The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-23 21:38:52

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

Keywords: โครงการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้นื ทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. ขอ้ มลู การการดาเนนิ งานของสหกรณ์
2.1 พัฒนาการด้าน รุ กจิ
จากการที่พรรคคอมมิวนิสต์มาลายาได้ยุติการต่อสู้ด้วยอาวุธและสลายกองทัพมาเป็น
ผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย ตามข้อตกลงนามสัญญาสันติภาพ 3 ฝ่าย (รัฐบาลไทย /รัฐบาลประเทศ
มาเลเซีย /พรรคคอมมิวนิสต์มาลายา) เม่ือวันท่ี 2 ธันวาคม 2532 กองทัพภาคที่ 4 โดยพล
ทหารราบที่ 5 ได้จัดทาโครงการรับผู้ร่วมพัฒนาชาติไทยขึ้นเพื่อรองรับผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย
โดยมีระยะเวลาโครงการ 6 ปี ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2533 – 2538 โดยจัดตั้งเป็นหมู่บ้านขึ้นมา
เรียกว่า “หม่บู ้านรัตนกิตติ 2”
ต่อมาศาสตราจารย์ดอกเตอรส์ มเด็จพระเจ้าลกู เธอเจา้ ฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์อัคราช
กุมารี องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ทรงมีพระราชประสงค์จะทาการพัฒนา โครงการ
ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมและชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส
เพ่ือให้เกิดความมั่นคงภายในพื้นท่ีแนวชายแดนจงึ ไดโ้ ปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมทรงรับหมู่บ้าน
“รัตนกิตติ 2” เข้าร่วมโครงการของสถาบันวจิ ัยจุฬาภรณ์และทรงพระราชทานชื่อหมู่บ้านใหม่
เป็น “หมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 10” เม่ือวันที่ 28 มิถุนายน 2536 ซ่ึงมีพ้ืนที่ต้ังอยู่ในเขตพ้ืนที่
หมู่ที่ 8 ตาบลอัยเยอร์เวง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา ต่อมาเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2547
“หมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 10” ได้แยกออกจาก หมู่ที่ 8 ตาบลอัยเยอร์เวง โดยได้จัดต้ังเป็น
“หม่ทู ี่ 10 ตาบลอยั เยอร์เวง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา”
ชมุ ชนหมูบ่ า้ นจุฬาภรณ์พัฒนา 10 คนในหมบู่ า้ นดั้งเดิมเป็นคนจีนกลาง มีวถิ ชี ีวติ แบบ
คนจีนดัง้ เดมิ ชุมชนเขม้ แข็ง ตงั้ อยบู่ นพืน้ ที่ปิด มกี ติกาการอยรู่ ่วมกัน ดแู ลซึ่งกันและกัน พึง่ พา
ตนเองได้ ไม่ได้มีรายจ่ายมาก เดิมชาวบ้านเล้ียงหมู 10-500 ตัว ตลาดขายหมูในเบตงไม่มี และ
ไม่อยากแย่งกับพ่อค้าในพ้นื ท่ี อากาศทนี่ ี่ 18 องศา เยน็ เกนิ ไปสาหรับการเลยี้ งหมู ขายไดว้ ันละ
2 ตัว ไมค่ มุ้ เงนิ ทนุ ทยอยหาย ขณะน้ันมสี หกรณ์เข้ามาพอดี
การดาเนินธุรกิจของสหกรณ์จะมีเพียงธุรกิจเดียวคือธุรกิจรวบรวมน้ายางพารา
สหกรณ์ไม่มีธุรกิจสินเช่ือ สมาชิกไม่ประสงค์กู้ ปัจจุบันสมาชิก 30 ราย มีส่วนร่วมในธุรกิจของ
สหกรณ์ ขายน้ายางพาราสดให้กับสหกรณ์ สหกรณ์เคยมีการทาธุรกิจให้บริการสมาชิก เช่น
ธรุ กจิ รา้ นคา้ สหกรณ์ แตส่ ถานท่ตี ั้งอยูใ่ นเมือง สมาชกิ ไมน่ ยิ มซ้ือ ปจั จบุ นั ปดิ ตัวลง การแปรรูป
น้ายางพารา ไม่ประสบความสาเรจ็ เพราะตน้ ทนุ สูง สมาชิกประสงค์ขายเองมากกวา่
พ้นื ที่ทากินของสมาชิกมจี ากัดขยายไม่ได้ ประกอบกบั พื้นท่ีลาดชัน สมาชิกสงู อายุเดิน
กรดี ยางไมไ่ หว เช่น สมาชิกเดินกรดี ยางได้แค่ 7 ไร่ จากทีป่ ลกู ไว้ 15 ไร่ ปรมิ าณนา้ ยางพาราไม่
เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการตลาด น้ายางขายได้หมด บริษัทรับซือ้ ทร่ี าคาตลาด ไมไ่ ด้ถกู กดราคา

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 93 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพน้ื ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปัจจุบันสมาชิกไม่มีรายได้มา 2-3 ปี แต่สมาชิกก็อยู่ได้ ใช้วิถีชีวิตตามเศรษฐกิจ
พอเพียง เรียบง่าย ประหยัด ปลูกผัก เล้ียงหมู เลี้ยงปลา มีเงินสนับสนุนผู้สูงอายุและรายได้
จากการเขา้ มาท่องเที่ยวในหมู่บ้านของนักนกั ทอ่ งเทยี่ วทง้ั ชาวไทยและตา่ งชาติทาให้มรี ายได้ให้
พออยู่ได้

ในขณะท่ีธุรกิจหลักของสหกรณ์อยู่ในภาวะถดถอย ในชุมชนเองเริ่มมีธุรกิจใหม่ๆ
เกิดขึ้น แต่ไม่ได้ทาในนามสหกรณ์ อาทิ ธุรกิจโฮมสเตย์, ปลูกดอกไม้เมืองหนาว ตามนโยบาย
และโอกาสทางเศรษฐกิจท่เ่ี ข้ามา สาหรับธุรกิจท่องเที่ยวนนั้ สมาชิกบางส่วนลงหุ้นและตั้งกลุ่ม
กันเอง ไม่ได้อยู่ภายใต้สหกรณ์ มีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและบริษัทท่องเที่ยว โดยสมาชิกรุ่นใหม่
พยายามหาทางนาการท่องเที่ยวเข้าสู่ชุมชน สวนผลไม้มีพ่อค้ามาเหมาทุเรียนในหมู่บ้าน ปีละ
ไม่ต่ากวา่ 150 ตัน สมาชิกนยิ มใหเ้ หมาสวน เพราะลดความเสี่ยงในราคาผลผลติ

2..2 การบรหิ ารเงนิ ทุน ตน้ ทุน และคา่ ใชจ้ า่ ย
ปัจจุบัน สหกรณม์ ีสนิ ทรพั ยร์ วม 3,346,717.04 บาท มหี นีส้ ินเพยี ง 344,000.18 บาท

และมีส่วนของทุน 3,002,716.86 บาท ประกอบไปด้วยทุนเรือนหุ้น 564,350.00 บาท และ
ทุนสารอง 1,799,580.21 บาท

สหกรณ์มีกองทุนแต่ไม่ได้ใช้ ไม่เคยเบิก และมีเงินกองทุนหมู่บ้านต่างหากใช้ดูแล
ค่าใช้จ่ายของหมู่บ้านและคนในชุมชน เช่น มีอังเปาประจาปีให้คนละ 500-1,000 บาท มีงาน
เลี้ยงหมู่บ้านในวันตรุษจีน มีค่าใช้จ่าย 100,000-200,000 บาท ค่ารถรับส่งคนไปโรงพยาบาล
และค่าทาศพ เป็นตน้
2.3 บทบาทสมาชิก กรรมการ และฝา่ ยจดั การ

สมาชิกอายุเยอะ กรีดยางไม่ไหว ต้องจ้างแรงงาน ค่าใช้จ่ายสูง ปันค่าน้ายางท่ีกรีดได้
ใหแ้ รงงาน 45% ระยะหลงั รายไดล้ ดลง 2-3 เท่า เนอ่ื งจากไมม่ แี รงงานกรีดยาง ตน้ ยางแก่ ยาง
น้อย ราคายางลดลง

กรรมการทาหน้าที่บริหารสหกรณ์ ไม่มีฝ่ายจัดการ สหกรณ์จังหวัดได้จ้างนักบัญชีเพอ่ื
บันทึกทางบัญชีให้ กรรมการทั้งหมดเป็นผู้สูงอายุ ถึงจุดอ่ิมตัว ไม่อยากท่ีจะทาอะไรใหม่ ไม่
ลงทุนเพ่ิม สมาชิกไม่อยากเป็นกรรมการ โดยสมาชิกส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ (อายุต่าสุด 50 ปี
อายเุ ฉล่ยี 70 ปี) ลกู หลานไมก่ ลับภูมลิ าเนา ไม่มคี นรุน่ ใหม่ท่ีตืน่ ตวั

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 94 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้นื ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กรณศี กึ ษาที่ 3 : สหกรณ์ชมรมชาวสวนมะมว่ งจังหวัดฉะเชิงเทรา จากัด
1. ขอ้ มูลทั่ว ปของสหกรณ์

รปู ท่ี 1 รปู แบบการรวมกลุ่มของสหกรณช์ มรมชาวสวนมะม่วงจงั หวัดฉะเชงิ เทรา จากัด
2. ขอ้ มลู การการดาเนินงานของสหกรณ์

กระบวนการรวมกลุ่มสหกรณ์ชมรมชาวสวนมะม่วงจังหวัดฉะเชิงเทรา จากัด มี 3 ระยะ ได้แก่
(1) ช่วงปี 2541-2545 รวมกล่มุ ในรปู ของชมรมชาวสวนมะมว่ งจังหวัดฉะเชงิ เทรา (2) ชว่ งปี 2546-
2548 รวมกลุ่มในรูปของวิสาหกิจชุมชนชมรมชาวสวนมะม่วงจังหวัดฉะเชิงเทรา และ (3) ช่วงปี
2549 – ปจั จุบัน รวมกลมุ่ ในรูปของสหกรณ์ชมรมชาวสวนมะม่วงจงั หวัดฉะเชิงเทรา จากดั

 ระยะท่ี 1 : 1-
การรวมกลมุ่ เริม่ ต้นจากการที่มะม่วงราคาตก ชาวสวนมะม่วงในจังหวดั ฉะเชิงเทรา

ถูกพ่อค้าคนกลางกดราคาอยา่ งหนัก ในปี 2541 จึงมีกลุ่มเกษตรกรประมาณ 10 รายเข้ามา
หารือกันหาแนวทางแก้ไข โดยเข้าไปขอคาแนะนาจากเกษตรจังหวัด ซ่ึงทางเกษตรจังหวัด
ไดเ้ ชญิ บรษิ ัทผ้สู ง่ ออกมาประชมุ หารอื กนั และได้ทางออก คือ บรษิ ัทสง่ ออกจะรบั ซอ้ื มะม่วง
แรดจากกลุ่มชาวสวนมะม่วง แต่ขอให้จัดตั้งเป็นชมรมชาวสวนมะม่วงจังหวัดฉะเชิงเทรา
เพ่อื สะดวกตอ่ การรวบรวมผลผลติ เพ่ือการส่งออก

 ระยะท่ี 2 : 2546-2548
ต่อมา ชมรมชาวสวนมะม่วงจังหวัดฉะเชิงเทราได้รับการสนับสนุนจากเกษตร

จังหวัดให้จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนชาวสวนมะม่วง และดาเนินการเร่ือยมาจน
วิสาหกิจมีขนาดใหญ่ขึ้น มีสมาชิกกว่า 100 ราย ทางผู้นาและสมาชิกกลุ่มจึงหารือกันเพ่ือ
ยกระดับกลุ่มให้มีระบบการบริหารจัดการท่ีเป็นระบบมากขึ้น ซึ่งในขณะน้ันมี 2 ทางเลือก

สานักงานศูนย์วจิ ัยและให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 95 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพน้ื ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

คือ จะไปเป็น SME หรือ สหกรณ์ โดยข้อสรุปของผู้นาและสมาชิกกลุ่ม คือ การไปเป็น
สหกรณ์ ท้ังน้ี เพื่อให้กลุ่มเป็นกลไกในการดูแลสมาชิกให้ม่ันคงในระยะยาว มิใช่การมุ่ง
การคา้ หรอื กาไรมากจนเกินไป

ผูน้ ากลมุ่ ได้ศึกษาระเบยี บข้อบังคับในการจัดตั้งและบริหารจดั การสหกรณ์ พบวา่ มี
ความยุ่งยากมาก จึงเข้าไปพบสหกรณ์จังหวัดเพ่ือขอคาแนะนา ซึ่งได้รับคาแนะนาและ
ประเด็นทต่ี ้องสอบทานก่อนการจัดต้งั สหกรณ์ ได้แก่ ความพรอ้ มของผูน้ าและสมาชิก ความ
พร้อมของสถานที่ตั้ง ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา และแผนการดาเนินงานในอนาคต ท้ังนี้
หลงั จากได้ปรกึ ษาหารอื สหกรณ์จังหวัดอยู่หลายรอบ และสอบทานความพรอ้ มในด้านต่างๆ
จึงสามารถจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ชมรมชาวสวนมะม่วงจังหวัดฉะเชิงเทรา จากัด ในปี
2549
 ระยะที่ 3 : 2549 - ปจั จุบัน

ในระยะท่ี 3 น้ี สหกรณ์ชมรมชาวสวนมะม่วงจังหวัดฉะเชิงเทรา มีการขยายตัว
อย่างต่อเนื่อง สหกรณท์ างานร่วมกบั หนว่ ยงานภายนอกทง้ั ภาครัฐและเอกชน อาทิ

▪ บริษัทส่งออกเข้ามาแนะนาเรื่องตลาดทาให้มีการปรับเปล่ียนสัดส่วนการ
ใช้พ้ืนท่ีปลูกมะม่วงใหม่ โดยเน้นมะม่วงน้าดอกไม้สีทองซ่ึงเป็นท่ีต้องการ
ของตลาดญ่ีปนุ่ รวมไปถงึ การถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารผลิตในแปลงปลกู

▪ กรมวิชาการเกษตรเข้ามาให้ความรู้ในการเพิ่มประสิทธิภาพแปลงมะม่วง
เชน่ เทคนิคการตัดแตง่ กงิ่ การปลูกนอกฤดู และเรอื่ ง GAP

▪ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เข้ามาแนะนาอย่างต่อเน่ืองทุกเดอื นเกย่ี วกบั
การจัดทาและใช้ประโยชน์จากระบบบัญชีการเงิน รวมท้ังการปรับปรุง
ระบบควบคุมภายในให้สอดคล้องนโยบายบริหารงานของสหกรณ์ เช่น
การปันผล การกาหนดอัตราดอกเบี้ยเงนิ กู้ เปน็ ตน้

▪ สานกั งานสหกรณจ์ ังหวัดมีการสนับสนุนอย่างต่อเน่ือง เชน่ การสนบั สนุน
งบประมาณซื้ออุปกรณ์การผลิต และการพาไปออกบูธที่ญ่ีปุ่นเพ่ือเปิด
ประสบการณ์ทางการตลาด ถงึ ตัวผูบ้ ริโภคโดยตรง

นอกจากน้ี ในกระบวนการรวมกลุ่มของสหกรณ์ชมรมชาวสวนมะม่วงจังหวดั ฉะเชิงเทรา พบว่า
มีผลงานและการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้ (1) ขายของราคาดี ขายได้ในทุกตลาด (2) กลุ่มเข้มแข็ง
สมาชิกกลุ่มมีความรู้ ขยัน ซ่ือสัตย์ ร่วมแรงร่วมใจ (3) การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต (4)
การส่งเสรมิ การใช้ฐานขอ้ มูลและองคค์ วามรเู้ พื่อประเมินผลและเพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพ

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 96 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพน้ื ทตี่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รูปท่ี 1 ขายของราคาดี ขายได้ในทกุ ตลาด

รปู ที่ 2 ศกึ ษาและร้วู า่ ผซู้ ้ือตอ้ งการอะไร

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 97 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ท่ีตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รูปท่ี 3 บุกตลาดมะม่วงคณุ ภาพในทุกระดับ

รูปที่ 4 สร้างตราสญั ลักษณ์

สานกั งานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 98 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพัฒนาพนื้ ทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รปู ที่ 5 กลุม่ เข้มแข็ง สมาชกิ กลุม่ มีความรู้ ขยัน ซื่อสัตย์ ร่วมแรงร่วมใจ

รูปที่ 6 สหกรณใ์ หส้ มาชิกรับรู้สญั ญาซ้อื ขายล่วงหน้ากบั บริษทั ส่งออก

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 99 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพนื้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รูปที่ 7 นับจานวนถงุ หอ่ ผล

รปู ท่ี 8 กาหนดมาตรฐาน และสมาชิกทาตามทุกข้ันตอน

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 100 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพน้ื ท่ีตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 เอกสารหมายเลข 3: แบบฟอร์มวิเคราะห์สถานะและระดับการพัฒนาสหกรณ์อย่างยั่งยืน ตาม
บัน ด ขัน้

PART 1
คาอ ิบาย

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 101 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

วัตถุประสงค์

คู่มือการพัฒนาสหกรณ์อย่างย่ังยืน ตามบันได 7 ขั้น ฉบับนี้ จัดทาขึ้นมาเพื่อใช้ในการ
ประเมินสหกรณต์ ามหลกั บันได 7 ขน้ั ซงึ่ ประกอบดว้ ย ขน้ั ท่ี 1 ตรวจสอบความพรอ้ มของกลุม่ ข้ันที่ 2 สรา้ ง
ความเขา้ ใจในสทิ ธิหนา้ ที่และจดั สรรประโยชน์ให้เปน็ ธรรม ข้ันที่ 3 พฒั นาโมเดลธุรกจิ และระบบการจัดการ
กลุม่ ให้ทันสมยั ขน้ั ที่ 4 เพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลติ และการขาย ขน้ั ที่ 5 กระต้นุ การมสี ่วนร่วมของสมาชิกใน
ทกุ ขน้ั ตอนหลักของกลุ่ม ขนั้ ที่ 6 สง่ เสริมการใชฐ้ านข้อมูลและองค์ความรู้เพื่อปรับปรุงการบรหิ ารกลมุ่ และ
ข้ันท่ี 7 สร้างทักษะการทางานร่วมกับหน่วยงานให้ตรงจุดสาคัญและต่อเน่ือง (รายละเอียดแสดงใน PART
2)ผลการประเมินที่ได้จะช่วยทาให้เข้าใจสถาณการณ์ของสหกรณ์โดยรวม ท้ังในเรื่องของจุดเด่น จุดเส่ียง
และนาไปสู่การหาแนวทางในการปรับปรุงหรือสนับสนนุ ให้ดีขึ้นเพื่อพัฒนาและยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแขง็
ต่อไป

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 102 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพัฒนาพื้นทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แหลง่ ข้อมลู

การปฏิบัติการการประเมินสารวจข้อมูลเพื่อการรวมกล่มุ อย่างย่ังยืนจะทาการศึกษาจากข้อมูลจาก
3 แหล่งหลัก ได้แก่ (1) การศึกษาเอกสารต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง (documentation) (2) การสัมภาษณ์เชิงลึก
(in-depth interview) และ (3) การสงั เกตการณ์ (observation) ซง่ึ แตล่ ะขน้ั ตอนมีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี

1. การศึกษาเอกสารตา่ งๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง (documentation) จะทาการศกึ ษาจากเอกสารที่เก่ยี วข้องกับ
สหกรณ์ เช่น
• รายงานกจิ การประจาปยี ้อนหลงั 3 ปี โดยประเดน็ ท่ีควรทาความเข้าใจ ไดแ้ ก่
− ขอ้ มูลพ้นื ฐานและผลการดาเนนิ งานของสหกรณ์
− งบการเงนิ
− สถานะของกจิ การ
− สินทรัพย์ : สินทรัพย์ท่ีมีคุณภาพ ความสามารถในการสร้าง
รายได้ในอนาคต การคงค้าง/การหมนุ เวยี นของสตอ๊ กสินค้าและ
วัตถุดิบ การลงทุนในสินทรัพย์ใหม่และค่าเสื่อมราคาที่จะ
กระทบตอ่ งบกาไรขาดทนุ
− หน้ีสิน : ภาระหน้ีสินระยะส้ัน ระยะยาว ประเภท/แหล่งของ
การก่อหนี้ ภาระหน้ี/ความสูงต่าของอัตราดอกเบ้ีย การ
Matching ประเภทหน้ีและการนาเงนิ ไปใช้
− ทุน : ทนุ สหกรณ์ ทนุ เรือนหุ้น ทุนสารอง กาไร (ขาดทนุ ) สะสม
− ผลประกอบการ เชน่
− รายได้ : สัดสว่ นรายไดจ้ ากแตล่ ะธรุ กิจ แนวโน้มรายได้
− รายจ่าย : สัดส่วนรายจ่าย (สานักงาน/ฝ่ายผลิต) ดอกเบ้ียจ่าย
คา่ เสอ่ื มราคา
− กาไรขาดทนุ : สัดสว่ นการจากแตล่ ะธรุ กิจ แนวโน้มกาไร
− สภาพคล่องในการชาระหนส้ี ินระยะสนั้ ระยะยาว

2. การสัมภาษณเ์ ชงิ ลึก (in-depth interview) ประกอบด้วย 4 กลุม่ หลกั ดังนี้
• ประธาน/ กรรมการสหกรณ์
• ฝา่ ยจัดการ ได้แก่ ผูจ้ ดั การ ฝ่ายบัญชีการเงิน ฝา่ ยผลติ และ ฝา่ ยขาย
• สมาชกิ ได้แก่ รุ่นบุกเบิก รนุ่ กลาง และ รนุ่ ใหม่
• หัวหน้าสานกั งานตรวจบัญชีสหกรณ์/นักวชิ าการตรวจสอบบญั ชี

3. การสังเกตการณ์ (observation) ประกอบดว้ ย 2 สว่ น ดงั น้ี

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 103 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพืน้ ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

• ภายในสหกรณ์ ได้แก่ สงั เกตการณส์ านักงาน สถานทผี่ ลติ คลังสนิ คา้ /ทีจ่ ัดเก็บสนิ ค้า และ
จดุ จาหนา่ ยสินค้า

• บ้านสมาชิก เพ่อื จาการตรวจดแู ปลงเกษตร/ฟารม์ และ บัญชคี รวั เรอื น

สานกั งานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 104 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

PART 2
การรวบรวมและประมวลผลข้อมลู รายขั้น

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 105 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพืน้ ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

บัน ด 7 ข้นั สู่การรวมกลมุ่ อย่างย่ังยนื

➔ ข้ันที่ 1 ตรวจสอบความพรอ้ มของกล่มุ
➔ ขน้ั ท่ี 2 สร้างความเขา้ ใจในสิทธิหนา้ ทแี่ ละจัดสรรประโยชน์ใหเ้ ป็นธรรม
➔ ขน้ั ที่ 3 พัฒนาโมเดลธรุ กิจและระบบการจดั การกล่มุ ให้ทันสมัย
➔ ขน้ั ท่ี 4 เพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตและการขาย
➔ ขน้ั ที่ 5 กระตนุ้ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในทุกขน้ั ตอนหลกั ของกลมุ่
➔ ข้ันที่ 6 ส่งเสรมิ การใชฐ้ านขอ้ มูลและองคค์ วามร้เู พื่อปรับปรงุ การบรหิ ารกล่มุ
➔ ขนั้ ที่ 7 สรา้ งทกั ษะการทางานรว่ มกบั หน่วยงาน ใหต้ รงจุดสาคัญและต่อเนื่อง

. กระตุน้ การมสี ว่ นร่วมของสมาชิกในขั้นตอนหลกั . สง่ เสริมการใช้ฐานขอ้ มลู และองคค์ วามรู้
ของกลมุ่ ตามหลักการของสหกรณ์ เพ่ือปรับปรงุ การบรหิ ารกลุม่
❑ ประชมุ กลุม่ ย่อยและประชมุ กลุม่ ใหญ่อย่างสมา่ เสมอ ❑ วิเคราะห์และใชป้ ระโยชน์จากรายงานทางการเงนิ
❑ ให้ความรใู้ หม่และร่วมแกป้ ัญหาการเกษตรของสมาชิก ❑ หาความรใู้ หมม่ าปรบั ปรงุ การบริหารกลุ่ม 3.
❑ จดั กจิ กรรมดูแลความเป็นอยสู่ มาชกิ /ช่วยเหลอื ชมุ ชน
❑ สมาชิกมีสิทธิและร่วมออกเสยี งในข้นั ตอนหลกั ตาม ออกสู่ ายนอกเพื่อ
หลกั การของสหกรณ์ เชื่อมโยงแหลง่ ทุน
องค์ความรู้ และ
. เพิม่ ประสิท ิ าพการผลิตและการขาย

❑ ลดตน้ ทุนการผลติ
❑ เพิ่มผลผลติ /เพ่มิ มลู คา่ ผลผลิต
❑ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการเข้าถึงตลาด/ เทคโนโลยี

กลุม่ เปา้ หมาย 2.

. พัฒนาโมเดล ุรกิจและ ชมุ ชนรวมกลมุ่ . สร้างทักษะการทางานร่วมกบั หนว่ ยงาน
ระบบการจดั การกลมุ่ ใหท้ ันสมยั พ่ึงตนเอง ด้ ให้ตรงจดุ สาคัญและตอ่ เนอ่ื ง

❑ โมเดลธรุ กจิ ❑ ร้บู ทบาทการใหบ้ ริการของแต่ละหนว่ ยงาน
❑ กฎกติกา ในการอยรู่ ว่ มกัน ❑ รู้จักใช้ประโยชนจ์ ากความรู้และทรพั ยากร
❑ ระเบียบบัญชกี ารเงนิ
❑ ฐานขอ้ มลู และการรายงานผล ของหนว่ ยงาน

❑ การควบคุมภายใน . สร้างความเข้าใจในสิท หิ น้าท่แี ละจดั สรร

ประโยชนใ์ หเ้ ปน็ รรม
❑ สิทธิหน้าทีข่ องผนู้ า/ กรรมการ
❑ สิทธิหนา้ ท่ีของสมาชิก
1. 1. ตรวจสอบความพรอ้ มของกลุม่ ❑ สิทธิหนา้ ท่ีของฝา่ ยบริหาร/ เจา้ หน้าท่ี
ครวั เรือนพึ่งตนเอง ❑ การจัดสรรผลประโยชน์และพัฒนาสมาชิก
❑ สาเหตทุ จ่ี าเปน็ ต้องรวมกลมุ่ ❑ การดูแลชุมชน
❑ ความสามารถผู้นาในการขับเคล่ือนกลุม่

อย่างตอ่ เนื่อง
❑ ความสามารถทางการเงนิ ของสมาชิก
❑ ความสามารถในการผลิตของสมาชิก
❑ ผลงานการบรหิ ารกลุ่มท่ีผา่ นมา (ถา้ มี)

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 106 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพื้นท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ข้ันท่ี 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนในพ้นื ท่ี
ความหมายเชิงปฏบิ ตั ิ

ตรวจสอบความพร้อมของคนในพ้ืนที่ โดยดูจากสาเหตุที่ทาให้ตอ้ งรวมกลุ่ม ซึ่งอาจเกิดจากประสบ
ปัญหาร่วมกันอย่างรุนแรง หรือการมองเห็นโอกาสร่วมกัน ในด้านธุรกิจ ด้านทรัพยากรในพ้ืนที่ หรือด้าน
สังคมวัฒนธรรม ซ่ึงหากไม่รวมกลุ่มจะไม่สามารถแก้ปัญหาหรือใชป้ ระโยชน์จากโอกาสน้นั ได้ รวมไปถึงการ
มีผนู้ าทสี่ ามารถขับเคลื่อนกลุ่มไดอ้ ย่างต่อเนื่อง การมีสมาชกิ ท่ีมีความรู้ทางการเงินและการผลิต รวมถึงการ
มปี ระสบการณใ์ นการรวมกล่มุ มาก่อน

องคป์ ระกอบหลัก
1.1 สาเหตุทจี่ าเป็นตอ้ งรวมกลมุ่

มูลเหตุหรือจุดเร่ิมต้นท่ีทาให้คนในชุมชน/พ้ืนที่ต้องรวมกลุ่ม ซึ่งอาจเกิดจากการประสบปัญหา
ร่วมกันอย่างรุนแรงหรือการมองเห็นโอกาสร่วมกัน ท้ังด้านธุรกิจ ด้านทรัพยากรในพ้ืนท่ี และด้านทุนทาง
สังคมวัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งหากไมร่ วมกลุ่มจะไมส่ ามารถแก้ปัญหาหรือใช้ประโยชน์จากโอกาสน้ันได้
1.2 ความสามารถผนู้ าในการขบั เคล่ือนกลุ่มอย่างต่อเนื่อง

ผู้นาต้องเป็นผู้นาตามธรรมชาติ ผู้นาในตาแหน่ง หรือผู้นาตัวจริง ที่คนในชุมชนเคารพศรัทธาและ
เป็นท่ียอมรับ ตลอดจนต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการนากลุ่มไปสู่เป้าหมายร่วมกันที่คนใน
ชุมชนตอ้ งการ
1.3 ความสามารถทางการเงินของสมาชิก

สมาชิกต้องมีความเข้าใจการเงินข้ันพ้ืนฐานในระดับครัวเรือน และแสดงให้เห็นถึงการยึดถือวินัย
ทางการเงนิ อย่างตอ่ เนอ่ื ง ตลอดจนสามารถใหค้ าแนะนาท่ีถูกต้องและกระตนุ้ สมาชิกคนอนื่ ๆ ได้
1.4 ความสามารถในการผลิตของสมาชิก

สมาชกิ ที่ตอ้ งการรวมตัวกนั เพ่ือการผลิตและ/หรือการตลาด ตอ้ งมีผลผลิตในปรมิ าณและคณุ ภาพที่
สม่าเสมอ เป็นระยะเวลาต่อเน่ืองหลายรอบการผลิต และมีปริมาณผลผลิตมากพอสาหรับการขายอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง
1.5 ผลงานการบริหารกลมุ่ ที่ผา่ นมา (ถ้าเคยดาเนินงานกล่มุ ในรปู แบบอ่นื มากอ่ น)

กลุ่มมีผลการดาเนินงานได้ตามเป้าหมายและเป็นที่พอใจแก่สมาชิกอย่างต่อเน่ือง ตลอดจนกลุ่มมี
ความตอ้ งการรว่ มกันในการพฒั นาหรอื ขยายผลใหด้ ยี ิง่ ข้ึน

สานักงานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 107 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพ้นื ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 ขอ้ มลู : ขน้ั ที่ 1 ตรวจสอบความพรอ้ มของคนในพ้นื ท่ี

ขั้นท่ี 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนใน รายละเอียดในพืน้ ที่เป้าหมาย สรปุ
พ้นื ท่ี มม่ ี มี

1.1 ส า เ ห ตุ ที่ - ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า - บาง ครบ
สว่ น ถ้วน
จ า เ ป็ น ต้ อ ง รว่ มกันอยา่ งรุนแรง ❑❑❑
ไม่มี มีบาง มีชดั
รวมกลมุ่ o เศรษฐกจิ ส่วน เจน /

o สง่ิ แวดล้อม ครบ
ถ้วน
o สงั คม
❑❑❑
o วัฒนธรรม ไม่มี มบี าง มชี ัด

*** ถ้า ไ ม่ รวมกลุ่มจะ ส่วน เจน /
ครบ
แกป้ ัญหาไม่ได้ ถ้วน

1.2 ผู้นาในการ - ชุมชนเคารพศรัทธา -

ขับเคลื่อนกลุ่ม ( เ ช่ น พ ร ะ ค รู

อยา่ งตอ่ เน่อื ง ปราชญ์ชุมชน เป็น

ต้น)

- มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ - ❑❑❑
ปร ะ ส บการณ์ใน ไมม่ ี มีบาง มชี ัด
ก า ร น า ก ลุ่ ม สู่
เ ป้ า ห ม า ย ร่ ว ม กั น สว่ น เจน /
( เ ช่ น ก า นั น
ผู้ใหญ่บ้าน นายก ครบ
อปท. เกษตรกรท่ี
ผลิตเก่ง/ ค้าขาย ถว้ น
เกง่ )

1.3 ค ว า ม - จดบัญชีครัวเรือน -
ส า ม า ร ถ อย่างสมา่ เสมอ
ทางการเงิน
ของสมาชิก - รู้จักลดรายจ่าย/ -
เพม่ิ รายได้

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 108 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพัฒนาพ้นื ทต่ี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ข้ันที่ 1 ตรวจสอบความพร้อมของคนใน รายละเอยี ดในพน้ื ที่เป้าหมาย สรปุ
พนื้ ที่ มม่ ี มี

- รู้จักออม/ลงทุนใน - บาง ครบ
ทรพั ยส์ ิน สว่ น ถ้วน

1.4 ค ว า ม - ผลผลิตมีปริมาณ - ❑❑❑
สามารถใน แ ล ะ คุ ณ ภ า พ ที่ ไม่มี มีบาง มชี ดั
ก า ร ผ ลิ ต สมา่ เสมอ
ของสมาชิก สว่ น เจน /
- ผ ล ผ ลิ ต มี ม า ก -
เพียงพอในการขาย ครบ
อย่างต่อเนอ่ื งทกุ ปี
ถ้วน

1.5 ผลงานการ - การดูแลสมาชิกเป็น - ❑❑❑
บริหารกลุ่ม ที่ พึ ง พ อ ใ จ แ ก่ ไม่มี มีบาง มชี ัด
ท่ี ผ่ า น ม า สมาชกิ
(ถา้ มี) สว่ น เจน /

- มีความต่อเน่ืองของ - ครบ
การดาเนินกิจกรรม
กลมุ่ ท่ผี า่ นมา ถว้ น

 สรุปผลการประเมนิ

เกณฑ์ (ขอ้ ) ผลท่ี ด้
ผล (ข้อ) %
 ผา่ นขั้นที่ 1 ผา่ นเกณฑ์ยอ่ ย 4-5 ขอ้
 มผ่ า่ นขนั้ ที่ 1 ผ่านเกณฑ์ย่อยน้อยกว่า 4 ข้อ

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 109 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพนื้ ที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ขั้นที่ 2 สรา้ งความเข้าใจในสิท แิ ละหน้าทแี่ ละจดั สรรประโยชนใ์ หเ้ ป็น รรม
ความหมายเชิงปฏบิ ตั ิ

สร้างความเข้าใจว่าทุกฝ่ายมีท้ังหน้าท่ีในการเป็นผู้ให้และมีสิทธิในการได้รับประโยชน์จากกลุ่ม ทั้ง
ผู้นา/กรรมการท่ีต้องมีวิสัยทัศน์ นาพากลุ่มรุดหน้าไปอย่างม่ันคงและต่อเนื่อง สมาชิกที่ต้องร่วมปฏิบัติตาม
มาตรฐานกลมุ่ และฝา่ ยบริหาร/เจ้าหน้าที่ที่ต้องปฏิบัตหิ น้าที่เพื่อสมาชิกอย่างเต็มท่ี รวมท้งั กาหนดแนวทาง
จัดสรรประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างเป็นธรรม การพัฒนาสมาชิกให้มีความรู้และคุณธรรมที่
เหมาะสมกบั การดาเนนิ งานของกลุ่ม

องค์ประกอบหลกั
2.1 สิท แิ ละหนา้ ท่ขี องผู้นา/กรรมการ

ผู้นามีวิสัยทัศน์ พาองค์กรรุดหน้าไปอย่างต่อเนอื่ ง หาโอกาสทางการตลาดใหม่ๆ และความร่วมมอื
จากหน่วยงานเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพกลุ่ม ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร เพ่ือป้องปราม
การทุจริต ประพฤติตนเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติตามข้อบังคับและมาตรฐานของกลุ่มอย่างเท่าเทียม
สมาชกิ รายอ่ืน ไม่มสี ิทธพิ เิ ศษ
2.2 สิท ิและหนา้ ทข่ี องสมาชกิ

สมาชิกส่วนใหญ่ยึดม่ันในการปฏิบัติตนตามตามข้อบังคับและมาตรฐานของกลุ่ม เข้าร่วมกิจกรรม
ของกลุ่มอย่างสม่าเสมอ รวมท้ังร่วมติดตามการดาเนินงานของกรรมการและฝ่ายบริหาร และคอยเสนอ
ความคิดเห็นเพ่อื ปรบั ปรงุ กลมุ่
2.3 สิท แิ ละหนา้ ท่ีของฝ่ายบริหาร/ เจา้ หน้าที่

ฝ่ายบริหารพัฒนาระบบการบริหารงานกลุ่มให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้โปร่งใส
ตรวจสอบได้ รวมทั้งพัฒนาความสามารถบุคลากรให้สอดคล้องกับกิจการของกลุ่ม ให้มีคนสืบทอดงานจาก
รุ่นสูร่ ุน่
2.4 การจัดสรรผลประโยชน์และพัฒนาสมาชกิ

สมาชิกเห็นพ้องกันว่าต้องมีการจัดสรรกาไรเพื่อปันผลให้สมาชิกและเพ่ือเป็นเงินสารองในการ
พัฒนากลุ่ม การจัดสวัสดิการแก่สมาชิกและครอบครัว ตลอดจนมีกิจกรรมพัฒนาความรู้และคุณธรรมของ
สมาชกิ ให้เหมาะสมกบั การดาเนินงานของกลุ่มอย่างสมา่ เสมอ
2.5 การดแู ลชมุ ชน

สมาชิกเห็นพ้องกันว่าต้องมีการจัดสรรกาไรส่วนหน่ึงเพ่ือดูแลชุมชน/สังคม ในด้านการเป็นอยู่
สวัสดกิ าร การศกึ ษา สังคมและศาสนา

 ข้อมูล: ขัน้ ท่ี สรา้ งความเขา้ ใจในสิท ิและหนา้ ทแ่ี ละจดั สรรประโยชน์ใหเ้ ปน็ รรม

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 110 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพัฒนาพ้นื ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ข้ันท่ี สร้างความเข้าใจในสิท ิและหน้าท่ี รายละเอียดในพ้นื ที่เป้าหมาย สรุป
และจัดสรรประโยชน์ให้เปน็ รรม ม่มี มี

2.1 สิทธิและ - ผู้นา/กรรมการรู้สิทธิ - บาง ครบ
สว่ น ถ้วน
ห น้ า ที่ ข อ ง และหนา้ ที่ ❑❑❑
ไมม่ ี มบี าง มชี ัด
ผู้ น า / - มีวิสัยทัศน์ นาพากลมุ่ ส่วน เจน /

กรรมการ รุ ด ห น้ า ไ ป อ ย่ า ง ครบ
ถ้วน
ต่อเนอ่ื ง/มน่ั คง
❑❑❑
- ติดตามประเมินผล ไม่มี มบี าง มีชดั

ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ส่วน เจน /
ครบ
ฝ่ายบริหาร และป้อง ถว้ น

ปรามการทุจรติ ❑❑❑
ไม่มี มีบาง มชี ัด
- เป็นแบบอย่างในการ
สว่ น เจน /
ปฏิบัติตามข้อบังคับ/ ครบ
ถว้ น
มาตรฐานกลุ่ม

2.2 สิทธิและ - สมาชิกรู้สิทธิและหนา้ ท่ี -

ห น้ า ที่ ข อ ง - ติ ด ต า ม ก า ร

สมาชิก ดาเนินงานของผู้นา/

ฝา่ ยบรหิ าร

- เสนอความคิดเห็น

เพื่อปรบั ปรงุ กลุ่ม

- เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม

ปฏิบัติตามข้อบังคับ

แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น ก ลุ่ ม

อยา่ งสม่าเสมอ

2.3 สิทธิและ - ฝ่ายบริหาร/เจ้าหน้าท่ีรู้ -

หน้าที่ของฝา่ ย สิทธแิ ละหนา้ ที่

บ ริ ห า ร / - บ ริ ห า ร จั ด ก า ร

เจ้าหน้าที่ ระบบงาน กิจการของ

กลุ่ม/สนิ ค้า/บรกิ าร

- พัฒนาความสามารถ

บุคลากรให้สอดคล้อง

กับกจิ การของกลมุ่

- ส่งเสริม/กระตุ้นให้มี

การสืบทอดงานจาก

ร่นุ สรู่ นุ่ ของกลุ่ม

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 111 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอื่ การพฒั นาพื้นท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ขั้นที่ สร้างความเข้าใจในสิท ิและหน้าท่ี รายละเอยี ดในพื้นทเ่ี ป้าหมาย สรุป
และจัดสรรประโยชนใ์ ห้เป็น รรม -
มม่ ี มี
2.4 การจัดสรร - ส ม า ชิ กพูดคุยและมี
ผลประโยชน์ ข้อตกลงร่วมกันในการ บาง ครบ
แ ล ะ พั ฒ น า จัดสรรกาไรเพ่ือปันผล สว่ น ถว้ น
สมาชิก ใ ห้ ส ม า ชิ ก ก า ร จั ด
❑❑❑
สวัสดกิ ารแก่สมาชิก ไม่มี มีบาง มชี ดั

ส่วน เจน /
ครบ
ถ้วน

- ส ม า ชิ กพูดคุยและมี
ข้อตกลงร่วมกันในการ
จัดกิจกรรมการพัฒนา
ค ว า ม รู้ แ ล ะ คุ ณ ธ ร ร ม
ให้กบั สมาชกิ

2.5 การดูแล - ส ม า ชิ กพูดคุยและมี ❑❑❑
ชุมชน ข้อตกลงร่วมกันในการ ไม่มี มีบาง มีชัด

จัดสรรกาไรส่วนหน่ึง ส่วน เจน /
เพ่ือดูแลชุมชน/สังคม
ใ น ด้ า น ก า ร เ ป็ น อ ยู่ ครบ
สวัสดิการ การศึกษา
สงั คมและศาสนา ถ้วน

 สรปุ ผลการประเมนิ

เกณฑ์ (ข้อ) ผลท่ี ด้
ผล (ขอ้ ) %
 ผ่านขัน้ ที่ 2 ผา่ นเกณฑย์ ่อย 5 ข้อ
 มผ่ า่ นขัน้ ที่ 2 ผา่ นเกณฑ์ยอ่ ยนอ้ ยกว่า 5 ขอ้

สานกั งานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 112 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพ้ืนทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ขัน้ ที่ 3 พัฒนาโมเดล ุรกจิ และระบบการจัดการกลุ่มใหท้ นั สมัย

ความหมายเชิงปฏบิ ตั ิ
พัฒนาให้กลุ่มมีระบบและกลไกท่ีพร้อมต่อการทางาน เริ่มต้นจากการกาหนดโมเดลธุรกิจท่ีระบุ

ตลาดและผลิตภัณฑ์ท่ีมีมูลค่าเพ่ิมสูงขึ้น รวมไปถึงการสร้างระบบบริหารจัดการกลุ่มให้ทันสมัย ครอบคลุม
ต้ังแต่ กฎกติกาในการอยู่ร่วมกัน ระเบียบบัญชีการเงิน ฐานข้อมูลและการรายงานผล และการควบคุม
ภายในเพอื่ ป้องกนั และการเรยี นรจู้ ากขอ้ ผิดพลาดจากการดาเนนิ งาน

องค์ประกอบหลัก
3.1 โมเดล รุ กจิ

การจัดทาแผนธุรกิจ การกาหนดตลาด/ กลุ่มเป้าหมายท่ีเจาะจง ชัดเจน และสอดคล้องกับสินค้า/
บริการของกลุ่ม รวมท้ังมีการเพ่ิมมูลค่าทางการตลาด โดยการออกผลิตภัณฑ์ใหม่อยู่เป็นระยะๆ นา
ผลติ ภัณฑ์เข้าสกู่ ารรับรองมาตรฐานท่ีเกีย่ วข้อง เช่น GAP มผช. อย. เป็นต้น
3.2 กฎกตกิ าในการอยรู่ ว่ มกนั

การทาให้สมาชิกทุกคนตระหนักถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการรวมกลุ่ม การจัดทาระเบียบ
ข้อบังคับของกลุ่มร่วมกัน โดยสมาชิกทุกคนต้องรับรู้และมีส่วนร่วมในการจัดทา โดยเฉพาะเรื่องการจัดสรร
ผลประโยชนข์ องกลมุ่ และสมาชกิ ทัง้ ในระยะส้ัน ระยะกลาง และระยะยาว
3.3 ระเบยี บบัญชกี ารเงนิ

การออกระเบียบบัญชีการเงินเพ่ือให้เกิดวินัยในการใช้จ่ายเงิน การจัดทารายงานทางการเงินเพื่อ
แสดงสถานะทางการเงินและผลการดาเนินงาน รวมทั้งจัดทาสต๊อกและบัญชีคุมอย่างเป็นระบบเพ่ือให้ง่าย
ตอ่ การตดิ ตามตรวจสอบ
3.4 ฐานข้อมูลและการรายงานผล

การพัฒนาและการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล การจัดทารายงานสถานการณ์การดาเนินงานของ
กลุ่มอย่างต่อเน่ือง เพื่อท่ีจะได้รู้ถึงสถานการณ์ของกลุ่มและสามารถวางแผนรับมือกับสถานการณ์ได้อย่าง
ทันท่วงที
3.5 การควบคมุ ายใน

การกาหนดมวี ิธีการป้องกนั และการเรยี นรู้จากข้อผิดพลาดจากการดาเนินงาน

 ขอ้ มูล: ขน้ั ท่ี พัฒนาโมเดล ุรกจิ และระบบการจัดการกลุ่มใหท้ ันสมยั

สานกั งานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 113 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพฒั นาพืน้ ที่ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ขัน้ ที่ 3 พฒั นาโมเดล รุ กจิ และระบบการ รายละเอยี ดในพืน้ ท่ีเป้าหมาย สรปุ
จัดการกลุม่ ให้ทนั สมยั มม่ ี มี

3.1 โ ม เ ด ล - ก า ร จั ด ท า แ ผ น - บาง สม
ส่วน บรู ณ์
ธุรกจิ ธุรกิจ/ การกาหนด ❑❑❑
ไม่มี มบี าง มี
ต ล า ด เ ป้ า ห ม า ย ท่ี ส่วน ครบ

ชั ด เ จ น แ ล ะ ถ้วน
/
สอดคล้องกับสินค้า สมบู
รณ์
ของกล่มุ
❑❑❑
- การเพ่มิ มูลค่า/ การ - ไม่มี มบี าง มี

ออกผลิตภัณฑ์ใหม่/ สว่ น ครบ
ถ้วน
การนาผลิตภัณฑ์เข้า /
สมบู
สู่ ก า ร รั บ ร อ ง รณ์

มาตรฐาน ❑❑❑
ไม่มี มีบาง มี
- การคิดเร่ืองรายได้ -
สว่ น ครบ
และตน้ ทนุ ของสนิ คา้ ถ้วน
/
3.2 ก ฎ กติกา - การทาให้สมาชิกทุก - สมบู
รณ์
ใ น ก า ร อ ยู่ ค น ต ร ะ ห นั ก ถึ ง

รว่ มกนั วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ที่

แ ท้ จ ริ ง ข อ ง ก า ร

รวมกลุ่ม

- สมาชิกทุกคนรับรู้

แ ล ะ มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น

การจัดทาระเบียบ

ขอ้ บังคบั

3.3 ระเบยี บ - การออกระเบียบ -

บัญชีการเงิน บัญชีการเงินเพ่ือให้

เ กิ ด วิ นั ย ใ น ก า ร ใ ช้

จ่ายเงนิ

- การจัดทารายงาน -

ท า ง ก า ร เ งิ น เ พื่ อ

แสดงสถานะทาง

การเงินและผลการ

ดาเนินงาน

- การจัดทาสต๊อกและ -

บั ญ ชี คุ ม อ ย่ า ง เ ป็ น

ระบบเพื่อให้ง่ายต่อ

สานักงานศูนย์วจิ ยั และให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 114 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพื้นทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ขนั้ ที่ 3 พัฒนาโมเดล รุ กจิ และระบบการ รายละเอียดในพ้ืนท่เี ปา้ หมาย สรปุ
จัดการกลมุ่ ให้ทนั สมยั ม่มี มี

ก า ร ติ ด ต า ม บาง สม
ตรวจสอบ ส่วน บรู ณ์
3.4 ฐ า น - ก า ร พั ฒ น า -
ข้ อ มู ล แ ล ะ ฐานขอ้ มลู ของกลมุ่ ❑❑❑
การรายงาน ไม่มี มีบาง มี
ผล
- การประโยชน์จาก - สว่ น ครบ
ฐานข้อมูลของกลุ่ม ถว้ น
/
สมบู
รณ์

3.5 ก า ร - การกาหนดมีวิธีการ - ❑❑❑
ค ว บ คุ ม ป้องกันข้อผิดพลาด ไมม่ ี มีบาง มี
ภายใน จากการดาเนนิ งาน
สว่ น ครบ
- ก า ร เ รี ย น รู้ จ า ก ถ้วน
ข้อผิ ด พล า ด จาก
การดาเนนิ งาน /
สมบู
รณ์

 สรปุ ผลการประเมนิ

เกณฑ์ (ข้อ) ผลท่ี ด้
ผล (ข้อ) %
 ผา่ นขนั้ ท่ี 3 ผา่ นเกณฑ์ย่อย 5 ข้อ
 ม่ผ่านข้นั ที่ 3 ผา่ นเกณฑย์ ่อยนอ้ ยกวา่ 5 ข้อ

สานกั งานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 115 -

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพัฒนาพน้ื ทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ขน้ั ที่ 4 เพ่ิมประสิท ิ าพการผลิตและการขาย
ความหมายเชิงปฏิบัติ

เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและการขายอย่างสม่าเสมอเพ่ือให้แข่งขันในตลาดได้อย่างต่อเนื่อง โดย
การสร้างความแตกต่างของผลผลิต และ/หรือ การเป็นผู้นาด้านต้นทุน ซึ่งกลุ่มสามารถเลือกทากิจกรรม
ต่างๆ ไปพร้อมกันได้ ทั้งการเพิ่มปริมาณผลผลิต การเพิ่มมูลค่าผลผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึง
ตลาด/กลุ่มเปา้ หมาย และการลดต้นทนุ การผลิต โดยใชค้ วามรใู้ หม่ และ/หรอื เทคโนโลยีใหม่ เข้ามาช่วย
องคป์ ระกอบหลัก
4.1 ลดตน้ ทุนการผลติ

ปรับเปลยี่ นการใช้วัตถดุ บิ หรือปัจจยั การผลิตทชี่ ่วยลดต้นทนุ รวมทง้ั การนาความรู้ใหม่/ เทคโนโลยี
มาปรับปรุงกระบวนการเพ่ือลดต้นทุน
4.2 เพม่ิ ผลผลิต/เพม่ิ มลู ค่าผลผลติ

มีการวางแผน portfolio ของผลิตภัณฑ์/ มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมและผลิตภัณฑ์ใหม่ รวมท้ังมี
การวางแผนกาลงั การผลติ และปรบั ปรุงกระบวนการผลิตโดยใช้ความรใู้ หม่/ เทคโนโลยี
4.3 เพิ่มประสทิ ิ าพการเข้าถึงตลาด/กลุ่มเปา้ หมาย

มกี ารรกั ษาฐานลกู ค้าเดิม มีการปรับปรงุ สว่ นผสมทางการตลาดเพอ่ื รักษาฐานลูกคา้ เดมิ รวมไปถึงมี
การหาตลาดใหม่ๆ อยู่ตลอดท้ังในระดับชุมชน ภูมิภาค ประเทศ และต่างประเทศ รวมไปถึงช่องทางการ
ขายออนไลน์

สานักงานศูนย์วจิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- 116 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหม่เพอ่ื การพัฒนาพื้นทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 ขอ้ มูล: ขน้ั ที่ เพม่ิ ประสทิ ิ าพการผลติ และการขาย

ขั้นท่ี เพิ่มประสิท ิ าพการผลิตและ รายละเอียดในพืน้ ท่ีเปา้ หมาย สรปุ
การขาย
ม่มี มี
4.1 ลดต้นทุน - ก ลุ่ ม ท ร า บ -
บาง สม
การผลติ โ ค ร ง ส ร้ า ง ต้ น ทุ น ส่วน บูรณ์
❑❑❑
การผลิต (ต้นทุน ไมม่ ี มีบาง มี
สว่ น ครบ
ค่าแรง ต้นทุนวัสดุ
ถ้วน
ต้นทุนขาย ต้นทุน /
สมบู
ทางการเงนิ อน่ื ๆ) รณ์

- ก ลุ่ ม มี ก า ร -
ปรับเปล่ียนการใช้
วัตถุดิบ/ปัจจัยการ
ผ ลิ ต ใ ห้ มี ต้ น ทุ น ที่
ล ด ล ง โ ด ย ยั งค ง
คุ ณ ภ า พ ข อ ง
ผลติ ภณั ฑ์/บรกิ าร

- ก ลุ่ ม มี ก า ร ใ ช้ -
เครื่องมืออุปกรณ์
เทคโนโลยี วิธีการ
ผ ลิ ต ใ ห ม่ ๆ เ พ่ื อ
ป รั บ ป รุ ง
กระบวนการผลิต
ลดตน้ ทุนการผลติ

4.2 เ พิ่ ม - มี ก า ร ว า ง แ ผ น - ❑❑❑
ผลผลิต/ เพ่ิม portfolio ข อ ง ไม่มี มีบาง มี
มูลค่าผลผลิต ผลิตภัณฑ์/ มีการ
ส่วน ค ร บ
พั ฒ น า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ถ้ ว น
เดิมและผลิตภัณฑ์ /
ใหม่ ส ม บู
รณ์

- มีการวางแผนกาลัง -
การผลิต ปรับปรุง

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 117 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพ้นื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ข้ันที่ เพ่ิมประสิท ิ าพการผลิตและ รายละเอียดในพน้ื ทเ่ี ป้าหมาย สรุป
การขาย มม่ ี มี

กระบวนการผลิต บาง สม
โดยใช้ความรู้ใหม่/ ส่วน บรู ณ์
เทคโนโลยี

4.3 เ พิ่ม ประ - มี ก า ร รั ก ษ า ฐ า น ❑❑❑
ไมม่ ี มีบาง มี
สิทธิภาพการ ลูกค้าเดิม มีการ
ส่วน ครบ
เข้าถึงตลาด/ ปรับปรุงส่วนผสม ถ้วน
/
ก ลุ่ ม ทางการตลาดเพื่อ สมบู
รณ์
เป้าหมาย รักษาฐานลกู ค้าเดิม

- มีการหาตลาดใหม่ๆ
อ ยู่ ต ล อ ด ท้ั ง ใ น
ร ะ ดั บ ชุ ม ช น
ภูมิภาค ประเทศ
แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ
ร ว ม ไ ป ถึ ง ช่ อ ง
ทางการขาย
ออนไลน์

 สรุปผลการประเมนิ

เกณฑ์ ผลท่ี ด้
(ข้อ) ผล (ข้อ) %
ผ่านเกณฑ์ยอ่ ย 3 ขอ้
 ผ่านขั้นท่ี 4 ผ่านเกณฑย์ ่อยนอ้ ยกวา่ 3 ข้อ
 มผ่ ่านขั้นที่ 4

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรึกษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 118 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หม่เพอ่ื การพัฒนาพ้ืนท่ตี ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ขัน้ ที่ 5 กระตุ้นการมสี ่วนร่วมของสมาชกิ ในขนั้ ตอนหลักของกลุ่ม
ความหมายเชิงปฏิบัติ

กระตุ้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกในทุกขั้นตอนหลักของกลุ่ม เพื่อให้สมาชิกมีความมั่นใจและ
ภาคภูมิใจกลุ่ม ช่วยกันรักษากลุ่มให้อยู่ไปนานๆ โดยมีการจัดประชุมกลุ่มย่อยและประชุมกลุ่มใหญ่อย่าง
สม่าเสมอ เพื่อแจ้งข่าวสารและผลการดาเนินงานของกลุ่ม รับฟังและแกไ้ ขปัญหาของสมาชิกและกาหนดทิศ
ทางการดาเนินงานกลุ่มในอนาคต ตลอดจน จัดกจิ กรรมชว่ ยเหลือเพ่ือนสมาชิกและชุมชน อันเปน็ การสร้าง
ความสามัคคีในหมู่คณะ และท่ีสาคัญคือ สมาชิกมีสิทธิและร่วมออกเสยี งตามหลักการและข้ันตอนหลกั ของ
สหกรณ์

องค์ประกอบหลกั
5.1 การจดั ประชุมกลมุ่ ยอ่ ยและประชมุ กลุ่มใหญอ่ ยา่ งสมา่ เสมอ

การจดั ประชุมกลุ่มยอ่ ยและประชมุ กลมุ่ ใหญ่อย่างสม่าเสมอ เพอื่ แจง้ ข่าวสารและผลการดาเนนิ งาน
ของกลมุ่ รับฟังและแกไ้ ขปัญหาของสมาชิกและกาหนดทิศทางการดาเนินงานกลุ่มในอนาคต
5.2 การใหค้ วามรู้ใหม่และรว่ มแก้ปญั หาการเกษตรของสมาชกิ

มีการจัดกิจกรรมเพื่อรับฟังและแก้ไขปัญหาของสมาชกิ โดยมีการหาความรู้ใหม่ท้ังจากภายในและ
ภายนอกกลุ่มมาช่วยแกป้ ญั หาการเกษตรของสมาชิก
5.3 การจดั กิจกรรมดแู ลความเปน็ อย่สู มาชกิ /ชว่ ยเหลอื ชุมชน

มีการจัดกิจกรรมเพ่ือให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมอย่างสม่าเสมอ ดูแลความเป็นอยู่ของสมาชิกเพื่อ
ทาให้สมาชกิ รูส้ ึกถงึ ความเป็นเจ้าของ การมสี ว่ นรว่ มและเกิดความภมู ิใจที่เป็นสมาชิกของกลุ่ม โดยการดูแล
ในรูปแบบต่างๆ อาทิ สวัสดิการสาหรับสมาชิกตั้งแต่เกิดจนตาย การร่วมกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ
ในนามของกลมุ่ เปน็ ตน้
5.4 สมาชิกมสี ทิ แิ ละร่วมออกเสียงในขน้ั ตอนหลักตามหลักการของสหกรณ์

ส่งเสริมให้สมาชิกรู้สิทธิหน้าที่ต่อสหกรณ์ และสมาชิกร่วมออกเสียงในขั้นตอนหลักตามหลักการ
ของสหกรณ์

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 119 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอื่ การพัฒนาพ้นื ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ขอ้ มลู : ข้นั ท่ี กระตนุ้ การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในขนั้ ตอนหลกั ของกลุ่ม

ขนั้ ที่ กระตนุ้ การมสี ่วนรว่ มของสมาชกิ รายละเอียดในพน้ื ทเี่ ปา้ หมาย สรุป
ในข้ันตอนหลักของกลุ่ม ม่มี มี

5.1 ก า ร จั ด - มีการจัดประชุมกลุ่ม - บาง สม
ป ร ะ ชุ ม ก ลุ่ ม ย่อยและประชุมกลุ่ม สว่ น บูรณ์
ย่ อ ย แ ล ะ ใหญ่อย่างสม่าเสมอ ❑❑❑
ป ร ะ ชุ ม ก ลุ่ ม (ความถ่ี / ร้อยละของ ไมม่ ี มบี าง มี
ใ ห ญ่ อ ย่ า ง สมาชิกทเี่ ขา้ ประชุม) ส่วน ครบ
สมา่ เสมอ
ถ้วน
- มีแจ้งข่าวสารและผล - /
การดาเนินงานของ สมบู
กลมุ่ รณ์

- มีการรับฟังและแก้ไข - ❑❑❑
ปั ญ ห า ข อ ง ส ม า ชิ ก ไม่มี มีบาง มี
แ ล ะ ก า ห น ด ทิ ศ
ทางการดาเนินงาน สว่ น ครบ
กลุ่มในอนาคต ถว้ น
/
5.2 ก า ร ใ ห้ - มีการจัดกิจกรรมเพ่ือ - สมบู
ความรู้ใหม่และ รั บ ฟั ง แ ล ะ แ ก้ ไ ข รณ์
ร่วมแก้ปัญหา ปัญหาของสมาชิก
การเกษตรของ - การหาความรู้ใหม่ท้ัง ❑❑❑
สมาชกิ จ า ก ภ า ย ใ น แ ล ะ ไมม่ ี มีบาง มี

ภายนอกกลุ่มมาช่วย ส่วน ครบ
แก้ปัญหาการเกษตร ถว้ น
ของสมาชิก /
5.3 ก า ร จั ด - ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม สมบู
กิจกรรมดูแล เพ่ือให้สมาชิกเข้ามา รณ์
ควา มเ ป็นอ ยู่ มี ส่ ว น ร่ ว ม อ ย่ า ง
ส ม า ชิ ก / สม่าเสมอ ดูแลความ
ช่ ว ย เ ห ลื อ เป็นอยู่ของสมาชิก
ชุมชน เพื่อทาให้สมาชิกรู้สึก
ถึงความเป็นเจ้าของ
โดยการดูแลสมาชิก
ในรูปแบบต่างๆ อาทิ
ส วั ส ดิ ก า ร ส า หรั บ
สมาชิกต้ังแต่เกิดจน
ตาย

สานักงานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 120 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพัฒนาพืน้ ท่ตี ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ข้ันที่ กระต้นุ การมสี ว่ นรว่ มของสมาชกิ รายละเอยี ดในพน้ื ทเี่ ปา้ หมาย สรุป
ในข้ันตอนหลักของกลุ่ม มม่ ี มี

- ก า ร ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม - บาง สม
ส า ธ า ร ณ ป ร ะ โ ย ช น์ ส่วน บรู ณ์
ต่างๆ ในนามของ
กลุ่ม ❑❑❑
ไมม่ ี มีบาง มี
5.4 ส่ งเ ส ริม - มีกิจกรรมส่งเสริม -
ใ ห้ ส ม า ชิ ก รู้ ใ ห้ ส ม า ชิ ก รู้ สิ ท ธิ ส่วน ครบ
สิทธิหน้าที่ต่อ หน้าที่ต่อสหกรณ์ ถ้วน
สหกรณ์ และ ท้ังการผลิตให้ได้ /
ส ม า ชิ ก ร่ วม ต า ม ม า ต ร ฐ า น สมบู
ออกเสียงใน สหกรณ์ และการ รณ์
ขั้นตอนหลัก ติดตามการทางาน
ตามหลักการ ของกรรมการและ
ของสหกรณ์ ฝ่ายจดั การ

- สมาชิกมีสิทธิและ -
ร่วมออกเสยี งในการ
กาหนดแนวทางการ
ดาเนินงานของกลุ่ม
ร ว ม ท้ั ง ต ร ว จ ส อ บ
และใหข้ ้อเสนอแนะ

 สรุปผลการประเมนิ

เกณฑ์ (ขอ้ ) ผลท่ี ด้
ผล (ขอ้ ) %
 ผา่ นขน้ั ที่ 5 ผา่ นเกณฑ์ย่อย 4 ขอ้
 ม่ผ่านข้นั ที่ 5 ผ่านเกณฑย์ ่อยนอ้ ยกวา่ 4 ขอ้

สานักงานศูนยว์ จิ ัยและใหค้ าปรกึ ษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 121 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหม่เพอื่ การพฒั นาพ้ืนทต่ี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ขั้นที่ 6 ส่งเสริมการใช้ฐานขอ้ มูลและองค์ความรู้เพ่อื ปรับปรงุ การบริหารกลุ่ม
ความหมายเชงิ ปฏบิ ตั ิ

สง่ เสรมิ การใช้ฐานข้อมูลและองค์ความรู้เพอ่ื ปรับปรงุ การบริหารกลุ่ม ทาใหก้ ล่มุ มภี มู ิคมุ้ กัน ปรบั ตวั
ได้ทันเวลา โดยการวิเคราะห์และใช้ประโยชน์จากรายงานทางการเงิน เพื่อปรับแผนการขายของกลุ่ม
แผนการผลิตของกลุ่มและสมาชิก และแกป้ ัญหาอืน่ ๆ รวมทั้ง การหม่นั หาความรู้ใหม่มาปรบั ปรุงการบริหาร
กลมุ่ ซง่ึ อาจเปน็ ความรู้จากทั้งภายในและภายนอกกลุ่ม
องค์ประกอบหลัก
6.1 การวเิ คราะห์และใช้ประโยชน์จากรายงานทางการเงนิ

การวิเคราะห์และใช้ประโยชน์จากรายงานทางการเงิน เพ่ือปรับแผนการขาย ให้เหมาะสมกับ
สถานะทางการเงินของกลุ่ม เช่น เพ่ิมช่องทางการขายออนไลน์ ที่มีต้นทุนการตลาดต่ากว่า ปรับแผนการ
ผลติ ของสมาชกิ ใหเ้ หมาะสมกบั สถานะทางการเงนิ ของกลมุ่
6.2 การหาความรูใ้ หมม่ าปรบั ปรงุ การบรหิ ารกล่มุ

นาความรู้จากภายนอกมาปรับปรุงการบริหารกลุ่มให้มีมาตรฐาน เช่น การบริหารกลุ่มจากกรม
ส่งเสริมสหกรณ์ การบญั ชจี ากกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ เป็นต้น รวมทงั้ นาวธิ กี ารทางานท่ีประสบความสาเร็จ
ของสมาชกิ มาขยายผลในกล่มุ

สานกั งานศนู ย์วจิ ัยและให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 122 -

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพืน้ ทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ขอ้ มลู : ข้นั ที่ สง่ เสรมิ การใชฐ้ านข้อมูลและองค์ความรเู้ พือ่ ปรับปรุงการบรหิ ารกลุ่ม

ข้ันที่ 6 ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูลและ รายละเอยี ดในพ้ืนทีเ่ ปา้ หมาย ม่มี สรุป
องค์ความรเู้ พอ่ื ปรบั ปรงุ การบรหิ ารกลุ่ม
มี
6.1 ก า ร - วิเคราะห์รายงานทาง - ❑
วิเคราะห์และ ก า ร เ งิ น / ผ ล ไม่มี บาง สม
ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ประกอบการของกล่มุ ส่วน บรู ณ์
จ า ก ร า ย ง า น อยา่ งสม่าเสมอ
ทางการเงนิ - การใช้ประโยชน์จาก - ❑❑
มีบาง มี
รายงานทางการเงิน ส่วน ครบ
เช่น เพ่ิมช่องทางการ
ข า ย อ อ น ไ ล น์ ที่ มี ถ้วน
ต้ น ทุ น ก า ร ต ล า ด ต่ า /
กว่า ปรับแผนการ สมบู
ผลิตของสมาชิก ให้ รณ์
เหมาะสมกับสถานะ
ทางการเงนิ ของกลุ่ม

6.2 ก า ร ห า - วิเคราะห์องค์ความรู้ - ❑❑❑
ความรู้ใหม่มา ที่มีและองค์ความรู้ที่ ไม่มี มีบาง มี
ปรั บปรุ ง ก าร ต้องการเพ่ิม
บริหารกลมุ่ - น า ค ว า ม รู้ จ า ก - สว่ น ครบ
ถ้วน
ภายนอกมาปรับปรุง /
การบริหารกลุ่มให้มี สมบู
มาตรฐาน เช่น การ รณ์
บริหารกลุ่มจากกรม
ส่งเสริมสหกรณ์ การ ผลท่ี ด้
บัญชีจากกรมตรวจ
บัญชีสหกรณ์ เป็นต้น
ร ว ม ท้ั ง น า วิ ธี ก า ร
ท า ง า น ท่ี ป ร ะ ส บ
ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง
สมาชิกมาขยายผลใน
กลุม่

 สรุปผลการประเมิน

เกณฑ์ (ขอ้ )

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ ษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 123 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพฒั นาพ้ืนที่ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ผล (ขอ้ ) %
 ผา่ นขนั้ ท่ี 6 ผ่านเกณฑย์ อ่ ย 2 ข้อ
 มผ่ ่านข้นั ท่ี 6 ผา่ นเกณฑย์ ่อยน้อยกวา่ 2 ขอ้

ข้ันที่ 7 สร้างทกั ษะการทางานรว่ มกับหน่วยงาน ให้ตรงจุดสาคญั และต่อเนื่อง
ความหมายเชิงปฏิบัติ

สร้างทักษะการทางานร่วมกับหน่วยงานให้ตรงจุดสาคัญและต่อเน่ือง โดยต้องรู้บทบาทการ
ให้บริการของแต่ละหน่วยงาน และรู้จักใช้ประโยชน์จากความรู้และทรัพยากรของหน่วยงานเพ่ือช่วย
แก้ปัญหาที่กลุ่มไม่มีกาลงั พอจะแก้ไข หรอื เพอ่ื ชว่ ยยกระดบั /มาตรฐานการทางานของกลุ่ม
องค์ประกอบหลกั
7.1 รู้บทบาทการให้บริการของแต่ละหน่วยงาน

รู้บทบาทการให้บริการของแต่ละหน่วยงาน ว่าแต่ละหน่วยงานมีความเช่ียวชาญด้านใด เช่น การ
พัฒนามาตรฐานผลติ ภัณฑ์ การตลาด การบญั ชแี ละควบคมุ ภายใน
7.2 รู้จักใชป้ ระโยชน์จากความรแู้ ละทรัพยากรของหน่วยงาน

กลุ่มมีความต้องการที่ชัดเจนว่าต้องการให้หน่วยงานเข้ามาช่วยในจุดใด สามารถเช่ือมจุดแข็งของ
หน่วยงานและเครอื ข่ายภายนอก โดยดงึ ทรัพยากร (เทคโนโลยี เงนิ ทนุ องคค์ วามรู้) เขา้ มาปรับปรุงการผลิต
การขายหรือการบรหิ ารจัดการไดต้ รงกับความตอ้ งการของกลุม่ ต่อเน่อื ง และเปน็ รูปธรรม

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแหง่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- 124 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพ้นื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

 ข้อมลู : ข้นั ท่ี 7 สร้างทักษะการทางานร่วมกับหน่วยงาน ให้ตรงจุดสาคญั และตอ่ เนอ่ื ง

ข้ันที่ สร้างทักษะการทางานร่วมกับ รายละเอยี ดในพืน้ ทเ่ี ปา้ หมาย มม่ ี สรุป
หนว่ ยงาน ใหต้ รงจดุ สาคญั และต่อเน่อื ง มี

7.1 รบู้ ท บาท - บทบาทการใหบ้ ริการ - ❑ บาง สม
ไมม่ ี สว่ น บูรณ์
การใหบ้ ริการ ของหน่วยงาน ว่าแต่ ❑❑
❑ มีบาง มี
ของแตล่ ะ ละหนว่ ยงานมคี วาม ไมม่ ี สว่ น ครบ

หนว่ ยงาน เช่ยี วชาญด้านใด เช่น ถ้วน
/
การพฒั นามาตรฐาน สมบู
รณ์
ผลติ ภณั ฑ์ การตลาด
❑❑
การบญั ชแี ละควบคมุ มบี าง มี
ส่วน ครบ
ภายใน
ถว้ น
7.2 รู้จกั ใช้ - มีสามารถเช่อื มจดุ - /
สมบู
ประโยชน์จาก แข็งของหนว่ ยงาน รณ์

ความรู้และ โดยดึงทรพั ยากร

ทรพั ยากรของ (เทคโนโลยี เงนิ ทนุ

หน่วยงาน องค์ความรู้) เขา้ มา

ปรบั ปรงุ การผลติ การ

ขายหรอื การบรหิ าร

จดั การได้ตรงกับ

ความตอ้ งการของ

กล่มุ ต่อเนอ่ื ง และ

เป็นรูปธรรม

 สรปุ ผลการประเมิน

เกณฑ์ (ขอ้ ) ผลที่ ด้
ผล (ขอ้ ) %
 ผ่านขน้ั ที่ 7 ผ่านเกณฑ์ย่อย 2 ขอ้
 ม่ผ่านขั้นท่ี 7 ผ่านเกณฑย์ อ่ ยนอ้ ยกว่า 2 ขอ้

**************

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และให้คาปรกึ ษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 125 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพ้นื ทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

PART 3
สรุปผลประเมนิ และข้อเสนอแนะ

สานกั งานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 126 -

 สรปุ ผลการประเมินสหกรณ์ (ชอื่ ) : _________________________________จัด

จุดเดน่ /โอ จดุ เสีย่

ขน้ั ท่ี
7

ขั้นท่ี
6

ข้ันท่ี
5

ขั้นท่ี
4

ขน้ั ที่
3

ขนั้ ที่
2

ขั้นที่
1

สานักงานศูนยว์ จิ ยั และให้คาปรกึ

- 12

รายงานฉบบั สมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพ้ืนทีต่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ดอยู่ :  ข้ันท่ี1  ขัน้ ท่ี2  ขัน้ ที่3  ขน้ั ที่4  ข้ันที่5  ข้ันที่6  ข้นั ท่ี7

ยง/อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาสหกรณ์ /
การใหค้ วามร้ผู ู้เกยี่ วข้อง

กษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

27 -

 เอกสารหมายเลข 4: แบบฟอร์มวางแผนพัฒนาสหกรณ์ตามบัน ด 7 ข้ัน

สานกั งานสหกรณจ์ ังหวัด.....
แผนพฒั นาสหกรณ์อยา่ งยั่งยืนต

ชื่อสหกรณ์ : สหกรณ์......................................................

ผ้จู ัดทา :

ขนั้ การพฒั นาตาม ปญั หาทพี่ บ โอกาสที่พบ เป้าหมาย / ตัวชีว้ ัด กจิ กรรมการพัฒ
(3)
บัน ด 7 ขน้ั (1) (2) การพฒั นากลุ่ม (4) (5)

ขัน้ ท่ี 1ตรวจสอบ − −−
ความพร้อมของ −
สมาชกิ −−

ขั้ น ท่ี 2 ส ร้ า ง − −−
ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น
สิทธิหน้าที่และ
จัดสรรประโยชน์
ให้เป็นธรรม
ข้ันที่ 3 พัฒนา −
โมเดลธุรกิจและ
ระบบการจดั การ
กลุ่มใหท้ นั สมัย

สานักงานศนู ย์วจิ ยั และให้คาปรึก

- 12

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพนื้ ทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

............................................................
ตามบนั ด 7 ขน้ั ประจาป พ.ศ. ________

วนั ทีจ่ ดั ทา :

ฒนากล่มุ ระยะเวลาดาเนนิ การ (6) งบประมาณ (7) ผูร้ ับผิดชอบ (8)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

28 -

ข้นั การพัฒนาตาม ปัญหาทพ่ี บ โอกาสท่พี บ เป้าหมาย / ตัวช้วี ดั กจิ กรรมการพฒั
(3)
บัน ด 7 ขน้ั (1) (2) การพฒั นากลุ่ม (4) (5)

ข้ันท่ี 4 เพ่ิมประ − − −−
สิ ทธิ ภ า พการ
ผลิตและการขาย −

ขั้นที่ 5 กระตุ้น − − −−
ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม
ข อ ง ส ม า ชิ ก ใ น −−
ทุกขั้นตอนหลัก −−
ต า ม ห ลั ก ก า ร
ของสหกรณ์
ขันท่ี 6 ส่งเสริม −
การใช้ฐานข้อมลู
และองค์ความรู้
เพ่ือปรับปรุงการ
บริหารกล่มุ
ขั้ น ท่ี 7 ส ร้ า ง −
ทั ก ษ ะ ก า ร
ท า ง า น ร่ ว ม กั บ
หน่วยงาน ให้
ต ร ง จุ ด ส า คั ญ
และต่อเนอื่ ง

สานกั งานศนู ยว์ จิ ยั และใหค้ าปรึก

- 12

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขบั เคลอ่ื นทฤษฎใี หมเ่ พอ่ื การพฒั นาพื้นทีต่ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ฒนากลมุ่ ระยะเวลาดาเนินการ (6) งบประมาณ (7) ผูร้ บั ผดิ ชอบ (8)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

กษาแหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

29 -

รายงานฉบับสมบรู ณ์
โครงการขยายผลองคค์ วามรกู้ ารขับเคลอ่ื นทฤษฎีใหมเ่ พอ่ื การพฒั นาพื้นทตี่ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

 เอกสารหมายเลข 5: เอกสารประกอบการบรรยายสรปุ ช่วงท่ี 5

สานกั งานศูนย์วจิ ยั และใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

- 130 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 131 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 132 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 133 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 134 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 135 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 136 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 137 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 138 -

รายงานฉบบั สมบูรณ์
โครงการขยายผลองค์ความรกู้ ารขบั เคลอื่ นทฤษฎีใหมเ่ พอื่ การพัฒนาพืน้ ที่ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สานักงานศนู ยว์ จิ ัยและใหค้ าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

- 139 -


Click to View FlipBook Version