The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

eb นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สนง.กศน. สนง.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by venusjaree, 2021-10-16 02:10:09

eb นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สนง.กศน. สนง.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 64

eb นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สนง.กศน. สนง.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 64

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 294

------------------------------------------------------------------------------
1. กำรศกึ ษำข้อมลู เอกสำร หลักฐำนตำ่ ง ๆ

2. กำรสมั ภำษณบ์ ุคคลทเี่ ก่ยี วข้องตำ่ งๆ
3. แตง่ ตง้ั คณะกรรมกำร/คณะทำงำน

1. กำรศึกษำขอ้ มลู เอกสำร หลกั ฐำนตำ่ ง ๆ ไดแ้ ก่

- บันทึกขอ้ ควำมขออนมุ ตั โิ ครงกำร

- โครงกำร

- ภำพถ่ำยกจิ กรรม

- แบบสอบถำม

- ผลกำรประเมนิ โครงกำร

- กำรนำผลกำรจดั โครงกำรไปพฒั นำเปน็ องค์ควำมรู้

- รำยงำนกำรประชมุ

2. กำรสัมภำษณบ์ ุคคลที่เกยี่ วขอ้ งต่ำงๆ

- ผรู้ บั ผิดชอบโครงกำร

- ผู้รว่ มโครงกำร

- ผู้ไดร้ บั ผลกระทบจำกโครงกำร

ฯลฯ

3. แต่งต้ังคณะกรรมกำร/คณะทำงำน

เพ่อื ตดิ ตำมประเมนิ ผลโครงกำรตำ่ งๆ โดยให้รำยงำนผลกำรประเมินตอ่ คณะกรรมกำร

ทุกๆ 6 เดือนเป็นอยำ่ งนอ้ ย

ขน้ั ตอนการประเมินผลแผนงานและโครงการ

ประกอบด้วย

1.ขน้ั เตรยี มกำรได้แกก่ ำรจดั ตงั้ คณะกรรมกำรประเมนิ ผลเพือ่ รบั ผดิ ชอบกำรดำเนินงำนท้ังหมดช่วยในกำร

ประสำนงำนระหว่ำงฝำ่ ยต่ำงๆรวมทั้งดแู ลกำรดำเนินงำนประเมนิ ผลในรูปแบบเดียวกนั มิใช่ตำ่ งคนต่ำงทำ

2.กำรกำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของกำรประเมิน เพือ่ ให้เกดิ ควำมชดั เจนในกำรประเมิน เป็นต้นวำ่ ประเมิน

อะไร เมื่อใด เช่น จะประเมนิ ในลกั ษณะเปรยี บเทยี บประสิทธผิ ลของโครงกำรทต่ี ่ำงกัน หรือ ประเมินเฉพำะสมั ฤทธผิ ล

ของกล่มุ เปำ้ หมำย ควรจะประเมนิ ควำมพงึ พอใจของกลมุ่ เปำ้ หมำยควบคู่ไปกับกำรประเมินสมั ฤทธผิ ลของ

กลมุ่ เปำ้ หมำยวัตถุประสงคก์ ำรประเมนิ เพ่ืออะไร เช่น ผลกระทบจำกโครงกำร ซึง่ กำรกำหนดวตั ถุประสงค์ท่ชี ัดเจนจะ

นำไปสู่กำรกำหนดรปู แบบและขอบเขตกำรประเมิน

3.กำรกำหนดดชั นแี ละเกณฑ์กำรประเมินผลดชั นี คือตัวแปรท่ใี ช้ในกำรช้ีวัดกำรเปล่ยี นแปลงเชน่ ดัชนีของ

โครงกำรให้ภมู ิคุ้มกันโรคแกเ่ ดก็ ไดแ้ ก่ จำนวนและรอ้ ยละของเดก็ กลุ่มเปำ้ หมำยไดร้ ับวคั ซีนตำมเกณฑ์ทกี่ ระทรวง

กำหนด,ดัชนีในกำรประเมินผลกำรอบรมให้ควำมรู้ทำงสขุ ภำพส่วนใหญ่ ได้แก่ ควำมรู้ ควำมพงึ พอใจ ควำมเชอ่ื กำร

รับรู้ และพฤตกิ รรมของผู้เรียน นอกจำกนีด้ ชั นีอำจเปน็ กจิ กรรมโครงกำร เช่น วธิ กี ำรใหค้ วำมรู้ สอ่ื กำรใหค้ วำมรู้ เกณฑ์
กำรประเมินผล คอื ระดับของดชั นีทีต่ ้องกำรให้เกิดกำรเปลยี่ นแปลง โดยพจิ ำรณำจำกคะแนนจำกแบบสอบถำมที่

เพมิ่ ข้ึนจำนวนหรือรอ้ ยละของกลุม่ เปำ้ หมำยท่ีมคี วำมรหู้ รือมที กั ษะผำ่ นเกณฑท์ กี่ ำหนด ซ่ึงดัชนีกำรประเมนิ โครงกำร

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 295

------------------------------------------------------------------------------
ทำงสุขภำพสว่ นใหญ่มำจำกวัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรมในโครงกำร

4.กำรกำหนดวธิ ีกำรประเมนิ และเคร่อื งมือในกำรประเมินวิธีกำรประเมินและรปู แบบกำรประเมนิ พจิ ำรณำจำก
ขอบเขตและวัตถปุ ระสงค์กำรประเมินสว่ นเคร่อื งมือไดจ้ ำกกำรกำหนดดัชนแี ละเกณฑ์กำรประเมนิ ผล

5. กำรรวบรวมขอ้ มูล ประกอบด้วย กลุ่มเป้ำหมำยและจำนวนผถู้ กู เก็บข้อมลู ผปู้ ระเมนิ เป็นใครบำ้ ง ระยะเวลำที่

ประเมนิ เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในกำรประเมินคืออะไร

6. กำรวิเครำะหข์ อ้ มลู โดยก่อนกำรวิเครำะห์ต้องมีกำรตรวจสอบควำมถูกตอ้ งของขอ้ มลู เป็นลำดบั แรก หลังจำก

น้ันจึงทำกำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู ตำมลำดับข้นั คือ ควำมถ่ี รอ้ ยละ ค่ำเฉล่ีย สว่ นเบ่ียงเบนมำตรฐำน ฯลฯ กำรวเิ ครำะหแ์ ละใช้

สถติ ิขน้ึ อยกู่ ับวัตถปุ ระสงค์ของกำรประเมนิ และลกั ษณะของขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้

7. กำรสรปุ และนำเสนอผลกำรประเมิน ผู้ประเมินควรทำกำรสรปุ สำระสำคัญของกำรประเมินผลท่ีอำ่ นงำ่ ยๆ เชน่

นำเสนอเป็นกรำฟ รูปภำพ ควบคู่กบั รำยงำนโดยละเอยี ด เพื่อเสนอแกผ่ ทู้ ่เี กยี่ วขอ้ งต่อไป

การติดตามและประเมนิ ผล

1.1 กำรตดิ ตำม (Monitoring)

กำรตดิ ตำม หมำยถงึ กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลกำรปฏิบัติงำนอยำ่ งเปน็ ระบบ นำมำวิเครำะห์วำ่ เปน็ ไปตำมแผนที่

กำหนดไวห้ รอื ไม่ มปี ัญหำอปุ สรรคอย่ำงไร เพือ่ นำสำรสนเทศที่ได้ไปใช้ในกำรตัดสินใจแกไ้ ขปญั หำที่เกดิ ขน้ึ เพื่อให้

ไดผ้ ลงำนเป็นไปตำมเป้ำหมำยท่กี ำหนดไว้ จุดมุ่งหมำยของกำรติดตำม มีดงั นี้

1. เพ่อื ควบคุม กำกบั กำรดำเนินโครงกำรใหเ้ ปน็ ไปตำมแผนทีก่ ำหนดไว้

2. เพอ่ื ใหใ้ ช้ทรพั ยำกรตำ่ ง ๆ ของโครงกำรอยำ่ งเตม็ ท่ี คมุ้ ค่ำ และประหยัด

3. เพอ่ื ทรำบปัญหำ อปุ สรรค ขอ้ ขดั ข้องต่ำง ๆ ท่เี กดิ ข้นึ ตัง้ แต่ช่วงเริม่ ดำเนินโครงกำรและระหว่ำงดำเนนิ

โครงกำร

4. เพอ่ื หำแนวทำงแก้ไข ปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงปจั จัยนำเขำ้ กิจกรรม และข้ันตอนต่ำง ๆของโครงกำร

5. เพอ่ื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้โครงกำรบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ต่ี ั้งไว้

กระบวนการของการตดิ ตาม

กำรตดิ ตำมผลกำรปฏบิ ัติงำนสำมำรถดำเนินกำรไดใ้ นหลำยระดับ เชน่ ระดบั หนว่ ยปฏบิ ัติ หนว่ ยงำนท่ี

รับผดิ ชอบในกำรบริหำรโครงกำร หน่วยงำนกลำงทท่ี ำหนำ้ ทใี่ นกำรรวบรวมผลกำรปฏบิ ัติงำน เพ่อื สรปุ ผลกำร

ดำเนนิ งำนในภำพรวมขององค์กร กำรตดิ ตำมในแต่ละระดบั จะมคี วำมกวำ้ ง และควำมลึกของข้อมูลทแ่ี ตกตำ่ งกนั ใน

ที่นจ้ี ะนำเสนอในส่วนของกระบวนกำรตดิ ตำมของหนว่ ยงำนกลำง ซ่ึงมีขั้นตอนดังต่อไปนี้

1.ศึกษำโครงสรำ้ งแผนงบประมำณ ผลผลติ /โครงกำร กจิ กรรม แผนปฏบิ ัติงำน และหนว่ ยงำนที่รบั ผิดชอบ

2.ศึกษำควำมตอ้ งกำรของผใู้ ช้ขอ้ มูล จะตอ้ งรวู้ ่ำผใู้ ช้ข้อมลู คือใคร ตอ้ งกำรขอ้ มลู อะไร ควำมถี่ของข้อมลู เพ่ือ

นำมำวเิ ครำะห์ในกำรวำงระบบกำรติดตำมต่อไป

3.จดั ทำระบบกำรตดิ ตำม อำทิ จัดทำระบบกำรรำยงำนผลกำรปฏบิ ตั ิงำนผำ่ นเครอื ข่ำย (Web Site) เพื่อให้

หนว่ ยปฏิบตั ริ ำยงำนผลควำมก้ำวหน้ำของกำรดำเนินงำน กำหนดควำมถใ่ี นกำรรำยงำนผล เช่น ทุก 15 วนั กำหนด

ชว่ งเวลำให้หน่วยปฏิบัตบิ ันทึกข้อมูลผลกำรปฏบิ ตั งิ ำนเขำ้ ระบบ
4. ตรวจสอบควำมถูกต้อง และควำมเป็นไปไดข้ องขอ้ มลู ในระบบ จะดำเนินกำรตรวจสอบขอ้ มูลในระบบ

เพ่ือลดขอ้ ผิดพลำดของข้อมลู ที่เหน็ เดน่ ชดั โดยจะประสำนกบั หนว่ ยงำน

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 296

------------------------------------------------------------------------------
ทีร่ ับผดิ ชอบ เพ่อื ใหห้ น่วยงำนท่ีรับผดิ ชอบตรวจสอบขอ้ มูล และประสำนกับหนว่ ยปฏบิ ัตใิ นกำรรำยงำนผลเขำ้ ระบบ

5. ประมวลและวิเครำะหผ์ ลกำรปฏิบตั งิ ำน ดำเนินกำรประมวลผลข้อมลู จำกระบบ นำมำวเิ ครำะห์เปรียบเทยี บ
ควำมแตกต่ำงระหวำ่ งผลกำรดำเนนิ งำนกบั แผนและเปำ้ หมำย เพื่อชป้ี ระเดน็ ปญั หำอปุ สรรคที่ทำให้ผลกำรดำเนินงำน

ลำ่ ชำ้ และไมเ่ ปน็ ไปตำมแผน

6. จดั ทำสรุปผลกำรปฏบิ ัตงิ ำนของกรมประมง เปน็ รำยเดอื น เสนอผู้บริหำรและเผยแพร่ขอ้ มูลใน Web Page

อยำ่ งไรกต็ ำม ในกรณีทเ่ี ปน็ ควำมตอ้ งกำรของฝ่ำยบรหิ ำรท่ีต้องกำรขอ้ มลู ในเชิงลกึ พิเศษเฉพำะเร่ือง กำร

ตดิ ตำมจำเปน็ ทีจ่ ะต้องใชก้ ระบวนกำรสำรวจเพอื่ เก็บรวบรวมข้อมลู นำมำประมวล วิเครำะห์ และจดั ทำรำยงำน เป็น

รำยงำนกำรตดิ ตำมเฉพำะเรื่อง

1.2 การประเมนิ ผล (Evaluation)

กำรประเมินผล หมำยถงึ กระบวนกำรตัดสนิ คุณค่ำของแผนงำนหรอื โครงกำรโดยกำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู แล้ว

นำมำวิเครำะห์เพื่อนำผลมำเปรยี บเทียบกับเกณฑว์ ่ำบรรลุวตั ถปุ ระสงคท์ ีก่ ำหนดไวห้ รือไม่ เพยี งใด

จุดมุง่ หมำยของกำรประเมนิ ผล มีดังน้ี

1. เพอื่ ตรวจสอบผลสรุปทเี่ กิดข้ึนจรงิ ว่ำเป็นไปตำมวัตถุประสงค์ทค่ี ำดหวงั ไวห้ รือไม่เป็นกำรประเมนิ ผลที่

เนน้ จดุ มุ่งหมำย (Objective Based Evaluation)

2. เพอ่ื ใหไ้ ด้มำซึ่งขอ้ มูลสำรสนเทศสำหรับกำหนดและวินิจฉัยคุณค่ำของส่งิ ทเ่ี กดิ ขึน้ จำกโครงกำรน้ัน เปน็

กำรประเมนิ ผลที่เนน้ กำรตัดสินคณุ ค่ำ (Judgemental Evaluation)

3. เพ่ือใหไ้ ด้มำซงึ่ ขอ้ มูลและข่ำวสำรต่ำง ๆ เพื่อชว่ ยให้ผู้บริหำรใช้ในกำรตดั สินใจเลอื กทำงเลอื กต่ำง ๆ เปน็

กำรประเมนิ ผลท่เี น้นกำรตัดสินใจ (Decision-Oriented Evaluation) ที่มจี ดุ มุ่งหมำย

1.2.1 ประเภทของกำรประเมินผลโครงกำรตำมช่วงเวลำของกำรประเมนิ

ในกำรดำเนนิ งำนโครงกำร หำกต้องกำรใหป้ ระสบควำมสำเร็จตำมวัตถปุ ระสงค์ท่มี ุง่ หวงั ไวแ้ ล้ว โครงกำรนั้น

จำเปน็ ต้องมกี ำรวำงแผนทด่ี ีเพือ่ ใหโ้ ครงกำรน้นั มีควำมสอดคล้อง เหมำะสมกับสภำพแวดล้อมและควำมต้องกำรท่ี

แทจ้ รงิ ในขณะเดียวกนั ถึงแม้โครงกำรจะมกี ำรวำงแผนมำเปน็ อยำ่ งดีแลว้ ก็ตำม แตใ่ นช่วงระหวำ่ งกำรดำเนินงำน

โครงกำรอำจมีปัญหำ อุปสรรค หรือสิ่งที่ไม่คำดคดิ ไวเ้ กดิ ขน้ึ ทำใหผ้ ลลพั ธ์ของโครงกำรมโี อกำสเบย่ี งเบนไปจำก

วัตถุประสงค์ที่วำงไว้ ดังนั้น เพื่อเปน็ กำรปอ้ งกนั ปญั หำต่ำงๆ ท่จี ะส่งผลต่อควำมสำเรจ็ ของโครงกำร กำรประเมินผลจึง

ถกู นำมำใช้ในช่วงเวลำต่ำง ๆ ของโครงกำร ดังน้ี

1. กำรประเมนิ ผลก่อนกำรดำเนนิ งำนโครงกำร (Pre Evaluation) เป็นกำรประเมินกอ่ นท่ีจะทำโครงกำร ไดแ้ ก่
กำรประเมินควำมตอ้ งกำร หรือควำมจำเปน็ ในเบอ้ื งตน้ ก่อนท่จี ะทำโครงกำร กำรประเมนิ แบบนี้ เรียกอกี อย่ำงหนึง่ ว่ำ

กำรประเมนิ ควำมตอ้ งกำรจำเปน็ (Needs Assessment) และกำรประเมนิ เพอื่ พจิ ำรณำควำมเปน็ ไปได้ของโครงกำร หรือ

สิง่ ท่จี ะดำเนินกำร โดยศึกษำวิเครำะห์ถงึ ปจั จัยท่จี ำเปน็ ตอ่ ควำมสำเรจ็ ได้แก่ ควำมเปน็ ไปได้ทำงด้ำนเทคนคิ ดำ้ น

เศรษฐกิจ ดำ้ นสงั คม ดำ้ นสภำพแวดล้อม เป็นตน้ กำรประเมินผลแบบน้ี เรยี กอกี อยำ่ งหน่งึ ว่ำ กำรประเมินควำมเปน็ ไป

ได้ (Feasibility Study)

2. กำรประเมินผลระหวำ่ งดำเนินงำนโครงกำร (On-going Evaluation) เป็นกำรประเมินผลโครงกำรในขณะที่

มกี ำรดำเนนิ งำนโครงกำร หลังจำกท่ีมีกำรดำเนนิ โครงกำรไประยะหนงึ่ เพอื่ ทรำบควำมก้ำวหน้ำ ปัญหำอปุ สรรคในกำร

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 297

------------------------------------------------------------------------------
ดำเนินงำนโครงกำร เพ่อื นำผลไปใช้แก้ไขปรับปรุงโครงกำรให้สำมำรถดำเนนิ โครงกำรไดต้ ำมวตั ถปุ ระสงค์และ

เปำ้ หมำยทว่ี ำงไว้ กำรประเมินผลแบบน้ี เรยี กอกี อย่ำงหนง่ึ ว่ำ กำรประเมนิ ควำมก้ำวหน้ำ (Formative Evaluation)
3. กำรประเมินผลเมอ่ื เสรจ็ ส้นิ โครงกำร (Post Evaluation) เป็นกำรประเมินผลเมอ่ื โครงกำรเสรจ็ สน้ิ แล้ว เพอ่ื

ตดั สนิ ว่ำ กำรดำเนนิ โครงกำรประสบควำมสำเร็จบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้ำหมำยหรือไม่ มำกนอ้ ยเพียงใด ค้มุ ค่ำกับ

กำรลงทนุ หรือไม่ ผลของกำรประเมินจะช่วยในกำรตดั สินใจสำหรับโครงกำรใหม่ๆ ซ่งึ มีลักษณะเหมอื นหรือใกล้เคียง

กับโครงกำรทเี่ รำทำกำรประเมนิ ผลแล้ว กำรประเมินผลแบบน้ี เรยี กอกี อยำ่ งหนงึ่ วำ่ กำรประเมนิ ผลสรุปของโครงกำร

(Summative Evaluation) โดยทวั่ ไป กำรประเมินผลโครงกำร จะกระทำก็ต่อเมอ่ื

1.โครงกำรน้นั เป็นโครงกำรที่สำคัญ มีคำ่ ใชจ้ ำ่ ยสูง มีผลกระทบต่อระบบกำรปฏบิ ัติงำน

และตอ่ ประชำชนจำนวนมำก โดยเฉพำะอยำ่ งยิง่ เมอื่ โครงกำรน้ันยงั หำรูปแบบหรือแนวทำงท่ีแน่นอนไม่ได้ หรือยังไม่

แนใ่ จเกย่ี วกับแนวทำง กระบวนกำร ข้ันตอน หรือหลักเกณฑต์ ่ำง ๆ ของโครงกำร

2.โครงกำรน้ันมคี วำมสลับซับซ้อน ท้งั ในแง่กระบวนกำร ขั้นตอน หลกั เกณฑ์ และ

องคป์ ระกอบของโครงกำร ตลอดจนผล และผลกระทบของโครงกำร ซ่ึงทำให้ยำกแกก่ ำรสังเกตเชิงจติ วิสัย

(subjectivity) หำกไม่มีกำรจัดเกบ็ ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ (empirical data) ซ่งึ หมำยถงึ ข้อมลู ที่เปน็ จรงิ หรือพิสูจน์ได้วำ่

ข้อมูลเป็นจรงิ

3.มีควำมตอ้ งกำรหลักฐำนทำงข้อมูลที่ได้มกี ำรจัดเกบ็ อย่ำงถกู ต้องตำมหลกั วชิ ำกำร มคี วำมเป็นวัตถวุ สิ ยั

(objectivity) และหลกั ฐำนทำงขอ้ มูลเปน็ สิ่งจำเป็นในกำรที่จะทำใหท้ กุ คนยอมรบั ในควำมถูกตอ้ งของขอ้ สรปุ

4.กำรตดั สนิ ใจท่จี ะเกดิ ขึ้นมคี วำมสำคัญตอ่ สังคม ตอ่ ระบบงำน และเก่ยี วขอ้ งกบั เรือ่ งทม่ี ีคำ่ ใช้จำ่ ยสูง

1.2.2 กระบวนกำรของกำรประเมนิ ผล

มีกระบวนกำรดงั ตอ่ ไปนี้

1. ศึกษำควำมต้องกำรใชข้ องผ้ใู ช้ขอ้ มูลกำรประเมินผล ผู้ประเมนิ ผลจำเปน็ ต้องร้คู วำมต้องกำรของผู้ใชว้ ำ่

ตอ้ งกำรทรำบอะไรบำ้ ง เพ่ือป้องกนั กำรหลงประเดน็ ท่ีจะส่งผลให้เมื่อประเมินผลแล้วไม่สำมำรถตอบสนองควำม
ตอ้ งกำรของผู้ใช้ได้

2. ศกึ ษำรำยละเอียดของโครงกำร ในข้ันตอนนี้ ผทู้ ำหนำ้ ที่ในกำรประเมินจะต้องทำ ควำมเขำ้ ใจใน

รำยละเอยี ดของโครงกำรอย่ำงลกึ ซงึ้ ก่อน โดยเฉพำะวตั ถุประสงค์ของโครงกำรควรทำควำมเข้ำใจให้ชดั เจน กจิ กรรม

ต่ำง ๆ ของโครงกำรทต่ี อบสนองให้โครงกำรบรรลวุ ตั ถุประสงค์ ระยะเวลำกำรดำเนินงำน สภำพแวดล้อมของ

โครงกำร ตลอดจนผู้ที่มีสว่ นเกย่ี วข้องกบั โครงกำร เปน็ ตน้

3. กำหนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละขอบเขตทจ่ี ะประเมนิ ในกำรกำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของกำร

ประเมนิ ผลจะต้องกำหนดให้ชัดเจนว่ำ จะประเมินผลอะไรบ้ำง มขี อบเขตกำรประเมินอยู่เพยี งใด ทงั้ น้ี เพ่อื ใช้เป็น

ทศิ ทำงในกำรออกแบบกำรประเมินในขั้นตอนต่อไป

4. กำหนดตวั ชว้ี ดั และเกณฑท์ ่ีใชต้ ดั สินหรอื เปรยี บเทียบ สงิ่ ทีผ่ ู้ประเมนิ ผลจะตอ้ งใหค้ วำมสำคญั ในกำหนด

ตัวชีว้ ดั นน้ั คือ ตัวชี้วัดท่ถี ูกกำหนดต้องสำมำรถตอบวัตถปุ ระสงค์ของ กำรประเมินผลได้ และสำมำรถกำหนดเกณฑ์

กำรตดั สนิ หรอื เปรียบเทียบ เพ่อื ใหก้ ำรวัดทำได้อยำ่ งเป็นรปู ธรรมแสดงให้เหน็ ถงึ กำรเปล่ียนแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ อยำ่ ง

ชดั เจน

5. กำหนดวธิ กี ำรเก็บรวบรวมข้อมลู และวิธกี ำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูล เพ่อื ให้ได้มำซง่ึ ข้อมูล ตำมควำมเป็นจรงิ และ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 298

------------------------------------------------------------------------------
สำมำรถใช้เปน็ ตวั แทนประชำกรของโครงกำรได้ ดังนั้น ในขนั้ ตอนน้จี งึ เป็น อกี ข้ันตอนหนง่ึ ที่ผปู้ ระเมนิ ต้องให้
ควำมสำคัญในกำรเลอื กวิธกี ำรสุม่ ตวั อย่ำง วิธีกำรเก็บรวบรวมข้อมูล และเทคนิคกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู ให้มีควำม
สอดคลอ้ งกนั และต้องมคี วำมเหมำะสมกับลักษณะของโครงกำร

6. เกบ็ รวบรวมข้อมูล ตำมวิธีกำรทีไ่ ดก้ ำหนดแล้วในขน้ั ตอนท่ี 5 ก่อนกำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้ประเมิน
จะตอ้ งให้รำยละเอียดโครงกำรที่จะถูกประเมนิ วัตถปุ ระสงคก์ ำรประเมิน กลุ่มตวั อยำ่ ง ทีจ่ ะเปน็ แหลง่ ข้อมลู และท่ี
สำคัญ คอื แบบสัมภำษณ์ หรือแบบสงั เกตให้แกท่ มี ผู้ออกเกบ็ รวบรวมข้อมูลก่อน เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจให้ตรงกัน
สำมำรถเกบ็ รวบรวมข้อมลู ให้อย่ใู นประเด็นท่ตี รงตอ่ ควำมตอ้ งกำรนำมำใช้

7. ประมวลผล วิเครำะห์ขอ้ มูลและเปรียบเทียบกับเกณฑ์เพ่ือแสดงผลลัพธ์ ผปู้ ระเมินผลจะต้องจดั เตรยี ม
อุปกรณท์ ่ใี ช้ในกำรประมวลผลไวใ้ ห้พรอ้ ม เพ่ือประมวลผลและวิเครำะห์ขอ้ มูลให้เปน็ ไปตำมหลกั เกณฑ์โดยไมม่ อี คติ
หรอื ควำมลำเอยี ง
1.3 ความแตกตา่ งระหว่างการติดตามและการประเมินผล

กำรติดตำมและกำรประเมนิ ผล มคี วำมสมั พนั ธ์ซง่ึ กนั และกัน ขอ้ มลู ท่ีได้จำกกำรติดตำมสำมำรถนำไปใชใ้ น
กำรประเมนิ ผล อยำ่ งไรก็ตำมกำรติดตำมและกำรประเมินผลกย็ งั มลี ักษณะที่แตกต่ำงกนั ถำ้ พิจำรณำถงึ หนำ้ ทขี่ องกำร
ติดตำมและประเมนิ ผล กำรติดตำมน้ันเป็นหน้ำท่ที จี่ ะต้องทำอยำ่ งตอ่ เน่อื ง วัตถปุ ระสงค์หลักของกำรตดิ ตำมคอื
ตรวจสอบวำ่ โครงกำรได้ดำเนนิ กำรไปตำมแผนท่ีกำหนดไว้หรือไม่ ควบคุมกระบวนกำรดำเนนิ งำน และช้ีแนะปัญหำ
อุปสรรคทเ่ี กิดจำกกำรดำเนินงำน ข้อมลู กำรติดตำมเป็นข้อมูลเกี่ยวกบั ผลได้เบือ้ งต้นของโครงกำร ควำมก้ำวหนำ้ ของ
กำรดำเนินงำน ส่วนกำรประเมนิ ผลเปน็ หนำ้ ท่ที ่ีจะทำเป็นระยะ ๆ วัตถุประสงค์หลักของกำรประเมนิ ผลกค็ ือ วดั และ
วเิ ครำะห์ระดบั ควำมสำเร็จตำมวัตถปุ ระสงค์และเป้ำหมำยของโครงกำร กำรประเมินผลอำจทำ ณ ช่วงเวลำใดเวลำหน่ึง
เช่น กอ่ น, ระหวำ่ ง หรือหลงั จำกที่โครงกำรเสรจ็ สิน้ ลงแลว้ รำยงำนกำรประเมนิ ผลจะให้ประโยชนใ์ นแงก่ ำรปรบั ปรุง
โครงกำรเดิม และใช้ประโยชน์ในกำรจดั ทำโครงกำรใหม่ในอนำคต โดยสรุปกำรตดิ ตำมและกำรประเมนิ ผลมีหน้ำที่ที่
แตกต่ำงกนั ดงั น้ี

การติดตาม การประเมนิ ผล
– มีขอบเขตเฉพำะกำรเปล่ียนปัจจยั มำเป็น – เน้นถึงกำรบรรลุถึงวตั ถุประสงค์ของ

ผลได้เบอ้ื งตน้ ของโครงกำร โครงกำร
– ตรวจสอบควำมก้ำวหนำ้ ของผลได้เบ้อื งตน้ – วดั และวเิ ครำะห์ถงึ ผลไดข้ องโครงกำรซ่ึง

ตำมเป้ำหมำย รวมถึงผลไดเ้ บอ้ื งต้น ผลได้ระดบั กลำง
และผลได้ระดับสุดทำ้ ย
– รำยงำนสั้น ๆ และทำเปน็ ระยะ ๆ – รำยงำนประกอบดว้ ยรำยละเอียดกำร
วเิ ครำะห์เชงิ ลึก
– ใหค้ วำมสำคญั เฉพำะเรอ่ื งทสี่ ำคญั ตำมทไี่ ด้ – กำรวเิ ครำะห์มขี อบเขตทก่ี ว้ำงรวมถึงกำร
วำงแผนไว้ วเิ ครำะหผ์ ลที่เกดิ ขน้ึ โดยไม่ได้วำงแผน
– เปน็ หน้ำที่ทจ่ี ะตอ้ งทำเปน็ ระยะ ๆ หรือทำ
– เปน็ หนำ้ ที่ท่จี ะต้องทำอย่ำงตอ่ เนือ่ ง เพียงคร้ังเดียว

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 299

------------------------------------------------------------------------------
1.4 จรรยาบรรณของนกั ประเมนิ ผล

เนือ่ งจำกกำรประเมินผลเปน็ วิชำชีพท่มี ผี ลตอ่ สังคมและสำธำรณชน นักประเมนิ ผลจงึ ควรมจี รรยำบรรณ

เชน่ เดียวกับบุคคลท่ีประกอบวิชำชีพดำ้ นอ่นื ๆ อำทิ แพทย์ นกั จิตวทิ ยำ และนักวิจยั เป็นต้น จรรยำบรรณท่สี ำคัญซ่งึ นัก

ประเมินผลพงึ ปฏิบัติมดี งั ต่อไปนี้

1. ตอ้ งซอ่ื สตั ย์ต่อวชิ ำชพี นกั ประเมนิ ผลควรใชห้ ลกั วิชำกำรอยำ่ งตรงไปตรงมำ ไม่บิดเบอื นขอ้ มูล ไม่อ้ำงผล

เกินควำมจริง ตอ้ งอุทิศเวลำและทำหนำ้ ท่ีเต็มควำมสำมำรถ ไม่คำดวำ่ ผลจะตอ้ งเปน็ ผลบวกเสมอไป ขณะเดียวกันต้อง

ไมม่ อี คตติ ่อโครงกำรอันอำจจะนำไปสู่ควำมลำเอยี งของกำรประเมินได้

2. ตอ้ งมีควำมรับผิดชอบ นกั ประเมินผลต้องมีควำมรับผดิ ชอบต่อกำรปฏิบตั ิหน้ำท่ีของตน ในขณะเดยี วกันก็
ตอ้ งเคำรพสทิ ธิของสำธำรณชน และตระหนักถึงเหตผุ ลของผ้จู ัดทำโครงกำร โดยคำนึงถึงผลได้ ผลเสยี ของทุกฝ่ำย ไม่

ควรทำกำรติดตำมและประเมนิ ผลเพียงเพือ่ เอำใจผบู้ ริหำรโครงกำร หรอื เพ่อื ใหบ้ รรลนุ โยบำยเทำ่ น้นั แตต่ อ้ งปกป้องมิ

ใหม้ กี ำรนำผลไปใช้ในทำงท่ีผิด โดยคำนึงถงึ ผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นท่ีตัง้ นอกจำกน้ันควรตรงตอ่ เวลำ และรำยงำน

ผลให้ตรงตำมกำหนด เพ่อื ประโยชน์ในกำรนำไปใช้ให้สอดคล้องกบั เงือ่ นไขของเวลำหรอื เหตุกำรณท์ ีเ่ กยี่ วข้องตอ่ ไป

3. ตอ้ งรักษำควำมลบั อย่ำงเคร่งครดั นักประเมินผลเม่ือเก็บข้อมูลจำกผู้เกี่ยวข้องกบั โครงกำร ซ่ึงต้องปดิ บงั

เพอื่ ไมใ่ ห้เกดิ ผลเสยี หำยแก่ผู้ใหข้ ้อมลู หรอื ต้องประเมนิ ในเร่อื งที่มีควำมละเอียดอ่อน ทไ่ี มอ่ ำจเปิดเผย ควรมคี วำม

รอบคอบและตอ้ งระมดั ระวังโดยไมน่ ำมำกล่ำวถงึ

4. ตอ้ งไมล่ ะเมิดสทิ ธิเสรีภำพของผู้อ่นื ในกำรติดตำมรวบรวมขอ้ มูล ไมค่ วรเรยี กร้องหรอื ขเู่ ข็ญผู้เก่ยี วขอ้ ง

กบั โครงกำร แตค่ วรมีกำรเห็นพอ้ งต้องกนั โดยคำนึงถงึ ผลประโยชน์ทจ่ี ะเกิดขึ้น รวมทั้งข้อจำกัดตำ่ ง ๆ เป็นหลกั ถำ้ เป็น

โครงกำรทจ่ี ำเป็นตอ้ งรวบรวมขอ้ มูลจำกกลุ่มบุคคลที่ไม่ได้รับผลประโยชนโ์ ดยตรงจำกโครงกำร ก็ควรจะรวบรวม

ขอ้ มูลเหลำ่ นั้นจำกกลุ่มบุคคลที่สมคั รใจจะให้ ควำมรว่ มมอื โดยกลุม่ บคุ คลดงั กล่ำวจะต้องเข้ำใจวตั ถปุ ระสงค์ของ

โครงกำรเป็นอยำ่ งดี และควรจะตอบแทนบำ้ งตำมสมควร

5. ตอ้ งมีคณุ ธรรม นกั ประเมินผลตอ้ งมีคณุ ธรรม กล่ำวคือควรทำกำรประเมนิ เฉพำะโครงกำรทีจ่ ะก่อให้เกิด

คณุ คำ่ ไม่ควรทำกำรประเมนิ โครงกำรใด ๆ เพื่อเห็นแกส่ ินจำ้ งรำงวลั เปน็ ใหญ่ เปน็ ต้นวำ่ ไม่ควรทำกำรประเมนิ ผล

ตำมทผี่ บู้ รหิ ำรขอร้องให้กระทำ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตำมเงื่อนไขเท่ำนน้ั โดยไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ของสำธำรณชนและ

กำรส้นิ เปลืองงบประมำณ ในทำงตรงกนั ข้ำมจะตอ้ งตงั้ อยูบ่ นพ้นื ฐำนของควำมยุติธรรมแกท่ กุ ฝำ่ ยท่ีเก่ยี วขอ้ ง ตอ้ ง

รำยงำนผลตำมควำมเป็นจรงิ พรอ้ มทั้งชใ้ี หเ้ ห็นข้อจำกดั ประเด็นปัญหำ โดยนำมำอภิปรำยผลและใหข้ อ้ เสนอแนะท่ี

สร้ำงสรรค์ต่องำนและสงั คม

---------------------------------

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 300

------------------------------------------------------------------------------
แนวขอ้ สอบ หลักสตู รการสอน

1. ข้อใดเป็นจดุ หมำยของหลกั สูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำขัน้ พื้นฐำนพ.ศ. 2551

ก. มีควำมรู้ ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร กำรคดิ กำรแก้ปัญหำ

ข. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และคำ่ นิยมที่พงึ ประสงค์

ค. มสี ุขภำพกำยและสุขภำพจิตท่ดี ี มีสุขนิสัย และรักกำรออกกำลงั กำย

ง. ถกู ทกุ ข้อ

ตอบ ง.

2. องคป์ ระกอบของหลักสูตร ข้อใดกล่ำวผิด

ก. กระบวนกำรเรยี นกำรสอน ข. ควำมมุง่ หมำย

ค. กำรประเมนิ ผล ง. เนอื้ หำวชิ ำ

ตอบ ข. อธบิ าย หลกั สูตรประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ 4 องคป์ ระกอบ ดังนี้

1. ควำมมงุ่ หมำย (objective) ซงึ่ เปรียบเสมือนตวั กำหนดทศิ ทำงในกำรจดั กำรศึกษำ

2. เนอื้ หำ (Content)

3. กำรนำหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation)

4. กำรประเมนิ ผล (Evaluation)

3. ข้อใดคอื หัวใจของกำรนำหลักสตู รไปใช้

ก. เนื้อหำวิชำ ข. กำรสอน

ค. กำรวัดผล ง. กำรประเมนิ ผล

ตอบ ข. อธิบาย กำรนำหลกั สูตรไปใช้เป็นองคป์ ระกอบทสี่ ำคญั ยง่ิ เพรำะเป็นกิจกรรมทีจ่ ะแปลงหลกั สูตรไปส่กู ำร

ปฏบิ ัติ กจิ กรรมน้ันมหี ลำยลกั ษณะ แต่กิจกรรมทีส่ ำคญั ทสี่ ดุ คือกจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน หรืออำจกลำ่ วไดว้ ่ำ “กำร

สอนเปน็ หัวใจของกำรนำหลักสูตรไปใช้” ดังนน้ั ครผู ู้สอนจึงมบี ทบำทสำคญั ในฐำนะเป็นผู้จดั กระบวนกำรเรียนรู้ หำก

ครูศกึ ษำหลกั สูตรจนเขำ้ ใจ และสำมำรถดำเนินกำรจัดกำรเรยี นรู้ได้เป็นอยำ่ งดีย่อมทำให้หลกั สตู รเกดิ สมั ฤทธิ์ผล

4. “เน้นกำรถำ่ ยทอดเนอ้ื หำวิชำเปน็ หลกั ” เปน็ ลักษณะของหลักสูตรแบบใด

ก. หลักสตู รแบบสัมพันธ์วิชำ ข. หลักสูตรแบบเนอ้ื หำวชิ ำ

ค. หลักสตู รแบบกิจกรรมและประสบกำรณ์ ง. หลกั สตู รแบสหสัมพนั ธ์

ตอบ ข. อธบิ าย ลกั ษณะของหลักสตู ร

1. หลกั สูตรแบบเนอื้ หำวชิ ำ เปน็ หลักสตู รดง้ั เดมิ หรอื หลักสตู รเก่ำ ทีเ่ น้นกำรถ่ำยทอดเนอื้ หำวชิ ำท่เี ป็นหลัก เช่น

จัดเปน็ วชิ ำอ่ำนเอำเรอื่ ง เรยี งควำม ประวัติศำสตร์ ภมู ิศำสตร์ เขียนไทย คดั ไทย

2. หลกั สตู รแบบสัมพันธ์วชิ ำ เปน็ หลักสตู รทีม่ พี ื้นฐำนจำกหลักสตู รแบบเนือ้ หำวชิ ำ เปน็ กำรนำเน้อื หำวิชำที่มี

ลกั ษณะคลำ้ ยคลงึ กัน และมีส่วนเก่ยี วข้องสัมพันธ์กนั จดั ไว้ดว้ ยกัน

3. หลักสูตรแบบสหสมั พนั ธ์ ลักษณะของหลักสตู รแบบนมี้ ีจุดมุ่งหมำยจะผสมผสำนเนอ้ื หำวิชำ ทมี่ ลี ักษณะ
ใกลเ้ คยี งกัน หรอื สำขำเดียวกนั ให้มคี วำมสมั พันธร์ ะหว่ำงวิชำมำกขน้ึ ในลักษณะหมวดวชิ ำ

4. หลักสตู รกจิ กรรมและประสบกำรณ์ ลกั ษณะของหลกั สูตรนีต้ อ้ งกำรแก้ไข ข้อบกพรอ่ งของหลักสูตรแบบ

เนื้อหำวิชำ ทไ่ี ม่คำนงึ ควำมตอ้ งกำรและควำมสนใจของผ้เู รียน

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 301

------------------------------------------------------------------------------
5. ขอ้ ใดไม่ใช่ ลักษณะของหลักสตู รทีด่ ี

ก. หลกั สูตร ตอ้ งมีควำมยดื หยุ่น ข. หลักสูตร ต้องยดึ ผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลำง

ค. หลักสูตร ตอ้ งสอดคล้องกบั สภำพเศรษฐกจิ และสงั คม

ง. หลกั สตู ร ต้องเน้นให้ผเู้ รยี น ดี มีสุข

ตอบ ง. อธบิ าย ลกั ษณะของหลกั สตู รท่ีดี

รุ่งทวิ ำ จกั กรชิ ไดเ้ สนอลกั ษณะของหลักสูตรท่ดี ี ดังน้ี

1. ต้องสอดคล้องกบั สภำพสงั คม เศรษฐกจิ

2. ต้องยึดผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
3. จะตอ้ งอย่เู ปน็ รำกฐำนของหลกั กำร 2 อย่ำง คือใชป้ ระโยชน์ได้ และเป็นจริง หลักสูตรจงึ รวมสิ่งตำ่ งๆ ท่ีจำเปน็

ต่อชวี ติ และประจำวัน

4. หลกั สูตรจะตอ้ งมีควำมยดื หยนุ่

5. หลักสตู รท่ดี ีจะต้องประกอบดว้ ยกิจกรรมทม่ี วี ตั ถุประสงค์ และประสบกำรณท์ ่ีมีควำมหมำย

6. หลกั สตู รควรส่งเสรมิ ค่ำนยิ มในระบอบกำรปกครองของประเทศ ปลกู ฝงั ประชำธิปไตย

7. หลกั สตู รทีด่ ีตอ้ งช่วยให้เด็กมีกำรพัฒนำกำรในทุกดำ้ น ทัง้ กำย สตปิ ัญญำ อำรมณแ์ ละสงั คม

8. หลกั สตู รที่ดคี วรมผี ู้ร่วมทำหลำยฝำ่ ย เช่น นกั พัฒนำหลักสตู ร ผเู้ ชย่ี วชำญสำขำวิชำตำ่ งๆ

6. หลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำขน้ั พืน้ ฐำน ม่งุ ให้ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะสำคัญกปี่ ระกำร

ก. 4 ประกำร ข. 5 ประกำร ค. 6 ประกำร ง. 7 ประกำร

ตอบ ข.

7. หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพนื้ ฐำน พ.ศ. 2551 ม่งุ พฒั นำผู้เรยี นให้มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพื่อ

วัตถุประสงคต์ ำมข้อใด

ก. มจี ติ สำนึกในกำรอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญำไทย

ข. ให้สำมำรถอย่รู ่วมกันได้กับผอู้ ืน่ ในสังคมได้อยำ่ งมคี วำมสุข ในฐำนะเป็นพลเมอื งไทยและพลเมืองโลก

ค. มีควำมรกั ชำติ มจี ติ สำนกึ ในควำมเปน็ พลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง.

8. หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน กำหนดให้ผเู้ รียนเรียนรู้ ตำมขอ้ ใด

ก. 8 กลุ่มสำระ ข. 8 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ ค. 8 กลุม่ วิชำ ง. 8 วิชำ

ตอบ ข.

9. ตวั ชวี้ ัดชัน้ ปี เปน็ เปำ้ หมำยในกำรพฒั นำผ้เู รยี นแต่ละช้ันปีในระดับใด

ก. ชั้น ป.1- ป.3 ข. ช้ัน ป. 1- ป.6 ข. ชั้น ป.1- ม. 3 ง. ช้ัน ป.1-ม.6

ตอบ ค.
10. ตัวชีว้ ดั ช่วงชัน้ เปน็ เป้ำหมำยในกำรพฒั นำผู้เรยี นในระดับใด

ก. ช้ัน ป.1- ป.3 ข. ชั้น ป. 1- ป.6 ข. ชั้น ม.1- ม. 6 ง. ชน้ั ม.4-ม.6

ตอบ ง.

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 302

------------------------------------------------------------------------------
11. จำนวนเวลำเรยี น 40 ชัว่ โมง เทำ่ กับก่หี นว่ ยกิต

ก. 0.5 หนว่ ยกิต ข. 1 หนว่ ยกิต ค. 1.5 หน่วยกติ ง. 2 หนว่ ยกติ

ตอบ ข.

12. หลกั กำรสำคัญของหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 ขอ้ ใดกลำ่ วไมถ่ ูกต้อง

ก. เป็นหลักสูตรกำรศกึ ษำเพอ่ื ปวงชน ข. เป็นหลกั สูตรกำรศึกษำสำหรบั กำรศกึ ษำในระบบ

ค. เปน็ หลักสตู รกำรศึกษำท่สี นองกำรกระจำยอำนำจ

ง. เปน็ หลกั สตู รกำรศึกษำเพ่ือควำมเป็นเอกภำพของชำติ

ตอบ ข.

13. ขอ้ ใดไม่ใช่ กำรจดั ระดับกำรศึกษำ ตำมหลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน

ก. ระดับกอ่ นประถมศกึ ษำ ข. ระดบั ประถมศึกษำ

ค. ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น ง. ระดบั มัธยมศกึ ษำตอนปลำย

ตอบ ก.

14. กำรตดั สนิ ผลกำรเรียนตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำข้นั พืน้ ฐำนทั้งระดบั ประถมศกึ ษำและระดบั มัธยมศึกษำ

กำหนดเวลำเรียนของนักเรียนไว้เทำ่ ไรจงึ จะผ่ำนเกณฑ์

ก. ไม่น้อยกวำ่ รอ้ ยละ 60 ของเวลำเรียนทัง้ หมด ข. ไม่น้อยกว่ำร้อยละ 70 ของเวลำเรียนทง้ั หมด

ค. ไมน่ อ้ ยกว่ำรอ้ ยละ 80 ของเวลำเรียนทง้ั หมด ง. ไมน่ ้อยกว่ำรอ้ ยละ 90 ของเวลำเรียนท้งั หมด

ตอบ ค.

15. หลักสูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพนื้ ฐำน จดั ระดบั กำรศกึ ษำเปน็ กีร่ ะดับ

ก. 1 ระดบั ข. 2 ระดับ ค. 3 ระดับ ง. 4 ระดบั

ตอบ ค.

16. ขอ้ ใดไมเ่ ปน็ กำรจัดระดบั ตำมหลักสตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน

ก. ระดับประถมศึกษำ ข. ระดบั มัธยมศึกษำตอนตน้

ค. ระดับกำรศึกษำภำคบงั คับ ง. ระดบั มัธยมศึกษำตอนปลำย

ตอบ ค.

17. ระดับชน้ั ประถมศึกษำ มเี วลำเรยี นตำมข้อใด

ก. วนั ละไมเ่ กิน 3 ช่ัวโมง ข. วนั ละไมเ่ กิน 5 ชว่ั โมง

ค. วันละไม่น้อยกว่ำ 5 ช่ัวโมง ง. วันละไม่น้อยกว่ำ 6 ช่ัวโมง

ตอบ ข.

18. ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ มีเวลำเรียนตำมข้อใด

ก. วันละไมเ่ กนิ 5 ชัว่ โมง ข. วนั ละไมเ่ กนิ 6 ชว่ั โมง

ค. วนั ละไม่น้อยกวำ่ 5 ชว่ั โมง ง. วันละไม่นอ้ ยกวำ่ 6 ชั่วโมง

ตอบ ข.

19. ระดับชน้ั มัธยมศึกษำตอนปลำย มีเวลำเรยี นตำมขอ้ ใด

ก. วนั ละไม่เกนิ 5 ชว่ั โมง ข. วนั ละไมเ่ กิน 6 ชวั่ โมง

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 303

------------------------------------------------------------------------------

ค. วันละไม่น้อยกวำ่ 5 ชัว่ โมง ง. วนั ละไม่น้อยกว่ำ 6 ชัว่ โมง

ตอบ ง.

20. หลกั สตู รแกนกลำง สอดคลอ้ งกับแนวคิดของปรัชญำกำรศึกษำใด

ก. ปรัชญำปฏริ ปู นิยม ข. ปรัชญำอัตถภิ ำวนยิ ม

ค. ปรัชญำสำรัตถนิยมปฏริ ปู นยิ ม ง. ปรชั ญำพิพัฒนำกำรนิยม

ตอบ ก. อธบิ าย หลักสตู รแกนกลำงเกิดจำกแนวคิดของปรัชญำ ปรชั ญำปฏริ ปู นยิ ม

21. ข้อใดคอื จดุ มุ่งหมำยของกำรสอน

ก. เพือ่ ให้เด็กมคี วำมรู้ควำมสำมำรถ ข. เพือ่ ให้เดก็ นำไปใชไ้ ด้

ค. เพ่ือใหเ้ ด็กเกดิ กำรเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ง. เพื่อให้เดก็ สำมำรถแก้ปญั หำชวี ิตประจำวันได้

ตอบ ค.

22. กำรสอนแบบบรรยำยกบั กำรสอนแบบสำธิตมีควำมแตกต่ำงกันในขั้นตอนใดมำกท่ีสดุ

ก. ขั้นนำ ข. ข้ันสอน ค. ขั้นสรปุ ง. ขน้ั ประเมินผล

ตอบ ข.

23. เรำนำควรร้คู วำมสนใจ ไปใช้ในเร่อื งใด

ก. กำรจดั ครเู ขำ้ สอน ข. กำรทำโครงกำรสอน ค. กำรจดั ตำรำงสอน ง. กำรกำหนดคำบเวลำสอน

ตอบ ข.

24. กิจกรรมที่ผ้สู อนให้ควำมสำคัญแกผ่ เู้ รียนในวำมเปน็ เอกตั บุคคล ผ้สู อนยอมรับในควำมสำมำรถ ควำมคิดเห็น

ควำมแตกต่ำงระหวำ่ งบคุ คลของผู้เรียน มงุ่ ใหผ้ ้เู รียนไดพ้ ัฒนำตนเองให้เตม็ ศักยภำพมำกกวำ่ เปรยี บเทยี บแข่งขนั

ระหว่ำงกันโดยมคี วำมเชอื่ ม่ันผ้เู รียนทกุ คนมีควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ได้ และมีวธิ ีกำรเรียนรูท้ ่ีแตกต่ำงกัน ตรงกบั ขอ้

ใด

ก. Good Habit ข. Happiness ค. Construct ง. Individualization

ตอบ ง.

25. กำรสอนด้วยกระบวนกำรใด ที่ทำใหผ้ ู้เรียนมองเห็นคุณค่ำของกำรทำงำนรว่ มกนั

ก. กระบวนกำรแก้ปญั หำ ข. กระบวนกำรทำงสงั คม

ค. กระบวนกำรสรำ้ งควำมรู้ ง. กระบวนกำรเรยี นรูจ้ ำกประสบกำรณ์จริง

ตอบ ข.

26. กระบวนกำรเรยี นรทู้ ี่ประกอบด้วยกำรวำงแผน กำรปฏิบัติงำน กำรประเมินผล และกำรสรุปงำน เปน็

กระบวนกำรเรียนรใู้ นขอ้ ใด

ก. กระบวนกำรเรียนรจู้ ำกประสบกำรณจ์ ริง ข. กระบวนกำรสร้ำงควำมรู้

ค. กระบวนกำรแกป้ ัญหำ ง. กระบวนกำรจดั กำร

ตอบ ง.
27. ข้อใดไม่ใชค่ วำมหมำยของกำรสอนท่เี น้นกระบวนกำร

ก. สอนให้ผู้เรยี นสำมำรถทำตำมขั้นตอนได้

ข. สอนให้ผเู้ รียนไดท้ ดลอง ทดสอบ สงั เกต ปฏบิ ตั ิ เพื่อใหเ้ กิดกำรเรียนรู้

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 304

------------------------------------------------------------------------------
ค. สอนให้ผูเ้ รยี นรับรู้ขัน้ ตอนทั้งหมดจนนำไปใชไ้ ด้จรงิ ในสถำนกำรณ์ใหม่

ง. สอนให้ผ้เู รยี นเกดิ ทกั ษะในแตล่ ะขน้ั ตอนจนสำมำรถนำไปใช้ได้อย่ำงอัตโนมตั ิ

ตอบ ข.

28. หลักกำรขอ้ ใดท่สี ำคัญท่สี ดุ ในกำรเลือกใชส้ ่อื ในกำรจดั กำรเรยี นรู้

ก. เลอื กใช้สอ่ื ท่ีมีคณุ ภำพตำมเกณฑม์ ำตรฐำนของสื่อแตล่ ะประเภท

ข. เลือกใชส้ อ่ื ในกำรเรียนรอู้ ย่ำงหลำกหลำย

ค. เลือกใช้สอ่ื ทม่ี อี ยใู่ นทอ้ งถ่ิน ง. เลือกใชส้ อ่ื ที่หำไดง้ ่ำย

ตอบ ข.

29. ข้อใดเป็นกำรใชส้ อ่ื ของจริงแบบกระบวนกำรท่ีช่วยให้ผู้เรียนเรียนรอู้ ย่ำงมีควำมหมำย เชื่อมโยงสกู่ ำรนำไปใช้

ในชีวิตจรงิ

ก. กำรผลติ แชมพูสระผม ข. กำรใช้อนิ เตอร์เน็ตเรียนรู้

ค. กำรใช้สอ่ื ทำงไกลผำ่ นดำวเทยี ม ง. กำรเรียนรู้จำกภูมปิ ัญญำท้องถ่ิน

ตอบ ก.

30. ขอ้ ใดเปน็ ส่ิงสำคญั ที่สดุ ในกำรใช้ส่อื กำรเรยี นรอู้ ยำ่ งมีประสิทธิภำพ

ก. กำรเตรียมสภำพแวดล้อมใหเ้ อ้ือต่อกำรใช้สอื่ กำรเรียนรู้

ข. กำรเตรียมครูใหม้ ีควำมพร้อมในกำรใชส้ อ่ื กำรเรียนรู้

ค. กำรเตรียมควำมพร้อมของผเู้ รียน ง. กำรประเมนิ กำรใชส้ ่ือกำรเรียนรู้

ตอบ ข.

--------------------------

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 305

------------------------------------------------------------------------------

แนวข้อสอบ ส่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา

๑. วสั ดุ อปุ กรณ์ หรอื วิธีกำรใด ๆ กต็ ำมท่เี ปน็ ตัวกลำงในกำรถ่ำยทอดควำมรู้ ทัศนคติ ทักษะและประสบกำรณไ์ ปสู่

ผ้เู รยี น เป็นควำมหมำยของขอ้ ใด

ก. เทคนิคกำรสอน ข. วัสดุกำรสอน ค. ส่ือกำรสอน ง. นวตั กรรมกำรสอน

๒. ข้อใดกลำ่ วไมถ่ ูกตอ้ ง

ก. สื่อกำรเรยี นกำรสอนจะชว่ ยให้เดก็ ทมี่ ีประสบกำรณ์เดิมเหมอื นกนั เขำ้ ใจได้ใกล้เคียงกัน

ข. ส่อื กำรสอนจะขจดั ปญั หำเกยี่ วกบั เร่ืองสถำนที่ ประสบกำรณ์ตรงบำงอยำ่ ง หรือกำรเรียนรู้

ค. สื่อกำรสอนทำให้เดก็ ได้รบั ประสบกำรณ์ตรงจำกสิง่ แวดลอ้ มและสงั คม

ง. ส่อื กำรสอนทำใหเ้ ด็กมีมโนภำพเรมิ่ แรกอย่ำงถูกตอ้ งและสมบูรณ์

๓. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของสื่อกำรสอน

ก. ประเภทวสั ดุ ข. ประเภทอปุ กรณ์

ค. ประเภทเทคนคิ หรือวธิ กี ำร ง. ประเภทนวัตกรรม

๔. แผ่นใส เอกสำร ตำรำ จัดเปน็ ส่ือกำรสอนประเภทใด

ก. ประเภทวสั ดุ ข. ประเภทอุปกรณ์

ค. ประเภทเทคนิคหรือวธิ ีกำร ง. ประเภทคอมพวิ เตอร์

๕. ของจรงิ หุ่นจำลอง เคร่ืองเลน่ เทปเสยี ง จดั เป็นสอื่ กำรสอนประเภทใด

ก. ประเภทวสั ดุ ข. ประเภทอปุ กรณ์

ค. ประเภทเทคนิคหรือวิธกี ำร ง. ประเภทคอมพิวเตอร์

๖. กำรสำธติ กำรอภปิ รำยกลมุ่ กำรฝึกปฏิบัติ จัดเปน็ สือ่ กำรสอนประเภทใด

ก. ประเภทวัสดุ ข. ประเภทอปุ กรณ์

ค. ประเภทเทคนคิ หรอื วิธกี ำร ง. ประเภทคอมพิวเตอร์
๗. CAI จัดเป็นสอื่ กำรสอนประเภทใด

ก. ประเภทวสั ดุ ข. ประเภทอปุ กรณ์

ค. ประเภทเทคนคิ หรอื วิธกี ำร ง. ประเภทคอมพิวเตอร์

๘. คำคู่ใดสัมพันธ์กนั

ก. เอดกำร์ เดล - กรวยประสบกำรณ์ ข. อริสโตเตลิ - กรวยประสบกำรณ์

ค. บลมู - กรวยประสบกำรณ์ ง. ดวิ อ้ี - กรวยประสบกำรณ์

๙. กรวยประสบกำรณ์ของ เอดกำร์เดล มีกี่ขั้น

ก. ๖ ขนั้ ข. ๘ ขัน้ ค. ๑๐ ขนั้ ง. ๑๒ ขัน้

๑๐. กรวยประสบกำรณข์ อง เอดกำรเ์ ดล มีลกั ษณะอย่ำงไร

ก. เรยี งตำมลำดับจำกประสบกำณ์ทเ่ี ปน็ นำมธรรมไปสู่รูปธรรม

ข. เรียงตำมลำดบั จำกประสบกำรณ์ทเ่ี ป็นรปู ธรรมไปสู่นำมธรรม

ค. เรยี งขนำนกันไประหว่ำงประสบกำรณ์ทเ่ี ปน็ รปู ธรรมกับนำมธรรม

ง. ถูกทกุ ข้อ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 306

------------------------------------------------------------------------------

๑๑. กรวยประสบกำรณ์ของ เอดกำรเ์ ดล ประสบกำรณ์ใดทีร่ ับรู้ได้ง่ำยท่สี ุด

ก. ประสบกำรณ์นำฏกำร (Dramaticed Experiences) ข. ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbols)

ค. ประสบกำรณ์ตรง (Direct Experiences) ง. กำรสำธิต (Demonstration)

๑๒. กรวยประสบกำรณ์ของ เอดกำรเ์ ดล ประสบกำรณ์ใดทีร่ ับรูไ้ ดย้ ำกท่สี ดุ

ก. ประสบกำรณ์นำฏกำร (Dramaticed Experiences) ข. ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbols)

ค. ภำพน่ิง วทิ ยแุ ละกำรบันทกึ เสียง (Still Picture) ง. วจั นสัญลกั ษณ์ (Verbal Symbols)

๑๓. กำรแสดงละครเปน็ ประสบกำรณแ์ บบใด

ก. ประสบกำรณ์นำฏกำร (Dramaticed Experiences) ข. ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbols)

ค. ภำพนิง่ วทิ ยแุ ละกำรบนั ทึกเสยี ง (Still Picture) ง. วัจนสญั ลักษณ์ (Verbal Symbols)

๑๔. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของส่ือกำรเรยี นกำรสอนจำแนกตำมคุณสมบัติ ของ Wilbure Young

ก. ทศั นวสั ดุ ข. โสตทศั นวัสดุ

ค. เครอ่ื งมือหรอื อปุ กรณ์ ง. ประเภทคอมพวิ เตอร์

๑๕. เครอ่ื งรบั วทิ ยุ เป็นส่อื กำรสอนประเภทใด ตำมแนวคดิ สื่อกำรเรียนกำรสอนจำแนกตำมคุณสมบัติของ Wilbure

Young

ก. ทศั นวสั ดุ ข. โสตวัสดุ

ค. โสตทศั นวสั ดุ ง. เคร่ืองมือหรืออปุ กรณ์

๑๖. ภำพยนตร์ เป็นส่ือกำรสอนประเภทใด ตำมแนวคิดสอื่ กำรเรยี นกำรสอนจำแนกตำมคุณสมบัติของ Wilbure Young

ก. ทศั นวัสดุ ข. โสตวัสดุ

ค. โสตทศั นวสั ดุ ง. เคร่อื งมือหรืออุปกรณ์

๑๗. รูปภำพ เป็นสอ่ื กำรสอนประเภทใด ตำมแนวคดิ สือ่ กำรเรยี นกำรสอนจำแนกตำมคณุ สมบตั ิของ Wilbure Young

ก. ทศั นวสั ดุ ข. โสตวสั ดุ

ค. โสตทัศนวสั ดุ ง. เครอ่ื งมือหรืออปุ กรณ์

๑๘. ขอ้ ใดไม่ใช่ประเภทของสอื่ กำรสอนทจี่ ำแนกตำมรปู แบบของ Louis Shores

ก. สิง่ ตีพิมพ์ ข. วัสดุกกรำฟิก

ค. วัสดุฉำยและเคร่อื งฉำย ง. โสตวสั ดุ

๑๙. ขอ้ ใดไม่ใชแ่ มส่ ีหลัก

ก. สเี ขียว ข. สแี ดง ค. สเี หลือง ง. สนี ้ำเงนิ

๒๐. ข้อใดกล่ำวไมถ่ ูกตอ้ ง

ก. สแี ดง ผสมกบั สเี หลอื ง ไดส้ ีส้ม ข. สีแดง ผสมกับสนี ำ้ เงนิ ได้สีชมพู

ค. สเี หลอื ง ผสมกบั สนี ้ำเงนิ ไดส้ เี ขียว ง. แมส่ ีหลักมี ๓ สี คือสีแดง สีเหลอื ง สีน้ำเงิน

๒๑. ขอ้ ใดคอื แม่สที ำงวทิ ยำศำสตร์

ก. แดง เขยี ว มว่ ง ข. แดง เหลือง น้ำเงิน

ค. แดง เหลอื ง นำ้ เงิน เขยี ว ง. แดง เขยี ว น้ำเงนิ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 307

------------------------------------------------------------------------------
๒๒. ขอ้ ใดคอื แม่สีทำงจิตวิทยำ

ก. แดง เขยี ว มว่ ง ข. แดง เหลอื ง น้ำเงนิ
ค. แดง เหลอื ง นำ้ เงิน เขียว ง. แดง เขียว นำ้ เงนิ

๒๓. ข้อใดคือควำมหมำยของสแี ดง

ก. ควำมเขม้ แขง็ มีพละกำลงั , ควำมโกรธ, กิเลส ข. มิตรภำพ, เทศกำลพิเศษ, พน้ื ดนิ , วตั ถนุ ยิ ม

ค. พระอำทติ ย์, ฉลำด, เบำ, ควำมทรงจำ ง. ปลอดภัย, เช่ือถอื ได้, ฉลำด, มเี กียรติ

๒๔. ข้อใดคอื ควำมหมำยของสีฟำ้

ก. ควำมตำย, กำรปกป้อง, รงั เกยี จ, อำนำจ ข. อทิ ธิพล, ดวงตำทสี่ ำม, ทรงเจ้ำ, พลงั วเิ ศษ

ค. โชคดี, กำรติดตอ่ สือ่ สำร, ฉลำดเฉียบแหลม, กำรป้องกัน

ง. เทวดำ, สันตภิ ำพ, บริสทุ ธ์ิ, สำวบริสุทธิ์

๒๕. มติ รภำพ, เทศกำลพเิ ศษ, พื้นดิน, วัตถนุ ิยม, ควำมจริง, สะดวกสบำย คอื ควำมหมำยของสีใด

ก. สฟี ้ำ ข. สีขำว ค. สเี หลือง ง. สนี ้ำตำล

๒๖. หลักในกำรประดษิ ฐ์ตวั อักษรต้องคำนึงถงึ องคป์ ระกอบใด

ก. บทบำทของตวั อักษร ข. ตวั อักษรทเ่ี หมำะสมกับส่อื ตำ่ งๆ

ค. ขนำดของตวั อักษร ง. ถกู ทุกข้อ

๒๗. ระยะห่ำงจำกผู้ดกู ับขนำดของตัวอกั ษรควรมีระยะหำ่ งก่ฟี ุต

ก. ๒๔ ฟุต ข. ๓๒ ฟุต ค. ๔๘ ฟตุ ง. ๕๐ ฟตุ

๒๘. ตวั อกั ษรหัวกลมเหมำะกับงำนประเภทใด

ก. งำนทีเ่ ปน็ ทำงกำร ข. งำนออกแบบตำ่ ง ๆ

ค. หวั เรื่อง งำนโฆษณำ งำนเฉพำะทำง ง. งำนพธิ ตี ่ำง ๆ ของไทย

๒๙. ตวั อักษรแบบคดั ลำยมอื เหมำะกบั งำนประเภทใด ข. งำนออกแบบต่ำง ๆ
ก. งำนทเ่ี ปน็ ทำงกำร

ค. หัวเร่ือง งำนโฆษณำ งำนเฉพำะทำง ง. งำนพธิ ตี ่ำง ๆ ของไทย

๓๐. ตวั อกั ษรแบบไม่มีหัวเหมำะกบั งำนประเภทใด

ก. งำนท่เี ปน็ ทำงกำร ข. งำนออกแบบต่ำง ๆ

ค. หวั เรอ่ื ง งำนโฆษณำ งำนเฉพำะทำง ง. งำนพธิ ีต่ำง ๆ ของไทย

๓๑. ประกำศนยี บตั รควรใช้ตวั หนงั สอื แบบใด

ก. ตวั อกั ษรหัวกลม ข. ตัวอกั ษรแบบคัดลำยมือ

ค. ตวั อกั ษรประดษิ ฐ์ ง. ตวั อกั ษรแบบไมม่ ีหวั

๓๒. ข้อใดกล่ำวไมถ่ กู ต้องเก่ียวกับลักษณะของภำพท่คี วรใช้ในกำรเรียนกำรสอน

ก. ผู้เรียนชอบภำพสมี ำกกวำ่ ขำวดำ ข. ชอบภำพถ่ำยมำกกว่ำลำยเส้น

ค. ชอบภำพวำดมำกกวำ่ ภำพจริง ง. ชอบภำพงำ่ ย (สำหรับเดก็ เล็ก)

๓๓. ขอ้ ใดเปน็ ส่ือกำรสอนประเภทตั้งแสดง

ก. กระดำนชอล์ค ข. แผนภมู ิ ค. กำรสำธิต ง. กำรแสดงหุ่น

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 308

------------------------------------------------------------------------------
๓๔. ขอ้ ใดเปน็ สือ่ กำรสอนประเภทกรำฟคิ

ก. กระดำนชอลค์ ข. แผนภมู ิ ค. กำรสำธิต ง. กำรแสดงหุ่น

๓๕. กระดำนชอล์คจะตอ้ งอยู่ขอบล่ำงของสำยตำ ผ้เู รยี นนัง่ อยใู่ นอำณำกี่องศำ

ก. ๔๕ องศำ ข. ๖๐ องศำ ค. ๗๕ องศำ ง. ๙๐ องศำ

๓๖. กระเป๋ำผนงั เปน็ สือ่ กำรสอนที่มกั ใชส้ อนในเรือ่ งใด

ก. กำรบวกเลข ข. ประโยค ค. สถติ ิ ง. ข้ันตอนกำรทำชน้ิ งำน

๓๗. เครื่องฉำยสไลดเ์ ปน็ เคร่ืองฉำยวัสดุโปรง่ ใสระบบใด

ก. ระบบฉำยออ้ ม ข. ระบบฉำยขำ้ มศรี ษะ ค. ระบบฉำยตรง ง. ระบบฉำยย้อนกลบั

๓๘. “นวตั กรรม” มีรำกศพั ท์มำจำก innovare ในภำษำใด

ก. ลำตนิ ข. องั กฤษ ค. ฝรั่งเศส ง. มคธ

๓๙. ถ้ำผูส้ อนตอ้ งกำรฉำยภำพทีถ่ กู บันทึกไวเ้ ป็นชดุ ควรใช้สื่อในขอ้ ใด

ก. เครอื่ งฉำยสไลด์ ข. เครื่องฉำยภำพขำ้ มศีรษะ

ค. เครอื่ งฉำยฟลิ ์มสตริป ง. เครอ่ื งฉำยวัสดุทึบแสง

๔๐. นว แปลวำ่ อะไร

ก. ไม่ ข. ใหม่ ค. พฒั นำ ง. สื่อ

๔๑. ผู้ทก่ี ระทำ หรอื นำควำมเปล่ียนแปลงใหม่ ๆ มำใช้นี้ เรียกวำ่ อะไร

ก. นวตั กร ข. ผ้นู วตั ค. นวิ ัตกร ง . นวตั กรรม

๔๒. นวตั กรรมกำรศึกษำ หมำยถงึ อะไร

ก. กำรนำสง่ิ ประดษิ ฐม์ ำใชใ้ นกำรศึกษำ

ข. กำรนำเอำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มำใช้ในกำรศกึ ษำ

ค. นวัตกรรมท่จี ะชว่ ยให้กำรศึกษำ และกำรเรยี นกำรสอนมีประสทิ ธภิ ำพดีย่ิงขน้ึ
ง. กำรนำเครือ่ งมอื ใหม่ๆ มำใชใ้ นกำรศึกษำ

๔๓. ผู้ให้ควำมหมำย นวัตกรรม วำ่ เป็นกำรนำวิธกี ำรใหม่ ๆ มำปฏบิ ัติหลังจำกได้ผำ่ นกำรทดลองหรือได้รบั กำรพัฒนำ

มำเป็นขั้น ๆ แลว้ เร่มิ ตง้ั แตก่ ำรคดิ ค้น (Invention) กำรพัฒนำ (Development) คอื ใคร

ก. ทอมัส ฮิวช์ ข. ว้นุ ท์

ค. มอรต์ ัน ง. มอรแ์ กน

๔๔. ข้อใดคือระยะท่ี ๑ ของ นวตั กรรม

ก. มีกำรประดษิ ฐ์คิดค้น ข. หำเครือ่ งมือกำรพัฒนำ

ค. พฒั นำกำร ง. กำรนำเอำไปปฏิบตั ิในสถำนกำรณท์ ัว่ ไป

๔๕. ขอ้ ใดคือขอ้ สังเกตเกีย่ วกบั สงิ่ ท่ถี ือวำ่ เป็นนวตั กรรม

ก. เปน็ ควำมคดิ และกำรกระทำใหม่ทัง้ หมดหรือปรบั ปรงุ ดดั แปลงจำกทเี่ คยมีมำก่อนแล้ว

ข. ควำมคิดหรอื กำรกระทำนั้นมกี ำรพสิ ูจน์ดว้ ยกำรวจิ ยั และชว่ ยให้กำรทำงำนมปี ระสทิ ธิภำพสูงขึน้

ค. มกี ำรนำวธิ ีระบบมำใชอ้ ยำ่ งชัดเจน โดยพิจำรณำองค์ประกอบท้ัง ๓ สว่ น คือ

ขอ้ มลู ทใ่ี ส่เข้ำไป กระบวนกำร และผลลัพธ์

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 309

------------------------------------------------------------------------------
ง. ถูกทกุ ข้อ

๔๖. นวตั กรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ เพอ่ื สนองแนวคิดพ้นื ฐำน ควำมแตกต่ำงระหวำ่ งบุคคล (Individual Different) คือข้อใด

ก. กำรสอนเปน็ คณะ ข. มหำวิทยำลัยเปิด

ค. กำรเรียนทำงไปรษณีย์ ง. กำรเรยี นทำงวิทยุ

๔๗. นวัตกรรมทเี่ กดิ ข้ึนเพือ่ สนองแนวคิดพนื้ ฐำน ควำมพร้อม (Readiness) คือข้อใด

ก. เครือ่ งคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน ข. ศูนยก์ ำรเรยี น

ค. กำรจดั ตำรำงสอนแบบยืดหยุน่ ง. ชดุ กำรเรยี น

๔๘. ผู้ให้ควำมหมำยคำว่ำ เทคโนโลยี ว่ำมิใช่คน หรอื เครื่องจกั ร แต่เปน็ กำรจัดระเบยี บอนั มีบูรณำกำรและควำม

สลับซับซอ้ นของควำมคดิ คอื ใคร

ก. คำร์เตอร์ วี กู๊ด ข. ชำร์ลส์ เอฟ. โฮบำน

ค. ก่อศักดิ์ สวัสดิพำณชิ ย์ ง. เอคกำร์ เดล

๔๙. ข้อใดคือควำมหมำยของคำวำ่ เทคโนโลยี

ก. กำรนำเอำกระบวนกำร วธิ กี ำร และแนวควำมคดิ ใหม่ๆ มำใช้

ข. กำรนำเอำกระบวนกำรมำประยกุ ตใ์ ช้อย่ำงมรี ะบบ

ค. กำรนำเอำกระบวนกำร วธิ กี ำร และแนวควำมคดิ ใหมๆ่ มำใช้หรือประยกุ ต์ใชอ้ ย่ำงมีระบบ

ง. กำรนำเอำกระบวนกำร วธิ ีกำร และแนวควำมคิดใหม่ๆ มำใช้หรอื ประยกุ ต์ใช้อย่ำงมรี ะบบ เพ่อื ให้กำร

ดำเนนิ งำน เป็นไปอยำ่ งมีประสิทธิภำพ

๕๐. เทคโนโลยีทำงกำรศกึ ษำแบง่ เปน็ ก่ีระดับ

ก. ๒ ระดับ ข. ๓ ระดบั ค. ๔ ระดบั ง. ๕ ระดับ

๕๑. กำรใชเ้ ทคโนโลยีเป็นเครื่องชว่ ยกำรสอนของครู (Teacher's Aid) จดั อยูใ่ นเทคโนโลยีกำรศึกษำระดับใด

ก. ระดบั กำรจัดระบบกำรเรียนกำรสอน ข. ระดับวิธสี อน
ค. ระดับอุปกรณ์กำรสอน ง. ระดบั กำรเตรียมกำรสอน

๕๒. ข้อใดคอื บทบำทของเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมกำรศึกษำกบั กำรจัดกำรเรียนกำรสอน

ก. ช่วยให้ผเู้ รยี นเรยี นได้กวำ้ งขวำงมำกขน้ึ ไดเ้ ห็นหรือได้สัมผสั กบั สิง่ ทเ่ี รียนและผ้สู อนมีเวลำแก่ผู้เรียนมำกขนึ้

ข. สำมำรถสนองเร่ืองควำมแตกต่ำงระหวำ่ งบคุ คล

ค. ให้กำรจัดกำรศึกษำดีขึ้น มกี ำรค้นคว้ำ วจิ ัย ทดลอง คน้ พบวธิ กี ำรใหม่ ๆ

ง. ถูกทุกข้อ

๕๓. (CAI : Computer-Assisted Instruction) คอื อะไร

ก. มลั ตมิ เี ดยี ข. กำรประชมุ ทำงไกล

ค. ชุดกำรสอน ง. คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน

๕๔. หนังสือทีส่ รำ้ งขน้ึ ด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอรม์ ลี กั ษณะเป็นเอกสำรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ คือควำมหมำยของข้อใด

ก. บทเรียนสำเรจ็ รูป ข. E-learning ค. E – book ง. ชุดกำรสอน

๕๕. ข้อใดเปน็ สื่อกำรสอนประเภท มัลตมิ เี ดยี (Multimedia)

ก. กรำฟิก ข. บทเรียนสำเรจ็ รปู

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 310

------------------------------------------------------------------------------

ค. ค. E – book ง. คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน

๕๖. ชดุ กำรสอน (Learning Packages) คืออะไร
ก. กำรศกึ ษำทเี่ รียนรู้ผำ่ นเครือข่ำยอนิ เตอรเ์ นตโดยผ้เู รียนรูจ้ ะเรียนรู้

ข. บทเรียนที่ผ้สู อนจัดทำขึ้นเพอ่ื ใชเ้ ป็นเครื่องมือในกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรใู้ ห้ผเู้ รียนเรียนรู้ด้วยตนเอง

ค. กำรใชค้ อมพวิ เตอรร์ ่วมกบั โปรแกรมซอฟต์แวร์ในกำรสื่อควำมหมำยโดยกำรผสมผสำนสือ่ หลำยชนิด

ง. กำรนำเอำระบบส่ือประสม (Multi-media) ท่สี อดคลอ้ งกับเนื้อหำวิชำและประสบกำรณข์ องแตล่ ะหน่วย มำ

ชว่ ยในกำรเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมกำรเรยี นรู้

๕๗. เวบ็ ไซต์ เปรยี บได้กับอะไร

ก. หนังสือเลม่ หน่ึง ข. หนำ้ ปกหนงั สือ

ค. สว่ นสำคัญของหนังสอื ง. สำรบัญหนงั สือ

๕๘. โฮมเพจ เปรียบได้กับอะไร

ก. หนงั สือเล่มหนึง่ ข. หนำ้ ปกหนงั สอื

ค. หน้ำของเนอื้ หำในหนังสือ ง. สำรบัญหนังสอื

๕๙. เว็บเพจ เปรียบไดก้ บั อะไร

ก. หนังสือเล่มหนงึ่ ข. หนำ้ ปกหนงั สอื

ค. หน้ำของเนอ้ื หำในหนงั สอื ง. สำรบญั หนงั สอื

๖๐. E – contents คืออะไร

ก. สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ข. สำนักงำนอตั โนมัติ

ค. ระบบงำนสำรบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์ ง. เอกสำรประกอบกำรสอน

๖๑. E – office คอื อะไร

ก. สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ข. สำนกั งำนอัตโนมตั ิ
ค. ระบบงำนสำรบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ง. เอกสำรประกอบกำรสอน

๖๒. E – filing คอื อะไร

ก. ส่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ข. สำนกั งำนอตั โนมตั ิ

ค. ระบบงำนสำรบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ง. เอกสำรประกอบกำรสอน

๖๓. ศนู ย์ปฏิบัติกำรคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำนใช้ตัวยอ่ วำ่ อะไร

ก. OBEC ข. PMOC ค. MOC ง. DOC

๖๔. คำค่ใู ดไมส่ ัมพันธ์กัน

ก. MOC – กระทรวง ข. DOC – สพฐ.

ค. AOC – สพท. ง. SOC – ชั้นเรยี น

๖๕. ทฤษฎแี ห่งกำรเรยี นรู้สองประกำรคอื เรยี นตำมควำมรู้ควำมสำมำรถของผู้เรียนเองและกำรตอบสนองใน ควำม

แตกต่ำงระหวำ่ งบคุ คล ก่อใหเ้ กิดเทคโนโลยที ำงกำรศึกษำท่เี รยี กว่ำอะไร

ก. บทเรยี นสำเรจ็ รปู ข. E-learning

ค. E – book ง. ชดุ กำรสอน

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 311

------------------------------------------------------------------------------
เฉลย แนวขอ้ สอบ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

๑. ค. สื่อกำรสอน

๒. ก. สอ่ื กำรเรยี นกำรสอนจะชว่ ยให้เด็กที่มีประสบกำรณ์เดมิ เหมือนกันเขำ้ ใจได้ใกล้เคียงกัน

๓. ง. ประเภทนวัตกรรม

๔. ก. ประเภทวัสดุ

๕. ข. ประเภทอปุ กรณ์

๖. ค. ประเภทเทคนิคหรอื วธิ กี ำร

๗. ง. ประเภทคอมพิวเตอร์
๘. ก. เอดกำร์ เดล - กรวยประสบกำรณ์

๙. ค. ๑๐ ขัน้

๑๐. ข. เรียงตำมลำดบั จำกประสบกำรณ์ท่ีเป็นรูปธรรมไปส่นู ำมธรรม

๑๑. ค. ประสบกำรณต์ รง (Direct Experiences)

๑๒. ง. วัจนสญั ลกั ษณ์ (Verbal Symbols)

๑๓. ก. ประสบกำรณน์ ำฏกำร (Dramaticed Experiences)

๑๔. ง. ประเภทคอมพวิ เตอร์

๑๕. ข. โสตวสั ดุ

๑๖. ค. โสตทัศนวสั ดุ

๑๗. ก. ทัศนวัสดุ

๑๘. ง. โสตวัสดุ

๑๙. ก. สเี ขยี ว

๒๐. ข. สีแดง ผสมกับสีนำ้ เงิน ได้สชี มพู

๒๑. ก. แดง เขยี ว ม่วง

๒๒. ค. แดง เหลือง นำ้ เงนิ เขยี ว

๒๓. ก. ควำมเขม้ แขง็ มพี ละกำลงั , ควำมโกรธ, กเิ ลส

๒๔. ค. โชคดี, กำรตดิ ตอ่ สอื่ สำร, ฉลำดเฉียบแหลม, กำรปอ้ งกัน

๒๕. ง. สีน้ำตำล
๒๖. ง. ถูกทกุ ขอ้

๒๗. ข. ๓๒ ฟตุ

๒๘. ก. งำนที่เป็นทำงกำร

๒๙. ง. งำนพธิ ตี ่ำง ๆ ของไทย

๓๐. ข. งำนออกแบบตำ่ ง ๆ

๓๑. ข. ตัวอกั ษรแบบคัดลำยมือ

๓๒. ค. ชอบภำพวำดมำกกวำ่ ภำพจรงิ

๓๓. ก. กระดำนชอลค์

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 312

------------------------------------------------------------------------------
๓๔. ข. แผนภูมิ

๓๕. ข. ๖๐ องศำ
๓๖. ข. ประโยค

๓๗. ค. ระบบฉำยตรง

๓๘. ก. ลำตนิ

๓๙. ค. เคร่อื งฉำยฟิล์มสตริป

๔๐. ข. ใหม่

๔๑. ก. นวัตกร

๔๒. ค. นวตั กรรมที่จะชว่ ยให้กำรศึกษำ และกำรเรยี นกำรสอนมีประสิทธิภำพดยี ่ิงขนึ้

๔๓. ก. ทอมัส ฮิวช์

๔๔. ก. มีกำรประดษิ ฐค์ ิดคน้

๔๕. ง. ถูกทกุ ขอ้

๔๖. ก. กำรสอนเปน็ คณะ

๔๗. ข. ศูนย์กำรเรียน

๔๘. ข. ชำรล์ ส์ เอฟ. โฮบำน

๔๙. ง. กำรนำเอำกระบวนกำร วิธกี ำร และแนวควำมคดิ ใหม่ๆ มำใชห้ รอื ประยุกต์ใชอ้ ย่ำงมีระบบ เพอ่ื ให้กำร

ดำเนนิ งำน เป็นไปอยำ่ งมีประสิทธภิ ำพ

๕๐. ข. ๓ ระดับ

๕๑. ค. ระดับอุปกรณ์กำรสอน

๕๒. ง. ถูกทกุ ข้อ

๕๓. ง. คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน
๕๔. ค. E – book

๕๕. ก. กรำฟกิ

๕๖. ง. กำรนำเอำระบบสอื่ ประสม (Multi-media) ทีส่ อดคลอ้ งกบั เนอ้ื หำวิชำและประสบกำรณข์ องแต่ละหนว่ ย มำ

ชว่ ยในกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมกำรเรียนรู้

๕๗. ก. หนงั สอื เลม่ หนง่ึ

๕๘. ข. หนำ้ ปกหนังสือ

๕๙. ค. หนำ้ ของเนอ้ื หำในหนงั สือ

๖๐. ก. ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์

๖๑. ข. สำนักงำนอัตโนมัติ

๖๒. ค. ระบบงำนสำรบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์

๖๓. ก. OBEC

๖๔. ง. SOC – ชนั้ เรียน

๖๕. ข. E-learning

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 313

------------------------------------------------------------------------------

แนวขอ้ สอบ การวจิ ัยทางการศึกษา

๑. ขอ้ ใดคือจดุ ประสงค์ของกำรวจิ ยั

ก. เพอื่ ค้นควำ้ หำคำตอบในเรื่องทีย่ งั ไมร่ ู้
ข. เพือ่ ศกึ ษำหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปรำกฏกำรต่ำงๆท่ีเกิดขึ้น

ค. เพื่อสรำ้ งหลักเกณฑ์ ทฤษฎีและแนวคิดใหมๆ่

ง. ถูกทกุ ข้อ

๒. ขอ้ ใดเป็นประเภทของกำรวจิ ัยทแี่ บง่ ตำมประโยชน์กำรนำผลไปใช้

ก. กำรวจิ ยั พ้นื ฐำนหรอื กำรวิจยั บรสิ ทุ ธิ์ กำรวจิ ยั ประยกุ ต์ และกำรวิจยั เชงิ ปฏบิ ัติกำร

ข. กำรวิจัยขั้นสำรวจ กำรวจิ ัยเชิงบรรยำย กำรวิจัยเชงิ อรรถำธบิ ำย กำรวจิ ัยเชงิ คำดคะเน

และกำรวิจยั เชิงวนิ ิจฉยั

ค. กำรวิจัยเชงิ ทดลอง กำรวจิ ัยเชิงกง่ึ ทดลอง และกำรวจิ ยั เชงิ ธรรมชำ

ง. กำรวจิ ยั เชิงประวัติศำสตร์ กำรวิจยั เชิงบรรยำย และกำรวิจยั เชงิ ทดลอง

๓. ขอ้ ใดเปน็ ประเภทของกำรวจิ ยั ทีแ่ บ่งตำมระเบียบวธิ ีกำรวจิ ยั

ก. กำรวจิ ัยพื้นฐำนหรือกำรวิจัยบรสิ ทุ ธ์ิ กำรวจิ ัยประยกุ ต์ และกำรวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ ำร

ข. กำรวิจยั ข้ันสำรวจ กำรวจิ ัยเชงิ บรรยำย กำรวจิ ัยเชงิ อรรถำธบิ ำย กำรวจิ ยั เชงิ คำดคะเน และกำรวจิ ัยเชงิ วินจิ ฉยั

ค. กำรวิจัยเชิงทดลอง กำรวิจยั เชิงกงึ่ ทดลอง และกำรวิจัยเชิงธรรมชำ

ง. กำรวจิ ัยเชิงประวัติศำสตร์ กำรวิจยั เชงิ บรรยำย และกำรวิจยั เชิงทดลอง

๔. กำรวจิ ยั ข้ันสำรวจ จำกกำรแบง่ ประเภทกำรวิจยั ตำมวตั ถุประสงคแ์ ละกำรนำเสนอขอ้ มูล หมำยถงึ ข้อใด

ก. เป็นกำรวิจัยที่ต้องกำรรวบรวมขอ้ มลู พื้นฐำนเบ้ืองตน้ เพ่ือหำข้อเทจ็ จรงิ ตำ่ งๆ เกยี่ วกับเร่ืองน้นั เทำ่ นนั้

ข. เป็นกำรวจิ ัยท่ตี อ้ งกำรหำคำตอบว่ำอะไรและอยำ่ งไรมำกกวำ่ ทต่ี อ้ งกำรหำคำตอบวำ่ ทำไม รวมทั้งไม่มีกำร

คำดคะเนปรำกฏกำรณ์ในอนำคต
ค. เป็นกำรวจิ ยั ทีพ่ ยำยำมช้ีหรืออธิบำยใหเ้ หน็ วำ่ ตวั แปรใดมีควำมสมั พนั ธ์ หรอื เกีย่ วข้องกบั ตวั แปรใดบ้ำง และ

ควำมสมั พนั ธ์นั้นมลี ักษณะอย่ำงไร

ง. เปน็ กำรวจิ ัยเพอ่ื ค้นหำสำเหตขุ องปัญหำที่เกิดขึ้น จะได้นำไปแกไ้ ขป้องกนั ไดถ้ ูกตอ้ ง

๕. กำรวิจัยท่ีแบ่งตำมลกั ษณะของขอ้ มูลมี ๒ ประเภทอะไรบำ้ ง

ก. กำรวิจยั เชิงสำรวจ กำรวจิ ยั เชิงยอ้ นรอย

ข. กำรวิจัยเชิงประวตั ิศำสตร์กำรวจิ ยั เชิงปริมำณ

ค. กำรวจิ ัยเชงิ ปริมำณ กำรวิจัยเชงิ คณุ ภำพ

ง. กำรวิจยั เชงิ ประเมนิ ผล กำรวิจยั เชิงคณุ ภำพ

๖. กำรหำควำมสมั พันธ์เชงิ เหตุผลของปรำกฏกำรณ์ตำ่ ง ๆ โดยดำเนินกำรเพือ่ วัดผลอย่ำงเป็นระเบียบ

เป็นรูปแบบกำรวิจัยแบบใด

ก. กำรศึกษำเฉพำะกรณี ข. กำรศกึ ษำแบบสำรวจ

ค. กำรศกึ ษำแบบกำรทดลอง ง. กำรศึกษำแบบกงึ่ ทดลอง

๗. ข้อใดเรยี งลำดับขั้นตอนในกำรวจิ ยั ได้ถูกต้อง

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 314

------------------------------------------------------------------------------
ก. ตัง้ สมมตฐิ ำน กำหนดปัญหำ ทดลองและเกบ็ ข้อมูล วิเครำะห์ข้อมูล สรุปผล

ข. กำหนดปัญหำ ต้งั สมมตฐิ ำน ทดลองและเก็บข้อมลู วิเครำะหข์ อ้ มลู สรปุ ผล
ค. กำหนดปญั หำ ต้ังสมมติฐำน รวบรวมขอ้ มูล เก็บขอ้ มูล สรปุ ผล

ง. ตง้ั สมมติฐำน กำหนดปญั หำ รวบรวมขอ้ มูล เกบ็ ข้อมลู สรุปผล

๘. ขน้ั ตอนสดุ ท้ำยของกำรวจิ ัยคือข้อใด

ก. สรปุ ผล ข. อภิปรำยผล

ค. รำยงำนผล ง. หำข้อบกพร่อง

๙. สิง่ ท่จี ะทำใหก้ ำรวจิ ยั เป็นไปตำมลำดับข้ันตอนคืออะไร

ก. กำรกำหนดปัญหำได้ชดั เจน ข. มกี ำรเขียนเค้ำโครงกำรวจิ ัย

ค. มีผูร้ ่วมทำกำรวิจยั หลำยคน ง. เน้ือหำกำรวจิ ัยไม่ซับซ้อน

๑๐. ขอ้ ใดเปน็ ประโยชน์ของกำรเขียนเคำ้ โครงกำรวิจยั

ก. เพอ่ื ใช้เป็นกรอบในกำรดำเนนิ กำรตำมแนวทำงทเ่ี สนอ โดยไมห่ ลงทำงหรือทำเกินขอบเขตท่ไี ด้กำหนดไว้

ข. สำหรับไว้ติดตำมควำมก้ำวหนำ้ และประเมินผลกำรดำเนินงำนวจิ ัย

ค. เป็นขอ้ มูลสำหรบั ผูร้ ูใ้ หข้ อ้ เสนอแนะ และปรบั ปรุงคุณภำพงำนวจิ ัย

ง. ถกู ทกุ ข้อ

๑๑. ข้อใดกลำ่ วไมถ่ ูกตอ้ งเกี่ยวกับกำรตั้งช่ืองำนวิจยั

ก. ควรระบชุ ือ่ ตวั แปรสำคัญ ข. ควรตั้งเปน็ คำถำม

ค. ควรระบุกลมุ่ เป้ำหมำย ง. ควรบอกวธิ ีวิจยั อยำ่ งคร่ำว ๆ

๑๒. ขอ้ ใดคอื หลักสำคัญในกำรเขยี นวตั ถปุ ระสงค์กำรวจิ ยั

ก. ตอ้ งเปน็ ที่เข้ำใจตรงกันของผูว้ ิจยั กบั กลุ่มเปำ้ หมำย

ข. ต้องเป็นคำงำ่ ยๆ ไม่ซับซอ้ น
ค. ตอ้ งใหส้ อดคลอ้ งกับชือ่ เรอ่ื ง

ง. ต้องกำหนดตวั แปลลงไปในวตั ถุประสงคท์ กุ คร้ัง

๑๓. ข้อใดคือลกั ษณะของงำนวจิ ัยทีด่ ใี นด้ำนของควำมชดั เจน แจม่ แจง้ ไม่กำกวม

ก. Correctness ข. Clarity ค. Concise ง. Consistency

๑๔. กำรสำมำรถเพ่มิ หรอื ลดจำนวนตัวอยำ่ งไดโ้ ดยไมท่ ำให้ผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมูลผิดพลำด คอื ตวั อย่ำงท่ีมลี กั ษณะ

อย่ำงไร

ก. มคี วำมยืดหยุ่น ข. มีควำมนำ่ เชือ่ ถอื ได้

ค. มกี ำรทดแทน ง. มีประสิทธิภำพ

๑๕. กำรสมุ่ ตวั อย่ำงจำกหนว่ ยยอ่ ยของประชำกรที่มีลกั ษณะใกล้เคยี งกนั เป็นลกั ษณะกำรส่มุ ตวั อยำ่ งแบบใด

ก. วธิ ีเลือกกลุ่มตัวอย่ำงแบบสุม่ ตำมระดับขน้ั ข. กำรเลอื กกลมุ่ ตวั อยำ่ งแบบมีระบบ

ค. กำรเลือกตัวอยำ่ งแบบ (Area or Cluster Sampling) ง. วธิ เี ลือกกลุม่ ตวั อย่ำงแบบสมุ่ อยำ่ งงำ่ ย

๑๖. กำรส่มุ ตวั อย่ำงประชำกรแบบทป่ี ระชำกรอย่รู วมกันเป็นกลุม่ ๆ (Cluster) โดยแต่ละกลมุ่ มีลักษณะภำยในกลมุ่ ท่ี

หลำกหลำย เป็นลักษณะกำรสุ่มตัวอย่ำงแบบใด

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 315

------------------------------------------------------------------------------

ก. วธิ เี ลอื กกลุ่มตัวอย่ำงแบบสุ่มตำมระดับข้นั ข. กำรเลือกกลมุ่ ตัวอย่ำงแบบมีระบบ

ค. กำรเลือกตวั อย่ำงแบบ (Area or Cluster Sampling) ง. วธิ เี ลือกกลุ่มตวั อยำ่ งแบบสมุ่ อย่ำงง่ำย
๑๗. ข้อใดจัดเป็นกำรเลือกตัวอย่ำงแบบ Non-probability Sampling

ก. กำรเลอื กกลุ่มตัวอย่ำงแบบมรี ะบบ ข. วธิ ีเลอื กกลมุ่ ตวั อยำ่ งแบบสุม่ ตำมระดบั ข้นั

ค. เลือกโดยกำหนดโควตำ ง. กำรเลอื กกลมุ่ ตัวอยำ่ งแบบสุ่มหลำย ๆ ขั้น

๑๘. ตวั แปรทใ่ี ช้ในกำรวิจยั มีอะไรบ้ำง

ก. ตัวแปรต้น ตวั แปรตำม ข. ตวั แปรต้น ตวั แปรตำม ตัวแปรควบคุม

ค. ตวั แปรตน้ ตัวแปรตำม ตัวแปรควบคุม ตัวแปรอิสระ

ง. ตวั แปรตน้ ตัวแปรตำม ตวั แปรควบคมุ ตัวแปรอสิ ระ ตวั แปรคงที่

๑๙. ตวั แปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมตฐิ ำน เปน็ ตวั แปรที่เรำเปลยี่ นไปเพื่อจะดผู ลท่ตี ำมมำ คือตัวแปรประเภทใด

ก. ตัวแปรต้น ข. ตวั แปรตำม ค. ตวั แปรควบคมุ ง. ตัวแปรคงที่

๒๐. ตวั แปรทเี่ ปลี่ยนไปตำมตัวแปรตน้ คือตัวแปรประเภทใด

ก. ตวั แปรตน้ ข. ตัวแปรตำม ค. ตัวแปรควบคุม ง. ตัวแปรคงท่ี

๒๑. ตัวแปรทสี่ ง่ ผลต่อกำรทดลอง อำจทำให้กำรทดลองของเรำคลำดเคลือ่ น คอื ตวั แปรประเภทใด

ก. ตวั แปรตน้ ข. ตวั แปรตำม ค. ตวั แปรควบคุม ง. ตัวแปรคงท่ี

ใช้ข้อควำมตอ่ ไปนต้ี อบคำถำมข้อ ๒๒ – ๒๕

เด็กชำยมังกรต้องกำรศึกษำวำ่ ดนิ ตำ่ งชนิดกันมีผลตอ่ ควำมสูงของต้นพชื หรือไม่ ทำกำรทดลองโดยปลูกต้นถัว่

เขียว ลงในกระถำงท่ีมขี นำดเท่ำๆกนั โดยกระถำงแต่ละใบใส่ดนิ ๓ ชนิดคือ ดนิ เหนียว ดินรว่ น ดนิ ทรำย รดนำ้ ปกติ ทำ

กำรทดลองเป็นเวลำสองสัปดำห์

๒๒. ตัวแปรตน้ คืออะไร

ก. ชนิดของดนิ ท่ใี ชป้ ลูกตน้ ถ่ัวเขียว ข. ควำมสูงของต้นถั่วเขยี ว
ค. พันธ์ุของถ่วั เขียวท่ีปลกู , ปริมำณน้ำทรี่ ด,ปรมิ ำณแสง ง. กระถำง

๒๓. ตวั แปรตำมคอื อะไร

ก. ชนดิ ของดินทใี่ ชป้ ลูกต้นถั่วเขียว ข. ควำมสงู ของต้นถั่วเขยี ว

ค. พันธุ์ของถั่วเขียวทป่ี ลกู , ปรมิ ำณน้ำทีร่ ด,ปริมำณแสง ง. กระถำง

๒๔. ตัวแปรควบคุมคอื อะไร

ก. ชนิดของดินทใี่ ชป้ ลูกต้นถ่ัวเขียว ข. ควำมสูงของต้นถัว่ เขียว

ค. พนั ธ์ุของถวั่ เขยี วทปี่ ลูก, ปรมิ ำณนำ้ ทร่ี ด,ปรมิ ำณแสง ง. กระถำง

๒๕. กำรตงั้ สมมติฐำนแบ่งได้เปน็ กีป่ ระเภท

ก. ๒ ประเภท ข. ๓ ประเภท ค. ๔ ประเภท ง. ๕ ประเภท

๒๖. ข้อใดคือลักษณะของสมมุติฐำนทดี่ ี

ก. ตอ้ งสอดคล้องกับจดุ มุ่งหมำยกำรวจิ ัย ข. ต้องสอดคล้องกบั สภำพควำมเปน็ จรงิ ทีร่ ้กู ันอยู่ทั่วไป

ค. สำมำรถทดสอบไดด้ ว้ ยขอ้ มลู หรือหลกั ฐำน ง. ถูกทุกขอ้

๒๗. ขอ้ ใดเปน็ ประเภทของข้อมูลในกำรวิจยั

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 316

------------------------------------------------------------------------------

ก. ข้อมูลเชิงปริมำณ ข้อมลู เชงิ สถติ ิ ข. ขอ้ มูลเชงิ ปรมิ ำณ ข้อมลู เชิงคณุ ภำพ

ค. ขอ้ มูลเชงิ คณุ ภำพ ข้อมูลเชิงสถติ ิ ง. ขอ้ มูลเชิงปรมิ ำณ ขอ้ มลู เชงิ สัญลกั ษณ์
๒๘. ส่งิ ทีใ่ ชว้ ัดตัวแปรเพอ่ื ให้ได้ผลกำรวัดเรยี กว่ำอะไร

ก. ขอ้ มลู ข. สถติ ิ ค. เครอ่ื งมือ ง. ปรมิ ำณ

๒๙. เคร่อื งมือท่ีดีจะตอ้ งมลี ักษณะอย่ำงไร

ก. ตอ้ งมีควำมเที่ยงตรง ข. ตอ้ งมคี วำมเท่ียงตรง มคี วำมเช่ือถือได้

ค. ต้องมีควำมเท่ียงตรง มีควำมเชือ่ ถือได้ มปี ระสิทธภิ ำพ

ง. ตอ้ งมีควำมเทย่ี งตรง มีควำมเชอื่ ถอื ได้ มปี ระสทิ ธิภำพ มีอำนำจจำแนก

๓๐. กำรวัดได้คงทแ่ี นน่ อนไม่เปลย่ี นไปเปล่ียนมำไม่ว่ำจะวัดกี่ครงั้ กห่ี น เมอื่ ไร ที่ไหน เรียกว่ำเครอื่ งมือมีลกั ษณะ

อยำ่ งไร

ก. มีควำมเท่ียงตรง ข. มีควำมเช่ือถือได้

ค. มปี ระสทิ ธภิ ำพ ง. มอี ำนำจจำแนก

๓๑. สำมำรถแบ่งแยกหรือชไี้ ดว้ ่ำ กล่มุ ตัวอยำ่ งหรือประชำกรทเ่ี รำศึกษำ มที ัศนคติดีหรอื ไมด่ ีตำ่ งกนั ได้ เรยี กวำ่

เครอื่ งมือมีลกั ษณะอยำ่ งไร

ก. มคี วำมเทีย่ งตรง ข. มีควำมเช่อื ถอื ได้ ค. มีประสทิ ธิภำพ ง. มีอำนำจจำแนก

๓๒. คำ่ P ของข้อสอบทเ่ี หมำะสมจะนำมำใช้คือมีค่ำเทำ่ ใด

ก. ๐.๐๐ – ๑.๐๐ ข. ๐.๒๐ – ๐.๘๐ ค. ๐.๓๐ – ๐.๗๐ ง. ๑.๐๐ ข้ึนไป

๓๓. ถำ้ คำ่ r มีค่ำเป็นลบ แสดงวำ่ อะไร

ก. ข้อสอบขอ้ น้ันคนเกง่ ทำได้ คนอ่อนทำไมไ่ ด้ ข. ขอ้ สอบขอ้ นั้นทั้งคนเก่งและคนอ่อน ทำไม่ได้

ค. ขอ้ สอบขอ้ นัน้ คนเก่งทำไม่ได้ คนอ่อนทำได้ ง. ข้อสอบขอ้ น้ันทงั้ คนเกง่ และคนออ่ น ทำได้

๓๔. ดชั นีควำมสอดคล้องระหว่ำงข้อคำถำมกับจุดประสงค์ใชอ้ กั ษรยอ่ ภำษำอังกฤษวำ่ อะไร
ก. IOS ข. IOT ค. IOD ง. IOC

๓๕. ขอ้ คำถำมท่ีมีค่ำดัชนีควำมสอดคล้องระหวำ่ งขอ้ คำถำมกับจดุ ประสงค์เปน็ เท่ำไรจึงควรพิจำรณำปรับปรงุ หรือ

ตัดท้งิ

ก. ตำ่ กว่ำ ๑.๐๐ ข. ตำ่ กวำ่ ๐.๘๐ ค. ต่ำกว่ำ ๐.๗๐ ง. ตำ่ กว่ำ ๐.๕๐

๓๖. ข้อใดคือหลกั เกณฑ์ในกำรสรำ้ งเครือ่ งมอื

ก. สรำ้ งควำมเขำ้ ใจอนั ดแี กผ่ ้ตู อบคำถำม ข. มกี ำรกำหนดขอบขำ่ ยของข้อคำถำม

ค. กำรจดั ลำดบั ขอ้ คำถำมเปน็ ไปอย่ำงเหมำะสม ง. ถูกทกุ ขอ้

๓๗. ขอ้ ใดไม่ใชข่ ้ันตอนกำรวิเครำะหข์ ้อมูล

ก. ขั้นตอนกำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล (Collection Data) ข. ขั้นตอนกำรนำเสนอขอ้ มูล (Presentation of Data)

ค. กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูล (Analysis of Data) ง. กำรบรรยำยข้อมูล (Descriptive of Data)

๓๘. ขอ้ ใดไมใ่ ช่มำตรกำรวัดระดบั ของตวั แปร

ก. มำตรำนำมบัญญตั ิ ข. มำตรำสัดส่วน ค. มำตรำอนั ตรภำค ง. มำตรำอัตรำส่วน

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 317

------------------------------------------------------------------------------
๓๙. ข้อใดกล่ำวไมถ่ กู ตอ้ งเก่ียวกับสถติ ิท่ีใชใ้ นกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู

ก. สถิติเชิงบรรยำยเป็นกำรวิเครำะห์ข้อมูลแล้วสรุปผลจำกกลมุ่ ตวั อยำ่ ง
ข. สถติ เิ ชิงบรรยำยจะสำมำรถอำ้ งองิ ไปถึงกลุม่ อื่น

ค. สถติ ิเชงิ อ้ำงอิงเปน็ กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู ที่ไดม้ ำจำกกลุ่มตวั อยำ่ ง

ง. สิถติ เิ ชิงอ้ำงอิงจะใชอ้ ำ้ งอิงไปยังกลุ่มประชำกรท้ังหมดได้ด้วย

๔๐. สถติ ิที่ไมม่ ีกำรทดสอบนัยสำคญั ทำงสถิติคือสถติ ปิ ระเภทใด

ก. สถิตเิ ชิงอำ้ งองิ ข. สถิติเชิงตัวเลข ค. สถติ ิเชงิ ขอ้ มูล ง. สถิตเิ ชิงบรรยำย

๔๑. ข้อใดคอื วัตถปุ ระสงคข์ องกำรเขยี นรำยงำนกำรวิจยั

ก. เป็นหลักฐำนรำยงำนแสดงคุณค่ำของงำนวิจัย

ข. เป็นเครอ่ื งเชือ่ มโยงองคค์ วำมร้ทู ีม่ ีมำแตเ่ ดมิ กับผลงำนวิจยั ทีน่ ักวจิ ัยไดท้ ำข้ึน

ค. เปน็ สำรสนเทศสำหรับผูเ้ ก่ียวข้อง หน่วยงำน ผู้สนใจ เพอื่ นำไปใช้ประโยชน์

ง. ถูกทกุ ขอ้

๔๒. เร่ืองใดทนี่ ำมำเขียนในส่วนของเน้อื หำกำรวจิ ยั บทท่ี ๑

ก. เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นกำรวิจัย ข. ขอ้ ตกลงเบอ้ื งต้น

ค. เอกสำรและงำนวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้อง ง. กำรรวบรวมขอ้ มูล

๔๓. สำรบญั ตำรำง จะนำไปเขียนในสว่ นใด

ก. บทที่ ๑ ข. ส่วนนำ

ค. ส่วนเนอ้ื หำ ง. สว่ นเอกสำรอำ้ งองิ

๔๔. สว่ นเน้อื หำของกำรวจิ ัย มีก่บี ท

ก. ๓ บท ข. ๔ บท ค. ๕ บท ง. ๖ บท

๔๕. ข้อใดคอื จรรยำบรรณของนักวจิ ยั
ก. นกั วจิ ยั ตอ้ งมพี น้ื ฐำนควำมรใู้ นสำขำวชิ ำกำรทที่ ำกำรวจิ ัย

ข. นักวจิ ยั ตอ้ งมีควำมรบั ผิดชอบต่อสิ่งท่ศี ึกษำวจิ ัย ไมว่ ำ่ จะเป็นสิง่ ทม่ี ีชีวติ หรอื ไม่มชี วี ติ

ค. นักวิจัยตอ้ งเคำรพศักด์ิศรี และสิทธขิ องมนษุ ย์ท่ีใช้เป็นตวั อยำ่ งในกำรวิจยั

ง. ถูกทกุ ขอ้

เฉลย แนวขอ้ สอบ การวจิ ยั ทางการศึกษา

๑. ง. ถูกทกุ ข้อ

๒. ก. กำรวจิ ยั พื้นฐำนหรือกำรวิจัยบริสุทธ์ิ กำรวิจยั ประยกุ ต์ และกำรวิจยั เชิงปฏิบัตกิ ำร

๓. ง. กำรวิจยั เชิงประวัตศิ ำสตร์ กำรวิจยั เชงิ บรรยำย และกำรวิจัยเชิงทดลอง

๔. ก. เป็นกำรวิจัยทตี่ ้องกำรรวบรวมขอ้ มลู พืน้ ฐำนเบอ้ื งตน้ เพ่ือหำขอ้ เทจ็ จรงิ ต่ำงๆ เกย่ี วกบั เรื่องนั้นเท่ำนนั้

๕. ค. กำรวจิ ยั เชงิ ปรมิ ำณ กำรวิจยั เชงิ คณุ ภำพ

๖. ค. กำรศกึ ษำแบบกำรทดลอง

๗. ข. กำหนดปญั หำ ต้งั สมมติฐำน ทดลองและเกบ็ ข้อมลู วเิ ครำะหข์ อ้ มูล สรุปผล

๘. ก. สรุปผล

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 318

------------------------------------------------------------------------------
๙. ข. มกี ำรเขยี นเค้ำโครงกำรวจิ ยั

๑๐. ง. ถกู ทกุ ขอ้
๑๑. ข. ควรตง้ั เปน็ คำถำม

๑๒. ค. ต้องใหส้ อดคลอ้ งกับช่อื เรื่อง

๑๓. ข. Clarity

๑๔. ก. มีควำมยืดหยุ่น

๑๕. ง. วธิ เี ลือกกลุม่ ตวั อย่ำงแบบสุ่มอย่ำงง่ำย

๑๖. ค. กำรเลือกตัวอยำ่ งแบบ (Area or Cluster Sampling)

๑๗. ค. เลอื กโดยกำหนดโควตำ้

๑๘. ข. ตวั แปรตน้ ตัวแปรตำม ตัวแปรควบคุม

๑๙. ก. ตวั แปรต้น

๒๐. ข. ตวั แปรตำม

๒๑. ค. ตัวแปรควบคมุ

๒๒. ก. ชนิดของดินทีใ่ ชป้ ลูกตน้ ถั่วเขยี ว

๒๓. ข. ควำมสงู ของต้นถว่ั เขียว

๒๔. ค. พนั ธ์ุของถว่ั เขียวทป่ี ลูก, ปรมิ ำณนำ้ ทร่ี ด,ปรมิ ำณแสง

๒๕. ก. ๒ ประเภท

๒๖. ง. ถกู ทกุ ข้อ

๒๗. ข. ข้อมลู เชิงปริมำณ ขอ้ มูลเชิงคุณภำพ

๒๘. ค. เครอื่ งมอื

๒๙. ง. ต้องมีควำมเท่ยี งตรง มีควำมเชอ่ื ถือได้ มีประสิทธภิ ำพ มีอำนำจจำแนก
๓๐. ข. มคี วำมเชอื่ ถือได้

๓๑. ง. มีอำนำจจำแนก

๓๒. ข. ๐.๒๐ – ๐.๘๐

๓๓. ค. ขอ้ สอบขอ้ น้ันคนเกง่ ทำไม่ได้ คนอ่อนทำได้

๓๔. ง. IOC

๓๕. ง. ต่ำกวำ่ ๐.๕๐

๓๖. ง. ถูกทกุ ขอ้

๓๗. ง. กำรบรรยำยขอ้ มูล (Descriptive of Data)

๓๘. ข. มำตรำสดั สว่ น

๓๙. ข. สถติ ิเชงิ บรรยำยจะสำมำรถอำ้ งองิ ไปถึงกล่มุ อ่ืน

๔๐. ง. สถิติเชิงบรรยำย

๔๑. ง. ถูกทกุ ขอ้

๔๒. ข. ข้อตกลงเบือ้ งตน้

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 319

------------------------------------------------------------------------------
๔๓. ข. ส่วนนำ

๔๔. ค. ๕ บท
๔๕. ง. ถกู ทุกข้อ

--------------------------------------------

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 320

------------------------------------------------------------------------------

แนวข้อสอบ ความรู้ดา้ นการแนะแนว

๑. ขอ้ ใดกล่ำวไมถ่ ูกต้องเก่ียวกบั กำรแนะแนว

ก. มำจำกคำในภำษำองั กฤษว่ำ Guidance
ข. หมำยถึง กระบวนกำรทำงกำรศึกษำท่ชี ว่ ยให้ บุคคลรู้จกั และเข้ำใจตนเองและสงิ่ แวดล้อม

ค. สำมำรถนำตนเองได้ แกป้ ัญหำได้ด้วยตนเอง และพัฒนำตนเองไดต้ ำมศกั ยภำพ ปฏิบตั ิตนใหเ้ ป็นสมำชิกทดี่ ี

ของสงั คม

ง. กำรแนะแนวคอื กำรแนะนำ

ตอบ ง. กำรแนะแนวคือกำรแนะนำ

๒. ข้อใดจดั เป็นหนำ้ ทห่ี ลกั ของกำรแนะแนว

ก. กำรใหบ้ ริกำรแนะแนวตอ้ งยึดปรชั ญำกำรแนะแนว เช่น บคุ คลแตล่ ะคนย่อมมีควำมแตกตำ่ งกันทั้งรำ่ งกำย

อำรมณ์ สงั คมและสตปิ ัญญำ ควำมสนใจ ควำมสำมำรถ ควำมถนัดและเจตคติ

ข. จดั บริกำรให้ครอบคลมุ และเป็นระบบตอ่ เนอ่ื งกนั เช่น กำรจดั บรกิ ำรแนะแนวในโรงเรียนตอ้ งจัดจัดให้

ครอบคลมุ ขอบขำ่ ยทงั้ ๓ ดำ้ น และบรกิ ำร ๕ บรกิ ำร

ค. กำรแนะแนวในโรงเรียนจัดบรกิ ำรให้แก่นักเรียนทกุ คน ไม่ใชจ่ ดั ให้เฉพำะนักเรียนทม่ี ีปญั หำเทำ่ นน้ั แต่

สง่ เสรมิ พัฒนำกรณที น่ี ักเรยี นมีคุณลกั ษณะทพ่ี ่ึงประสงค์อยู่แลว้

ง. ถูกทกุ ขอ้

ตอบ ง. ถูกทกุ ขอ้

๓. หวั ใจของงำนบริกำรแนะแนวคือเรื่องใด

ก. บริกำรสำรสนเทศ ข. บริกำรให้คำปรกึ ษำ

ค. บริกำรจดั วำงตวั บคุ คล ง. บรกิ ำรตดิ ตำมผล

ตอบ ข. บริกำรให้คำปรกึ ษำ
๔. ขอบข่ำยของงำนแนะแนวคอื ข้อใด

ก. กำรแนะแนวกำรศึกษำ มุ่งหวังใหผ้ เู้ รยี นพัฒนำกำรเรียนได้เตม็ ศักยภำพ

ข. กำรแนะแนวอำชีพ มงุ่ หวงั ใหผ้ เู้ รียนได้ร้จู ักตนเองและโลกของงำนอยำ่ งหลำกหลำย

ค. กำรแนะแนวสว่ นตวั และอำชีพ กำรแนะแนวสว่ นตัวและสงั คมเป็นกำรชว่ ยเหลอื ให้มีชีวติ หรอื ควำมเปน็ อยู่

อยำ่ งสมบูรณ์ มคี วำมเจริญทงั้ รำ่ งกำยและจติ ใจ

ง. ถกู ทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทกุ ข้อ

๕. ผูเ้ รียนวยั ใดทคี่ รูควรสอนเร่อื งเพศศกึ ษำ

ก. ประถมศกึ ษำตอนต้น ข. ประถมศกึ ษำตอนปลำย

ค. มธั ยมศึกษำตอนตน้ ง. มัธยมศึกษำตอนปลำย

ตอบ ค. มัธยมศกึ ษำตอนตน้
๖. เปำ้ หมำยของงำนแนะแนวคือข้อใด

ก. เดก็ เข้ำใจปญั หำของตนทุกด้ำน ข. เด็กสำมำรถอยใู่ นสงั คมได้

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 321

------------------------------------------------------------------------------

ค. เด็กสำมำรถเลอื กอำชพี ได้ ง. เดก็ สำมำรถชว่ ยเหลือตนเองได้อย่ำงดีทกุ ด้ำน

ตอบ ง. เดก็ สำมำรถช่วยเหลือตนเองได้อยำ่ งดที ุกด้ำน

๗. ขอ้ ใดไม่ใช่ปรชั ญำของกำรแนะแนว

ก. คนยอ่ มมีปัญหำ ข. คนแต่ละคนไม่เหมือนกัน

ค. คนมีกำรเปลี่ยนแปลงตลอดเวลำ ง. คนอยู่ในสังคมไดต้ ำมควำมพอใจ

ตอบ ง. คนอยู่ในสังคมไดต้ ำมควำมพอใจ

๘. ข้อใดให้ควำมหมำยของคำวำ่ อดิ (Id) ได้ถกู ต้อง

ก. มโนธรรมหรอื จิตส่วนท่ีได้รบั กำรพัฒนำจำกประสบกำรณ์ กำรอบรมส่ังสอน โดยอำศัยหลกั กำรศลี ธรรม

จรรยำ

ข. ส่วนท่ีควบคุมพฤตกิ รรมทเี่ กิดจำกควำมตอ้ งกำรโดยอำศยั กฎเกณฑ์ทำงสังคม

ค. ตณั หำ หรือควำมตอ้ งกำรพ้ืนฐำนของมนุษย์ เป็นส่งิ ท่ยี ังไม่ได้ ขดั เกลำ

ง. ภำวะจิตทร่ี ตู้ ัวอยูต่ ลอดเวลำ

ตอบ ค. ตณั หำ หรือควำมต้องกำรพนื้ ฐำนของมนุษย์ เปน็ ส่งิ ที่ยังไมไ่ ด้ ขดั เกลำ

๙. ขอ้ ใดให้ควำมหมำยของคำว่ำ อีโก้ (Ego) ได้ถูกตอ้ ง

ก. มโนธรรมหรือจิตสว่ นที่ได้รับกำรพัฒนำจำกประสบกำรณ์ กำรอบรมสั่งสอน โดยอำศัยหลกั กำรศลี ธรรม

จรรยำ

ข. สว่ นที่ควบคมุ พฤติกรรมที่เกิดจำกควำมตอ้ งกำรโดยอำศัยกฎเกณฑ์ทำงสงั คม

ค. ตัณหำ หรือควำมตอ้ งกำรพ้ืนฐำนของมนุษย์ เปน็ สงิ่ ท่ียังไม่ได้ ขดั เกลำ
ง. ภำวะจิตทีร่ ตู้ ัวอยตู่ ลอดเวลำ

ตอบ ข. ส่วนท่ีควบคุมพฤติกรรมทเ่ี กิดจำกควำมต้องกำรโดยอำศยั กฎเกณฑ์ทำงสังคม

๑๐. ขอ้ ใดให้ควำมหมำยของคำวำ่ ซุปเปอรอ์ โี ก (Super Ego) ไดถ้ ูกต้อง

ก. มโนธรรมหรอื จติ ส่วนทไี่ ด้รับกำรพัฒนำจำกประสบกำรณ์ กำรอบรมส่ังสอน โดยอำศัยหลักกำรศลี ธรรม

จรรยำ

ข. สว่ นท่ีควบคมุ พฤติกรรมท่ีเกิดจำกควำมต้องกำรโดยอำศยั กฎเกณฑ์ทำงสังคม

ค. ตณั หำ หรือควำมต้องกำรพืน้ ฐำนของมนษุ ย์ เปน็ สงิ่ ที่ยังไม่ได้ ขัดเกลำ

ง. ภำวะจิตที่รตู้ ัวอยูต่ ลอดเวลำ

ตอบ ก. มโนธรรมหรือจติ สว่ นทไี่ ด้รบั กำรพัฒนำจำกประสบกำรณ์ กำรอบรมสั่งสอน โดยอำศัยหลักกำรศลี ธรรม

จรรยำ

------------------

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 322

------------------------------------------------------------------------------

แนวข้อสอบ การวัด และประเมินผลทางการศึกษา

๑. กำรวดั ผล หมำยถึง ข้อใด

ก. กระบวนกำรท่ที ำใหไ้ ดม้ ำซ่ึงตวั เลขเพื่อระบุสิ่งใดสงิ่ หน่งึ
ข. กระบวนกำรหำปริมำณ หรอื จำนวนของสง่ิ ตำ่ งๆ โดยใชเ้ ครอ่ื งมืออย่ำงใดอย่ำงหนง่ึ ผลจำกกำรวดั จะออกมำ

เปน็ ตัวเลข หรอื สัญลกั ษณ์

ค. กำรตัดสินหรือพจิ ำรณำ วินิจฉัยสิ่งต่ำงๆ ด้วยตัวเลข

ง. กระบวนกำรท่ีทำให้ได้ตัวเลขหรอื สัญลกั ษณ์โดยอำศัยวจิ ำรณญำณหรอื ควำมรู้

๒. ขอ้ ใดจัดเป็นกำรประเมินผล

ก. สมชำยสูง ๑๘๐ ซม. ข. สุชำตหิ นัก ๗๗ กิโลกรัม

ค. เขำสอบวิชำกำรศึกษำได้คะแนนเต็ม ง. นำยนอ้ ยหนัก ๔๕ นำยน้อยมนี ำ้ หนักต่ำกวำ่ เกณฑ์

๓. บลูม ไดแ้ บ่งพฤติกรรมทจี่ ะวัดออกเปน็ กีล่ ักษณะ

ก. ๒ ลักษณะ ข. ๓ ลกั ษณะ

ค. ๔ ลกั ษณะ ง. ๕ ลกั ษณะ

๔. กำรวดั เกย่ี วกับควำมรู้ ควำมคิด เป็นกำรวัดพฤตกิ รรมด้ำนใด

ก. พทุ ธพิ สิ ยั ข. จติ พิสยั

ค. ทักษะพิสัย ง. เจตพิสัย

๕. กำรวดั เกีย่ วกบั ควำมร้สู กึ นึกคิด เป็นกำรวัดพฤตกิ รรมด้ำนใด

ก. พุทธิพิสยั ข. จิตพิสยั

ค. ทักษะพิสัย ง. เจตพิสัย

๖. กำรวัดเกีย่ วกับกำรใชก้ ล้ำมเนื้อและประสำทสัมผสั เปน็ กำรวดั พฤติกรรมดำ้ นใด

ก. พุทธพิ สิ ัย ข. จิตพิสยั
ค. ทักษะพสิ ยั ง. เจตพสิ ยั

๗. ข้อใดไม่ใชจ่ ุดมงุ่ หมำยของกำรวดั และประเมนิ ผลกำรศึกษำ

ก. เพอ่ื พัฒนำสมรรถภำพของนกั เรยี น

ข. เพื่อจัดอันดบั หรือจัดตำแหน่ง

ค. เพ่อื เปรยี บเทยี บหรอื เพ่อื ทรำบพัฒนำกำรของนกั เรยี น

ง. เพอ่ื วดั ควำมสำมำรถของครผู ู้สอน

๘. ขอ้ ใดเป็นหลักกำรวัดผลกำรศึกษำ

ก. ต้องวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมำยของกำรเรียนกำรสอน ข. เลอื กใชเ้ ครือ่ งมือวัดทีด่ แี ละเหมำะสม

ค. ระวังควำมคลำดเคล่อื นหรือควำมผดิ พลำดของกำรวัด

ง. ถกู ทกุ ข้อ

๙. เคร่อื งมอื วดั และประเมินผลมี ๓ ประเภท อะไรบำ้ ง

ก. กำรสงั เกต กำรสัมภำษณ์ แบบสอบถำม

ข. กำรสงั เกต กำรตรวจสอบ แบบสอบถำม

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 323

------------------------------------------------------------------------------

ค. กำรสังเกต กำรสัมภำษณ์ กำรตรวจสอบ

ง. กำรตรวจสอบ กำรสัมภำษณ์ แบบสอบถำม

๑๐. รูปแบบของแบบสอบถำมท่ไี มไ่ ดก้ ำหนดคำตอบไว้ เพ่ือเปิดโอกำสให้ผู้ตอบเขียนตอบอย่ำงอิสระ คอื รูปแบบใด

ก. แบบสอบถำมชนิดปลำยเปิด ข. แบบสอบถำมปลำยปดิ

ค. แบบสอบถำมชนดิ ไม่จำกัดคำตอบ ง. แบบสอบถำมชนดิ จำกัดคำตอบ

๑๑. กำรทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน นำผลกำรประเมินมำเปรยี บเทยี บดคู วำมเปลยี่ นแปลงของผู้เรียน คอื ข้อใด

ก. ประเมนิ ควำมก้ำวหนำ้ ข. ประเมินผลสมั ฤทธิ์

ค. ประเมนิ ควำมพึงพอใจ ง. ประเมินจดุ เด่น จุดด้อย

๑๒. ลักษณะของเครอ่ื งมอื วัดผลที่ดจี ะตอ้ งมีองคป์ ระกอบใดบำ้ ง

ก. มคี วำมเทีย่ งตรง ควำมเชือ่ ม่นั ควำมยำก

ข. มีควำมเท่ียงตรง ควำมเชื่อม่นั ควำมยำก อำนำจจำแนก

ค. มีควำมเทยี่ งตรง ควำมเชือ่ มั่น ควำมยำก อำนำจจำแนก ควำมเปน็ ปรนัย

ง. มีควำมเทยี่ งตรง ควำมเชื่อม่ัน ควำมยำก อำนำจจำแนก ควำมเปน็ ปรนัย ควำมเปน็ อัตนัย

๑๓. ควำมเท่ยี งตรงมี ๓ ประเภท อะไรบ้ำง

ก. ควำมเทย่ี งตรงเชงิ เนอ้ื หำ ควำมเทยี่ งตรงเชงิ โครงสรำ้ ง ควำมเที่ยงตรงเชงิ สภำพ

ข. ควำมเท่ยี งตรงเชิงเนื้อหำ ควำมเที่ยงตรงเชิงโครงสร้ำง ควำมเทีย่ งตรงตำมเกณฑท์ เ่ี กี่ยวขอ้ ง

ค. ควำมเท่ยี งตรงเชิงเน้อื หำ ควำมเทีย่ งตรงเชิงโครงสรำ้ ง ควำมเทยี่ งตรงเชิงพยำกรณ์

ง. ควำมเที่ยงตรงเชงิ สภำพ ควำมเทยี่ งตรงเชงิ พยำกรณ์ ควำมเท่ียงตรงเชงิ เนอ้ื หำ

๑๔. ผลท่ไี ด้จำกกำรวัดคงที่ไม่วำ่ จะใช้วดั ก่คี ร้งั ก็ตำมกบั กลุ่มเดิมคืออะไร

ก. ควำมเช่อื ม่ัน ข. ควำมยำก

ค. อำนำจจำแนก ง. ควำมเปน็ ปรนัย
๑๕. ขอ้ สอบน้ันมีคนตอบถูกมำกหรอื น้อย คอื อะไร

ก. ควำมเช่อื ม่ัน ข. ควำมยำก

ค. อำนำจจำแนก ง. ควำมเปน็ ปรนัย

๑๖. จำแนกผู้เรียนได้ตำมควำมแตกตำ่ งของบคุ คลว่ำ ใครเกง่ ปำนกลำง อ่อน คืออะไร

ก. ควำมเช่ือม่ัน ข. ควำมยำก

ค. อำนำจจำแนก ง. ควำมเป็นปรนัย

๑๗. ควำมชดั เจน ควำมถกู ตอ้ งตำมหลกั วชิ ำ และควำมเข้ำใจ ตรงกัน คอื อะไร

ก. ควำมเชื่อมั่น ข. ควำมยำก

ค. อำนำจจำแนก ง. ควำมเปน็ ปรนัย

๑๘. ลักษณะเครอื่ งมือท่มี คี วำมเป็นปรนัยจะต้องมีลักษณะอยำ่ งไร

ก. ควำมชัดเจนของคำถำม ข. ควำมชัดเจนในกำรให้คะแนน

ค. ควำมชัดเจนในกำรแปรควำมหมำยของคะแนน ง. ถกู ทุกข้อ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 324

------------------------------------------------------------------------------
๑๙. ค่ำ P ของข้อสอบทีเ่ หมำะสมจะนำมำใช้คอื มคี ่ำเท่ำใด

ก. ๐.๐๐ – ๑.๐๐ ข. ๐.๒๐ – ๐.๘๐
ค. ๐.๓๐ – ๐.๗๐ ง. ๐.๐๐ ข้ึนไป

๒๐. คำ่ P ท่ีแสดงวำ่ ข้อสอบขอ้ นัน้ ดมี ำกจะตอ้ งมีค่ำเทำ่ ไร

ก. ๐.๘๐ < P ≤ ๑.๐๐ ข. ๐.๖๐ ≤ P ≤ ๐.๘๐

ค. ๐.๔๐ ≤ P < ๐.๖๐ ง. ๐.๒๐ ≤ P < ๐.๔๐

๒๑. ข้อใดกล่ำวไมถ่ กู ต้องเก่ยี วกับคำ่ P

ก. ๐.๖๐ ≤ P ≤ ๐.๘๐ แสดงวำ่ เป็นข้อสอบคอ่ นข้ำงยำก (ด)ี

ข. ๐.๔๐ ≤ P < ๐.๖๐ แสดงวำ่ เป็นข้อสอบยำกงำ่ ยปำนกลำง (ดมี ำก)

ค. ๐.๒๐ ≤ P < ๐.๔๐ แสดงวำ่ เป็นขอ้ สอบคอ่ นขำ้ งยำก (ด)ี

ง. ๐.๐๐ ≤ P < ๐.๒๐ แสดงวำ่ เปน็ ข้อสอบยำกมำก ควรตดั ทิง้ หรือปรับปรุง

๒๒. ถำ้ คำ่ r มคี ำ่ เป็นลบ แสดงวำ่ อะไร

ก. ข้อสอบขอ้ นน้ั คนเกง่ ทำได้ คนออ่ นทำไมไ่ ด้ ข. ข้อสอบขอ้ นน้ั ทงั้ คนเกง่ และคนออ่ น ทำไม่ได้

ค. ขอ้ สอบขอ้ นน้ั คนเกง่ ทำไม่ได้ คนอ่อนทำได้ ง. ขอ้ สอบขอ้ นั้นทั้งคนเกง่ และคนอ่อน ทำได้

๒๓. เกณฑ์กำรพจิ ำรณำค่ำอำนำจจำแนกข้อใดกลำ่ วไมถ่ กู ต้อง

ก. .๔๐ ≤ r ≤ ๑.๐๐ แสดงวำ่ จำแนกได้ดเี ปน็ ขอ้ สอบท่ดี ี

ข. .๓๐ ≤ r ≤ .๓๙ แสดงวำ่ จำแนกไดเ้ ปน็ ขอ้ สอบท่ดี ีพอสมควรอำจตอ้ งปรบั ปรุงบำ้ ง

ค. .๒๐ ≤ r ≤ .๒๙ แสดงว่ำ จำแนกพอใชไ้ ด้ อำจตอ้ งปรับปรงุ บ้ำง

ง. -๑.๐๐ ≤ r ≤ .๑๙ แสดงว่ำ ไมส่ ำมำรถจำแนกไดต้ อ้ งปรับปรุงหรอื ตดั ท้ิง

๒๔. ดัชนคี วำมสอดคล้องระหว่ำงขอ้ คำถำมกบั จุดประสงค์ใชอ้ ักษรยอ่ ภำษำอังกฤษวำ่ อะไร

ก. IOS ข. IOT ค. IOD ง. IOC
๒๕. ขอ้ คำถำมทม่ี ีค่ำดชั นีควำมสอดคลอ้ งระหวำ่ งข้อคำถำมกบั จดุ ประสงคเ์ ป็นเทำ่ ไรจงึ ควรพจิ ำรณำปรบั ปรุงหรอื

ตดั ท้ิง

ก. ตำ่ กวำ่ ๑.๐๐ ข. ต่ำกวำ่ ๐.๘๐ ค. ตำ่ กวำ่ ๐.๗๐ ง. ต่ำกว่ำ ๐.๕๐

๒๖. กำรจำแนกสิ่งตำ่ งๆ เช่น คน สตั ว์ สง่ิ ของ เพศ จัดเปน็ ระดบั กำรวดั ในมำตรำใด

ก. มำตรำนำมบัญญัติ ข. มำตรำเรยี งอนั ดับ ค. มำตรำอันตรภำค ง. มำตรำอตั รำสว่ น

๒๗. กำรนำตวั เลขข้อมูลทัง้ หมดมำรวมกนั แลว้ หำรด้วยจำนวนเรียกวำ่ อะไร

ก. มธั ยฐำน ข. ฐำนนิยม ค. ค่ำเฉลี่ย ง. สว่ นเบยี่ งเบนมำตรฐำน

๒๘. ขอ้ ใดคือควำมหมำยของ มัธยฐำน

ก. เปน็ กำรนำตัวเลขขอ้ มลู ทั้งหมดมำรวมกันแลว้ หำรดว้ ยจำนวน

ข. เป็นค่ำกลำงของข้อมูลทนี่ ำมำเรยี งกนั จำกนอ้ ยไปมำก

ค. เป็นคำ่ ตวั เลขทซ่ี ้ำกนั มำกท่ีสดุ ง. เป็นค่ำตัวเลขทน่ี ำมำบวกกันทั้งหมดของขอ้ มลู

๒๙. ขอ้ ใดคอื ควำมหมำยของ ฐำนนิยม

ก. เปน็ กำรนำตัวเลขข้อมูลทงั้ หมดมำรวมกนั แลว้ หำรด้วยจำนวน

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 325

------------------------------------------------------------------------------
ข. เปน็ คำ่ กลำงของข้อมูลที่นำมำเรยี งกนั จำกนอ้ ยไปมำก

ค. เป็นค่ำตัวเลขทซี่ ้ำกนั มำกท่ีสดุ
ง. เป็นคำ่ ตัวเลขท่ีนำมำบวกกันทั้งหมดของขอ้ มูล

๓๐. กระบวนกำรสงั เกต บันทึก และรวบรวมข้อมูลจำกผลงำนหรอื กจิ กรรมทีผ่ ้เู รยี นทำเพ่อื ตัดสนิ ควำมสำมำรถที่

แท้จรงิ ของผ้เู รียน คือควำมหมำยของข้อใด

ก. กำรประเมินผลเน้นกิจกรรม ข. กำรประเมนิ ผลตำมสภำพจรงิ

ค. กำรประเมินผลควำมสำมำรถท่แี ท้จรงิ ง. กำรประเมินผลกำรเรยี นร้ตู ำมจรงิ

๓๑. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลักกำรประเมินผลตำมสภำพจริง

ก. เปน็ กำรประเมนิ ควำมกำ้ วหน้ำและกำรแสดงออกของนักเรยี น บนรำกฐำนของทฤษฎีทำงพฤตกิ รรมกำร

เรยี นรู้

ข. กำรประเมนิ จำกสภำพจรงิ และกำรพัฒนำหลกั สูตรท่เี หมำะสมจะต้องจดั ให้ ส่งเสรมิ กนั และกนั

ค. กำรประเมนิ จำกสภำพจรงิ และหลักสตู รตอ้ งพฒั นำมำจำกบริบทรำกฐำนทำงวฒั นธรรมที่

นักเรยี นอำศัยอยู่และต้องเรียนรู้

ง. ผ้สู อนไมส่ ำมำรถบูรณำกำรและปรบั ขยำยหลักสูตร

๓๒. กำรประเมินผลตำมสภำพจรงิ แบ่งเป็นกลี่ กั ษณะ

ก. ๒ลกั ษณะ ข. ๓ลกั ษณะ ค. ๔ลักษณะ ง. ๕ลกั ษณะ

๓๓. กำรประเมินผลอยำ่ งเปน็ ทำงกำรเป็นกำรประเมินตำมสภำพจริงด้วยข้อสอบอะไร

ก. ขอ้ สอบทำงกำร ข. ข้อสอบมำตรฐำน ค. ขอ้ สอบทักษะ ง. ขอ้ สอบทดลอง

๓๔. กำรประเมนิ อยำ่ งไมเ่ ป็นทำงกำรจะเน้นกำรประเมินกดี่ ้ำน

ก. ๒ดำ้ น ข. ๓ดำ้ น ค. ๔ด้ำน ง. ๕ดำ้ น

๓๕. ขอ้ ใดเปน็ เครือ่ งมือทใ่ี ช้ประเมนิ ตำมสภำพจรงิ

ก. แบบบนั ทึก ข. ผลงำน ค. โครงงำน ง. แฟม้ สะสมผลงำน

๓๖. ขอ้ ใดเป็นหลักฐำนที่ใช้ประกอบกำรประเมินตำมสภำพจรงิ

ก. แบบสงั เกต ข. กำรรำยงำนตนเอง ค. แบบทดสอบ ง. สง่ิ ประดษิ ฐ์

๓๗. ข้อใดคือจุดมงุ่ หมำยพน้ื ฐำนของกำรวัดและประเมนิ ผลตำมหลักสูตรฯ ๕๑

ก. วัดและประเมินผลเพือ่ พัฒนำผูเ้ รยี นและตดั สินผลกำรเรียน

ข. วัดและประเมินผลเพอื่ ใช้ข้อมูลไปพฒั นำกำรเรียนกำรสอน

ค. วดั และประเมินผลเพอ่ื นำผลที่ได้ไปใช้ในกำรพัฒนำผเู้ รียนอย่ำงมีประสิทธิภำพ

ง. วัดและประเมินผลเพอื่ พฒั นำผเู้ รียนใหเ้ ป็นคนเกง่ ดี มีสุข

๓๘. หลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำขัน้ พืน้ ฐำน พุทธศกั รำช ๒๕๕๑ จึงกำหนดให้มกี ำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ก่ี

ระดบั

ก. ๒ระดับ ข. ๓ระดับ ค. ๔ระดับ ง. ๕ระดบั

๓๙. ประเมินโดยครู ผเู้ รียน เพ่อื น หรอื ผปู้ กครองกไ็ ด้ ตอ้ งใช้เทคนิคประสบกำรณ์หลำกหลำยและสม่ำเสมอ เช่น

กำรซกั ถำม กำรสงั เกต กำรตรวจกำรบ้ำน กำรใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ ในกรณที ผี่ ู้เรยี นไม่ผ่ำนตวั ชีว้ ดั ให้มกี ำรสอน

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 326

------------------------------------------------------------------------------
ซอ่ มเสริม

คำกลำ่ วข้ำงตน้ สอดคล้องกบั ข้อใด ข. กำรประเมินระดบั สถำนศึกษำ
ก. กำรประเมินในชน้ั เรียน

ค. กำรประเมนิ ระดบั เขตพ้ืนที่ ง. กำรประเมินระดับชำติ

๔๐. เปน็ กำรประเมนิ รำยปหี รือรำยภำค

คำกล่ำวข้ำงต้นสอดคลอ้ งกับข้อใด

ก. กำรประเมินในชน้ั เรียน ข. กำรประเมนิ ระดับสถำนศึกษำ

ค. กำรประเมนิ ระดบั เขตพ้ืนที่ ง. กำรประเมนิ ระดบั ชำติ

๔๑. จะประเมินโดยขอ้ สอบมำตรฐำนที่เขตพื้นท่ีกำรศกึ ษำจดั ทำขน้ึ ผลกำรประเมินใชเ้ ป็นข้อมูลพ้ืนฐำนในกำร

พฒั นำคุณภำพกำรศึกษำของเขตพ้ืนที่กำรศกึ ษำ

คำกล่ำวขำ้ งตน้ สอดคลอ้ งกบั ขอ้ ใด

ก. กำรประเมินในชั้นเรียน ข. กำรประเมินระดับสถำนศึกษำ

ค. กำรประเมนิ ระดบั เขตพ้ืนท่ี ง. กำรประเมนิ ระดับชำติ

๔๒. สถำนศึกษำตอ้ งจัดให้นกั เรียนทุกคนทเ่ี รียนในชั้น ป. ๓, ป. ๖, ม. ๓ และม. ๖ เขำ้ รับกำรประเมนิ

คำกลำ่ วขำ้ งตน้ สอดคลอ้ งกับข้อใด

ก. กำรประเมินในชัน้ เรียน ข. กำรประเมินระดับสถำนศกึ ษำ

ค. กำรประเมนิ ระดับเขตพ้ืนที่ ง. กำรประเมนิ ระดับชำติ

๔๓. ข้อใดไม่ใช่ระดับกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ของผเู้ รียน

ก. กำรประเมินระดับกลุ่มผ้เู รียน ข. กำรประเมินระดับสถำนศึกษำ

ค. กำรประเมนิ ระดบั เขตพื้นที่ ง. กำรประเมินผลระดบั ช้ันเรียน

๔๔. กำรประเมนิ ผลระดับชั้นเรียนจะต้องสอดคลอ้ งกบั สง่ิ ใด

ก. วิสัยทศั น์ ข. จดุ มุ่งหมำยของหลักสูตร

ค. มำตรฐำนและตวั ชี้วัด ง. สำระกำรเรียนรู้

๔๕. หนว่ ยงำนท่จี ดั สอบ O-NET คือหน่วยงำนใด

ก. สพฐ. ข. สทศ.

ค. เขตพ้ืนที่กำรศกึ ษำ ง. กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

๔๖. ข้อใดจดั เปน็ กำรทดสอบกำรศึกษำระดับชำติขน้ั พ้ืนฐำน

ก. LAS ข. GAT ค. PAT ง. O-NET

๔๗. กำรสอบ O-NET ของนกั เรยี นชัน้ ป.๖ จดั สอบจำนวนกวี่ ชิ ำ กกี่ ลุ่มสำระฯ

ก. ๖ วิชำ ๖ กลมุ่ สำระฯ ข. ๖ วชิ ำ ๘ กลุม่ สำระฯ

ค. ๔ วิชำ ๘ กล่มุ สำระฯ ง. ๔ วชิ ำ ๖ กล่มุ สำระฯ

๔๘. กำรสอบ O-NET ของนักเรยี นชนั้ ม.๖ จดั สอบจำนวนกวี่ ิชำ กี่กลุ่มสำระฯ

ก. ๖ วิชำ ๖ กลมุ่ สำระฯ ข. ๖ วิชำ ๘ กลุ่มสำระฯ

ค. ๔ วิชำ ๘ กลุม่ สำระฯ ง. ๔ วชิ ำ ๖ กลุ่มสำระฯ

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 327

------------------------------------------------------------------------------
๔๙. กำรประเมนิ คุณภำพกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน ระดับเขตพนื้ ท่ี สำหรับนกั เรยี นระดับช้ัน

ป.๒, ป.๕, ม.๒ และ ม.๕ ของทุกโรงเรยี นในเขตพ้นื ท่ีกำรศึกษำ เรียกว่ำกำรสอบอะไร

ก. LAS ข. NT ค. PAT ง. O-NET

๕๐. หนว่ ยงำนที่จดั สอบ NT คอื หน่วยงำนใด

ก. สพฐ. ข. สทศ. ค. เขตพืน้ ที่กำรศกึ ษำ ง. กระทรวงศึกษำธิกำร

๕๑. กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรียนรูต้ ำมหลกั สตู รแกนกลำงฯ พุทธศกั รำช ๒๕๕๑ น้นั ไดก้ ำหนดจุดหมำย

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และมำตรฐำนกำรเรียนรู้ เปน็ เป้ำหมำยและกรอบทศิ ทำงในกำร

พัฒนำผูเ้ รยี นใหเ้ ป็นคนเช่นไร

ก. เป็นคนดี มีปญั ญำ ข. เป็นคนดี มีปัญญำ มีคุณภำพชีวิตท่ดี ี

ค. เปน็ คนดี มีปัญญำ มคี ุณภำพชวี ิตที่ดแี ละมีขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน

ง. เปน็ คนดี มปี ญั ญำ มีคณุ ภำพชวี ติ ทด่ี ีและมขี ดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันในเวทรี ะดับโลก

๕๒. กำรวดั และประเมินผลกำรเรยี นรู้ตำมกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ ผู้สอนวัดและประเมินผลกำรเรียนรผู้ เู้ รียนเป็นรำยวชิ ำ

บนพน้ื ฐำนของสงิ่ ใด

ก. สำระกำรเรียนรู้ ข. ตวั ชว้ี ดั ในรำยวิชำพนื้ ฐำน

ค. มำตรฐำนช่วงชั้น ง. เกณฑ์กำรวัดและประเมนิ ผล

๕๓. ขอ้ ใดกล่ำวไมถ่ ูกตอ้ งเก่ยี วกับกำรตดั สินผลกำรเรียนระดับประถมศึกษำ

ก. ผู้เรียนตอ้ งมเี วลำเรียนไม่น้อยกว่ำร้อยละ ๘๐ ของเวลำเรยี นท้งั หมด

ข. ผ้เู รียนต้องได้รบั กำรประเมินทุกตวั ชวี้ ัดและผ่ำนตำมเกณฑท์ ่ีสถำนศึกษำกำหนด

ค. ผูเ้ รยี นต้องไดร้ ับกำรตดั สนิ ผลกำรเรียนรอ้ ยละ ๘๐ ของรำยวชิ ำ

ง. ผู้เรียนตอ้ งไดร้ ับกำรประเมินและมผี ลกำรประเมนิ ผำ่ นตำมเกณฑ์ทีส่ ถำนศกึ ษำ

๕๔. กำรให้ระดบั ผลกำรเรยี นระดับประถมศึกษำเปน็ แบบใด

ก. ตวั เลข ข. ระบบตวั อกั ษร

ค. ระบบทีใ่ ชค้ ำสำคญั ง. ถกู ทุกขอ้

๕๕. เกณฑก์ ำรประเมนิ กำรอำ่ น คิดวเิ ครำะห์ และเขียน “ดเี ยี่ยม” หมำยถงึ ข้อใด

ก. มีผลงำนท่ีแสดงถึงควำมสำมำรถในกำรอ่ำน คดิ วิเครำะห์และเขยี นที่มีคุณภำพดีเลศิ อยเู่ สมอ

ข. มีผลงำนทีแ่ สดงถงึ ควำมสำมำรถในกำรอำ่ น คดิ วเิ ครำะหแ์ ละเขียนท่ีมีคุณภำพเปน็ ท่ยี อมรับ

ค. มีผลงำนท่ีแสดงถงึ ควำมสำมำรถในกำรอ่ำน คดิ วเิ ครำะหแ์ ละเขยี นที่มีคุณภำพเป็นท่ยี อมรับ แต่ยงั มี

ขอ้ บกพรอ่ งบำงประกำร

ง. ไมม่ ีผลงำนที่แสดงถงึ ควำมสำมำรถในกำรอำ่ น คิดวิเครำะห์และเขยี น หรอื ถำ้ มผี ลงำน ผลงำนน้นั ยงั มี

ขอ้ บกพร่องที่ตอ้ งไดร้ ับกำรปรับปรงุ แกไ้ ขหลำยประกำร

๕๖. เกณฑก์ ำรประเมนิ กำรอำ่ น คิดวิเครำะห์ และเขียน “ผำ่ น” หมำยถึง ขอ้ ใด

ก. มีผลงำนที่แสดงถึงควำมสำมำรถในกำรอำ่ น คดิ วเิ ครำะหแ์ ละเขยี นทม่ี ีคณุ ภำพดเี ลิศอยเู่ สมอ

ข. มีผลงำนที่แสดงถงึ ควำมสำมำรถในกำรอ่ำน คดิ วิเครำะหแ์ ละเขียนท่ีมีคณุ ภำพเป็นทย่ี อมรบั

ค. มีผลงำนที่แสดงถงึ ควำมสำมำรถในกำรอำ่ น คดิ วเิ ครำะห์และเขยี นทีม่ ีคณุ ภำพเปน็ ทย่ี อมรับ แตย่ งั มี

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 328

------------------------------------------------------------------------------
ข้อบกพร่องบำงประกำร

ง. ไม่มีผลงำนทแ่ี สดงถึงควำมสำมำรถในกำรอ่ำน คดิ วเิ ครำะห์และเขียน หรือถำ้ มีผลงำน ผลงำนนน้ั ยังมี
ข้อบกพรอ่ งท่ตี อ้ งไดร้ ับกำรปรับปรงุ แก้ไขหลำยประกำร

๕๗. กำรสรุปผลกำรประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ “ด”ี หมำยถงึ ขอ้ ใด

ก. ผ้เู รียนปฏิบตั ติ นตำมคณุ ลักษณะจนเป็นนิสัย และนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันเพือ่ ประโยชนส์ ุขของตนเองและ

สงั คม

ข. ผู้เรียนมีคณุ ลักษณะในกำรปฏบิ ตั ิตำมกฎเกณฑ์ เพอื่ ให้เป็นกำรยอมรับของสงั คม

ค. ผูเ้ รียนรบั รูแ้ ละปฏิบตั ิตำมกฎเกณฑ์และเงอ่ื นไขท่ีสถำนศกึ ษำกำหนด โดยพิจำรณำจำก

ง. ผเู้ รียนรบั รู้และปฏบิ ัติได้ไม่ครบตำมกฎเกณฑแ์ ละเงื่อนไขท่สี ถำนศกึ ษำกำหนด โดยพิจำรณำจำกผลกำร

ประเมินระดับไมผ่ ำ่ น ตง้ั แต่ ๑ คุณลักษณะ

๕๘. กำรสรุปผลกำรประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ “ไม่ผำ่ น” หมำยถึงขอ้ ใด

ก. ผู้เรียนปฏิบตั ติ นตำมคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันเพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของตนเองและ

สงั คม

ข. ผู้เรียนมีคุณลักษณะในกำรปฏิบตั ิตำมกฎเกณฑ์ เพ่ือใหเ้ ปน็ กำรยอมรบั ของสังคม

ค. ผู้เรียนรับรแู้ ละปฏบิ ัตติ ำมกฎเกณฑ์และเง่ือนไขทส่ี ถำนศึกษำกำหนด โดยพจิ ำรณำจำก

ง. ผเู้ รียนรับรแู้ ละปฏบิ ตั ไิ ด้ไม่ครบตำมกฎเกณฑแ์ ละเงื่อนไขทีส่ ถำนศกึ ษำกำหนด โดยพิจำรณำจำกผลกำร

ประเมินระดับไม่ผ่ำน ตง้ั แต่ ๑ คุณลักษณะ

๕๙. ขอ้ ใดไม่ใช่เกณฑ์กำรเลือ่ นช้ันระดบั ประถมศึกษำ

ก. ผ้เู รียนมเี วลำเรียนตลอดปีกำรศึกษำไมน่ อ้ ยกว่ำร้อยละ ๘๐ ของเวลำเรยี นท้งั หมด

ข. ผเู้ รยี นมีผลกำรประเมินผ่ำนทุกรำยวิชำพืน้ ฐำน

ค. ผเู้ รียนมีผลกำรประเมนิ กำรอำ่ น คิดวเิ ครำะห์ และเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงคแ์ ละกิจกรรมพัฒนำผเู้ รยี น
ผำ่ นตำมเกณฑท์ ี่สถำนศกึ ษำกำหนด

ง. ผ้เู รียนมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมตำมทสี่ ถำนศึกษำกำหนด

๖๐. ข้อใดไม่ใชเ่ กณฑก์ ำรจบกำรศึกษำระดบั ประถมศกึ ษำ

ก. ผ้เู รยี นเรยี นรำยวิชำพน้ื ฐำนและรำยวชิ ำ/กจิ กรรมเพ่ิมเติม ตำมโครงสรำ้ งเวลำเรยี นท่หี ลกั สตู รแกนกลำง

กำรศึกษำขน้ั พื้นฐำนกำหนด

ข. ผเู้ รยี นต้องมีผลกำรประเมินรำยวชิ ำพ้ืนฐำนผ่ำนเกณฑ์กำรประเมินตำมทส่ี ถำนศึกษำกำหนด

ค. ผู้เรียนมีผลกำรประเมนิ กำรอ่ำน คดิ วิเครำะห์ และเขยี นในระดบั ผ่ำนเกณฑ์กำรประเมินตำมทสี่ ถำนศกึ ษำ

กำหนด

ง. ผ้เู รียนมที กั ษะกำรสื่อสำร กำรคิด กำรวเิ ครำะห์ข้อมูลและคุณธรรมจริยธรรมตำมท่ีหลักสูตรแกนกลำง

กำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำนกำหนด

๖๑. ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์กำรตดั สินผลกำรเรียนระดบั มัธยมศกึ ษำ

ก. ตัดสนิ ผลกำรเรยี นเป็นรำยวชิ ำ ผูเ้ รยี นตอ้ งมเี วลำเรยี นตลอดภำคเรยี นไม่น้อยกวำ่ รอ้ ยละ ๖๐ ของเวลำเรียน

ทง้ั หมดในรำยวชิ ำน้ัน ๆ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 329

------------------------------------------------------------------------------
ข. ผู้เรียนต้องได้รับกำรประเมินทกุ ตัวชีว้ ดั และผำ่ นตำมเกณฑ์ท่ีสถำนศึกษำกำหนด

ค. ผเู้ รยี นตอ้ งได้รบั กำรตัดสินผลกำรเรยี นทุกรำยวชิ ำ
ง. ผ้เู รยี นต้องไดร้ ับกำรประเมินและมผี ลกำรประเมินผำ่ นตำมเกณฑท์ สี่ ถำนศึกษำ

๖๒. ผลกำรเรยี น “มส” หมำยถงึ ข้อใด

ก. ผเู้ รียนไม่มสี ิทธเิ ขำ้ รบั กำรวัดผลปลำยภำคเรยี น เน่อื งจำกผู้เรยี นมีเวลำเรยี นไม่ถงึ ร้อยละ ๖๐ ของเวลำเรียน

ในแต่ละรำยวชิ ำ

ข. ผู้เรยี นไม่มีสิทธิเข้ำรับกำรวัดผลปลำยภำคเรยี น เนื่องจำกผ้เู รยี นมเี วลำเรยี นไม่ถึงร้อยละ ๗๐ ของเวลำเรียนใน

แต่ละรำยวชิ ำ

ค. ผู้เรยี นไม่มีสทิ ธิเข้ำรบั กำรวัดผลปลำยภำคเรียน เนื่องจำกผเู้ รียนมเี วลำเรียนไมถ่ งึ ร้อยละ ๘๐ ของเวลำเรียนใน

แตล่ ะรำยวิชำ

ง. ผ้เู รียนไมม่ ีสทิ ธเิ ขำ้ รบั กำรวัดผลปลำยภำคเรียน เนือ่ งจำกผ้เู รียนมเี วลำเรียนไม่ถงึ ร้อยละ ๙๐ของเวลำเรียนใน

แตล่ ะรำยวิชำ

๖๓. ขอ้ ใดกล่ำวไมถ่ ูกตอ้ งเกีย่ วกบั เกณฑ์กำรจบกำรศกึ ษำระดบั มัธยมศึกษำตอนต้น

ก. ผู้เรียนเรียนรำยวชิ ำพื้นฐำนและเพิม่ เตมิ ไมเ่ กนิ ๘๑ หน่วยกติ โดยเป็นรำยวชิ ำพน้ื ฐำน ๖๖ หน่วยกติ และ

รำยวชิ ำเพิ่มเติมตำมทสี่ ถำนศึกษำกำหนด

ข. ผเู้ รยี นต้องได้หน่วยกติ ตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกว่ำ ๖๖ หนว่ ยกิต โดยเป็นรำยวชิ ำพ้ืนฐำน ๕๕ หนว่ ยกิต และ

รำยวชิ ำเพม่ิ เติมไมน่ อ้ ยกว่ำ ๑๑ หนว่ ยกติ

ค. ผเู้ รียนมีผลกำรประเมินกำรอำ่ น คดิ วเิ ครำะห์ และเขยี นในระดับผำ่ นเกณฑ์กำรประเมนิ ตำมที่สถำนศกึ ษำ

กำหนด

ง. ผเู้ รียนมผี ลกำรประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคใ์ นระดบั ผำ่ นเกณฑ์กำรประเมนิ ตำมทส่ี ถำนศกึ ษำกำหนด

๖๔. ขอ้ ใดกล่ำวไมถ่ กู ต้องเก่ียวกับเกณฑก์ ำรจบกำรศึกษำระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย
ก. ผเู้ รยี นเรียนรำยวิชำพ้นื ฐำนและเพ่ิมเติมไม่น้อยกว่ำ ๙๐ หนว่ ยกิต โดยเป็นรำยวชิ ำพนื้ ฐำน ๔๑ หน่วยกิต และ

รำยวิชำเพิ่มเตมิ ตำมท่สี ถำนศกึ ษำกำหนด

ข. ผเู้ รียนตอ้ งไดห้ น่วยกติ ตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกวำ่ ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรำยวิชำพ้ืนฐำน ๔๑ หน่วยกติ และ

รำยวิชำเพิ่มเติมไมน่ ้อยกว่ำ ๓๖ หนว่ ยกติ

ค. ผู้เรยี นมีผลกำรประเมินกำรอ่ำน คดิ วิเครำะห์ และเขยี นในระดบั ผำ่ นเกณฑก์ ำรประเมินตำมท่สี ถำนศกึ ษำ

กำหนด

ง. ผเู้ รียนมผี ลกำรประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ในระดบั ผำ่ นเกณฑก์ ำรประเมินตำมท่สี ถำนศึกษำกำหนด

๖๕. เอกสำรหลกั ฐำนกำรศกึ ษำจัดทำขึ้นเพอื่ อะไร

ก. บนั ทึกขอ้ มลู ในกำรดำเนนิ กำรจัดกำรเรยี นกำรสอนและประเมนิ ผลกำรเรียน ได้แก่ แบบบันทกึ ผลกำรเรียน

ประจำรำยวชิ ำ

ข. ตดิ ต่อสอื่ สำร รำยงำนข้อมูล และผลกำรเรยี นของผ้เู รยี น ได้แก่ แบบรำยงำนประจำตวั นกั เรียนระเบียนสะสม

ค. จดั ทำและออกหลักฐำนแสดงวฒุ แิ ละ/หรอื รับรองผลกำรเรียนของผเู้ รยี น ได้แก่ ระเบียนแสดงผลกำรเรยี น

ประกำศนียบตั ร แบบรำยงำนผ้สู ำเรจ็ กำรศึกษำ และใบรบั รองผลกำรเรียน

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 330

------------------------------------------------------------------------------
ง. ถูกทุกขอ้

๖๖. แบบพิมพร์ ะเบียนแสดงผลกำรเรยี นฯ มกี แ่ี บบ ค. ๔ ง. ๕
ก. ๒ ข. ๓

๖๗. แบบพิมพ์ประกำศนียบตั รหลักสตู รฯ มกี ีแ่ บบ

ก. ๒ ข. ๓ ค. ๔ ง. ๕

๖๘. แบบรำยงำนผสู้ ำเรจ็ กำรศึกษำ มีกี่แบบ

ก. ๒ ข. ๓ ค. ๔ ง. ๕

๖๙. เป็นเอกสำรสำหรบั บนั ทึกขอ้ มูลผลกำรเรยี นของผเู้ รียนตำมหลกั สูตรฯ๒๕๕๑ ไดแ้ ก่ ผลกำรเรยี นตำมกลุ่มสำระ

กำรเรียนรู้ ผลกำรประเมินกำรอำ่ น คิดวเิ ครำะห์และเขียน ผลกำรประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และผลกำร

ประเมนิ กจิ กรรมพฒั นำผู้เรียน

ขอ้ ควำมขำ้ งต้นกลำ่ วถงึ ขอ้ ใด

ก. ระเบยี นแสดงผลกำรเรยี น (ปพ.๑) ข. ประกำศนียบตั ร (ปพ.๒)

ค. แบบรำยงำนผ้สู ำเร็จกำรศกึ ษำ (ปพ.๓) ง. เอกสำรกำรจบหลักสูตรฯ

๗๐. เปน็ เอกสำรแสดงวฒุ กิ ำรศกึ ษำทีม่ อบใหแ้ ก่ผจู้ บกำรศกึ ษำภำคบังคับและผสู้ ำเร็จกำรศกึ ษำขัน้ พน้ื ฐำนตำม

หลกั สูตรฯ ๒๕๕๑ เพื่อรบั รองศกั ด์แิ ละสิทธิข์ องผสู้ ำเรจ็ กำรศกึ ษำตำมวุฒิแห่งประกำศนียบตั รน้ัน

ขอ้ ควำมขำ้ งตน้ กล่ำวถึงขอ้ ใด

ก. ระเบยี นแสดงผลกำรเรยี น (ปพ.๑) ข. ประกำศนียบัตร (ปพ.๒)

ค. แบบรำยงำนผ้สู ำเร็จกำรศกึ ษำ (ปพ.๓) ง. เอกสำรกำรจบหลกั สูตรฯ

๗๑. เปน็ เอกสำรสำหรับอนุมัตกิ ำรจบกำรศึกษำตำมหลักสตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำนของผู้เรยี นในแต่ละรนุ่

กำรศกึ ษำ โดยบันทกึ รำยชอ่ื และขอ้ มลู ทำงกำรศกึ ษำของผู้จบกำรศึกษำระดับประถมศกึ ษำ(ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖) ผู้

จบกำรศกึ ษำภำคบงั คับ (ช้ันมัธยมศกึ ษำปีท่ี ๓) และผ้จู บกำรศกึ ษำขัน้ พื้นฐำน(ชัน้ มธั ยมศึกษำปีท่ี ๖)
ขอ้ ควำมขำ้ งตน้ กล่ำวถึงข้อใด

ก. ระเบียนแสดงผลกำรเรียน (ปพ.๑) ข. ประกำศนียบัตร (ปพ.๒)

ค. แบบรำยงำนผู้สำเรจ็ กำรศึกษำ (ปพ.๓) ง. เอกสำรกำรจบหลักสูตรฯ

๗๒. ขอ้ ใดเป็นเอกสำรหลักฐำนกำรศกึ ษำทสี่ ถำนศกึ ษำกำหนด

ก. ระเบยี นแสดงผลกำรเรยี น ข. ประกำศนียบัตร

ค. แบบรำยงำนผู้สำเรจ็ กำรศกึ ษำ ง. แบบบันทึกผลกำรเรียนประจำรำยวชิ ำ

๗๓. ข้อใดคือเอกสำรทสี่ ถำนศกึ ษำจัดทำขน้ึ เพ่ือบนั ทกึ ข้อมลู เกี่ยวกบั พฒั นำกำรของผเู้ รียนในดำ้ นตำ่ ง ๆเป็น

รำยบุคคลอย่ำงต่อเนอื่ ง ตลอดชว่ งระยะเวลำกำรศึกษำตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำน ๑๒ ปี

ก. ระเบยี นสะสม ข. ใบรับรองผลกำรศกึ ษำ

ค. แบบบันทกึ ผลกำรเรียนประจำรำยวิชำ ง. แบบรำยงำนประจำตัวนกั เรียน

๗๔. ข้อใดคือเอกสำรทส่ี ถำนศกึ ษำจัดทำขึ้นเพอื่ บันทกึ ขอ้ มลู กำรประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ และพฒั นำกำรดำ้ นตำ่ ง ๆ

ของผูเ้ รียนแต่ละคนตำมเกณฑ์กำรตดั สนิ กำรผำ่ นระดบั ชน้ั ตำมหลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน

ก. ระเบียนสะสม ข. ใบรับรองผลกำรศึกษำ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 331

------------------------------------------------------------------------------

ค. แบบบันทึกผลกำรเรียนประจำรำยวิชำ ง. แบบรำยงำนประจำตวั นักเรียน

๗๕. ข้อใดเปน็ โครงสร้ำงเวลำเรียนระดบั มัธยมศึกษำตอนปลำย

ก. รวมสำมปีไมน่ อ้ ยกวำ่ ๓,๐๐๐ ช่ัวโมง ข. รวมสำมปีไม่เกนิ ๓,๐๐๐ ชั่วโมง

ค. รวมสำมปีไมน่ ้อยกว่ำ ๓,๖๐๐ ช่ัวโมง ง. รวมสำมปีไม่เกนิ ๓,๖๐๐ ช่ัวโมง

เฉลย แนวข้อสอบ การวัด และประเมนิ ผลทางการศึกษา

๑. ข. กระบวนกำรหำปริมำณ หรือจำนวนของสงิ่ ตำ่ งๆ โดยใชเ้ ครือ่ งมืออย่ำงใดอย่ำงหนง่ึ ผลจำกกำรวดั จะออกมำ

เปน็ ตัวเลข หรือสญั ลกั ษณ์

๒. ง. นำยนอ้ ยหนกั ๔๕ นำยน้อยมนี ้ำหนักต่ำกว่ำเกณฑ์
๓. ข. ๓ ลกั ษณะ

๔. ก. พทุ ธพิ สิ ยั

๕. ข. จติ พิสยั

๖. ค. ทกั ษะพิสยั

๗. ง. เพ่ือวัดควำมสำมำรถของครผู สู้ อน

๘. ง. ถูกทกุ ข้อ

๙. ก. กำรสงั เกต กำรสัมภำษณ์ แบบสอบถำม

๑๐. ก. แบบสอบถำมชนดิ ปลำยเปิด

๑๑. ก. ประเมินควำมก้ำวหนำ้

๑๒. ค. มคี วำมเทีย่ งตรง ควำมเชอื่ มนั่ ควำมยำก อำนำจจำแนก ควำมเปน็ ปรนยั

๑๓. ข. ควำมเท่ยี งตรงเชิงเน้อื หำ ควำมเท่ยี งตรงเชงิ โครงสร้ำง ควำมเทยี่ งตรงตำมเกณฑ์ทเี่ กีย่ วขอ้ ง

๑๔. ก. ควำมเชื่อมนั่

๑๕. ข. ควำมยำก

๑๖. ค. อำนำจจำแนก

๑๗. ง. ควำมเป็นปรนยั

๑๘. ง. ถกู ทุกข้อ

๑๙. ข. ๐.๒๐ – ๐.๘๐

๒๐. ค. ๐.๔๐ ≤ P < ๐.๖๐
๒๑. ก. ๐.๖๐ ≤ P ≤ ๐.๘๐ แสดงว่ำ เป็นขอ้ สอบค่อนข้ำงยำก (ด)ี

๒๒. ค. ข้อสอบข้อนนั้ คนเกง่ ทำไม่ได้ คนอ่อนทำได้

๒๓. ค. .๒๐ ≤ r ≤ .๒๙ แสดงว่ำ จำแนกพอใช้ได้ อำจต้องปรับปรงุ บ้ำง

๒๔. ง. IOC

๒๕. ง. ต่ำกว่ำ ๐.๕๐

๒๖. ก. มำตรำนำมบัญญัติ

๒๗. ค. คำ่ เฉล่ีย

๒๘. ข. เปน็ ค่ำกลำงของข้อมลู ทนี่ ำมำเรียงกนั จำกนอ้ ยไปมำก

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 332

------------------------------------------------------------------------------
๒๙. ค. เป็นคำ่ ตัวเลขที่ซ้ำกันมำกท่สี ดุ

๓๐. ข. กำรประเมินผลตำมสภำพจริง
๓๑. ง. ผสู้ อนไมส่ ำมำรถบูรณำกำรและปรับขยำยหลกั สตู ร

๓๒. ก. ๒ ลักษณะ

๓๓. ข. ขอ้ สอบมำตรฐำน

๓๔. ค. ๔ ด้ำน

๓๕. ก. แบบบันทึก

๓๖. ง. สิ่งประดิษฐ์

๓๗. ก. วดั และประเมินผลเพื่อพฒั นำผเู้ รียนและตัดสินผลกำรเรียน

๓๘. ค. ๔ ระดับ

๓๙. ก. กำรประเมนิ ในชั้นเรียน

๔๐. ข. กำรประเมนิ ระดับสถำนศึกษำ

๔๑. ค. กำรประเมนิ ระดบั เขตพน้ื ที่

๔๒. ง. กำรประเมนิ ระดับชำติ

๔๓. ก. กำรประเมินระดับกลมุ่ ผเู้ รียน

๔๔. ค. มำตรฐำนและตัวช้ีวดั

๔๕. ข. สทศ.

๔๖. ง. O-NET

๔๗. ค. ๔ วิชำ ๘ กลุ่มสำระฯ

๔๘. ข. ๖ วชิ ำ ๘ กลมุ่ สำระฯ

๔๙. ก. LAS
๕๐. ก. สพฐ.

๕๑. ง. เปน็ คนดี มีปัญญำ มีคณุ ภำพชวี ติ ท่ีดแี ละมีขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันในเวทีระดบั โลก

๕๒. ข. ตวั ชี้วดั ในรำยวิชำพ้ืนฐำน

๕๓. ค. ผู้เรียนตอ้ งไดร้ บั กำรตดั สินผลกำรเรยี นร้อยละ ๘๐ ของรำยวิชำ

๕๔. ง. ถูกทกุ ข้อ

๕๕. ก. มีผลงำนท่แี สดงถึงควำมสำมำรถในกำรอำ่ น คดิ วิเครำะห์และเขียนทม่ี ีคุณภำพดเี ลศิ อยู่เสมอ

๕๖. ค. มผี ลงำนทแ่ี สดงถึงควำมสำมำรถในกำรอ่ำน คดิ วเิ ครำะหแ์ ละเขียนท่ีมีคณุ ภำพเปน็ ที่ยอมรับ แต่ยงั มี

ขอ้ บกพร่องบำงประกำร

๕๗. ข. ผู้เรียนมีคุณลักษณะในกำรปฏบิ ัตติ ำมกฎเกณฑ์ เพ่อื ให้เปน็ กำรยอมรบั ของสงั คม

๕๘. ง. ผเู้ รียนรบั ร้แู ละปฏบิ ัตไิ ดไ้ ม่ครบตำมกฎเกณฑแ์ ละเงอื่ นไขทส่ี ถำนศึกษำกำหนด โดยพิจำรณำจำกผลกำร

ประเมนิ ระดบั ไม่ผ่ำน ตง้ั แต่ ๑ คณุ ลักษณะ

๕๙. ง. ผู้เรียนมคี ณุ ธรรมจริยธรรมตำมที่สถำนศึกษำกำหนด

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 333

------------------------------------------------------------------------------
๖๐. ง. ผู้เรยี นมที กั ษะกำรส่ือสำร กำรคดิ กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู และคณุ ธรรมจริยธรรมตำมที่หลักสูตรแกนกลำง

กำรศึกษำขัน้ พ้ืนฐำนกำหนด
๖๑. ก. ตดั สินผลกำรเรียนเปน็ รำยวชิ ำ ผเู้ รยี นต้องมีเวลำเรียนตลอดภำคเรียนไม่น้อยกว่ำ

ร้อยละ ๖๐ ของเวลำเรยี นทั้งหมดในรำยวชิ ำน้ัน ๆ

๖๒. ค. ผเู้ รยี นไม่มสี ทิ ธิเข้ำรับกำรวดั ผลปลำยภำคเรยี น เนือ่ งจำกผู้เรยี นมเี วลำเรียนไม่ถึงรอ้ ยละ ๘๐ ของเวลำเรียนใน

แต่ละรำยวชิ ำ

๖๓. ข. ผู้เรียนต้องไดห้ น่วยกิตตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกว่ำ ๖๖ หนว่ ยกติ โดยเปน็ รำยวชิ ำพ้ืนฐำน ๕๕ หน่วยกติ และ

รำยวิชำเพม่ิ เตมิ ไมน่ ้อยกวำ่ ๑๑ หน่วยกิต

๖๔. ก. ผเู้ รยี นเรยี นรำยวชิ ำพื้นฐำนและเพ่ิมเติมไมน่ ้อยกวำ่ ๙๐ หน่วยกติ โดยเปน็ รำยวชิ ำพนื้ ฐำน ๔๑ หน่วยกติ และ

รำยวิชำเพ่มิ เตมิ ตำมทส่ี ถำนศึกษำกำหนด

๖๕. ง. ถูกทุกข้อ

๖๖. ข. ๓

๖๗. ก. ๒

๖๘. ข. ๓

๖๙. ก. ระเบยี นแสดงผลกำรเรียน (ปพ.๑)

๗๐. ข. ประกำศนยี บตั ร (ปพ.๒)

๗๑. ค. แบบรำยงำนผู้สำเร็จกำรศึกษำ (ปพ.๓)

๗๒. ง. แบบบันทกึ ผลกำรเรียนประจำรำยวิชำ

๗๓. ก. ระเบยี นสะสม

๗๔. ง. แบบรำยงำนประจำตัวนักเรียน

๗๕. ค. รวมสำมปีไม่น้อยกว่ำ ๓,๖๐๐ ช่ัวโมง

-----------------------------

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 334

------------------------------------------------------------------------------

แนวขอ้ สอบ การจดั ทาแผนงาน โครงการตา่ งๆ

1. กำรวำงแผน (Planning) มีลกั ษณะอย่ำงไร

ก. เป็นกำรปฏบิ ัติ (Action) ข. มลี ักษณะไมห่ ยดุ น่งิ (Dynamic)

ค. เปน็ กระบวนกำรอยำ่ งมีข้ันตอน (Process) ง. ถกู ทกุ ขอ้

ตอบ ง.

2. กำรวำงแผนแบบรำยโครงกำรถอื เปน็ กำรวำงแผนในกระสวนชนดิ ใด

ก. Bottom-Up Process ข. Top-Down Process

ค. Two-Way Process ง. Diagnosis Process

ตอบ ก.

3. ผ้วู ำงแผนจะต้องอำศัยขอ้ มูลข่ำวสำรอยำ่ งมำก ข้อมลู สำคัญ ๆ ไดแ้ ก่ ข้อมูลภำยในองค์กำรข้อมูลเก่ยี วกับกำร

แขนงใด

ก. ข้อมูลทำงธรรมชำติ ข. ข้อมลู ทำงเทคนิค

ค. ขอ้ มลู เก่ยี วกบั สภำพแวดล้อมของแผน ง. ข้อมลู ด้ำนกำรเงนิ และองค์กำร

ตอบ ค.

4. ในกำรคำดคะเนส่ิงแวดลอ้ มในกำรวำงแผนนัน้ สงิ่ แวดล้อมชนิดใดท่คี ำดคะเนได้ยำกทีส่ ุด

ก. สิ่งแวดล้อมทำงกำยภำพ ข. ส่งิ แวดลอ้ มทำงภูมศิ ำสตร์

ค. สิ่งแวดล้อมท่ีควบคุมได้ ง. สิง่ แวดลอ้ มท่ีควบคมุ ไม่ได้

ตอบ ง.

5. กำรวำงแผนอำจล้มเหลวได้ดว้ ยเหตใุ ดมำกที่สดุ

ก. ขำดควำมรู้ในวิทยำกำรวำงแผน ข. มีผลประโยชน์สว่ นตนเข้ำมำเก่ยี วข้อง

ค. ขำดกำรนำขอ้ มูลมำใช้อย่ำงถูกตอ้ ง ง. มีอุบัติภยั ทำงธรรมชำตเิ กิดขน้ึ

ตอบ ก.

6. เปำ้ หมำยของแผนบอกอะไรเกี่ยวกบั แผน

ก. ขอบเขตอันเจำะจงของแผน ข. จุดหมำยปลำยทำงทแี่ ผนจะตอ้ งทำให้ได้

ค. รำยละเอยี ดของงำนทจ่ี ะต้องปฏิบัติตำมแผน ง. ผลตอบแทนของแผน

ตอบ ข.

7. ในกำรวำงแผนพฒั นำในกรณีทมี่ ีขอ้ มูลไมเ่ พยี งพอเชน่ แผนพัฒนำฯ ฉบับท่ี 1 ของไทยน้นั จะแกไ้ ขไดอ้ ยำ่ งไร

ก. วำงแผนโดยไมใ่ ช้ขอ้ มลู ข. ใชว้ ธิ ีศึกษำขอ้ มูลในอดีตแล้วหำแนวโนม้

ค. ใช้ข้อมลู ทำงประวตั ิศำสตร์เปน็ หลัก ง. ใช้กำรคำดคะเนของนกั วำงแผนเปน็ หลกั

ตอบ ข.

8. ควำมงำ่ ยในกำรปฏิบตั ิตำมแผน (Ease of Implementation) จะดูได้จำกมติ ใิ ดเปน็ พเิ ศษ

ก. ควำมสลบั ซบั ซอ้ นต้องมีนอ้ ย ข. มีควำมสำคญั น้อย

ค. ควำมถใี่ นกำรใช้แผนไมบ่ ่อยนกั ง. มพี ิธีกำรนอ้ ย

ตอบ ก.

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 335

------------------------------------------------------------------------------
9. แหล่งที่มำของควำมคดิ ในกำรวำงแผนจะมมี ำจำกหลำยแหล่งดว้ ยกัน ข้อใดมิใชแ่ หลง่ ท่ีมำดงั กล่ำว

ก. ควำมตอ้ งกำรของผู้วำงแผน ข. ขอ้ เสนอแนะของผ้ปู ฏิบตั งิ ำน
ค. ผลจำกกำรวจิ ัยหรือพัฒนำ ง. มติของมหำชน

ตอบ ก.

10. แผนงำนและนโยบำยอำจมจี ดุ ต่ำงกันท่จี ุดใด

ก. ผูอ้ นมุ ตั ิ ข. ผรู้ ับผิดชอบ ค. ผ้วู ิเครำะห์ ง. ผู้ควบคมุ

ตอบ ข.

11. ข้อใดแสดงควำมสัมพันธร์ ะหว่ำงแผนและโครงกำรได้ดีทส่ี ดุ

ก. แผนประกอบด้วยโครงกำรทส่ี อดคลอ้ งกันหลำย ๆ โครงกำร

ข. โครงกำรทัง้ หลำยเป็นสว่ นประกอบย่อย ๆ ของแผน

ค. แผนจะกำหนดแนวทำง สว่ นโครงกำรจะนำแนวทำงไปกำหนดรำยละเอียดในกำรดำเนนิ กำร

ง. โครงกำรทุกโครงกำรคอื แผน

ตอบ ง.

12. ในกำรเลือกวธิ ดี ำเนนิ กำรตำมแผนจะต้องเปรยี บเทยี บทำงเลือกทอี่ ย่ใู นเกณฑก์ บั ตัวแปรหลำยตวั ตวั แปรใด

ต่อไปนไี้ ม่ใช่

ก. วัตถุประสงค์ของแผน ข. ควำมนำ่ จะเป็นไปไดข้ องทำงเลอื ก

ค. ประสทิ ธิผลของทำงเลือก ง. ควำมตอ้ งกำรของกลมุ่ ผลประโยชน์

ตอบ ง.

13. กลำ่ วโดยสรปุ วำ่ แผนจะให้ประโยชน์อยำ่ งสำคญั ทส่ี ุดอย่ำงไร

ก. ช่วยทำใหโ้ อกำสทีง่ ำนจะสำเร็จมีมำกขึน้

ข. ช่วยให้เกิดกำรประหยดั เวลำ แรงงำน วสั ดุและอปุ กรณ์

ค. ชว่ ยใหเ้ กดิ กำรรว่ มกันทำงำนมำกข้นึ

ง. เปน็ กำรระดมควำมรคู้ วำมชำนำญได้มำกข้ึน

ตอบ ก.

14. กำรที่จะหลีกเล่ยี งอุปสรรคในกำรวำงแผนจะทำไดโ้ ดยวธิ ใี ด

ก. จัดเตรยี มขอ้ มลู ให้พรอ้ ม ข. จดั เตรียมทรพั ยำกรในกำรวำงแผนให้พร้อม

ค. ตอ้ งไดร้ ับกำรสนับสนุนจำกหนว่ ยงำนตำ่ ง ๆ ได้ดี

ง. ถูกทกุ ขอ้

ตอบ ง

15. ในกำรจำแนกประเภทของแผนนน้ั เรำสำมำรถจำแนกไดโ้ ดยใชเ้ กณฑ์ตำ่ ง ๆ หลำยเกณฑ์ ขอ้ ใดมิใช่เกณฑท์ ใ่ี ช้

จำแนกประเภท

ก. ใช้วัตถุประสงค์ ข. ใชร้ ะยะเวลำ

ค. ใชท้ รัพยำกร ง. ใช้ลักษณะกำรใชง้ ำน

ตอบ ง.

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 336

------------------------------------------------------------------------------
16. กำรวำงแผนกค็ อื จะต้องคำนึงถึงในเรอ่ื งเวลำหรอื จะตอ้ งประหยดั เวลำ เรยี กตำมหลักของกำรวำงแผนว่ำอะไร

ก. ตัวแปรของกำรวำงแผน ข. วงจรของกำรวำงแผน
ค. ส่วนประกอบของกำรวำงแผน ง. มติ ขิ องกำรวำงแผน

ตอบ ก.

17. ขอ้ ใดเป็นคำนิยำมท่ีดีท่ีสุดในกำรอธบิ ำยควำมหมำยของกำรวำงแผน

ก. คอื กิจกรรมทีเ่ กี่ยวกบั กำรกำหนดส่ิงท่จี ะกระทำในอนำคต กำรประเมินผลของสงิ่ ทก่ี ำหนดว่ำจะกระทำ และ

กำหนดวิธกี ำร

ข. คอื กำรตระเตรียมรับสถำนกำรณ์ที่ไม่แนน่ อน ซ่ึงอำจเกดิ ข้นึ ในอนำคต
ค. คอื กำรเลอื กวิธที ำงในอนำคตจำกหลำยทำงสำหรับที่จะให้กิจกรรมท้ังหมดหรือเฉพำะบำงแผนงำน

ดำเนนิ กำรตำมวิถที ำง

ง. คอื กำรเลือกวถิ ีทำงที่ดีทส่ี ดุ เพยี งทำงเดยี วในกำรปฏบิ ตั งิ ำนเกี่ยวกับปัญหำแตล่ ะอย่ำงดังท่ีไดค้ ำดคะเนเอำ

ตอบ ก.

18. โครงกำรกบั แผนงำนท่ีมคี วำมคล้ำยคลึงกนั ในประเดน็ ใดบ้ำง

ก. วิธรี ำ่ ง ข. กำรนำไปใชง้ ำน

ค. วิธีกำรประเมนิ ง. ถูกทุกขอ้

ตอบ ก.

19. กำรจำแนกออกเป็นแผนเมือง แผนบริหำรงำน แผนกำรรบ เป็นกำรจำแนกโดยใชเ้ กณฑใ์ ด

ก. ใชว้ ัตถุประสงค์ ข. ใช้ระยะเวลำ
ค. ใชท้ รพั ยำกร ง. ใช้กจิ กรรม

ตอบ ก.

20. กำรวำงแผนใหป้ ระโยชนต์ ่อองคก์ ำรอยำ่ งไรบำ้ ง

ก. ช่วยชีใ้ ห้ทรำบถึงปญั หำทีเ่ กิดขึ้น ข. ชว่ ยปรับทิศทำงอนำคตขององค์กำร

ค. ชว่ ยปรบั และยกระดบั คณุ ภำพของกระบวนกำรตัดสินใจภำยในองค์กำรให้ดขี ึ้น

ง. ถกู ทุกข้อ

ตอบ ง.

21. ข้อใดคือกำรเรียงลำดบั จำกภำพกวำ้ ง ๆ ไปสู่รำยละเอียด

ก. นโยบำย แผนงำน โครงกำร ข. แผนงำน นโยบำย โครงกำร

ค. แผนงำน โครงกำร นโยบำย ง. นโยบำย โครงกำร แผนงำน

ตอบ ก.

22. ขอ้ ใดมใิ ช่ลักษณะของแผน

ก. เปน็ เรือ่ งในอนำคต ข. มีกำรกระทำ

ค. เป็นท่ีรวบรวมข้อมูลจำนวนมำก ง. ตอ้ งแสวงหำผลกำไร

ตอบ ง.

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 337

------------------------------------------------------------------------------
23. สงิ่ ใดต่อไปน้ี จดั วำ่ เปน็ สง่ิ ทีส่ ำคญั ที่สดุ ท่ีส่งผลให้กำรวำงแผนมีคณุ ภำพ

ก. กำรวิจัย ข. กำรมีขอ้ มลู ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้
ค. กำรพัฒนำทำงเลอื ก ง. กำรพจิ ำรณำขอ้ จำกัดต่ำง ๆ ในองคก์ ำร

ตอบ ข.

24. ข้อใดเปน็ งำนอันดับแรกท่ีนักวำงแผนต้องดำเนินกำร

ก. กำรรวบรวมข้อมูลที่เชือ่ ถือได้ ข. กำรกำหนดวัตถปุ ระสงค์

ค. กำรพฒั นำทำงเลอื ก ง. กำรพจิ ำรณำข้อจำกัดต่ำง ๆ ในองค์กำร

ตอบ ง.

25. สงิ่ ใดเปน็ สิง่ ท่สี ำคัญท่สี ดุ ทท่ี ำใหก้ ำรวำงแผนเกดิ กำรผดิ พลำด

ก. ผบู้ ริหำรขำดกำรรเิ รม่ิ ข. กำรขำดขอ้ มูลท่ีเชื่อถอื ได้

ค. กำรควบคมุ ของรัฐบำล ง. กำรเปลย่ี นแปลงทำงสังคมและเศรษฐกจิ

ตอบ ข.

26. ข้อจำกัดท่ีสำคัญทีส่ ุดในกำรวำงแผนขององค์กำรคอื อะไร

ก. พฤติกรรมของมนษุ ย์ ข. งบประมำณ

ค. วทิ ยำกำรกำ้ วหนำ้ ง. ระยะเวลำ

ตอบ ก.

27. ในกำรบริหำรโครงกำรจะต้องมศี นู ย์กลำง ซึ่งเป็นทรี่ วบรวมข้อมูลเกีย่ วกับโครงกำรศนู ย์กลำงนนั้ เรยี กว่ำอะไร

ก. ห้องปฏิบตั ิกำร ข. หอ้ งฝึกงำน

ค. หอ้ งประชมุ ง. ห้องสัมมนำ

ตอบ ก.

28. ขอ้ ใดมใิ ชห่ ลักกำรที่ดขี องโครงกำร

ก. ต้องประเมินผลได้ ข. ตอ้ งมวี ธิ ีดำเนินกำรทช่ี ดั เจน

ค. ต้องอยบู่ นควำมตอ้ งกำรของสังคม ง. ต้องเปน็ เอกเทศไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั โครงกำรอน่ื ใด

ตอบ ง.

29. กำรประเมนิ ผลหลังโครงกำรเสรจ็ ส้นิ กระทำไดใ้ นลักษณะใดบ้ำง

ก. ประเมินเม่ือเสรจ็ ใหม่ ๆ ข. ประเมินเกยี่ วกบั เวลำผำ่ นไประยะหน่ึง

ค. ประเมินเปน็ ระยะ ๆ ง. ข้อ ก. และขอ้ ข. ถูก

ตอบ ง.

30. ข้อใดมิใชห่ ลกั ในกำรควบคุมโครงกำร

ก. กำรนเิ ทศงำน ข. กำรตรวจงำน ค. กำรรำยงำน ง. กำรประชมุ

ตอบ ง.
31. กำรจดั โครงกำรอำจล้มเหลวไดเ้ พรำะหลำยสำเหตดุ ว้ ยกนั เหตุใดมใิ ชส่ ำเหตนุ ้ัน

ก. ทรพั ยำกรไมพ่ รอ้ ม

ข. กำรขำดระเบยี บวินยั โครงกำร

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 338

------------------------------------------------------------------------------
ค. ขำดควำมสำมำรถทง้ั ทำงเทคนิคและ/หรอื กำรบริกำร

ง. ควำมผดิ พลำดของโครงกำรเอง

ตอบ ง.

32. กำรร่ำงขนั้ ตอนดำเนนิ กำรโครงกำรจะตอ้ งบอกรำยละเอยี ดอะไรเปน็ สำคัญ

ก. บอกตำรำงเวลำปฏิบัติกำร ข. บอกทรพั ยำกรท่ีต้องใชแ้ ตล่ ะข้นั ตอน

ค. บอกแรงงำนทีต่ ้องปฏิบัติ ง. ถูกทกุ ข้อ

ตอบ ง.

33. เรำจะรู้ได้อยำ่ งไรว่ำ แนวทำงท่ีถูกต้องในกำรดำเนนิ โครงกำรจะเปน็ อย่ำงไร

ก. รู้ดว้ ยกำรคำดคะเน ข. รดู้ ว้ ยกำรสอบถำมจำกผู้เช่ียวชำญ

ค. ข้อมลู ท่ีเก็บมำวิเครำะห์จะนำเรำใหร้ ูไ้ ด้ ง. รู้จำกกำรศึกษำจำกโครงกำรท่ีคลำ้ ยคลงึ กัน

ตอบ ง.

34. กำรรำ่ งโครงกำรจะเร่ิมตน้ ดว้ ยกำรรำ่ งอะไรก่อน

ก. รำ่ งขอ้ มูล ข. ร่ำงโครงกำรกลยุทธ์

ค. ร่ำงองค์กำร ง. ร่ำงโครงกำรดำเนินกำร

ตอบ ข.

35. กำรบรหิ ำรโครงกำรจะเรม่ิ ต้นดว้ ยกิจกรรมใดกอ่ นจึงจะถกู ต้อง

ก. กำรรำ่ งแผนกำรบรหิ ำร ข. กำรทำควำมเขำ้ ใจกับตวั โครงกำร

ค. กำรหำผรู้ ว่ มงำน ง. กำรประชำสัมพนั ธใ์ หป้ ระชำชนยอมรับโครงกำร

ตอบ ก.

36. กำรประเมนิ ผลโครงกำรจะเร่ิมตน้ ทำสง่ิ ใดก่อน

ก. พิจำรณำรำยละเอียดของโครงกำรทีจ่ ะประเมินผล

ข. เกบ็ ขอ้ มลู เพอื่ วัดควำมเปล่ียนแปลงของผลโครงกำร

ค. วำงแผนกำรประเมินผล

ง. สร้ำงเครอ่ื งมือเพอื่ เกบ็ ขอ้ มูลของกำรบริหำรของโครงกำร

ตอบ ค.

37. ข้อใดเป็นกระบวนกำรท่เี รียงลำดับอยำ่ งถกู ต้องของโครงกำร

ก. ร่ำง – จดั กำรบรหิ ำร – ประเมินผล ข. ร่ำง – ประเมิน – จัดกำร – ประเมินผล

ค. ประเมิน – ร่ำง – จดั กำร – ประเมินผล ง. รำ่ ง – ประเมินผล – จดั กำร – วิเครำะห์

ตอบ ข.

38. กำรกำหนดกลยุทธ์ของโครงกำรต้องรับรู้สิ่งใดกอ่ นจงึ จะทำได้

ก. ขอบเขตของปัญหำ ข. ทรพั ยำกรที่มีสนบั สนุน

ค. เวลำท่ีมี ง. ถกู ทั้ง 3 ขอ้ ท่ีกลำ่ วมำ

ตอบ ง

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 339

------------------------------------------------------------------------------
39. กำรร่ำงขนั้ ตอนดำเนินกำรในโครงกำรจะตอ้ งบอกรำยละเอียดอะไรเป็นสำคญั

ก. บอกตำรำงเวลำปฏบิ ัติงำน ข. บอกทรพั ยำกรทต่ี อ้ งใชแ้ ต่ละขั้นตอน
ค. บอกแรงงำนท่ตี อ้ งปฏิบัติ ง. ถูกทกุ ขอ้

ตอบ ง.

40. กำรร่ำงโครงกำรจรงิ ๆ น้นั ขอ้ มูลสว่ นมำกจะหำได้จำกแหล่งใดมำกที่สดุ

ก. จำกสถำนที่ดำเนนิ โครงกำร ข. จำกเอกสำรทวั่ ๆ ไป

ค. จำกโครงกำรเก่ำท่มี ีลักษณะคลำ้ ยคลึงกัน ง. จำกสถำนทีร่ ำชกำรทัว่ ไป

ตอบ ง.

41. ขน้ั ตอนกำรประเมนิ โครงกำรควรเร่มิ ไดเ้ มือ่ ใดจงึ จะดีท่ีสดุ

ก. เมอื่ รำ่ งโครงกำรจัดกำรโครงกำร ข. กอ่ นจะเร่มิ กำรจดั กำรโครงกำร

ค. เมอ่ื ได้โครงกำรกลยุทธ์แล้ว ง. หลงั จำกเริ่มกำรจัดกำรโครงกำรไปแลว้

ตอบ ข

42. ในกำรประเมนิ โครงกำรพฒั นำนน้ั แนวทำงกำรประเมินที่เหมำะสมคอื แนวใด

ก. ประเมินแบบวเิ ครำะห์เปรยี บเทยี บโครงกำร

ข. ประเมนิ แนวกำรศึกษำควำมเป็นไปได้ของโครงกำร

ค. ประเมนิ เชิงประมำณ ง. ประเมนิ เชงิ คุณภำพ

ตอบ ข

43. กำรประเมินควำมเปน็ ไปได้ของโครงกำรจะเน้นกำรวิเครำะห์ 4 ตัวแปรคอื ข้อใด

ก. กำรจดั กำรกับเทคนิค ข. สง่ิ แวดล้อมกับกำรเมอื ง

ค. สงั คมกบั ส่งิ แวดล้อม ง. เศรษฐกิจกบั สงั คม

ตอบ ก

44. กำรประเมนิ ผลโครงกำรหมำยถงึ อะไร

ก. กำรติดตำมผลกำรปฏบิ ตั งิ ำนของโครงกำร ข. กำรตรวจสอบของกำรปฏิบตั ิงำนของโครงกำร

ค. กำรเปรยี บเทยี บผลงำนจรงิ กับผลท่ีวำงโครงกำรไว้ ง. กำรศกึ ษำควำมผิดพลำดของกำรบรหิ ำรโครงกำร

ตอบ ค

45. กำรประเมินผลโครงกำรควรกระทำไดเ้ มอ่ื ใด

ก. ในระหวำ่ งดำเนนิ โครงกำร ข. ทันทีภำยหลงั สนิ้ สุดกำรบริหำรโครงกำร

ค. ภำยหลังกำรส้นิ สดุ กำรบริหำรโครงกำรแลว้ ระยะหนง่ึ

ง. ถูกทั้ง ขอ้ ก. ข. และ ค.

ตอบ ง

45. ข้อใดเป็นคำกล่ำวทถ่ี กู ตอ้ งที่สุด

ก. เม่อื มีกำรร่ำงโครงกำรยอ่ มจะต้องมโี ครงกำรเกิดขน้ึ กอ่ น

ข. เมอ่ื มโี ครงกำรแล้วต่อไปย่อมตอ้ งมีกำรร่ำงโครงกำร

ค. เม่อื มีโครงกำรเกิดขน้ึ แลว้ แสดงวำ่ มีกำรร่ำงโครงกำรมำก่อนแน่นอน

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 340

------------------------------------------------------------------------------
ง. เมอ่ื มโี ครงกำรที่ดยี ่อมเปน็ หลกั ประกันว่ำจะต้องเกิดผลงำนท่ดี ีดว้ ย

ตอบ ก

46. ในกำรดำเนินโครงกำรในพ้ืนท่จี รงิ ต้องอำศยั องคป์ ระกอบพืน้ ฐำน ทช่ี ่วยใหโ้ ครงกำรดำรง

อยไู่ ด้น้นั เรียกว่ำอะไร

ก. Infrastructure ข. Manufacturer

ค. Program Structure ง. Public Relations

ตอบ ง

47. กำรเร่งกลยุทธข์ องโครงกำรมเี ป้ำหมำยเพอื่ ให้ไดส้ งิ่ ใด

ก. ไดแ้ นวทำงกำรดำเนนิ กำร ข. ได้ขอบเขตของโครงกำร

ค. ได้ขอ้ มูลเพอ่ื วำงโครงกำรในรำยละเอียด ง. ได้ทรำบโอกำสควำมสำเรจ็ ของโครงกำร

ตอบ ก.

48. โครงกำรกบั แผนงำนท่ีควำมคลำ้ ยคลงึ กันในประเดน็ ใดบำ้ ง

ก. วธิ ีรำ่ ง ข. กำรนำไปใช้งำน

ค. วิธีกำรประเมนิ ง. ถูกทกุ ข้อ

ตอบ ก.

49. กำรร่ำงโครงกำรจำแนกเป็น 2 ระยะ ระยะใดจะทำใหไ้ ด้รบั โครงกำรทสี่ มบรู ณ์

ก. กำรรำ่ งโครงกำรกำรดำเนินงำน ข. กำรร่ำงโครงกำรกลยทุ ธ์

ค. กำรร่ำงโครงกำรระยะสนั้ ง. กำรร่ำงโครงกำรเร่งดว่ น

ตอบ ก.

50. กำรจัดกำรโครงกำรอำจล้มเหลวได้เพรำะหลำยสำเหตดุ ว้ ยกนั เหตุใดมิใชส่ ำเหตุนนั้

ก. ทรัพยำกรไมพ่ รอ้ ม ข. กำรขำดระเบยี บวนิ ยั โครงกำร

ค. ขำดควำมสำมำรถทง้ั ทำงเทคนิคและ/หรือกำรบรกิ ำร

ง. ควำมผิดพลำดของโครงกำรเอง

ตอบ ง.

51. โครงกำรกับแผนงำนมีควำมคลำ้ ยคลงึ กันในประเดน็ ใดบ้ำง

ก. วิธกี ำรรำ่ ง ข. กำรนำไปใชง้ ำน

ค. วิธกี ำรประเมนิ ง. ถูกทกุ ข้อ

ตอบ ง.

52. ข้อใดสำคัญท่ีสดุ ทผ่ี ้สู รำ้ งโครงกรต้องกำรคือข้อมูลทีใ่ ห้ประโยชน์อยำ่ งไร

ก. ข้อมลู แสดงผลกำไรของโครงกำร

ข. ขอ้ มลู แสดงควำมสมั พนั ธ์ระหว่ำงโครงกำรที่เกี่ยวขอ้ งกนั

ค. ข้อมลู ทบ่ี อกถึงสถำนกำรณ์ในเวลำทีจ่ ะนำโครงกำรไปปฏบิ ตั ิ

ง. ขอ้ มลู ทบ่ี อกถึงสถำนกำรณ์ในขณะรำ่ งโครงกำร

ตอบ ง.

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 341

------------------------------------------------------------------------------
53. กำรประเมนิ ผลโครงกำรกระทำได้เม่อื ใด

ก. ในระหว่ำงกำรดำเนินโครงกำร ข. ทันทภี ำยหลงั สนิ้ สดุ กำรบริหำรโครงกร

ค. ภำยหลังกำรส้ินสดุ กำรบริหำรโครงกำรแลว้ ระยะหนึ่ง

ง. ถกู ทกุ ขอ้

ตอบ ง.

54. โครงกำรตำ่ งกนั งำนประจำในประเดน็ ที่สำคญั อยำ่ งไร

ก.โครงกำรมงี บประมำณที่แน่นอน แตง่ ำนประจำไมม่ ีงบประมำณท่แี นน่ อน

ข. โครงกำรมกี ำหนดเวลำเร่มิ ตน้ และสน้ิ สุดแน่นอน แตง่ ำนประจำปีเป็นกิจกรรมต่อเนอ่ื งตลอดเวลำ
ค. โครงกำรตอ้ งมหี ลำยหน่วยงำนร่วมรับผิดชอบ แต่งำนประจำมหี นว่ ยงำนเดียวรับผิดชอบ

ง.โครงกำรไม่มีงบประมำณแน่นอน แตง่ ำนประจำมีงบประมำณที่แน่นอน

ตอบ ข.

55. กำรตดั สินใจเลอื กโครงกำรที่ดคี วรจะเลอื กโครงกำรทีม่ ีลักษณะใดบำ้ ง

ก. เป็นโครงกำรที่ใหผ้ ลตอบแทนสูงสุด แตใ่ ช้ระยะเวลำนำน
ข. เป็นโครงกำรท่ีให้ผลตอบแทน แต่ใช้ระยะเวลำสั้นทสี่ ดุ

ค. เป็นโครงกำรท่ีใชง้ บประมำณและทรพั ยำกรน้อยที่สดุ

ง. เปน็ โครงกำรทมี่ ีอปุ สรรคมำกทสี่ ดุ

ตอบ ข.

56. ประสทิ ธภิ ำพของโครงกำร หมำยถึงส่ิงใด ข. โครงกำรใช้คำ่ ใช้จ่ำยต่ำ
ก. โครงกำรไดผ้ ลผลติ เรว็ กวำ่ ท่กี ำหนด

ค. โครงกำรได้ผลผลติ ครบถ้วนภำยในเวลำและทรพั ยำกรที่กำหนด

ง. เจำ้ หนำ้ ที่ปฏบิ ัติงำนอย่ำงเขม้ แข็ง

ตอบ ค.

57. ทรพั ยำกรใดท่ีถือว่ำสำคญั ทส่ี ุดในกำรดำเนนิ งำนโครงกำร

ก. เงิน ข. คน

ค. กำรจัดกำร ง. วสั ดุอุปกรณ์

ตอบ ข.

---------------------

ขอใหโ้ ชคดใี นการสอบทกุ ทา่ น


Click to View FlipBook Version