็นที่สาคัญ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 คือ S4.2-3
ส่งเสริมให้กรรมการ ฝ่ายจัดการ สมาชิก ศึกษาเรียนรู้เร่ืองการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพและได้
มาตรฐานพร้อมออกสู่ตลาด สามารถแข่งขันได้ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นน้ี จานวน
12 คน คิดเป็นร้อยละ 21 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 56 คน อันดับที่ 2 คือ S4.2-1 จัดหา
ผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีประสบการณ์ด้านการผลติ มาเป็นท่ีปรึกษาให้ความรู้ด้านการผลิตและการตลาด มี
ผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะ จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 13 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจ
ท้ังหมด 56 คน และอันดับที่ 3 คือ S4.1-2 สร้างความเข้าใจให้สมาชิกเห็นถึงความสาคัญ ตระหนักถึง
การคานวณต้นทุนธุรกิจ และส่งเสริมให้มีการคานวณต้นทุนในแตล่ ะธุรกิจให้ได้และ S4.2-4 ส่งเสริมให้
บุคลากรวางแผน วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการตลาดก่อนการผลติ เพ่ือลดความเสี่ยงด้านการผลิต มี

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 191 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพัฒนาพื้นทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะใน 2 ประเด็นนี้ จานวน 6 คนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 11 จากจานวน
ผ้ตู อบแบบสารวจทง้ั หมด 56 คน และประเด็นอืน่ มีผตู้ อบแบบสารวจท่มี ีสัดส่วนลดหลั่นกันไป ดังตาราง
ต่อไปนี้

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 192 -

ตารางท่ี 4.5 ประเด็นทีเ่ ป็นปญั หา/พฒั นายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปญั หาในขนั้ ที่

บนั ดแต่ละข้นั มีประเด็นใดทเ่ี ปน็ ปญั หา/ พัฒนายาก อะ รบ้าง

รหสั ประเดน็ ปญั หา หรอื พัฒนายาก จานวน คดิ เป็น
ผู้ตอบ %
ขั้นที่ 4 เพม่ิ ประสิท ิ าพการผลติ และการขาย
B4.1 ลดต้นทุนการผลิต 6 11%
B4.1-1 ขาดความร้ใู นการวเิ คราะหต์ น้ ทนุ

B4.1-2 ตน้ ทุนการผลิตสงู เกนิ ไป 3 5%

B4.1-3 ปัญหาในการปรับเปลย่ี นวัตถดุ ิบเพอ่ื ให้สามารถลดตน้ ทุนได้ 1 2%

B4.1-4 ขาดความรู้ในการนาเทคโนโลยีมาช่วยในการลดตน้ ทุน 3 5%
B4.1-5 สมาชกิ ไม่ให้ความสาคัญกับการคิดต้นทนุ ในการบริหารจัดการ 7 13%

B4.2 เพ่มิ ผลผลติ / เพ่มิ มูลค่าผลผลิต 14 25%
B4.2-1 ขาดความรู้ด้านการผลิตสินค้า มาตรฐานการผลิต และการทา 7 13%

การตลาดที่มีประสทิ ธภิ าพ
B4.2-2 ขาดทักษะด้านการแปรรปู สินค้าเพอ่ื เพิ่มช่องทางการตลาด

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึก

- 19

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพืน้ ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

4 เพ่ิมประสิทธิภาพการผลติ และการขาย

บัน ดแต่ละข้นั มีข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ ขปญั หาอยา่ ง รบ้าง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปญั หา จานวน คิดเป็น
ผู้ตอบ %
ขนั้ ที่ 4 เพม่ิ ประสิท ิ าพการผลติ และการขาย
S4.1 ลดตน้ ทุนการผลิต 3 5%
S4.1-1 ให้ความรู้ด้านการวิเคราะห์ต้นทุน เพ่ือให้องค์กรรู้ตัวตนของ 6 11%

ตนเอง 2 4%
S4.1-2 สร้างความเข้าใจให้สมาชิกเห็นถึงความสาคัญ ตระหนักถึงการ 4 7%
3 5%
คานวณต้นทุนธุรกิจ และส่งเสริมให้มีการคานวณต้นทุนในแต่
ละธรุ กจิ ใหไ้ ด้ 7 13%
S4.1-3 สร้างความเข้าใจและปรบั ทัศนคติในการใช้วัตถุดิบเพ่ือเป็นการ 3 5%
ลดต้นทุน เช่น ปุย ยาฆา่ แมลง เป็นตน้
S4.1-4 สนบั สนุนการรวมกลุ่ม/เครอื ขา่ ย เพอ่ื ลดตน้ ทุน
S4.1-5 สนับสนุนให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องเข้ามาให้ความรู้ สาธิตการ
เปล่ียนแปลงการนาเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการลดต้นทุน
ชใี้ ห้เห็นถึงขอ้ ดี
S4.2 เพ่มิ ผลผลิต/ เพ่มิ มูลค่าผลผลติ
S4.2-1 จัดหาผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีประสบการณ์ด้านการผลิตมาเป็นที่
ปรึกษาให้ความร้ดู า้ นการผลติ และการตลาด
S4.2-2 จัดกิจกรรมพัฒนาเจ้าหน้าท่ีให้มีความรู้ ความสามารถ ในการ
ใหค้ าแนะนา ส่งเสริมสมาชิก

กษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

93 -

รหัส ประเดน็ ปัญหา หรอื พัฒนายาก จานวน คิดเป็น
ผตู้ อบ %

B4.2-3 ไม่มีการศึกษาตลาดก่อนการเพ่ิมผลผลิตและไม่มีการศึกษาคู่แข่ง 5 9%

ในตลาด

B4.2-4 สินคา้ / บรกิ าร ยังไม่ตรงตามความต้องการของตลาด 4 7%

B4.2-5 สินค้า/ บรกิ าร ไม่มคี ณุ ภาพและไมไ่ ดม้ าตรฐาน 2 4%

B4.3 เพ่ิมประสิท ิ าพการเขา้ ถงึ ตลาด/ กล่มุ เปา้ หมาย 1 2%
B4.3-1 ขาดเงินทุนในการขยายธรุ กจิ และตลาด 6 11%

B4.3-2 ไม่สามารถเขา้ ถึงหรือหาตลาดใหม่ๆ ได้

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึก

- 19

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /แกป้ ัญหา จานวน คดิ เป็น
ผ้ตู อบ %

S4.2-3 ส่งเสริมให้กรรมการ ฝ่ายจัดการ สมาชิก ศึกษาเรียนรู้เร่ืองการ 12 21%

พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานพร้อมออกสู่

ตลาด สามารถแข่งขันได้

S4.2-4 ส่งเสริมให้บุคลากรวางแผน วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทาง 6 11%

การตลาดกอ่ นการผลติ เพ่อื ลดความเสย่ี งดา้ นการผลติ

S4.2-5 ใหค้ วามร้แู ละส่งเสริมใหส้ มาชกิ ทาการเกษตรแบบสมัยใหม่ โดย 4 7%

ใช้ขอ้ มลู ดา้ นการตลาดที่เปน็ ปัจจุบัน

S4.2-6 จัดกจิ กรรมศึกษาดูงานในสถานทท่ี ี่ประสบความสาเร็จ 1 2%

S4.3 เพ่มิ ประสิท ิ าพการเขา้ ถึงตลาด/ กลมุ่ เป้าหมาย

S4.3-1 สร้างเครือข่ายพันธมิตร ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐ 3 5%

ภาคเอกชน เพื่อเช่ือมโยงธรุ กจิ ในด้านเงินทุนและการตลาด

S4.3-2 จัดอบรมให้ความรู้เพื่อเพ่ิมทักษะในการพัฒนาการหาช่อง 4 7%

ทางการจัดจาหนา่ ย การทาการตลาดออนไลน์

S4.3-3 จัดทาแผนการผลติ และแผนการตลาดเชงิ กลยทุ ธ์ 2 4%

กษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

94 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

 ข้นั ท่ี 5 กระต้นุ การมีส่วนรว่ มของสมาชกิ ในขนั้ ตอนหลกั ของกลุม่
ในขั้นที่ 5 กระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกในขั้นตอนหลักของกลุ่ม แบ่งเป็น 1 กลุ่มย่อยคือ

กลุ่มย่อย B5.1 และ S5.1 การจัดประชุมกลุ่มย่อยและประชุมกลุ่มใหญ่อย่างสม่าเสมอประกอบด้วย
ประเดน็ ทีเ่ ปน็ ปัญหา/พัฒนายาก 5 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 7 ประเด็น

ในภาพรวมของขั้นท่ี 5 กระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกในข้ันตอนหลักของกลุ่ม ผลการ
รวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ของผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด
โดยผูต้ อบแบบสารวจได้ให้ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ประเด็นท่ีเป็นปญั หา/พัฒนายาก ไว้ท้ังหมด 5 ประเด็น
ซง่ึ 2 อนั ดับแรกท่ีผู้ตอบแบบสารวจสว่ นใหญ่ให้ความคดิ เห็น ไดแ้ ก่ B5.1-1 สมาชกิ ไมใ่ ห้ความสาคัญใน
การทากิจกรรมกลุ่ม เนื่องจากไม่เข้าใจเร่ืองสิทธิและหน้าท่ีของตนเอง หรือผลประโยชน์ที่ตนเองจะ
ได้รับ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นนี้จานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 50 จากจานวน
ผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 56 คน และ B5.1-4 การมีส่วนร่วมในการบริหารกลุ่มของบุคลากรในกลุ่ม
(ผู้นา/กรรมการ ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ี และสมาชิก) ยังเป็นเพียงบางส่วน มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความ
คิดเหน็ ในประเด็นนี้จานวน 17 คน คดิ เป็นร้อยละ 30 ตามลาดบั

ซึ่งจากประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปัญหาไว้ท้ังหมด 7 ประเด็น โดยประเด็นที่สาคัญ 2 อันดับแรก ได้แก่ S5.1-2 จัดกิจกรรมอบรม
กระตุ้นให้สมาชิกตระหนักถึงความสาคัญของการมีส่วนร่วมและสร้างความเข้าใจถึงประโยชน์ในการ
ประชุม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นนี้ จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 45 จากจานวน
ผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 56 คน และรองลงมาคือ S5.1-4 จัดกิจกรรมที่สร้างการมีส่วนร่วมหรือจัด
ประชุมทุกเดือนและให้มีความต่อเนื่อง ค่อยๆ ดึงสมาชิกให้มีส่วนร่วมและขยายผลไปเรื่อยๆ มีผู้ตอบ
แบบสารวจใหข้ ้อเสนอแนะ จานวน 12 คน คิดเปน็ ร้อยละ 21 จากจานวนผ้ตู อบแบบสารวจทง้ั หมด 56
คน และประเด็นอน่ื มผี ู้ตอบแบบสารวจที่มสี ดั สว่ นลดหล่นั กนั ไป ดงั ตารางตอ่ ไปนี้

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 195 -

ตารางท่ี 4.6 ประเดน็ ทเ่ี ป็นปญั หา/พฒั นายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในข้นั ท่ี

บนั ดแตล่ ะขัน้ มปี ระเดน็ ใดทเ่ี ปน็ ปัญหา/ พัฒนายาก อะ รบ้าง

รหัส ประเดน็ ปญั หา หรอื พฒั นายาก จานวน คิดเปน็
ผู้ตอบ %
ขั้นที่ 5 กระตุ้นการมสี ่วนร่วมของสมาชิกในขัน้ ตอนหลักของกลมุ่
B5.1 การจดั ประชมุ กล่มุ ยอ่ ยและประชุมกลมุ่ ใหญ่อย่างสม่าเสมอ 28 50%
B5.1-1 สมาชกิ ไมใ่ ห้ความสาคัญในการทากิจกรรมกลมุ่ เนือ่ งจากไมเ่ ขา้ ใจ 4 7%

เรื่องสิทธิและหน้าท่ขี องตนเอง หรอื ผลประโยชนท์ ี่ตนเองจะได้รบั
B5.1-2 การประชมุ กลุ่มย่อยหรือประชุมอน่ื ๆ ไม่ตอ่ เน่อื ง สม่าเสมอ

B5.1-3 สมาชิกไม่มาประชุม หรอื มาประชมุ แต่ไม่เสนอแนะขอ้ คดิ เห็น 6 1
1%
B5.1-4 การมีส่วนร่วมในการบริหารกลุ่มของบุคลากรในกลุ่ม (ผู้นา/ 17
กรรมการ ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ และสมาชิก) ยังเป็นเพียง 1 3
บางสว่ น 0%

B5.1-5 ไม่มีบทลงโทษผู้ท่ไี ม่มีสว่ นรว่ ม 2
%

สานกั งานศนู ยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ

- 19

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพ้ืนทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

5 กระตนุ้ การมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ในข้ันตอนหลักของกลุ่ม

บัน ดแต่ละขั้นมีข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ ขปัญหาอยา่ ง รบา้ ง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปัญหา จานวน คิดเป็น
ผตู้ อบ %

ขัน้ ที่ 5 กระตุ้นการมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ในขน้ั ตอนหลกั ของกลมุ่

S5.1 การจัดประชุมกลมุ่ ยอ่ ยและประชุมกลุม่ ใหญอ่ ยา่ งสม่าเสมอ

S5.1-1 วางแผนปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีสถานท่ี ช่วงเวลาที่เหมาะสมท่ี 5 9%

สมาชิกจะสามารถมาร่วมประชมุ ออกความคดิ เหน็ เสนอแนะได้

S5.1-2 จัดกิจกรรมอบรมกระตนุ้ ให้สมาชิกตระหนักถึงความสาคัญของ 25 45%

การมสี ว่ นร่วมและสรา้ งความเข้าใจถึงประโยชนใ์ นการประชมุ

1 S5.1-3 จัดกิจกรรมอบรมสร้างความศรัทธาและความเชื่อมั่นให้มีต่อ 5 9%

กลุ่ม

3 S5.1-4 จดั กิจกรรมทส่ี ร้างการมสี ่วนร่วมหรือจดั ประชมุ ทุกเดือนและให้ 12 21%

มีความต่อเน่ือง ค่อยๆ ดึงสมาชิกให้มีส่วนร่วมและขยายผลไป

เรือ่ ยๆ

2 S5.1-5 สรรหาผู้นาที่มีความรู้ ประสบการณ์ด้านธุรกิจท่ีแท้จริงมาช่วย 4 7%

ในการขับเคล่ือนกล่มุ

S5.1-6 เพ่ิมช่องทางในการส่ือสาร ประชาสัมพันธ์ข่าวสารกิจกรรมของ 5 9%

กลมุ่ ในระบบ IT

S5.1-7 กาหนดบทลงโทษสาหรบั ผู้ทีไ่ มเ่ ขา้ ประชุม 1 2%

กษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

96 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพืน้ ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ขน้ั ท่ี 6 สง่ เสริมการใช้ฐานขอ้ มลู และองคค์ วามรูเ้ พ่อื ปรบั ปรุงการบริหารกลุ่ม
ในขั้นท่ี 6 ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูลและองค์ความรู้เพ่ือปรับปรุงการบริหารกลุ่ม ได้แบ่ง

ประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 9 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 10 ประเด็น โดย
แบง่ เป็น 2 กลุม่ ยอ่ ย ดงั นี้

1. กลุ่มย่อย B6.1 และ S6.1 การวิเคราะห์และใช้ประโยชน์จากรายงานทางการเงิน
ประกอบด้วยประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 7 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไข
ปัญหา 8 ประเด็น

2. กลุ่มย่อย B6.2 และ S6.2 กฎกติกาในการอยู่ร่วมกันประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/
พฒั นายากและข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหาอยา่ งละ 2 ประเด็นเทา่ กนั

ในภาพรวมของขั้นที่ 6 ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูลและองค์ความรู้เพ่ือปรับปรุงการบริหารกลุ่ม
ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ของผู้เข้าร่วมอบรม
ทั้งหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ความคิดเหน็ เก่ียวกับประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก ไว้ทั้งหมด 9
ประเด็น ซ่ึง 2 อันดับแรกท่ีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็น ได้แก่ อันดับท่ี 1 คือ B6.1-5
คณะกรรมการกลุ่มยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจในการนาฐานข้อมูลและองค์ความรู้มาใช้ประโยชน์ มี
ผูต้ อบแบบสารวจให้ความคิดเหน็ ในประเด็นน้ีจานวน 18 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32 จากจานวนผตู้ อบแบบ
สารวจท้ังหมด 56 คน และอันดับท่ี 2 คือ B6.1-4 ฝ่ายบริหาร/ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ไม่ให้ความสาคัญกบั
ข้อมูลทางการเงินมาใช้ในการบริหารกลุ่ม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นจานวน 16 คน คิดเป็น
ร้อยละ 29 จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจท้งั หมด 56 คน

ซึ่งจากประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แกไ้ ขปัญหาไวท้ ้ังหมด 10 ประเดน็ โดยประเดน็ ท่ีสาคัญ 3 อันดับแรก ไดแ้ ก่ อันดบั ที่ 1 คือ S6.1-3 จดั
อบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นถึงความสาคัญในการนาข้อมูลจากฐานข้อมูลมา
วิเคราะห์ ใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ วางแผนกลุ่ม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นนี้
จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 32 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน อันดับท่ี 2 คือ S6.1-6
ส่งเสริมให้มีการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงนิ อย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์การดาเนินธุรกิจ
ในปัจจุบันและทราบถึงปัญหาอย่างทันถ่วงที มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะ จานวน 11 คน คิด
เป็นร้อยละ 20 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน และอันดับที่ 3 คือ S6.1-2 อัพเดท
ฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและวิเคราะห์ข้อมูลจากสภาพความเป็นจริงและ S6.1-5 ส่งเสริมให้มีการนา
เคร่ืองมือสารสนเทศทางการเงินหรือโปรแกรมสาเร็จรูปที่ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลมาใช้ในการ
ปรับปรุงบรหิ ารงานกลมุ่ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะใน 2 ประเด็นน้ี จานวน 10 คนเท่ากัน คิด
เป็นร้อยละ 18 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 56 คน และประเด็นอื่นมีผู้ตอบแบบสารวจที่มี
สัดส่วนลดหลน่ั กนั ไป ดงั ตารางต่อไปนี้

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 197 -

ตารางที่ 4.7 ประเด็นท่เี ปน็ ปัญหา/พฒั นายาก และขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหา

บนั ดแต่ละข้ันมีประเดน็ ใดท่เี ป็นปัญหา/ พฒั นายาก อะ รบ้าง

รหสั ประเด็นปัญหา หรอื พัฒนายาก จานวน คดิ เป็น
ผู้ตอบ %

ขน้ั ที่ 6 ส่งเสรมิ การใชฐ้ านขอ้ มูลและองค์ความรู้เพ่ือปรับปรุงการบรหิ ารกลมุ่ 9%

B6.1 การวเิ คราะห์และใช้ประโยชนจ์ ากรายงานทางการเงนิ

B6.1-1 ไมม่ ีระบบฐานขอ้ มูล 5

B6.1-2 ไมม่ ีการอพั เดทระบบฐานข้อมูลใหเ้ ปน็ ปัจจุบนั 5 9%
7%
B6.1-3 ฐานข้อมูลขององค์กรยังเป็นข้อมูลดิบ ขาดการวิเคราะห์ทาให้ไม่ 4
สามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ด้ 29%
32%
B6.1-4 ฝ่ายบริหาร/ เจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ ไม่ให้ความสาคัญกับข้อมูลทาง 16
การเงินมาใช้ในการบริหารกลุม่ 18 2%

B6.1-5 คณะกรรมการกลมุ่ ยังไม่มคี วามรู้ ความเข้าใจในการนาฐานข้อมลู
และองค์ความรมู้ าใช้ประโยชน์

B6.1-6 สมาชกิ ท่ีเป็นผสู้ ูงอายุ ไม่มคี วามรู้ดา้ นบัญชี 1

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 19

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพน้ื ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

าในขั้นท่ี 6 สง่ เสรมิ การใชฐ้ านขอ้ มลู และองคค์ วามร้เู พอ่ื ปรบั ปรงุ การบรหิ ารกลมุ่

บัน ดแตล่ ะขนั้ มขี ้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ ขปัญหาอย่าง รบา้ ง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปญั หา จานวน คิดเปน็
ผ้ตู อบ %

ข้ันท่ี 6 ส่งเสริมการใชฐ้ านข้อมลู และองคค์ วามรู้เพื่อปรบั ปรุงการบรหิ ารกล่มุ 13%

S6.1 การวิเคราะหแ์ ละใชป้ ระโยชน์จากรายงานทางการเงนิ 18%
2%
S6.1-1 สร้างระบบฐานข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน รวมถึงองค์ความรู้ที่ 7
2%
เป็นมาตรฐานโดยกรมส่งเสริมสหกรณแ์ ละเผยแพร่ให้ผู้ที่มีสว่ น 18%

เก่ยี วขอ้ งนาไปใช้ 20%

S6.1-2 อัพเดทฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและวิเคราะห์ข้อมูลจากสภาพ 10

ความเป็นจริง

S6.1-3 จัดอบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นถึง 18

ความสาคัญในการนาข้อมูลจากฐานข้อมูลมาวิเคราะห์ ใช้

ประโยชน์ในการตัดสนิ ใจ วางแผนกลุ่ม

S6.1-4 สรรหาคณะกรรมการหรอื ฝ่ายจัดการที่มคี วามรู้ ความเข้าใจใน 1

การจัดทาฐานขอ้ มลู มาถ่ายทอดการจดั ทาฐานข้อมลู ของกลมุ่

S6.1-5 ส่งเสริมให้มีการนาเคร่ืองมือสารสนเทศทางการเงินหรือ 10

โปรแกรมสาเร็จรูปที่ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลมาใช้ในการ

ปรับปรุงบริหารงานกลุ่ม

S6.1-6 ส่งเสริมให้มีการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินอย่างสม่าเสมอ 11

เพ่ือให้ทราบถึงสถานการณ์การดาเนินธุรกิจในปัจจุบันและ

ทราบถงึ ปัญหาอย่างทันถว่ งที

กษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

98 -

รหสั ประเด็นปัญหา หรือ พฒั นายาก จานวน คดิ เป็น
B6.1-7 ไมม่ ีการประชาสมั พันธข์ า่ วสารความรูแ้ กส่ มาชิก ผู้ตอบ %

2 4%

B6.2 การหาความรใู้ หมม่ าปรบั ปรุงการบรหิ ารกลมุ่ 2 4%
B6.2-1 คณะกรรมการผดิ กัน้ ความรู้ใหมๆ่ และไมย่ อมเรียนรู้ 2 4%
B6.2-2 คณะกรรมการไม่รู้วิธีการนาความรู้ใหม่ๆ ท่ีได้มาปรับปรุงการ

บริหารกลมุ่

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึก

- 19

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพนื้ ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปญั หา จานวน คดิ เป็น
ผตู้ อบ %

S6.1-7 ติดตามและประเมินผลเจ้าหน้าทใี่ นการนาข้อมูลจากฐานข้อมลู 2 4%

มาใช้ประโยชนอ์ ยา่ งสม่าเสมอ

S6.1-8 ประชาสัมพนั ธ์ขา่ วสารความร้แู ก่สมาชกิ อย่างสมา่ เสมอ 3 5%

S6.2 การหาความรู้ใหมม่ าปรับปรุงการบริหารกลมุ่

S6.2-1 จัดอบรมใหค้ วามร้ใู หมท่ กุ ๆ 3 เดอื น 3 5%

S6.2-2 สร้างสมาชิกรนุ่ ใหม่ ใหค้ วามรู้ทางดา้ นบญั ชี 1 2%

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

99 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพ้ืนท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ขน้ั ที่ 7 สรา้ งทักษะการทางานรว่ มกับหน่วยงานใหต้ รงจดุ สาคญั และตอ่ เนื่อง
ในข้นั ท่ี 7 สร้างทักษะการทางานรว่ มกบั หน่วยงานให้ตรงจุดสาคัญและต่อเน่ือง ได้แบง่ ประเด็น

ที่เป็นปัญหา/พัฒนายากและข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาไวอ้ ย่างละ 8 ประเด็นเท่ากัน โดยแบง่ เป็น
2 กลมุ่ ยอ่ ย ดังน้ี

1. กลุ่มย่อย B7.1 และ S7.1 รู้บทบาทการให้บริการของแต่ละหน่วยงาน ประกอบด้วย
ประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 1 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 2
ประเด็น

2. กลุ่มย่อย B7.2 และ S7.2 รู้จักใช้ประโยชน์จากความรู้และทรัพยากรของหน่วยงาน
ประกอบด้วยประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 7 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไข
ปญั หา 6 ประเดน็

ในภาพรวมของขั้นท่ี 7 สร้างทักษะการทางานร่วมกับหน่วยงานให้ตรงจุดสาคัญและต่อเนื่อง
ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ของผู้เข้าร่วมอบรม
ท้ังหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ความคิดเห็นเก่ียวกับประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก ไว้ทั้งหมด 8
ประเด็น ซึ่ง 2 อันดับแรกที่ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็น ได้แก่ อันดับที่ 1 คือ B7.2-4
ขาดความรู้ในการบูรณาการเช่ือมโยงกับเครือข่ายอื่นๆ มีผูต้ อบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ี
จานวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 21 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทงั้ หมด 56 คน และรองลงมาคอื B7.2-
3 ไมร่ ู้วิธที ีจ่ ะเขา้ หาหน่วยงานภายนอกต่างๆ มผี ตู้ อบแบบสารวจใหค้ วามคดิ เหน็ จานวน 10 คน คิดเป็น
ร้อยละ 18 จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจทั้งหมด 56 คน

ซ่ึงจากประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปัญหาไว้ท้ังหมด 8 ประเด็น โดยประเด็นที่สาคัญ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับท่ี 1 คือ S7.1-1
ส่งเสริมให้คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลของหน่วยงานสนับสนุนเพ่ือขอรับการ
สนับสนุนในด้านต่างๆ ท่ีตรงความต้องการของกลุ่มและ S7.2-2 เพิ่มช่องทางเพื่อให้แต่ละหน่วยงานที่
เก่ียวข้องได้เข้ามาพบปะพูดคุยกันให้ความสาคัญในการเชื่อมโยงเครือข่ายและทาให้เกิดความต่อเนื่อง
เช่น การจัดเวทีแลกเปล่ียนรู้ เป็นต้น มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะใน 2 ประเด็นน้ี จานวน 13
คนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 23 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน รองลงมาคือ S7.2-1
กาหนดแผนการสร้างพันธมิตรและบูรณาการจากแผนธุรกิจที่เหมาะสมกับศักยภาพของกลุ่ม มีผู้ตอบ
แบบสารวจใหข้ ้อเสนอแนะ จานวน 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 18 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทงั้ หมด 56
คน และ S7.2-5 สนบั สนนุ การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ โดยให้มีการเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยทัง้ ภาครฐั เอกชน
และหน่วยงานต่างๆ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 16 จากจานวน
ผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 56 คน ตามลาดับ และประเด็นอ่ืนมีผู้ตอบแบบสารวจที่มีสัดส่วนลดหลั่นกนั
ไป ดังตารางต่อไปน้ี

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 200 -

ตารางท่ี 4.8 ประเดน็ ทเ่ี ปน็ ปัญหา/พฒั นายาก และขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหา

บัน ดแต่ละขัน้ มปี ระเดน็ ใดทีเ่ ปน็ ปัญหา/ พฒั นายาก อะ รบ้าง

รหสั ประเด็นปัญหา หรอื พัฒนายาก จานวน คิดเปน็
ผู้ตอบ %

ขน้ั ท่ี 7 สร้างทักษะการทางานรว่ มกบั หนว่ ยงาน ใหต้ รงจดุ สาคัญและตอ่ เน่ือง 9%

B7.1 รบู้ ทบาทการใหบ้ รกิ ารของแตล่ ะหนว่ ยงาน

B7.1-1 ไมส่ ามารถเข้าถึงขอ้ มูลของหน่วยงานตา่ งๆ ได้ 5

B7.2 รูจ้ กั ใช้ประโยชนจ์ ากความรูแ้ ละทรัพยากรของหนว่ ยงาน

B7.2-1 ไม่กล้ามีพันธมติ ร 2 4%
14%
B7.2-2 ขาดการเช่ือมโยงเครอื ข่ายระหว่างกลมุ่ หรือหน่วยงานภายนอก 8

B7.2-3 ไมร่ วู้ ิธีท่จี ะเข้าหาหนว่ ยงานภายนอกตา่ งๆ 10 18%

B7.2-4 ขาดความรูใ้ นการบรู ณาการเชื่อมโยงกับเครอื ขา่ ยอน่ื ๆ 12 21%

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 20

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพื้นท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

าในข้ันท่ี 7 สรา้ งทกั ษะการทางานร่วมกับหนว่ ยงาน ให้ตรงจุดสาคัญและตอ่ เนอื่ ง

บัน ดแตล่ ะขั้นมีข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ ขปญั หาอยา่ ง รบา้ ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปญั หา จานวน คิดเป็น
ผตู้ อบ %

ขั้นที่ 7 สรา้ งทกั ษะการทางานร่วมกบั หนว่ ยงาน ให้ตรงจุดสาคัญและต่อเนอื่ ง 23%

S7.1 รู้บทบาทการให้บริการของแต่ละหน่วยงาน 4%

S7.1-1 ส่งเสริมให้คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมลู 13 18%
23%
ของหน่วยงานสนับสนุนเพื่อขอรับการสนับสนุนในด้านต่างๆ ท่ี
9%
ตรงความตอ้ งการของกล่มุ
4%
S7.1-2 เพิ่มการประชาสัมพันธ์ สร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร ให้ 2

หนว่ ยงานภายนอกไดร้ ู้จกั

S7.2 รู้จกั ใช้ประโยชนจ์ ากความรู้และทรัพยากรของหน่วยงาน

S7.2-1 กาหนดแผนการสร้างพันธมิตรและบูรณาการจากแผนธุรกิจท่ี 10

เหมาะสมกับศกั ยภาพของกลมุ่

S7.2-2 เพิ่มช่องทางเพื่อให้แต่ละหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้เข้ามาพบปะ 13

พูดคุยกันให้ความสาคัญในการเช่ือมโยงเครอื ข่ายและทาให้เกิด

ความต่อเนอื่ ง เชน่ การจัดเวทแี ลกเปลย่ี นรู้ เป็นตน้

S7.2-3 กาหนดนโยบายในการสนับสนุนให้มีความตอ่ เน่ืองหรือกาหนด 5

เปน็ นโยบายหลัก เชน่ การจดั ทา timeline หรอื กาหนดในวาระ

การประชมุ ประจาเดือนของสหกรณ์ เป็นตน้

S7.2-4 ผลักดันให้มีตัวแทนของสหกรณ์ท่ีสามารถเจรจาประสานกับ 2

หนว่ ยงานสนับสนุนได้

กษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

01 -

รหสั ประเด็นปญั หา หรอื พฒั นายาก จานวน คิดเป็น
B7.2-5 หน่วยงานเอกชนภายนอกเอาเปรยี บ ผู้ตอบ %

4 7%

B7.2-6 หน่วยงานภายนอกที่เข้ามาสนับสนุน สนับสนุนไม่ตรงตาม 5 9%
วัตถุประสงค์ ความตอ้ งการของสหกรณ์ 7 13%

B7.2-7 หนว่ ยงานภายนอกทีเ่ ข้ามาสนบั สนุนไมม่ คี วามต่อเนื่อง

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรึก

- 20

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพ้นื ที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แกป้ ญั หา จานวน คดิ เปน็
ผู้ตอบ %

S7.2-5 สนับสนุนการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ โดยให้มีการเชื่อมโยง 9 16%

เครอื ข่ายทง้ั ภาครฐั เอกชน และหน่วยงานตา่ งๆ

S7.2-6 แก้ไขกฎหมายให้สหกรณ์/กลุ่ม ในบางข้อที่จะทาให้สามารถ 2 4%

ดาเนนิ งานได้คล่องตัวขน้ึ

กษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

02 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้นื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

3. การสารวจความคิดเห็นหลังเข้าอบรม ผู้เข้าอบรมมีความต้ังใจท่ีจะนาบัน ด 7 ข้ัน ปปรับใช้
อยา่ ง รบ้าง
นอกจากผลการสารวจเกี่ยวกับการสารวจประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายากและข้อเสนอแนะ

ในการแกป้ ญั หาบันไดแต่ละขน้ั แล้วน้ัน ทีมท่ปี รึกษาได้ทาการสารวจความคดิ เหน็ เพ่ิมเติมเกี่ยวกับความ
ต้ังใจที่จะนาบันได 7 ข้ันไปปรับใช้อย่างไรบ้าง หลังจากเข้าร่วมอบรม ซ่ึงผลการรวบรวมแบบสารวจ
พบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ของผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจ
ประกอบด้วย ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 1 จังหวัดปทุมธานี ผู้อานวยการศูนย์
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ศูนย์ท่ี 1-20 และ นักทรัพยากรบุคคล มีความคิดเห็นเกี่ยวกับความ
ตง้ั ใจท่ีจะนาบันได 7 ข้นั ไปปรบั ใช้อย่างไรบ้าง หลังจากเข้าร่วมอบรม โดยทมี ทปี่ รกึ ษาได้ทาการจาแนก
ระดบั ความต้งั ใจท่จี ะนาบันได 7 ข้นั ไปปรับใช้เป็น 6 ระดบั ได้แก่

1) นากลบั ไปคุย/แลกเปล่ียนความคิดเห็นในทีมส่งเสริม/ถ่ายทอด เพ่ือให้เข้าใจรายละเอียด
บันได 7 ข้นั

2) นากลับไปถ่ายทอดความรนู้ ใี้ หแ้ ก่ ผนู้ า/กรรมการ ฝ่ายจัดการ และสมาชกิ ในสหกรณ์
3) นากลบั ไปเป็นกรอบในการวเิ คราะหส์ ถานการณ์ของสหกรณ์
4) นากลับไปวางแผนพฒั นาสหกรณ์
5) ยงั ไม่ใช้ เพราะไม่เหน็ ประโยชน์
6) อ่ืนๆ ซ่ึงเป็นระดับท่ีเป็นปลายเปิดเพ่ือให้ผู้ตอบแบบสารวจได้แสดงความคิดเห็นท่ี

นอกเหนือจาก 5 ข้อที่กล่าวมา หากผู้ตอบแบบสารวจมองว่า 5 ข้อท่ีกล่าวมาไม่ตรง
กับคาตอบของตนเอง ซ่ึงในการสารวจครั้งน้ีมีผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ความคิดเห็นใน
ประเดน็ อนื่ ๆ เพมิ่ เติมไว้ 3 ประเด็น ไดแ้ ก่ 6.1) ต้องศึกษาเพม่ิ เติม 6.2) ปรับเปลี่ยน
แนวทางการถ่ายทอด โดยถอดองค์ความรู้จากบันได 7 ข้ัน และ 6.3) นามาใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั และสามารถนามาเป็น Good Model ได้

ท้ังนี้ผลจาการสารวจพบว่าระดับการนาบันได 7 ขั้นไปปรับใช้ท่ีมีผู้ตอบแบบสารวจมากท่ีสุด
2 อันดับแรกคือ ผู้ตอบแบบสารวจจะนากลับไปเป็นกรอบในการวิเคราะห์สถานการณ์ของสหกรณ์ มี
ผู้ตอบแบบสารวจจานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 79 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 56 คน และ
รองลงมาคือจะนากลบั ไปคุย/แลกเปล่ียนความคิดเหน็ ในทีมสง่ เสริม/ถา่ ยทอด เพอื่ ให้เขา้ ใจรายละเอียด
ของบันได 7 ข้ัน มีผู้ตอบแบบสารวจจานวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 66 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจ
ท้ังหมด 56 คน โดยทั้ง 2 ระดับมีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 50 ของผู้เข้าอบรมท่ีตอบแบบสารวจ ส่วน
ระดับอ่ืนๆ มีผูต้ อบแบบสารวจท่มี ีสดั ส่วนลดหลั่นกันไป ดังนี้

สานักงานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 203 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพืน้ ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตารางที่ 4.9 ความคิดเห็นของผู้เข้าอบรมหลังเข้าอบรม ผู้เข้าอบรมมีความตั้งใจท่ีจะนาบันได 7 ขั้นไป

ปรับใชอ้ ย่างไรบ้าง

ขอ้ ท่ี หลังเขา้ อบรมครง้ั นี้ ทา่ นมคี วามตง้ั ใจทจ่ี ะนาบนั ด 7 ขนั้ จานวน คดิ เปน็
ปปรบั ใชอ้ ย่าง รบ้าง ผู้ตอบ %

1 นากลับไปคุย/แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในทีมส่งเสริม/ถ่ายทอด เพื่อให้เข้าใจ 37 66%

รายละเอยี ดของบนั ได 7 ข้ัน

2 นากลับไปถ่ายทอดความรู้น้ีให้แก่ ผู้นา/กรรมการ ฝ่ายจัดการ และสมาชิกใน 27 48%
สหกรณ์
44 79%
3 นากลบั ไปเปน็ กรอบในการวเิ คราะหส์ ถานการณข์ องสหกรณ์ 21 38%
0 0%
4 นากลบั ไปวางแผนพฒั นาสหกรณ์

5 ยังไมใ่ ช้ เพราะไมเ่ หน็ ประโยชน์

6 อื่นๆ

6.1 ต้องศึกษาเพมิ่ เติม 1 2%
6.2 ปรบั เปล่ียนแนวทางการถา่ ยทอด โดยถอดองคค์ วามรู้จากบนั ได 7 ขั้น 1 2%
6.3 นามาใช้ในชวี ติ ประจาวันและสามารถนามาเป็น Good Model ได้ 1 2%

การสารวจความคดิ เห็นหลังเขา้ อบรม ผู้เข้าอบรมมีความตั้งใจท่ีจะนาบนั ด ข้ัน ปปรับใช้อยา่ ง รบา้ ง

นามาใช้ในชวี ติ ประจาวันและสามารถนามาเป็น Good 1 (2%)
Model ได้ 1 (2%)
1 (2%)
ปรบั เปล่ยี นแนวทางการถ่ายทอด โดยถอดองคค์ วามร้จู าก
บันได 7 ขน้ั

ตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเติม

ยงั ไมใ่ ช้ เพราะไม่เห็นประโยชน์ 0

นากลับไปวางแผนพัฒนาสหกรณ์ 21 (38%)

นากลบั ไปเปน็ กรอบในการวเิ คราะหส์ ถานการณข์ องสหกรณ์ 44 (79%)
27 (48%)
นากลบั ไปถา่ ยทอดความรู้นี้ให้แก่ ผูน้ า กรรมการ ฝา่ ย
จัดการ และสมาชิกในสหกรณ์ 37 (66%)
10 20 30 40 50
นากลับไปคยุ แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ในทีมสง่ เสรมิ
ถา่ ยทอด เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจรายละเอยี ดของบันได 7 ข้นั

0

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 204 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

4. การสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อยากให้กรมส่งเสริมสหกรณ์สนับสนุนเพื่อผู้เข้าอบรม
สามารถนาบนั ด ขัน้ ปขบั เคลอ่ื นในสหกรณใ์ ห้เกดิ ผลเป็นรปู รรม
ต่อมาทีมท่ีปรึกษาได้ทาการสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องท่ีอยากให้กรมส่งเสริมสหกรณ์

สนับสนุน เพ่ือผู้เข้าอบรมสามารถนาบันได 7 ขั้น ไปขับเคล่ือนในสหกรณ์ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม เพื่อ
นามาเป็นข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการทางานและให้การสนับสนุนแก่ผู้ที่มีรส่วนเก่ียวข้องต่างๆ ที่
ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จากกรมสง่ เสริมได้ตรงตามความต้องการมากท่ีสุด

ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 35 ของผู้เข้าร่วม
อบรมทั้งหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจ ประกอบด้วย ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่
1 จังหวัดปทุมธานี ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ศูนย์ท่ี 1-20 และ นักทรัพยากร
บุคคล มีความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อยากให้กรมส่งเสริมสหกรณ์สนับสนุนเพ่ือผู้เข้าอบรมสามารถนา
บันได 7 ข้ัน ไปขับเคลื่อนในสหกรณ์ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ซ่ึงในภาพรวมผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ความ
คดิ เห็นไวท้ ง้ั 15 ประเด็น โดย 2 อนั ดับแรกทมี่ ีผตู้ อบแบบสารวจใหค้ วามคดิ เหน็ มากที่สุด ไดแ้ ก่ อนั ดับ
ท่ี 1 คอื กาหนดนโยบายและจดั ทาแผนงานที่สอดคล้องกันในแตล่ ะหน่วยงานให้หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้องได้
นาไปดาเนนิ การและปฏบิ ัตติ าม มีผู้ตอบแบบสารวจจานวน 9 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 16 จากจานวนผู้ตอบ
แบบสารวจท้ังหมด 56 คน รองลงมาคือพัฒนาบุคลากรท่ีเก่ียวข้องใหม้ ีความรู้ ความสามารถและความ
พร้อมท่ีจะนาความรู้ไปถ่ายทอดต่อ รวมถึงสนับสนุนด้านการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรเฉพาะด้าน
อย่างต่อเน่ืองและจริงจัง เพอื่ ทาใหเ้ ป็นเจา้ หน้าทีส่ ่งเสริมมืออาชพี มผี ู้ตอบแบบสารวจจานวน 6 คน คิด
เป็นร้อยละ 11 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้งั หมด 56 คน ส่วนความคิดเหน็ อืน่ ๆ มีผ้ตู อบแบบสารวจ
ทีม่ สี ัดส่วนลดหลัน่ กันไป ดังน้ี

ตารางท่ี 4.10 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอยากให้กรมส่งเสริมสหกรณ์สนับสนุนเพ่ือผู้เข้าอบรม

สามารถนาบนั ได 7 ขนั้ ไปขับเคล่อื นในสหกรณใ์ ห้เกิดผลเป็นรูปธรรม

ข้อท่ี ทา่ นอยากให้กรมสง่ เสริมสหกรณส์ นับสนุนในเรื่องใดบ้าง เพ่อื ให้ท่าน จานวน คิดเปน็
สามารถนาบัน ด 7 ขน้ั ปขับเคลื่อนในสหกรณ์ใหเ้ กิดผลเปน็ รูป รรม ผ้ตู อบ %

1 กาหนดนโยบายและจัดทาแผนงานท่สี อดคล้องกนั ในแตล่ ะหนว่ ยงานให้ 9 16%
หนว่ ยงานที่เกยี่ วข้องไดน้ าไปดาเนนิ การและปฏบิ ัตติ าม 6 11%

2 พัฒนาบุคลากรที่เก่ียวข้องให้มีความรู้ ความสามารถและความพร้อมท่ีจะนา 4 7%
ความรู้ไปถ่ายทอดต่อ รวมถึงสนับสนุนด้านการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร
เฉพาะดา้ นอยา่ งตอ่ เนอื่ งและจรงิ จัง เพื่อทาใหเ้ ปน็ เจา้ หนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ มอื อาชพี

3 จัดประชุมชี้แจงแนวทางการนาบันได 7 ขั้นให้กับหน่วยงานของกรมส่งเสริม
สหกรณ์ไดท้ ราบเปน็ แนวทางเดยี วกนั

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 205 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพน้ื ทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ข้อที่ ทา่ นอยากให้กรมส่งเสริมสหกรณส์ นบั สนุนในเรือ่ งใดบา้ ง เพือ่ ให้ท่าน จานวน คดิ เปน็
สามารถนาบนั ด 7 ขน้ั ปขบั เคลอื่ นในสหกรณ์ใหเ้ กิดผลเป็นรูป รรม ผูต้ อบ %
7%
4 สร้างองค์ความรู้ด้านการวิเคราะห์สถานการณ์ โดยได้มีการฝึกปฏิบัติหรือลง 4
พ้นื ทเี่ พือ่ เก็บขอ้ มลู เชิงลกึ ประกอบการวิเคราะห์ 5%
3 5%
5 จดั โครงการที่ตอ้ งใช้การวเิ คราะหต์ ามบนั ได 7 ขนั้ ในสหกรณท์ ุกจังหวดั 3
5%
6 พัฒนาฐานข้อมูลกลางให้กับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องดึงข้อมูลใช้ได้สะดวก เช่น 3 4%
ขอ้ มลู ของสหกรณใ์ นแต่ละพนื้ ท่ีทเี่ ปน็ ปัจจบุ นั 2 4%
2 4%
7 สนบั สนุนงบประมาณทที่ นั เหตุการณ์ เหมาะสมกับการทางาน 2
8 ควรจดั ทาคู่มือบนั ได 7 ข้นั 4%
9 สรา้ ง coaching เรือ่ งบนั ได 7 ขั้น ตอบปัญหา แนะนา ในการนาไปใช้งาน 2
10 จัดประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารในการพัฒนาองค์ความรใู้ นดา้ นการกากบั ดแู ล สง่ เสรมิ 2%
1
สหกรณอ์ ย่างต่อเนอื่ ง 2%
11 ให้ความสาคัญกับการติดตามผลหลังอบรมเชิงคุณภาพให้มากขึ้น เพื่อนามา 1
2%
ปรบั ปรุงโครงการของกรมสง่ เสรมิ 1
2%
12 กาหนดระยะเวลาในการดาเนินการควรเหมาะสมสอดคล้องเพราะจะได้ 1
สามารถขับเคลอ่ื นได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและเหน็ ผลจริง

13 เผยแพรอ่ งค์ความรเู้ กยี่ วกับเรือ่ งบนั ได 7 ข้ัน ส่สู าธารณชน เพื่อสร้างความรบั รู้
รว่ มกันและคิดไปในทศิ ทางเดียวกัน

14 พาไปศึกษาดูงานในสถานท่ีท่ีประสบความสาเร็จและสถานท่ีท่ียังไม่ประสบ
ความสาเร็จ เพื่อดูความแตกต่างและแนวคิดของท้ังสองพ้ืนท่ีว่าแตกต่างกัน
อย่างไร เพ่ือนามาปรบั ใชก้ ับกลุม่

15 สรา้ งขวัญและกาลังใจให้เจ้าหน้าท่ที ลี่ งปฏิบตั งิ าน

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 206 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพน้ื ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

าพบรรยากาศ

สานักงานศูนย์วจิ ัยและให้คาปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 207 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 208 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 209 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพื้นท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

การจัดโครงการอบรมต้นแบบ ครง้ั ท่ี 2 ระหว่างวันที่ 26-28 พฤศจกิ ายน 2561
4.2.1 วัตถปุ ระสงค์

ในวันที่ 26 – 28 พฤศจิกายน 2561 ได้มีการจัดกิจกรรมสัมมนาบันได 7 ข้ัน สู่การรวมกลุ่ม
อยา่ งยง่ั ยนื โครงการประยกุ ตใ์ ช้แนวพระราชดารเิ ปน็ แนวทางขับเคล่ือนพฒั นาชุมชนอย่างยง่ั ยืน (บันได
7 ข้นั ) โดยวัตถปุ ระสงค์ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. เพื่อเผยแพร่แนวทางการใช้บันได 7 ขั้นสู่การรวมกลุ่มอย่างย่ังยืนให้แก่นักส่งเสริม
สหกรณ์ในพ้นื ท่โี ครงการพระราชดาริและโครงการหลวง

2. เพ่ือทดลองจัดทาแผนปฏิบัติการพัฒนาสหกรณ์ตามแนวทางบันได 7 ข้ันสู่การ
รวมกลุม่ อย่างย่งั ยนื

4.2.2 ผลการจัดโครงการอบรมตน้ แบบ ครั้งท่ี 2
การจัดกิจกรรมโครงการอบรมต้นแบบคร้ังท่ี 2 การจัดกิจกรรมสัมมนาบันได 7 ข้ัน สู่การ

รวมกลุ่มอย่างย่ังยืน โครงการประยุกต์ใช้แนวพระราชดาริเป็นแนวทางขับเคลื่อนพัฒนาชุมชนอย่าง
ย่งั ยืน (บันได 7 ขนั้ ) ระหวา่ งวนั ท่ี 26 – 28 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมรอยลั ริเวอร์ กรุงเทพฯ ซึง่ ใน
การสัมมนาคร้ังนี้มีผู้เข้าร่วม รวม 123 ท่าน ซึ่งมีผลสารวจความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมอบรม ดังน้ี (ดู
รายละเอียดรายชื่อผูเ้ ข้ารว่ มสมั มนาเพิ่มเตมิ ในภาคผนวก ข)
1. การสารวจความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบัน ด 7 ข้ัน ก่อน – หลัง เข้าอบรม ผู้เข้าอบรมมีความรู้

ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั บัน ด 7 ขัน้ มากนอ้ ยเพยี งใด
ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 116 คน คิดเป็นร้อยละ 94 ของ

ผู้เข้าร่วมอบรมท้ังหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจนั้น ประกอบด้วย ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี
การสหกรณ์ท่ี 1 จังหวัดปทุมธานี ผู้อานวยการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ศูนย์ที่ 1-20 และ
นกั ทรัพยากรบุคคล ซงึ่ ภายในแบบสารวจไดแ้ บง่ ระดับความรคู้ วามเขา้ ใจออกเป็น 5 ระดบั ดังนี้

6) ผเู้ ขา้ อบรมมีความรคู้ วามเขา้ เกยี่ วกบั บนั ได 7 ขั้น มากทีส่ ดุ
7) ผเู้ ข้าอบรมมีความรู้ความเข้าเกย่ี วกับบนั ได 7 ขั้น มาก
8) ผเู้ ขา้ อบรมมคี วามรู้ความเข้าเกย่ี วกบั บนั ได 7 ขั้น ปานกลาง
9) ผู้เขา้ อบรมมคี วามรู้ความเขา้ เกี่ยวกับบนั ได 7 ขั้น นอ้ ย
10) ผเู้ ขา้ อบรมมคี วามรู้ความเข้าเก่ียวกบั บันได 7 ข้ัน น้อยมาก

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 210 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพื้นทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

สามารถสรปุ ผลการสารวจได้ดังน้ี

ระดบั ความรู้ความเขา้ ใจบนั ด 7 ข้ัน น้อยมาก นอ้ ย ปานกลาง มาก มากทีส่ ุด
ความรูค้ วามเข้าใจบันได 7 ข้ัน กอ่ นเข้าอบรม 40 คน 55 คน 20 คน 1 คน 0 คน

(34%) (47%) (17%) (1%) (0%)
ความร้คู วามเขา้ ใจบนั ได 7 ขน้ั หลงั เขา้ อบรม 0 คน 2 คน 43 คน 63 คน 7 คน

(0%) (2%) (37%) (54%) (6%)

การสารวจความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับบัน ด 7 ข้นั กอ่ น – หลัง เข้าอบรม

70 55 63
(47%) (54%)
60 40 43
(34%) 2 (37%) 1
50 (2%) (1%)
20
40 (17%)

30

20 0 7
(0%) 0 (6%)
10 (0%)

0

น้อยมาก น้อย ปานกลาง มาก มากทสี่ ุด

ก่อนเขา้ อบรม หลังเขา้ อบรม

2. การสารวจประเดน็ ทีเ่ ปน็ ปัญหา/ พฒั นายาก และขอ้ เสนอแนะในการแก้ปญั หาบนั ดแตล่ ะข้ัน
ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามผี ูต้ อบแบบสารวจ 117 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 95 ของผ้เู ขา้ ร่วม

อบรมท้ังหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจ เนื่องจากแบบสอบถามเป็นแบบปลายเปดิ ทาให้ผู้เข้าอบรมแต่ละ
คนระบคุ าตอบไดต้ ามประสบการณจ์ รงิ ของแต่ละคน คาตอบทไี่ ด้จึงหลากหลาย

ทีมท่ีปรึกษาจึงได้ทาการประมวลคาตอบและจัดกลุ่มประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก และ
ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในแต่ละข้ันตามคาสาคัญ (keywords) ท่ีผู้เข้าอบรมแต่ละคนระบุมา
และทาการควบรวมประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาท่ีมีความ
คล้ายคลึงกันไว้ในข้อเดียวกัน ท้ังน้ี สามารถจัดกลุ่มประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะ
ในการแก้ไขปัญหา ในแต่ละขน้ั ได้ดังนี้

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 211 -

ตารางที่ 4.11 การจดั กลมุ่ ประเด็นทเ่ี ปน็ ปญั หา/พฒั นายาก และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปัญ

รหสั ประเด็นปัญหา หรอื พฒั นายาก

ขนั้ ท่ี 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพนื้ ท่ี
B1.1 สาเหตุจาเปน็ ท่ีตอ้ งรวมกลมุ่
B1.1-1 รวมกลมุ่ จากนโนบายภาครฐั ไม่ใชค่ วามต้องการของสมาชิก
B1.1-2 รวมกลุ่มจากการผลักดันขององค์กรภายนอกต่างๆ ให้ตั้งข้ึนไม่ใช่ความตั้งใจของสมาชิก

ในกลุ่ม
B1.1-3 รวมกลุ่มเพราะต้องการรับผลประโยชน์แต่ไม่ได้เห็นถึงความสาคัญของการรวมกลุ่มท่ี

แท้จริง เช่น ใช้ในการรับสิทธิทางด้านท่ีอยู่อาศัยเท่านั้นไม่ได้มีการทากิจกรรมใดๆ เป็น
ต้น
B1.1-4 รวมกลุ่มเพราะต้องการเป็นสหกรณ์เพ่ือใช้ประโยชน์จากการเป็นนิติบุคคลในรูปแบบ
สหกรณ์หาประโยชนห์ รอื แบง่ ผลกาไรกนั
B1.1-5 รวมกล่มุ จากการท่ีผลผลติ ไม่มีทีข่ าย/ ล้นตลาด

B1.2 ความสามารถผนู้ าในการขบั เคลอื่ นกลมุ่ อยา่ งต่อเนอื่ ง
B1.2-1 ผู้นามาจากความมอี ิทธิพล ไมไ่ ดม้ าจากความเต็มใจของสมาชกิ
B1.2-2 ผู้นากลมุ่ มกั เปน็ คนเดิมทอ่ี ย่มู านาน เชน่ ผูส้ ูงอายุ
B1.2-3 ผนู้ าไม่มีประสบการณใ์ นการทางานมาก่อน ขาดความต่อเนื่อง
B1.2-4 ผู้นากลุ่มขาดความพรอ้ มด้านความรู้ ความสามารถ ในการขับเคลื่อนกลมุ่ ไปในทิศทางท

ทถี่ กู ต้อง
B1.2-5 ผนู้ าขาดความต้ังใจ เสียสละ ในการทางานเพ่ือสหกรณ์อย่างจริงใจ

สานกั งานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึก

- 21

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพน้ื ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ญหา

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปญั หา
ข้นั ท่ี 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพื้นท่ี
S1.1 สาเหตุจาเป็นทตี่ อ้ งรวมกลมุ่
S1.1-1 สารวจความต้องการทแ่ี ท้จริงในการรวมกลุ่มก่อนการจัดต้งั สหกรณ์
S1.1-2 คดั เลอื กสมาชิกเขา้ รวมกลมุ่ ท่มี าจากสมคั รใจอยา่ งแท้จริง

S1.1-3 ทาความเข้าใจและปลูกฝังให้คนในกลุ่มตระหนักถึงความจาเป็น ความสาคัญ และ
ประโยชน์ในการรวมกลมุ่

S1.1-4 กาหนดจุดมุ่งหมายของการรวมกลุ่มที่ชัดเจนและวางแผนการบริหารจัดการกลุ่มอย่าง
จริงจัง

S1.1-5 ให้ทดลองรวมกลุ่มสหกรณ์ก่อน 1-2 ปี และหลังจากน้ันก็ทาการประเมินว่ามีความ
พรอ้ มท่จี ะเป็นสหกรณอ์ ยูห่ รือไม่

S1.2 ความสามารถผู้นาในการขบั เคลอ่ื นกลมุ่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
S1.2-1 คดั เลอื กผนู้ าท่มี คี วามพรอ้ มและมจี ิตอาสาในการปฎิบตั ิหนา้ ท่อี ยา่ งแทจ้ รงิ
S1.2-2 คดั เลือกผูน้ าทมี่ ีประสบการณ์ในการบริหารงานแบบสหกรณ์
S1.2-3 สรรหาผนู้ าที่มีศักยภาพในการรวมสมาชกิ และเชื่อมโยงคนในกลุ่มได้
S1.2-4 สรรหาผู้นาทมี่ คี วามรู้ ความสามารถ ในการขับเคลื่อนกลุ่มไปในทิศทางทีถ่ ูกตอ้ ง

S1.2-5 สรา้ งผ้นู าร่นุ ใหม่

กษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

12 -

รหสั ประเดน็ ปญั หา หรือ พัฒนายาก

B1.3 ความสามารถและความพรอ้ มของสมาชิก
B1.3-1 สมาชกิ ขาดความศรัทธาในตัวผนู้ าและสหกรณ์
B1.3-2 สมาชิกกลุม่ ขาดคนรุ่นใหมม่ ารว่ มกลุ่ม
B1.3-3 สมาชกิ กลุ่มสว่ นใหญเ่ ปน็ คนรนุ่ เกา่ ยดึ ตดิ กบั ความคิดแบบเดมิ ๆ ไม่กล้าเปล่ยี นแปลง
B1.3-4 สมาชิกไม่ค่อยมีเวลาและไม่เห็นความสาคัญของการรวมกลุ่มที่แท้จริง ทาให้ไม่รวม

กิจกรรมของกลมุ่ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง
B1.3-5 สมาชิกไม่มีความรู้ ความพร้อม และความเข้าใจในการวมกลุ่ม และประโยชน์ท่ีแท้จริงที่

จะไดจ้ ากการรวมกลมุ่
B1.3-6 สมาชิกยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ทางการเงินข้ันพื้นฐาน ไม่รู้ต้นทุนการผลิตของ

ครวั เรอื น
ขนั้ ที่ 2 สรา้ งความเขา้ ใจในสทิ แิ ละหนา้ ท่ีและจัดสรรประโยชนใ์ หเ้ ปน็ รรม
B2.1 สิท แิ ละหน้าที่ของผนู้ า/ กรรมการ

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 21


Click to View FlipBook Version