The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

eb นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สนง.กศน. สนง.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by venusjaree, 2021-10-16 02:10:09

eb นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สนง.กศน. สนง.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 64

eb นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สนง.กศน. สนง.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 64

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 144

------------------------------------------------------------------------------
25.5 ผูไ้ มม่ ำประชุม ให้ลงชื่อและหรือตำแหนง่ ของผทู้ ีไ่ ด้รับกำรแตง่ ต้ังเปน็ คณะท่ี ประชมุ ซึง่ มไิ ดม้ ำ

ประชมุ พร้อมท้ังเหตุผล (ถำ้ มี)
69. รำยละเอียดของ “รำยงำนกำรประชุม” ในระเบยี บน้ีในส่วนของ “ข้อควำม”.. ให้กรอกรำยละเอียดตำมข้อใด

1. ให้ลงเร่อื งทีป่ ระชมุ กนั โดยงำ่ ยและชดั เจน
2. ให้ลงเฉพำะเรื่องที่ตกลงเจรจำกันเท่ำนน้ั
3. ให้บันทึกขอ้ ควำมทปี่ ระชุม โดยปกติใหเ้ รม่ิ ต้นดว้ ยประธำนกลำ่ วเปิด ประชุมและเรอ่ื งท่ปี ระชมุ
4. ใหบ้ นั ทึกข้อควำมทป่ี ระชุม โดยปกติใหเ้ รม่ิ ต้นด้วยประธำนกลำ่ วเปดิ ประชมุ และเรอ่ื งที่ประชมุ กบั มติ
หรือข้อสรุปของท่ีประชุมในแตล่ ะเรื่องตำมลำดับ

ตอบ 4. แนวคดิ ข้อ 25. รำยงำนกำรประชุม คือ กำรบนั ทึกควำมคิดเหน็ ของผ้มู ำประชมุ ผ้เู ข้ำรว่ มประชุม และ

มติ ของทป่ี ระชุมไว้เปน็ หลักฐำน ให้จัดทำตำมแบบที่ 11 ท้ำยระเบียบ โดยกรอกรำยละเอยี ด ดงั น้ี

25.9 ข้อควำม ให้บนั ทกึ ข้อควำมท่ีประชุม โดยปกติใหเ้ รม่ิ ตน้ ดว้ ยประธำนกลำ่ วเปิด ประชมุ และเร่ืองที่

ประชุม กับมติหรือข้อสรปุ ของทีป่ ระชุมในแตล่ ะเรื่องตำมลำดบั

70. รำยละเอียดของ “รำยงำนกำรประชมุ ” ในระเบยี บนี้ ในสว่ นของ “ผูจ้ ดรำยงำนกำรประชุม”.. ใหก้ รอก

รำยละเอียดตำมข้อใด

1. ให้ลงชือ่ ประธำนกำรประชมุ ครง้ั น้ัน 2. ใหล้ งช่ือผ้จู ดรำยงำนกำรประชมุ ครั้งนั้น

3. ให้ลงชอ่ื กรรมกำรกำรประชมุ 4. ถูกทกุ ข้อ

ตอบ 2. แนวคดิ ข้อ 25. รำยงำนกำรประชุม คือ กำรบนั ทกึ ควำมคดิ เห็นของผ้มู ำประชุม ผู้เขำ้ ร่วมประชุม และ

มติ ของทีป่ ระชุมไว้เปน็ หลกั ฐำน ใหจ้ ัดทำตำมแบบท่ี 11 ท้ำยระเบยี บโดยกรอกรำยละเอยี ด ดงั นี้

25.11 ผู้จดรำยงำนกำรประชมุ ให้ลงชือ่ ผจู้ ดรำยงำนกำรประชุมครัง้ นั้น

71. ในระเบยี บน้ี “บันทกึ ” มีควำมหมำยตำมข้อใด

1. ขอ้ ควำมซ่ึงผู้ใตบ้ งั คบั บัญชำเสนอต่อผู้บังคับบัญชำ

2. ข้อควำมซึง่ ผู้บงั คบั บัญชำสง่ั กำร แก่ผู้ใตบ้ งั คับบญั ชำ

3. ขอ้ ควำมที่เจ้ำหน้ำท่หี รือหน่วยงำนระดบั ต่ำกว่ำสว่ นรำชกำรระดบั กรมตดิ ตอ่ กันใน กำรปฏิบตั ิรำชกำร

4. ถกู ทุกข้อ

ตอบ 4. แนวคดิ ข้อ 26. บันทึก คือ ขอ้ ควำมซงึ่ ผู้ใต้บังคบั บัญชำเสนอต่อผู้บังคับบัญชำ หรือผู้บงั คบั บัญชำสัง่

กำร แกผ่ ู้ใตบ้ ังคับบัญชำ หรือข้อควำมท่ีเจ้ำหน้ำทห่ี รอื หนว่ ยงำนระดับต่ำกว่ำสว่ นรำชกำรระดับกรมตดิ ต่อกนั ใน

กำรปฏิบัตริ ำชกำร

72. “บนั ทึก” ตำมขอ้ 71. โดยปกตใิ หใ้ ช้กระดำษ ตำมข้อใด

1. กระดำษทมี่ ตี รำครฑุ 2. กระดำษบนั ทึกขอ้ ควำม

3. กระดำษบนั ทึกขอ้ ควำม ที่มตี รำครุฑเปน็ แบบเฉพำะ

4. กระดำษบนั ทกึ ขอ้ ควำม ที่มตี รำหรือสัญลกั ษณข์ องหนว่ ยงำนนน้ั ๆ

ตอบ 2. แนวคิด ข้อ 26. บันทึก คือ ขอ้ ควำมซึง่ ผ้ใู ต้บังคับบญั ชำเสนอต่อผบู้ ังคบั บัญชำ หรือผู้บงั คบั บัญชำส่ัง
กำร แก่ผู้ใตบ้ ังคบั บัญชำ หรือขอ้ ควำมที่เจ้ำหน้ำท่หี รือหนว่ ยงำนระดับต่ำกวำ่ สว่ นรำชกำรระดบั กรมติดต่อกนั ใน

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 145

------------------------------------------------------------------------------
กำรปฏิบัติรำชกำร โดยปกติให้ใชก้ ระดำษบันทึกข้อควำม
73. รำยละเอียดของ “บนั ทกึ ” ในระเบียบนี้ ในสว่ นของ “สำระสำคัญของเร่ือง”.. ให้ลงรำยละเอยี ดตำมข้อใด

1. คำข้ึนต้นตำมทกี่ ำหนดไว้ภำคผนวก 2
2. ให้ลงเฉพำะใจควำมของเรือ่ งท่บี ันทึกเทำ่ น้นั
3. ใหล้ งใจควำมของเร่อื งทบ่ี ันทกึ ถำ้ มเี อกสำรประกอบก็ให้ ระบไุ ว้ดว้ ย
4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 3. แนวคดิ ข้อ 26. บนั ทึก คอื ข้อควำมซ่ึงผูใ้ ต้บงั คับบญั ชำเสนอต่อผบู้ งั คับบัญชำ หรือผบู้ ังคับบัญชำสงั่
กำร แกผ่ ู้ใต้บงั คบั บัญชำ หรือข้อควำมที่เจ้ำหนำ้ ท่ีหรอื หน่วยงำนระดบั ตำ่ กวำ่ ส่วนรำชกำรระดบั กรมตดิ ต่อกนั ใน
กำรปฏบิ ัติรำชกำร โดยปกติให้ใชก้ ระดำษบันทึกขอ้ ควำม และให้มหี ัวขอ้ ดังตอ่ ไปน้ี
26. 2 สำระสำคญั ของเร่ือง ใหล้ งใจควำมของเรอ่ื งทบ่ี ันทึก ถ้ำมีเอกสำรประกอบก็ให้ ระบุไวด้ ้วย
74. รำยละเอยี ดของ “บนั ทึก” ในระเบียบนี้ ในส่วนของ “ชื่อและตำแหน่ง”.. ใหล้ งรำยละเอียดตำมข้อใด
1. ให้ลงลำยมอื ชื่อและตำแหนง่ ของผู้บงั คับบัญชำในหน่วยงำนนน้ั ๆ
2. ใหล้ งลำยมือช่อื และตำแหนง่ ของผู้บนั ทึกและผูบ้ ังคบั บัญชำ
3. ให้ลงลำยมือชอ่ื และตำแหน่งของผูบ้ นั ทกึ และในกรณีทไ่ี มใ่ ช้ กระดำษบนั ทึกข้อควำม ใหล้ งวนั เดือนปีท่ี
บันทกึ ไว้ดว้ ย
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 3. แนวคิด ข้อ 26. บันทึก คือ ข้อควำมซึง่ ผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชำเสนอต่อผูบ้ งั คับบัญชำ หรือผู้บังคับบัญชำสง่ั
กำร แกผ่ ู้ใต้บังคบั บัญชำ หรือข้อควำมท่ีเจำ้ หนำ้ ทหี่ รือหน่วยงำนระดบั ต่ำกวำ่ สว่ นรำชกำรระดบั กรมตดิ ต่อกนั ใน
กำรปฏบิ ตั ิรำชกำร โดยปกติใหใ้ ชก้ ระดำษบนั ทึกขอ้ ควำม และให้มหี วั ข้อดังตอ่ ไปนี้
26. 3 ชือ่ และตำแหนง่ ให้ลงลำยมอื ช่อื และตำแหน่งของผูบ้ ันทึก และในกรณที ่ีไมใ่ ช้ กระดำษบันทกึ
ข้อควำม ใหล้ งวันเดือนปีทบี่ ันทึกไว้ดว้ ย
75. ในระเบียบน้ี “หนังสอื อ่ืน” มีควำมหมำยตำมขอ้ ใด
1. หนงั สอื หรือเอกสำรอื่นใดท่เี กดิ ข้ึนเนื่องจำกกำรปฏิบัตงิ ำนของเจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อเปน็ หลักฐำนในรำชกำร
2. ภำพถำ่ ย ฟลิ ์ม แถบบนั ทึกเสียง แถบบันทึกภำพ และสอื่ กลำงบนั ทกึ ข้อมูลดว้ ยที่เกิดขึ้นเน่ืองจำกกำร
ปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่ เพ่อื เป็นหลักฐำนในรำชกำร
3. หนังสอื ของบุคคลภำยนอก ที่ย่นื ต่อเจำ้ หน้ำที่ และเจ้ำหน้ำที่ได้รับเขำ้ ทะเบียนรับหนังสอื ของทำงรำชกำร
แลว้
4. ถกู ทุกข้อ

ตอบ 1. แนวคิด ข้อ 27. หนังสืออนื่ คือ หนงั สือหรือเอกสำรอืน่ ใดท่ีเกดิ ขึ้นเน่ืองจำกกำรปฏิบัตงิ ำนของ
เจำ้ หน้ำที่ เพ่อื เป็นหลักฐำนในรำชกำร

หมำยเหตุ ข้อ 27 ควำมเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย ข้อ 6 แห่งระเบียบสำนักนำยกรฐั มนตรี วำ่ ด้วยงำนสำรบรรณ
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 และใหใ้ ชค้ วำมทพ่ี ิมพไ์ ว้แทน

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 146

------------------------------------------------------------------------------
76. ขอ้ ใดเปน็ ควำมหมำยของ “สื่อกลำงบันทึกข้อมลู ” ซง่ึ เปน็ ชนดิ ของ “หนงั สืออืน่ ”. ในระเบียบน้ี

1. สือ่ ใดๆ ท่อี ำจใชบ้ ันทึกข้อมลู ได้ดว้ ยเอกสำรตำ่ งๆ

2. สื่อใดๆ ทีอ่ ำจใช้บนั ทึกข้อมูลได้ดว้ ยอุปกรณ์ ทำงอิเล็กทรอนิกส์

3. ส่อื ใดๆ ที่อำจใช้บนั ทึกข้อมูลไดด้ ้วยกำรถำ่ ยภำพ หรือจำลองงำน

4. ถกู ทกุ ข้อ

ตอบ 2. แนวคดิ ข้อ 27 วรรคสอง ส่ือกลำงบันทึกข้อมลู ตำมวรรคหนง่ึ หมำยควำมถึง ส่อื ใดๆ ท่อี ำจใช้บนั ทกึ

ขอ้ มลู ไดด้ ้วยอุปกรณ์ ทำงอิเลก็ ทรอนิกส์

77. ขอ้ ใด เปน็ ตวั อยำ่ งของสือ่ กลำงบันทึกข้อมูล ตำมข้อ 76.

1. แผน่ บันทกึ ข้อมูล 2. เทปแม่เหลก็

3. แผ่นซีดี-อำ่ นอยำ่ งเดยี ว 4. ถกู ทุกขอ้

ตอบ 4. แนวคดิ ข้อ 27 วรรคสอง ส่ือกลำงบันทกึ ข้อมลู ตำมวรรคหนงึ่ หมำยควำมถึง สอื่ ใดๆ ทอ่ี ำจใช้บนั ทกึ

ขอ้ มูลได้ด้วยอปุ กรณ์ ทำงอิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล เทปแม่เหล็ก จำนแมเ่ หล็ก แผน่ ซดี ี-อ่ำนอย่ำงเดียว

หรือแผ่นดิจิทลั อเนกประสงค์ เป็นต้น

78. หนังสอื ท่ตี ้องปฏิบตั ิให้เรว็ กว่ำปกติ เป็นหนงั สอื ท่ีต้องจัดสง่ และดำเนนิ กำรทำงสำรบรรณ ด้วยควำมรวดเร็ว

เปน็ พิเศษ แบง่ เป็นกปี่ ระเภท

1. 2 ประเภท 2. 3 ประเภท 3. 4 ประเภท 4. 5 ประเภท

ตอบ 2. แนวคดิ ข้อ 28. หนังสอื ทีต่ ้องปฏิบตั ใิ หเ้ รว็ กว่ำปกติ เป็นหนังสือท่ตี ้องจดั ส่งและดำเนินกำรทำงสำร

บรรณ ด้วยควำมรวดเรว็ เป็นพเิ ศษ แบง่ เปน็ 3 ประเภท

79. จำกข้อ 78. ประเภทหนงั สือทกี่ ล่ำวมำ ได้แกข่ ้อใด

1. ดว่ นท่ีสุด 2. ด่วนมำก 3. ดว่ น 4. ถกู ทกุ ขอ้

ตอบ 4. แนวคิด ข้อ 28. หนังสือท่ีต้องปฏบิ ตั ใิ ห้เรว็ กว่ำปกติ เป็นหนังสอื ทีต่ ้องจดั สง่ และดำเนนิ กำรทำงสำร
บรรณ ด้วยควำมรวดเรว็ เปน็ พิเศษ แบ่งเป็น 3 ประเภท ด่วนที่สุด ดว่ นมำก ด่วน
80. หนังสือประเภท “ด่วนท่สี ุด” หมำยถงึ ข้อใด

1. ใหเ้ จ้ำหนำ้ ท่ปี ฏบิ ัติในทันทที ่ไี ดร้ บั หนงั สือน้นั 2. ใหเ้ จำ้ หน้ำท่ีปฏบิ ัตโิ ดยเร็ว
3. ให้เจ้ำหนำ้ ทปี่ ฏบิ ัติเร็วกว่ำปกติ เท่ำที่จะทำได้ 4. ถกู ทุกข้อ

ตอบ 1. แนวคิด ข้อ 28. หนังสอื ทีต่ ้องปฏบิ ตั ใิ ห้เรว็ กว่ำปกติ เปน็ หนงั สือท่ตี ้องจดั สง่ และดำเนนิ กำรทำงสำร
บรรณ ดว้ ยควำมรวดเรว็ เป็นพิเศษ แบง่ เป็น 3 ประเภท คือ

28.1 ดว่ นทีส่ ดุ ใหเ้ จำ้ หนำ้ ทีป่ ฏิบัตใิ นทันทที ่ไี ด้รับหนังสอื นน้ั
28.2 ด่วนมำก ให้เจ้ำหน้ำที่ปฏิบตั โิ ดยเรว็
28.3 ดว่ น ใหเ้ จำ้ หนำ้ ทป่ี ฏิบัติเร็วกวำ่ ปกติ เท่ำท่ีจะทำได้
81. หนงั สือประเภท “ด่วนมำก” หมำยถงึ ขอ้ ใด
1. ให้เจ้ำหนำ้ ที่ปฏิบัตใิ นทนั ทที ไี่ ด้รบั หนังสือน้ัน 2. ใหเ้ จ้ำหนำ้ ท่ปี ฏบิ ัตโิ ดยเร็ว
3. ให้เจ้ำหนำ้ ท่ีปฏบิ ัติเรว็ กว่ำปกติ เทำ่ ที่จะทำได้ 4. ถกู ทกุ ข้อ

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 147

------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2. แนวคดิ ข้อ 28. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกวำ่ ปกติ เปน็ หนงั สือท่ตี ้องจัดสง่ และดำเนนิ กำรทำงสำร
บรรณ ดว้ ยควำมรวดเรว็ เปน็ พเิ ศษ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ

28.1 ด่วนที่สดุ ใหเ้ จำ้ หน้ำที่ปฏิบตั ใิ นทนั ทที ่ไี ด้รับหนงั สือนน้ั
28.2 ด่วนมำก ให้เจำ้ หน้ำที่ปฏบิ ตั โิ ดยเร็ว
28.3 ดว่ น ใหเ้ จ้ำหน้ำทีป่ ฏิบัติเร็วกว่ำปกติ เทำ่ ท่ีจะทำได้
82. หนังสือประเภท “ดว่ น” หมำยถึงขอ้ ใด
1. ใหเ้ จำ้ หน้ำท่ีปฏิบัตใิ นทันทีท่ไี ด้รบั หนังสือนนั้ 2. ให้เจำ้ หนำ้ ทปี่ ฏบิ ัตโิ ดยเร็ว
3. ใหเ้ จ้ำหน้ำทปี่ ฏบิ ัติเรว็ กว่ำปกติ เท่ำท่ีจะทำได้ 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 3. แนวคดิ ข้อ 28. หนงั สือที่ต้องปฏบิ ตั ิให้เร็วกวำ่ ปกติ เป็นหนงั สอื ทตี่ ้องจัดสง่ และดำเนินกำรทำงสำร
บรรณ ดว้ ยควำมรวดเร็วเปน็ พเิ ศษ แบง่ เปน็ 3 ประเภท คือ
28.1 ด่วนทส่ี ดุ ใหเ้ จ้ำหนำ้ ท่ีปฏิบัติในทันทีทไี่ ด้รบั หนงั สือน้ัน
28.2 ดว่ นมำก ใหเ้ จ้ำหน้ำที่ปฏิบตั ิโดยเร็ว
28.3 ดว่ น ให้เจ้ำหน้ำท่ปี ฏิบตั ิเร็วกว่ำปกติ เท่ำท่ีจะทำได้
83. ในกรณีที่ต้องกำรใหห้ นังสอื ส่งถึงผู้รบั ภำยในเวลำทีก่ ำหนด ให้ระบคุ ำใดลงในหนังสือท่ีส่งน้ัน
1. ด่วนมำกท่ีสดุ
2. ดว่ นภำยในแลว้ ลงวนั เดือน ปี
3. ดว่ นภำยในแล้วลงวนั เดือน ปี และกำหนดเวลำท่ตี ้องกำรใหห้ นงั สือน้นั ไปถงึ ผู้รับ กับให้เจ้ำหนำ้ ท่ีส่งถงึ
ผู้รบั ซ่งึ ระบบุ นหน้ำซอง ภำยในเวลำที่กำหนด
4. ดว่ นภำยในแล้วลงวัน เดือน ปี และกำหนดเวลำท่ีต้องกำรให้หนงั สือนั้นไปถงึ ผ้รู บั กับใหเ้ จ้ำหน้ำที่ลงช่ือ
ของผบู้ ังคับบญั ชำในหนว่ ยงำนนัน้ ๆ
ตอบ 3. แนวคิด ข้อ 28. วรรคสำม ในกรณที ตี่ ้องกำรให้หนังสือสง่ ถึงผรู้ ับภำยในเวลำท่กี ำหนด ให้ระบคุ ำว่ำ
ดว่ นภำยในแล้วลงวัน เดือน ปี และกำหนดเวลำทีต่ ้องกำรใหห้ นังสอื นั้นไปถึงผู้รบั กับใหเ้ จ้ำหน้ำทสี่ ง่ ถึงผู้รับซ่ึง
ระบบุ นหนำ้ ซอง ภำยในเวลำทกี่ ำหนดิ
84. ขอ้ ใดผดิ
1. กำรตดิ ตอ่ รำชกำรจะตอ้ งทำเป็นเอกสำรเท่ำนั้น
2. กำรตดิ ต่อรำชกำรนอกจำกจะดำเนนิ กำรโดยหนังสือที่เปน็ เอกสำรสำมำรถดำเนินกำร ด้วยระบบสำร
บรรณอิเล็กทรอนิกสไ์ ด้
3. ในกรณที ี่ติดต่อรำชกำรด้วยระบบสำรบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ ใหผ้ ู้สง่ ตรวจสอบผลกำรสง่ ทุกครั้งและ ให้
ผูร้ บั แจง้ ตอบรับ เพื่อยืนยนั ว่ำหนงั สอื ไดจ้ ัดส่งไปยงั ผูร้ ับเรยี บร้อยแลว้
4. ไมม่ ีข้อใดผิด

ตอบ 1. แนวคดิ ข้อ 29. กำรติดตอ่ รำชกำรนอกจำกจะดำเนนิ กำรโดยหนังสือทเี่ ป็นเอกสำรสำมำรถดำเนนิ กำร
ดว้ ยระบบสำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้

ในกรณที ตี่ ิดต่อรำชกำรดว้ ยระบบสำรบรรณอิเลก็ ทรอนกิ สใ์ หผ้ ูส้ ่งตรวจสอบผลกำรส่งทกุ คร้งั และ ใหผ้ ้รู บั

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 148

------------------------------------------------------------------------------
แจ้งตอบรบั เพอื่ ยืนยนั ว่ำหนังสอื ไดจ้ ดั ส่งไปยังผู้รับเรียบร้อยแล้วและสว่ นรำชกำรผู้ส่งไม่ตอ้ งจัดส่ง หนังสอื เป็น
เอกสำร เวน้ แตก่ รณีเป็นเรื่องสำคญั จำเป็นตอ้ งยนื ยันเป็นเอกสำรใหท้ ำเอกสำรยืนยันตำมไป ทันที

หมำยเหตุ ข้อ 29 ควำมเดิมถูกยกเลกิ โดยขอ้ 7 แห่งระเบียบสำนกั นำยกรฐั มนตรี วำ่ ด้วยงำนสำรบรรณ
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2548 และใหใ้ ชค้ วำมท่พี ิมพไ์ วแ้ ทน
85. ในระเบียบน้ี หนังสือท่ีจดั ทำขึน้ โดยปกติใหม้ กี ำรปฏิบตั ิอยำ่ งไร

1. ให้มสี ำเนำคูฉ่ บบั เก็บไว้ที่ต้นเร่ือง 1 ฉบับ
2. ใหม้ สี ำเนำเก็บ ไวท้ ี่หน่วยงำนสำรบรรณกลำง 1 ฉบับ
3. ใหม้ กี ำรรบั รองสำเนำถูกต้อง โดยลงช่ือผู้บังคบั บัญชำทุกครั้งทอ่ี อกหนังสือน้นั
4. ถูกทงั้ ข้อ 1. และ 2.

ตอบ 4. แนวคิด ข้อ 30 วรรคแรก หนงั สือทจ่ี ัดทำข้ึนโดยปกตใิ หม้ ีสำเนำคูฉ่ บบั เก็บไวท้ ต่ี ้นเรอื่ ง 1 ฉบับ และให้
มีสำเนำเกบ็ ไว้ทห่ี น่วยงำนสำรบรรณกลำง 1 ฉบับ
86. ในระเบยี บน้ี “สำเนำคฉู่ บบั ” จะตอ้ งมีรำยละเอียดอยำ่ งไร

1. ให้ผลู้ งชอ่ื ลงลำยมอื ชื่อหรือลำยมอื ชอื่ ย่อ
2. ให้ผู้ร่ำง ผูพ้ มิ พ์ และผู้ตรวจลงลำยมอื ชื่อ หรือลำยมือชื่อย่อไวท้ ี่ขำ้ งทำ้ ยขอบล่ำงด้ำนขวำของหนงั สือ
3. ลงลำยมือช่ือรบั รองเอกสำร โดยผบู้ งั คบั บญั ชำในหนว่ ยงำนนัน้
4. ถกู ทง้ั ขอ้ 1. และ 2.
ตอบ 4. แนวคิด ข้อ 30 วรรคสอง สำเนำคฉู่ บับใหผ้ ู้ลงชอ่ื ลงลำยมือชอ่ื หรือลำยมือช่ือย่อ และให้ผู้ร่ำง ผู้พิมพ์
และผูต้ รวจลงลำยมอื ชื่อ หรือลำยมอื ช่อื ย่อไว้ทข่ี ้ำงท้ำยขอบล่ำงดำ้ นขวำของหนงั สือ
87. ในระเบียบนี้ ถำ้ หนงั สือท่ีเจ้ำของหนังสอื เห็นวำ่ มีสว่ นรำชกำรอ่นื ทีเ่ กีย่ วข้องควรได้รับทรำบด้วย โดย
ปกติให้ปฏิบตั ิอยำ่ งไร
1. ใหส้ ่งสำเนำไปใหท้ รำบโดยทำเป็นหนงั สือ
2. ให้สง่ สำเนำไปให้ทรำบโดยทำเป็นหนงั สือประทับตรำ
3. ให้สง่ สำเนำไปให้ทรำบโดยทำเปน็ หนงั สือประทบั ตรำ และลงชอื่ ผบู้ งั คับบัญชำในหนว่ ยงำนนั้น
4. ไม่มขี อ้ ใดถูก
ตอบ 2. แนวคดิ ข้อ 31. วรรคแรก หนงั สือทีเ่ จำ้ ของหนังสือเห็นวำ่ มสี ่วนรำชกำรอน่ื ทเ่ี ก่ยี วข้องควร
ได้รบั ทรำบดว้ ย โดยปกติ ใหส้ ง่ สำเนำไปให้ทรำบโดยทำเป็นหนงั สือประทบั ตรำ
88. สำเนำหนังสอื ตำมข้อ 87. นี้ จะต้องมีรำยละเอียดตำมข้อใด
1. ให้มคี ำรบั รองว่ำสำเนำถูกตอ้ ง
2. โดยใหข้ ำ้ รำชกำรพลเรือนหรือพนักงำนสว่ นท้องถ่นิ ประเภทวชิ ำกำร ระดบั ปฏบิ ัตกิ ำร หรอื ประเภท
ทว่ั ไประดับชำนำญงำน ข้นึ ไป
3. เจำ้ ของเรื่องทีท่ ำสำเนำหนงั สือน้นั ลงลำยมอื ช่ือรับรอง
4. ถกู ทุกขอ้

ตอบ 4. แนวคดิ ข้อ 31 วรรคสอง “สำเนำหนังสอื ตำมวรรคหนึง่ ให้มคี ำรับรองว่ำ สำเนำถูกต้อง โดยให้

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 149

------------------------------------------------------------------------------
ข้ำรำชกำรพลเรอื นหรือพนักงำนส่วนทอ้ งถิน่ ประเภทวชิ ำกำร ระดับปฏบิ ตั กิ ำร หรือประเภททัว่ ไป ระดบั ชำนำญ
งำน ข้ึนไป หรือเจำ้ หนำ้ ที่ของรฐั อ่ืนท่เี ทยี บเทำ่ หรือพนักงำนรำชกำร ซึง่ เป็นเจ้ำของเรื่องที่ทำสำเนำหนังสอื น้นั ลง
ลำยมือชือ่ รับรอง พร้อมทั้งลงชือ่ ตัวบรรจง ตำแหนง่ และวัน เดือน ปีที่รับรอง ไว้ทข่ี อบลำ่ งของหนงั สอื ” (แกไ้ ข
เพ่ิมเติม ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2560)
89. ในระเบียบน้ี “หนังสือเวียน” มีควำมหมำยตำมข้อใด

1. หนังสอื ท่ีมีถงึ ผู้รบั เปน็ จำนวนน้อย มใี จควำมอยำ่ งเดยี วกัน
2. หนงั สอื ทมี่ ีถงึ ผู้รบั เป็นจำนวนมำก มใี จควำมท่แี ตกต่ำงกัน
3. หนังสอื ทม่ี ีถึงผรู้ บั เปน็ จำนวนมำก มีใจควำมอย่ำงเดียวกนั
4. หนังสือทมี่ ีถงึ ผรู้ ับเปน็ จำนวนมำก มีใจควำมอย่ำงเดียวกนั และเปน็ หนงั สือทจ่ี ะต้องสง่ กลับมำยังผสู้ ง่ อีก
คร้ัง

ตอบ 3. แนวคิด ข้อ 32. หนงั สอื เวียน คอื หนังสือท่ีมีถงึ ผูร้ บั เป็นจำนวนมำก มใี จควำมอย่ำงเดยี วกนั
ให้เพม่ิ รหสั ตัวพยญั ชนะ ว หนำ้ เลขทะเบียนหนงั สอื สง่ ซ่ึงกำหนดเปน็ เลขที่หนงั สอื เวียนโดยเฉพำะ
เรมิ่ ตง้ั แต่เลข 1 เรยี งเป็นลำดับไปจนถึงสิน้ ปีปฏทิ ิน หรือใชเ้ ลขทขี่ องหนงั สือท่ัวไปตำมแบบหนงั สอื ภำยนอกอยำ่ ง
หนึ่งอยำ่ ง ใด
90. เมื่อผู้รบั ไดร้ ับหนงั สือเวยี นแล้วเห็นว่ำ เร่ืองนน้ั จะต้องให้หนว่ ยงำนหรือบุคคลในบงั คับบญั ชำใน ระดบั
ตำ่ งๆ ได้รับทรำบดว้ ย กใ็ ห้มีหนำ้ ที่ปฏบิ ัติอย่ำงไร

1. จดั ทำสำเนำให้หนว่ ยงำนหรอื บคุ คลเหลำ่ นนั้ โดยเร็ว
2. จดั สง่ ให้หนว่ ยงำนหรือบุคคลเหลำ่ นนั้ โดยเร็ว
3. ถกู ทั้งข้อ 1. และ 2.
4. ไม่มีขอ้ ใดถกู
ตอบ 3. แนวคิด ข้อ 32. วรรคสอง เม่ือผู้รบั ได้รบั หนังสอื เวียนแล้วเห็นวำ่ เรื่องนั้นจะตอ้ งใหห้ น่วยงำนหรอื
บุคคลในบังคับบัญชำใน ระดบั ต่ำงๆ ไดร้ บั ทรำบด้วย กใ็ ห้มหี นำ้ ทีจ่ ัดทำสำเนำหรอื จัดสง่ ใหห้ นว่ ยงำนหรือบคุ คล
เหล่ำนน้ั โดยเรว็
91. ในระเบยี บน้ี สรรพนำมทใี่ ช้ในหนงั สอื ให้ใชอ้ ยำ่ งไร
1. ใชอ้ ย่ำงไรกไ็ ดต้ ำมควำมเหมำะสม
2. ใหใ้ ชต้ ำมฐำนะแห่งควำมสัมพันธ์ระหวำ่ งเจ้ำของหนงั สือ
3. ให้ใชต้ ำมฐำนะแหง่ ควำมสัมพันธร์ ะหว่ำงเจำ้ ของหนงั สอื และ ผ้รู ับหนงั สือ
4. ใหใ้ ช้ตำมคำส่งั ของผู้บังคับบญั ชำในหน่วยงำนนน้ั ๆ

ตอบ 3. แนวคดิ ข้อ 33. สรรพนำมที่ใชใ้ นหนงั สอื ให้ใชต้ ำมฐำนะแห่งควำมสัมพันธร์ ะหว่ำงเจำ้ ของหนงั สือ

และ ผู้รับหนังสือตำมภำคผนวก 2

92. ในระเบยี บน้ี “หนงั สอื ภำษำตำ่ งประเทศ” ให้ใช้กระดำษอยำ่ งไร

1. กระดำษบนั ทึกขอ้ ควำม 2. กระดำษตรำครุฑ

3. กระดำษบันทกึ ขอ้ ควำมท่ีมตี รำครฑุ ลกั ษณะเฉพำะ

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 150

------------------------------------------------------------------------------
4. ใหเ้ ปน็ ไปตำมประเพณีนิยม

ตอบ 2. แนวคดิ ข้อ 34. หนงั สือภำษำตำ่ งประเทศ ให้ใชก้ ระดำษตรำครุฑ

93. ในระเบียบน้ี “หนังสอื ภำษำอื่นๆซึง่ มิใชภ่ ำษำอังกฤษ” ใหใ้ ชก้ ระดำษอย่ำงไร

1. กระดำษบนั ทึกขอ้ ควำม 2. กระดำษตรำครฑุ

3. กระดำษบนั ทึกข้อควำมที่มีตรำครฑุ ลักษณะเฉพำะ

4. ให้เป็นไปตำมประเพณีนิยม

ตอบ 4. แนวคดิ สำหรบั หนังสือท่ีเป็นภำษำอ่ืนๆ ซึง่ มิใชภ่ ำษำอังกฤษ ใหเ้ ปน็ ไปตำมประเพณีนยิ ม

94. ในระเบียบน้ี “หนงั สอื รบั ” มคี วำมหมำยตำมข้อใด

1. หนงั สอื ทไ่ี ด้รบั มำจำกผู้บงั คบั บัญชำ ให้เจ้ำหนำ้ ทข่ี องหน่วยงำนสำรบรรณกลำงปฏบิ ตั ติ ำมทก่ี ำหนดไว้

ในสว่ นน้ี

2. หนังสือท่ไี ด้รับเขำ้ มำจำกภำยนอก ใหเ้ จำ้ หน้ำทีข่ องหนว่ ยงำนสำรบรรณ กลำงปฏบิ ตั ติ ำมท่กี ำหนดไว้ใน

สว่ นน้ี

3. หนงั สอื ท่ไี ด้รบั เขำ้ มำจำกหน่วยงำนรำชกำรกลำงให้เจ้ำหน้ำที่ของหนว่ ยงำนสำรบรรณกลำงปฏบิ ัติตำมที่

กำหนดไวใ้ นสว่ นนี้

4. ถูกทกุ ขอ้

ตอบ 2. แนวคิด ข้อ 35. หนังสือรบั คือ หนงั สือท่ีได้รับเขำ้ มำจำกภำยนอกให้เจ้ำหนำ้ ทีข่ องหนว่ ยงำนสำรบรรณ

กลำงปฏบิ ตั ติ ำมที่กำหนดไว้ในส่วนน้ี

95. กำรรบั หนงั สือทมี่ ชี ้นั ควำมลับ ในช้นั ลบั หรือลับมำกดว้ ยระบบสำรบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ ให้ ผใู้ ชง้ ำนหรือ

ผปู้ ฏบิ ตั งิ ำนที่ได้รบั กำรแต่งตง้ั ใหเ้ ขำ้ ถงึ เอกสำรลบั แตล่ ะระดับ เปน็ ผรู้ บั ผ่ำนระบบกำรรักษำ ควำมปลอดภยั โดย

ใหเ้ ป็นไปตำมระเบียบใด

1. ระเบียบวำ่ ดว้ ยกำรรบั สง่ ข้อมลู ของทำงรำชกำร

2. ระเบยี บวำ่ ดว้ ยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร

3. ระเบยี บว่ำดว้ ยกำรใช้และรกั ษำขอ้ มูลของทำงรำชกำร

4. ระเบยี บวำ่ ดว้ ยกำรปฏบิ ัติงำนเกยี่ วกับควำมลับของทำงรำชกำร

ตอบ 2. แนวคิด ข้อ 35. วรรคสอง กำรรับหนังสือที่มีช้นั ควำมลับ ในชน้ั ลับหรือลับมำก ดว้ ยระบบสำรบรรณ

อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ให้ ผใู้ ชง้ ำนหรอื ผูป้ ฏิบัตงิ ำนทีไ่ ด้รบั กำรแตง่ ตั้งให้เขำ้ ถงึ เอกสำรลบั แต่ละระดับ เป็นผู้รบั ผำ่ นระบบ

กำรรกั ษำ ควำมปลอดภัย โดยให้เปน็ ไปตำม ระเบยี บว่ำดว้ ยกำรรกั ษำควำมลับของทำงรำชกำร

หมำยเหตุ ข้อ 35 ควำมเดิมถกู ยกเลกิ โดยขอ้ 8 แห่งระเบยี บสำนักนำยกรฐั มนตรี วำ่ ด้วยงำนสำรบรรณ

(ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2548 และใหใ้ ชค้ วำมทพ่ี มิ พไ์ วแ้ ทน

96. กรณกี ำรประทับตรำรบั หนังสอื ตำมแบบที่ 12 ทำ้ ยระเบียบ ท่มี ุมบนด้ำนขวำของหนังสือ ในสว่ นที่

เก่ยี วกับ “เลขรับ” ให้กรอกรำยละเอียดอยำ่ งไร

1. ให้ลงเลขทร่ี บั ตำมเลขท่ีรับในทะเบียน 2. ให้ลงวันเดือนปที ่ีรบั หนังสอื

3. ใหล้ งเวลำที่รับหนังสอื 4. ให้ลง เลขทีร่ บั ตำมวันเดือนปีน้นั ๆ

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 151

------------------------------------------------------------------------------

ตอบ 1. แนวคดิ ข้อ 37. ประทับตรำรบั หนังสือตำมแบบที่ 12 ทำ้ ยระเบียบ ที่มุมบนด้ำนขวำของหนังสือโดย

กรอกรำยละเอยี ดดงั น้ี

37.1 เลขรับ ใหล้ งเลขท่ีรบั ตำมเลขทีร่ ับในทะเบียน

97. กรณีกำรประทับตรำรับหนงั สอื ตำมแบบท่ี 12 ทำ้ ยระเบียบ ทีม่ มุ บนดำ้ นขวำของหนงั สอื ในส่วนทเ่ี กย่ี วกบั

“วันท่ี” ใหก้ รอกรำยละเอียดอยำ่ งไร

1. ใหล้ งเลขที่รบั ตำมเลขท่ีรับในทะเบยี น 2. ให้ลงวันเดือนปที ่ีรับหนงั สอื

3. ใหล้ งเวลำท่รี ับหนังสอื 4. ให้ลง เลขทรี่ ับตำมวนั เดือนปนี น้ั ๆ

ตอบ 2. แนวคดิ ข้อ 37. ประทับตรำรบั หนงั สือตำมแบบที่ 12 ทำ้ ยระเบยี บ ท่มี มุ บนด้ำนขวำของหนงั สือโดย

กรอกรำยละเอียดดังนี้

37.2 วันท่ี ให้ลงวันเดอื นปีท่ีรบั หนังสือ

98. กรณกี ำรประทับตรำรบั หนงั สอื ตำมแบบท่ี 12 ทำ้ ยระเบียบ ท่ีมุมบนดำ้ นขวำของหนงั สือ ในส่วนทเ่ี กยี่ วกับ

“เวลำ” ใหก้ รอกรำยละเอยี ดอยำ่ งไร

1. ให้ลงเลขทร่ี ับตำมเลขที่รับในทะเบยี น 2. ใหล้ งวันเดือนปที ี่รับหนงั สือ

3. ให้ลงเวลำทีร่ บั หนังสือ 4. ใหล้ ง เลขทรี่ บั ตำมวันเดือนปนี ั้นๆ

ตอบ 3. แนวคดิ ข้อ 37. ประทบั ตรำรบั หนังสอื ตำมแบบท่ี 12 ท้ำยระเบยี บ ท่ีมุมบนด้ำนขวำของหนังสือ โดย
กรอกรำยละเอยี ดดังนี้

37.3 เวลำ ใหล้ งเวลำท่รี บั หนงั สอื
99. ในระเบียบน้ี “หนังสอื ส่ง” หมำยถึงขอ้ ใด

1. หนงั สอื ทสี่ ่งออกไปภำยนอก ให้ปฏิบัตติ ำมท่กี ำหนดไวใ้ นสว่ นน้ี
2. หนงั สือท่ีส่งเขำ้ มำจำกหน่วยงำนรำชกำร ให้ปฏบิ ตั ิตำมท่กี ำหนดไว้ในสว่ นน้ี
3. หนังสอื ที่สง่ ออกไปยังหน่วยงำนรำชกำรและบุคคลตำ่ งๆ ใหป้ ฏิบตั ติ ำมท่ีกำหนดไว้ในส่วนน้ี
4. ถูกทุกขอ้

ตอบ 1. แนวคดิ ข้อ 41. หนังสอื สง่ คอื หนังสือทสี่ ่งออกไปภำยนอก ให้ปฏบิ ตั ติ ำมท่กี ำหนดไว้ในสว่ นนี้
หมำยเหตุ ข้อ 41 ควำมเดิมถูกยกเลกิ โดยข้อ 9 แห่งระเบยี บสำนักนำยกรัฐมนตรี วำ่ ดว้ ยงำนสำรบรรณ (ฉบับ

ที่ 2) พ.ศ. 2548 และใหใ้ ชค้ วำมทพี่ ิมพไ์ วแ้ ทน
100. กำรส่งหนังสอื ทม่ี ชี น้ั ควำมลับ ในช้ันลบั หรือลับมำก ด้วยระบบสำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ให้ ผใู้ ช้งำนหรือ
ผู้ปฏบิ ัตงิ ำนที่ได้รบั กำรแต่งตัง้ ให้เขำ้ ถงึ เอกสำรลับแต่ละระดับ เปน็ ผสู้ ง่ ผ่ำนระบบกำรรกั ษำ ควำมปลอดภยั โดย
ใหเ้ ปน็ ไปตำมระเบยี บในข้อใด

1. ระเบยี บวำ่ ด้วยกำรรับสง่ ข้อมูลของทำงรำชกำร
2. ระเบยี บว่ำดว้ ยกำรรกั ษำควำมลบั ของทำงรำชกำร
3. ระเบียบว่ำด้วยกำรใชแ้ ละรกั ษำข้อมูลของทำงรำชกำร
4. ระเบยี บวำ่ ด้วยกำรปฏิบตั ิงำนเกีย่ วกับควำมลับของทำงรำชกำร

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 152

------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2. แนวคิด ข้อ 41. วรรคสอง กำรส่งหนังสือท่มี ีชน้ั ควำมลบั ในช้นั ลับหรือลับมำก ด้วยระบบสำรบรรณ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ให้ ผู้ใชง้ ำนหรือผู้ปฏิบัตงิ ำนทไี่ ด้รบั กำรแต่งตั้งใหเ้ ข้ำถึงเอกสำรลับแต่ละระดับ เปน็ ผสู้ ่งผ่ำนระบบ
กำรรกั ษำ ควำมปลอดภัย โดยใหเ้ ปน็ ไปตำม ระเบยี บวำ่ ดว้ ยกำรรกั ษำควำมลบั ของทำงรำชกำร
101. ในกำรส่งหนังสอื ตำมระเบียบนี้ ใหเ้ จ้ำของเรือ่ งปฏบิ ัติตำมขอ้ ใด

1. ตรวจควำมเรียบร้อยของหนงั สอื รวมทงั้ สิ่งที่จะสง่ ไปด้วยให้ครบถ้วน
2. สง่ เร่ืองให้เจ้ำหน้ำที่ของหน่วยงำนสำรบรรณกลำงเพื่อส่งออก
3. ตดิ ต่อผู้รบั ไม่ว่ำทำงใด ก่อนทจ่ี ะสง่ เร่ืองนั้นไปถึง
4. ถูกท้งั ขอ้ 1. และ 2.
ตอบ 4. แนวคิด ข้อ 42. ใหเ้ จ้ำของเร่ือง ตรวจควำมเรียบรอ้ ยของหนงั สือ รวมทง้ั สิ่งทีจ่ ะสง่ ไปดว้ ยให้ครบถว้ น
แล้วส่งเรื่องให้เจำ้ หน้ำท่ีของหนว่ ยงำนสำรบรรณกลำงเพอื่ สง่ ออก
102. ในกำรสง่ หนงั สือตำมระเบยี บน้ี เม่อื เจ้ำหนำ้ ท่ขี องหนว่ ยงำนสำรบรรณกลำงไดร้ ับเร่ืองแลว้ ใหป้ ฏิบตั ิตำม
ข้อใดเปน็ อนั ดับแรก
1. ลงทะเบยี นหนังสอื ในทะเบียนหนงั สือสง่ ตำมแบบที่ 14 ท้ำยระเบยี บ
2. บรรจซุ องใหเ้ จำ้ หนำ้ ทีข่ องหนว่ ยงำนสำรบรรณกลำง
3. จ่ำหนำ้ ซองเรื่องที่ส่ง
4. ส่งหนงั สอื โดยทำงไปรษณยี ์

ตอบ 1. แนวคิด ข้อ 43. เมื่อเจำ้ หน้ำทีข่ องหนว่ ยงำนสำรบรรณกลำงไดร้ บั เรื่องแลว้ ให้ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี

43.1 ลงทะเบียนหนงั สือในทะเบียนหนังสือส่ง ตำมแบบที่ 14 ท้ำยระเบียบ

3. ในกำรสง่ หนังสือ กำรลงทะเบียนหนังสือในทะเบียนหนังสือส่งตำมแบบที่ 14 ทำ้ ยระเบยี บ ในสว่ นของ

“ทะเบียนหนงั สือสง่ ” จะต้องมกี ำรกรอกรำยละเอยี ดตำมขอ้ ใด

1. ให้ลงเลขลำดบั ของทะเบยี นหนังสือลงเรียงลำดบั ติดต่อกันไปตลอดปีปฏิทิน

2. ให้ลงวันเดือนปีที่จะสง่ หนังสอื น้นั ออก

3. วนั ที่ เดือน พ.ศ. ใหล้ งวนั เดอื นปีทล่ี งทะเบยี น

4. ไม่มขี ้อใดถูก

ตอบ 3. แนวคดิ ข้อ 43. เม่ือเจ้ำหนำ้ ทขี่ องหนว่ ยงำนสำรบรรณกลำงไดร้ ับเร่ืองแลว้ ให้ปฏิบตั ิดังน้ี

43.1.1 ทะเบียนหนงั สือส่ง วนั ท่ี เดือน พ.ศ. ใหล้ งวันเดือนปีท่ลี งทะเบียน

103. รำยละเอยี ดของ “บตั รตรวจคน้ ” ในระเบยี บนี้ ในสว่ นของ “เลขทะเบยี นรบั ”.. ใหก้ รอกรำยละเอยี ดตำม

ข้อใด

1. ใหล้ งเลขทะเบียนตำมที่ปรำกฏในทะเบยี นหนังสอื รับ

2. ให้ลงเลขท่ขี องหนงั สือ

3. ใหล้ งวนั เดือนปขี องหนงั สือ 4. ถกู ทุกข้อ

ตอบ 1. แนวคิด ข้อ 51 บัตรตรวจคน้ ให้จัดทำตำมแบบท่ี18 ท้ำยระเบยี บ โดยกรอกรำยละเอยี ด ดงั นี้

51.2 เลขทะเบยี นรบั ให้ลงเลขทะเบยี นตำมทป่ี รำกฏในทะเบยี นหนงั สือรับ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 153

------------------------------------------------------------------------------
104. รำยละเอยี ดของ “บัตรตรวจคน้ ” ในระเบียบนี้ ในสว่ นของ “ที่”.. ใหก้ รอกรำยละเอียดตำมข้อใด

1. ให้ลงเลขทะเบียนตำมทีป่ รำกฏในทะเบียนหนังสือรบั

2. ให้ลงเลขทีข่ องหนังสอื

3. ใหล้ งวนั เดือนปีของหนงั สือ 4. ถูกทุกข้อ

ตอบ 2. แนวคิด ข้อ 51.บัตรตรวจค้น ให้จดั ทำตำมแบบท่ี 18 ท้ำยระเบยี บ โดยกรอกรำยละเอยี ด ดังนี้

51.3 ท่ี ให้ลงเลขที่ของหนงั สือ

105. รำยละเอยี ดของ “บัตรตรวจคน้ ” ในระเบียบนี้ ในส่วนของ “ลงวันที่”.. ใหก้ รอกรำยละเอยี ดตำมข้อใด

1. ใหล้ งเลขทะเบียนตำมทปี่ รำกฏในทะเบยี นหนงั สอื รบั

2. ใหล้ งเลขทีข่ องหนังสอื

3. ให้ลงวันเดือนปีของหนงั สือ 4. ถกู ทุกข้อ

ตอบ 3. แนวคิด ข้อ 51 บตั รตรวจค้น ใหจ้ ดั ทำตำมแบบท่ี 18 ทำ้ ยระเบยี บ โดยกรอกรำยละเอยี ด ดังนี้

51.4 ลงวันที่ ให้ลงวนั เดือนปีของหนังสือ

106. ในระเบียบนี้ อำยกุ ำรเกบ็ หนังสือ โดยปกติให้เก็บไวไ้ มน่ ้อยกว่ำกี่ปี

1. 10 ปี 2. 20 ปี 3. 30 ปี 4. 40 ปี

ตอบ 1. แนวคดิ ข้อ 57. อำยกุ ำรเกบ็ หนงั สอื โดยปกติใหเ้ ก็บไว้ไม่น้อยกวำ่ 10 ปี
107. ในระเบียบนี้ หำกเป็นหนังสือที่ไดป้ ฏบิ ัตงิ ำนเสร็จส้นิ แล้ว และเปน็ คสู่ ำเนำที่มีต้นเรือ่ งจะคน้ ได้จำกทอี่ ่ืน
ให้เก็บไว้ไม่นอ้ ยกวำ่ ก่ีปี

1. 3 ปี 2. 4 ปี 3. 5 ปี 4. 6 ปี

ตอบ 3. แนวคดิ ข้อ 57.4 หนงั สอื ที่ได้ปฏบิ ตั งิ ำนเสร็จส้นิ แลว้ และเป็นคู่สำเนำท่มี ีต้นเรือ่ งจะคน้ ได้จำกที่อ่ืน
ใหเ้ กบ็ ไว้ไมน่ ้อยกว่ำ 5 ปี
108. ในระเบยี บน้ี หำกเป็นหนังสือที่เป็นเร่ืองธรรมดำสำมัญซึ่งไม่มคี วำมสำคญั และเปน็ เร่ืองทีเ่ กิดขึ้นเป็น
ประจำเมื่อดำเนนิ กำรแล้วเสร็จใหเ้ กบ็ ไวไ้ มน่ ้อยกวำ่ ก่ปี ี

1. 1 ปี 2. 2 ปี 3. 3 ปี 4. 4 ปี

ตอบ 1. แนวคดิ ข้อ 57.5 หนงั สือที่เป็นเร่อื งธรรมดำสำมญั ซ่ึงไมม่ ีควำมสำคญั และเปน็ เรอื่ งท่ีเกิดขึ้นเป็น ประจำ
เมอื่ ดำเนินกำรแลว้ เสรจ็ ใหเ้ ก็บไว้ ไม่น้อยกว่ำ 1 ปี
109. หนงั สอื หรอื เอกสำรเกี่ยวกบั กำรเงินเมื่อ สำนกั งำนกำรตรวจเงนิ แผ่นดินตรวจสอบแลว้ ไม่มีปัญหำ และไมม่ ี
ควำมจำเปน็ ต้องใชป้ ระกอบกำร ตรวจสอบหรือเพ่อื กำรใดๆ อีก ให้เก็บไวไ้ ม่น้อยกว่ำกป่ี ี

1. 3 ปี 2. 4 ปี 3. 5 ปี 4. 6 ปี

ตอบ 3. แนวคดิ 57.6 หนงั สือหรือเอกสำรเกยี่ วกับกำรเงิน กำรจ่ำยเงิน หรือกำรก่อหนี้ผกู พันทำง กำรเงินท่ีไม่
เป็นหลักฐำนแห่งกำรก่อ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงบั ซึง่ สิทธใิ นทำงกำรเงนิ รวมถึง หนังสอื หรือเอกสำร
เก่ยี วกบั กำรรบั เงิน กำรจำ่ ยเงิน หรือกำรก่อหนี้ผูกพนั ทำงกำรเงินทีห่ มดควำมจำเป็นใน กำรใช้เปน็ หลักฐำนแห่ง
กำรก่อ เปลยี่ นแปลง โอน สงวน หรือระงบั ซึ่งสิทธใิ นทำงกำรเงินเพรำะไดม้ ี หนังสอื หรือเอกสำรอนื่ ทีส่ ำมำรถ
นำมำใชอ้ ำ้ งอิง หรือทดแทนหนังสือหรอื เอกสำรดังกลำ่ วแลว้ เมอื่ สำนกั งำนกำรตรวจเงินแผ่นดนิ ตรวจสอบแล้วไม่

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 154

------------------------------------------------------------------------------
มีปัญหำ และไม่มีควำมจำเป็นต้องใชป้ ระกอบกำร ตรวจสอบหรือเพอื่ กำรใดๆ อกี ให้เกบ็ ไว้ไม่น้อยกว่ำ 5 ปี

110. ทุกปปี ฏทิ ิน ให้ส่วนรำชกำรจัดส่งหนังสือท่ีมีอำยุครบกี่ปี นับจำกวนั ที่ได้จดั ทำขึ้นที่ เกบ็ ไว้ ณ ส่วนรำชกำร

ใด ให้สำนกั หอจดหมำยเหตุแหง่ ชำติ กรมศลิ ปำกร

1. 10 ปี 2. 15 ปี 3. 20 ปี 4. 25 ปี

ตอบ 3. แนวคิด ข้อ 58. ทกุ ปีปฏทิ ินใหส้ ่วนรำชกำรจัดสง่ หนงั สอื ที่มอี ำยคุ รบ 20 ปี นับจำกวนั ทไี่ ด้จัดทำข้ึน ท่ี

เก็บไว้ ณ ส่วนรำชกำรใด พร้อมทั้งบญั ชสี ่งมอบหนังสอื ครบ 20 ปี ให้สำนกั หอจดหมำยเหตุแหง่ ชำตกิ รมศิลปำกร

111. ผใู้ ดเปน็ ผู้แตง่ ตง้ั คณะกรรมกำรทำลำยหนงั สอื ในระเบียบนี้

1. นำยกรฐั มนตรี 2. หัวหน้ำสว่ นรำชกำรระดับกรม

3. คณะรัฐมนตรี 4. อธิบดีกรมฯ

ตอบ 2. แนวคดิ ข้อ 67. ใหห้ วั หนำ้ สว่ นรำชกำรระดับกรม แตง่ ตั้งคณะกรรมกำรทำลำยหนงั สือ

112. คณะกรรมกำรทำลำยหนงั สือประกอบด้วย ประธำนกรรมกำร และกรรมกำรอีกอย่ำงน้อยก่คี น

1. 2 คน 2. 3 คน 3. 4 คน 4. 5 คน

ตอบ 1. แนวคดิ ข้อ 67. ให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกรมแตง่ ต้ังคณะกรรมกำรทำลำยหนังสือประกอบดว้ ย

ประธำนกรรมกำร และกรรมกำรอกี อย่ำงน้อยสองคน

113. ถำ้ ประธำนกรรมกำรไม่สำมำรถปฏบิ ัติหน้ำท่ีไดใ้ ห้ปฏิบตั ิตำมข้อใด

1. ใหก้ รรมกำรท่มี ำประชมุ เลอื กกรรมกำรคนหนงึ่ ทำ หน้ำท่ีประธำน

2. ใหร้ องประธำนทำหน้ำท่ีแทนประธำน

3. ให้เลอ่ื นกำรประชุมออกไปก่อน 4. ไมม่ ีขอ้ ใดถูก

ตอบ 1. แนวคิด ข้อ 67. วรรคสอง ถ้ำประธำนกรรมกำรไม่สำมำรถปฏิบตั หิ นำ้ ที่ไดใ้ หก้ รรมกำรท่ีมำประชุม

เลือกกรรมกำรคนหนง่ึ ทำ หน้ำที่ประธำน

114. ตรำครุฑสำหรบั แบบพมิ พ์ ในระเบยี บนี้ มีก่ขี นำด

1. 1 ขนำด 2. 2 ขนำด 3. 3 ขนำด 4. 4 ขนำด

ตอบ 2. แนวคดิ ข้อ 71. ตรำครุฑสำหรบั แบบพิมพ์ ให้ใช้ตำมแบบท่ี 26 ทำ้ ยระเบียบ มี 2 ขนำด

115. ระเบยี บน้ี “ตรำครฑุ แบบแรก” มขี นำดตัวสงู ก่ีเซนติเมตร

1. 1 เซนติเมตร 2. 2 เซนตเิ มตร 3. 3 เซนตเิ มตร 4. 4 เซนติเมตร

ตอบ 3. แนวคิด ข้อ 71. ตรำครุฑสำหรับแบบพิมพ์ ให้ใช้ตำมแบบท่ี 26 ท้ำยระเบียบ มี 2 ขนำด คอื
71.1 ขนำดตวั ครฑุ สงู 3 เซนตเิ มตร

116. ในระเบียบนี้ “ตรำครฑุ แบบท่สี อง” มขี นำดตัวสูงก่เี ซนติเมตร
1. 1.5 เซนติเมตร 2. 2.5 เซนติเมตร 3. 3.5 เซนตเิ มตร 4. 4.5 เซนติเมตร

ตอบ 1. แนวคิด ข้อ 71. ตรำครฑุ สำหรับแบบพมิ พ์ ให้ใชต้ ำมแบบที่ 26 ท้ำยระเบยี บ มี 2 ขนำด คอื

71.2 ขนำดตวั ครฑุ สงู 1.5 เซนตเิ มตร

117. ในระเบยี บนี้ มำตรฐำนกระดำษโดยปกตใิ หใ้ ช้กระดำษปอนด์ขำว น้ำหนกั กี่กรมั ต่อตำรำงเมตร

1. น้ำหนัก 40 กรัม ตอ่ ตำรำงเมตร 2. น้ำหนัก 50 กรัม ต่อตำรำงเมตร

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 155

------------------------------------------------------------------------------

3. น้ำหนกั 60 กรัม ต่อตำรำงเมตร 4. น้ำหนกั 70 กรมั ต่อตำรำงเมตร

ตอบ 3. แนวคิด ข้อ 74 มำตรฐำนกระดำษและซอง

74.1 มำตรฐำนกระดำษโดยปกติ ให้ใช้กระดำษปอนดข์ ำว น้ำหนัก 60 กรมั ตอ่ ตำรำงเมตร

118. ในระเบียบนี้ จำกข้อ 117. มำตรฐำนกระดำษดังกล่ำว มีกี่ขนำด

1. 2 ขนำด 2. 3 ขนำด 3. 4 ขนำด 4. 5 ขนำด

ตอบ 2. แนวคิด ข้อ 74.1 มำตรฐำนกระดำษโดยปกติใหใ้ ชก้ ระดำษปอนดข์ ำว นำ้ หนัก 60 กรัม ต่อตำรำง เมตร มี

3 ขนำด

119. มำตรฐำนกระดำษในระเบียบนี้ “ขนำด เอ 4” มขี นำดตำมข้อใด

1. 210 มิลลเิ มตร X 297 มลิ ลเิ มตร 2. 210 มิลลเิ มตร X 298 มลิ ลิเมตร

3. 210 มลิ ลิเมตร X 299 มลิ ลเิ มตร 4. 210 มลิ ลเิ มตร X 300 มลิ ลิเมตร

ตอบ 1. แนวคดิ ข้อ 74.1.1 ขนำดเอ 4 หมำยควำมวำ่ ขนำด 210 มิลลเิ มตร x 297 มลิ ลิเมตร

120. มำตรฐำนกระดำษในระเบยี บน้ี “ขนำด เอ 5” มีขนำดตำมขอ้ ใด

1. หมำยควำมว่ำ ขนำด 148 มิลลิเมตร x 210 มิลลิเมตร

2. หมำยควำมว่ำ ขนำด 148 มิลลิเมตร x 211 มลิ ลเิ มตร

3. หมำยควำมว่ำ ขนำด 148 มิลลิเมตร x 212 มลิ ลเิ มตร

4. หมำยควำมว่ำ ขนำด 148 มิลลเิ มตร x 213 มลิ ลเิ มตร

ตอบ 1. แนวคิด ข้อ 74.1.2 ขนำดเอ 5 หมำยควำมว่ำ ขนำด 148 มิลลิเมตร x 210 มลิ ลิเมตร

121. มำตรฐำนกระดำษในระเบียบนี้ “ขนำด เอ 8” มขี นำดตำมขอ้ ใด

1. หมำยควำมว่ำ ขนำด 52 มิลลเิ มตร x 73 มิลลเิ มตร

2. หมำยควำมว่ำ ขนำด 52 มลิ ลเิ มตร x 74 มิลลิเมตร

3. หมำยควำมว่ำ ขนำด 52 มลิ ลเิ มตร x 75 มลิ ลเิ มตร

4. หมำยควำมวำ่ ขนำด 52 มิลลิเมตร x 76 มลิ ลิเมตร

ตอบ 2. แนวคดิ ข้อ 74.1.3 ขนำดเอ 8 หมำยควำมวำ่ ขนำด 52 มิลลิเมตร x 74 มิลลิเมตร
122. ในระเบยี บนี้ “ตรำรบั หนังสือ” มีวตั ถุประสงคต์ ำมข้อใด

1. ตรำท่ีใช้ประทับบนหนังสือ เพ่ือลงเลขทะเบยี นรบั หนงั สอื ตำมแบบท่ี 12 ทำ้ ยระเบียบ
2. ใช้สำหรับลงรำยกำรหนงั สือทไ่ี ดร้ บั เขำ้ เปน็ ประจำวนั โดยเรียงลำดับ ลงมำตำมเวลำทีไ่ ดร้ ับหนงั สือ
3. เปน็ บตั รกำกับหนงั สอื แต่ละรำยกำรเพ่ือให้ทรำบว่ำหนังสือนนั้ ๆ ไดม้ ีกำร ดำเนินกำรตำมลำดับข้ันตอน
อยำ่ งใด
4. ถูกทกุ ขอ้

ตอบ 1. แนวคดิ ข้อ 78. ตรำรับหนังสือ คอื ตรำที่ใช้ประทับบนหนงั สือ เพ่ือลงเลขทะเบยี นรับหนงั สือตำม
แบบท่ี 12 ท้ำยระเบียบ มลี กั ษณะเปน็ รูปสี่เหล่ยี มผืนผ้ำ ขนำด 2.5 เซนตเิ มตร x 5 เซนตเิ มตร มีช่อื ส่วนรำชกำร อยู่
ตอนบน

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 156

------------------------------------------------------------------------------
123. ในระเบยี บน้ี “บัตรตรวจค้น” มีควำมหมำยตำมข้อใด

1. เป็นบตั รกำกบั หนงั สอื แต่ละรำยกำรเพอื่ ให้ทรำบว่ำหนังสือนนั้ ๆ ไดม้ กี ำร ดำเนินกำรตำมลำดับขัน้ ตอน
อย่ำงใด จนกระทงั่ เสร็จสิ้น

2. เปน็ บตั รกำกับหนังสอื แต่ละรำยกำรเพอื่ ใหส้ ะดวกต่อกำรตรวจค้น
3. เปน็ บัตรกำกับหนังสอื แต่ละรำยกำรเพื่อสะดวกต่อกำรจดั เกบ็ รักษำ
4. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ 1. แนวคดิ ข้อ 82. บตั รตรวจคน้ เป็นบัตรกำกับหนงั สือแตล่ ะรำยกำรเพอื่ ให้ทรำบว่ำหนังสอื นั้นๆ ได้
มีกำรดำเนินกำรตำมลำดับข้ันตอนอยำ่ งใด จนกระทั่งเสร็จส้ิน บัตรนเ้ี ก็บเรยี งลำดบั กนั เป็นชุดในที่เกบ็ โดยมี
กระดำษติดเป็นบัตรดรรชนี ซ่งึ แบง่ ออกเป็นตอนๆ เพื่อสะดวกแก่กำรตรวจค้น มีขนำดเอ 5 พิมพส์ องหนำ้ ตำมแบบ
ท่ี 18 ทำ้ ยระเบียบ
124. ในระเบียบนี้ “บัญชฝี ำกหนงั สอื ” เป็นบัญชีที่ใช้สำหรับส่ิงใด
1. เปน็ บญั ชีทีใ่ ช้ลงรำยกำรหนังสือท่ี สว่ นรำชกำร นำฝำกไวก้ ับกอง จดหมำยเหตุแห่งชำติ กรมศิลปำกร มี
ลกั ษณะเปน็ แผน่ ขนำดเอ 4 พิมพส์ องหน้ำ
2. เป็นบญั ชีท่ใี ช้ลงรำยกำรหนงั สือที่ บคุ คลภำยนอก นำฝำกไวก้ บั กอง จดหมำยเหตแุ ห่งชำติ กรมศลิ ปำกร
มีลกั ษณะเป็นแผ่นขนำดเอ 4 พมิ พส์ องหน้ำ
3. เปน็ บญั ชีที่ใชล้ งรำยกำรหนงั สือท่ี สว่ นรำชกำร นำฝำกไว้กับหนว่ ยงำนรำชกำรอ่ืน มลี ักษณะเป็นแผน่
ขนำดเอ 4 พมิ พ์สองหนำ้
4. ไม่มขี ้อใดถกู
ตอบ 1. แนวคิด ข้อ 87. บญั ชฝี ำกหนงั สอื เปน็ บัญชีท่ีใชล้ งรำยกำรหนังสือที่สว่ นรำชกำรนำฝำกไว้กับกอง
จดหมำยเหตุแห่งชำติ กรมศิลปำกร มีลกั ษณะเปน็ แผน่ ขนำดเอ 4 พมิ พ์สองหน้ำ ตำมแบบที่ 23 ท้ำยระเบยี บ
125. ในระเบยี บน้ี “บตั รยมื หนังสือ” มวี ตั ถุประสงค์เพ่ือใช้ในกำรใด
1. ใช้สำหรบั เปน็ หลักฐำนแทนหนังสือท่ใี ห้ยมื ไป มีขนำด เอ 4 พิมพห์ น้ำเดยี ว
2. ใช้สำหรบั เปน็ หลักฐำนแทนหนงั สือที่รบั ไป มีขนำด เอ 4 พิมพ์หนำ้ เดียว
3. ใชส้ ำหรบั เปน็ หลักฐำนแทนหนังสือท่ีส่งไป มีขนำด เอ 4 พิมพ์หนำ้ เดยี ว
4. ใช้สำหรับเปน็ หลกั ฐำนแทนหนังสือทย่ี ืม มีขนำด เอ 4 พิมพห์ น้ำเดยี ว
ตอบ 1. แนวคิด ข้อ 88. บตั รยมื หนงั สือ ใช้สำหรับเป็นหลักฐำนแทนหนงั สือ ที่ให้ยมื ไป มขี นำดเอ 4 พิมพ์
หนำ้ เดยี ว ตำมแบบที่ 24 ท้ำยระเบยี บ

------------------------------

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 157

------------------------------------------------------------------------------

แนวขอ้ สอบระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. 2555

1. ระเบยี บสำนักนำยกรฐั มนตรีว่ำด้วยกำรลำของข้ำรำชกำรปี 2555 มีผลใช้บงั คับเมือ่ ใด

ก. 23 ม.ค. 2555 ข. 24 ม.ค. 2555 ค. 25 ม.ค. 2555 ง. 26 ม.ค. 2555

ตอบ ค.

2. ใครเปน็ ผู้รักษำกำรตำมระเบียบน้ี

ก. นำยกรัฐมนตรี ข. ปลดั สำนักนำยกรัฐมนตรี

ค. เลขำธกิ ำร ก.พ. ง. ปลัดกระทรวงศึกษำธกิ ำร

ตอบ ข. ขอ้ 4 ให้ปลดั สำนักนำยกรฐั มนตรีรกั ษำกำรตำมระเบยี บนี้ และมีอำนำจตคี วำมและวนิ ิจฉยั ปญั หำเกีย่ วกบั

กำรปฏบิ ัติตำมระเบยี บน้ี

3. กำรขออนุญำตไปต่ำงประเทศซ่งึ อยู่ติดเขตแดนประเทศไทย ให้ผ้วู ่ำรำชกำรจงั หวัดและนำยอำเภอในท้องทที่ ี่

มอี ำณำเขตตดิ ตอ่ กับประเทศนั้นมอี ำนำจอนุญำตให้ขำ้ รำชกำรในรำชกำรบรหิ ำรสว่ นภูมิภำคในสังกัดจงั หวดั หรือ

อำเภอน้นั ๆ ไปประเทศน้ันได้ครัง้ หนึ่งไมเ่ กินกวี่ ัน

ก. 5 วนั และ 2 วนั ตำมลำดบั ข. 5 วนั และ 3 วัน ตำมลำดับ

ค. 7 วัน และ 3 วัน ตำมลำดบั ง .9 วนั และ 5 วันตำมลำดบั

ตอบ ค. ขอ้ 14 กำรขออนุญำตไปตำ่ งประเทศซ่ึงอยตู่ ดิ เขตแดนประเทศไทย ใหผ้ วู้ ่ำรำชกำรจังหวัดและนำยอำเภอ

ในทอ้ งทที่ ีม่ อี ำณำเขตติดต่อกบั ประเทศนน้ั มีอำนำจอนุญำตให้ขำ้ รำชกำรในรำชกำรบริหำรส่วนภมู ิภำคในสงั กัด

จงั หวัดหรืออำเภอนั้น ๆ ไปประเทศนัน้ ไดค้ รง้ั หนึง่ ไม่เกนิ ๗ วนั และ ๓ วัน ตำมลำดบั

4. กำรลำแบง่ ออกเปน็ กีป่ ระเภท

ก. 10 ประเภท ข. 11 ประเภท ค. 12 ประเภท ง. 13 ประเภท

ตอบ ข. ข้อ 17 กำรลำแบ่งออกเป็น ๑๑ ประเภท ดงั ต่อไปนี้

(๑) กำรลำปว่ ย (๒) กำรลำคลอดบตุ ร (๓) กำรลำไปชว่ ยเหลือภริยำทีค่ ลอดบตุ ร (๔) กำรลำกจิ ส่วนตัว

(๕) กำรลำพกั ผ่อน (๖) กำรลำอปุ สมบทหรือกำรลำไปประกอบพธิ ฮี ัจย์ (๗) กำรลำเข้ำรับกำรตรวจเลอื กหรอื เขำ้ รบั

กำรเตรยี มพล (๘) กำรลำไปศกึ ษำ ฝึกอบรม ปฏิบตั ิกำรวิจยั หรือดูงำน (๙) กำรลำไปปฏิบตั งิ ำนในองคก์ ำรระหว่ำง

ประเทศ

(๑๐) กำรลำติดตำมคูส่ มรส(๑๑) กำรลำไปฟื้นฟสู มรรถภำพดำ้ นอำชีพ

5. ขอ้ ใดกล่ำวผดิ ตำมระเบียบว่ำด้วยกำรลำปี พ.ศ.2555

ก. ลำกจิ ธรุ ะ ข. ลำตดิ ตำมคู่สมรส

ค. ลำไปชว่ ยเหลือภรยิ ำที่คลอดบตุ ร ง. ลำไปฟืน้ ฟสู มรรถภำพดำ้ นอำชีพ

ตอบ ก. อธบิ ำยตำมข้อขำ้ งต้น

6. ข้ำรำชกำรซงึ่ ประสงคจ์ ะลำป่วยเพอื่ รักษำตัว ให้ปฏบิ ัติตำมขอ้ ใด

ก. ให้เสนอหรอื จัดสง่ ใบลำตอ่ ผ้บู งั คับบัญชำตำมลำดบั จนถึงผูม้ ีอำนำจอนุญำตกอ่ นหรือในวนั ทล่ี ำ

ข. จะเสนอหรือจัดสง่ ใบลำในวันแรกทม่ี ำปฏิบัติรำชกำรก็ได้

ค. ใหเ้ สนอหรือจดั ส่งใบลำต่อผบู้ ังคบั บญั ชำก่อนหรือในวันท่ลี ำล่วงหน้ำ 3 วนั

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 158

------------------------------------------------------------------------------
ง. ขอ้ ก. แล ข. ถกู

ตอบ ง. ขอ้ 18 ๑๘ ข้ำรำชกำรซ่ึงประสงคจ์ ะลำปว่ ยเพือ่ รักษำตัว ใหเ้ สนอหรือจดั สง่ ใบลำตอ่ ผู้บังคบั บัญชำ

ตำมลำดบั

จนถงึ ผ้มู ีอำนำจอนญุ ำตก่อนหรือในวันท่ีลำ เว้นแต่ในกรณีจำเป็น จะเสนอหรือจดั สง่ ใบลำในวนั แรกทม่ี ำปฏิบัติ

รำชกำรก็ได้

ในกรณีท่ีขำ้ รำชกำรผขู้ อลำมีอำกำรปว่ ยจนไม่สำมำรถจะลงชอื่ ในใบลำได้ จะใหผ้ อู้ ืน่ ลำแทนกไ็ ด้แตเ่ ม่ือ

สำมำรถลงชือ่ ไดแ้ ลว้ ให้เสนอหรือจัดส่งใบลำโดยเร็ว

กำรลำป่วยตงั้ แต่ ๓๐ วันขึ้นไป ตอ้ งมใี บรบั รองของแพทย์ซ่งึ เปน็ ผูท้ ี่ไดข้ นึ้ ทะเบียนและรับใบอนุญำตเปน็ ผู้

ประกอบวชิ ำชพี เวชกรรมแนบไปกับใบลำด้วย ในกรณีจำเป็นหรือเห็นสมควร ผู้มีอำนำจอนุญำตจะส่ังให้ใช้

ใบรับรองของแพทย์อ่นื ซง่ึ ผู้มีอำนำจอนุญำตเห็นชอบแทนกไ็ ด้

กำรลำปว่ ยไม่ถึง ๓๐ วนั ไมว่ ่ำจะเปน็ กำรลำครงั้ เดยี วหรือหลำยครง้ั ตดิ ตอ่ กนั ถำ้ ผูม้ ีอำนำจอนุญำต

เหน็ สมควร จะสงั่ ให้มใี บรบั รองของแพทยต์ ำมวรรคสำมประกอบใบลำ หรือสั่งให้ผ้ลู ำไปรบั กำรตรวจจำกแพทย์

ของทำงรำชกำรเพอ่ื ประกอบกำรพจิ ำรณำอนุญำตกไ็ ด้

7. กำรลำป่วยตง้ั แต่กว่ี ันข้ึนไป ต้องมใี บรบั รองของแพทย์ซง่ึ เป็นผู้ทไ่ี ดข้ ึ้นทะเบยี นและรบั ใบอนุญำตเป็นผู้

ประกอบวิชำชีพเวชกรรมแนบไปกบั ใบลำด้วย

ก. ตัง้ แต่ 7 วันขนึ้ ไป ข. ตั้งแต่ 15 วนั ขน้ึ ไป ค. ตง้ั แต่ 30 วนั ขึ้นไป ง .ตัง้ แต่ 45 วันขนึ้ ไป

ตอบ ค. อธบิ ำยตำมข้อข้ำงต้น

8. กำรลำคลอดบุตรจะลำในวันทีค่ ลอด ก่อน หรือหลงั วนั ทค่ี ลอดบุตรกไ็ ด้ แต่เมอื่ รวมวันลำแลว้ ต้องไมเ่ กนิ ก่ี

วนั

ก. ต้องไมเ่ กิน 30 วนั ข. ตอ้ งไม่เกิน 45 วนั ค. ตอ้ งไม่เกิน 60 วนั ง. ตอ้ งไม่เกิน 90 วนั

ตอบ ง. ขอ้ 19 ขำ้ รำชกำรซึง่ ประสงคจ์ ะลำคลอดบตุ ร ใหเ้ สนอหรือจัดส่งใบลำต่อผบู้ งั คบั บญั ชำตำมลำดบั จนถึงผู้มี

อำนำจอนุญำตกอ่ นหรอื ในวันท่ีลำ เว้นแตไ่ ม่สำมำรถจะลงชอ่ื ในใบลำได้ จะให้ผูอ้ น่ื ลำแทนก็ได้ แต่เมอื่ สำมำรถลง

ช่อื ได้แลว้ ให้เสนอหรอื จดั ส่งใบลำโดยเร็ว โดยไมต่ ้องมใี บรบั รองของแพทย์

กำรลำคลอดบตุ รจะลำในวันที่คลอด ก่อน หรือหลังวันที่คลอดบุตรกไ็ ด้ แต่เมอื่ รวมวันลำแลว้ ตอ้ งไม่เกนิ ๙๐

วนั

9. ข้ำรำชกำรซง่ึ ประสงค์จะลำไปช่วยเหลอื ภรยิ ำโดยชอบด้วยกฎหมำยทคี่ ลอดบุตรให้เสนอหรือจดั สง่ ใบลำต่อ

ผู้บงั คบั บญั ชำตำมลำดับจนถึงผู้มีอำนำจอนุญำตก่อนหรอื ในวันที่ลำภำยในกวี่ ันนับแต่วนั ทีค่ ลอดบุตร

ก. ภำยใน 30 วนั ข. ภำยใน 45 วนั ค. ภำยใน 60 วนั ง. ภำยใน 90 วนั

ตอบ ง. ข้อ 20 ข้ำรำชกำรซง่ึ ประสงค์จะลำไปชว่ ยเหลือภริยำโดยชอบดว้ ยกฎหมำยทค่ี ลอดบตุ รให้เสนอหรือจัดสง่

ใบลำต่อผบู้ งั คบั บัญชำตำมลำดับจนถึงผูม้ ีอำนำจอนญุ ำตกอ่ นหรือในวันทล่ี ำภำยใน ๙๐ วนั นบั แต่วันทค่ี ลอดบุตร

และให้มสี ทิ ธลิ ำไปช่วยเหลอื ภรยิ ำทีค่ ลอดบุตรคร้ังหน่งึ ติดตอ่ กันได้ไม่เกิน ๑๕ วันทำกำร

10. ตำมขอ้ 9. และให้มีสิทธิลำไปชว่ ยเหลือภรยิ ำทค่ี ลอดบตุ รครงั้ หนง่ึ ตดิ ตอ่ กันไดไ้ ม่เกินกี่วนั ทำกำร

ก. ไม่เกิน 7 วนั ทำกำร ข. ไม่เกิน 15 วันทำกำร ค. ไม่เกิน 30 วันทำกำร ง. ไม่เกนิ 45 วนั ทำกำร

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 159

------------------------------------------------------------------------------

ตอบ ข. อธบิ ำยตำมข้อข้ำงต้น

11. ขำ้ รำชกำรท่ีลำคลอดบุตรตำมข้อ 9. แล้ว หำกประสงค์จะลำกจิ สว่ นตัวเพ่อื เล้ยี งดูบุตรใหม้ ีสิทธลิ ำตอ่ เน่ือง

จำกกำรลำคลอดบตุ รไดไ้ มเ่ กินกี่วนั ทำกำร

ก. ไม่เกนิ 7 วันทำกำร ข. ไมเ่ กนิ 15 วันทำกำร ค. ไมเ่ กนิ 30 วันทำกำร ง. ไม่เกิน 45 วนั ทำกำร

ตอบ ข. ข้อ 22 ข้ำรำชกำรท่ีลำคลอดบุตรตำมข้อ ๑๙ แล้ว หำกประสงคจ์ ะลำกิจสว่ นตวั เพื่อเล้ียงดูบตุ รให้มีสทิ ธิลำ

ต่อเน่อื งจำกกำรลำคลอดบุตรได้ไมเ่ กนิ ๑๕๐ วนั ทำกำร

12. ข้ำรำชกำรมสี ทิ ธลิ ำพกั ผ่อนประจำปีในปงี บประมำณหนง่ึ ได้กวี่ ันทำกำรเว้นแตข่ ำ้ รำชกำรดังต่อไปน้ไี มม่ ี

สิทธลิ ำพกั ผอ่ นประจำปีในปีทไ่ี ด้รบั บรรจุเขำ้ รบั รำชกำรยังไมถ่ งึ 6 เดือน

ก. 7 วันทำกำร ข. 10 วันทำกำร ข. 12 วันทำกำร ง. 15 วนั ทำกำร

ตอบ ข. ขอ้ 23 ขำ้ รำชกำรมีสทิ ธิลำพักผอ่ นประจำปใี นปีงบประมำณหน่งึ ได้ ๑๐ วันทำกำร เว้นแตข่ ำ้ รำชกำร

ดงั ตอ่ ไปนี้ไม่มสี ทิ ธิลำพกั ผอ่ นประจำปีในปีทไี่ ด้รับบรรจุเข้ำรบั รำชกำรยังไม่ถงึ ๖ เดอื น

13. ถำ้ ในปีใดขำ้ รำชกำรผ้ใู ดมไิ ด้ลำพักผ่อนประจำปี หรอื ลำพักผ่อนประจำปีแล้วแตไ่ มค่ รบ 10 วนั ทำกำร ให้

สะสมวนั ทยี่ ังมไิ ด้ลำในปีนน้ั รวมเข้ำกบั ปีตอ่ ๆ ไปได้ แต่วันลำพกั ผ่อนสะสมรวมกบั วันลำพกั ผอ่ นในปปี จั จุบัน

จะต้องไมเ่ กนิ กว่ี ันทำกำร

ก. ไมเ่ กิน 7 วันทำกำร ข. ไมเ่ กนิ 15 วันทำกำร ค. ไม่เกิน 20 วันทำกำร ง. ไมเ่ กิน 30 วันทำกำร

ตอบ ค. ข้อ 24 ถ้ำในปีใดขำ้ รำชกำรผใู้ ดมไิ ดล้ ำพกั ผ่อนประจำปี หรอื ลำพักผอ่ นประจำปีแล้วแต่ไมค่ รบ ๑๐ วันทำ

กำร ใหส้ ะสมวนั ที่ยงั มิไดล้ ำในปีน้นั รวมเขำ้ กับปีต่อ ๆ ไปได้ แตว่ นั ลำพักผ่อนสะสมรวมกบั วนั ลำพักผ่อนในปี

ปจั จุบนั จะตอ้ งไม่เกิน ๒๐ วันทำกำร

สำหรับผู้ทีไ่ ด้รบั รำชกำรตดิ ต่อกนั มำแล้วไมน่ ้อยกวำ่ ๑๐ ปี ให้มีสิทธนิ ำวันลำพักผ่อนสะสมรวมกบั วนั ลำ

พักผ่อนในปปี จั จบุ นั ไดไ้ ม่เกิน ๓๐ วันทำกำร

14. สำหรับผู้ทไ่ี ดร้ ับรำชกำรตดิ ต่อกนั มำแล้วไม่น้อยกว่ำ 10 ปี ใหม้ สี ิทธนิ ำวนั ลำพักผ่อนสะสมรวมกับวันลำ

พักผอ่ นในปีปจั จุบนั ได้ไมเ่ กินกีว่ นั ทำกำร

ก. ไมเ่ กิน 7 วนั ทำกำร ข. ไม่เกนิ 15 วนั ทำกำร ค. ไม่เกนิ 20 วันทำกำร ง. ไม่เกิน 30 วนั ทำกำร

ตอบ ง. อธิบำยตำมขอ้ ขำ้ งต้น
15. ข้ำรำชกำรซง่ึ ประสงค์จะลำอุปสมบทในพระพทุ ธศำสนำ หรอื ข้ำรำชกำรที่นับถอื ศำสนำอิสลำมซ่ึงประสงค์
จะลำไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ เมอื งเมกกะ ประเทศซำอุดอี ำระเบีย ให้เสนอหรือจัดสง่ ใบลำตอ่ ผู้บงั คบั บญั ชำ
ตำมลำดับจนถึงผมู้ อี ำนำจพจิ ำรณำหรอื อนุญำตกอ่ นวันอปุ สมบทหรือก่อนวนั เดินทำงไปประกอบพิธฮี จั ย์ไมน่ ้อย
กวำ่ กว่ี ัน

ก. ไม่น้อยกวำ่ 45 วนั ข. ไมน่ ้อยกว่ำ 60 วนั ค. ไมน่ อ้ ยกวำ่ 90 วนั ง. ไมน่ ้อยกว่ำ 120 วนั

ตอบ ข. ขอ้ 29 ขำ้ รำชกำรซ่งึ ประสงคจ์ ะลำอปุ สมบทในพระพุทธศำสนำ หรือข้ำรำชกำรท่นี บั ถอื ศำสนำอสิ ลำมซึง่
ประสงคจ์ ะลำไปประกอบพิธฮี ัจย์ ณ เมอื งเมกกะ ประเทศซำอุดอี ำระเบีย ให้เสนอหรือจดั ส่งใบลำต่อผ้บู งั คบั บัญชำ
ตำมลำดับจนถึงผมู้ ีอำนำจพิจำรณำหรืออนุญำตกอ่ นวนั อุปสมบทหรอื กอ่ นวนั เดินทำงไปประกอบพธิ ีฮัจยไ์ ม่น้อย
กว่ำ ๖๐ วนั

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 160

------------------------------------------------------------------------------
16. ข้ำรำชกำรทไ่ี ด้รับพระรำชทำนพระบรมรำชำนุญำตใหล้ ำอุปสมบทหรือได้รบั อนุญำตให้ลำไปประกอบพธิ ี

ฮจั ยต์ ำมข้อข้ำงตน้ แลว้ จะต้องอุปสมบทหรือออกเดินทำงไปประกอบพธิ ีฮัจยภ์ ำยใน 10 วันนับแตว่ นั เรม่ิ ลำ และ

จะตอ้ งกลับมำรำยงำนตัวเข้ำปฏิบตั ิรำชกำรภำยในกี่วันนับแต่วันที่ลำสกิ ขำหรือวนั ท่ีเดินทำงกลับถึงประเทศไทย

หลงั จำกกำรเดินทำงไปประกอบพิธีฮัจย์

ก. ภำยใน 3 วนั ข. ภำยใน 5 วนั ค. ภำยใน 7 วนั ง. ภำยใน 10 วนั

ตอบ ข. ข้อ 30 ข้ำรำชกำรทไ่ี ด้รับพระรำชทำนพระบรมรำชำนญุ ำตให้ลำอุปสมบทหรือได้รับอนญุ ำตใหล้ ำไป

ประกอบพธิ ฮี จั ยต์ ำมข้อ ๒๙ แลว้ จะต้องอปุ สมบทหรือออกเดนิ ทำงไปประกอบพธิ ีฮัจยภ์ ำยใน ๑๐ วันนับแต่วันเรม่ิ

ลำ และจะตอ้ งกลบั มำรำยงำนตัวเข้ำปฏิบัติรำชกำรภำยใน ๕ วนั นับแตว่ ันทล่ี ำสิกขำหรือวันทเ่ี ดินทำงกลบั ถึง

ประเทศไทยหลงั จำกกำรเดินทำงไปประกอบพิธฮี ัจย์ ทั้งน้ี จะต้องนับรวมอยูภ่ ำยในระยะเวลำทีไ่ ดร้ ับอนุญำตกำร

ลำ

17. กำรลำเข้ำรบั กำรตรวจเลือกหรอื เข้ำรับกำรเตรยี มพล สำหรับขำ้ รำชกำรที่ได้รบั หมำยเรียกเขำ้ รับกำรตรวจ

เลอื ก ใหร้ ำยงำนลำต่อผ้บู งั คับบัญชำก่อนวันเขำ้ รับกำรตรวจเลอื กไมน่ ้อยกวำ่ ก่ชี ัว่ โมง

ก. ไม่น้อยกว่ำ 12 ชั่วโมง ข. ไม่นอ้ ยกวำ่ 24 ช่ัวโมง

ค. ไม่น้อยกว่ำ 48 ชั่วโมง ง .ไม่น้อยกว่ำ 72 ชั่วโมง

ตอบ ค. ข้อ 31 ขำ้ รำชกำรทไี่ ด้รับหมำยเรียกเข้ำรับกำรตรวจเลือก ให้รำยงำนลำตอ่ ผูบ้ ังคับบัญชำก่อนวนั เขำ้ รบั กำร

ตรวจเลอื กไมน่ ้อยกวำ่ ๔๘ ช่ัวโมง ส่วนขำ้ รำชกำรทไ่ี ด้รบั หมำยเรียกเขำ้ รับกำรเตรยี มพลให้รำยงำนลำตอ่

ผู้บังคบั บัญชำภำยใน ๔๘ ช่วั โมงนับแต่เวลำรบั หมำยเรียกเปน็ ต้นไปและให้ไปเข้ำรบั กำรตรวจเลือก หรอื เขำ้ รับกำร

เตรียมพลตำมวันเวลำในหมำยเรยี กน้ันโดยไมต่ อ้ งรอรบั คำสั่งอนญุ ำต และใหผ้ ู้บังคับบัญชำเสนอรำยงำนลำไป

ตำมลำดบั จนถึงหวั หน้ำสว่ นรำชกำรขน้ึ ตรงหรือหวั หนำ้ ส่วนรำชกำร

18. ขำ้ รำชกำรทีล่ ำไปปฏิบตั ิงำนในองคก์ ำรระหว่ำงประเทศที่มีระยะเวลำไมเ่ กนิ 1 ปี เมื่อปฏิบัตงิ ำนแลว้ เสร็จ

ใหร้ ำยงำนตัวเข้ำปฏิบัติหน้ำทร่ี ำชกำรภำยใน กี่วัน นับแต่วันครบกำหนดเวลำ

ก. ภำยใน 7 วนั ข. ภำยใน 15 วนั ค. ภำยใน 30 วนั ง. ภำยใน 45 วนั

ตอบ ข. ข้อ 35 ข้ำรำชกำรท่ีลำไปปฏิบตั งิ ำนในองค์กำรระหวำ่ งประเทศท่ีมีระยะเวลำไมเ่ กนิ ๑ ปี เมือ่ ปฏิบตั ิงำนแล้ว

เสร็จ ให้รำยงำนตวั เข้ำปฏบิ ัติหนำ้ ทร่ี ำชกำรภำยใน ๑๕ วัน นบั แตว่ ันครบกำหนดเวลำและให้รำยงำนผลเกีย่ วกบั

กำรลำไปปฏบิ ัตงิ ำนให้รฐั มนตรีเจ้ำสังกดั ทรำบภำยใน ๓๐ วนั นับแต่วนั ทก่ี ลบั มำปฏบิ ัตหิ นำ้ ที่รำชกำร

19. ตำมขอ้ ขำ้ งต้นและให้รำยงำนผลเกย่ี วกับกำรลำไปปฏบิ ัติงำนให้รัฐมนตรเี จ้ำสังกดั ทรำบภำยในกวี่ ัน นบั แต่

วันทกี่ ลับมำปฏบิ ัตหิ น้ำทีร่ ำชกำร

ก. ภำยใน 7 วนั ข. ภำยใน 15 วัน ค. ภำยใน 30 วนั ง. ภำยใน 45 วนั

ตอบ ค. อธิบำยตำมขอ้ ขำ้ งต้น

20. ข้ำรำชกำรผูใ้ ดไดร้ บั อันตรำยหรอื กำรปว่ ยเจบ็ เพรำะเหตปุ ฏบิ ตั ิรำชกำรในหน้ำที่หรอื ถูกประทษุ รำ้ ยเพรำะ

เหตกุ ระทำกำรตำมหนำ้ ที่ จนทำให้ตกเป็นผ้ทู พุ พลภำพหรือพกิ ำร หำกขำ้ รำชกำรผ้นู ้ันประสงค์จะลำไปเข้ำรบั กำร

ฝึกอบรมหลักสูตรเกี่ยวกบั กำรฟื้นฟูสมรรถภำพทจ่ี ำเปน็ ต่อกำรปฏิบัตหิ นำ้ ทรี่ ำชกำร หรอื ทจ่ี ำเป็นตอ่ กำรประกอบ

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 161

------------------------------------------------------------------------------
อำชพี แลว้ แตก่ รณี มีสิทธิลำไปฟน้ื ฟูสมรรถภำพด้ำนอำชีพครง้ั หนึง่ ได้ตำมระยะเวลำที่กำหนดไว้ในหลักสตู รที่

ประสงค์จะลำ แตไ่ ม่เกนิ กเ่ี ดือน

ก. ไมเ่ กิน 3 เดือน ข. ไม่เกนิ 6 เดอื น ค. ไม่เกิน 9 เดอื น ง. ไม่เกิน

12 เดอื น

ตอบ ง. ข้อ 39 ข้ำรำชกำรผ้ใู ดไดร้ บั อันตรำยหรือกำรป่วยเจบ็ เพรำะเหตุปฏบิ ัตริ ำชกำรในหนำ้ ทห่ี รือถูกประทุษร้ำย

เพรำะเหตุกระทำกำรตำมหน้ำที่ จนทำใหต้ กเป็นผทู้ ุพพลภำพหรือพกิ ำร หำกขำ้ รำชกำรผ้นู นั้ ประสงค์จะลำไปเข้ำ

รบั กำรฝึกอบรมหลกั สตู รเกีย่ วกับกำรฟน้ื ฟสู มรรถภำพที่จำเป็นต่อกำรปฏบิ ตั ิหนำ้ ท่รี ำชกำร หรือทจี่ ำเปน็ ต่อกำร

ประกอบอำชพี แล้วแต่กรณี มีสทิ ธิลำไปฟน้ื ฟูสมรรถภำพดำ้ นอำชีพครง้ั หนงึ่ ไดต้ ำมระยะเวลำที่กำหนดไวใ้ น

หลักสูตรที่ประสงคจ์ ะลำ แต่ไมเ่ กนิ ๑๒ เดือน

---------------------------

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 162

------------------------------------------------------------------------------
พระราชบัญญัติ

การศึกษาแหง่ ชาติ

พ.ศ. ๒๕๔๒

______________

ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี ๑๔ สิงหำคม พ.ศ. ๒๕๔๒

เปน็ ปที ่ี ๕๔ ในรัชกำลปัจจบุ ัน

พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมรำชโองกำรโปรดเกล้ำฯให้ประกำศ

วำ่

โดยทีเ่ ปน็ กำรสมควรให้มีกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรศึกษำแหง่ ชำติ

พระรำชบญั ญตั ิน้ีมีบทบัญญัติบำงประกำรเก่ยี วกบั กำรจำกดั สิทธิและเสรภี ำพของบคุ คล ซ่งึ มำตรำ

๒๙ ประกอบกับมำตรำ ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอำศัยอำนำจตำม

บทบญั ญัติแหง่ กฎหมำย

จึงทรงพระกรุณำโปรดเกลำ้ ฯ ให้ตรำพระรำชบัญญัติขน้ึ ไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภำ

ดงั ต่อไปน้ี

มาตรา ๑ พระรำชบัญญัตินี้เรียกวำ่ “พระรำชบัญญัติกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ. ๒๕๔๒”

มาตรา ๒[๑] พระรำชบัญญตั ินใ้ี หใ้ ชบ้ งั คบั ตั้งแต่วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นตน้

ไป

มาตรา ๓ บรรดำบทกฎหมำย กฎ ขอ้ บงั คับ ระเบยี บ ประกำศ และคำสั่งอ่ืน ในส่วนที่ได้บญั ญัตไิ ว้

แลว้ ในพระรำชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขดั หรือแยง้ กบั บทแห่งพระรำชบัญญัตนิ ี้ ใหใ้ ช้พระรำชบัญญัตนิ ้ีแทน

มาตรา ๔ ในพระรำชบัญญัตินี้

“กำรศึกษำ” หมำยควำมว่ำ กระบวนกำรเรยี นรู้เพื่อควำมเจรญิ งอกงำมของบุคคลและสังคมโดย

กำรถ่ำยทอดควำมรู้ กำรฝกึ กำรอบรม กำรสืบสำนทำงวฒั นธรรม กำรสรำ้ งสรรค์จรรโลงควำมกำ้ วหน้ำทำงวิชำกำร

กำรสรำ้ งองค์ควำมรู้อนั เกิดจำกกำรจัดสภำพแวดล้อม สังคม กำรเรียนรู้และปจั จยั เก้อื หนนุ ให้บุคคลเรยี นรอู้ ย่ำง

ตอ่ เน่อื งตลอดชวี ิต

“กำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน” หมำยควำมว่ำ กำรศกึ ษำกอ่ นระดับอดุ มศกึ ษำ

“กำรศึกษำตลอดชวี ิต” หมำยควำมวำ่ กำรศึกษำท่ีเกดิ จำกกำรผสมผสำนระหว่ำงกำรศึกษำใน

ระบบ กำรศกึ ษำนอกระบบ และกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั เพอื่ ให้สำมำรถพฒั นำคณุ ภำพชีวิตได้อยำ่ งต่อเนอื่ งตลอด

ชวี ติ

“สถำนศึกษำ” หมำยควำมวำ่ สถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั โรงเรยี น ศนู ย์กำรเรยี น วิทยำลยั สถำบัน

มหำวิทยำลยั หน่วยงำนกำรศึกษำ หรอื หนว่ ยงำนอ่ืนของรัฐหรือของเอกชน ท่ีมอี ำนำจหน้ำที่หรือ

___________

[๑] รำชกจิ จำนุเบกษำ เลม่ ๑๑๖/ตอนท่ี ๗๔ ก/หนำ้ ๑/๑๙ สงิ หำคม ๒๕๔๒

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 163

------------------------------------------------------------------------------
มีวัตถปุ ระสงค์ในกำรจัดกำรศึกษำ

“สถำนศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน” หมำยควำมวำ่ สถำนศกึ ษำท่จี ดั กำรศึกษำข้ันพนื้ ฐำน

“มำตรฐำนกำรศึกษำ” หมำยควำมวำ่ ขอ้ กำหนดเก่ยี วกบั คุณลักษณะ คณุ ภำพ ท่ีพึงประสงคแ์ ละ
มำตรฐำนทต่ี ้องกำรให้เกดิ ขึ้นในสถำนศึกษำทุกแหง่ และเพ่อื ใชเ้ ปน็ หลักในกำรเทยี บเคียงสำหรับกำรสง่ เสริมและ
กำกบั ดูแล กำรตรวจสอบ กำรประเมินผล และกำรประกนั คณุ ภำพทำงกำรศึกษำ

“กำรประกนั คุณภำพภำยใน” หมำยควำมวำ่ กำรประเมินผลและกำรตดิ ตำมตรวจสอบคุณภำพและ

มำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำจำกภำยใน โดยบุคลำกรของสถำนศึกษำน้ันเอง หรอื โดยหน่วยงำนต้นสังกัดท่ีมี
หนำ้ ที่กำกบั ดูแลสถำนศึกษำน้นั

“กำรประกนั คณุ ภำพภำยนอก” หมำยควำมวำ่ กำรประเมินผลและกำรตดิ ตำมตรวจสอบคณุ ภำพ

และมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำจำกภำยนอก โดยสำนักงำนรับรองมำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศกึ ษำ
หรือบุคคลหรือหน่วยงำนภำยนอกท่สี ำนักงำนดงั กลำ่ วรับรอง เพอื่ เป็นกำรประกนั คุณภำพและใหม้ ีกำรพัฒนำ
คณุ ภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ

“ผู้สอน” หมำยควำมว่ำ ครแู ละคณำจำรยใ์ นสถำนศึกษำระดบั ต่ำง ๆ

“ครู” หมำยควำมวำ่ บุคลำกรวิชำชพี ซึ่งทำหน้ำทห่ี ลักทำงด้ำนกำรเรียนกำรสอนและกำรสง่ เสริม

กำรเรยี นรขู้ องผู้เรยี นด้วยวธิ ีกำรตำ่ ง ๆ ในสถำนศกึ ษำท้งั ของรัฐและเอกชน
“คณำจำรย์” หมำยควำมว่ำ บุคลำกรซึง่ ทำหน้ำทีห่ ลักทำงดำ้ นกำรสอนและกำรวิจยั ในสถำนศึกษำ

ระดบั อุดมศกึ ษำระดบั ปริญญำของรัฐและเอกชน

“ผ้บู รหิ ำรสถำนศกึ ษำ” หมำยควำมว่ำ บคุ ลำกรวิชำชีพท่รี ับผดิ ชอบกำรบรหิ ำรสถำนศึกษำแตล่ ะ
แห่ง ทง้ั ของรฐั และเอกชน

“ผู้บริหำรกำรศึกษำ” หมำยควำมว่ำ บคุ ลำกรวิชำชพี ท่รี บั ผิดชอบกำรบริหำรกำรศกึ ษำนอก

สถำนศึกษำต้ังแตร่ ะดบั เขตพ้ืนทก่ี ำรศึกษำขนึ้ ไป
“บคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ” หมำยควำมวำ่ ผูบ้ ริหำรสถำนศึกษำ ผบู้ รหิ ำรกำรศึกษำ รวมท้ัง

ผู้สนับสนุนกำรศึกษำซึง่ เป็นผูท้ ำหน้ำทีใ่ หบ้ รกิ ำร หรือปฏิบัติงำนเกย่ี วเนอ่ื งกบั กำรจัดกระบวนกำรเรยี นกำรสอน

กำรนิเทศ และกำรบริหำรกำรศึกษำในหนว่ ยงำนกำรศึกษำต่ำง ๆ

“กระทรวง”[๒] หมำยควำมวำ่ กระทรวงศึกษำธกิ ำร
“รฐั มนตรี” หมำยควำมวำ่ รฐั มนตรีผ้รู ักษำกำรตำมพระรำชบญั ญัติน้ี

มาตรา ๕[๓] ใหร้ ฐั มนตรีวำ่ กำรกระทรวงศกึ ษำธิกำรรกั ษำกำรตำมพระรำชบญั ญัติน้ี และมอี ำนำจ
ออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกำศ เพื่อปฏิบัติกำรตำมพระรำชบัญญัตินี้

กฎกระทรวง ระเบียบ และประกำศน้ัน เมื่อได้ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำแล้วให้ใช้บังคบั ได้

____________
[๒] มำตรำ ๔ นิยำมคำว่ำ “กระทรวง” แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๓] มำตรำ ๕ แกไ้ ขเพมิ่ เติมโดยพระรำชบญั ญตั ิกำรศกึ ษำแห่งชำติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 164

------------------------------------------------------------------------------
หมวด ๑

บททัว่ ไป

ความมงุ่ หมายและหลกั การ

________________
มาตรา ๖ กำรจัดกำรศึกษำต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนำคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังรำ่ งกำย
จติ ใจ สตปิ ัญญำ ควำมรู้ และคณุ ธรรม มีจริยธรรมและวฒั นธรรมในกำรดำรงชีวิต สำมำรถอย่รู ว่ มกับผู้อน่ื ได้อย่ำงมี
ควำมสุข
มาตรา ๗ ในกระบวนกำรเรียนรตู้ ้องม่งุ ปลูกฝงั จติ สำนึกทีถ่ กู ต้องเกยี่ วกับกำรเมืองกำรปกครองใน
ระบอบประชำธปิ ไตยอันมพี ระมหำกษตั ริย์ทรงเป็นประมุข รจู้ กั รักษำและสง่ เสรมิ สทิ ธิ หนำ้ ท่ี เสรีภำพ ควำมเคำรพ
กฎหมำย ควำมเสมอภำค และศกั ดิ์ศรีควำมเปน็ มนษุ ย์ มคี วำมภำคภมู ิใจในควำมเป็นไทย รู้จักรกั ษำผลประโยชน์

ส่วนรวมและของประเทศชำติ รวมทั้งส่งเสรมิ ศำสนำ ศลิ ปะ วฒั นธรรมของชำติ กำรกีฬำ ภมู ปิ ัญญำท้องถ่ิน ภูมิ
ปัญญำไทย และควำมรู้อนั เป็นสำกล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อม มีควำมสำมำรถในกำร
ประกอบอำชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีควำมริเริ่มสร้ำงสรรค์ ใฝ่รู้และเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองอย่ำงตอ่ เนอ่ื ง

มาตรา ๘ กำรจัดกำรศึกษำให้ยึดหลกั ดังน้ี
(๑) เป็นกำรศึกษำตลอดชีวิตสำหรบั ประชำชน
(๒) ให้สังคมมสี ่วนร่วมในกำรจดั กำรศึกษำ
(๓) กำรพัฒนำสำระและกระบวนกำรเรียนรใู้ ห้เป็นไปอยำ่ งตอ่ เนอ่ื ง
มาตรา ๙ กำรจดั ระบบ โครงสรำ้ ง และกระบวนกำรจัดกำรศึกษำ ให้ยึดหลกั ดงั นี้
(๑) มเี อกภำพด้ำนนโยบำย และมคี วำมหลำกหลำยในกำรปฏิบตั ิ
(๒) มกี ำรกระจำยอำนำจไปสู่เขตพ้นื ท่ีกำรศกึ ษำ สถำนศึกษำ และองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ
(๓) มีกำรกำหนดมำตรฐำนกำรศึกษำ และจดั ระบบประกันคณุ ภำพกำรศึกษำทกุ ระดบั และ
ประเภทกำรศกึ ษำ
(๔) มีหลกั กำรสง่ เสริมมำตรฐำนวชิ ำชพี ครู คณำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ และกำรพัฒนำ
ครู คณำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำอยำ่ งตอ่ เนื่อง
(๕) ระดมทรัพยำกรจำกแหล่งตำ่ ง ๆ มำใช้ในกำรจดั กำรศึกษำ
(๖) กำรมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชุมชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน
องค์กรเอกชน องค์กรวิชำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบันสงั คมอ่ืน

หมวด ๒

สิทธแิ ละหน้าท่ีทางการศึกษา

______________
มาตรา ๑๐ กำรจัดกำรศกึ ษำ ตอ้ งจัดให้บคุ คลมีสิทธแิ ละโอกำสเสมอกันในกำรรบั กำรศกึ ษำข้นั
พ้ืนฐำนไม่น้อยกวำ่ สบิ สองปที ี่รัฐต้องจัดให้อย่ำงท่วั ถึงและมคี ณุ ภำพโดยไมเ่ ก็บค่ำใชจ้ ่ำย
กำรจดั กำรศึกษำสำหรับบุคคลซงึ่ มีควำมบกพร่องทำงร่ำงกำย จิตใจ สติปัญญำ อำรมณ์ สงั คม กำร

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 165

------------------------------------------------------------------------------
ส่อื สำร และกำรเรยี นรู้ หรือมีรำ่ งกำยพกิ ำรหรือทพุ พลภำพ หรอื บคุ คลซึ่งไม่สำมำรถพ่งึ ตนเองได้หรือไมม่ ผี ู้ดูแล
หรือดอ้ ยโอกำส ต้องจดั ให้บุคคลดังกลำ่ วมสี ทิ ธแิ ละโอกำสได้รับกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำนเป็นพเิ ศษ

กำรศึกษำสำหรับคนพกิ ำรในวรรคสอง ให้จดั ตงั้ แต่แรกเกดิ หรือพบควำมพกิ ำรโดยไม่เสยี
คำ่ ใช้จำ่ ย และให้บคุ คลดงั กลำ่ วมสี ทิ ธไิ ด้รบั สง่ิ อำนวยควำมสะดวก สื่อ บริกำร และควำมช่วยเหลอื อื่นใดทำง
กำรศึกษำ ตำมหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ำรที่กำหนดในกฎกระทรวง

กำรจัดกำรศกึ ษำสำหรบั บุคคลซ่ึงมคี วำมสำมำรถพิเศษ ต้องจัดด้วยรปู แบบท่ีเหมำะสมโดยคำนึงถึง
ควำมสำมำรถของบุคคลนนั้

มาตรา ๑๑ บิดำ มำรดำ หรือผปู้ กครองมหี นำ้ ท่ีจดั ใหบ้ ุตรหรอื บุคคลซงึ่ อยใู่ นควำมดูแลได้รับ
กำรศึกษำภำคบังคบั ตำมมำตรำ ๑๗ และตำมกฎหมำยท่เี ก่ียวขอ้ งตลอดจนให้ได้รบั กำรศกึ ษำนอกเหนือจำก
กำรศึกษำภำคบงั คับ ตำมควำมพร้อมของครอบครัว

มาตรา ๑๒ นอกเหนือจำกรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว
องคก์ รชุมชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวิชำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบันสงั คมอ่ืน มสี ทิ ธิในกำร
จดั กำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน ท้งั นี้ ใหเ้ ป็นไปตำมท่กี ำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๓ บดิ ำ มำรดำ หรือผูป้ กครองมสี ทิ ธิไดร้ ับสทิ ธปิ ระโยชน์ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) กำรสนับสนนุ จำกรัฐ ให้มคี วำมรคู้ วำมสำมำรถในกำรอบรมเลย้ี งดู และกำรให้กำรศึกษำแก่
บตุ รหรือบุคคลซึง่ อยใู่ นควำมดแู ล
(๒) เงินอดุ หนนุ จำกรฐั สำหรับกำรจดั กำรศกึ ษำขนั้ พ้ืนฐำนของบตุ รหรือบคุ คลซ่งึ อยู่ในควำมดูแล
ทคี่ รอบครวั จัดให้ ทง้ั นี้ ตำมที่กฎหมำยกำหนด
(๓) กำรลดหย่อนหรอื ยกเว้นภำษสี ำหรับคำ่ ใชจ้ ำ่ ยกำรศกึ ษำตำมท่ีกฎหมำยกำหนด

มาตรา ๑๔ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชำชพี สถำบันศำสนำ
สถำนประกอบกำร และสถำบันสังคมอ่ืน ซ่ึงสนับสนุนหรือจัดกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน มีสิทธไิ ดร้ บั สิทธปิ ระโยชน์
ตำมควรแกก่ รณี ดงั ต่อไปนี้

(๑) กำรสนบั สนนุ จำกรฐั ให้มีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรอบรมเลีย้ งดูบคุ คลซึ่งอยใู่ นควำมดแู ล
รบั ผดิ ชอบ

(๒) เงนิ อุดหนุนจำกรัฐสำหรับกำรจดั กำรศึกษำขั้นพื้นฐำนตำมทกี่ ฎหมำยกำหนด
(๓) กำรลดหย่อนหรอื ยกเว้นภำษีสำหรับค่ำใช้จ่ำยกำรศึกษำตำมทก่ี ฎหมำยกำหนด

หมวด ๓

ระบบการศึกษา

___________
มาตรา ๑๕ กำรจดั กำรศึกษำมีสำมรูปแบบ คอื กำรศึกษำในระบบ กำรศึกษำนอกระบบ และ
กำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัย
(๑) กำรศกึ ษำในระบบ เป็นกำรศกึ ษำทีก่ ำหนดจุดมงุ่ หมำย วิธีกำรศกึ ษำ หลกั สูตร ระยะเวลำของ
กำรศึกษำ กำรวัดและประเมินผล ซ่งึ เป็นเง่ือนไขของกำรสำเรจ็ กำรศึกษำทแ่ี น่นอน

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 166

------------------------------------------------------------------------------
(๒) กำรศกึ ษำนอกระบบ เป็นกำรศึกษำทมี่ ีควำมยดื หย่นุ ในกำรกำหนดจุดมุง่ หมำย รปู แบบ

วิธกี ำรจดั กำรศึกษำ ระยะเวลำของกำรศกึ ษำ กำรวัดและประเมนิ ผล ซึ่งเป็นเงือ่ นไขสำคัญของกำรสำเร็จกำรศึกษำ
โดยเนื้อหำและหลักสตู รจะต้องมคี วำมเหมำะสมสอดคล้องกับสภำพปัญหำและควำมต้องกำรของบุคคลแตล่ ะกลมุ่

(๓) กำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั เป็นกำรศกึ ษำท่ีใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ รยี นรดู้ ้วยตนเองตำมควำมสนใจ ศักยภำพ
ควำมพร้อม และโอกำส โดยศกึ ษำจำกบุคคล ประสบกำรณ์ สังคม สภำพแวดลอ้ ม ส่ือ หรอื แหล่งควำมรู้อ่ืน ๆ

สถำนศกึ ษำอำจจดั กำรศึกษำในรูปแบบใดรปู แบบหนึ่งหรือทง้ั สำมรปู แบบก็ได้
ให้มกี ำรเทยี บโอนผลกำรเรียนท่ีผเู้ รยี นสะสมไว้ในระหว่ำงรูปแบบเดยี วกนั หรือตำ่ งรูปแบบได้ ไม่
ว่ำจะเปน็ ผลกำรเรียนจำกสถำนศกึ ษำเดียวกันหรือไมก่ ต็ ำม รวมทั้งจำกกำรเรยี นรนู้ อกระบบ ตำมอธั ยำศยั กำรฝกึ อำชพี
หรือจำกประสบกำรณ์กำรทำงำน

มาตรา ๑๖ กำรศึกษำในระบบมสี องระดบั คอื กำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน และกำรศึกษำ
ระดับอุดมศกึ ษำ

กำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำนประกอบด้วย กำรศึกษำซ่ึงจดั ไมน่ ้อยกว่ำสิบสองปีก่อนระดับอุดมศกึ ษำ กำร
แบ่งระดับและประเภทของกำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน ใหเ้ ปน็ ไปตำมทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง

กำรศึกษำระดับอุดมศกึ ษำแบ่งเปน็ สองระดับ คือ ระดบั ตำ่ กว่ำปริญญำ และระดับปริญญำ
กำรแบ่งระดบั หรือกำรเทียบระดับกำรศึกษำนอกระบบหรือกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย ใหเ้ ปน็ ไป
ตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๗ ให้มีกำรศกึ ษำภำคบงั คับจำนวนเก้ำปี โดยให้เด็กซง่ึ มีอำยยุ ่ำงเข้ำปที เ่ี จ็ด เข้ำเรยี นใน
สถำนศึกษำขนั้ พ้ืนฐำนจนอำยยุ ำ่ งเขำ้ ปีทีส่ ิบหก เว้นแตส่ อบไดช้ ้นั ปีทเ่ี ก้ำของกำรศกึ ษำภำคบงั คบั หลักเกณฑแ์ ละ
วธิ ีกำรนับอำยุใหเ้ ป็นไปตำมทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๘ กำรจดั กำรศึกษำปฐมวยั และกำรศึกษำขน้ั พ้นื ฐำนให้จัดในสถำนศกึ ษำ ดังต่อไปน้ี
(๑) สถำนพัฒนำเดก็ ปฐมวัย ไดแ้ ก่ ศูนย์เดก็ เลก็ ศนู ย์พฒั นำเดก็ เล็ก ศูนย์พฒั นำเดก็ ก่อนเกณฑ์ของ
สถำบันศำสนำ ศนู ย์บริกำรช่วยเหลอื ระยะแรกเร่มิ ของเดก็ พกิ ำรและเดก็ ซ่ึงมคี วำมตอ้ งกำรพเิ ศษ หรือสถำนพัฒนำ
เด็กปฐมวยั ทเี่ รยี กช่ืออย่ำงอ่ืน
(๒) โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนของรัฐ โรงเรยี นเอกชน และโรงเรียนทส่ี ังกดั สถำบันพทุ ธศำสนำ
หรือศำสนำอ่ืน
(๓) ศนู ยก์ ำรเรียน ได้แก่ สถำนที่เรียนท่ีหนว่ ยงำนจดั กำรศึกษำนอกโรงเรยี น บคุ คล ครอบครัว ชุมชน
องค์กรชุมชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ องค์กรเอกชน องคก์ รวิชำชพี สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร โรงพยำบำล
สถำบันทำงกำรแพทย์ สถำนสงเครำะห์ และสถำบนั สังคมอ่ืนเป็นผู้จดั
มาตรา ๑๙ กำรจัดกำรศกึ ษำระดบั อดุ มศึกษำใหจ้ ดั ในมหำวิทยำลยั สถำบนั วทิ ยำลยั หรอื
หน่วยงำนที่เรียกช่ืออยำ่ งอื่น ทง้ั น้ี ให้เปน็ ไปตำมกฎหมำยเกย่ี วกับสถำนศกึ ษำระดบั อดุ มศกึ ษำ กฎหมำยว่ำด้วยกำร
จัดต้ังสถำนศึกษำนนั้ ๆ และกฎหมำยที่เกย่ี วข้อง
มาตรา ๒๐ กำรจัดกำรอำชวี ศึกษำ กำรฝกึ อบรมวิชำชีพ ให้จัดในสถำนศกึ ษำของรัฐสถำนศกึ ษำของ
เอกชน สถำนประกอบกำร หรอื โดยควำมรว่ มมือระหวำ่ งสถำนศึกษำกบั สถำนประกอบกำร ทัง้ น้ี ให้เป็นไปตำม

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 167

------------------------------------------------------------------------------
กฎหมำยว่ำดว้ ยกำรอำชีวศึกษำและกฎหมำยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

มาตรา ๒๑ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสำหกจิ และหน่วยงำนอืน่ ของรัฐ อำจจัดกำรศกึ ษำเฉพำะ
ทำงตำมควำมต้องกำรและควำมชำนำญของหนว่ ยงำนนัน้ ได้ โดยคำนึงถึงนโยบำยและมำตรฐำนกำรศึกษำของ
ชำติ ทงั้ น้ี ตำมหลกั เกณฑ์ วิธกี ำร และเงอื่ นไขท่ีกำหนดในกฎกระทรวง

หมวด ๔

แนวการจดั การศึกษา

_____________
มาตรา ๒๒ กำรจัดกำรศกึ ษำต้องยดึ หลกั วำ่ ผู้เรียนทุกคนมีควำมสำมำรถเรยี นร้แู ละพฒั นำตนเอง
ได้ และถือว่ำผ้เู รยี นมคี วำมสำคัญท่สี ุด กระบวนกำรจัดกำรศึกษำตอ้ งส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนสำมำรถพัฒนำตำมธรรมชำติ
และเต็มตำมศักยภำพ
มาตรา ๒๓ กำรจัดกำรศกึ ษำ ท้ังกำรศึกษำในระบบ กำรศึกษำนอกระบบ และกำรศกึ ษำตำม
อัธยำศยั ต้องเน้นควำมสำคญั ทงั้ ควำมรู้ คุณธรรม กระบวนกำรเรียนรู้และบูรณำกำรตำมควำมเหมำะสมของแตล่ ะ
ระดบั กำรศึกษำในเรือ่ งตอ่ ไปน้ี
(๑) ควำมรู้เรื่องเก่ยี วกบั ตนเอง และควำมสมั พนั ธข์ องตนเองกบั สังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน
ชำติ และสังคมโลก รวมถึงควำมรู้เกีย่ วกบั ประวัตศิ ำสตร์ควำมเปน็ มำของสงั คมไทยและระบบกำรเมอื งกำร
ปกครองในระบอบประชำธปิ ไตยอันมีพระมหำกษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
(๒) ควำมรแู้ ละทกั ษะด้ำนวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี รวมทั้งควำมร้คู วำมเข้ำใจและ
ประสบกำรณ์เรอ่ื งกำรจัดกำร กำรบำรงุ รักษำ และกำรใช้ประโยชนจ์ ำกทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดล้อมอยำ่ ง
สมดุลยง่ั ยนื
(๓) ควำมรู้เก่ียวกบั ศำสนำ ศิลปะ วฒั นธรรม กำรกฬี ำ ภูมปิ ัญญำไทย และกำรประยกุ ต์ใชภ้ ูมิ
ปญั ญำ
(๔) ควำมรแู้ ละทกั ษะด้ำนคณิตศำสตรแ์ ละด้ำนภำษำ เน้นกำรใช้ภำษำไทยอย่ำงถูกต้อง
(๕) ควำมรแู้ ละทักษะในกำรประกอบอำชีพและกำรดำรงชวี ติ อย่ำงมคี วำมสขุ
มาตรา ๒๔ กำรจัดกระบวนกำรเรยี นรู้ ใหส้ ถำนศึกษำและหน่วยงำนทีเ่ กย่ี วข้องดำเนินกำร
ดงั ต่อไปน้ี
(๑) จัดเนอื้ หำสำระและกิจกรรมให้สอดคล้องกบั ควำมสนใจและควำมถนดั ของผู้เรียน โดย
คำนึงถึงควำมแตกต่ำงระหวำ่ งบคุ คล
(๒) ฝกึ ทักษะ กระบวนกำรคิด กำรจดั กำร กำรเผชญิ สถำนกำรณ์ และกำรประยกุ ตค์ วำมร้มู ำใชเ้ พอ่ื
ป้องกนั และแก้ไขปญั หำ
(๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จำกประสบกำรณ์จริง ฝึกกำรปฏิบัติให้ทำได้ คิดเปน็ ทำเป็น
รกั กำรอ่ำน และเกดิ กำรใฝ่รู้อย่ำงตอ่ เน่ือง
(๔) จัดกำรเรียนกำรสอนโดยผสมผสำนสำระควำมรดู้ ้ำนต่ำง ๆ อย่ำงไดส้ ดั สว่ นสมดุลกนั รวมท้ัง
ปลูกฝังคุณธรรม ค่ำนยิ มที่ดีงำม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคไ์ วใ้ นทกุ วชิ ำ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 168

------------------------------------------------------------------------------
(๕) สง่ เสรมิ สนับสนุนใหผ้ ้สู อนสำมำรถจดั บรรยำกำศ สภำพแวดลอ้ ม สอื่ กำรเรยี น และอำนวย

ควำมสะดวก เพอื่ ให้ผู้เรยี นเกิดกำรเรียนรู้และมีควำมรอบรู้ รวมทง้ั สำมำรถใช้กำรวิจัยเป็นสว่ นหน่งึ ของ
กระบวนกำรเรยี นรู้ ท้งั น้ี ผสู้ อนและผูเ้ รยี นอำจเรยี นรไู้ ปพรอ้ มกันจำกสือ่ กำรเรียนกำรสอนและแหลง่ วิทยำกำร
ประเภทต่ำง ๆ

(๖) จัดกำรเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลำทุกสถำนที่ มีกำรประสำนควำมร่วมมือกับบิดำมำรดำ
ผูป้ กครอง และบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝำ่ ย เพ่อื ร่วมกันพัฒนำผู้เรียนตำมศักยภำพ

มาตรา ๒๕ รฐั ตอ้ งสง่ เสรมิ กำรดำเนินงำนและกำรจดั ต้งั แหลง่ กำรเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตทกุ รูปแบบ
ไดแ้ ก่ หอ้ งสมดุ ประชำชน พิพธิ ภณั ฑ์ หอศลิ ป์ สวนสตั ว์ สวนสำธำรณะ สวนพฤกษศำสตร์ อุทยำนวทิ ยำศำสตร์และ
เทคโนโลยี ศูนยก์ ำรกีฬำและนันทนำกำร แหล่งข้อมูล และแหล่งกำรเรยี นรอู้ ่ืนอยำ่ งพอเพยี งและมปี ระสทิ ธภิ ำพ

มาตรา ๒๖ ใหส้ ถำนศกึ ษำจดั กำรประเมินผเู้ รียนโดยพจิ ำรณำจำกพฒั นำกำรของผ้เู รียน ควำม
ประพฤติ กำรสังเกตพฤติกรรมกำรเรียน กำรร่วมกจิ กรรมและกำรทดสอบควบคู่ไปในกระบวนกำรเรยี นกำรสอน
ตำมควำมเหมำะสมของแต่ละระดบั และรูปแบบกำรศกึ ษำ

ให้สถำนศึกษำใชว้ ิธีกำรที่หลำกหลำยในกำรจัดสรรโอกำสกำรเข้ำศกึ ษำตอ่ และให้นำผลกำร
ประเมนิ ผู้เรยี นตำมวรรคหน่ึงมำใช้ประกอบกำรพิจำรณำด้วย

มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำนกำหนดหลักสูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำข้นั
พน้ื ฐำนเพื่อควำมเป็นไทย ควำมเปน็ พลเมอื งท่ีดีของชำติ กำรดำรงชวี ติ และกำรประกอบอำชพี ตลอดจนเพื่อ
กำรศกึ ษำต่อ

ใหส้ ถำนศึกษำข้ันพื้นฐำนมีหนำ้ ที่จัดทำสำระของหลกั สูตรตำมวัตถุประสงค์ในวรรคหนึ่งในส่วนที่
เกีย่ วกับสภำพปัญหำในชมุ ชนและสงั คม ภมู ิปัญญำท้องถิน่ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์เพ่อื เป็นสมำชิกที่ดีของ
ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชำติ

มาตรา ๒๘ หลกั สตู รกำรศึกษำระดับต่ำง ๆ รวมท้ังหลกั สตู รกำรศึกษำสำหรับบุคคลตำมมำตรำ
๑๐ วรรคสอง วรรคสำม และวรรคส่ี ตอ้ งมลี ักษณะหลำกหลำย ทั้งน้ี ใหจ้ ัดตำมควำมเหมำะสมของแต่ละระดบั โดย
มุ่งพัฒนำคณุ ภำพชวี ิตของบคุ คลให้เหมำะสมแก่วัยและศักยภำพ

สำระของหลกั สูตร ทง้ั ทีเ่ ป็นวิชำกำร และวิชำชีพ ตอ้ งมุ่งพัฒนำคนให้มคี วำมสมดุล ทั้งด้ำนควำมรู้
ควำมคิด ควำมสำมำรถ ควำมดงี ำม และควำมรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม

สำหรับหลักสูตรกำรศึกษำระดบั อุดมศกึ ษำ นอกจำกคุณลักษณะในวรรคหน่ึงและวรรคสองแลว้
ยงั มคี วำมมงุ่ หมำยเฉพำะที่จะพัฒนำวชิ ำกำร วิชำชพี ช้ันสูง และกำรค้นคว้ำวจิ ยั เพ่ือพฒั นำองคค์ วำมรแู้ ละพฒั นำ
สังคม

มาตรา ๒๙ ใหส้ ถำนศกึ ษำร่วมกบั บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องคก์ รชุมชน องคก์ รปกครองส่วน
ท้องถิน่ เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวิชำชีพ สถำบนั ศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบันสังคมอนื่ สง่ เสรมิ
ควำมเขม้ แข็งของชมุ ชนโดยจดั กระบวนกำรเรียนรู้ภำยในชมุ ชน เพ่อื ให้ชมุ ชนมีกำรจัดกำรศกึ ษำอบรม มกี ำร
แสวงหำควำมรู้ ข้อมลู ขำ่ วสำร และรู้จกั เลือกสรรภมู ิปญั ญำและวิทยำกำรต่ำง ๆ เพ่ือพฒั นำชมุ ชนใหส้ อดคลอ้ งกับ
สภำพปัญหำและควำมต้องกำร รวมทัง้ หำวธิ ีกำรสนับสนุนให้มีกำรแลกเปลีย่ นประสบกำรณก์ ำรพฒั นำระหวำ่ ง

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 169

------------------------------------------------------------------------------
ชุมชน

มาตรา ๓๐ ใหส้ ถำนศึกษำพฒั นำกระบวนกำรเรยี นกำรสอนท่ีมปี ระสทิ ธภิ ำพ รวมท้งั กำรสง่ เสรมิ

ใหผ้ ู้สอนสำมำรถวิจัยเพ่ือพัฒนำกำรเรียนรู้ทีเ่ หมำะสมกบั ผูเ้ รยี นในแต่ละระดับกำรศึกษำ

หมวด ๕

การบริหารและการจดั การศกึ ษา

ส่วนที่ ๑

การบริหารและการจัดการศกึ ษาของรัฐ

___________

มาตรา ๓๑[๔] กระทรวงมีอำนำจหนำ้ ที่เกยี่ วกับกำรส่งเสริมและกำกับดแู ลกำรศกึ ษำทุกระดับ ทกุ

ประเภท และกำรอำชีวศึกษำ แต่ไม่รวมถงึ กำรศกึ ษำระดบั อุดมศกึ ษำท่อี ย่ใู นอำนำจหน้ำทขี่ องกระทรวงอื่นท่ีมี
กฎหมำยกำหนดไว้เป็นกำรเฉพำะ กำหนดนโยบำย แผน และมำตรฐำนกำรศกึ ษำ สนบั สนนุ ทรพั ยำกรเพ่ือกำรศกึ ษำ
สง่ เสริมและประสำนงำนกำรศำสนำ ศลิ ปะ วัฒนธรรม และกำรกฬี ำ ทัง้ น้ี ในสว่ นทีเ่ กยี่ วกบั กำรศึกษำ รวมทั้งกำร

ติดตำม ตรวจสอบและประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำ และรำชกำรอืน่ ตำมทม่ี ีกฎหมำยกำหนดให้เป็นอำนำจหน้ำท่ี
ของกระทรวงหรือส่วนรำชกำรทีส่ งั กัดกระทรวง

มาตรา ๓๒[๕] กำรจัดระเบียบบริหำรรำชกำรในกระทรวงให้มีองค์กรหลักท่ีเป็นคณะบุคคลใน

รปู สภำหรือในรปู คณะกรรมกำรจำนวนสำมองคก์ ร ได้แก่ สภำกำรศกึ ษำ คณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน และ
คณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ เพ่ือพิจำรณำให้ควำมเห็นหรือให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี และมี

อำนำจหน้ำที่อื่นตำมท่ีกฎหมำยกำหนด

มาตรา ๓๒/๑[๖] กระทรวงกำรอดุ มศกึ ษำ วทิ ยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม มีอำนำจหน้ำท่ีเกยี่ วกบั
กำรสง่ เสริม สนบั สนนุ และกำกบั กำรอดุ มศกึ ษำ วิทยำศำสตร์ กำรวิจัยและกำรสรำ้ งสรรค์นวตั กรรม เพื่อให้กำร

พฒั นำประเทศเท่ำทันกำรเปลี่ยนแปลงของโลกและรำชกำรอ่นื ตำมทีม่ กี ฎหมำยกำหนดใหเ้ ป็นอำนำจหน้ำท่ขี อง
กระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม หรอื สว่ นรำชกำรท่สี ังกัดกระทรวงกำรอุดมศึกษำ
วิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม

มาตรา ๓๒/๒[๗] กำรจัดระเบียบรำชกำรกระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ให้
เป็นไปตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยกำรนัน้

มาตรา ๓๓[๘] สภำกำรศกึ ษำ มหี น้ำท่ี

(๑) พิจำรณำเสนอแผนกำรศึกษำแหง่ ชำติทบี่ รู ณำกำรศำสนำ ศิลปะ วฒั นธรรม และกีฬำกบั
กำรศึกษำทกุ ระดบั

(๒)พจิ ำรณำเสนอนโยบำย แผนและมำตรฐำนกำรศกึ ษำเพอ่ื ดำเนินกำรให้เป็นไปตำมแผนตำม (๑)

____________
[๔] มำตรำ ๓๑ แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระรำชบัญญตั กิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
[๕] มำตรำ ๓๒ แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระรำชบัญญัตกิ ำรศึกษำแห่งชำติ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
[๖] มำตรำ ๓๒/๑ เพม่ิ โดยพระรำชบัญญตั กิ ำรศกึ ษำแห่งชำติ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
[๗] มำตรำ ๓๒/๒ เพ่มิ โดยพระรำชบญั ญตั ิกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
[๘] มำตรำ ๓๓ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระรำชบัญญตั กิ ำรศกึ ษำแห่งชำติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 170

------------------------------------------------------------------------------
(๓) พจิ ำรณำเสนอนโยบำยและแผนในกำรสนบั สนุนทรัพยำกรเพื่อกำรศึกษำ
(๔) ดำเนนิ กำรประเมินผลกำรจัดกำรศกึ ษำตำม (๑)

(๕) ให้ควำมเหน็ หรือคำแนะนำเก่ยี วกบั กฎหมำยและกฎกระทรวงท่ีออกตำมควำมใน
พระรำชบญั ญตั ิน้ี

กำรเสนอนโยบำย แผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ และมำตรฐำนกำรศึกษำ ใหเ้ สนอต่อคณะรัฐมนตรี
ให้คณะกรรมกำรสภำกำรศกึ ษำ ประกอบดว้ ย รัฐมนตรีเป็นประธำน กรรมกำรโดยตำแหนง่ จำก

หนว่ ยงำนทีเ่ ก่ยี วข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ผแู้ ทนองค์กรวชิ ำชพี พระภกิ ษุซงึ่
เป็นผแู้ ทนคณะสงฆ์ ผู้แทนคณะกรรมกำรกลำงอิสลำมแห่งประเทศไทย ผูแ้ ทนองคก์ รศำสนำอื่น และกรรมกำร
ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีจำนวนไม่น้อยกวำ่ จำนวนกรรมกำรประเภทอ่ืนรวมกนั

เลขำนุกำร ใหส้ ำนกั งำนเลขำธิกำรสภำกำรศกึ ษำเป็นนิติบุคคล และให้เลขำธกิ ำรสภำเปน็ กรรมกำรและ
จำนวนกรรมกำร คณุ สมบัติ หลกั เกณฑ์ วิธีกำรสรรหำ กำรเลือกกรรมกำร วำระกำรดำรงตำแหน่ง

และกำรพน้ จำกตำแหนง่ ใหเ้ ป็นไปตำมท่กี ฎหมำยกำหนด

มาตรา ๓๔[๙] คณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พ้นื ฐำนมีหน้ำท่ีพิจำรณำเสนอนโยบำย แผนพฒั นำ
มำตรฐำนและหลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำนท่ีสอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ และ

แผนกำรศึกษำแห่งชำติ กำรสนบั สนุนทรพั ยำกร กำรตดิ ตำม ตรวจสอบ และประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน
คณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำมีหน้ำทพ่ี จิ ำรณำเสนอนโยบำย แผนพัฒนำ มำตรฐำนและหลกั สตู ร

กำรอำชวี ศกึ ษำทกุ ระดับ ทส่ี อดคลอ้ งกับควำมตอ้ งกำรตำมแผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ และแผนกำร
ศกึ ษำแห่งชำติ กำรสง่ เสริมประสำนงำนกำรจัดกำรอำชวี ศึกษำของรฐั และเอกชน กำรสนบั สนุนทรพั ยำกร กำร

ติดตำม ตรวจสอบ และประเมินผลกำรจดั กำรอำชวี ศกึ ษำ โดยคำนงึ ถงึ คณุ ภำพและควำมเป็นเลิศทำงวชิ ำชีพ

วรรคสาม[๑๐] (ยกเลิก)

มำตรำ ๓๕ องคป์ ระกอบของคณะกรรมกำรตำมมำตรำ ๓๔ ประกอบด้วย กรรมกำรโดยตำแหน่ง

จำกหน่วยงำนท่ีเกย่ี วข้อง ผแู้ ทนองคก์ รเอกชน ผ้แู ทนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ผู้แทนองคก์ รวิชำชีพ และ
ผทู้ รงคณุ วุฒซิ ่ึงมีจำนวนไม่น้อยกวำ่ จำนวนกรรมกำรประเภทอ่นื รวมกัน

จำนวนกรรมกำร คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีกำรสรรหำ กำรเลือกประธำนกรรมกำรและกรรมกำร

วำระกำรดำรงตำแหน่งและกำรพ้นจำกตำแหน่งของคณะกรรมกำรแตล่ ะคณะ ให้เป็นไปตำมทก่ี ฎหมำยกำหนด ทั้งนี้ ให้
คำนึงถึงควำมแตกต่ำงของกิจกำรในควำมรับผิดชอบของคณะกรรมกำรแตล่ ะคณะด้วย

ใหส้ ำนกั งำนคณะกรรมกำรตำมมำตรำ ๓๔ เปน็ นติ ิบุคคล และให้เลขำธกิ ำรของแต่ละสำนกั งำนเป็น

กรรมกำรและเลขำนุกำรของคณะกรรมกำร

มาตรา ๓๕/๑[๑๑] ให้มคี ณะกรรมกำรกำรอดุ มศึกษำ มีหน้ำท่พี ิจำรณำเสนอนโยบำย แผนพฒั นำ

_______________
[๙] มำตรำ ๓๔ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระรำชบัญญตั กิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๑๐] มำตรำ ๓๔ วรรคสำม ยกเลิกโดยพระรำชบญั ญตั ิกำรศึกษำแหง่ ชำติ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
[๑๑] มำตรำ ๓๕/๑ เพม่ิ โดยพระรำชบญั ญัติกำรศกึ ษำแห่งชำติ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 171

------------------------------------------------------------------------------
และมำตรฐำนกำรอุดมศกึ ษำที่สอดคลอ้ งกับควำมต้องกำรตำมแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติและ
แผนกำรศึกษำแห่งชำติ กำรสนับสนุนทรัพยำกร กำรติดตำม ตรวจสอบ และประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำ

ระดับอุดมศึกษำโดยคำนึงถึงควำมเป็นอิสระและควำมเป็นเลิศทำงวิชำกำรของสถำนศกึ ษำระดับปริญญำตำม
กฎหมำยว่ำด้วยกำรจดั ต้ังสถำนศกึ ษำแต่ละแหง่ และกฎหมำยท่ีเก่ยี วขอ้ ง

องค์ประกอบ จำนวนกรรมกำร คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้ำม หลักเกณฑ์ วิธกี ำรสรรหำ กำรเลือกและ
กำรแต่งตั้งประธำนกรรมกำร กรรมกำร และกรรมกำรและเลขำนุกำร วำระกำรดำรงตำแหน่ง และกำรพ้นจำก

ตำแหนง่ ของกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ให้เปน็ ไปตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรนัน้

มาตรา ๓๖ ให้สถำนศกึ ษำของรัฐทจี่ ัดกำรศกึ ษำระดับปริญญำเป็นนิตบิ คุ คล และอำจจัดเป็นส่วน

รำชกำรหรือเป็นหน่วยงำนในกำกบั ของรัฐ ยกเว้นสถำนศกึ ษำเฉพำะทำงตำมมำตรำ ๒๑

ใหส้ ถำนศกึ ษำดังกล่ำวดำเนนิ กจิ กำรได้โดยอสิ ระ สำมำรถพัฒนำระบบบริหำร และกำรจัดกำรที่
เป็นของตนเอง มีควำมคล่องตัว มเี สรีภำพทำงวิชำกำร และอยู่ภำยใตก้ ำรกำกับดแู ลของสภำสถำนศกึ ษำ ตำม
กฎหมำยว่ำดว้ ยกำรจดั ต้งั สถำนศกึ ษำนนั้ ๆ

มาตรา ๓๗[๑๒] กำรบรหิ ำรและกำรจัดกำรศกึ ษำข้ันพน้ื ฐำนให้ยึดเขตพ้ืนทีก่ ำรศกึ ษำโดยคำนึงถึง
ระดับของกำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำน จำนวนสถำนศกึ ษำ จำนวนประชำกร วัฒนธรรมและควำมเหมำะสมด้ำนอ่ืนดว้ ย

เว้นแตก่ ำรจัดกำรศกึ ษำขัน้ พื้นฐำนตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยกำรอำชีวศึกษำ

ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของสภำกำรศึกษำ มอี ำนำจประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำกำหนดเขต
พน้ื ที่กำรศึกษำเพอ่ื กำรบรหิ ำรและกำรจดั กำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำน แบ่งเป็นเขตพ้ืนทีก่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำและเขต

พ้ืนท่กี ำรศึกษำมธั ยมศึกษำ

ในกรณีทส่ี ถำนศึกษำใดจัดกำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำนท้ังระดบั ประถมศกึ ษำและระดบั มัธยมศกึ ษำ กำร
กำหนดให้สถำนศึกษำแห่งนั้นอยใู่ นเขตพืน้ ทก่ี ำรศึกษำใด ใหย้ ดึ ระดบั กำรศกึ ษำของสถำนศึกษำน้ันเป็น

สำคญั ทง้ั นี้ ตำมท่ีรัฐมนตรีประกำศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำน

ในกรณที ่ีเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำไม่อำจบรหิ ำรและจัดกำรได้ตำมวรรคหนงึ่ กระทรวงอำจจัดให้มี

กำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำนดังต่อไปนี้เพื่อเสริมกำรบริหำรและกำรจัดกำรของเขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำกไ็ ด้
(๑) กำรจัดกำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำนสำหรับบคุ คลทม่ี ีควำมบกพรอ่ งทำงรำ่ งกำย จติ ใจ สติปัญญำ

อำรมณ์ สังคม กำรสื่อสำร และกำรเรียนรู้ หรือมีรำ่ งกำยพิกำรหรือทพุ พลภำพ

(๒) กำรจดั กำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำนทจ่ี ัดในรปู แบบกำรศกึ ษำนอกระบบหรือกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย
(๓) กำรจัดกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำนสำหรบั บคุ คลทีม่ คี วำมสำมำรถพิเศษ
(๔) กำรจัดกำรศึกษำทำงไกลและกำรจัดกำรศึกษำทใี่ ห้บริกำรในหลำยเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำ

มาตรา ๓๘[๑๓] ในแต่ละเขตพน้ื ทกี่ ำรศกึ ษำ ใหม้ คี ณะกรรมกำรและสำนกั งำนเขตพื้นท่ีกำรศกึ ษำมี
อำนำจหน้ำท่ีในกำรกำกบั ดูแล จัดตง้ั ยบุ รวม หรือเลกิ สถำนศึกษำขน้ั พ้ืนฐำนในเขตพื้นท่กี ำรศกึ ษำ ประสำน

สง่ เสรมิ และสนับสนุนสถำนศึกษำเอกชนในเขตพืน้ ที่กำรศึกษำ ประสำนและส่งเสริมองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน

____________
[๑๒] มำตรำ ๓๗ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระรำชบัญญัตกิ ำรศกึ ษำแห่งชำติ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
[๑๓] มำตรำ ๓๘ แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระรำชบัญญัตกิ ำรศึกษำแห่งชำติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 172

------------------------------------------------------------------------------
ใหส้ ำมำรถจดั กำรศกึ ษำสอดคลอ้ งกบั นโยบำยและมำตรฐำนกำรศึกษำ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ กำรจดั กำรศกึ ษำของ
บุคคล ครอบครัว องค์กรชมุ ชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบัน
สังคมอ่ืน ที่จัดกำรศึกษำในรูปแบบที่หลำกหลำยในเขตพื้นท่ีกำรศกึ ษำ

วรรคสอง[๑๔] (ยกเลิก)
วรรคสำม[๑๕] (ยกเลกิ )
วรรคส่ี[๑๖] (ยกเลิก)
ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคหน่งึ ในส่วนท่ีเกี่ยวกบั สถำนศึกษำเอกชนและองค์กรปกครองสว่ น
ทอ้ งถ่ินวำ่ จะอย่ใู นอำนำจหน้ำทข่ี องเขตพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำใด ให้เปน็ ไปตำมที่รฐั มนตรีประกำศกำหนดโดยคำแนะนำ
ของคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พน้ื ฐำน[๑๗]
มาตรา ๓๙[๑๘] ให้กระทรวงกระจำยอำนำจกำรบริหำรและกำรจดั กำรศึกษำ ทัง้ ด้ำนวชิ ำกำร
งบประมำณ กำรบริหำรงำนบุคคล และกำรบรหิ ำรท่ัวไป ไปยังคณะกรรมกำรและสำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศกึ ษำ
และสถำนศึกษำในเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำโดยตรง
หลักเกณฑ์และวธิ กี ำรกระจำยอำนำจดังกลำ่ ว ให้เป็นไปตำมทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๐[๑๙] ใหม้ คี ณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน สถำนศึกษำระดับอุดมศึกษำระดบั ต่ำกว่ำ
ปรญิ ญำ และสถำนศกึ ษำอำชีวศึกษำของแตล่ ะสถำนศกึ ษำ เพอ่ื ทำหน้ำที่กำกบั และส่งเสรมิ สนบั สนนุ กิจกำรของ
สถำนศกึ ษำ ประกอบด้วย ผแู้ ทนผูป้ กครอง ผ้แู ทนครู ผู้แทนองคก์ รชุมชน ผแู้ ทนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
ผแู้ ทนศิษย์เกำ่ ของสถำนศกึ ษำ ผูแ้ ทนพระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองคก์ รศำสนำอ่ืนในพืน้ ที่ และผู้ทรงคณุ วุฒิ
สถำนศึกษำระดับอุดมศึกษำระดับตำ่ กว่ำปริญญำและสถำนศึกษำอำชีวศึกษำอำจมีกรรมกำร
เพม่ิ ขน้ึ ได้ ทงั้ น้ี ตำมที่กฎหมำยกำหนด
จำนวนกรรมกำร คณุ สมบัติ หลกั เกณฑ์ วธิ ีกำรสรรหำ กำรเลอื กประธำนกรรมกำรและกรรมกำร
วำระกำรดำรงตำแหน่ง และกำรพ้นจำกตำแหน่ง ให้เป็นไปตำมทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง
ให้ผบู้ ริหำรสถำนศึกษำเป็นกรรมกำรและเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำ
ควำมในมำตรำนไ้ี มใ่ ชบ้ ังคบั แกส่ ถำนศึกษำตำมมำตรำ ๑๘ (๑) และ (๓)

ส่วนท่ี ๒

การบริหารและการจดั การศกึ ษาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่

____________

______________
[๑๔] มำตรำ ๓๘ วรรคสอง ยกเลกิ โดยผลของคำสง่ั หวั หนำ้ คณะรกั ษำควำมสงบแห่งชำติ ท่ี ๑๐/๒๕๕๙ เรื่อง กำรขับเคลอื่ นกำรปฏริ ปู กำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธิกำร
ในภูมภิ ำค
[๑๕] มำตรำ ๓๘ วรรคสำม ยกเลกิ โดยผลของคำส่ังหัวหนำ้ คณะรกั ษำควำมสงบแห่งชำติ ท่ี ๑๐/๒๕๕๙ เรอื่ ง กำรขบั เคลื่อนกำรปฏิรูปกำรศึกษำของกระทรวงศกึ ษำธิกำร
ในภมู ิภำค
[๑๖] มำตรำ ๓๘ วรรคส่ี ยกเลกิ โดยผลของคำส่ังหวั หนำ้ คณะรักษำควำมสงบแหง่ ชำติ ท่ี ๑๐/๒๕๕๙ เรอื่ ง กำรขับเคลือ่ นกำรปฏิรูปกำรศึกษำของกระทรวงศกึ ษำธกิ ำรใน
ภูมภิ ำค
[๑๗] มำตรำ ๓๘ วรรคหำ้ เพิม่ โดยพระรำชบัญญตั ิกำรศึกษำแหง่ ชำติ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
[๑๘] มำตรำ ๓๙ แก้ไขเพิม่ เตมิ โดยพระรำชบัญญัตกิ ำรศึกษำแห่งชำติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
[๑๙] มำตรำ ๔๐ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระรำชบัญญัตกิ ำรศึกษำแห่งชำติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 173

------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๔๑ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นมีสทิ ธจิ ัดกำรศึกษำในระดับใดระดบั หนึ่งหรือทกุ ระดับ

ตำมควำมพร้อม ควำมเหมำะสม และควำมต้องกำรภำยในทอ้ งถน่ิ

มาตรา ๔๒ ใหก้ ระทรวงกำหนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ำรประเมินควำมพรอ้ มในกำรจัดกำรศึกษำ

ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน และมีหน้ำที่ในกำรประสำนและส่งเสริมองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ให้สำมำรถ

จดั กำรศกึ ษำ สอดคลอ้ งกบั นโยบำยและได้มำตรฐำนกำรศึกษำ รวมทง้ั กำรเสนอแนะกำรจัดสรรงบประมำณ
อดุ หนุนกำรจัดกำรศึกษำขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ

สว่ นที่ ๓

การบริหารและการจัดการศกึ ษาของเอกชน

______________

มาตรา ๔๓ กำรบริหำรและกำรจัดกำรศกึ ษำของเอกชนใหม้ ีควำมเปน็ อสิ ระ โดยมีกำรกำกับ

ติดตำม กำรประเมินคุณภำพและมำตรฐำนกำรศกึ ษำจำกรัฐ และต้องปฏิบัติตำมหลกั เกณฑ์กำรประเมินคุณภำพและ

มำตรฐำนกำรศกึ ษำเช่นเดียวกับสถำนศึกษำของรัฐ

มาตรา ๔๔ ใหส้ ถำนศกึ ษำเอกชนตำมมำตรำ ๑๘ (๒) เป็นนิติบคุ คล และมีคณะกรรมกำรบรหิ ำร
ประกอบด้วย ผู้บริหำรสถำนศึกษำเอกชน ผู้รับใบอนุญำต ผู้แทนผปู้ กครอง ผู้แทนองค์กรชุมชน ผูแ้ ทนครู ผู้แทน
ศษิ ยเ์ กำ่ และผู้ทรงคณุ วฒุ ิ

จำนวนกรรมกำร คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ์ วธิ ีกำรสรรหำ กำรเลือกประธำนกรรมกำรและกรรมกำร

วำระกำรดำรงตำแหน่ง และกำรพ้นจำกตำแหน่ง ให้เป็นไปตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๔๕ ให้สถำนศึกษำเอกชนจัดกำรศกึ ษำไดท้ กุ ระดับและทกุ ประเภท กำรศึกษำตำมท่ี

กฎหมำยกำหนด โดยรัฐต้องกำหนดนโยบำยและมำตรกำรท่ีชดั เจนเกี่ยวกบั กำรมสี ่วนร่วมของเอกชนในด้ำนกำรศึกษำ

กำรกำหนดนโยบำยและแผนกำรจดั กำรศกึ ษำของรัฐของเขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำหรือขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถน่ิ ใหค้ ำนึงถึงผลกระทบต่อกำรจัดกำรศกึ ษำของเอกชน โดยให้รฐั มนตรีหรือคณะกรรมกำรเขต

พื้นทก่ี ำรศึกษำ หรือองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินรบั ฟงั ควำมคดิ เห็นของเอกชนและประชำชนประกอบกำรพิจำรณำ
ด้วย[๒๐]

ใหส้ ถำนศกึ ษำของเอกชนทจี่ ัดกำรศกึ ษำระดับปรญิ ญำดำเนินกิจกำรได้ โดยอสิ ระ สำมำรถพัฒนำ

ระบบบริหำรและกำรจัดกำรทเี่ ปน็ ของตนเอง มีควำมคล่องตัว มีเสรีภำพทำงวชิ ำกำร และอยูภ่ ำยใตก้ ำรกำกับดูแล

ของสภำสถำนศกึ ษำ ตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยสถำบันอดุ มศึกษำเอกชน

มาตรา ๔๖ รัฐต้องใหก้ ำรสนับสนุนด้ำนเงินอุดหนุน กำรลดหย่อนหรือกำรยกเว้นภำษี และสิทธิ

ประโยชน์อย่ำงอนื่ ท่ีเปน็ ประโยชน์ในทำงกำรศึกษำแก่สถำนศกึ ษำเอกชนตำมควำมเหมำะสม รวมทง้ั สง่ เสริมและ

สนบั สนุนดำ้ นวชิ ำกำรให้สถำนศึกษำเอกชนมมี ำตรฐำนและสำมำรถพ่งึ ตนเองได้

หมวด ๖

มาตรฐานและการประกนั คุณภาพการศกึ ษา

______________

____________
[๒๐] มำตรำ ๔๕ วรรคสอง แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ (ฉบับท่ี ๒)พ.ศ. ๒๕๔๕

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 174

------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๔๗[๒๑] ให้มีระบบกำรประกนั คณุ ภำพกำรศึกษำเพ่ือพฒั นำคณุ ภำพและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ

ของกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน และกำรศกึ ษำระดับอดุ มศึกษำ ประกอบด้วย ระบบกำรประกนั คณุ ภำพภำยในและระบบ

กำรประกันคณุ ภำพภำยนอก
ระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ำรประกนั คณุ ภำพกำรศึกษำของกำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำน และกำร

อำชวี ศกึ ษำ ใหเ้ ปน็ ไปตำมท่ีกำหนดในกฎกระทรวง สำหรับระบบกำรประกนั คุณภำพกำรศึกษำระดบั อุดมศกึ ษำท่ี

อยูใ่ นอำนำจหน้ำท่ขี องกระทรวงอ่ืนที่มกี ฎหมำยกำหนดไวเ้ ปน็ กำรเฉพำะ ใหเ้ ป็นไปตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรนั้น

มาตรา ๔๘ ใหห้ น่วยงำนตน้ สังกดั และสถำนศกึ ษำจดั ใหม้ ีระบบกำรประกันคณุ ภำพภำยใน

สถำนศกึ ษำและใหถ้ อื ว่ำกำรประกันคณุ ภำพภำยในเป็นส่วนหน่งึ ของกระบวนกำรบริหำรกำรศกึ ษำท่ตี ้อง
ดำเนินกำรอยำ่ งต่อเน่อื ง โดยมีกำรจัดทำรำยงำนประจำปีเสนอต่อหนว่ ยงำนตน้ สังกดั หน่วยงำนที่เก่ยี วข้อง และ
เปิดเผยต่อสำธำรณชน เพือ่ นำไปส่กู ำรพฒั นำคณุ ภำพและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ และเพอื่ รองรับกำรประกนั คุณภำพ

ภำยนอก

มาตรา ๔๙[๒๒] ใหม้ ีสำนกั งำนรับรองมำตรฐำนและประเมินคณุ ภำพกำรศกึ ษำ มีฐำนะเป็นองคก์ ำร

มหำชนทำหนำ้ ทีพ่ ัฒนำเกณฑ์ วธิ ีกำรประเมนิ คุณภำพภำยนอก และทำกำรประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำ ทีม่ ิใช่กำร

จัดกำรอดุ มศกึ ษำซ่ึงอยู่ในอำนำจหน้ำทีข่ องกระทรวงกำรอุดมศกึ ษำ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม หรอื กระทรวง
อ่ืน เพื่อใหม้ ีกำรตรวจสอบคุณภำพของสถำนศึกษำ โดยคำนงึ ถึงควำมม่งุ หมำย หลักกำร และแนวกำรจดั กำรศึกษำ
ในแตล่ ะระดบั ตำมทีก่ ำหนดไวใ้ นพระรำชบัญญัตนิ ี้

ใหม้ ีกำรประเมินคุณภำพภำยนอกของสถำนศกึ ษำทุกแห่งอย่ำงนอ้ ยหน่งึ คร้งั ในทกุ หำ้ ปีนับต้งั แต่

กำรประเมินครง้ั สดุ ทำ้ ย และเสนอผลกำรประเมินต่อหน่วยงำนที่เกีย่ วขอ้ งและสำธำรณชน

มาตรา ๕๐ ใหส้ ถำนศึกษำใหค้ วำมร่วมมือในกำรจัดเตรียมเอกสำรหลักฐำนต่ำง ๆ ทม่ี ีขอ้ มลู

เกีย่ วข้องกับสถำนศกึ ษำ ตลอดจนให้บุคลำกร คณะกรรมกำรของสถำนศึกษำ รวมทั้งผู้ปกครองและผูท้ มี่ สี ่วน

เกีย่ วขอ้ งกับสถำนศกึ ษำใหข้ ้อมลู เพม่ิ เติมในส่วนทีพ่ ิจำรณำเห็นว่ำ เก่ยี วข้องกบั กำรปฏิบัตภิ ำรกจิ ของสถำนศึกษำ
ตำมคำร้องขอของสำนกั งำนรับรองมำตรฐำน และประเมินคณุ ภำพกำรศึกษำหรอื บุคคลหรือหน่วยงำนภำยนอกท่ี

สำนักงำนดังกลำ่ วรบั รอง ที่ทำกำรประเมินคุณภำพภำยนอกของสถำนศึกษำน้นั

มาตรา ๕๑[๒๓] ในกรณีท่ีผลกำรประเมินภำยนอกของสถำนศกึ ษำใดไมไ่ ดต้ ำมมำตรฐำนท่ี
กำหนดใหส้ ำนักงำนรบั รองมำตรฐำนและประเมนิ คุณภำพกำรศกึ ษำ จัดทำขอ้ เสนอแนะกำรปรับปรุงแกไ้ ขต่อ

หนว่ ยงำนต้นสงั กัด เพ่อื ใหส้ ถำนศึกษำปรับปรงุ แกไ้ ขภำยในระยะเวลำทกี่ ำหนด หำกมิได้ดำเนินกำรดงั กลำ่ วให้

สำนักงำนรับรองมำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำรำยงำนต่อคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พนื้ ฐำนหรือ
คณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ เพอ่ื ดำเนนิ กำรใหม้ กี ำรปรับปรงุ แกไ้ ข

หมวด ๗

ครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา

_____________
[๒๑] มำตรำ ๔๗ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระรำชบญั ญัติกำรศกึ ษำแห่งชำติ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
[๒๒] มำตรำ ๔๙ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระรำชบัญญตั กิ ำรศึกษำแหง่ ชำติ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
[๒๓] มำตรำ ๕๑ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระรำชบญั ญัตกิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 175

------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๕๑/๑[๒๔] คำวำ่ “คณำจำรย์” ในหมวดนี้ ให้หมำยควำมวำ่ บุคลำกรซ่ึงทำหน้ำท่ีหลกั

ทำงด้ำนกำรสอนและกำรวจิ ัยในสถำนศึกษำระดบั อุดมศึกษำระดบั ปรญิ ญำของรัฐและเอกชน แตไ่ มร่ วมถึงบุคลำกร

ซึ่งสังกัดกระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม

มาตรา ๕๒ ใหก้ ระทรวงส่งเสริมใหม้ ีระบบ กระบวนกำรผลิต กำรพัฒนำครู คณำจำรย์ และ

บคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำให้มคี ุณภำพและมำตรฐำนที่เหมำะสมกับกำรเปน็ วชิ ำชพี ชัน้ สงู โดยกำรกำกบั และประสำน
ใหส้ ถำบนั ทที่ ำหนำ้ ท่ผี ลิตและพฒั นำครู คณำจำรย์ รวมทง้ั บุคลำกรทำงกำรศึกษำใหม้ คี วำมพรอ้ มและมคี วำม
เขม้ แขง็ ในกำรเตรยี มบุคลำกรใหม่และกำรพฒั นำบคุ ลำกรประจำกำรอย่ำงต่อเนอ่ื งรัฐพึงจดั สรรงบประมำณและ

จดั ต้งั กองทุนพฒั นำครู คณำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำอย่ำงเพียงพอ

มาตรา ๕๓ ให้มีองค์กรวิชำชีพครู ผู้บริหำรสถำนศึกษำ และผู้บริหำรกำรศึกษำ มีฐำนะเป็น

องค์กรอสิ ระภำยใต้กำรบรหิ ำรของสภำวิชำชีพ ในกำกับของกระทรวง มีอำนำจหนำ้ ท่ีกำหนดมำตรฐำนวชิ ำชีพ

ออกและเพกิ ถอนใบอนญุ ำตประกอบวิชำชพี กำกับดแู ลกำรปฏบิ ัตติ ำมมำตรฐำนและจรรยำบรรณของวชิ ำชีพ
รวมท้งั กำรพัฒนำวชิ ำชีพครู ผ้บู ริหำรสถำนศกึ ษำและผู้บรหิ ำรกำรศกึ ษำ

ให้ครู ผู้บริหำรสถำนศึกษำ ผู้บริหำรกำรศึกษำ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำอื่น ทั้งของรัฐและ

เอกชนต้องมีใบอนุญำตประกอบวชิ ำชพี ตำมทีก่ ฎหมำยกำหนด
กำรจัดใหม้ ีองค์กรวชิ ำชีพครู ผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำ ผูบ้ ริหำรกำรศกึ ษำ และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ

อน่ื คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ์ และวธิ ีกำรในกำรออกและเพิกถอนใบอนญุ ำตประกอบวิชำชีพ ให้เปน็ ไปตำมที่กฎหมำย

กำหนด

ควำมในวรรคสองไมใ่ ช้บังคับแก่บคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำทจี่ ัดกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัย สถำนศึกษำ
ตำมมำตรำ ๑๘ (๓) ผูบ้ รหิ ำรกำรศกึ ษำระดบั เหนอื เขตพ้นื ท่ีกำรศกึ ษำและวทิ ยำกรพิเศษทำงกำรศกึ ษำ

ควำมในมำตรำน้ีไม่ใช้บังคับแกค่ ณำจำรย์ ผูบ้ ริหำรสถำนศกึ ษำ และผูบ้ ริหำรกำรศกึ ษำใน

ระดบั อุดมศกึ ษำระดับปริญญำ

มาตรา ๕๔ ใหม้ ีองคก์ รกลำงบรหิ ำรงำนบุคคลของขำ้ รำชกำรครู โดยให้ครูและบคุ ลำกรทำงกำร

ศึกษำทง้ั ของหน่วยงำนทำงกำรศึกษำในระดบั สถำนศึกษำของรัฐ และระดับเขตพ้นื ที่กำรศกึ ษำเป็นขำ้ รำชกำรใน

สงั กดั องค์กรกลำงบรหิ ำรงำนบคุ คลของขำ้ รำชกำรครู โดยยดึ หลักกำรกระจำยอำนำจกำรบริหำรงำนบุคคลสู่เขต
พืน้ ที่กำรศึกษำ และสถำนศึกษำ ทั้งน้ี ใหเ้ ป็นไปตำมทก่ี ฎหมำยกำหนด

มาตรา ๕๕ ให้มีกฎหมำยวำ่ ดว้ ยเงินเดือน ค่ำตอบแทน สวัสดกิ ำร และสทิ ธิประโยชนเ์ ก้อื กลู อ่ืน

สำหรับขำ้ รำชกำรครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ เพ่อื ใหม้ ีรำยได้ทเี่ พียงพอและเหมำะสมกับฐำนะทำงสงั คมและ
วชิ ำชพี

ใหม้ ีกองทนุ ส่งเสริมครู คณำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ เพ่ือจดั สรรเป็นเงินอดุ หนุนงำนริเร่มิ

สร้ำงสรรค์ ผลงำนดีเด่น และเปน็ รำงวัลเชดิ ชเู กียรติครู คณำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ ทง้ั นี้ ใหเ้ ปน็ ไปตำมที่

กำหนดในกฎกระทรวง

_______________
[๒๔] มำตรำ ๕๑/๑ เพ่มิ โดยพระรำชบญั ญัตกิ ำรศกึ ษำแห่งชำติ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 176

------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๕๖ กำรผลติ และพัฒนำคณำจำรย์และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ กำรพัฒนำ มำตรฐำนและ

จรรยำบรรณของวชิ ำชีพ และกำรบริหำรงำนบุคคลของข้ำรำชกำรหรอื พนกั งำนของรัฐในสถำนศึกษำระดับ
ปริญญำที่เป็นนิติบุคคล ให้เป็นไปตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดต้ังสถำนศึกษำแต่ละแหง่ และกฎหมำยท่ีเกยี่ วข้อง

มาตรา ๕๗ ใหห้ น่วยงำนทำงกำรศึกษำระดมทรัพยำกรบุคคลในชุมชนใหม้ ีส่วนร่วมในกำรจัด
กำรศึกษำโดยนำประสบกำรณ์ ควำมรอบรู้ ควำมชำนำญ และภมู ิปัญญำท้องถนิ่ ของบุคคลดงั กลำ่ วมำใช้ เพอ่ื ใหเ้ กิด
ประโยชน์ทำงกำรศกึ ษำและยกยอ่ งเชิดชูผูท้ ี่สง่ เสริมและสนบั สนนุ กำรจดั กำรศึกษำ

หมวด ๘

ทรัพยากรและการลงทุนเพอื่ การศกึ ษา

_____________
มาตรา ๕๘ ให้มกี ำรระดมทรพั ยำกรและกำรลงทุนดำ้ นงบประมำณ กำรเงิน และทรพั ย์สนิ ทง้ั จำก
รัฐ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชมุ ชนเอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวิชำชพี
สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร สถำบันสังคมอ่นื และตำ่ งประเทศมำใช้จัดกำรศึกษำดงั นี้
(๑) ใหร้ ัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ระดมทรพั ยำกรเพอื่ กำรศกึ ษำ โดยอำจจัดเก็บภำษเี พื่อ
กำรศกึ ษำไดต้ ำมควำมเหมำะสม ท้ังน้ี ให้เป็นไปตำมทก่ี ฎหมำยกำหนด
(๒) ใหบ้ คุ คล ครอบครวั ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินเอกชน องค์กรเอกชน
องคก์ รวิชำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบันสงั คมอื่น ระดมทรัพยำกรเพื่อกำรศกึ ษำ โดยเป็นผจู้ ัด
และมสี ่วนร่วมในกำรจดั กำรศกึ ษำ บริจำคทรพั ยส์ นิ และทรพั ยำกรอ่ืนให้แกส่ ถำนศกึ ษำ และมีสว่ นร่วมรบั ภำระ
คำ่ ใช้จ่ำยทำงกำรศึกษำตำมควำมเหมำะสมและควำมจำเป็น
ทั้งนี้ ใหร้ ัฐและองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ส่งเสริมและให้แรงจงู ใจในกำรระดมทรัพยำกร
ดังกล่ำว โดยกำรสนับสนุน กำรอุดหนุน และใช้มำตรกำรลดหย่อนหรือยกเว้นภำษี ตำมควำมเหมำะสมและ
ควำมจำเปน็ ทง้ั น้ี ให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยกำหนด

มาตรา ๕๙ ให้สถำนศึกษำของรัฐท่ีเป็นนติ ิบคุ คล มีอำนำจในกำรปกครอง ดแู ล บำรุงรักษำ ใช้
และจัดหำผลประโยชนจ์ ำกทรัพยส์ ินของสถำนศกึ ษำ ทง้ั ที่เปน็ ที่รำชพัสดุ ตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยที่รำชพัสดุ และทเ่ี ป็น
ทรพั ย์สนิ อืน่ รวมท้ังจัดหำรำยไดจ้ ำกบริกำรของสถำนศกึ ษำ และเกบ็ ค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำทไี่ มข่ ัดหรือแย้งกบั
นโยบำย วตั ถปุ ระสงค์ และภำรกจิ หลักของสถำนศึกษำ

บรรดำอสังหำริมทรพั ยท์ ่ีสถำนศึกษำของรัฐทีเ่ ปน็ นติ ิบุคคลได้มำโดยมผี ู้อทุ ศิ ให้ หรือโดยกำรซือ้
หรอื แลกเปลย่ี นจำกรำยได้ของสถำนศกึ ษำ ไม่ถอื เปน็ ทร่ี ำชพัสดุ และใหเ้ ปน็ กรรมสทิ ธิ์ของสถำนศกึ ษำ

บรรดำรำยไดแ้ ละผลประโยชนข์ องสถำนศึกษำของรัฐทีเ่ ป็นนติ ิบคุ คล รวมทั้งผลประโยชน์ทีเ่ กดิ
จำกทร่ี ำชพัสดุ เบีย้ ปรบั ท่ีเกดิ จำกกำรผดิ สัญญำลำศึกษำ และเบยี้ ปรบั ทเี่ กิดจำกกำรผิดสัญญำกำรซอื้ ทรพั ยส์ ินหรอื
จำ้ งทำของที่ดำเนนิ กำรโดยใช้เงนิ งบประมำณไม่เป็นรำยไดท้ ีต่ อ้ งนำส่งกระทรวงกำรคลังตำมกฎหมำยว่ำด้วยเงินคง
คลงั และกฎหมำยว่ำดว้ ยวิธีกำรงบประมำณ

บรรดำรำยได้และผลประโยชน์ของสถำนศึกษำของรัฐท่ีไมเ่ ป็นนติ บิ คุ คล รวมทงั้ ผลประโยชนท์ ี่
เกดิ จำกท่รี ำชพัสดุ เบย้ี ปรบั ท่ีเกิดจำกกำรผิดสัญญำลำศกึ ษำ และเบยี้ ปรับทเี่ กดิ จำกกำรผิดสญั ญำกำรซอ้ื ทรพั ยส์ ิน

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 177

------------------------------------------------------------------------------
หรอื จำ้ งทำของที่ดำเนินกำรโดยใช้เงินงบประมำณใหส้ ถำนศึกษำสำมำรถจัดสรรเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำของ
สถำนศึกษำน้ัน ๆ ได้ตำมระเบียบท่ีกระทรวงกำรคลงั กำหนด

มาตรา ๖๐ ให้รฐั จัดสรรงบประมำณแผน่ ดินให้กบั กำรศึกษำในฐำนะท่มี ีควำมสำคัญสูงสดุ ตอ่ กำร
พัฒนำที่ย่ังยนื ของประเทศโดยจดั สรรเป็นเงินงบประมำณเพื่อกำรศึกษำดงั นี้

(๑) จดั สรรเงินอุดหนุนท่วั ไปเปน็ ค่ำใชจ้ ำ่ ยรำยบคุ คลทีเ่ หมำะสมแกผ่ ูเ้ รยี นกำรศกึ ษำภำคบังคบั และ
กำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำนที่จัดโดยรฐั และเอกชนใหเ้ ท่ำเทียมกัน

(๒) จดั สรรทนุ กำรศึกษำในรูปของกองทุนก้ยู มื ให้แกผ่ เู้ รียนที่มำจำกครอบครัวทมี่ ีรำยได้น้อยตำม
ควำมเหมำะสมและควำมจำเป็น

(๓) จดั สรรงบประมำณและทรัพยำกรทำงกำรศกึ ษำอ่นื เปน็ พเิ ศษ ให้เหมำะสมและสอดคล้องกบั
ควำมจำเปน็ ในกำรจดั กำรศกึ ษำสำหรับผู้เรียนท่มี คี วำมต้องกำรเปน็ พิเศษแต่ละกลุม่ ตำมมำตรำ ๑๐ วรรคสอง วรรค
สำม และวรรคสี่ โดยคำนึงถึงควำมเสมอภำคในโอกำสทำงกำรศึกษำและควำมเปน็ ธรรม ทั้งน้ี ใหเ้ ป็นไปตำม
หลกั เกณฑ์และวิธีกำรทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง

(๔) จัดสรรงบประมำณเป็นค่ำใช้จำ่ ยดำเนนิ กำรและงบลงทนุ ใหส้ ถำนศกึ ษำของรัฐตำมนโยบำย
แผนพฒั นำกำรศกึ ษำแหง่ ชำติและภำรกจิ ของสถำนศึกษำ โดยให้มีอิสระในกำรบริหำรงบประมำณและทรพั ยำกร
ทำงกำรศึกษำ ทงั้ นี้ ให้คำนงึ ถึงคุณภำพและควำมเสมอภำคในโอกำสทำงกำรศกึ ษำ

(๕) จัดสรรงบประมำณในลักษณะเงนิ อดุ หนุนทวั่ ไปให้สถำนศึกษำระดบั อุดมศึกษำของรัฐที่เป็น
นติ บิ คุ คล และเป็นสถำนศกึ ษำในกำกบั ของรัฐหรือองค์กำรมหำชน

(๖) จดั สรรกองทุนกู้ยืมดอกเบย้ี ต่ำให้สถำนศึกษำเอกชน เพอื่ ใหพ้ ่ึงตนเองได้
(๗) จัดต้งั กองทุนเพ่ือพัฒนำกำรศึกษำของรัฐและเอกชน
มาตรา ๖๑ ให้รฐั จัดสรรเงินอดุ หนุนกำรศกึ ษำท่ีจดั โดยบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กร
เอกชน องค์กรวิชำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบันสังคมอื่น ตำมควำมเหมำะสมและควำม
จำเป็น
มาตรา ๖๒ ใหม้ รี ะบบกำรตรวจสอบ ตดิ ตำม และประเมินประสทิ ธภิ ำพและประสทิ ธผิ ลกำรใช้
จำ่ ยงบประมำณกำรจัดกำรศึกษำใหส้ อดคล้องกับหลกั กำรศึกษำ แนวกำรจดั กำรศกึ ษำและคณุ ภำพมำตรฐำน
กำรศึกษำ โดยหนว่ ยงำนภำยในและหน่วยงำนของรฐั ที่มีหน้ำทตี่ รวจสอบภำยนอก
หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีกำรในกำรตรวจสอบ ติดตำมและกำรประเมิน ให้เป็นไปตำมทีก่ ำหนดใน
กฎกระทรวง

หมวด ๙

เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา

________________

มาตรา ๖๓ รฐั ต้องจัดสรรคลนื่ ควำมถี่ ส่อื ตวั นำ และโครงสรำ้ งพน้ื ฐำนอน่ื ทจ่ี ำเป็นตอ่ กำรส่ง
วทิ ยกุ ระจำยเสยี ง วิทยโุ ทรทัศน์ วิทยุโทรคมนำคม และกำรสอ่ื สำรในรปู อ่ืน เพ่ือใชป้ ระโยชนส์ ำหรับกำรศึกษำใน
ระบบ กำรศกึ ษำนอกระบบ กำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัย กำรทะนุบำรุงศำสนำ ศิลปะ และวฒั นธรรมตำมควำมจำเป็น

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 178

------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๖๔ รฐั ต้องส่งเสริมและสนับสนนุ ใหม้ กี ำรผลิตและพฒั นำแบบเรยี น ตำรำ หนังสือทำง

วิชำกำร สื่อส่ิงพิมพ์อ่ืน วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพ่ือกำรศึกษำอื่น โดยเร่งรัดพัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำร
ผลติ จดั ให้มีเงินสนับสนนุ กำรผลติ และมกี ำรให้แรงจงู ใจแก่ผผู้ ลติ และพัฒนำเทคโนโลยเี พ่ือกำรศึกษำ ทัง้ นี้ โดย
เปิดให้มีกำรแข่งขันโดยเสรีอย่ำงเปน็ ธรรม

มาตรา ๖๕ ให้มกี ำรพฒั นำบุคลำกรทง้ั ด้ำนผูผ้ ลิต และผ้ใู ชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื กำรศึกษำ เพ่ือให้มี
ควำมรู้ ควำมสำมำรถ และทักษะในกำรผลติ รวมทง้ั กำรใช้เทคโนโลยีทเี่ หมำะสม มคี ุณภำพ และประสิทธภิ ำพ

มาตรา ๖๖ ผู้เรียนมสี ิทธิได้รับกำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยีเพ่ือกำรศึกษำใน
โอกำสแรกท่ีทำได้ เพ่ือให้มีควำมรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพ่ือกำรศึกษำในกำรแสวงหำควำมรู้ด้วย
ตนเองไดอ้ ย่ำงเน่อื งตลอดชีวิต

มาตรา ๖๗ รัฐตอ้ งส่งเสรมิ ให้มีกำรวิจัยและพัฒนำ กำรผลิตและกำรพฒั นำเทคโนโลยีเพอื่
กำรศกึ ษำ รวมทง้ั กำรตดิ ตำม ตรวจสอบ และประเมินผลกำรใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือกำรศึกษำ เพอ่ื ใหเ้ กิดกำรใช้ท่คี ้มุ ค่ำ
และเหมำะสมกับกระบวนกำรเรียนรขู้ องคนไทย

มาตรา ๖๘ ให้มีกำรระดมทุน เพือ่ จดั ตั้งกองทนุ พฒั นำเทคโนโลยีเพอ่ื กำรศึกษำจำกเงินอุดหนนุ
ของรัฐ คำ่ สมั ปทำน และผลกำไร ที่ไดจ้ ำกกำรดำเนินกิจกำรดำ้ นสอื่ สำรมวลชน เทคโนโลยีสำรสนเทศ และ
โทรคมนำคมจำกทุกฝำ่ ยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ทั้งภำครัฐ ภำคเอกชน และองคก์ รประชำชน รวมทั้งใหม้ ีกำรลดอตั รำค่ำบรกิ ำร
เป็นพเิ ศษในกำรใช้เทคโนโลยีดังกล่ำวเพอื่ กำรพฒั นำคนและสังคม

หลักเกณฑ์และวิธีกำรจดั สรรเงินกองทนุ เพอื่ กำรผลิต กำรวิจยั และกำรพฒั นำเทคโนโลยเี พ่อื
กำรศึกษำ ใหเ้ ป็นไปตำมท่กี ำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๖๙ รัฐต้องจดั ใหม้ หี น่วยงำนกลำงทำหนำ้ ทีพ่ ิจำรณำเสนอนโยบำย แผน ส่งเสรมิ และ
ประสำนกำรวจิ ัย กำรพัฒนำและกำรใช้ รวมทั้งกำรประเมินคณุ ภำพและประสทิ ธภิ ำพของกำรผลติ และกำรใช้
เทคโนโลยีเพอ่ื กำรศกึ ษำ

บทเฉพาะกาล

____________
มาตรา ๗๐ บรรดำบทกฎหมำย กฎ ขอ้ บงั คบั ระเบียบ ประกำศ และคำสัง่ เกย่ี วกับกำรศกึ ษำ
ศำสนำ ศิลปะ และวฒั นธรรม ทีใ่ ช้บังคับอยู่ในวันทพ่ี ระรำชบัญญัตินใ้ี ชบ้ ังคับ ยังคงใชบ้ ังคบั ได้ตอ่ ไปจนกว่ำจะได้
มกี ำรดำเนินกำรปรับปรุงแกไ้ ขตำมบทบญั ญัตแิ หง่ พระรำชบัญญัติน้ี ซึ่งต้องไม่เกนิ ห้ำปีนับแตว่ ันที่พระรำชบัญญตั ิ
นใ้ี ช้บงั คบั
มาตรา ๗๑ ให้กระทรวง ทบวง กรม หนว่ ยงำนกำรศกึ ษำ และสถำนศกึ ษำทีม่ ีอยู่ในวนั ท่ี
พระรำชบญั ญัตินีใ้ ช้บังคับยงั คงมีฐำนะและอำนำจหนำ้ ทเ่ี ช่นเดิม จนกวำ่ จะได้มกี ำรจดั ระบบกำรบริหำรและกำรจดั
กำรศกึ ษำตำมบทบัญญตั แิ หง่ พระรำชบญั ญตั ินี้ ซึ่งต้องไม่เกนิ สำมปีนับแตว่ นั ท่พี ระรำชบญั ญัตนิ ้ใี ช้บงั คบั
มาตรา ๗๒ ในวำระเร่ิมแรก มิใหน้ ำบทบัญญัติ มำตรำ ๑๐ วรรคหนง่ึ และมำตรำ ๑๗ มำใช้บังคับ
จนกว่ำจะมกี ำรดำเนินกำรให้เป็นไปตำมบทบัญญัติดังกล่ำว ซึ่งตอ้ งไม่เกนิ หำ้ ปีนบั แต่วันท่ีรฐั ธรรมนูญแห่ง
รำชอำณำจกั รไทยใชบ้ งั คบั

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 179

------------------------------------------------------------------------------
ภำยในหน่งึ ปีนบั แตว่ ันที่พระรำชบัญญัตินใี้ ชบ้ ังคบั ให้ดำเนินกำรออกกฎกระทรวงตำมมำตรำ ๑๖

วรรคสอง และวรรคสี่ ให้แล้วเสร็จ

ภำยในหกปีนับแต่วันท่ีพระรำชบัญญัตนิ ้ีใช้บงั คับ ใหก้ ระทรวงจัดใหม้ กี ำรประเมินผลภำยนอกคร้งั
แรกของสถำนศกึ ษำทุกแห่ง

มาตรา ๗๓ ในวำระเริ่มแรก มิให้นำบทบญั ญตั ิในหมวด ๕ กำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำ และ

หมวด ๗ ครู คณำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ มำใชบ้ ังคบั จนกว่ำจะได้มีกำรดำเนินกำรให้เป็นไปตำม
บทบญั ญัติในหมวดดงั กลำ่ ว รวมทัง้ กำรแกไ้ ขปรบั ปรงุ พระรำชบัญญตั ิครู พทุ ธศักรำช ๒๔๘๘ และพระรำชบัญญัติ

ระเบยี บข้ำรำชกำรครู พ.ศ. ๒๕๒๓ ซ่ึงต้องไม่เกินสำมปีนับแต่วันทพ่ี ระรำชบญั ญัตินี้ใช้บังคับ

มาตรา ๗๔ ในวำระเร่มิ แรกที่กำรจดั ตงั้ กระทรวงยังไม่แล้วเสร็จ ใหน้ ำยกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร และรัฐมนตรีวำ่ กำรทบวงมหำวทิ ยำลยั รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัตนิ ้ี และให้

มอี ำนำจออกกฎกระทรวง ระเบยี บ และประกำศ เพือ่ ปฏบิ ตั ิกำรตำมพระรำชบัญญัติน้ี ทั้งน้ี ในส่วนทเี่ กย่ี วกับ
อำนำจหน้ำท่ีของตน

เพอ่ื ใหก้ ำรปฏบิ ตั ิตำมพระรำชบญั ญัตินีใ้ นส่วนที่ตอ้ งดำเนินกำรก่อนทีก่ ำรจดั ระบบบริหำร
กำรศึกษำตำมหมวด ๕ ของพระรำชบัญญตั ิน้จี ะแล้วเสร็จ ใหก้ ระทรวงศกึ ษำธิกำร ทบวงมหำวทิ ยำลัยและ
คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำแห่งชำติทำหน้ำทีใ่ นสว่ นท่ีเกย่ี วข้อง แลว้ แตก่ รณี[๒๕]

มาตรา ๗๕ ให้จัดต้ังสำนักงำนปฏิรูปกำรศึกษำ ซ่ึงเป็นองค์กำรมหำชนเฉพำะกิจท่ีจัดตงั้ ข้ึนโดย

พระรำชกฤษฎกี ำท่ีออกตำมควำมในกฎหมำยวำ่ ด้วยองคก์ ำรมหำชนเพื่อทำหน้ำท่ี ดงั ต่อไปน้ี

(๑) เสนอกำรจัดโครงสร้ำง องค์กร กำรแบ่งส่วนงำน ตำมที่บัญญัติไว้ในหมวด ๕ ของ
พระรำชบญั ญัติน้ี

(๒) เสนอกำรจัดระบบครู คณำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ตำมท่ีบญั ญัตไิ วใ้ นหมวด ๗ ของ

พระรำชบญั ญตั ิน้ี
(๓) เสนอกำรจัดระบบทรพั ยำกรและกำรลงทนุ เพ่อื กำรศึกษำ ตำมท่ีบัญญัติไวใ้ นหมวด ๘ ของ

พระรำชบญั ญตั ิน้ี

(๔) เสนอแนะเกยี่ วกับกำรร่ำงกฎหมำยเพอ่ื รองรับกำรดำเนนิ กำร ตำม (๑) (๒) และ (๓) ตอ่
คณะรฐั มนตรี

(๕) เสนอแนะเกีย่ วกับกำรปรับปรุงแกไ้ ขกฎหมำย กฎ ขอ้ บังคับ ระเบยี บ และคำส่งั ท่ีบงั คบั ใช้อยใู่ น
สว่ นทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับกำรดำเนนิ กำร ตำม (๑) (๒) และ (๓) เพือ่ ให้สอดคล้องกับพระรำชบญั ญตั ิน้ีต่อคณะรฐั มนตรี

(๖) อำนำจหน้ำที่อืน่ ตำมที่กำหนดในกฎหมำยวำ่ ด้วยองคก์ ำรมหำชน

ทั้งนี้ ให้คำนงึ ถึงควำมคิดเห็นของประชำชนประกอบดว้ ย

มาตรา ๗๖ ใหม้ คี ณะกรรมกำรบริหำรสำนักงำนปฏริ ูปกำรศึกษำจำนวนเก้ำคน ประกอบด้วย

ประธำนกรรมกำรและกรรมกำรซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งต้ังจำกผู้มีควำมรู้ควำมสำมำรถ มีประสบกำรณแ์ ละมีควำม

เช่ียวชำญดำ้ นกำรบรหิ ำรกำรศึกษำ กำรบรหิ ำรรัฐกิจ กำรบรหิ ำรงำนบคุ คล กำรงบประมำณ กำรเงินและกำรคลัง

____________
[๒๕] มำตรำ ๗๔ วรรคสอง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 180

------------------------------------------------------------------------------
กฎหมำยมหำชน และกฎหมำยกำรศกึ ษำ ทงั้ นี้ จะต้องมผี ู้ทรงคุณวุฒิ ซ่งึ มใิ ช่ขำ้ รำชกำรหรือผู้ปฏิบัตงิ ำนใน
หนว่ ยงำนของรฐั รวมอย่ดู ้วยไมน่ ้อยกวำ่ สำมคน

ให้คณะกรรมกำรบรหิ ำรมีอำนำจแตง่ ตง้ั ผทู้ รงคุณวุฒิเป็นทปี่ รึกษำและแตง่ ต้ังคณะอนุกรรมกำร
เพอ่ื ปฏบิ ัตกิ ำรตำมทคี่ ณะกรรมกำรบริหำรมอบหมำยได้

ใหเ้ ลขำธิกำรสำนกั งำนปฏิรูปกำรศกึ ษำเป็นกรรมกำรและเลขำนุกำรของ
คณะกรรมกำรบรหิ ำร และบริหำรกิจกำรของสำนกั งำนปฏริ ปู กำรศกึ ษำภำยใตก้ ำรกำกับดแู ลของคณะกรรมกำร
บรหิ ำร

คณะกรรมกำรบรหิ ำรและเลขำธิกำรมวี ำระกำรดำรงตำแหน่งวำระเดยี วเป็นเวลำสำมปี เมือ่ ครบ
วำระแลว้ ให้ยบุ เลิกตำแหน่งและสำนักงำนปฏิรูปกำรศกึ ษำ

มาตรา ๗๗ ให้มีคณะกรรมกำรสรรหำคณะกรรมกำรบริหำรสำนักงำนปฏริ ปู กำรศึกษำคณะหน่ึง
จำนวนสิบห้ำคน ทำหน้ำที่คัดเลือกบุคคลท่ีสมควรได้รับกำรเสนอชื่อเป็นคณะกรรมกำรบริหำรจำนวนสองเทำ่
ของจำนวนประธำนและกรรมกำรบริหำร เพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำแตง่ ตง้ั ประกอบดว้ ย

(๑) ผูแ้ ทนหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องจำนวนหำ้ คน ไดแ้ ก่ ปลัดกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ปลดั
ทบวงมหำวิทยำลยั เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกฤษฎกี ำ เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำแหง่ ชำติ และผูอ้ ำนวยกำร
สำนกั งบประมำณ

(๒) อธิกำรบดีของสถำบันอุดมศึกษำของรัฐและเอกชนท่ีเป็นนิตบิ ุคคล ซึ่งคัดเลือกกันเองจำนวน
สองคน และคณบดีคณะครศุ ำสตร์ ศกึ ษำศำสตร์ หรอื กำรศึกษำทั้งของรฐั และเอกชนที่มกี ำรสอนระดบั ปริญญำใน
สำขำวชิ ำครศุ ำสตร์ ศึกษำศำสตร์ หรอื กำรศึกษำ ซ่ึงคัดเลอื กกันเองจำนวนสำมคน ในจำนวนนจ้ี ะต้องเปน็ คณบดี
คณะครศุ ำสตร์ ศึกษำศำสตร์ หรอื กำรศึกษำจำกมหำวิทยำลัยของรฐั ไม่น้อยกวำ่ หนงึ่ คน

(๓) ผแู้ ทนสมำคมวิชำกำร หรือวิชำชีพดำ้ นกำรศึกษำท่เี ป็นนิติบคุ คล ซงึ่ คัดเลือกกันเองจำนวนหำ้
คน

ใหค้ ณะกรรมกำรสรรหำเลือกกรรมกำรสรรหำคนหน่งึ เปน็ ประธำนกรรมกำร และเลือกกรรมกำร
สรรหำอีกคนหน่ึงเปน็ เลขำนุกำรคณะกรรมกำรสรรหำ

มาตรา ๗๘ ให้นำยกรฐั มนตรีเปน็ ผู้รกั ษำกำรตำมพระรำชกฤษฎีกำจดั ต้งั สำนักงำนปฏิรูป
กำรศึกษำ และมีอำนำจกำกับดูแลกิจกำรของสำนักงำนตำมทก่ี ำหนดไว้ในกฎหมำยว่ำด้วยองค์กำรมหำชน

นอกจำกทมี่ บี ัญญตั ิไวแ้ ลว้ ในพระรำชบญั ญตั ิน้ี พระรำชกฤษฎกี ำจดั ตั้งสำนกั งำนปฏริ ูปกำรศกึ ษำ
อย่ำงนอ้ ยต้องมสี ำระสำคัญ ดงั ต่อไปน้ี

(๑) องค์ประกอบ อำนำจหน้ำท่ี และวำระกำรดำรงตำแหน่งของคณะกรรมกำรบริหำรตำมมำตรำ ๗๕
และมำตรำ ๗๖

(๒) องค์ประกอบ อำนำจหน้ำทขี่ องคณะกรรมกำรสรรหำ หลักเกณฑ์ วิธกี ำรสรรหำ และกำร

เสนอแตง่ ต้ังคณะกรรมกำรบรหิ ำร ตำมมำตรำ ๗๗
(๓) คุณสมบัตแิ ละลกั ษณะต้องห้ำมรวมท้ังกำรพ้นจำกตำแหนง่ ของคณะกรรมกำรบริหำร เลขำธิกำร

และเจำ้ หนำ้ ท่ี

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 181

------------------------------------------------------------------------------
(๔) ทุน รำยได้ งบประมำณ และทรพั ย์สนิ

(๕) กำรบรหิ ำรงำนบุคคล สวสั ดกิ ำร และสทิ ธปิ ระโยชน์อื่น

(๖) กำรกำกับดูแล กำรตรวจสอบ และกำรประเมินผลงำน

(๗) กำรยุบเลิก

(๘) ข้อกำหนดอ่ืน ๆ อันจำเป็นเพื่อให้กิจกำรดำเนินไปได้โดยเรียบร้อยและมีประสิทธภิ ำพ

ผรู้ ับสนองพระบรมรำชโองกำร
ชวน หลกี ภยั
นำยกรฐั มนตรี

หมำยเหตุ :- เหตุผลในกำรประกำศใชพ้ ระรำชบัญญัติฉบับน้ี คอื โดยท่รี ัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยกำหนดให้รฐั
ต้องจัดกำรศึกษำอบรมและสนบั สนุนใหเ้ อกชนจดั กำรศึกษำอบรมใหเ้ กิดควำมรู้คู่คณุ ธรรม จดั ใหม้ กี ฎหมำย
เกย่ี วกับกำรศึกษำแห่งชำติ ปรับปรุงกำรศกึ ษำให้สอดคล้องกบั ควำมเปลย่ี นแปลงทำงเศรษฐกจิ และสงั คม สรำ้ ง
เสรมิ ควำมรแู้ ละปลกู ฝงั จิตสำนึกทีถ่ กู ต้องเก่ยี วกับกำรเมืองกำรปกครองในระบอบประชำธปิ ไตยอันมี
พระมหำกษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ สนับสนนุ กำรค้นคว้ำวจิ ยั ในศิลปวทิ ยำกำรต่ำง ๆ เร่งรัดกำรศึกษำวิทยำศำสตร์และ
เทคโนโลยีเพ่ือกำรพัฒนำประเทศ พัฒนำวชิ ำชีพครู และส่งเสริมภูมปิ ญั ญำท้องถิ่น ศิลปะ และวฒั นธรรมของชำติ
รวมทั้งในกำรจดั กำรศกึ ษำของรัฐ ให้คำนงึ ถงึ กำรมสี ว่ นร่วมขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ และเอกชน ตำมท่ี
กฎหมำยบัญญตั ิและให้ควำมคุม้ ครองกำรจัดกำรศกึ ษำอบรมขององค์กรวิชำชพี และเอกชนภำยใตก้ ำรกำกับดูแลของ
รัฐ ดังนัน้ จึงสมควรมกี ฎหมำยว่ำด้วยกำรศึกษำแห่งชำติ เพ่อื เปน็ กฎหมำยแมบ่ ทในกำรบรหิ ำรและจัดกำร
กำรศึกษำอบรมให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยดังกล่ำว จึงจำเป็นต้องตรำ
พระรำชบัญญัตินี้
พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕[๒๖]

มำตรำ ๒ พระรำชบญั ญัติน้ีใหใ้ ชบ้ งั คับตั้งแต่วนั ถดั จำกวันประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำเปน็ ต้น
ไป
หมำยเหตุ :- เหตผุ ลในกำรประกำศใชพ้ ระรำชบัญญัตฉิ บับนี้ คือ เนือ่ งจำกรัฐบำลมีนโยบำยปฏิรูประบบรำชกำร
โดยใหแ้ ยกภำรกิจเกย่ี วกบั งำนด้ำนศิลปะและวัฒนธรรม ไปจัดต้งั เป็นกระทรวงวฒั นธรรม และโดยท่เี ป็นกำร
สมควรปรับปรงุ กำรบริหำรและกำรจดั กำรศึกษำของเขตพ้ืนที่กำรศกึ ษำ ประกอบกบั สมควรให้มีคณะกรรมกำรกำร
อำชีวศึกษำทำหน้ำทพ่ี ิจำรณำเสนอนโยบำย แผนพฒั นำ มำตรฐำน และหลกั สตู รกำรอำชวี ศกึ ษำทกุ ระดับที่
สอดคลอ้ งกบั ควำมต้องกำรตำมแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ และแผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ สนับสนนุ
ทรัพยำกร ตดิ ตำม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลกำรจัดกำรอำชีวศกึ ษำดว้ ย จงึ จำเป็นตอ้ งตรำพระรำชบญั ญัตนิ ้ี
พระรำชบัญญัติกำรศกึ ษำแห่งชำติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓[๒๗]

___________
[๒๖] รำชกจิ จำนเุ บกษำ เลม่ ๑๑๙/ตอนท่ี ๑๒๓ ก/หน้ำ ๑๖/๑๙ ธันวำคม ๒๕๔๕

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 182

------------------------------------------------------------------------------
มำตรำ ๒ พระรำชบญั ญัตินใี้ หใ้ ช้บงั คับต้งั แต่วันถดั จำกวันประกำศในรำชกิจจำนเุ บกษำเปน็ ตน้

ไป

หมำยเหตุ :- เหตุผลในกำรประกำศใชพ้ ระรำชบัญญตั ฉิ บับน้ี คอื โดยท่กี ำรจัดกำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำนประกอบด้วย
กำรศกึ ษำระดับประถมศึกษำและระดบั มัธยมศกึ ษำ ซึง่ มีระบบกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำรศกึ ษำของท้งั สองระดับ
รวมอยู่ในควำมรับผิดชอบของแตล่ ะเขตพนื้ ทก่ี ำรศกึ ษำ ทำใหก้ ำรบริหำรและกำรจัดกำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำนเกิดควำม
ไมค่ ล่องตวั และเกิดปัญหำกำรพัฒนำกำรศกึ ษำ สมควรแยกเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำออกเป็นเขตพืน้ ท่กี ำรศึกษำ

ประถมศกึ ษำและเขตพ้นื ท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำ เพอื่ ให้กำรบรหิ ำรและกำรจัดกำรศึกษำมีประสทิ ธิภำพ อันจะเปน็
กำรพฒั นำกำรศึกษำแก่นักเรียนในช่วงช้ันประถมศกึ ษำและมธั ยมศึกษำให้สัมฤทธผิ ลและมคี ุณภำพยิง่ ข้ึน จึง
จำเป็นต้องตรำพระรำชบัญญัตนิ ี้

คำสง่ั หวั หนำ้ คณะรกั ษำควำมสงบแห่งชำติ ท่ี ๑๐/๒๕๕๙ เรื่อง กำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปกำรศกึ ษำของ
กระทรวงศึกษำธกิ ำรในภมู ิภำค[๒๘]

ข้อ ๔ ให้ยุบเลกิ คณะกรรมกำรเขตพืน้ ท่กี ำรศึกษำตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ และ

กฎหมำยวำ่ ดว้ ยระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร และใหโ้ อนอำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรเขตพนื้ ท่ี

กำรศกึ ษำของแตล่ ะเขตพื้นท่ีกำรศกึ ษำตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรศึกษำแหง่ ชำติและกฎหมำยวำ่ ด้วยระเบยี บบริหำร

รำชกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร ไปเปน็ อำนำจหนำ้ ท่ีของ กศจ. ของจงั หวดั น้ัน ๆ ตำมคำสั่งนี้
บรรดำบทบญั ญัติแห่งกฎหมำย กฎ ระเบียบ ขอ้ บังคบั ประกำศ คำสั่ง หรอื มติคณะรัฐมนตรใี ดท่ี

อำ้ งถึงคณะกรรมกำรเขตพ้นื ท่กี ำรศึกษำตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรศึกษำแห่งชำติและกฎหมำยว่ำด้วยระเบียบบริหำร

รำชกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร ใหม้ ผี ลใช้บังคับต่อไปเท่ำที่ไม่ขัดหรือแยง้ กบั คำสั่งนี้
ข้อ ๑๐ บรรดำบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมำย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บังคับ ประกำศ คำสั่ง หรือมติ

คณะรัฐมนตรใี ดที่อำ้ งถงึ คณะกรรมกำรเขตพน้ื ที่กำรศกึ ษำตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรศึกษำแหง่ ชำติและกฎหมำยวำ่

ด้วยระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร และ อ.ก.ค.ศ. เขตพน้ื ที่กำรศึกษำตำมกฎหมำยว่ำด้วยระเบียบ
ข้ำรำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ ให้ถือว่ำอำ้ งถึง กศจ. ตำมคำสง่ั นี้ ทง้ั น้ี เท่ำที่ไม่ขดั หรือแย้งกบั คำสง่ั นี้
พระรำชบญั ญตั ิกำรศึกษำแห่งชำติ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒[๒๙]

มำตรำ ๒ พระรำชบญั ญตั ิน้ใี ห้ใช้บังคับต้งั แต่วนั ถดั จำกวันประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำเป็นตน้

ไป
มำตรำ ๑๑ ในวำระเรมิ่ แรก ใหค้ ณะกรรมกำรกำรอดุ มศกึ ษำตำมพระรำชบัญญัตกิ ำรศึกษำ

แห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงปฏิบัตหิ น้ำทอี่ ยใู่ นวันกอ่ นวันทีพ่ ระรำชบัญญัติน้ีใชบ้ งั คบั ปฏิบตั หิ นำ้ ทค่ี ณะกรรมกำร

กำรอุดมศึกษำตำมมำตรำ ๓๕/๑ แหง่ พระรำชบัญญัตกิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซงึ่ แก้ไขเพ่มิ เติมโดย

พระรำชบัญญัติน้ีไปพลำงกอ่ นจนกวำ่ จะมคี ณะกรรมกำรกำรอดุ มศึกษำตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยกำรนนั้

_____________
[๒๘] รำชกจิ จำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๓/ตอนพิเศษ ๖๘ ง/หนำ้ ๑/๒๑ มนี ำคม ๒๕๕๙
[๒๗] รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๒๗/ตอนท่ี ๔๕ ก/หน้ำ ๑/๒๒ กรกฎำคม ๒๕๕๓
[๒๙] รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖/ตอนที่ ๕๗ ก/หนำ้ ๔๙/๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 183

------------------------------------------------------------------------------
มำตรำ ๑๒ ให้รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำรรกั ษำกำรตำมพระรำชบญั ญัติน้ี

หมำยเหตุ :- เหตผุ ลในกำรประกำศใช้พระรำชบญั ญัตฉิ บับน้ี คือ โดยทเ่ี ป็นกำรสมควรแก้ไขเพิ่มเตมิ กฎหมำยวำ่ ด้วย
กำรศกึ ษำแหง่ ชำติ เพื่อกำหนดขอบเขตในกำรดำเนินกำรของกระทรวงศึกษำธิกำร และหน่วยงำนอ่ืนใหส้ อดคล้อง
กบั อำนำจหนำ้ ทที่ ่เี ปลย่ี นแปลงไป เนอื่ งจำกมีกำรจดั ต้งั กระทรวงกำรอุดมศกึ ษำ วิทยำศำสตร์ วจิ ัยและ
นวตั กรรม จงึ จำเปน็ ตอ้ งตรำพระรำชบัญญตั ินี้

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 184

------------------------------------------------------------------------------

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542

และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เติมถงึ ฉบับท่ี 4. พ.ศ. 2562

1. ในพระรำชบญั ญตั ิ คำวำ่ กำรศึกษำ หมำยควำมว่ำ

ก. กระบวนกำรเรียนรเู้ พอ่ื ควำมเจริญงอกงำมของบุคคลและสงั คม โดยกำรถ่ำยทอดควำมรู้

ข. กำรสร้ำงสรรค์ จรรโลงควำมกำ้ วหน้ำทำงวชิ ำกำร

ค. กำรสรำ้ งองค์ควำมรอู้ ันเกิดจำกกำรจัดสภำพแวดลอ้ ม สงั คม

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

2. บคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ หมำยควำมว่ำ

ก. ผบู้ รหิ ำรสถำนศึกษำ ข. ผ้บู รหิ ำรกำรศึกษำ

ค. ผู้สนับสนุนกำรศึกษำ ง. ถกู ทุกข้อ

ตอบ ง. ถกู ทกุ ขอ้

3. ในพระรำชบัญญัตนิ ้ี คำวำ่ กระทรวง หมำยควำมวำ่

ก. กระทรวงกำรศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ข. กระทรวงกำรศึกษำ และวัฒนธรรม

ค. กระทรวงศึกษำธิกำร ง. กระทรวงกำรศึกษำธกิ ำร

ตอบ ค. กระทรวงศึกษำธกิ ำร

4. ใครคอื ผ้รู ักษำกำรตำมพระรำชบญั ญัติน้ี

ก. รัฐมนตรวี ่ำกำรศึกษำธิกำรและวฒั นธรรม ข. รัฐมนตรีว่ำกำรศกึ ษำธิกำรและศำสนำ

ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร ง. ไมม่ ีข้อใดถกู

ตอบ ค. รฐั มนตรวี ำ่ กำรกระทรวงศึกษำธิกำร

5. กำรจดั กำรศึกษำให้ยึดหลกั ใด

ก. เปน็ กำรศึกษำตลอดชวี ิตสำหรับประชำชน ข. ให้สังคมมีส่วนร่วมในกำรจดั กำรศกึ ษำ

ค. กำรพัฒนำสำระและกระบวนกำรเรียนรู้ใหเ้ ปน็ ไปอยำ่ งต่อเน่ือง

ง. ถูกทุกขอ้

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

6. กำรจดั ระบบ โครงสรำ้ ง และกระบวนกำรจัดกำรศกึ ษำ ไม่ยดึ หลักใดดงั ต่อไปนี้

ก. มีเอกภำพดำ้ น นโยบำย และควำมหลำกหลำยในกำรปฏิบตั ิงำน

ข. มีกำรรวมอำนำจไปสเู่ ขตพื้นทกี่ ำรศึกษำ สถำนศกึ ษำและองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

ค. มกี ำรกำหนดมำตรฐำนกำรศกึ ษำและจัดระบบประกันคุณภำพกำรศกึ ษำทกุ ระดับและ ประเภท กำรศึกษำ

ง. ไมม่ ีขอ้ ใดถกู

ตอบ ข. ค. 12 ปี ง. 15 ปี
7. รฐั ต้องจัดใหม้ กี ำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำนไม่น้อยกวำ่ กปี่ ี

ก. 7 ปี ข. 10 ปี
ตอบ ค. 12 ปี

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 185

------------------------------------------------------------------------------
8. บิดำ มำรดำ หรอื ผปู้ กครองมีสทิ ธไิ ด้รบั สิทธปิ ระโยชน์ใดดังต่อไปนี้

ก. กำรสนับสนนุ จำกภำครัฐ ให้มีควำมรูค้ วำมสำมำรถในกำรอบรมเล้ยี งดู
ข. เงินอดุ หนุนจำกรฐั ในกำรจัดกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน

ค. กำรลดหยอ่ นหรือยกเว้นภำษีสำหรบั คำ่ ใช้จำ่ ยกำรศึกษำ

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ้

9. บุคคล ครอบครวั ชุมชน ซง่ึ สนบั สนนุ หรือจัดกำรศึกษำขน้ั พน้ื ฐำน มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ใดดังตอ่ ไปน้ี

ก. กำรสนบั สนนุ จำกรัฐให้มคี วำมรคู้ วำมสำมำรถในกำรอบรมเลี้ยงดบู ุคคลซ่ึงอยใู่ นควำมดแู ลรับผิดชอบ
ข. เงนิ อดุ หนุนจำกรฐั สำหรับกำรจดั กำรศึกษำขน้ั พืน้ ฐำน

ค. กำรลดหย่อนหรือยกเว้นภำษสี ำหรบั ค่ำใชจ้ ่ำยกำรศกึ ษำ

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ้

10. กำรจัดกำรศกึ ษำมีกรี่ ูปแบบ

ก. 2 รปู แบบ ข. 3 รูปแบบ ค. 4 รูปแบบ ง. 5 รปู แบบ

ตอบ ข. 3 รูปแบบ

11. กำรศกึ ษำในระบบมีกี่ระดบั

ก. 2 ระดบั ข. 3 ระดบั ค. 4 ระดบั ง. 5 ระดับ

ตอบ ก. 2 ระดบั

12. กำรศึกษำภำคบังคบั มีจำนวนกปี่ ี

ก. 6 ปี ข. 9 ปี ค. 12 ปี ง. 15 ปี

ตอบ ข. 9 ปี

13. กำรจัดกำรศึกษำปฐมวยั และกำรศึกษำขนั้ พ้นื ฐำน ใหจ้ ดั ในสถำนศกึ ษำใด

ก. สถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั ได้แก่ศูนยเ์ ดก็ เล็ก ข. โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรยี นของรฐั โรงเรยี นเอกชน

ค. ศูนยก์ ำรเรียนไดแ้ ก่ สถำนทเ่ี รยี นทห่ี นว่ ยงำนจดั กำรศกึ ษำนอกโรงเรยี น

ง. ถูกทกุ ขอ้

ตอบ ง. ถูกทกุ ขอ้

14. กำรจัดกำรศึกษำระดบั อุดมศกึ ษำให้จัดในท่ีใด

ก. มหำวทิ ยำลยั ข. สถำบัน ค. วทิ ยำลยั ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทกุ ขอ้

15. กำรจดั กำรศึกษำในระบบใด ตอ้ งเน้นควำมสำคญั ทำงควำมรู้ กระบวนกำรเรียนรู้ และบรู ณำกำรตำมควำม

เหมำะสม

ก. กำรศกึ ษำในระบบ ข. กำรศึกษำนอกระบบ

ค. กำรศกึ ษำอัธยำศยั ง. ถกู ทกุ ข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ้

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 186

------------------------------------------------------------------------------
16. กำรเสนอนโยบำย แผนกำรศึกษำแห่งชำติ และมำตรฐำนกำรศึกษำใหเ้ สนอต่อใคร

ก. ผูว้ ่ำรำชกำรจงั หวดั ข. รฐั มนตรีวำ่ กำรกระทรวงศึกษำธิกำร
ค. คณะรฐั มนตรี ง. นำยกรัฐมนตรี

ตอบ ค. คณะรฐั มนตรี

17. บุคคลใดเปน็ ประธำนคณะกรรมกำรสภำศกึ ษำ

ก. รัฐมนตรวี ำ่ กำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร ข. ปลดั กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

ค. นำยกรฐั มนตรีโดยตำแหน่ง ง. คณะกรรมกำรกำรศึกษำเลือกกนั เอง 1 คน

ตอบ ก. รฐั มนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร

18. บุคคลใดเป็นเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรเขตพ้ืนที่กำรศกึ ษำ

ก. รัฐมนตรีกระทรวงศกึ ษำธิกำร ข. ปลดั กระทรวงศึกษำธิกำร

ค. ผอู้ ำนวยกำรสำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำ ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวดั

ตอบ ค. ผู้อำนวยกำรสำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำ

19. กฎหมำยใดมบี ทบญั ญตั ิ ใหต้ รำ พรบ.กำรศึกษำแหง่ ชำติ

ก. รฐั ธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจักรไทย

ข. กฎหมำยกำรบริหำรและกำรจัดกำรศกึ ษำของสว่ นรำชกำร

ค. พรบ.ระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร

ง. พรบ.ครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ

ตอบ ก. รฐั ธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจกั รไทย

20. พรบ.กำรศกึ ษำแหง่ ชำติ ตรำขึ้นโดยคำแนะนำของผใู้ ด

ก. รฐั มนตรี ข. รัฐสภำ ค. คณะรฐั มนตรี ง. วฒุ ิสภำ

ตอบ ข. รัฐสภำ

21. พระรำชบญั ญตั ิกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 ทใ่ี ช้อยู่ในปจั จบุ นั แกไ้ ขเพมิ่ เติมถึงฉบับใด

ก. ฉบับที่ 2 ข. ฉบับที่ 3 ค. ฉบับท่ี 4 ง. ฉบับที่ 5

ตอบ ข. ฉบบั ท่ี 3

22. พระรำชบญั ญตั ิกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หวั ทรงลงพระ

ปรมำภิไธยเม่ือใด

ก. วนั ท่ี 5 สงิ หำคม 2542 ข. วันที่ 12 สิงหำคม 2542

ค. วนั ที่ 14 สงิ หำคม 2542 ง. วันที่ 17 สิงหำคม 2542

ตอบ ค. วันที่ 14 สิงหำคม 2542

23. พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2542 มผี ลบังคบั ใชเ้ ม่ือใด

ก. ตงั้ แต่วันประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำ ข. ถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนเุ บกษำ

ค. 3 วนั หลงั จำกวันประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำ ง. 7 วนั หลังจำกวนั ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ

ตอบ ข. ถดั จำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 187

------------------------------------------------------------------------------
24. พระรำชบัญญตั กิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2542 มกี หี่ มวดกม่ี ำตรำ

ก. 8 หมวด 78 มำตรำ ข. 8 หมวด 79 มำตรำ
ค. 9 หมวด 78 มำตรำ ง. 9 หมวด 79 มำตรำ

ตอบ ค. 9 หมวด 78 มำตรำ

25. กำรศึกษำกอ่ นระดบั อุดมศกึ ษำ หมำยถงึ ข้อใด

ก. กำรศึกษำ ข. กำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน

ค. กำรศึกษำตลอดชวี ิต ง. มำตรฐำนกำรศึกษำ

ตอบ ข. กำรศกึ ษำข้นั พ้ืนฐำน

26. กระบวนกำรเรียนรู้เพื่อควำมเจรยิ งอกงำมของบคุ คลและสังคมโดยกำรถ่ำยทอดควำมรู้ กำรฝึก กำรอบรม กำร

สบื สวนทำงวฒั นธรรม หมำยควำมถึงขอ้ ใด

ก. กำรศกึ ษำตลอดชวี ิต ข. กำรศกึ ษำขัน้ พื้นฐำน

ค. กำรศึกษำ ง. มำตรฐำนกำรศกึ ษำ

ตอบ ค. กำรศกึ ษำ

27. “ผสู้ อน” ใน พระรำชบัญญัติกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2542 หมำยถงึ ข้อใด

ก. ครแู ละคณำจำรย์ ข. ครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ

ค. ครู คณำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ

ง. ครู คณำจำรย์ บุคลำกรทำงกำรศึกษำ และผบู้ ริหำรสถำนศึกษำ

ตอบ ก. ครแู ละคณำจำรย์

28. บคุ ลำกรวชิ ำชพี ท่ที ำหน้ำทห่ี ลักด้ำนกำรเรยี นกำรสอนและกำรสง่ เสรมิ กำรเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ในสถำนศกึ ษำทงั้

ของรฐั และเอกชนหมำยถึงใคร

ก. ครู ข. คณำจำรย์ ค. ผ้บู ริหำรสถำนศกึ ษำ ง. ผู้บริหำรกำรศึกษำ

ตอบ ก. ครู

29. บุคลำกรท่ที ำหนำ้ ที่หลกั ทำงด้ำนกำรสอนและกำรวจิ ยั ในสถำนศกึ ษำระดับปริญญำของรฐั

และเอกชน

ก. ครู ข. คณำจำรย์ ค. ผบู้ รหิ ำรสถำนศกึ ษำ ง. ผู้บรหิ ำรกำรศกึ ษำ

ตอบ ข. คณำจำรย์

30. บคุ ลำกรวชิ ำชพี ท่รี บั ผดิ ชอบกำรบริหำรสถำนศกึ ษำแต่ละแห่งของรัฐและเอกชน

ก. ครู ข. คณำจำรย์

ค. ผ้บู ริหำรสถำนศึกษำ ง. ผูบ้ ริหำรกำรศกึ ษำ

ตอบ ค. ผู้บริหำรสถำนศึกษำ

31. บคุ ลำกรวชิ ำชีพที่รบั ผดิ ชอบกำรบริหำรกำรศึกษำนอกสถำนศกึ ษำต้งั แตเ่ ขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำขน้ึ ไป ใน

พระรำชบญั ญตั กิ ำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2542 หมำยถงึ บุคคลใด

ก. ครู ข. คณำจำรย์

ค. ผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำ ง. ผบู้ ริหำรกำรศึกษำ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 188

------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ง. ผบู้ ริหำรกำรศึกษำ

32. ผใู้ ด หมำยถึงบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ

ก. ผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำ ข. ผบู้ ริหำร

ข. ผูส้ นบั สนุนกำรศกึ ษำ ง. ถกู ทกุ ขอ้

ตอบ ง. ถูกทกุ ข้อ

33. หมวดท่ี 1 ในพระรำชบัญญตั ิกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2542 มเี นอื้ หำสำระเก่ียวกบั เร่ืองใด

ก. ควำมมุ่งหมำยและหลกั กำร ข. ระบบกำรศกึ ษำ

ค. มำตรฐำนและกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำง. แนวกำรจดั กำรศึกษำ

ตอบ ก. ควำมมุ่งหมำยและหลกั กำร

34. กำรจัดกำรศกึ ษำต้องเป็นไปเพ่ือพฒั นำคนไทยให้เป็นมนษุ ย์ท่สี มบูรณท์ งั้ ร่ำงกำย จิตใจ สติ ปญั ญำ ควำมรแู้ ละ

คณุ ธรรม มจี รยิ ธรรมและวฒั นธรรมในกำรดำรงชีวติ สำมำรถอยรู่ ว่ มกับผูอ้ ื่นได้อย่ำงมคี วำมสุข หมำยถงึ ส่ิงใด

ก. กำรบริหำรและกำรจัดกำรศกึ ษำ ข. แนวกำรจัดกำรศกึ ษำ

ค. ระบบกำรศกึ ษำ ง. ควำมม่งุ หมำยและหลักกำร

ตอบ ง. ควำมม่งุ หมำยและหลักกำร

35. จำกควำมม่งุ หมำยและหลักกำรใน พระรำชบัญญัตกิ ำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ.2542 บัญญตั ไิ ว้ในมำตรำใด

ก. มำตรำ 5 ข. มำตรำ 6 ค. มำตรำ 7 ง. มำตรำ 8

ตอบ ข. มำตรำ 6

36. ในกระบวนกำรเรียนร้จู ะต้องปลูกฝงั จติ สำนกึ เกี่ยวกับเรื่องใดลงไปด้วย

ก. กำรเมอื งกำรปกครอง ข. สทิ ธิ หน้ำที่ เสรีภำพ

ค. ควำมภำคภูมิใจในควำมเป็นไทย ง. ถกู ทุกข้อ

ตอบ ง. ถกู ทกุ ข้อ

37. หลักกำรจดั กำรศกึ ษำในพระรำชบัญญตั กิ ำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ.2542 มกี ี่หลกั กำร

ก. 2 หลกั กำร ข. 3 หลกั กำร ค. 4 หลกั กำร ง. 5 หลกั กำร

ตอบ ข. 3 หลักกำร

38. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลักกำรจัดกำรศึกษำพระรำชบญั ญัตกิ ำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ.2542

ก. มกี ำรกระจำยกำรศึกษำอยำ่ งทว่ั ถึง ข. เปน็ กำรศึกษำตลอดชีวติ สำหรับประชำชน

ค. ใหส้ งั คมมสี ่วนร่วมในกำรจัดกำรศึกษำ

ง. พฒั นำสำระและกระบวนกำรเรียนร้ใู ห้เป็นไปอย่ำงตอ่ เน่ือง

ตอบ ก. มีกำรกระจำยกำรศึกษำอย่ำงท่ัวถงึ
39. กำรจัดระบบ โครงสร้ำง และกระบวนกำรจัดกำรศกึ ษำ มีกี่หลักกำร

ก. 3 หลักกำร ข. 4 หลกั กำร ค. 5 หลักกำร ง. 6 หลักกำร

ตอบ ง. 6 หลักกำร

40. ขอ้ ใดไม่ใช่กระบวนกำรจัดกำรศกึ ษำ

ก. มีเอกภำพด้ำนนโยบำย ข. กระจำยอำนำจไปสูพ่ ืน้ ท่ีกำรศึกษำ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 189

------------------------------------------------------------------------------
ค. มกี ำรกำหนดมำตรฐำนกำรศึกษำ

ง. พัฒนำวำระและกระบวนกำรเรยี นร้ใู ห้เปน็ ไปอย่ำงตอ่ เนือ่ ง

ตอบ ง. พัฒนำวำระและกระบวนกำรเรียนรูใ้ หเ้ ป็นไปอย่ำงต่อเนอื่ ง

41. กำรมีสว่ นรว่ มของบคุ คล ครอบครวั ชุมชน เป็นหลกั กำรของเรื่องใด

ก. วตั ถปุ ระสงค์กำรศึกษำ ข. กำรจัดกำรศึกษำ

ค. กำรจดั ระบบ โครงสร้ำงและกระบวนกำรจดั กำรศึกษำ

ง. ประโยชน์ของกำรศกึ ษำ

ตอบ ค. กำรจัดระบบ โครงสร้ำงและกระบวนกำรจดั กำรศึกษำ

42. สิทธิและหน้ำท่ที ำงกำรศกึ ษำ บัญญัตไิ ว้ในมำตรำใด

ก. มำตรำ 6 – 9 ข. มำตรำ 10 – 14

ค. มำตรำ 15 – 1 ง. มำตรำ 19 – 22

ตอบ ข. มำตรำ 10 – 14

43. หมวด 2 ใน พระรำชบัญญตั กิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ.2542

ก. แนวกำรจัดกำรศกึ ษำ ข. ระบบกำรศึกษำ

ค. ควำมมงุ่ หมำยและหลกั กำร ง. สทิ ธิและหน้ำทีท่ ำงกำรศกึ ษำ

ตอบ ง. สิทธแิ ละหนำ้ ท่ีทำงกำรศกึ ษำ

44. ขอ้ ใดไม่เป็นสทิ ธิประโยชนข์ องบดิ ำ มำรดำหรอื ผปู้ กครองท่ไี ดร้ บั จำกรฐั

ก. กำรสนบั สนนุ จำกรัฐให้มคี วำมรู้ ข. เงนิ อุดหนุจำกรัฐสำหรบั กำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน

ค. กำรลดหยอ่ นหรือยกเว้นภำษี ง. ถกู ทุกขอ้

ตอบ ง. ถกู ทกุ ข้อ

45. หมวด 3 ใน พระรำชบัญญัติกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ.2542

ก. สทิ ธแิ ละหนำ้ ที่ทำงกำรศกึ ษำ ข. ระบบกำรศกึ ษำ

ค. แนวกำรจดั กำรศกึ ษำ ง. กำรบริหำรและกำรจดั กำรศึกษำ

ตอบ ข. ระบบกำรศึกษำ

46. ขอ้ ใดไม่ใชร่ ะบบกำรจดั กำรศึกษำ

ก. กำรศึกษำในระบบ ข. กำรศกึ ษำนอกระบบ

ค. กำรศกึ ษำอสิ ระ ง. กำรศึกษำตำมอัธยำศยั

ตอบ ค. กำรศึกษำอสิ ระ

47. กำรศึกษำท่กี ำหนดจดุ มุ่งหมำย วิธีกำรศกึ ษำหลักสูตร ระยะเวลำของกำรศกึ ษำ กำรวัดและประเมินผล ซ่งึ มี

เง่ือนไขท่แี นน่ อน เปน็ ระบบกำรศกึ ษำแบบใด

ก. กำรศึกษำในระบบ ข. กำรศึกษำนอกระบบ

ค. กำรศกึ ษำอสิ ระ ง. กำรศึกษำตำมอัธยำศัย

ตอบ ก. กำรศกึ ษำในระบบ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 190

------------------------------------------------------------------------------
48. กำรศึกษำทม่ี คี วำมยดื หย่นุ ในกำรกำหนดจดุ ม่งุ หมำย รูปแบบ วธิ ีกำร จดั กำรศกึ ษำ ระยะเวลำกำรศึกษำเป็น

ระบบกำรศกึ ษำแบบใด ข. กำรศกึ ษำนอกระบบ
ก. กำรศกึ ษำในระบบ

ค. กำรศึกษำอิสระ ง. กำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัย

ตอบ ข. กำรศึกษำนอกระบบ

49. กำรศกึ ษำทีใ่ ห้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ดว้ ยตนเองตำมควำมสนใจ เปน็ ระบบกำรศกึ ษำแบบใด

ก. กำรศกึ ษำในระบบ ข. กำรศึกษำนอกระบบ

ค. กำรศกึ ษำอสิ ระ ง. กำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั

ตอบ ง. กำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั

50. ขอ้ ใดกล่ำวถูกต้องเกยี่ วกับกำรแบ่งกำรศึกษำระดบั อดุ มศึกษำ

ก. ระดับตำ่ กว่ำปรญิ ญำ และระดบั ปรญิ ญำ

ข. ระดับกำรศึกษำข้ันพื้นฐำนและกำรศกึ ษำระดับอดุ มศึกษำ

ค. ระดบั กำรศกึ ษำกอ่ นอดุ มศึกษำและกำรศึกษำอุดมศึกษำ
ง. ระดับมัธยมศึกษำและอดุ มศกึ ษำ

ตอบ ก. ระดับตำ่ กว่ำปรญิ ญำ และระดบั ปริญญำ

51. กำรศกึ ษำภำคบงั คบั มีกำหนดกี่ปี

ก. 7 ป ข. 9 ปี ค. 11 ปี ง. 12 ปี

ตอบ ข. 9 ปี

52. กฎหมำยบัญญตั ใิ ห้มกี ำรศึกษำภำคบังคบั ต้งั แตอ่ ำยชุ ว่ งใด

ก. ย่ำงเข้ำปที ่ี 5 จนอำยยุ ่ำงเข้ำปที สี่ บิ หก ข. ย่ำงเขำ้ ปีท่ี 7 จนอำยุยำ่ งเขำ้ ปีทีส่ ิบแปด

ค. ย่ำงเข้ำปีที่ 5 จนอำยุย่ำงเข้ำปที ี่สิบห้ำ ง. ยำ่ งเขำ้ ปที ่ี 7 จนอำยุยำ่ งเข้ำปีท่สี บิ หก

ตอบ ข. ยำ่ งเข้ำปที ี่ 7 จนอำยยุ ำ่ งเข้ำปที สี่ บิ แปด

53. กำรจดั ใหม้ กี ำรศกึ ษำภำคบงั คับนั้น กำหนดไวใ้ นมำตรำใดของพระรำชบญั ญตั ิกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ.2542

ก. มำตรำ 17 ข. มำตรำ 18 ค. มำตรำ 19 ง. มำตรำ 20

ตอบ ก. มำตรำ 17

54. กำรจดั กำรศึกษำปฐมวยั และกำรศึกษำขน้ั พืน้ ฐำนใหจ้ ดั ในสถำนศกึ ษำใด

ก. สถำนพัฒนำเดก็ ปฐมวัย ข. โรงเรยี น

ค. ศูนย์กำรเรียน ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถกู ทกุ ขอ้

55. หมวด 4 ใน พระรำชบัญญัตกิ ำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ.2542

ก. สทิ ธิและหน้ำทท่ี ำงกำรศึกษำ ข. ระบบกำรศึกษำ

ค. แนวกำรจดั กำรศึกษำ ง. กำรบรหิ ำรและกำรจดั กำรศึกษำ

ตอบ ค. แนวกำรจดั กำรศึกษำ

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 191

------------------------------------------------------------------------------
56. แนวกำรจัดกำรศกึ ษำ ตำม พ.ร.บ.กำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ.2542 ควรยึดหลักใด

ก. ผเู้ รียนสำมำรถพัฒนำตนเองได้ ข. ผเู้ รียนทกุ คนมีควำมสำมำรถเรยี นรู้
ค. ผ้เู รียนมีควำมสำคญั ทส่ี ดุ ง. ถกู ทกุ ขอ้

ตอบ ง. ถกู ทกุ ขอ้

57. กำรจดั กำรศกึ ษำ ทง้ั กำรศึกษำในระบบ กำรศึกษำนอกระบบ และกำรศึกษำตำมอัธยำศัย

น้ัน ต้องเนน้ กำรศกึ ษำในเรื่องใด

ก. ควำมรู้ ข. คณุ ธรรม

ค. กระบวนกำรเรยี นรู้ ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

58. แหล่งเรยี นร้ตู ลอดชีวิตได้แก่ขอ้ ใด

ก. ห้องสมุดประชำชน ข. พพิ ิธภณั ฑ์

ค. สวนสำธำรณะ ง. ถกู ทกุ ข้อ

ตอบ ง. ถูกทกุ ขอ้

59. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลักที่สถำนศึกษำจัดกำรประเมินผู้เรยี น

ก. พฒั นำกำรของผู้เรยี น ข. ควำมประพฤติ

ค. สงั เกตพฤตกิ รรมกำรเรียน ง. ระยะเวลำในกำรเรียน

ตอบ ง. ระยะเวลำในกำรเรียน

60. ผูก้ ำหนดหลกั สูตรแกนกลำงคือใคร

ก. คณะกรรมกำรเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำ ข. คณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำ

ค. คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพนื้ ฐำน ง. ถกู ทุกขอ้

ตอบ ค. คณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำน

61. หมวด 5 ใน พระรำชบัญญตั กิ ำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2542

ก. สทิ ธแิ ละหน้ำทท่ี ำงกำรศึกษำ ข. ระบบกำรศกึ ษำ

ค. แนวกำรจัดกำรศกึ ษำ ง. กำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำ

ตอบ ง. กำรบรหิ ำรและกำรจดั กำรศึกษำ

62. หน่วยงำนใดมีอำนำจหนำ้ ทเ่ี กย่ี วกับกำรสง่ เสรมิ และกำกบั ดูแลกำรศึกษำทกุ ระดับ

ก. กระทรวงศกึ ษำ ข. กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

ค. กระทรวงกำรศึกษำ ง. กระทรวงกำรศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม

ตอบ ข. กระทรวงศึกษำธิกำร

63. กระทรวงศึกษำธกิ ำรมีองค์กรหลกั ท่ีเปน็ คณะกรรมกำรจำนวนก่ีองคก์ ร

ก. สององคก์ ร ข. สำมองคก์ ร ค. สอ่ี งคก์ ร ง. ห้ำองคก์ ร

ตอบ ค. สีอ่ งค์กร

64. ขอ้ ใดไม่ใช่บุคคลในคณะกรรมกำรสภำกำรศกึ ษำ

ก. ผ้แู ทนองคก์ รเอกชน ข. ขำ้ รำชกำรครู และบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ

คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 192

------------------------------------------------------------------------------

ค. ผู้แทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ง. ผแู้ ทนคณะกรรมกำรกลำงอสิ ลำมแหง่ ประเทศไทย

ตอบ ข. ข้ำรำชกำรครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ

65. ข้อใดเปน็ หน้ำที่ของสภำกำรศึกษำ

ก. พิจำรณำเสนอแผนกำรศึกษำแห่งชำติท่บี ูรณำกำร ศำสนำ ศลิ ปวฒั นธรรม และกีฬำ

ข. พจิ ำรณำเสนอนโยบำย แผน และมำตรฐำนกำรศกึ ษำ

ค. ใหค้ วำมเห็นหรอื คำแนะนำเกย่ี วกับกฎหมำยและกฎกระทรวง

ง. ถกู ทกุ ขอ้

ตอบ ง. ถูกทกุ ข้อ

66. กำรเสนอนโยบำย แผนกำรศึกษำแห่งชำติ และมำตรฐำนกำรศกึ ษำนน้ั ให้เสนอต่อผู้ใด

ก. คณะรฐั มนตรี ข. รฐั มนตรีวำ่ กำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร

ค. นำยกรัฐมนตรี ง. ปลัดกระทรวงศึกษำธกิ ำร

ตอบ ก. คณะรัฐมนตรี

67. หมวด 5 ใน พระรำชบัญญัตกิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ.2542

ก. สทิ ธิและหนำ้ ทีท่ ำงกำรศกึ ษำ ข. ระบบกำรศกึ ษำ

ค. มำตรฐำนและกำรประกันคุณภำพกำรศกึ ษำง. กำรบรหิ ำรและกำรจดั กำรศึกษำ

ตอบ ค. มำตรฐำนและกำรประกนั คุณภำพกำรศึกษำ

68. ระบบกำรประกันคณุ ภำพกำรศกึ ษำเพอื่ พัฒนำคณุ ภำพและมำตรฐำนกำรศกึ ษำทกุ ระดับมกี ่ีระบบ

ก. หนง่ึ ระบบ ข. สองระบบ ค. สำมระบบ ง. สีร่ ะบบ

ตอบ ข. สองระบบ

69. คณะกรรมกำรสภำกำรศกึ ษำมีผใู้ ดเปน็ ประธำน

ก. นำยกรฐั มนตรี ข. ปลดั กระทรวงศกึ ษำธิกำร

ค. รัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงศึกษำธิกำร ง. คณะรฐั มนตรี

ตอบ ค. รฐั มนตรีวำ่ กำรกระทรวงศึกษำธิกำร

70. ผูใ้ ดไม่ใช่กรรมกำรในคณะกรรมกำรสภำกำรศกึ ษำ

ก. ผแู้ ทนองคก์ รมหำชน ข. ผ้แู ทนองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

ค. ผู้แทนองคก์ รวชิ ำชีพ ง. ผูแ้ ทนคณะกรมกำรกลำงอสิ ลำมแห่งประเทศไทย

ตอบ ก. ผ้แู ทนองค์กรมหำชน

71. เลขำนุกำรของคณะกรรมกำรสภำกำรศกึ ษำคอื ใคร

ก. เลขำธิกำรสภำ ข. เลขำนุกำรปลดั กระทรวงมหำดไทย

ค. รองคณะกรรมกำรสภำกำรศกึ ษำ ง. ขำ้ รำชกำรในคณะกรรมกำรสภำกำรศกึ ษำ

ตอบ ก. เลขำธิกำรสภำ
72. คณะกรรมกำรสถำนศึกษำใดทำหนำ้ ท่ีพิจำรณำเสนอนโยบำย แผนพัฒนำมำตรฐำน และหลักสตู รแกนกลำง

กำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน

ก. คณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำน ข. คณะกรรมกำรศกึ ษำอำชีวศึกษำ

คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 193

------------------------------------------------------------------------------

ค. คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำอุดมศึกษำ ง. คณะกรมกำรกำรศกึ ษำประถมศึกษำ

ตอบ ก. คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน

73. คณะกรรมกำรกำรอำชวี ศึกษำ พิจำรณำเสนอนโยบำย แผนพฒั นำ มำตรฐำนและ

หลกั สูตรกำรอำชีวศกึ ษำทกุ ระดับ ต้องคำนงึ ถึงเรือ่ งใด

ก. คณุ ภำพ ข. ควำมเป็นเลิศทำงวชิ ำชีพ

ค. คุณธรรม ง. ถกู ทง้ั ขอ้ ก. และ ข้อ ข.

ตอบ ง. ถกู ท้ังข้อ ก. และ ขอ้ ข.

74. กำรบรหิ ำรและกำรจดั กำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำนให้ยึดตำมขอ้ ใด

ก. จำนวนสถำนศึกษำ ข. ระดบั กำรศึกษำ ค. เขตพื้นที่กำรศกึ ษำ ง. จำนวนประชำกร

ตอบ ค. เขตพืน้ ทก่ี ำรศึกษำ

75. ผู้มอี ำนำจประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำกำหนดเขตพื้นทก่ี ำรศึกษำคือใคร

ก. สภำกำรศึกษำ ข. รฐั มนตรี

ค. ปลัดกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ง. คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำน

ตอบ ข. รฐั มนตรี

76. ในกำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนให้ยดึ เขตพนื้ ที่กำรศึกษำน้ันจะตอ้ งคำนึงถึงสิ่งใด

ก. ระดับของกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน ข. จำนวนสถำนศึกษำ

ค. จำนวนประชำกร ง. ถกู ทกุ ขอ้

ตอบ ง. ถูกทุกขอ้

77. รัฐมนตรโี ดยคำแนะนำของผู้ใดในกำรใช้อำนำจในกำรกำหนดเขตพ้นื ทกี่ ำรศกึ ษำ

ก. สภำกำรศึกษำ ข. นำยกรฐั มนตรี

ค. ปลดั กระทรวงศึกษำธิกำร ง. คณะกรรมกำรศกึ ษำขนั้ พ้ืนฐำน

ตอบ ก. สภำกำรศกึ ษำ

78. ในกรณที ี่สถำนศึกษำได้จัดกำรศกึ ษำข้นั พ้ืนฐำนแบง่ เปน็ เขตพนื้ ท่กี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำและมธั ยมศกึ ษำเปน็ ให้

ยดึ ส่ิงใดเปน็ สำคัญ

ก. วัฒนธรรม ข. จำนวนประชำกร

ค. ระดบั กำรศึกษำของสถำนศึกษำ ง. ถกู ทุกข้อ

ตอบ ค. ระดบั กำรศึกษำของสถำนศึกษำ

79. ในกำรประเมินคณุ ภำพภำยนอกสถำนศึกษำทกุ แห่งอย่ำงน้อยตอ้ งประเมนิ ตำมขอ้ ใด

ก. อยำ่ งนอ้ ย 1 ครง้ั ในทกุ ปี ข. อยำ่ งน้อย 1 คร้งั ใน 2 ปี

ค. อยำ่ งนอ้ ย 1 คร้ังใน 3 ปี ง. อยำ่ งน้อย 1 คร้งั ใน 5 ปี

ตอบ ง. อย่ำงนอ้ ย 1 ครั้ง ใน 5 ปี
80. หมวด 7 ในพระรำชบัญญตั ิกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 มีเนือ้ หำสำระเกย่ี วกับเรื่องอะไร

ก. สิทธแิ ละหน้ำท่ีทำงกำรศกึ ษำ ข. ครู คณำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ

ค. มำตรฐำนและกำรประกันคุณภำพกำรศกึ ษำง. กำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำ


Click to View FlipBook Version