The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:38:52

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพน้ื ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปญั หา
S1.2-6 สร้างกระบวนการหรือรูปแบบการพัฒนาท่ีทาให้เกิดความพร้อมในการรวมกลุ่ม และ

ความชัดเจนในกฎ/กตกิ าของการรวมกลุ่ม
S1.2-7 ปรับแนวคิดของผู้นาในการพูดคุยเพื่อให้เห็นความสาคัญในการจัดต้ังสหกรณ์และ

บทบาทของผู้นาสหกรณ์
S1.2-8 จัดอบรมให้ความรู้คณะทางานเพื่อให้เข้าใจแนวทางในการดาเนินงานท่ีถูกต้องไปใน

ทศิ ทางเดียวกนั
S1.3 ความสามารถและความพร้อมของสมาชิก
S1.3-1 คัดเลอื กและตรวจสอบสมาชกิ ทมี่ ปี ญั หาอย่างแทจ้ รงิ เข้าร่วมกลุ่ม
S1.3-2 จัดประชมุ กลุม่ ยอ่ ยเพอื่ สรา้ งความศรัทธาในตวั ผูน้ าแก่สมาชกิ
S1.3-3 ปรับเปลี่ยนแนวคิดสมาชิกในกลุ่ม โดยใช้ตัวอย่างจากสมาชิกในกลุ่มท่ีผ่านการนาไป

ปฏบิ ัติแล้วประสบความสาเรจ็
S1.3-4 จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม สร้างความเข้าใจในการรวมกลุ่ม รวมถึงแนวทางในการ

ดาเนินงานของกลุม่ ให้กับสมาชิก
S1.3-5 ส่งเสรมิ ใหส้ มาชิกจัดทาบัญชีครวั เรอื น สร้างวินัยในการออมและการใช้เงนิ

ขัน้ ท่ี 2 สร้างความเข้าใจในสทิ แิ ละหน้าทแี่ ละจดั สรรประโยชนใ์ หเ้ ป็น รรม
S2.1 สิท ิและหนา้ ทข่ี องผู้นา/ กรรมการ

กษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

13 -

รหัส ประเด็นปญั หา หรอื พัฒนายาก
B2.1-1 ผ้นู า/กรรมการ ไม่ปฎิบัตติ ามกฎขอ้ บงั คบั ของกลุ่ม

B2.1-2 ผู้นา/กรรมการ ละเลยในหนา้ ท่ขี องตนเอง
B2.1-3 ความไมโ่ ปรง่ ใสในการทางานของผู้นา/ กรรมการ

B2.1-4 ผู้นา/ กรรมการ เป็นผสู้ งู อายมุ มี มุ มองในการบริหารกลมุ่ ทไี่ มท่ ันสมยั ไม่กลา้
เปลย่ี นแปลงยึดติดกับ ความคดิ เดมิ ๆ

B2.1-5 ผู้นาคนเก่าไม่มกี ารถา่ ยทอดองค์ความรู้ให้กับผู้นาใหม่เม่ือมีการปรบั เปลีย่ นผนู้ า
B2.1-6 ผู้นา/กรรมการทางานไมเ่ ป็นทีม ไมม่ กี ารประสานงานกบั ฝา่ ยบรหิ าร/เจา้ หน้าท่ี และ

สมาชิก
B2.1-7 ผนู้ า/กรรมการ ยงั ไม่เขา้ ใจเร่ืองสทิ ธแิ ละหนา้ ทขี่ องตนเองและของกลมุ่
B2.2 สิท แิ ละหน้าที่ของสมาชิก
B2.2-1 สมาชกิ ไมป่ ฎิบัติตามกฎขอ้ บงั คับของกลุ่ม

B2.2-2 สมาชิกละเลยในสิทธแิ ละหน้าทขี่ องตนเอง
B2.2-3 สมาชิกขาดการมสี ่วนร่วมในการตดิ ตามการทางานของกลุ่มอย่างตอ่ เนอ่ื ง
B2.2-4 สมาชิกทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกับผู้นา/กรรมการ และฝ่ายบริหาร/

เจา้ หน้าท่ี
B2.2-5 สมาชกิ ยังไมเ่ ขา้ ใจเรอื่ งสิทธแิ ละหน้าท่ขี องตนเองและของกลุ่ม
B2.3 สทิ ิและหนา้ ทข่ี องฝ่ายบรหิ าร/ เจ้าหน้าที่

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ

- 21

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพนื้ ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปัญหา
S2.1-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเขา้ ใจ และปลกู จิตสานึก แก่ผู้นา/กรรมการ ในเรื่องสทิ ธิ

หน้าท่ี ของตนเองและกลุ่มอย่างต่อเนอื่ ง
S2.1-2 จัดอบรมให้ความร้เู ร่อื งหลกั ธรรมภบิ าลแกผ่ ้นู า/กรรมการ
S2.1-3 ส่งเสริมให้ผู้นา/คณะกรรมการ เลือกใช้กระบวนการในการถ่ายทอดความรู้ที่เหมาะสม

แก่สมาชกิ
S2.1-4 ผลักดันให้ผู้นา/กรรมการ ปฎิบัติตามกฎและหน้าที่ที่ถูกต้องให้เป็นแบบอย่างท่ีดีเพ่ือ

สรา้ งความน่าเชื่อถือใหก้ บั สมาชิก
S2.1-5 สรา้ งผนู้ ารุน่ ใหมแ่ ละควรมกี ารถา่ ยทอดอุดมการณด์ ่งั เดิมกบั ผ้นู ารนุ่ ใหม่

S2.2 สิท แิ ละหนา้ ทข่ี องสมาชกิ
S2.2-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึก แก่สมาชิกในเร่ืองสิทธิ หน้าท่ี

ของตนเองและกลมุ่ อย่างต่อเน่ือง
S2.2-2 ทาความเขา้ ใจกับสมาชิกใหเ้ หน็ ถงึ ประโยชน์ของการรวมกลุม่ ทาธุรกจิ

S2.3 สิท แิ ละหน้าทีข่ องฝ่ายบริหาร/ เจา้ หนา้ ที่

กษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

14 -

รหสั ประเด็นปญั หา หรอื พฒั นายาก
B2.3-1 ฝา่ ยบริหาร/เจ้าหนา้ ที่ ไม่ปฎิบตั ิตามกฎข้อบงั คบั ของกลุม่
B2.3-2 ฝา่ ยบริหาร/เจา้ หนา้ ที่ ละเลยในหน้าทข่ี องตนเอง
B2.3-3 ความไม่โปรง่ ใสในการทางานของฝ่ายบริหาร/ เจ้าหนา้ ที่
B2.3-4 ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ ทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกับผู้นา/กรรมการ และ

สมาชกิ
B2.3-5 ฝา่ ยบรหิ าร/เจา้ หน้าท่ี ยังไมเ่ ขา้ ใจเรื่องสทิ ธแิ ละหน้าท่ขี องตนเองและของกลุม่
B2.4 การจดั สรรผลประโยชนแ์ ละพฒั นาสมาชกิ
B2.4-1 นโยบายในการจดั สรรผลประโยชน์ไมต่ รงกับความต้องการของสมาชกิ
B2.4-2 การจดั สรรผลประโยชนไ์ ม่ชดั เจน

ขั้นที่ 3 พัฒนาโมเดล รุ กจิ และระบบการจดั การกลุม่ ใหท้ นั สมัย
B3.1 โมเดล รุ กิจ
B3.1-1 ไมม่ ขี อ้ มลู หรือการเก็บข้อมูลเพ่อื ใชใ้ นการจดั ทาแผนธุรกจิ

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 21

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพฒั นาพ้ืนท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปญั หา
S2.3-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึก แก่ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ี ใน

เรื่องสทิ ธิ หน้าท่ี ของตนเองและกลมุ่ อย่างต่อเนอื่ ง
S2.3-2 จดั อบรมใหค้ วามรู้เรื่องหลกั ธรรมภิบาลแก่ฝา่ ยบริหาร/เจา้ หนา้ ที่
S2.3-3 จัดฝึกอบรมถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ใหม่ๆ เพอื่ นาไปสูก่ ารพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร
S2.3-4 ผลักดันใหฝ้ า่ ยบรหิ าร/เจา้ หน้าท่ี ปฎิบตั ิตามกฎและหน้าทที่ ีถ่ กู ต้องใหเ้ ป็นแบบอย่างที่ดี

เพือ่ สร้างความนา่ เช่ือถือให้กับสมาชกิ

S2.4 การจดั สรรผลประโยชน์และพฒั นาสมาชกิ
S2.4-1 จดั กจิ กรรมเพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การจัดสรรผลประโยชน์ท่ีจะไดร้ บั
S2.4-2 จัดสรรเงินทนุ เพ่ือการพฒั นาสมาชกิ
S2.4-3 จัดทาแผนการพัฒนาความรู้เรื่องสหกรณ์ให้กับสมาชิกควบคู่กับการให้ความรู้ของกรม

ส่งเสริม
S2.4-4 ส่งเสริมให้มีการสืบทอดงานสหกรณ์จากรุ่นสูร่ ุ่นเพ่ือความย่ังยืนด้วยการสง่ เสริมรายได้

จากอาชีพใหม่ๆ ที่สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของท้องถิน่ / ภมู ปิ ระเทศ
S2.4-5 จัดกจิ กรรมศกึ ษาดูงานกล่มุ ทป่ี ระสบความสาเร็จ
ข้นั ท่ี 3 พัฒนาโมเดล ุรกิจและระบบการจดั การกลุ่มให้ทันสมัย
S3.1 โมเดล ุรกจิ
S3.1-1 ให้ความรู้เก่ียวกับการทาธรุกิจ การบริหารธุรกิจ การจัดทาแผนธุรกิจ และช้ีให้เห็นถึง

ประโยชน์ทีจ่ ะไดร้ ับจากการพฒั นาธรุ กิจ

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

15 -

รหัส ประเดน็ ปัญหา หรอื พัฒนายาก
B3.1-2 สหกรณ์ขาดการจัดทาโมเดลธุรกิจและการวางแผนพัฒนาธุรกิจให้มีความต่อเนื่อง

เนือ่ งจากไม่กลา้ ลงทุนและไมม่ ีเงินลงทุน
B3.1-3 สมาชิกกลมุ่ ส่วนใหญเ่ ป็นผู้สุงอายยุ งั ไมค่ ่อยยอมรบั ธรุ กิจในรปู แบบใหม่ๆ
B3.1-4 บุคลากร (ผ้นู าฝา่ ยจดั การ คณะกรรมการ) ทาแผนพัฒนาธรุ กิจไมเ่ ปน็

B3.1-5 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) ขาดความรู้ ความเขา้ ใจ และประสบการณใ์ น
การทาธุรกจิ

B3.1-6 บุคลากร (ผนู้ า ฝา่ ยจัดการ คณะกรรมการ) ขาดความรูด้ า้ นการตลาด การผลติ มาตรฐาน
การผลติ การสรา้ งแบรนด์ การเพมิ่ ผลผลิต การแปรรูป

B3.2 กฎกติกาในการอย่รู ว่ มกัน
B3.2-1 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) และสมาชิกไม่ปฏิบัติตามกฎกติกา ระเบียบ

ข้อบงั คบั
B3.2-2 สมาชิกในกล่มุ ไมป่ ฏิบตั ิตามแผนงานประจาปีทกี่ าหนดไว้

สานักงานศนู ย์วจิ ัยและให้คาปรึก

- 21

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพ้ืนทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปัญหา

S3.1-2 จัดหาผทู้ ี่มีความเชย่ี วชาญและประสบการณใ์ นการสร้างโมเดลธรุ กจิ มาช่วยให้คาปรกึ ษา
ดา้ นตา่ งๆ เช่น การตลาด การผลติ มาตรฐานการผลติ การสร้างแบรนด์ การเพ่มิ ผลผลติ
การแปรรูป เป็นตน้ แก่บุคลากรในกล่มุ

S3.1-3 สนับสนนุ และสง่ เสรมิ ให้นาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการทาธรุ กิจ
S3.1-4 สนับสนุนข้อมูลทางการตลาด และแนวโน้มตลาดให้กับเกษตรกรเป็นประจา เพ่ือให้

เกษตรกรนาขอ้ มลู ไปวเิ คราะห์และวางแผนตลาดให้ตรงกบั ความต้องการของตลาดมาก
ยิง่ ขน้ึ
S3.1-5 ฝึกอบรมให้บุคลากร (ผู้นา คณะกรรม ฝ่ายจัดการ) ให้รู้จักศึกษาและวิเคราะห์ข้อมลู ที่
ได้รวบรวมมาใหเ้ กิดประโยชน์ เช่น การวิเคราะหค์ วามต้องการให้ตรงกับความต้องการ
ของตลาด
S3.1-6 ผู้นาต้องแสวงหาความรู้ใหม่ๆ ให้ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน และต้องกล้าคิด กล้าทา
กล้าตดั สินใจ
S3.1-7 กาหนดมาตรฐานของสนิ ค้าเพือ่ เพ่มิ มูลคา่ ให้กับสนิ คา้
S3.1-8 นาธุรกิจรูปแบบใหม่เข้ามาดาเนินธุรกิจของกลุ่ม และอธิบายชี้แจงให้ทุกคนท่ีเก่ียวข้อง
นาไปปฏิบัติ
S3.1-9 สร้างโมเดลธรุ กจิ จดั ทาแผนธุรกจิ และแผนบรหิ ารความเสย่ี ง
S3.2 กฎกตกิ าในการอยูร่ ่วมกนั
S3.2-1 สร้างความเข้าใจถึงการมีส่วนร่วมในการทาธุรกิจให้แก่ทุกคนในกล่มุ (ผู้นา ฝ่ายบริหาร
สมาชิก)
S3.2-2 กาหนดกฎระเบยี บการอยรู่ ่วมกนั และมบี ทลงโทษเมือ่ ทาผดิ กฎอย่างชัดเจน

กษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

16 -

รหสั ประเดน็ ปัญหา หรือ พฒั นายาก
B3.2-3 สมาชิกมีสว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการกล่มุ น้อย
B3.3 ระเบยี บบญั ชกี ารเงิน
B3.3-1 ไมม่ ีบคุ ลากรท่ีสามารถทาบญั ชีได้
B3.3-2 ไม่มีระบบบญั ชแี ละขอ้ มูลท่เี พยี งพอสาหรบั การบรหิ าร
B3.3-3 ไม่มกี ารอพั เดทบญั ชแี ละสต๊อกสนิ ค้าให้เปน็ ปัจจบุ ัน

B3.3-4 บคุ ลากร (ผ้นู า ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) ไมม่ คี วามร้แู ละความเขา้ ใจในระบบบญั ชี
B3.3-5 สมาชกิ ไมส่ นใจทาบัญชีครัวเรอื นและควบคมุ รายจา่ ย

B3.4 ฐานข้อมลู และการรายงานผล
B3.4-1 ไม่มฐี านขอ้ มูลสมาชิก

B3.4-2 ไม่มีการอัพเดทฐานขอ้ มลู และการจัดทารายงานผล
B3.4-3 ฐานข้อมลู และการรายงานผลมีความคลาดเคลือ่ นและไมท่ ันตอ่ เวลา
B3.5 การควบคมุ ายใน
B3.5-1 ไม่มีการกาหนดรูปแบบการควบคุมภายใน เช่น วิธีการป้องกันและการเรียนรู้จาก

ขอ้ ผดิ พลาดจากการดาเนินงาน
B3.5-2 การควบคุมภายในจากการครอบงาที่ไม่โปรง่ ใส หวังผลประโยชนส์ ว่ นตนและพวกพ้อง

สานกั งานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึก

- 21

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพื้นท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปญั หา
S3.2-3 ส่งเสรมิ ใหท้ ุกฝ่ายร่วมกันวางแผนในการทาธรุ กิจ การทาการตลาด
S3.3 ระเบยี บบญั ชกี ารเงิน
S3.3-1 จัดหาเจา้ หน้าทดี่ ้านบญั ชี
S3.3-2 สร้างระบบบญั ชบี นแพตฟอร์มเดียวกันทง้ั ประเทศ โดยแยกตามประเภทสหกรณ์
S3.3-3 ให้ความรู้ด้านการจัดทาบัญชีแก่ทุกคนในกลุ่ม และช้ีแจงทาความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเลข

ทางบัญชแี กส่ มาชกิ รวมถึงสง่ เสริมให้สมาชิกจัดทาบัญชี
S3.3-4 สร้างจิตสานกึ ใหส้ หกรณเ์ หน็ ถงึ ความสาคัญของระบบบัญชแี ละการจัดทาฐานข้อมลู
S3.3-5 สร้างวินยั ในการจดบันทึกบญั ชคี รวั เรือนแกส่ มาชกิ
S3.3-6 ส่งเสรมิ ใหเ้ จา้ หนา้ ทีน่ าขอ้ มูลทางการเงินมาวิเคราะหห์ าจุดคมุ้ ทนุ
S3.3-7 จัดให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติงานระหว่างกัน
S3.4 ฐานข้อมูลและการรายงานผล
S3.4-1 จัดทาฐานข้อูลและการรายงานผลให้อยู่ในรูปแบบสารสนเทศเพ่ือง่ายต้องการนามาใช้

ตัดสินใจ
S3.4-2 อพั เดทฐานขอ้ มูลและการจดั ทารายงานผลใหเ้ ป็นปัจจบุ นั อย่ตู ลอดเวลา

S3.5 การควบคมุ ายใน
S3.5-1 สรรหาผู้ตรวจสอบกจิ การและผลักดนั ให้ผ้ตู รวจสอบกิจการต้องควบคุมตรวจสอบอยา่ ง

จรงิ จัง

กษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

17 -

รหสั ประเด็นปญั หา หรือ พฒั นายาก
ข้นั ท่ี 4 เพิ่มประสิท ิ าพการผลิตและการขาย
B4.1 ลดต้นทนุ การผลติ
B4.1-1 ขาดความรู้ในการวเิ คราะหต์ ้นทุนส่งผลให้การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพและการขายลดน้อยถอย

ลง
B4.1-2 ต้นทุนการผลติ สูงเกินไป

B4.1-3 ปญั หาในการปรับเปล่ียนวัตถดุ บิ เพ่อื ให้มารถลดตน้ ทุนได้

B4.1-4 ขาดความรูใ้ นการนาเทคโนโลยีมาชว่ ยในการลดต้นทุน
B4.1-5 สมาชกิ ไม่ใหค้ วามสาคญั กบั การคดิ ต้นทุนในการบรหิ ารจัดการ

B4.2 เพิม่ ผลผลติ / เพม่ิ มลู คา่ ผลผลิต
B4.2-1 ขาดความรู้ดา้ นการผลิตสินค้า มาตรฐานการผลิต และการตลาด ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ

B4.2-2 ขาดทักษะและประสบการณด์ ้านการแปรรูปผลผลติ เพอ่ื เพมิ่ ช่องทางการตลาด

B4.2-3 ขาดเครื่องมือท่ีช่วยใหก้ ารผลิตและการแปรปู ผลผลิต

B4.2-4 ไมม่ ีการศกึ ษาตลาดกอ่ นการเพิม่ ผลผลิตและไม่มกี ารศกึ ษาค่แู ข่งในตลาด

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและให้คาปรกึ

- 21

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพน้ื ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปญั หา

ขน้ั ที่ 4 เพ่มิ ประสทิ ิ าพการผลิตและการขาย
S4.1 ลดตน้ ทนุ การผลิต
S4.1-1 ใหค้ วามรู้ด้านการวิเคราะห์ตน้ ทุนให้กับสหกรณ์เพ่อื ใหอ้ งคก์ รรู้ตวั ตนของตนเอง

S4.1-2 สรา้ งความเขา้ ใจให้สมาชกิ เหน็ ถึงความสาคัญ ตระหนกั ถงึ การคานวณต้นทุนธรุ กจิ และ
สง่ เสริมให้มีการคานวณต้นทุนในแต่ละธรุ กจิ ให้ได้

S4.1-3 สรา้ งความเข้าใจและปรบั ทศั นคติในการใช้วตั ถดุ บิ เพื่อเป็นการลดต้นทนุ เชน่ ปยุ ยาฆ่า
แมลง เป็นต้น

S4.1-4 สนับสนนุ การรวมกลมุ่ /เครือข่าย เพ่ือลดตน้ ทุน
S4.1-5 สนับสนุนให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเข้ามาให้ความรู้ สาธิตการเปลี่ยนแปลงการนา

เทคโนโลยีต่างๆ มาใชใ้ นการลดตน้ ทุน ชีใ้ หเ้ หน็ ถึงขอ้ ดี
S4.2 เพม่ิ ผลผลิต/ เพ่ิมมลู คา่ ผลผลิต
S4.2-1 จดั หาผเู้ ช่ยี วชาญและผ้ทู มี่ ีประสบการณ์ดา้ นการผลิตมาเป็นทีป่ รึกษาให้ความรูด้ า้ นการ

ผลติ และการตลาด
S4.2-2 จัดกิจกรรมพัฒนาเจ้าหน้าท่ีให้มีความรู้ ความสามารถ ในการให้คาแนะนา ส่งเสริม

สมาชิก

S4.2-3 ส่งเสริมให้กรรมการ ฝ่ายจัดการ สมาชิก ศึกษาเรียนรู้เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ
และได้มาตรฐานพรอ้ มออกสตู่ ลาด สามารถแข่งขันได้

S4.2-4 ส่งเสริมให้บุคลากรวางแผน วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการตลาดก่อนการผลิตเพ่ือลดความ
เสีย่ งดา้ นการผลิต

กษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

18 -

รหสั ประเด็นปญั หา หรือ พฒั นายาก

B4.2-5 ไม่มีการอัพเดทข้อมูลผลผลิตให้เป็นปัจจุบัน ทาให้การบริหารจัดการ การวางแผนจาหน่าย
ผลผลติ ออกสู่ตลาดไมแ่ นน่ อน
B4.2-6 บุคลากร (ผู้นา คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ) ไม่มีการนากลยุทธ์ทางการตลาดมาปรับใช้ในการ
กาหนดแผนการผลติ การขาย และการตลาด
B4.2-7 สนิ ค้า/ บริการ ยงั ไมต่ รงตามความตอ้ งการของตลาด
B4.2-8 สนิ ค้า/ บริการ ไม่มีคณุ ภาพและไมไ่ ดม้ าตรฐานอย่างต่อเนอ่ื ง
B4.2-9 สหกรณ์ยังยึดติดกับพ่อค้ารายเดิม ทาให้ขาดการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
ผลิตภณั ฑ์
B4.2-10 สมาชกิ ในกลมุ่ ไมใ่ ห้ความสาคัญและความสนใจในการทาธรุ กิจหรอื การแปรรูปผลผลติ
B4.3 เพมิ่ ประสิท ิ าพการเขา้ ถึงตลาด/ กลุ่มเปา้ หมาย
B4.3-1 ขาดเงนิ ทนุ ในการขยายธุรกจิ และตลาด

B4.3-2 ไม่สามารถเข้าถึงหรือหาตลาดใหม่ๆ ได้ เน่ืองจากไม่สามารถสู้กับระบบทุนนิยมหรือพ่อค้าคน
กลางได้

B4.3-3 สภาพแวดลอ้ ม สภาพพืน้ ที่ ทาใหไ้ มส่ ามารถขยายธุรกิจ ขยายตลาด หรอื พฒั นาดา้ นต่างๆ ได้
ข้ันท่ี 5 กระต้นุ การมสี ่วนร่วมของสมาชกิ ในขัน้ ตอนหลักของกล่มุ
B5.1 การจัดประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยและประชมุ กลมุ่ ใหญ่อยา่ งสมา่ เสมอ

B5.1-1 สมาชิกไม่ให้ความสาคัญในการทากิจกรรมกลุ่ม เนื่องจากไม่เข้าใจเรื่องสิทธิและหน้าท่ี
ของตนเอง หรอื ผลประโยชน์ท่ตี นเองจะได้รับ

B5.1-2 การประชมุ กลุ่มยอ่ ยหรอื ประชุมอ่ืนๆ ไมต่ ่อเนือ่ ง สมา่ เสมอ

B5.1-3 สมาชิกไม่มาประชมุ หรอื มาประชมุ แต่ไม่เสนอแนะข้อคดิ เห็น

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ

- 21

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพืน้ ทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปญั หา

S4.2-5 ให้ความรู้และส่งเสริมให้สมาชิกทาการเกษตรแบบสมัยใหม่ โดยใช้ข้อมูลด้านการตลาดท่ีเป็น
ปัจจุบัน

S4.2-6 จดั กจิ กรรมศึกษาดงู านในสถานที่ที่ประสบความสาเร็จ

S4.3 เพิ่มประสิท ิ าพการเข้าถึงตลาด/ กลุ่มเป้าหมาย
S4.3-1 สร้างเครือข่ายพันธมิตร ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อเช่ือมโยงธุรกิจในด้าน

เงินทนุ และการตลาด
S4.3-2 จัดอบรมให้ความรู้เพ่ือเพิ่มทักษะในการพัฒนาการหาช่องทางการจัดจาหน่าย การทา

การตลาดออนไลน์
S4.3-3 จดั ทาแผนการผลิตและแผนการตลาดเชงิ กลยทุ ธ์
ขนั้ ที่ 5 กระตนุ้ การมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ในข้ันตอนหลักของกลุ่ม
S5.1 การจดั ประชุมกลุ่มย่อยและประชมุ กล่มุ ใหญ่อย่างสมา่ เสมอ

S5.1-1 วางแผนปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีสถานที่ ช่วงเวลาที่เหมาะสมท่ีสมาชิกจะสามารถมารว่ ม
ประชมุ ออกความคดิ เหน็ เสนอแนะได้

S5.1-2 จัดกิจกรรมอบรมกระตุ้นให้สมาชิกตระหนักถึงความสาคัญของการมสี ่วนรว่ มและสร้าง
ความเขา้ ใจถึงประโยชน์ในการประชุม

S5.1-3 จดั กิจกรรมอบรมสร้างความศรัทธาและความเชอ่ื มัน่ ใหม้ ตี ่อกล่มุ

กษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

19 -

รหัส ประเดน็ ปัญหา หรอื พฒั นายาก
B5.1-4 การมีส่วนร่วมในการบริหารกลุ่มของบุคลากรในกลุ่ม (ผู้นา/กรรมการ ฝ่ายบริหาร/

เจ้าหน้าที่ และสมาชิก)ยังเป็นเพียงบางส่วน
B5.1-5 ไม่มีบทลงโทษผูท้ ไ่ี มม่ ีส่วนร่วม
B5.1-6 ไมม่ กี ารประชาสมั พนั ธ์ข่าวสารแกส่ มาชกิ

ขัน้ ที่ 6 สง่ เสริมการใช้ฐานข้อมูลและองคค์ วามรเู้ พ่ือปรบั ปรงุ การบรหิ ารกลุ่ม
B6.1 การวเิ คราะหแ์ ละใชป้ ระโยชนจ์ ากรายงานทางการเงิน
B6.1-1 ไม่มรี ะบบฐานข้อมลู

B6.1-2 ขาดเคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการเกบ็ ข้อมลู ทีเ่ ปน็ แบบมาตรฐานสากล
B6.1-3 มีการเปลยี่ นแปลงแบบฟอร์มที่ใชใ้ นการเก็บขอ้ มูลอยู่บอ่ ยครง้ั ทาใหเ้ กดิ ความซ้าซอ้ น

B6.1-4 ขาดการจัดเก็บข้อมูลพ้ืนฐานท่ีจาเป็นของสมาชิกที่นามาใช้ประโยชน์ได้ เช่น ข้อมูลการ
ผลติ ขอ้ มูลทางการเงนิ เป็นตน้

B6.1-5 ไมม่ ีการอัพเดทระบบฐานข้อมลู ให้เป็นปัจจุบนั

B6.1-6 ฐานข้อมูลขององค์กรยังเป็นข้อมูลดิบ ขาดการวิเคราะห์ทาให้ไม่สามารถนามาใช้
ประโยชน์ได้

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ

- 22

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพืน้ ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปัญหา

S5.1-4 จัดกิจกรรมที่สร้างการมีส่วนร่วมหรือจัดประชุมทุกเดือนและให้มีความต่อเนื่อง ค่อยๆ
ดงึ สมาชิกให้มสี ่วนร่วมและขยายผลไปเรอ่ื ยๆ

S5.1-5 สรรหาผูน้ าท่มี คี วามรู้ ประสบการณด์ ้านธรุ กจิ ทแ่ี ท้จริงมาช่วยในการขับเคล่อื นกลุ่ม
S5.1-6 เพ่ิมช่องทางในการสือ่ สาร ประชาสัมพนั ธข์ า่ วสารกจิ กรรมของกลุม่ ในระบบ IT
S5.1-7 กาหนดบทลงโทษสาหรับผ้ทู ีไ่ ม่เข้าประชุม
ขั้นที่ 6 ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมลู และองคค์ วามรเู้ พ่ือปรบั ปรงุ การบริหารกลุ่ม
S6.1 การวิเคราะห์และใชป้ ระโยชน์จากรายงานทางการเงิน
S6.1-1 สร้างระบบฐานข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน รวมถึงองค์ความรู้ท่ีเป็นมาตรฐานโดยกรม

สง่ เสริมสหกรณแ์ ละเผยแพร่ใหผ้ ู้ท่มี ีสว่ นเกี่ยวขอ้ งนาไปใช้ ซงึ่ สามารถเรยี กใชแ้ ละเขา้ ถึง
ได้ทุกภาคส่วนท่ีเก่ยี วขอ้ ง
S6.1-2 อัพเดทฐานข้อมูลให้เป็นปัจจบุ นั และวเิ คราะหข์ ้อมูลจากสภาพความเปน็ จรงิ
S6.1-3 จัดอบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นถึงความสาคัญในการนาข้อมูลจาก
ฐานข้อมูลมาวเิ คราะห์ ใชป้ ระโยชน์ในการตดั สนิ ใจ วางแผนกลมุ่
S6.1-4 สรรหาคณะกรรมการหรือฝ่ายจัดการที่มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทาฐานข้อมูลมา
ถา่ ยทอดการจดั ทาฐานขอ้ มลู ของกลุม่
S6.1-5 สง่ เสรมิ ให้มีการนาเคร่ืองมอื สารสนเทศทางการเงนิ หรือโปรแกรมสาเร็จรปู ทีช่ ่วยในการ
วิเคราะห์ข้อมลู มาใช้ในการปรับปรุงบรหิ ารงานกล่มุ
S6.1-6 ส่งเสริมให้มกี ารวิเคราะหข์ ้อมูลทางการเงินอย่างสม่าเสมอ เพ่ือให้ทราบถึงสถานการณ์
การดาเนินธรุ กจิ ในปจั จบุ นั และทราบถงึ ปัญหาอยา่ งทนั ถว่ งที

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

20 -

รหัส ประเด็นปญั หา หรอื พฒั นายาก

B6.1-7 ฝา่ ยบรหิ าร/ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ไมใ่ หค้ วามสาคัญกบั ข้อมลู ทางการเงินมาใชใ้ นการบรหิ าร
กลุ่ม

B6.1-8 คณะกรรมการกลุ่มยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจในการนาฐานข้อมูลและองค์ความรู้มาใช้
ประโยชน์

B6.1-9 สมาชกิ ทเ่ี ปน็ ผสู้ งู อายุ ไม่มคี วามรดู้ า้ นบญั ชี
B6.1-10 ไมม่ ีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารความรู้แก่สมาชกิ
B6.2 การหาความรูใ้ หม่มาปรับปรงุ การบรหิ ารกลุ่ม
B6.2-1 คณะกรรมการผดิ กั้นความรู้ใหม่ๆ ไม่ยอมเรียนรู้ และไม่ยอมรับการเปล่ียนแปลงหรอื รับ

ฟังความคิดจากฝ่ายส่งเสริมฯ
B6.2-2 คณะกรรมการไม่รวู้ ธิ ีการนาความรู้ใหม่ๆ ที่ได้มาปรบั ปรงุ การบริหารกลุ่ม
ข้นั ท่ี 7 สรา้ งทกั ษะการทางานร่วมกบั หนว่ ยงาน ใหต้ รงจดุ สาคัญและต่อเนื่อง
B7.1 รบู้ ทบาทการใหบ้ ริการของแตล่ ะหนว่ ยงาน
B7.1-1 วิสัยทัศน์ของผู้นากลุ่มท่ีไม่เปิดรับหน่วยงานภายนอก เน่ืองจากกลัวเสียประโยชน์หาก

ฝ่ายห่นง่ จะไดร้ ับประโยชนจ์ ากกลมุ่ บา้ ง
B7.1-2 ไมส่ ามารถเข้าถึงขอ้ มูลของหนว่ ยงานต่างๆ ได้
B7.1-3 ข้อมลู ของหนว่ ยงานตา่ งๆ ไมม่ ีการอัพเดทให้เป็นปัจจุบนั
B7.2 รจู้ ักใชป้ ระโยชน์จากความรู้และทรพั ยากรของหนว่ ยงาน
B7.2-1 ไม่กลา้ มพี นั ธมติ ร
B7.2-2 ขาดการเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างกลุ่มหรือหน่วยงานภายนอก เพราะมองว่าระบบ

ราชการมีข้ันตอนทค่ี ่อนขา้ งยุ่งยาก

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ

- 22

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพนื้ ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปัญหา
S6.1-7 ติดตามและประเมินผลเจ้าหน้าท่ีในการนาข้อมูลจากฐานข้อมูลมาใช้ประโยชน์อย่าง

สม่าเสมอ
S6.1-8 ประชาสมั พันธข์ า่ วสารความร้แู ก่สมาชกิ อย่างสมา่ เสมอ

S6.2 การหาความรใู้ หม่มาปรับปรุงการบริหารกลมุ่
S6.2-1 จัดอบรมให้ความรใู้ หม่ทกุ ๆ 3 เดอื น

S6.2-2 สร้างสมาชิกรุ่นใหม่ ใหค้ วามรู้ทางดา้ นบญั ชี
ขั้นที่ 7 สรา้ งทักษะการทางานร่วมกบั หน่วยงาน ใหต้ รงจดุ สาคัญและตอ่ เนื่อง
S7.1 รบู้ ทบาทการให้บรกิ ารของแตล่ ะหน่วยงาน
S7.1-1 ส่งเสริมใหค้ ณะกรรมการ ฝ่ายจัดการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมลู ของหน่วยงานสนับสนุน

เพ่อื ขอรบั การสนับสนุนในดา้ นตา่ งๆ ทตี่ รงความต้องการของกลุ่ม
S7.1-2 เพิ่มการประชาสัมพันธ์ สร้างภาพลกั ษณ์ทด่ี ขี ององคก์ ร ใหห้ น่วยงานภายนอกได้รจู้ กั

S7.2 ร้จู ักใช้ประโยชนจ์ ากความร้แู ละทรพั ยากรของหนว่ ยงาน
S7.2-1 จัดอบรมใหค้ วามรู้ สร้างความเขา้ ใจในการบูรณาการเชอ่ื มโยงกับเครือขา่ ยอ่นื ๆ
S7.2-2 กาหนดแผนการสรา้ งพันธมิตรและบูรณาการจากแผนธรุ กจิ ท่ีเหมาะสมกับศกั ยภาพของ

กลุ่ม

กษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

21 -

รหัส ประเด็นปญั หา หรอื พัฒนายาก
B7.2-3 ไม่รวู้ ธิ ที ีจ่ ะเขา้ หาหน่วยงานภายนอกตา่ งๆ

B7.2-4 ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่ใหค้ วามสาคญั ในการบรู ณาการเชื่อมโยงกบั เครอื ข่ายอน่ื ๆ
B7.2-5 หน่วยงานเอกชนภายนอกเอาเปรียบ
B7.2-6 หน่วยงานภายนอกท่ีเข้ามาสนับสนุน สนับสนุนไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ ความต้องการ

ของสหกรณ์
B7.2-7 หน่วยงานภายนอกทีเ่ ขา้ มาสนบั สนนุ ไมม่ คี วามตอ่ เนือ่ ง
B7.2-8 หน่วยงานภาครัฐภายนอกเขา้ มาชว่ ยเหลือมากเกินไป จนสหกรณ์ไม่สามารถพ่งึ พาตนเอง

ได้
B7.2-9 เง่ือนไขของหน่วยงานภายนอกบางหน่วยงานมีข้อจากัดที่ทาให้ไม่สามารถเข้าถึงหรือ

เชื่อมโยงได้

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึก

- 22

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพื้นทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปัญหา
S7.2-3 เพิ่มช่องทางเพ่ือให้แต่ละหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้เข้ามาพบปะพูดคุยกันให้ความสาคัญ

ในการเชื่อมโยงเครือขา่ ยและทาให้เกดิ ความต่อเน่ือง เช่น การจัดเวทีแลกเปล่ยี นรู้ เป็น
ตน้
S7.2-4 กาหนดนโยบายในการสนับสนุนให้มีความต่อเน่ืองหรือกาหนดเป็นนโยบายหลัก เช่น
การจดั ทา timeline หรอื กาหนดในวาระการประชมุ ประจาเดือนของสหกรณ์ เปน็ ต้น
S7.2-5 ผลกั ดันใหม้ ตี วั แทนของสหกรณ์ทสี่ ามารถเจรจาประสานกบั หน่วยงานสนบั สนนุ ได้
S7.2-6 สนับสนุนการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ โดยให้มกี ารเชื่อมโยงเครือขา่ ยท้ังภาครัฐ เอกชน
และหนว่ ยงานต่างๆ
S7.2-7 แก้ไขกฎหมายใหส้ หกรณ์/กลมุ่ ในบางข้อท่ีจะทาใหส้ ามารถดาเนนิ งานได้คล่องตวั ข้นึ

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

22 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพื้นท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 ขัน้ ท่ี 1 ตรวจสอบความพรอ้ มของคนในพ้นื ที่
ในข้ันท่ี 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพ้ืนท่ี ได้แบ่งประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 16

ประเดน็ และขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 18 ประเด็น โดยแบ่งเป็น 3 กลุม่ ยอ่ ย ดงั นี้
4. กลุ่มย่อย B1.1 และ S1.1 สาเหตุจาเป็นท่ีต้องรวมกลุ่ม ประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็น
ปญั หา/พฒั นายาก และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปญั หาอย่างละ 5 ประเดน็
5. กลุ่มย่อย B1.2 และ S1.2 ความสามารถผู้นาในการขับเคล่ือนกลุ่มอย่างต่อเนื่อง
ประกอบด้วยประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 5 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไข
ปัญหา 8 ประเดน็
6. กลมุ่ ย่อย B1.3 และ S1.3 ความสามารถและความพร้อมของสมาชิกประกอบดว้ ยประเด็น
ทเ่ี ป็นปญั หา/พฒั นายาก 6 ประเดน็ และขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปญั หา 5 ประเด็น
ในภาพรวมของขั้นท่ี 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพื้นท่ี ผลการรวบรวมแบบสารวจ

พบวา่ มีผตู้ อบแบบสารวจ 117 คน คิดเปน็ ร้อยละ 95 ของผู้เขา้ รว่ มอบรมท้ังหมด โดยผู้ตอบแบบสารวจ
ได้ให้ความคิดเห็นเก่ียวกับประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก ไว้ทั้งหมด 16 ประเด็น ซ่ึง 3 อันดับแรกท่ี
ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคดิ เหน็ ได้แก่ อนั ดับท่ี 1 คอื B1.1-1 สมาชกิ ไม่มีความรู้ ความพรอ้ ม
และความเข้าใจในการรวมกลุ่ม มีผตู้ อบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ีจานวน 36 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 31 จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจทง้ั หมด 117 คน รองลงมาคือ B1.1-3 รวมกลุ่มเพราะต้องการ
รบั ผลประโยชนแ์ ตไ่ มไ่ ด้เหน็ ถึงความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ที่แทจ้ ริง เช่น ใช้ในการรับสทิ ธิทางด้านที่อยู่
อาศยั เทา่ น้ันไม่ได้มีการทากิจกรรมใดๆ เป็นต้น มผี ้ตู อบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้จี านวน
22 คน คิดเป็นร้อยละ 19 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน และอันดับที่ 3 คือ B 1.2-5
ผู้นาขาดความตั้งใจ เสียสละ ในการทางานเพื่อสหกรณ์อยา่ งจริงใจ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็น
ในประเดน็ นจี้ านวน 14 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12 จากจานวนผ้ตู อบแบบสารวจทง้ั หมด 117 คน

ซึ่งจากประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แกไ้ ขปัญหาท้ังหมด 18 ประเดน็ ดว้ ยกัน โดยประเดน็ ท่สี าคญั 3 อันดบั แรก ได้แก่ อนั ดับท่ี 1 คือ S1.1-
3 ทาความเข้าใจและปลูกฝังให้คนในกลุ่มตระหนักถึงความจาเป็น ความสาคัญ และประโยชน์ในการ
รวมกลุ่ม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นน้ี จานวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 41 จากจานวน
ผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 117 คน รองลงมา คือ S1.1-1 สารวจความต้องการที่แท้จริงในการรวมกลุ่ม
ก่อนการจัดตง้ั สหกรณ์ มผี ู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเดน็ นี้ จานวน 24 คน คดิ เป็นร้อยละ 21
จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 117 คน และอันดับท่ี 3 คือ S1.2-1 คัดเลือกผู้นาท่ีมีความพร้อม
และมีจิตอาสาในการปฎิบัติหน้าที่อย่างแท้จริง มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นนี้ จานวน
15 คน คิดเป็นร้อยละ 13 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 117 คน และประเด็นอ่ืนมีผู้ตอบแบบ
สารวจทีม่ สี ัดสว่ นลดหล่ันกันไป ดังตารางตอ่ ไปน้ี

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 223 -

ตารางท่ี 4.12 ประเด็นที่เป็นปัญหา/พฒั นายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปญั หาในขน้ั ท

บัน ดแตล่ ะขน้ั มปี ระเด็นใดท่ีเปน็ ปัญหา/ พัฒนายาก อะ รบ้าง จานวน คดิ เปน็
ผตู้ อบ %
รหัส ประเด็นปญั หา หรือ พัฒนายาก
36 31%
ขั้นที่ 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพน้ื ท่ี
B1.1 สาเหตจุ าเป็นท่ตี อ้ งรวมกลมุ่
B1.1-1 รวมกลุ่มจากนโนบายภาครัฐไม่ใชค่ วามต้องการของสมาชิก

B1.1-2 รวมกลุ่มจากการผลักดันขององค์กรภายนอกต่างๆ ให้ต้ังข้ึนไม่ใช่ 9 8%
ความตงั้ ใจของสมาชกิ ในกลมุ่ 22 19%

B1.1-3 รวมกลุ่มเพราะตอ้ งการรบั ผลประโยชน์แตไ่ มไ่ ด้เหน็ ถึงความสาคญั 5 4%
ของการรวมกลุ่มท่ีแท้จริง เช่น ใช้ในการรับสิทธิทางด้านที่อยู่ 3 3%
อาศัยเท่านัน้ ไม่ได้มกี ารทากจิ กรรมใดๆ เป็นต้น

B1.1-4 รวมกลุ่มเพราะต้องการเป็นสหกรณ์เพื่อใช้ประโยชน์จากการเป็น
นิติบุคคลในรูปแบบสหกรณ์หาประโยชน์หรือแบง่ ผลกาไรกัน

B1.1-5 รวมกลุ่มจากการที่ผลผลติ ไมม่ ีทีข่ าย/ ลน้ ตลาด

B1.2 ความสามารถผ้นู าในการขบั เคลอื่ นกลมุ่ อยา่ งตอ่ เนื่อง 1 1%
B1.2-1 ผนู้ ามาจากความมีอิทธิพล ไม่ได้มาจากความเต็มใจของสมาชกิ

B1.2-2 ผนู้ ากลมุ่ มกั เปน็ คนเดมิ ทอี่ ยมู่ านาน เช่น ผสู้ งู อายุ 3 3%

สานักงานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 22

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพน้ื ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ที่ 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพ้นื ที่

บนั ดแต่ละข้นั มีข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ ขปญั หาอยา่ ง รบา้ ง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปญั หา จานวน คิดเป็น
ผู้ตอบ %

ขัน้ ท่ี 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพ้นื ที่ 21%
9%
S1.1 สาเหตุจาเปน็ ทต่ี ้องรวมกลุม่

S1.1-1 สารวจความต้องการที่แท้จริงในการรวมกลุ่มก่อนการจัดตั้ง 24

สหกรณ์

S1.1-2 คดั เลือกสมาชกิ เข้ารวมกลมุ่ ที่มาจากสมคั รใจอย่างแทจ้ รงิ 11

S1.1-3 ทาความเข้าใจและปลูกฝังให้คนในกลุ่มตระหนักถึงความ 48 41%
จาเป็น ความสาคัญ และประโยชน์ในการรวมกลุ่ม

S1.1-4 กาหนดจุดมุ่งหมายของการรวมกลุ่มท่ีชัดเจนและวางแผนการ 2 2%
บริหารจดั การกล่มุ อยา่ งจริงจัง 10 9%

S1.1-5 ให้ทดลองรวมกลุ่มสหกรณ์ก่อน 1-2 ปี และหลังจากนั้นก็ทา 15 13%
การประเมนิ วา่ มีความพรอ้ มทจี่ ะเป็นสหกรณ์อยู่หรือไม่ 1 1%

S1.2 ความสามารถผ้นู าในการขบั เคลอ่ื นกลมุ่ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง
S1.2-1 คัดเลือกผู้นาท่ีมีความพร้อมและมีจิตอาสาในการปฎิบัติหน้าท่ี

อยา่ งแทจ้ ริง
S1.2-2 คดั เลอื กผูน้ าท่ีมีประสบการณ์ในการบรหิ ารงานแบบสหกรณ์

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

24 -

รหัส ประเด็นปญั หา หรอื พัฒนายาก จานวน คิดเปน็
B1.2-3 ผู้นาไม่มีประสบการณ์ในการทางานมาก่อน ขาดความต่อเนอื่ ง ผู้ตอบ %

1 1%

B1.2-4 ผู้นากลุ่มขาดความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถ ในการ 12 10%
ขบั เคล่ือนกลุม่ ไปในทศิ ทางทท่ีถกู ต้อง 14 12%

B1.2-5 ผู้นาขาดความตั้งใจ เสียสละ ในการทางานเพื่อสหกรณ์อย่าง
จรงิ ใจ

B1.3 ความสามารถและความพร้อมของสมาชิก 3 3%
B1.3-1 สมาชกิ ขาดความศรัทธาในตวั ผนู้ าและสหกรณ์
2%
B1.3-2 สมาชกิ กลุ่มขาดคนร่นุ ใหม่มารว่ มกลุ่ม 2 3%
B1.3-3 สมาชิกกลุ่มส่วนใหญ่เป็นคนรุ่นเก่ายึดติดกับความคิดแบบเดิมๆ 4

ไมก่ ลา้ เปลี่ยนแปลง

สานักงานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรึก

- 22

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /แก้ปญั หา จานวน คิดเปน็
ผู้ตอบ %

S1.2-3 สรรหาผู้นาท่ีมีศักยภาพในการรวมสมาชิกและเช่ือมโยงคนใน 2 2%

กลมุ่ ได้

S1.2-4 สรรหาผู้นาท่ีมีความรู้ ความสามารถ ในการขับเคลื่อนกลุ่มไป 3 3%

ในทิศทางทีถ่ ูกต้อง

S1.2-5 สร้างผู้นาร่นุ ใหม่ 11 9%

S1.2-6 สร้างกระบวนการหรือรูปแบบการพัฒนาที่ทาให้เกิดความ 4 3%
พร้อมในการรวมกลุ่ม และความชัดเจนในกฎ/กติกาของการ
รวมกลุ่ม 1 1%
4 3%
S1.2-7 ปรับแนวคิดของผนู้ าในการพูดคยุ เพอ่ื ให้เหน็ ความสาคญั ในการ
จัดตง้ั สหกรณแ์ ละบทบาทของผู้นาสหกรณ์ 6 5%
1 1%
S1.2-8 จัดอบรมให้ความรู้คณะทางานเพื่อให้เข้าใจแนวทางในการ 2 2%
ดาเนนิ งานท่ถี กู ตอ้ งไปในทิศทางเดยี วกัน

S1.3 ความสามารถและความพร้อมของสมาชิก
S1.3-1 คัดเลือกและตรวจสอบสมาชิกท่ีมีปัญหาอย่างแท้จริงเข้าร่วม

กลุ่ม
S1.3-2 จัดประชมุ กล่มุ ยอ่ ยเพ่อื สรา้ งความศรัทธาในตัวผูน้ าแกส่ มาชิก
S1.3-3 ปรับเปลี่ยนแนวคิดสมาชิกในกลุ่ม โดยใช้ตัวอย่างจากสมาชิก

ในกลมุ่ ที่ผ่านการนาไปปฏิบัติแลว้ ประสบความสาเร็จ

กษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

25 -

รหัส ประเดน็ ปญั หา หรือ พัฒนายาก จานวน คิดเป็น
ผตู้ อบ %

B1.3-4 สมาชิกไม่ค่อยมีเวลาและไม่เห็นความสาคัญของการรวมกลุ่มที่ 2 2%

แทจ้ รงิ ทาให้ไม่รวมกจิ กรรมของกลุ่มอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

B1.3-5 สมาชิกไม่มีความรู้ ความพร้อม และความเข้าใจในการวมกลุ่ม 11 9%

และประโยชนท์ แี่ ท้จริงทจี่ ะได้จากการรวมกลุ่ม

B1.3-6 สมาชิกยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ทางการเงินขั้นพื้นฐาน ไม่รู้ 5 4%

ตน้ ทุนการผลิตของครัวเรอื น

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 22

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพ้ืนที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปญั หา จานวน คดิ เป็น
ผ้ตู อบ %

S1.3-4 จดั กิจกรรมเตรียมความพร้อม สร้างความเข้าใจในการรวมกลุ่ม 4 3%

รวมถึงแนวทางในการดาเนินงานของกลุม่ ให้กบั สมาชกิ

S1.3-5 ส่งเสริมให้สมาชิกจัดทาบัญชีครัวเรือน สร้างวินัยในการออม 2 2%

และการใช้เงิน

กษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

26 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพื้นท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ขั้นที่ 2 สรา้ งความเขา้ ใจในสทิ ิ หนา้ ท่ี และจัดสรรประโยชนใ์ ห้เปน็ รรม
ในข้ันที่ 2 สร้างความเข้าใจในสิทธิ หน้าท่ี และจัดสรรประโยชน์ให้เป็นธรรม ได้แบ่งประเด็นท่ี

เป็นปัญหา/พัฒนายาก 19 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 16 ประเด็น โดยแบ่งเป็น 4
กลุ่มย่อย ดังนี้

1. กลุ่มย่อย B2.1 และ S2.1 สิทธิและหน้าที่ของผู้นา/กรรมการ ประกอบด้วยประเด็นท่ีเปน็
ปญั หา/พัฒนายาก 7 ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหา 5 ประเด็น

2. กลุ่มย่อย B2.2 และ S2.2 สิทธิและหน้าท่ีของสมาชิกประกอบด้วยประเด็นที่เป็นปัญหา/
พฒั นายาก 5 ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปญั หา 2 ประเด็น

3. กลมุ่ ย่อย B2.3 และ S2.3 สทิ ธแิ ละหน้าที่ของฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ปี ระกอบด้วยประเด็น
ที่เปน็ ปัญหา/พัฒนายาก 5 ประเด็น และขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหา 4 ประเดน็

4. กลมุ่ ยอ่ ย B2.4 และ S2.4 การจดั สรรผลประโยชนแ์ ละพัฒนาสมาชกิ ประกอบดว้ ยประเด็น
ทเ่ี ป็นปัญหา/พฒั นายาก 2 ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหา 5 ประเด็น

ในภาพรวมของขั้นที่ 2 สร้างความเข้าใจในสิทธิ หน้าที่ และการจัดสรรประโยชน์ให้เป็นธรรม
ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 117 คน คิดเป็นร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมอบรม
ทัง้ หมด โดยผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั ประเด็นที่เปน็ ปญั หา/พฒั นายาก ไวท้ ้งั หมด 19
ประเด็น ซึ่ง 3 อันดับแรกที่ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็น ได้แก่ อันดับที่ 1 คือ B2.2-5
สมาชิกยังไม่เข้าใจเร่ืองสิทธิ หน้าท่ีของตนเองและของกลุ่ม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นใน
ประเด็นนี้จานวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 42 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน รองลงมา
คือ B2.1-7 ผู้นา/กรรมการ ยังไม่เข้าใจเร่ืองสิทธิและหน้าที่ของตนเองและของกลุ่ม และ B2.3-5 ฝ่าย
บริหาร/เจ้าหน้าท่ียังไม่เข้าใจเร่ืองสิทธิ หน้าที่ของตนเองและของกลุ่ม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความ
คิดเหน็ ในประเดน็ น้จี านวน 41 คนเทา่ กนั คิดเปน็ รอ้ ยละ 35 จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจทั้งหมด 117
คน

ซ่ึงจากประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปญั หาไว้ทั้งหมด 16 ประเด็น โดยประเด็นที่สาคัญ 3 อนั ดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 คอื S2.2-1 จดั
อบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึกแก่สมาชิกในเรื่องสิทธิของตนเองและกลุ่มอย่าง
ต่อเนื่อง มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นนี้ จานวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 51 จากจานวน
ผตู้ อบแบบสารวจท้งั หมด 117 คน รองลงมา คือ S2.1-1 จดั อบรมใหค้ วามรู้ สรา้ งความเขา้ ใจ และปลกู
จติ สานกึ แก่ผู้นา/กรรมการ ในเรื่องสทิ ธิ หน้าท่ขี องตนเองและกลุ่มอย่างต่อเน่ือง มผี ้ตู อบแบบสารวจให้
ข้อเสนอแนะประเด็นน้ี จานวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 46 และอันดับท่ี 3 คือ S2.3-1 จัดอบรมให้
ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึกแก่ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ ในเร่ืองสิทธิ หน้าที่ของตนเอง
และกล่มอยา่ งต่อเนื่อง โดยมผี ตู้ อบแบบสารวจให้ขอ้ เสนอแนะประเด็นนี้ จานวน 40 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
34 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 117 คน และประเด็นอ่ืนมีผู้ตอบแบบสารวจที่มีสัดส่วน
ลดหล่ันกนั ไป ดงั ตารางต่อไปน้ี

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 227 -

ตารางที่ 4.13 ประเด็นทเ่ี ปน็ ปัญหา/พัฒนายาก และขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหาในข้ันท

บัน ดแต่ละข้ันมปี ระเดน็ ใดท่ีเปน็ ปญั หา/ พฒั นายาก อะ รบ้าง

รหสั ประเด็นปญั หา หรอื พัฒนายาก จานวน คิดเป็น
ผูต้ อบ %

ขัน้ ที่ 2 สรา้ งความเขา้ ใจในสทิ แิ ละหน้าทแ่ี ละจัดสรรประโยชน์ใหเ้ ปน็ รรม 10%

B2.1 สิท ิและหนา้ ท่ีของผู้นา/ กรรมการ

B2.1-1 ผนู้ า/กรรมการ ไม่ปฎิบตั ิตามกฎข้อบงั คับของกลุ่ม 12

B2.1-2 ผ้นู า/กรรมการ ละเลยในหน้าทข่ี องตนเอง 7 6%
B2.1-3 ความไม่โปรง่ ใสในการทางานของผู้นา/ กรรมการ 10 9%

B2.1-4 ผู้นา/ กรรมการ เป็นผู้สูงอายุมีมุมมองในการบริหารกลุ่มที่ไม่ 9 8%
ทันสมัย ไมก่ ลา้ เปลยี่ นแปลงยึดตดิ กับ ความคิดเดมิ ๆ 1 1%
7 6%
B2.1-5 ผู้นาคนเก่าไม่มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับผู้นาใหม่เม่ือมีการ 41 35%
ปรบั เปลี่ยนผนู้ า

B2.1-6 ผู้นา/กรรมการทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกับฝ่าย
บรหิ าร/เจา้ หนา้ ท่ี และสมาชกิ

B2.1-7 ผนู้ า/กรรมการ ยังไม่เขา้ ใจเรอ่ื งสิทธิและหน้าทีข่ องตนเองและของ
กล่มุ

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 22

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพนื้ ทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ที่ 2 สรา้ งความเข้าใจในสทิ ธิ หน้าที่ และการจดั สรรประโยชน์ใหเ้ ป็นธรรม

บัน ดแต่ละขนั้ มขี อ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ ขปัญหาอยา่ ง รบ้าง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปัญหา จานวน คดิ เป็น
ผูต้ อบ %

ข้ันท่ี 2 สร้างความเขา้ ใจในสิท แิ ละหน้าท่ีและจัดสรรประโยชนใ์ หเ้ ป็น รรม 46%

S2.1 สิท ิและหนา้ ทีข่ องผนู้ า/ กรรมการ 3%
1%
S2.1-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึก แก่ 54 5%
5%
ผู้นา/กรรมการ ในเรื่องสิทธิ หน้าท่ี ของตนเองและกลุ่มอย่าง

ตอ่ เน่ือง

S2.1-2 จดั อบรมให้ความรเู้ รอ่ื งหลกั ธรรมภิบาลแกผ่ ู้นา/กรรมการ 3

S2.1-3 ส่งเสริมให้ผู้นา/คณะกรรมการ เลือกใช้กระบวนการในการ 1

ถา่ ยทอดความรู้ที่เหมาะสมแกส่ มาชิก

S2.1-4 ผลักดันให้ผู้นา/กรรมการ ปฎิบัติตามกฎและหน้าที่ทถ่ี ูกต้องให้ 6

เปน็ แบบอยา่ งทดี่ เี พื่อสร้างความน่าเช่ือถือใหก้ บั สมาชกิ

S2.1-5 สร้างผู้นารุ่นใหม่และควรมีการถ่ายทอดอุดมการณ์ด่ังเดิมกับ 6

ผู้นารุ่นใหม่

กษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

28 -

รหัส ประเด็นปญั หา หรอื พัฒนายาก จานวน คดิ เปน็
ผตู้ อบ %
B2.2 สทิ ิและหนา้ ที่ของสมาชิก
B2.2-1 สมาชกิ ไมป่ ฎบิ ัติตามกฎขอ้ บงั คบั ของกลุ่ม 7 6%

B2.2-2 สมาชกิ ละเลยในสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของตนเอง 4 3%

B2.2-3 สมาชิกขาดการมีส่วนร่วมในการติดตามการทางานของกลุ่มอย่าง 8 7%
ตอ่ เนือ่ ง 6 5%
49 42%
B2.2-4 สมาชิกทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกับผู้นา/กรรมการ 10 9%
และฝ่ายบรหิ าร/เจ้าหน้าท่ี

B2.2-5 สมาชกิ ยงั ไมเ่ ข้าใจเร่ืองสิทธแิ ละหนา้ ที่ของตนเองและของกล่มุ
B2.3 สิท แิ ละหนา้ ท่ีของฝ่ายบริหาร/ เจ้าหนา้ ท่ี
B2.3-1 ฝา่ ยบรหิ าร/เจ้าหนา้ ท่ี ไม่ปฎบิ ัตติ ามกฎขอ้ บังคบั ของกลุ่ม

B2.3-2 ฝา่ ยบรหิ าร/เจ้าหนา้ ท่ี ละเลยในหนา้ ทข่ี องตนเอง 6 5%
B2.3-3 ความไมโ่ ปรง่ ใสในการทางานของฝ่ายบริหาร/ เจ้าหนา้ ท่ี 10 9%

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 22

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพน้ื ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปญั หา จานวน คดิ เป็น
ผตู้ อบ %

S2.2 สทิ แิ ละหนา้ ทข่ี องสมาชิก

S2.2-1 จัดอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลูกจิตสานึก แก่ 60 51%

สมาชิกในเรอ่ื งสทิ ธิ หน้าท่ี ของตนเองและกล่มุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

S2.2-2 ทาความเข้าใจกับสมาชิกให้เห็นถึงประโยชน์ของการรวมกลุ่ม 3 3%

ทาธุรกิจ

S2.3 สิท แิ ละหนา้ ที่ของฝา่ ยบรหิ าร/ เจ้าหนา้ ที่ 40 34%
S2.3-1 จดั อบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และปลกู จติ สานกึ แก่ฝา่ ย
2 2%
บริหาร/เจ้าหน้าที่ ในเร่ืองสิทธิ หน้าที่ ของตนเองและกลุ่ม 1 1%
อย่างตอ่ เน่ือง
S2.3-2 จัดอบรมให้ความรู้เร่ืองหลักธรรมภิบาลแก่ฝ่ายบริหาร/
เจ้าหนา้ ท่ี
S2.3-3 จัดฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อนาไปสู่การพัฒนา
ศกั ยภาพบุคลากร

กษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

29 -

รหัส ประเด็นปัญหา หรอื พัฒนายาก จานวน คดิ เป็น
ผ้ตู อบ %

B2.3-4 ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ี ทางานไม่เป็นทีม ไม่มีการประสานงานกบั 8 7%

ผู้นา/กรรมการ และสมาชกิ

B2.3-5 ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าที่ ยังไม่เข้าใจเร่ืองสิทธิและหน้าที่ของตนเอง 41 35%
และของกล่มุ
3 3%
B2.4 การจัดสรรผลประโยชน์และพฒั นาสมาชกิ 4 3%
B2.4-1 นโยบายในการจดั สรรผลประโยชนไ์ ม่ตรงกับความต้องการของ

สมาชิก
B2.4-2 การจดั สรรผลประโยชน์ไม่ชัดเจน

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึก

- 23

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพฒั นาพน้ื ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปัญหา จานวน คดิ เป็น
ผู้ตอบ %

S2.3-4 ผลักดันให้ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ี ปฎิบัติตามกฎและหน้าที่ท่ี 2 2%

ถูกต้องให้เป็นแบบอย่างที่ดีเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับ

สมาชกิ

S2.4 การจัดสรรผลประโยชนแ์ ละพัฒนาสมาชกิ 1 1%
S2.4-1 จัดกิจกรรมเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การจดั สรร 1 1%
1 1%
ผลประโยชน์ทีจ่ ะไดร้ บั 1 1%
S2.4-2 จัดสรรเงินทนุ เพ่ือการพัฒนาสมาชิก
S2.4-3 จดั ทาแผนการพัฒนาความรเู้ รื่องสหกรณ์ให้กบั สมาชกิ ควบคู่ 3 3%

กบั การให้ความรู้ของกรมสง่ เสรมิ
S2.4-4 สง่ เสริมใหม้ กี ารสืบทอดงานสหกรณจ์ ากรนุ่ ส่รู ุ่นเพอื่ ความย่งั ยืน

ดว้ ยการส่งเสริมรายได้จากอาชีพใหม่ๆ ที่สอดคล้องกบั บรบิ ท
ของท้องถนิ่ / ภมู ปิ ระเทศ
S2.4-5 จัดกิจกรรมศกึ ษาดูงานกลุ่มทปี่ ระสบความสาเรจ็

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

30 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

 ขัน้ ที่ 3 พัฒนาโมเดล รุ กิจและระบบการจัดการกลุ่มใหท้ นั สมยั
ในขั้นที่ 3 พัฒนาโมเดลธุรกิจและระบบการจัดการกลุ่มให้ทันสมัย ได้แบ่งประเด็นท่ีเป็น

ปัญหา/พัฒนายาก 19 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 22 ประเด็น โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม
ยอ่ ย ดงั นี้

1. กลุ่มย่อย B3.1 และ S3.1 โมเดลธุรกิจ ประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก 6
ประเด็นและขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 9 ประเดน็

2. กลุ่มย่อย B3.2 และ S3.2 กฎกติกาในการอยู่ร่วมกันประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/
พัฒนายากและข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปญั หาอยา่ งละ 3 ประเด็นเทา่ กัน

3. กลมุ่ ยอ่ ย B3.3 และ S3.3 ระเบียบบัญชีการเงนิ ประกอบด้วยประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนา
ยาก 5 ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปญั หา 7 ประเดน็

4. กลุ่มย่อย B3.4 และ S3.4 ฐานข้อมูลและการรายงานผลประกอบด้วยประเด็นที่เป็น
ปัญหา/พฒั นายาก 3 ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 2 ประเดน็

5. กลุ่มย่อย B3.5 และ S3.5 การควบคุมภายในประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนา
ยาก 2 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปญั หา 1 ประเดน็

ในภาพรวมของขนั้ ที่ 3 พฒั นาโมเดลธรุ กิจและระบบการจดั การกลุม่ ให้ทันสมัย ผลการรวบรวม
แบบสารวจพบว่ามีผตู้ อบแบบสารวจ 117 คน คิดเป็นร้อยละ 95 ของผเู้ ขา้ รว่ มอบรมทงั้ หมด โดยผ้ตู อบ
แบบสารวจได้ให้ความคิดเห็นเก่ียวกับประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก ไว้ทั้งหมด 19 ประเด็น ซ่ึง 2
อันดับแรกท่ีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็น ได้แก่ อันดับที่ 1 คือ B3.1-2 สหกรณ์ขาดการ
จัดทาโมเดลธุรกิจและการวางแผนพัฒนาธุรกิจให้มีความต่อเนื่อง เน่ืองจากไม่กล้าลงทุนและไม่มีเงิน
ลงทุน และ B3.1-5 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) ขาดความรู้ ความเข้าใจ และ
ประสบการณ์ในการทาธรุ กิจ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเหน็ ในประเด็นนจี้ านวน 27 คนเทา่ กัน คดิ
เปน็ ร้อยละ 23 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน รองลงมาคือ B3.1-6 บุคลากร (ผู้นา ฝา่ ย
จัดการ คณะกรรมการ) ขาดความรู้ด้านการตลาด การผลิต มาตรฐานการผลิต การสร้างแบรนด์ การ
เพ่ิมผลผลิต การแปรรูป มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ีจานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ
14 จากจานวนผตู้ อบแบบสารวจทง้ั หมด 117 คน

ซึ่งจากประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปัญหาไว้ทั้งหมด 22 ประเด็น โดยประเด็นที่สาคัญ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 คือ S3.1-1 ให้
ความรู้เก่ียวกับการทาธุรกิจ การบริหารธุรกิจ การจัดทาแผนธุรกิจ และช้ีให้เห็นถึงประโยชน์ที่จะไดร้ ับ
จากการพัฒนาธุรกิจ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นนี้ จานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 35
จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน อันดับที่ 2 คือ S3.1-2 จัดหาผู้ท่ีมีความเชี่ยวชาญและ
ประสบการณใ์ นการสร้างโมเดลธรุ กิจมาช่วยให้คาปรึกษาด้านตา่ งๆ เชน่ การตลาด การผลติ มาตรฐาน

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 231 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพ้ืนทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

การผลติ การสร้างแบรนด์ การเพิ่มผลผลติ การแปรรูป เป็นตน้ แกบ่ ุคลากรในกลุ่ม มีผตู้ อบแบบสารวจ
ให้ข้อเสนอแนะในประเด็นน้ีจานวน 19 คน เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 16 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจ
ทง้ั หมด 117 คน และอนั ดับที่ 3 คือ S3.3-3 ใหค้ วามรู้ดา้ นการจัดทาบญั ชแี กท่ กุ คนในกลุ่มและชี้แจงทา
ความเข้าใจเก่ียวกบั ตวั เลขทางบัญชีแก่สมาชิก รวมถงึ ส่งเสรมิ ให้สมาชิกจัดทาบญั ชี มผี ู้ตอบแบบสารวจ
ให้ข้อเสนอแนะจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 9 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน และ
ประเดน็ อน่ื มีผู้ตอบแบบสารวจทีม่ ีสดั ส่วนลดหลนั่ กนั ไป ดงั ตารางต่อไปนี้

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 232 -

ตารางท่ี 4.14 ประเด็นที่เปน็ ปัญหา/พฒั นายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขั้นท

บัน ดแต่ละขัน้ มีประเด็นใดทีเ่ ปน็ ปญั หา/ พฒั นายาก อะ รบา้ ง

รหสั ประเด็นปญั หา หรอื พฒั นายาก จานวน คดิ เป็น
ผู้ตอบ %

ขนั้ ท่ี 3 พัฒนาโมเดล ุรกิจและระบบการจัดการกลุ่มใหท้ ันสมัย 4%

B3.1 โมเดล รุ กิจ

B3.1-1 ไมม่ ขี ้อมลู หรือการเกบ็ ข้อมูลเพอ่ื ใช้ในการจัดทาแผนธุรกิจ 5

B3.1-2 สหกรณ์ขาดการจดั ทาโมเดลธุรกิจและการวางแผนพฒั นาธรุ กิจให้ 27 23%
มีความต่อเนือ่ ง เน่อื งจากไม่กล้าลงทนุ และไม่มเี งนิ ลงทนุ

B3.1-3 สมาชิกกลุ่มส่วนใหญ่เป็นผู้สุงอายุยังไม่ค่อยยอมรับธุรกิจใน 11 9%
รูปแบบใหม่ๆ 2 2%
23%
B3.1-4 บุคลากร (ผู้นาฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) ทาแผนพัฒนาธุรกจิ ไม่ 14%
เป็น

B3.1-5 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) ขาดความรู้ ความ 27
เข้าใจ และประสบการณ์ในการทาธรุ กิจ

B3.1-6 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) ขาดความรู้ด้าน 16
การตลาด การผลิต มาตรฐานการผลิต การสร้างแบรนด์ การเพ่ิม
ผลผลติ การแปรรูป

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ

- 23

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพน้ื ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ที่ 3 พฒั นาโมเดลธุรกจิ และระบบการจัดการกลุ่มให้ทนั สมัย

บัน ดแตล่ ะขนั้ มีขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ ขปญั หาอยา่ ง รบ้าง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปัญหา จานวน คดิ เป็น
ผตู้ อบ %

ข้ันท่ี 3 พฒั นาโมเดล ุรกิจและระบบการจัดการกลมุ่ ใหท้ นั สมยั

S3.1 โมเดล ุรกจิ

S3.1-1 ให้ความรูเ้ กี่ยวกบั การทาธรกุ จิ การบรหิ ารธรุ กจิ การจดั ทาแผน 41 35%

ธรุ กจิ และช้ีใหเ้ หน็ ถงึ ประโยชนท์ จ่ี ะไดร้ บั จากการพัฒนาธรุ กิจ

S3.1-2 จัดหาผู้ท่ีมีความเช่ียวชาญและประสบการณ์ในการสร้างโมเดล 19 16%

ธุรกิจมาช่วยให้คาปรึกษาด้านต่างๆ เช่น การตลาด การผลิต

มาตรฐานการผลิต การสร้างแบรนด์ การเพ่ิมผลผลิต การแปร

รปู เป็นต้น แกบ่ คุ ลากรในกล่มุ

S3.1-3 สนับสนุนและส่งเสรมิ ให้นาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการทาธุรกิจ 4 3%

S3.1-4 สนับสนุนข้อมูลทางการตลาด และแนวโน้มตลาดให้กับ 5 4%
เกษตรกรเป็นประจา เพือ่ ใหเ้ กษตรกรนาข้อมูลไปวิเคราะห์และ 3 3%
วางแผนตลาดใหต้ รงกับความต้องการของตลาดมากยิ่งขนึ้ 1 1%

S3.1-5 ฝึกอบรมให้บุคลากร (ผู้นา คณะกรรม ฝ่ายจัดการ) ให้รู้จัก
ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้รวบรวมมาให้เกิดประโยชน์ เช่น
การวิเคราะหค์ วามต้องการให้ตรงกับความตอ้ งการของตลาด

S3.1-6 ผู้นาต้องแสวงหาความรู้ใหม่ๆ ให้ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
และต้องกล้าคิด กล้าทา กล้าตดั สนิ ใจ

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

33 -

รหัส ประเดน็ ปญั หา หรือ พฒั นายาก จานวน คิดเป็น
ผตู้ อบ %

B3.2 กฎกตกิ าในการอยู่รว่ มกนั 2 2%
B3.2-1 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) และสมาชิกไม่ปฏิบตั ิ 1 1%
5 4%
ตามกฎกตกิ า ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ
B3.2-2 สมาชกิ ในกลุ่มไม่ปฏบิ ัติตามแผนงานประจาปที ่กี าหนดไว้ 2 2%
3 3%
B3.2-3 สมาชิกมีส่วนร่วมในการบริหารจดั การกล่มุ นอ้ ย 6 5%

B3.3 ระเบียบบญั ชกี ารเงนิ
B3.3-1 ไมม่ บี คุ ลากรทีส่ ามารถทาบัญชไี ด้
B3.3-2 ไมม่ ีระบบบัญชีและขอ้ มลู ท่ีเพยี งพอสาหรับการบริหาร

B3.3-3 ไมม่ กี ารอพั เดทบัญชีและสตอ๊ กสนิ ค้าให้เป็นปจั จุบัน

B3.3-4 บุคลากร (ผู้นา ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ) ไม่มีความรู้และความ 4 3%
เขา้ ใจในระบบบญั ชี 1 1%

B3.3-5 สมาชกิ ไมส่ นใจทาบัญชคี รวั เรือนและควบคุมรายจ่าย

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึก

- 23

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพน้ื ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหัส ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /แก้ปญั หา จานวน คิดเป็น
ผู้ตอบ %

S3.1-7 กาหนดมาตรฐานของสนิ คา้ เพือ่ เพมิ่ มลู ค่าใหก้ ับสินค้า 1 1%

S3.1-8 นาธุรกิจรูปแบบใหม่เข้ามาดาเนินธุรกิจของกลุ่ม และอธิบาย 1 1%

ชี้แจงใหท้ ุกคนทีเ่ กี่ยวขอ้ งนาไปปฏบิ ตั ิ

S3.1-9 สร้างโมเดลธุรกิจ จดั ทาแผนธรุ กิจ และแผนบริหารความเสีย่ ง 2 2%

S3.2 กฎกตกิ าในการอยู่ร่วมกัน

S3.2-1 สรา้ งความเขา้ ใจถงึ การมสี ่วนรว่ มในการทาธรุ กจิ ให้แก่ทกุ คนใน 5 4%

กลุ่ม (ผูน้ า ฝา่ ยบรหิ าร สมาชิก)

S3.2-2 กาหนดกฎระเบยี บการอยู่ร่วมกันและมีบทลงโทษเมือ่ ทาผดิ กฎ 6 5%

อย่างชดั เจน

S3.2-3 ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายร่วมกันวางแผนในการทาธุรกิจ การทา 3 3%

การตลาด

S3.3 ระเบยี บบญั ชีการเงนิ

S3.3-1 จดั หาเจ้าหนา้ ทดี่ ้านบญั ชี 3 3%

S3.3-2 สรา้ งระบบบญั ชีบนแพตฟอร์มเดยี วกนั ทง้ั ประเทศ โดยแยกตาม 1 1%

ประเภทสหกรณ์

S3.3-3 ให้ความรู้ด้านการจัดทาบัญชีแก่ทุกคนในกลุ่ม และชี้แจงทา 11 9%

ความเข้าใจเก่ียวกับตัวเลขทางบัญชีแก่สมาชิก รวมถึงส่งเสริม

ให้สมาชกิ จัดทาบญั ชี

S3.3-4 สร้างจิตสานกึ ให้สหกรณเ์ หน็ ถึงความสาคญั ของระบบบัญชีและ 1 1%

การจัดทาฐานข้อมูล

S3.3-5 สร้างวินัยในการจดบนั ทึกบญั ชคี รวั เรือนแก่สมาชกิ 1 1%

S3.3-6 ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่นาข้อมูลทางการเงินมาวิเคราะห์หา 4 3%

จุดคุม้ ทุน

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

34 -

รหสั ประเดน็ ปัญหา หรอื พฒั นายาก จานวน คดิ เป็น
ผู้ตอบ %

B3.4 ฐานขอ้ มลู และการรายงานผล 2 2%
B3.4-1 ไมม่ ีฐานข้อมลู สมาชกิ

B3.4-2 ไมม่ กี ารอพั เดทฐานขอ้ มูลและการจดั ทารายงานผล 5 4%

B3.4-3 ฐานข้อมูลและการรายงานผลมีความคลาดเคลื่อนและไม่ทันต่อ 2 2%
เวลา
2 2%
B3.5 การควบคมุ ายใน 4 3%

B3.5-1 ไมม่ ีการกาหนดรปู แบบการควบคุมภายใน เชน่ วิธีการปอ้ งกนั และ
การเรียนรจู้ ากขอ้ ผิดพลาดจากการดาเนินงาน

B3.5-2 การควบคุมภายในจากการครอบงาท่ีไม่โปร่งใส หวังผลประโยชน์
สว่ นตนและพวกพอ้ ง

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึก

- 23

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพืน้ ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปญั หา จานวน คดิ เป็น
ผูต้ อบ %

S3.3-7 จัดใหม้ กี ารตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงานระหวา่ งกัน 2 2%

S3.4 ฐานขอ้ มูลและการรายงานผล

S3.4-1 จัดทาฐานข้อูลและการรายงานผลให้อยู่ในรูปแบบสารสนเทศ 4 3%

เพ่ือง่ายตอ้ งการนามาใชต้ ดั สนิ ใจ

S3.4-2 อัพเดทฐานข้อมูลและการจัดทารายงานผลให้เป็นปัจจุบันอยู่ 4 3%

ตลอดเวลา

S3.5 การควบคมุ ายใน 2 2%

S3.5-1 สรรหาผตู้ รวจสอบกิจการและผลกั ดนั ใหผ้ ตู้ รวจสอบกจิ การต้อง
ควบคุมตรวจสอบอย่างจริงจัง

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

35 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพื้นท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

 ขนั้ ท่ี 4 เพิม่ ประสิท ิ าพการผลิตและการขาย
ในข้ันท่ี 4 เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและการขาย ได้แบ่งประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก 18

ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปญั หา 14 ประเด็น โดยแบง่ เปน็ 3 กล่มุ ยอ่ ย ดงั นี้
4. กลุ่มย่อย B4.1 และ S4.1 โมเดลธุรกิจ ประกอบด้วยประเดน็ ทเี่ ปน็ ปัญหา/พฒั นายากและ
ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาอย่างละ 5 ประเด็นเทา่ กนั
5. กลุ่มย่อย B4.2 และ S4.2 กฎกติกาในการอยู่ร่วมกันประกอบด้วยประเด็นที่เป็นปัญหา/
พฒั นายาก 10 ประเดน็ และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหา 6 ประเดน็
6. กลมุ่ ย่อย B4.3 และ S4.3 ระเบยี บบัญชีการเงนิ ประกอบด้วยประเด็นทีเ่ ปน็ ปัญหา/พัฒนา
ยากและข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาอยา่ งละ 3 ประเด็นเท่ากนั
ในภาพรวมของข้ันท่ี 4 เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและการขาย ผลการรวบรวมแบบสารวจ

พบวา่ มผี ู้ตอบแบบสารวจ 117 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95 ของผ้เู ขา้ ร่วมอบรมทง้ั หมด โดยผตู้ อบแบบสารวจ
ได้ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายาก ไว้ท้ังหมด 18 ประเด็น ซ่ึง 3 อันดับแรกที่
ผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็น ได้แก่ อันดับที่ 1 คือ B4.2-2 ขาดทักษะและประสบการณ์
ด้านการแปรรูปผลผลิตเพ่ือเพิ่มช่องทางการตลาด มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ี
จานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 21 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 117 คน รองลงมาคือ B4.1-1
ขาดความรู้ในการวิเคราะห์ต้นทุนส่งผลให้การเพิ่มประสิทธิภาพและการขายลดน้อยถอยลง มีผู้ตอบ
แบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ีจานวน 23 คนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 20 จากจานวนผู้ตอบ
แบบสารวจทั้งหมด 117 คน และอันดับที่ 3 คือ B4.2-1 ขาดความรู้ด้านการผลิตสินค้า มาตรฐานการ
ผลิต และการทาการตลาดท่ีมีประสทิ ธิภาพ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ีจานวน 20
คน คดิ เป็นร้อยละ 17 จากจานวนผ้ตู อบแบบสารวจทง้ั หมด 117 คน

ซ่ึงจากประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปัญหาไว้ท้ังหมด 14 ประเด็น โดยประเด็นที่สาคัญ 2 อันดับแรก ได้แก่ อันดับท่ี 1 คือ S4.2-1
จัดหาผู้เช่ียวชาญและผู้ที่มีประสบการณ์ด้านการผลิตมาเป็นที่ปรึกษาให้ความรู้ด้านการผลิตและ
การตลาด มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะ จานวน 23 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 จากจานวนผ้ตู อบแบบ
สารวจทั้งหมด 117 คน รองลงมาคือ S4.1-1 ให้ความรู้ด้านการวิเคราะห์ต้นทุนให้กับสหกรณ์เพื่อให้
องค์กรรู้ตัวตนของตนเอง มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นน้ี จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ
15 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 117 คน ส่วนประเด็นอ่ืนมีผู้ตอบแบบสารวจท่ีมีสัดส่วน
ลดหล่นั กนั ไป ดงั ตารางต่อไปน้ี

สานักงานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 236 -

ตารางท่ี 4.15 ประเดน็ ท่เี ป็นปญั หา/พฒั นายาก และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหาในขัน้ ท

บนั ดแตล่ ะขน้ั มปี ระเด็นใดที่เป็นปญั หา/ พัฒนายาก อะ รบา้ ง

รหสั ประเดน็ ปญั หา หรือ พฒั นายาก จานวน คิดเป็น
ผู้ตอบ %

ข้ันท่ี 4 เพ่ิมประสทิ ิ าพการผลติ และการขาย 20%
18%
B4.1 ลดตน้ ทนุ การผลิต

B4.1-1 ขาดความรู้ในการวิเคราะห์ต้นทุนส่งผลให้การเพ่ิมประสิทธิภาพ 23

และการขายลดน้อยถอยลง

B4.1-2 ต้นทนุ การผลิตสูงเกนิ ไป 10

B4.1-3 ปญั หาในการปรบั เปลี่ยนวตั ถดุ บิ เพือ่ ใหม้ ารถลดตน้ ทุนได้ 7 13%

B4.1-4 ขาดความรู้ในการนาเทคโนโลยมี าชว่ ยในการลดตน้ ทุน 8 14%
B4.1-5 สมาชิกไม่ใหค้ วามสาคญั กบั การคดิ ตน้ ทนุ ในการบริหารจดั การ 10 18%

B4.2 เพ่มิ ผลผลติ / เพิ่มมูลคา่ ผลผลิต 20 17%
24 21%
B4.2-1 ขาดความรู้ด้านการผลิตสินค้า มาตรฐานการผลิต และการตลาด
ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ

B4.2-2 ขาดทักษะและประสบการณ์ด้านการแปรรูปผลผลิตเพ่ือเพิ่ม
ช่องทางการตลาด

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึก

- 23

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพ้ืนท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ที่ 4 เพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิตและการขาย

บัน ดแต่ละขัน้ มขี ้อเสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ ขปัญหาอยา่ ง รบา้ ง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปญั หา จานวน คดิ เป็น
ผ้ตู อบ %

ขน้ั ท่ี 4 เพิ่มประสิท ิ าพการผลิตและการขาย

S4.1 ลดต้นทนุ การผลิต

S4.1-1 ให้ความรู้ด้านการวิเคราะห์ต้นทุนให้กับสหกรณ์เพื่อให้องค์กร 17 15%

รตู้ ัวตนของตนเอง

S4.1-2 สร้างความเข้าใจให้สมาชิกเห็นถึงความสาคัญ ตระหนักถึงการ 6 5%

คานวณต้นทุนธุรกิจ และส่งเสริมให้มีการคานวณต้นทุนในแต่

ละธรุ กจิ ให้ได้

S4.1-3 สร้างความเข้าใจและปรบั ทัศนคติในการใช้วัตถุดบิ เพื่อเปน็ การ 3 3%

ลดตน้ ทนุ เชน่ ปุย ยาฆ่าแมลง เปน็ ตน้

S4.1-4 สนับสนนุ การรวมกล่มุ /เครอื ขา่ ย เพื่อลดต้นทนุ 4 3%

S4.1-5 สนับสนุนให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเข้ามาให้ความรู้ สาธิตการ 13 11%
เปล่ียนแปลงการนาเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการลดต้นทุน
ช้ีใหเ้ หน็ ถงึ ขอ้ ดี 23 20%
7 6%
S4.2 เพิ่มผลผลติ / เพมิ่ มลู ค่าผลผลิต

S4.2-1 จัดหาผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีประสบการณ์ด้านการผลิตมาเป็นท่ี
ปรึกษาใหค้ วามรดู้ ้านการผลติ และการตลาด

S4.2-2 จัดกิจกรรมพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ ความสามารถ ในการ
ใหค้ าแนะนา ส่งเสริมสมาชกิ

กษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

37 -

รหสั ประเดน็ ปญั หา หรือ พัฒนายาก จานวน คิดเป็น
B4.2-3 ขาดเคร่ืองมือทชี่ ว่ ยใหก้ ารผลติ และการแปรปู ผลผลติ ผตู้ อบ %

3 3%

B4.2-4 ไม่มีการศึกษาตลาดก่อนการเพิ่มผลผลิตและไม่มีการศึกษาคู่แข่ง 5 4%
ในตลาด 2 2%
9 8%
B4.2-5 ไม่มีการอัพเดทข้อมูลผลผลิตให้เป็นปัจจุบัน ทาให้การบริหาร
จัดการ การวางแผนจาหน่ายผลผลติ ออกสตู่ ลาดไมแ่ น่นอน 3 3%
9 8%
B4.2-6 บุคลากร (ผนู้ า คณะกรรมการ ฝา่ ยจดั การ) ไมม่ กี ารนากลยุทธ์ทาง 2 2%
การตลาดมาปรับใช้ในการกาหนดแผนการผลิต การขาย และ 7 6%
การตลาด
5 4%
B4.2-7 สินคา้ / บริการ ยงั ไมต่ รงตามความต้องการของตลาด 12%
B4.2-8 สนิ คา้ / บริการ ไมม่ ีคณุ ภาพและไม่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนือ่ ง 4%
B4.2-9 สหกรณ์ยังยึดติดกับพ่อค้ารายเดิม ทาให้ขาดการพัฒนาผลิตภณั ฑ์

หรือสร้างมูลคา่ เพมิ่ ใหก้ ับผลิตภัณฑ์
B4.2- สมาชิกในกลุ่มไม่ให้ความสาคัญและความสนใจในการทาธุรกิจ
10 หรือการแปรรูปผลผลิต
B4.3 เพิ่มประสิท ิ าพการเข้าถึงตลาด/ กลมุ่ เปา้ หมาย
B4.3-1 ขาดเงินทนุ ในการขยายธรุ กจิ และตลาด

B4.3-2 ไม่สามารถเข้าถึงหรือหาตลาดใหมๆ่ ได้ เน่ืองจากไม่สามารถสกู้ บั 14
ระบบทุนนยิ มหรือพ่อคา้ คนกลางได้ 5

B4.3-3 สภาพแวดล้อม สภาพพื้นที่ ทาให้ไม่สามารถขยายธุรกิจ ขยาย
ตลาด หรือพฒั นาดา้ นตา่ งๆ ได้

สานักงานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรึก

- 23

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพัฒนาพ้ืนทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ปญั หา จานวน คิดเป็น
ผตู้ อบ %

S4.2-3 ส่งเสริมให้กรรมการ ฝ่ายจัดการ สมาชิก ศึกษาเรียนรู้เร่ืองการ 12 10%

พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานพร้อมออกสู่

ตลาด สามารถแข่งขนั ได้

S4.2-4 ส่งเสริมให้บุคลากรวางแผน วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทาง 6 5%

การตลาดก่อนการผลติ เพ่ือลดความเสย่ี งด้านการผลิต

S4.2-5 ให้ความรู้และสง่ เสรมิ ใหส้ มาชิกทาการเกษตรแบบสมยั ใหม่ โดย 2 2%

ใช้ข้อมูลดา้ นการตลาดทเี่ ป็นปัจจบุ นั

S4.2-6 จัดกจิ กรรมศกึ ษาดงู านในสถานทีท่ ปี่ ระสบความสาเรจ็ 8 7%

S4.3 เพิม่ ประสทิ ิ าพการเขา้ ถงึ ตลาด/ กลมุ่ เป้าหมาย 4 3%
S4.3-1 สร้างเครือข่ายพันธมิตร ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐ 6 5%
3 3%
ภาคเอกชน เพอ่ื เช่อื มโยงธรุ กิจในดา้ นเงนิ ทุนและการตลาด
S4.3-2 จัดอบรมให้ความรู้เพ่ือเพ่ิมทักษะในการพัฒนาการหาช่อง

ทางการจดั จาหน่าย การทาการตลาดออนไลน์
S4.3-3 จัดทาแผนการผลติ และแผนการตลาดเชงิ กลยทุ ธ์

กษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

38 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพน้ื ท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ขั้นท่ี 5 กระตุ้นการมีส่วนรว่ มของสมาชกิ ในขน้ั ตอนหลักของกลุ่ม
ในข้ันท่ี 5 กระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกในข้ันตอนหลักของกลุ่ม แบ่งเป็น 1 กลุ่มย่อยคือ

กลุ่มย่อย B5.1 และ S5.1 การจัดประชุมกลุ่มย่อยและประชุมกลุ่มใหญ่อย่างสม่าเสมอประกอบด้วย
ประเดน็ ท่เี ป็นปัญหา/พฒั นายาก 6 ประเดน็ และขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหา 7 ประเด็น

ในภาพรวมของข้ันที่ 5 กระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกในข้ันตอนหลักของกลุ่ม ผลการ
รวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 117 คน คิดเป็นร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด
โดยผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั ประเด็นท่ีเป็นปญั หา/พัฒนายาก ไว้ทั้งหมด 6 ประเด็น
ซง่ึ 2 อนั ดับแรกทีผ่ ู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคดิ เห็น ได้แก่ B5.1-1 สมาชิกไมใ่ ห้ความสาคัญใน
การทากิจกรรมกลุ่ม เน่ืองจากไม่เข้าใจเรื่องสิทธิและหน้าที่ของตนเอง หรือผลประโยชน์ท่ีตนเองจะ
ได้รับ มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นนี้จานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 38 จากจานวน
ผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน และ B5.1-3 สมาชิกไม่มาประชุม หรือมาประชุมแต่ไม่เสนอแนะ
ข้อคิดเห็น มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นในประเด็นน้ีจานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 23 จาก
จานวนผู้ตอบแบบสารวจท้งั หมด 117 คน ตามลาดบั

ซ่ึงจากประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปัญหาไว้ทั้งหมด 7 ประเด็น โดยประเด็นที่สาคัญ 2 อันดับแรก ได้แก่ S5.1-2 จัดกิจกรรมอบรม
กระตุ้นให้สมาชิกตระหนักถึงความสาคัญของการมีส่วนร่วมและสร้างความเข้าใจถึงประโยชน์ในการ
ประชุม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นนี้ จานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 44 จากจานวน
ผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน และรองลงมาคือ S5.1-4 จัดกิจกรรมท่ีสร้างการมีส่วนร่วมหรือจัด
ประชุมทุกเดือนและให้มีความต่อเน่ือง ค่อยๆ ดึงสมาชิกให้มีส่วนร่วมและขยายผลไปเร่ือยๆ มีผู้ตอบ
แบบสารวจให้ข้อเสนอแนะ จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 15 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด
117 คน ส่วนประเดน็ อ่นื มีผตู้ อบแบบสารวจทมี่ สี ัดส่วนลดหล่ันกนั ไป ดังตารางต่อไปน้ี

สานักงานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 239 -

ตารางที่ 4.16 ประเด็นท่เี ป็นปัญหา/พัฒนายาก และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาในขน้ั ท

บนั ดแตล่ ะขัน้ มปี ระเดน็ ใดทเี่ ป็นปญั หา/ พัฒนายาก อะ รบา้ ง

รหสั ประเด็นปัญหา หรือ พฒั นายาก จานวน คดิ เปน็
ผตู้ อบ %

ขน้ั ท่ี 5 กระตุน้ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในขน้ั ตอนหลกั ของกลมุ่ 38%
11%
B5.1 การจดั ประชมุ กลุม่ ย่อยและประชุมกลุ่มใหญ่อยา่ งสมา่ เสมอ

B5.1-1 สมาชกิ ไมใ่ หค้ วามสาคญั ในการทากิจกรรมกลุ่ม เนือ่ งจากไมเ่ ข้าใจ 44

เร่อื งสิทธิและหน้าที่ของตนเอง หรอื ผลประโยชน์ที่ตนเองจะไดร้ บั

B5.1-2 การประชมุ กลุ่มย่อยหรอื ประชมุ อน่ื ๆ ไมต่ อ่ เน่ือง สม่าเสมอ 13

B5.1-3 สมาชิกไมม่ าประชุม หรือมาประชุมแต่ไมเ่ สนอแนะขอ้ คดิ เห็น 27 23%

B5.1-4 การมีส่วนร่วมในการบริหารกลุ่มของบุคลากรในกลุ่ม (ผู้นา/ 14 12%
ก ร ร ม ก า ร ฝ่ า ย บ ริ ห า ร / เ จ้ า ห น้ า ท่ี แ ล ะ ส ม า ชิ ก ) 1 1%
ยงั เป็นเพยี งบางสว่ น

B5.1-5 ไมม่ บี ทลงโทษผ้ทู ่ไี มม่ สี ว่ นร่วม

B5.1-6 ไม่มกี ารประชาสัมพันธ์ข่าวสารแกส่ มาชกิ 7 6%

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและใหค้ าปรกึ

- 24

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพ้นื ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ที่ 5 กระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชกิ ในข้นั ตอนหลักของกลมุ่

บนั ดแต่ละข้ันมีขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุง/แก้ ขปญั หาอยา่ ง รบา้ ง

รหัส ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/แก้ปัญหา จานวน คิดเปน็
ผตู้ อบ %

ขน้ั ท่ี 5 กระต้นุ การมสี ่วนรว่ มของสมาชกิ ในขน้ั ตอนหลกั ของกลมุ่

S5.1 การจดั ประชุมกลุ่มยอ่ ยและประชมุ กลุ่มใหญอ่ ยา่ งสมา่ เสมอ

S5.1-1 วางแผนปฏิบัติงานท่ีชัดเจน มีสถานท่ี ช่วงเวลาท่ีเหมาะสมที่ 10 9%

สมาชิกจะสามารถมาร่วมประชมุ ออกความคิดเห็น เสนอแนะได้

S5.1-2 จัดกิจกรรมอบรมกระตุ้นให้สมาชิกตระหนักถึงความสาคัญของ 51 44%

การมีส่วนรว่ มและสร้างความเข้าใจถึงประโยชน์ในการประชมุ

S5.1-3 จัดกิจกรรมอบรมสร้างความศรัทธาและความเช่ือม่ันให้มีต่อ 13 11%

กลุม่

S5.1-4 จดั กิจกรรมที่สรา้ งการมีส่วนร่วมหรือจัดประชุมทุกเดือนและให้ 18 15%

มีความต่อเนื่อง ค่อยๆ ดึงสมาชิกให้มีส่วนร่วมและขยายผลไป

เรือ่ ยๆ

S5.1-5 สรรหาผู้นาท่ีมีความรู้ ประสบการณ์ด้านธุรกิจท่ีแท้จริงมาช่วย 1 1%

ในการขบั เคลอ่ื นกล่มุ

S5.1-6 เพ่ิมช่องทางในการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ข่าวสารกิจกรรมของ 3 3%

กล่มุ ในระบบ IT

S5.1-7 กาหนดบทลงโทษสาหรับผทู้ ีไ่ มเ่ ขา้ ประชุม 2 2%

กษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

40 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพื้นท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

 ขัน้ ท่ี 6 สง่ เสรมิ การใชฐ้ านขอ้ มลู และองค์ความรูเ้ พ่อื ปรบั ปรุงการบรหิ ารกลุ่ม
ในข้ันท่ี 6 ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูลและองค์ความรู้เพื่อปรับปรุงการบริหารกลุ่ม ได้แบ่ง

ประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 12 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา 10 ประเด็น โดย
แบง่ เป็น 2 กลมุ่ ยอ่ ย ดงั น้ี

1. กลุ่มย่อย B6.1 และ S6.1 การวิเคราะห์และใช้ประโยชน์จากรายงานทางการเงิน
ประกอบด้วยประเด็นที่เป็นปัญหา/พัฒนายาก 10 ประเด็น และข้อเสนอแนะในการแก้ไข
ปญั หา 8 ประเดน็

2. กลุ่มย่อย B6.2 และ S6.2 กฎกติกาในการอยู่ร่วมกันประกอบด้วยประเด็นท่ีเป็นปัญหา/
พฒั นายากและขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปญั หาอย่างละ 2 ประเดน็ เท่ากัน

ในภาพรวมของข้ันที่ 6 ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูลและองค์ความรู้เพื่อปรับปรุงการบริหารกลุ่ม
ผลการรวบรวมแบบสารวจพบว่ามีผู้ตอบแบบสารวจ 117 คน คิดเป็นร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมอบรม
ท้งั หมด โดยผตู้ อบแบบสารวจได้ใหค้ วามคิดเห็นเกย่ี วกบั ประเด็นทีเ่ ป็นปญั หา/พฒั นายาก ไวท้ ้ังหมด 12
ประเด็น ซ่ึง 3 อันดับแรกท่ีผู้ตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็น ได้แก่ อันดับที่ 1 คือ B6.1-8
คณะกรรมการกลุ่มยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจในการนาฐานข้อมูลและองค์ความรู้มาใช้ประโยชน์ มี
ผตู้ อบแบบสารวจใหค้ วามคิดเห็นในประเด็นน้จี านวน 33 คน คิดเปน็ ร้อยละ 28 จากจานวนผู้ตอบแบบ
สารวจทั้งหมด 117 คน อันดับที่ 2 คือ B6.1-7 ฝ่ายบริหาร/ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ไม่ให้ความสาคัญกับ
ข้อมูลทางการเงินมาใช้ในการบริหารกลุ่ม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ความคิดเห็นจานวน 26 คน คิดเป็น
ร้อยละ 22 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน และอันดับที่ 3 คือ B6.1-1 ไม่มีระบบ
ฐานข้อมลู มีผตู้ อบแบบสารวจใหค้ วามคิดเหน็ จานวน 19 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16 จากจานวนผูต้ อบแบบ
สารวจทง้ั หมด 117 คน

ซ่ึงจากประเด็นท่ีเป็นปัญหา/พัฒนายากดังกล่าว ผู้ตอบแบบสารวจได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
แก้ไขปญั หาไว้ท้ังหมด 10 ประเด็น โดยประเด็นท่ีสาคัญ 3 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ อนั ดับที่ 1 คือ S6.1-3 จดั
อบรมบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นถึงความสาคัญในการนาข้อมูลจากฐานข้อมูลมา
วิเคราะห์ ใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ วางแผนกลุ่ม มีผู้ตอบแบบสารวจให้ข้อเสนอแนะประเด็นน้ี
จานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 29 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด 117 คน อันดับท่ี 2 คือ S6.1-
2 อัพเดทฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและวิเคราะห์ข้อมูลจากสภาพความเป็นจริง มีผู้ตอบแบบสารวจให้
ข้อเสนอแนะ จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 15 จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน และ
อันดับท่ี 3 คือ S6.1-3 สร้างระบบฐานข้อมูลท่ีถูกต้องครบถ้วน รวมถึงองค์ความรู้ท่ีเป็นมาตรฐานโดย
กรมส่งเสริมสหกรณ์และเผยแพร่ให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องนาไปใช้ ซึ่งสามารถเรียกใช้และเข้าถึงได้ทุกภาค
ส่วนทีเ่ กยี่ วขอ้ ง มผี ู้ตอบแบบสารวจใหข้ ้อเสนอแนะในประเด็นนี้ จานวน 15 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13 จาก
จานวนผู้ตอบแบบสารวจท้ังหมด 117 คน ส่วนประเด็นอื่นมีผูต้ อบแบบสารวจที่มีสัดส่วนลดหล่นั กนั ไป
ดังตารางต่อไปน้ี

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 241 -


Click to View FlipBook Version