คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 44
------------------------------------------------------------------------------
3. พนักงำนรัฐวสิ ำหกิจ 4. ขำ้ รำชกำรสำนักงำนกำรตรวจเงนิ แผ่นดิน
ตอบ 3. แนวคดิ พนกั งาน หมายถงึ บคุ คลซึง่ ไดร้ บั กำรทำสัญญำจำ้ งใหป้ ฏิบัตหิ น้ำท่เี ปน็ พนกั งำนใน
หน่วยงำนของรฐั โดยได้รับเงนิ เดือนจำกเงินงบประมำณหมวดเงินอุดหนนุ เชน่ พนกั งานราชการ พนักงาน
รัฐวสิ าหกิจ พนกั งานธนาคารธนาคารแหง่ ประเทศไทย เป็นตน้
24. ขอ้ ใด เป็นความหมาย ของ “ลกู จา้ ง” ตาม พ.ร.บ.น้ี
1. บุคคลซึ่งได้รับกำรทำสัญญำจ้ำง ใหป้ ฏบิ ตั หิ น้ำท่เี ปน็ ลูกจำ้ งในหนว่ ยงำนของรัฐ
2. ไมว่ ่ำจะเปน็ ลูกจำ้ งประจำหรือชั่วครำว
3. ได้รับเงินเดือนจำกเงินงบประมำณหมวดคำ่ จำ้ งประจำ
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ ลูกจ้าง หมำยถึง บุคคลซึ่งได้รับการทาสญั ญาจา้ งให้ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีเปน็ พนักงานใน
หน่วยงานของรัฐ ไมว่ า่ จะเปน็ ลูกจ้างประจาหรอื ชัว่ คราวโดยลกู จ้างประจาได้รบั เงนิ เดือนจากเงินงบประมาณ
หมวดคา่ จ้างประจา
25. ในพระราชบัญญตั นิ ี้ “ผู้ปฏิบัติงานประเภทอนื่ ” หมายความตามข้อใด
1. บุคคลซง่ึ ไม่ได้รับกำรแต่งตง้ั ตำมสัญญำจ้ำงให้ปฏบิ ตั ิหนำ้ ทีใ่ นหน่วยงำนของรัฐแต่มีฐำนะเปน็ ข้ำรำชกำร
พนกั งำน หรือลูกจ้ำง
2. บคุ คลซงึ่ ไดร้ บั กำรแตง่ ต้งั ตำมกฎหมำยให้ปฏบิ ตั หิ นำ้ ท่ีในหนว่ ยงำนของรัฐแต่ไม่มีฐำนะเปน็ ข้ำรำชกำร
พนกั งำน หรือลูกจ้ำง
3. บุคคลซึง่ ได้รับกำรแตง่ ต้งั ตำมกฎหมำยให้ปฏิบตั ิหนำ้ ที่ในหน่วยงำนของรัฐมีฐำนะเปน็ ข้ำรำชกำร
พนักงำน หรือลูกจ้ำง
4. บุคคลซ่งึ ไดร้ ับกำรแตง่ ตง้ั ตำมสัญญำจ้ำงให้ปฏบิ ตั หิ นำ้ ทใ่ี นหนว่ ยงำนของรัฐมีฐำนะเปน็ ขำ้ รำชกำร
พนกั งำน หรือลกู จำ้ ง
ตอบ 2. แนวคดิ ผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น หมำยถึง บุคคลซงึ่ ได้รับการแตง่ ต้งั ตามกฎหมายใหป้ ฏิบตั ิ
หน้าท่ใี นหนว่ ยงานของรัฐ แตไ่ ม่มฐี านะเปน็ ขา้ ราชการ พนกั งาน หรอื ลกู จ้าง
26. ขอ้ ใดเป็น ผูป้ ฏิบัติงานประเภทอ่นื ตามพระราชบัญญัตนิ ี้
1. กรรมกำรกำรเลอื กตัง้ 2. กรรมกำรรัฐวิสำหกจิ
3. ท่ีปรกึ ษำของสว่ นรำชกำร 4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านประเภทอ่ืน หมำยถงึ บุคคลซึ่งไดร้ บั กำรแต่งตัง้ ตำมกฎหมำยให้ปฏิบตั ิ
หนำ้ ท่ีในหน่วยงำนของรฐั แตไ่ ม่มฐี ำนะเปน็ ข้ำรำชกำร พนักงำน หรือลกู จำ้ ง โดยอาจไดร้ บั การแตง่ ต้งั ในฐานะ
อ่ืนกไ็ ด้ เช่น ทปี่ รึกษาของส่วนราชการ
27. ขอ้ ใดผิด
1. พ.ร.บ.ควำมรับผิดทำงละเมดิ ฯ มิได้กำหนดหลกั เกณฑ์อันเป็นองคป์ ระกอบของกำรกระทำละเมิดไว้
2. กำรพจิ ำรณำว่ำเจ้ำหน้ำทีก่ ระทำละเมดิ หรือไม่ต้องพจิ ำรณำจำกองค์ประกอบกำรทำละเมดิ ตำมมำตรำ 420
แห่ง ป.พ.พ.
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 45
------------------------------------------------------------------------------
3. กำรกระทำละเมิดตำม พ.ร.บ.ควำมรบั ผดิ ทำงละเมดิ ฯ ต้องเป็นกำรกระทำของหนว่ ยงำนของรัฐผู้ออก
คำสงั่ เท่ำนน้ั
4. ไม่มขี อ้ ใดผดิ
ตอบ 3. แนวคิด พ.ร.บ.ควำมรบั ผิดทำงละเมดิ ฯ มไิ ดก้ ำหนดหลกั เกณฑ์อันเป็นองค์ประกอบของกำร
กระทำละเมิดไว้ กำรพิจำรณำว่ำเจำ้ หน้ำทก่ี ระทำละเมิดหรือไม่ ต้องพิจำรณำจำกองค์ประกอบกำรทำละเมิดตำม
มำตรำ 420 แหง่ ป.พ.พ.
การกระทาละเมดิ ตามพ.ร.บ. ความรับผดิ ทางละเมิด ฯ ต้องเปน็ การกระทาละเมิดของ “เจ้าหน้าที่” ซงึ่
เปน็ บุคคลธรรมดา ทีก่ ระทาการแทนและในนามของหน่วยงานของรัฐ
28. การกระทาโดยจงใจ หมายถึงข้อใด
1. กำรกระทำโดยต้งั ใจใหเ้ กิดผลเสยี หำยจะร้สู ำนึกหรือไม่ก็ตำม
2. กำรกระทำโดยร้สู ำนกึ ถงึ ผลเสยี หำยที่จะเกิดจำกกำรกระทำของตน
3. กำรกระทำโดยจะรู้สำนกึ ถึงผลเสยี หำยหรอื ไมก่ ไ็ ด้ แต่เกดิ ควำมเสียหำยขึน้ แลว้
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 2. แนวคิด การกระทาโดยจงใจ หมำยถงึ การกระทาโดยร้สู านกึ ถงึ ผลเสยี หายทจ่ี ะเกดิ จากการ
กระทาของตน ถ้ำรสู้ ำนึกวำ่ กำรกระทำนน้ั จะก่อควำมเสียหำยแกผ่ ูอ้ ่นื กเ็ ป็นกำรกระทำโดยจงใจแล้ว ส่วนผลเสีย
หำยจะเกิดข้นึ มำกน้อยเพยี งใดย่อมไมส่ ำคัญ (จิตติ ติงศภัทยิ ์)
29. ขอ้ ใด เป็นความหมายของ “กระทาโดยประมาทเลนิ เลอ่ ”
1. กำรกระทำโดยไม่จงใจ
2. กระทำโดยปรำศจำกควำมระมัดระวังซงึ่ บุคคลโดยทั่วไปในภำวะเชน่ นั้นจะต้องมคี วำมระมดั ระวงั ตำม
วสิ ยั และพฤตกิ ำรณ์
3. ผู้กระทำอำจใชค้ วำมระมัดระวงั เช่นว่ำน้ันได้แตไ่ ม่ได้ใช้ใหเ้ พียงพอ
4. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคิด การกระทาโดยประมาทเลินเล่อ หมำยถึง การกระทาโดยไม่จงใจ กระทาโดยปราศจาก
ความระมัดระวังซ่งึ บคุ คลโดยทั่วไปในภาวะเช่นนั้นจะตอ้ งมีความระมดั ระวังตามวิสัยและพฤติการณ์ ผกู้ ระทาอาจ
ใช้ความระมัดระวังเชน่ ว่านั้นได้แต่ไมไ่ ดใ้ ช้ให้เพยี งพอ
30. การทีเ่ ทศบาลไม่จัดให้มีสง่ิ กีดกนั้ หรอื เครื่องหมายแสดงว่ามีบอ่ ถนน เป็นเหตุให้ผ้อู ืน่ ขับรถไปชนขอบบอ่
และเกดิ ความเสียหาย ถอื วา่ การกระทาของเทศบาลเป็นการกระทาอย่างไร
1. กำรกระทำโดยเจตนำ 2. กำรกระทำโดยประมำทเลินเล่อ
3. กำรกระทำโดยจงใจ 4. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2. แนวคดิ การกระทาโดยประมาทเลินเล่อ เชน่ เทศบำลไม่จัดใหม้ ีส่ิงกีดก้ันหรอื เครื่องหมำยแสดง
วำ่ มบี อ่ ถนน เป็นเหตใุ ห้โจทกข์ บั รถไปชนขอบบ่อและเกิดควำมเสยี หำย (คำพิพำกษำศำลฎกี ำท่ี 1201/2502)
31. ความรบั ผิดทางละเมิด เกิดจากการกระทาความเสียหายทางดา้ นใด
1. ชวี ติ และร่ำงกำย 2. อนำมัย เสรีภำพ และทรัพย์สนิ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 46
------------------------------------------------------------------------------
3. สิทธิอยำ่ งหนงึ่ อยำ่ งใด 4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคดิ ควำมรับผิดทำงละเมิดจะเกดิ ขึ้นไดก้ ต็ ่อเมื่อมีควำมเสียหำยเกิดขึ้นแก่ผ้ถู ูกกระทำเทำ่ นน้ั
โดยอาจเปน็ ความเสยี แกช่ ีวติ รา่ งกาย อนามัย เสรีภาพ ทรพั ย์สิน หรือสิทธิอยา่ งหน่ึงอย่างใด
32. ในกรณีที่เจ้าหน้าท่กี ระทาละเมดิ ในการปฏบิ ตั ิหน้าทีข่ องบุคคลภายนอก บุคคลตามข้อใดจะต้องเป็นผู้รบั ผิด
ชดใช้คา่ สินไหมทดแทนแก่ผูเ้ สียหายในผลแห่งละเมิดนัน้
1. หนว่ ยงำนของรัฐท่ีเจ้ำหน้ำทผ่ี นู้ ัน้ สังกัดอยู่ 2. กระทรวงมหำดไทย
3. กระทรวงต้นสงั กัด 4. สำนักนำยกรฐั มนตรี
ตอบ 1. แนวคดิ ในกรณที ่ีเจ้ำหนำ้ ทก่ี ระทำละเมดิ ในกำรปฏิบัติหนำ้ ที่ของบุคคลภำยนอก หนว่ ยงานของ
รฐั ทเ่ี จา้ หน้าทผี่ นู้ ั้นอยูใ่ นสังกัด ยอ่ มต้องรบั ผดิ ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหำยในผลแหง่ ละเมิดนนั้
33. หน่วยงานของรัฐต้องรบั ผิดตอ่ ผู้เสียหายในผลแหง่ ละเมิดทีเ่ จา้ หน้าทีข่ องตนได้กระทาในการปฏิบัตหิ นา้ ท่ี
ในกรณีน้ผี เู้ สยี หายอาจฟอ้ งได้อยา่ งไร
1. ผเู้ สียหำยอำจฟ้องหนว่ ยงำนของรัฐดงั กลำ่ วได้โดยตรง ทัง้ ฟ้องเจำ้ หนำ้ ทด่ี ว้ ยได้
2. ผูเ้ สียหำยอำจฟ้องหนว่ ยงำนของรฐั ดงั กล่ำวได้โดยตรง แตจ่ ะฟ้องเจำ้ หน้ำทไ่ี มไ่ ด้
3. ผู้เสียหำยตอ้ งฟ้องเจำ้ หนำ้ ท่ีผ้กู ระทำละเมดิ เทำ่ น้นั ห้ำมฟอ้ งหน่วยงำนของรฐั
4. ไม่มขี ้อใดถูก
ตอบ 2. แนวคิด มาตรา 5 หน่วยงำนของรัฐตอ้ งรับผิดต่อผู้เสยี หำยในผลแหง่ ละเมดิ ที่เจ้ำหน้ำท่ีของตนได้
กระทำในกำรปฏบิ ตั หิ น้ำที่ ในกรณนี ้ี ผู้เสยี หายอาจฟอ้ งหนว่ ยงานของรฐั ดงั กล่าวไดโ้ ดยตรง แตจ่ ะฟ้อง
เจ้าหนา้ ทีไ่ ม่ได้
34. ถ้าการละเมดิ เกดิ จากเจ้าหน้าทซ่ี ึง่ ไม่ได้สงั กัดหนว่ ยงานของรัฐแห่งใด ให้ถือว่าหน่วยงานใดเป็นผู้รบั ผดิ
ชดใชค้ า่ สินไหมทดแทน 2. กระทรวงกำรคลัง
1. หนว่ ยงำนของรัฐที่เจำ้ หน้ำทน่ี นั้ สงั กัดอยู่ 4. สำนักนำยกรัฐมนตรี
3. กระทรวงมหำดไทย
ตอบ 2. แนวคิด มาตรา 5 วรรคสอง ถำ้ กำรละเมดิ เกดิ จำกเจำ้ หนำ้ ที่ซึง่ ไม่ไดส้ งั กดั หนว่ ยงำนของรัฐแห่ง
ใดใหถ้ ือวำ่ กระทรวงการคลัง เป็นหน่วยงำนของรัฐท่ีตอ้ งรบั ผดิ ตำมวรรคหนง่ึ
35. ถ้าการกระทาละเมิดของเจา้ หน้าที่มใิ ช่การกระทาในการปฏบิ ัตหิ น้าที่ ผ้ใู ดหรือหนว่ ยงานใดตอ้ งเป็นผู้รับผิด
ในการกระทาละเมิด ดังกลา่ ว 2. เจ้ำหน้ำท่ีและหน่วยงำนต้นสังกดั ต้องรับผิดร่วมกนั
1. เจำ้ หนำ้ ที่ตอ้ งรบั ผดิ เปน็ กำรเฉพำะตัว
3. เฉพำะหนว่ ยงำนของรัฐรับผิดเปน็ กำรเฉพำะตัว 4. สำนกั นำยกรฐั มนตรี
ตอบ 1. แนวคดิ ถ้ำกำรกระทำละเมดิ ของเจำ้ หนำ้ ทม่ี ิใช่กำรกระทำในกำรปฏบิ ตั ิหนำ้ ที่ เจ้าหนา้ ทต่ี ้องรับ
ผดิ ในการนนั้ เป็นการเฉพาะตวั ในกรณีนี้ผเู้ สยี หำยอำจฟ้องเจำ้ หนำ้ ทีไ่ ด้โดยตรง แตจ่ ะฟ้องหน่วยงำนของรัฐไม่ได้
36. ในคดที ่ีผเู้ สียหายฟ้องหน่วยงานของรัฐ ถา้ หนว่ ยงานของรฐั เหน็ วา่ เป็นเร่ืองท่ีเจา้ หนา้ ทีต่ ้องรับผิดหรือตอ้ ง
รว่ มรับผิด หรือในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องเจ้าหน้าท่ี ถา้ เจา้ หน้าทเี่ ห็นวา่ เปน็ เร่อื งท่หี นว่ ยงานของรัฐต้องรับผดิ หรอื ต้อง
ร่วมรับผดิ หนว่ ยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมีสิทธิตามข้อใด
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 47
------------------------------------------------------------------------------
1. มสี ิทธขิ อใหศ้ ำลที่พิจำรณำคดีนัน้ อยู่เรยี กเจำ้ หน้ำทีห่ รือหนว่ ยงำนของรฐั แล้วแตก่ รณี เขำ้ มำเปน็ คู่ควำม
ในคดี
2. มสี ิทธขิ อใหศ้ ำลท่ีพิจำรณำคดนี นั้ อยูเ่ รียกเจำ้ หน้ำท่ีหรือหน่วยงำนของรัฐ แลว้ แตก่ รณี เข้ำมำร่วมในกำร
รับผิด แตจ่ ะร้องขอใหเ้ ข้ำมำในคดไี ม่ได้
3. ไม่มีสทิ ธแิ ต่อย่ำงใด
4. ไม่มขี อ้ ใดถูก
ตอบ 1. แนวคดิ มาตรา 7 วรรคหนง่ึ ในคดีที่ผ้เู สยี หำยฟ้องหนว่ ยงำนของรัฐ ถำ้ หน่วยงำนของรฐั เหน็ วำ่
เป็นเรื่องท่ีเจำ้ หน้ำทตี่ ้องรบั ผิดหรือต้องร่วมรับผิด หรอื ในคดีทผี่ ูเ้ สียหำยฟ้องเจำ้ หนำ้ ท่ถี ้ำเจำ้ หน้ำทเี่ หน็ ว่ำเป็นเร่อื ง
ทห่ี นว่ ยงำนของรฐั ต้องรบั ผิดหรือตอ้ งร่วมรบั ผดิ หน่วยงานของรฐั หรือเจา้ หนา้ ทดี่ ังกล่าวมีสทิ ธิขอใหศ้ าลที่
พจิ ารณาคดนี น้ั อยู่เรยี กเจ้าหน้าท่ีหรอื หน่วยงานของรฐั แลว้ แตก่ รณี เข้ามาเป็นคคู่ วามในคดี
37. ถา้ ศาลพพิ ากษายกฟอ้ งเพราะเหตทุ ี่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหนา้ ท่ีที่ถกู ฟ้องมิใช่ผู้ตอ้ งรบั ผดิ ใหข้ ยายอายุ
ความฟอ้ งร้องผู้ท่ีตอ้ งรบั ผดิ ซ่ึงมไิ ดถ้ ูกเรยี กเข้ามาในคดีออกไปถึงก่เี ดือน นับแตว่ ันที่คาพิพากษาน้นั ถึงที่สดุ
1. 3 เดอื น 2. 6 เดอื น
3. 8 เดือน 4. 9 เดือน
ตอบ 2. แนวคดิ มาตรา 7 วรรคสอง ถำ้ ศำลพิพำกษำยกฟอ้ งเพรำะเหตทุ ี่หน่วยงำนของรัฐหรอื
เจำ้ หนำ้ ท่ที ่ีถูกฟอ้ งมิใช่ผู้ตอ้ งรบั ผิด ใหข้ ยำยอำยคุ วำมฟ้องรอ้ งผู้ที่ต้องรบั ผิดซง่ึ มไิ ด้ถูกเรียกเขำ้ มำในคดีออกไปถงึ
หกเดอื น นบั แตว่ ันท่ีคำพิพำกษำนน้ั ถงึ ท่ีสดุ
38. ในกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐต้องรบั ผิดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนแกผ่ เู้ สียหายเพอื่ การละเมิดของเจา้ หน้าที่ ให้
หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเก่ียวกับเจ้าหนา้ ที่ผู้ทาละเมดิ ตามขอ้ ใด ถา้ เจา้ หน้าท่ีไดก้ ระทาการนั้นไปด้วยความจงใจ
หรอื ประมาทเลินเลอ่ อย่างรา้ ยแรง
1. หนว่ ยงำนของรัฐมสี ทิ ธเิ รียกให้เจ้ำหน้ำทผ่ี ู้ทำละเมดิ ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนดงั กลำ่ ว
2. หน่วยงำนของรัฐมสี ิทธเิ รียกใหผ้ ู้บงั คับบญั ชำของเจำ้ หน้ำทผี่ ้ทู ำละเมดิ ชดใช้คำ่ สินไหมทดแทนดังกลำ่ ว
3. หน่วยงำนของรัฐมีสิทธิเรียกใหก้ ระทรวงกำรคลังชดใชค้ ำ่ สนิ ไหมทดแทนดังกลำ่ ว
4. หน่วยงำนของรัฐ ไม่มสี ิทธิเรียกใหเ้ จ้ำหน้ำที่ผูท้ ำละเมิดชดใชค้ ่ำสินไหมทดแทนดงั กล่ำว
ตอบ 1. แนวคดิ มาตรา 8 วรรคแรก ในกรณที ีห่ น่วยงำนของรัฐต้องรบั ผิดใช้คำ่ สนิ ไหมทดแทนแก่
ผ้เู สยี หำยเพอ่ื กำรละเมดิ ของเจ้ำหนำ้ ท่ี ให้หนว่ ยงานของรัฐมสี ิทธิเรียกให้เจ้าหนา้ ท่ีผู้ทาละเมดิ ชดใชค้ ่าสินไหม
ทดแทนดังกล่าวแก่หนว่ ยงานของรฐั ได้ ถ้ำเจำ้ หน้ำทไี่ ดก้ ระทำกำรน้ันไปดว้ ยควำมจงใจหรือประมำทเลนิ เล่ออยำ่ ง
รำ้ ยแรง
39. ในพระราชบัญญตั นิ ้ี สิทธเิ รียกใหช้ ดใช้คา่ สินไหมทดแทนจะมไี ด้เพยี งใด ใหค้ านงึ ถงึ ข้อใด
1. ระดับควำมร้ำยแรงแห่งกำรกระทำ
2. ระดบั ควำมรำ้ ยแรงแห่งกำรกระทำและควำมเป็นธรรมในแต่ละกรณีเป็นเกณฑ์
3. คำส่งั ของผู้บังคบั บัญชำ
4. ถกู ทุกข้อ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 48
------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2. แนวคดิ มาตรา 8 วรรคสอง สทิ ธิเรียกให้ชดใช้ค่ำสนิ ไหมทดแทนตำมวรรคหนง่ึ จะมไี ด้
เพยี งใดใหค้ ำนงึ ถึงระดับความรา้ ยแรงแหง่ การกระทาและความเปน็ ธรรมในแตล่ ะกรณีเปน็ เกณฑ์ โดยมิต้องให้
ใชเ้ ตม็ จำนวนของควำมเสยี หำยก็ได้
40. ในพระราชบัญญตั นิ ี้ ถา้ การละเมิดเกดิ จากความผดิ หรือความบกพรอ่ งของหนว่ ยงานของรัฐหรือระบบการ
ดาเนินงานสว่ นรวม ให้ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ใดจงึ จะถูกต้องที่สดุ เกย่ี วกบั เรื่องส่วนความรบั ผิด
1. ให้หกั สว่ นแหง่ ควำมรับผิดดังกล่ำวออกดว้ ย 2. ใหเ้ ปน็ ไปตำมคำสง่ั ของผู้บังคับบัญชำ
3. ถกู ทัง้ ข้อ 1. และ 2. 4. ไมม่ ีข้อใดถูก
ตอบ 1. แนวคิด มาตรา 8 วรรคสาม ถ้ำกำรละเมิดเกิดจำกควำมผิดหรอื ควำมบกพรอ่ งของหนว่ ยงำน
ของรัฐหรือระบบกำรดำเนินงำนส่วนรวม ให้หักส่วนแห่งความรับผดิ ดังกลา่ วออกดว้ ย
41. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ ง ในกรณเี กย่ี วกับการละเมิดท่ีเกดิ จากเจ้าหน้าที่หลายคน
1. มิให้นำหลักเร่ืองลูกหน้ีร่วมมำใชบ้ ังคบั
2. เจ้ำหน้ำที่แตล่ ะคนต้องรับผิดใช้ค่ำสินไหมทดแทนเฉพำะส่วนของตนเท่ำนน้ั
3. ถูกทั้งข้อ 1. และ 2.
4. ให้เปน็ ไปตำมคำสั่งของผู้บังคบั บญั ชำ
ตอบ 3. แนวคดิ มาตรา 8 วรรคสี่ ในกรณีท่ีกำรละเมิดเกดิ จำกเจำ้ หนำ้ ที่หลำยคน มใิ ห้นาหลักเรือ่ ง
ลกู หนี้รว่ มมาใชบ้ ังคับ และ เจา้ หน้าท่แี ตล่ ะคนตอ้ งรบั ผดิ ใชค้ ่าสินไหมทดแทนเฉพาะส่วนของตนเทา่ น้ัน
42. ถ้าหน่วยงานของรัฐหรอื เจา้ หน้าที่ได้ใชค้ า่ สินไหมทดแทนแกผ่ ้เู สียหาย สิทธิท่จี ะเรยี กใหอ้ ีกฝ่ายหนง่ึ ชดใชค้ ่า
สนิ ไหมทดแทนแกต่ นให้มีกาหนดอายุความก่ปี ี นบั แต่วันที่หน่วยงานของรัฐหรอื เจ้าหน้าทไ่ี ด้ใช้คา่ สินไหมทดแทน
นนั้ แก่ผู้เสียหาย
1. 1 ปี 2. 2 ปี
3. 3 ปี 4. 4 ปี
ตอบ 1. แนวคดิ มาตรา 9 ถำ้ หน่วยงำนของรัฐหรือเจำ้ หนำ้ ท่ไี ด้ใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหำย สทิ ธิท่ี
จะเรยี กให้อีกฝำ่ ยหน่ึงชดใช้คำ่ สินไหมทดแทนแก่ตนให้มีกำหนดอำยคุ วำม หนง่ึ ปี นับแตว่ ันที่หน่วยงำนของรัฐ
หรอื เจำ้ หน้ำที่ได้ใช้คำ่ สนิ ไหมทดแทนน้ันแกผ่ ูเ้ สยี หำย
43. ในกรณีท่ีเจ้าหน้าทเี่ ป็นผ้กู ระทาละเมดิ ตอ่ หน่วยงานของรัฐไม่ว่าจะเปน็ หน่วยงานของรฐั ทผี่ ้นู ้ันอยใู่ นสงั กัด
หรือไม่ ถ้ามิใชก่ ารกระทาในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทีใ่ ห้บังคับตามบทบญั ญัติในขอ้ ใด
1. พ.ร.บ.ระเบยี บขำ้ รำชกำรฯ 2. ประมวลกฎหมำยแพง่ และพำณชิ ย์
3. คำส่ังคณะรัฐมนตรี 4. คำสั่งนำยกรัฐมนตรี
ตอบ 2. แนวคดิ มาตรา 10 วรรคหนึ่ง ในกรณีที่เจำ้ หนำ้ ทเ่ี ป็นผูก้ ระทำละเมิดต่อหน่วยงำนของรฐั ไม่วำ่
จะเป็นหน่วยงำนของรฐั ทีผ่ ู้นั้นอยู่ในสังกดั หรือไม่ ถ้ำเป็นกำรกระทำในกำรปฏบิ ตั หิ นำ้ ทีก่ ำรเรียกร้องค่ำสินไหม
ทดแทนจำกเจ้ำหน้ำท่ีให้นำบทบัญญัตมิ ำตรำ 8 มำใชบ้ ังคับโดยอนุโลม แต่ถา้ มใิ ช่การกระทาในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี
ใหบ้ ังคับตามบทบัญญตั ิแหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 49
------------------------------------------------------------------------------
44. จากขอ้ 43. สทิ ธเิ รียกรอ้ งค่าสนิ ไหมทดแทนจากเจ้าหน้าท่ี ให้มกี าหนดอายคุ วามกป่ี ี
1. 1 ปี 2. 2 ปี
3. 3 ปี 4. 4 ปี
ตอบ 2. แนวคดิ มาตรา 10 วรรคสอง สทิ ธิเรียกรอ้ งค่ำสนิ ไหมทดแทนจำกเจำ้ หนำ้ ท่ที ้งั สองประกำร
ตำมวรรคหนง่ึ ใหม้ กี ำหนดอำยุควำม สองปี
45. จากข้อ 44. อายุความดงั กล่าว นับแตเ่ มือ่ ใด
1. นบั แตว่ ันทีห่ นว่ ยงำนของรัฐรู้ถึงกำรละเมดิ ดังกล่ำว
2. นับแต่วันทีห่ นว่ ยงำนของรัฐรู้ตวั เจำ้ หนำ้ ท่ี ผ้จู ะพงึ ต้องใช้คำ่ สนิ ไหมทดแทน
3. นับแต่วันทีห่ นว่ ยงำนของรัฐรถู้ ึงกำรละเมดิ และรู้ตัวเจ้ำหนำ้ ที่ ผูจ้ ะพึงต้องใชค้ ำ่ สนิ ไหมทดแทน
4. นับแตว่ ันที่ผู้บังคบั บัญชำมคี ำสงั่
ตอบ 3. แนวคดิ มาตรา 10 วรรคสอง สทิ ธิเรยี กรอ้ งคำ่ สินไหมทดแทนจำกเจ้ำหนำ้ ทท่ี ้งั สองประกำร
ตำมวรรคหนึง่ ใหม้ กี ำหนดอำยคุ วำมสองปี นบั แตว่ ันทหี่ นว่ ยงานของรัฐรถู้ ึงการละเมิดและรตู้ วั เจา้ หน้าท่ี ผจู้ ะพงึ
ต้องใชค้ ่าสินไหมทดแทน
46. กรณีทห่ี นว่ ยงานของรัฐเห็นว่าเจ้าหน้าทีผ่ ู้นน้ั ไม่ต้องรบั ผิด แตก่ ระทรวงการคลังตรวจสอบแลว้ เห็นวา่ ต้อง
รับผิด ให้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนนน้ั มีกาหนดอายุความก่ปี ี 4. 4 ปี
1. 1 ปี 2. 2 ปี 3. 3 ปี
ตอบ 1. แนวคดิ มาตรา 10 วรรคสอง กรณที ี่หนว่ ยงำนของรัฐเห็นว่ำเจ้ำหน้ำท่ีผู้น้ันไมต่ อ้ งรับผดิ แต่
กระทรวงกำรคลงั ตรวจสอบแล้วเห็นว่ำต้องรบั ผิด ใหส้ ทิ ธเิ รยี กรอ้ งค่ำสนิ ไหมทดแทนนั้นมกี ำหนดอำยคุ วำม หน่งึ
ปี
47. จากขอ้ 46. อายคุ วามดงั กล่าว นับแต่เม่อื ใด
1. นับแตว่ ันที่หนว่ ยงำนของรัฐมีคำสงั่ ตำมควำมเหน็ ของนำยกรฐั มนตรี
2. นับแต่วันทีห่ นว่ ยงำนของรฐั มีคำสงั่ ตำมควำมเหน็ ของคณะรฐั มนตรี
3. นับแตว่ ันทห่ี นว่ ยงำนของรัฐมคี ำสั่งตำมควำมเหน็ ของกระทรวงกำรคลงั
4. นบั แตว่ ันทห่ี นว่ ยงำนของรฐั มคี ำสัง่ ตำมควำมเห็นของกระทรวงมหำดไทย
ตอบ 3. แนวคิด มาตรา 10 วรรคสอง สิทธเิ รียกร้องคำ่ สินไหมทดแทนจำกเจำ้ หนำ้ ทท่ี ้ังสองประกำร
ตำมวรรคหนึ่ง ให้มีกำหนดอำยคุ วำมสองปีนบั แต่วันท่หี น่วยงำนของรัฐรู้ถึงกำรละเมดิ และรตู้ วั เจ้ำหน้ำท่ี ผู้จะพึง
ต้องใชค้ ำ่ สินไหมทดแทน และกรณที ่หี น่วยงำนของรฐั เห็นวำ่ เจำ้ หน้ำทผ่ี นู้ ้ันไม่ต้องรับผดิ แตก่ ระทรวงกำรคลงั
ตรวจสอบแล้วเห็นว่ำต้องรับผดิ ให้สิทธเิ รียกร้องคา่ สินไหมทดแทนน้ันมีกาหนดอายุความหน่ึงปี นับแตว่ ันที่
หนว่ ยงานของรฐั มีคาส่ังตามความเห็นของกระทรวงการคลงั
48. ในกรณีท่ผี ู้เสียหายเห็นว่า หน่วยงานของรัฐตอ้ งรบั ผิดตามมาตรา 5 ผเู้ สียหายมีสทิ ธิอย่างไร
1. ผเู้ สียหำยจะยน่ื คำขอต่อหน่วยงำนของรัฐ ให้พจิ ำรณำชดใช้คำ่ สินไหมทดแทนสำหรับควำมเสยี หำยทเี่ กิด
แกต่ นก็ได้
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 50
------------------------------------------------------------------------------
2. ผเู้ สยี หำยจะย่นื คำขอต่อนำยกรัฐมนตรี ให้พจิ ำรณำชดใชค้ ำ่ สินไหมทดแทนสำหรับควำมเสยี หำยท่เี กิดแก่
ตนก็ได้
3. ผ้เู สียหำยจะยืน่ คำขอต่อกระทรวงกำรคลัง ให้พจิ ำรณำชดใชค้ ่ำสนิ ไหมทดแทนสำหรับควำมเสยี หำยที่
เกิดแกต่ นกไ็ ด้
4. ผ้เู สียหำยจะยน่ื คำขอต่อคณะรัฐมนตรี ใหพ้ ิจำรณำชดใชค้ ำ่ สนิ ไหมทดแทนสำหรบั ควำมเสยี หำยทเ่ี กดิ แก่
ตนกไ็ ด้
ตอบ 1. แนวคดิ มาตรา 11 วรรคแรก ในกรณีทีผ่ ู้เสียหำย เห็นว่ำ หนว่ ยงำนของรฐั ต้องรบั ผิดตำมมำตรำ
5 ผเู้ สยี หายจะย่นื คาขอต่อ หน่วยงานของรฐั ใหพ้ ิจารณาชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนสาหรบั ความเสียหายท่ีเกดิ แก่
ตนกไ็ ด้
49. จากข้อ 48. หนว่ ยงานของรัฐจะต้องปฏบิ ตั ติ ามข้อใด
1. ต้องออกใบรบั คำขอให้ไว้เปน็ หลักฐำน
2. พจิ ำรณำคำขอนน้ั โดยไม่ชักชำ้
3. ตอ้ งออกใบรับคำขอให้ไว้เป็นหลักฐำนและพิจำรณำคำขอนัน้ โดยไมช่ ักชำ้
4. ไมม่ ขี อ้ ใดถกู
ตอบ 3. แนวคิด มาตรา 11 วรรคแรก ในกรณที ผี่ ู้เสียหำยเหน็ วำ่ หนว่ ยงำนของรัฐต้องรบั ผดิ ตำมมำตรำ
5 ผู้เสยี หำยจะยน่ื คำขอต่อหน่วยงำนของรัฐให้พจิ ำรณำชดใช้ค่ำสนิ ไหมทดแทนสำหรับควำมเสียหำยที่เกดิ แกต่ นก็
ได้ ในกำรนี้หน่วยงำนของรัฐ ตอ้ งออกใบรับคาขอใหไ้ ว้เป็นหลักฐานและพิจารณาคาขอนนั้ โดยไมช่ ักชา้
50. จากขอ้ 49. เม่อื หนว่ ยงานของรฐั มีคาส่งั เช่นใดแลว้ หากผู้เสียหายยังไม่พอใจในผลการวนิ ิจฉัยของ
หนว่ ยงานของรฐั กใ็ หม้ สี ิทธิอย่างไร
1. อทุ ธรณ์ 2. รอ้ งทกุ ข์
3. ฟอ้ งคดี 4. กล่ำวโทษ
ตอบ 2. แนวคิด มาตรา 11 วรรคแรก ในกรณีทผ่ี ู้เสยี หำย เห็นวำ่ หนว่ ยงำนของรัฐต้องรบั ผิดตำมมำตรำ
5 ผเู้ สียหำยจะยืน่ คำขอต่อหน่วยงำนของรัฐให้พิจำรณำชดใช้ค่ำสนิ ไหมทดแทนสำหรับควำมเสียหำยที่เกิดแกต่ นก็
ได้ ในกำรน้ีหนว่ ยงำนของรัฐตอ้ งออกใบรบั คำขอให้ไว้เป็นหลักฐำนและพจิ ำรณำคำขอนนั้ โดยไมช่ ักช้ำ เม่ือ
หน่วยงานของรฐั มีคาส่งั เช่นใดแลว้ หากผเู้ สียหายยังไม่พอใจในผลการวนิ จิ ฉัยของหน่วยงานของรัฐกใ็ ห้มีสิทธิ ร้อง
ทุกข์
51. ผู้เสยี หายจะตอ้ งกระทาการดังทก่ี ลา่ วมา ในขอ้ 50. ตอ่ ผู้ใดหรอื หน่วยงานใด
1. คณะกรรมกำรวินจิ ฉัยรอ้ งทกุ ข์ 2. คณะกรรมกำรวินิจฉยั อทุ ธรณ์
3. คณะกรรมกำรขำ้ รำชกำร 4. นำยกรัฐมนตรี
ตอบ 1. แนวคดิ มาตรา 11 วรรคแรก ในกรณที ผี่ ูเ้ สยี หำยเห็นว่ำ หนว่ ยงำนของรัฐต้องรบั ผิดตำมมำตรำ
5 ผ้เู สียหำยจะยืน่ คำขอต่อหน่วยงำนของรัฐใหพ้ ิจำรณำชดใชค้ ำ่ สินไหมทดแทนสำหรับควำมเสยี หำยท่ีเกิดแกต่ นก็
ได้ ในกำรน้หี นว่ ยงำนของรัฐตอ้ งออกใบรบั คำขอใหไ้ ว้เป็นหลกั ฐำนและพจิ ำรณำคำขอนั้นโดยไม่ชกั ชำ้ เมื่อ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 51
------------------------------------------------------------------------------
หน่วยงำนของรฐั มีคำสัง่ เชน่ ใดแล้วหำกผเู้ สยี หำยยงั ไม่พอใจในผลกำรวินจิ ฉยั ของหน่วยงำนของรัฐ กใ็ หม้ สี ทิ ธิ
ร้องทุกขต์ ่อ คณะกรรมการวินิจฉัยรอ้ งทกุ ข์ ตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยคณะกรรมกำรกฤษฎกี ำได้
52. การกระทาตามขอ้ 50. จะตอ้ งกระทาภายในระยะเวลากวี่ ัน นบั แต่วันทต่ี นไดร้ ับแจง้ ผลการวินจิ ฉัย
1. 60 วนั 2. 90 วนั
3. 120 วนั 4. 180 วนั
ตอบ 2. แนวคิด มาตรา 11 วรรคแรก ในกรณีท่ผี ู้เสยี หำยเห็นวำ่ หน่วยงำนของรัฐตอ้ งรับผดิ ตำมมำตรำ
5 ผเู้ สยี หำยจะยื่นคำขอต่อหน่วยงำนของรฐั ให้พิจำรณำชดใช้คำ่ สนิ ไหมทดแทนสำหรับควำมเสียหำยท่ีเกิดแกต่ นก็
ได้ ในกำรนี้หน่วยงำนของรัฐต้องออกใบรับคำขอใหไ้ วเ้ ป็นหลกั ฐำนและพจิ ำรณำคำขอนน้ั โดยไม่ชกั ชำ้ เม่อื
หน่วยงำนของรัฐมีคำส่ังเชน่ ใดแล้วหำกผูเ้ สยี หำยยังไม่พอใจในผลกำรวินิจฉยั ของหน่วยงำนของรัฐกใ็ หม้ สี ิทธิรอ้ ง
ทกุ ขต์ ่อคณะกรรมกำรวินจิ ฉัยร้องทกุ ข์ตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยคณะกรรมกำรกฤษฎกี ำไดภ้ ำยใน เก้าสิบวนั นบั แต่วนั ท่ี
ตนได้รับแจ้งผลกำรวนิ ิจฉยั
53. ในกรณีท่ผี ู้เสียหายได้ย่ืนคาขอตอ่ หนว่ ยงานของรัฐให้พจิ ารณาชดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทนให้หนว่ ยงานของรัฐ
พจิ ารณาคาขอท่ีได้รับใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในกวี่ นั
1. 90 วนั 2. 120 วนั 3. 160 วนั 4. 180 วนั
ตอบ 4. แนวคิด มาตรา 11 วรรคสอง ให้หน่วยงำนของรัฐพิจำรณำคำขอทีไ่ ด้รับตำมวรรคหนึง่ ให้แล้ว
เสร็จภำยใน หนึ่งรอ้ ยแปดสิบวัน
54. จากข้อ 53. หากเรอ่ื งใดไม่อาจพจิ ารณาได้ทัน ในกาหนดนัน้ จะตอ้ งรายงานปัญหาและอุปสรรค ตอ่ ผู้ใดหรือ
หนว่ ยงานใด เพอื่ ทราบและขออนุมัตขิ ยายระยะเวลาออกไปได้
1. รฐั มนตรีเจำ้ สงั กดั หรอื กำกบั หรอื ควบคมุ ดูแลหน่วยงำนของรฐั แห่งนั้น
2. คณะรัฐมนตรี
3. นำยกรัฐมนตรี 4. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลงั
ตอบ 1. แนวคดิ มาตรา 11 วรรคสอง ให้หนว่ ยงำนของรัฐพจิ ำรณำคำขอท่ไี ด้รบั ตำมวรรคหนงึ่ ใหแ้ ลว้
เสรจ็ ภำยในหน่งึ ร้อยแปดสิบวัน หำกเรือ่ งใดไม่อำจพิจำรณำได้ทันในกำหนดนนั้ จะต้องรายงานปัญหาและ
อุปสรรคให้ รัฐมนตรีเจา้ สังกัดหรอื กากบั หรอื ควบคมุ ดแู ลหน่วยงานของรฐั แห่งนั้นทราบ และขออนุมตั ิขยาย
ระยะเวลาออกไปได้
55. จากข้อ 54. แตร่ ัฐมนตรีดงั กล่าวจะพิจารณาอนุมัติให้ขยายระยะเวลาใหอ้ กี ได้ไม่เกินกว่ี ัน
1. 90 วนั 2. 120 วนั 3. 150 วนั 4. 180 วนั
ตอบ 4. แนวคดิ มาตรา 11 วรรคสอง ให้หน่วยงำนของรัฐพจิ ำรณำคำขอท่ีได้รับตำมวรรคหนง่ึ ใหแ้ ลว้
เสร็จภำยในหนงึ่ ร้อยแปดสบิ วนั หำกเรอ่ื งใดไม่อำจพจิ ำรณำไดท้ ันในกำหนดนัน้ จะตอ้ งรำยงำนปัญหำและอปุ สรรค
ใหร้ ฐั มนตรีเจำ้ สังกดั หรือกำกบั หรือควบคุมดูแลหน่วยงำนของรฐั แห่งนนั้ ทรำบและขออนมุ ัตขิ ยำยระยะเวลำ
ออกไปได้ แต่รัฐมนตรีดงั กลา่ วจะพิจารณาอนุมตั ิให้ขยายระยะเวลาใหอ้ กี ได้ ไมเ่ กินหนงึ่ รอ้ ยแปดสิบวนั
56. ในกรณีทเ่ี จ้าหนา้ ท่ีตอ้ งชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนที่หนว่ ยงานของรัฐไดใ้ ชใ้ หแ้ ก่ผู้เสยี หายตามมาตรา 8 หรอื
ในกรณีท่ีเจ้าหนา้ ทีต่ ้องใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทน เนื่องจากเจ้าหน้าทีผ่ ู้นั้นได้กระทาละเมิดตอ่ หนว่ ยงานของรฐั ตาม
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 52
------------------------------------------------------------------------------
มาตรา 10 ประกอบกบั มาตรา 8 ให้หน่วยงานของรฐั ที่เสยี หาย มีอานาจตามข้อใด
1. มอี ำนำจออกคำสง่ั เรียกใหเ้ จำ้ หน้ำทผี่ ู้นนั้ ชำระเงนิ ดงั กลำ่ วภำยในเวลำท่กี ำหนด
2. มอี ำนำจออกคำสัง่ ยดึ อำยัดทรัพย์ของเจ้ำหน้ำท่ีนั้น
3. มีอำนำจออกคำสง่ั ทำกำรขำยทอดตลำดทรพั ยข์ องเจำ้ หนำ้ ทนี่ ัน้
4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 1. แนวคดิ มาตรา 12 ในกรณที ่ีเจ้ำหนำ้ ท่ีตอ้ งชดใชค้ ่ำสินไหมทดแทนท่ีหน่วยงำนของรัฐไดใ้ ช้
ใหแ้ ก่ผู้เสียหำยตำมมำตรำ 8 หรือในกรณีที่เจ้ำหน้ำท่ตี อ้ งใช้คำ่ สินไหมทดแทน เนื่องจำกเจำ้ หนำ้ ที่ผ้นู ้นั ได้กระทำ
ละเมิดต่อหน่วยงำนของรัฐตำมมำตรำ 10 ประกอบกับมำตรำ 8 ให้หน่วยงานของรัฐท่เี สียหายมีอานาจออกคาสัง่
เรียกใหเ้ จา้ หน้าทีผ่ ู้น้ันชาระเงนิ ดังกลา่ วภายในเวลาท่กี าหนด
57. ให้ผใู้ ดหรือหน่วยงานใด เป็นผจู้ ดั ให้มรี ะเบียบเพ่อื ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ซ่ึงต้องรบั ผดิ ตามมาตรา 8 และมาตรา 10
สามารถผ่อนชาระเงินทีจ่ ะต้องรับผดิ นั้นได้ โดยคานึงถงึ รายได้ ฐานะ ครอบครวั และความรบั ผดิ ชอบ และ
พฤติการณ์แห่งกรณีประกอบดว้ ย 2. คณะรัฐมนตรี
1. นำยกรฐั มนตรี 4. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
3. รฐั มนตรีเจ้ำสังกดั ของเจำ้ หน้ำที่น้ัน
ตอบ 2. แนวคิด มาตรา 13 ให้ คณะรฐั มนตรี จัดให้มรี ะเบยี บเพ่อื ให้เจ้ำหนำ้ ท่ซี ึ่งต้องรบั ผิดตำมมำตรำ
8 และมำตรำ 10 สำมำรถผอ่ นชำระเงนิ ท่ีจะตอ้ งรับผิดน้นั ไดโ้ ดยคำนงึ ถงึ รำยได้ ฐำนะ ครอบครวั และควำม
รบั ผดิ ชอบ และพฤติกำรณแ์ ห่งกรณีประกอบดว้ ย
58. เม่ือไดม้ ีการจัดตัง้ ศาลปกครองข้ึนแล้ว สทิ ธิรอ้ งทุกข์ต่อคณะกรรมการวนิ จิ ฉัยรอ้ งทุกขต์ ามมาตรา 11 ให้
ถอื ว่าเปน็ สทิ ธิตามข้อใด
1. ร้องทกุ ข์ตอ่ คณะกรรมกำรวินิจฉยั เร่ืองร้องทกุ ข์ 2. อทุ ธรณต์ ่อคณะกรรมกำรวินจิ ฉยั อุทธรณ์
3. ฟอ้ งคดตี ่อศำลปกครอง 4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 3. แนวคดิ มาตรา 14 เมือ่ ได้มีกำรจัดตัง้ ศำลปกครองขึ้นแล้ว สทิ ธริ อ้ งทกุ ข์ต่อคณะกรรมกำร
วินิจฉัยร้องทกุ ขต์ ำมมำตรำ 11 ให้ถือว่าเป็นสิทธฟิ ้องคดตี ่อศาลปกครอง
59. ผ้ใู ดเป็นผูร้ ักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
1. นำยกรัฐมนตรี 2. คณะรฐั มนตรี
3. รฐั มนตรีว่ำกำรกระทรวงยตุ ธิ รรม 4. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ตอบ 1. แนวคิด มาตรา 15 ให้ นายกรัฐมนตรี รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติน้ี
60. ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ในพระราชบัญญัตินไี้ ดแ้ ก่ผ้ใู ด
1. นำยบรรหำร ศิลปอำชำ 2. นำยสมคั ร สนุ ทรเวช
3. พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ 4. จอมพลถนอม กติ ตขิ จร
ตอบ 1. แนวคดิ ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ นายบรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี
------------------------
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 53
------------------------------------------------------------------------------
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติ ข้อมลู ข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
1. พระรำชบัญญัติข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540 น้ี ให้ใชบ้ ังคับเมื่อใด
1. พ้นกำหนดหกสบิ วนั นับแตว่ นั ประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำเปน็ ตน้ ไป
2. พน้ กำหนดเกำ้ สบิ วนั นบั แต่วันประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำเป็นต้นไป
3. พ้นกำหนดร้อยย่สี บิ วนั นับแตว่ นั ประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำเปน็ ต้นไป
4. พ้นกำหนดร้อยแปดสบิ วันนับแต่วนั ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นต้นไป
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 1 พระรำชบัญญตั ิน้ี เรียกว่ำ พระรำชบัญญตั ิขอ้ มูลขำ่ วสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540
มำตรำ 2 พระรำชบัญญัตนิ ้ีให้ใชบ้ ังคับ เมื่อพน้ กำหนดเกำ้ สบิ วัน นับแต่วนั ประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำ
เปน็ ต้นไป
2. ขอ้ ใดถูกต้อง
1. สิทธใิ นกำรรบั รขู้ ้อมูลข่ำวสำรเป็นสทิ ธขิ นั้ พนื้ ฐำนของประชำชน
2. กำรใหป้ ระชำชนมีสิทธิในกำรรับรขู้ ้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรเป็นสิ่งสำคญั ทท่ี ำให้ประชำชนเข้ำมำมสี ว่ น
ร่วมในกระบวนกำรตัดสนิ ใจตำ่ งๆของรัฐ
3. กำรใหป้ ระชำชนมีสิทธใิ นกำรรับรู้ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรมีผลเป็นกำรสร้ำงกระบวนกำรตรวจสอบ
กำรใช้อำนำจรฐั โดยประชำชน
4. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคดิ สทิ ธใิ นกำรรบั รู้ข้อมูลขำ่ วสำรเป็นสทิ ธขิ ้ันพื้นฐำนของประชำชนในประเทศท่มี กี ำรปกครองใน
ระบอบประชำธิปไตยมำเป็นเวลำนำนแลว้ กำรให้ประชำชนมีสิทธิในกำรรบั ร้ขู ้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำร เป็นสง่ิ
สำคญั ท่ีทำให้ประชำชนเขำ้ มำมีสว่ นรว่ มในกระบวนกำรตัดสินใจต่ำงๆของรัฐ ซึง่ รวมไปถงึ กำรบริหำรงำนในดำ้ น
ต่ำงๆ ของรัฐด้วย และนอกจำกนย้ี ังเป็นกำรเปิดโอกำสให้ประชำชนมีสิทธิในกำรรบั รู้ขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำร
มผี ลเป็นกำรสรำ้ งกระบวนกำรตรวจสอบกำรใช้อำนำจรัฐโดยประชำชน เพรำะเมื่อประชำชนสำมำรถเข้ำถงึ ข้อมูล
ขำ่ วสำรของทำงรำชกำรได้งำ่ ย ประชำชนก็จะทรำบถึงกระบวนกำรตัดสินใจและกำรดำเนนิ กิจกรรมทำงปกครอง
ไดง้ ่ำย ซง่ึ ก็จะส่งผลทำใหฝ้ ำ่ ยปกครองระมัดระวงั ในกำรใช้อำนำจของตนมำกข้นึ
3. บรรดำกฎหมำย กฎ ระเบียบ และข้อบังคบั อ่ืน ในส่วนทีบ่ ัญญัติไวแ้ ล้วในพระรำชบัญญัติน้ี หรือซึง่ ขดั
หรอื แย้งกับบทแห่งพระรำชบญั ญัติน้ี จะมีผลอย่ำงไร
1. ใช้บงั คับไดบ้ ำงส่วน 2. ใหใ้ ชพ้ ระรำชบัญญตั ินแ้ี ทน
3. เปน็ โมฆะ 4. ไม่มผี ลทำงกฎหมำยแตป่ ระกำรใด
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 3 บรรดำกฎหมำย กฎ ระเบียบ และขอ้ บงั คับอ่ืน ในสว่ นทบ่ี ญั ญัติไว้แลว้ ใน
พระรำชบัญญตั ินี้ หรือซงึ่ ขดั หรือแย้งกับบทแหง่ พระรำชบญั ญัตินี้ ใหใ้ ชพ้ ระรำชบญั ญัตินี้แทน
4. ในพระรำชบัญญัตินี้ “ขอ้ มูลข่ำวสำร” หมำยควำมวำ่ อย่ำงไร
1. ข้อมลู ต่ำงๆ ของทำงรำชกำรทถ่ี ูกบันทกึ ในระบบคอมพิวเตอรเ์ ท่ำนั้น
2. ส่งิ ทีส่ ่ือควำมหมำยให้รู้เรื่องรำวข้อเท็จจริง ขอ้ มูล หรอื สงิ่ ใดๆ ไมว่ ำ่ กำรส่ือควำมหมำยน้ันจะทำได้โดย
สภำพของสิ่งนนั้ เองหรือโดยผ่ำนวธิ กี ำรใดๆ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 54
------------------------------------------------------------------------------
3. สง่ิ บันทึกโดยทำเปน็ รูปแบบของข้อมลู ในรปู เอกสำรเทำ่ น้ัน
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 4 ในพระรำชบัญญัตนิ ี้
“ขอ้ มูลข่ำวสำร” หมำยควำมว่ำ ส่งิ ทส่ี ือ่ ควำมหมำยใหร้ ูเ้ ร่ืองรำวขอ้ เทจ็ จริง ข้อมลู หรือส่งิ ใดๆ ไม่วำ่ กำร
สอื่ ควำมหมำยนนั้ จะทำได้โดยสภำพของสงิ่ นนั้ เองหรือโดยผ่ำนวิธกี ำรใดๆ และไมว่ ่ำจะไดจ้ ดั ทำไวใ้ นรูปของ
เอกสำรแฟ้ม รำยงำน หนงั สือ แผนผัง แผนที่ ภำพวำด ภำพถ่ำย ฟิลม์ กำรบนั ทกึ ภำพหรอื เสยี ง กำรบนั ทึกโดยเคร่ือง
คอมพิวเตอร์ หรือวธิ ีอน่ื ใดที่ทำให้สิ่งทีบ่ นั ทึกไว้ปรำกฏได้
5. ในพระรำชบัญญัตนิ ้ี ข้อใดคือควำมหมำย ของ “ข้อมูลขำ่ วสำรของทำงรำชกำร”ท่ถี ูกต้องท่สี ุด
1. ข้อมูลขำ่ วสำรท่อี ยู่ในควำมครอบครองของหนว่ ยงำนของรัฐ
2. ขอ้ มูลข่ำวสำรทอ่ี ยใู่ นควำมควบคมุ ดแู ลของหน่วยงำนของรัฐ
3. ข้อมูลขำ่ วสำรทอ่ี ยใู่ นควำมครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนว่ ยงำนของรัฐ ไมว่ ่ำจะเป็นข้อมลู ขำ่ วสำร
เก่ยี วกบั กำรดำเนินงำนของรัฐหรือข้อมลู ข่ำวสำรเกี่ยวกับเอกชน
4. ข้อมลู ขำ่ วสำรที่อยู่ในควำมครอบครองหรือควบคมุ ดูแลของหน่วยงำนของรัฐ ไม่วำ่ จะเป็นข้อมลู ขำ่ วสำร
เกยี่ วกับกำรดำเนินงำนของรัฐหรือขอ้ มูลข่ำวสำรเกี่ยวกับเอกชนรวมถึงข้อมูลท่ีเอกชนเกบ็ รกั ษำไว้ด้วยตนเองด้วย
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 4 “ขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำร” หมำยควำมวำ่ ข้อมูลขำ่ วสำรที่อยใู่ นควำมครอบครอง
หรอื ควบคมุ ดแู ลของหนว่ ยงำนของรัฐ ไมว่ ่ำจะเป็นขอ้ มลู ข่ำวสำรเกีย่ วกบั กำรดำเนนิ งำนของรัฐหรอื ข้อมูลขำ่ วสำร
เกี่ยวกบั เอกชน
6. ขอ้ ใดเป็นหน่วยงำนของรฐั ตำมควำมหมำยในพระรำชบัญญัตนิ ้ี
1. รำชกำรสว่ นกลำง รำชกำรส่วนภูมภิ ำค รำชกำรสว่ นท้องถ่นิ
2. รฐั วสิ ำหกิจ ส่วนรำชกำรสังกดั รฐั สภำ ศำลเฉพำะในสว่ นท่ไี ม่เก่ยี วกบั กำรพจิ ำรณำพพิ ำกษำคดี
3. องค์กรควบคมุ กำรประกอบวิชำชีพ หน่วยงำนอิสระของรัฐและหน่วยงำนอนื่ ตำมทก่ี ำหนดใน
กฎกระทรวง
4. ถกู ทุกข้อ
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 4 “หน่วยงำนของรัฐ” หมำยควำมว่ำ รำชกำรสว่ นกลำง รำชกำรส่วนภมู ภิ ำค รำชกำร
สว่ นทอ้ งถิ่น รัฐวิสำหกิจ ส่วนรำชกำรสงั กัดรฐั สภำ ศำลเฉพำะในส่วนที่ไม่เก่ียวกับกำรพิจำรณำพิพำกษำคดี
องคก์ รควบคุมกำรประกอบวิชำชพี หนว่ ยงำนอสิ ระของรัฐและหน่วยงำนอ่ืนตำมท่ีกำหนดในกฎกระทรวง
7. แนวคดิ ในกำรจดั ทำกฎหมำยข้อมูลขำ่ วสำรในประเทศไทย เกดิ ขึน้ อยำ่ งจริงจังเป็นคร้ังแรกในสมัย
นำยกรฐั มนตรที ่ำนใด
1. นำยชวน หลีกภัย 2. นำยอำนนั ท์ ปันยำรชนุ
3. พลเอกชวลติ ยงใจยุทธ 4. นำยสมคั ร สุนทรเวช
ตอบ 2. แนวคดิ แนวคดิ ในกำรจัดทำกฎหมำยข้อมูลขำ่ วสำรในประเทศไทยเกิดขน้ึ อยำ่ งจรงิ จังครงั้ แรกเมื่อ นำย
อำนนั ท์ ปันยำรชนุ นำยกรัฐมนตรีในสมยั น้นั ได้ตั้งคณะกรรมกำรปรับปรงุ ระบบบริหำรรำชกำรขน้ึ ในปี พ.ศ.
2534
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 55
------------------------------------------------------------------------------
8. ร่ำงกฎหมำยเกี่ยวกับข้อมลู ข่ำวสำรของทำงรำชกำรได้ผ่ำนกำรพิจำรณำของรัฐสภำและประกำศในรำชกจิ จำ
นเุ บกษำ เม่ือวันที่ 10 กันยำยน 2540 ในสมัยนำยกรฐั มนตรีทำ่ นใด
1. นำยชวน หลกี ภยั 2. นำยอำนันท์ ปันยำรชุน
3. พลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธ 4. นำยสมคั ร สนุ ทรเวช
ตอบ 3. แนวคิด รำ่ งกฎหมำยดังกลำ่ วประสบปญั หำและอุปสรรคหลำยประกำรท้งั จำกฝำ่ ยนติ บิ ญั ญัติและฝ่ำย
บริหำร จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. 2544 เม่อื พลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธ เปน็ นำยกรัฐมนตรี ร่ำงกฎหมำยเก่ยี วกบั ขอ้ มลู
ข่ำวสำรของทำงรำชกำรได้ผ่ำนกำรพจิ ำรณำของรัฐสภำและประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เมอื่ วนั ท่ี 10 กันยำยน
2540
9. ขอ้ ใดเปน็ ตวั อยำ่ ง ของ “ ข้อมลู ข่ำวสำรสว่ นบุคคล ”
1. กำรศกึ ษำ ฐำนะกำรเงิน ประวัติสขุ ภำพ ประวัตอิ ำชญำกรรม
2. ประวตั ิกำรทำงำน บรรดำทม่ี ชี ่ือของผู้นั้นหรอื มีเลขหมำย รหสั หรือสง่ิ บอกลักษณะอ่ืนที่ทำให้รู้ตวั ผู้นนั้
ได้ เช่น ลำยพมิ พน์ ิ้วมือ แผน่ บันทึกลักษณะเสยี งของคนหรือรปู ถำ่ ย
3. ขอ้ มลู ขำ่ วสำรเก่ยี วกบั สงิ่ เฉพำะตวั ของผู้ท่ีถงึ แกก่ รรมแล้ว
4. ถกู ทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 4 “ข้อมลู ข่ำวสำรสว่ นบคุ คล” หมำยควำมวำ่ ขอ้ มูลข่ำวสำรเกีย่ วกับสงิ่ เฉพำะตัวของ
บคุ คล เชน่ กำรศึกษำ ฐำนะกำรเงนิ ประวัตสิ ขุ ภำพ ประวัติอำชญำกรรม หรือประวัติกำรทำงำน บรรดำทมี่ ชี ื่อของผู้
นั้นหรือมเี ลขหมำย รหสั หรอื ส่งิ บอกลักษณะอน่ื ทท่ี ำใหร้ ูต้ ัวผู้นน้ั ได้ เช่น ลำยพมิ พ์น้ิวมือ แผน่ บันทกึ ลักษณะเสยี ง
ของคนหรอื รูปถ่ำย และให้หมำยควำมรวมถึงข้อมูลขำ่ วสำรเกี่ยวกบั สง่ิ เฉพำะตัวของผู้ท่ถี งึ แก่กรรมแลว้ ด้วย
10. ขอ้ ใดเปน็ ควำมหมำยของ “คนตำ่ งดำ้ ว” ในพระรำชบัญญัตนิ ี้
1. บุคคลธรรมดำและนติ บิ ุคคลทไี่ ม่มสี ญั ชำตไิ ทย 2. ไม่มีถ่ินท่อี ยใู่ นประเทศไทย
3. บคุ ลผ้ไู มม่ เี ชือ้ ชำติไทย 4. ถกู เฉพำะขอ้ 1. และ 2.
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 4. “คนต่ำงด้ำว” หมำยควำมว่ำ บคุ คลธรรมดำท่ีไมม่ สี ัญชำตไิ ทยและไมม่ ีถิ่นทอี่ ย่ใู น
ประเทศไทยและนติ ิบคุ คลดังต่อไปน้ี
11. จำกขอ้ 10. นิติบคุ คลตำ่ งด้ำว ไดแ้ ก่ นติ ิบุคคลประเภทใด
1. บริษัทหรือห้ำงหุ้นส่วนที่มที ุนเกนิ กง่ึ หน่งึ เป็นของคนต่ำงดำ้ ว ใบห้นุ ชนดิ ออกให้แก่ผถู้ ือให้ถือว่ำใบห้นุ
นนั้ คนต่ำงด้ำวเป็นผู้ถอื
2. สมำคมทีม่ สี มำชกิ เกนิ กึ่งหนง่ึ เปน็ คนตำ่ งดำ้ ว
3. สมำคมหรอื มลู นธิ ทิ มี่ วี ัตถุประสงค์เพ่อื ประโยชน์ของคนตำ่ งด้ำว
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 4 “คนต่ำงดำ้ ว” หมำยควำมวำ่ บุคคลธรรมดำทไ่ี ม่มสี ญั ชำติไทยและไมม่ ถี ่ินท่ีอยู่ใน
ประเทศไทยและนติ บิ คุ คลดงั ต่อไปนี้
(1) บริษทั หรือหำ้ งหุ้นส่วนทม่ี ีทุนเกินกึ่งหน่งึ เป็นของคนต่ำงด้ำวใบหนุ้ ชนดิ ออกใหแ้ กผ่ ้ถู ือใหถ้ อื ว่ำใบหุ้น
น้นั คนต่ำงดำ้ วเป็นผถู้ อื
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 56
------------------------------------------------------------------------------
(2) สมำคมที่มีสมำชกิ เกนิ กง่ึ หน่ึงเปน็ คนต่ำงดำ้ ว
(3) สมำคมหรือมลู นิธิทีม่ วี ตั ถุประสงคเ์ พือ่ ประโยชนข์ องคนตำ่ งดำ้ ว
(4) นิตบิ ุคคลตำม (1) (2) (3) หรือนิตบิ ุคคลอนื่ ใดที่มผี ้จู ัดกำรหรือกรรมกำรเกินกงึ่ หน่ึงเป็นคนตำ่ งด้ำว
12. ผใู้ ดเปน็ ผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัตนิ ้ี
1. นำยกรัฐมนตรี 2. คณะรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงเทคโนโลยีฯ 4. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกลำโหม
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 5 ให้ นำยกรัฐมนตรีรกั ษำกำร ตำมพระรำชบัญญัตินี้ และมอี ำนำจออกกฎกระทรวงเพื่อ
ปฏบิ ัตติ ำมพระรำชบัญญตั ิน้ี
13. ใหผ้ ู้รกั ษำกำรตำมพระรำชบัญญัตนิ ้ีในข้อ 12. มีอำนำจออกกฎกระทรวง เพอื่ ปฏบิ ัติตำมพระรำชบญั ญัตินี้
ซึง่ กฎกระทรวงจะใชบ้ ังคับไดต้ อ่ เมือ่ ได้กระทำกำรตำมข้อใด
1. ทนั ทที ี่ประกำศกฎกระทรวงนัน้ 2. เมอ่ื ประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำ
3. เมอ่ื รัฐสภำได้รบั รอง
4. เมอื่ ไดป้ ิดประกำศไว้ต่อหน้ำศำลและท่ที ำกำรอำเภอทุกทอ้ งที่
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 5 วรรคสอง กฎกระทรวงนั้นเม่ือประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำแลว้ ให้ใชบ้ งั คับได้
14. ข้อใดเปน็ จดุ หลักท่ีมำสำคญั ของกำรเข้ำถึงข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำร
1. รฐั ธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจักรไทย พุทธศกั รำช 2550
2. ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
3. พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรอื นฯ
4. มติคณะรัฐมนตรี
ตอบ 1. แนวคิด รัฐธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจกั รไทย พทุ ธศกั รำช 2550 ได้บัญญัตไิ วใ้ นส่วนท่ี 10 สทิ ธิ
ในเรื่องขอ้ มลู ข่ำวสำรและกำรร้องเรียน มำตรำ 56 และมำตรำ 57 (ปัจจุบันยังบงั คบั ใช้อยู่ โดยรฐั ธรรมนูญ
ฯ ฉบับชั่วครำว )
15. ใหจ้ ัดตง้ั สำนกั งำนคณะกรรมกำรขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำรขน้ึ ในสำนักงำนใด
1. สำนกั งำนปลัดกระทรวงยุติธรรม 2. สำนกั งำนตำรวจแหง่ ชำติ
3. สำนักงำนปลดั สำนกั นำยกรัฐมนตรี 4. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ 3. แนวคดิ มำตรำ 6 ให้จดั ตัง้ สำนกั งำนคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรขึ้นในสำนกั งำนปลัด
สำนักนำยกรฐั มนตรี
16. สำนกั งำนคณะกรรมกำรขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรมีหน้ำท่ตี ำมขอ้ ใด
1. ปฏิบัตงิ ำนเกีย่ วกบั งำนวชิ ำกำรและธุรกำร
2. ประสำนงำนกับหนว่ ยงำนของรฐั
3. ให้คำปรึกษำแก่เอกชนเกี่ยวกับกำรปฏิบตั ิตำมพระรำชบัญญัตินี้
4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 6 ใหจ้ ัดตัง้ สำนักงำนคณะกรรมกำรขอ้ มูลขำ่ วสำรของรำชกำรขน้ึ ในสำนกั งำนปลัด
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 57
------------------------------------------------------------------------------
สำนกั นำยกรัฐมนตรี มีหนำ้ ที่ปฏิบัตงิ ำนเกี่ยวกบั งำนวชิ ำกำรและธุรกำรให้แก่คณะกรรมกำร และคณะกรรมกำร
วนิ ิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมลู ขำ่ วสำร ประสำนงำนกับหน่วยงำนของรฐั และให้คำปรึกษำแก่เอกชนเก่ยี วกับกำรปฏิบัติ
ตำมพระรำชบัญญัตินี้
17. หนว่ ยงำนของรัฐตอ้ งสง่ ข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรอยำ่ งน้อยดังต่อไปนี้…” ลงพิมพ์ในข้อใด
1. หนังสอื พมิ พร์ ำยวัน 2. รำชกจิ จำนุเบกษำ
3. หนงั สอื เวยี น 4. ถูกทุกขอ้
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 7 หน่วยงำนของรฐั ต้องส่งข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรอย่ำงน้อยดงั ต่อไปนีล้ งพิมพ์ใน
รำชกิจจำนุเบกษำ
18. ข้อใดไม่ใช่ ขอ้ มูลขำ่ วสำรของรำชกำร ทีต่ ้องลงพมิ พ์ ตำมข้อ 17.
1. โครงสร้ำงและกำรจัดองค์กรในกำรดำเนินงำน
2. สรปุ อำนำจหน้ำทที่ ่ีสำคญั และวธิ กี ำรดำเนนิ งำน
3. รำยช่อื ของเอกชนผเู้ สียภำษอี ำกรต่ำงๆหรอื นำรำยได้เข้ำแกห่ นว่ ยงำนรำชกำรไมว่ ำ่ ทำงใดๆ
4. ถกู ทุกขอ้
ตอบ 3. แนวคดิ มำตรำ 7 (1) – (5) หน่วยงำนของรัฐตอ้ งสง่ ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรอย่ำงน้อยดังต่อไปนี้ลง
พมิ พใ์ นรำชกิจจำนุเบกษำ
(1) โครงสร้ำงและกำรจดั องคก์ รในกำรดำเนินงำน
(2) สรปุ อำนำจหนำ้ ทที่ สี่ ำคัญและวิธกี ำรดำเนินงำน
(3) สถำนที่ตดิ ตอ่ เพื่อขอรับข้อมูลขำ่ วสำรหรอื คำแนะนำในกำรติดต่อกับหน่วยงำนของรัฐ
(4) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคบั คำสง่ั หนงั สอื เวยี น ระเบยี บแบบแผน นโยบำย หรือกำรตคี วำม ทง้ั น้ี
เฉพำะท่ีจดั ให้มีข้นึ โดยสภำพอย่ำงกฎเพ่อื ให้มผี ลเป็นกำรท่ัวไปต่อเอกชนที่เก่ยี วข้อง
(5) ข้อมลู ขำ่ วสำรอ่ืนตำมที่คณะกรรมกำรกำหนด
19. ขอ้ ใดเป็น ขอ้ มลู ขำ่ วสำรท่ีต้องลงพิมพ์ ตำมข้อ 17.
1. สถำนทีต่ ดิ ตอ่ เพื่อขอรับข้อมูลข่ำวสำรหรอื คำแนะนำในกำรติดต่อกับหนว่ ยงำนของรฐั
2. กฎ มติคณะรฐั มนตรี ขอ้ บังคบั คำสงั่ หนังสือเวียน ระเบยี บแบบแผน นโยบำย หรือกำรตคี วำม ทั้งน้ี
เฉพำะทีจ่ ัดให้มขี ้ึนโดยสภำพอยำ่ งกฎเพอื่ ให้มีผลเป็นกำรทวั่ ไปต่อเอกชนท่ีเก่ยี วข้อง
3. ข้อมูลขำ่ วสำรอ่ืนตำมที่คณะกรรมกำรกำหนด
4. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 7 (ตำมขอ้ 18.)
20. ขอ้ ใดเป็นอำนำจของหนว่ ยงำนของรฐั เกย่ี วกับข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรทีไ่ ด้จัดพมิ พล์ งในรำชกิจจำ
นเุ บกษำแลว้
1. รวบรวมและจัดใหม้ ขี ้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรได้
2. จดั จำหน่ำยขอ้ มลู ขำ่ วสำรของรำชกำรเพอื่ เปน็ กำรเผยแพรไ่ ด้
3. จัดกำรจ่ำยแจกขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำร ณ ท่ีทำกำรของหน่วยงำนของรฐั ได้
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 58
------------------------------------------------------------------------------
4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 7 วรรคสำม ให้หน่วยงำนของรฐั รวบรวมและจดั ให้มีข้อมูลขำ่ วสำรตำมวรรคหน่งึ ไว้
เผยแพร่เพื่อขำยหรือจำหนำ่ ยจ่ำยแจก ณ ที่ทำกำรของหน่วยงำนของรัฐแหง่ นน้ั ตำมท่ีเห็นสมควร
21. ข้อมูลข่ำวสำรที่ต้องลงพมิ พ์ ตำมมำตรำ 7 (4) เร่ือง “กฎ มตคิ ณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คำสง่ั หนังสอื เวยี น
ระเบยี บแบบแผน นโยบำย หรอื กำรตคี วำม ทงั้ นี้ เฉพำะที่จดั ใหม้ ีขึ้นโดยสภำพอยำ่ งกฎเพอื่ ให้มีผลเป็นกำรท่ัวไป
ตอ่ เอกชนที่เก่ยี วข้อง” ถำ้ ยงั ไมไ่ ดล้ งพมิ พใ์ นรำชกิจจำนเุ บกษำจะมีผลอยำ่ งไร
1. จะนำมำใช้บงั คบั ในทำงใดๆไม่ได้เลย จนกวำ่ จะได้มีกำรประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำแลว้ เทำ่ นัน้
2. จะนำมำใชบ้ งั คบั ในทำงทไี่ ม่เปน็ คุณแกผ่ ู้ใดไมไ่ ด้เลย
3. จะนำมำใชบ้ ังคับในทำงที่ไม่เปน็ คณุ แกผ่ ู้ใดไม่ได้ เวน้ แตผ่ นู้ ั้นจะได้รู้ถงึ ข้อมูลขำ่ วสำรนัน้ ตำมควำมเปน็
จริงมำกอ่ นแล้วเปน็ เวลำพอสมควร
4. สำมำรถนำมำใชบ้ งั คบั ไดท้ ันที เป็นข้อยกเว้นของกฎหมำย
ตอบ 3. แนวคดิ มำตรำ 8 ขอ้ มลู ขำ่ วสำรทต่ี ้องลงพิมพต์ ำมมำตรำ 7 (4) ถำ้ ยังไม่ไดล้ งพมิ พใ์ นรำชกิจจำ
นุเบกษำ จะนำมำใช้บังคับในทำงที่ไมเ่ ป็นคุณแกผ่ ู้ใดไมไ่ ด้ เว้นแตผ่ ้นู ้ันจะได้รถู้ ึงข้อมูลขำ่ วสำรน้ันตำมควำมเป็น
จรงิ มำกอ่ นแลว้ เป็นเวลำพอสมควร
22. ภำยใต้บงั คับมำตรำ 14 และมำตรำ 15 ในพระรำชบัญญัตนิ ี้ หน่วยงำนของรัฐต้องจัดใหม้ ขี ้อมูลขำ่ วสำร
ของรำชกำรอยำ่ งน้อยดงั ต่อไปน.้ี ..” ไวเ้ พอื่ วตั ถุประสงคต์ ำมข้อใดเปน็ สำคัญ
1. เปน็ กำรประชำสัมพนั ธข์ ำ่ วสำรของทำงรำชกำร
2. เป็นข้อปฏิบัติแก่ข้ำรำชกำรในหน่วยงำนนั้นๆ
3. ให้ประชำชนเข้ำตรวจดไู ด้ตำมหลักเกณฑ์ท่กี ำหนด
4. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 9 ภำยใต้บงั คับมำตรำ 14 และมำตรำ 15 หนว่ ยงำนของรัฐตอ้ งจัดให้มขี ้อมลู ข่ำวสำร
ของรำชกำรอยำ่ งน้อยดังต่อไปนี้ ไว้ใหป้ ระชำชนเขำ้ ตรวจดไู ด้ ทง้ั น้ี ตำมหลกั เกณฑ์และวธิ ีกำรท่ีคณะกรรมกำร
กำหนด
23. ขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรข้อใด ท่ีประชำชนสำมำรถตรวจดูได้ ตำมหลกั เกณฑท์ ี่กฎหมำยกำหนด
1. ผลกำรพจิ ำรณำหรือคำวนิ ิจฉัยทม่ี ีผลโดยตรงต่อเอกชนรวมทัง้ ควำมเห็นแยง้ และคำสั่งท่ีเกี่ยวข้องในกำร
พจิ ำรณำวินิจฉยั ดงั กลำ่ ว
2. นโยบำยหรือกำรตีควำมที่ไม่เขำ้ ขำ่ ยตอ้ งลงพมิ พใ์ นรำชกจิ จำนเุ บกษำตำมมำตรำ 7 (4)
3. แผนงำน โครงกำร และงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปขี องปที กี่ ำลังดำเนนิ กำร
4. ถกู ทุกข้อ
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 9 (1) – (3) ภำยใตบ้ ังคับมำตรำ 14 และมำตรำ 15 หนว่ ยงำนของรัฐต้องจดั ให้มขี ้อมลู
ขำ่ วสำรของรำชกำรอย่ำงนอ้ ยดังต่อไปนี้ไว้ใหป้ ระชำชนเข้ำตรวจดูได้ ท้งั นี้ ตำมหลักเกณฑ์และวธิ ีกำรที่
คณะกรรมกำรกำหนด
(1) ผลกำรพิจำรณำหรอื คำวินจิ ฉัยท่มี ผี ลโดยตรงต่อเอกชนรวมท้ังควำมเห็นแย้งและคำสง่ั ท่ีเก่ยี วข้องในกำร
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 59
------------------------------------------------------------------------------
พิจำรณำวินิจฉัยดังกล่ำว
(2) นโยบำยหรือกำรตีควำมที่ไม่เข้ำขำ่ ยต้องลงพมิ พ์ในรำชกิจจำนุเบกษำ ตำมมำตรำ 7 (4)
(3) แผนงำน โครงกำร และงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีของปีท่ีกำลงั ดำเนนิ กำร
24. ขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรตำมข้อใด ที่ประชำชนสำมำรถตรวจดไู ด้ ตำมหลักเกณฑท์ ่ีกฎหมำยกำหนด
1. ค่มู อื หรอื คำส่งั เกย่ี วกบั วิธีปฏบิ ัติงำนของเจ้ำหน้ำทขี่ องรัฐซ่ึงมผี ลกระทบถึงสทิ ธหิ นำ้ ทข่ี องเอกชน
2. สิ่งพิมพ์ที่ได้มกี ำรอ้ำงอิงถึงตำมมำตรำ 7 วรรคสอง
3. มติคณะรัฐมนตรี
4. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 9 (4) (5) (7) ภำยใตบ้ งั คบั มำตรำ 14 และมำตรำ 15 หน่วยงำนของรัฐ ต้องจัดใหม้ ี
ข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำรอย่ำงน้อยดงั ต่อไปนไี้ ว้ใหป้ ระชำชนเข้ำตรวจดูไดท้ ้งั น้ี ตำมหลักเกณฑ์และวธิ ีกำรที่
คณะกรรมกำรกำหนด
(4) ค่มู อื หรือคำส่งั เกยี่ วกับวิธีปฏิบตั ิงำนของเจ้ำหนำ้ ที่ของรฐั ซึ่งมผี ลกระทบถึงสิทธหิ นำ้ ท่ขี องเอกชน
(5) สง่ิ พิมพ์ที่ได้มีกำรอ้ำงอิงถึงตำมมำตรำ 7 วรรคสอง
(7) มตคิ ณะรัฐมนตรี หรอื มตคิ ณะกรรมกำรท่ีแต่งตงั้ โดยกฎหมำยหรือโดยมติคณะรฐั มนตรี ทง้ั นี้ ใหร้ ะบุ
รำยช่อื รำยงำนทำงวชิ ำกำร รำยงำนขอ้ เทจ็ จริง หรือขอ้ มูลขำ่ วสำรที่นำมำใชใ้ นกำรพจิ ำรณำไว้ด้วย
25. ข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำรตำมขอ้ ใดท่หี น่วยงำนของรฐั หรอื เจ้ำหนำ้ ท่ีของรฐั อำจมีคำสั่งมิให้เปิดเผยกไ็ ด้
1. สัญญำสัมปทำน
2. สัญญำทม่ี ลี ักษณะเปน็ กำรผูกขำดตัดตอนสญั ญำรว่ มทุนกับเอกชนในกำรจดั ทำบรกิ ำรสำธำรณะ
3. กำรเปิดเผยจะกอ่ ให้เกดิ อันตรำยต่อชวี ิตหรือควำมปลอดภยั ของบุคคลหนงึ่ บคุ คลใด
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 15 (4 ) ข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำรท่ีมลี กั ษณะอย่ำงหนึ่งอยำ่ งใดดังตอ่ ไปนี้ หนว่ ยงำน
ของรัฐหรือเจ้ำหนำ้ ทขี่ องรฐั อำจมีคำสง่ั มิใหเ้ ปดิ เผยกไ็ ด้ โดยคำนงึ ถึงกำรปฏบิ ตั ิหนำ้ ท่ีตำมกฎหมำยของหน่วยงำน
ของรัฐประโยชนส์ ำธำรณะ และประโยชนข์ องเอกชนที่เกยี่ วข้องประกอบกัน
(4) กำรเปดิ เผยจะก่อใหเ้ กดิ อนั ตรำยตอ่ ชีวิตหรอื ควำมปลอดภยั ของบุคคลหน่ึงบคุ คลใด
มำตรำ 9 (6) ภำยใตบ้ ังคบั มำตรำ 14 และมำตรำ 15 หนว่ ยงำนของรัฐต้องจัดให้มขี ้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
อย่ำงน้อยดังต่อไปนี้ไว้ใหป้ ระชำชนเขำ้ ตรวจดูได้ท้งั น้ี ตำมหลกั เกณฑ์และวธิ ีกำรที่คณะกรรมกำรกำหนด
(6) สญั ญำสมั ปทำน สัญญำทม่ี ีลกั ษณะเปน็ กำรผูกขำดตัดตอนหรอื สัญญำรว่ มทุนกบั เอกชนในกำรจดั ทำ
บริกำรสำธำรณะ
26. ขอ้ มลู ขำ่ วสำรท่จี ัดใหป้ ระชำชนเข้ำตรวจดไู ด้ ตำมมำตรำ 9 วรรคหนึ่ง ถ้ำมีสว่ นท่ีต้องหำ้ มมิใหเ้ ปดิ เผย
ตำมมำตรำ 14 หรอื มำตรำ 15 อย่ดู ้วย ให้ปฏิบัติอยำ่ งไร
1. ลบ 2. ตดั ทอน
3. ทำโดยประกำรอื่นใดที่ไม่เปน็ กำรเปดิ เผยข้อมูลขำ่ วสำรสว่ นนนั้
4. ถูกทกุ ข้อ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 60
------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 9 วรรคสอง ข้อมูลข่ำวสำรท่จี ดั ให้ประชำชนเข้ำตรวจดูไดต้ ำมวรรคหนึ่ง ถ้ำมีส่วนท่ี
ต้องหำ้ มมิให้เปิดเผยตำมมำตรำ 14 หรอื มำตรำ 15 อยดู่ ้วย ให้ลบ หรือ ตดั ทอนหรอื ทำโดยประกำรอ่นื ใดท่ไี ม่เป็น
กำรเปดิ เผยขอ้ มลู ข่ำวสำรสว่ นน้ัน
27. บุคคลทม่ี อี ำนำจในกำรเข้ำตรวจดเู อกสำร ตำมมำตรำ 9 วรรคหนง่ึ (ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร) จะตอ้ งมี
สว่ นได้เสียในเรื่องน้ันหรือไม่ เพรำะเหตุใด
1. ตอ้ งมีส่วนได้เสยี เพรำะเป็นข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำร รำชกำรจำต้องปกปดิ
2. ต้องมีสว่ นได้เสีย เพรำะเปน็ ขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำร รำชกำรจะปกปดิ หรือไม่ไมส่ ำคญั
3. จะมสี ่วนไดเ้ สยี เก่ียวข้องหรอื ไม่ก็ได้เพรำะเป็นข้อมลู ขำ่ วสำรรำชกำรที่ประชำชนมอี ำนำจตรวจดไู ด้อยู่
แลว้
4. ไม่มขี อ้ ใดถกู
ตอบ 3. แนวคดิ มำตรำ 9 วรรคสำม บคุ คลไมว่ ำ่ จะมสี ว่ นไดเ้ สียเกี่ยวขอ้ งหรอื ไม่กต็ ำม ย่อมมีสิทธเิ ขำ้ ตรวจดู
ขอสำเนำหรอื ขอสำเนำที่มคี ำรับรองถกู ตอ้ งของข้อมลู ข่ำวสำรตำมวรรคหนึ่งได้ ในกรณีทสี่ มควรหน่วยงำนของรัฐ
โดยควำมเห็นชอบของคณะกรรมกำร จะวำงหลักเกณฑเ์ รยี กคำ่ ธรรมเนยี มในกำรนั้นกไ็ ด้ ในกำรนใี้ หค้ ำนงึ ถงึ กำร
ชว่ ยเหลือผมู้ ีรำยไดน้ อ้ ยประกอบดว้ ย ทง้ั นี้ เว้นแต่จะมกี ฎหมำยเฉพำะบญั ญัติไวเ้ ป็นอย่ำงอ่ืน
28. บคุ คลทีม่ สี ิทธใิ นกำรตรวจดูเอกสำรนอกจำกทำกำรตรวจดแู ล้วยังมสี ิทธอิ ย่ำงใดกับเอกสำรน้นั ไดอ้ ีก
1. ขอสำเนำ
2. ขอสำเนำ หรือขอสำเนำท่ีมคี ำรับรองถกู ต้อง
3. ขอสำเนำ หรือขอสำเนำท่ีมคี ำรบั รองถกู ตอ้ ง รวมทั้งกำรนำต้นฉบบั ออกจำกสถำนท่ีรำชกำรได้
4. ขอสำเนำทมี่ คี ำรับรองถกู ต้อง นำต้นฉบับออกจำกสถำนท่ีรำชกำร ร้องขอคัดสำเนำโดยไม่เสียค่ำธรรมได้
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 9 วรรคสำม บุคคลไม่ว่ำจะมีสว่ นได้เสียเก่ียวข้องหรอื ไม่ก็ตำม ย่อมมสี ิทธเิ ข้ำตรวจดู
ขอสำเนำหรือขอสำเนำทม่ี ีคำรับรองถกู ตอ้ งของขอ้ มูลขำ่ วสำรตำมวรรคหนงึ่ ได้ในกรณีทส่ี มควรหนว่ ยงำนของรฐั
โดยควำมเหน็ ชอบของคณะกรรมกำร จะวำงหลักเกณฑ์เรียกคำ่ ธรรมเนียมในกำรน้ันก็ได้ ในกำรนใี้ หค้ ำนึงถึงกำร
ชว่ ยเหลือผูม้ ีรำยได้นอ้ ยประกอบดว้ ย ทง้ั น้ี เว้นแตจ่ ะมกี ฎหมำยเฉพำะบัญญัตไิ วเ้ ป็นอยำ่ งอน่ื
29. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรที่ประชำชนสำมำรถตรวจดไู ด้ ตำมหลักเกณฑ์ทกี่ ฎหมำยกำหนดนั้น หำกเป็น
คนต่ำงด้ำวจะมีสทิ ธติ ำมมำตรำน้เี พยี งใด กรณีน้ี ให้เป็นไปตำมที่ผูใ้ ดกำหนด
1. คำสัง่ นำยกรฐั มนตรี 2. มติคณะรัฐมนตรี
3. กฎกระทรวง 4. คำส่งั ของแตล่ ะหน่วยงำนน้ันๆ
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 9 วรรคทำ้ ย คนต่ำงด้ำวจะมีสทิ ธติ ำมมำตรำนี้เพียงใดใหเ้ ปน็ ไปตำมท่ีกำหนดโดย
กฎกระทรวง
30. นอกจำกขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรทล่ี งพิมพ์ในรำชกจิ จำนุเบกษำแลว้ หรือท่ีจัดไวใ้ ห้ประชำชนเขำ้ ตรวจดู
ได้แล้วหรือทมี่ ีกำรจัดใหป้ ระชำชนได้ค้นคว้ำตำมมำตรำ 26 แลว้ ถ้ำบคุ คลใดขอข้อมลู ข่ำวสำรอืน่ ใดของรำชกำร
อกี คำขอของผูน้ ั้นตอ้ งระบุรำยละเอยี ดอยำ่ งไร
1. ระบุขอ้ มลู ขำ่ วสำรที่ตอ้ งกำร ในลักษณะทีอ่ ำจเข้ำใจได้ตำมควร
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 61
------------------------------------------------------------------------------
2. ระบุรำยละเอยี ดของข้อมูลข่ำวสำรนนั้ ๆ ตำมหลักเกณฑ์ทก่ี ำหนด
3. ไม่ตอ้ งระบสุ ิ่งใด สำมำรถขอข้อมูลท่ีต้องกำรได้ทันที
4. ไม่มขี ้อใดถูก
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 11 วรรคหน่ึง นอกจำกข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรที่ลงพมิ พใ์ นรำชกจิ จำนุเบกษำแลว้
หรือที่จดั ไวใ้ ห้ประชำชนเข้ำตรวจดไู ดแ้ ลว้ หรือทม่ี กี ำรจัดใหป้ ระชำชนไดค้ น้ ควำ้ ตำมมำตรำ 26 แล้ว ถำ้ บุคคลใด
ขอขอ้ มูลขำ่ วสำรอนื่ ใดของรำชกำรและคำขอของผู้นั้นระบุข้อมลู ขำ่ วสำรทต่ี ้องกำรในลักษณะท่ีอำจเข้ำใจไดต้ ำม
ควร
31. จำกขอ้ 30. ให้หนว่ ยงำนของรฐั ผู้รบั ผิดชอบดังกลำ่ ว ปฏบิ ัตอิ ย่ำงไร
1. ใหห้ น่วยงำนของรัฐผูร้ ับผิดชอบ ยงั ไม่ต้องจดั หำข้อมูลข่ำวสำรนน้ั ให้แกผ่ ู้ขอ จนกว่ำจะได้ยนื่
รำยละเอียดคำขอและค่ำธรรมเนียมก่อน
2. ใหห้ นว่ ยงำนของรัฐผู้รบั ผิดชอบ จัดหำข้อมลู ข่ำวสำรนน้ั ใหแ้ กผ่ ูข้ อภำยในเวลำอันสมควรเวน้ แต่ผู้นั้นขอ
จำนวนมำกหรือบ่อยครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
3. ให้หน่วยงำนของรัฐผรู้ บั ผิดชอบ จัดหำข้อมลู ข่ำวสำรน้ันให้แกผ่ ู้ขอทันที
4. ไม่มขี ้อใดถกู
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 11 วรรคหน่ึง นอกจำกข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรที่ลงพมิ พ์ในรำชกิจจำนุเบกษำแลว้
หรอื ที่จัดไวใ้ หป้ ระชำชนเขำ้ ตรวจดูไดแ้ ลว้ หรือทม่ี กี ำรจัดใหป้ ระชำชนได้คน้ คว้ำตำมมำตรำ 26 แลว้ ถ้ำบุคคลใดขอ
ข้อมูลขำ่ วสำรอื่นใดของรำชกำรและคำขอของผู้นน้ั ระบขุ ้อมลู ข่ำวสำรท่ีต้องกำรในลกั ษณะทอี่ ำจเข้ำใจได้ตำมควร
ใหห้ นว่ ยงำนของรัฐผู้รบั ผิดชอบจัดหำข้อมลู ข่ำวสำรนั้นให้แกผ่ ู้ขอภำยในเวลำอันสมควร เว้นแต่ผูน้ นั้ ขอจำนวน
มำกหรือบ่อยครง้ั โดยไม่มีเหตผุ ลอันสมควร
32. ขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำรใดมีสภำพทอ่ี ำจบบุ สลำยง่ำย หนว่ ยงำนของรัฐนัน้ มีอำนำจอย่ำงไร
1. หน่วยงำนของรัฐจะขอขยำยเวลำในกำรจดั หำใหก้ ไ็ ด้
2. หน่วยงำนของรัฐจะจดั ทำสำเนำให้ในสภำพอย่ำงหน่ึงอยำ่ งใดเพ่อื มิให้เกดิ ควำมเสียหำยแก่ขอ้ มูลขำ่ วสำร
นน้ั ก็ได้
3. หนว่ ยงำนของรัฐจะให้ผขู้ อวำงเงนิ ประกนั เพื่อประกนั ควำมเสียหำยแกข่ ้อมลู นัน้ ก็ได้
4. ถกู เฉพำะข้อ 1. และ 2.
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 11 วรรคสอง ข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรใดมสี ภำพที่อำจบบุ สลำยงำ่ ย หนว่ ยงำนของ
รัฐจะขอขยำยเวลำในกำรจัดหำให้ หรือ จะจดั ทำสำเนำให้ในสภำพอยำ่ งหน่งึ อย่ำงใดเพื่อมใิ ห้เกิดควำมเสียหำยแก่
ข้อมลู ข่ำวสำรน้ันกไ็ ด้
33. ขอ้ มลู ขำ่ วสำรของรำชกำรที่หนว่ ยงำนของรฐั จดั หำให้ ต้องเป็นข้อมลู ข่ำวสำรตำมขอ้ ใด
1. ต้องเป็นข้อมลู ทีต่ ้องไปจัดทำวิเครำะห์ จำแนก รวบรวม หรอื จัดให้มขี ้ึนใหม่
2. ทม่ี ีอยแู่ ล้วในสภำพทพี่ รอ้ มจะใหไ้ ด้
3. ถูกท้ังขอ้ 1. และ 2. 4. ไม่มขี อ้ ใดถูก
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 11 วรรคสำม ขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำรที่หน่วยงำนของรฐั จัดหำให้ตำมวรรคหน่ึง
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 62
------------------------------------------------------------------------------
ต้องเป็นขอ้ มลู ขำ่ วสำรทม่ี อี ยู่แลว้ ในสภำพท่พี ร้อมจะให้ได้ มิใชเ่ ป็นกำรตอ้ งไปจัดทำวิเครำะห์ จำแนก รวบรวม
หรือจัดใหม้ ขี ้ึนใหม่ เว้นแต่เปน็ กำรแปรสภำพเปน็ เอกสำรจำกขอ้ มลู ข่ำวสำรทีบ่ ันทกึ ไว้ในระบบกำรบันทกึ ภำพ
หรือเสียง ระบบคอมพิวเตอร์ หรอื ระบบอืน่ ใด ท้งั นี้ ตำมทคี่ ณะกรรมกำรกำหนด แต่ถ้ำหน่วยงำนของรัฐเห็นว่ำ
กรณีท่ีขอนน้ั มิใชก่ ำรแสวงหำผลประโยชน์ทำงกำรคำ้ และเป็นเรื่องทจี่ ำเปน็ เพ่ือปกปอ้ งสิทธเิ สรภี ำพสำหรับผูน้ ัน้
หรอื เป็นเร่ืองที่จะเป็นประโยชนแ์ ก่สำธำรณะ หน่วยงำนของรัฐจะจดั หำข้อมูลขำ่ วสำรน้นั ให้กไ็ ด้
34. ในกรณีใด ที่ผูข้ อตรวจข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรมสี ิทธริ ้องเรียนต่อคณะกรรมกำรตำมพระรำชบัญญัติน้ีได้
1. หน่วยงำนของรัฐไมจ่ ัดพิมพ์ข้อมูลข่ำวสำรตำมมำตรำ 7 หรือไม่จดั ข้อมลู ข่ำวสำรไว้ให้ประชำชนตรวจดู
ได้ตำมมำตรำ 9
2. หรอื ไม่จดั หำข้อมลู ข่ำวสำรให้แกต่ นตำมมำตรำ 11 หรอื ฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏบิ ตั ิตำมพระรำชบัญญัตนิ ี้
3. ปฏบิ ตั ิหนำ้ ท่ลี ำ่ ช้ำ หรือเห็นวำ่ ตนไม่ได้รบั ควำมสะดวกโดยไมม่ เี หตุอันสมควร
4. ถกู ทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 13 วรรคแรก ผใู้ ดเหน็ วำ่ หน่วยงำนของรัฐไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่ำวสำรตำมมำตรำ 7
หรือไม่จดั ข้อมูลข่ำวสำรไวใ้ ห้ประชำชนตรวจดูได้ตำมมำตรำ 9 หรือไมจ่ ัดหำข้อมูลข่ำวสำรให้แกต่ นตำมมำตรำ
11 หรือฝำ่ ฝนื หรือไม่ปฏบิ ัติตำมพระรำชบัญญัตนิ ี้ หรือปฏบิ ตั หิ น้ำทลี่ ำ่ ชำ้ หรือเหน็ วำ่ ตนไม่ได้รับควำมสะดวก
โดยไม่มีเหตอุ ันสมควร ผู้นั้นมสี ิทธิรอ้ งเรียนต่อคณะกรรมกำร
35. ในกรณใี ด ท่ีผู้ขอตรวจข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรไมม่ สี ทิ ธริ อ้ งเรียนต่อคณะกรรมกำร ตำมพระรำชบัญญัตนิ ี้
ได้
1. เปน็ เรื่องเก่ียวกับกำรมคี ำส่งั มใิ หเ้ ปดิ เผยขอ้ มลู ขำ่ วสำรตำมมำตรำ 15
2. คำส่งั ไม่รับฟงั คำคัดค้ำนตำมมำตรำ 17
3. คำสง่ั ไมแ่ ก้ไขเปลยี่ นแปลงหรือลบข้อมูลขำ่ วสำรสว่ นบุคคลตำมมำตรำ 25
4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 13 วรรคแรก ผใู้ ดเหน็ ว่ำหน่วยงำนของรัฐไม่จัดพมิ พข์ ้อมูลข่ำวสำรตำมมำตรำ 7
หรือไม่จดั ข้อมลู ขำ่ วสำรไวใ้ ห้ประชำชนตรวจดูได้ตำมมำตรำ 9 หรือไมจ่ ัดหำข้อมูลข่ำวสำรให้แก่ตนตำมมำตรำ
11 หรอื ฝ่ำฝืนหรือไมป่ ฏบิ ัติตำมพระรำชบัญญัติน้ี หรือปฏบิ ัติหนำ้ ที่ลำ่ ชำ้ หรือเห็นว่ำตนไม่ไดร้ บั ควำมสะดวก
โดยไม่มีเหตอุ ันสมควร ผู้น้ันมสี ทิ ธิรอ้ งเรยี นต่อคณะกรรมกำร เวน้ แต่เป็นเร่อื งเกยี่ วกบั กำรมคี ำสั่งมิใหเ้ ปดิ เผย
ข้อมลู ข่ำวสำรตำมมำตรำ 15 หรือคำส่ังไมร่ บั ฟังคำคัดคำ้ นตำมมำตรำ 17 หรอื คำสั่งไม่แก้ไขเปลยี่ นแปลงหรือลบ
ข้อมูลขำ่ วสำรส่วนบคุ คลตำมมำตรำ 25
36. ในกรณีทมี่ ีกำรร้องเรยี นต่อคณะกรรมกำร ตำมขอ้ 34. คณะกรรมกำรตอ้ งพิจำรณำให้แลว้ เสรจ็ ภำยในกี่วัน
นบั แต่วันทีไ่ ดร้ บั คำร้องเรียน
1. ภำยใน 30 วนั 2. ภำยใน 60 วนั 3. ภำยใน 90 วนั 4. ภำยใน 120 วนั
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 13 วรรคสอง ในกรณที ่ีมีกำรร้องเรียนตอ่ คณะกรรมกำรตำมวรรคหน่ึง คณะกรรมกำร
ตอ้ งพิจำรณำใหแ้ ล้วเสร็จ ภำยในสำมสิบวนั นับแตว่ ันที่ได้รบั คำรอ้ งเรียน
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 63
------------------------------------------------------------------------------
37. หน่วยงำนของรัฐหรือเจำ้ หน้ำทข่ี องรัฐอำจมีคำสง่ั มิให้เปิดเผยข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรท่มี ีลักษณะบำงอย่ำง
กไ็ ด้ โดยคำนงึ ถึงสงิ่ ใด
1. กำรปฏิบัติหน้ำที่ตำมกฎหมำยของหน่วยงำนของรัฐ
2. ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวขอ้ ง
3. ประโยชน์สำธำรณะ
4. ถูกทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 15 ขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรท่ี มีลกั ษณะอยำ่ งหน่งึ อยำ่ งใดดังต่อไปนี้ หน่วยงำนของ
รัฐหรอื เจ้ำหน้ำทขี่ องรฐั อำจมีคำส่งั มใิ หเ้ ปดิ เผยกไ็ ด้ โดยคำนึงถึงกำรปฏบิ ัติหน้ำที่ตำมกฎหมำยของหนว่ ยงำนของ
รฐั ประโยชนส์ ำธำรณะ และประโยชน์ของเอกชนทีเ่ กย่ี วข้องประกอบกนั
38. ข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรตำมขอ้ ใด ทหี่ น่วยงำนของรัฐหรอื เจ้ำหนำ้ ท่ีของรัฐอำจมคี ำส่ังมใิ หเ้ ปดิ เผยกไ็ ด้
1. กำรเปดิ เผยจะก่อใหเ้ กิดควำมเสยี หำยตอ่ ควำมม่ันคงของประเทศ
2. ควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ งประเทศ
3. ควำมม่ันคงในทำงเศรษฐกิจหรือกำรคลงั ของประเทศ
4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 15 (1) ขอ้ มลู ขำ่ วสำรของรำชกำร ทม่ี ลี กั ษณะอยำ่ งหนงึ่ อย่ำงใดดังตอ่ ไปนี้ หนว่ ยงำน
ของรัฐหรือเจ้ำหน้ำท่ขี องรฐั อำจมคี ำสัง่ มิให้เปิดเผยกไ็ ด้ โดยคำนงึ ถึงกำรปฏิบตั ิหนำ้ ที่ตำมกฎหมำยของหน่วยงำน
ของรัฐประโยชน์สำธำรณะ และประโยชนข์ องเอกชนที่เกี่ยวข้องประกอบกัน
(1) กำรเปิดเผยจะก่อให้เกดิ ควำมเสียหำยต่อควำมมัน่ คงของประเทศ ควำมสมั พนั ธ์ระหว่ำงประเทศ หรือ
ควำมม่ันคงในทำงเศรษฐกจิ หรือกำรคลงั ของประเทศ
39. ข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำรเกี่ยวกับกำรใช้กฎหมำยตำมขอ้ ใด ที่หนว่ ยงำนของรัฐหรือเจ้ำหนำ้ ทข่ี องรัฐอำจมี
คำส่ังมใิ ห้เปิดเผยก็ได้
1. กำรเปดิ เผยจะทำใหก้ ำรบังคับใชก้ ฎหมำยเสื่อมประสิทธิภำพ
2. กำรเปดิ เผยจะทำให้กำรบังคับใชก้ ฎหมำยอำจไมส่ ำเรจ็ ตำมวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้
3. กำรเปดิ เผยจะทำใหก้ ำรบังคบั ใช้กฎหมำยอำจขำดควำมเปน็ ธรรมต่อคู่กรณี
4. ถกู ท้ังขอ้ 1. และ 2.
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 15 (2) ขอ้ มูลขำ่ วสำรของรำชกำร ที่มีลักษณะอย่ำงหน่ึงอย่ำงใดดังตอ่ ไปน้ี หนว่ ยงำน
ของรัฐหรือเจำ้ หนำ้ ทีข่ องรัฐอำจมคี ำสัง่ มใิ ห้เปดิ เผยก็ได้ โดยคำนึงถึงกำรปฏบิ ัตหิ น้ำท่ีตำมกฎหมำยของหน่วยงำน
ของรัฐประโยชนส์ ำธำรณะ และประโยชนข์ องเอกชนที่เกีย่ วขอ้ งประกอบกัน
(2) กำรเปดิ เผยจะทำให้กำรบงั คับใช้กฎหมำยเสื่อมประสิทธิภำพหรือไม่อำจสำเร็จตำมวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้ ไม่
วำ่ จะเกย่ี วกบั กำรฟอ้ งคดี กำรปอ้ งกันกำรปรำบปรำม กำรทดสอบ กำรตรวจสอบ หรอื กำรร้แู หลง่ ที่มำของขอ้ มูล
ขำ่ วสำรหรือไมก่ ็ตำม
40. ข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรตำมข้อใด ท่หี น่วยงำนของรัฐหรือเจ้ำหนำ้ ที่ของรฐั อำจมีคำสง่ั มใิ ห้เปดิ เผยก็ได้
1. รำยงำนทำงวิชำกำร
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 64
------------------------------------------------------------------------------
2. ควำมเหน็ หรือคำแนะนำภำยในหนว่ ยงำนของรฐั ในกำรดำเนนิ กำรเรื่องหนงึ่ เรอื่ งใด
3. ข้อมลู ข่ำวสำรท่นี ำมำใชใ้ นกำรทำควำมเห็น
4. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 15 (3) ขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำร ที่มีลกั ษณะอยำ่ งหนึง่ อย่ำงใดดงั ต่อไปนี้ หนว่ ยงำน
ของรัฐหรือเจ้ำหน้ำท่ีของรัฐอำจมีคำสง่ั มใิ ห้เปดิ เผยกไ็ ด้ โดยคำนึงถงึ กำรปฏิบัติหนำ้ ท่ีตำมกฎหมำยของหน่วยงำน
ของรัฐประโยชนส์ ำธำรณะ และประโยชน์ของเอกชนท่ีเกีย่ วข้องประกอบกนั
(3) ควำมเหน็ หรอื คำแนะนำภำยในหน่วยงำนของรัฐในกำรดำเนนิ กำรเรื่องหน่งึ เรอ่ื งใด แตท่ งั้ นีไ้ ม่รวมถึง
รำยงำนทำงวชิ ำกำร รำยงำนข้อเทจ็ จรงิ หรือข้อมูลขำ่ วสำรทนี่ ำมำใช้ในกำรทำควำมเห็นหรือคำแนะนำภำยใน
ดงั กลำ่ ว
41. ข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรตำมข้อใดทีห่ น่วยงำนของรฐั หรือเจำ้ หน้ำท่ีของรัฐอำจมคี ำสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้
1. กำรเปดิ เผยจะกอ่ ใหเ้ กดิ อันตรำยต่อชวี ิตหรอื ควำมปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบคุ คลใด
2. รำยงำนกำรแพทยห์ รอื ข้อมลู ข่ำวสำรสว่ นบุคคลซึ่งกำรเปดิ เผยจะเป็นกำรรกุ ล้ำสทิ ธิสว่ นบุคคลโดยไม่
สมควร
3. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรทมี่ กี ฎหมำยคุ้มครองมิใหเ้ ปิดเผยหรือข้อมลู ขำ่ วสำรท่ีมผี ู้ให้มำโดยไมป่ ระสงค์
ใหท้ ำงรำชกำรนำไปเปิดเผยตอ่ ผู้อ่ืน
4. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ มำตรำ 15 ขอ้ มลู ขำ่ วสำรของรำชกำรท่ีมีลักษณะอยำ่ งหนึ่งอย่ำงใดดังต่อไปนี้
หนว่ ยงำนของรฐั หรือเจ้ำหน้ำท่ขี องรัฐอำจมีคำส่งั มิใหเ้ ปิดเผยก็ได้ โดยคำนงึ ถงึ กำรปฏิบัติหนำ้ ที่ตำมกฎหมำยของ
หน่วยงำนของรฐั ประโยชน์สำธำรณะ และประโยชน์ของเอกชนท่ีเก่ยี วขอ้ งประกอบกัน
(4) กำรเปดิ เผยจะก่อใหเ้ กิดอันตรำยต่อชวี ติ หรือควำมปลอดภยั ของบคุ คลหนงึ่ บคุ คลใด
(5) รำยงำนกำรแพทย์หรือข้อมูลข่ำวสำรส่วนบคุ คลซึ่งกำรเปดิ เผยจะเปน็ กำรรุกลำ้ สิทธิส่วนบคุ คลโดยไม่
สมควร
(6) ขอ้ มูลขำ่ วสำรของรำชกำรทมี่ กี ฎหมำยคุม้ ครองมใิ ห้เปิดเผยหรือข้อมลู ขำ่ วสำรที่มผี ู้ให้มำโดยไม่
ประสงคใ์ หท้ ำงรำชกำรนำไปเปดิ เผยต่อผู้อนื่
42. คำสงั่ มใิ ห้เปิดเผยข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรจะกำหนดเง่ือนไขและระบรุ ำยละเอยี ด ตำมข้อใด
1. คำส่ังมใิ ห้เปดิ เผยขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำรห้ำมกำหนดเง่ือนไข
2. คำส่งั มใิ หเ้ ปดิ เผยข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรจะกำหนดเงอื่ นไขอยำ่ งใดกไ็ ด้ แตต่ ้องระบุไวด้ ้วยว่ำที่
เปดิ เผยไม่ไดเ้ พรำะเป็นข้อมูลขำ่ วสำรประเภทใด
3. คำสงั่ มิใหเ้ ปิดเผยข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำรจะกำหนดเงอ่ื นไขอยำ่ งใดกไ็ ด้ แต่ต้องระบไุ วด้ ้วยว่ำทเ่ี ปิดเผย
ไมไ่ ด้เพรำะเปน็ ข้อมลู ข่ำวสำรประเภทใดและเพรำะเหตุใด
4. คำสัง่ มิให้เปิดเผยข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรจะกำหนดเงื่อนไขอยำ่ งใดกไ็ ด้ไม่ตอ้ งต้องระบุไวแ้ ตอ่ ย่ำงใด
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 15 วรรคสอง คำส่ังมิให้เปิดเผยข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำร จะกำหนดเง่อื นไขอย่ำงใด
กไ็ ด้ แตต่ ้องระบไุ ว้ด้วยวำ่ ที่เปดิ เผยไม่ได้เพรำะเปน็ ข้อมูลขำ่ วสำรประเภทใดและเพรำะเหตุใด
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 65
------------------------------------------------------------------------------
43. กำรมีคำส่ังเปิดเผยข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรให้ถอื ว่ำมีผลเป็นไปโดยอย่ำงไร
1. เป็นไปตำมระเบียบของหน่วยงำนของรัฐนั้นๆ
2. เป็นดุลพนิ ิจโดยเฉพำะของเจำ้ หนำ้ ท่ขี องรัฐตำมลำดบั สำยกำรบงั คับบญั ชำ
3. เป็นดุลพินจิ โดยเฉพำะของเจำ้ หนำ้ ที่นัน้ ๆ 4. ถกู ทุกข้อ
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 15 วรรคสอง คำสงั่ มิใหเ้ ปดิ เผยขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำรจะกำหนดเงอ่ื นไขอยำ่ งใดก็
ได้ แตต่ ้องระบไุ วด้ ว้ ยว่ำท่ีเปิดเผยไม่ไดเ้ พรำะเปน็ ข้อมลู ขำ่ วสำรประเภทใดและเพรำะเหตุใด และ ใหถ้ ือวำ่ กำรมี
คำสงั่ เปดิ เผยขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำรเป็นดลุ พนิ จิ โดยเฉพำะของเจ้ำหน้ำทขี่ องรฐั ตำมลำดับสำยกำรบังคับบัญชำ
44. กำรอุทธรณ์คำสงั่ เกย่ี วกับกำรเปิดเผยข้อมูลขำ่ วสำรฯ อำจอทุ ธรณ์ไดต้ ่อผ้ใู ด
1. คณะกรรมกำรวนิ ิจฉยั อทุ ธรณ์ 2. คณะกรรมกำรกำรปกครอง
3. คณะกรรมกำรวนิ จิ ฉยั กำรเปดิ เผยข้อมลู ขำ่ วสำร 4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 3. แนวคดิ มำตรำ 15 วรรคสอง คำสง่ั มใิ หเ้ ปิดเผยข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรจะกำหนดเง่ือนไขอยำ่ งใดก็
ได้ แตต่ ้องระบุไวด้ ้วยว่ำทเี่ ปิดเผยไม่ไดเ้ พรำะเป็นข้อมลู ข่ำวสำรประเภทใดและเพรำะเหตุใด และใหถ้ ือว่ำกำรมี
คำส่ังเปิดเผยข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำรเปน็ ดุลพินิจโดยเฉพำะของเจ้ำหนำ้ ท่ีของรัฐตำมลำดับสำยกำรบังคับบัญชำ
แต่ผู้ขออำจอุทธรณ์ต่อ คณะกรรมกำรวินจิ ฉัยกำรเปดิ เผยขอ้ มลู ข่ำวสำร ไดต้ ำมทีก่ ำหนดในพระรำชบญั ญัติน้ี
45. เพอื่ ใหเ้ กดิ ควำมชัดเจนในทำงปฏิบัติว่ำข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำรจะเปิดเผยตอ่ บคุ คลใดไดห้ รือไม่ภำยใต้
เงือ่ นไขเช่นใด และสมควรมีวธิ รี กั ษำมิให้รว่ั ไหลให้หน่วยงำนของรัฐกำหนด วิธกี ำรค้มุ ครองข้อมูลขำ่ วสำรนั้น
ทัง้ นี้ ตำมทก่ี ำหนดในข้อใด
1. ตำมระเบยี บทค่ี ณะรัฐมนตรกี ำหนดว่ำด้วยกำรรักษำควำมลบั ของทำงรำชกำร
2. ตำมระเบียบที่รฐั มนตรีกำหนดวำ่ ด้วยกำรรกั ษำควำมลับของทำงรำชกำร
3. ตำมระเบียบทีน่ ำยกรัฐมนตรกี ำหนดว่ำด้วยกำรรักษำควำมลบั ของทำงรำชกำร
4. ตำมมตขิ องคณะรัฐมนตรี
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 16 เพ่อื ใหเ้ กิดควำมชัดเจนในทำงปฏบิ ัตวิ ำ่ ขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรจะเปิดเผยต่อ
บคุ คลใดไดห้ รือไม่ภำยใตเ้ ง่ือนไขเช่นใด และสมควรมีวิธีรกั ษำมใิ ห้รั่วไหลใหห้ น่วยงำนของรัฐกำหนดวธิ กี ำร
คมุ้ ครองข้อมลู ข่ำวสำรนั้น ท้ังนี้ ตำมระเบยี บทีค่ ณะรัฐมนตรกี ำหนดว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร
46. ในกรณที ่ีเจ้ำหน้ำที่ของรัฐเห็นว่ำ กำรเปิดเผยข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรใดอำจกระทบถึงประโยชนไ์ ดเ้ สีย
ของผ้ใู ด ให้เจ้ำหนำ้ ที่ของรัฐปฏบิ ัติอย่ำงไร
1. แจง้ ให้ผนู้ ้ันเสนอคำคดั คำ้ น ภำยในเวลำท่ีกำหนดแต่ตอ้ งใหเ้ วลำอันสมควรท่ีผู้นั้นอำจเสนอคำคัดค้ำนได้
2. ให้ปฏิเสธไมอ่ นุญำตในกำรเปิดเผยขอ้ มูลข่ำวสำรนน้ั
3. เจำ้ หนำ้ ท่ีของรัฐไมม่ ีหนำ้ ทแี่ ตอ่ ย่ำงใด 4. ถูกทง้ั ข้อ 1. และ 2.
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 17 วรรคแรก ในกรณีที่เจำ้ หน้ำทข่ี องรัฐเห็นว่ำ กำรเปดิ เผยข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำร
ใดอำจกระทบถงึ ประโยชนไ์ ด้เสยี ของผู้ใด ให้เจ้ำหน้ำท่ขี องรัฐแจง้ ให้ผู้นนั้ เสนอคำคดั ค้ำนภำยในเวลำที่กำหนดแต่
ตอ้ งใหเ้ วลำอันสมควรทผ่ี ูน้ ั้นอำจเสนอคำคดั ค้ำนได้
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 66
------------------------------------------------------------------------------
47. จำกขอ้ 48. กำรปฏิบตั ดิ ังกล่ำว เจ้ำหนำ้ ท่ีนนั้ ต้องให้เวลำไม่นอ้ ยกวำ่ ก่วี นั นบั แตว่ ันทไ่ี ด้รับแจง้
1. 7 วนั 2. 10 วนั 3. 15 วนั 4. 30 วนั
ตอบ 3. แนวคดิ มำตรำ 17 วรรคแรก ในกรณีทเี่ จ้ำหนำ้ ที่ของรฐั เห็นวำ่ กำรเปดิ เผยขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำร
ใดอำจกระทบถงึ ประโยชนไ์ ด้เสียของผใู้ ด ให้เจ้ำหนำ้ ท่ีของรัฐแจ้งให้ผู้นน้ั เสนอคำคดั คำ้ นภำยในเวลำทีก่ ำหนดแต่
ตอ้ งใหเ้ วลำอันสมควรทผ่ี ูน้ ้ันอำจเสนอคำคัดคำ้ นได้ซ่งึ ตอ้ งไม่น้อยกวำ่ สิบหำ้ วนั นบั แต่วันทีไ่ ด้รับแจง้
48. ผทู้ ่ไี ด้รบั แจ้ง หรือผทู้ ที่ รำบวำ่ กำรเปดิ เผยขอ้ มลู ขำ่ วสำรของรำชกำรใดอำจกระทบถงึ ประโยชน์ได้เสยี ของ
ตน มสี ทิ ธคิ ดั ค้ำนกำรเปดิ เผยขอ้ มลู ขำ่ วสำรนน้ั ได้ โดยกระทำตำมขอ้ ใด
1. โดยทำเปน็ หนงั สอื หรือแจง้ เปน็ วำจำถึงเจำ้ หน้ำทีข่ องรัฐผู้รับผิดชอบ
2. โดยทำเป็นหนังสือถึงเจ้ำหน้ำที่ของรฐั ผู้รับผดิ ชอบ
3. โดยทำเป็นหนงั สือร้องเรยี นถงึ หนว่ ยงำนของรัฐตน้ สงั กดั นนั้
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 17 วรรคสอง ผ้ทู ่ไี ด้รบั แจง้ ตำมวรรคหน่ึง หรือผ้ทู ่ที รำบว่ำกำรเปดิ เผยข้อมลู ข่ำวสำร
ของรำชกำรใดอำจกระทบถงึ ประโยชน์ได้เสยี ของตน มสี ิทธิคัดคำ้ นกำรเปิดเผยขอ้ มลู ขำ่ วสำรนั้นได้โดยทำเป็น
หนังสอื ถึงเจำ้ หนำ้ ทขี่ องรัฐผู้รับผิดชอบ
49. ในกรณที มี่ ีกำรคัดค้ำนตำมข้อ 48. เจำ้ หน้ำทีข่ องรัฐผ้รู บั ผิดชอบต้องปฏบิ ตั ิอย่ำงไร
1. พจิ ำรณำคำคัดค้ำนน้ันโดยเร็ว
2. พจิ ำรณำคำคัดค้ำนและแจ้งผลกำรพิจำรณำให้ผู้คัดค้ำนทรำบโดยไม่ชกั ช้ำ
3. มคี ำสง่ั ปฏเิ สธกำรเปดิ เผยข้อมลู นั้นแก่ผ้ขู อทันที
4. ตอ้ งส่งเรื่องไปยังหน่วยงำนตน้ สังกดั เพ่ือพิจำรณำต่อไป
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 17 วรรคสำม ในกรณีที่มกี ำรคดั ค้ำนเจำ้ หนำ้ ท่ีของรัฐผรู้ ับผดิ ชอบ ต้องพิจำรณำคำ
คดั คำ้ น และ แจ้งผลกำรพิจำรณำให้ผูค้ ัดคำ้ นทรำบโดยไม่ชกั ช้ำ
50. ในกรณที ่ีมคี ำสงั่ ไมร่ บั ฟังคำคัดค้ำน ตำมข้อ 48. เจำ้ หน้ำทีร่ ฐั จะต้องกระทำตำมขอ้ ใด
1. เจำ้ หนำ้ ท่ีรัฐสำมำรถเปิดเผยข้อมลู ดังกล่ำวแกผ่ ู้ขอได้ทันที
2. เจ้ำหนำ้ ทข่ี องรัฐจะเปิดเผยขอ้ มูลขำ่ วสำรนน้ั มไิ ด้จนกวำ่ จะลว่ งพน้ กำหนดเวลำอทุ ธรณ์
3. เจำ้ หน้ำท่ขี องรัฐจะเปิดเผยขอ้ มลู ข่ำวสำรนนั้ มไิ ด้จนกว่ำคณะกรรมกำรวนิ จิ ฉยั กำรเปิดเผยขอ้ มลู ข่ำวสำร
ได้มคี ำวนิ ิจฉยั ใหเ้ ปิดเผยข้อมูลขำ่ วสำรนัน้ ได้
4. ถูกท้ังข้อ 2. และ 3.
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 17 วรรคสำม ในกรณีทีม่ ีกำรคัดค้ำนเจำ้ หน้ำท่ีของรัฐผูร้ บั ผดิ ชอบต้องพิจำรณำคำ
คดั คำ้ นและแจ้งผลกำรพจิ ำรณำให้ผคู้ ัดค้ำนทรำบโดยไมช่ ักช้ำ ในกรณที มี่ ีคำสง่ั ไมร่ ับฟงั คำคัดคำ้ น เจำ้ หนำ้ ท่ีของ
รฐั จะเปิดเผยข้อมลู ขำ่ วสำรน้ันมิได้จนกวำ่ จะลว่ งพน้ กำหนดเวลำอุทธรณต์ ำมมำตรำ 18 หรอื จนกว่ำคณะกรรมกำร
วินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมลู ขำ่ วสำรไดม้ คี ำวินิจฉัยให้เปดิ เผยข้อมลู ขำ่ วสำรน้นั ได้ แลว้ แต่กรณี
51. ในกรณีทเี่ จ้ำหนำ้ ทีข่ องรัฐมีคำสัง่ มใิ หเ้ ปดิ เผยขอ้ มูลข่ำวสำรใดตำมมำตรำ 14 หรือ มำตรำ 15 หรือมีคำสง่ั
ไมร่ บั ฟังคำคดั ค้ำนของผ้มู ีประโยชนไ์ ดเ้ สียตำมมำตรำ 17 ผ้นู ้ันอำจอุทธรณต์ ่อผู้ใด
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 67
------------------------------------------------------------------------------
1. คณะกรรมกำรวนิ ิจฉยั กำรเปดิ เผยข้อมลู ขำ่ วสำร 2. คณะรัฐมนตรี
3. คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์ 4. นำยกรัฐมนตรี
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 18 ในกรณที ่ีเจ้ำหน้ำที่ของรัฐมีคำส่งั มิให้เปดิ เผยข้อมลู ข่ำวสำรใดตำมมำตรำ 14 หรือ
มำตรำ 15 หรือมีคำสั่งไม่รบั ฟังคำคดั ค้ำนของผมู้ ปี ระโยชน์ไดเ้ สยี ตำมมำตรำ 17 ผู้น้นั อำจอุทธรณต์ ่อ
คณะกรรมกำรวนิ จิ ฉัยกำรเปิดเผยข้อมลู ข่ำวสำร
52 กำรอทุ ธรณ์ตำมขอ้ 51. จะต้องอุทธรณก์ ่ีวัน นับแตว่ นั ทไี่ ด้รับแจง้ คำสง่ั น้นั
1. 14 วนั 2. 15 วนั 3. 30 วนั 4. 60 วนั
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 18 ในกรณีทเ่ี จำ้ หน้ำทขี่ องรัฐมีคำสั่งมใิ ห้เปดิ เผยข้อมลู ข่ำวสำรใดตำมมำตรำ 14 หรือ
มำตรำ 15 หรือมคี ำสัง่ ไม่รับฟังคำคัดคำ้ นของผ้มู ปี ระโยชน์ได้เสยี ตำมมำตรำ 17 ผนู้ ้ันอำจอทุ ธรณ์ต่อคณะกรรมกำร
วนิ ิจฉยั กำรเปิดเผยข้อมลู ข่ำวสำรภำยใน สิบห้ำวนั นบั แตว่ นั ท่ีได้รับแจง้ คำสงั่ นั้นโดยยื่นคำอทุ ธรณ์ต่อ
คณะกรรมกำร
53. กำรพิจำรณำเก่ยี วกบั ข้อมลู ข่ำวสำรทีม่ คี ำสั่งมิให้เปดิ เผยน้ัน ไมว่ ่ำจะเป็นกำรพิจำรณำของ คณะกรรมกำร
วนิ จิ ฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลขำ่ วสำรหรือศำลกต็ ำม จะต้องดำเนนิ กระบวนกำรพิจำรณำโดยปฏบิ ตั อิ ยำ่ งไร
1. โดยมิให้ขอ้ มลู ข่ำวสำรน้ันเปิดเผยแกบ่ ุคคลอ่นื ใดทไ่ี ม่จำเปน็ แกก่ ำรพิจำรณำ
2. ในกรณีที่จำเป็นจะพจิ ำรณำลับหลังคูก่ รณหี รือคคู่ วำมฝ่ำยใดกไ็ ด้
3. ตอ้ งพจิ ำรณำโดยเปิดเผยต่อหน้ำคู่กรณแี ละประชำชนอ่ืน โดยมใิ หเ้ คลอื บแคลงสงสัยได้
4. ถูกท้งั ขอ้ 1. และ 2.
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 19 กำรพิจำรณำเก่ยี วกบั ข้อมูลข่ำวสำรทมี่ ีคำส่งั มใิ ห้เปิดเผยน้นั ไมว่ ำ่ จะเป็นกำร
พจิ ำรณำของคณะกรรมกำร คณะกรรมกำรวินิจฉยั กำรเปิดเผยขอ้ มูลขำ่ วสำรหรือศำลกต็ ำม จะต้องดำเนิน
กระบวนกำรพิจำรณำโดยมิให้ข้อมูลขำ่ วสำรนั้นเปดิ เผยแก่บุคคลอืน่ ใดท่ีไมจ่ ำเป็นแก่กำรพจิ ำรณำและในกรณที ่ี
จำเปน็ จะพจิ ำรณำลับหลงั ค่กู รณีหรือคูค่ วำมฝ่ำยใดกไ็ ด้
54. กำรเปิดเผยข้อมลู ข่ำวสำรใดแมจ้ ะเขำ้ ขำ่ ยต้องมคี วำมรับผิดตำมกฎหมำยใด ใหถ้ ือวำ่ เจ้ำหนำ้ ที่ของรฐั ไม่ตอ้ ง
รบั ผิดหำกเป็นกำรกระทำโดยสุจรติ ในกรณีตำมข้อใด
1. ข้อมลู ขำ่ วสำรตำมมำตรำ 15 ถำ้ เจ้ำหน้ำที่ของรัฐไดด้ ำเนนิ กำรโดยถกู ต้องตำมระเบียบ
2. ขอ้ มูลข่ำวสำรตำมมำตรำ 15 ถ้ำเจ้ำหนำ้ ท่ีของรัฐในระดับตำมทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง มคี ำสง่ั ให้เปดิ เผย
เปน็ กำรท่วั ไป เพ่ือประโยชนอ์ นั สำคัญย่ิงกวำ่ ท่ีเกยี่ วกบั ประโยชน์สำธำรณะ หรอื ชีวติ รำ่ งกำย สุขภำพ หรอื
ประโยชน์อืน่ ของบคุ คล และคำสง่ั นนั้ ได้กระทำโดยสมควรแกเ่ หตุ
3. เป็นขอ้ มลู ทแ่ี ม้จะผดิ ระเบียบ เมอ่ื หำกเป็นกำรชว่ ยเหลอื ผู้ใดผูห้ น่งึ
4. ถกู เฉพำะข้อ 1. และ 2.
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 20 กำรเปดิ เผยข้อมูลขำ่ วสำรใดแม้จะเข้ำข่ำยต้องมีควำมรบั ผดิ ตำมกฎหมำยใด ใหถ้ อื ว่ำ
เจำ้ หน้ำท่ขี องรัฐไม่ต้องรับผิด หำกเปน็ กำรกระทำโดยสจุ ริตในกรณีดังต่อไปน้ี
(1) ข้อมูลข่ำวสำรตำมมำตรำ 15 ถ้ำเจำ้ หนำ้ ทขี่ องรัฐได้ดำเนนิ กำรโดยถูกต้องตำมระเบียบตำมมำตรำ 16
(2) ขอ้ มลู ข่ำวสำรตำมมำตรำ 15 ถำ้ เจำ้ หน้ำท่ขี องรัฐในระดบั ตำมท่กี ำหนดในกฎกระทรวง มคี ำสงั่ ให้
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 68
------------------------------------------------------------------------------
เปดิ เผยเป็นกำรท่ัวไปหรือเฉพำะแก่บุคคลใดเพื่อประโยชน์อันสำคัญย่ิงกวำ่ ท่เี กย่ี วกบั ประโยชนส์ ำธำรณะ หรอื ชีวติ
ร่ำงกำย สขุ ภำพ หรือประโยชน์อนื่ ของบคุ คล และคำสัง่ นั้นได้กระทำโดยสมควรแกเ่ หตุ ในกำรน้ีจะมีกำรกำหนด
ข้อจำกัดหรอื เงื่อนไขในกำรใช้ข้อมูลข่ำวสำรนัน้ ตำมควำมเหมำะสมก็ได้
กำรเปดิ เผยข้อมูลข่ำวสำรตำมวรรคหน่ึงไม่เปน็ เหตใุ ห้หนว่ ยงำนของรฐั พน้ จำกควำมรับผิดตำมกฎหมำย
หำกจะพึงมใี นกรณีดังกลำ่ ว
55. “บุคคล” ตำมควำมหมำยในหมวด 3 แห่งพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรฯ หมำยควำมตำมขอ้ ใด
1. บคุ คลธรรมดำทม่ี ีสญั ชำติไทย
2. บุคคลธรรมดำทไ่ี ม่มีสญั ชำติไทยแต่มีถิ่นทอ่ี ย่ใู นประเทศไทย
3. บคุ คลทุกคนท่ีมเี ช้ือชำติไทย 4. ถูกเฉพำะขอ้ 1. และ 2.
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 21 เพ่อื ประโยชน์แหง่ หมวดน้ี บุคคล หมำยควำมวำ่ บคุ คลธรรมดำทมี่ สี ญั ชำติไทยและ
บุคคลธรรมดำทไี่ มม่ ีสัญชำติไทยแตม่ ีถ่นิ ทีอ่ ย่ใู นประเทศไทย
56. หนว่ ยงำนใด มีอำนำจออกระเบียบโดยควำมเห็นชอบของคณะกรรมกำรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีกำร และ
เงอื่ นไข ทมี่ ใิ ห้นำบทบัญญัติวรรคหนึ่ง (3) ของมำตรำ 23 มำใช้บงั คบั กับข้อมลู ขำ่ วสำรสว่ นบคุ คลทอี่ ยูใ่ นควำม
ควบคมุ ดแู ลของหน่วยงำนดังกลำ่ วกไ็ ด้
1. สำนักขำ่ วกรองแหง่ ชำติ 2. สำนกั งำนสภำควำมมั่นคงแหง่ ชำติ
3. หนว่ ยงำนของรัฐแห่งอนื่ ตำมทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง
4. ถกู ทุกข้อ
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 22 วรรคแรก สำนักข่ำวกรองแหง่ ชำติ สำนกั งำนสภำควำมมน่ั คงแห่งชำติ และ
หนว่ ยงำนของรัฐแห่งอื่นตำมท่ีกำหนดในกฎกระทรวง อำจออกระเบยี บโดยควำมเห็นชอบของคณะกรรมกำร
กำหนดหลกั เกณฑ์ วิธีกำร และเงือ่ นไขทม่ี ใิ หน้ ำบทบัญญัตวิ รรคหนึ่ง (3) ของมำตรำ 23 มำใช้บงั คบั กับขอ้ มูล
ขำ่ วสำรส่วนบคุ คลทอ่ี ย่ใู นควำมควบคุมดูแลของหน่วยงำนดงั กลำ่ วกไ็ ด้
57. หน่วยงำนของรัฐต้องปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั กำรจัดระบบข้อมลู ข่ำวสำรสว่ นบคุ คล ตำมข้อใด
1. ตอ้ งจัดให้มรี ะบบข้อมลู ขำ่ วสำรสว่ นบุคคลเพียงเทำ่ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งและจำเป็นเพื่อกำรดำเนนิ งำนของ
หนว่ ยงำนของรัฐใหส้ ำเร็จตำมวตั ถุประสงค์เท่ำน้นั และยกเลกิ กำรจดั ให้มีระบบดังกล่ำวเม่อื หมดควำมจำเป็น
2. พยำมยำมเก็บข้อมูลข่ำวสำรโดยตรงจำกเจ้ำของข้อมลู โดยเฉพำะอยำ่ งยงิ่ ในกรณีทจ่ี ะกระทบถึงประโยชน์
ได้เสียโดยตรงของบุคคลนั้น
3. จดั ระบบรักษำควำมปลอดภัยให้แก่ระบบข้อมูลข่ำวสำรสว่ นบคุ คลตำมควำมเหมำะสมเพอ่ื ป้องกันมใิ ห้มี
กำรนำไปใช้โดยไมเ่ หมำะสมหรือเปน็ ผลร้ำยต่อเจำ้ ของข้อมูล
4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 23 วรรคแรก (1) (2) (5) หน่วยงำนของรัฐต้องปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับกำรจดั ระบบข้อมลู
ขำ่ วสำรส่วนบคุ คลดังต่อไปนี้
(1) ต้องจัดให้มีระบบขอ้ มลู ข่ำวสำรส่วนบคุ คลเพียงเทำ่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งและจำเป็นเพื่อกำรดำเนินงำนของ
หน่วยงำนของรฐั ให้สำเร็จตำมวตั ถุประสงค์เทำ่ นนั้ และยกเลิกกำรจัดใหม้ ีระบบดงั กล่ำวเม่ือหมดควำมจำเป็น
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 69
------------------------------------------------------------------------------
(2) พยำมยำมเก็บขอ้ มลู ขำ่ วสำรโดยตรงจำกเจำ้ ของขอ้ มูลโดยเฉพำะอยำ่ งย่งิ ในกรณีที่จะกระทบถึง
ประโยชนไ์ ด้เสียโดยตรงของบคุ คลน้นั
(5) จดั ระบบรกั ษำควำมปลอดภัยใหแ้ กร่ ะบบข้อมูลขำ่ วสำรสว่ นบุคคลตำมควำมเหมำะสมเพอ่ื ป้องกันมใิ ห้
มกี ำรนำไปใชโ้ ดยไม่เหมำะสมหรอื เป็นผลร้ำยต่อเจ้ำของข้อมลู
58. หนว่ ยงำนของรฐั ตอ้ งปฏิบัติเก่ียวกบั กำรจัดระบบข้อมูลข่ำวสำรส่วนบคุ คล โดยจัดให้มกี ำรพมิ พ์ในรำช
กจิ จำนเุ บกษำ และ ตรวจสอบแกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ งอยเู่ สมอเก่ียวกบั สง่ิ ใด
1. ประเภทของบคุ คลท่มี กี ำรเก็บข้อมูลไว้ 2. ประเภทของระบบข้อมูลขำ่ วสำรส่วนบุคคล
3. ลักษณะกำรใชข้ อ้ มูลตำมปกติ 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 23 วรรค (3) จัดให้มกี ำรพมิ พ์ในรำชกิจจำนุเบกษำและตรวจสอบแก้ไขใหถ้ ูกต้องอยู่
เสมอเกย่ี วกับสง่ิ ดังต่อไปนี้
(ก) ประเภทของบุคคลท่มี กี ำรเก็บขอ้ มลู ไว้
(ข) ประเภทของระบบข้อมลู ข่ำวสำรสว่ นบคุ คล
(ค) ลกั ษณะกำรใช้ขอ้ มลู ตำมปกติ
(ง) วธิ กี ำรขอตรวจดขู ้อมูลขำ่ วสำรของเจำ้ ของขอ้ มูล
(จ) วิธีกำรขอให้แกไ้ ขเปลี่ยนแปลงข้อมูล
(ฉ) แหล่งท่ีมำของขอ้ มูล
59. ในกรณีทเี่ ก็บข้อมูลข่ำวสำรโดยตรงจำกเจ้ำของขอ้ มลู หน่วยงำนของรัฐต้องปฏิบัติอย่ำงไร
1. แจ้งให้เจำ้ ของข้อมูลทรำบล่วงหน้ำหรือพร้อมกบั กำรขอข้อมูลถงึ วัตถปุ ระสงค์ทจ่ี ะนำข้อมลู มำใชล้ ักษณะ
กำรใชข้ ้อมลู ตำมปกติ
2. หน่วยงำนของรัฐสำมำรถนำขอ้ มลู จำกเจ้ำของข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่จำต้องได้รบั อนุญำตเป็นอำนำจ
ของรัฐโดยเฉพำะ
3. ถูกทั้งขอ้ 1. และ 2. 4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 1. แนวคดิ มำตรำ 23 วรรคสอง ในกรณีท่ีเก็บข้อมูลข่ำวสำรโดยตรงจำกเจำ้ ของขอ้ มูล หน่วยงำนของรฐั
ต้องแจ้งให้เจ้ำของข้อมูลทรำบล่วงหน้ำหรือพร้อมกบั กำรขอขอ้ มูลถงึ วัตถปุ ระสงคท์ ี่จะนำข้อมลู มำใช้ลักษณะกำร
ใชข้ ้อมลู ตำมปกติ และกรณีทข่ี อข้อมูลน้ันเป็นกรณีท่อี ำจให้ขอ้ มลู ไดโ้ ดยควำมสมคั รใจหรือเปน็ กรณมี ีกฎหมำย
บงั คับ
60. หนว่ ยงำนของรฐั ตอ้ งแจ้งให้เจำ้ ของข้อมูลทรำบ ในกรณีตำมข้อใด
1. ในกรณที ม่ี ีกำรให้จัดสง่ ข้อมลู ข่ำวสำรสว่ นบคุ คลไปยงั ท่ีใดซงึ่ จะเปน็ ผลใหบ้ ุคคลทัว่ ไปทรำบข้อมูล
ข่ำวสำรนั้นได้
2. ในกรณที ่ีมีกำรเข้ำตรวจสอบข้อมูลนั้นโดยหนว่ ยงำนรัฐผเู้ ป็นเจ้ำของขอ้ มูลนั้น
3. ไม่มขี อ้ ใดถูก
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 23 วรรคท้ำย หน่วยงำนของรัฐต้องแจง้ ใหเ้ จำ้ ของข้อมลู ทรำบในกรณที ีม่ ีกำรให้จดั ส่ง
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 70
------------------------------------------------------------------------------
ขอ้ มลู ขำ่ วสำรสว่ นบุคคลไปยงั ท่ใี ดซ่งึ จะเป็นผลใหบ้ ุคคลท่ัวไปทรำบขอ้ มลู ขำ่ วสำรนั้นได้ เว้นแต่เป็นไปตำม
ลกั ษณะกำรใช้ข้อมลู ตำมปกติ
61. ข้อใดผิด
1. หนว่ ยงำนของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรสว่ นบุคคลท่ีอยู่ในควำมควบคมุ ดูแลของตนตอ่ หนว่ ยงำนของ
รัฐแหง่ อ่ืน โดยไม่ต้องได้รบั ควำมยนิ ยอมของเจ้ำของข้อมูลกไ็ ด้
2. หน่วยงำนของรัฐจะเปดิ เผยขอ้ มูลข่ำวสำรสว่ นบุคคลท่ีอยู่ในควำมควบคุมดูแลของตนตอ่ หน่วยงำนของ
รฐั แห่งอน่ื โดยปรำศจำกควำมยนิ ยอมเป็นหนังสือของเจ้ำของข้อมลู ไม่ได้
3. หนว่ ยงำนของรัฐจะเปดิ เผยข้อมูลข่ำวสำรสว่ นบคุ คลที่อยูใ่ นควำมควบคมุ ดูแลของตนตอ่ เจ้ำหน้ำทข่ี องรฐั
ในหนว่ ยงำนของตนเพื่อกำรนำไปใชต้ ำมอำนำจหนำ้ ทข่ี องหนว่ ยงำนของรัฐแหง่ น้ันได้
4. ไม่มีข้อใดผิด
ตอบ 1. แนวคดิ มำตรำ 24 วรรคหนง่ึ หน่วยงำนของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลทีอ่ ย่ใู นควำม
ควบคมุ ดูแลของตนต่อหนว่ ยงำนของรัฐแห่งอ่นื หรือผู้อื่นโดยปรำศจำกควำมยนิ ยอมเป็นหนังสือของเจ้ำของข้อมูล
ทใ่ี ห้ไว้ลว่ งหน้ำหรือในขณะนน้ั มิได้เว้นแตเ่ ปน็ กำรเปิดเผย ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) ต่อเจำ้ หนำ้ ทข่ี องรัฐในหนว่ ยงำนของตนเพอ่ื กำรนำไปใช้ตำมอำนำจหน้ำที่ของหนว่ ยงำนของรัฐแห่ง
นน้ั
62. ขอ้ ใด เปน็ ขอ้ ยกเว้นใหห้ น่วยงำนของรัฐมีอำนำจในกำรเปดิ เผยข้อมลู ข่ำวสำรส่วนบุคคลท่อี ยู่ในควำม
ควบคุมดูแลของตนต่อหน่วยงำนของรฐั แห่งอ่นื ได้ โดยไม่ต้องได้รับควำมยนิ ยอมของเจ้ำของข้อมลู น้นั
1. เปน็ กำรเปิดเผยกำรใชข้ ้อมลู ตำมปกติ ภำยในวตั ถปุ ระสงคข์ องกำรจดั ให้มีระบบขอ้ มลู ข่ำวสำรส่วนบุคคล
นน้ั
2. หนว่ ยงำนของรัฐท่ีทำงำนดำ้ นกำรวำงแผนหรอื กำรสถิติหรือสำมะโนตำ่ ง ๆ ซึง่ มีหน้ำที่ตอ้ งรกั ษำข้อมลู
ข่ำวสำรสว่ นบคุ คลไวไ้ ม่ใหเ้ ปิดเผยต่อไปยังผู้อ่ืน
3. เปน็ กำรให้เพ่ือประโยชน์ในกำรศึกษำวิจัยโดยไม่ระบชุ ่ือหรือส่วนทที่ ำให้รวู้ ่ำเป็นข้อมลู ขำ่ วสำรส่วน
บุคคลทเี่ กยี่ วกบั บคุ คลใด
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 24 หน่วยงำนของรัฐจะเปดิ เผยข้อมูลข่ำวสำรสว่ นบุคคลท่ีอย่ใู นควำมควบคุมดูแลของ
ตนต่อหน่วยงำนของรัฐแหง่ อื่นหรือผู้อน่ื โดยปรำศจำกควำมยนิ ยอมเปน็ หนงั สอื ของเจำ้ ของข้อมูลทีใ่ ห้ไวล้ ว่ งหนำ้
หรอื ในขณะน้ันมิได้เวน้ แต่เปน็ กำรเปิดเผย ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) ตอ่ เจ้ำหน้ำท่ีของรฐั ในหน่วยงำนของตนเพ่ือกำรนำไปใชต้ ำมอำนำจหนำ้ ที่ของหน่วยงำนของรัฐแหง่
นั้น
(2) เป็นกำรใชข้ ้อมลู ตำมปกตภิ ำยในวัตถุประสงค์ของกำรจัดให้มีระบบข้อมูลขำ่ วสำรส่วนบุคคลนั้น
(3) ตอ่ หนว่ ยงำนของรัฐท่ีทำงำนดำ้ นกำรวำงแผนหรือกำรสถติ หิ รือสำมะโนตำ่ ง ๆ ซง่ึ มีหน้ำทีต่ ้องรักษำ
ขอ้ มลู ขำ่ วสำรสว่ นบคุ คลไว้ไมใ่ หเ้ ปดิ เผยตอ่ ไปยงั ผู้อ่ืน
63. ข้อใด ไมใ่ ช่ ขอ้ ยกเวน้ ใหห้ นว่ ยงำนของรัฐมีอำนำจในกำรเปิดเผยขอ้ มูลขำ่ วสำรส่วนบคุ คลทอ่ี ยใู่ นควำม
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 71
------------------------------------------------------------------------------
ควบคุมดแู ลของตนต่อหนว่ ยงำนของรฐั แห่งอื่นได้ โดยไมต่ ้องได้รับควำมยนิ ยอมของเจำ้ ของข้อมลู น้ัน
1. เปน็ กำรเปิดเผยเพื่อประโยชนใ์ นกำรศกึ ษำวจิ ยั โดยไม่ระบุชอ่ื หรือสว่ นที่ทำให้รูว้ ่ำเปน็ ข้อมลู ขำ่ วสำรส่วน
บุคคลท่ีเก่ยี วกบั บุคคลใด
2. เป็นกำรเปดิ เผยตอ่ บรษิ ัทมหำชนจำกดั เพ่ือประโยชน์ตอ่ ผลประโยชน์ของบรษิ ัทฯนน้ั
3. เป็นกำรเปิดเผยตอ่ หอจดหมำยเหตแุ ห่งชำติ กรมศลิ ปำกร หรือหน่วยงำนอื่นของรัฐตำมมำตรำ 26 วรรค
หนึง่ เพือ่ กำรตรวจดูคุณค่ำในกำรเกบ็ รกั ษำ
4. เปน็ กำรเปดิ เผยต่อเจำ้ หน้ำทข่ี องรัฐเพือ่ กำรป้องกันกำรฝ่ำฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ัติตำมกฎหมำย กำรสืบสวน กำร
สอบสวน หรือกำรฟ้องคดี ไมว่ ่ำเปน็ คดปี ระเภทใดก็ตำม
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 24 หนว่ ยงำนของรัฐจะเปดิ เผยข้อมูลขำ่ วสำรสว่ นบคุ คลท่ีอยูใ่ นควำมควบคุมดูแลของ
ตนต่อหน่วยงำนของรฐั แห่งอ่ืนหรอื ผู้อื่น โดยปรำศจำกควำมยินยอมเป็นหนงั สือของเจำ้ ของข้อมลู ท่ใี ห้ไว้ล่วงหนำ้
หรอื ในขณะนน้ั มิได้ เว้นแตเ่ ปน็ กำรเปิดเผย ดงั ต่อไปนี้
(4) เปน็ กำรใหเ้ พ่ือประโยชน์ในกำรศกึ ษำวจิ ัยโดยไมร่ ะบชุ ื่อหรือสว่ นท่ีทำให้รู้ว่ำเป็นขอ้ มลู ขำ่ วสำรสว่ น
บุคคลทเ่ี กี่ยวกบั บคุ คลใด
(5) ต่อหอจดหมำยเหตุแหง่ ชำติ กรมศิลปำกร หรือหนว่ ยงำนอื่นของรัฐตำมมำตรำ 26 วรรคหน่งึ เพ่ือกำร
ตรวจดูคณุ ค่ำในกำรเกบ็ รักษำ
(6) ตอ่ เจ้ำหนำ้ ที่ของรฐั เพ่ือกำรป้องกนั กำรฝ่ำฝืนหรอื ไมป่ ฏบิ ตั ิตำมกฎหมำย กำรสบื สวน กำรสอบสวน
หรอื กำรฟอ้ งคดี ไม่ว่ำเป็นคดีประเภทใดก็ตำม
64. กำรเปดิ เผยขอ้ มูลขำ่ วสำรส่วนบุคคลตำมมำตรำ 24 วรรคหนง่ึ (3) (4) (5) (6) (7) (8) และ (9) จะต้องมีกำร
ปฏิบัติอย่ำงไร
1. ใหม้ ีกำรจดั ทำรำยช่อื ผู้เป็นเจ้ำของข้อมูลและผลเสียหำยทีอ่ ำจจะได้รับจำกกำรเปิดเผยข้อมลู นนั้
2. ให้มีกำรจดั ทำบัญชีแสดงกำรเปดิ เผยกำกับไวก้ ับขอ้ มูลขำ่ วสำรนน้ั
3. ให้หน่วยงำนรัฐวำงประกันเงินควำมเสียหำยแก่เจ้ำของข้อมลู เพือ่ ควำมเสยี หำยในอนำคต
4. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 24 วรรคสอง กำรเปิดเผยข้อมลู ขำ่ วสำรสว่ นบุคคลตำมวรรคหนึง่ (3) (4) (5) (6) (7)
(8) และ (9) ให้มกี ำรจดั ทำบัญชีแสดงกำรเปดิ เผยกำกับไว้กับขอ้ มูลข่ำวสำรนั้น
65. กำรปฏบิ ัติตำมข้อ 64. จะตอ้ งเป็นไปตำมหลกั เกณฑแ์ ละวิธีกำรที่กำหนดไว้ในข้อใด
1. มติคณะรัฐมนตรี 2. กฎกระทรวง
3. คำส่ังของนำยกรัฐมนตรี 4. คำสั่งของคณะกรรมกำรเปดิ เผยขอ้ มลู ฯ
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 24 วรรคสอง กำรเปดิ เผยข้อมลู ขำ่ วสำรส่วนบุคคลตำมวรรคหนงึ่ (3) (4) (5) (6) (7)
(8) และ (9) ให้มีกำรจัดทำบัญชแี สดงกำรเปิดเผยกำกบั ไวก้ บั ข้อมลู ขำ่ วสำรน้ัน ตำมหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีกำรท่กี ำหนด
ใน กฎกระทรวง
66. ภำยใตบ้ ังคบั มำตรำ 14 และมำตรำ 15 บคุ คลย่อมมีสิทธทิ จี่ ะได้รถู้ ึงข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลทเ่ี กย่ี วกบั ตน
และเมอ่ื บคุ คลนั้นมีคำขอเป็นหนงั สอื หน่วยงำนของรฐั ที่ควบคมุ ดแู ลข้อมลู ข่ำวสำรนั้นจะต้องให้บุคคลนั้นหรือ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 72
------------------------------------------------------------------------------
ผกู้ ระทำกำรแทนบคุ คลน้ันไดม้ สี ทิ ธิตำมขอ้ ใด
1. ตรวจดขู ้อมลู นน้ั หรอื ได้รับสำเนำข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลสว่ นทีเ่ กย่ี วกบั บุคคลน้นั
2. สำมำรถนำต้นฉบบั ของทำงรำชกำรออกไปใช้ได้ เม่ือมกี ำรยื่นคำขอต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำท่ีแล้ว
3. มีสิทธใิ หเ้ จำ้ หน้ำท่ีของรัฐอธบิ ำยรำยละเอยี ดของเอกสำรและนำพยำนหลกั ฐำนอน่ื มำประกอบเอกสำรน้นั
ได้ เมื่อยนื่ คำขอต่อพนกั งำนเจ้ำหน้ำที่แล้ว
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 1. แนวคดิ มำตรำ 25 วรรคแรก ภำยใตบ้ ังคบั มำตรำ 14 และมำตรำ 15 บุคคลยอ่ มมีสทิ ธิท่จี ะไดร้ ู้ถึง
ขอ้ มูลข่ำวสำรส่วนบคุ คลทเ่ี ก่ียวกบั ตน และเมอ่ื บคุ คลนั้นมีคำขอเปน็ หนังสือ หนว่ ยงำนของรัฐท่ีควบคมุ ดูแลขอ้ มลู
ขำ่ วสำรนัน้ จะตอ้ งใหบ้ ุคคลนนั้ หรอื ผกู้ ระทำกำรแทนบุคคลน้นั ไดต้ รวจดหู รือได้รับสำเนำข้อมูลขำ่ วสำรส่วน
บุคคลสว่ นทเี่ กีย่ วกับบุคคลน้นั และให้นำมำตรำ 9 วรรคสอง และวรรคสำม มำใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม
67. ถ้ำบคุ คลใดเหน็ ว่ำข้อมลู ข่ำวสำรสว่ นบุคคลทเ่ี กย่ี วกับตนส่วนใดไม่ถกู ต้องตำมท่เี ป็นจรงิ ให้มสี ทิ ธอิ ยำ่ งไร
1. แจ้งเปน็ วำจำโดยเร่งด่วน เพื่อใหห้ นว่ ยงำนนัน้ แกไ้ ขข้อมูล แตไ่ ม่มอี ำนำจลบข้อมูลนัน้
2. ย่นื คำขอเปน็ หนงั สอื ให้หน่วยงำนของรฐั ทีค่ วบคุมดแู ลขอ้ มลู ข่ำวสำรแก้ไขเปลย่ี นแปลงหรอื ลบข้อมลู
ขำ่ วสำรสว่ นน้นั ได้ซง่ึ หน่วยงำนของรฐั จะต้องพิจำรณำคำขอดังกล่ำว
3. ไม่มสี ิทธิอยำ่ งใด เพรำะเป็นข้อมลู ของทำงรำชกำร
4. ไมม่ ขี อ้ ใดถูก
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 25 วรรคสำม ถำ้ บคุ คลใดเหน็ ว่ำขอ้ มูลข่ำวสำรส่วนบุคคลที่เกย่ี วกบั ตนส่วนใดไม่
ถูกตอ้ งตำมท่ีเป็นจรงิ ใหม้ ีสิทธิยนื่ คำขอเปน็ หนงั สือให้หน่วยงำนของรฐั ทีค่ วบคุมดูแลขอ้ มลู ข่ำวสำรแก้ไข
เปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมลู ข่ำวสำรส่วนนนั้ ไดซ้ ึง่ หน่วยงำนของรฐั จะต้องพจิ ำรณำคำขอดงั กล่ำว และแจง้ ให้บคุ คล
นัน้ ทรำบโดยไมช่ กั ชำ้
68. จำกข้อ 67. หำกหน่วยงำนรัฐไมก่ ระทำกำรตำมสทิ ธิ ดังกล่ำว ให้ผนู้ ัน้ มสี ิทธอิ ุทธรณไ์ ดต้ ่อผู้ใด
1. คณะรัฐมนตรี 2. คณะกรรมกำรวนิ ิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
3. นำยกรัฐมนตรี 4. คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 25 วรรคส่ี ในกรณีทหี่ นว่ ยงำนของรัฐไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมลู ข่ำวสำรให้
ตรงตำมท่มี คี ำขอ ใหผ้ ู้นนั้ มีสทิ ธอิ ุทธรณต์ อ่ คณะกรรมกำรวนิ จิ ฉยั กำรเปดิ เผยข้อมูลขำ่ วสำร
69. กำรอทุ ธรณ์ตำมข้อ 68. จะต้องอทุ ธรณภ์ ำยในกำหนดเทำ่ ใด นบั แตว่ ันได้รบั แจ้งคำสงั่
1. 15 วนั 2. 30 วนั 3. 1 เดอื น 4. 3 เดอื น
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 25 วรรคสี่ ในกรณีทีห่ นว่ ยงำนของรัฐไมแ่ กไ้ ขเปลี่ยนแปลงหรอื ลบข้อมลู ข่ำวสำรให้
ตรงตำมทีม่ คี ำขอให้ผู้น้ันมีสิทธิอทุ ธรณ์ต่อคณะกรรมกำรวินิจฉยั กำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรภำยใน สำมสิบวัน นับ
แตว่ ันได้รับแจ้งคำสง่ั ไม่ยินยอมแกไ้ ขเปลีย่ นแปลงหรือลบข้อมูลขำ่ วสำรโดยย่ืนคำอทุ ธรณต์ อ่ คณะกรรมกำร และ
ไมว่ ำ่ กรณีใด ๆ ให้เจำ้ ของขอ้ มลู มสี ทิ ธริ อ้ งขอใหห้ น่วยงำนของรัฐหมำยเหตุคำขอของตนแนบไว้กับข้อมูลข่ำวสำร
สว่ นทเ่ี กีย่ วข้องได้
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 73
------------------------------------------------------------------------------
70. ข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำรท่ีหน่วยงำนของรัฐไม่ประสงค์จะเกบ็ รักษำหรือมีอำยคุ รบกำหนดแลว้ ตำม
พระรำชบญั ญตั ิน้ี นบั แตว่ นั ทเี่ สร็จสน้ิ กำรจัดใหม้ ีข้อมูลขำ่ วสำรนน้ั ใหห้ น่วยงำนของรฐั ส่งมอบให้แกผ่ ู้ใด
1. หอจดหมำยเหตุ 2. กรมศิลปำกร
3. หนว่ ยงำนอ่ืนของรัฐตำมที่กำหนดในพระรำชกฤษฎกี ำเพือ่ คดั เลือกไว้ใหป้ ระชำชนได้ศึกษำคน้ คว้ำ
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 26 วรรคแรก ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรทห่ี น่วยงำนของรัฐไม่ประสงค์จะเก็บรกั ษำ
หรือมีอำยคุ รบกำหนดตำมวรรคสองนบั แต่วันที่เสร็จส้ินกำรจัดใหม้ ขี ้อมลู ข่ำวสำรน้ัน ให้หนว่ ยงำนของรัฐส่งมอบ
ใหแ้ ก่ หอจดหมำยเหตแุ หง่ ชำติ กรมศลิ ปำกร หรอื หนว่ ยงำนอ่ืนของรัฐตำมที่กำหนดในพระรำชกฤษฎกี ำเพอื่
คดั เลือกไว้ใหป้ ระชำชนไดศ้ ึกษำค้นคว้ำ
71. กำหนดเวลำต้องส่งขอ้ มลู ขำ่ วสำรของรำชกำรตำมข้อ 70. ในกรณีขอ้ มูลขำ่ วสำรของรำชกำรตำมมำตรำ 14
แห่งพระรำชบัญญตั ิข้อมูลข่ำวสำรฯ จะต้องสง่ เมื่อครบกำหนดกี่ปี
1. 50 ปี 2. 65 ปี 3. 75 ปี 4. 100 ปี
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 26 วรรคสอง กำหนดเวลำต้องสง่ ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรตำมวรรคหน่ึงให้แยกตำม
ประเภท ดังน้ี
(1) ขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำรตำมมำตรำ 14 เมอ่ื ครบ เจด็ สิบห้ำปี
72. กำหนดเวลำต้องสง่ ขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรตำมข้อ 70. ในกรณีข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำรตำมมำตรำ 15
แห่งพระรำชบัญญัติข้อมลู ขำ่ วสำรฯ จะต้องส่งเม่ือครบกำหนดกป่ี ี
1. 20 ปี 2. 25 ปี 3. 50 ปี 4. 100 ปี
ตอบ 1. แนวคดิ แนวคิด มำตรำ 26 วรรคสอง กำหนดเวลำต้องส่งขอ้ มูลขำ่ วสำรของรำชกำรตำมวรรคหน่งึ
ใหแ้ ยกตำมประเภท ดงั นี้
(2) ขอ้ มลู ขำ่ วสำรของรำชกำรตำมมำตรำ 15 เมอ่ื ครบ ยีส่ บิ ปี
73. กำหนดเวลำตำมข้อ 71. และ 72. อำจขยำยออกไปอีกได้ ตอ่ เม่ือมีเหตุตำมขอ้ ใด
1. หนว่ ยงำนของรัฐยงั จำเป็นต้องเก็บรกั ษำขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรไว้เองเพอื่ ประโยชน์ในกำรใช้สอย
2. หนว่ ยงำนของรัฐเห็นว่ำข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำรนั้นยังไมค่ วรเปดิ เผย
3. ไม่อำจขยำยไดแ้ ต่อยำ่ งใด
4. ถกู ท้ังข้อ 1. และ 2.
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 26 วรรคสำม กำหนดเวลำตำมวรรคสอง อำจขยำยออกไปได้ในกรณีดงั ตอ่ ไปนี้
(1) หน่วยงำนของรฐั ยังจำเปน็ ต้องเก็บรักษำข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรไว้เองเพอ่ื ประโยชน์ในกำรใช้สอย
โดยต้องจัดเก็บและจัดใหป้ ระชำชนไดศ้ กึ ษำคน้ ควำ้ ตำมท่ีจะตกลงกบั หอจดหมำยเหตุแหง่ ชำติ กรมศิลปำกร
(2) หน่วยงำนของรฐั เห็นว่ำข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำรนัน้ ยังไมค่ วรเปิดเผยโดยมีคำส่ังขยำยเวลำกำกบั ไว้
เป็นกำรเฉพำะรำย คำส่ังกำรขยำยเวลำนน้ั ใหก้ ำหนดระยะเวลำไว้ดว้ ย แต่จะกำหนดเกนิ ครำวละหำ้ ปีไม่ได้
74. กำรตรวจสอบหรือทบทวนมิให้มีกำรขยำยระยะเวลำไม่เปิดเผยจนเกินควำมจำเปน็ ให้เป็นไปตำม
หลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดไว้ในข้อใด
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 74
------------------------------------------------------------------------------
1. คำสง่ั นำยกรฐั มนตรี 2. มติคณะรฐั มนตรี
3. กฎกระทรวง 4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 3. แนวคดิ มำตรำ 26 วรรคสี่ กำรตรวจสอบหรอื ทบทวนมใิ ห้มกี ำรขยำยระยะเวลำไมเ่ ปิดเผยจนเกิน
ควำมจำเปน็ ให้ เปน็ ไปตำมหลักเกณฑ์และวธิ กี ำรท่กี ำหนดใน กฎกระทรวง
75. ผใู้ ดเป็นประธำนในคณะกรรมกำรขอ้ มูลขำ่ วสำรของรำชกำร
1. รฐั มนตรี ซง่ึ นำยกรัฐมนตรมี อบหมำย 2. ปลดั สำนักนำยกรฐั มนตรี
3. ปลดั กระทรวงกลำโหม 4. ปลดั กระทรวงมหำดไทย
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 27 วรรคแรก ให้มคี ณะกรรมกำรขอ้ มูลขำ่ วสำรของรำชกำร ประกอบด้วย รฐั มนตรี
ซง่ึ นำยกรัฐมนตรมี อบหมำยเปน็ ประธำน ปลดั สำนักนำยกรฐั มนตรี ปลดั กระทรวงกลำโหม ปลดั กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ปลดั กระทรวงกำรคลัง ปลดั กระทรวงกำรตำ่ งประเทศ ปลัดกระทรวงมหำดไทย ปลดั กระทรวง
พำณชิ ย์ เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ เลขำธิกำรคณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรพลเรอื น เลขำธิกำรสภำควำมม่ันคง
แหง่ ชำติ เลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ผู้อำนวยกำรสำนักข่ำวกรองแหง่ ชำติ ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ และ
ผูท้ รงคณุ วุฒอิ ่ืนจำกภำครฐั และภำคเอกชน ซ่งึ คณะรฐั มนตรแี ตง่ ตง้ั อีกเก้ำคนเปน็ กรรมกำร
76. ผใู้ ด เป็นผู้แตง่ ต้ังขำ้ รำชกำรของสำนักงำนปลัดสำนกั นำยกรฐั มนตรี คนหนง่ึ เป็นเลขำนุกำร และอีกสองคน
เป็นผูช้ ่วยเลขำนกุ ำร ในคณะกรรมกำรข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำร
1. นำยกรัฐมนตรี 2. ปลดั สำนกั นำยกรัฐมนตรี
3. รฐั มนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย 4. รองนำยกรัฐมนตรี
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 27 วรรคสอง ให้ ปลัดสำนักนำยกรฐั มนตรี แต่งตงั้ ขำ้ รำชกำรของสำนักงำนปลดั
สำนกั นำยกรฐั มนตรคี นหนง่ึ เป็นเลขำนุกำร และอกี สองคนเป็นผู้ช่วยเลขำนกุ ำร
77. ข้อใดเปน็ อำนำจหน้ำท่ีของคณะกรรมกำรข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำร
1. สอดส่องดูแลและใหค้ ำแนะนำเก่ียวกบั กำรดำเนินงำนของเจำ้ หนำ้ ทข่ี องรฐั และหน่วยงำนของรัฐในกำร
ปฏบิ ตั ติ ำมพระรำชบัญญัตนิ ี้
2. ใหค้ ำปรึกษำแกเ่ จำ้ หนำ้ ทีข่ องรัฐหรือหน่วยงำนของรฐั เกีย่ วกับกำรปฏบิ ัติตำมพระรำชบัญญัตนิ ้ี ตำมท่ไี ด้
รบั คำขอ
3. เสนอแนะในกำรตรำพระรำชกฤษฎกี ำและกำรออกกฎกระทรวงหรือระเบียบของคณะรัฐมนตรี ตำม
พระรำชบญั ญัติน้ี
4. ถูกทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 28 คณะกรรมกำรมีอำนำจหนำ้ ที่ ดงั ต่อไปน้ี
(1) สอดส่องดแู ลและใหค้ ำแนะนำเก่ยี วกบั กำรดำเนนิ งำนของเจำ้ หนำ้ ทข่ี องรฐั และหนว่ ยงำนของรฐั ในกำร
ปฏบิ ตั ติ ำมพระรำชบัญญตั ินี้
(2) ให้คำปรึกษำแก่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐหรือหน่วยงำนของรัฐเก่ยี วกับกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติน้ี ตำมท่ี
ไดร้ ับคำขอ
(3) เสนอแนะในกำรตรำพระรำชกฤษฎกี ำและกำรออกกฎกระทรวงหรือระเบียบของคณะรฐั มนตรี ตำม
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 75
------------------------------------------------------------------------------
พระรำชบญั ญตั ินี้
(4) พจิ ำรณำและใหค้ วำมเห็นเร่ืองร้องเรียนตำมมำตรำ 13
(5) จัดทำรำยงำนเกีย่ วกบั กำรปฏบิ ัติตำมพระรำชบญั ญัตินเ้ี สนอคณะรฐั มนตรีเปน็ คร้งั ครำว ตำมควำม
เหมำะสม แตอ่ ย่ำงน้อยปีละหน่งึ ครงั้
(6) ปฏิบัตหิ น้ำทอี่ น่ื ตำมทกี่ ำหนดในพระรำชบัญญัติน้ี
(7) ดำเนินกำรเรื่องอื่นตำมทค่ี ณะรัฐมนตรีหรือนำยกรัฐมนตรมี อบหมำย
78. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรข้อมลู ข่ำวสำรของทำงรำชกำร ซ่ึงไดร้ ับแต่งต้ังตำมมำตรำ 27 มี
วำระอย่ใู นตำแหนง่ ครำวละกี่ปีนบั แต่วันที่ได้รับแต่งตง้ั
1. 2 ปี 2. 3 ปี 3. 4 ปี 4. 5 ปี
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 29 กรรมกำรผูท้ รงคุณวุฒซิ ่ึงได้รับแตง่ ต้ังตำมมำตรำ 27 มวี ำระอยู่ในตำแหนง่ ครำว
ละ สำมปี นับแต่วนั ทไ่ี ด้รบั แต่งตงั้ ผ้ทู ี่พ้นจำกตำแหน่งแลว้ อำจได้รบั แตง่ ตง้ั ใหมไ่ ด้
79. นอกจำกกำรพ้นจำกตำแหนง่ ตำมวำระในข้อ 78. กรรมกำรผทู้ รงคุณวฒุ ซิ งึ่ ได้รบั แต่งต้ังตำมมำตรำ 27 จะ
พน้ จำกตำแหนง่ ไดต้ ำมข้อใด
1. คณะรัฐมนตรีให้ออกเพรำะมีควำมประพฤติเสื่อมเสียบกพรอ่ งหรือไม่สุจริตตอ่ หน้ำท่หี รอื หยอ่ น
ควำมสำมำรถ
2. เป็นบุคคลล้มละลำย
3. ไดร้ บั โทษจำคกุ โดยคำพิพำกษำถงึ ทีส่ ุดให้จำคุก เวน้ แต่เปน็ โทษสำหรับควำมผดิ ท่ีได้กระทำโดยประมำท
หรือควำมผดิ ลหุโทษ
4. ถูกทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 30 นอกจำกกำรพ้นจำกตำแหน่งตำมวำระ กรรมกำร ผทู้ รงคณุ วฒุ ิซงึ่ ไดร้ ับแตง่ ต้ังตำม
มำตรำ 27 พน้ จำกตำแหนง่ เมื่อ
(1) ตำย
(2) ลำออก
(3) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพรำะมคี วำมประพฤติเสื่อมเสยี บกพร่องหรอื ไม่สจุ ริตต่อหนำ้ ทีห่ รอื หยอ่ น
ควำมสำมำรถ
(4) เป็นบคุ คลลม้ ละลำย
(5) เป็นคนไรค้ วำมสำมำรถหรือคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ
(6) ได้รบั โทษจำคุกโดยคำพิพำกษำถึงท่สี ุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรบั ควำมผดิ ท่ีได้กระทำโดย
ประมำทหรือควำมผิดลหุโทษ
80. กำรประชุมของคณะกรรมกำรขอ้ มลู ขำ่ วสำรของรำชกำร ตอ้ งมีกรรมกำรมำประชุมไม่นอ้ ยกวำ่ เท่ำใด ของ
จำนวนกรรมกำรทง้ั หมด จึงจะเป็นองคป์ ระชมุ ตำมกฎหมำย
1. ไมน่ ้อยกวำ่ หน่ึงในสำม 2. ไมน่ ้อยกวำ่ ก่งึ หน่ึง
3. ไมน่ ้อยกวำ่ สองในสำม 4. ไม่นอ้ ยกว่ำสำมในส่ี
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 76
------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 31 วรรคแรก กำรประชุมของคณะกรรมกำรตอ้ งมกี รรมกำรมำประชมุ ไม่น้อยกวำ่ กึ่ง
หนง่ึ ของจำนวนกรรมกำรทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
81. ให้ประธำนกรรมกำรขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำร เป็นประธำนในทป่ี ระชมุ แต่ถ้ำประธำนกรรมกำรไมม่ ำ
ประชมุ หรือไมอ่ ำจปฏิบัตหิ น้ำท่ีได้ ให้กระทำตำมข้อใด
1. ให้กรรมกำรท่ีมำประชมุ ผู้ทม่ี อี ำวโุ สสงู สุดทำหนำ้ ทป่ี ระธำนในท่ีประชุม
2. ใหร้ องประธำนทำหน้ำที่แทนประธำนเป็นกำรช่ัวครำว
3. ให้กรรมกำรท่ีมำประชมุ เลือกกรรมกำรคนหน่ึงเป็นประธำนในท่ีประชมุ
4. ใหเ้ ล่อื นกำรประชุมออกไปกอ่ น จนกวำ่ จะไดผ้ ู้ทำหนำ้ ทปี่ ระธำน
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ วรรคสอง ให้ประธำนกรรมกำรเป็นประธำนในท่ปี ระชุมถำ้ ประธำนกรรมกำรไมม่ ำ
ประชุมหรือไมอ่ ำจปฏิบัติหน้ำที่ได้ ใหก้ รรมกำรที่มำประชุมเลือกกรรมกำรคนหน่งึ เป็นประธำนในทป่ี ระชมุ
82. กำรวนิ จิ ฉยั ช้ขี ำดของทป่ี ระชุมคณะกรรมกำรข้อมลู ข่ำวสำรของรำชกำร ใหถ้ ือเสียงเทำ่ ใด จึงจะเป็นเสียงช้ี
ขำดที่ถกู ตอ้ งตำมกฎหมำย
1. ให้ถอื เสยี งเกนิ กวำ่ กึ่งหนึง่ 2. ใหถ้ ือเสียงขำ้ งมำก
3. ให้ถือเสียงเกนิ กวำ่ สองในสำม 4. ให้ถือเสยี งเอกฉันท์
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 31 วรรคสำม กำรวินจิ ฉัยช้ีขำดของทปี่ ระชมุ ใหถ้ ือเสียงข้ำงมำกกรรมกำรคนหนึง่
ให้มีเสยี งหน่ึงในกำรลงคะแนน
83. จำกข้อ 82. ถำ้ คะแนนเสียงเทำ่ กนั ใหก้ ระทำตำมขอ้ ใดจึงจะถูกต้องตำมกฎหมำย
1. ใหป้ ระธำนในท่ปี ระชุมออกเสียงเพม่ิ ขนึ้ อกี เสียงหน่งึ เป็นเสยี งชข้ี ำด
2. ให้ยกเลิกกำรลงคะแนนเสยี งชี้ขำด
3. ให้มีกำรจดั ประชุมใหม่เพ่ือลงคะแนนเสียงใหมอ่ ีกครงั้ หนงึ่
4. ให้เปน็ ดุลพนิ จิ ของประธำนในทปี่ ระชมุ วำ่ จะมคี ำสงั่ เป็นประกำรใด
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 31 วรรคสำม กำรวนิ จิ ฉยั ช้ขี ำดของที่ประชมุ ให้ถอื เสียงขำ้ งมำกกรรมกำรคนหนึ่งให้
มีเสียงหน่งึ ในกำรลงคะแนน ถ้ำคะแนนเสยี งเท่ำกัน ใหป้ ระธำนในท่ีประชมุ ออกเสียงเพม่ิ ขึน้ อกี เสยี งหนึง่ เป็น
เสยี งชีข้ ำด
84. คณะกรรมกำรข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรมีอำนำจในกำรรวบรวมหลกั ฐำนมำประกอบกำรพิจำรณำได้ ตำม
ข้อใด
1. เรยี กให้บุคคลที่เกย่ี วขอ้ งมำใหถ้ ้อยคำได้
2. เรยี กใหบ้ ุคคลส่งวตั ถุ หรือเอกสำรที่เกยี่ วข้องต่ำงๆได้
3. เรียกใหบ้ คุ คลสง่ พยำนหลกั ฐำนทเี่ กยี่ วขอ้ งได้ 4. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 32 ใหค้ ณะกรรมกำร มีอำนำจเรยี กให้บุคคลใดมำใหถ้ อ้ ยคำหรอื ใหส้ ่งวตั ถุ
เอกสำร หรือพยำนหลักฐำนมำประกอบกำรพจิ ำรณำได้
85. ในกรณีท่หี น่วยงำนของรฐั ปฏเิ สธว่ำไม่มีขอ้ มูลข่ำวสำรตำมที่มีคำขอไมว่ ำ่ จะเปน็ กรณีตำมมำตรำ 11 หรือ
มำตรำ 25 ถำ้ ผมู้ ีคำขอไมเ่ ช่ือว่ำเปน็ ควำมจรงิ และร้องเรยี นตอ่ คณะกรรมกำรตำมมำตรำ 13 คณะกรรมกำรขอ้ มูล
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 77
------------------------------------------------------------------------------
ข่ำวสำรของรำชกำรจะมีอำนำจตำมขอ้ ใด
1. ดำเนนิ กำรตรวจสอบขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรท่ีเก่ียวขอ้ งได้
2. แจ้งผลกำรตรวจสอบใหผ้ ู้ร้องเรยี นทรำบ
3. ถกู ท้ังขอ้ 1. และ 2. 4. ไมม่ ขี ้อใดถูก
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 33 วรรคแรก ในกรณีทห่ี น่วยงำนของรัฐปฏิเสธวำ่ ไมม่ ีขอ้ มลู ขำ่ วสำรตำมท่มี ีคำขอไม่
วำ่ จะเปน็ กรณตี ำมมำตรำ 11 หรือมำตรำ 25 ถำ้ ผู้มคี ำขอไม่เชื่อว่ำเป็นควำมจริงและร้องเรยี นต่อคณะกรรมกำรตำม
มำตรำ 13 ใหค้ ณะกรรมกำรมอี ำนำจเขำ้ ดำเนินกำรตรวจสอบขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรทเ่ี ก่ียวขอ้ งไดแ้ ละแจง้ ผล
กำรตรวจสอบใหผ้ ู้ร้องเรยี นทรำบ
86. จำกขอ้ 85. หนว่ ยงำนของรฐั หรือเจ้ำหน้ำที่ของรฐั ตอ้ งปฏิบตั ิตำมขอ้ ใด
1. อำจปฏิเสธตอ่ คณะกรรมกำรได้ หำกเป็นข้อมูลสำคญั ทไ่ี มอ่ ำจเปิดเผยได้
2. ตอ้ งแจ้งคำสงั่ ใหค้ ณะกรรมกำร ขออนุญำตต่อศำลปกครองเสียกอ่ น
3. ตอ้ งยินยอมให้คณะกรรมกำรหรือผ้ซู ึ่งคณะกรรมกำรมอบหมำยเขำ้ ตรวจสอบขอ้ มูลขำ่ วสำรทีอ่ ยู่ในควำม
ครอบครองของตนได้ไม่ว่ำจะเปน็ ขอ้ มลู ข่ำวสำรที่เปิดเผยไดห้ รือไมก่ ็ตำม
4. ถกู ทุกข้อ
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 33 วรรคสอง หน่วยงำนของรฐั หรอื เจำ้ หน้ำทข่ี องรัฐ ตอ้ งยินยอมใหค้ ณะกรรมกำร
หรือผู้ซึง่ คณะกรรมกำรมอบหมำยเขำ้ ตรวจสอบข้อมลู ข่ำวสำรที่อยใู่ นควำมครอบครองของตนได้ไมว่ ่ำจะเปน็
ข้อมลู ขำ่ วสำรท่เี ปิดเผยไดห้ รือไมก่ ต็ ำม
87. ใหม้ คี ณะกรรมกำรวินจิ ฉยั กำรเปดิ เผยข้อมลู ข่ำวสำรสำขำต่ำงๆ ตำมควำมเหมำะสม โดยผใู้ ดเป็นผแู้ ต่งตงั้
ตำมขอ้ เสนอของคณะกรรมกำรฯ
1. นำยกรัฐมนตรี 2. คณะรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงมหำดไทย 4. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 35 วรรคแรก ให้มีคณะกรรมกำรวินจิ ฉยั กำรเปิดเผยขอ้ มูลขำ่ วสำรสำขำตำ่ ง ๆ ตำม
ควำมเหมำะสม ซึ่ง คณะรฐั มนตรี แต่งตั้งตำมข้อเสนอของคณะกรรมกำร
88. คณะกรรมกำรวนิ ิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมลู ข่ำวสำรสำขำต่ำง ๆ มอี ำนำจหนำ้ ท่ีตำมข้อใด
1. พิจำรณำวินจิ ฉยั อุทธรณค์ ำส่ังมใิ หเ้ ปิดเผยข้อมูลขำ่ วสำรตำมมำตรำ 14 หรือมำตรำ 15
2. พิจำรณำวินิจฉยั อุทธรณค์ ำส่ังไมร่ บั ฟงั คำคดั คำ้ นตำมมำตรำ 17
3. พิจำรณำวินจิ ฉัยอุทธรณ์คำสั่งไม่แก้ไขเปล่ยี นแปลงหรอื ลบขอ้ มูลข่ำวสำรสว่ นบคุ คลตำมมำตรำ 25
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 35 วรรคแรก ให้มคี ณะกรรมกำรวนิ ิจฉัยกำรเปิดเผยขอ้ มูลข่ำวสำรสำขำตำ่ ง ๆ ตำม
ควำมเหมำะสม ซง่ึ คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งตำมข้อเสนอของคณะกรรมกำร มีอำนำจหนำ้ ท่พี จิ ำรณำวินจิ ฉยั อุทธรณ์
คำสงั่ มิใหเ้ ปดิ เผยข้อมลู ข่ำวสำรตำมมำตรำ 14 หรือมำตรำ 15 หรอื คำสงั่ ไมร่ บั ฟงั คำคัดค้ำนตำมมำตรำ 17 และ
คำส่ังไม่แกไ้ ขเปลย่ี นแปลงหรอื ลบข้อมลู ขำ่ วสำรสว่ นบุคคลตำมมำตรำ 25
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 78
------------------------------------------------------------------------------
89. กำรแตง่ ต้งั คณะกรรมกำรวินิจฉยั กำรเปดิ เผยข้อมลู ขำ่ วสำรตำมข้อ 88. ให้แต่งตั้งโดยพิจำรณำตำมขอ้ ใด
1. ให้แต่งตงั้ ตำมสำขำควำมเชย่ี วชำญเฉพำะด้ำนของขอ้ มูลขำ่ วสำรของรำชกำร
2. ให้แต่งตง้ั ตำมควำมรคู้ วำมสำมำรถขององค์กร
3. ใหแ้ ต่งตัง้ ตำมมตคิ ณะรฐั มนตรี 4. ให้แตง่ ต้งั ตำมคำสงั่ ของนำยกรัฐมนตรี
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 35 วรรคสอง กำรแตง่ ต้งั คณะกรรมกำรวินจิ ฉัยกำรเปิดเผยขอ้ มูลขำ่ วสำรตำมวรรค
หน่งึ ให้แต่งตง้ั ตำมสำขำควำมเชยี่ วชำญเฉพำะดำ้ นของข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำร เช่น ควำมมนั่ คงของประเทศ
เศรษฐกจิ และกำรคลงั ของประเทศ หรือกำรบังคบั ใช้กฎหมำย
90. คณะกรรมกำรวินจิ ฉัยกำรเปิดเผยขอ้ มูลขำ่ วสำรคณะหนึง่ ๆ ประกอบด้วยบุคคลตำมควำมจำเปน็ แตต่ ้องไม่
นอ้ ยกว่ำกว่ำกีค่ น
1. 3 คน 2. 4 คน 3. 5 คน 4. 6 คน
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 36 วรรคแรก คณะกรรมกำรวินจิ ฉยั กำรเปิดเผยขอ้ มลู ขำ่ วสำรคณะหนง่ึ ๆ
ประกอบด้วยบุคคลตำมควำมจำเปน็ แตต่ ้องไมน่ ้อยกว่ำ สำมคน
91. จำกขอ้ 90. ให้ผู้ใดปฏิบัตหิ น้ำท่ีเป็นเลขำนุกำรและผู้ชว่ ยเลขำนุกำร
1. ข้ำรำชกำรผู้สอบผ่ำนตำมหลกั เกณฑ์ 2. ขำ้ รำชกำรทคี่ ณะกรรมกำรแตง่ ต้ัง
3. ข้ำรำชกำรที่คณะรฐั มนตรีแตง่ ตั้ง 4. ขำ้ รำชกำรทนี่ ำยกรัฐมนตรมี คี ำสงั่ แตง่ ตงั้
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 36 วรรคแรก คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมลู ขำ่ วสำรคณะหนงึ่ ๆ
ประกอบดว้ ยบคุ คลตำมควำมจำเป็นแต่ต้องไม่น้อยกวำ่ สำมคนและ ให้ข้ำรำชกำรทคี่ ณะกรรมกำรแตง่ ตัง้ ปฏิบตั ิ
หน้ำทเ่ี ป็นเลขำนุกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
92. ขอ้ ใดผดิ
1. ในกรณีพิจำรณำเกีย่ วกบั ข้อมูลขำ่ วสำรของหน่วยงำนของรัฐแหง่ ใดกรรมกำรวนิ ิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมลู
ข่ำวสำรซึง่ มำจำกหนว่ ยงำนของรัฐแหง่ นั้นจะเข้ำร่วมพิจำรณำด้วยไมไ่ ด้
2. กรรมกำรวินิจฉยั กำรเปดิ เผยขอ้ มูลข่ำวสำร จะเป็นเลขำนกุ ำรไมไ่ ด้
3. กรรมกำรวนิ ิจฉัยกำรเปิดเผยขอ้ มลู ขำ่ วสำร จะเปน็ ผชู้ ่วยเลขำนุกำรได้
4. ไมม่ ีข้อใดผิด
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 36 วรรคสอง และสำม ในกรณพี จิ ำรณำเกีย่ วกบั ขอ้ มูลข่ำวสำรของหน่วยงำนของ
รฐั แห่งใดกรรมกำรวินจิ ฉัยกำรเปิดเผยขอ้ มลู ขำ่ วสำรซ่ึงมำจำกหนว่ ยงำนของรัฐแห่งนั้นจะเขำ้ ร่วมพจิ ำรณำด้วย
ไมไ่ ด้
กรรมกำรวนิ จิ ฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร จะเปน็ เลขำนกุ ำรหรือผู้ช่วยเลขำนุกำรไม่ได้
93. ใหค้ ณะกรรมกำรพิจำรณำส่งคำอุทธรณใ์ หค้ ณะกรรมกำรวินิจฉยั กำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร โดยคำนงึ ถึง
ควำมเชย่ี วชำญเฉพำะดำ้ นของคณะกรรมกำรวนิ ิจฉยั กำรเปดิ เผยขอ้ มูลข่ำวสำรแต่ละสำขำภำยในกว่ี ันนับแต่วันท่ี
คณะกรรมกำรได้รับคำอทุ ธรณ์
1. 3 วนั 2. 7 วนั 3. 15 วนั 4. 30 วนั
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 37 วรรคแรก ให้คณะกรรมกำรพิจำรณำสง่ คำอุทธรณใ์ หค้ ณะกรรมกำรวินิจฉัยกำร
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 79
------------------------------------------------------------------------------
เปดิ เผยข้อมูลข่ำวสำร โดยคำนงึ ถึงควำมเชี่ยวชำญเฉพำะด้ำนของคณะกรรมกำรวินจิ ฉัยกำรเปดิ เผยขอ้ มูลข่ำวสำร
แตล่ ะสำขำภำยใน เจด็ วัน นับแตว่ นั ทคี่ ณะกรรมกำรไดร้ ับคำอทุ ธรณ์
94. อำนำจหน้ำทข่ี องคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปดิ เผยขอ้ มลู ข่ำวสำรแตล่ ะสำขำวิธพี ิจำรณำและวนิ จิ ฉัยและองค์
คณะในกำรพิจำรณำและวนิ ิจฉยั ใหเ้ ป็นไปตำมข้อใด
1. มตคิ ณะรฐั มนตรี 2. คำส่ังของนำยกรัฐมนตรี
3. ระเบียบท่ีคณะกรรมกำรกำหนดโดยประกำศในรำชกิจจำนเุ บกษำ
4. ข้อกำหนดทีค่ ณะกรรมกำรกำหนด
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 38 อำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรวินจิ ฉยั กำรเปิดเผยข้อมลู ขำ่ วสำรแตล่ ะสำขำวธิ ี
พิจำรณำและวนิ ิจฉยั และองค์คณะในกำรพจิ ำรณำและวนิ จิ ฉยั ใหเ้ ป็นไปตำม ระเบยี บท่คี ณะกรรมกำรกำหนดโดย
ประกำศในรำชกิจจำนเุ บกษำ
95. ผใู้ ดไมป่ ฏบิ ตั ติ ำมคำสง่ั ของคณะกรรมกำรทสี่ ง่ั ตำมมำตรำ 32 ต้องระวำงโทษเทำ่ ใด
1. จำคกุ ไม่เกินหนึง่ เดอื น หรอื ปรับไมเ่ กินห้ำพันบำทหรือทัง้ จำทั้งปรับ
2. จำคุกไม่เกินสำมเดือน หรือปรบั ไมเ่ กินหำ้ พนั บำทหรอื ทงั้ จำทงั้ ปรบั
3. จำคุกไม่เกนิ สำมเดือน หรือปรบั ไมเ่ กินหน่งึ หมื่นบำทหรือทง้ั จำทง้ั ปรับ
4. จำคกุ ไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึง่ หม่ืนบำทหรือทั้งจำท้งั ปรบั
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 40 ผ้ใู ดไมป่ ฏิบตั ิตำมคำสัง่ ของคณะกรรมกำรท่ีสง่ั ตำมมำตรำ 32 ตอ้ งระวำงโทษจำคกุ
ไม่เกนิ สำมเดือน หรอื ปรับไมเ่ กินหำ้ พันบำทหรอื ท้งั จำทั้งปรับ
96. ผใู้ ดฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบตั ิตำมข้อจำกดั หรอื เงอื่ นไขทเี่ จำ้ หนำ้ ทีข่ องรฐั กำหนดตำมมำตรำ 20 ต้องระวำงโทษ
เท่ำใด
1. จำคุกไมเ่ กินหนงึ่ เดือนหรือปรับไม่เกินสองหม่ืนบำท หรอื ทั้งจำทัง้ ปรบั
2. จำคกุ ไมเ่ กนิ หนึ่งปีหรือปรับไม่เกนิ สองหมื่นบำท หรือท้ังจำทัง้ ปรบั
3. จำคกุ ไม่เกินสองเดือนหรือปรับไม่เกินสองหม่ืนบำท หรอื ท้ังจำท้ังปรบั
4. จำคุกไมเ่ กนิ สองปหี รือปรับไมเ่ กินสองหมืน่ บำท หรือทงั้ จำท้ังปรับ
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 41 ผใู้ ดฝำ่ ฝืนหรอื ไมป่ ฏิบัติตำมข้อจำกัดหรือเงื่อนไขท่ีเจ้ำหนำ้ ทขี่ องรัฐกำหนดตำม
มำตรำ 20 ต้องระวำงโทษจำคกุ ไม่เกนิ หนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหม่ืนบำท หรือทง้ั จำทั้งปรับ
97. บทบญั ญัติมำตรำ 7 มำตรำ 8 และมำตรำ 9 มิใหใ้ ช้บังคบั กบั ขอ้ มูลข่ำวสำรของรำชกำรตำมข้อใด
1. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรท่ีเกดิ ข้ึนหลงั วันทพ่ี ระรำชบัญญัตนิ ใี้ ชบ้ งั คับ
2. ข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรท่เี กิดขึ้นก่อนวันทีพ่ ระรำชบัญญัตนิ ใ้ี ชบ้ ังคบั
3. ขอ้ มลู ขำ่ วสำรของรำชกำรทเ่ี กิดข้ึนในวนั ทีพ่ ระรำชบัญญัตนิ ีใ้ ช้บังคับ
4. ไมม่ ีข้อใดถกู
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 42 วรรคแรก บทบัญญัติมำตรำ 7 มำตรำ 8 และมำตรำ 9 มใิ หใ้ ชบ้ งั คับกบั ขอ้ มูล
ขำ่ วสำรของรำชกำร ท่ีเกิดข้ึนก่อนวันท่ีพระรำชบัญญตั ิน้ีใช้บงั คบั
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 80
------------------------------------------------------------------------------
98. ให้หนว่ ยงำนของรัฐจดั พิมพ์ข้อมลู ข่ำวสำร หรอื จัดให้มีข้อมลู ข่ำวสำรตำมพระรำชบัญญตั ิน้ี เพ่อื ให้
ประชำชนเข้ำตรวจดูได้ แล้วแต่กรณี ท้งั น้ี ตำมหลักเกณฑ์และวธิ ีกำรท่ีผใู้ ดกำหนด
1. นำยกรัฐมนตรี 2. คณะรฐั มนตรี 3. คณะกรรมกำร 4. ปลดั กระทรวง
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 42 วรรคสอง ให้หน่วยงำนของรัฐจดั พมิ พข์ ้อมลู ข่ำวสำรตำมวรรคหน่ึง หรือจัดใหม้ ี
ข้อมลู ข่ำวสำรตำมวรรคหน่ึงไวเ้ พอ่ื ให้ประชำชนเข้ำตรวจดูได้ แลว้ แตก่ รณี ทั้งนี้ ตำมหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ำรที่
คณะกรรมกำรจะได้กำหนด
99. ใหร้ ะเบียบว่ำดว้ ยกำรรักษำควำมปลอดภยั แหง่ ชำติ พ.ศ. 2517 ในส่วนทเี่ กยี่ วกับข้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำร
มผี ลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
1. เป็นโมฆะ
2. ยังคงใชบ้ ังคับตอ่ ไปได้เท่ำทไ่ี มข่ ดั หรือแยง้ ต่อพระรำชบญั ญัตนิ ี้
3. เปน็ อันยกเลิกไปทง้ั หมด 4. ยังคงใชบ้ ังคบั ได้ต่อไปทั้งหมด
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 43 ให้ระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมปลอดภัยแหง่ ชำติ พ.ศ. 2517 ในส่วนทเี่ กย่ี วกับ
ขอ้ มลู ข่ำวสำรของรำชกำร ยงั คงใชบ้ ังคับต่อไปได้เทำ่ ท่ีไม่ขดั หรือแย้งต่อพระรำชบัญญัตนิ ี้ เว้นแต่ระเบยี บที่
คณะรฐั มนตรีกำหนดตำมมำตรำ 16 จะไดก้ ำหนดเป็นอย่ำงอืน่
100. เหตผุ ลในกำรประกำศใช้พระรำชบัญญตั ิฉบับนี้ คือข้อใด
1. กำรให้ประชำชนมีโอกำสกวำ้ งขวำงในกำรได้รับข้อมูลขำ่ วสำรเกยี่ วกับกำรดำเนินกำรต่ำง ๆ ของรัฐเปน็
สงิ่ จำเป็น
2. เพื่อท่ีประชำชนจะสำมำรถแสดงควำมคดิ เห็นและใช้สิทธิทำงกำรเมอื งได้โดยถูกต้องกบั ควำมเปน็ จริง
อนั เป็นกำรส่งเสริมให้มีควำมเปน็ รัฐบำลโดยประชำชนมำกย่งิ ขึน้
3. สมควรกำหนดใหป้ ระชำชนมสี ิทธิได้รขู้ ้อมูลขำ่ วสำรของรำชกำร โดยมขี อ้ ยกเว้นอนั ไมต่ ้องเปิดเผยท่ีแจง้
ชดั และจำกดั เฉพำะขอ้ มูลข่ำวสำรที่หำกเปดิ เผยแลว้ จะเกิดควำมเสยี หำยตอ่ ประเทศชำติหรือต่อประโยชน์ทีส่ ำคัญ
ของเอกชน
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4. แนวคดิ เหตผุ ลในกำรประกำศใชพ้ ระรำชบัญญัติฉบับน้ี คือ ในระบอบประชำธิปไตย กำรใหป้ ระชำชนมี
โอกำสกวำ้ งขวำงในกำรไดร้ ับข้อมูลข่ำวสำรเกย่ี วกบั กำรดำเนนิ กำรต่ำง ๆ ของรัฐเป็นสิง่ จำเปน็ เพ่ือทปี่ ระชำชนจะ
สำมำรถแสดงควำมคิดเห็นและใช้สทิ ธิทำงกำรเมอื งได้โดยถกู ตอ้ งกับควำมเปน็ จรงิ อันเป็นกำรส่งเสริมให้มคี วำม
เป็นรัฐบำลโดยประชำชนมำกยงิ่ ข้ึน สมควรกำหนดให้ประชำชนมีสิทธิไดร้ ู้ข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำร โดยมี
ข้อยกเวน้ อนั ไมต่ ้องเปิดเผยท่ีแจง้ ชดั และจำกัดเฉพำะข้อมูลข่ำวสำรทีห่ ำกเปดิ เผยแล้วจะเกดิ ควำมเสยี หำยตอ่
ประเทศชำติหรือต่อประโยชนท์ ่สี ำคัญของเอกชน ทั้งน้ี เพือ่ พฒั นำระบอบประชำธปิ ไตยให้มั่นคงและจะยังผลให้
ประชำชนมีโอกำสรู้ถึงสิทธหิ น้ำท่ีของตนอย่ำงเตม็ ที่ เพ่อื ทจี่ ะปกปักรกั ษำประโยชน์ของตนได้อีกประกำรหน่งึ ดว้ ย
ประกอบกับสมควรคุ้มครองสิทธิส่วนบคุ คลในสว่ นท่ีเกยี่ วข้องกับข้อมลู ขำ่ วสำรของรำชกำรไปพรอ้ มกัน จึง
จำเป็นต้องตรำพระรำชบัญญัติน้ี
----------------------
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 81
------------------------------------------------------------------------------
แนวขอ้ สอบ พ.ร.บ. ระเบยี บข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเตมิ ฉบบั ท่ี 3. พ.ศ. 2562
1. พระรำชบญั ญัติขำ้ รำชกำรพลเรือน พ.ศ. 2551 ใช้บังคบั เม่ือใด
1. ตั้งแตว่ ันถัดจำกวนั ประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำเป็นต้นไป
2. เมอื่ พ้นเก้ำสบิ วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนเุ บกษำเป็นต้นไป
3. เมือ่ พ้นร้อยยสี่ บิ วันถดั จำกวนั ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นตน้ ไป
4. เมือ่ พ้นร้อยแปดสิบวันถัดจำกวนั ประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำเปน็ ตน้ ไป
ตอบ 1. แนวคิด มำตรำ 1 พระรำชบญั ญตั ินเ้ี รียกวำ่ “พระรำชบัญญัตริ ะเบียบขำ้ รำชกำรพลเรือน พ.ศ. 2551”
มำตรำ 2 พระรำชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคบั ตัง้ แต่วนั ถดั จำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นต้นไป
2. ในพระรำชบัญญัตนิ ี้ “ขำ้ รำชกำรพลเรือน” หมำยควำมตำมขอ้ ใด
1. บุคคลซึ่งได้รบั บรรจใุ ห้รับรำชกำรโดยได้รับเงนิ เดอื นจำกเงนิ ในหน่วยงำนท่ีสงั กัด
2. บคุ คลซึ่งได้รบั บรรจุตำมพระรำชบญั ญัตินใี้ หร้ บั รำชกำรโดยไดร้ ับเงินเดอื นจำกเงนิ งบประมำณใน
กระทรวง
3. บคุ คลซง่ึ ได้รบั บรรจุและแต่งตง้ั ตำมพระรำชบัญญัติน้ีใหร้ ับรำชกำรโดยได้รบั เงนิ เดือนจำกเงนิ
งบประมำณในกระทรวง กรมฝ่ำยพลเรอื น
4. บุคคลซึ่งไดร้ บั บรรจุและแตง่ ต้ังตำมพระรำชบัญญตั ิน้ีใหร้ ับรำชกำรโดยได้รบั เงินเดือนจำกเงนิ
งบประมำณในหน่วยงำนทีส่ ังกดั
ตอบ 3. แนวคดิ มำตรำ 4 ในพระรำชบัญญัติน้ี
“ขำ้ รำชกำรพลเรือน” หมำยควำมวำ่ บุคคลซึง่ ไดร้ บั บรรจแุ ละแตง่ ต้ังตำมพระรำชบัญญตั ิน้ี
ให้รับรำชกำรโดยไดร้ บั เงินเดือนจำกเงินงบประมำณในกระทรวง กรมฝำ่ ยพลเรือน
3. ในพระรำชบัญญัตินี้ “ขำ้ รำชกำรฝ่ำยพลเรือน” หมำยควำมตำมขอ้ ใด
1. ข้ำรำชกำรพลเรอื น ในหน่วยงำนนั้น ตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยระเบยี บขำ้ รำชกำรประเภทนั้น
2. ขำ้ รำชกำรอน่ื ในกระทรวงกรมฝำ่ ยพลเรอื น ตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยระเบยี บขำ้ รำชกำรประเภทน้ัน
3. ขำ้ รำชกำรพลเรือน และขำ้ รำชกำรอื่นในกระทรวงกรมฝำ่ ยพลเรอื น ตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยระเบยี บ
ขำ้ รำชกำรประเภทน้ัน
4. ขำ้ รำชกำรพลเรือน และข้ำรำชกำรอื่นในสังกดั หน่วยงำนน้นั ๆทกุ ฝำ่ ย
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 4 ในพระรำชบัญญัตินี้
“ขำ้ รำชกำรฝ่ำยพลเรอื น” หมำยควำมว่ำ ขำ้ รำชกำรพลเรอื น และขำ้ รำชกำรอ่นื ในกระทรวงกรมฝ่ำยพล
เรือน ตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยระเบียบขำ้ รำชกำรประเภทน้นั
4. ผใู้ ดเปน็ ผู้รักษำกำรตำมพระรำชบญั ญัติน้ี
1. นำยกรฐั มนตรี 2. รฐั มนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
3. ปลัดกระทรวงมหำดไทย 4. คณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรพลเรือน
ตอบ 1. แนวคดิ มำตรำ 5 ให้ นำยกรฐั มนตรี รกั ษำกำรตำมพระรำชบัญญัติน้ี
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 82
------------------------------------------------------------------------------
5. ผใู้ ดเปน็ ประธำน ในคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรอื น (ก.พ.)
1. นำยกรัฐมนตรี หรือรองนำยกรฐั มนตรีที่นำยกรฐั มนตรมี อบหมำย
2. รฐั มนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
3. ปลดั กระทรวงมหำดไทย 4. คณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรพลเรือน
ตอบ 1. แนวคดิ มำตรำ 6 ใหม้ คี ณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรพลเรือนคณะหนงึ่ เรียกโดยยอ่ ว่ำ “ก.พ.”
ประกอบดว้ ยนำยกรัฐมนตรีหรอื รองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำย เปน็ ประธำน
ปลัดกระทรวงกำรคลงั ผู้อำนวยกำรสำนกั งบประมำณ และเลขำธิกำรคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชำติ เปน็ กรรมกำรโดยตำแหนง่ และกรรมกำรซึง่ ทรงพระกรณุ ำโปรดเกล้ำ ฯ แต่งตงั้ จำก
ผู้ทรงคุณวุฒดิ ้ำนกำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คล ด้ำนกำรบริหำรและกำรจัดกำร และดำ้ นกฎหมำยซง่ึ มีผลงำนเป็นที่
ประจกั ษใ์ นควำมสำมำรถมำแล้ว และเปน็ ผทู้ ี่ไดร้ บั กำรสรรหำตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำรและเงอื่ นไขทีก่ ำหนดในกฎ
ก.พ. จำนวนไม่น้อยกวำ่ หำ้ คน แตไ่ มเ่ กินเจ็ดคน และให้เลขำธิกำร ก.พ.เป็นกรรมกำรและเลขำนกุ ำร
6. กรรมกำรซง่ึ ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำ ฯ แต่งต้งั ให้อยใู่ นตำแหน่งได้ครำวละก่ีปี
1. 2 ปี 2. 3 ปี 3. 4 ปี 4. 5 ปี
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 7 กรรมกำรซึ่งทรงพระกรุณำโปรดเกลำ้ ฯ แตง่ ตัง้ ให้อยใู่ นตำแหนง่ ไดค้ รำวละ สำมปี ถำ้
ตำแหน่งกรรมกำรวำ่ งลงกอ่ นกำหนดและยังมกี รรมกำรดังกล่ำวเหลืออยู่อีกไม่น้อยกว่ำสำมคนให้กรรมกำรทเ่ี หลือ
ปฏบิ ัติหนำ้ ทตี่ ่อไปได้
7. เมอ่ื ตำแหน่งกรรมกำรใน ก.พ. วำ่ งลงกอ่ นกำหนด ให้ดำเนนิ กำรแตง่ ตง้ั กรรมกำรแทนภำยในกำหนดก่วี นั
1. 30 วนั 2. 60 วนั 3. 120 วนั 4. 180 วนั
ตอบ 1. แนวคดิ มำตรำ 7 วรรคสอง เมื่อตำแหน่งกรรมกำรวำ่ งลงกอ่ นกำหนดให้ดำเนินกำรแต่งต้งั กรรมกำร
แทนภำยในกำหนด สำมสบิ วนั เวน้ แต่วำระของกรรมกำรเหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแปดสิบวันจะไม่แตง่ ตงั้ กรรมกำร
แทนกไ็ ด้ผู้ซึง่ ได้รับแตง่ ตั้งเป็นกรรมกำรแทนนนั้ ให้อยใู่ นตำแหน่งได้เพียงเทำ่ กำหนดเวลำของผู้ซ่ึงตนแทน
8. ข้อใดเปน็ อำนำจหน้ำที่ของ ก.พ.
1. เสนอแนะและให้คำปรกึ ษำแก่คณะรัฐมนตรีเก่ียวกบั นโยบำยและยุทธศำสตร์กำรบรหิ ำร
ทรพั ยำกรบุคคลภำครัฐในด้ำนมำตรฐำนค่ำตอบแทน
2. รำยงำนคณะรัฐมนตรีเพื่อพจิ ำรณำปรบั ปรงุ เงนิ เดอื น เงินประจำตำแหน่ง เงนิ เพิ่มคำ่ ครองชพี สวสั ดิกำร
หรอื ประโยชน์เกื้อกลู อ่ืนสำหรับขำ้ รำชกำรฝ่ำยพลเรือนให้เหมำะสม
3. ให้ควำมเหน็ ชอบกรอบอัตรำกำลังของสว่ นรำชกำร
4. ถกู ทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 8 ก.พ. มีอำนำจหนำ้ ทด่ี ังต่อไปน้ี
(1) เสนอแนะและใหค้ ำปรกึ ษำแกค่ ณะรฐั มนตรีเกี่ยวกบั นโยบำยและยุทธศำสตร์กำรบรหิ ำร
ทรพั ยำกรบคุ คลภำครัฐในด้ำนมำตรฐำนคำ่ ตอบแทน กำรบริหำรและกำรพฒั นำทรัพยำกรบคุ คลรวมตลอดทั้งกำร
วำงแผนกำลังคนและด้ำนอื่น ๆ เพ่ือใหส้ ว่ นรำชกำรใชเ้ ป็นแนวทำงในกำรดำเนินกำร
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 83
------------------------------------------------------------------------------
(2) รำยงำนคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจำรณำปรบั ปรุงเงินเดือน เงินประจำตำแหนง่ เงนิ เพม่ิ ค่ำครองชพี สวสั ดกิ ำร
หรือประโยชน์เก้อื กูลอ่ืนสำหรบั ข้ำรำชกำรฝ่ำยพลเรือนให้เหมำะสม
(3) กำหนดหลักเกณฑ์ วธิ ีกำร และมำตรฐำนกำรบรหิ ำรและพัฒนำทรพั ยำกรบุคคลของ
ข้ำรำชกำรพลเรือน เพอ่ื ส่วนรำชกำรใชเ้ ป็นแนวทำงในกำรดำเนนิ กำร
(4) ใหค้ วำมเหน็ ชอบกรอบอัตรำกำลังของสว่ นรำชกำร
(5) ออกกฎ ก.พ. และระเบยี บเก่ียวกับกำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบุคคลเพื่อปฏบิ ัตกิ ำรตำมพระรำชบญั ญัตินี้ รวม
ตลอดท้ังกำรให้คำแนะนำหรือวำงแนวทำงในกำรปฏบิ ัตกิ ำรตำมพระรำชบญั ญัตนิ ้ีกฎ ก.พ. เมอื่ ได้รับอนุมัติจำก
คณะรัฐมนตรีและประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำแลว้ ให้ใช้บังคบั ได้
(6) ตีควำมและวินิจฉยั ปัญหำทเ่ี กิดข้นึ เน่ืองจำกกำรใชบ้ ังคับพระรำชบัญญัตนิ ี้ รวมตลอดทัง้ กำหนดแนวทำง
ปฏบิ ัตใิ นกรณีท่ีเป็นปัญหำ มตขิ อง ก.พ. ตำมข้อน้ี เม่ือได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรฐั มนตรีแลว้ ใหใ้ ช้บงั คับได้
ตำมกฎหมำย
(7) กำกบั ดูแล ตดิ ตำม ตรวจสอบและประเมินผลกำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลของข้ำรำชกำรพลเรือนใน
กระทรวงและกรม เพ่ือรกั ษำควำมเป็นธรรมและมำตรฐำนดำ้ นกำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบุคคล รวมทั้งตรวจสอบและ
ติดตำมกำรปฏิบัตติ ำมพระรำชบัญญัตนิ ้ี ในกำรนี้ ใหม้ ีอำนำจเรยี กเอกสำรและหลักฐำนจำกส่วนรำชกำร หรือให้
ผ้แู ทนส่วนรำชกำร ขำ้ รำชกำรหรือบุคคลใด ๆมำชี้แจงข้อเทจ็ จรงิ และให้มอี ำนำจออกระเบียบให้กระทรวง และ
กรมรำยงำนเกี่ยวกับกำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลของข้ำรำชกำรพลเรือนทอี่ ยใู่ นอำนำจหนำ้ ทีไ่ ปยงั ก.พ.
(8) กำหนดนโยบำยและออกระเบยี บเกยี่ วกับทุนเล่ำเรยี นหลวงและทุนของรัฐบำลให้สอดคลอ้ งกบั นโยบำย
กำรบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คลของขำ้ รำชกำรฝ่ำยพลเรือน ตลอดจนจดั สรรผู้รบั ทนุ ทสี่ ำเรจ็ กำรศกึ ษำแล้วเข้ำรับ
รำชกำรในกระทรวงและกรมหรือหน่วยงำนของรัฐ
(9) ออกข้อบังคบั หรือระเบยี บเก่ยี วกับกำรจัดกำรกำรศกึ ษำและควบคุมดแู ลและกำรให้ควำมช่วยเหลือ
บคุ ลำกรภำครฐั นักเรียนทนุ เลำ่ เรียนหลวง นักเรียนทุนของรฐั บำล และนักเรยี นทนุ ส่วนตวั ท่ีอยู่ในควำมดูแของ
ก.พ. ตลอดจนกำรเก็บเงินชดเชยค่ำใช้จ่ำยในกำรดแู ลจัดกำรกำรศึกษำ ท้งั น้ี ใหถ้ อื ว่ำเงินชดเชยคำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรดแู ล
จดั กำรกำรศึกษำเป็นเงินรำยรับของสว่ นรำชกำรทเี่ ป็นสถำนอำนวยบริกำรอนั เป็นสำธำรณประโยชน์ ตำม
ควำมหมำยในกฎหมำยวำ่ ด้วยวธิ กี ำรงบประมำณ
(10) กำหนดหลักเกณฑ์และวธิ กี ำรเพือ่ รับรองคุณวุฒิของผไู้ ด้รับปรญิ ญำ ประกำศนียบัตรวิชำชีพหรือคุณวุฒิ
อยำ่ งอืน่ เพ่อื ประโยชน์ในกำรบรรจแุ ละแต่งตง้ั เป็นขำ้ รำชกำรพลเรือน และกำรกำหนดอตั รำเงินเดือนหรอื
คำ่ ตอบแทน รวมท้งั ระดับตำแหน่งและประเภทตำแหน่งสำหรบั คุณวุฒิดงั กล่ำว
(11) กำหนดอตั รำคำ่ ธรรมเนียมในกำรปฏบิ ัตกิ ำรเกี่ยวกบั กำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลตำมพระรำชบญั ญัตินี้
(12) พจิ ำรณำจัดระบบทะเบียนประวัตแิ ละแก้ไขทะเบียนประวัตเิ กี่ยวกบั วนั เดือน ปีเกิดและกำรควบคุม
เกษยี ณอำยุของขำ้ รำชกำรพลเรือน
(13) ปฏิบัตหิ น้ำทีอ่ น่ื ตำมท่ีบัญญัตไิ วใ้ นพระรำชบัญญตั ิน้ีและกฎหมำยอนื่ กำรออกกฎ ก.พ. ตำม (5) ใน
กรณที ่เี ห็นสมควรให้สำนกั งำน ก.พ. หำรอื กระทรวงท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่ือประกอบกำรพจิ ำรณำของ ก.พ. ดว้ ย
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 84
------------------------------------------------------------------------------
9. ในกรณที ่ี ก.พ. มมี ตวิ ำ่ กระทรวง กรม หรือผมู้ หี น้ำทป่ี ฏิบัตติ ำมพระรำชบัญญัตินี้ไมป่ ฏบิ ตั ติ ำม
พระรำชบญั ญัตินี้ เม่ือ ก.พ. ได้ แจง้ ให้กระทรวง กรม หรอื ผมู้ ีหนำ้ ทปี่ ฏิบัติดงั กลำ่ วดำเนินกำรแกไ้ ขยกเลกิ หรอื
ยุติกำรดำเนินกำรนั้นภำยในเวลำทก่ี ำหนดแลว้ แตบ่ ุคคลดงั กลำ่ วไมด่ ำเนนิ กำรตำมมติ ก.พ. ภำยในเวลำที่กำหนด
โดยไม่มีเหตอุ ันสมควร ทงั้ น้ี จะมผี ลตำมกฎหมำยอย่ำงไร
1. ถือเป็นกำรไม่ปฏบิ ัติตำมคำส่งั 2. ถอื เป็นกำรผดิ วนิ ัย
3. ถกู ทั้งข้อ 1. และ 2. 4. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 9 ในกรณีที่ ก.พ. มีมตวิ ำ่ กระทรวง กรม หรือผมู้ หี น้ำที่ปฏิบัติตำมพระรำชบญั ญตั ินี้ไม่
ปฏบิ ตั ิตำมพระรำชบัญญตั ินี้ หรือปฏิบัตกิ ำรโดยขดั หรอื แยง้ กบั แนวทำงตำมทก่ี ำหนดในพระรำชบัญญัติน้ี ให้ ก.พ.
แจ้งให้กระทรวง กรม หรอื ผู้มหี นำ้ ทป่ี ฏิบัตดิ งั กลำ่ วดำเนินกำรแกไ้ ขยกเลิก หรือยตุ กิ ำรดำเนนิ กำรดังกล่ำวภำยใน
เวลำท่กี ำหนดในกรณีทก่ี ระทรวง กรม หรือผ้มู หี น้ำทปี่ ฏิบัตดิ งั กล่ำวไม่ดำเนินกำรตำมมติ ก.พ. ภำยในเวลำท่ี
กำหนดโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้ถอื วำ่ ปลดั กระทรวง อธิบดี หรือผู้มหี น้ำท่ปี ฏิบัตดิ ังกลำ่ ว แลว้ แตก่ รณี กระทำ
ผิดวินัย
10. กำรดำเนินกำรทำงวินัยและกำรส่ังลงโทษตำม มำตรำ 9 วรรคหนึ่ง ให้เป็นอำนำจหน้ำท่ขี องผใู้ ด
1. นำยกรัฐมนตรี 2. ก.พ.
3. อ.ก.พ. 4. ปลดั กระทรวงมหำดไทย
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 9 วรรคสอง กำรดำเนินกำรทำงวินัยตำมวรรคหนงึ่ และกำรส่ังลงโทษใหเ้ ป็นอำนำจ
หน้ำทข่ี อง ก.พ. ตำมหลกั เกณฑ์ วธิ ีกำร และเงือ่ นไขทก่ี ำหนดในกฎ ก.พ.
11. ในกรณที ี่ ก.พ. เห็นว่ำกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลในเร่ืองใดทขี่ ้ำรำชกำรฝ่ำยพลเรือนทุกประเภทหรอื บำง
ประเภท ควรมมี ำตรฐำนหรือหลกั เกณฑเ์ ดยี วกนั ให้ ก.พ. กระทำกำรตำมข้อใด
1. ออกกฎระเบียบข้อบังคับไดท้ ันที
2. ออกหนงั สอื ช้แี จงระหวำ่ งผูแ้ ทน ก.พ. ผูแ้ ทน ก.พ.ร. และผแู้ ทนองค์กรกลำงบรหิ ำรงำนบคุ คลของ
ข้ำรำชกำรฝ่ำยพลเรือนประเภทต่ำง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง
3. จดั ใหม้ กี ำรประชุมเพื่อหำรอื ร่วมกันระหวำ่ งผู้แทน ก.พ. ผแู้ ทน ก.พ.ร. และผ้แู ทนองค์กรกลำงบรหิ ำรงำน
บุคคลของข้ำรำชกำรฝ่ำยพลเรือนประเภทตำ่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง
4. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 10 ในกรณที ่ี ก.พ. เห็นว่ำกำรบรหิ ำรทรัพยำกรบุคคลในเรื่องใดท่ีข้ำรำชกำรฝ่ำยพลเรอื น
ทุกประเภทหรือบำงประเภทควรมีมำตรฐำนหรือหลกั เกณฑเ์ ดยี วกัน ให้ ก.พ. จัดให้มีกำรประชุมเพ่ือหำรือร่วมกัน
ระหวำ่ งผู้แทน ก.พ. ผแู้ ทน ก.พ.ร. และผูแ้ ทนองค์กรกลำงบริหำรงำนบคุ คลของขำ้ รำชกำรฝำ่ ยพลเรือนประเภท
ตำ่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง เพื่อกำหนดมำตรฐำนหรือหลกั เกณฑก์ ลำงกำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบคุ คลในเรอ่ื งนนั้ เสนอต่อ
คณะรัฐมนตรี และเมื่อคณะรัฐมนตรีใหค้ วำมเหน็ ชอบแล้วให้ใช้บังคับมำตรฐำนหรือหลกั เกณฑ์กลำงดังกลำ่ วกบั
ข้ำรำชกำรฝ่ำยพลเรอื นทกุ ประเภทหรือประเภทน้ันๆแลว้ แตก่ รณี
ควำมในวรรคหนึง่ ใหใ้ ช้บงั คับกบั กรณีท่มี ีปญั หำเกย่ี วกับวธิ กี ำรบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คลของรัฐในเรือ่ งใด
เรื่องหนึ่งด้วยโดยอนุโลม
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 85
------------------------------------------------------------------------------
12. ก.พ. มอี ำนำจแตง่ ตงั้ คณะอนุกรรมกำรวิสำมญั เรียกโดยย่อวำ่ “อ.ก.พ. วสิ ำมญั ” เพื่อทำกำรตำมขอ้ ใด
1.เพื่อทำกำรสอบสวนคดวี ินัยโดยเฉพำะ
2.เพ่ือทำกำรพจิ ำรณำปรับขั้นเงนิ เดือนหรือกำรเลอ่ื นตำแหนง่ ขำ้ รำชกำรโดยเฉพำะ
3.เพ่ือทำกำรใดๆ แทนได้
4.ถกู ขอ้
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 12 ก.พ. มอี ำนำจแตง่ ต้ังคณะอนุกรรมกำรวสิ ำมญั เรียกโดยย่อว่ำ “อ.ก.พ. วสิ ำมัญ” เพ่อื
ทำกำรใด ๆ แทนได้
13. สำนกั งำน ก.พ. มอี ำนำจหน้ำทีต่ ำมข้อใด
1. เสนอแนะและใหค้ ำปรกึ ษำแก่กระทรวง กรม เก่ยี วกบั หลกั เกณฑ์ วธิ ีกำร และแนวทำงกำรบรหิ ำร
ทรัพยำกรบคุ คลภำครัฐ
2. ติดตำมและประเมินผลกำรบริหำรทรพั ยำกรบคุ คลของขำ้ รำชกำรพลเรือน
3. สง่ เสรมิ ประสำนงำน เผยแพร่ ให้คำปรกึ ษำแนะนำ และดำเนินกำรเกี่ยวกับกำรจัดสวสั ดิกำรและกำร
เสรมิ สร้ำงคุณภำพชีวิตสำหรับทรัพยำกรบุคคลภำครัฐ
4. ถูกทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 13 วรรคสอง สำนักงำน ก.พ. มีอำนำจหนำ้ ที่ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) เปน็ เจำ้ หน้ำทเี่ กี่ยวกบั กำรดำเนนิ งำนในหน้ำที่ของ ก.พ. และ ก.พ.ค. และดำเนินกำรตำมท่ี ก.พ. หรอื
ก.พ.ค. มอบหมำย
(2) เสนอแนะและให้คำปรึกษำแก่กระทรวง กรม เกีย่ วกับหลกั เกณฑ์ วิธีกำร และแนวทำงกำรบรหิ ำร
ทรัพยำกรบุคคลภำครัฐ
(3) พฒั นำ ส่งเสริม วิเครำะห์ วิจยั เกย่ี วกบั นโยบำย ยทุ ธศำสตร์ ระบบ หลกั เกณฑ์ วิธีกำรและมำตรฐำนดำ้ น
กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลของขำ้ รำชกำรพลเรือน
(4) ตดิ ตำมและประเมินผลกำรบรหิ ำรทรัพยำกรบุคคลของข้ำรำชกำรพลเรือน
(5) ดำเนินกำรเกีย่ วกับแผนกำลังคนของข้ำรำชกำรพลเรือน
(6) เปน็ ศนู ย์กลำงขอ้ มูลทรพั ยำกรบุคคลภำครัฐ
(7) จัดทำยุทธศำสตร์ ประสำนและดำเนินกำรเกย่ี วกับกำรพฒั นำทรพั ยำกรบุคคลของข้ำรำชกำรฝำ่ ยพลเรือน
(8) สง่ เสริม ประสำนงำน เผยแพร่ ให้คำปรกึ ษำแนะนำ และดำเนนิ กำรเกี่ยวกบั กำรจัดสวัสดกิ ำรและกำร
เสริมสรำ้ งคณุ ภำพชีวิตสำหรับทรพั ยำกรบุคคลภำครัฐ
(9) ดำเนินกำรเก่ียวกบั ทนุ เล่ำเรยี นหลวงและทนุ ของรัฐบำลตำมนโยบำยและระเบยี บของก.พ. ตำมมำตรำ 8
(8)
(10) ดำเนินกำรเก่ียวกับกำรดแู ลบคุ ลำกรภำครัฐและนักเรยี นทนุ ตำมข้อบงั คบั หรือระเบียบของก.พ. ตำม
มำตรำ 8 (9)
(11) ดำเนินกำรเก่ียวกบั กำรรับรองคุณวุฒิของผูไ้ ด้รบั ปริญญำ ประกำศนียบตั รวิชำชพี หรือคุณวฒุ ิอยำ่ งอ่ืน
เพ่ือประโยชน์ในกำรบรรจุและแต่งตั้งเป็นขำ้ รำชกำรพลเรอื น และกำรกำหนดอตั รำเงินเดือนหรือคำ่ ตอบแทน
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 86
------------------------------------------------------------------------------
รวมทง้ั ระดับตำแหน่งและประเภทตำแหนง่ สำหรบั คุณวุฒิดังกล่ำว
(12) ดำเนนิ กำรเกี่ยวกับกำรรกั ษำทะเบียนประวัติและกำรควบคมุ เกษียณอำยขุ องข้ำรำชกำรพลเรือน
(13) จัดทำรำยงำนประจำปเี กยี่ วกบั กำรบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คลในรำชกำรพลเรอื นเสนอต่อก.พ. และ
คณะรัฐมนตรี
(14) ปฏบิ ตั หิ น้ำท่ีอน่ื ตำมท่ีบัญญัตไิ วใ้ นพระรำชบญั ญัตินี้ กฎหมำยอ่นื หรอื ตำมที่
คณะรัฐมนตรี นำยกรฐั มนตรี หรอื ก.พ. มอบหมำย
14. ใหม้ คี ณะอนุกรรมกำรสำมัญ เรียกโดยย่อวำ่ “อ.ก.พ. สำมัญ” เพ่ือวัตถุประสงค์ตำมข้อใด
1. เพ่ือทำกำรสอบสวนควำมผดิ วนิ ัยขั้นรำ้ ยแรงโดยเฉพำะ
2. เพื่อเป็นองคก์ รบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คลในสว่ นรำชกำรต่ำง ๆ
3. เพื่อพจิ ำรณำภำรกิจต่ำงๆร่วมกบั ก.พ. 4. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 14 ใหม้ ีคณะอนุกรรมกำรสำมัญ เรยี กโดยย่อวำ่ “อ.ก.พ. สำมญั ” เพอ่ื เป็นองคก์ รบรหิ ำร
ทรพั ยำกรบุคคลในสว่ นรำชกำรต่ำง ๆ ดงั น้ี
(1) คณะอนุกรรมกำรสำมญั ประจำกระทรวง เรยี กโดยย่อวำ่ “อ.ก.พ. กระทรวง” โดยออกนำมกระทรวง
(2) คณะอนุกรรมกำรสำมัญประจำกรม เรียกโดยย่อว่ำ “อ.ก.พ. กรม” โดยออกนำมกรม
(3) คณะอนุกรรมกำรสำมัญประจำจงั หวัด เรยี กโดยย่อว่ำ “อ.ก.พ. จังหวดั ” โดยออกนำมจงั หวดั
(4) คณะอนกุ รรมกำรสำมญั ประจำสว่ นรำชกำรอ่ืนนอกจำกสว่ นรำชกำรตำม (1) (2) และ (3)
กำรเรยี กช่ือ องค์ประกอบ และอำนำจหนำ้ ที่ของ อ.ก.พ. ตำม (4) ให้เปน็ ไปตำมทีก่ ำหนดในกฎ ก.พ.
15. ผู้ใดเปน็ ประธำน ใน “อ.ก.พ. กระทรวง”
1. นำยกรัฐมนตรี 2. รฐั มนตรีเจ้ำสงั กดั 3. ปลัดกระทรวง 4. ผ้แู ทนจำก ก.พ.
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 15 อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบด้วย รัฐมนตรีเจ้ำสังกัด เป็นประธำน ปลัดกระทรวงเป็น
รองประธำน และผู้แทน ก.พ. ซงึ่ ตง้ั จำกขำ้ รำชกำรพลเรอื นในสำนกั งำน ก.พ. หนง่ึ คนเป็นอนกุ รรมกำรโดย
ตำแหน่ง และอนกุ รรมกำรซ่ึงประธำน อ.ก.พ. แตง่ ตงั้ จำก
(1) ผูท้ รงคุณวฒุ ิดำ้ นกำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คล ดำ้ นกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร และด้ำนกฎหมำย ซึ่งมี
ผลงำนเปน็ ที่ประจกั ษ์ในควำมสำมำรถมำแล้ว และมไิ ด้เปน็ ข้ำรำชกำรในกระทรวงน้นั จำนวนไม่เกินสำมคน
(2) ขำ้ รำชกำรพลเรือนผู้ดำรงตำแหนง่ ประเภทบริหำรระดับสงู ในกระทรวงน้ัน ซ่งึ ได้รบั เลอื กจำกข้ำรำชกำร
พลเรือนผู้ดำรงตำแหนง่ ดงั กลำ่ ว จำนวนไม่เกินห้ำคนให้ อ.ก.พ. นีต้ ั้งเลขำนุกำรหนึ่งคน
16. อ.ก.พ. กระทรวง มีอำนำจหน้ำทต่ี ำมข้อใด
1. พิจำรณำกำหนดนโยบำย ระบบ และระเบยี บวิธีกำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลในกระทรวง
2. พิจำรณำเกยี่ วกบั กำรดำเนินกำรทำงวินัยและกำรสง่ั ให้ออกจำกรำชกำรตำมทบี่ ัญญัตไิ วใ้ น
พระรำชบญั ญัติน้ี
3. พจิ ำรณำกำรเกลี่ยอัตรำกำลังระหวำ่ งสว่ นรำชกำรตำ่ ง ๆ ภำยในกระทรวง
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 16 อ.ก.พ. กระทรวง มีอำนำจหนำ้ ท่ี ดังต่อไปน้ี
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 87
------------------------------------------------------------------------------
(1) พจิ ำรณำกำหนดนโยบำย ระบบ และระเบยี บวิธกี ำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลในกระทรวงซึ่งต้อง
สอดคลอ้ งกับหลกั เกณฑ์ วธิ กี ำร และมำตรฐำนที่ ก.พ. กำหนดตำมมำตรำ 8 (3)
(2) พิจำรณำกำรเกลีย่ อัตรำกำลังระหว่ำงสว่ นรำชกำรตำ่ ง ๆ ภำยในกระทรวง
(3) พิจำรณำเกย่ี วกบั กำรดำเนินกำรทำงวินัยและกำรส่ังให้ออกจำกรำชกำรตำมที่บัญญตั ไิ ว้ใน
พระรำชบญั ญัตินี้
(4) ปฏบิ ตั กิ ำรอนื่ ตำมพระรำชบัญญัตนิ แ้ี ละช่วย ก.พ. ปฏบิ ตั กิ ำรให้เป็นไปตำมพระรำชบญั ญัตินี้ตำมท่ี ก.พ.
มอบหมำย
17. ผู้ใดเปน็ ประธำน ใน “อ.ก.พ. กรม”
1. รัฐมนตรีกระทรวงฯ 2. อธบิ ดกี รมฯ 3. ปลดั กระทรวง 4. ผแู้ ทน จำก ก.พ.
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 17 อ.ก.พ. กรม ประกอบดว้ ย อธบิ ดี เปน็ ประธำน รองอธบิ ดีทีอ่ ธิบดมี อบหมำยหนง่ึ คน
เปน็ รองประธำน และอนุกรรมกำรซง่ึ ประธำน อ.ก.พ. แต่งต้ังจำก
(1) ผทู้ รงคุณวุฒิด้ำนกำรบริหำรทรพั ยำกรบุคคล ดำ้ นกำรบริหำรและกำรจัดกำรและดำ้ นกฎหมำย ซึง่ มี
ผลงำนเป็นที่ประจักษใ์ นควำมสำมำรถมำแล้ว และมไิ ด้เป็นขำ้ รำชกำรในกรมนั้นจำนวนไม่เกินสำมคน
(2) ขำ้ รำชกำรพลเรือนซึง่ ดำรงตำแหนง่ ประเภทบริหำรหรอื ประเภทอำนวยกำรในกรมนนั้ ซึง่ ไดร้ ับเลือกจำก
ข้ำรำชกำรพลเรอื นผูด้ ำรงตำแหน่งดังกล่ำว จำนวนไมเ่ กนิ หกคน
ให้ อ.ก.พ. น้ีตั้งเลขำนุกำรหนง่ึ คน
18. อ.ก.พ. กรม มีอำนำจหนำ้ ที่ตำมข้อใด
1. พิจำรณำกำหนดนโยบำย ระบบ และระเบยี บวิธีกำรบริหำรทรพั ยำกรบุคคลในกรม
2. พจิ ำรณำกำรเกล่ียอตั รำกำลงั ระหว่ำงสว่ นรำชกำรตำ่ ง ๆ ภำยในกรม
3. พจิ ำรณำเก่ยี วกับกำรดำเนินกำรทำงวนิ ยั และกำรสงั่ ให้ออกจำกรำชกำร
4. ถกู ทุกข้อ
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 18 อ.ก.พ. กรม มอี ำนำจหนำ้ ที่ ดังต่อไปนี้
(1) พิจำรณำกำหนดนโยบำย ระบบ และระเบียบวิธีกำรบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คลในกรมซ่ึงตอ้ งสอด
คล้องกบั หลักเกณฑ์ วิธกี ำร และมำตรฐำนที่ ก.พ. กำหนดตำมมำตรำ 8 (3) และนโยบำยและระบบกำรบรหิ ำร
ทรัพยำกรบุคคลท่ี อ.ก.พ. กระทรวงกำหนดตำมมำตรำ 16 (1)
(2) พิจำรณำกำรเกลีย่ อัตรำกำลังระหว่ำงส่วนรำชกำรตำ่ ง ๆ ภำยในกรม
(3) พจิ ำรณำเกย่ี วกบั กำรดำเนนิ กำรทำงวินัยและกำรสงั่ ใหอ้ อกจำกรำชกำรตำมที่บัญญัติไว้ใน
พระรำชบัญญตั ินี้
(4) ปฏิบตั ิกำรอน่ื ตำมพระรำชบัญญัติน้ีและชว่ ย ก.พ. ปฏิบตั กิ ำรใหเ้ ป็นไปตำมพระรำชบญั ญัตนิ ี้ตำมท่ี ก.พ.
มอบหมำย
19. ผใู้ ดเป็นประธำนใน “อ.ก.พ.จังหวัด”
1. ผ้วู ่ำรำชกำรจงั หวัด 2. ปลัดจงั หวดั 3. นำยก อ.บ.จ. 4. ผูแ้ ทน จำก ก.พ.
ตอบ 1. แนวคดิ มำตรำ 19 อ.ก.พ. จงั หวดั ประกอบด้วย ผวู้ ่ำรำชกำรจังหวัด เปน็ ประธำน รองผวู้ ำ่ รำชกำร
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 88
------------------------------------------------------------------------------
จงั หวดั ทผ่ี วู้ ำ่ รำชกำรจงั หวัดมอบหมำยหนึ่งคน เป็นรองประธำน และอนุกรรมกำร ซ่งึ ประธำน อ.ก.พ.แตง่ ตั้งจำก
(1) ผูท้ รงคุณวุฒิด้ำนกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล ด้ำนกำรบริหำรและกำรจัดกำร และดำ้ นกฎหมำย ซ่งึ มี
ผลงำนเปน็ ทีป่ ระจกั ษใ์ นควำมสำมำรถมำแล้ว และมิได้เปน็ ข้ำรำชกำรพลเรือนในจังหวดั นน้ั จำนวนไม่เกินสำมคน
(2) ขำ้ รำชกำรพลเรือนซึ่งดำรงตำแหนง่ ประเภทบริหำรหรอื ประเภทอำนวยกำร ซ่งึ กระทรวงหรือกรม
แต่งตัง้ ไปประจำจังหวดั น้ัน และได้รบั เลือกจำกขำ้ รำชกำรพลเรือนผู้ดำรงตำแหน่งดังกลำ่ วจำนวนไมเ่ กินหกคน ซึ่ง
แต่ละคนต้องไมส่ ังกัดกระทรวงเดยี วกัน
ให้ อ.ก.พ. นต้ี ั้งเลขำนุกำรหนง่ึ คน
20. อ.ก.พ. จังหวดั มีอำนำจหนำ้ ที่ตำมขอ้ ใด
1. พิจำรณำกำหนดแนวทำงและวธิ กี ำรบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คล
2. พจิ ำรณำเกย่ี วกับกำรดำเนินกำรทำงวนิ ัยและกำรสง่ั ให้ออกจำกรำชกำร
3. ปฏบิ ตั ติ ำมที่ อ.ก.พ. กระทรวง หรือ อ.ก.พ. กรม มอบหมำย
4. ถูกทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 20 อ.ก.พ. จังหวัด มีอำนำจหนำ้ ท่ี ดงั ต่อไปน้ี
(1) พิจำรณำกำหนดแนวทำงและวิธีกำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบคุ คล ซึ่งต้องสอดคล้องกบั หลกั เกณฑว์ ธิ ีกำร และ
มำตรฐำนที่ ก.พ. กำหนดตำมมำตรำ 8 (3)
(2) พิจำรณำเกีย่ วกับกำรดำเนินกำรทำงวินัยและกำรส่ังให้ออกจำกรำชกำรตำมท่ีบัญญัตไิ ว้ใน
พระรำชบัญญตั ิน้ี
(3) ปฏบิ ตั ติ ำมที่ อ.ก.พ. กระทรวง หรือ อ.ก.พ. กรม มอบหมำย
(4) ปฏิบตั ิกำรอน่ื ตำมพระรำชบัญญัตินีแ้ ละช่วย ก.พ. ปฏบิ ตั กิ ำรให้เป็นไปตำมพระรำชบัญญัตนิ ี้ตำมท่ี ก.พ.
มอบหมำย
21. ใหม้ ีคณะกรรมกำรพิทกั ษ์ระบบคณุ ธรรมคณะหนึง่ เรยี กโดยย่อว่ำอะไร
1. “ค.พ.ค.” 2. “ก.พ.ค.” 3. “ก.พ.ธ.” 4. “ก.ค.”
ตอบ 2. แนวคดิ มำตรำ 24 วรรคหน่ึง ใหม้ ีคณะกรรมกำรพทิ กั ษ์ระบบคณุ ธรรมคณะหน่งึ เรียกโดยย่อว่ำ
“ก.พ.ค.” ประกอบด้วยกรรมกำรจำนวนเจ็ดคนซึง่ ทรงพระกรุณำโปรดเกลำ้ ฯ แตง่ ตง้ั ตำมมำตรำ 26
22. คณะกรรมกำรพิทักษร์ ะบบคุณธรรม ประกอบด้วยกรรมกำรทัง้ หมดกีค่ น
1. 5 คน 2. 6 คน 3. 7 คน 4. 8 คน
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 24 วรรคหนง่ึ ให้มีคณะกรรมกำรพิทกั ษ์ระบบคณุ ธรรมคณะหนงึ่ เรียกโดยยอ่ วำ่
“ก.พ.ค.” ประกอบด้วย กรรมกำรจำนวน เจ็ดคน ซ่งึ ทรงพระกรณุ ำโปรดเกลำ้ ฯ แต่งตัง้ ตำมมำตรำ 26
23. ข้อใดไม่ใชค่ ุณสมบัติ ของ คณะกรรมกำรพทิ ักษร์ ะบบคุณธรรม
1. มีอำยไุ ม่ต่ำกว่ำส่ีสิบหำ้ ปี
2. รับรำชกำรหรอื เคยรับรำชกำรในตำแหนง่ ไมต่ ่ำกว่ำอยั กำรพิเศษประจำเขตหรือเทียบเท่ำ
3. เคยรับรำชกำรกำรเมืองตำแหนง่ สมำชกิ วฒุ ิสภำหรือสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร
4. รับรำชกำรหรอื เคยรับรำชกำรในตำแหนง่ ไม่ตำ่ กว่ำผู้พิพำกษำศำลอุทธรณ์หรือเทยี บเทำ่ หรือตุลำกำร
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 89
------------------------------------------------------------------------------
หวั หนำ้ คณะศำลปกครองช้ันต้น
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 25 ผู้จะได้รับกำรแตง่ ตงั้ เปน็ กรรมกำร ก.พ.ค. ต้องมีคณุ สมบัติดงั ต่อไปนี้
(1) มีสัญชำติไทย
(2) มีอำยไุ มต่ ่ำกวำ่ สสี่ ิบหำ้ ปี
(3) มีคณุ สมบตั อิ ื่นอยำ่ งหนง่ึ อยำ่ งใด ดงั ต่อไปนี้
(ก) เป็นหรือเคยเป็นกรรมกำรผ้ทู รงคุณวฒุ ิในคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนคณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรครู
คณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ คณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรพลเรือนในมหำวิทยำลัย
คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนในสถำบนั อุดมศกึ ษำ หรือคณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรตำรวจ
(ข) เป็นหรือเคยเป็นกรรมกำรกฤษฎกี ำ
(ค) รับรำชกำรหรือเคยรับรำชกำรในตำแหน่งไม่ตำ่ กว่ำผู้พพิ ำกษำศำลอุทธรณ์หรอื เทยี บเทำ่ หรือตลุ ำกำร
หวั หน้ำคณะศำลปกครองช้นั ตน้
(ง) รับรำชกำรหรือเคยรบั รำชกำรในตำแหนง่ ไม่ต่ำกว่ำอัยกำรพเิ ศษประจำเขตหรือเทียบเทำ่
(จ) รับรำชกำรหรือเคยรบั รำชกำรในตำแหน่งประเภทบริหำรระดับสงู หรือเทียบเท่ำตำมท่ี ก.พ. กำหนด
(ฉ) เปน็ หรือเคยเป็นผ้สู อนวิชำในสำขำนติ ศิ ำสตร์ รฐั ศำสตร์ รัฐประศำสนศำสตร์เศรษฐศำสตร์
สงั คมศำสตร์ หรือวชิ ำที่เกยี่ วกบั กำรบริหำรรำชกำรแผน่ ดินในสถำบันอดุ มศึกษำ และดำรงตำแหนง่ หรือเคยดำรง
ตำแหน่งไม่ต่ำกวำ่ รองศำสตรำจำรย์ แตใ่ นกรณีท่ีดำรงตำแหน่งรองศำสตรำจำรย์ต้องดำรงตำแหนง่ หรอื เคยดำรง
ตำแหน่งมำแลว้ ไม่น้อยกว่ำห้ำปี
24. ผู้ใดเป็นประธำนคณะกรรมกำรคัดเลือกกรรมกำร ก.พ.ค.
1. ประธำนศำลฎีกำ 2. ประธำนศำลปกครองสงู สุด
3. นำยกรัฐมนตรี 4. รฐั มนตรีวำ่ กำรกระทรวงมหำดไทย
ตอบ 2. แนวคิด มำตรำ 26 วรรคหนง่ึ ให้มีคณะกรรมกำรคัดเลือกกรรมกำร ก.พ.ค. ประกอบด้วย ประธำน
ศำลปกครองสงู สุด เป็นประธำน รองประธำนศำลฎกี ำทไี่ ด้รับมอบหมำยจำกประธำนศำลฎีกำหนงึ่ คนกรรมกำร
ก.พ. ผูท้ รงคณุ วฒุ ิหนงึ่ คนซึ่งได้รบั เลอื กโดย ก.พ. และใหเ้ ลขำธิกำร ก.พ. เป็นกรรมกำรและเลขำนกุ ำร
25. ขอ้ ใดไม่ใชล่ กั ษณะตอ้ งหำ้ มของกรรมกำร ก.พ.ค.
1. เป็นขำ้ รำชกำร
2. เป็นผ้ดู ำรงตำแหน่งทำงกำรเมือง กรรมกำรหรอื ผดู้ ำรงตำแหนง่ ทีร่ บั ผดิ ชอบในกำรบรหิ ำรพรรคกำรเมือง
สมำชกิ พรรคกำรเมืองหรอื เจ้ำหนำ้ ท่ีในพรรคกำรเมอื ง
3. เปน็ ผูถ้ ือหุ้นในบรษิ ัทเอกชน
4. ไมม่ ีข้อใดถูก
ตอบ 3. แนวคดิ มำตรำ 27 กรรมกำร ก.พ.ค. ต้องไมม่ ลี ักษณะตอ้ งห้ำม ดังต่อไปนี้
(1) เป็นขำ้ รำชกำร
(2) เป็นพนักงำนหรือลกู จ้ำงของหนว่ ยงำนของรัฐหรือบคุ คลใด
(3) เปน็ ผดู้ ำรงตำแหนง่ ทำงกำรเมือง กรรมกำรหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่รับผิดชอบในกำรบริหำรพรรคกำรเมือง
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 90
------------------------------------------------------------------------------
สมำชิกพรรคกำรเมืองหรอื เจ้ำหนำ้ ท่ีในพรรคกำรเมอื ง
(4) เปน็ กรรมกำรในรัฐวสิ ำหกจิ
(5) เปน็ กรรมกำรในองคก์ รกลำงบรหิ ำรงำนบคุ คลในหน่วยงำนของรัฐ
(6) ประกอบอำชพี หรอื วิชำชีพอย่ำงอ่ืนหรอื ดำรงตำแหน่งหรอื ประกอบกำรใด ๆ หรือเปน็ กรรมกำรใน
หนว่ ยงำนของรฐั หรือเอกชน อนั ขัดตอ่ กำรปฏบิ ัตหิ น้ำท่ีตำมทีก่ ำหนดในพระรำชกฤษฎกี ำ
26. กรรมกำร ก.พ.ค. มวี ำระกำรดำรงตำแหนง่ กปี่ ี นับแต่วันทท่ี รงพระกรุณำโปรดเกล้ำ ฯ แต่งตั้ง และใหด้ ำรง
ตำแหนง่ ได้ก่วี ำระ
1.5 ปี 1 วำระ 2. 5 ปี 2 วำระ 3. 6 ปี 1 วำระ 4. 6 ปี 2 วำระ
ตอบ 3. แนวคดิ มำตรำ 29 กรรมกำร ก.พ.ค. มวี ำระกำรดำรงตำแหนง่ หกปี นับแต่วันทีท่ รงพระกรุณำโปรด
เกลำ้ ฯ แต่งตง้ั และให้ดำรงตำแหน่งไดเ้ พียงวำระเดียว
27. นอกจำกกำรพน้ จำกตำแหนง่ ตำมวำระ กรรมกำร ก.พ.ค. จะต้องพ้นจำกตำแหนง่ เม่ือใด
1. มอี ำยุครบเจ็ดสบิ ปบี รบิ ูรณ์
2. ขำดคณุ สมบตั หิ รือมลี ักษณะต้องหำ้ มตำมมำตรำ 25 หรือมำตรำ 27
3. ไม่สำมำรถปฏบิ ัติงำนไดเ้ ตม็ เวลำอยำ่ งสมำ่ เสมอตำมระเบยี บของ ก.พ.ค.
4. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 30 นอกจำกกำรพน้ จำกตำแหน่งตำมวำระ กรรมกำร ก.พ.ค. พ้นจำกตำแหนง่ เมื่อ
(1) ตำย
(2) ลำออก
(3) มอี ำยุครบเจ็ดสบิ ปบี ริบรู ณ์
(4) ขำดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องหำ้ มตำมมำตรำ ๒๕ หรือมำตรำ ๒๗
(5) ต้องคำพิพำกษำถึงท่สี ดุ ให้จำคุก แมจ้ ะมีกำรรอกำรลงโทษ เวน้ แตเ่ ป็นกำรรอกำรลงโทษในควำมผดิ
อันไดก้ ระทำโดยประมำท ควำมผดิ ลหโุ ทษ หรอื ควำมผิดฐำนหมิ่นประมำท
(6) ไม่สำมำรถปฏบิ ัตงิ ำนไดเ้ ต็มเวลำอยำ่ งสมำ่ เสมอตำมระเบยี บของ ก.พ.ค.เมื่อมีกรณีตำมวรรคหนงึ่ ให้
กรรมกำร ก.พ.ค. เทำ่ ทเี่ หลืออยปู่ ฏบิ ตั ิหนำ้ ทตี่ ่อไปได้ และ
ให้ถือวำ่ ก.พ.ค. ประกอบด้วยกรรมกำร ก.พ.ค. เท่ำที่เหลืออยู่ เว้นแตม่ ีกรรมกำร ก.พ.ค. เหลืออยู่ไมถ่ ึงห้ำคน
เม่ือมกี รณีตำมวรรคหนง่ึ หรือกรณที ่กี รรมกำร ก.พ.ค. พน้ จำกตำแหนง่ ตำมวำระ ใหค้ ณะกรรมกำรคัดเลือก
ดำเนนิ กำรคัดเลอื กกรรมกำร ก.พ.ค. แทนกรรมกำร ก.พ.ค. ซ่งึ พ้นจำกตำแหน่งโดยเรว็
28. ขอ้ ใดไม่ใช่อำนำจของ ก.พ.ค.
1. พิจำรณำวินจิ ฉยั อทุ ธรณ์ 2. พจิ ำรณำวินจิ ฉัยเรื่องร้องทกุ ข์
3. พิจำรณำเลื่อนขน้ั เงนิ เดอื นหรือปูนบำเหน็จแกข่ ้ำรำชกำร
4. พจิ ำรณำเร่ืองกำรคมุ้ ครองระบบคุณธรรม
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 31 ก.พ.ค. มีอำนำจหน้ำท่ี ดังต่อไปนี้
(1) เสนอแนะต่อ ก.พ. หรือองค์กรกลำงบริหำรงำนบุคคลอ่ืน เพื่อให้ ก.พ. หรือองค์กรกลำงบรหิ ำรงำน
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 91
------------------------------------------------------------------------------
บุคคลอ่นื ดำเนินกำรจดั ใหม้ ีหรอื ปรับปรุงนโยบำยกำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลในสว่ นที่เกยี่ วกับกำรพิทกั ษ์ระบบ
คณุ ธรรม
(2) พจิ ำรณำวนิ ิจฉัยอุทธรณ์ตำมมำตรำ 114
(3) พจิ ำรณำวินิจฉยั เรื่องร้องทุกขต์ ำมมำตรำ 123
(4) พิจำรณำเรอื่ งกำรคุ้มครองระบบคุณธรรมตำมมำตรำ 126
(5) ออกกฎ ก.พ.ค. ระเบยี บ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ำรเพ่อื ปฏบิ ตั ิกำรตำมพระรำชบญั ญัตินกี้ ฎ ก.พ.ค. เมือ่
ประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำแล้ว ให้ใช้บังคบั ได้
(6) แต่งตงั้ บคุ คลซึง่ มคี ณุ สมบัตแิ ละไมม่ ีลกั ษณะต้องห้ำมตำมที่ ก.พ.ค. กำหนด เพ่ือเป็นกรรมกำรวินิจฉัย
อุทธรณห์ รอื เปน็ กรรมกำรวินิจฉยั ร้องทกุ ข์
29. กำรจดั ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรอื นตอ้ งเป็นไปเพ่ือผลสัมฤทธ์ติ ่อภำรกิจของรัฐตำมข้อใด
1. ควำมสะดวก และประหยัด 2. ควำมสะดวก และควำมค้มุ คำ่
3. ควำมมีประสิทธิภำพ และควำมคุ้มค่ำ 4. ควำมประหยัด และคมุ้ คำ่
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 34 กำรจดั ระเบยี บขำ้ รำชกำรพลเรือนต้องเป็นไปเพือ่ ผลสัมฤทธต์ิ อ่ ภำรกิจของรัฐ ควำมมี
ประสทิ ธิภำพ และ ควำมคมุ้ คำ่ โดยใหข้ ำ้ รำชกำรปฏิบัติรำชกำรอย่ำงมีคุณภำพ คุณธรรม และมีคณุ ภำพชีวติ ท่ีดี
30. ขำ้ รำชกำรพลเรือน มีกี่ประเภท
1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท 3. 4 ประเภท 4. 5 ประเภท
ตอบ 1. แนวคดิ มำตรำ 35 ขำ้ รำชกำรพลเรอื นมี 2 ประเภท คือ
1. ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญได้แก่ ขำ้ รำชกำรพลเรอื นซ่งึ รบั รำชกำรโดยไดร้ ับบรรจแุ ต่งตง้ั
ตำมทบ่ี ัญญตั ไิ ว้ในลักษณะ 4 ขำ้ รำชกำรพลเรือนสำมัญ
2. ข้ำรำชกำรพลเรือนในพระองค์ ไดแ้ ก่ ขำ้ รำชกำรพลเรอื นซึง่ รบั รำชกำรโดยได้รับบรรจแุ ต่งต้ังใหด้ ำรง
ตำแหน่งในพระองค์พระมหำกษตั ริยต์ ำมทก่ี ำหนดในพระรำชกฤษฎีกำ
31. ผูท้ ่ีจะเข้ำรบั รำชกำรเป็นขำ้ รำชกำรพลเรือนต้องมีคณุ สมบัติทั่วไป ตำมข้อใด
1. มีสญั ชำติไทย 2. มอี ำยไุ ม่ตำ่ กวำ่ สิบแปดปี
3. เป็นผ้เู ล่ือมใสในกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอนั มีพระมหำกษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
ด้วยควำมบริสทุ ธใ์ิ จ
4. ถกู ทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคิด มำตรำ 36 ผู้ทีจ่ ะเข้ำรับรำชกำรเปน็ ขำ้ รำชกำรพลเรือนต้องมีคณุ สมบตั ทิ ั่วไป
ก. คุณสมบตั ทิ ่ัวไป
(1) มสี ัญชำติไทย
(2) มอี ำยุไมต่ ่ำกว่ำสิบแปดปี
(3) เปน็ ผ้เู ล่อื มใสในกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมพี ระมหำกษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ ด้วยควำม
บรสิ ทุ ธ์ิใจ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 92
------------------------------------------------------------------------------
32. ผ้ทู ่ีจะเขำ้ รบั รำชกำรเปน็ ขำ้ รำชกำรพลเรือนนอกจำกจะต้องมีคณุ สมบัติทว่ั ไปแล้วและจะตอ้ งไมม่ ีลกั ษณะ
ตอ้ งห้ำมตำมข้อใด
1. เปน็ ผูด้ ำรงตำแหนง่ ทำงกำรเมือง
2. เป็นกรรมกำรหรือผ้ดู ำรงตำแหน่งที่รบั ผิดชอบในกำรบริหำรพรรคกำรเมืองหรอื เจ้ำหนำ้ ทใ่ี นพรรค
กำรเมอื ง
3. เปน็ ผ้เู คยกระทำกำรทุจริตในกำรสอบเข้ำรับรำชกำร
4. ถูกทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 36 ผทู้ ี่จะเข้ำรบั รำชกำรเป็นข้ำรำชกำรพลเรือนต้องมีคณุ สมบตั ทิ ว่ั ไป และไม่มีลักษณะ
ตอ้ งห้ำมดังต่อไปน้ี
(1) เปน็ ผดู้ ำรงตำแหนง่ ทำงกำรเมือง
(2) เปน็ คนไรค้ วำมสำมำรถ คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ คนวกิ ลจริตหรือจิตฟัน่ เฟือนไม่สมประกอบ หรือ
เปน็ โรคตำมที่กำหนดในกฎ ก.พ.
(3) เป็นผอู้ ยใู่ นระหวำ่ งถกู ส่งั พกั รำชกำรหรือถูกส่งั ให้ออกจำกรำชกำรไวก้ ่อนตำมพระรำชบัญญตั ินี้หรือ
ตำมกฎหมำยอ่ืน
(4) เปน็ ผบู้ กพรอ่ งในศลี ธรรมอันดีจนเป็นท่ีรังเกยี จของสังคม
(5) เป็นกรรมกำรหรือผู้ดำรงตำแหนง่ ท่ีรับผิดชอบในกำรบริหำรพรรคกำรเมือง หรือเจ้ำหน้ำที่ในพรรค
กำรเมือง
(6) เป็นบุคคลล้มละลำย
(7) เป็นผเู้ คยต้องรบั โทษจำคุกโดยคำพิพำกษำถงึ ที่สดุ ใหจ้ ำคุกเพรำะกระทำควำมผิดทำงอำญำเวน้ แตเ่ ป็น
โทษสำหรับควำมผิดทไี่ ดก้ ระทำโดยประมำทหรือควำมผิดลหโุ ทษ
(8) เป็นผูเ้ คยถกู ลงโทษใหอ้ อก ปลดออก หรือไลอ่ อกจำกรัฐวิสำหกิจ หรือหน่วยงำนอื่นของรฐั
(9) เปน็ ผู้เคยถกู ลงโทษให้ออก หรือปลดออก เพรำะกระทำผดิ วินยั ตำมพระรำชบัญญัตินีห้ รอื ตำมกฎหมำย
อนื่
(10) เป็นผูเ้ คยถูกลงโทษไล่ออก เพรำะกระทำผิดวินัยตำมพระรำชบญั ญัติน้ี หรอื ตำมกฎหมำยอ่นื
(11) เป็นผ้เู คยกระทำกำรทุจรติ ในกำรสอบเข้ำรบั รำชกำร หรอื เข้ำปฏิบัตงิ ำนในหน่วยงำนของรฐั ผู้ที่จะเขำ้
รับรำชกำรเปน็ ขำ้ รำชกำรพลเรือนซึง่ มลี ักษณะตอ้ งห้ำมตำม ข. (4) (6) (7) (8) (9)
(10) หรือ (11) ก.พ. อำจพจิ ำรณำยกเว้นให้เขำ้ รบั รำชกำรได้ แตถ่ ำ้ เปน็ กรณีมลี ักษณะต้องห้ำมตำม (8)หรือ
(9) ผู้น้ันตอ้ งออกจำกงำนหรือออกจำกรำชกำรไปเกนิ สองปีแล้ว และในกรณีมีลกั ษณะต้องหำ้ มตำม (10) ผูน้ นั้ ต้อง
ออกจำกงำนหรือออกจำกรำชกำรไปเกินสำมปีแลว้ และต้องมใิ ชเ่ ปน็ กรณอี อกจำกงำนหรอื ออกจำกรำชกำรเพรำะ
ทจุ ริตต่อหนำ้ ท่ี มติของ ก.พ. ในกำรยกเว้นดงั กลำ่ วต้องได้คะแนนเสยี งไมน่ อ้ ยกว่ำส่ใี นหำ้ ของจำนวนกรรมกำรท่มี ำ
ประชมุ กำรลงมตใิ ห้กระทำโดยลบั
กำรขอยกเว้นตำมวรรคสอง ให้เป็นไปตำมระเบียบที่ ก.พ. กำหนด
ในกรณตี ำมวรรคสอง ก.พ. จะยกเว้นใหเ้ ป็นกำรเฉพำะรำย หรือจะประกำศยกเว้นให้เป็นกำรท่ัวไปกไ็ ด้
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 93
------------------------------------------------------------------------------
33. กำรจ่ำยเงินเดอื นและเงนิ ประจำตำแหนง่ ใหข้ ้ำรำชกำรพลเรอื นให้เปน็ ไปตำมระเบยี บท่ี ก.พ. กำหนด โดย
ควำมเห็นชอบผูใ้ ด
1. นำยกรฐั มนตรี 2. กระทรวงมหำดไทย
3. กระทรวงกำรคลงั 4. คณะรฐั มนตรี
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 37 กำรจ่ำยเงนิ เดือนและเงินประจำตำแหน่งให้ขำ้ รำชกำรพลเรือนใหเ้ ป็นไปตำมระเบยี บ
ที่ ก.พ. กำหนด โดยควำมเห็นชอบของ กระทรวงกำรคลงั
34. ข้ำรำชกำรพลเรอื นอำจไดร้ ับเงนิ เพมิ่ สำหรบั ตำแหน่งพิเศษตำมข้อใด
1. ตำแหน่งทปี่ ระจำอยใู่ นต่ำงประเทศ 2. ตำแหน่งในบำงท้องท่ี
3. ตำแหน่งในบำงสำยงำน 4. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 38 ขำ้ รำชกำรพลเรือนอำจได้รับเงินเพม่ิ สำหรับ ตำแหนง่ ที่ประจำอย่ใู น
ต่ำงประเทศ ตำแหนง่ ในบำงท้องท่ี ตำแหนง่ ในบำงสำยงำน หรือ ตำแหนง่ ทีม่ เี หตพุ ิเศษ ตำมระเบียบท่ี ก.พ.
กำหนดโดยควำมเห็นชอบของกระทรวงกำรคลัง
35. ขำ้ รำชกำรพลเรอื นอำจได้รบั เงนิ เพิ่มสำหรับตำแหน่งพิเศษและจะต้องได้รบั ควำมเห็นชอบจำกผใู้ ด
1. นำยกรัฐมนตรี 2. กระทรวงมหำดไทย 3. กระทรวงกำรคลัง 4. คณะรัฐมนตรี
ตอบ 3. แนวคิด มำตรำ 38 ข้ำรำชกำรพลเรอื นอำจได้รับเงินเพ่มิ สำหรบั ตำแหน่งทีป่ ระจำ
อยู่ในต่ำงประเทศตำแหนง่ ในบำงท้องท่ี ตำแหนง่ ในบำงสำยงำน หรอื ตำแหน่งทีม่ ีเหตุพิเศษตำมระเบียบที่ ก.พ.
กำหนดโดยควำมเห็นชอบของ กระทรวงกำรคลงั
36. ข้ำรำชกำรพลเรอื นอำจได้รับเงนิ เพิม่ ค่ำครองชีพช่วั ครำวเนื่องจำกข้อใด
1. ภำวะเศรษฐกจิ 2. กำรประสบทกุ ภยั ของขำ้ รำชกำรนน้ั
3. กำรตอ้ งไปประจำทอ้ งถิ่นกันดำร 4. ถกู ทุกข้อ
ตอบ 1. แนวคดิ มำตรำ 38 วรรคสอง ข้ำรำชกำรพลเรือนอำจได้รับเงินเพมิ่ ค่ำครองชีพชว่ั ครำว ตำมภำวะ
เศรษฐกิจ ตำมหลักเกณฑ์และวธิ กี ำรท่คี ณะรัฐมนตรีกำหนด
37. วนั เวลำทำงำน วันหยุดรำชกำรตำมประเพณี วันหยุดรำชกำรประจำปี และกำรลำหยดุ รำชกำรของ
ขำ้ รำชกำรพลเรอื น ให้เป็นไปโดยกำหนดตำมข้อใด
1. คณะรฐั มนตรีกำหนด 2. มตขิ อง ก.พ. 3. นำยกรัฐมนตรีมคี ำสง่ั 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1. แนวคดิ มำตรำ 39 วันเวลำทำงำน วันหยดุ รำชกำรตำมประเพณี วันหยุดรำชกำรประจำปี และกำรลำหยดุ
รำชกำรของข้ำรำชกำรพลเรือน ให้เปน็ ไปตำมที่ คณะรฐั มนตรกี ำหนด
38. กำรรบั บุคคลเพ่ือบรรจุเข้ำรับรำชกำรและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหนง่ ต้องคำนงึ ถึงข้อใด
1. ควำมรคู้ วำมสำมำรถของบคุ คล 2. ประโยชนข์ องทำงรำชกำร
3. ควำมเป็นธรรม 4. ถกู ทุกขอ้
ตอบ 4. แนวคดิ มำตรำ 42 (1) กำรจัดระเบียบขำ้ รำชกำรพลเรือนสำมัญตำมพระรำชบัญญัติน้ีใหค้ ำนงึ ถึงระบบ
คุณธรรมดงั ตอ่ ไปนี้
(1) กำรรบั บคุ คลเพือ่ บรรจุเข้ำรับรำชกำรและแต่งต้ังใหด้ ำรงตำแหน่ง ต้องคำนงึ ถงึ ควำมรู้ควำมสำมำรถของ