คู่มอื เตรียมสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษา
รวบรวมและเรียบเรียงโดย.....
ฝ่ ายวชิ าการ สถาบนั THE BEST CENTER
หา้ มตดั ต่อหรือคดั ลอกส่วนใดส่วนหนงึ่ ของเน้ ือหา
สงวนลิขสทิ ธ์ติ าม พ.ร.บ.ลิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537
ราคา 320 บาท
จดั พมิ พแ์ ละจำหนำ่ ยโดย
The Best Center InterGroup Co., Ltd.
บรษิ ทั เดอะเบสท์ เซ็นเตอร์ อนิ เตอรก์ รุป๊ จำกดั
บริหารงานโดย ดร.สิงหท์ อง บวั ชุมและอาจารย์จนั ทนี บวั ชุม (ติวเตอรก์ งุ้ ย่าน ม. ราม)
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เลขท่ี 2145/7 ซอยรำมคำแหง 43/1 ถนนรำมคำแหง แขวงหวั หมำก เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240
โทรศพั ท.์081-496-9907,0-2314-1492, 0-2318-6868 โทรสำร. 0-2718-6274 line id: 0627030008
www.thebestcenter.com หรอื www.facebook.com/bestcentergroup
คมู่ ือเตรียมสอบ
นกั วิชาการศึกษาปฏิบตั กิ าร
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
ราคา 320-
คำนำ
สำหรับชดุ คมู่ อื เตรียมสอบสำหรบั ตำแหนง่ นักวิชำกำรศกึ ษำปฏบิ ัติกำร
สำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร เล่มนี้ ทำงสถำบนั THE BEST CENTER และฝ่ำยวชิ ำกำร
ของสถำบันไดเ้ รยี บเรียงข้ึน เพอื่ ให้ผูส้ มัครสอบใช้สำหรับเตรียมสอบในกำรสอบแขง่ ขันฯในครั้งนี้
ทำงสถำบัน THE BEST CENTER ไดเ้ ลง็ เห็นควำมสำคัญจึงไดจ้ ัดทำหนงั สือ
เล่มนขี้ น้ึ มำ ภำยในเล่มประกอบด้วยทุกส่วนท่ีกำหนดในกำรสอบ เจำะขอ้ สอบทุกส่วน พรอ้ ม
คำเฉลยอธิบำย มำจัดทำเป็นหนังสือชุดนขี้ ้ึน เพ่ือให้ผูส้ อบไดเ้ ตรยี มตวั อำ่ นลว่ งหน้ำ มคี วำม
พรอ้ มในกำรทำข้อสอบ
ทำ้ ยน้ี คณะผจู้ ดั ทำขอขอบคณุ ทำงสถำบัน THE BEST CENTER ทีไ่ ด้ให้กำร
สนับสนนุ และมสี ่วนร่วมในกำรจัดทำตน้ ฉบับ ทำใหห้ นังสือเล่มนสี้ ำมำรถสำเร็จขน้ึ มำเป็น
เลม่ ได้ พรอ้ มกันน้ีคณะผจู้ ดั ทำขอนอ้ มรับข้อบกพร่องใดๆ อันเกิดข้นึ และยนิ ดรี บั ฟังควำม
คิดเหน็ จำกทุกๆทำ่ น เพื่อทจี่ ะนำมำปรบั ปรงุ แก้ไขให้ดียิง่ ขึน้
ขอใหโ้ ชคดีในกำรสอบทุกท่ำน
ฝำ่ ยวิชำกำร
สถำบัน The Best Center
www.thebestcenter.com
สารบญั 1
6
ความรูเ้ กี่ยวกบั สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
พระราชกฤษฎีกาว่าดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 23
แนวขอ้ สอบ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 32
39
พ.ศ. 2546 และที่แกไ้ ขเพิ่มเติม ฉบบั ที่ 3. พ.ศ. 2562 53
แนวขอ้ สอบ พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551
แนวขอ้ สอบ พ.ร.บ.ความรบั ผิดทางละเมิดของเจา้ หนา้ ที่ พ.ศ. 2539 81
แนวขอ้ สอบ พ.ร.บ.ขอ้ มูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 120
แนวขอ้ สอบ พ.ร.บ.ระเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
126
และที่แกไ้ ขเพมิ่ เติมฉบบั ที่ 3. พ.ศ. 2562 157
แนวขอ้ สอบพระราชบญั ญตั ิมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 162
แนวขอ้ สอบระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 184
197
และที่แกไ้ ขเพมิ่ เติม ถึงฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2560 208
แนวขอ้ สอบระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรี ว่าดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. 2555 210
214
พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 225
แนวขอ้ สอบ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ขเพมิ่ เติมฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2562 228
234
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 239
แนวขอ้ สอบ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579
245
ยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธิการ 253
แนวโนม้ การศึกษายุคใหม่ 260
ความรูเ้ กีย่ วกบั กฏหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การศึกษา 282
ความรูเ้ กีย่ วกบั การบริการ การส่งเสริม และการเผยแพร่การศึกษา
แนวขอ้ สอบความรูเ้ กี่ยวกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ
แผนการปฏิรูปประเทศ ดา้ นการศึกษา
การคิดวิเคราะห์ นโยบายทางการศึกษาและทิศทางการปฏิรูปประเทศเพอื่ การพฒั นาประเทศตาม
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579
การจดั การศึกษา
หลกั สูตร และ สื่อการเรียนการสอน
เทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศึกษา
การจดั ทาแผนงาน/โครงการต่างๆเพอื่ ส่งเสริมสนบั สนุนการจดั การศึกษา 289
การติดตามและประเมินผลโครงการ 291
300
แนวขอ้ สอบ หลกั สูตรการสอน 305
แนวขอ้ สอบ สือ่ นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 313
แนวขอ้ สอบ การวิจยั ทางการศึกษา 320
แนวขอ้ สอบ ความรูด้ า้ นการแนะแนว 322
แนวขอ้ สอบ การวดั และประเมินผลทางการศึกษา 334
แนวขอ้ สอบ การจดั ทาแผนงาน โครงการต่างๆ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 1
------------------------------------------------------------------------------
ความรูเ้ ก่ียวกับสานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
ตราสญั ลักษณ์ประจา
วสิ ัยทัศน/์ พันธกิจ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 2
------------------------------------------------------------------------------
ภารกิจ/บทบาทหนา้ ท่ี
สำนักงำน กศน. มอี ำนำจหน้ำทด่ี ังต่อไปน้ี
(1) เป็นหน่วยงำนกลำงในกำรดำเนนิ กำรส่งเสริมสนับสนุนและประสำนงำนกำรศึกษำนอกระบบและ
กำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยและรับผดิ ชอบงำนธุรกำรของคณะกรรมกำร
(2) จดั ทำข้อเสนอแนะนโยบำยยุทธศำสตรแ์ ผนและมำตรฐำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำม
อัธยำศยั ตอ่ คณะกรรมกำร
(3) ส่งเสริมสนับสนุนและดำเนนิ กำรพัฒนำคุณภำพวชิ ำกำรกำรวิจัยกำรพฒั นำหลักสตู รและนวัตกรรมทำง
กำรศึกษำบคุ ลำกรและระบบข้อมูลสำรสนเทศที่เกยี่ วข้องกบั กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย
(4) ส่งเสรมิ สนับสนนุ และดำเนินกำรเทยี บโอนผลกำรเรียนกำรเทียบโอนควำมร้แู ละประสบกำรณ์และกำร
เทยี บระดบั กำรศกึ ษำ
(5) สง่ เสรมิ สนบั สนุนและประสำนงวำนใหบ้ ุคคลครอบครัวชมุ ชนองคก์ รชุมชนองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่นิ องคก์ รเอกชนองค์กรวิชำชีพสถำบันศำสนำสถำนประกอบกำรและองคก์ รอ่ืนรวมตวั กันเป็นภำคเี ครือขำ่ ย
เพ่อื เสรมิ สรำ้ งควำมเขม้ แขง็ ในกำรค่ำเนนิ งำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั
(6) จดั ทำข้อเสนอแนะเกีย่ วกบั กำรใชป้ ระโยชน์เครือขำ่ ยเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำรสถำนวี ิทยุ
โทรทัศนเ์ พอ่ื กำรศึกษำวิทยุชมุ ชนและแหลง่ กำรเรียนรู้อนื่ เพือ่ สง่ เสรมิ กำรเรยี นรแู้ ละกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตอยำ่ ง
ต่อเนอ่ื งของประชำชน
(7) ดำเนนิ กำรเก่ียวกับกำรติดตำมตรวจสอบและประเมนิ ผลกำรดำเนนิ งำนกำรศกึ ษำนอกระบบและ
กำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย
(8) ปฏบิ ตั ิงำนอื่นใดตำมพระรำชบญั ญตั ิน้หี รือกฎหมำยอ่ืนท่บี ัญญตั ใิ หเ้ ป็นอำนำจหน้ำทีข่ องสำนกั งำน
หรือตำมทรี่ ัฐมนตรีมอบหมำย
ยุทธศาสตร์และจุดเน้น
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 3
------------------------------------------------------------------------------
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
-----------------------------------------------------------
4
--------------------
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 5
------------------------------------------------------------------------------
ทาเนียบผู้บริหาร
...............................
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 6
------------------------------------------------------------------------------
พระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์และวิธกี ารบริหารกิจการบา้ นเมอื งทดี่ ี พ.ศ. 2546
1. พระรำชกฤษฎีกำว่ำดว้ ยหลักเกณฑ์และวธิ กี ำรบริหำรกิจกำรบำ้ นเมืองทด่ี ี พ.ศ. 2546 มีผลใช้บังคบั เม่ือใด
ก. ตัง้ แต่วันถัดจำกวนั ประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำเปน็ ต้นไป
ข. ตัง้ แต่วันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นตน้ ไป
ค. เมอื่ พ้นกำหนด 90 วัน นบั แต่วันถดั จำกวันประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำเป็นตน้ ไป
ง. เมอ่ื พ้นกำหนด 180 วนั นับแตว่ นั ถัดจำกวันประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำเปน็ ต้นไป
เฉลย ก. พระรำชกฤษฎกี ำวำ่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวิธีกำรบริหำรกิจกำรบำ้ นเมืองทีด่ ี พ.ศ. 2546 มผี ลใชบ้ ังคับตั้งแต่วัน
ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นต้นไป (มำตรำ 2)
หมำยเหตุ ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ วันท่ี 9 ตลุ ำคม 2546
2. สว่ นรำชกำรใดจะปฏิบัตติ ำมพระรำชกฤษฎกี ำวำ่ ด้วยหลักเกณฑ์และวธิ ีกำรบริหำรกิจกำรบำ้ นเมืองทดี่ ี พ.ศ. 2546
ในเรื่องใด เม่ือใด และเง่อื นไขอย่ำงใด ใหเ้ ป็นไปตำมท่ีบคุ คลใดกำหนด
ก. นำยกรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ก.พ.ร. ง. ก.พ.
เฉลย ข. กำรปฏิบัติตำมพระรำชกฤษฎกี ำวำ่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวิธีกำรบรหิ ำรกิจกำรบ้ำนเมอื งที่ดี พ.ศ. 2546 ในเร่อื ง
ใด ส่วนรำชกำรใดจะปฏบิ ตั เิ มื่อใด และจะต้องมีเงื่อนไขอยำ่ งใด ให้เปน็ ไปตำมท่ีคณะรัฐมนตรกี ำหนดตำม
ขอ้ เสนอแนะของ ก.พ.ร. (มำตรำ 3)
3. ส่วนรำชกำรใดจะปฏบิ ัติตำมพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวธิ กี ำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองท่ดี ี พ.ศ. 2546
ในเร่ืองใด เมื่อใด และเงอื่ นไขอย่ำงใด ให้เปน็ ไปตำม “ขอ้ เสนอแนะ” ของบคุ คลใด
ก. ครม. ข. สคก.
ค. ก.พ.ร. ง. ก.พ.
เฉลย ค. กำรปฏิบตั ิตำมพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ กี ำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมอื งที่ดี พ.ศ. 2546 ใน
เร่ืองใด ส่วนรำชกำรใดจะปฏิบตั เิ มอ่ื ใด และจะต้องมเี งื่อนไขอย่ำงใด ให้เปน็ ไปตำมท่ีคณะรัฐมนตรีกำหนดตาม
ขอ้ เสนอแนะของ ก.พ.ร. (มำตรำ 3)
4. ขอ้ ใดไม่ใช่ “ส่วนรำชกำร” ตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีกำรบรหิ ำรกิจกำรบ้ำนเมอื งที่ดี
ก. กระทรวง ข. สำนกั นำยกรฐั มนตรี
ค. องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ
ง. หน่วยงำนอื่นของรัฐที่อยูใ่ นกำกับของรำชกำรฝำ่ ยบริหำร
เฉลย ค. “ส่วนรำชกำร” ตำมพระรำชกฤษฎกี ำว่ำด้วยหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ำรบรหิ ำรกิจกำรบำ้ นเมืองทีด่ ี พ.ศ. 2546
หมำยควำมว่ำ สว่ นรำชกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงำนอื่นของรัฐที่อยู่ใน
กำกบั ของรำชกำรฝ่ำยบริหำร แต่ไมร่ วมถงึ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น (มำตรำ 4)
5. ตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมอื งที่ดี คำว่ำ “รฐั วสิ ำหกิจ” หมำยควำมวำ่ อยำ่ งไร
ก. รฐั วสิ ำหกจิ ท่ีจัดตัง้ ข้ึนโดยพระรำชบญั ญตั ิหรือพระรำชกำหนด
ข. รฐั วิสำหกิจท่ีจดั ตง้ั ข้นึ โดยพระรำชกำหนดหรือพระรำชกฤษฎกี ำ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 7
------------------------------------------------------------------------------
ค. รฐั วิสำหกิจท่ีจัดตง้ั ขนึ้ โดยประกำศของคณะปฏวิ ัตหิ รอื พระรำชกฤษฎกี ำ
ง. รัฐวสิ ำหกจิ ที่จดั ตัง้ ขึ้นโดยพระรำชบญั ญตั ิหรือพระรำชกฤษฎกี ำ
เฉลย ง. คำวำ่ “รัฐวสิ ำหกิจ” ตำมพระรำชกฤษฎีกำวำ่ ด้วยหลักเกณฑ์และวธิ กี ำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546
หมำยควำมว่ำ รัฐวิสาหกจิ ทจี่ ัดตัง้ ข้นึ โดยพระราชบญั ญตั หิ รือพระราชกฤษฎีกา (มำตรำ 4)
6. ตำมกฎหมำยว่ำด้วยหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีกำรบรหิ ำรกิจกำรบ้ำนเมืองท่ีดี คำว่ำ “ข้ำรำชกำร” หมำยควำมรวมถึง
บคุ คลใดบ้ำง
ก. พนักงำน ข. ลกู จ้ำง
ค. ผปู้ ฏิบตั งิ ำนในส่วนรำชกำร ง. ถกู ทกุ ขอ้
เฉลย ง. คำว่ำ “ขำ้ รำชกำร” ตำมพระรำชกฤษฎกี ำว่ำดว้ ยหลกั เกณฑ์และวธิ ีกำรบรหิ ำรกิจกำรบ้ำนเมืองท่ดี ี พ.ศ.
2546 หมำยควำมรวมถึงพนกั งาน ลกู จ้าง หรือผปู้ ฏบิ ตั ิงานในสว่ นราชการ (มำตรำ 4)
7. บุคคลใดเปน็ ผู้รักษำกำรตำมพระรำชกฤษฎีกำว่ำดว้ ยหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ำรบรหิ ำรกิจกำรบำ้ นเมืองท่ดี ี พ.ศ. 2546
ก. นำยกรฐั มนตรี ข. รฐั มนตรปี ระจำสำนกั นำยกรฐั มนตรี
ค. รฐั มนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย ง. คณะรฐั มนตรี
เฉลย ก. ให้นายกรัฐมนตรีรักษำกำรตำมพระรำชกฤษฎกี ำว่ำดว้ ยหลักเกณฑ์และวิธกี ำรบริหำรกิจกำรบำ้ นเมอื งที่ดี
พ.ศ. 2546 (มำตรำ 5)
8. กำรบริหำรกิจกำรบำ้ นเมืองทด่ี ี ได้แก่ กำรบริหำรรำชกำรเพ่ือบรรลเุ ป้ำหมำยตำมที่กฎหมำยวำ่ ด้วยหลกั เกณฑ์และ
วธิ กี ำรบรหิ ำรกจิ กำรบ้ำนเมืองที่ดไี ด้กำหนดไว้ ข้อใดไมใ่ ชเ่ ป้ำหมำยดังกล่ำว
ก. เกิดประโยชน์สขุ ของประชำชน
ข. มีกำรปรบั ปรุงภำรกิจของรฐั วิสำหกิจและเอกชนใหท้ นั ต่อสถำนกำรณ์
ค. ไมม่ ีขั้นตอนกำรปฏบิ ตั ิงำนเกนิ ควำมจำเปน็
ง. มปี ระสทิ ธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำในเชงิ ภำรกิจของรัฐ
เฉลย ข. กำรบริหำรกิจกำรบำ้ นเมืองที่ดี ได้แก่ กำรบริหำรรำชกำรเพื่อบรรลุเป้ำหมำย (7 เป้ำหมำย) ดังต่อไปน้ี (มำตรำ 6)
(1) เกิดประโยชนส์ ุขของประชำชน
(2) เกิดผลสัมฤทธิต์ ่อภำรกจิ ของรัฐ
(3) มีประสิทธิภำพและเกิดควำมคมุ้ ค่ำในเชงิ ภำรกิจของรัฐ
(4) ไม่มขี ั้นตอนกำรปฏิบัติงำนเกินควำมจำเป็น
(5) มีการปรับปรงุ ภารกิจของสว่ นราชการให้ทันต่อสถานการณ์
(6) ประชำชนได้รับกำรอำนวยควำมสะดวกและได้รบั กำรตอบสนองควำมต้องกำร
(7) มกี ำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรอย่ำงสม่ำเสมอ
9. กำรปฏบิ ตั ริ ำชกำรทม่ี ีเปำ้ หมำยเพอื่ ใหเ้ กิดควำมผำสกุ และควำมเป็นอย่ทู ่ดี ขี องประชำชน ควำมสงบและปลอดภัย
ของสงั คมส่วนรวม ตลอดจนประโยชน์สงู สดุ ของประเทศ หมำยถงึ ข้อใด
ก. กำรบริหำรรำชกำรเพื่อใหเ้ กิดผลสมั ฤทธติ์ ่อภำรกิจของรฐั
ข. กำรบริหำรรำชกำรเพ่ือประโยชนส์ ขุ ของประชำชน
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 8
------------------------------------------------------------------------------
ค. กำรบริหำรรำชกำรอย่ำงมปี ระสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มคำ่ ในเชิงภำรกิจของรัฐ
ง. กำรอำนวยควำมสะดวกและกำรตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชน
เฉลย ข. การบริหารราชการเพอื่ ประโยชนส์ ุขของประชาชน หมำยถึง กำรปฏิบัติรำชกำรท่ีมีเปำ้ หมำยเพื่อให้เกิดควำม
ผำสุกและควำมเปน็ อยูท่ ดี่ ีของประชำชน ควำมสงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ตลอดจนประโยชนส์ ูงสดุ ของ
ประเทศ (มำตรำ 7)
10. ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สขุ ของประชำชนนั้น ข้อใดกลำ่ วไม่ถกู ต้อง
ก. ส่วนรำชกำรจะตอ้ งดำเนนิ กำรโดยถือวำ่ ประชำชนเปน็ ศูนยก์ ลำงที่จะไดร้ บั กำรบรกิ ำรจำกรัฐ
ข. กำรกำหนดภำรกจิ ของรัฐและสว่ นรำชกำรต้องสอดคล้องกบั แนวนโยบำยแหง่ รฐั และนโยบำยของ
คณะรฐั มนตรที ี่แถลงต่อรฐั สภำ
ค. ก่อนเริม่ ดำเนนิ กำร ส่วนรำชกำรไม่จำต้องจัดใหม้ กี ำรศึกษำวิเครำะหผ์ ลดแี ละผลเสยี ให้ครบถ้วนทุกด้ำน
เน่อื งจำกกอ่ ทำให้เกิดควำมลำ่ ช้ำในกำรบรหิ ำรรำชกำร
ง. ให้เปน็ หน้ำทขี่ องขำ้ รำชกำรที่จะต้องคอยรบั ฟังควำมคิดเห็นและควำมพงึ พอใจของสังคมโดยรวมและ
ประชำชนผู้รบั บริกำร
เฉลย ค. ในกำรบริหำรรำชกำรเพือ่ ประโยชนส์ ขุ ของประชำชน สว่ นรำชกำรจะต้องดำเนินกำรโดยถอื วำ่ ประชำชน
เปน็ ศูนย์กลำงทีจ่ ะไดร้ ับกำรบรกิ ำรจำกรัฐ และจะต้องมแี นวทำงกำรบริหำรรำชกำร เช่น กอ่ นเร่มิ ดาเนินการสว่ น
ราชการตอ้ งจดั ให้มกี ารศึกษาวเิ คราะหผ์ ลดแี ละผลเสียใหค้ รบถ้วนทุกดา้ น (มำตรำ 8)
11. ส่วนรำชกำรจะต้องบรหิ ำรรำชกำร โดยถือว่ำบคุ คลใดเป็น “ศูนย์กลำง” ทีจ่ ะไดร้ บั กำรบริกำรจำกรัฐ
ก. ผบู้ งั คับบัญชำ ข. ผู้ปฏบิ ัตงิ ำนในสว่ นรำชกำร
ค. ขำ้ รำชกำร ง. ประชำชน
เฉลย ง. ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชนส์ ุขของประชำชนนน้ั สว่ นรำชกำรจะต้องบรหิ ำรรำชกำรโดยถือว่ำ
ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลำงท่จี ะได้รบั กำรบริกำรจำกรัฐ (มำตรำ 8)
12. ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภำรกิจของรัฐน้นั ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มกี ำรติดตำมและ
ประเมินผลกำรปฏบิ ัตติ ำมแผนปฏิบตั ริ ำชกำรตำมหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ำรทส่ี ว่ นรำชกำรกำหนดขึน้ ซง่ึ ตอ้ งสอดคล้องกบั
มำตรฐำนใด
ก. มำตรฐำนที่คณะกรรมกำรพทิ กั ษ์ระบบคุณธรรมกำหนด
ข. มำตรฐำนทคี่ ณะกรรมกำรกฤษฎีกำกำหนด
ค. มำตรฐำนที่ ก.พ. กำหนด ง. มำตรฐำนที่ ก.พ.ร. กำหนด
เฉลย ง. ในกำรบริหำรรำชกำรเพ่ือให้เกิดผลสมั ฤทธ์ติ ่อภำรกิจของรัฐน้ัน ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรตดิ ตำมและ
ประเมินผลกำรปฏิบัติตำมแผนปฏิบตั ิรำชกำรตำมหลกั เกณฑ์และวธิ กี ำรทีส่ ่วนรำชกำรกำหนดขึ้น ซ่ึงต้องสอดคล้อง
กบั มาตรฐานที่ ก.พ.ร. กาหนด (มำตรำ 9)
13. สว่ นรำชกำรมีหน้ำที่ต้องพฒั นำ “ควำมรู้” ในสว่ นรำชกำรอย่ำงสม่ำเสมอ เพ่ือให้มีลักษณะเปน็ เช่นใด
ก. องคก์ รแห่งกำรเรียนรู้ ข. องคก์ รแหง่ วิชำชพี
ค. ศนู ยร์ วมขำ้ รำชกำรยุคใหม่ ง. ศนู ย์รวมข้ำรำชกำรที่เก่ง
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 9
------------------------------------------------------------------------------
เฉลย ก. สว่ นรำชกำรมหี น้ำที่ตอ้ งพฒั นำควำมรู้ในส่วนรำชกำรเพื่อใหม้ ีลกั ษณะเป็นองค์กรแหง่ การเรียนรู้ อยำ่ ง
สมำ่ เสมอ (มำตรำ 11)
14. ในกำรปฏิบตั ริ ำชกำรเพ่ือใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิ์ ก.พ.ร. อำจเสนอต่อุคคลใด เพื่อกำหนดมำตรกำรกำกับกำรปฏิบัติ
รำชกำร
ก. องคมนตรี ข. รฐั มนตรีประจำสำนกั นำยกรัฐมนตรี
ค. นำยกรัฐมนตรี ง. คณะรัฐมนตรี
เฉลย ง. เพอ่ื ประโยชน์ในกำรปฏิบตั ริ ำชกำรใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิ์ ก.พ.ร. อำจเสนอตอ่ คณะรฐั มนตรีเพ่ือกำหนด
มำตรกำรกำกบั กำรปฏิบัตริ ำชกำร โดยวิธีกำรจดั ทำควำมตกลงเปน็ ลำยลกั ษณ์อกั ษรหรือโดยวิธกี ำรอน่ื ใด เพอื่
แสดงควำมรับผิดชอบในกำรปฏิบตั ริ ำชกำร (มำตรำ 12)
15. กำรจดั ทำแผนปฏิบตั ิรำชกำรของสว่ นรำชกำร ให้จดั ทำเปน็ แผนกปี่ ี
ก. 5 ปี ข. 10 ปี
ค. 15 ปี ง. 20 ปี
เฉลย ก. ใหส้ ว่ นรำชกำรจดั ทำแผนปฏิบตั ิรำชกำรของสว่ นรำชกำร โดยจดั ทำเปน็ แผน 5 ปี (มำตรำ 16)
16. กำรจดั ทำ “แผนปฏิบัติรำชกำร” ของส่วนรำชกำร ตอ้ งสอดคลอ้ งกับสง่ิ ใดบ้ำง
ก. นโยบำยของคณะรัฐมนตรที ่แี ถลงต่อรฐั สภำ ข. แผนกำรปฏิรปู ประเทศ
ค. ยุทธศำสตรช์ ำติ ง. ถูกทกุ ขอ้
เฉลย ง. ใหส้ ว่ นรำชกำรจัดทำแผนปฏบิ ัติรำชกำรของส่วนรำชกำร โดยจัดทำเปน็ แผน 5 ปี ซง่ึ ต้องสอดคลอ้ งกบั (1)
ยทุ ธศาสตรช์ าติ (2) แผนแม่บท (3) แผนการปฏิรูปประเทศ (4) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (5)
นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และ (6) แผนอื่นที่เก่ยี วขอ้ ง (มำตรำ 16)
17. กำรจดั ทำ “แผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี” ของส่วนรำชกำร ต้องระบุสำระสำคญั เกย่ี วกับส่งิ ใด
ก. นโยบำยกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำร ข. เป้ำหมำยและผลสัมฤทธ์ิของงำน
ค. ประมำณกำรรำยได้และรำยจ่ำยและทรพั ยำกรอืน่ ทจี่ ะต้องใช้
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ในแต่ละปงี บประมำณ ใหส้ ่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏบิ ตั ิรำชกำรประจำปี โดยใหร้ ะบสุ ำระสำคญั เก่ียวกบั
นโยบายการปฏิบตั ิราชการของสว่ นราชการ เป้าหมายและผลสมั ฤทธ์ิของงาน รวมทั้งประมาณการรายได้และ
รายจา่ ยและทรัพยากรอนื่ ทจี่ ะต้องใช้ เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อให้ควำมเห็นชอบ (มำตรำ 16)
18. บคุ คลใดเปน็ ผใู้ หค้ วำมเห็นชอบต่อ “แผนปฏบิ ัตริ ำชกำรประจำปี” ของสว่ นรำชกำร
ก. คณะรัฐมนตรี ข. นำยกรฐั มนตรี
ค. รัฐมนตรี ง. ปลัดกระทรวง
เฉลย ค. ในแตล่ ะปงี บประมำณใหส้ ่วนรำชกำรจดั ทำแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปเี สนอตอ่ รฐั มนตรีเพอ่ื ให้ ควำม
เหน็ ชอบ (มำตรำ 16)
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 10
------------------------------------------------------------------------------
19. เม่ือรฐั มนตรีให้ควำมเห็นชอบ “แผนปฏบิ ตั ริ ำชกำรประจำปี” ของส่วนรำชกำรใดแล้ว หนว่ ยงำนใดเป็น
ผู้ดำเนินกำรจัดสรรงบประมำณเพอ่ื ปฏบิ ัติงำนใหบ้ รรลผุ ลสำเรจ็ ในแตล่ ะภำรกจิ ตำมแผนปฏิบัติรำชกำรดังกล่ำว
ก. สำนักงำน ก.พ. ข. สำนักงำน ก.พ.ร.
ค. สำนกั งบประมำณ ง. กรมบญั ชกี ลำง
เฉลย ค. เมื่อรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแผนปฏบิ ตั ิรำชกำรของสว่ นรำชกำรใดแล้ว ให้สานักงบประมาณดำเนินกำร
จดั สรรงบประมำณเพือ่ ปฏบิ ัติงำนใหบ้ รรลุผลสำเร็จในแต่ละภำรกจิ ตำมแผนปฏิบัติรำชกำรดังกล่ำว (มำตรำ 16)
20. สว่ นรำชกำรต้องจัดทำรำยงำนแสดงผลสัมฤทธ์ิของแผนปฏิบตั ิรำชกำรประจำปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อใด
ก. ภำยในวนั ท่ี 15 มกรำคม ของปีงบประมำณถัดไป
ข. สนิ้ ปีงบประมำณ
ค. ตน้ ปงี บประมำณถดั ไป ง. ครึง่ ปีหลงั ของปงี บประมำณนน้ั
เฉลย ข. เม่อื ส้ินปงี บประมาณใหส้ ว่ นรำชกำรจัดทำรำยงำนแสดงผลสมั ฤทธ์ขิ องแผนปฏิบตั ิรำชกำรประจำปีเสนอ
ตอ่ คณะรฐั มนตรี (มำตรำ 16)
21. เมือ่ สน้ิ ปงี บประมำณ สว่ นรำชกำรตอ้ งจดั ทำ “รำยงำนแสดงผลสมั ฤทธ”์ิ ของแผนปฏบิ ตั ิรำชกำรประจำปเี สนอ
ตอ่ บุคคลใด
ก. คณะรฐั มนตรี ข. นำยกรัฐมนตรี
ค. รฐั มนตรี ง. ปลดั กระทรวง
เฉลย ก. เมื่อสิ้นปีงบประมำณให้สว่ นรำชกำรจัดทำรำยงำนแสดงผลสมั ฤทธ์ขิ องแผนปฏิบตั ริ ำชกำรประจำปีเสนอ
ต่อคณะรัฐมนตรี (มำตรำ 16)
22. หน่วยงำนใดมีหน้ำท่ีร่วมกนั “กำหนดแนวทำง” กำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรใหส้ ำมำรถใช้ไดก้ ับแผนปฏบิ ตั ิ
รำชกำรท่ตี ้องจัดทำตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยวิธกี ำรงบประมำณ
ก. สำนกั งบประมำณ และ ก.พ.ค. ข. สำนกั งบประมำณ และ ก.พ.ฐ.
ค. สำนักงบประมำณ และ ก.พ. ง. สำนักงบประมำณ และ ก.พ.ร.
เฉลย ง. ในกรณีท่ีกฎหมำยว่ำดว้ ยวิธกี ำรงบประมำณกำหนดใหส้ ่วนรำชกำรต้องจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรเพื่อขอรบั
งบประมำณ ใหส้ านักงบประมาณ และ ก.พ.ร. ร่วมกนั กำหนดแนวทำงกำรจัดทำแผนปฏิบตั ริ ำชกำรให้สำมำรถใช้ได้
กับแผนปฏิบัติรำชกำรท่ีต้องจัดทำตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธกี ำรงบประมำณ (มำตรำ 17)
23. กำรโอนงบประมำณจำกภำรกิจหนึง่ ตำมท่ีกำหนดในแผนปฏบิ ัติรำชกำรไปดำเนินกำรอยำ่ งอนื่ ซึ่งมีผลทำให้
ภำรกิจเดิมไมบ่ รรลุเป้ำหมำยหรือนำไปใช้ในภำรกจิ ใหมท่ ี่มิไดก้ ำหนดในแผนปฏิบัติรำชกำร จะกระทำไดต้ ่อเม่ือได้รับ
อนมุ ัตใิ หป้ รบั แผนปฏิบัติรำชกำรใหส้ อดคล้องกันแลว้ จำกบุคคลใด
ก. คณะรัฐมนตรี ข. นำยกรัฐมนตรี
ค. คณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร (ก.พ.ร.) ง. รัฐมนตรีประจำสำนกั นำยกรัฐมนตรี
เฉลย ก. เมอ่ื มีกำรกำหนดงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีตำมแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรใดแลว้ กำรโอน
งบประมำณจำกภำรกิจหน่ึงตำมทกี่ ำหนดในแผนปฏิบัตริ ำชกำรไปดำเนินกำรอยำ่ งอืน่ ซ่งึ มีผลทำใหภ้ ำรกิจเดิม
ไม่บรรลุเปำ้ หมำยหรือนำไปใชใ้ นภำรกิจใหม่ท่ีมิได้กำหนดในแผนปฏิบัติรำชกำร จะกระทำได้ตอ่ เมื่อได้รับอนมุ ตั ิ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 11
------------------------------------------------------------------------------
จำกคณะรฐั มนตรีใหป้ รับแผนปฏิบตั ริ ำชกำรให้สอดคลอ้ งกันแลว้ (มำตรำ 18)
24. “กำรปรับแผนปฏิบตั ิรำชกำร” จะกระทำได้เฉพำะในกรณีท่งี ำนหรือภำรกิจน้ันเปน็ เชน่ ใด
ก. ไม่อำจดำเนินกำรตำมวัตถุประสงคต์ ่อไปได้
ข. หมดควำมจำเป็นหรือไมเ่ ป็นประโยชน์
ค. หำกดำเนินกำรต่อไปจะต้องเสยี ค่ำใช้จ่ำยเกินควำมจำเป็น
ง. ถูกทกุ ข้อ
เฉลย ง. “กำรปรบั แผนปฏบิ ตั ิรำชกำร” จะกระทำได้เฉพำะในกรณที ่งี ำนหรือภำรกจิ ใด (1) ไมอ่ าจดาเนินการตาม
วัตถปุ ระสงค์ต่อไปได้ หรือ (2) หมดความจาเป็นหรือไม่เป็นประโยชน์ หรือ (3) หากดาเนินการต่อไปจะตอ้ งเสีย
ค่าใช้จ่ายเกนิ ความจาเป็น หรือ (4) มีความจาเปน็ อยา่ งอ่นื อันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ที่จะต้องเปล่ียนแปลงสาระสาคญั
ของแผนปฏิบัติราชการ (มำตรำ 18)
25. เม่ือนำยกรัฐมนตรพี ้นจำกตำแหน่ง บคุ คลใดมหี นำ้ ที่ “สรุปผลกำรปฏบิ ตั ิรำชกำร” และ “ใหข้ ้อมูล” ต่อ
นำยกรัฐมนตรีคนใหม่
ก. หัวหนำ้ ส่วนรำชกำร ข. นำยกรัฐมนตรีคนเกำ่
ค. คณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร (ก.พ.ร.) ง. คณะรฐั มนตรชี ุดเก่ำ
เฉลย ก. เมื่อนำยกรฐั มนตรีพ้นจำกตำแหน่ง ให้หัวหน้าส่วนราชการมีหน้ำที่สรุปผลกำรปฏบิ ตั ริ ำชกำรและใหข้ ้อมลู ต่อ
นำยกรัฐมนตรีคนใหม่ ตำมที่นำยกรัฐมนตรีคนใหม่สั่งกำร (มำตรำ 19)
26. เพ่ือให้กำรปฏิบตั ิรำชกำรภำยในสว่ นรำชกำรเป็นไปอย่ำงมปี ระสทิ ธิภำพ ส่วนรำชกำรต้องกำหนดสิง่ ใดบ้ำง
ก. เปำ้ หมำย ข. แผนกำรทำงำน
ค. ระยะเวลำแล้วเสร็จของงำนหรือโครงกำร ง. ถกู ทุกข้อ
เฉลย ง. เพ่ือใหก้ ำรปฏบิ ัติรำชกำรภำยในส่วนรำชกำรเป็นไปอยำ่ งมีประสิทธิภำพ ให้ส่วนรำชกำรกำหนด (1) เปา้ หมาย
(2) แผนการทางาน (3) ระยะเวลาแลว้ เสรจ็ ของงานหรือโครงการ และ (4) งบประมาณทจี่ ะตอ้ งใช้ในแต่ละงานหรือ
โครงการ และต้องเผยแพร่ให้ข้ำรำชกำรและประชำชนทรำบทว่ั กนั ด้วย (มำตรำ 20)
27. ส่วนรำชกำรจดั ทำ “บัญชีต้นทนุ ” ในงำนบรกิ ำรสำธำรณะแตล่ ะประเภทขึน้ ตำมหลกั เกณฑ์และวธิ ีกำรท่หี นว่ ยงำนใด
กำหนด
ก. สำนกั งำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร ข. สำนักงบประมำณ
ค. กรมบัญชีกลำง ง. สำนกั งำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน
เฉลย ค. ให้สว่ นรำชกำรจดั ทำบัญชตี ้นทุนในงำนบริกำรสำธำรณะแต่ละประเภทข้ึนตำมหลกั เกณฑ์และวธิ ีกำรท่ี
กรมบัญชีกลางกำหนด (มำตรำ 21)
28. ใหส้ ว่ นรำชกำรคำนวณรำยจำ่ ยต่อหน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะท่ีอยใู่ นควำมรบั ผิดชอบของส่วนรำชกำรนั้นตำม
ระยะเวลำท่กี รมบัญชกี ลำงกำหนด และรำยงำนให้หนว่ ยงำนใดทรำบ
ก. สำนกั งบประมำณ กรมบัญชีกลำง และสำนกั งำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
ข. สำนักงบประมำณ กรมบัญชกี ลำง และ ก.พ.ร.
ค. สำนักงบประมำณ กรมบัญชีกลำง และสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 12
------------------------------------------------------------------------------
ง. สำนกั งบประมำณ กรมบัญชีกลำง และสำนักงำน ก.พ.
เฉลย ข. ใหส้ ่วนรำชกำรคำนวณรำยจ่ำยต่อหน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะท่ีอยใู่ นควำมรับผดิ ชอบของส่วนรำชกำรนั้น
ตำมระยะเวลำท่ีกรมบัญชกี ลำงกำหนด และรำยงำนให้สานักงบประมาณ กรมบัญชกี ลาง และ ก.พ.ร. ทรำบ (มำตรำ 21)
29. กำรจัดทำและเสนอ “แผนกำรลดรำยจำ่ ยตอ่ หน่วย” ของงำนบรกิ ำรสำธำรณะ หำกมิได้มขี ้อทักท้วงจำก สำนัก
งบประมำณ กรมบัญชีกลำง และ ก.พ.ร. ภำยในกวี่ ัน ท่สี ว่ นรำชกำรนั้นสำมำรถถือปฏิบัติตำมแผนนนั้ ต่อไปได้
ก. ภำยใน 15 วัน ข. ภำยใน 30 วนั
ค. ภำยใน 45 วนั ง. ภำยใน 60 วนั
เฉลย ก. ในกรณีที่รำยจำ่ ยต่อหน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะใดของส่วนรำชกำรใดสงู กว่ำรำยจำ่ ยต่อหน่วยของงำน
บรกิ ำรสำธำรณะประเภทและคุณภำพเดยี วกันหรือคลำ้ ยคลงึ กนั ของส่วนรำชกำรอนื่ ให้ส่วนรำชกำรนน้ั จดั ทำแผนกำร
ลดรำยจ่ำยต่อหน่วยของงำนบรกิ ำรสำธำรณะดังกล่ำวเสนอสำนกั งบประมำณ กรมบัญชกี ลำงและ ก.พ.ร. ทรำบ และถ้า
มไิ ด้มีขอ้ ทักท้วงประการใดภายใน 15 วนั กใ็ ห้ส่วนรำชกำรดังกล่ำวถือปฏิบัติตำมแผนกำรลดรำยจ่ำยน้ันต่อไปได้
(มำตรำ 21)
30. หน่วยงำนใดมีหน้ำท่ีร่วมกนั จัดใหม้ กี ำรประเมิน “ควำมคุม้ ค่ำ” ในกำรปฏิบัตภิ ำรกิจของรัฐท่ีส่วนรำชกำร
ดำเนินกำรอยู่
ก. สำนกั งำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ และสำนักเลขำธิกำรนำยกรฐั มนตรี
ข. สำนักงำนคณะกรรมกำรพฒั นำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ และสำนักงบประมำณ
ค. สำนักงบประมำณ และสำนกั เลขำธกิ ำรนำยกรัฐมนตรี
ง. สำนกั เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี และสำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร
เฉลย ข. ใหส้ านักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติและสานักงบประมาณร่วมกันจัดใหม้ ีกำร
ประเมินควำมคุ้มค่ำในกำรปฏบิ ัติภำรกิจของรัฐท่สี ่วนรำชกำรดำเนินกำรอยู่ (มำตรำ 22)
31. กำร “ประเมินควำมคมุ้ ค่ำ” ในกำรปฏบิ ัติภำรกจิ ของรัฐที่สว่ นรำชกำรดำเนนิ กำรอยู่ ต้องคำนึงถึงส่ิงใด
ก. ประเภทและสภำพของแต่ละภำรกิจ
ข. ควำมเป็นไปได้ของภำรกิจหรือโครงกำรทด่ี ำเนินกำร
ค. รำยจำ่ ยที่ตอ้ งเสยี ไปก่อนและหลังที่สว่ นรำชกำรดำเนินกำร
ง. ถูกทกุ ขอ้
เฉลย ง. ในกำรประเมนิ ควำมคมุ้ คำ่ ให้คำนึงถงึ (1) ประเภทและสภาพของแต่ละภารกจิ (2) ความเปน็ ไปได้ ของ
ภารกิจหรือโครงการทด่ี าเนินการ (3) ประโยชน์ท่ีรัฐและประชาชนจะพึงได้ และ (4) รายจ่ายที่ต้องเสียไปก่อนและหลังท่ี
สว่ นราชการดาเนินการ (มำตรำ 22)
32. กำร “จดั ซ้ือจัดจ้ำง” ของส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรโดยเปิดเผยและเท่ียงธรรมและต้องพจิ ำรณำถงึ ส่ิงใด ประกอบ
กัน
ก. ประโยชน์และผลเสยี ทำงสงั คม ภำระต่อประชำชน
ข. คุณภำพ วตั ถุประสงคท์ จ่ี ะใช้
ค. รำคำ ประโยชนร์ ะยะยำวของสว่ นรำชกำรทจี่ ะได้รับ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 13
------------------------------------------------------------------------------
ง. ถกู ทกุ ขอ้
เฉลย ง. ในกำรจัดซอ้ื จัดจ้ำง ให้สว่ นรำชกำรดำเนินกำรโดยเปิดเผยและเท่ยี งธรรม โดยพิจำรณำถึง (1) ประโยชน์ และ
ผลเสียทางสังคม (2) ภาระต่อประชาชน (3) คุณภาพ (4) วัตถปุ ระสงค์ที่จะใช้ (5) ราคา และ (6) ประโยชน์ระยะยาวของ
สว่ นราชการที่จะได้รบั ประกอบกัน (มำตรำ 23)
33. กรณใี ดท่ีกำรจดั ซื้อหรือจัดจ้ำงสำมำรถกระทำได้โดย “ไม่ต้องถอื รำคำต่ำสดุ ” ในกำรเสนอซือ้ หรอื จำ้ ง
ก. ควำมขำดแคลนและควำมจำเปน็ ในกำรใช้เป็นสำคญั
ข. วตั ถปุ ระสงคใ์ นกำรใช้เป็นเหตุให้ต้องคำนงึ ถึงคณุ ภำพเปน็ สำคัญ
ค. วตั ถปุ ระสงคใ์ นกำรใชเ้ ป็นเหตุใหต้ ้องคำนงึ ถงึ กำรดูแลรกั ษำเปน็ สำคัญ
ง. ท้งั ข้อ ข. และ ค.
เฉลย ง. ในกำรจัดซ้อื หรือจัดจ้ำง หำกเปน็ กรณีที่วัตถุประสงคใ์ นการใชเ้ ป็นเหตุให้ตอ้ งคานึงถึงคุณภาพและ การดูแล
รักษาเป็นสาคัญ ให้สำมำรถกระทำได้โดยไม่ต้องถือรำคำต่ำสดุ ในกำรเสนอซ้ือหรือจำ้ งเสมอไป (มำตรำ 23)
34. โดยทั่วไปกำรปฏิบัติภำรกิจของส่วนรำชกำรใดจำเป็นต้องได้รับอนุญำต อนมุ ัติ หรือควำมเหน็ ชอบจำกส่วน
รำชกำรอน่ื สว่ นรำชกำรทมี่ ีอำนำจนั้นต้องแจง้ ผลกำรพจิ ำรณำให้ส่วนรำชกำรท่ยี ่ืนคำขอทรำบภำยในกี่วนั
ก. ภำยใน 15 วัน นบั แต่วนั ท่ีไดร้ บั คำขอ ข. ภำยใน 30 วนั นับแตว่ นั ท่ีไดร้ บั คำขอ
ค. ภำยใน 45 วนั นบั แตว่ ันท่ีไดร้ ับคำขอ ง. ภำยใน 60 วัน นบั แตว่ นั ที่ได้รับคำขอ
เฉลย ก. ในกำรปฏบิ ัติภำรกิจใด หำกสว่ นรำชกำรจำเป็นต้องไดร้ บั อนุญำต อนมุ ัติ หรือควำมเห็นชอบจำกสว่ นรำชกำร
อ่นื ตำมที่มีกฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบงั คบั ประกำศ หรือมติคณะรัฐมนตรกี ำหนด ให้สว่ นรำชกำรทีม่ อี ำนำจอนุญำต
อนมุ ัติ หรือให้ควำมเห็นชอบดงั กลำ่ ว แจ้งผลกำรพจิ ำรณำให้ส่วนรำชกำรที่ย่ืนคำขอทรำบภายใน 15 วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ด้
รบั คาขอ (มำตรำ 24)
35. กรณที ่ีเรอ่ื งใดมกี ฎหมำย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ประกำศ หรอื มติคณะรัฐมนตรกี ำหนดขน้ั ตอนกำรปฏบิ ตั ิไว้และ
ข้ันตอนกำรปฏบิ ตั ิน้ันต้องใช้ระยะเวลำเกิน 15 วนั สว่ นรำชกำรทม่ี ีอำนำจในกำรอนุญำตอนุมัตหิ รือให้ควำมเห็นชอบ
ต้องดำเนินกำรเช่นใด
ก. ไม่ตอ้ งดำเนินกำรเช่นใด เน่อื งจำกระยะเวลำกำรพิจำรณำดงั กล่ำวปรำกฏชัดเจนอยู่ในกฎหมำย กฎ ระเบยี บ
ขอ้ บงั คับ ประกำศนั้น ๆ อย่แู ลว้
ข. แจ้งให้สว่ นรำชกำรทม่ี ำตดิ ต่อทรำบเป็นกรณี ๆ ไป
ค. ประกำศกำหนดระยะเวลำกำรพิจำรณำไว้ใหส้ ว่ นรำชกำรอื่นทรำบ
ง. เป็นหน้ำทข่ี องส่วนรำชกำรท่มี ำติดต่อท่ีจะต้องทรำบระยะเวลำในกำรพิจำรณำน้ันเอง
เฉลย ค. กรณีที่เร่ืองใดมกี ฎหมำย กฎ ระเบยี บ ข้อบังคบั ประกำศ หรือมตคิ ณะรัฐมนตรีกำหนดข้ันตอนกำร ปฏิบตั ิ
ไว้และขั้นตอนกำรปฏิบัตนิ ั้นตอ้ งใช้ระยะเวลำเกิน 15 วนั ให้ส่วนรำชกำรทีม่ ีอำนำจในกำรอนุญำต อนุมตั ิ หรือให้
ควำมเหน็ ชอบประกาศกาหนดระยะเวลาการพจิ ารณาไว้ให้สว่ นราชการอน่ื ทราบ (มำตรำ 24)
36. ส่วนรำชกำรใดทีม่ ีอำนำจอนุญำต อนมุ ัติ หรือใหค้ วำมเห็นชอบ หำกมิได้แจ้งผลกำรพิจำรณำให้สว่ นรำชกำร ทยี่ ่ืน
คำขอทรำบภำยใน 15 วนั นับแต่วันทไี่ ด้รับคำขอ หรือไม่ประกำศกำหนดระยะเวลำกำรพิจำรณำไว้ใหส้ ว่ นรำชกำรอื่น
ทรำบ (กรณีท่ีต้องใช้ระยะเวลำเกิน 15 วัน) หำกมีควำมเสยี หำยใดเกิดขึ้น ผลเป็นเช่นใด
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 14
------------------------------------------------------------------------------
ก. ใหถ้ ือว่ำข้ำรำชกำรซง่ึ มหี น้ำท่ีเกยี่ วขอ้ งประมำทเลินเลอ่ อย่ำงร้ำยแรง
ข. ใหถ้ ือว่ำหัวหน้ำสว่ นรำชกำรนั้นประมำทเลินเล่ออยำ่ งร้ำยแรง
ค. ใหถ้ ือว่ำข้ำรำชกำรซ่ึงมีหน้ำที่เกย่ี วขอ้ งประมำทเลินเล่ออย่ำงรำ้ ยแรง แตห่ วั หน้ำส่วนรำชกำรประมำท
เลินเลอ่ ธรรมดำ
ง. ผลเป็นทั้งข้อ ก. และ ข.
เฉลย ง. สว่ นรำชกำรใดท่มี อี ำนำจอนญุ ำต อนมุ ัติ หรอื ใหค้ วำมเห็นชอบ หำกมไิ ด้แจ้งผลกำรพจิ ำรณำให้สว่ น
รำชกำรทย่ี ่นื คำขอทรำบภำยใน 15 วัน นบั แตว่ ันที่ได้รบั คำขอ หรือไมป่ ระกำศกำหนดระยะเวลำกำรพิจำรณำไว้ให้
ส่วนรำชกำรอ่นื ทรำบ (กรณีท่ตี อ้ งใช้ระยะเวลำเกิน 15 วัน) ใหถ้ อื วา่ ข้าราชการซึ่งมีหน้าทีเ่ ก่ียวขอ้ งและหวั หน้าสว่ น
ราชการนนั้ ประมาทเลนิ เลอ่ อย่างร้ายแรง เวน้ แตจ่ ะพิสูจน์ได้วำ่ ควำมล่ำช้ำน้นั มไิ ด้เกดิ ข้ึนจำกควำมผดิ ของตน
(มำตรำ 24)
37. สว่ นรำชกำรใดมีหน้ำทีร่ ับผดิ ชอบในกำรพิจำรณำวินจิ ฉัยชข้ี ำดปัญหำใด ๆ ที่เกิดขึ้น
ก. สำนักงำน ก.พ. ข. สำนักงำน ก.พ.ร.
ค. ส่วนรำชกำรที่รับผิดชอบในปัญหำน้ัน ๆ ง. สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎกี ำ
เฉลย ค. ในกำรพิจำรณำวินิจฉัยชขี้ ำดปัญหำใด ๆ ให้เป็นหน้ำที่ของสว่ นราชการท่ีรบั ผดิ ชอบในปัญหาน้ัน ๆ จะต้อง
พจิ ำรณำวนิ ิจฉยั ชข้ี ำดโดยเร็ว กำรตง้ั คณะกรรมกำรขึ้นพิจำรณำวินิจฉยั ให้ดำเนนิ กำรได้เทำ่ ที่จำเปน็ อันไม่อำจ
หลกี เลีย่ งได้ (มำตรำ 25)
38. กำรพจิ ำรณำวินิจฉัยเร่ืองใด ๆ โดยคณะกรรมกำร “มตขิ องคณะกรรมกำร” มีผลอย่ำงไร
ก. ผกู พันส่วนรำชกำรซึ่งมีผ้แู ทนร่วมเป็นกรรมกำรอยูด่ ว้ ย
ข. ผกู พันส่วนรำชกำรเฉพำะกรณีทผี่ ู้แทนของส่วนรำชกำรเข้ำร่วมพจิ ำรณำวินิจฉยั เท่ำนั้น
ค. ไมผ่ ูกพันส่วนรำชกำร แต่ผูกพันตัวผู้แทนท่ีเข้ำร่วมพิจำรณำวินิจฉยั เทำ่ นั้น
ง. ผลเป็นท้งั ข้อ ก. และ ข.
เฉลย ก. ในกำรพิจำรณำเรื่องใด ๆ โดยคณะกรรมกำร เมื่อคณะกรรมกำรมีมติเป็นประกำรใดแล้ว ให้มติ ของ
คณะกรรมกำรผูกพันส่วนราชการซึ่งมผี ู้แทนร่วมเป็นกรรมการอยูด่ ้วย แม้ว่าในการพจิ ารณาวินิจฉัย เรื่องน้ัน ผู้แทน
ของส่วนราชการทเ่ี ปน็ กรรมการจะมไิ ด้เข้าร่วมพจิ ารณาวินิจฉยั ก็ตาม (มำตรำ 25)
39. กำรส่ังรำชกำรโดยปกติใหก้ ระทำเป็นแบบใด
ก. วำจำ ข. ลำยลกั ษณอ์ กั ษร
ค. วิทยุ ง. วำจำหรือลำยลกั ษณอ์ ักษรก็ได้
เฉลย ข. กำรสั่งรำชกำรโดยปกติให้กระทำเป็นลายลักษณ์อกั ษร เว้นแตใ่ นกรณที ่ีผ้บู ังคับบัญชำมีควำมจำเปน็ ที่ไม่อำจ
ส่ังเปน็ ลำยลกั ษณ์อักษรในขณะน้ัน จะสั่งรำชกำรด้วยวำจำกไ็ ด้ (มำตรำ 26)
40. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเก่ยี วกับกำรสง่ั รำชกำร “ดว้ ยวำจำ”
ก. กรณีทผี่ ้บู ังคับบัญชำมคี วำมจำเป็นที่ไมอ่ ำจส่ังเป็นลำยลักษณ์อักษรในขณะนั้น จะสั่งรำชกำรด้วยวำจำกไ็ ด้
ข. ให้ผูร้ ับคำส่ังน้ันบันทกึ คำสั่งด้วยวำจำไว้เป็นลำยลกั ษณ์อักษร
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 15
------------------------------------------------------------------------------
ค. เม่ือได้ปฏิบัติรำชกำรตำมคำส่ังดังกลำ่ วแล้ว ใหบ้ ันทกึ รำยงำนให้ผสู้ ่ังรำชกำรทรำบและในบันทึกให้อ้ำงองิ
คำสัง่ ดว้ ยวำจำไว้ดว้ ย
ง. ถกู ทุกข้อ
เฉลย ง. กำรสง่ั รำชกำรโดยปกตใิ ห้กระทำเป็นลำยลกั ษณ์อักษร เว้นแต่ในกรณีทผ่ี ้บู ังคับบัญชำมีความจาเป็นที่ไม่อำจ
ส่งั เป็นลำยลกั ษณ์อักษรในขณะน้ัน จะสัง่ รำชกำรด้วยวำจำกไ็ ด้ แต่ให้ผู้รบั คำส่ังน้ันบนั ทึกคาสงั่ ด้วยวาจา ไว้เป็นลาย
ลักษณอ์ ักษรและเมื่อไดป้ ฏิบัติรำชกำรตำมคำส่ังดงั กล่ำวแลว้ ให้บันทึกรายงานใหผ้ ู้สง่ั ราชการทราบ ในบนั ทกึ ให้
อา้ งองิ คาสั่งดว้ ยวาจาไวด้ ้วย (มำตรำ 26)
41. ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มี “กำรกระจำยอำนำจกำรตัดสนิ ใจ” ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งท่ีมีหน้ำที่รับผิดชอบในกำร
ดำเนินกำรในเรื่องนั้นโดยตรง เพื่ออะไร
ก. เพือ่ ใหเ้ กิดควำมรวดเร็วในกำรปฏบิ ตั ิรำชกำร ข. เพื่อเป็นกำรลดข้ันตอนกำรปฏบิ ตั ิรำชกำร
ค. เพื่อให้เกิดควำมเสมอภำคและเท่ำเทยี มกันในกำรปฏบิ ตั ิรำชกำร
ง. ทัง้ ข้อ ก. และ ข.
เฉลย ง. ใหส้ ่วนรำชกำรจัดให้มีกำรกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจให้แกผ่ ู้ดำรงตำแหนง่ ทมี่ ีหน้ำที่รบั ผิดชอบในกำร
ดำเนินกำรในเร่ืองนั้นโดยตรง เพื่อให้เกิดความรวดเร็วและลดขั้นตอนกำรปฏบิ ตั ิรำชกำร ทง้ั น้ี ในกำรกระจำยอำนำจ
กำรตัดสินใจดงั กล่ำวต้องมุง่ ผลให้เกิดควำมสะดวกและรวดเร็วในกำรบริกำรประชำชน (มำตรำ 27)
42. กำรกระจำยอำนำจกำรตดั สินใจของสว่ นรำชกำร ต้อง “มงุ่ ผล” ใหเ้ กิดส่ิงใด
ก. ควำมสะดวกในกำรบริกำรประชำชน ข. ควำมรวดเร็วในกำรบริกำรประชำชน
ค. ลดภำระของข้ำรำชกำรผปู้ ฏิบัตหิ นำ้ ท่ี ง. ทัง้ ข้อ ก. และ ข.
เฉลย ง. ให้สว่ นรำชกำรจัดให้มีกำรกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจใหแ้ กผ่ ู้ดำรงตำแหนง่ ท่มี ีหนำ้ ท่ีรับผิดชอบในกำร
ดำเนนิ กำรในเรื่องนั้นโดยตรง เพ่ือให้เกิดควำมรวดเร็วและลดขัน้ ตอนกำรปฏบิ ัติรำชกำร ท้งั นี้ ในกำรกระจำยอำนำจ
กำรตดั สนิ ใจดังกล่ำวต้องมุ่งผลใหเ้ กดิ ความสะดวกและรวดเรว็ ในกำรบริกำรประชำชน (มำตรำ 27)
43. กรณีใดบำ้ งทีส่ ว่ นรำชกำรสำมำรถกำหนดใหข้ ้ำรำชกำรใช้ “เทคโนโลยสี ำรสนเทศหรือโทรคมนำคม” ตำมควำม
เหมำะสมและกำลงั เงินงบประมำณในกำรปฏิบัติงำนได้
ก. ลดขน้ั ตอน ข. เพมิ่ ประสทิ ธิภำพ
ค. ประหยดั ค่ำใช้จ่ำย ง. ถกู ทุกข้อ
เฉลย ง. หำกสำมำรถใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศหรอื โทรคมนำคมแลว้ จะเปน็ กำร (1) ลดขน้ั ตอน (2) เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ (3)
ประหยดั คา่ ใชจ้ ่าย และ (4) ไม่เกิดผลเสียหายแก่ราชการ ให้สว่ นรำชกำรดำเนินกำรใหข้ ำ้ รำชกำรใช้เทคโนโลยี
สำรสนเทศหรอื โทรคมนำคมตำมควำมเหมำะสมและกำลังเงินงบประมำณ (มำตรำ 27)
44. ผู้ใดมีอำนำจในกำรกำหนดหลกั เกณฑ์และวิธกี ำรหรือแนวทำงใน “กำรกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจ” “ควำม
รับผิดชอบระหว่ำงผมู้ อบอำนำจและผูร้ ับมอบอำนำจ” และ “กำรลดข้ันตอนในกำรปฏิบตั ิรำชกำร” ใหส้ ่วนรำชกำรถือ
ปฏิบัตไิ ด้
ก. ก.พ.ร. ข. ก.พ.
ค. สำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ง. สำนกั เลขำธกิ ำรนำยกรัฐมนตรี
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 16
------------------------------------------------------------------------------
เฉลย ก. เพ่ือประโยชนใ์ นกำรกระจำยอำนำจกำรตดั สินใจ ก.พ.ร. ดว้ ยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจะกำหนด
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ำรหรือแนวทำงในกำรกระจำยอำนำจกำรตัดสนิ ใจ ควำมรับผิดชอบระหวำ่ งผมู้ อบอำนำจและผู้รับ
มอบอำนำจ และกำรลดขั้นตอนในกำรปฏบิ ัติรำชกำรให้ส่วนรำชกำรถอื ปฏบิ ัติก็ได้ (มำตรำ 28)
45. กำรปฏิบตั งิ ำนที่เกย่ี วข้องกบั เร่อื งใด ที่สว่ นรำชกำรแต่ละแห่งต้องจดั ทำ “แผนภูมิขัน้ ตอนและระยะเวลำกำร
ดำเนนิ กำร” รวมทงั้ รำยละเอียดอื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องในแต่ละข้ันตอน เปิดเผยไว้ ณ ทีท่ ำกำรของสว่ นรำชกำรและในระบบ
เครือข่ำยสำรสนเทศของส่วนรำชกำรน้ัน
ก. กำรบริกำรประชำชน
ข. กำรติดต่อประสำนงำนระหว่ำงสว่ นรำชกำรด้วยกนั
ค. เหตุท่ีจะต้องลงโทษทำงวินัยแกข่ ้ำรำชกำร ง. ท้งั ข้อ ก. และ ข.
เฉลย ง. ในกำรปฏบิ ตั ิงำนท่ีเกี่ยวข้องกบั (1) การบรกิ ารประชาชน หรอื (2) การติดต่อประสานงานระหว่าง ส่วน
ราชการด้วยกนั ให้ส่วนรำชกำรแตล่ ะแห่งจัดทำแผนภมู ิข้ันตอนและระยะเวลำกำรดำเนินกำร รวมทั้งรำยละเอยี ดอื่น ๆ
ทเี่ กี่ยวข้องในแต่ละข้ันตอน เปดิ เผยไว้ ณ ทท่ี ำกำรของส่วนรำชกำรและในระบบเครือขำ่ ยสำรสนเทศของส่วนรำชกำร
เพ่อื ใหป้ ระชำชนหรือผู้ท่ีเก่ียวข้องเข้ำตรวจดูได้ (มำตรำ 29)
46. กำรบริกำรประชำชนและกำรติดต่อประสำนงำนระหว่ำงส่วนรำชกำรดว้ ยกัน ต้องกระทำโดยใช้แพลตฟอร์มดิจทิ ลั
กลำงทหี่ น่วยงำนใดกำหนด
ก. สภำวิศวกร ข. สำนักงำนพัฒนำรัฐบำลดิจิทลั (องค์กำรมหำชน)
ค. สำนักงำน ก.พ. ง. สำนกั งำน ก.พ.ร.
เฉลย ข. กำรบรกิ ำรประชำชนและกำรติดต่อประสำนงำนระหว่ำงส่วนรำชกำรด้วยกัน ต้องกระทำโดยใช้แพลตฟอรม์
ดจิ ิทลั กลำงที่สานักงานพฒั นารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) กำหนดด้วย (มำตรำ 29)
47. บคุ คลใดมีหนำ้ ที่ต้องจัดให้ส่วนรำชกำรภำยในกระทรวงรว่ มกนั จัดต้งั “ศนู ยบ์ รกิ ำรร่วม”
ก. รัฐมนตรวี ำ่ กำรกระทรวง ข. ปลัดกระทรวง
ค. อธิบดี ง. รัฐมนตรีชว่ ยว่ำกำรกระทรวง
เฉลย ข. ในกระทรวงหนึ่ง ให้เปน็ หน้ำท่ีของปลดั กระทรวงที่จะต้องจดั ให้สว่ นรำชกำรภำยในกระทรวงที่รบั ผิดชอบ
ปฏิบัตงิ ำนเกีย่ วกบั กำรบริกำรประชำชน รว่ มกนั จัดตัง้ ศูนย์บริการร่วม (มำตรำ 30)
48. บุคคลใดเป็นผ้กู ำหนดให้ส่วนรำชกำรที่รับผิดชอบดำเนนิ กำรเก่ยี วกบั กำรบรกิ ำรประชำชนในเร่ืองเดยี วกนั หรือ
ตอ่ เน่ืองกนั “ในจังหวัด” ร่วมกันจัดตั้ง “ศนู ย์บริกำรร่วม”
ก. ผวู้ ่ำรำชกำรจังหวัด ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. รัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงมหำดไทย ง. อธบิ ดกี รมกำรปกครอง
เฉลย ก. ใหผ้ วู้ ่าราชการจงั หวัดและนำยอำเภอ จัดใหส้ ่วนรำชกำรทรี่ ับผดิ ชอบดำเนินกำรเกี่ยวกับกำรบริกำรประชำชน
ในเรื่องเดียวกนั หรือต่อเนื่องกันในจังหวัดหรืออำเภอ รว่ มกันจัดต้ังศูนย์บริการร่วมไว้ ณ ศำลำกลำงจังหวัด ทว่ี ่ำกำร
อำเภอ หรอื สถำนที่อื่นตำมที่เห็นสมควร (มำตรำ 32)
49. บุคคลใดเป็นผกู้ ำหนดให้สว่ นรำชกำรทร่ี ับผิดชอบดำเนนิ กำรเกย่ี วกับกำรบรกิ ำรประชำชนในเร่ืองเดยี วกนั หรือ
ต่อเนื่องกนั “ในอำเภอ” ร่วมกันจัดตงั้ “ศูนยบ์ ริกำรร่วม”
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 17
------------------------------------------------------------------------------
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ข. ปลัดจังหวัด
ค. นำยกองคก์ ำรบริหำรสว่ นจังหวัด ง. นำยอำเภอ
เฉลย ง. ใหผ้ วู้ ่ำรำชกำรจังหวัดและนายอาเภอ จัดให้สว่ นรำชกำรท่ีรับผดิ ชอบดำเนนิ กำรเก่ยี วกับกำรบรกิ ำรประชำชน
ในเรื่องเดยี วกันหรือต่อเนื่องกันในจงั หวัดหรือในอาเภอ รว่ มกนั จดั ตัง้ ศูนย์บริการร่วมไว้ ณ ศำลำกลำงจังหวัด ที่วำ่ กำร
อำเภอ หรือสถำนท่ีอื่นตำมท่ีเหน็ สมควร (มำตรำ 32)
50. กำร “ทบทวนภำรกิจ” ของส่วนรำชกำรว่ำภำรกจิ ใดมคี วำมจำเป็น หรือสมควรท่ีจะยกเลกิ ปรับปรุง หรือ
เปล่ยี นแปลงกำรดำเนินกำรต่อไปหรือไม่ ต้องคำนึงถงึ สง่ิ ใดประกอบกัน
ก. ยทุ ธศำสตรช์ ำติ ข. กำลงั เงินงบประมำณของประเทศ
ค. นโยบำยของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภำ ง. ถูกทุกขอ้
เฉลย ง. ใหส้ ว่ นรำชกำรจัดให้มีกำรทบทวนภำรกิจของตนว่ำภำรกิจใดมีควำมจำเป็น หรือสมควรท่ีจะยกเลิก ปรบั ปรุง
หรือเปลยี่ นแปลงกำรดำเนินกำรต่อไปหรือไม่ โดยคำนงึ ถงึ (1) ยุทธศาสตรช์ าติ (2) แผนแมบ่ ท (3) แผนการปฏิรูป
ประเทศ (4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (5) นโยบายของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลงต่อรัฐสภา (6) แผนอื่นท่ี
เกีย่ วขอ้ ง (7) กาลงั เงินงบประมาณของประเทศ (8) ความคุ้มค่าของภารกจิ และ (9) สถานการณอ์ นื่ ประกอบกัน
(มำตรำ 33)
51. กำหนดเวลำในกำรจัดให้มีกำร “ทบทวนภำรกิจ” ของส่วนรำชกำรใหเ้ ป็นไปตำมทบ่ี ุคคลใดกำหนด
ก. นำยกรฐั มนตรี ข. คณะรฐั มนตรี
ค. ก.พ.ร. ง. ก.พ.
เฉลย ค. กำหนดเวลำในกำรจัดให้มกี ำรทบทวนภำรกิจของส่วนรำชกำรให้เป็นไปตำมที่ ก.พ.ร. กำหนด (มำตรำ 33)
52. บุคคลใดมีอำนำจเสนอควำมเห็นเกยี่ วกับกำรยกเลกิ ปรับปรุง หรือเปล่ยี นแปลงภำรกจิ ของส่วนรำชกำรได้
ก. ก.พ.ร. ข. ส่วนรำชกำรเจ้ำของภำรกิจ
ค. สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร ง. ทง้ั ข้อ ก. และ ข.
เฉลย ง. ก.พ.ร. และส่วนราชการเจา้ ของภารกจิ มีอำนำจเสนอควำมเห็นเกย่ี วกบั กำรยกเลิก ปรับปรงุ เพ่ิมเติมหรือ
เปล่ยี นแปลงภำรกจิ ของสว่ นรำชกำรตอ่ คณะรัฐมนตรี (มำตรำ 33)
53. ในกรณที ี่ส่วนรำชกำรเห็นควรยกเลิก ปรบั ปรุง หรือเปลี่ยนแปลงภำรกจิ จะต้องดำเนินกำรปรับปรงุ ส่งิ ใดให้
สอดคลอ้ งกนั
ก. อำนำจหน้ำท่ี ข. โครงสร้ำง ค. อตั รำกำลัง ง. ถูกทกุ ข้อ
เฉลย ง. ในกรณที ่สี ่วนรำชกำรเห็นควรยกเลกิ ปรับปรงุ หรือเปลย่ี นแปลงภำรกิจ ใหส้ ว่ นรำชกำรดำเนินกำรปรับปรงุ
(1) อานาจหน้าที่ (2) โครงสรา้ ง และ (3) อตั รากาลังของส่วนรำชกำรให้สอดคล้องกัน และเสนอคณะรัฐมนตรพี ิจำรณำ
ให้ควำมเห็นชอบเพ่ือดำเนินกำรต่อไป (มำตรำ 33)
54. กรณีท่ีส่วนรำชกำรเหน็ ควรยกเลกิ ปรบั ปรุง หรือเปล่ียนแปลงภำรกิจของตน สว่ นรำชกำรเจ้ำของภำรกิจต้องเสนอ
ควำมเหน็ ดงั กล่ำวต่อบคุ คลใดเพอ่ื พิจำรณำใหค้ วำมเห็นชอบ
ก. คณะรัฐมนตรี ข. นำยกรัฐมนตรี ค. ก.พ.ร. ง. ก.พ.
เฉลย ก. ในกรณที ่ีส่วนราชการเห็นควรยกเลกิ ปรบั ปรุง หรือเปลีย่ นแปลงภารกจิ ให้สว่ นรำชกำรดำเนนิ กำรปรบั ปรงุ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 18
------------------------------------------------------------------------------
อำนำจหน้ำท่ี โครงสร้ำง และอัตรำกำลังของส่วนรำชกำรใหส้ อดคล้องกัน และเสนอคณะรัฐมนตรพี ิจำรณำใหค้ วำม
เห็นชอบเพื่อดำเนินกำรต่อไป (มำตรำ 33)
55. กรณีท่ี ก.พ.ร. เหน็ ว่ำ ภำรกจิ ของรัฐที่ส่วนรำชกำรใดรบั ผิดชอบอย่สู มควรเปลีย่ นแปลง ยกเลิก หรือเพมิ่ เตมิ ก.พ.ร.
ตอ้ งเสนอควำมเหน็ ดงั กลำ่ วต่อบุคคลใดเพื่อพิจำรณำให้ควำมเห็นชอบ
ก. นำยกรัฐมนตรี ข. คณะรฐั มนตรี ค. สภำผู้แทนรำษฎร ง. วุฒสิ ภำ
เฉลย ข. ในกรณที ่ี ก.พ.ร. พจิ ำรณำแล้วเหน็ ว่ำ ภำรกจิ ของรฐั ท่สี ว่ นรำชกำรใดรับผิดชอบดำเนินกำรอยู่สมควร
เปล่ียนแปลง ยกเลกิ หรือเพ่มิ เติม ใหเ้ สนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพจิ ำรณำใหค้ วำมเห็นชอบ (มำตรำ 33)
56. กำรยกเลกิ ปรบั ปรงุ หรอื จัดใหม้ กี ฎหมำย กฎ หรอื ระเบยี บขนึ้ ใหม่ เพื่อให้ทันสมยั และเหมำะสมกบั สภำวกำรณ์ หรือ
สอดคล้องกับควำมจำเป็นทำงเศรษฐกิจ สังคม และควำมมัน่ คงของประเทศ ต้องคำนงึ ถงึ ส่งิ ใดเปน็ สำคญั
ก. ควำมสะดวกรวดเร็ว ข. ลดภำระของประชำชน
ค. ควำมเหน็ ของนกั วิชำกำร ง. ทัง้ ขอ้ ก. และ ข.
เฉลย ง. ส่วนรำชกำรมีหน้ำท่ีสำรวจ ตรวจสอบ และทบทวนกฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคบั และประกำศ ท่ีอยู่ในควำม
รับผิดชอบ เพื่อดำเนินกำรยกเลกิ ปรับปรุง หรือจัดใหม้ ีกฎหมำย กฎ ระเบยี บ ข้อบงั คับ หรือประกำศข้ึนใหม่ ให้
ทันสมัยและเหมำะสมกบั สภำวกำรณ์ หรือสอดคล้องกับควำมจำเป็นทำงเศรษฐกจิ สงั คม และควำมมั่นคง ของ
ประเทศ ท้งั นี้ โดยคำนึงถึง (1) ความสะดวกรวดเร็ว และ (2) ลดภาระของประชาชนเปน็ สำคญั (มำตรำ 35)
57. หน่วยงำนใดมีอำนำจ “เสนอแนะ” ต่อสว่ นรำชกำรเพือ่ ดำเนินกำรแกไ้ ข ปรับปรุง หรือยกเลกิ กฎหมำย กฎ ระเบียบ
ข้อบังคับ หรือประกำศท่ีอยใู่ นควำมรบั ผิดชอบของส่วนรำชกำรนั้น
ก. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรอื น ข. สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎกี ำ
ค. สำนักงำนคณะกรรมกำรพฒั นำระบบรำชกำร ง. สำนกั เลขำธิกำรคณะรฐั มนตรี
เฉลย ข. ในกรณที ี่สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเห็นว่ำกฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคบั หรอื ประกำศ ท่ีอยใู่ นควำม
รับผิดชอบของส่วนรำชกำรใด ไม่สอดคล้องหรือเหมำะสมกบั สถำนกำรณ์ในปัจจุบัน ไม่เอื้ออำนวยต่อกำรพัฒนำ
ประเทศ เป็นอปุ สรรคต่อกำรประกอบกจิ กำรหรือกำรดำรงชีวติ ของประชำชน หรือก่อใหเ้ กิดภำระหรอื ควำมย่งุ ยำกต่อ
ประชำชนเกินสมควร ให้สานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี าเสนอแนะตอ่ สว่ นราชการนั้น เพอื่ ดำเนินกำรแก้ไข
ปรับปรุง หรือยกเลิกโดยเร็วต่อไป (มำตรำ 36)
58. ในกรณที สี่ ่วนรำชกำรไม่เห็นชอบดว้ ยกับคำเสนอแนะของสำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ ให้เสนอเรื่อง ต่อ
บุคคลใดเพ่ือพิจำรณำวินิจฉยั
ก. ประธำนรฐั สภำ ข. นำยกรัฐมนตรี ค. คณะรัฐมนตรี ง. ศำลปกครอง
เฉลย ค. ในกรณีทส่ี ว่ นรำชกำรทีไ่ ด้รับกำรเสนอแนะไม่เหน็ ชอบดว้ ยกับคำเสนอแนะของสำนักงำนคณะกรรมกำร
กฤษฎีกำ ให้เสนอเรื่องต่อคณะรฐั มนตรีเพอื่ พิจำรณำวินิจฉัย (มำตรำ 36)
59. กำรปฏิบตั ิรำชกำรท่ีเกี่ยวข้องกบั เร่ืองใด ทีส่ ่วนรำชกำรตอ้ งกำหนด “ระยะเวลำแลว้ เสร็จ” ของงำนแตล่ ะงำน และ
ประกำศใหป้ ระชำชนและข้ำรำชกำรทรำบเป็นกำรทว่ั ไป
ก. กำรบริกำรประชำชน
ข. กำรติดต่อประสำนงำนระหว่ำงส่วนรำชกำรด้วยกัน
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 19
------------------------------------------------------------------------------
ค. เหตุทีส่ ำมำรถดำเนินกำรทำงวนิ ัยต่อเจ้ำหนำ้ ทีไ่ ด้ ง. ทงั้ ข้อ ก. และ ข.
เฉลย ง. ในกำรปฏิบัติรำชกำรทีเ่ ก่ียวข้องกับ (1) การบริการประชาชน หรือ (2) ติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการ
ดว้ ยกัน ใหส้ ่วนรำชกำรกำหนดระยะเวลำแลว้ เสรจ็ ของงำนแตล่ ะงำน และประกำศใหป้ ระชำชนและข้ำรำชกำรทรำบ
เป็นกำรทวั่ ไป (มำตรำ 37)
60. บุคคลใดมอี ำนำจกำหนดเวลำแล้วเสร็จของงำนให้ส่วนรำชกำรปฏบิ ัติได้
ก. ก.พ. ข. ก.พ.ร. ค. คณะรฐั มนตรี ง. นำยกรัฐมนตรี
เฉลย ข. ส่วนรำชกำรใดมไิ ด้กำหนดระยะเวลำแลว้ เสร็จของงำนใด และ ก.พ.ร. พจิ ำรณำเหน็ ว่ำงำนน้ันมีลกั ษณะที่
สำมำรถกำหนดระยะเวลำแล้วเสร็จได้ หรือสว่ นรำชกำรได้กำหนดระยะเวลำแล้วเสร็จไว้ แต่ ก.พ.ร. เห็นว่ำเป็น
ระยะเวลำท่ลี ำ่ ชำ้ เกนิ สมควร ก.พ.ร. จะกำหนดเวลำแลว้ เสร็จให้ส่วนรำชกำรน้ันต้องปฏิบัตกิ ไ็ ด้ (มำตรำ 37)
61. โดยท่ัวไปส่วนรำชกำรมีหน้ำท่ีทีจ่ ะต้องตอบคำถำมหรือแจ้งผลกำรดำเนินกำรให้ประชำชนหรือสว่ นรำชกำร
ดว้ ยกันทรำบภำยในกำหนดกี่วัน
ก. ภำยใน 15 วนั ข. ภำยใน 30 วนั ค. ภำยใน 45 วนั ง. ภำยใน 60 วนั
เฉลย ก. เม่ือส่วนรำชกำรใดได้รับกำรติดต่อสอบถำมเป็นหนงั สอื จำกประชำชนหรือจำกสว่ นรำชกำรด้วยกันเกย่ี วกับ
งำนที่อยูใ่ นอำนำจหน้ำที่ของส่วนรำชกำรน้ัน ใหเ้ ป็นหน้ำท่ขี องส่วนรำชกำรน้ันท่ีจะต้องตอบคำถำมหรือแจ้งกำร
ดำเนินกำรให้ทรำบภายใน 15 วันหรือภำยในกำหนดเวลำที่กำหนดไว้ตำมมำตรำ 37 (มำตรำ 38)
62. กรณีท่ีส่วนรำชกำรทอ่ี อกกฎ ระเบยี บ ข้อบังคับ หรือประกำศ เห็นว่ำ กำรร้องเรยี นหรือเสนอแนะจำกข้ำรำชกำร
หรือสว่ นรำชกำรอืน่ น้นั เกิดจำกควำมเข้ำใจผิดหรือควำมไม่เขำ้ ใจในกฎ ระเบียบ ข้อบงั คับ หรือประกำศ จะต้องช้ีแจง
ใหผ้ รู้ ้องเรยี นหรือเสนอแนะน้ันทรำบภำยในกีว่ ัน
ก. ภำยใน 7 วนั ข. ภำยใน 15 วัน ค. ภำยใน 30 วนั ง. ภำยใน 45 วนั
เฉลย ข. ในกรณีทีไ่ ด้รับกำรร้องเรยี นหรือเสนอแนะจำกขำ้ รำชกำรหรือส่วนรำชกำรอ่ืนในเรื่องใด ให้สว่ นรำชกำรที่
ออกกฎ ระเบียบ ข้อบงั คับ หรือประกำศน้ันพิจำรณำโดยทันที และในกรณที ่ีเห็นวำ่ กำรร้องเรยี นหรือเสนอแนะน้ันเกดิ
จำกควำมเข้ำใจผิดหรือควำมไม่เขำ้ ใจในกฎ ระเบียบ ข้อบงั คบั หรือประกำศ ใหช้ ้แี จงให้ผรู้ ้องเรยี นหรือเสนอแนะ
ทรำบภายใน 15 วนั (มำตรำ 42)
63. เพื่อประโยชน์ในเร่ืองใดที่กำรปฏิบตั ิรำชกำรสำมำรถกำหนดเป็น “ควำมลบั ” ไดเ้ ทำ่ ที่จำเป็น
ก. กำรรกั ษำควำมมัน่ คงของประเทศ ข. กำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยของประชำชน
ค. ควำมม่นั คงทำงเศรษฐกิจ ง. ถกู ทุกขอ้
เฉลย ง. กำรปฏิบตั ิรำชกำรในเร่อื งใด ๆ โดยปกตใิ ห้ถือวำ่ เป็นเรื่องเปิดเผย เว้นแต่ กรณีมีควำมจำเปน็ อย่ำงยง่ิ เพอ่ื
ประโยชน์ใน (1) การรักษาความม่ันคงของประเทศ (2) ความมน่ั คงทางเศรษฐกจิ (3) การรกั ษาความสงบเรยี บร้อยของ
ประชาชน หรือ (4) การคมุ้ ครองสทิ ธิส่วนบคุ คล จึงให้กำหนดเป็นควำมลบั ได้เท่ำท่ีจำเปน็ (มำตรำ 43)
64. ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำร “เปิดเผยขอ้ มลู ” เกย่ี วกบั เร่ืองใดให้ประชำชนสำมำรถขอดูหรือตรวจสอบได้
ก. งบประมำณรำยจ่ำยแต่ละปี
ข. รำยกำรเก่ียวกับกำรจดั ซื้อหรอื จัดจ้ำงท่ีจะดำเนินกำรในปีงบประมำณนนั้
ค. สญั ญำใด ๆ ที่ไดม้ กี ำรอนุมตั ิให้จดั ซอื้ หรือจดั จ้ำงแล้ว
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 20
------------------------------------------------------------------------------
ง. ถูกทกุ ข้อ
เฉลย ง. ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรเปิดเผยข้อมลู เกี่ยวกับ (1) งบประมาณรายจา่ ยแตล่ ะปี (2) รายการเกี่ยวกับการ
จัดซื้อหรอื จัดจ้างทีจ่ ะดาเนินการในปีงบประมาณน้นั และ (3) สัญญาใด ๆ ท่ีไดม้ กี ารอนุมัตใิ หจ้ ดั ซ้อื หรือ จัดจ้างแลว้
ให้ประชำชนสำมำรถขอดูหรือตรวจสอบได้ ณ สถำนที่ทำกำรของส่วนรำชกำร และระบบเครือขำ่ ยสำรสนเทศของ
ส่วนรำชกำร (มำตรำ 44)
65. ในกำรจัดทำสัญญำจัดซอ้ื หรือจดั จำ้ ง หำ้ มมิให้มขี อ้ ควำมหรือข้อตกลงใด
ก. ขอ้ ควำมหรอื ข้อตกลงหำ้ มมิให้เปิดเผยข้อควำมในสญั ญำ
ข. ข้อควำมหรือข้อตกลงห้ำมมิให้เปดิ เผยข้อตกลงในสญั ญำ
ค. ไม่มีข้อห้ำม เนอื่ งจำกต้องเคำรพหลักแห่งควำมศกั ดส์ิ ทิ ธใิ์ นกำรแสดงเจตนำ
ง. ทง้ั ข้อ ก. และ ข.
เฉลย ง. ในกำรจัดทำสัญญำจัดซ้อื หรือจดั จ้ำง ห้ำมมใิ ห้มขี ้อควำมหรือข้อตกลง “ห้ามมใิ หเ้ ปดิ เผยข้อความหรอื
ข้อตกลงในสัญญาดังกลา่ ว” (มำตรำ 44)
66. ในกำรจัดทำ “สัญญำจดั ซื้อหรือจัดจ้ำง” ขอ้ มูลใดท่ีจะเปดิ เผยไมไ่ ด้
ก. ข้อมลู ทเี่ ปน็ ควำมลับทำงรำชกำร ข. ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ควำมลบั ทำงกำรค้ำ
ค. ข้อมลู เกีย่ วกบั สถำนท่ีตง้ั ของคสู่ ัญญำ ง. ทง้ั ข้อ ก. และ ข.
เฉลย ง. ในกำรจัดทำสญั ญำจัดซอ้ื หรือจัดจ้ำง หำ้ มมิใหม้ ขี ้อควำมหรือข้อตกลงหำ้ มมิให้เปิดเผยข้อควำมหรือข้อตกลง
ในสัญญำดังกล่ำว เว้นแต่ข้อมูลดังกลา่ วเป็นขอ้ มูลที่อยู่ภำยใตบ้ งั คบั กฎหมำย กฎ ระเบียบ หรือข้อบงั คับท่ีเก่ยี วกับกำร
คุ้มครองความลบั ทางราชการ หรือในสว่ นทีเ่ ป็นความลับทางการคา้ (มำตรำ 44)
67. สว่ นรำชกำรต้องจัดให้มี “คณะผู้ประเมินอิสระ” ดำเนินกำรประเมินผลกำรปฏบิ ัติรำชกำรของสว่ นรำชกำรเกย่ี วกับ
เร่ืองใด
ก. ผลสัมฤทธ์ขิ องภำรกจิ ข. ควำมคมุ้ ค่ำในภำรกิจ
ค. ควำมพึงพอใจของประชำชนผรู้ ับบริกำร ง. ถูกทกุ ขอ้
เฉลย ง. ให้ส่วนรำชกำรจัดให้มีคณะผ้ปู ระเมินอสิ ระดำเนินกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของสว่ นรำชกำรเกย่ี วกับ
(1) ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ (2) คุณภาพการให้บริการ (3) ความพงึ พอใจของประชาชนผู้รับบรกิ าร (4) ความคุ้มค่าใน
ภารกิจ (มำตรำ 45)
68. กรณีทีส่ ่วนรำชกำรจัดให้มกี ำร “ประเมินภำพรวมของผู้บังคบั บัญชำ” กำรประเมนิ ดงั กลำ่ วต้องดำเนินกำรอยำ่ งไร
ก. ต้องกระทำเป็นควำมลบั
ข. เปน็ ไปเพื่อประโยชนแ์ ห่งควำมสำมัคคขี องข้ำรำชกำร
ค. สำมำรถกระทำโดยเปิดเผยได้ เพื่อควำมโปรง่ ใสในกำรประเมิน
ง. ท้ังข้อ ก. และ ข.
เฉลย ง. สว่ นรำชกำรอำจจัดให้มีกำรประเมินภำพรวมของผู้บงั คับบัญชำแตล่ ะระดับหรือหนว่ ยงำนในส่วนรำชกำรกไ็ ด้
ทั้งนี้ กำรประเมินดังกล่ำว (1) ตอ้ งกระทาเป็นความลับและ (2) เป็นไปเพ่ือประโยชน์แหง่ ความสามัคคี ของข้าราชการ
(มำตรำ 46)
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 21
------------------------------------------------------------------------------
69. “กำรประเมินผลกำรปฏบิ ัตงิ ำนของข้ำรำชกำร” เพื่อประโยชนใ์ นกำรบริหำรงำนบคุ คล ใหส้ ว่ นรำชกำรประเมินโดย
คำนงึ ถึงสิง่ ใด
ก. ผลกำรปฏบิ ตั ิงำนเฉพำะตวั ของขำ้ รำชกำรผูน้ ้ันในตำแหน่งท่ปี ฏิบตั ิ
ข. ประโยชน์และผลสมั ฤทธิท์ หี่ น่วยงำนทข่ี ำ้ รำชกำรผู้นัน้ สังกดั ได้รบั จำกกำรปฏบิ ัติงำนของขำ้ รำชกำร
ค. กำรเอำใจใส่ผ้บู งั คบั บัญชำทุกระดับในสำยงำน
ง. ทง้ั ขอ้ ก. และ ข.
เฉลย ง. ในกำรประเมนิ ผลกำรปฏิบตั ิงำนของข้ำรำชกำรเพ่ือประโยชน์ในกำรบริหำรงำนบคุ คล ให้ส่วนรำชกำร
ประเมินโดยคำนึงถึง (1) ผลการปฏบิ ัตงิ านเฉพาะตัวของขา้ ราชการผ้นู ั้นในตาแหน่งทป่ี ฏิบัติ (2) ประโยชน์และ
ผลสัมฤทธ์ิท่ีหน่วยงานที่ขา้ ราชการผู้นั้นสงั กัดได้รบั จากการปฏิบัติงานของข้าราชการผู้นั้น (มำตรำ 47)
70. ในกรณีใดท่สี ว่ นรำชกำรอำจได้รบั กำรจัดสรร “เงินเพิม่ พิเศษเป็นบำเหน็จควำมชอบ” เพอ่ื นำไปใชใ้ นกำรปรับปรุง
กำรปฏิบตั ิงำนของสว่ นรำชกำรหรือจัดสรรเป็นรำงวัลให้ขำ้ รำชกำรในสงั กัด
ก. ดำเนนิ กำรให้บริกำรทม่ี คี ุณภำพ ข. เป็นไปตำมเป้ำหมำยท่กี ำหนด
ค. เปน็ ทพ่ี ึงพอใจแกป่ ระชำชน ง. ทุกข้อรวมกนั
เฉลย ง. ในกรณที ่สี ่วนรำชกำรใด (1) ดาเนินการใหบ้ รกิ ารที่มีคุณภาพและ (2) เปน็ ไปตามเป้าหมายที่กาหนด รวมทัง้
(3) เปน็ ทพ่ี งึ พอใจแก่ประชาชน ให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรเงินเพิ่มพิเศษเป็นบาเหนจ็ ความชอบแก่สว่ น
รำชกำร หรอื ใหส้ ่วนรำชกำรใชเ้ งินงบประมำณเหลือจ่ำยของสว่ นรำชกำรน้นั เพื่อนำไปใช้ใน กำรปรับปรุงกำร
ปฏบิ ัตงิ ำนของส่วนรำชกำรหรอื จดั สรรเป็นรำงวลั ใหข้ ้ำรำชกำรในสงั กัด (มำตรำ 48)
71. กรณีใดท่สี ่วนรำชกำรอำจไดร้ บั กำรจัดสรร “เงินรำงวลั กำรเพิม่ ประสิทธภิ ำพ” เพื่อนำไปใชใ้ นกำรปรับปรุง กำร
ปฏบิ ตั ิงำนของส่วนรำชกำรหรือจดั สรรเป็นรำงวลั ใหข้ ้ำรำชกำรในสงั กัด
ก. ได้ดำเนินงำนไปตำมเป้ำหมำย
ข. สำมำรถเพิ่มผลงำนและผลสัมฤทธโิ์ ดยไมเ่ ป็นกำรเพิ่มค่ำใช้จ่ำยและคมุ้ คำ่ ตอ่ ภำรกิจของรัฐ
ค. สำมำรถดำเนนิ กำรตำมแผนกำรลดคำ่ ใช้จ่ำยต่อหน่วยไดต้ ำมหลกั เกณฑ์ท่ี ก.พ.ร. กำหนด
ง. ถูกทุกขอ้
เฉลย ง. เม่ือสว่ นรำชกำรใด (1) ได้ดาเนินงานไปตามเป้าหมาย (2) สามารถเพ่มิ ผลงานและผลสัมฤทธ์ิ โดยไม่เป็นการ
เพิ่มค่าใชจ้ ่ายและคุม้ คา่ ตอ่ ภารกจิ ของรัฐ หรือ (3) สามารถดาเนินการตามแผนการลดคา่ ใชจ้ า่ ยต่อหนว่ ยไดต้ าม
หลักเกณฑ์ที่ ก.พ.ร. กาหนด ให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรฐั มนตรจี ัดสรรเงินรำงวัลกำรเพ่ิมประสทิ ธภิ ำพใหแ้ ก่ส่วนรำชกำรน้ัน
หรือใหส้ ่วนรำชกำรใช้เงินงบประมำณเหลือจำ่ ยของสว่ นรำชกำรนั้นเพื่อนำไปใช้ในกำรปรับปรุงกำรปฏิบตั งิ ำนของ
สว่ นรำชกำรหรือจัดสรรเป็นรำงวลั ใหข้ ้ำรำชกำรในสงั กัด (มำตรำ 49)
72. กำรจัดทำหลักเกณฑ์กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีของ “องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ” อย่ำงน้อยต้องมีหลักเกณฑ์
เกี่ยวกบั เรือ่ งใด
ก. กำรลดข้ันตอนกำรปฏิบตั งิ ำน ข. กำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำร
ค. กำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำร
ง. กำรบริหำรรำชกำรเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 22
------------------------------------------------------------------------------
เฉลย ก. ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำหลกั เกณฑ์กำรบริหำรกิจกำรบำ้ นเมืองท่ีดีตำมแนวทำงของพระรำช
กฤษฎีกำน้ี โดยอยำ่ งน้อยต้องมีหลักเกณฑเ์ กย่ี วกบั (1) การลดขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน และ (2) การอานวยความสะดวก
และการตอบสนองความต้องการของประชาชน (มำตรำ 52)
73. หน่วยงำนใดมีหนำ้ ที่ดแู ลและให้ควำมชว่ ยเหลือ “องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ” ในกำรจัดทำหลักเกณฑ์กำรบริหำร
กจิ กำรบำ้ นเมอื งที่ดี
ก. กระทรวงมหำดไทย ข. สำนักเลขำธิกำรคณะรฐั มนตรี
ค. สำนักเลขำธกิ ำรนำยกรัฐมนตรี ง. สำนกั งำนผู้ตรวจกำรแผ่นดิน
เฉลย ก. ใหเ้ ป็นหน้ำท่ีของกระทรวงมหาดไทยดูแลและให้ควำมชว่ ยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกำรจัดทำ
หลกั เกณฑก์ ำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองท่ีดี (มำตรำ 52)
74. บคุ คลใดมอี ำนำจหน้ำที่พิจำรณำสงั่ กำรให้ “องคก์ ำรมหำชนหรอื รัฐวสิ ำหกิจ” จดั ให้มีหลกั เกณฑ์กำรบริหำรกจิ กำร
บำ้ นเมืองทด่ี ีหรือดำเนินกำรให้ถูกตอ้ ง
ก. คณะรัฐมนตรี ข. นำยกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรซี ่ึงมีหนำ้ ทก่ี ำกับดแู ล ง. ก.พ.ร.
เฉลย ค. ในกรณีท่ี ก.พ.ร. เห็นวำ่ องค์กำรมหำชนหรือรัฐวิสำหกิจใดไมจ่ ัดใหม้ ีหลกั เกณฑ์กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่
ดี หรือมแี ต่ไมส่ อดคลอ้ งกับพระรำชกฤษฎกี ำ ให้แจ้งรัฐมนตรีซง่ึ มีหน้าท่ีกากับดูแลองค์กำรมหำชนหรือรัฐวสิ ำหกิจ
เพอ่ื พจิ ารณาส่ังการให้องค์กำรมหำชนหรือรัฐวสิ ำหกิจนนั้ ดำเนินกำรให้ถูกต้องต่อไป (มำตรำ 53)
.................................
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 23
------------------------------------------------------------------------------
แนวขอ้ สอบ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ. 2546 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 3. พ.ศ. 2562
1. พ.ร.บ. ระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำรฉบับท่ใี ชอ้ ยู่ในปจั จบุ นั เป็นฉบับ พ.ศ.ใด
ก. พ.ศ. 2545 ข. พ.ศ.2546 ค. พ.ศ. 2547 ง. พ.ศ. 2548
ตอบ ข.
2. พ.ร.บ. ระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร พ.ศ.2546 พระบำทสมเดจ็ พระ
เจ้ำอย่หู ัวทรงลงพระปรมำภิไธยไว้เมอ่ื ใด
ก. 3 ก.ค. 2546 ข. 3 ก.ค. 2547 ค. 13 ก.ค. 2546 ง. 13 ก.ค. 2547
ตอบ ก.
3. พ.ร.บ. ระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ.2546 พระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยู่หัวภมู ิพลอดลุ ยเดช
ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำให้ตรำขนึ้ โดยคำแนะนำและยนิ ยอมของผู้ใด
ก. วฒุ สิ ภำ ข. รัฐสภำ ค. นำยกรฐั มนตรี ง. คณะรฐั มนตรี
ตอบ ข.
4. พ.ร.บ. ระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร พ.ศ.2546 มีผลบังคับใช้เมอื่ ใด
ก. ตง้ั แตว่ ันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ ข. ถัดจำกวนั ประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำ
ค. 3 วนั หลงั จำกประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ ง. 7 วนั หลังจำกประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำ
ตอบ ข. มำตรำ ๒ พระรำชบัญญัตนิ ใี้ หใ้ ชบ้ งั คับต้ังแตว่ ันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นต้นไป
5. พระรำชบัญญัติระเบียบบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร พ.ศ.2546 ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเม่ือใด
ก. 6 กรกฎำคม 2546 ข. 6 สิงหำคม 2546 ค. 7 กรกฎำคม 2546 ง. 7 สงิ หำคม 2546
ตอบ ก.
6. พระรำชบญั ญตั ิระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร พ.ศ.2546 มีผลบงั คบั ใชเ้ ม่อื ใด
ก. 7 กรกฎำคม 2546 ข. 7 สิงหำคม 2546 ค. 8 กรกฎำคม 2546 ง. 8 สงิ หำคม 2546
ตอบ ก.
7. พระรำชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร พ.ศ.2546 ยกเลกิ กฎหมำยฉบับใด
ก. พระรำชบญั ญัติระเบยี บกำรปฏบิ ัตริ ำชกำรของทบวงมหำวทิ ยำลัย พ.ศ. 2520
ข. พระรำชบัญญัติคณะกรรมกำรกำรประถมศึกษำ พ.ศ. 2523
ค. พระรำชบัญญัตคิ ณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2535
ง. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ ง. มำตรำ ๓ ใหย้ กเลิก
(๑) พระรำชบัญญตั ิระเบยี บกำรปฏบิ ตั ิรำชกำรของทบวงมหำวิทยำลัย พ.ศ. ๒๕๒๐
(๒) พระรำชบัญญัติระเบียบกำรปฏิบตั ิรำชกำรของทบวงมหำวทิ ยำลยั (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗
(๓) พระรำชบัญญตั ิคณะกรรมกำรกำรประถมศกึ ษำ พ.ศ. ๒๕๒๓
(๔) พระรำชบัญญตั ิคณะกรรมกำรกำรประถมศึกษำ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 24
------------------------------------------------------------------------------
(๕) พระรำชบัญญัติคณะกรรมกำรกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. ๒๕๓๕
บรรดำกฎหมำย กฎ ขอ้ บังคับอนื่ ในสว่ นท่ีมีบัญญัติไวแ้ ล้วในพระรำชบัญญัตินี้ หรือซึง่ ขดั หรือแย้งกับ
บทบัญญัติแห่งพระรำชบัญญัติน้ี ใหใ้ ชพ้ ระรำชบัญญัตนิ ้ีแทน
8. ให้จดั ระเบยี บรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธกิ ำรตำมขอ้ ใด
ก. ระเบียบบริหำรรำชกำรในส่วนกลำง ข. ระเบียบบริหำรรำชกำรเขตพ้ืนทกี่ ำรศกึ ษำ
ค. ระเบียบบรหิ ำรรำชกำรในสถำนศกึ ษำของรฐั ทจ่ี ัดกำรศึกษำระดบั ปรญิ ญำทีเ่ ป็นนิตบิ ุคคล แตไ่ ม่รวมถึง
กำรจัดกำรศกึ ษำท่ีอยใู่ นอำนำจหนำ้ ทข่ี องกระทรวงอ่ืนที่มกี ฎหมำยกำหนดไว้เป็นกำรเฉพำะ
ง. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ ง. มำตรำ ๖ ให้จัดระเบียบรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร ดงั นี้
(๑) ระเบยี บบริหำรรำชกำรในส่วนกลำง
(๒) ระเบียบบริหำรรำชกำรเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ
(๓) ระเบียบบรหิ ำรรำชกำรในสถำนศกึ ษำของรฐั ท่ีจัดกำรศึกษำระดับปริญญำทเี่ ป็นนิติบุคคล แต่ไมร่ วมถึง
กำรจดั กำรศึกษำที่อยใู่ นอำนำจหนำ้ ทข่ี องกระทรวงอื่นที่มกี ฎหมำยกำหนดไวเ้ ปน็ กำรเฉพำะ
9. กำรแบง่ สว่ นรำชกำรในสว่ นกลำงของกระทรวงศึกษำธกิ ำรให้เปน็ ไปตำมพระรำชบญั ญตั นิ ี้ โดยให้มีหัวหน้ำ
สว่ นรำชกำรข้ึนตรงต่อใคร
ก. นำยกรฐั มนตรี ข. สำนกั งำนรฐั มนตรี
ค. รฐั มนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร ง. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ ค. มำตรำ ๑๐ กำรแบง่ ส่วนรำชกำรในสว่ นกลำงของกระทรวงศึกษำธกิ ำรใหเ้ ป็นไปตำมพระรำชบัญญัติน้ี โดย
ให้มีหัวหน้ำสว่ นรำชกำรขึ้นตรงต่อรฐั มนตรีว่ำกำรกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ดังนี้
(๑) สำนักงำนรัฐมนตรี
(๒) สำนกั งำนปลัดกระทรวง
(๓) สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำกำรศึกษำ
(๔) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พืน้ ฐำน
(๕) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ
ส่วนรำชกำรตำม (๒) (๓) (๔) และ (๕) มีฐำนะเป็นนิตบิ คุ คลและเป็นกรมตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยระเบยี บ
บรหิ ำรรำชกำรแผ่นดนิ
10. กำรพิจำรณำเสนอแผนกำรศึกษำแหง่ ชำติที่บูรณำกำรศำสนำ ศลิ ปะ วฒั นธรรมและกีฬำกับกำรศึกษำทุกระดบั
นั้น เป็นหนำ้ ทข่ี องใคร
ก. สำนักงำนรัฐมนตรี ข. สำนกั งำนปลดั กระทรวง
ค. สภำกำรศกึ ษำ ง. สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ
ตอบ ค. มำตรำ ๑๔ ใหม้ สี ภำกำรศกึ ษำ มหี น้ำท่ี
(๑) พจิ ำรณำเสนอแผนกำรศึกษำแหง่ ชำตทิ ่บี ูรณำกำรศำสนำ ศิลปะ วัฒนธรรม และกฬี ำกับกำรศึกษำทกุ
ระดับ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 25
------------------------------------------------------------------------------
(๒) พิจำรณำเสนอนโยบำย แผน และมำตรฐำนกำรศกึ ษำเพ่อื ดำเนินกำรให้เป็นไปตำมแผนตำม (๑)
(๓) พจิ ำรณำเสนอนโยบำยและแผนในกำรสนบั สนนุ ทรัพยำกรเพอ่ื กำรศึกษำ
(๔) ดำเนินกำรประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำตำม (๑)
(๕) ใหค้ วำมเหน็ หรือคำแนะนำในเรื่องกฎหมำยและกฎกระทรวงท่ีเกี่ยวกับกำรศึกษำ
กำรเสนอนโยบำย แผนกำรศึกษำแห่งชำติ และมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ให้เสนอต่อคณะรฐั มนตรี
11. หน่วยงำนใดมีหน้ำทพ่ี จิ ำรณำเสนอนโยบำยแผนพัฒนำ มำตรฐำน และหลกั สูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ัน
พ้นื ฐำนที่สอดคลอ้ งกับแผนพัฒนำเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชำติ
ก. สำนักงำนรฐั มนตรี ข. สำนักงำนปลดั กระทรวง
ค. คณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพนื้ ฐำน ง. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชวี ศกึ ษำ
ตอบ ค. มำตรำ ๑๕ ใหม้ คี ณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน มหี นำ้ ทพ่ี จิ ำรณำเสนอนโยบำย แผนพฒั นำ มำตรฐำน
และหลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำขัน้ พนื้ ฐำนทส่ี อดคลอ้ งกับแผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ และแผนกำร
ศึกษำแห่งชำติ กำรสนับสนนุ ทรัพยำกร กำรติดตำมตรวจสอบและประเมินผลกำรจดั กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน และ
เสนอแนะในกำรออกระเบียบ หลกั เกณฑ์ และประกำศทเ่ี กี่ยวกบั กำรบริหำรงำนของสำนกั งำน
12. สำนักงำนปลัดกระทรวงมีอำนำจหนำ้ ที่ ตำมข้อใด
ก. จดั ทำงบประมำณและแผนปฏิบตั ริ ำชกำรของกระทรวง เรง่ รัด ติดตำม และประเมินผลกำรปฏิบัตริ ำชกำร
ในกระทรวง
ข. ประสำนงำนต่ำง ๆ ในกระทรวง และดำเนินงำนตำ่ ง ๆ
ค. ดำเนินกำรเกย่ี วกบั รำชกำรประจำทวั่ ไปของกระทรวงและรำชกำรทค่ี ณะรัฐมนตรี
ง. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ ง.มำตรำ ๒๔ สำนกั งำนปลดั กระทรวงมีอำนำจหนำ้ ท่ี ดังน้ี
(๑) ดำเนนิ กำรเกี่ยวกับรำชกำรประจำทั่วไปของกระทรวงและรำชกำรทีค่ ณะรัฐมนตรีมิไดก้ ำหนดใหเ้ ป็น
หน้ำที่ของสำนกั งำนใดสำนักงำนหน่งึ ในสงั กัดกระทรวงโดยเฉพำะ
(๒) ประสำนงำนตำ่ ง ๆ ในกระทรวง และดำเนนิ งำนต่ำง ๆ ทม่ี ลี ักษณะเปน็ งำนทต่ี ้องปฏิบตั ติ ำมสำยงำนกำร
บังคับบัญชำอันเปน็ อำนำจหนำ้ ทซี่ ่ึงจะตอ้ งมกี ำรกำหนดไวใ้ นพระรำชบัญญัตินี้ หรือกำหนดในกฎหมำยอื่น
(๓) จดั ทำงบประมำณและแผนปฏบิ ัติรำชกำรของกระทรวง เร่งรดั ติดตำม และประเมินผลกำรปฏบิ ัติ
รำชกำรในกระทรวงให้เปน็ ไปตำมนโยบำย แนวทำง และแผนปฏบิ ัตริ ำชกำรของกระทรวง
(๔) ดำเนนิ กำรเก่ียวกับกฎหมำยว่ำด้วยกำรศกึ ษำแห่งชำติที่มไิ ด้อยใู่ นอำนำจของสว่ นรำชกำรอนื่
(๕) ดำเนนิ กำรอื่นตำมทีก่ ำหนดในกฎกระทรวงว่ำดว้ ยกำรแบง่ ส่วนรำชกำร
13. ในกำรพิจำรณำเสนอนโยบำย แผนพฒั นำ มำตรฐำน และหลักสูตรกำรอำชีวศกึ ษำทกุ ระดับทสี่ อดคล้องกบั
แผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำตนิ ้ัน ใหค้ ำนงึ ถึงสิ่งใดเปน็ หลกั
ก. สภำพแวดลอ้ มของสถำนท่ี ข. ควำมเป็นเลิศทำงวชิ ำชพี
ค. ศีลธรรม คณุ ธรรม และจริยธรรม ง. ควำมเป็นประโยชนส์ งู สดุ
ตอบ ข. มำตรำ ๑๗ ให้มีคณะกรรมกำรกำรอำชวี ศึกษำ มีหน้ำทีพ่ ิจำรณำเสนอนโยบำย แผนพัฒนำมำตรฐำน และ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 26
------------------------------------------------------------------------------
หลกั สูตรกำรอำชีวศึกษำทกุ ระดับ ทสี่ อดคล้องกับแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำตแิ ละแผนกำรศกึ ษำ
แห่งชำติ กำรสง่ เสรมิ ประสำนงำนกำรจัดกำรอำชีวศึกษำของรัฐและเอกชน กำรสนบั สนนุ ทรัพยำกร กำรติดตำม
ตรวจสอบ และประเมินผลกำรจดั กำรศกึ ษำอำชีวศึกษำ โดยคำนงึ ถึงคณุ ภำพและควำมเปน็ เลศิ ทำงวิชำชพี และ
เสนอแนะในกำรออกระเบียบ หลกั เกณฑ์ และประกำศทีเ่ กย่ี วกับกำรบรหิ ำรงำนของสำนักงำน
เพือ่ ประโยชน์ในกำรพิจำรณำนโยบำย แผนพัฒนำ และมำตรฐำนกำรอำชีวศึกษำระดบั ปริญญำ ให้
คณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำพิจำรณำให้สอดคล้องกับนโยบำย แผนพัฒนำ และเป็นไปตำมมำตรฐำนกำรศึกษำ
ระดับอุดมศกึ ษำของคณะกรรมกำรกำรอดุ มศกึ ษำ
นอกจำกหน้ำที่ตำมวรรคหนึ่ง ใหค้ ณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำมหี นำ้ ทีใ่ หค้ วำมเห็นหรือให้คำแนะนำแก่
รัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงศึกษำธกิ ำรหรือคณะรฐั มนตรี และมอี ำนำจหน้ำที่อื่นตำมทกี่ ฎหมำยกำหนดหรือตำมท่ี
รฐั มนตรีวำ่ กำรกระทรวงศกึ ษำธิกำรมอบหมำย
ให้คณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ ประกอบดว้ ย กรรมกำรโดยตำแหน่งจำกหน่วยงำนท่ีเก่ียวขอ้ ง ผูแ้ ทน
องคก์ รเอกชน ผู้แทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ผแู้ ทนองคก์ รวิชำชพี และกรรมกำรผ้ทู รงคณุ วุฒิซ่ึงมีจำนวนไม่
นอ้ ยกว่ำจำนวนกรรมกำรประเภทอนื่ รวมกัน
จำนวนกรรมกำร คณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ำรสรรหำ กำรเลือกประธำนกรรมกำรและกรรมกำร วำระ
กำรดำรงตำแหนง่ และกำรพ้นจำกตำแหน่งของคณะกรรมกำร ใหเ้ ปน็ ไปตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
14. ผใู้ ดเปน็ คณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ
ก. ผู้แทนองคก์ รเอกชน ข. ผแู้ ทนองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. ผ้แู ทนองคก์ รวชิ ำชีพ ง. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ ง. อธิบำยตำมข้อขำ้ งต้น
15. กระทรวงศึกษำธิกำรมีผู้ตรวจรำชกำรของกระทรวง เพ่ือสง่ิ ใด
ก. เสนอแนะในกำรออกระเบียบ หลกั เกณฑ์ และประกำศ
ข. พจิ ำรณำเสนอแผนกำรศึกษำแห่งชำติทบ่ี ูรณำกำรศำสนำ ศิลปะ วัฒนธรรม และกฬี ำกบั กำรศกึ ษำทกุ
ระดบั
ค. ทำหนำ้ ท่ีในกำรตรวจรำชกำร ศึกษำ วเิ ครำะห์ วิจยั ตดิ ตำมและประเมนิ ผล
ง. พจิ ำรณำเสนอนโยบำยและแผนในกำรสนบั สนนุ ทรัพยำกรเพือ่ กำรศึกษำ
ตอบ ค. มำตรำ ๒๐ ใหก้ ระทรวงศกึ ษำธกิ ำรมีผ้ตู รวจรำชกำรของกระทรวง เพ่ือทำหนำ้ ที่ในกำรตรวจรำชกำร
ศกึ ษำ วิเครำะห์ วิจยั ติดตำม และประเมินผลระดบั นโยบำย เพื่อนเิ ทศให้คำปรึกษำและแนะนำเพ่อื กำรปรับปรงุ
พฒั นำ
16. จัดทำงบประมำณและแผนปฏิบตั ริ ำชกำรของกระทรวง เร่งรัด ติดตำมและประเมนิ ผลกำรปฏิบตั ริ ำชกำร
ในกระทรวงให้เปน็ ไปตำมนโยบำย แนวทำง และแผนปฏิบัตริ ำชกำรของกระทรวง เป็นอำนำจหนำ้ ทขี่ อง
หนว่ ยงำนใด ข. สำนักงำนปลดั กระทรวง
ก. สำนักงำนรฐั มนตรี ง. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชวี ศึกษำ
ค. คณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำน
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 27
------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ข. มำตรำ ๒๔ สำนกั งำนปลดั กระทรวงมีอำนำจหน้ำที่ ดงั น้ี
(๑) ดำเนินกำรเกีย่ วกับรำชกำรประจำท่วั ไปของกระทรวงและรำชกำรท่ีคณะรัฐมนตรีมิไดก้ ำหนดให้เป็น
หนำ้ ทีข่ องสำนกั งำนใดสำนักงำนหนึง่ ในสงั กดั กระทรวงโดยเฉพำะ
(๒) ประสำนงำนต่ำง ๆ ในกระทรวง และดำเนนิ งำนต่ำง ๆ ท่ีมลี ักษณะเป็นงำนท่ีตอ้ งปฏบิ ัติตำมสำยงำนกำร
บงั คับบญั ชำอันเปน็ อำนำจหน้ำที่ซึง่ จะต้องมกี ำรกำหนดไว้ในพระรำชบัญญัตินี้ หรือกำหนดในกฎหมำยอื่น
(๓) จดั ทำงบประมำณและแผนปฏิบัติรำชกำรของกระทรวง เรง่ รัด ติดตำม และประเมินผลกำรปฏบิ ัติ
รำชกำรในกระทรวงให้เปน็ ไปตำมนโยบำย แนวทำง และแผนปฏบิ ตั ิรำชกำรของกระทรวง
(๔) ดำเนนิ กำรเก่ียวกบั กฎหมำยวำ่ ด้วยกำรศกึ ษำแห่งชำติที่มไิ ดอ้ ยใู่ นอำนำจของสว่ นรำชกำรอื่น
(๕) ดำเนนิ กำรอื่นตำมทกี่ ำหนดในกฎกระทรวงวำ่ ด้วยกำรแบง่ สว่ นรำชกำร
17. ข้อใดเป็นกำรจัดระเบียบรำชกำรในสำนักงำน
ก. สำนกั อำนวยกำร และสำนกั บริหำรงำน
ข. สำนกั อำนวยกำร และสำนักงำนเขตพ้ืนทก่ี ำรศกึ ษำ
ค. สำนักบริหำรงำน และสำนักงำนเขตพ้ืนท่กี ำรศกึ ษำ
ง. สำนักบรหิ ำรงำน และสำนักงำนปลดั กระทรวง
ตอบ ก. มำตรำ ๒๕ สำนกั งำนปลัดกระทรวง อำจแบง่ ส่วนรำชกำร ดงั นี้
(๑) สำนกั อำนวยกำร
(๒) สำนัก สำนักบริหำรงำน หรือสว่ นรำชกำรที่เรยี กชือ่ อยำ่ งอืน่ ท่มี ฐี ำนะเทียบเทำ่ สำนักหรือสำนกั
บริหำรงำน
ในกรณที ีม่ คี วำมจำเป็น สำนักงำนปลดั กระทรวงอำจแบ่งส่วนรำชกำรโดยให้มสี ว่ นรำชกำรอนื่ นอกจำก (๑)
หรือ (๒) กไ็ ด้
ส่วนรำชกำรตำมวรรคหน่งึ และวรรคสอง ใหม้ ีอำนำจหน้ำทีต่ ำมทก่ี ำหนดไว้ให้เป็นของส่วนรำชกำรนั้น ๆ
โดยให้มผี ู้อำนวยกำรสำนกั อำนวยกำร ผู้อำนวยกำรสำนัก ผอู้ ำนวยกำรสำนักบริหำรงำน หรือหวั หน้ำส่วนรำชกำรท่ี
เรียกชื่ออย่ำงอ่นื ท่ีมีฐำนะเทยี บเท่ำสำนักหรือสำนกั บรหิ ำรงำน หรือหัวหนำ้ สว่ นรำชกำรตำมวรรคสอง เปน็
ผู้บงั คับบัญชำขำ้ รำชกำรและรบั ผดิ ชอบปฏบิ ตั ริ ำชกำร
18. หมวด 2 ในพระรำชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร พ.ศ.2546 มเี นื้อหำสำระอย่ำงไร
ก. กำรจัดระเบยี บบรหิ ำรรำชกำรส่วนทอ้ งถนิ่ ข. กำรจดั ระเบยี บบริหำรรำชกำรในสว่ นกลำง
ค. ระเบียบบริหำรรำชกำรเขตพืน้ ท่กี ำรศึกษำ ง. ระเบยี บบรหิ ำรรำชกำรในสถำนศกึ ษำของรฐั
ตอบ ค.
19. กำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนใหย้ ึดเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำโดยคำนงึ ถึง
ก. จำนวนสถำนศกึ ษำ ข. จำนวนประชำกร
ค. วฒั นธรรม ง. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ ง. มำตรำ ๓๓ กำรบริหำรและกำรจดั กำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำนให้ยึดเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำโดยคำนึงถงึ ระดับของ
กำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน จำนวนสถำนศกึ ษำ จำนวนประชำกร วัฒนธรรมและควำมเหมำะสมดำ้ นอ่นื ด้วย เวน้ แตก่ ำร
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 28
------------------------------------------------------------------------------
จัดกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำนตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยกำรอำชวี ศกึ ษำ
ให้รฐั มนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำรโดยคำแนะนำของสภำกำรศึกษำมีอำนำจประกำศในรำชกจิ จำ
นุเบกษำกำหนดเขตพ้ืนที่กำรศึกษำเพ่ือกำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำนแบ่งเป็นเขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำ
ประถมศึกษำและเขตพ้นื ท่ีกำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำ
ในกรณที ส่ี ถำนศึกษำใดจดั กำรศึกษำขัน้ พ้นื ฐำนท้ังระดบั ประถมศกึ ษำและระดับมธั ยมศกึ ษำกำรกำหนดให้
สถำนศกึ ษำแหง่ น้นั อยูใ่ นเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำใด ให้ยึดระดับกำรศึกษำของสถำนศึกษำนัน้ เปน็ สำคญั ท้งั นี้ ตำมท่ี
รัฐมนตรปี ระกำศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน
ในกรณีท่มี ีควำมจำเปน็ เพ่ือประโยชนใ์ นกำรจัดกำรศึกษำหรอื มีเหตผุ ลควำมจำเป็นอย่ำงอ่ืนตำมสภำพกำรจัด
กำรศกึ ษำบำงประเภท คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำนอำจประกำศกำหนดใหข้ ยำยกำรบรกิ ำรกำรศึกษำขั้น
พนื้ ฐำนของเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำหนึ่งไปในเขตพ้ืนทกี่ ำรศึกษำอ่นื ได้
20. ในแตล่ ะเขตพ้ืนที่กำรศกึ ษำ ผูใ้ ดมีอำนำจหน้ำทใี่ นกำรกำกับดแู ลจัดตั้ง ยบุ รวมหรือเลิกสถำนศึกษำขนั้
พืน้ ฐำนในเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ
ก. ปลดั กระทรวง ข. คณะกรรมกำรและสำนกั งำนเขตพืน้ ทกี่ ำรศึกษำ
ค. สำนกั อำนวยกำร ง. สำนกั บริหำรงำน
ตอบ ข. มำตรำ ๓๖ ในแตล่ ะเขตพืน้ ทกี่ ำรศึกษำ ใหม้ คี ณะกรรมกำรและสำนักงำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศกึ ษำ มีอำนำจ
หนำ้ ทใี่ นกำรกำกบั ดูแล จัดตั้ง ยบุ รวม หรือเลิกสถำนศึกษำขั้นพืน้ ฐำนในเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำ ประสำน สง่ เสริม และ
สนับสนนุ สถำนศึกษำเอกชนในเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำ ประสำนและสง่ เสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้สำมำรถ
จัดกำรศึกษำสอดคล้องกบั นโยบำยและมำตรฐำนกำรศึกษำ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนกำรจัดกำรศึกษำของบุคคล
ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบนั สงั คมอ่ืนที่
จดั กำรศกึ ษำในรปู แบบท่ีหลำกหลำยในเขตพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำ และปฏบิ ตั ิหนำ้ ทีอ่ ่นื ท่ีเกยี่ วข้องกบั อำนำจหน้ำท่ที ่ีระบุ
ไว้ขำ้ งต้น ทัง้ นี้ ตำมทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง
21. หมวด 3 ในพระรำชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร พ.ศ.2546 มเี นื้อหำสำระอยำ่ งไร
ก. กำรจดั ระเบยี บบริหำรรำชกำรในสถำนศึกษำของรัฐท่ีจัดกำรศกึ ษำระดับปริญญำทเี่ ปน็ นติ ิบุคคล
ข. กำรจัดระเบียบบรหิ ำรรำชกำรในส่วนกลำง
ค. ระเบียบบริหำรรำชกำรเขตพ้ืนท่กี ำรศกึ ษำ ง. ระเบยี บบริหำรรำชกำรในสถำนศึกษำของรฐั
ตอบ ก.
22. หมวด 4 ในพระรำชบัญญตั ิระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร พ.ศ.2546 มีเนื้อหำสำระอยำ่ งไร
ก. กำรจัดระเบยี บบริหำรรำชกำรในสถำนศึกษำของรฐั
ข. กำรจดั ระเบยี บบรหิ ำรรำชกำรในสว่ นกลำง
ค. กำรปฏิบตั ริ ำชกำรแทน ง. ระเบียบบรหิ ำรรำชกำรในสถำนศึกษำของรัฐ
ตอบ ค.
23. กำรโอนบรรดำกิจกำร ทรพั ยส์ ิน หน้ี อัตรำกำลัง ข้ำรำชกำร ลกู จ้ำง และเงินงบประมำณของสำนกั งำน
คณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่งชำติ สำนกั นำยกรัฐมนตรีไปเปน็ ของหน่วยงำนใด
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 29
------------------------------------------------------------------------------
ก. สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำกำรศกึ ษำ ข. กระทรวงศึกษำธกิ ำร
ค. กรมสำมญั ศกึ ษำ ง. สำนักงำนศกึ ษำธิกำรจงั หวดั
ตอบ ก. มำตรำ ๖๐ ใหโ้ อนบรรดำกิจกำร ทรัพย์สิน หน้ี อตั รำกำลัง ขำ้ รำชกำร ลูกจำ้ ง และเงินงบประมำณของ
สำนกั งำนปลดั กระทรวง กระทรวงศกึ ษำธิกำร ยกเวน้ สำนักงำนศกึ ษำธิกำรจงั หวดั และสำนกั งำนศึกษำธิกำรอำเภอ
ไปเป็นของสำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษำธกิ ำร
ใหโ้ อนบรรดำกิจกำร ทรัพย์สนิ หนี้ อัตรำกำลงั ข้ำรำชกำร ลกู จ้ำง และเงินงบประมำณของกรมกำรศึกษำ
นอกโรงเรียน กระทรวงศึกษำธกิ ำร สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำเอกชน กระทรวงศึกษำธกิ ำร และสำนกั งำน
คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรครู กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ไปเป็นของสำนักงำนปลดั กระทรวง กระทรวงศึกษำธิกำร
กำรโอนตำมวรรคสอง ไม่รวมถงึ ข้ำรำชกำรครสู ังกดั สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำเอกชน
กระทรวงศึกษำธิกำร ซึง่ ใหโ้ อนไปสงั กดั สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน เพือ่ ปฏิบตั งิ ำนในเขตพ้ืนที่
กำรศึกษำ ตำมระเบยี บบริหำรรำชกำรเขตพ้นื ทก่ี ำรศกึ ษำท่บี ัญญัติไว้ในหมวด ๒ ของพระรำชบญั ญัตินี้
24. ให้โอนบรรดำอำนำจหน้ำทเี่ ก่ียวกบั รำชกำรของสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่งชำติ สำนกั
นำยกรัฐมนตรี และบรรดำอำนำจหน้ำที่ของเจำ้ หน้ำท่ขี องสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำแห่งชำติ สำนกั
นำยกรฐั มนตรี ไปเป็นของหน่วยงำนใด
ก. สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ ข. กระทรวงศึกษำธิกำร
ค. กรมสำมญั ศึกษำ ง. สำนกั งำนศึกษำธกิ ำรจังหวัด
ตอบ ก. มำตรำ ๖๒ ให้โอนบรรดำกิจกำร ทรัพย์สิน หนี้ อัตรำกำลัง ขำ้ รำชกำร ลูกจ้ำง และเงินงบประมำณของ
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแหง่ ชำติ สำนักนำยกรัฐมนตรี ไปเปน็ ของสำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำกำรศึกษำ
25. ให้โอนบรรดำกิจกำร ทรพั ย์สิน หนี้ อัตรำกำลัง ขำ้ รำชกำร ลูกจ้ำง และเงนิ งบประมำณของสำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรประถมศึกษำแหง่ ชำติ กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร กรมสำมญั ศกึ ษำ กระทรวงศกึ ษำธิกำร กรมวิชำกำร
กระทรวงศึกษำธิกำร สำนกั งำนศกึ ษำธกิ ำรจงั หวัด และสำนักงำนศึกษำธกิ ำรอำเภอ ให้ไปเปน็ ของสำนกั งำนใด
ก. สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำกำรศกึ ษำ ข. กระทรวงศกึ ษำธิกำร
ค. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน ง. สำนกั งำนศึกษำธกิ ำรจงั หวัด
ตอบ ค. มำตรำ ๖๔ ให้โอนบรรดำกิจกำร ทรพั ย์สนิ หน้ี อตั รำกำลงั ข้ำรำชกำร ลกู จำ้ ง และเงินงบประมำณของ
สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรประถมศึกษำแหง่ ชำติ กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร กรมสำมัญศึกษำ กระทรวงศึกษำธกิ ำร
กรมวชิ ำกำร กระทรวงศึกษำธิกำร สำนักงำนศกึ ษำธิกำรจงั หวัด และสำนกั งำนศึกษำธกิ ำรอำเภอ ในสังกัดสำนกั งำน
ปลดั กระทรวง กระทรวงศึกษำธิกำร ไปเป็นของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน
26. ให้โอนบรรดำอำนำจหนำ้ ทเ่ี กยี่ วกบั รำชกำรของทบวงมหำวิทยำลัย สำนักงำนสภำสถำบันรำชภัฏ
กระทรวงศกึ ษำธิกำร และกรมอำชีวศึกษำ กระทรวงศึกษำธกิ ำร ในสว่ นทีเ่ กีย่ วกบั รำชกำรของสถำบนั เทคโนโลยี
ปทุมวนั ไปเปน็ ของหน่วยงำนใด
ก. สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำกำรศกึ ษำ ข. กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
ค. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอดุ มศกึ ษำ ง. สำนกั งำนศกึ ษำธกิ ำรจังหวัด
ตอบ ค. มำตรำ ๖๕ ให้โอนบรรดำอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรของทบวงมหำวิทยำลัย สำนักงำนสภำสถำบนั รำช
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 30
------------------------------------------------------------------------------
ภฏั กระทรวงศึกษำธิกำร และกรมอำชีวศึกษำ กระทรวงศึกษำธกิ ำร ในส่วนท่เี กี่ยวกบั รำชกำรของสถำบนั
เทคโนโลยปี ทมุ วัน และบรรดำอำนำจหนำ้ ทขี่ องเจ้ำหน้ำที่ทบวงมหำวิทยำลัย สำนักงำนสภำสถำบันรำชภฏั
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร และกรมอำชีวศึกษำ กระทรวงศกึ ษำธิกำร ในสว่ นท่ีเกย่ี วกบั รำชกำรของสถำบันเทคโนโลยี
ปทมุ วัน ไปเป็นของสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ
ให้อำนำจหนำ้ ทีข่ องเลขำธิกำรสภำสถำบันรำชภัฏ เปน็ อำนำจหน้ำที่ของเลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำร
อุดมศึกษำตำมพระรำชบัญญัตินี้
ใหอ้ ำนำจหนำ้ ทขี่ องอธบิ ดีกรมอำชวี ศึกษำ ในสว่ นท่ีเกย่ี วกบั รำชกำรของสถำบันเทคโนโลยปี ทมุ วัน เป็น
อำนำจหนำ้ ที่ของเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรอุดมศกึ ษำตำมพระรำชบญั ญัตินี้
27. ใหโ้ อนอำนำจหน้ำท่ขี องเลขำธิกำรสถำบันรำชภฎั เป็นอำนำจหนำ้ ท่ีของผูใ้ ดในพระรำชบัญญัตริ ะเบยี บ
บริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร พ.ศ.2546
ก. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรอดุ มศกึ ษำ ข. อธิบดกี รมอำชีวศกึ ษำ
ค. คณะกรรมกำรอุดมศกึ ษำ ง. กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
ตอบ ก. อธบิ ำยตำมข้อขำ้ งต้น
28. ให้โอนบรรดำอำนำจหนำ้ ที่เกย่ี วกับรำชกำรของกรมอำชีวศึกษำ กระทรวง ศึกษำธกิ ำร ยกเว้น สถำบนั
เทคโนโลยีปทมุ วัน และบรรดำอำนำจหนำ้ ทข่ี องเจ้ำหนำ้ ทก่ี รมอำชีวศกึ ษำ กระทรวงศึกษำธิกำร ยกเวน้ สถำบนั
เทคโนโลยปี ทมุ วนั ไปเป็นของหน่วยงำนใด
ก. สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำกำรศกึ ษำ ข. สำนกั งำนคณะกรรมกำรอำชีวศกึ ษำ
ค. สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศกึ ษำ ง. สำนักงำนศึกษำธกิ ำรจงั หวดั
ตอบ ข. มำตรำ ๖๗ ให้โอนบรรดำอำนำจหน้ำท่ีเกย่ี วกับรำชกำรของกรมอำชีวศกึ ษำ กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ยกเว้น
สถำบนั เทคโนโลยปี ทุมวัน และบรรดำอำนำจหน้ำท่ีของเจ้ำหนำ้ ที่กรมอำชีวศกึ ษำ กระทรวงศึกษำธกิ ำร ยกเว้น
สถำบันเทคโนโลยปี ทุมวนั ไปเปน็ ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ
29. พ.ร.บ. ระเบยี บบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร พ.ศ.2546 ผรู้ บั สนองพระบรมรำชโองกำร คอื ใคร
ก. พนั ตำรวจโท ทกั ษณิ ชินวตั ร ข. นำยชวน หลกี ภัย
ค. นำยสมคั ร สนุ ทรเวช ง. นำยอำนันท์ ปันยำรชนุ
ตอบ ก.
30. เหตุผลในกำรประกำศใช้ พ.ร.บ. ระเบียบบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร พ.ศ.2546 คือขอ้ ใด
ก. จำเป็นต้องกำหนดขอบเขตอำนำจหน้ำทข่ี องส่วนรำชกำรตำ่ งๆ ของกระทรวงศึกษำธิกำรให้ชัดเจน
ข. จดั ระบบบริหำรรำชกำรในระดับต่ำงๆ ของกระทรวงให้มีเอกภำพ
ค. กำหนดขอบขำ่ ยของอำนำจหนำ้ ที่และกำรมอบอำนำจให้ปฏิบตั ิ รำชกำรแทนใหช้ ดั เจน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
31. พ.ร.บ.ระเบยี บบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร ฉบบั ปัจจุบนั มแี กไ้ ขเป็นฉบบั ใด
ก. ฉบบั ที่ 2 ข. ฉบบั ท่ี 3 ค. ฉบบั ที่ 4 ง. ฉบับท่ี 5
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 31
------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ข. พระรำชบัญญัตริ ะเบยี บบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
32. พระรำชบญั ญัติระเบียบบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้ไว้ ณ วันทใ่ี ด
ก. 25 เมษำยน 2562 ข. 26 เมษำยน 2562 ค. 27 เมษำยน 2562 ง. 28 เมษำยน 2562
ตอบ ข.
----------------------------
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 32
------------------------------------------------------------------------------
แนวข้อสอบ พ.ร.บ.สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551
1. กำรศกึ ษำนอกระบบ หมำยควำมวำ่ อย่ำงไร
ก. กิจกรรมกำรศึกษำท่มี กี ลุ่มเปำ้ หมำยผู้รบั บริกำรและวัตถุประสงคข์ องกำรเรยี นร้ทู ี่ชดั เจน มีรปู แบบ
หลกั สตู ร วธิ ีกำรจัดและระยะเวลำเรียน
ข. กจิ กรรมกำรเรียนรู้ในวถิ ชี ีวิตประจำวันของบุคคลซง่ึ บุคคลสำมำรถเลอื กท่จี ะเรยี นร้ไู ด้อย่ำงตอ่ เน่ือง
ตลอดชีวิต
ค. กำรศกึ ษำแหง่ ชวี ติ โดยให้บคุ คลซงึ่ ได้รับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
ง. ถกู เฉพำะ ก. และ ข.
ตอบ ก. มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตนิ ี้
“การศกึ ษานอกระบบ” หมายความว่า กิจกรรมการศกึ ษาที่มีกลมุ่ เป้าหมายผูร้ บั บริการและวัตถุประสงค์ของ
การเรียนรู้ทช่ี ดั เจน มรี ูปแบบ หลักสตู ร วิธกี ารจดั และระยะเวลาเรยี นหรือฝึกอบรมท่ียืดหยนุ่ และหลากหลายตาม
สภาพความตอ้ งการและศักยภาพในการเรียนรู้ของกลุม่ เป้าหมายน้นั และมีวิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ท่ี
มีมาตรฐานเพอ่ื รบั คณุ วฒุ ิทางการศึกษา หรือเพอื่ จัดระดับผลการเรียนรู้
2. ขอ้ ใดต่อไปน้ีเป็นหลักกำรสง่ เสรมิ และสนับสนุนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย
ก กำรศกึ ษำนอกระบบยึดหลักควำมเสมอภำคในกำรเขำ้ ถงึ และได้รับกำรศกึ ษำอย่ำงกว้ำงขวำง กำรศกึ ษำ
ตำมอัธยำศยั ยดึ หลักกำรเขำ้ ถึงแหล่งกำรเรยี นรู้ทสี่ อดคลอ้ งกบั ควำมสนใจและวิถีชวี ติ ของผเู้ รยี น
ข. กำรศึกษำนอกระบบ ยดึ หลักกำรเข้ำถงึ แหล่งกำรเรียนรู้ท่ีสอดคลอ้ งกบั ควำมสนใจผู้เรยี น กำรศึกษำตำม
อธั ยำศัยยึดหลักกำรกระจำยอำนำจแก่สถำนศกึ ษำ
ค. กำรศึกษำนอกระบบ ยึดหลักกำรพฒั นำแหล่งกำรเรยี นรูใ้ ห้มีควำมหลำกหลำยทัง้ ส่วนกำรศึกษำตำม
อัธยำศยั ยึดหลกั กำรจัดกรอบกำรเรียนรู้
ง. ถกู ทุกข้อ
ตอบ ก. มาตรา ๖ การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ยึดหลกั ดังต่อไปน้ี
(๑) การศึกษานอกระบบ
(ก) ความเสมอภาคในการเขา้ ถึงและได้รบั การศกึ ษาอยา่ งกวา้ งขวาง ท่วั ถงึ เป็นธรรม และมคี ณุ ภาพ
เหมาะสมกับสภาพชวี ติ ของประชาชน
(ข) การกระจายอานาจแก่สถานศกึ ษาและการให้ภาคเี ครือขา่ ยมีส่วนรว่ มในการจัดการเรียนรู้
(๒) การศึกษาตามอัธยาศยั
(ก) การเข้าถึงแหลง่ การเรียนรทู้ ่สี อดคล้องกบั ความสนใจและวถิ ชี วี ติ ของผู้เรียนทกุ กลุม่ เปา้ หมาย
(ข) การพัฒนาแหล่งการเรยี นร้ใู หม้ คี วามหลากหลายทง้ั ส่วนทีเ่ ป็นภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ และสว่ นที่นาเทคโนโลยี
มาใช้เพอื่ การศกึ ษา
(ค) การจดั กรอบหรือแนวทางการเรียนรู้ที่เปน็ คณุ ประโยชนต์ อ่ ผูเ้ รยี น
3. กำรสง่ เสรมิ และสนบั สนุนกำรศึกษำนอกระบบให้ดำเนินกำรเพื่อเปำ้ หมำยเร่ืองใด
ก. เพ่อื พฒั นำแหล่งกำรเรยี นรใู้ ห้มีควำมหลำกหลำยทง้ั สว่ นที่เปน็ ภูมิปัญญำท้องถิ่น
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 33
------------------------------------------------------------------------------
ข. เพื่อจัดแนวทำงกำรเรียนรู้ทเี่ ปน็ คณุ ประโยชน์ต่อผู้เรยี น
ค. เพอ่ื ประชำชนได้รับกำรศึกษำอยำ่ งต่อเนอื่ งเพอ่ื พฒั นำศักยภำพกำลงั คนและสังคมทใี่ ชค้ วำมรแู้ ละภูมิ
ปัญญำเปน็ ฐำนในกำรพัฒนำ
ง. ถกู เฉพำะ ก. และ ข.
ตอบ ค. มาตรา ๗ การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การศึกษานอกระบบ ให้ดาเนนิ การเพื่อเปา้ หมายในเรื่อง ดงั ต่อไปนี้
(๑) ประชาชนไดร้ บั การศึกษาอย่างต่อเนอื่ ง เพ่ือพัฒนาศักยภาพกาลงั คนและสังคม ทีใ่ ชค้ วามรแู้ ละภมู ิ
ปัญญาเปน็ ฐานในการพฒั นา ท้ังด้านเศรษฐกจิ สังคม สงิ่ แวดล้อม ความม่นั คง และคุณภาพชวี ติ ท้ังนี้ ตามแนวทาง
การพฒั นาประเทศ
(๒) ภาคเี ครือข่ายเกดิ แรงจูงใจและมคี วามพรอ้ มในการมีส่วนรว่ มเพือ่ จดั กจิ กรรมการศึกษา
4. กรณกี ระทรวงศกึ ษำธกิ ำรสง่ เสรมิ และสนับสนุนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั โดยให้
ควำมสำคัญแก่ผู้ใดบ้ำง
ก. ผู้เรยี นซ่ึงเปน็ ผทู้ ่ไี ด้รับประโยชน์ ข. ผู้จัดกำรเรียนรู้สำหรับกำรศึกษำนอกระบบ
ค. ผู้ส่งเสรมิ และสนับสนุน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.มาตรา ๙ ใหก้ ระทรวงศึกษาธิการสง่ เสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
โดยให้ความสาคัญแก่ผ้เู ก่ียวข้องตามบทบาทและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) ผูเ้ รียน ซ่งึ เป็นผทู้ ี่ได้รบั ประโยชน์ มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรียนรู้ และสามารถเลือกรับบริการได้
หลากหลายตามความตอ้ งการของตนเอง
(๒) ผจู้ ัดการเรียนร้สู าหรับการศึกษานอกระบบและผู้จดั แหลง่ การเรียนรู้สาหรบั การศึกษาตามอธั ยาศยั มี
การดาเนนิ การท่ีหลากหลายตามศักยภาพเพือ่ ตอบสนองความต้องการของผ้เู รียนโดยบรู ณาการความรู้ ปลูกฝัง
คุณธรรม และคา่ นิยมท่ีดีงาม
(๓) ผู้ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ซ่ึงเป็นผทู้ ่ีเอื้อประโยชน์ใหแ้ กผ่ เู้ รียนและผ้จู ัดการเรียนรู้มีการดาเนินการท่ี
หลากหลาย เพอ่ื ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้เกิดการเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เนื่อง
5. เพื่อประโยชนใ์ นกำรส่งเสรมิ และสนับสนนุ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั หนว่ ยงำนของ
รฐั อำจดำเนินกำรในเรื่องใดบำ้ ง
ก. จดั ใหม้ ีโครงสรำ้ งพื้นฐำนเพือ่ กำรเรียนรู้
ข. กำรจัดกำรศึกษำ กำรพฒั นำวชิ ำกำรและบุคลำกรกำรใชป้ ระโยชน์จำกทรพั ยำกรเพื่อกำรศกึ ษำ
ค. จัดให้มสี อื่ และเทคโนโลยีเพอื่ กำรศึกษำ
ง. ถูกเฉพำะ ข. และ ค.
ตอบ ง. มาตรา ๑๐ เพอ่ื ประโยชน์ในการส่งเสรมิ และสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สว่ นราชการ หน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวขอ้ งและภาคีเครือข่าย อาจดาเนินการสง่ เสรมิ และสนับสนุนในเรื่อง
ดงั ต่อไปน้ี
(๑) สอ่ื และเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษาทจ่ี าเปน็ สาหรบั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการ
ชว่ ยเหลอื ด้านการเงินเพอ่ื การจัดการศกึ ษานอกระบบ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 34
------------------------------------------------------------------------------
(๒) การจดั การศึกษา การพัฒนาวชิ าการและบคุ ลากร การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรเพอื่ การศกึ ษา และการ
ยกย่องประกาศเกียรตคิ ณุ สาหรับผจู้ ัดการเรยี นรูก้ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
(๓) สิทธปิ ระโยชน์ตามความเหมาะสมให้แก่ผู้สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การศกึ ษานอกระบบ
(๔) การสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนร้ทู ี่หลากหลาย เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นของการศกึ ษาตามอัธยาศยั สามารถ
เข้าถงึ ได้ตามความเหมาะสม
(๕) ทรพั ยากรอ่ืนท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การดาเนนิ การเพอ่ื ใหบ้ ุคคลและชุมชนไดเ้ รยี นรตู้ ามความสนใจและความ
ตอ้ งการทีส่ อดคลอ้ งกบั ความจาเปน็ ในสงั คมของการศกึ ษาตามอัธยาศยั
หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขในการส่งเสริมและสนับสนุนตามวรรคหน่งึ ใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ าหนดใน
กฎกระทรวง
6. กรณีใดต่อไปนเ้ี ป็นกำรจัดและพัฒนำกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยใหส้ ่วนรำชกำรและ
หน่วยงำนของรฐั ที่เก่ียวข้องร่วมมือกับภำคีเครอื ขำ่ ย
ก. กำหนดนโยบำยและแผนกำรสง่ เสรมิ และสนบั สนุนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยที่
สอดคลอ้ งกบั แผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ
ข. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนกำรประสำนงำนระหว่ำงสว่ นรำกำรเพือ่ จัดกำรศึกษำ
ค. กำรจดั กำรศกึ ษำ กำรพัฒนำวชิ ำกำรและบคุ ลำกร
ง. ถูกเฉพำะ ก. และ ข.
ตอบ ง.มาตรา ๑๒ เพือ่ ประโยชนใ์ นการดาเนินการตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี ใหค้ ณะกรรมการมีอานาจหนา้ ที่
ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) กาหนดนโยบายและแผนการส่งเสริมและสนับสนุนการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่ี
สอดคลอ้ งกับแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตแิ ละแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ
(๒) กาหนดแนวทางการดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
(๓) ส่งเสรมิ และสนับสนุนการประสานงานระหว่างส่วนราชการ รฐั วสิ าหกจิ และภาคเอกชนทงั้ ในประเทศ
และต่างประเทศ เพ่ือการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
(๔) เสนอแนะตอ่ รัฐมนตรใี นการจัดทาและการพัฒนาระบบการเทียบโอนผลการเรยี นจากการเรียนรใู้ น
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
(๕) ปฏบิ ัตงิ านอื่นใดตามทีพ่ ระราชบญั ญตั ินี้หรือกฎหมายอนื่ บญั ญตั ิให้เป็นอานาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการ
หรอื ตามทคี่ ณะรฐั มนตรีมอบหมาย
7. กรณใี หม้ สี ำนักงำนสง่ เสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั ขน้ึ ในหน่วยงำนใด
ก. สำนกั งำนปลัดกระทรวงศึกษำธกิ ำร ข. สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ
ค. สำนักงำนคณะกรรมกำรอดุ มศึกษำ ง. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ ก.มาตรา ๑๔ ใหม้ ีสานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยขึ้นในสานกั งาน
ปลัดกระทรวง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรยี กโดยย่อว่า “สานักงาน กศน.” โดยมีเลขาธกิ ารสานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เรียกโดยย่อวา่ “เลขาธิการ กศน.” ซงึ่ มฐี านะเป็นอธบิ ดีและเป็นผู้บงั คบั บัญชา
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 35
------------------------------------------------------------------------------
ขา้ ราชการ พนักงานและลูกจ้าง และรบั ผิดชอบการดาเนินงานของสานกั งาน
8. สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย เรยี กโดยยอ่ วำ่ อะไร
ก. สำนกั งำน กศง. ข. สำนักงำน กศน. ค. สำนักงำน กสศ. ง. สำนักงำน กศบ.
ตอบ ข. อธิบายตามข้อขา้ งต้น
9. สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั มอี ำนำจหนำ้ ที่ตำมข้อใด
ก. จัดทำข้อเสนอแนะ นโยบำย ยทุ ธศำสตร์ แผนและมำตรฐำนกำรศึกษำ
ข. กำหนดแนวทำงกำรดำเนินงำนกำรศกึ ษำ
ค. ส่งเสริม สนบั สนนุ และดำเนินกำรเทียบโอนผลกำรเรยี น
ง. ถกู เฉพำะ ก. และ ค.
ตอบ ง. มาตรา ๑๔ สานกั งานมีอานาจหนา้ ท่ี ดังต่อไปนี้
(๑) เป็นหนว่ ยงานกลางในการดาเนินการ ส่งเสริม สนบั สนนุ และประสานงานการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั และรับผิดชอบงานธรุ การของคณะกรรมการ
(๒) จัดทาขอ้ เสนอแนะ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม
อธั ยาศยั ต่อคณะกรรมการ
(๓) สง่ เสรมิ สนบั สนุน และดาเนินการพัฒนาคุณภาพทางวชิ าการ การวิจัย การพฒั นาหลักสูตรและ
นวตั กรรมทางการศึกษา บุคลากร และระบบขอ้ มูลสารสนเทศท่ีเกยี่ วข้องกบั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม
อธั ยาศัย
(๔) สง่ เสริม สนบั สนุน และดาเนินการเทยี บโอนผลการเรียน การเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ และการ
เทยี บระดับการศึกษา
(๕) สง่ เสรมิ สนบั สนุน และประสานงานให้บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องคก์ รปกครองสว่ น
ทอ้ งถ่ิน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอื่นรวมตวั กนั เป็นภาคี
เครือขา่ ย เพื่อเสริมสร้างความเขม้ แข็งในการดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
(๖) จัดทาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์เครอื ขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร สถานีวทิ ยุ
โทรทัศนเ์ พือ่ การศึกษา วิทยุชมุ ชน ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษา ห้องสมดุ ประชาชน พิพิธภณั ฑ์ ศนู ยก์ ารเรียน
ชุมชน และแหล่งการเรยี นรูอ้ ่ืน เพ่อื สง่ เสริมการเรยี นรแู้ ละการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตอยา่ งต่อเนือ่ งของประชาชน
(๗) ดาเนินการเกยี่ วกบั การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั
(๘) ปฏิบตั งิ านอ่ืนใดตามพระราชบัญญตั นิ ี้หรอื กฎหมายอื่นทบ่ี ัญญตั ใิ หเ้ ป็นอานาจหน้าท่ขี องสานักงาน หรือ
ตามท่ีรฐั มนตรีมอบหมาย
10. ข้อใดต่อไปนี้มใิ ช่อำนำจหนำ้ ท่สี ำนักงำน กศน.
ก. จัดทำขอ้ เสนอแนะเกยี่ วกบั กำรใช้ประโยชน์เครือข่ำย เทคโนโลยีสำรสนเทศเพือ่ กำรศึกษำ
ข. ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินกำรเทียบโอนผลกำรเรียนและกำรเทยี บระดับกำรศกึ ษำ
ค. เสนอแนะตอ่ รฐั มนตรใี นกำรจัดทำและกำรพัฒนำระบบกำรเทยี บโอนผลกำรเรยี น
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 36
------------------------------------------------------------------------------
ง. ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินกำรพัฒนำคณุ ภำพวิชำกำรเกี่ยวขอ้ งกบั กำรศึกษำ
ตอบ ค. อธบิ ายตามข้อขา้ งต้น
11. คณะกรรมกำรส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั กทม.และจังหวดั มอี ำนำจหนำ้ ท่ีตำม
ข้อใด
ก. จดั ทำขอ้ เสนอแนะ นโยบำยเกีย่ วกับกำรศึกษำ
ข. ให้คำปรึกษำและร่วมมือในกำรพฒั นำกำรจัดกำรศึกษำ
ค. สง่ เสริมและสนับสนนุ ภำคีเครือขำ่ ยเพื่อจัดกำรศกึ ษำ
ง. ถกู เฉพำะ ข. และ ค.
ตอบ ง. มาตรา ๑๖ คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กรุงเทพมหานคร และ
คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดมีอานาจหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้
(๑) ใหค้ าปรึกษาและร่วมมอื ในการพัฒนาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยกบั ภาคี
เครือขา่ ย
(๒) ส่งเสริมและสนบั สนนุ ภาคีเครือข่าย เพ่อื จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้สอดคล้อง
กับนโยบายและมาตรฐานท่ีคณะกรรมการกาหนด
(๓) ตดิ ตามการดาเนนิ การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาและหนว่ ยงาน
ท่ีจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้มีคณุ ภาพและมาตรฐานตามที่กาหนด และสอดคลอ้ งกบั ทิศ
ทางการพฒั นาของประเทศรวมทัง้ ความต้องการเพือ่ การพัฒนาของท้องถิ่น
(๔) ปฏิบัติงานอนื่ ตามทค่ี ณะกรรมการมอบหมาย
12. ใหส้ ถำนศึกษำทำหน้ำท่ีตำมขอ้ ใดทเ่ี ก่ียวกับกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย รว่ มกับ
ภำคีเครือข่ำย
ก. จัดใหม้ ีศูนยก์ ำรเรียนชมุ ชนเปน็ หนว่ ยจัดกจิ กรรมและสรำ้ งกระบวนกำรเรยี นรู้ของชุมชน
ข. สร้ำงและพฒั นำแหลง่ กำรเรียนรทู้ ี่หลำกหลำย
ค. สง่ เสริมและสนับสนนุ ใหภ้ ำคีเครือขำ่ ย
ง. จัดใหม้ ีโครงสร้ำงพื้นฐำนเพ่ือกำรเรยี นรู้
ตอบ ก.มาตรา ๑๘ ใหส้ ถานศกึ ษาทาหนา้ ทสี่ ่งเสริม สนบั สนุน ประสานงาน และจัดการศกึ ษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัยรว่ มกับภาคีเครือข่าย
การดาเนนิ งานของสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง อาจจดั ให้มีศูนย์การเรยี นชุมชนเปน็ หน่วยจดั กิจกรรมและ
สร้างกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนก็ได้
การจดั ตัง้ ยบุ เลิก รวม การกาหนดบทบาท อานาจ และหน้าทขี่ องสถานศกึ ษาตามวรรคหนง่ึ ให้เป็นไป
ตามท่รี ัฐมนตรปี ระกาศกาหนด
13. กำรจัดตัง้ ยุบ เลกิ รวม กำรกำหนดบทบำทอำนำจและหน้ำที่ของสถำนศึกษำให้เป็นไปตำมใครกำหนด
ก. คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ
ข. สำนักงำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 37
------------------------------------------------------------------------------
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร
ง. ปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร
ตอบ ค. อธิบายตามขอ้ ข้างตน้
14. กรณสี ถำนศึกษำแตล่ ะแหง่ มีคณะกรรมกำรสถำนศึกษำ ใครเปน็ ผู้กำหนด คุณสมบัติและอำนำจหนำ้ ทขี่ อง
คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ
ก. คณะกรรมกำรสง่ เสรมิ สนบั สนุนและประสำนควำมร่วมมือกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำม
อัธยำศยั
ข. คณะกรรมกำรสง่ เสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจังหวัด
ค. คณะกรรมกำรส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยกทม.
ง. คณะอนุกรรมกำรภำคเี ครือข่ำย
ตอบ ก. มาตรา ๑๙ ใหส้ ถานศกึ ษาแตล่ ะแห่งมคี ณะกรรมการสถานศกึ ษา
จานวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ์ วธิ ีการได้มาของประธานและกรรมการวาระการดารงตาแหนง่ และ
การพ้นจากตาแหน่ง รวมท้งั อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ใหเ้ ป็นไปตามที่คณะกรรมการประกาศ
กาหนด
15. สำนักงำนส่งเสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย จัดใหม้ รี ะบบกำรประกันคุณภำพ
กำรศึกษำนอกระบบให้มมี ำตรฐำนสอดคล้องกบั กฎหมำยใด
ก. กฎหมำยว่ำดว้ ยกำรศึกษำนอกระบบ ข. กฎหมำยว่ำดว้ ยกำรศึกษำแห่งชำติ
ค. กฎหมำยว่ำด้วยกำรศกึ ษำขนั้ พื้นฐำน ง. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ ข. มาตรา ๒๐ ให้สานกั งานจัดใหม้ ีระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบซง่ึ เปน็ ระบบการประกัน
คณุ ภาพภายในสาหรับสถานศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพและมาตรฐานสอดคลอ้ งกับกฎหมายว่าดว้ ยการศกึ ษาแห่งชาติ
16. กรณมี ีกำรปรบั เปล่ยี นภำรกจิ มำเปน็ สำนักงำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั
หนว่ ยงำนเดิมเรยี กว่ำอะไร
ก. สำนกั งำนบรหิ ำรงำนกำรศกึ ษำขัน้ พ้นื ฐำน ข. สำนักงำนบริหำรงำนกำรศกึ ษำนอกโรงเรยี น
ค. สำนกั งำนบรหิ ำรงำนกำรศกึ ษำ ง. สำนกั งำนบรหิ ำรงำนกำรศกึ ษำในระบบ
ตอบ ข. มาตรา ๒๑ ใหส้ านักบริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน ปรับเปล่ียนภารกจิ มาเป็นสานักงานสง่ เสรมิ
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และให้ผู้อานวยการสานกั บริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ซ่ึง
ดารงตาแหน่งอยใู่ นวันทีพ่ ระราชบญั ญตั ิน้ีประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ปฏิบัติหน้าทเี่ ลขาธิการ กศน. จนกว่าจะมี
การแตง่ ตั้งเลขาธกิ าร กศน. ขน้ึ ใหมต่ ามพระราชบัญญตั ินี้ ทั้งน้ี ต้องไม่เกนิ หนึ่งร้อยแปดสิบวนั นบั แตว่ ันที่
พระราชบญั ญตั นิ ีใ้ ชบ้ งั คบั
ให้คณะกรรมการสง่ เสรมิ สนับสนนุ และประสานความรว่ มมือการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาม
กฎหมายว่าดว้ ยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการซึ่งดารงตาแหนง่ อยใู่ นวันทีพ่ ระราชบัญญตั ินี้ประกาศ
ในราชกจิ จานุเบกษา คงมฐี านะเปน็ คณะกรรมการดังกลา่ วต่อไปและปฏิบัติหนา้ ท่ีตามพระราชบัญญตั ิน้ี จนกว่าจะ
ไดม้ กี ารแตง่ ตั้งคณะกรรมการดังกล่าวขึ้นใหมเ่ พื่อดาเนนิ การตามพระราชบัญญตั ิน้ี
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 38
------------------------------------------------------------------------------
17. กรณีมกี ำรแต่งตัง้ ผู้อำนวยกำรสำนกั งำน กศน. กทม. ข้ึนใหม่ตำม พ.ร.บ.ส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและ
กำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัย ต้องดำเนินกำรให้แล้วเสร็จภำยในกว่ี นั
ก. ภำยใน 10 วันนับแต่วนั ที่ พ.ร.บ.สง่ เสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั ใชบ้ ังคับ
ข. ภำยใน 90 วันนบั แต่วันท่ี พ.ร.บ.สง่ เสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยใชบ้ งั คบั
ค. ภำยใน 120 วันนับแต่วนั ท่ี พ.ร.บ.สง่ เสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั ใชบ้ งั คบั
ง. ภำยใน 180 วันนับแต่วันท่ี พ.ร.บ.ส่งเสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั ใชบ้ งั คบั
ตอบ ง. อธิบายตามข้อข้างต้น
18. ใครเปน็ ผู้จดั ทำบัญชรี ำยชอื่ สถำนศกึ ษำในสังกดั สำนักบริหำรงำนกำรศกึ ษำนอกโรงเรียน
ก. ปลัดกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ข. รัฐมนตรีวำ่ กำรศกึ ษำธิกำร
ค. เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน ง. ถูกทุกขอ้
ตอบ ข. มาตรา ๒๓ ให้รัฐมนตรจี ดั ทาบัญชีรายชอ่ื สถานศกึ ษาในสังกดั สานกั บริหารงานการศึกษานอกโรงเรยี น
สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศกึ ษาธิการ ท่มี ีความพร้อมในการปฏิบัติภารกจิ ของสถานศึกษาตามทก่ี าหนดใน
พระราชบัญญตั ินี้ และประกาศรายชอ่ื สถานศึกษาดังกลา่ วในราชกิจจานุเบกษาภายในเก้าสิบวันนบั แตว่ ันที่
พระราชบัญญตั ินีใ้ ช้บังคบั
19. ตำมข้อ 18. ให้ประกำศรำยช่ือสถำนศึกษำท่ีมีควำมพรอ้ มในกำรปฏบิ ัตภิ ำรกิจของสถำนศกึ ษำในรำชกจิ จำ
นุเบกษำภำยในกวี่ นั
ก. ภำยใน 30 วันนบั แตว่ ันที่ พ.ร.บ.ส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยใชบ้ งั คบั
ข. ภำยใน 60 วันนบั แตว่ ันท่ี พ.ร.บ.ส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั ใช้บังคับ
ค. ภำยใน 90 วนั นบั แตว่ นั ที่ พ.ร.บ.ส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยใชบ้ ังคบั
ง. ภำยใน 120 วันนับแตว่ นั ท่ี พ.ร.บ.สง่ เสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยใช้บังคบั
ตอบ ค. อธิบายตามข้อข้างตน้
20. ใครเป็นผู้รกั ษำกำรตำม พ.ร.บ.ส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั
ก. รัฐมนตรียำ่ กำรกระทรวงศึกษำธิกำร ข. นำยกรัฐมนตรี
ค. ปลดั กระทรวงศึกษำธกิ ำร ง. ประธำนรัฐสภำ
ตอบ ก. ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี
----------------------------
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 39
------------------------------------------------------------------------------
แนวข้อสอบ พ.ร.บ. ความรบั ผิดทางละเมดิ ของเจ้าหนา้ ที่ พ.ศ. 2539
1. ข้อใดเป็นเหตุผลในการประกาศใช้ พ.ร.บ.ความรบั ผดิ เพอ่ื การละเมิดของเจ้าหนา้ ท่ฯี
1. กำรปฏบิ ัติงำนในหนำ้ ท่แี ละเกดิ ควำมเสียหำยแกเ่ อกชน เปน็ ไปตำมหลักกฎหมำยเอกชนนน้ั ไม่เหมำะสม
2. เปน็ กำรก่อให้เกดิ ควำมไม่เปน็ ธรรมต่อเจำ้ หน้ำท่ี
3. เปน็ กำรบนั่ ทอนขวัญกำลังใจของเจำ้ หนำ้ ที่ในกำรปฏบิ ตั ิงำน
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคิด หมายเหตุ:- เหตผุ ลในกำรประกำศใชพ้ ระรำชบัญญัติฉบับน้ี คือ กำรท่ีเจ้ำหน้ำท่ีดำเนิน
กจิ กำรต่ำง ๆ ของหนว่ ยงำนของรัฐน้นั หำไดเ้ ป็นไปเพอื่ ประโยชน์อันเป็นกำรเฉพำะตวั ไม่ กำรปลอ่ ยให้ควำมรบั
ผดิ ทำงละเมดิ ของเจำ้ หนำ้ ที่ ในกรณีท่ีปฏบิ ตั งิ ำนในหนำ้ ท่แี ละเกิดควำมเสียหำยแกเ่ อกชนเป็นไปตำมหลกั กฎหมำย
เอกชนตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณชิ ย์จึงเป็นกำรไม่เหมำะสมก่อใหเ้ กิดควำมเข้ำใจผิดวำ่ เจ้ำหนำ้ ทีจ่ ะตอ้ ง
รับผิดในกำรกระทำต่ำง ๆ เป็นกำรเฉพำะตัวเสมอไป เมื่อกำรทท่ี ำไปทำใหห้ นว่ ยงำนของรัฐต้องรบี ผิดต่อ
บคุ คลภำยนอกเพียงใดกจ็ ะมกี ำรฟ้องไลเ่ บย้ี เอำจำกเจ้ำหน้ำท่เี ต็มจำนวนน้ัน ทัง้ ทีบ่ ำงกรณีเกดิ ขึ้นโดยควำมไมต่ ัง้ ใจ
หรือควำมผิดพลำดเลก็ น้อยในกำรปฏบิ ัตหิ น้ำที่ นอกจำกนั้น ยงั มีกำรนำหลักเรือ่ งลูกหน้รี ่วมในระบบกฎหมำยแพง่
มำใชบ้ ังคับ ใหเ้ จ้ำหนำ้ ที่ต้องรว่ มรบั ผดิ ในกำรกระทำของเจำ้ หนำ้ ท่ีผู้อ่ืนด้วย ซ่งึ ระบบนั้นมุง่ หมำยแต่จะได้เงินครบ
โดยไมค่ ำนงึ ถงึ ควำมเป็นธรรมทีจ่ ะมีต่อแต่ละคน กรณีเป็นกำรกอ่ ให้เกิดควำมไมเ่ ป็นธรรมแกเ่ จำ้ หนำ้ ที่และยงั เป็น
กำรบั่นทอนกำลัง
2. กอ่ นมีการประกาศใช้ พ.ร.บ.ความรับผดิ เพอ่ื การละเมดิ ของเจ้าหนา้ ทฯี่ เดมิ ความรับผิดทางละเมิดของ
เจา้ หน้าท่ตี ่อบุคคลภายนอกและต่อหน่วยงานของรัฐอยภู่ ายใต้บังคบั ตามขอ้ ใด
1. คำส่ังนำยกรฐั มนตรี 2. ระเบียบกำรปฏิบัติงำนของรำชกำร
3. ประมวลกฎหมำยแพง่ และพำณชิ ย์ 4. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ 3. แนวคดิ ก่อนมกี ำรประกำศใช้ พ.ร.บ.ควำมรบั ผิดเพอื่ กำรละเมดิ ของเจำ้ หน้ำท่ีฯ เดิมควำมรับผดิ
ทำงละเมดิ ของเจำ้ หนำ้ ท่ตี ่อบุคคลภำยนอกและต่อหนว่ ยงำนของรฐั อยภู่ ำยใต้บังคบั ของ ประมวลกฎหมายแพง่ และ
พาณชิ ย์ ลกั ษณะละเมดิ เช่นเดยี วกบั ควำมรบั ผิดทำงละเมิดของเอกชน
3. การตราพ.ร.บ.ความรบั ผิดเพื่อการละเมิดของเจ้าหน้าท่ี ข้ึนมีเจตนารมณเ์ พ่อื แก้ไขปัญหาในเร่ืองสาคัญตาม
ข้อใด
1. ผตู้ อ้ งรบั ผิดชดใชค้ ่ำสินไหมทดแทนแกผ่ ู้เสียหำย
2. กำรใช้สทิ ธไิ ลเ่ บยี้ เอำจำกเจำ้ หน้ำท่ี
3. ควำมรับผดิ ของเจำ้ หน้ำที่ซึง่ รว่ มกนั กระทำละเมิด
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ การตราพ.ร.บ.ความรบั ผิดเพ่ือการละเมิดของเจ้าหนา้ ที่ ขึ้นมเี จตนารมณ์เพอื่
แกไ้ ขปัญหาในเรือ่ งสาคัญ ดังน้ี
1. ผตู้ อ้ งรบั ผิดชดใช้คำ่ สินไหมทดแทนแกผ่ ู้เสยี หำย
2. กำรใชส้ ทิ ธิไลเ่ บ้ยี เอำจำกเจำ้ หนำ้ ท่ี
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 40
------------------------------------------------------------------------------
3. ควำมรบั ผิดของเจำ้ หน้ำที่ซ่งึ ร่วมกนั กระทำละเมดิ
4. วธิ กี ำรเรยี กร้องค่ำสนิ ไหมทดแทน
5. ควำมเป็นธรรมและขวัญกำลงั ใจของเจ้ำหนำ้ ท่ี
4. พระราชบญั ญัตินีใ้ ห้ใช้บังคับต้ังแต่วนั ใด
1. พระรำชบัญญัตนิ ี้ให้ใช้บังคบั ตัง้ แต่วันถัดจำกวนั ประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำเปน็ ต้นไป
2. พระรำชบัญญัตนิ ี้ให้ใชบ้ ังคับตง้ั แต่เกำ้ สิบวนั ถัดจำกวนั ประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำเปน็ ต้นไป
3. พระรำชบญั ญัตนิ ี้ใหใ้ ชบ้ ังคับตั้งแต่รอ้ ยแปดสิบวันถดั จำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นต้นไป
4. พระรำชบญั ญัตนิ ้ใี หใ้ ช้บงั คับตัง้ แต่สำมร้อยหกสิบวันถัดจำกวันประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำเปน็ ตน้ ไป
ตอบ 1. แนวคิด มาตรา 2 พระรำชบัญญตั ิน้ีให้ใชบ้ งั คับ ต้งั แตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จา
นเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป
5. บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคบั ใด ๆ ในสว่ นทม่ี ีบัญญัติไวแ้ ลว้ ในพระราชบัญญัตนิ ้ีหรอื ซึ่งขัดหรอื แย้งกบั
บทแห่งพระราชบัญญัตนิ ี้ ให้มผี ลอย่างไร
1. โมฆะ 2. ให้ใชบ้ ังคับไดต้ ่อไป
3. ให้ใชพ้ ระรำชบัญญตั ินแี้ ทน 4. ไมม่ ขี ้อใดถกู
ตอบ 3. แนวคิด มาตรา 3 บรรดำกฎหมำย กฎ และข้อบงั คบั ใด ๆ ในส่วนทีม่ ีบัญญัตไิ ว้แลว้ ใน
พระรำชบัญญตั ินห้ี รอื ซงึ่ ขัดหรอื แยง้ กับบทแหง่ พระรำชบัญญัติน้ี ใหใ้ ช้พระราชบัญญัตนิ ้แี ทน
6. ในพระราชบัญญัติน้ี “เจ้าหน้าที่” หมายความตามข้อใด
1. ข้ำรำชกำร 2. พนักงำน ลูกจ้ำง
3. พนกั งำน ลูกจ้ำง หรือผ้ปู ฏิบัตงิ ำนประเภทอ่นื ไมว่ ำ่ จะเปน็ กำรแตง่ ต้งั ในฐำนะเปน็ กรรมกำรหรือฐำนะ
อ่ืนใด
4. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มาตรา 4 เจ้าหนา้ ที่ หมำยควำมวำ่ ข้าราชการ พนักงาน ลูกจา้ ง หรือผปู้ ฏบิ ัติงาน
ประเภทอ่นื ไม่วา่ จะเป็นการแตง่ ตัง้ ในฐานะเป็นกรรมการหรอื ฐานะอืน่ ใด
7. ในพระราชบัญญตั นิ ้ี “หน่วยงานของรัฐ” หมายความตามข้อใด
1. กระทรวง ทบวง กรม
2. รำชกำรสว่ นภูมิภำค รำชกำรสว่ นทอ้ งถน่ิ
3. รฐั วสิ ำหกจิ ที่ตัง้ ขึ้นโดยพระรำชบัญญัติหรือพระรำชกฤษฎกี ำ
4. ถกู ทุกข้อ
ตอบ 4. แนวคิด มาตรา 4 หน่วยงานของรัฐ หมำยควำมวำ่ กระทรวง ทบวง กรม หรอื สว่ นรำชกำรที่
เรยี กชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม รำชกำรส่วนภูมภิ ำค รำชกำรส่วนท้องถ่ิน และรัฐวสิ ำหกจิ ที่ตั้งขน้ึ โดย
พระรำชบญั ญตั ิหรือพระรำชกฤษฎกี ำ และให้หมำยควำมรวมถึงหน่วยงำนอน่ื ของรัฐที่มีพระรำชกฤษฎีกำ
กำหนดใหเ้ ป็นหนว่ ยงำนของรัฐตำมพระรำชบัญญัตนิ ้ีด้วย
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 41
------------------------------------------------------------------------------
8. ข้อใดผิด
1. พ.ร.บ. ควำมรับผิดเพื่อกำรละเมิดฯ เป็นกฎหมำยกลำงท่กี ำหนดหลักเกณฑ์ทวั่ ไปเกี่ยวกับควำมรับผิด
ทำงละเมดิ ของเจำ้ หน้ำที่
2. พ.ร.บ. ควำมรับผิดเพ่ือกำรละเมดิ ฯ ใช้บังคบั กับ “หน่วยงำนของรัฐ” ตำมท่ีได้นิยำมไว้ในมำตรำ 4
เท่ำนั้น
3. หำกหนว่ ยงำนของรัฐไม่อยู่ภำยใต้บทนยิ ำมในพ.ร.บ.น้ี ควำมรับผดิ เพ่ือกำรละเมิดของหนว่ ยงำนรัฐย่อม
เป็นไปตำมหลกั กฎหมำย ในประมวลกฎหมำยแพง่ และพำณชิ ย์
4. หำกหนว่ ยงำนของรัฐไมอ่ ย่ภู ำยใตบ้ ทนยิ ำมในพ.ร.บ.น้ีควำมรบั ผดิ เพ่อื กำรละเมดิ ของหนว่ ยงำนรัฐย่อม
เป็นไปคำสั่งของนำยกรัฐมนตรี
ตอบ 4. แนวคิด พ.ร.บ. ควำมรบั ผดิ เพื่อกำรละเมิดฯ เป็นกฎหมำยกลำงทกี่ ำหนดหลกั เกณฑท์ ั่วไป
เกี่ยวกบั ควำมรับผิดทำงละเมิดของเจำ้ หนำ้ ท่ี พ.ร.บ. ควำมรบั ผดิ เพื่อกำรละเมดิ ใชบ้ ังคับกับ “หน่วยงำนของรฐั ”
ตำมทไ่ี ดน้ ิยำมไว้ในมำตรำ 4 เทำ่ นั้น หำกหน่วยงำนของรัฐไม่อยู่ภำยใต้บทนิยำมในพ.ร.บ.น้ีควำมรับผดิ เพื่อกำร
ละเมดิ ของหน่วยงำนรัฐยอ่ มเปน็ ไปตำมหลกั กฎหมำยในประมวลกฎหมำยแพง่ และพำณิชยล์ กั ษณะละเมิด
เช่นเดียวกบั ควำมรับผิดทำงละเมดิ ของเอกชน
9. ขอ้ ใดเป็นราชการส่วนกลาง ตามพระราชบญั ญตั ินี้
1. กระทรวง ทบวง กรม 2. สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎกี ำ
3. สำนกั งำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน 4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคิด ราชการส่วนกลาง ไดแ้ ก่ กระทรวง ทบวง กรม รวมถึงส่วนราชการทเ่ี รยี กชอ่ื อย่างอน่ื
และมีฐานะเป็นกรม เช่น สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สานกั
งบประมาณ เป็นต้น
10. ขอ้ ใดไม่ใช่ราชการส่วนกลาง ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
1. สำนักพระรำชวัง 2. สำนกั งำนตำรวจแห่งชำติ
3. จังหวดั 4. ถกู ทุกขอ้
ตอบ 3. แนวคิด จังหวดั และอาเภอ เป็นราชการสว่ นภมู ิภาค
11. ขอ้ ใดเป็นราชการสว่ นท้องถิ่น
1. เทศบำล 2. อ.บ.ต.
3. เมืองพทั ยำ 4. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคิด ราชการส่วนท้องถิ่น ไดแ้ ก่ เทศบำล องคก์ ำรบริหำรสว่ นตำบล องค์กำรบริหำรสว่ น
จงั หวดั กรุงเทพมหำนคร และเมอื งพัทยำ
12. ข้อใดเปน็ รัฐวิสาหกิจท่ตี ง้ั ข้นึ โดยพระราชบญั ญัติ
1. กำรรถไฟแหง่ ประเทศไทย 2. กำรทำ่ เรือแหง่ ประเทศไทย
3. กำรประปำส่วนภูมิภำค 4. ถกู ทกุ ขอ้
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 42
------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 4. แนวคดิ รฐั วิสาหกิจทต่ี ั้งข้ึนโดยพระราชบัญญตั ิ เช่น กำรรถไฟแห่งประเทศไทย กำรทำ่ เรือแห่ง
ประเทศไทย กำรประปำสว่ นภูมิภำค ฯลฯ
13. ขอ้ ใด ไม่ใช่ รัฐวิสาหกจิ ที่ตัง้ ขึ้นโดยพระราชบญั ญัติ
1. กำรไฟฟำ้ ฝำ่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย 2. กำรเคหะแหง่ ชำติ
3. กำรทำงพิเศษแห่งประเทศไทย 4. องค์กำรขนสง่ มวลชนกรุงเทพ
ตอบ 4. แนวคดิ องคก์ ำรขนส่งมวลชนกรุงเทพ เป็นรัฐวสิ าหกจิ ทีจ่ ดั ต้งั ข้นึ โดยพระราชกฤษฎกี า
14. ขอ้ ใดเปน็ รัฐวิสาหกิจทตี่ ง้ั ขน้ึ โดยพระราชกฤษฎกี า
1. องค์กำรคลงั สนิ ค้ำ 2. องค์กำรกำรตลำดเพื่อเกษตรกร
3. องคก์ ำรอตุ สำหกรรมปำ่ ไม้ 4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคิด คาขึ้นตน้ ด้วย “องค์การ” สว่ นใหญจ่ ะเปน็ รฐั วิสาหกจิ ทีจ่ ัดตง้ั โดยพระราชกฤษฎกี า
สว่ นคาขน้ึ ตน้ ด้วย “การ” มักจะเป็นรฐั วิสาหกจิ ท่ีจดั ตงั้ ข้ึนโดยพระราชบญั ญัติ
15. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ ง เก่ยี วกบั “รฐั วสิ าหกิจที่ตั้งข้ึน โดยมติคณะรฐั มนตรี”
1. ไม่มีฐำนะเป็นนิติบคุ คล
2. เปน็ หน่วยงำนในสังกดั รำชกำรสว่ นกลำง
3. อยภู่ ำยใตบ้ ังคบั ของ พ.ร.บ.ควำมรบั ผดิ ทำงละเมิดฯ
4. ถกู ทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ เนื่องจำกรัฐวสิ ำหกิจท่ีจัดตัง้ ขึ้นโดยมติคณะรฐั มนตรีไมม่ ฐี ำนะเป็นนติ บิ ุคคล แต่เป็น
หน่วยงำนในสงั กดั รำชกำรสว่ นกลำง จึงตกอยู่ภำยใต้บงั คับของ พ.ร.บ.ควำมรับผดิ ทำงละเมดิ ฯ ในฐำนะที่เป็น
ส่วนหนงึ่ ของรำชกำรส่วนกลำง
16. ขอ้ ใดเป็นรัฐวิสาหกจิ ที่จัดตั้งโดยมติคณะรัฐมนตรี
1. โรงงำนยำสบู 2. โรงงำนไพ่
3. โรงพิมพต์ ำรวจ 4. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคดิ โรงงำนยำสูบและโรงงำนไพ่ เปน็ รัฐวิสำหกจิ ในสังกดั กระทรวงกำรคลงั
โรงพิมพ์ตำรวจเปน็ รัฐวสิ ำหกจิ ในสังกดั สำนักงำนตำรวจแห่งชำติ
17. ข้อใดเป็นรัฐวสิ าหกจิ ท่ตี ้ังขน้ึ ตามกฎหมายเอกชน
1. บริษัท ขนส่ง จำกัด 2. บรษิ ัทไทยเดินเรือทะเล จำกดั
3. บรษิ ัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด 4. ถูกทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ รัฐวสิ าหกิจทีต่ ัง้ ขนึ้ ตามกฎหมายเอกชน เช่น บรษิ ัท ขนส่ง จำกัด บรษิ ัทไทยเดินเรือ
ทะเล จำกัด บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด
18. ข้อใดกล่าวถูกตอ้ ง เกี่ยวกบั รัฐวสิ าหกจิ ทตี่ ัง้ ข้ึนตามกฎหมายเอกชน
1. มีฐำนะเป็นนิตบิ ุคคลเอกชน
2. อย่ภู ำยใต้บังคับของประมวลกฎหมำยแพง่ และพำณชิ ย์
3. อำจตัง้ ขึ้นตำม ป.พ.พ. หรอื ตำมพ.ร.บ.บริษัทมหำชนจำกดั
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 43
------------------------------------------------------------------------------
4. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคิด รัฐวิสาหกิจที่ต้ังขึน้ ตามกฎหมายเอกชน ยอ่ มมีฐานะเป็นนติ บิ ุคคลเอกชน
จงึ อยภู่ ำยใต้บงั คบั ของประมวลกฎหมำยแพง่ และพำณชิ ย์ อำจตั้งขึ้นตำม ป.พ.พ. เช่น บรษิ ัท ขนสง่ จำกดั บริษัท
ขนสง่ จำกดั หรือ ตำมพ.ร.บ.บริษทั มหำชนจำกดั เช่น บรษิ ัท ปตท.จำกดั (มหำชน) บรษิ ัท ธนำคำรกรงุ ไทย
จำกัด (มหำชน) เป็นต้น
19. หน่วยงานของรัฐตามข้อใด ไมใ่ ชห่ นว่ ยงานของรัฐตามมาตรา 4 แหง่ พระราชบญั ญตั ินี้
1. รฐั วิสำหกจิ ที่ตงั้ ขนึ้ ตำมกฎหมำยเอกชน 2. สำนักงำนทรพั ยส์ นิ สว่ นพระองค์
3. สำนักงำนทรัพยส์ ินสว่ นพระมหำกษตั รยิ ์ 4. ถูกทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคิด หนว่ ยงานใดไมต่ กอย่ภู ายใตบ้ ทนิยามในพระราชบัญญัตินี้ หนว่ ยงานนน้ั ย่อมไมใ่ ช่
หนว่ ยงานของรัฐ ตามมาตรา 4 แหง่ พระราชบญั ญตั ิความรับผิดทางละเมิดฯ เชน่ รัฐวิสำหกิจทีต่ ้งั ข้ึนตำม
กฎหมำยเอกชน สำนกั งำนทรพั ย์สินสว่ นพระองค์ สำนกั งำนทรัพยส์ นิ ส่วนพระมหำกษัตรยิ ์ เป็นต้น
20. ข้าราชการ ในพระราชบัญญัตินี้ มคี วามหมายตามข้อใด
1. บุคคลซง่ึ ได้รับกำรบรรจุตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยระเบยี บข้ำรำชกำรฝ่ำยนั้นๆ
2. บคุ คลซง่ึ ได้รับกำรแตง่ ตง้ั ตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยระเบยี บข้ำรำชกำรฝ่ำยนั้นๆ
3. ได้รบั เงินเดือนจำกงบประมำณหมวดเงินเดือน
4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคิด ขา้ ราชการ หมายถึง บุคคลซง่ึ ได้รับการบรรจุและแตง่ ตง้ั ตามกฎหมายว่าดว้ ยระเบียบ
ขา้ ราชการฝ่ายนั้นๆ โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดอื น
21. ขอ้ ใด เป็น “ขา้ ราชการ” ตามข้อ 20.
1. พนักงำนองคก์ ำรมหำชน 2. ข้ำรำชกำรครู
3. พนักงำนมหำวทิ ยำลัย 4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 2. แนวคิด ข้าราชการ หมายถึง บุคคลซ่งึ ไดร้ บั กำรบรรจแุ ละแตง่ ต้งั ตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยระเบยี บ
ขำ้ รำชกำรฝำ่ ยน้ันๆ โดยได้รับเงนิ เดือนจำกงบประมำณหมวดเงนิ เดือน เชน่ ขา้ ราชการครู ขา้ ราชการตารวจ
ข้าราชการทหาร ฯลฯ
22. ข้อใดเป็นความหมายทถ่ี ูกต้อง ของ “พนกั งาน” ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
1. บคุ คลซง่ึ ไดร้ ับกำรทำสัญญำจ้ำง โดยได้รับเงนิ เดือนจำกเงินงบประมำณหมวดเงินเดอื น
2. บุคคลซึง่ ได้รับกำรทำสญั ญำจำ้ ง โดยได้รบั เงนิ เดือนจำกเงินงบประมำณหมวดเงินอดุ หนุน
3. บุคคลซ่งึ ไดร้ ับเงนิ เดือนจำกเงนิ งบประมำณหมวดเงินเดอื น ไมว่ ่ำจะได้ทำสัญญำจ้ำงหรือไม่
4. บุคคลซึง่ ไดร้ ับเงินเดอื นจำกเงนิ งบประมำณหมวดเงินอุกหนุน ไมว่ ่ำจะได้ทำสญั ญำจ้ำงหรือไม่
ตอบ 2. แนวคดิ พนกั งาน หมายถึง บคุ คลซง่ึ ได้รบั การทาสัญญาจ้างให้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นพนักงานใน
หนว่ ยงานของรัฐ โดยได้รบั เงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงนิ อดุ หนนุ
23. ขอ้ ใด เปน็ “พนกั งาน” ตามข้อ 22. 2. ขำ้ รำชกำรสว่ นท้องถ่นิ
1. ขำ้ รำชกำรพลเรอื น