คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 194
------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ข. ครู คณำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ
81. ผใู้ ดต้องมีใบอนุญำตประกอบวิชำชพี
ก. ครู ข. ผู้บริหำรสถำนศึกษำ
ค. บุคลำกรทำงกำรศึกษำ ง. ถูกทุกขอ้
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
82. ให้ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำทง้ั ของหนว่ ยงำนทำงกำรศกึ ษำในระดับใดเป็นข้ำรำชกำรในสังกดั องค์กรกลำง
บรหิ ำรงำนบคุ คลของขำ้ รำชกำรครู
ก. ระดับสถำนศึกษำของรฐั ข. ระดับเขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำ
ค. ระดับอดุ มศึกษำ ง. ทัง้ ขอ้ ก. และ ขอ้ ข.
ตอบ ง. ทง้ั ขอ้ ก. และ ขอ้ ข.
83. ใหห้ น่วยงำนทำงกำรศกึ ษำ ระดมทรัพยำกรบคุ คลในชมุ ชนใหม้ สี ว่ นรว่ มในกำรจดั
กำรศกึ ษำ โดยทรัพยำกรทนี่ ำมำระดมน้นั คือข้อใด
ก. ประสบกำรณ ข. ควำมรอบรู้ ค. ควำมชำนำญ ง. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ ง. ถกู ทุกขอ้
84. หมวด 8 ในพระรำชบัญญัตกิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2542 มีเนื้อหำสำระเกยี่ วกับเรื่องอะไร
ก. สทิ ธแิ ละหน้ำทท่ี ำงกำรศึกษำ ข. ครู คณำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ
ค. ทรพั ยำกรและกำรลงทุนเพื่อกำรศกึ ษำ ง. กำรบริหำรและกำรจดั กำรศึกษำ
ตอบ ค. ทรพั ยำกรและกำรลงทุนเพ่ือกำรศกึ ษำ
85. ใหร้ ฐั จัดสรรงบประมำณแผ่นดินให้กบั กำรศึกษำอยใู่ นระดับใดตอ่ กำรพฒั นำที่ยัง่ ยืนของประเทศ
ก. ระดับสงู สดุ ข. ระดบั สงู ค. ระดบั ปำนกลำง ง. ระดับตำ่
ตอบ ก. ระดบั สูงสดุ
86. กำรจดั สรรงบประมำณเปน็ ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรดำเนนิ กำรและงบลงทนุ ตำมแผนพฒั นำกำรศึกษำแห่งชำติ โดยใหม้ ี
อสิ ระในกำรบริหำรงบประมำณและทรัพยำกรทำงกำรศกึ ษำ โดยให้คำนึงถึงสิ่งใดเปน็ สำคญั
ก. ศีลธรรม ข. ควำมเสมอภำคในโอกำสทำงกำรศกึ ษำ
ค. ประโยชน์สูงสดุ ง. ถูกทกุ ข้อ
ตอบ ง. ถูกทกุ ขอ้
87. ในกำรใช้จำ่ ยงบประมำณกำรจัดกำรศกึ ษำใหส้ อดคล้องกบั หลกั กำรศึกษำนั้นให้มีระบบกำรทำงำนอยำ่ งไร
ก. ตรวจสอบ ข. ติดตำม
ค. ประเมินประสทิ ธภิ ำพและประสิทธิผล ง. ถกู ทกุ ข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
88. หมวด 9 ในพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2542 มเี นือ้ หำสำระเกีย่ วกับเรือ่ งอะไร
ก. สิทธิและหนำ้ ที่ทำงกำรศึกษำ ข. ครู คณำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ
ค. เทคโนโลยีเพอื่ กำรศึกษำ ง. กำรบรหิ ำรและกำรจัดกำรศึกษำ
ตอบ ค. เทคโนโลยีเพื่อกำรศกึ ษำ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 195
------------------------------------------------------------------------------
89. รับต้องจัดสรรคลน่ื ควำมถ่ี สื่อตัวนำและโครงสร้ำงพ้นื ฐำนทจี่ ำเปน็ เพ่ือใช้ประโยชน์ในข้อใด
ก. กำรศกึ ษำในระบบ ข. กำรศกึ ษำนอกระบบ
ค. กำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัย ง. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
90. รัฐต้องสง่ เสรมิ และสนับสนนุ ให้มีกำรผลติ และพัฒนำแบบเรียน ตำรำ หนงั สอื ทำงรำชกำร
เพอื่ กำรศึกษำเป็นแบบใด
ก. โดยเรง่ ดว่ น ข. โดยเร่งรบี ค. โดยเร่งรัด ง. โดยด่วน
ตอบ ค. โดยเรง่ รดั
91. เหตุผลในกำรจัดใหม้ ีกำรพฒั นำบคุ ลำกรทัง้ ดำ้ นผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพอ่ื กำรศกึ ษำดว้ ยเหตผุ ลใด
ก. เพ่ือให้มีควำมรู้ ข. เพือ่ ให้มคี วำมสำมำรถ
ค. เพ่ือเพม่ิ ทกั ษะในกำรผลติ ง. ถูกทกุ ขอ้
ตอบ ง. ถูกทกุ ขอ้
92. กำรจดั ตัง้ กองทุนพัฒนำเทคโนโลยีเพอื่ กำรศกึ ษำ โดยสำมำรถให้มีกำรระดมเงินทุนจำกที่ใด
ก. เงินอุดหนนุ ของรฐั ข. ค่ำสัมปทำน
ค. ผลกำไรท่ีไดจ้ ำกกำรดำเนนิ กจิ กำรด้ำนส่ือสำรมวลชน
ง. ถกู ทุกขอ้
ตอบ ง. ถูกทุกขอ้
93. คณะกรรมกำรบริหำรสำนกั งำนปฏิรูปกำรศึกษำ มจี ำนวนก่ีคน
ก. 5 คน ข. 7 คน ค. 9 คน ง. 11 คน
ตอบ ค. 9 คน
94. คณะกรรมกำรสรรหำคณะกรรมกำรบริหำรสำนักงำนปฏิรูปกำรศึกษำมีจำนวนกี่คน
ก. 9 คน ข. 11 คน ค. 13 คน ง. 15 คน
ตอบ ง. 15 คน
95. ผู้รักษำกำรตำมพระรำชกฤษฎีกำรจัดต้ังสำนักงำนปฏริ ปู กำรศกึ ษำคือผู่ใด
ก. นำยกรัฐมนตรี ข. ปลดั กระทรวงศกึ ษำธิกำร
ค. รัฐมนตรี ง. คณะรฐั มนตรี
ตอบ ก. นำยกรัฐมนตรี
96. ภำยในระยะเวลำใดนับแต่วนั ทีพ่ ระรำชบัญญัตกิ ำรศึกษำ 2542 มีผลใช้บงั คับให้กระทรวงจัดใหม้ กี ำรประเมินผล
ภำยนอกครั้งแรกของสถำนศึกษำทุกแห่ง
ก. สองปี ข. สำมปี ค. ส่ปี ี ง. หกปี
ตอบ ง. หกปี
97. กรรมกำรคณะกรรมกำรบรหิ ำรสำนักงำนปฏิรูปกำรศกึ ษำท่ีแตง่ ตั้งจำกผู้มคี วำมรู้ควำมสำมำรถ มีประสบกำรณ์
และมีควำมเชีย่ วชำญนั้นไดร้ ับกำรแต่งต้งั จำกผใู้ ด
ก. คณะรฐั มนตรี ข. สภำกำรศกึ ษำ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 196
------------------------------------------------------------------------------
ค. ปลดั กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ง. คณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำน
ตอบ ก. คณะรัฐมนตรี
98. คณะกรรมกำรบรหิ ำรสำนกั งำนปฏิรปู กำรศึกษำนัน้ มวี ำระในกำรดำรงตำแหน่งกีป่ ี
ก. สองปี ข. สำมปี ค. ส่ีปี ง. ห้ำปี
ตอบ ข. สำมปี
99. ผแู้ ทนหนว่ ยงำนที่คณะกรรมกำรสรรหำคณะกรรมกำรบริหำรสำนักงำนปฏิรูปกำรศึกษำ
นัน้ คดั เลอื กมำจำนวนกีค่ น
ก. สองคน ข. สำมคน ค. หำ้ คน ง. เจ็ดคน
ตอบ ค. ห้ำคน
100. จำกข้อข้ำงตน้ ข้อใดไม่ใช่ผู้แทนหนว่ ยงำนดังกลำ่ ว
ก. ปลัดกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ข. ปลดั ทบวงมหำวทิ ยำลัย
ค. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกฤษฎกี ำ ง. ผู้แทนสมำคมวิชำกำร
ตอบ ง. ผูแ้ ทนสมำคมวิชำกำร
101. ผู้แทนสมำคมวชิ ำกำรท่ีคณะกรรมกำรสรรหำคณะกรรมกำรบริหำรสำนกั งำนปฎิรปู กำรศึกษำนน้ั คัดเลือก
กนั เองจำนวนก่คี น
ก. สองคน ข. สำมคน ค. สคี่ น ง. หำ้ คน
ตอบ ง. หำ้ คน
102. ผู้รักษำกำรตำมพระรำชกฤษฎีกำจดั ตั้งสำนักงำนปฏิรปู กำรศึกษำและมอี ำนำจกำกับดแู ลกิจกำรของสำนกั งำนคอื
ผูใ้ ด
ก. ปลัดกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ข. ปลัดทบวงมหำวิทยำลัย
ค. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกฤษฎกี ำ ง. นำยกรฐั มนตรี
ตอบ ง. นำยกรฐั มนตรี
103. ผู้รบั สนองพระบรมรำชโองกำร ในพระรำชบัญญัติกำรศกึ ษำ พ.ศ. 2542
ก. นำยชวน หลีกภัย ข. นำยอภิสทิ ธ์ิ เวชชำชีวะ
ค. นำยสมคั ร สุนทรเวช ง. พ.ต.ท.ทกั ษิณ ชนิ วตั ร
ตอบ ก. นำยชวน หลกี ภัย
-----------------------------
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 197
------------------------------------------------------------------------------
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579
แผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ เป็นแผนที่วำงกรอบเปำ้ หมำยและทิศทำงกำรจัดกำรศึกษำของประเทศโดยมุง่ จัด
กำรศกึ ษำให้คนไทยทกุ คนสำมำรถเขำ้ ถึงโอกำสและควำมเสมอภำคในกำรศกึ ษำทม่ี ีคณุ ภำพพัฒนำระบบกำรบริหำรจัด
กำรศึกษำทีม่ ปี ระสทิ ธิภำพ พัฒนำคนให้มสี มรรถนะในกำรทำงำนท่ีสอดคลอ้ งกบั ควำมตอ้ งกำรของตลำดแรงงำนและ
กำรพฒั นำประเทศ
แนวคดิ กำรจดั กำรศกึ ษำตำมแผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ ยดึ หลักสำคญั ในกำรจัดกำรศึกษำประกอบด้วย
- หลกั กำรจดั กำรศึกษำเพื่อปวงชน (Education for All)
- หลกั กำรจดั กำรศึกษำเพอื่ ควำมเทำ่ เทยี ม และทั่วถึง (Inclusive Education)
- หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
- หลกั กำรมีสว่ นร่วมของสังคม (All For Education)
- เป้ำหมำยกำรพฒั นำท่ยี ่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030)
โดยนำยทุ ธศำสตร์ชำติมำเปน็ กรอบควำมคิดสำคัญในกำรจัดทำแผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติโดยมสี ำระสำคัญ ดงั น้ี
วสิ ัยทัศน์
คนไทยทกุ คนได้รับกำรศึกษำและเรยี นร้ตู ลอดชีวิตอยำ่ งมคี ุณภำพ ดำรงชวี ิตอย่ำงเป็นสุขสอดคลอ้ งกับหลัก
ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง และเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อพัฒนำระบบและกระบวนกำรจดั กำรศกึ ษำที่มีคณุ ภำพและมปี ระสิทธิภำพ
2. เพือ่ พัฒนำคนไทยให้เป็นพลเมอื งดี มคี ุณลกั ษณะ ทกั ษะและสมรรถนะที่สอดคลอ้ งกบั บทบญั ญัตขิ อง
รฐั ธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พระรำชบัญญัติกำรศกึ ษำแห่งชำติ และยุทธศำสตร์ชำติ
3. เพอ่ื พฒั นำสังคมไทยให้เป็นสังคมแหง่ กำรเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รรู้ กั สำมคั คี และร่วมมอื ผนึกกำลัง
มุ่งสูก่ ำรพฒั นำประเทศอย่ำงย่ังยืนตำมหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง
4. เพ่อื นำประเทศไทยก้ำวขำ้ มกับดักประเทศท่มี ีรำยได้ปำนกลำง และควำมเหลื่อมลำ้ ภำยในประเทศลดลง
ยุทธศำสตร์ ประกอบด้วย 6 ยุทธศำสตร์ ซงึ่ เก่ยี วข้องกบั ภำรกจิ ของสำนักงำนปลัด กระทรวงศึกษำธกิ ำรทั้ง 6
ยุทธศำสตร์ ดังน้ี
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ
เปา้ หมาย
1. คนทกุ ช่วงวยั มีควำมรกั ในสถำบนั หลกั ของชำติ และยดึ ม่นั กำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอนั มี
พระมหำกษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
2. คนทุกช่วงวยั ในเขตพัฒนำพเิ ศษเฉพำะกจิ จังหวัดชำยแดนภำคใต้และพื้นท่พี เิ ศษได้รบั กำรศึกษำและเรยี นรู้
อย่ำงมีคุณภำพ
3. คนทุกช่วงวยั ไดร้ ับกำรศึกษำ กำรดแู ลและป้องกันจำกภยั คุกคำมในชีวติ รปู แบบใหม่
แนวทางการพฒั นา
1. พฒั นำกำรจัดกำรศกึ ษำเพือ่ เสรมิ สร้ำงควำมมน่ั คงของสถำบันหลกั ของชำตแิ ละกำรปกครองระบอบ
ประชำธปิ ไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 198
------------------------------------------------------------------------------
2. ยกระดบั คณุ ภำพและสง่ เสรมิ โอกำสในกำรเข้ำถึงกำรศึกษำในเขตพัฒนำพิเศษเฉพำะกิจจงั หวดั ชำยแดน
ภำคใต้
3. ยกระดับคณุ ภำพและส่งเสรมิ โอกำสในกำรเข้ำถึงกำรศึกษำในพน้ื ทพี่ เิ ศษ (พ้ืนที่สูงพื้นท่ีตำมแนวตะเขบ็
ชำยแดน และพื้นทเ่ี กำะแก่ง ชำยฝัง่ ทะเล ทงั้ กล่มุ ชนตำ่ งเชื้อชำติ ศำสนำ และวฒั นธรรม กลมุ่ ชน – ชำยขอบ และ
แรงงำนตำ่ งดำ้ ว)
4. พัฒนำกำรจัดกำรศกึ ษำเพอ่ื กำรจดั ระบบกำรดแู ลและป้องกันภยั คกุ คำมในรูปแบบใหม่ อำทิ อำชญำกรรมและ
ควำมรนุ แรงในรูปแบบต่ำงๆ ยำเสพติด ภัยพิบัตจิ ำกธรรมชำติภยั จำกโรคอบุ ัตใิ หม่ ภัยจำกไซเบอร์ เป็นต้น
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การผลิตและพฒั นากาลงั คน การวจิ ัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขันของ
ประเทศ
เปำ้ หมำย
1. กำลงั คนมที กั ษะทส่ี ำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตำมควำมตอ้ งกำรของตลำดงำนและกำรพฒั นำเศรษฐกจิ
และสังคมของประเทศ
2. สถำบนั กำรศกึ ษำและหนว่ ยงำนทีจ่ ัดกำรศกึ ษำผลติ บณั ฑติ ทเ่ี ชีย่ วชำญ เปน็ เลศิ เฉพำะดำ้ น
3. กำรวจิ ัยและพฒั นำเพ่ือสรำ้ งองคค์ วำมรแู้ ละนวัตกรรมท่ีสรำ้ งผลผลิตและมลู ค่ำเพ่ิมทำงเศรษฐกจิ
แนวทำงกำรพัฒนำ
1. ผลติ และพัฒนำกำลังคนให้มีสมรรถนะในสำขำท่ีตรงตำมควำมต้องกำรของตลำดงำน และกำรพฒั นำ
เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ
2. สง่ เสรมิ กำรผลิตและพฒั นำกำลังคนท่ีมคี วำมเช่ยี วชำญและเป็นเลิศเฉพำะด้ำน
3. ส่งเสริมกำรวิจยั และพฒั นำเพอ่ื สรำ้ งองค์ควำมรูแ้ ละนวตั กรรมทีส่ รำ้ งผลผลิตและมูลค่ำเพิ่มทำงเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกช่วงวัย และการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้
เป้ำหมำย
1. ผู้เรียนมีทกั ษะและคุณลักษณะพนื้ ฐำนของพลเมืองไทยและทักษะและคุณลกั ษณะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
2. คนทกุ ชว่ งวยั มที กั ษะควำมรู้ควำมสำมำรถและสมรรถนะตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำและมำตรฐำนวิชำชพี และ
พฒั นำคุณภำพชีวิตไดต้ ำมศกั ยภำพ
3. สถำนศึกษำทกุ ระดบั กำรศึกษำสำมำรถจดั กิจกรรม/กระบวนกำรเรียนรู้ตำมหลักสตู รไดอ้ ย่ำงมคี ุณภำพและ
มำตรฐำน
4. แหล่งเรียนรู้ ส่อื ตำรำเรยี น นวตั กรรมและส่ือกำรเรยี นรู้มีคณุ ภำพและมำตรฐำน และประชำชนสำมำรถเข้ำถึง
ได้โดยไมจ่ ำกดั เวลำและสถำนท่ี
5. ระบบและกลไกกำรวดั กำรตดิ ตำมและประเมนิ ผลมปี ระสิทธภิ ำพ
6. ระบบกำรผลิตครู อำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำไดม้ ำตรฐำนระดับสำกล
7. ครู อำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำได้รับกำรพัฒนำสมรรถนะตำมมำตรฐำน
แนวทำงกำรพฒั นำ
1. ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้คนทุกชว่ งวยั มที กั ษะ ควำมรู้ควำมสำมำรถ และกำรพัฒนำคณุ ภำพชีวิตอย่ำงเหมำะสม
เต็มตำมศักยภำพในแตล่ ะชว่ งวยั
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 199
------------------------------------------------------------------------------
2. ส่งเสริมและพฒั นำแหล่งเรยี นรู้ ส่อื ตำรำเรียน และสอ่ื กำรเรยี นร้ตู ่ำงๆ ใหม้ ีคุณภำพมำตรฐำน และประชำชน
สำมำรถเขำ้ ถึงแหล่งเรียนรูไ้ ด้โดยไมจ่ ำกดั เวลำและสถำนที่
3. สรำ้ งเสริมและปรับเปลยี่ นคำ่ นยิ มของคนไทยให้มีวินยั จิตสำธำรณะ และพฤตกิ รรม ที่พงึ ประสงค์
4. พฒั นำระบบและกลไกกำรตดิ ตำม กำรวัดและประเมินผลผเู้ รยี นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ ำพ
5. พัฒนำคลังขอ้ มลู สอ่ื และนวตั กรรมกำรเรยี นรู้ ท่ีมคี ุณภำพและมำตรฐำน
6. พฒั นำคณุ ภำพและมำตรฐำนกำรผลิตครู อำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ
7. พัฒนำคณุ ภำพครู อำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทยี มทางการศึกษา
เป้ำหมำย
1. ผู้เรียนทกุ คนไดร้ บั โอกำสและควำมเสมอภำคในกำรเขำ้ ถึงกำรศกึ ษำท่ีมคี ุณภำพ
2. กำรเพมิ่ โอกำสทำงกำรศกึ ษำผำ่ นเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอื่ กำรศกึ ษำสำหรับคนทุกช่วงวยั
3. ระบบขอ้ มูลรำยบคุ คลและสำรสนเทศทำงกำรศกึ ษำทค่ี รอบคลมุ ถูกตอ้ ง เปน็ ปัจจบุ ัน เพื่อกำรวำงแผนกำร
บรหิ ำรจดั กำรศึกษำ กำรตดิ ตำมประเมินและรำยงำนผล
แนวทำงกำรพฒั นำ
1. เพม่ิ โอกำสและควำมเสมอภำคในกำรเขำ้ ถึงกำรศึกษำที่มีคณุ ภำพ
2. พัฒนำระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่ือกำรศึกษำสำหรบั คนทุกชว่ งวยั
3. พัฒนำฐำนขอ้ มลู ดำ้ นกำรศึกษำท่มี ีมำตรฐำน เชื่อมโยงและเขำ้ ถงึ ได้
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพอื่ สร้างเสริมคุณภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
เป้ำหมำย
1. คนทุกช่วงวยั มีจติ สำนกึ รกั ษส์ ิง่ แวดลอ้ ม มคี ุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคดิ ตำมหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ
พอเพยี งสกู่ ำรปฏบิ ตั ิ
2. หลักสูตร แหลง่ เรยี นรู้ และส่อื กำรเรยี นรูท้ ีส่ ง่ เสรมิ คณุ ภำพชีวิตท่เี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม คุณธรรม จรยิ ธรรม
และกำรนำแนวคิดตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ำรปฏบิ ัติ
3. กำรวิจัยเพ่ือพฒั นำองคค์ วำมรู้และนวัตกรรมด้ำนกำรสร้ำงเสริมคณุ ภำพชวี ิตทเี่ ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม
แนวทำงกำรพัฒนำ
1. ส่งเสริม สนบั สนุนกำรสรำ้ งจิตสำนึกรักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม มีคุณธรรม จริยธรรมและนำแนวคิดตำมหลกั ปรชั ญำ
ของเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ำรปฏิบัติในกำรดำเนนิ ชีวติ
2. สง่ เสรมิ และพฒั นำหลกั สตู ร กระบวนกำรเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสอ่ื กำรเรียนรูต้ ำ่ งๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั กำร
สร้ำงเสรมิ คุณภำพชวี ติ ทีเ่ ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม
3. พัฒนำองคค์ วำมรู้ งำนวจิ ัย และนวตั กรรม ด้ำนกำรสร้ำงเสริมคณุ ภำพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจดั การศึกษา
เป้ำหมำย
1. โครงสรำ้ ง บทบำทและระบบกำรบรหิ ำรจัดกำรกำรศึกษำมคี วำมคล่องตัว ชัดเจนและสำมำรถตรวจสอบได้
2. ระบบกำรบริหำรจดั กำรศึกษำมปี ระสิทธิภำพและประสิทธิผลสง่ ผลตอ่ คณุ ภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 200
------------------------------------------------------------------------------
3. ทกุ ภำคส่วนของสงั คมมีสว่ นร่วมในกำรจดั กำรศึกษำที่ตอบสนองควำมตอ้ งกำรของประชำชนและพนื้ ท่ี
4. กฎหมำยและรูปแบบกำรบรหิ ำรจดั กำรทรัพยำกรทำงกำรศกึ ษำรองรับลกั ษณะทแ่ี ตกตำ่ งกันของผู้เรยี น
สถำนศกึ ษำ และควำมตอ้ งกำรกำลังแรงงำนของประเทศ
5. ระบบบริหำรงำนบคุ คลของครู อำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำมคี วำมเปน็ ธรรม สร้ำงขวญั กำลังใจ และ
สง่ เสรมิ ใหป้ ฏบิ ัติงำนไดอ้ ย่ำงเต็มตำมศกั ยภำพ
แนวทำงกำรพัฒนำ
1. ปรบั ปรงุ โครงสรำ้ งกำรบริหำรจดั กำรศกึ ษำ
2. เพ่ิมประสทิ ธภิ ำพกำรบริหำรจัดกำรสถำนศึกษำ
3. สง่ เสรมิ กำรมสี ว่ นรว่ มของทุกภำคสว่ นในกำรจัดกำรศกึ ษำ
4. ปรบั ปรงุ กฎหมำยเก่ียวกับระบบกำรเงนิ เพ่อื กำรศกึ ษำทีส่ ่งผลตอ่ คณุ ภำพและประสทิ ธิภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ
5. พฒั นำระบบบรหิ ำรงำนบุคคลของครู อำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ
การพฒั นาผู้เรียนให้มคี ุณลักษณะและทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs)
3Rs ประกอบด้วย
Reading คอื กำรอำ่ นออก
(W)Riting คอื กำรเขียนได้
(A)Rithmetics คอื กำรคิดเลขเป็น
8Cs ประกอบดว้ ย
Critical Thinking &Problem Solving คือ ทักษะด้ำนกำรคิดอยำ่ งมวี จิ ำรณญำณ และทักษะในกำรแกป้ ัญหำ
Creativity & Innovation คอื ทักษะด้ำนกำรสร้ำงสรรคแ์ ละนวัตกรรม
Cross-cultural Understanding คือทักษะดำ้ นควำมเขำ้ ใจตำ่ งวัฒนธรรม ต่ำงกระบวนทัศน์
Collaboration, Teamwork & Leadership คือ ทกั ษะด้ำนควำมรว่ มมือ กำรทำงำนเป็นทมี และภำวะผนู้ ำ
Communications Information & Media Literacy คอื ทกั ษะดำ้ นกำรสอ่ื สำรสำรสนเทศและกำรรเู้ ทำ่ ทนั ส่อื
Computing & ICT Literacy คอื ทกั ษะดำ้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรส่ือสำร
Career & Learning Skills คอื ทักษะอำชีพและทกั ษะกำรเรียนรู้
Compassion คือ ควำมมีเมตตำ กรณุ ำ มีวินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม
ในกำรพัฒนำผเู้ รยี นให้มที กั ษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) เพ่อื ให้สำมำรถปรับตัวได้ทนั กับกำร
เปลยี่ นแปลงในยุคดจิ ทิ ลั ท่เี น้นกำรสร้ำงสรรค์นวตั กรรมเพื่อกำรแข่งขนั น้นั จำเปน็ ตอ้ งพัฒนำทกั ษะกำรคดิ เชงิ คำนวณ
(Computational Thinking) เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นเกิดกระบวนกำรคิดเชิงวิเครำะห์ คดิ อย่ำงเปน็ ระบบดว้ ยเหตุผลอย่ำงเปน็ ข้นั
เปน็ ตอนเพ่ือแกป้ ญั หำตำ่ งๆ สำมำรถนำไปปรบั ใชเ้ พอื่ แกไ้ ขปัญหำในสำขำวชิ ำต่ำงๆ ไดท้ ั้ง คณิตศำสตร์ มนษุ ยศำสตร์
หรอื วชิ ำอน่ื ๆ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 201
------------------------------------------------------------------------------
นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ
ประกำศกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร เร่ือง นโยบำยและจุดเน้นของกระทรวงศึกษำธิกำรปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
ประกำศ ณ วันที่ 21 สิงหำคม พ.ศ. 2562
นำยณัฏฐพล ทีปสวุ รรณ รฐั มนตรวี ่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร
เพ่ือใหก้ ำรดำเนินกำรจัดกำรศึกษำและกำรบรหิ ำรจดั กำรกำรศกึ ษำของกระทรวงศึกษำธกิ ำร ในปงี บประมำณ
พ.ศ.2563 มคี วำมสอดคล้องกบั ยุทธศำสตร์ชำติ เป้ำหมำยของแผนแม่บทภำยใตย้ ทุ ธศำสตรช์ ำติฯลฯ โดยเฉพำะ
นโยบำยเรง่ ด่วน เร่ืองกำรเตรยี มคนสู่ศตวรรษท่ี 21 อำศยั อำนำจตำมควำมในมำตรำ 8 และมำตรำ 12 แห่ง
พระรำชบัญญัตริ ะเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร พ.ศ.2546 รัฐมนตรวี ำ่ กำรกระทรวงศึกษำธิกำรจงึ ประกำศ
นโยบำยและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษำธิกำร ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 ดังนี้
หลักกำรตำมนโยบำย
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 202
------------------------------------------------------------------------------
1. ให้ควำมสำคญั กบั ประเดน็ คณุ ภำพและประสทิ ธิภำพในทุกมติ ิ ทั้งผเู้ รียน ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ
ข้ำรำชกำรพลเรอื น และผ้บู ริหำรทุกระดบั ตลอดจนสถำนศึกษำทุกระดบั ทุกประเภท และเป็นกำรศึกษำตลอดชวี ิต
2. บูรณำกำรกำรทำงำนร่วมกันระหวำ่ งสว่ นรำชกำรหลกั องคก์ ำรมหำชนในกำกับ ของรัฐมนตรีวำ่ กำร
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำรให้มีควำมคล่องตัว รวมทั้งหนว่ ยงำนสังกดั กระทรวงศึกษำธกิ ำรในพ้ืนทีภ่ มู ิภำคใหส้ ำมำรถ
ปฏิบัติงำนร่วมกันได้ เพ่ือดำเนินกำรปฏริ ูปกำรศึกษำร่วมกับภำครัฐ ภำคเอกชน และภำคประชำชน ตำมนโยบำยประชำ
รฐั
ระดบั กอ่ นอนบุ ำล
เนน้ ประสำนงำนกับสว่ นรำชกำร และชมุ ชน ในกำรเตรียมควำมพรอ้ มผูเ้ รยี นในดำ้ นสุขภำพและโภชนำกำร
และจดั ประสบกำรณก์ ำรเรียนรทู้ ่ีเช่อื มโยงกบั ระบบโรงเรยี นปกติ
ระดับอนุบำล
เน้นสร้ำงควำมรว่ มมือกบั พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และชุมชน เพ่อื ออกแบบกิจกรรมกำรพัฒนำทักษะทีส่ ำคัญดำ้ นต่ำง
ๆ เชน่ ทักษะทำงสมอง ทกั ษะควำมคดิ ควำมจำ ทกั ษะกำรควบคุมอำรมณ์ ทกั ษะกำรรู้จกั และประเมินตนเอง
ระดบั ประถมศึกษำ
มุ่งคำนงึ ถึงพหุปัญญำของผเู้ รียนรำยบุคคลที่หลำกหลำยตำมศกั ยภำพ ด้วยจุดเน้นดังนี้
1.ปลกู ฝังควำมมรี ะเบยี บวินัย ทัศนคติทถี่ ูกต้องโดยใชก้ ระบวนกำรลกู เสอื และยวุ กำชำด
2.เรยี นภำษำไทย เน้นเพ่อื ใช้เปน็ เครอื่ งมือในกำรเรยี นรวู้ ิชำอื่น
3.เรียนภำษำองั กฤษและภำษำพ้ืนถ่นิ (ภำษำแม่) เน้นเพื่อกำรสือ่ สำร
4.เรียนรู้ดว้ ยวธิ กี ำร Active Learning เพ่อื พัฒนำกระบวนกำรคิด กำรเรยี นรจู้ ำกประสบกำรณจ์ ริงหรือจำก
สถำนกำรณ์จำลองผำ่ นกำรลงมอื ปฏบิ ตั ิ และเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกันของผู้เรียนและครูดว้ ยกำรจดั กำรเรียนกำร
สอนในเชงิ แสดงควำมคดิ เหน็ ใหม้ ำกข้ึน
5.สรำ้ งแพลตฟอรม์ ดจิ ิทัลเพอื่ กำรเรยี นรู้ และใช้ดจิ ทิ ลั เป็นเครอื่ งมือกำรเรียนรู้
6.จดั กำรเรียนกำรสอนเพอื่ ฝกึ ทกั ษะกำรคดิ แบบมีเหตุผลและเปน็ ขัน้ ตอน (Coding)
7.พัฒนำครูใหม้ ีควำมชำนำญในกำรสอนภำษำองั กฤษ และภำษำคอมพวิ เตอร์ (Coding)
8.จดั ใหม้ ีโครงกำร 1 ตำบล 1 โรงเรยี นคณุ ภำพ โดยเนน้ ปรับสภำพแวดล้อมท้ังภำยในและภำยนอกบรเิ วณ
โรงเรยี นให้เอื้อต่อกำรสรำ้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และจติ สำธำรณะ
ระดับมัธยมศึกษำ
มุ่งตอ่ ยอดระดบั ประถมศึกษำ ด้วยจุดเนน้ ดังน้ี
1.จัดกำรเรยี นรู้ด้วยวธิ กี ำรทำงวทิ ยำศำสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรม คณติ ศำสตร์ (STEM) และภำษำตำ่ งประเทศ
(ภำษำทส่ี ำม)
2.จดั กำรเรียนรทู้ ่หี ลำกหลำยเพอ่ื สรำ้ งทักษะพื้นฐำนทีเ่ ชอ่ื มโยงสู่กำรสรำ้ งอำชีพและกำรมงี ำนทำ เชน่ ทกั ษะ
ดำ้ นกีฬำทส่ี ำมำรถพัฒนำไปสนู่ ักกฬี ำอำชพี ทกั ษะภำษำเพอ่ื เปน็ มัคคุเทศก์
ระดับอำชีวศึกษำ
มุ่งจดั กำรศึกษำเพ่อื กำรมงี ำนทำและสรำ้ งนวัตกรรมตำมควำมต้องกำรของพ้นื ที่ชุมชน ภูมิภำคหรอื ประเทศ
รวมทงั้ กำรเป็นผปู้ ระกอบกำรเอง ด้วยจุดเน้นดงั น้ี
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 203
------------------------------------------------------------------------------
1.จัดกำรศึกษำในระบบทวิภำคี ให้ผเู้ รยี นมที กั ษะและควำมเชย่ี วชำญเฉพำะด้ำน
2.เรียนภำษำอังกฤษ เพือ่ เพ่มิ ทกั ษะสำหรบั ใช้ในกำรประกอบอำชพี
3.เรียนรกู้ ำรใช้ดิจิทลั เพ่อื ใชเ้ ปน็ เครื่องมอื สำหรบั หำชอ่ งทำงในกำรสร้ำงอำชพี
4.จัดตง้ั ศูนย์ประสำนงำนกำรผลติ และพัฒนำกำลังคนอำชวี ศกึ ษำในภมู ภิ ำค
กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั
ม่งุ สรำ้ งโอกำสให้ประชำชนผู้เรยี นท่ีสำเรจ็ หลกั สตู ร สำมำรถมีงำนทำ ดว้ ยจดุ เนน้ ดงั น้ี
1.เรยี นร้กู ำรใช้ดจิ ทิ ัล เพอื่ ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื สำหรบั หำช่องทำงในกำรสร้ำงอำชพี
2.จดั ทำหลักสูตรพัฒนำอำชพี ท่เี หมำะสมสำหรับผ้ทู ี่เขำ้ สู่สงั คมสงู วยั
การขบั เคลอ่ื นสกู่ ารปฏิบัติ
1.ทกุ หนว่ ยงำนในสังกดั กระทรวงศึกษำธกิ ำร ตอ้ งปรับปรุงแผนปฏบิ ตั ิรำชกำรให้สอดคล้องกับนโยบำยของ
รัฐบำล และวำงแผนกำรใช้งบประมำณเป็นรำยไตรมำส รวมทัง้ ใช้จำ่ ยงบประมำณให้เป็นไปตำมกฎหมำย ระเบียบ
ขอ้ บังคบั ทีเ่ กย่ี วข้อง
2.จัดทำฐำนข้อมลู (Big Data) ของกระทรวงศึกษำธิกำร ใหค้ รบถว้ น ถูกตอ้ ง ทนั สมัย
3.ใชเ้ ทคโนโลยแี ละดจิ ทิ ลั เปน็ เคร่อื งมอื ในกำรปฏบิ ตั ิงำนทั้งระบบ เน้นกำรเรียนรแู้ ละกำรบรหิ ำรจัดกำร
4.ปรบั ปรุงโครงสรำ้ งของกระทรวงศกึ ษำธิกำรใหเ้ กิดควำมคลอ่ งตัว หำกตดิ ขัดในเร่อื งข้อกฎหมำย ให้ผบู้ รหิ ำร
ระดับสงู รว่ มหำแนวทำงกำรแกไ้ ขรว่ มกัน
5.ใหห้ น่วยงำนระดบั กรมกำหนดแผนงำนสนับสนุนทรัพยำกร งบประมำณ อัตรำกำลัง ตำมควำมต้องกำรจำเป็น
ให้แกห่ นว่ ยงำนในพ้ืนท่ภี ูมิภำค
6.ใชก้ ลไกกองทนุ เพื่อควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ มำบูรณำกำรกำรดำเนนิ งำนรว่ มกับหนว่ ยจัดกำรศกึ ษำ
7.เรง่ ทบทวน (ร่ำง) พระรำชบัญญตั ิกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. ….โดยปรับปรุงสำระสำคัญให้เอือ้ ต่อกำรขับเคลือ่ น
นโยบำยของรัฐบำล
8.ในระดบั พน้ื ที่หำกเกดิ ปัญหำข้อติดขัดกำรปฏิบัตงิ ำน ต้องศกึ ษำ ตรวจสอบขอ้ มลู /ข้อเท็จจริงทีเ่ กิดข้ึน เช่น
จำนวนเดก็ ในพ้ืนท่ีน้อยลง ซึง่ จำเปน็ ต้องมีกำรควบรวมโรงเรียน ให้พจิ ำรณำสือ่ สำรอธบิ ำยทำควำมเข้ำใจทช่ี ดั เจนกับ
ชมุ ชน
9.วำงแผนกำรใชอ้ ตั รำกำลังครู โดยเฉพำะครูระดับอนุบำล และครรู ะดบั อำชวี ศกึ ษำ ใหม้ ีประสทิ ธิภำพ และ
จดั ทำแผนกำรประเมินครูอยำ่ งเป็นระบบ รวมทั้งจดั ทำหลักสตู รกำรพัฒนำครูให้มอี งค์ควำมรูแ้ ละทักษะในด้ำนพหุ
ปัญญำของผู้เรียน
10.ใหศ้ กึ ษำธกิ ำรจงั หวดั จดั ทำแผนกำรจดั กำรศกึ ษำของแต่ละจังหวดั นำเสนอต่อคณะกรรมกำรศกึ ษำธกิ ำร
จังหวดั และขับเคลอ่ื นสู่กำรปฏิบตั อิ ยำ่ งเปน็ รปู ธรรม
11.ให้ผูต้ รวจรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร และศึกษำธิกำรภำค มบี ทบำทหน้ำที่ตรวจรำชกำร ตดิ ตำม
ประเมินผลในระดับนโยบำย และจดั ทำรำยงำนเสนอต่อรัฐมนตรวี ่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร
อน่งึ สำหรบั ภำรกจิ ของสว่ นรำชกำรหลักและหน่วยงำนท่ปี ฏิบัติงำนตำมปกติ (Function) งำนในเชิงยทุ ธศำสตร์
(Agenda) และงำนในเชงิ พ้นื ที่ (Area) ซ่ึงได้ดำเนินกำรอยู่กอ่ นน้ัน หำกรัฐบำลหรือกระทรวงศึกษำธกิ ำรมีนโยบำย
สำคญั เพ่มิ เตมิ ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 นอกเหนอื จำกทีก่ ำหนด หำกมีควำมสอดคลอ้ งกบั หลักกำรในข้ำงตน้ ใหถ้ อื
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 204
------------------------------------------------------------------------------
เป็นหน้ำทขี่ องส่วนรำชกำรหลักและหนว่ ยงำนท่ีเกยี่ วขอ้ งจะต้องเรง่ รดั กำกบั ติดตำม ตรวจสอบให้กำรดำเนินกำร
เกดิ ผลสำเรจ็ และมีประสิทธภิ ำพอยำ่ งเป็นรูปธรรมด้วยเช่นกนั
ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร
เรอื่ ง นโยบำยและจุดเน้นของกระทรวงศึกษำธกิ ำรปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
ประกำศ ณ วันท่ี 27 ธันวำคม พ.ศ. 2562
โดย นำยณัฏฐพล ทีปสวุ รรณ รฐั มนตรีวำ่ กำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร
เพือ่ ให้กำรดำเนินกำรจัดกำรศึกษำและกำรบรหิ ำรจัดกำรกำรศกึ ษำของกระทรวงศึกษำธกิ ำร เปน็ ไปดว้ ยควำม
เรียบร้อย บรรลเุ ป้ำหมำย อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ 8 และมำตรำ 12 แหง่ พระรำชบัญญัตริ ะเบียบบริหำรรำชกำร
กระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ.2546 รฐั มนตรีวำ่ กำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร จึงประกำศนโยบำยและจดุ เน้นของ
กระทรวงศกึ ษำธิกำร ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 เพ่อื ให้ส่วนรำชกำรในสังกัดกระทรวงศกึ ษำธิกำร ยึดเปน็ กรอบ
กำรดำเนินงำนในกำรจัดทำแผนและงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 พรอ้ มท้ังขบั เคลือ่ นกำร
ดำเนนิ งำนดำ้ นกำรศกึ ษำใหม้ ีคุณภำพ ประสิทธิภำพในทุกมิติ โดยใช้จ่ำยงบประมำณอยำ่ งคุม้ คำ่ เพอ่ื ม่งุ เปำ้ หมำย คอื
ผ้เู รยี นทกุ ช่วงวยั ดงั น้ี
หลกั การตามนโยบาย
กระทรวงศึกษำธกิ ำรม่งุ มน่ั ดำเนนิ กำรภำรกิจหลกั ตำมแผนแมบ่ ทภำยใตย้ ุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี (พ.ศ.
2561 – 2580) ในฐำนะหน่วยงำนเจำ้ ภำพขบั เคลื่อนทกุ แผนย่อยในประเด็น 12 กำรพฒั นำกำรเรยี นรู้ และแผนยอ่ ยที่ 3
ในประเดน็ 11 ศกั ยภำพคนตลอดชว่ งชีวิต รวมทัง้ แผนกำรปฏริ ูปประเทศดำ้ นกำรศกึ ษำ และนโยบำยรฐั บำลทง้ั ในสว่ น
นโยบำยหลักด้ำนกำรปฏิรูปกระบวนกำรเรยี นรู้ และกำรพัฒนำศกั ยภำพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบำยเรง่ ด่วน
เรื่องกำรเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21
นอกจำกนี้ ยังสนับสนนุ กำรขับเคลื่อนนโยบำยตำม
- แผนแม่บทภำยใตย้ ุทธศำสตรช์ ำติ
- แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2561 – 2564)
- นโยบำยและแผนระดับชำติวำ่ ดว้ ยควำมมนั่ คงแหง่ ชำติ (พ.ศ. 2562 – 2565)
- นโยบำยและแผนตำ่ ง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง
โดยคำดหวงั ว่ำผเู้ รียนทุกชว่ งวัยจะไดร้ บั กำรพฒั นำในทุกมิติ เป็นคนดี คนเกง่ มีคณุ ภำพ และมคี วำมพรอ้ ม
รว่ มขบั เคลอื่ นกำรพัฒนำประเทศ สู่ควำมม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน
ดงั น้ัน ในกำรเรง่ รัดกำรทำงำนภำพรวมกระทรวงให้เกดิ ผลสัมฤทธ์ิ เพ่อื สรำ้ งควำมเช่อื มนั่ ให้กับสังคม และ
ผลักดนั ใหก้ ำรจดั กำรศึกษำมีคณุ ภำพและประสทิ ธิภำพในทุกมิติ กระทรวงศึกษำธกิ ำรจึงกำหนดนโยบำยประจำปี
งบประมำณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี
1. ปรบั รอ้ื และเปล่ยี นแปลงระบบกำรบริหำรจดั กำร โดยมุ่งปฏิรปู องค์กำรเพอื่ หลอมรวมภำรกจิ และบุคลำกร
เช่น ดำ้ นกำรประชำสัมพันธ์ ดำ้ นกำรต่ำงประเทศ ด้ำนเทคโนโลยี ดำ้ นกฎหมำย ฯลฯ ที่สำมำรถลดกำรใช้ทรัพยำกรทับ
ซ้อน เพ่มิ ประสิทธภิ ำพและควำมเปน็ เอกภำพ รวมทง้ั กำรนำเทคโนโลยดี ิจิทัลเข้ำมำช่วยท้ังกำรบรหิ ำรงำนและกำรจัด
กำรศกึ ษำรองรับควำมเปน็ รฐั บำลดิจทิ ลั
2. ปรบั รื้อและเปล่ียนแปลงระบบกำรบริหำรทรัพยำกร โดยมงุ่ ปฏิรปู กระบวนกำรวำงแผนงำน/โครงกำรแบบ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 205
------------------------------------------------------------------------------
ร่วมมอื และบรู ณำกำร ท่ีสำมำรถตอบโจทย์ของสังคมและเปน็ กำรพฒั นำทีย่ ั่งยืน รวมทัง้ กระบวนกำรจดั ทำงบประมำณ
ท่มี ปี ระสทิ ธิภำพและใชจ้ ่ำยอย่ำงคมุ้ ค่ำ สง่ ผลให้ภำคสว่ นตำ่ ง ๆ ทง้ั ภำครัฐ ภำคเอกชน และนำนำชำติ เชอื่ ม่ันและรว่ ม
สนบั สนุนกำรพฒั นำคุณภำพกำรศกึ ษำมำกย่ิงข้ึน
3. ปรบั รื้อและเปลย่ี นแปลงระบบกำรบริหำรจดั กำรและพฒั นำกำลังคนของกระทรวงศกึ ษำธิกำรโดยมุ่งบริหำร
จัดกำรอตั รำกำลงั ให้สอดคล้องกบั กำรปฏิรูปองค์กำร รวมทั้งพัฒนำสมรรถนะและควำมรู้ควำมสำมำรถของบุคลำกร
ภำครฐั ให้มีควำมพร้อมในกำรปฏบิ ตั งิ ำนรองรบั ควำมเป็นรัฐบำลดจิ ิทลั
4. ปรบั รื้อและเปลีย่ นแปลงระบบกำรจดั กำรศึกษำและกำรเรียนรู้ โดยมงุ่ ให้ครอบคลมุ ถึงกำรจดั กำรศึกษำเพอื่
คณุ วุฒิ และกำรเรียนรูต้ ลอดชีวิตที่สำมำรถตอบสนองกำรเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21
จดุ เน้น
1. การพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
1.1 กำรจัดกำรศึกษำเพ่ือคุณวุฒิ
- จัดกำรศึกษำทกุ ระดับ ทกุ ประเภท โดยใช้หลกั สตู รฐำนสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทำงกำรจัดกำรเรยี นรเู้ ชิงรุกและ
กำรวัดประเมินผลเพอ่ื พฒั นำผู้เรียน ทสี่ อดคลอ้ งกบั มำตรฐำนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ
- ส่งเสริมกำรพฒั นำกรอบหลักสตู รระดบั ท้องถ่ินและหลกั สตู รสถำนศึกษำ ตำมควำมตอ้ งกำรจำเปน็ ของ
กลมุ่ เปำ้ หมำยและแตกตำ่ งหลำกหลำยตำมบรบิ ทของพน้ื ท่ี
- พัฒนำผเู้ รียนใหม้ ีทกั ษะกำรคดิ วเิ ครำะห์ สำมำรถแกไ้ ขสถำนกำรณเ์ ฉพำะหน้ำได้อยำ่ งมีประสทิ ธภิ ำพโดย
จัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จำกประสบกำรณ์จริงหรือจำกสถำนกำรณ์จำลองผำ่ นกำรลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจน
จดั กำรเรยี นกำรสอนในเชิงแสดงควำมคิดเห็นเพอื่ เปิดโลกทัศนม์ ุมมองร่วมกันของผเู้ รียนและครใู ห้มำกขึน้
- พฒั นำผ้เู รยี นใหม้ ีควำมรอบรู้และทักษะชวี ติ เพื่อเป็นเครื่องมือในกำรดำรงชีวติ และสรำ้ งอำชีพ อำทิ กำรใช้
เทคโนโลยีดิจทิ ัล สุขภำวะและทัศนคตทิ ่ีดีต่อกำรดูแลสุขภำพ
1.2 กำรเรียนรูต้ ลอดชีวิต
- จดั กำรเรยี นรู้ตลอดชีวติ สำหรบั ประชำชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดบั ทักษะภำษำองั กฤษ (English
for All)
- สง่ เสริมกำรเรียนกำรสอนทเี่ หมำะสมสำหรับผู้ทเ่ี ขำ้ สสู่ ังคมสูงวัย อำทิ อำชพี ทเี่ หมำะสมรองรบั สงั คมสูงวัย
หลักสูตรกำรพฒั นำคณุ ภำพชีวิต และหลักสตู รกำรดูแลผู้สงู วัย หลกั สูตร BUDDY โดยเน้นกำรมีส่วนร่วมในกำรพฒั นำ
ชุมชน โรงเรยี น และผเู้ รยี น หลักสูตรกำรเรยี นรอู้ อนไลน์ เพ่ือส่งเสริมประชำสมั พันธส์ ินค้ำออนไลน์ระดับตำบล
- สง่ เสริมโอกำสกำรเขำ้ ถงึ กำรศึกษำเพ่ือทกั ษะอำชีพและกำรมีงำนทำ ในเขตพฒั นำพเิ ศษเฉพำะกิจจังหวดั
ชำยแดนภำคใต้ และเขตพ้ืนที่พเิ ศษ (พ้ืนท่สี ูง พ้นื ที่ตำมแนวตะเขบ็ ชำยแดน และพน้ื ท่ีเกำะแกง่ ชำยฝง่ั ทะเล ทง้ั กลุ่มชน
ตำ่ งเช้ือชำติ ศำสนำ และวัฒนธรรม กล่มุ ชนชำยขอบ และแรงงำนตำ่ งดำ้ ว)
- พัฒนำครูให้มีทักษะ ควำมรู้ และควำมชำนำญในกำรใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล ปญั ญำประดษิ ฐ์ และภำษำอังกฤษ
รวมท้งั กำรจดั กำรเรียนกำรสอนเพอ่ื ฝึกทักษะกำรคดิ วเิ ครำะหอ์ ยำ่ งเป็นระบบและมเี หตผุ ลเปน็ ขั้นตอน
- พฒั นำครอู ำชวี ศึกษำท่ีมีควำมรแู้ ละควำมสำมำรถในทำงปฏิบัติ (Hands – on Experience)เพือ่ ใหม้ ที กั ษะและ
ควำมเชี่ยวชำญทำงวิชำกำร โดยร่วมมือกับสถำบนั อดุ มศกึ ษำชนั้ นำของประเทศจดั หลักสตู รกำรพัฒนำแบบเขม้ ข้น
ระยะเวลำอยำ่ งน้อย 1 ปี
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 206
------------------------------------------------------------------------------
- พัฒนำสมรรถนะและควำมรู้ควำมสำมำรถของบุคลำกรกระทรวงศกึ ษำธิกำร ให้มคี วำมพร้อมในกำร
ปฏบิ ัตงิ ำนรองรบั ควำมเปน็ รัฐบำลดิจิทลั อยำ่ งมปี ระสทิ ธิภำพ โดยจัดให้มศี ูนย์พัฒนำสมรรถนะบคุ ลำกรระดบั จังหวดั
ทวั่ ประเทศ
2. การพฒั นาการศึกษาเพอ่ื ความมั่นคง
- พัฒนำคณุ ภำพกำรศึกษำในพนื้ ที่จงั หวดั ชำยแดนภำคใต้ โดยนอ้ มนำยทุ ธศำสตร์พระรำชทำน “เขำ้ ใจ เขำ้ ถึง
พัฒนำ” เปน็ หลกั ในกำรดำเนินกำร
- เฝำ้ ระวงั ภยั ทุกรปู แบบที่เกดิ ขึน้ กบั ผ้เู รยี น ครู และสถำนศึกษำโดยเฉพำะภัยจำกยำเสพติด อำชญำกรรมทำงไซ
เบอร์ กำรคำ้ มนษุ ย์
- สง่ เสรมิ ให้ใช้ภำษำทอ้ งถ่นิ ร่วมกบั ภำษำไทย เป็นส่อื จดั กำรเรยี นกำรสอนในพืน้ ท่ีที่ใช้ภำษำอยำ่ งหลำกหลำย เพอ่ื
วำงรำกฐำนให้ผู้เรยี นมีพฒั นำกำรดำ้ นกำรคดิ วเิ ครำะห์ รวมทัง้ มีทกั ษะกำรส่ือสำรและ
ใช้ภำษำที่สำมในกำรตอ่ ยอดกำรเรยี นรไู้ ดอ้ ยำ่ งมีประสทิ ธิภำพ
- ปลกู ฝังผเู้ รยี นให้มีหลกั คดิ ที่ถูกต้องดำ้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเป็นผู้มีควำมพอเพียง วินยั สจุ ริต จติ อำสำ
โดยใชก้ ระบวนกำรลูกเสอื และยุวกำชำด
3. การสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
- สนับสนุนให้สถำนศึกษำอำชวี ศึกษำผลติ กำลงั แรงงำนทมี่ ีคณุ ภำพ ตำมควำมเป็นเลิศของแตล่ ะสถำนศกึ ษำและ
ตำมบริบทของพืน้ ท่ี รวมท้งั สอดคลอ้ งกับควำมต้องกำรของประเทศท้ังในปจั จบุ นั และอนำคต
- สนบั สนุนให้สถำนศกึ ษำอำชีวศึกษำบริหำรจัดกำรอยำ่ งมีคณุ ภำพ และจัดกำรเรียนกำรสอนดว้ ยเครอ่ื งมือ
ปฏบิ ัติท่ที ันสมยั และสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเนน้ ให้ผู้เรยี นมที กั ษะกำรวิเครำะห์ข้อมูล (Data Analysis) และทักษะ
กำรส่ือสำรภำษำตำ่ งประเทศ
4. การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
- พฒั นำแพลตฟอร์มดิจิทัลเพอ่ื กำรเรียนรู้ และใช้ดจิ ทิ ลั เป็นเครือ่ งมอื กำรเรียนรู้
- ศกึ ษำและปรบั ปรุงอัตรำเงนิ อุดหนุนคำ่ ใช้จ่ำยต่อหัวในกำรจัดกำรศกึ ษำขัน้ พืน้ ฐำน ให้สอดคลอ้ งกับสภำพ
เศรษฐกจิ และบทบญั ญัติของรัฐธรรมนญู
- ระดมสรรพกำลังเพื่อส่งเสรมิ สนับสนนุ โรงเรยี นนำร่องพ้ืนท่นี วัตกรรมกำรศกึ ษำ เพ่ือลดควำมเหล่อื มลำ้
ทำงกำรศึกษำใหส้ อดคลอ้ งพระรำชบัญญตั ิพื้นที่นวัตกรรมกำรศึกษำ พ.ศ. 2562
5. การจดั การศึกษาเพอื่ สร้างเสรมิ คุณภาพชวี ติ ทเี่ ป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม
- เสรมิ สรำ้ งกำรรบั รู้ ควำมเข้ำใจ ควำมตระหนกั และส่งเสริมคุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมที่พึงประสงคด์ ้ำน
ส่งิ แวดล้อม
- สง่ เสริมกำรพฒั นำสง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมท่ีเปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม ให้สำมำรถเปน็ อำชีพ และสรำ้ งรำยได้
6. การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ
- ปฏิรปู องค์กำรเพ่ือลดควำมทับซอ้ น เพิม่ ประสิทธิภำพและควำมเปน็ เอกภำพของหนว่ ยงำนทมี่ ีภำรกจิ ใกล้เคยี ง
กนั เชน่ ดำ้ นประชำสัมพันธ์ ด้ำนต่ำงประเทศ ด้ำนเทคโนโลยี ดำ้ นกฎหมำย เป็นต้น
- ปรบั ปรงุ กฎหมำยและระเบยี บทเ่ี ปน็ อปุ สรรคและขอ้ จำกดั ในกำรดำเนนิ งำน โดยคำนงึ ถึงประโยชน์ของผเู้ รยี น
และประชำชน ตลอดจนกระทรวงศึกษำธิกำรโดยรวม
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 207
------------------------------------------------------------------------------
- สนบั สนุนกจิ กรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ
- พัฒนำระบบฐำนขอ้ มลู ดำ้ นกำรศกึ ษำ (Big Data)
- พฒั นำระบบกำรบริหำรจัดกำรและพัฒนำกำลงั คนของกระทรวงศึกษำธกิ ำร ใหส้ อดคลอ้ งกับกำรปฏริ ปู
องค์กำร
- สนบั สนุนให้สถำนศกึ ษำเป็นนิตบิ คุ คล เพื่อให้สำมำรถบริหำรจัดกำรศึกษำที่มีคุณภำพไดอ้ ย่ำงอสิ ระและมี
ประสิทธิภำพ ภำยใตก้ รอบแนวทำงของกระทรวงศึกษำธกิ ำร
- จดั ตงั้ หนว่ ยงำนวำงแผนทำงกำรเงนิ (Financial Plan) ระดับจงั หวดั เพื่อพฒั นำคณุ ภำพชีวิตบุคลำกรของ
กระทรวงศกึ ษำธิกำร
- สง่ เสริมโครงกำร 1 ตำบล 1 โรงเรยี นคณุ ภำพ โดยเน้นปรับสภำพแวดลอ้ มทั้งภำยในและภำยนอกบรเิ วณ
โรงเรียนใหเ้ อื้อต่อกำรเสรมิ สรำ้ งคณุ ธรรม จริยธรรม และจิตสำธำรณะ
การขบั เคลอื่ นนโยบายและจดุ เนน้ สูก่ ารปฏิบตั ิ
1. ให้สว่ นรำชกำร หนว่ ยงำนในสงั กัดกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร นำนโยบำยและจุดเนน้ เปน็ กรอบแนวทำงมำใช้ใน
กำรวำงแผนและจัดทำงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 โดยคำนึงถึงมำตรกำร 4 ขอ้ ตำมที่
รฐั มนตรวี ำ่ กำรกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ไดใ้ หแ้ นวทำงในกำรบริหำรงบประมำณไว้ ดังนี้
(1) งดดงู ำนตำ่ งประเทศ 1 ปี ยกเวน้ กรณีที่มีควำมจำเป็นและเปน็ ประโยชน์ตอ่ กระทรวงศึกษำธกิ ำร
(2) ลดกำรจัดอบรมสัมมนำที่มขี นำดใหญแ่ ละใชง้ บประมำณมำก
(3) ยกเลิกกำรจดั งำน Event
(4) ทบทวนงบประมำณที่มคี วำมซ้ำซอ้ น
2. ใหม้ ีคณะกรรมกำรตดิ ตำม ประเมนิ ผล และรำยงำนกำรขับเคลื่อนนโยบำยและจุดเนน้ สู่กำรปฏิบัติระดับ
พ้ืนที่ โดย
- ให้ผ้ตู รวจรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำรเป็นประธำน
- สำนกั งำนศึกษำธกิ ำรภำคและสำนกั ตรวจรำชกำรและติดตำมประเมนิ ผล สป. เป็นฝ่ำยเลขำนกุ ำรและ
ผ้ชู ว่ ยเลขำนกุ ำรตำมลำดับ
โดยมบี ทบำทภำรกจิ ในกำรตรวจรำชกำร ติดตำม ประเมินผลในระดับนโยบำย และจดั ทำรำยงำนเสนอตอ่
รัฐมนตรวี ่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร และคณะกรรมกำรติดตำม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลกำรจัดกำรศกึ ษำของ
กระทรวงศึกษำธกิ ำร ทรำบตำมลำดบั
3. กรณีมีปัญหำในเชงิ พ้ืนทีห่ รือข้อขดั ข้องในกำรปฏบิ ัตงิ ำน ใหศ้ ึกษำ วิเครำะห์ขอ้ มูลและดำเนินกำรแก้ไข
ปญั หำในระดับพืน้ ท่กี ่อน โดยใชภ้ ำคเี ครือข่ำยในกำรแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมท้งั รำยงำนตอ่ คณะกรรมกำรตดิ ตำมฯ
ขำ้ งต้น ปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร และรัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงศกึ ษำธิกำรตำมลำดับ
----------------------------------
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 208
------------------------------------------------------------------------------
แนวข้อสอบ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579
1. แผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำตฉิ บบั ปัจจุบนั เป็นฉบบั ทเี่ ท่ำใด
ก. ฉบบั ที่ 11 ข. ฉบับที่ 12
ค. ฉบับท่ี 13 ง. ฉบบั ท่ี 14
ตอบ ข.
2. แผนกำรศกึ ษำแห่งชำติฉบับปัจจุบนั มีระยะเวลำของแผนก่ีปี
ก. 19 ปี ข. 20 ปี
ค. 21 ปี ง. 22 ปี
ตอบ ข.
3. แผนกำรศึกษำแห่งชำติฉบบั ปัจจบุ ัน แบ่งออกเป็นก่ีระยะ
ก. 3 ระยะ ข. 4 ระยะ
ค. 5 ระยะ ง. 6 ระยะ
ตอบ ค.
4. กรอบแนวคิดแผนกำรศึกษำชำตฉิ บบั ปัจจบุ ัน มีกีเ่ ปำ้ หมำย
ก. 2 เปำ้ หมำย ข. 3 เป้ำหมำย
ค. 4 เปำ้ หมำย ง. 5 เป้ำหมำย
ตอบ ง.
5. เป้ำหมำยแรกของแผนกำรศึกษำแหง่ ชำตติ รงกับปี พ.ศ. ใด
ก. 2560 – 2561 ข. 2560 – 2562
ค. 2560 – 2563 ง. 2560 – 2564
ตอบ ง.
6. หลกั กำร/แนวคดิ แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 มกี ่ขี อ้
ก. 2 ข้อ ข. 3 ขอ้
ค. 4 ขอ้ ง. 5 ขอ้
ตอบ ข.
7. จำกข้อ 6 ขอ้ ใดท่มี ใิ ช่หลักกำรและแนวคดิ ของแผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2560 – 2579
ก. SDGs ข. เศรษฐกจิ พอเพียง
ค. โลกในศตวรรษท่ี 21 ง. ลดกำรออกกลำงคนั
ตอบ ง.
8. แผนกำรศึกษำแหง่ ชำตฉิ บบั ปัจจบุ ันระยะเร่งด่วนมรี ะยะเวลำกป่ี ่ี
ก. 1 ปี ข. 3 ปี
ค. 5 ปี ง. 7 ปี
ตอบ ก.
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 209
------------------------------------------------------------------------------
9. แผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติฉบบั ปัจจุบัน ซึ่งสอดคลอ้ งกับอำชวี ศกึ ษำอยู่ในยุทธศำสตร์ข้อใด
ก. ขอ้ 1 ข. ขอ้ 2 ค. ขอ้ 3 ง. ข้อ 3
ตอบ ข.
10. ควำมหมำยของ”กำรปฎิวตั ิอุตสำหกรรม” ในแผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ ฉบบั ปจั จุบันข้อใดถูกทส่ี ดุ
ก. อุตสำหกรรมเกษตรประยุกตผ์ สมผสำนกบั อุตสำหกรรมเบำ
ข. อตุ สำหกรรมหนกั ประยกุ ต์ผสมผสำนกับอุตสำหกรรมเบำ
ค. กำรใช้สำรสนเทศประยุกต์ผสมผสำนกับเทคโนโลยีอตุ สำหกรรม
ง. ถกู ทกุ ขอ้
ตอบ ค.
11. สัญญำประชำคมโลกสู่กำรพัฒนำทีย่ ่งั ยนื ขององคก์ ำรสหประชำชำตทิ ก่ี ล่ำวถงึ ในแผนกำรศึกษำชำติฉบับ
ปจั จุบนั ตรงกบั พ.ศ. ใด
ก. 2560 ข. 2565 ค. 2570 ง. 2573
ตอบ ง.
12. หลกั กำร/แนวคิดแผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 SDGs หมำยถงึ ข้อใด
ก.หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ข.โลกในศตวรรษที่ 21
ค. หลักกำรพฒั นำที่ยั่งยืนขององค์กำรสหประชำชำติ 2573
ง. หลักกำรพฒั นำทรัพยำกรมนุษย์
ตอบ ค.
13. หลักกำร/แนวคดิ แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 กำหนดยทุ ธศำสตรไ์ ว้กี่ขอ้
ก. 3 ข้อ ข. 4 ขอ้ ค. 5 ขอ้ ง. 6 ขอ้
ตอบ ง.
14. หลกั กำร/แนวคดิ แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 กำหนดไวก้ เ่ี ป้ำหมำย
ก. 3 ข้อ ข. 4 ข้อ ค. 5 ข้อ ง. 6 ข้อ
ตอบ ค.
15. หลักกำร/แนวคดิ แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 กำหนดยทุ ธศำสตร์ ที่ 2 ตรงกับขอ้ ใด
ก. มีฐำนข้อมลู ควำมตอ้ งกำรกำลังคน จำแนกตำมกลุ่มอตุ สำหกรรมอยำ่ งครบถว้ น
ข. สัดส่วนผ้เู รียนอำชวี ศกึ ษำสงู ข้ึนเมอ่ื เมือ่ เทยี บกับผู้เรียนสำมัญศกึ ษำ
ค. ร้อยละของกำลงั แรงงำนในสำขำอำชพี ต่ำงๆได้รับกำรยกระดบั คณุ วุฒิวิชำชีพสงู ขนึ้
ง. ถูกทุกขอ้
ตอบ ง.
---------------------------
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 210
------------------------------------------------------------------------------
ยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 211
------------------------------------------------------------------------------
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 212
------------------------------------------------------------------------------
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 213
------------------------------------------------------------------------------
--------------------------
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 214
------------------------------------------------------------------------------
แนวโน้มการศึกษายุคใหม่
วเิ คราะห์ แนวโน้มการศึกษาในทศวรรษที่ 21 เป็นอย่างไร
กำรเรยี นกำรสอนแบบเกำ่ มุ่งใหค้ วำมรแู้ ก่แก้เด็กเยอะ ส่วนกำรเรียนอยำ่ งปจั จบุ นั เด็กวยั รนุ่ จะเสียคนมำกข้ึน
เรื่อยๆ เพรำะเรียนแค่ไดค้ วำมรู้ ควำมรทู้ ไ่ี ดม้ ำ 2 – 3 ปี กเ็ ก่ำแลว้ ใช้ไม่ได้ ควำมแตกตำ่ งก็คือเดก็ ยคุ ใหมม่ คี วำมรวู้ ่งิ เขำ้
มำหำเค้ำเยอะ เร่อื งที่เรยี นในหอ้ งเรียนทยี่ ำกมำก เพรำะเรอื่ งอนื่ นำ่ สนใจกว่ำเยอะ ในศตวรรษนี้เปน็ ยุคของไอที ควำมรู้
มนั เพม่ิ ขึ้นมหำสำรอยำ่ งรวดเร็วมำกขน้ึ ทุกวนั เรำตำมไมท่ ัน เพรำะฉะน้นั เรำไม่ได้ตอ้ งกำรแคน่ กั เรียนท่ีทอ่ งเกง่ เรยี น
เก่งเพียงอยำ่ งเดยี ว เรำอยำกไดน้ กั เรยี นหรือบัณฑิตทใ่ี ฝ่รู้หมั่นเรียนรู้ รวู้ ิธเี รียนใหม่ๆ ดว้ ย ทเี่ รียกว่ำ กำรมที ักษะกำร
เรียนรู้ (Learning skill) พร้อมทั้งกำรต้องกำรให้มีทักษะกำรใช้ชวี ิต (Live skill) ในศตวรรษท่ี 21 นน้ั นอกจำกควำมรใู้ น
สำระวชิ ำหลกั ทเ่ี ดก็ จะได้รบั กำรสอน คือ ภำษำแม่และภำษำสำคัญของโลก ศิลปะ คณิตศำสตร์ เศรษฐศำสตร์
ภูมศิ ำสตร์ รฐั และควำมเปน็ พลเมืองท่ีดี
เด็กควรรู้แนวคิดสำคัญในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย
1. ควำมร้เู กย่ี วกบั โลก
2. ควำมรดู้ ้ำนกำรเงิน เศรษฐศำสตร์ ธุรกิจ และกำรเป็นผ้ปู ระกอบกำร
3. ควำมรู้ด้ำนกำรเป็นพลเมอื งทดี่ ี
4. ควำมร้ดู ้ำนสุขภำพ
5. ควำมรูด้ ำ้ นสิ่งแวดลอ้ ม
นอกจำกเดก็ ควรได้รับกำรปลูกฝังทักษะสำคัญ 3 เร่ือง
1. ทักษะชวี ติ และกำรทำงำน ประกอบดว้ ย
1.1 ควำมยืดหย่นุ และกำรปรับตัว
1.2 กำรเป็นผสู้ ร้ำงหรือผู้ผลิตและรับผิดชอบเช่ือถือได้
1.3 ภำวะผ้นู ำและควำมรับผิดชอบ
1.4 กำรรเิ ร่ิมสร้ำงสรรคแ์ ละเปน็ ตวั ของตัวเอง
1.5 ทกั ษะด้ำนสังคมและทกั ษะดำ้ นวฒั นธรรม
2. ทกั ษะด้ำนสำรสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี
2.1 ควำมคดิ รเิ ร่มิ สรำ้ งสรรค์ และนวัตกรรม
2.2 กำรคดิ อย่ำงมีวิจำรณญำณและกำรแก้ปัญหำ
2.3 กำรสื่อสำรและควำมรว่ มมอื
3. ทกั ษะด้ำนกำรเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม
3.1 กำรใชแ้ ละกำรประเมินสำระสนเทศได้อย่ำงเท่ำทนั
3.2 วิเครำะห์และเลอื กใชส้ อ่ื ไดอ้ ย่ำงเหมำะสม
3.3 กำรใช้เทคโนโลยีใหมอ่ ย่ำงมีประสิทธิภำพ เพ่อื กระบวนกำรเรียนรู้ตำ่ งๆ ประสบควำมสำเรจ็
จำเป็นต้องมีโครงสร้ำงพ้นื ฐำน 4 ด้ำน เพือ่ สนับสนนุ กำรเรยี นรูศ้ ตวรรษท่ี 21 คอื
1. มำตรฐำนและกำรประเมินในยุคศตวรรษที่ 21
2. หลกั สตู รกำรเรียนกำรสอนสำหรับศตวรรษที่ 21
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 215
------------------------------------------------------------------------------
3. กำรพัฒนำครู ไม่ใช่แคอ่ บรม
4. สภำพที่เหมำะสมกับกำรเรียนรู้ สภำพควำมจรงิ กค็ อื ควำมรมู้ ันเยอะมำก ทำยังไงจะยัดให้เดก็ หมด ครเู องก็
เวยี นหัว ผลกำรวจิ ยั บอกวำ่ อย่ำไปสอนเยอะ ใหส้ อนเฉพำะที่สำคญั เรยี กว่ำ (ESSENTIAL) แล้วหลังจำกนน้ั เด็กจะเอำ
ควำมรูเ้ หล่ำน้นั มำต่อกันเอง แล้วมนั งอกขน้ึ มำ ส่วนท่ีไม่ได้สอนเดก็ จะเรยี นได้เอง กำรเรียนรศู้ ตวรรษท่ี 21 เรียกวำ่
Teach Less Learn More เรำควรตอ้ งเปล่ียนเปน็ กำรเปลีย่ นแปลงเปำ้ หมำย “ควำมรู้” ไปสู้ “ทักษะ เปล่ยี นจำกเอำ “ครู”
เปน็ หลกั มำเปล่ียนเป็น “นักเรียน” เปน็ หลัก เรียนโดยกำรปฏบิ ัติ คือ นักเรียนทำงำน เรียกว่ำ Project Based Learning
หรือ PBL เปน็ กำรฝึกนักเรียนไดเ้ รียนรกู้ ำรผ่ำนกำรทำงำนจรงิ หรอื Project ต่ำงๆ โดยครเู ปน็ เพยี งโค้ชทคี่ อยชว่ ยเหลือ
อยขู่ ้ำงๆ กำรเรียนแบบนเ้ี ป็นกำรฝึกใหเ้ ดก็ ใช้ทกั ษะตำ่ งๆ ตงั้ แต่ “ทักษะกำรตโี จทย์” “คน้ ควำ้ หำขอ้ มลู ” หำกสอบหรอื
ประเมนิ ขอ้ มลู เพื่อนำส่งิ ทเ่ี หมำะสมนำมำใช้กับ Project ได้ฝกึ ปฏบิ ัติจริง “เพิม่ ทกั ษะกำรสือ่ สำร” นำเสนออยำ่ ง
สร้ำงสรรค์ และที่สำคญั ทสี่ ดุ เป็นกำรฝึกทำงำนเปน็ ทมี แลกเปลย่ี นควำมรรู้ ่วมกันเพ่ือต่อยอดเป็นองค์ควำมรู้ของตนเอง
ต่อไป
กำรให้ Project หน่ึงสำมำรถออกแบบแลว้ ก็ใสเ่ งือ่ นไข ให้นักเรยี นสำมำรถเรยี นรู้ทักษะสำรพัดดำ้ น “ครูต้อง
เป็นครูฝึก” เป็นโค๊ชใหน้ กั เรียนทำงำนเพ่ือทำใหบ้ รรลุได้ Concept กำรศึกษำตอ้ งเปลี่ยนไปจำกทค่ี ุ้นเคยจำกหนำ้ มือเป็น
หลังมอื เยอะมำก ทีเ่ รำทะเลอะกนั อยู่ สว่ นหนง่ึ ผลจำกกำรศึกษำทไี่ มล่ ึกพอ ทไ่ี มท่ ำให้คนไทยหรือพลเมอื งไทยมี
วิจำรณญำณ ทเี่ รยี นให้มวี จิ ำรณญำณ สังคมเรำกจ็ ะยกระดบั ขึน้ มำ
Education 2030 - อนาคตการศกึ ษาในอีก 10 ปีข้างหน้า
ยังจำไดไ้ หม? กับกำรเรยี นหนังสือในหอ้ งเรียน ทำกำรบำ้ นในสมดุ สง่ คุณครู สงสยั กำรบ้ำนขอ้ ไหนก็ต้องโทร
ถำมเพอ่ื น หรอื ส่งขอ้ ควำม msn บนคอมพวิ เตอร์ เวลำเรียนพิเศษก็ตอ้ งเดนิ ทำงไปทส่ี ถำบันเพอ่ื ไปนงั่ เรยี นในห้องเรยี น
ตำมเวลำท่ีสถำบนั กำหนด
ภำพควำมทรงจำท้งั หมดเหล่ำน้ี คือ ภำพของกำรศกึ ษำในปี 2010 หรอื เม่ือ 10 ปที แ่ี ล้วนนั่ เอง ภำพท้งั หมดน้ไี ด้
จำกหำยไปแล้วโดยส้นิ เชิงดว้ ยกำรเขำ้ มำของเทคโนโลยีใหม่ ๆ อยำ่ ง Smartphone และ Internet ควำมเร็วสงู ทุกวนั นี้
หำกคณุ ต้องกำรเรยี นรูเ้ รื่องอะไร สำมำรถเรยี นร้อู อนไลน์ได้หมดทุกหัวขอ้ เขำ้ ถงึ ขอ้ มูลจำกทว่ั โลก จำกแหล่งควำมรู้
ระดับโลก เรยี นไดท้ กุ ที่ ทุกเวลำ ตำมควำมสะดวก ไดท้ ้งั บนมอื ถอื แทป็ เล็ต และคอมพิวเตอร์
จะเห็นไดว้ ำ่ ในระยะเวลำเพียงแค่ 10 ปีนั้น มีกำรเปล่ียนแปลงเกิดขน้ึ มำกมำยมหำศำล ซึ่งส่งผลกับชีวิตของเรำ
ทกุ คน กำรเรยี นรู้ไม่ได้จบอยูเ่ พียงแค่ในห้องเรยี น แตเ่ ปลย่ี นรูปแบบไปเปน็ “กำรเรียนรู้ตลอดชีวติ ” นอกจำกน้ียังมีเร่ือง
ของกำรที่หนุ่ ยนต์ AI สำมำรถทำงำนบำงประเภทแทนคนได้ ควำมรบู้ ำงประเภทจึงไม่จำเป็นอกี ตอ่ ไป ในปี 2020 น้ี เรำ
ได้เรม่ิ ตน้ ทศวรรษใหม่กันแล้ว มำดกู นั ว่ำ แล้วในอีก 10 ปีข้ำงหน้ำ จะมีอะไรเปล่ียนแปลงไปอกี ? เรำควรจะปรับตัว
อยำ่ งไร?
งำนวจิ ยั ของ HolonIQ แพลตฟอร์มข้อมูลเทรนดแ์ ละงำนวิจยั ทำงกำรศกึ ษำระดับโลก เผย 5 ควำมเป็นไปไดท้ ี่
จะเกดิ ข้ึนในโลกแหง่ กำรศึกษำในยคุ 2030 ซึ่งไดว้ เิ ครำะหม์ ำจำกกำรใช้ Machine Learning ดงึ ข้อมลู 5,000 จดุ จำก
แหลง่ ข่ำวชั้นนำทั่วโลก ผนวกกบั กำรสัมภำษณ์ผูเ้ ช่ียวชำญจำกหนว่ ยงำนท่ีทำงำนวิจัยกำรศึกษำอยำ่ ง World
Bank, OCED และ UNESCO มำดูกันว่ำ 5 ควำมเปน็ ไปได้นี้ มอี ะไรบำ้ ง
Scenario 1: Education as Usual
ในรูปแบบควำมเปน็ ไปไดแ้ บบ status quo นี้ สถำบนั กำรศกึ ษำจะยังคงเป็นแหลง่ หลักในกำรเรยี นรเู้ หมือน
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 216
------------------------------------------------------------------------------
ดังเชน่ ทกุ วนั นี้ แต่กต็ ้องเผชิญควำมทำ้ ทำยเรอื่ งกำรเปล่ียนแปลงโครงสร้ำงประชำกรเขำ้ สู่สังคมสงู วัย และกำรที่ตอ้ ง
reskill สำขำอำชพี เส่ยี งตกงำนตำมควำมต้องกำรที่เปลี่ยนแปลงไปในตลำดแรงงำน ซงึ่ ถ้ำวเิ ครำะหจ์ ำกสถำนกำรณ์
ปจั จบุ นั แลว้ จะเหน็ ได้วำ่ สถำบันกำรศกึ ษำหลำยแหง่ ปรับตัวตำมเทรนดไ์ มท่ ัน จงึ มีกำรคำดกำรณ์ว่ำจะมสี ถำบันหลำย
แหง่ ท่ตี อ้ งปดิ ตวั ไปในอนำคต
ในทำงตรงกนั ขำ้ ม จะมสี ถำบันรูปแบบใหม่ ๆ เกดิ ข้ึน ทเี่ ป็นสถำบันกำรเรียนรูท้ ่เี น้นทกั ษะอำชพี โดยเฉพำะ
โดยอำจเป็นในรูปแบบของกำรร่วมมือกับบริษทั ตำ่ ง ๆ ภำคเอกชน เพือ่ สรำ้ งหลักสตู รที่เน้นทักษะท่นี ำไปใช้ในกำร
ทำงำนได้จริง ไม่เน้นทฤษฎี จบหลักสูตรกส็ มัครงำนตำแหนง่ น้นั ๆ ไดเ้ ลย กำรเรยี นน้ีไม่ได้จำกดั แคน่ สิ ิต นักศกึ ษำ แต่
คนทวั่ ไปที่ต้องกำรเปลยี่ นสำยงำน reskill ตวั เอง กส็ ำมำรถมำเรยี นได้
ยังมีอีกเทรนดห์ นึ่งทนี่ ่ำจะเกิดขน้ึ คอื เกิดกำรจ้ำงงำนขำ้ มประเทศกนั มำกขึ้นในรปู แบบกำรทำงำนออนไลน์
เนอื่ งจำกหลำยประเทศจะเขำ้ สสู่ งั คมสงู วยั แบบเตม็ ตัว จะประสบภำวะขำดแคลนแรงงำน ในขณะทหี่ ลำยประเทศใน
กลมุ่ กำลงั พัฒนำเองก็จะกลำยมำเป็นแหล่งพฒั นำแรงงำนมฝี ีมือ ดังน้นั กำรเรยี นภำษำอังกฤษเพ่อื กำรทำงำนยังคงมี
ควำมสำคัญอยู่ กำรจำ้ งงำนออนไลน์ขำ้ มประเทศมกั มีปัญหำเรอ่ื งควำมน่ำเชือ่ ถือ เทคโนโลยี blockchain เองก็จะเข้ำมำ
มบี ทบำทในกำรชว่ ยยืนยันตัวตน ตรวจสอบประวัตกิ ำรศึกษำ และกำรรักษำควำมปลอดภยั ของข้อมลู
Scenario 2: Regional Rising
ในรูปแบบนี้ เป็นกำรคำดกำรณว์ ่ำเศรษฐกจิ จะเตบิ โตในรปู แบบกล่มุ ประเทศ มกี ำรร่วมมือกนั อยำ่ งแข็งแกร่ง
ในภูมภิ ำคตำ่ ง ๆ จุดทน่ี ำ่ สนใจคอื ประเทศตำ่ ง ๆ ในแตล่ ะภมู ภิ ำคมกั ประสบควำมท้ำทำยในรูปแบบท่ีคล้ำยคลึงกนั จึง
มองวำ่ กำรร่วมมอื กันในระดับภมู ิภำคและแกป้ ัญหำรว่ มกันเปน็ ทำงทไี่ ดผ้ ลดที ่ีสุด แทนท่จี ะใหแ้ ต่ละประเทศแยกยำ้ ย
กันไปหำวิธีรบั มือปัญหำของตนเอง ตัวอย่ำงเชน่ ไทย อินโดนีเซีย และประเทศอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก็มี
ปญั หำเรอื่ งควำมเหลือ่ มลำ้ ในกำรศีกษำและควำมยำกจนคล้ำยคลึงกัน
สง่ิ ท่จี ะเกดิ ข้ึนในภำคกำรศกึ ษำในกรณีน้ีคอื กำรทส่ี ถำบนั กำรศกึ ษำในภมู ิภำครว่ มมือกันปรบั หลกั สตู ร
แบง่ ปันข้อมูลกัน รว่ มกนั พัฒนำมำตรฐำนกำรอบรมครูใหเ้ ปน็ สำกลจนสำมำรถทำโปรแกรม exchange คุณครู ให้
คุณครู 1 คนสำมำรถสอนในหลำยประเทศได้หมนุ เวียนไป คณุ ครูในกลมุ่ ประเทศที่ไดร้ ับผลกระทบจำกสังคมสูงวยั ก็
สำมำรถทำงำนตอ่ โดยกำรไปสอนนกั เรียนในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนำที่ขำดแคลนคณุ ครูได้ ซง่ึ กำรเติบโตของประเทศ
กำลงั พัฒนำในเอเชีย ตะวนั ออกกลำง และแอฟรกิ ำ จะเป็นกำลงั สำคญั
นอกจำกกำร exchange คณุ ครูแลว้ จะเกดิ กำร exchange นกั เรียนและคนทำงำนเพมิ่ มำกข้ึนด้วยควำมร่วมมือ
ระหวำ่ งประเทศ เพื่อพฒั นำเศรษฐกจิ และป้องกันภำวะสมองไหล คนเกง่ ๆ ไปทำงำนประเทศตะวันตกจนหมด โดย
กำรสร้ำงโอกำสในกำรทำงำนท่นี ่ำดงึ ดดู ในภูมิภำคของตนเอง
กำรเรียนร้ใู นโรงเรียนและมหำวทิ ยำลัยจะยงั คงเป็นโครงสร้ำงแบบเดิม แตเ่ พิ่มรปู แบบ blended learning ใช้
เทคโนโลยเี ขำ้ มำช่วย เป็นกำรเรียนออนไลนแ์ ต่เรียนในห้องเรียน ผสู้ อนเป็นผเู้ ชี่ยวชำญพเิ ศษระดับภมู ิภำค สอน
ออนไลนแ์ ลว้ ให้เด็กหลำย ๆ ประเทศเขำ้ มำเรยี นพร้อมกัน โดยมคี ุณครูในแตล่ ะห้องเรียนชว่ ยดแู ล
Scenario 3: Global Giants
ในรปู แบบน้ี เทคโนโลยแี ละควำมรว่ มมอื ระหวำ่ งภูมภิ ำคจะเชื่อมต่อโลกทั้งใบเข้ำด้วยกนั เปน็ ปจั จัยส่งเสรมิ
ให้บรษิ ทั ที่เป็นผู้นำตลำดเขำ้ ถงึ ผู้ใชจ้ ำนวนมหำศำลทัว่ โลก ผู้เล่นรำยยอ่ ยแขง่ ขันในตลำดได้ยำกดว้ ยทรพั ยำกรทจ่ี ำกดั
กว่ำ เทรนด์นี้เหน็ ได้ชดั ในสภำพตลำดกำรศึกษำปัจจุบัน ทีผ่ ู้เลน่ รำยใหญ่กนิ สว่ นแบ่งตลำดเหนอื กวำ่ รำยยอ่ ย
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 217
------------------------------------------------------------------------------
หลำยเทำ่ ตวั
เทคโนโลยกี ำรศึกษำมีควำมสำคัญมำกในกำรเจำะตลำดโลก มีกำรคำดกำรณ์วำ่ ตลำดกำรศึกษำจะมีขนำด 10
ล้ำนล้ำนดอลล่ำรส์ หรฐั ภำยในปี 2030 ตลำดทีจ่ ะเติบโตมำกท่ีสดุ คอื ในทวีปเอเชยี แอฟริกำ และลำตินอเมริกำ ซ่ึงเปน็
กลุ่มท่ีมปี ระชำกรจำนวนมำก และล้วนใช้ smartphone เป็นหลัก ผเู้ ล่นรำยใหญจ่ ะเร่ิมทยอยซอ้ื กจิ กำร EdTech รำยยอ่ ย
จนในท่ีสุดผเู้ ล่นรำยใหญจ่ ะสำมำรถใหบ้ ริกำรที่ครอบคลุมทุกส่วนของกำรเรียนรเู้ ชอื่ มโยงกัน ทง้ั คอร์สเรียน
แพลตฟอรม์ วเิ ครำะห์ข้อมูลกำรเรยี น กำรวัดผล กำรส่ือสำร และกำรรำยงำนผลกำรเรียน และมกี ำรรว่ มมือกันระหว่ำงผู้
เลน่ รำยใหญ่กบั บริษทั ชน้ั นำ เพื่อสร้ำง solution กำรเรยี นรู้ท่ีตอบโจทยท์ กั ษะกำรทำงำน บำงมหำวิทยำลัยอำจไดร้ ับ
ผลกระทบอยำ่ งหนัก อำจตอ้ งหำทำงรว่ มมือกนั เป็นกลุ่มใหญ่ แต่กลุ่มมหำวิทยำลยั ช่อื ดังทป่ี รบั ตวั ทันก็จะได้เปรียบมำก
หำกเทคโนโลยเี ขำ้ มำมีบทบำทมำกข้ึน แลว้ ยง่ิ เป็น solution คุณภำพระดบั โลก กำรพฒั นำกำรเรยี นกำรสอนก็
จะเป็นแบบ data-driven และ personalized มำกข้นึ เพรำะมจี ุดขอ้ มลู ที่ไม่เคยมีมำกอ่ น เชน่ ข้อมลู กำรเรียนแบบ real-
time สง่ ให้พอ่ แมแ่ ละคณุ ครู ทำใหช้ ่วยสอนไดถ้ ูกจดุ
Scenario 4: Peer to Peer
รปู แบบนจ้ี ะเป็นไปไดถ้ ้ำหำกวำ่ กำรเรยี นรซู้ ึ่งกันและกัน 1-1 ระหวำ่ งบุคคล peer-to-peer ไดร้ ับกำรยอมรับ
แบบกว้ำงขวำงภำยในปี 2030 ซึง่ ก็เป็นไปได้ เพรำะวำ่ เทคโนโลยีไดเ้ ชอ่ื มต่อผู้คนเข้ำดว้ ยกันแลว้ และมแี นวโนม้ ว่ำจะมี
รำคำถูกลง ทำใหเ้ ข้ำถึงได้กว้ำงขน้ึ ไปอีก รูปแบบน้ีเหมำะกับกำรเรยี นรู้ทักษะกำรทำงำนของผู้ใหญม่ ำก จะมีกำรรับรอง
คณุ ภำพดว้ ย rating ของผสู้ อนซงึ่ ถูกโหวตในระบบเปิดและกำรออกใบรบั รองแบบใหม่ ๆ เป็นกำรกระจำยกำรเรียนรู้
แบบกว้ำงขน้ึ ไปอีกเพรำะผู้สอนเป็นใครกไ็ ด้ที่มที ักษะและประสบกำรณใ์ นสำยอำชีพนัน้ ไม่จำเปน็ ตอ้ งมำจำกสถำบนั
แบบดั้งเดมิ กำรเรยี นกำรสอนจะถูกโยกจำกระดับสถำบนั มำเปน็ ระดบั บคุ คล
กำรใช้ smartphone ผสำนกบั บทเรียนขนำดสั้น micro-learning จะทำให้กำรเรยี นรู้กลำยมำเปน็ สว่ นหน่งึ ของ
กำรใชช้ วี ติ ประจำวัน ผเู้ รยี นเองกม็ ที ำงเลอื กใหม่ ๆ เพ่ิมมำกขน้ึ แทนทจี่ ะตอ้ งไปนงั่ เรยี นทกุ อยำ่ งในหลักสตู ร สำมำรถ
แตกย่อยเลือกเรยี นแคห่ ัวขอ้ ที่ต้องใชใ้ นกำรทำงำนได้ ผเู้ รียนสำมำรถเลอื กเรียนเก็บสะสบไปเปน็ module ยอ่ ยจำก
หลำย ๆ ผสู้ อนได้
จุดนี้จะกดดนั ใหส้ ถำบันกำรศึกษำต้องปรับโครงสร้ำงหลักสูตรใหเ้ ป็นหนว่ ยยอ่ ยมำกขึ้น กำรเรียนปริญญำตรี
อำจไมจ่ ำเปน็ ต้องเรียน 3-4 ปีอกี ต่อไปในเมื่อผูเ้ รยี นมีทำงเลอื กใหม่ สำมำรถทยอยเรยี นหนว่ ยย่อยสะสมไปและทำงำน
ไปด้วยกไ็ ด้ ซงึ่ ข้อมูลกำรเรยี นนจ้ี ะถกู เก็บสะสมบน blockchain
Scenario 5: Robo Revolution
รูปแบบนี้มีสมมตฐิ ำนคอื ถำ้ หำก AI มีกำรพัฒนำไปก้ำวไกลและได้นำมำใชท้ ดแทนตำแหน่งงำนบำงส่วน
แลว้ ภำพรวมเศรษฐกิจโลกจะเติบโตอยำ่ งกำ้ วไกลด้วยต้นทนุ ท่ีลดลงและผลิตผลทเ่ี พ่ิมขึ้น ผู้คนไม่ตอ้ งทำงำน
ซำ้ ซำกจำเจทห่ี ุ่นยนต์สำมำรถทำได้ เปลี่ยนมำเน้นทำงำนทใ่ี ช้ควำมคดิ สร้ำงสรรค์และควำมสมั พนั ธร์ ะหว่ำงมนุษย์
ในกำรศึกษำ AI จะเขำ้ มำมีบทบำทอยำ่ งมำกเชน่ กัน แตแ่ บบท่ไี ดผ้ ลดีท่สี ุดยังคงตอ้ งเป็นกำรผสมผสำน
ระหว่ำงระบบอตั โนมตั กิ บั ควำมใส่ใจของคณุ ครู เพรำะกำรเรยี นรขู้ องคน ไมใ่ ช่กำรเขียนโค้ดระบบสง่ั กำรเหมอื น
หนุ่ ยนต์ คำดกำรณ์ว่ำกำรเรียนรู้จะเป็นแบบ personalized ปรับใหเ้ หมำะกับนกั เรยี นแต่ละคนมำกท่สี ดุ โดยเรยี นผ่ำน
ระบบ ทกุ คนสำมำรถเข้ำถงึ กำรเรยี นรทู้ ม่ี ีคุณภำพเท่ำเทยี มกัน นักเรียนแต่ละคนจะไดเ้ รยี นบทเรยี นที่ตำ่ งกนั ตำมระดับ
ควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจแต่ละคน ครอู ำจต้องเปลย่ี นบทบำทจำกผสู้ อน มำเป็นผู้ดแู ลให้คำแนะนำ ทำให้ครูมเี วลำและมีข้อมูล
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 218
------------------------------------------------------------------------------
ซ่งึ จะชว่ ยใหค้ ณุ ครูสำมำรถใหก้ ำลงั ใจนักเรียน สง่ เสรมิ กำรเรียนรู้ สอนเพิม่ เติมในจดุ ที่ต้องกำรควำมชว่ ยเหลอื ดแู ลเอำ
ใจใสน่ กั เรียนแตล่ ะคนที่มีควำมต้องกำรทีแ่ ตกต่ำงกนั
รปู แบบกำรเรียนรู้ของผูใ้ หญ่กจ็ ะเปลีย่ นมำเปน็ แบบนี้เช่นกัน คือเรียนผำ่ นระบบแต่มี career coach คอยชว่ ย
จะมคี นวยั ทำงำนหลำยคนต้องตกงำนจำกหนุ่ ยนต์ก็จริง แตก่ ค็ ำดกำรณ์วำ่ จะมอี ำชพี แบบใหม่ ๆ เกิดข้ึนเชน่ กนั ตรำบใด
ทพ่ี ยำยำม reskill ตวั เองก็สำมำรถคว้ำโอกำสใหม่ ๆ ได้ และระบบกำรเรียนแบบนี้น่ีเองท่จี ะเขำ้ มำช่วยให้เรียนรู้ได้มี
ประสิทธภิ ำพมำกขึ้น
สำหรบั ระดบั ประถมและมัธยม AI อำจมำในรปู แบบผชู้ ่วยคุณครูอัจริยะ ช่วยลดงำนเอกสำรของคุณครู เช่น
กำรเตรียมกำรสอน กำรเช็คชื่อ กำรวดั ผลกำรเรยี น มรี ะบบอัจรยิ ะคอยอพั เดทสถำนะและแจง้ เตือนคุณครูหำกมเี ดก็ คน
ไหนนำ่ เปน็ หว่ ง ทำให้คณุ ครูมเี วลำมำกขนึ้ ในกำรทำกจิ กรรมกับเด็ก ๆ และให้ควำมใส่ใจแบบใกล้ชิดได้มำกขึ้น
จาก 5 รปู แบบนี้ แบบไหนน่าจะเป็นไปได้มากที่สุด?
5 รูปแบบนเ้ี ป็นเพียงกำรคำดกำรณ์จำกฐำนข้อมลู ทว่ั โลกที่มีในปัจจุบนั จำกกำรวเิ ครำะห์ของ HolonIQ คำดวำ่
ส่ิงทน่ี ำ่ จะเปน็ ไปได้มำกที่สดุ คอื กำรผสมผสำนระหว่ำงรูปแบบต่ำง ๆ และในแต่ละภูมิภำคจะปรบั ใชร้ ปู แบบท่ีต่ำงกนั
ข้ึนอย่กู บั โครงสรำ้ งประชำกร สภำพเศรษฐกจิ และสังคม
แตไ่ ม่วำ่ รูปแบบไหนจะเกดิ ข้ึนก็ตำม ส่ิงท่ีเรำทกุ คน และทุกประเทศ หนไี มพ่ น้ เลยก็คือ “กำรเปลี่ยนแปลง” เรำ
ทกุ คนต้องไมห่ ยดุ ที่จะเรียนรู้สงิ่ ใหม่ ๆ
‘โรคใหม่’ สรา้ ง ‘โลกแหง่ การเรียนรู้ใหม่’ : อนาคตการศึกษาไทยยุคหลงั COVID-19
จำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของ Covid-19 ทำใหท้ วั่ โลกตำ่ งเฟน้ หำมำตรกำรรับมอื ท่ีดีที่สดุ กอ่ นมำลงเอย
ดว้ ยมำตรกำรเว้นระยะห่ำงทำงสงั คมหรือ Social Distancing จนนำไปสู่กำรปดิ เมอื ง ปดิ เศรษฐกิจ และปดิ
สถำบันกำรศึกษำในเวลำตอ่ มำ
นน่ั กลำยเปน็ สำเหตใุ หน้ กั เรียนจำนวนกว่ำ 1.5 พนั ลำ้ นคน หรอื มำกกวำ่ 90% ของนักเรียนทงั้ หมดในโลก
ไดร้ ับผลกระทบ ถกู ปั่นปว่ นกระบวนกำรเรยี นรู้ และบำงสว่ นยงั ประสบปญั หำเรอ่ื งกำรเข้ำถงึ เทคโนโลยีที่เขำ้ มำมี
บทบำทในโลกกำรศกึ ษำแบบปัจจุบันทนั ดว่ น ชี้ให้เห็นถงึ ประเดน็ ด้ำนควำมเหลอื่ มลำ้ ที่อำจรุนแรงสำหสั มำกขึน้ เปน็
ทวีคณู
กำรมำเยอื นของวกิ ฤตโรคระบำดทำใหเ้ กิดคำถำมเกีย่ วกบั ระบบกำรศึกษำหลำกหลำยดำ้ น เป็นตน้ ว่ำ เรำจะ
ออกแบบกำรเรียนรใู้ นยุคโควิด-19 ให้มปี ระสิทธิภำพไดอ้ ย่ำงไร ทกั ษะและหลกั สตู รโลกกำรศกึ ษำรูปแบบใหม่
หลังจำกน้ีควรมีหน้ำตำแบบไหน เทคโนโลยจี ะเข้ำมำมบี ทบำทดำ้ นกำรเรยี นร้หู รือทำให้ควำมเหลือ่ มลำ้ ย่ำแย่กวำ่ เดิม
และจรงิ หรือไม่ ทเี่ รำสำมำรถเปล่ียนวกิ ฤตครั้งนี้ใหก้ ลำยเป็นโอกำสดำ้ นกำรศึกษำใหญ่ได้
มองความท้าทายดา้ นเศรษฐกิจและการศึกษาจาก COVID-19
เมื่อมองในภำพรวม อำจกลำ่ วไดว้ ำ่ ตอนนโี้ ลกกำลงั เผชญิ 3 คำถำมใหญร่ ว่ มกัน คือ 1.โลกำภวิ ตั น์จะส้ินสุด
หรือไม่ 2.ระบอบทนุ นยิ มจะล่มสลำยหรอื ไม่ 3.ควำมเหล่อื มลำ้ จะมำกขนึ้ หรอื ไม่
ประเดน็ แรกที่ว่ำโลกำภิวตั น์จะสนิ้ สุดหรอื ไม่เม่ือโควดิ -19 ทำให้ทุกอยำ่ งแทบจะหยุดชะงกั ผมคดิ วำ่ อำจเป็น
ควำมกลัวท่มี ำกเกินไปของนักคดิ สำยเสรีนยิ มหรือผสู้ นับสนนุ โลกำภวิ ัตน์ พวกเขำมองเห็นพฒั นำกำรของโลกเปน็
เสน้ ตรงมำกเกนิ ไป หำกเรำดูพฒั นำกำรทำงประวัตศิ ำสตร์โลก จะพบว่ำโลกำภวิ ตั น์มีทง้ั ช่วงทเ่ี ปิดและปดิ เผชิญวกิ ฤต
หรอื ถูกตัง้ คำถำม ประวตั ศิ ำสตรโ์ ลกไมไ่ ดเ้ ปน็ เส้นตรง เพรำะฉะนั้นพัฒนำกำรอำจเปน็ ไปไดห้ ลำยทำง
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 219
------------------------------------------------------------------------------
แต่หำกเรำมองแนวโนม้ เร่อื ง supply chain กำรแบง่ กนั ผลิต พ่งึ พำกำรนำเข้ำวัตถุดิบจำกประเทศอนื่ เขำ้ มำผลติ
นน้ั มีแนวโน้มท่จี ะลดลงทั่วโลก โดยเฉพำะจำกจนี เพรำะบริษทั ใหญเ่ ริ่มร้แู ลว้ วำ่ กำรผลิตเชน่ นมี้ ีควำมเสีย่ งเมอ่ื ไวรัส
ระบำดในจนี บริษทั จงึ ไม่สำมำรถพง่ึ พำกำรผลติ จำกจนี ได้ ดังนน้ั supply chain ระดบั โลกมแี นวโน้มทจี่ ะเปลยี่ นหนว่ ย
มำผลิตในระดับภมู ิภำคมำกขึ้น แตอ่ ำจไมถ่ งึ ข้นั กลบั เป็นชำตนิ ิยมหรอื ปิดประเทศเสียทเี ดียว
ส่วนคำถำมทสี่ องซึง่ คนกลวั มำก คอื ทุนนิยมจะลม่ สลำยหรือไม่ แต่หำกเรำดูรำยละเอยี ดในแต่ละธุรกิจ จะ
พบว่ำแตล่ ะธรุ กิจได้รับผลกระทบจำกโควดิ -19 ไมเ่ ทำ่ กัน มีบำงธุรกจิ รำยไดต้ ดิ ลบ ยอดขำยหำยไป เชน่ ธุรกจิ ท่องเท่ียว
ยำนยนต์ ปิโตรเคมี ธุรกจิ ธนำคำร แตใ่ นขณะเดยี วกนั กม็ ธี ุรกิจท่ีทรงตัวได้ หรือไดร้ บั ผลประโยชน์จำกสถำนกำรณ์
ตอนนี้ เชน่ ธุรกจิ อุปโภคบรโิ ภค ธรุ กจิ ยำรักษำโรค ธุรกิจผลิตอุปกรณ์กำรแพทย์ ผลิตหน้ำกำกอนำมัย ดงั นัน้ ทนุ นิยม
ไม่ได้ลม่ สลำย แต่มีผไู้ ด้ผู้เสียต่ำงกนั ออกไป
อยำ่ งไรกต็ ำม ทิศทำงทีเ่ หน็ ได้ชดั คือ ธุรกิจอย่ำง Tech firm จะเตบิ โตและขยำยอทิ ธพิ ลข้ำมพรมแดนไปใน
ธุรกจิ อนื่ เพรำะทั้งภำคธุรกิจ โรงเรียน มหำวิทยำลยั หน่วยงำนรัฐ ต่ำงต้องหนั มำพ่งึ โลกออนไลน์มำกข้นึ ธรุ กิจค้ำขำย
ผำ่ น e-commerce มำกขึ้น กำรทำธุรกรรมออนไลนก์ ม็ แี นวโนม้ ทเี่ พิม่ ข้ึนเชน่ กัน เหน็ ไดช้ ัดว่ำแม้แต่ Huawei กย็ ังทำ
กำไรเพม่ิ ขนึ้ จำกปกี ่อนในไตรมำสแรกซง่ึ เป็นช่วงทีร่ ะบำดรุนแรงได้ และยงั ไม่นับวำ่ Tech firm เป็นบรษิ ัท ‘Trillion
Dollar Club’ ท่มี ีมลู คำ่ ในตลำดเกินลำ้ นล้ำนดอลลำรแ์ ล้ว อยำ่ ง Amazon, Google, Apple, Microsoft
กำรเตบิ โตและขยำยอิทธิพลของ Tech firm จะส่งผลสะเทอื นทวั่ โลก เพรำะกำรแขง่ ขันต้องพง่ึ พำบริษัทเหลำ่ นี้
นอกจำกนย้ี ังส่งผลกระทบตอ่ เร่อื งควำมเป็นสว่ นตวั และควำมมัน่ คงระหว่ำงประเทศ ทิศทำงในอนำคตอำจเกิดกำรควบ
รวมกจิ กำรครัง้ ใหญ่ ส่งผลตอ่ ตลำดแรงงำนและตลำดกำรค้ำ
ประเด็นทส่ี ำม เรำจะเหน็ ไดอ้ ย่ำงชดั เจนวำ่ ควำมเหลอื่ มล้ำเพ่ิมขน้ึ อยำ่ งรุนแรงต้ังแต่เรม่ิ ปดิ เมือง และจะสง่ ผล
กระทบในระยะยำว วถิ ีชวี ติ ของคนมีควำมแตกตำ่ งเหล่ือมลำ้ ต่ำสูงอย่ำงมำก มีท้ังคนทเี่ ขำ้ ถงึ และเขำ้ ไมถ่ งึ หนำ้ กำก
อนำมยั แต่ละพน้ื ท่เี ผชิญวกิ ฤตรนุ แรงมำกนอ้ ยตำ่ งกนั
ยิง่ มองเรือ่ งกำรศกึ ษำ ควำมเหลื่อมลำ้ ก็จะย่งิ ชดั เจน อยำ่ งนักเรยี นที่มีฐำนะดีอำจเจอปญั หำเพียงแคว่ ำ่ กำรเรียน
ออนไลน์น้นั ไมม่ ีประสิทธิภำพ แต่อยำ่ งเดก็ นกั เรียนฐำนะยำกจนจะเจอปัญหำทีใ่ หญก่ วำ่ มำก เม่อื พิจำรณำงำนศกึ ษำ
กำรระบำดของไวรัสอโี บลำในทวปี แอฟริกำ จะพบวำ่ กำรศึกษำท่ีเปน็ ปัจจยั ให้กำรเลือ่ นชนชัน้ ทำงสงั คม (social
mobility) นน้ั กลำยเปน็ ปัจจัยลบ ท้งั ๆ ท่ใี นสถำนกำรณ์ปกติ กำรศึกษำเป็นปจั จัยท่ีทำให้คนเลือ่ นชนช้นั ได้ เพรำะกำร
ระบำดสง่ ผลให้ครอบครวั เด็กทีย่ ำกจนนน้ั ไม่สำมำรถกลบั เขำ้ โรงเรยี นไดอ้ ยำ่ งถำวร
โลกกำรศกึ ษำหลัง COVID-19 จงึ ตอ้ งปรับโจทย์ใหม่ หำกมองในมุมบทบำทของภำครัฐ รัฐจะต้องออก
มำตรกำรเยียวยำระหว่ำงวิกฤตสำหรับนักเรียนที่ได้รบั ผลกระทบจำกกำรท่ีไม่สำมำรถเรียนออนไลน์ได้ รวมท้ังยงั ตอ้ ง
คิดมำตรกำรรับมือในกรณที ี่เด็กต้องออกจำกโรงเรียนอย่ำงถำวร ซ่ึงมำตรกำรเหล่ำนรี้ ัฐสำมำรถลงมือไดท้ นั ที ไมต่ อ้ ง
รอวกิ ฤตผ่ำนไปกอ่ น และหลังจำกนต้ี ้องวำงทิศทำงกำรศึกษำในอนำคตเพอื่ ตอบรบั กับเศรษฐกจิ
นอกจำกน้ี เรำต้องแยกให้ออกว่ำ new normal ท่หี ลำยคนกำลังพดู ถงึ เปน็ ควำมผดิ ปกตชิ ั่วครำว หรือจะ
กลำยเป็นลกั ษณะของโลกใหม่หลังโควิด-19 จริง ประเด็นนี้สำคญั มำก เพรำะจะทำใหเ้ รำประเมินเร่ืองเศรษฐกิจและ
กำรศึกษำได้ดีขนึ้ หลำยเร่ืองท่ีผิดปกติตอนน้ี ทจี่ ริงแล้วเป็นเพียงเรื่องช่ัวครำว เช่น ธุรกจิ กำรท่องเท่ียวและโรงแรมอำจ
ไม่ล่มสลำยและกลับมำดำเนินตำมปกติได้ หำกสำมำรถคิดค้นวัคซีนสำเร็จ หรอื กำรเรียนออนไลนซ์ ่งึ จะมำแทนท่ี
มหำวิทยำลยั กอ็ ำจเปน็ เรอ่ื งช่วั ครำวเชน่ กัน
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 220
------------------------------------------------------------------------------
new normal ยังขึน้ กับบรบิ ทท่ีต่ำงออกไปในแตล่ ะประเทศ อยำ่ งในสหรัฐฯ สงิ่ ทอ่ี ำจจะเกดิ ขึน้ หลงั จำกน้ี คอื
กำรเรียนออนไลนอ์ ำจลดลง และเพ่ิมกำรเรยี นในช้ันเรียนมำกขึน้ เพรำะสหรัฐฯ มเี รยี นออนไลน์สว่ นหนง่ึ อยู่แล้วแต่
เดิม เมือ่ เกดิ วิกฤตโควิด-19 กำรเรยี นออนไลน์ทเ่ี พมิ่ ยิง่ ข้ึนยง่ิ กลับทำใหน้ ักเรยี นโหยหำชน้ั เรยี นแบบดัง้ เดมิ หรอื อย่ำง
ญ่ปี ุน่ ท่แี ทบไม่มกี ำรเรียนออนไลน์มำก่อน หลังโควิด-19 ก็มแี นวโน้มปรบั ไปเรียนออนไลนเ์ พิม่ มำกขน้ึ ย่ิงไปกว่ำน้ัน
new normal ยงั ต่ำงไปตำมแตล่ ะสำขำวิชำ เช่น สำขำวทิ ยำศำสตร์ทจ่ี ำเป็นตอ้ งใช้หอ้ งแลบ็ ในกำรทดลอง กย็ ังตอ้ งใช้วิธี
เดิมต่อไป หรือบำงที่ นกั ศึกษำอยำกอภิปรำยกันในห้องเรยี นแบบเดมิ ดว้ ยซำ้
กำรเรยี นข้ำมศำสตร์ และสร้ำงควำมเหน็ อกเห็นใจ ทิศทำงใหม่ของโลกกำรศึกษำ
ตอนน้ปี ระเทศอื่นๆ เริม่ พูดถึงทิศทำงกำรศึกษำในอนำคตแลว้ ว่ำจะมงุ่ ไปทำงไหน อยำ่ งเช่นสงิ คโปรต์ ดั สนิ ใจ
ทจ่ี ะมุง่ ไปทำงดจิ ทิ ลั เยอรมนีจะมุง่ ไปทำงอุตสำหกรรมพลังงำนสะอำด แตร่ ัฐไทยยังไมส่ ่งสญั ญำณทีช่ ัดเจน และยงั ไม่
มีสญั ญำประชำคมใหม่วำ่ จะวำงตำแหนง่ แหง่ ที่ของเศรษฐกจิ ไทยในตลำดโลกอย่ำงไร ประเด็นน้ีสำคัญต่อกำรศึกษำ
เพรำะนกั เรียนนักศกึ ษำจะได้รู้ว่ำควรจะมุง่ พัฒนำทักษะเพื่อตอบโจทย์กบั กำรพัฒนำเศรษฐกิจไทยในโลกท่ีเปล่ยี นไป
หลงั วกิ ฤตได้อยำ่ งไร
ถำ้ สำรวจปญั หำบำงอย่ำงที่เกดิ ขน้ึ อย่ำงภำวะไมพ่ ึงประสงค์จำกควำมคิดและค่ำนิยมท่เี กิดคขู่ นำนกบั วกิ ฤตโค
วิด-19 จะพบวำ่ มีสำเหตสุ ่วนหน่งึ มำจำกกำรศกึ ษำด้วย เชน่ ภำวะชำตินยิ มสุดโตง่ ควำมขัดแยง้ ทำงกำรคำ้ ระหว่ำง
ประเทศ หรือกำรขำดควำมเห็นอกเห็นใจผ้อู นื่ (empathy) ท้ังหมดน้ี ลว้ นเปน็ ผลจำกกำรออกแบบกำรศกึ ษำ เรำต้อง
มองเห็นปญั หำตรงจดุ น้ีเพือ่ ทวี่ ำ่ จะออกแบบกำรศึกษำในโลกหลังโควิด-19 ให้ดีขึน้ ไดอ้ ย่ำงไร อยำ่ งเรำตอ้ งออกแบบ
ใหก้ ำรศึกษำในสำยวิทยำศำสตร์หรือสำยแพทยศำสตรม์ คี วำมรู้ควำมเข้ำใจด้ำนสงั คมศำสตร์หรือมนษุ ยศำสตร์หรอื ไม่
หรือในทำงกลับกัน ตอ้ งออกแบบให้กำรเรยี นด้ำนสงั คมศำสตร์กต็ อ้ งมีควำมรูด้ ำ้ นวิทยำศำสตรด์ ้วยหรอื ไม่
ดงั น้ัน ประเดน็ สำคัญ 2 ประเด็นท่ผี มมองกำรออกแบบกำรศึกษำในโลกหลงั COVID-19 คือ กำรเรยี นกำร
สอนข้ำมสำขำวชิ ำ (interdisciplinary) และควำมเหน็ อกเหน็ ใจ
หำกมองในมุมทำงเศรษฐศำสตร์ โจทย์เรื่องกำรศกึ ษำในโลกทผี่ ำ่ นมำมุ่งเน้นกำรพฒั นำทักษะแบบแบง่ งำน
กนั ทำตำมควำมชำนำญเฉพำะทำง เช่น เมื่อเลือกเรียนวิศวกรรมแล้ว ก็ต้องเลอื กเจำะสำขำแยกไปอีกอยำ่ งวศิ วกรรมเคมี
วิศวกรรมไฟฟ้ำ เปน็ ต้น แตผ่ มประเมนิ วำ่ เรำต้องกำรทักษะที่ครบรอบด้ำนในอนำคตเพิ่มมำกขึน้ และควำมสำคญั ของ
ทักษะควำมชำนำญแบบเฉพำะทำงจะลดลง
ดงั นน้ั แต่ละสำขำวิชำควรจะมคี วำมเชื่อมโยงมำกข้ึน อย่ำงนกั วิเครำะหข์ อ้ มลู ท่กี ำลังเป็นทต่ี อ้ งกำรอยำ่ งมำก
ในอนำคตควรทำงำนแบบมองให้รอบดำ้ น ไมค่ วรประมวลผลโดยใชข้ ้อมูลจำกมุมวทิ ยำศำสตรอ์ ยำ่ งเดยี ว แตค่ วรรู้
มุมมองทำงมนุษยศำสตร์ เศรษฐศำสตร์ รฐั ศำสตร์ หรือสงั คมวทิ ยำดว้ ยเพ่ือที่จะประมวลข้อมลู ได้ดยี ง่ิ ข้ึน ไมเ่ ช่นน้ัน
เรำก็จะเผชญิ ปัญหำเดมิ ที่นกั วิทยำศำสตร์ไมเ่ ข้ำใจสงั คมศำสตร์ หรอื นักสงั คมศำสตรไ์ ม่เข้ำใจวทิ ยำศำสตร์ จน
กลำยเป็นควำมขดั แยง้ เพรำะไม่เข้ำใจวธิ คี ดิ ของอกี ฝำ่ ยหนงึ่
และถ้ำมองมิติระดับปจั เจกเอง แตล่ ะคนควรมีทกั ษะรอบด้ำนท่ีจบครบในตวั เองไมว่ ่ำจะทำอำชีพอะไร เชน่
หำกทำอำชพี ขำยของ จะรูแ้ คเ่ พยี งซอ้ื มำขำยไปไม่ได้ แตต่ ้องมีควำมเขำ้ ใจตลอด supply chain ในธุรกิจที่ทำอยู่ ตอ้ งรูว้ ่ำ
สนิ คำ้ ที่นำมำขำยมำจำก supply chain ไหนในโลก หำก supply chain ในแตล่ ะส่วนมีปัญหำข้นึ มำ ก็ต้องรวู้ ่ำควรจะตอ้ ง
ทำอย่ำงไรเพือ่ ลดควำมเส่ยี ง หำกจะเป็น fashion designer กต็ อ้ งรเู้ รื่องคอมพวิ เตอร์หรอื กำรทำบญั ชดี ้วย หรอื หำกทำ
ขนมขำย ก็ตอ้ งรู้ทม่ี ำของวัตถดุ บิ ดังนัน้ โลกท่ีแตล่ ะคนแบง่ งำนกันทำตำมทกั ษะเฉพำะจะลดควำมสำคัญลง
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 221
------------------------------------------------------------------------------
นอกจำกน้ี กำรรู้รอบดำ้ นจะทำให้เรำสำมำรถทำอะไรหลำยอย่ำงเองไดโ้ ดยไมต่ ้องพง่ึ พำคนอ่นื สำมำรถแก้ไข
สถำนกำรณ์เวลำเจอเหตุกำรณไ์ ม่คำดฝันได้ (resilient)
อย่ำงไรก็ตำม ตอนน้กี ำรเรยี นข้ำมสำขำวิชำนั้นมปี ัญหำในตัวเองระดับหนึ่งจำกกำรคิดเชอื่ มโยงข้ำมสำขำวชิ ำ
แล้วไมร่ ู้วำ่ จะสกดั ออกมำเป็นควำมเขำ้ ใจ หรือเชื่อมโยงเปน็ วธิ คี ิดต่อนโยบำยอย่ำงไร ดังน้ัน หลกั สตู ร มหำวิทยำลยั
และอำจำรยต์ อ้ งปรับตวั โดยเร่มิ ใช้วิธีคิดข้ำมศำสตร์เขำ้ มำปรับกบั งำนวจิ ยั และรู้วำ่ ควรจดั กำรสอนอยำ่ งไรให้นักศึกษำ
เช่อื มโยงได้
ต้องย้ำวำ่ กำรเรยี นแบบข้ำมสำขำไม่ใช่แคก่ ำรเรยี นหลำยสำขำเทำ่ น้ัน แตต่ ้องรวู้ ำ่ ต้องเชอ่ื มโยงหลำยสำขำ
อยำ่ งไรเพื่อใหเ้ กดิ ควำมสัมพนั ธ์ใหม่ แล้วนำไปสู่กำรคดิ ค้นใหม่ ในแง่น้ี อำจนับว่ำเทคโนโลยีเปน็ ศำสตรห์ นงึ่ ทจ่ี ะตอ้ ง
นำเขำ้ มำเรยี นร่วมกบั ศำสตรอ์ ่ืน เช่น กำรเรียนสังคมวทิ ยำในอนำคต กำรลงพ้ืนท่ีอำจไมเ่ พียงพออีกต่อไป แต่ต้องใช้
เทคโนโลยีช่วยประมวลผลขอ้ มูลให้เข้ำใจทง้ั ภำพใหญแ่ ละภำพเล็กไปพรอ้ มกนั
นอกจำกนี้ ยังตอ้ งมกี ำรคดิ เชื่อมโยงภำยในศำสตรเ์ องด้วย อยำ่ งในสำขำเศรษฐศำสตร์เองก็สำมำรถถกเถยี ง
แลกเปลย่ี นควำมรรู้ ะหว่ำงสำนกั ทฤษฎตี ำ่ งๆ ภำยในศำสตร์ได้ ดงั นั้น กำรเรยี นขำ้ มสำขำวิชำหมำยถงึ ทงั้ เชอ่ื มโยงกนั ใน
ภำยในสำขำวชิ ำ และเช่ือมโยงระหวำ่ งสำขำอืน่ ประยกุ ตร์ วมกันเพื่อตอบโจทยใ์ นอนำคตใหด้ ียง่ิ ขึน้
ดำ้ นทกั ษะกำรใช้ชีวิต กค็ วรจะเป็นทักษะแบบรู้รอบด้ำน เข้ำใจโลกได้หลำกหลำยมิตเิ ชน่ กนั รวมทงั้ มี
ควำมเห็นอกเห็นใจซง่ึ เพิ่มควำมสำคัญขึน้ อย่ำงมำกในยุคโควดิ -19 และจะกลำยเปน็ หัวใจสำคญั ของกำรศกึ ษำใน
อนำคต ในโลกศตวรรษท่ี 21 ที่เตม็ ไปด้วยปญั หำและภัยคุกคำมใหมท่ กี่ ำลงั จะเกิดขนึ้ อย่ำงเช่นกำรเปล่ยี นแปลงสภำพ
ภมู อิ ำกำศซ่งึ จะสง่ ผลต่ออกี หลำยเร่อื ง เชน่ เกษตรกรรมหรือวิถชี ีวติ
สารวจเทรนด์การศึกษาโลกทีเ่ ปล่ยี นไปเพราะ COVID-19
ในเร่อื งเทรนด์กำรศึกษำ บำงคนบอกว่ำ โควิด-19 เปน็ ตวั เรง่ (accelerator) หรอื เป็นเหตรุ ะดบั โลกทม่ี ำขบั
เน้นหรอื เรง่ กำรเปลยี่ นแปลงต่ำงๆ ใหเ้ กิดขึ้น สง่ิ หนงึ่ ท่ีเห็นไดช้ ดั มำกคือ กำรเปลย่ี นสิง่ ตำ่ งๆ ให้อยู่ในรูปดิจทิ ลั
(digitalization) หรอื เปล่ียนกำรศกึ ษำใหเ้ ป็นแบบออนไลนม์ ำกข้ึน นเ่ี ป็นผลพวงโดยตรงจำกโควิด-19 ทีแ่ ม้จะเปน็
วิกฤตด้ำนสขุ ภำพ แต่วกิ ฤตคร้ังนีก้ เ็ รียกรอ้ งใหเ้ รำตอ้ งหำวธิ กี ำรจดั กำรทีอ่ ยู่ภำยใต้ศักยภำพของระบบสุขภำพแตล่ ะ
ประเทศ ทำใหเ้ รำเร่ิมพูดถึงมำตรกำรรกั ษำระยะห่ำงทำงสังคม กำรปิดเมอื งหรอื กึ่งปดิ เมือง แนน่ อนว่ำ เมอื่ คนเรำมี
ระยะหำ่ งกนั ทำงกำยภำพ กจ็ ะเกดิ ควำมคำดหวังทนั ทีวำ่ เทคโนโลยดี จิ ิทัลจะเขำ้ มำมบี ทบำทมำกข้ึน ตง้ั แต่กำรทำงำนไป
จนถงึ กำรศกึ ษำ
ดงั นั้น กำรเคลื่อนไหวในแวดวงกำรศึกษำทีเ่ กิดขึ้น ไม่ว่ำจะเป็นกำรเรยี นกำรสอนแบบออนไลน์ หรือ
กำรศึกษำทำงไกล ทง้ั หมดเหมือนถกู โยนเข้ำมำทันที ซงึ่ กอ่ นหน้ำน้ีหลำยนวัตกรรมอำจจะอยใู่ นชว่ งทดลอง แตเ่ ม่อื เกิด
โควิด-19 ทกุ คนตอ้ งเรง่ นำนวตั กรรมเหล่ำนเี้ ข้ำมำใชท้ นั ที เพรำะแมน้ กั เรียนจะยงั ไปโรงเรยี นไมไ่ ด้ แต่เรำต้องหำวิธี
จดั กำรเรียนกำรสอนต่อไป
การใช้เทคโนโลยีเพม่ิ ข้นึ = ‘ความเหล่ือมลา้ ’ ทางการศึกษาเพิ่มขนึ้ ?
กำรเกิดข้นึ ของ digitalization หรือควำมจำเป็นในกำรใชเ้ ทคโนโลยีต่ำงๆ ในช่วงโควิด-19 ยง่ิ ขบั เนน้ ใหเ้ ห็น
ประเด็นควำมเหลื่อมลำ้ มำกข้ึน จรงิ ๆ เรำมที ้ังงำนวิจยั และผลกำรศึกษำจำนวนมำกทบี่ อกว่ำ ควำมเหลอ่ื มล้ำด้ำน
กำรศึกษำเปน็ ตัวคำดกำรณ์ควำมเหล่อื มลำ้ ทำงด้ำนอ่ืนๆ โดยเฉพำะด้ำนเศรษฐกิจไดค้ อ่ นข้ำงดี เรำสำมำรถคำดกำรณไ์ ด้
เลยว่ำ คนเรำจะมแี นวโน้มกำรหำรำยได้หรือมีโอกำสในชีวิตมำกน้อยแคไ่ หน จำกคุณภำพหรือระดับกำรศึกษำท่ีได้รับ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 222
------------------------------------------------------------------------------
เมอ่ื โควิด-19 ทำให้เทรนด์ digitalization แหลมคมมำกขนึ้ ในประเทศท่ีมีควำมเหลอ่ื มลำ้ ในกำรเข้ำถงึ ดิจิทลั
หรืออปุ กรณ์ดิจทิ ัลอยมู่ ำก เช่น ประเทศไทย จะเกดิ ประเดน็ ว่ำ ควำมเหล่อื มลำ้ ทำงกำรศึกษำมแี นวโน้มถูกถ่ำงให้กวำ้ ง
มำกขึ้นทันที ถ้ำพดู อย่ำงหยำบๆ คือ เกิดควำมเหล่อื มลำ้ ระหว่ำงนกั เรียนท่ีไมส่ ำมำรถเขำ้ ถึงเทคโนโลยีไดก้ บั นักเรยี นที่
สำมำรถเขำ้ ถงึ ได้ แตถ่ ้ำมองให้ลกึ ไปกว่ำน้ัน ควำมเหลอ่ื มล้ำทีเ่ กดิ ขนึ้ ไม่ใช่แคค่ วำมเหลือ่ มล้ำทำงเทคโนโลยี เพรำะ
กำรศกึ ษำมีองค์ประกอบและโครงสร้ำงมำกมำย ซึ่งไม่ได้เก่ียวกบั เทคโนโลยเี พียงอย่ำงเดยี ว เช่น ตอ่ ให้นักเรียน
สำมำรถเขำ้ ถึงเทคโนโลยีได้ แต่ถ้ำกระทรวงศกึ ษำธิกำรหรอื โรงเรยี นประกำศว่ำ ให้นกั เรียนเรยี นทีบ่ ้ำนผำ่ นหลักสตู ร
ออนไลน์ ก็มนี ัยวำ่ นักเรียนตอ้ งมีสมำธจิ ดจอ่ กับแบบเรียนออนไลน์ได้ และยงั มีควำมคำดหวงั วำ่ ผ้ปู กครองจะคอยดูแล
นกั เรยี น โดยเฉพำะเดก็ เล็ก
เมอื่ เป็นเชน่ น้ี จึงเกิดประเด็นตำมมำ เพรำะปกติแลว้ พอ่ แมค่ ำดหวงั วำ่ เมือ่ ตนส่งลูกไปเรยี นทโ่ี รงเรียน กจ็ ะมี
คณุ ครูคอยดูแล แต่ตอนนล้ี กู ตอ้ งเรียนอยู่ทีบ่ ้ำน แล้วบำ้ นพร้อมแคไ่ หนทจ่ี ะเปน็ สถำนท่ีเรียนรู้ของเด็ก และตอ่ ใหเ้ ดก็
สำมำรถเขำ้ ถงึ เทคโนโลยไี ด้ พอ่ แม่ก็ยงั ตอ้ งรบั ภำระดแู ลลกู เพิม่ เติมดว้ ย กำรทีพ่ ่อหรอื แม่จะตอ้ งสละเวลำมำดแู ลลูกอำจ
หมำยถึงพวกเขำต้องสละโอกำสในกำรหำรำยไดไ้ ปดว้ ย จะเหน็ ว่ำ กำรท่บี อกให้จดั กำรเรียนกำรสอนที่บ้ำนมีนยั หลำย
อย่ำงตำมมำ สำหรับครอบครัวทม่ี รี ำยได้น้อย กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนแบบน้อี ำจจะทำไมไ่ ดโ้ ดยงำ่ ย
ดังนั้น ควำมเหลือ่ มลำ้ ในด้ำนตำ่ งๆ ทเ่ี รำเคยเหน็ กันอยู่แลว้ จะยงิ่ มำขับเน้นควำมเหลือ่ มล้ำดำ้ นกำรศึกษำให้
มำกขึ้น ซึง่ จะส่งผลตอ่ ควำมสำมำรถในกำรเรียนร้แู ละศักยภำพในกำรจดั กำรเรียนสอนดว้ ย ยงั ไม่นบั ประเด็นท่ีมหี ลำย
คนพดู ถงึ คือ กำรออกแบบหลักสูตรหรอื เนื้อหำกำรเรยี นกำรสอนที่ใช้เทคโนโลยีเป็นส่อื กลำงจำเปน็ ตอ้ งจดั รปู แบบให้
เหมำะสมกบั ผเู้ รยี น คอื มคี นทำหน้ำท่ีอำนวยควำมสะดวก (facilitate) ดว้ ย คำถำมคือบทบำทหนำ้ ทข่ี องครูจะเป็นยงั ไง
น่ไี ม่ใชป่ ระเด็นทตี่ อบได้ง่ำยๆ ด้วยกำรแจกอปุ กรณ์ดิจทิ ัลให้แล้วทกุ อย่ำงจะจบ เพรำะมนั มีประเดน็ ท่ีพวั พันอย่เู ยอะ
มำก ตัง้ แต่เรอื่ งผูป้ กครอง ฐำนะทำงเศรษฐกิจ ควำมพรอ้ มหรอื โครงสรำ้ งต่ำงๆ ควำมเหลอ่ื มลำ้ ทำงกำรศึกษำจงึ เป็น
ประเด็นใหญ่ แตป่ ระเทศต่ำงๆ จะเจอควำมรนุ แรงมำกน้อยแคไ่ หน ก็น่ำจะขึ้นอยกู่ บั มำตรกำรรบั มอื และกำรจัดกำรของ
ภำครัฐ รวมถงึ โครงสรำ้ งในกำรทำงำนดว้ ย เชน่ รัฐจะให้ภำคประชำสังคมเข้ำมำช่วยเหลือมำกนอ้ ยแค่ไหน
นอกจำกน้ี ในทำงเทคโนโลยีหรอื โทรคมนำคม มีศัพท์คำวำ่ ‘last miles’ คอื สมมตวิ ่ำ ผ้ใู หบ้ ริกำรตั้งใจจะ
ให้บรกิ ำรกับผู้ใช้มำกข้นึ เตรยี มเทคโนโลยแี ละใบอนุญำตตำ่ งๆ ไว้เรียบร้อย แตถ่ ำ้ มอี ปุ สรรคไมล์สุดท้ำยทีท่ ำให้ไม่
สำมำรถเข้ำถึงผใู้ ช้ได้ กเ็ ท่ำกับว่ำกำรลงทนุ ท่ีผำ่ นมำไมไ่ ด้ผลอะไร กำรใช้เทคโนโลยอี ยำ่ งเข้มขน้ ในชว่ งโควดิ -19 ทำให้
เรำต้องคดิ ถึงปัญหำ last miles ใหม้ ำกขนึ้ ต้องคิดให้ชัดขึ้นวำ่ กำรวดั ผลไมไ่ ดว้ ดั แค่กำรเข้ำถงึ กำรศึกษำของนักเรยี น แต่
ตอ้ งต้งั คำถำมไปถึงคณุ ภำพหรือผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรศกึ ษำด้วย
อกี หน่ึงตัวอย่ำงท่ีอยำกพดู ถึงคือ โรงเรียนประถมจะมีงบอำหำรกลำงวัน แตถ่ ้ำมีกำรเลอ่ื นเปดิ เทอมหรอื เดก็
ต้องเรยี นที่บำ้ นแลว้ เรำจะสำมำรถนำงบอำหำรกลำงวันมำจัดสรรใหม่ ให้เขำ้ ถึงครอบครัวที่ตอ้ งรบั ภำระในกำรเลี้ยงดู
ลกู เพ่มิ ขึ้นได้หรือไม่ หรอื เรำจะเออ้ื ให้องค์กรด้ำนธรุ กิจสงั คมทำแบบนไ้ี ด้ไหม น่ีเปน็ โจทยใ์ นมุมที่กวำ้ งกวำ่ เร่อื ง
เทคโนโลยี และเปน็ เรอื่ งทเี่ รำน่ำจะต้องคุยกันต่อไป
COVID-19 ตอกย้าความสาคัญของทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21
วิกฤตโควิด-19 ชใี้ หเ้ ห็นวำ่ ทักษะกำรเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 มคี วำมสำคญั มำก ท้ังกำรปรับตวั ใหเ้ ขำ้ กบั
สถำนกำรณ์ (adaptability) ควำมเข้ำใจอกเขำ้ ใจผอู้ น่ื มี global mindset มองตัวเองเปน็ พลเมืองโลก และมองผอู้ ่ืนดว้ ย
ควำมเชอ่ื มโยงกันในระดับโลก มีควำมสำมำรถในกำรแกไ้ ขสถำนกำรณ์เวลำเจอเหตกุ ำรณไ์ มค่ ำดฝัน (resilient) รวมถงึ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 223
------------------------------------------------------------------------------
เรื่องควำมรู้ (literacy) ใหมๆ่ เชน่ ทักษะดำ้ นดจิ ิทัล (digital literacy) หรอื กำรเงิน (financial literacy) และทกั ษะกำร
จดั กำรตัวเอง ภำวะผนู้ ำ กำรทำงำนร่วมกับผู้อืน่
ถำ้ พดู ใหช้ ดั ข้นึ คอื เม่ือเกดิ โควิด-19 ตอนแรกเรำเห็นว่ำมันเปน็ เรอ่ื งสุขภำพ เปน็ โรคระบำด เรำคดิ วำ่ เรำต้องฟัง
แพทย์เปน็ หลกั แต่พอเหตุกำรณเ์ รมิ่ บำนปลำย และเหมือนวำ่ เรำตอ้ งอยู่กบั มันไปอกี ระยะหนง่ึ ทนี ี้โควิด-19 จึงไมใ่ ช่แค่
เร่ืองสขุ ภำพ แตเ่ ป็นประเด็นที่ต้องอำศยั ควำมเชย่ี วชำญทำงด้ำนสงั คมศำสตร์หลำยศำสตร์ รวมถึงศำสตร์ด้ำน
มำนษุ ยวทิ ยำ มีควำมเข้ำอกเขำ้ ใจ มองเหน็ ควำมตอ้ งกำรทแ่ี ตกตำ่ งกนั ของคนทเ่ี ดอื ดร้อนไม่เท่ำกนั ในวิกฤต อีกท้งั
วธิ ีกำรทีพ่ ยำยำมใช้แกป้ ัญหำในยคุ โควิด-19 ทั้งกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ กำรแพทย์ หรือทำงสังคม รวมถงึ
นโยบำยสำธำรณะตำ่ งๆ ก็ล้วนเกย่ี วพนั กับทักษะกำรเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ทง้ั สน้ิ ทกั ษะดังกลำ่ วจงึ สำคญั มำกในกำร
เอำตัวรอด
อีกตัวอยำ่ งหนึ่งทมี่ ีควำมสำคญั ชดั เจนมำกขน้ึ คือกำรเชือ่ มตอ่ กนั ของโลก (global connectedness) หรือกำรมี
global mindset เพรำะโควดิ -19 เปน็ โรคระบำดระดับโลก ต่อใหเ้ รำดแู ลและระมดั ระวังตัวเองกบั ครอบครัว พยำยำมทำ
ทกุ อย่ำงเท่ำทท่ี ำไดแ้ ลว้ แต่ละแวกบ้ำนของเรำยงั อันตรำยอยู่ มันกส็ ่งผลกระทบกบั เรำอยู่ดี หรอื ต่อใหป้ ระเทศเรำทำได้
ดี ควบคุมสถำนกำรณ์ได้ แต่ถำ้ ประเทศอื่นยังประสบปัญหำ กเ็ ท่ำกับว่ำยังมีควำมเสี่ยงอยู่ เพรำะฉะน้ัน โควดิ -19 เปน็
ตัวอยำ่ งที่ดมี ำกของคำถำมทีว่ ำ่ ทำไมเรำตอ้ งมีทัศนะท่ีมองออกไปขำ้ งนอก พยำยำมทำควำมเข้ำใจคนที่มคี วำมแตกตำ่ ง
ทำงควำมคดิ วฒั นธรรม และบริบท เรยี กรอ้ งควำมเปน็ พลเมอื งโลกให้มำกขึ้น
อีกประเดน็ ท่ีเก่ียวข้องกบั ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 คือ เทรนดง์ ำนในอนำคต มีแนวโน้มท่ีบอกว่ำ ในปี 2030
งำน 60-80% จะเปน็ งำนใหม่ที่วันนีเ้ รำยงั ไมร่ ู้จกั ไม่มีชือ่ เรียก ยังไม่นบั เทรนดท์ เ่ี กดิ ข้ึนแล้วในประเทศอตุ สำหกรรม
อยำ่ งกำรใช้ปญั ญำประดษิ ฐ์ (AI) หรือหนุ่ ยนต์มำทดแทนแรงงำนมนุษย์ในหลำยงำน เม่ือเทรนดเ์ หลำ่ นี้ผนวกรวมกับโค
วิด-19 จงึ น่ำจะช่วยเร่งกำรปรับทศิ และหลักสูตรกำรศึกษำทัง้ หมดใหม้ ุง่ ไปสู่ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 มำกขนึ้ ซ่งึ ไม่ใช่
เร่ืองง่ำย เพรำะนไี่ ม่ใชเ่ ร่ืองกำรเรยี นแบบทอ่ งจำ เรำตอ้ งทำอะไรอีกเยอะ
ทักษะใหมท่ ี่ตอ้ งเตมิ ใส่หลักสูตร
โควิด-19 เป็นควำมเสย่ี งอุบัติใหม่ ถึงคนท่ีทำงำนสำยวิจัยหรือกำรพฒั นำที่ย่งั ยืนจะได้ยนิ มำเยอะแลว้ ว่ำ มนุษย์
ทำลำยถ่นิ ท่ีอยู่สตั ว์ปำ่ หรือสิง่ แวดล้อม ทำให้เสีย่ งตอ่ กำรเกดิ โรคระบำดท่ีมนษุ ย์อำจไม่รู้จกั มำก่อน แตพ่ อโควิด-19
เกิดข้นึ จริงๆ เรำเห็นเลยวำ่ ยงั มีอกี หลำยส่ิงหลำยอยำ่ งทเ่ี รำยังมองไม่รอบดำ้ นและยงั ไม่พร้อมรับมือ สำเหตหุ นงึ่ ทเี่ รำไม่
พร้อมเพรำะยังมปี ญั หำเร่อื งกำรทำงำนแบบข้ำมศำสตร์ (interdisciplinary) ซ่งึ เชอ่ื มกับเรื่องกำรทำงำนร่วมกัน
(collaboration) และโยงกลับไปท่ีกำรมีควำมเข้ำอกเข้ำใจผู้อืน่
ถ้ำเรำไม่เขำ้ ใจว่ำงำนของคนอื่นสำคัญอย่ำงไร ก็อำจไมเ่ กิดแรงจูงใจในกำรทำงำนรว่ มกันหรอื ร่วมมอื กนั
บำงคร้งั เรำคดิ งำ่ ยๆ วำ่ แค่ดงึ ตัวคนจำกศำสตรอ์ นื่ มำรว่ มกันพอเปน็ พธิ ี แตเ่ รำไมไ่ ดเ้ ข้ำใจจรงิ ๆ ว่ำบำงครัง้ ทักษะหลำย
อย่ำงต้องไปด้วยกัน
อกี ทักษะทค่ี ดิ ว่ำสำคัญสำหรับสังคมไทย แต่อำจจะไม่ไดอ้ ยู่ในกรอบของทักษะกำรเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
โดยตรง คอื เรอ่ื งกำรมองประเดน็ ควำมเส่ียง วฒั นธรรมกำรเผื่อเหลือเผอ่ื ขำด และกำรออม ซ่ึงถอื เปน็ ควำมร้เู ช่นกนั เรำ
จะทำอยำ่ งไรให้แตล่ ะคนมองเห็นปัจจยั เส่ียงตำ่ งๆ ในชีวติ ทั้งของตัวเองและในระดับทใ่ี หญ่กวำ่ นัน้ และพยำยำมหำ
หนทำงบรรเทำหรือจัดกำรควำมเสย่ี ง รวมไปถึงกำรใช้สทิ ธิพลเมืองในฐำนะท่ีเรำเปน็ พลเมือง ซ่งึ รวมถึงกำรใชส้ ิทธิ
พลเมืองเรยี กร้องให้รฐั ดแู ลเร่ืองควำมเสีย่ งของเรำให้มำกขน้ึ เรำเห็นวำ่ เรื่องตำขำ่ ยทำงสงั คมในไทยยงั เปน็ ปญั หำอยู่
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 224
------------------------------------------------------------------------------
ทักษะใหมท่ ่ีโควดิ -19 กำลงั ตอกยำ้ ใหเ้ รำเรยี นรู้จึงเป็นเรอื่ งกำรใชส้ ทิ ธิ และกำรมองตวั เองในฐำนะท่เี ปน็ พลเมอื งของ
สงั คมและพลเมืองโลก
ตง้ั โจทย์การสอนใหม่ – ปรบั ทัศนคติครู – สรา้ งทักษะการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต
ถำ้ เรำตง้ั ต้นว่ำทักษะกำรเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 จะทวีควำมสำคญั มำกข้นึ ควำมทำ้ ทำยของเรำจึงเป็นเร่ืองกำร
ปรับตวั ของระบบกำรศึกษำ ซ่ึงอำจจะยังติดกบั วิธคี ดิ หรอื รูปแบบกำรเรียนกำรสอนแบบเดมิ ใหส้ อดคล้องกบั ทกั ษะท่ี
จำเปน็ แต่เช่ือว่ำ ไม่มีใครท่ีมองวำ่ โรงเรยี นหรอื มหำวิทยำลัยไมส่ ำคัญ เพรำะต่อใหเ้ รำทกุ คนเขำ้ google ได้หมด ก็ไมใ่ ช่
วำ่ เรำต้องฉลำดเหมือนกันหมดหรอื รเู้ รื่องทกุ อย่ำง แตเ่ รำอำจจะต้องดูเร่ืองกำรเรียนกำรสอนท่มี โี ครงสร้ำงชดั เจน หรือ
active learning รปู แบบต่ำงๆ เพม่ิ ขน้ึ ด้วย
นอกจำกนี้ เรำอำจสนับสนุนให้มกี ำรเรยี นแบบข้ำมศำสตร์เพ่ิมขน้ึ ตัวอยำ่ งเช่น ถำ้ เรำเรียนเน้นทำง
เศรษฐศำสตร์ เรำอำจจะตอ้ งเผอื่ เวลำสัก 1 ใน 4 ของเวลำเรยี นไปเรียนศำสตรอ์ ืน่ ๆ รวมถึงทกั ษะพื้นฐำนจำเป็น เชน่
ควำมรเู้ กย่ี วกบั ดิจทิ ลั หรือควำมรู้ทำงด้ำนกำรเงนิ แต่ไมไ่ ด้หมำยควำมวำ่ เรำตอ้ งรทู้ ุกเรื่อง ทกุ ศำสตร์ หรอื เป็นพหสู ตู
มนั เป็นกำรยอ้ นกลับไปมองว่ำคนเรำมีควำมสนใจหลำกหลำย เรำจะเรยี นศำสตร์อะไรก็ได้ แตต่ อ้ งมีควำมเคำรพซง่ึ กนั
และกนั เคำรพบทบำทหนำ้ ท่ี ควำมสำคญั ของศำสตร์อน่ื ๆ แล้วมองเห็นควำมเชื่อมโยงของควำมรทู้ จี่ ะดึงมำทำงำน
รว่ มกันได้
ถำ้ เรำออกแบบระบบกำรศกึ ษำทีไ่ มไ่ ดเ้ รม่ิ ตัง้ โจทย์ที่ตวั ควำมรู้ แตเ่ ร่ิมตงั้ โจทย์ทีท่ กั ษะ เช่น ถ้ำเรำพดู ถึงเรือ่ ง
ทกั ษะกำรคดิ เชงิ วิเครำะห์ (critical thinking) เรำอำจจะตอ้ งเปิดโลกใหเ้ ขำเหน็ ได้วำ่ โลกเรำมีควำมสัมพันธ์และ
เช่อื มโยงกนั อยำ่ งไร ทำไมเรำตอ้ งมีควำมเข้ำอกเขำ้ ใจคนอืน่ ทำไมควำมคดิ เรำเปน็ เพยี งควำมคิดหนง่ึ แตไ่ ม่ได้
หมำยควำมวำ่ ควำมคิดของเรำต้องถกู ต้องทง้ั หมด ถ้ำเรำสอนสง่ิ เหลำ่ นีไ้ ด้ มนั จะคอ่ ยๆ นำไปส่กู ำรมองเห็นควำมจำเป็น
ของกำรทำงำนแบบขำ้ มศำสตร์
แต่ที่ผำ่ นมำ เรำอำจจะทำเรือ่ งกำรทำงำนขำ้ มศำสตรไ์ ดไ้ มม่ ำกพอ เพรำะเรำยงั ไม่ไดเ้ ปิดช่องหรือเปดิ โอกำสให้
เด็กมองเห็นควำมสำคัญของกำรมีควำมเห็นอกเหน็ ใจ กำรทำงำนรว่ มกบั คนอืน่ ควำมสำคัญของกำรยอมรบั ควำม
แตกต่ำงทำงควำมคดิ และกำรเปดิ โอกำสใหแ้ ต่ละคนไดแ้ สดงควำมคิดเห็น น่ีจึงอำจจะเปน็ โอกำสหน่งึ ของกำร
ออกแบบหลักสตู รท่เี นน้ เรอ่ื งเหลำ่ น้ีมำกขึ้น
ข้อควรระวงั ของกำรออกแบบหลกั สูตรท่ีมีกำรข้ำมศำสตรแ์ ละบรู ณำกำรรว่ มกัน คือวธิ คี ิดเวลำเรำจะสร้ำง
หลกั สตู ร เรำมักเอำช่ือทกุ อย่ำงทีต่ อ้ งกำรมำรวมในประโยคเดยี วกนั เชน่ บอกวำ่ เป็นปริญญำเกยี่ วกับกำรพฒั นำทยี่ ั่งยืน
เพอ่ื ตอบโจทยโ์ ลกำภิวัตน์และเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทัง้ ๆ ที่โดยเนือ้ แทแ้ ลว้ เรำควรตัง้ ตน้ จำกกำรมองว่ำวตั ถุประสงค์จริงๆ
ที่เรำตอ้ งกำรคืออะไร และวิธมี องโลกหรอื วธิ ีคิดหลักทเ่ี รำจะใช้ในหลักสูตรนั้นๆ คอื อะไร แทนท่ีจะพยำยำมไปคิดวำ่
ตอ้ งพยำยำมรวมเอำ 5 ประเด็นเข้ำมำไว้ด้วยกนั
มอี ำจำรยท์ ่ีเคำรพท่ำนหนึง่ เคยพดู ไวว้ ่ำ หน้ำทข่ี องอำจำรยไ์ ม่ใชก่ ำรให้แผนทก่ี บั นักเรียน เพรำะแผนทีอ่ ำจจะ
ลำ้ สมยั ได้ แตห่ น้ำทขี่ องอำจำรยค์ อื สอนวธิ ีกำรอำ่ นแผนท่ี และสอนให้รู้วำ่ ในโลกอำจจะมีแผนที่หลำยแบบ เวลำที่
นกั เรียนไปยงั ประเทศไม่คนุ้ เคยจะไดส้ ำมำรถจัดกำรตวั เองได้ สว่ นตัวจงึ ชอบคำว่ำ กำรเรยี นรู้แบบนำตนเอง (self-
directed learning) เพรำะฉะนั้น โจทยส์ ำคัญของเรำคือ กำรถอยออกมำจำกชอื่ วิชำกอ่ น แลว้ เรมิ่ จำกกำรดูเป้ำหมำยว่ำ
เปำ้ หมำยหลักของหลักสตู รหรือศำสตร์น้ตี อ้ งกำรจะช่วยเรำมองเร่อื งอะไรหรือแกป้ ญั หำเร่ืองอะไร
อีกโจทยห์ นึ่งในกำรศึกษำของเรำคอื ทศั นคติของครูผสู้ อนบำงทำ่ นยงั มองว่ำ เด็กต้องรบั ฟงั คำสงั่ หรอื ครูรู้
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 225
------------------------------------------------------------------------------
ดกี วำ่ เด็ก ทำใหบ้ รรยำกำศกำรเรียนเกิดควำมตงึ เครียดมำกข้ึน เพรำะเด็กทกุ คน โดยเฉพำะเดก็ รุ่นใหม่ เปน็ digital
native เป็นคนท่ีเกดิ มำก็เข้ำถึงโลกดิจิทัล คำถำมคอื เรำจะออกแบบ mindset หรอื ทัศนคติของผ้สู อนในระบบอยำ่ งไรให้
ไปในทศิ ทำงเดียวกัน หรือเปิดกว้ำงกับควำมหลำกหลำยทำงควำมคิดของเด็ก ซงึ่ ในช่วงหลำยปีมำนี้ เรำเห็นหลำยกำร
เคล่ือนไหวทีน่ ่ำสนใจ เช่น เรื่องทรงผมนักเรียน เห็นพ้ืนที่ที่ทกุ คนท่ีเกีย่ วขอ้ งมำมสี ว่ นรว่ มมำกข้ึน ทั้งผบู้ ริหำร ครู
ผปู้ กครอง และนกั เรียน
ดงั น้ัน เรำจงึ อยำกเห็นกำรออกแบบระบบกำรสอนของไทยทีเ่ อ้อื ต่อกำรเปดิ พนื้ ท่ใี ห้คนมีส่วนรว่ มมำกข้นึ
อยำ่ งท่เี รำเคยพูดเร่อื งกำรกระจำยอำนำจสู่ท้องถิ่น หรือกำรใหผ้ ู้ปกครองเข้ำมำมสี ว่ นรว่ ม และอยำกเหน็ เร่ืองน้ีพัฒนำ
เปน็ รูปธรรมมำกขน้ึ ไปกวำ่ ในระดับโรงเรียนนำรอ่ ง รวมถึงกำรทำใหก้ ำรศึกษำมโี ครงสร้ำงท่ียืดหยุน่ แตก่ ็มรี ะบบกำร
วัดผลกลำงบำงอยำ่ งอยดู่ ้วย
สุดทำ้ ย สิ่งสำคัญที่อยำกฝำกไว้ คือกำรพฒั นำ mindset และทกั ษะกำรเรียนรู้ตลอดชวี ิต(life-long learning) ใน
เมื่อตอนนปี้ ระเทศกำลงั จะเขำ้ สู่สงั คมสูงวัยเต็มรูปแบบ เรำตอ้ งมองดว้ ยว่ำ ลกั ษณะกำรเรยี นรแู้ บบไหนจะเออื้ ให้ผู้สงู วัย
สำมำรถมกี ำรเรียนรู้ตลอดช่วงชีวิตที่เหลอื ของเขำ ทำอย่ำงไรให้สำมำรถปรบั เปล่ียนทัศนคติ หรอื เข้ำถงึ กำรอบรม
ทกั ษะใหมๆ่ (reskill) ทีจ่ ะทำให้ผสู้ งู วยั ดูแลตัวเองไดม้ ำกข้ึน กำรสรำ้ งทกั ษะกำรเรยี นรทู้ ีต่ ่อเนื่องจำกวัยเด็กจนถึงสงู วัย
อำจเปน็ อีกโจทย์หน่งึ ของระบบกำรศึกษำท่ีนำ่ จะช่วยกันคดิ และออกแบบได้
ความร้เู ก่ยี วกับกฏหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการศกึ ษา
กฎหมำย หมำยถงึ บทบัญญัติซึ่งมอี ำนำจสูงสุดในประเทศไทยตรำขน้ึ ไว้ เพ่ือใชใ้ นกำรบริหำรกำรบ้ำนเมือง
และบงั คบั บคุ คลในควำมสมั พนั ธร์ ะหว่ำงกนั ผ้ใู ดฝำ่ ฝืนตอ้ งได้รับโทษหรือตอ้ งถูกบังคับใหป้ ฏิบัตติ ำม (พจนำนกุ รม
ฉบบั รำชบณั ฑิตยสถำน. 2525: 3)
กำรศึกษำ หมำยถงึ กำรเลำ่ เรียนฝึกฝนและอบรม (พจนำนกุ รมฉบับรำชบณั ฑติ ยสถำน. 2525:772) เม่อื นำ
ควำมหมำยของคำทง้ั สองมำรวมกนั แลว้ สำมำรถสรปุ ไดว้ ำ่ กฎหมำยกำรศกึ ษำ หมำยถงึ กฎ ระเบียบ ประกำศและคำสง่ั
ตำ่ งๆเกีย่ วกับกำรศกึ ษำ
1. พระรำชบญั ญตั ิกำรศึกษำแหง่ ชำติ 2542 และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเติม 2545และ2551 2. พระรำชบญั ญัติกำรศึกษำ
ภำคบงั คบั พ.ศ. 2545 3. พระรำชบัญญตั ิ ระเบียบขำ้ รำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ พ.ศ. 2547 4. พระรำชบัญญตั ิ
ส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย พ.ศ.2551 5. พระรำชบัญญตั กิ ำรจัดกำรศึกษำสำหรบั คนพิกำร
พ.ศ.2551
กฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การศึกษามี ดงั น้ี กฎหมำยเหล่ำนล้ี ว้ นมีควำมสำคญั กับกำรศึกษำโดยตรง และบคุ ลำกร
ทำงกำรศึกษำทุกคน เพรำะจะชว่ ยจดั ระเบียบ คุ้มครอง พฒั นำคุณภำพชีวิต และรับรู้สทิ ธิอนั พึงมขี องตวั เอง ในฐำนะ
ประชำชนคนไทยคนหนึง่ บนผืนแผ่นดนิ ประชำธิปไตย และในฐำนะท่ที ่ำนเปน็ นักศึกษำคณะศกึ ษำศำสตร์ ทจ่ี ะเป็น
บคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำในอนำคต ตำมพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ.2552 และแกไ้ ข้เพิม่ เตมิ 2545
รูปแบบกำรจัดกำรศึกษำของไทย ตำมพระรำชบัญญตั ิกำรศึกษำแหง่ ชำติ พทุ ธศกั รำช 2542 และทแ่ี กไ้ ข
เพ่มิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 กำหนดน้นั แบง่ กำรศกึ ษำออกเป็น 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ กำรศึกษำในระบบ กำรศกึ ษำนอก
ระบบ และกำรศึกษำตำมอัธยำศัย
1. กำรศึกษำในระบบ เปน็ กำรศกึ ษำที่กำหนดจดุ มุ่งหมำย วิธีกำรศึกษำ หลักสตู ร ระยะเวลำของกำรศกึ ษำ กำร
วัดและกำรประเมินผล ซง่ึ เปน็ เง่ือนไขของกำรสำเร็จกำรศกึ ษำทแ่ี นน่ อน ซ่งึ กำรศกึ ษำรปู แบบน้ีจัดในโรงเรียน วทิ ยำลยั
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 226
------------------------------------------------------------------------------
มหำวทิ ยำลยั หรือสถำบันกำรศึกษำทีม่ ีชอ่ื เรียกอย่ำงอื่น สำมำรถจดั กำรศกึ ษำในช้ันเรยี นหรอื เปน็ กำรศึกษำทำงไกล
2. กำรศึกษำนอกระบบ เป็นกำรศึกษำท่ยี ดื หยนุ่ ในกำรกำหนดจดุ มุ่งหมำย รูปแบบ วธิ กี ำรจัดกำรศกึ ษำ
ระยะเวลำกำรศึกษำ กำรวดั และประเมินผลโดยคำนงึ ถึงควำมเหมำะสมสอดคลอ้ งกับสภำพปัญหำและควำมต้องกำร
ของแต่ละบคุ คล เชน่ กำรศกึ ษำนอกโรงเรียน กำรฝกึ อบรมหลักสตู รตำ่ งๆ
3. กำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั เปน็ กำรศึกษำทีใ่ ห้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง ตำมควำมสนใจ ศกั ยภำพ ควำม
พรอ้ มและโอกำส สำมำรถศึกษำไดจ้ ำกบุคคลสภำพแวดล้อม ส่ือหรือแหล่งกำรเรยี นรูต้ ำ่ งๆ กำรศกึ ษำแบบนีเ้ ปดิ โอกำส
ให้ผสู้ นใจสำมำรถเลือกเนอ้ื หำทส่ี นใจตรงกับควำมต้องกำรของตนเอง และสำมำรถศึกษำในเวลำท่ีปลอดจำกภำรกจิ อ่นื
ได้ เช่น กำรฟงั บรรยำยพิเศษ กำรศึกษำจำกเอกสำร กำรเยีย่ มชมกำรสำธติ กำรสืบค้นข้อมูลจำกอินเตอรเ์ น็ตหรือแหล่ง
เรยี นรู้อ่ืนๆ
กำรเชื่อมโยงกำรศึกษำทง้ั 3 ระบบให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด กำรศึกษำท้งั 3 ระบบ เป็นวิธีกำรเรยี นรู้ตลอดชวี ิต
ซึง่ สำมำรถนำไปพฒั นำชวี ิตและสังคม จงึ ตอ้ งมกี ำรผสมผสำนกำรศึกษำทง้ั 3 ระบบเข้ำดว้ ยกนั กลำ่ วคอื บุคคลเรียนรู้
กำรศึกษำตำมอัธยำศยั ตัง้ แตเ่ กดิ โดยกำรเลย้ี งดจู ำกพ่อ แม่ ผปู้ กครอง และกำรเรยี นรู้ อยรู่ ่วมในชุมชน รวมถงึ กำรเรยี นรู้
จำกแหล่งกำรเรยี นรูต้ ำ่ งๆ สรุปได้ว่ำ กำรเรยี นรูเ้ ป็นส่วนหน่ึงของวิถีชวี ติ ตัง้ แตเ่ กดิ จนตำย
แนวทำงกำรจดั กำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน กำรจัดกำรศกึ ษำทุกรปู แบบ เนน้ ใหผ้ ู้เรียนมคี วำมรู้ ควำมสำมำรถ และ
พัฒนำตนเองได้ โดยยดึ หลักผู้เรยี นสำคัญท่ีสุด ด้วยเหตุน้ี กระบวนกำรจดั กำรเรียนรู้จึงตอ้ งส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นสำมำรถ
พัฒนำตนเองได้ตำมธรรมชำติและเต็มศกั ยภำพ
พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาภาคบังคับ พ.ศ.2545 สรปุ เนอ้ื หำสำคัญ ไดด้ ังน้ี
1. ให้คณะกรรมกำรเขตพื้นที่กำรศกึ ษำหรอื องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ กระจำยขำ่ วรำยละเอยี ดกำรศึกษำ
และจดั สรรโอกำสเข้ำศึกษำตอ่ ใหเ้ ดก็ ทรำบไม่นอ้ ยกวำ่ หน่ึงปี
2. ให้ผู้ปกครองสง่ เด็กเขำ้ เรยี นตำมเกณฑ์ เมอ่ื ตอ้ งกำรผ่อนผันให้สง่ คำรอ้ งขอตอ่ สถำนศึกษำ
3. ให้เจำ้ หนำ้ ที่ ที่มีอำนำจตรวจสอบกำรเขำ้ เรียนของเด็ก
4. เม่ือเจ้ำหน้ำทีป่ ฏบิ ตั ิหนำ้ ที่ ให้ผ้เู กี่ยวข้องอำนวยควำมสะดวกตำมสมควร
5. หำกผ้ปู กครองไมส่ ่งเด็กเขำ้ เรียนเมอื่ ถงึ เกณฑใ์ ห้ระวังโทษปรบั ไม่เกินหนงึ่ พนั บำท
6. ผูใ้ ดไมอ่ ำนวยควำมสะดวกแก่เจำ้ หนำ้ ท่ี ใหร้ ะวงั โทษปรับไมเ่ กนิ หน่งึ พันบำท
7. ผู้ใดทำให้เดก็ ไม่ไดร้ บั กำรศกึ ษำ ให้ระวงั โทษปรบั ไมเ่ กินหนง่ึ หม่ืนบำท
8. ในระหว่ำงยงั ไม่มคี ณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพืน้ ฐำน ให้คณะกรรมกำรกำรประถมศึกษำทำหนำ้ ท่แี ทน
เหตุผลในกำรประกำศใชพ้ ระรำชบัญญัติฉบับนี้ คอื โดยทีก่ ฎหมำยว่ำดว้ ยกำรศึกษำแหง่ ชำตไิ ดก้ ำหนดใหบ้ ดิ ำ
มำรดำ หรอื ผู้ปกครองมหี น้ำที่จดั ใหบ้ ุตรหรือบคุ คลซ่ึงอยูใ่ นควำมดแู ลได้รบั กำรศกึ ษำภำคบงั คบั จำนวนเกำ้ ปี โดยให้
เด็กซึ่งมอี ำยยุ ำ่ งเขำ้ ปีที่เจด็ เข้ำเรยี นในสถำนศกึ ษำขั้นพื้นฐำนจนอำยุยำ่ งเข้ำปีท่ีสบิ หก เวน้ แตจ่ ะสอบได้ชัน้ ปีทีเ่ กำ้ ของ
กำรศึกษำภำคบงั คับ จงึ สมควรปรับปรุงกฎหมำยว่ำด้วยกำรประถมศกึ ษำ เพอื่ ใหเ้ หมำะสมและสอดคล้องกับกฎหมำย
ดงั กล่ำว จงึ จำเป็นต้องตรำพระรำชบญั ญัตนิ ้ี
พระราชบัญญัติ ระเบยี บขา้ ราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 จำก พ.ร.บ.กำรศกึ ษำแหง่ ชำติ
พ.ศ. 2542 มำตรำ 55 ไดก้ ำหนดให้มี กฎหมำยว่ำด้วย เงนิ เดือน คำ่ ตอบแทน สวสั ดกิ ำรและสิทธิประโยชน์เกือ้ กลู อน่ื
สำหรบั ขำ้ รำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ เพือ่ ใหม้ รี ำยได้เพยี งพอและเหมำะสมกับฐำนะทำงสังคมและวชิ ำชพี
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 227
------------------------------------------------------------------------------
จงึ จำเปน็ ต้องตรำพระรำชบัญญัตริ ะเบยี บขำ้ รำชกำรครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ พ.ศ. 2547 ข้นึ
พระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ.2551 ควำมหมำยของกำรศึกษำ
นอกระบบ และกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั กำรศกึ ษำนอกระบบ หมำยควำมว่ำ กจิ กรรมกำรศึกษำทีม่ ีกลมุ่ เป้ำหมำย
ผูร้ บั บรกิ ำรและวัตถปุ ระสงค์ของกำรเรียนรู้ทช่ี ัดเจน มรี ูปแบบ หลักสตู ร
วธิ ีกำรจัดและระยะเวลำเรียนหรอื ฝกึ อบรมทย่ี ดื หยุ่นและหลำกหลำย ตำมสภำพควำมต้องกำรและศักยภำพใน
กำรเรยี นร้ขู องกลุม่ เป้ำหมำยน้ัน และมวี ิธกี ำรวดั ผลและประเมินผลกำรเรียนร้ทู ่ีมมี ำตรฐำน เพ่ือรบั คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ
หรอื เพื่อจดั ระดับผลกำรเรยี นรู้
ประโยชนข์ องพระรำชบญั ญัติส่งเสริมกำรศึกษำ นอกระบบและตำมอธั ยำศยั พ.ศ.2551
1. เพอ่ื ประโยชน์ในกำรส่งเสริมและสนับสนุนกำรศกึ ษำ
2. เพื่อประโยชน์ในกำรส่งเสรมิ และสนบั สนุนกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั
3. เพอื่ ใหบ้ คุ คลและชุมชนไดเ้ รียนร้ตู ำมควำมสนใจและควำมต้องกำรท่ีสอดคล้องกับควำมจำเปน็ ในสังคม
ของกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั 4. เพอ่ื ประโยชน์ในกำรจดั และพัฒนำกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยให้
สว่ นรำชกำรและหนว่ ยงำนของรฐั ท่เี กยี่ วขอ้ งรว่ มมอื กบั ภำคีเครอื ขำ่ ย
พระราชบญั ญัติการจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการพ.ศ. 2551 สำระสำคัญของพระรำชบัญญตั ิกำรจัดกำรศึกษำ
สำหรบั คนพิกำร พ.ศ.2551 1. สิทธิคนพิกำร 2. กองทุนส่งเสรมิ และพัฒนำกำรศึกษำสำหรบั คนพกิ ำร 3. กำรสง่ เสริม
กำรจัดกำรศกึ ษำสำหรับคนพิกำร
สรปุ กฎหมำยทเ่ี ก่ยี วข้องกับกำรศึกษำสรุปได้ ดังน้ี 1. พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2545ฉบบั น้ี มี
วตั ถปุ ระสงค์ คือ ต้องกำรเน้นยำ้ วำ่ กำรจัดกำรศกึ ษำตอ้ งเป็นไป เพื่อพัฒนำคนไทยให้เป็นมนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ ทั้งร่ำงกำย
จิตใจ สติปญั ญำ ควำมรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในกำรดำรงชวี ติ สำมำรถอยรู่ ่วมกับผู้อื่นได้อยำ่ งมี
ควำมสขุ เรียกย่อๆว่ำ ( เก่ง ดี มคี วำมสุข )
2. พระรำชบัญญตั ิกำรศึกษำภำคบงั คบั พ.ศ.2545 ฉบบั นี้ มวี ัตถุประสงค์ เกี่ยวกบั กำรจำกัดสิทธิและเสรีภำพ
ของบคุ คล ซ่ึงมำตรำ 29 ประกอบกับมำตรำ 35 และ มำตรำ 50 ของรัฐธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจกั รไทย บัญญัตใิ ห้
กระทำไดโ้ ดยอำศัยอำนำจตำมบท บญั ญตั แิ หง่ กฎหมำย เพื่อใหเ้ ดก็ ทกุ คนไดร้ ับกำรศกึ ษำอย่ำงท่งั ถงึ และเป็นธรรม
3. พระรำชบญั ญัติ ระเบียบขำ้ รำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ พ.ศ. 2547 มีวัตถุประสงค์ คอื บอก
คณุ สมบตั ิ สิทธหิ นำ้ ที่ กำรปฏิบัติงำนและสทิ ธกิ ำรได้รบั กำรคุม้ ครองของ ครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำ
4. พระรำชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย พ.ศ.2551 มีวตั ถุประสงค์ เพ่อื
สง่ เสรมิ กำรศึกษำกบั เดก็ ทุกคนเนอ่ื งจำกเดก็ บำงคนอำจจะมีเหตุผลส่วนตัว ทีท่ ำใหไ้ ม่สำมำรถเขำ้ ศึกษำในระบบได้ รฐั
จงึ มหี นำ้ ทสี่ นบั สนุน
5. พระรำชบัญญัตกิ ำรจัดกำรศึกษำสำหรับคนพกิ ำร พ.ศ.2551 มีวตั ถุประสงค์ คือ สำมำรถพัฒนำคณุ ภำพชวี ิต
ของคนพกิ ำร ให้สำมำรถประกอบอำชพี ดแู ลตัวเองได้ และให้เปน็ ภำระของครอบครวั ให้น้อยท่สี ุด สดุ ท้ำยคอื ทำให้
เดก็ ร้สู ิทธิประโยชน์ทำงกำรศึกษำทีต่ นควรไดร้ บั
-------------------------------
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 228
------------------------------------------------------------------------------
ความร้เู กยี่ วกบั การบรกิ าร การสง่ เสรมิ และการเผยแพร่การศึกษา
งำนสง่ เสรมิ กำรจัดกำรศกึ ษำ เปน็ งำนทสี่ นบั สนุนและส่งเสริมให้สถำนศึกษำในสงั กดั เขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำ
สำมำรถจดั กำรศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำนไดอ้ ยำ่ งมปี ระสิทธิภำพโดยเนน้ กำรบูรณำกำรกำรจัดกำรศึกษำทงั้ กำรศกึ ษำในระบบ
นอกระบบ และตำมอธั ยำศยั นำแหล่งเรยี นรู้และภมู ิปญั ญำทอ้ งถ่นิ มำใช้ประกอบกำรจดั กำรเรียนกำรสอน กำรพัฒนำ
คณุ ภำพผเู้ รยี นทัง้ ด้ำน รำ่ งกำย จติ ใจ สังคมสติปัญญำ ทกั ษะชีวิต คุณธรรม จรยิ ธรรม จิตอำสำ กำรกฬี ำ ลกู เสอื เนตร
นำรี ยุวกำชำด ผ้บู ำเพ็ญประโยชน์ องค์กรนักเรียน สิทธิเด็ก กำรจัดหำทุน–กองทนุ กำรศกึ ษำ เพ่ือชว่ ยเหลือผู้เรียนทัง้ เดก็
ปกติเด็กดอ้ ยโอกำส เด็กบกพร่อง เดก็ พิกำร และเดก็ ท่ีมีควำมสำมำรถพเิ ศษ อกี ท้ังส่งเสรมิ ใหบ้ คุ คลครอบครัว ชุมชน
สถำบนั ทำงศำสนำ สถำนประกอบกำร องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และภำคเอกชนรว่ มจัดกำรศกึ ษำทจ่ี ะส่งผลตอ่ กำร
พัฒนำคณุ ภำพชีวิตผ้เู รียนรวมท้ังปฏบิ ตั ติ ำมพันธกิจทไ่ี ด้มกี ำรลงนำมในควำมตกลงร่วมกันระหวำ่ งประเทศ กำรรองรับ
ประชำคมอำเซยี นในด้ำนกำรจัดกำรศกึ ษำทั้งกำรแลกเปล่ียนและกำรส่งเสรมิ กำรจดั กำรศึกษำ ตลอดจนกำรดำเนนิ งำน
อ่ืนๆ ท่ีเกย่ี วข้อง
วัตถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื สง่ เสรมิ คณุ ภำพกำรจดั กำรศกึ ษำทงั้ ในระบบ นอกระบบ และตำมอธั ยำศัย ภำยใตค้ วำมรว่ มมือของบคุ คล
ครอบครัว ชมุ ชน สถำบันทำงศำสนำ และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น และภำคเอกชน ทุกรปู แบบให้มีคณุ ภำพตำม
มำตรฐำน
2. เพอื่ สง่ เสรมิ สุขภำพกำยและสขุ ภำพจติ ผู้รับบรกิ ำรทำงกำรศกึ ษำ ใหส้ มบูรณ์โดยสง่ เสริมใหส้ ถำนศกึ ษำจัด
อำหำรกลำงวัน อำหำรเสริม (นม) และเพ่ือสง่ เสรมิ ให้มจี ริยธรรม คณุ ธรรม วินยั โดยเน้นกฬี ำ นันทนำกำร ลูกเสอื เนตร
นำรี ยุวกำชำด ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ นักศึกษำวชิ ำทหำรและกำรปฏบิ ัตติ นตำมระบอบประชำธิปไตย อนั มี
พระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
3. เพ่ือสง่ เสรมิ สทิ ธิเด็ก กำรจดั หำทนุ กองทุนกำรศึกษำเพอ่ื สนับสนนุ กำรศกึ ษำให้กับเดก็ นกั เรยี นทัง้ เด็กปกติ
เดก็ ดอ้ ยโอกำส เดก็ บกพรอ่ ง เดก็ พกิ ำร และเด็กทม่ี ีควำมสำมำรถพิเศษดว้ ยกำรระดมทรพั ยำกรจำกทกุ ฝุำย
4. เพ่อื สง่ เสริมกิจกำรพเิ ศษ ทีเ่ ป็นกำรสร้ำงควำมม่ันคงและประสำนเครือข่ำยทุกระดบั ไปสู่กำรจัดกำรศกึ ษำขน้ั
พน้ื ฐำน
5. เพื่อรองรบั ประชำคมอำเซียน ตลอดจนขอ้ ตกลงร่วมกนั ระหว่ำงประเทศในกำรจัดกำรศึกษำทงั้ แลกเปล่ียน
และสง่ เสริมสนบั สนนุ เพ่อื พฒั นำกำรศึกษำรว่ มกัน
๑. งานการจดั การศกึ ษาภาคบงั คับ
ข้นั ตอนและแนวกำรปฏิบตั ิ
๑. จัดทำแผนกำหนดทต่ี ัง้ สถำนศกึ ษำ (School Mapping)
๒. กำหนดพื้นที่เขตบริกำรของสถำนศึกษำท้ังระดบั ก่อนประถมศกึ ษำ ระดับประถมศึกษำ ระดบั มธั ยมศกึ ษำ
ตอนต้นและระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย โดยยึดหลักกำรกำรมสี ่วนรว่ มของสถำนศึกษำที่เกย่ี วข้องทกุ สังกัด
๓. สำรวจข้อมลู ประชำกรก่อนวยั เรียน
๔. วิเครำะห์ขอ้ มลู ประชำกรวัยเรยี นและวำงแผนกำรรับนกั เรียนแต่ละระดับโดยคำนงึ ถงึ โอกำสและควำมเสมอ
ภำคในกำรได้รบั กำรศึกษำของประชำชนตำมเจตนำรมณข์ องพระรำชบญั ญตั ิกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ี
แกไ้ ขเพิม่ เตมิ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 229
------------------------------------------------------------------------------
๕. ตรวจสอบและจัดทำบัญชีรำยชอ่ื เดก็ อำยถุ งึ เกณฑก์ ำรศึกษำภำคบงั คับส่งให้สถำนศึกษำทีร่ ับผดิ ชอบพ้นื ที่เขต
บรกิ ำรทรำบและเตรียมกำรรับนักเรยี น
๖. ประกำศรำยละเอียดกำรส่งเดก็ เข้ำเรียน พรอ้ มทงั้ แจ้งเป็นหนงั สอื ให้ผู้ปกครองของเด็กทีม่ ีอำยุถึงเกณฑ์
กำรศึกษำภำคบังคับ สง่ เดก็ เขำ้ เรยี นในสถำนศึกษำที่จัดกำรศกึ ษำกำรศึกษำภำคบงั คบั ก่อนถึงกำหนดทเ่ี ด็กตอ้ งเขำ้ เรยี น
ในสถำนศึกษำไมน่ อ้ ยกว่ำ ๑ ปี
๗. ตรวจสอบ ติดตำม สรปุ ผลกำรรบั เดก็ เขำ้ เรยี นของสถำนศึกษำในสงั กัด
๘. รำยงำนสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน
๙. ประสำนงำนกบั สถำนศกึ ษำ สำนักงำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำและหนว่ ยงำนทจ่ี ัดกำรศึกษำภำคบังคบั อนื่ เกีย่ วกับ
กำรยำ้ ยนักเรียนและกำรติดตำมเดก็ เขำ้ เรยี น
๒. งานส่งเสริมการจัดการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานในรูปแบบการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตาม
อัธยาศยั
๒.๑ กำรจัดกำรศึกษำในระบบ
ขน้ั ตอนและแนวกำรปฏบิ ตั ิ
๑. ประสำนกำรสำรวจ รวบรวมขอ้ มูลประชำกร และทรัพยำกรทำงกำรศกึ ษำ กำรจัดทำสำมะโนนักเรยี นและ
แผนทีก่ ำรศึกษำ เพอ่ื สนับสนุน ส่งเสรมิ กำรจดั กำรศกึ ษำไดอ้ ย่ำงทว่ั ถงึ และมปี ระสทิ ธภิ ำพ
๒. สร้ำงควำมเข้ำใจทีถ่ ูกตอ้ งเก่ียวกับกำรศึกษำในระบบ กำรศึกษำนอกระบบ กำรศึกษำตำมอัธยำศัยและ
กำรศึกษำตลอดชวี ิต
๓. สง่ เสริมใหม้ กี ำรกำหนดวธิ ีกำรและแนวทำงดำเนินกำรจดั กำรศกึ ษำตงั้ แตร่ ะดับกำรศึกษำปฐมวัยและระดบั
กำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำนอยำ่ งทัว่ ถึงและมีคุณภำพ โดยไมเ่ สียค่ำใชจ้ ำ่ ย ทงั้ นี้ใหส้ ำมำรถเชื่อมโยงกับกำรศึกษำนอกระบบ
กำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั ตลอดจนกำรส่งเสรมิ ให้เกดิ กำรพัฒนำอย่ำงต่อเน่ืองตลอดชีวิต
๔. ศกึ ษำ วจิ ยั และเผยแพรร่ ูปแบบกำรจดั กำรศกึ ษำทม่ี ปี ระสิทธภิ ำพแกส่ ถำนศึกษำและผู้เกี่ยวข้อง เพ่อื จะ
นำไปสกู่ ำรปฏิบัติ
๕. ประสำนกำรดำเนนิ งำนกบั สถำนศึกษำและหนว่ ยงำนท่ีเกี่ยวขอ้ ง เพื่อสร้ำงเครือขำ่ ยกำรพัฒนำคณุ ภำพกำรจดั
กำรศกึ ษำ
๖. ประสำนกำรติดตำม ประเมินผลกำรจดั กำรศึกษำและปรับปรงุ พฒั นำ
การเผยแพร่และการยอมรับนวตั กรรมและเทคโนโลยใี นกรณขี องประเทศไทย
1. กำรเผยแพรร่ ะบบกำรจดั กำรศึกษำใหม่ ซ่งึ เรยี กวำ่ “กำรปฏิรูปกำรศึกษำ” เป็นกำรเผยแพรใ่ ห้เกดิ กำร
เปลี่ยนแปลงโครงสรำ้ งและระบบ มจี ดุ มุง่ หมำยให้เปน็ กำรเปล่ียนแปลงในระดับของ Macro Level โดยใชก้ ระบวนกำร
แบบ Top Down หรือส่งั กำรลงมำโดยใช้กฎหมำยรัฐธรรมนูญ และกฎหมำยกำรศกึ ษำเปน็ ตัวนำ ผบู้ ริหำรระดบั สูงใช้
วิธกี ำรคดิ แบบกลมุ่ Determinist และดำเนินกำรตำมทฤษฏี Developer Based Theories
และ Systemic Change Theories
2. กำรเผยแพรว่ ธิ ีกำรเรียนกำรสอนแบบ “ผเู้ รียนเปน็ สำคญั ” เปน็ กำรเผยแพร่เพื่อหวังผลใหเ้ กดิ ขึ้นกบั
ครูผ้สู อนในหอ้ งเรียน ซงึ่ ต้องกำรให้เปน็ กำรเปล่ียนแปลงในระดบั Micro level ในระยะแรกใช้กระบวนกำรเผยแพร่
หวงั ใหเ้ กดิ กำรเปล่ยี นแปลงแบบ Bottom Up ตำมแนวคิดของกลุ่ม Instrumentalist โดยใชท้ ฤษฎี Adopter-based
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 230
------------------------------------------------------------------------------
Theories และ Product Utilization Theories แต่ตอ่ มำมีกำรอำ้ งบทบญั ญัติของกฎหมำยเปน็ ตวั นำในกำรเปลยี่ นแปลง
และมีหลกั แนวคดิ เช่ือถอื ว่ำนวตั กรรมน้ีเป็นส่ิงดงี ำมตำมแบบของ Determinist และละท้งิ แนวคิดทีย่ ดึ สภำพและควำม
ตอ้ งกำรของบคุ คลและสังคม คอื ครู นักเรยี น โรงเรียน ทำให้แนวคิดของ Instrumentalist ไมไ่ ดร้ ับกำรส่งเสริมและหัน
กลบั ไปดำเนนิ กำรตำมทฤษฎี Developer-based Theories และ Systemic Change Theories และหวงั ให้มีกำร
เปลย่ี นแปลงระบบกำรเรยี นกำรสอนทง้ั หมดซ่งึ จะกลำยเปน็ ระดบั มหภำค ซึ่งผิดธรรมชำตขิ องกำรเรียนกำรสอนทีม่ ี
กำรวจิ ยั ยืนยนั ซำ้ ๆ แล้วว่ำ ไม่มีวิธีกำรสอนใดดีท่สี ดุ ท่ใี ชไ้ ด้ดีกบั ทุกเนือ้ หำ ทุกกลุ่มผเู้ รยี น และในทุกสถำนกำรณ์ของ
กำรเรียนกำรสอน
3. กำรเผยแพรน่ วตั กรรม “ห้องเรยี นอัจฉรยิ ะ” กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีได้ใหท้ ุนวิจยั กำร
เผยแพร่นวตั กรรม โดยกำรให้ดำเนนิ กำรทดลองใชห้ ้องเรยี นอจั ฉรยิ ะท่ีมีระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเครอื ข่ำยอินเตอรเ์ น็ต
ชว่ ยในกำรเรียนรู้ของนกั เรยี น โครงกำรน้ีได้ทดลองใชใ้ นจงั หวดั นครพนม เปน็ กำรเผยแพร่โดยต้องกำรให้เกิดผลใน
ระดับ Micro Level และสรำ้ งแรงผลักดันใหเ้ กดิ กำรยอมรับนวตั กรรมนี้ในระดับลำ่ งข้ึนมำหรอื เป็น แบบ Bottom Up
และให้ควำมสำคญั กบั แนวคิดของกลมุ่ Instrumentalist ท่ีมองเทคโนโลยเี ปน็ เครอ่ื งมือ กำรจะใชห้ รอื ไม่ใช้เปน็ กำร
ตัดสนิ ใจอยู่บนควำมตอ้ งกำร และควำมพรอ้ มของบุคคล ไม่มีกำรบังคบั และไม่ใชอ้ ำนำจกฎหมำยเข้ำมำเป็นตัวนำให้
เกดิ กำรยอมรบั เปน็ กำรดำเนินกำรตำมแบบ Adopter-based Theories และ Product Utilization Theories
4. กำรเผยแพร่นวตั กรรม “ระบบทวิภำคี” กรมอำชวี ศกึ ษำ ไดเ้ ผยแพรก่ ำรจัดกำรเรยี นกำรสอนอำชวี ศกึ ษำ
โดยนำเอำระบบ Dual System ของประเทศสหพันธรัฐเยอรมนีเขำ้ มำทดลองใช้ กำรเผยแพร่ระบบทวภิ ำคีนใ้ี ชแ้ นวคิด
แบบ Top Down สั่งกำรลงไปใหป้ ฏิบตั ิ ขณะเดียวกนั พยำยำมสร้ำงควำมนิยมตำมแบบของ Determinist ว่ำ ระบบนี้ดี
งำมและไดผ้ ลมำแลว้ ในสงั คมอืน่ โดยต้องกำรให้เกดิ กำรเปล่ยี นแปลงเชิง ระบบและโครงสรำ้ งของกำรบริหำรจัดกำร
กำรอำชวี ศกึ ษำของประเทศใหเ้ ปน็ ตำมแบบ ประเทศสหพนั ธรัฐเยอรมนี กำรดำเนนิ กำรเผยแพรใ่ ช้แนวคิดและวธิ กี ำร
ตำมทฤษฎี Developer-based Theories และ Systemic Change Theories และใชก้ ระบวนกำรใหเ้ กดิ กำรยอมรับ 5 ขนั้
ตำม The Theory of Perceived Attributes แตอ่ ย่ำงไรก็ตำมกำรยอมรบั น้ันมีน้อยมำก และระบบสงั คมหรอื Social
System ของประเทศไทยและประเทศสหพนั ธรัฐเยอรมนตี ่ำงกันจงึ ตดิ ขัดในเรื่อง Compatibility
5. กำรเผยแพรก่ ำรใชแ้ ปน้ พิมพแ์ บบ “ปัตตะโชติ” แป้นพมิ พ์แบบน้ไี ดร้ ับกำรทดลองและยนื ยนั ผลของกำรใช้
พิมพ์ด้วยระบบสมั ผสั จำก สภำวจิ ัยแหง่ ชำตวิ ่ำ รวดเรว็ กว่ำแบบเกษมณี 28.6% แตอ่ ย่ำงไรก็ตำมแป้นพมิ พแบบ
“เกษมณี” ซึง่ ใช้อยเู่ ดิมนั้นกส็ ำมำรถทำงำนได้ และคนกเ็ คยชนิ กับ “เกษมณี” แล้ว จงึ ยำกตอ่ กำรเปลีย่ นแปลงทั้งๆ ท่ใี ช้
กำรสงั่ กำรแบบ Top Down ให้เปิดสอนรำยวิชำพิมพด์ ีดด้วยแปน้ พมิ พแ์ บบ “ปัตตะโชติ” และใช้วธิ ีกำรส่งั ซื้อ
เครือ่ งพมิ พ์ทมี่ แี ปน้ พมิ พ์แบบ “ปตั ตะโชติ” ใหก้ ับโรงเรียนที่สอนพิมพด์ ีด แตไ่ มส่ ำมำรถเปล่ยี นแปลงได้ แต่อย่ำงไรก็
ตำมยังมีคนกลมุ่ หนง่ึ ใช้แป้นพิมพ์แบบน้ีอยู่ แตเ่ ป็นกลมุ่ นอ้ ยในประเทศไทย จะเห็นไดว้ ่ำปญั หำกำรยอมรับอยู่ที่
Compatibility และ Relative Advantage เปน็ สำระสำคัญของกำรปฏิเสธนวตั กรรมนี้ เป็นกำรลม้ เหลวในกำรใชแ้ นวคิด
ของกล่มุ Determinist ทเ่ี ชอ่ื วำ่ เทคโนโลยีที่ดีกว่ำจะทำให้เกิดกำรยอมรับและไปทดแทนเทคโนโลยที ี่ ด้อยกว่ำ และ
ดำเนนิ กำรตำมทฤษฎี Developer-based Theories และ Systemic Change Theories ที่ไม่เหน็ วำ่ คน คือปจั จยั สำคัญใน
กำรทจี่ ะทำใหเ้ กิดกำรยอมรับและเปล่ยี นแปลง
6. กำรเผยแพร่ “ระบบประกนั คณุ ภำพ” กำรเผยแพรม่ ุ่งหวังให้เกิดกำรเปลีย่ นแปลงระบบและโครงสร้ำงของ
วธิ ีทำงำนใน ระดับ Macro level โดยใชแ้ นวทำงของกำรสรำ้ งควำมยอมรบั ในเชิงวิชำกำรว่ำดงี ำมกอ่ นตำมแนวของ
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 231
------------------------------------------------------------------------------
กลมุ่ Determinist หลงั จำกพบวำ่ กำรสรำ้ งควำมยอมรับให้เกดิ ขน้ึ จำก Bottom Up ไม่ไดผ้ ลจึงหนั มำใช้วธิ ีกำร Top
Down ส่ังกำรใหด้ ำเนินกำรจำกผู้มีอำนำจ แล้วใช้กฎหมำยเปน็ ตัวนำอีกเชน่ เคย ส่วนนวตั กรรมอนื่ ๆ ท่ีมีลักษณะเดยี วกัน
ในดำ้ นของคณุ ภำพ ได้แก่ ระบบ QCC ระบบ ISO และรวมทง้ั 5ส มคี วำมพยำยำมให้เกิดผลในลกั ษณะ Bottom Up ใน
ระดบั Micro level กำรยอมรบั นวัตกรรมเหลำ่ น้ีมลี กั ษณะเป็นรูปตวั S ตำมทฤษฎีอัตรำกำรยอมรบั (The Theory of the
rate of Adoption)
7. กำรเผยแพรเ่ ทคโนโลยีกำรเรยี นแบบ “E-Learning” กำรเผยแพร่ใชแ้ นวคิดของ Instrumentalist เป็นฐำน
ตำมทฤษฎี Adopter-based Theories และพยำยำมทำให้เกิดข้ึนในระดบั Micro Level ก่อน ตำมควำมพร้อมของแต่ละ
สถำนศกึ ษำ ซ่งึ เปน็ แบบ Bottom Up กำรยอมรับเทคโนโลยีน้มี ีกำรยอมรับตำมทฤษฎีของควำมเป็นนวัตกรรมในเอกัต
บุคคล (The Individual Innovativeness Theory) ซึ่งได้แยกกล่มุ ผยู้ อมรับและผู้ใช้นวัตกรรมเป็น 5 กลมุ่ ตำมทฤษฎีน้ี
และใช้กระบวนกำรเผยแพรต่ ำมทฤษฎี Product Utilization Theories และใช้กระบวนกำรใหเ้ กดิ กำรยอมรับ 5 ขั้นตำม
The Theory of Perceived Attributes
8. กำรเผยแพรเ่ ทคโนโลยใี นรูปของอุปกรณ์ เครอ่ื งมอื ทีน่ ำมำใช้ในกำรทำงำนของนกั เทคโนโลยี เชน่
คอมพวิ เตอรแ์ บบ Laptop, PDA, CD, DVD, โทรศัพทเ์ คลือ่ นที่ (Mobile Phone) และ Flash Memory เป็นต้น
เทคโนโลยีเหลำ่ นี้มีกลมุ่ Utopian ในแนวของ Determinist เปน็ ผู้ยอมรับเทคโนโลยีประเภทน้ีมำก แต่กย็ งั มกี ลุ่ม
Dystopian อยู่บำ้ ง ถงึ จะมจี ำนวนไม่มำกก็ตำม ซง่ึ เป็นกำรดำเนนิ กำรเผยแพรต่ ำมทฤษฎี Developer-based Theories และ
Product Utilization Theories
ขั้นตอนในการเผยแพรน่ วตั กรรมการศกึ ษา
Hall (1974 : 12-15) กล่ำววำ่ กำรเผยแพร่เป็นกระบวนกำรท่จี ะนำไปสูก่ ำรยอมรบั นวัตกรรม เพรำะเป็นตวั
นำไปสูก่ ำรเปล่ยี นแปลงในองค์กำรหรอื สถำบัน ซ่งึ จะมีผลทำให้ประชำกรที่เก่ียวข้องตดั สินใจยอมรับหรือปฏเิ สธ
จดั เป็นกระบวนผสมผสำนระหวำ่ งกิจกรรมหลำยลักษณะตั้งแตท่ ่ีมีลักษณะคงทีแ่ ละกินเวลำยำวนำน กจิ กรรมทไ่ี ม่คงที่
และดำเนินไปในช่วงระยะเวลำสั้น ๆ มีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำหลำยกิจกรรมตอ่ เน่ืองกนั แบ่งเปน็ 6 ข้ันตอน คือ
1. Injection เปน็ ขนั้ ตอนกำรนำเอำแนวควำมคิดหรอื วธิ กี ำรใหม่เขำ้ ไปแนะนำ ใหส้ มำชกิ ในองค์กำรหรอื
สถำบนั หนง่ึ ๆ ได้รบั ทรำบ
2. Examination แนวคดิ หรือวธิ กี ำรใหมท่ ี่นำเสนอได้รับควำมสนใจจำกสมำชกิ ในองค์กำรหรอื สถำบนั น้นั
ๆ มกี ำรศึกษำค้นคว้ำ วำงแผนวิจยั ตลอดจนถึงมีกำรกอ่ รูปคณะกรรมกำรขึ้นมำพจิ ำรณำ
3. Preparation ผู้เก่ียวขอ้ งในสถำบนั หรือองคก์ ำร ตดั สนิ ใจท่จี ะทดลองใชน้ วัตกรรมน้นั และนำไปสกู่ ำร
เตรียมกำรรวบรวมบคุ ลำกร ทรพั ยำกรตำ่ ง ๆ จนกระทัง่ กำรฝึกอบรมกอ่ นใช้นวัตกรรม
4. Sampling มีกำรทดลองนำนวัตกรรมไปใชค้ รง้ั แรก แล้วส่มุ ตวั อย่ำงผูใ้ ช้บำงสว่ นมำให้ข้อมูลเพ่อื
กำรศึกษำ พจิ ำรณำผลกำรใช้ทผ่ี ่ำนมำ
5. Spread เป็นกำรกระจำยหรือขยำยผลของนวัตกรรมที่ได้รับกำรทดลองใช้ และไดผ้ ลดไี ปสู่ประชำกร
กลุ่มเป้ำหมำยในวงกวำ้ ง โดยเฉพำะกลมุ่ ที่เชอ่ื ถือได้ว่ำมีศกั ยภำพพอเพียงตอ่ กำรใช้นวัตกรรมนัน้
6. Institutionalization นวัตกรรมน้ันได้รบั กำรยอมรบั และมกี ำรนำไปใช้ในกำรปฏิบัติงำน กลำยเป็นแนว
ปฏบิ ตั ทิ ีแ่ พร่หลำยจนเปน็ ปกติวิสยั ของกำรปฏบิ ัติโดยสมำชกิ ทั้งหมดหรอื
ระบบการศึกษาทางไกล
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 232
------------------------------------------------------------------------------
กำรศึกษำทำงไกล เปน็ ควำมพยำยำมของนกั กำรศึกษำในกำรท่ีจะจดั กำรศกึ ษำไดแ้ ก่ผ้ทู ่ไี มส่ ำมำรถจะเขำ้ รบั
กำรศึกษำตำมปกตใิ นช้นั เรียนได้ นอกจำกน้แี ล้วกำรที่วิทยำกำรได้กำ้ วหนำ้ ไปอย่ำงมำกทำใหผ้ ู้ท่อี ยู่นอกระบบ
กำรศกึ ษำจำเปน็ ต้องพฒั นำตนเองเพอื่ ใหท้ นั ต่อกำรเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจบุ ัน ดังนั้นกำรจัดกำรศึกษำทำงไกลจึง
มบี ทบำทตอ่ กำรศกึ ษำของประเทศเปน็ อยำ่ งสูง
หลักการของการศึกษาทางไกล
กำรศกึ ษำทำงไกลเปน็ ระบบกำรศึกษำท่ยี ึดหลักกำรในเรอื่ งตำ่ งๆดงั นี้
กำรศึกษำตลอดชีวติ ซง่ึ ถือเสมือนว่ำกำรศึกษำเป็นปัจจยั ที่ห้ำของกำรดำรงชีพจงึ สมควรใชก้ ำรศกึ ษำเป็นปัจจัย
ในกำรพัฒนำคุณภำพชีวติ โดยไม่จำเป็นตอ้ งแยกชวี ติ ออกจำกำรเรยี นออกจำกชวี ติ กำรทำงำน กำรศึกษำจึงน่ำจะเป็น
กระบวนกำรที่สอดแทรกอย่ไู ด้ในวถิ กี ำรดำเนินชวี ิตปกติ ผู้ที่สนใจสำมำรถเรียนเมือ่ ไรกไ็ ด้โดยคำนึงถึงควำมพร้อม
ควำมถนดั ควำมต้องกำรและควำมสนใจ โดยไม่จำเปน็ ต้องเรยี นเพ่ือเป็นอำชีพกำรงำน
กำรใหโ้ อกำสเทำ่ เทยี มกนั ทำงกำรศกึ ษำ เปน็ ทำงเลือกและทำงออกไปสู่อุดมคติในกำรแกป้ ัญหำเรอ่ื งควำมเสมอภำค
ทำงกำรศกึ ษำเป็นกำรกระจำยและขยำยโอกำสให้ผ้ทู ี่ตอ้ งละท้งิ กำรศกึ ษำก่อนจบหลักสูตรหรือผ้ทู ่ไี มม่ ีโอกำสศึกษำเล่ำ
เรยี นและผูท้ ี่ตอ้ งกำรศกึ ษำเพ่ิมเตมิ ได้มโี อกำสไดศ้ ึกษำตอ่ เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั หลกั กำรศึกษำตลอดชวี ิต
ส่งเสรมิ กำรศึกษำมวลชน เป็นกำรให้กำรศึกษำแกม่ วลชนในระดับตำ่ งๆโดยกำรใช้สือ่ มวลชนหรอื สอื่ อ่นื ๆรว่ มกันใน
รูปของสอื่ หลำยแบบรวมท้งั กำรใช้สื่ออปุ กรณโ์ ทรคมนำคมประเภทต่ำงๆด้วย
ลกั ษณะสาคญั ของการศกึ ษาทางไกล
ระบบกำรศกึ ษำทำงไกลมีลกั ษณะของกำรจดั กำรศกึ ษำที่ต่ำงไปจำกระบบกำรเรียน
กำรสอนโดยปกติ ซ่ึงอำจจะสรปุ ลกั ษณะทสี่ ำคัญของระบบกำรศึกษำทำงไกลไดด้ ังนี้
ผ้เู รียนผู้สอนไมอ่ ยปู่ ระจันหน้ำกนั เนื่องจำกผู้เรียนไม่สำมำรถมำเขำ้ ช้นั เรยี น โดยปกตไิ ด้ดงั นัน้ ผ้เู รยี นจะเรียน
ด้วยตนเองทบี่ ้ำน โดยอำจมำพบผู้สอนในบำงเวลำ
เน้นผเู้ รียนเปน็ จุดศนู ย์กลำงของกำรเรียน ผเู้ รียนเป็นผู้เลือกวิชำและกำหนดเวลำเรียนและกิจกรรมกำรเรยี นของ
ตนเอง
ส่ือกำรสอนเปน็ สือ่ หลักในกระบวนกำรเรียนกำรสอน ผู้สอนจะเป็นสือ่ หลัก ในกำรศึกษำทำงไกลส่ือหลักจะ
เปน็ สือ่ ส่งิ พมิ พ์ วิทยุโทรทศั นว์ ิทยุกระจำยเสยี ง ฯลฯ เป็นสื่อหลัก
สือ่ การสอนกบั การศึกษาทางไกล
เนือ่ งจำกผเู้ รยี นตอ้ งศกึ ษำดว้ ยตนเองเป็นส่วนใหญ่ ดังน้ันสื่อกำรสอนจงึ มคี วำมสำคญั ย่ิงสำหรบั กำรศึกษำ
ทำงไกล ซึ่งส่อื กำรสอนทใ่ี ช้อำจแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. ส่ือสิง่ พิมพ์ เปน็ สื่อประเภทสงิ่ พมิ พไ์ ด้แก่ เอกสำรตำรำ แบบฝึกปฏิบตั ิ ผเู้ รยี นจะอำศัยสอ่ื สิ่งพมิ พเ์ ปน็ สื่อ
หลักเน่อื งจำกรำคำถูก เกบ็ ได้นำนและไมจ่ ำเป็นตอ้ งใช้อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ประกอบสื่อโสตทัศนูปกรณ์
อเิ ล็กทรอนิกสน์ ับไดว้ ำ่ เป็นสื่อรองจำกสือ่ สิ่งพมิ พ์ทีจ่ ะช่วยในกำรเสริมควำมรู้ใน
2. กระบวนกำรเรยี นของผเู้ รียน โดยอำจจะเป็นกำรสอนทำงโทรทศั น์ เทปเสยี งบรรยำย เทปวีดิทศั น์ รำยกำร
วิทยุกระจำยเสียง
3. สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์และระบบโทรคมนำคม เนอื่ งจำกกำรพฒั นำกำรของอเิ ล็กทรอนกิ ส์และระบบโทรคมนำคม
เปน็ ไปอยำ่ งรวดเรว็ จงึ มีกำรนำเอำมำใช้ในกำรจัดกำรศึกษำทำงไกล โดยใช้ระบบดำวเทยี มและทอ่ ใยแก้วนำแสงใน
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 233
------------------------------------------------------------------------------
กำรสง่ ขำ่ วสำรข้อมลู มีกำรนำคอมพิวเตอร์มำใช้อยำ่ งมีประสิทธภิ ำพยงิ่
การเผยแพรร่ ายการโทรทศั น์เพ่อื การศึกษา
ปจั จุบันกำรเผยแพร่รำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรศกึ ษำ ดำเนินกำรดังนี้
1.รำยกำรทจี่ ดั ผลติ โดยศนู ย์เทคโนโลยีทำงกำรศกึ ษำ สำนกั บริหำรงำนกำรศกึ ษำนอกโรงเรยี น
กระทรวงศกึ ษำธิกำรเผยแพร่ใน 3 ลกั ษณะดงั นี้
1.1 ทำงสถำนีวิทยโุ ทรทัศนแ์ หง่ ประเทศไทย ชอ่ ง 11 โดยจัดออกอำกำศรำยกำรโทรทัศนเ์ พือ่ กำรศึกษำ
กลมุ่ เปำ้ หมำยสำมำรถรับชมไดท้ ุกจงั หวัด
1.2ทำงสถำนวี ิทยโุ ทรทศั น์เพอ่ื กำรศึกษำ กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร (ETV) ออกอำกำศดว้ ยระบบ DTH ใช้
ชดุ รบั สญั ญำณจำกดำวเทยี มไทยคมโดยตรงในระบบ Ku-Band (ระหวำ่ งเวลำ 06.00- 22.00 น.)
1.3 กำรเผยแพรด่ ้วยระบบกำรกระจำยสื่อกำรศกึ ษำ โดยประสำนรว่ มมอื กบั หนว่ ยงำนเครือข่ำยสำนัก
บริหำรงำนกำรศึกษำนอกโรงเรียนจดั สำเนำรำยกำรเพือ่ กำรศึกษำในรูปแบบวดิ ที ศั นจ์ ดั ส่งตรงไปสู่สถำนีปลำยทำง คอื
ศูนยก์ ำรเรยี นชุมชน ซ่งึ กระจำยอยู่ทุกตำบลทว่ั ประเทศประมำณ 7,500 แหง่ เพอ่ื ใหก้ ลมุ่ เป้ำหมำยไดใ้ ชเ้ ปน็ ส่อื
ประกอบกำรศึกษำดว้ ยตนเอง
2.รำยกำรทจ่ี ัดผลติ โดยมลู นธิ ิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียมร่วมกับสำนกั งำนคณะกรรมกำร กำรศกึ ษำขัน้
พืน้ ฐำนแพรภ่ ำพกำรออกอำกำศ ทำงสถำนวี ทิ ยโุ ทรทศั นเ์ พอ่ื กำรศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร โดยกำรเชำ่ ชอ่ งสัญญำณ
ดำวเทยี มไทยคม ยำ่ นควำมถ่ี Ku-Bandจำนวน 7 ช่องสัญญำณ
3.รำยกำรทจ่ี ดั ผลิตโดยมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร แพรภ่ ำพออกอำกำศโดยกำรเช่ำ
ชอ่ งสญั ญำณเทียม ยำ่ นควำมถี่ C-Band จำนวน 1 ชอ่ งสัญญำณ
4. รำยกำรทีจ่ ดั ผลิตโดยมหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธริ ำช แพรภ่ ำพออกอำกำศโดยกำรเช่ำเวลำออกอำกำศของ
สถำนวี ิทยุโทรทัศน์แหง่ ประเทศไทย ช่อง 11 กรมประชำสมั พันธ์ และมูลนิธกิ ำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียมโรงเรียน
วังไกลกังวลหวั หิน
5.รำยกำรที่จดั ผลติ โดยมหำวิทยำลยั รำมคำแหง แพร่ภำพออกอำกำศโดยกำรเชำ่ เวลำออกอำกำศของ สถำนวี ิทยุ
โทรทัศน์แหง่ ประเทศไทย ชอ่ ง 11 กรมประชำสัมพนั ธ์
---------------------------
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 234
------------------------------------------------------------------------------
แนวข้อสอบความรู้เกยี่ วกับยทุ ธศาสตร์ชาติ
ขอ้ 1. พระรำชบญั ญตั กิ ำรจดั ทำยทุ ธศำสตร์ชำติ พ.ศ. 2560 มผี ลบงั คบั ใช้เมือ่ ใด
1. 31 กรกฎำคม 2560 2. 31 สงิ หำคม 2560
3. 1 สิงหำคม 2560 4. 1 กรกฎำคม 2560
ตอบขอ้ 3.
ขอ้ 2. ใครเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติน้ี
1. สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ
2. คณะกรรมกำรยทุ ธศำสตร์ชำติ
3. รัฐสภำ 4.นำยกรัฐมนตรี
ตอบขอ้ 4.
ข้อ 3. เพ่อื ใช้เป็นกรอบในกำรจัดทำแผนตำ่ งๆ ให้มียทุ ธศำสตร์ชำติเปน็ เปำ้ หมำยในกำรพฒั นำประเทศอยำ่ งไร
1. อย่ำงมง่ั คง ตำมหลักธรรมำภิบำล 2. อยำ่ งมงั่ คั่ง ตำมหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3.อย่ำงยงั่ ยนื ตำมหลกั ธรรมำภิบำล 4. ถกู ท้ังหมดท่กี ลำ่ วมำ
ตอบขอ้ 3.
ข้อ 4. กำรประกำศใชย้ ทุ ธศำสตรช์ ำติเมอื่ ได้ประกำศใน...........แล้ว ให้ใชบ้ ังคบั ได้
1. พระบรมรำชโองกำร 2. รำชกจิ จำนเุ บกษำ
3.พระรำชบัญญตั ิ 4.กฎมณเฑยี รบำล
ตอบข้อ 2.
ข้อ 5. ยุทธศำสตรช์ ำติอย่ำงน้อยตอ้ งประกอบดว้ ยอะไร
1. วสิ ัยทัศนก์ ำรพัฒนำประเทศ
2.เป้ำหมำยกำรพฒั นำประเทศในระยะยำวและตัวช้ีวัดกำรบรรลุเป้ำหมำย
3.ยทุ ธศำสตร์ดำ้ นต่ำง ๆ
4.ถกู ทุกข้อ
ตอบขอ้ 4.
ข้อ 6. เปำ้ หมำยกำรพัฒนำประเทศในระยะยำว อยำ่ งนอ้ ยตอ้ งมเี ป้ำหมำยใด
1. ด้ำนควำมมน่ั คงของประเทศ 2. ดำ้ นคุณภำพและควำมเปน็ อยู่ของประชำชน
3.ดำ้ นบทบำทของรัฐทมี่ ตี อ่ ประชำชน 4. ถกู ทุกข้อ
ตอบข้อ 4.
ข้อ 7. ข้อใดมิได้กำหนดไวใ้ นกำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติ
1. คำนึงถึงผลประโยชน์แหง่ ชำติมำกอ่ นสิง่ อืน่ ใด
2. ให้สอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง
3. กำรพัฒนำที่ย่งั ยืนตำมหลักธรรมำภิบำล
4.เปำ้ หมำยกำรปฏิรูปประเทศตำมทีร่ ัฐธรรมนญู บัญญตั ิ
ตอบขอ้ 1.
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 235
------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 8. ให้คณะรฐั มนตรีนำรำ่ งยทุ ธศำสตร์ชำตทิ ่ีได้รับจำกคณะกรรมกำรหรอื ท่ีคณะกรรมกำรแก้ไขเพ่ิมเติม
ตำมวรรคหนง่ึ มำตรำ 9 แลว้ เสนอตอ่ ใครพจิ ำรณำร่ำงยุทธศำสตร์ชำติ
1. เสนอต่อสภำผ้แู ทนรำษฎรภำยใน 20 วนั นับแตว่ ันท่ีไดร้ ับรำ่ งยทุ ธศำสตรช์ ำติ
2. เสนอต่อสภำผู้แทนรำษฎรภำยใน 30 วันนบั แต่วนั ท่ีไดร้ บั ร่ำงยุทธศำสตร์ชำติ
3. เสนอต่อวุฒสิ ภำภำยใน 20 วนั นับแต่วนั ที่ไดร้ บั ร่ำงยุทธศำสตรช์ ำติ
4. เสนอตอ่ วุฒิสภำภำยใน 20 วนั นับแต่วนั ที่ไดร้ บั รำ่ งยทุ ธศำสตรช์ ำติ
ตอบขอ้ 2.
ข้อ 9. ใหว้ ฒุ ิสภำพิจำรณำและลงมติเห็นชอบหรือไมเ่ ห็นชอบรำ่ งยุทธศำสตร์ชำตใิ ห้แล้วเสรจ็ ภำยในก่ีวันนบั แต่วันที่
ไดร้ ับรำ่ งจำกสภำผู้แทนรำษฎร
1.15 วนั 2. 20 วนั 3. 30 วนั 4. 60 วัน
ตอบขอ้ 3.
ขอ้ 10.ร่ำงยทุ ธศำสตร์ชำติที่ได้รบั ควำมเหน็ ชอบของรัฐสภำแล้ว ให้นำยกรัฐมนตรนี ำ ขน้ึ
ทูลเกล้ำทลู กระหมอ่ มถวำยภำยในกี่วัน
1.15 วนั 2. 20 วนั 3. 30 วนั 4. 60 วนั
ตอบข้อ 2.
ข้อ 11.ให้คณะกรรมกำรจัดให้มีกำรทบทวนยุทธศำสตรช์ ำติทุกกี่ปี
1. 2 ปี 2. 3 ปี 3. 4 ปี 4. 5 ปี
ตอบข้อ 4.
ข้อ 12.“คณะกรรมกำรยุทธศำสตร์ชำติ”ประกอบด้วยใครเป็นประธำนกรรมกำร
1. ประธำนสภำผแู้ ทนรำษฎร 2. ประธำนวฒุ ิสภำ
3. นำยกรฐั มนตรี 4. ปลดั กระทรวงกลำโหม
ตอบขอ้ 3.
ข้อ 13.กรรมกำรผู้ทรงคุณวฒุ ปิ ฏิบัติหนำ้ ท่ตี ำมพระรำชบัญญัตินี้ จำนวนเท่ำใด
1. ไมเ่ กิน 15 คน 2. อย่ำงน้อย 15 คน 3. ไมเ่ กนิ 17 คน 4.อย่ำงน้อย 20 คน
ตอบข้อ 3.
ข้อ 14.กรรมกำรผู้ทรงคณุ วฒุ ิมีวำระกำรดำรงตำแหนง่ ครำวละกีป่ ี
1. 4 ปี 2. 5 ปี 3. 6 ปี 4. 10 ปี
ตอบขอ้ 2.
ขอ้ 15.ใครทำหนำ้ ทีส่ ำนักงำนเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรและคณะกรรมกำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติ
1. สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ
2. สำนกั งำนสภำควำมม่ันคงแห่งชำติ
3. กรรมกำรผู้ทรงคุณวฒุ ิ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตงั้
4. ไม่มีข้อใดถกู
ตอบข้อ 1.
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 236
------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 16.รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 มำตรำใด กำหนดให้รัฐพงึ จดั ให้มียทุ ธศำสตรช์ ำติเป็นเปำ้ หมำย
ในกำรพฒั นำประเทศ 2. มำตรำ 65 3. มำตรำ 75 4. มำตรำ 85
1. มำตรำ 60
ตอบข้อ 2.
ขอ้ 17.ขอ้ ใดเปน็ วสิ ยั ทัศน์ในยทุ ธศำสตร์ชำตทิ ่ถี กู ตอ้ ง
1. ประเทศไทยเปน็ ประเทศกำลงั พัฒนำ มคี วำมม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยนื ดว้ ยกำรพฒั นำตำมหลัก
ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง
2.ประเทศไทยมคี วำมมั่นคง มั่งคั่ง ยัง่ ยนื ดว้ ยกำรพัฒนำตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. ประเทศไทยมีควำมมัน่ คง มง่ั ค่งั ยง่ั ยืน เป็นประเทศพัฒนำแลว้ ดว้ ยกำรพัฒนำตำมหลัก
ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง
4.ด้วยกำรพฒั นำตำมหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียงประเทศไทยมีควำมม่นั คง ม่งั คงั่ ย่ังยืน เป็นประเทศ
พฒั นำแลว้
ตอบขอ้ 3.
ข้อ 18.ยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปใี นปจั จุบันประกอบดว้ ยก่ยี ุทธศำสตร์
1. 4 ยทุ ธศำสตร์ 2. 5 ยุทธศำสตร์ 3. 6 ยทุ ธศำสตร์ 4. 7 ยุทธศำสตร์
ตอบข้อ 3.
ข้อ 18.ข้อใดไมถ่ ูกตอ้ งตำมควำมหมำยของ “มน่ั คง” ตำมวสิ ยั ทัศนใ์ นยุทธศำสตร์ชำติ
1. กำรมีควำมมั่นคงปลอดภยั จำกภยั 2. ประเทศมคี วำมมั่นคงในเอกรำชและอธิปไตย
3. สงั คมมคี วำมปรองดองและควำมสำมัคคี
4. มกี ำรขยำยตัวของเศรษฐกิจอยำ่ งตอ่ เน่ืองและมีควำมยงั่ ยืน
ตอบข้อ 4.
ข้อ 19.ข้อใดไม่ถูกตอ้ งตำมควำมหมำยของ “มง่ั คง่ั ” ตำมวสิ ัยทศั นใ์ นยุทธศำสตรช์ ำติ
1. ประเทศไทยมีกำรขยำยตัวของเศรษฐกจิ อย่ำงตอ่ เนอื่ ง
2. กำรพัฒนำที่สำมำรถสร้ำงควำมเจริญ รำยได้ และคุณภำพชวี ิตของประชำชนใหเ้ พิ่มข้ึนอย่ำงตอ่ เนือ่ ง
3. เศรษฐกิจมีควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั สงู
4. มีควำมสมบูรณ์ในทุนที่จะสำมำรถสร้ำงกำรพัฒนำต่อเน่อื ง
ตอบข้อ 2.
ขอ้ 20.ขอ้ ใดไมถ่ กู ตอ้ งตำมควำมหมำยของ “ย่งั ยนื ” ตำมวสิ ัยทัศน์ในยทุ ธศำสตรช์ ำติ
1. . กำรพฒั นำท่สี ำมำรถสรำ้ งควำมเจรญิ รำยได้ และคุณภำพชวี ติ ของประชำชนให้เพิม่ ขึน้ อยำ่ งตอ่ เนอ่ื ง
2. กำรผลติ และกำรบรโิ ภคเปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม
3. คนมคี วำมรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม มคี วำมเอ้อื อำทร เสียสละเพ่อื ผลประโยชนส์ ่วนรวม
4. ไมม่ ีข้อใดผดิ
ตอบขอ้ 4.
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 237
------------------------------------------------------------------------------
ขอ้ 21.ขอ้ ใดไม่ใช่หัวขอ้ สำคัญใน 6 ยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี
1. ยทุ ธศำสตร์ชำตดิ ำ้ นควำมม่นั คง 2. ยุทธศำสตรช์ ำตดิ ้ำนควำมอย่ดู ีกินดขี องประชำชน
3. ยุทธศำสตร์ชำตดิ ้ำนดำ้ นกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศกั ยภำพทรพั ยำกรมนุษย์
4. ยทุ ธศำสตรช์ ำติด้ำนกำรสรำ้ งกำรเติบโตบนคุณภำพชีวติ ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ตอบขอ้ 2.
ข้อ 22.ในยุทธศำสตรช์ ำตดิ ้ำนควำมมั่นคง ประกอบดว้ ยอะไรบำ้ ง
1. ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 4 ประเดน็ หลัก 4 เปำ้ หมำย และ 4 ตัวช้ีวดั
2. ประเด็นยทุ ธศำสตร์ 4 ประเด็นหลกั 4 เปำ้ หมำย และ 5 ตวั ชีว้ ดั
3. ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 5 ประเดน็ หลัก 5 เป้ำหมำย และ 5 ตัวชวี้ ดั
4. ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 5 ประเดน็ หลัก 4 เป้ำหมำย และ 4 ตัวชว้ี ัด
ตอบข้อ 2.
ข้อ 23.ในยุทธศำสตรช์ ำติ ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 2 ประกอบดว้ ยอะไรบ้ำง
1. ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 4 ประเดน็ หลัก 2 เปำ้ หมำย และ 4 ตัวชว้ี ดั
2. ประเดน็ ยุทธศำสตร์ 4 ประเด็นหลกั 4 เปำ้ หมำย และ 5 ตัวชี้วดั
3. ประเด็นยุทธศำสตร์ 5 ประเด็นหลกั 2 เป้ำหมำย และ 4 ตวั ชี้วดั
4. ประเดน็ ยุทธศำสตร์ 5 ประเดน็ หลกั 4 เปำ้ หมำย และ 4 ตวั ชีว้ ดั
ตอบขอ้ 3.
ข้อ 24.ในยุทธศำสตร์ชำติ ยุทธศำสตรท์ ี่ 3 ประกอบดว้ ยอะไรบำ้ ง
1. ประเด็นยุทธศำสตร์ 4 ประเด็นหลกั 2 เปำ้ หมำย และ 4 ตัวชี้วดั
2. ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 5 ประเด็นหลกั 4 เปำ้ หมำย และ 5 ตวั ชีว้ ดั
3. ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 6 ประเดน็ หลกั 2 เป้ำหมำย และ 4 ตวั ชี้วดั
4. ประเด็นยุทธศำสตร์ 7 ประเด็นหลกั 2 เป้ำหมำย และ 3 ตัวชีว้ ัด
ตอบขอ้ 4.
ข้อ 25. ในยทุ ธศำสตรช์ ำติ ยุทธศำสตร์ท่ี 4 ประกอบด้วยอะไรบ้ำง
1. ประเด็นยุทธศำสตร์ 4 ประเดน็ หลกั 2 เปำ้ หมำย และ 4 ตัวช้ีวัด
2. ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 4 ประเด็นหลัก 3 เป้ำหมำย และ 4 ตวั ชวี้ ัด
3. ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 5 ประเด็นหลัก 2 เปำ้ หมำย และ 5 ตัวชีว้ ัด
4. ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 5 ประเด็นหลัก 4 เป้ำหมำย และ 3 ตัวชว้ี ัด
ตอบข้อ 2.
ข้อ 26.ในยทุ ธศำสตรช์ ำติ ยุทธศำสตรท์ ่ี 5 ประกอบด้วยอะไรบ้ำง
1. ประเด็นยทุ ธศำสตร์ 4 ประเด็นหลัก 2 เปำ้ หมำย และ 4 ตัวชี้วดั
2. ประเด็นยุทธศำสตร์ 5ประเด็นหลกั 3 เปำ้ หมำย และ 4 ตวั ช้ีวดั
3. ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 6 ประเด็นหลัก 4 เป้ำหมำย และ 4 ตัวชี้วดั
4. ประเด็นยุทธศำสตร์ 7 ประเดน็ หลัก 4 เปำ้ หมำย และ 3 ตวั ชี้วดั
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 238
------------------------------------------------------------------------------
ตอบข้อ 3.
ขอ้ 27.ในยุทธศำสตร์ชำติ ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 6 ประกอบดว้ ยอะไรบ้ำง
1. ประเด็นยุทธศำสตร์ 4 ประเด็นหลกั 2 เปำ้ หมำย และ 4 ตวั ช้ีวดั
2. ประเด็นยุทธศำสตร์ 6 ประเดน็ หลัก 3 เปำ้ หมำย และ 5 ตวั ชี้วัด
3. ประเด็นยทุ ธศำสตร์ 7 ประเดน็ หลกั 2 เปำ้ หมำย และ 5 ตวั ชว้ี ดั
4. ประเด็นยทุ ธศำสตร์ 8 ประเดน็ หลัก 4 เปำ้ หมำย และ 4 ตวั ชี้วัด
ตอบข้อ 4.
ข้อ 28.“ประชำชนอยู่ดี กินดี มีควำมสุข” อยู่เปำ้ หมำยท่อี ยู่ในประเด็นใดของยุทธศำสตร์ชำติ
1. อยใู่ นเปำ้ หมำยที่ 1 ของยุทธศำสตรท์ ่ี 1 2. อยู่ในเปำ้ หมำยท่ี 1 ของยุทธศำสตร์ท่ี 2
3. อยูใ่ นเปำ้ หมำยที่ 2 ของยทุ ธศำสตรท์ ี่ 3 4. อยู่ในเป้ำหมำยที่ 1 ของยุทธศำสตรท์ ี่ 4
ตอบขอ้ 1.
ข้อ 29.“ประเทศไทยเป็นประเทศทพ่ี ัฒนำแล้ว เศรษฐกิจเตบิ โตอย่ำงมีเสถยี รภำพและยง่ั ยนื ”
คำกล่ำวที่วำ่ นี้ ขอ้ ใดไม่ได้เป็นตัวชวี้ ัดตำมทีก่ ำหนดในยุทธศำสตรช์ ำติ 20 ปนี ้ี
1. รำยได้ประชำชำติ กำรขยำยตัวของผลติ ภัณฑ์มวลรวมภำยในประเทศ
2. ผลติ ภำพกำรผลิตของประเทศ
3. กำรพัฒนำคณุ ภำพชีวติ 4. ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ
ตอบข้อ 3.
ขอ้ 30.“คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มีคุณภำพ พร้อมสำหรับวถิ ีชีวติ ในศตวรรษท่ี 21” ตำมยุทธศำสตร์ชำตขิ ้อใดเปน็
ตวั ชีว้ ดั อันดับแรก
1. กำรพัฒนำสังคมและครอบครวั ไทย
2. กำรพัฒนำคุณภำพชวี ติ สขุ ภำวะ และควำมเป็นอย่ทู ด่ี ขี องคนไทย
3. ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรศกึ ษำและกำรเรียนรู้ตลอดชวี ิต
4. ควำมก้ำวหนำ้ ของกำรพัฒนำคน
ตอบขอ้ 2.
.......................
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 239
------------------------------------------------------------------------------
แผนการปฏริ ูปประเทศ ดา้ นการศึกษา
แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศกึ ษา
๑. ควำมเปน็ มำ
ดว้ ยรัฐธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มำตรำ ๒๕๘ จ. โดยสรปุ ไดบ้ ัญญตั ิให้มกี ำรดำเนนิ กำร
ปฏิรูปประเทศดำ้ นกำรศึกษำ ครอบคลมุ ใหเ้ ดก็ เลก็ ได้รบั กำรดูแลและพฒั นำก่อนเขำ้ รบั กำรศกึ ษำ เพือ่ ใหเ้ ดก็ เล็กไดร้ บั
กำรพัฒนำร่ำงกำย จิตใจ วนิ ัย อำรมณ์ สังคม และสติปัญญำใหส้ มกับวยั โดยไม่เก็บคำ่ ใช้จ่ำย ให้ดำเนนิ กำรตรำกฎหมำย
เพอ่ื จดั ต้งั กองทุนเพือ่ ลดควำมเหลอ่ื มล้ำทำงกำรศกึ ษำให้มีกลไกและระบบกำรผลติ คัดกรอง และพฒั นำผู้ประกอบ
วิชำชพี ครแู ละอำจำรย์ ใหไ้ ดผ้ ู้มจี ติ วิญญำณของควำมเปน็ ครู มคี วำมรู้ควำมสำมำรถอยำ่ งแท้จริง ไดร้ ับคำ่ ตอบแทนท่ี
เหมำะสมกับควำมสำมำรถและประสิทธิภำพในกำรสอน รวมท้งั มกี ลไกสรำ้ งระบบคณุ ธรรมในกำรบริหำรงำนบุคคล
ของผปู้ ระกอบวชิ ำชพี ครใู หม้ ีกำรปรบั ปรุงกำรจดั กำรเรียนกำรสอนทกุ ระดบั เพอ่ื ให้ผู้เรียนสำมำรถเรียนได้ตำมควำม
ถนดั และปรับปรงุ โครงสรำ้ งของหนว่ ยงำนที่เก่ยี วข้องเพื่อบรรลเุ ป้ำหมำยดังกล่ำว โดยสอดคลอ้ งกันท้ังในระดบั ชำติ
และระดบั พนื้ ท่ี ทัง้ นบ้ี ทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนญู ฯ มำตรำ ๒๖๑ กำหนดใหก้ ำรปฏริ ูปตำมมำตรำ ๒๕๘ จ. ด้ำน
กำรศึกษำมคี ณะกรรมกำรที่มีควำมเปน็ อสิ ระคณะหนงึ่ ที่คณะรัฐมนตรแี ต่งตงั้ ดำเนินกำรศึกษำและจัดทำขอ้ เสนอแนะ
และรำ่ งกฎหมำยทเี่ กย่ี วขอ้ งในกำรดำเนินกำรให้บรรลเุ ป้ำหมำยเพ่อื เสนอคณะรัฐมนตรีดำเนินกำรตอ่ ไป
นอกจำกน้ี กำรปฏริ ปู กำรศกึ ษำยงั เป็นส่วนหน่งึ ของกำรปฏิรูปประเทศเพือ่ สนบั สนุนกำรบรรลตุ ำมยทุ ธศำสตร์
ชำตทิ กี่ ำหนดไว้ในด้ำนต่ำง เนอ่ื งด้วยกำรศึกษำเป็นพืน้ ฐำนทส่ี ำคญั ของกำรพฒั นำประเทศดงั น้นั แผนกำรปฏริ ปู
ประเทศด้ำนกำรศึกษำจึงเปน็ องคป์ ระกอบสำคัญทจี่ ะสนับสนุนกำรดำเนนิ กำรตำมยทุ ธศำสตรช์ ำติทุกด้ำน โดยเฉพำะ
อยำ่ งยงิ่ ดำ้ นกำรพฒั นำทรัพยำกรมนุษย์ของประเทศ ดำ้ นควำมเทำ่ เทยี มและควำมเสมอภำคของสังคม และด้ำนขีด
ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน กำรพัฒนำเศรษฐกิจและกำรกระจำยรำยได้
๒. ปัญหำและควำมทำ้ ทำยท่ีสำคญั ในกำรปฏริ ูปกำรศกึ ษำ
คณะกรรมกำรอิสระเพ่ือกำรปฏิรูปกำรศกึ ษำ (กอปศ.) ได้ดำเนินกำรศกึ ษำและทบทวนผลกำรศกึ ษำวจิ ัย
ข้อเสนอเพ่ือกำรปฏิรปู กำรศึกษำของหน่วยงำนต่ำง ตลอดจนทบทวนผลลัพธแ์ ละผลสัมฤทธิข์ องกำรจดั กำรศึกษำของ
ประเทศทม่ี ีกำรทดสอบและสำรวจไวจ้ ำกแหล่งอ้ำงองิ ทั้งภำยในและภำยนอกประเทศ รวมถงึ สรปุ ข้อคดิ เห็นจำกกำร
เยี่ยมพ้นื ทแ่ี ละกำรจัดเวทีรบั ฟงั ควำมคดิ เหน็ สำธำรณะทีก่ อปศ. จัดขึ้นรว่ มกับสำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำกำรศกึ ษำกวำ่
๒๐ คร้ัง ร่วมกับขอ้ คิดเหน็ ที่ไดร้ บั ผ่ำนทำงเวบ็ ไซตข์ อง กอปศ. (www.thaiedreform.org) และสอื่ สงั คมออนไลน์ต่ำง
ทำใหส้ รุปปัญหำและควำมทำ้ ทำยของระบบกำรศึกษำของประเทศ ไดโ้ ดยย่อดังน้ี
๒.๑ ปัญหำของระบบกำรศึกษำของไทยมคี วำมซบั ซ้อนสงู และมีองคป์ ระกอบในกำรจัดกำรหลำยด้ำน ทงั้ ใน
ดำ้ นกำรเช่ือมโยงกนั ระหว่ำงภำครัฐ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ และภำคเอกชนและด้ำนกำรดำเนินกำรทเี่ กีย่ วข้องกับ
ระบบงำนของหลำยกระทรวงไม่ใชเ่ พยี งแต่กระทรวงศกึ ษำธิกำร กำรศกึ ษำมที ั้งสว่ นท่ีเป็นกำรพัฒนำเด็กเล็ก กำร
จดั กำรศกึ ษำสำหรับกำรพัฒนำผูเ้ รยี นทเี่ ป็นเด็กและเยำวชนท่ีอย่นู อกระบบกำรศึกษำ ครอบคลมุ ไปถงึ กำรเรยี นรตู้ ลอด
ชวี ิตสำหรับประชำชนวัยต่ำง เพือ่ กำรประกอบอำชีพและกำรดำรงชีวติ ที่ดี ซึง่ พบวำ่ มกี ฎหมำยเฉพำะที่เก่ียวขอ้ ง กับ
กำรศึกษำโดยตรง ทัง้ ท่ีเปน็ พระรำชบัญญัติ พระรำชกฤษฎีกำ กฎกระทรวง ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร รวมถึงกฎ
ก.ค.ศ. รวมไมน่ ้อยกวำ่ ๑๐๐ ฉบับและ มีหน่วยงำนสำคญั ของรัฐที่ไดศ้ กึ ษำและจดั ทำข้อเสนอเพ่อื ปฏริ ปู กำรศึกษำไว้
แล้วไม่นอ้ ยกว่ำ ๔ ชดุ ครอบคลุมประเดน็ ต่ำง จำนวนมำก
คู่มือสอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 240
------------------------------------------------------------------------------
๒.๒ คณุ ภำพของกำรศกึ ษำต่ำ จำกกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติขั้นพน้ื ฐำน (O-NET)(๒๕๖๑) ของ
นกั เรยี นทั่วประเทศพบวำ่ ผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรยี นอยใู่ นระดบั ต่ำมำก คะแนนเฉล่ยี ตำ่ กวำ่ รอ้ ยละ ๕๐ ทุกรำยวชิ ำ
รวมถึงผลกำรทดสอบจำกโครงกำรประเมินผลนักเรียนระดับนำนำชำติ (Programme for International Student
Assessment : PISA) ในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ พบว่ำคะแนนท่ไี ดต้ ำ่ กว่ำมำตรฐำนโลก มผี สู้ อบได้คะแนนต่ำกวำ่ ระดับ“Below
minimum” ในวชิ ำคณิตศำสตรถ์ งึ รอ้ ยละ ๕๓.๘ และในวิชำวทิ ยำศำสตร์ ร้อยละ ๔๖.๗
๒.๓ ควำมเหลอื่ มลำ้ ทำงกำรศึกษำสงู พบว่ำคะแนนเฉลย่ี กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำตขิ ้ันพน้ื ฐำน (O-
NET) ของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษำปีที่ ๖ ในโรงเรียนขนำดใหญ่มีระดับท่ีสงู กวำ่ นักเรยี นในโรงเรยี นขนำดเล็กอย่ำง
มำกในทกุ รำยวิชำ ในขณะทพี่ บวำ่ มีนักเรียนจำกโรงเรยี นวทิ ยำศำสตร์และโรงเรยี นในกล่มุ โรงเรยี นสำธิตเทำ่ น้นั ท่มี ี
คะแนนเฉลยี่ ของผลกำรทดสอบ PISA ในด้ำนวิทยำศำสตร์และคณติ ศำสตร์สูงกว่ำมำตรฐำนทรี่ ะดับ ๕๐๐ คะแนน
นักเรียนของโรงเรยี นในสังกดั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นต่ำง มคี ะแนนนอ้ ยกว่ำ ๔๐๐ คะแนน
นอกจำกน้ีกำรศกึ ษำข้อมูลเกี่ยวกับกำรประกนั คุณภำพศกึ ษำและกำรประเมินคุณภำพในแนวทำงที่ได้ดำเนินกำรผำ่ นมำ
พบว่ำไม่ประสบผลสำเร็จเท่ำทค่ี วร และยงั สรำ้ งภำระจำนวนมำกให้แก่ครูและสถำนศึกษำ
๒.๔ ปัญหำของระบบกำรศกึ ษำเป็นอปุ สรรคอยำ่ งย่ิงต่อกำรสร้ำงขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ของประเทศ
ทง้ั น้ี Global Competitiveness index ๒o๑๗ - ๒o๑๘ ไดจ้ ัดให้ประเทศไทยอยู่ในอันดับท่ี ๓๒ ในภำพรวม แต่กำรศึกษำ
ตกอยทู่ อ่ี ันดับ ๕๖ มหำวิทยำลัยของไทยไมต่ ิดอันดับใน ๒๐๐ อนั ดบั แรกในกำรจดั อันดับของ Times World University
Rankings และ QSWorld University Rankings ในปี ๒๕๖๑ ในขณะทมี่ หำวิทยำลัยของไตห้ วนั มำเลเซยี และฮ่องกง
ตดิ อนั ดบั และพัฒนำไปในทศิ ทำงทดี่ ี ยิ่งไปกวำ่ น้นั ขอ้ จำกัดต่ำง ในระบบกำรศกึ ษำของไทยยงั ทำใหก้ ำรจัดกำรศึกษำ
ไม่สำมำรถปรบั ตวั และพฒั นำตำมควำมก้ำวหน้ำของควำมรู้และเทคโนโลยีใหม่ ไดท้ ัน ไม่เอื้อต่อกำรพฒั นำผเู้ รียนไป
ตำมควำมถนัดและศักยภำพ รวมถึงไม่สำมำรถชน้ี ำผู้เรียนให้เรยี นในสำขำวชิ ำทตี่ รงกับควำมต้องกำรของประเทศ
โดยเฉพำะอำชีวศกึ ษำและอดุ มศึกษำ โดยขอ้ มูล ณ เดอื นมกรำคม พ.ศ. ๒๕๖๑ มผี ู้ว่ำงงำนรำว ๔๔๙,๐๐๐ คน โดยเป็น
ผู้จบกำรศกึ ษำระดบั อุดมศกึ ษำถึงประมำณ ๑๕๐,๐๐๐ คน
๒.๕ กำรใช้ทรพั ยำกรทำงกำรศกึ ษำยงั ไมม่ ปี ระสทิ ธิภำพ ประเทศไทยใช้งบประมำณดำ้ นกำรศกึ ษำคดิ เปน็
สัดสว่ นถึงประมำณรอ้ ยละ ๒๐ ของงบประมำณแผน่ ดินของประเทศ หรอื ประมำณร้อยละ ๔.๒ ของผลผลติ มวลรวม
ภำยในประเทศ (GDP) แต่ผลลัพธ์กำรศกึ ษำทปี่ ระเมนิ โดย PISAกลับอยูใ่ นระดับ “Poor” เมอ่ื เปรยี บเทียบกับประเทศ
อน่ื เวยี ดนำมทม่ี คี ่ำใชจ้ ำ่ ยทำงกำรศกึ ษำนอ้ ยกวำ่ ไทยครงึ่ หน่ึง แต่ผลกำรทดสอบ PISA อยู่ในระดับ “Great” ซ่ึงเปน็ ภำพ
สะทอ้ นอยำ่ งดถี ึงกำรใช้ทรพั ยำกรไม่ตรงประเด็นท่ีจะส่งผลดีต่อคุณภำพทำงกำรศึกษำ อีกทงั้ ยังขำดขอ้ มูลและ
สำรสนเทศในกำรจัดกำรที่ทันกำรณ์และมีคุณภำพเพียงพอที่จะเอ้อื ต่อกำรจดั สรรทรพั ยำกรให้มี
ประสิทธภิ ำพ ตรงประเดน็ ไม่ซำ้ ซ้อน และมคี วำมเป็นธรรม
๒.๖ กำรกำกับดแู ลและกำรบริหำรจัดกำรระบบกำรศึกษำของภำครฐั ในด้ำนธรรมำภิบำลเป็นอปุ สรรคสำคัญท่ี
บ่นั ทอนประสทิ ธิผลของกำรนำประเด็นกำรปฏิรูปกำรศึกษำสู่กำรปฏบิ ตั ใิ นชว่ งเวลำสองทศวรรษที่ผำ่ นมำ กำรจัด
โครงสรำ้ งและควำมสมั พนั ธ์ระหว่ำงหน่วยงำนตำ่ งในกระทรวงศกึ ษำธกิ ำรไมเ่ อื้อต่อกำรจดั ควำมรับผิดรับชอบตอ่ ผล
กำรดำเนนิ กำร กำรมีสว่ นรว่ มของภำคสว่ นต่ำง ในกำรจดั กำรศึกษำ รวมถึงกำรตอบสนองอย่ำงทันกำรณ์ตอ่ ควำม
ต้องกำรของตลำดกำรจ้ำงงำน กำรบรหิ ำรจัดกำรระบบกำรศึกษำมุ่งสร้ำงมำตรฐำนบนควำม “เหมือน” ทง้ั
ท่ีขอ้ เท็จจริงระบบตอ้ งกำร “คุณภำพบนควำมหลำกหลำย” กำรกระจำยอำนำจเป็นไปอยำ่ งจำกัด ทำใหส้ ถำนศึกษำของ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 241
------------------------------------------------------------------------------
รัฐตอ้ งรับภำระจำกคำสั่งเพื่อปฏบิ ัติงำนตำ่ ง จนทำใหค้ รูไม่สำมำรถใช้เวลำในหอ้ งเรียนไดเ้ ตม็ ท่ี
๒.๗ บริบทของประเทศและของโลกกำลงั เปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเรว็ ทัง้ กำรพฒั นำเศรษฐกจิ กำรเปลย่ี นแปลง
ทำงสงั คมตลอดจนนวตั กรรมของเทคโนโลยีต่ำง มีแหล่งควำมรู้ใหม่ เกิดขน้ึ อย่ำงหลำกหลำย ซึ่งเหมอื นเปน็ โอกำส
ในทำงหนง่ึ แต่ในอกี ทำงหนึ่งกำรเปล่ียนแปลงขำ้ งตน้ ส่งผลให้ประชำชนตอ้ งมคี วำมสำมำรถและสมรรถนะในกำร
เลอื กเรียนรสู้ งิ่ ใหมแ่ ละกำรปรับตวั เพือ่ กำรดำรงชวี ติ และกำรประกอบอำชีพ ระบบกำรศกึ ษำจึงต้องมงุ่ พฒั นำสมรรถนะ
ของผเู้ รียนเปิดทำงเลือกใหผ้ ู้เรียนสำมำรถพฒั นำตนเองไดเ้ ตม็ ศกั ยภำพ เชีย่ วชำญในเรื่องท่ีถนัด และ
สำมำรถเรียนรตู้ ลอดชีวิต สำมำรถดแู ลสขุ ภำวะของตนเองและครอบครัว ในขณะเดียวกบั ท่ียังคงต้องมุ่งเนน้ กำรให้มี
คณุ ธรรมและจริยธรรมเพ่อื ให้บุคคลเหล่ำน้ันเป็นคนดี รับผิดชอบต่อสงั คมและสำมำรถอยรู่ ว่ มกบั ผ้อู ื่นได้อย่ำงมี
ควำมสุข นอกจำกนี้ทิศทำงของกำรพัฒนำประเทศจำกกำรกำหนดยุทธศำสตรช์ ำตดิ ำ้ นกำรพัฒนำทรพั ยำกรมนษุ ย์ ยงั
กำหนดประเดน็ สำคัญท่เี ก่ียวข้องกบั กำรศึกษำให้ต้องมีกำรปรับเปลี่ยนค่ำนิยมและวัฒนธรรมเพ่ือสร้ำงคนดี มคี วำม
รับผิดชอบตอ่ ครอบครวั ชมุ ชน และสังคม มีกำรพฒั นำศักยภำพของคนตลอดชว่ งชวี ติ ปฏิรปู กระบวนกำรเรยี นรู้ที่
ตอบสนองต่อกำรเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ ตระหนักถึงพหุปัญญำของมนษุ ยท์ ่ีหลำกหลำย ตลอดจนสรำ้ ง
สภำพแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื ต่อกำรพฒั นำและเสริมสรำ้ งศกั ยภำพทรพั ยำกรมนษุ ยด์ ้วย
กอปศ. นำข้อสรปุ จำกปัญหำและควำมท้ำทำยของระบบกำรศกึ ษำของไทยที่ได้วิเครำะหไ์ วใ้ นข้อเสนอเพอ่ื กำร
ปฏริ ปู กำรศกึ ษำจำกหนว่ ยงำนตำ่ ง ขอ้ เสนอจำกกำรรับฟงั ควำมคิดเหน็ สำธำรณะในภูมิภำคต่ำง เวทีทำงวชิ ำกำร และ
เวบ็ ไซตข์ อง กอปศ. ตลอดจนข้อเสนอเพิม่ เติมจำกกำรรับฟังควำมคดิ เหน็ ของประชำชนเก่ียวกับร่ำงแผนกำรปฏริ ูป
ประเทศดำ้ นกำรศกึ ษำระหวำ่ งวนั ท่ี ๑๕ - ๓๑ สงิ หำคม พ.ศ. ๒๕๖๑มำประกอบกำรพจิ ำรณำปรับปรงุ แผนกำรปฏิรูป
ประเทศด้ำนกำรศึกษำ ทำให้แผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศกึ ษำน้ีประกอบดว้ ยวตั ถปุ ระสงค์ของกำรปฏิรูป ๔ ดำ้ น มี
แผนงำนเพ่ือกำรปฏิรูป ๗ เร่ือง จำแนกในรำยละเอียดเปน็ ประเด็นปฏริ ูปรวม ๒๙ ประเด็น
๓. วตั ถปุ ระสงค์ของการปฏิรูปการศึกษา มีดงั น้ี
๓.๑ ยกระดบั คุณภำพของกำรจดั กำรศึกษำ (enhance quality of education) ครอบคลุม
๓.๑.๑ ผลลพั ธ์ทำงกำรศกึ ษำและกำรเรียนรู้ (learning outcomes) ทง้ั ด้ำนควำมรู้ ทักษะเจตคตทิ ี่ถูกตอ้ ง และรู้จัก
ดูแลสุขภำพ เพ่อื กำรจดั กำรในเรื่องกำรดำรงชวี ิตของตนเองและกำรใช้ชวี ติ รว่ มกับผู้อ่ืนตำมเจตนำรมณ์ของ
รฐั ธรรมนูญมำตรำ ๕๔ วรรค ๔
๓.๑.๒ ครู อำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ ทตี่ ้องเป็นผู้มคี วำมร้คู วำมเช่ียวชำญ ครูมจี ิตวิญญำณของควำม
เป็นครู
๓.๑.๓ หลกั สูตรและกระบวนกำรจัดกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ (educational core processes)ที่ยดื หยุ่น
หลำกหลำย ถูกต้อง ทันสมยั ทนั เวลำ และม่งุ เน้นกำรสรำ้ งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคำ่ นิยมทำงสงั คมท่ีถกู ต้อง
๓.๑.๔ สถำนศกึ ษำและระบบสนบั สนุน (educational institutions and support systems) ท่ีตอบสนองตอ่ ควำม
ตอ้ งกำรของกำรจดั กำรศกึ ษำ ตลอดจนทรัพยำกรด้ำนกำรศึกษำท่ีมีคณุ ภำพ ได้แกง่ บประมำณและเทคโนโลยี
๓.๒ ลดควำมเหลือ่ มลำ้ ทำงกำรศึกษำ (reduce disparity in education) เป็นส่วนหนึ่งของกำรสร้ำงควำมเสมอภำค
ทำงกำรศกึ ษำ (equity in education) ประกอบดว้ ย
๓.๒.๑ โอกำสในกำรเขำ้ ถงึ กำรศึกษำและเทคโนโลยีทีส่ นับสนุนกำรเรยี นรู้ (equity in access)
๓.๒.๒ โอกำสในกำรได้รบั ทำงเลอื กในกำรศกึ ษำและกำรเรียนรูพ้ ัฒนำทเ่ี หมำะสมกับศักยภำพของผเู้ รยี น
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 242
------------------------------------------------------------------------------
(equity in choosing Appropriate process in education)
๓.๒.๓ โอกำสในกำรไดร้ ับประโยชน์จำกกำรเรียนรู้และกำรพฒั นำทักษะในกำรประกอบอำชีพที่เหมำะสมกบั
ศักยภำพตำมควำมถนัดของผูเ้ รียน (equity in benefiting from aptitude-based quality of education) ทั้งในและนอก
ระบบกำรศกึ ษำ รวมถึงกำรเรยี นรู้ตลอดชีวิตอย่ำงมีคณุ ภำพ
๓.๓ มงุ่ ควำมเปน็ เลศิ และสรำ้ งขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ของประเทศ (leverage excellence and
competitiveness) หมำยถงึ กำรสรำ้ งสมรรถนะและคณุ ลักษณะของผู้เรียนท่ีมศี ักยภำพสงู มคี วำมเป็นผู้นำรเิ ร่มิ
สร้ำงสรรค์นวตั กรรมใหม่ และกำรผลิตนักวจิ ยั และนกั เทคโนโลยีช้ันแนวหนำ้ ให้สำมำรถต่อยอดงำนวิจัยทส่ี ำมำรถ
ตอบโจทยก์ ำรพฒั นำประเทศ กำรสรำ้ งควำมร่วมมือและเชอื่ มตอ่ กับสถำบนั วิจยั อนื่ ทวั่ โลกสอดคล้องกับทศิ ทำงกำร
ขับเคลื่อนทำงเศรษฐกิจ สังคมและสง่ิ แวดลอ้ มของประเทศ อกี ทงั้ สถำบันกำรศึกษำของไทยและระบบกำรศึกษำไทย
ตอ้ งไดร้ บั กำรยอมรับวำ่ เทียบเคยี งได้กับประเทศชัน้ นำอนื่
๓.๔ ปรบั ปรงุ ระบบกำรศกึ ษำใหม้ ปี ระสทิ ธภิ ำพในกำรใชท้ รพั ยำกร เพม่ิ ควำมคลอ่ งตวั ในกำรรองรบั ควำม
หลำกหลำยของกำรจดั กำรศึกษำ และสรำ้ งเสรมิ ธรรมำภิบำล (improve Efficiency, agility and good governance)
โดยเฉพำะกำรส่งเสรมิ และสรำ้ งสมดลุ ของควำมคุ้มค่ำ ควำมโปร่งใสควำมรบั ผดิ ชอบ คุณธรรมและจรยิ ธรรม ทง้ั นี้
ระบบกำรศึกษำของประเทศที่มีธรรมำภบิ ำลจะเอ้ือตอ่ กำรบรรลุต่อวตั ถุประสงค์ข้อ ๑ - ๓ ข้ำงต้นอยำ่ งครอบคลมุ และ
สมดลุ (balanced and inclusive achievement)ทัง้ นี้ กำรศึกษำท่จี ะได้รบั กำรปฏริ ปู ตำมวตั ถุประสงค์ท่กี ลำ่ วถงึ ขำ้ งตน้ น้ี
จะครอบคลุมถึงกำรเรียนรู้ตลอดชวี ติ มิได้จำกัดเฉพำะกำรจดั กำรศึกษำเพ่ือคุณวฒุ ติ ำมระดับเท่ำนน้ั
๔. เรื่องและประเดน็ ปฏริ ูป
กอปศ. ไดก้ ำหนดแผนงำนเพ่ือกำรปฏริ ปู กำรศึกษำ ๗ เรื่อง เพือ่ บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของกำรปฏิรูปกำรศึกษำ
ข้ำงต้น ไวด้ ังนี้
เร่อื งท่ี ๑ : กำรปฏิรปู ระบบกำรศึกษำและกำรเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดยพระรำชบญั ญัตกิ ำรศึกษำแห่งชำติฉบับ
ใหมแ่ ละกฎหมำยลำดบั รอง มีประเด็นปฏิรูป ๕ ประเด็น ไดแ้ ก่
(๑) กำรมพี ระรำชบัญญตั ิกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. .... และมีกำรทบทวน จัดทำ แก้ไขและปรบั ปรุงกฎหมำยท่ี
เกยี่ วข้อง
(๒) กำรสร้ำงควำมร่วมมือระหว่ำงรฐั องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ และเอกชน เพื่อกำรจดั กำรศกึ ษำ
(๓) กำรขับเคลือ่ นกำรจดั กำรศึกษำเพ่ือกำรพฒั นำตนเองและกำรศกึ ษำเพ่อื กำรเรยี นรู้ตลอดชีวิตเพอ่ื รองรบั กำร
พัฒนำศักยภำพคนตลอดชว่ งชีวิต
(๔) กำรทบทวนและปรบั ปรุงแผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ
(๕) กำรจัดตงั้ สำนกั งำนคณะกรรมกำรนโยบำยกำรศึกษำแห่งชำติ
เรอ่ื งที่ ๒ : กำรปฏริ ปู กำรพฒั นำเดก็ เล็กและเด็กก่อนวัยเรียน มีประเด็นปฏริ ปู ๒ ประเด็น ได้แก่
(๑) กำรพัฒนำระบบกำรดูแล พัฒนำ และจดั กำรเรยี นรู้ เพ่ือใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ได้รับกำรพฒั นำ รำ่ งกำย จติ ใจ วนิ ยั
อำรมณ์ สงั คม และสติปญั ญำให้สมกบั วัย
(๒) กำรสอ่ื สำรสังคมเพ่ือสร้ำงควำมเขำ้ ใจในกำรพัฒนำเด็กปฐมวัย
เรอื่ งที่ ๓ : กำรปฏิรูปเพ่ือลดควำมเหล่อื มล้ำทำงกำรศกึ ษำ ประกอบดว้ ยประเดน็ ปฏิรปู ๓ ประเด็นได้แก่
(๑) กำรดำเนินกำรเพอ่ื ลดควำมเหลื่อมล้ำทำงกำรศกึ ษำ
คู่มอื สอบนกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 243
------------------------------------------------------------------------------
(๒) กำรจัดกำรศกึ ษำสำหรับบุคคลพิกำร บุคคลท่ีมคี วำมสำมำรถพิเศษ และบุคคลทีม่ ีควำมต้องกำรกำรดแู ลเปน็
พิเศษ
(๓) กำรยกระดบั คณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำในพืน้ ท่ีห่ำงไกล หรือในสถำนศึกษำที่ตอ้ งมกี ำรยกระดับคณุ ภำพอยำ่ ง
เรง่ ด่วน
เรื่องท่ี ๔ : กำรปฏริ ปู กลไกและระบบกำรผลติ คัดกรอง และพฒั นำผู้ประกอบวชิ ำชพี ครู และอำจำรย์ ประกอบด้วย
ประเดน็ ปฏริ ปู ๕ ประเดน็ ได้แก่
(๑) กำรผลติ ครู และกำรคัดกรองครู เพอ่ื ให้ได้ครทู ี่มคี ณุ ภำพตรงกบั ควำมตอ้ งกำรของประเทศ และมีจติ วญิ ญำณ
ของควำมเป็นครู
(๒) กำรพฒั นำวชิ ำชีพครู
(๓) เสน้ ทำงวชิ ำชีพครู เพือ่ ให้ครมู คี วำมกำ้ วหนำ้ ได้รับคำ่ ตอบแทนและสวัสดกิ ำรทเ่ี หมำะสม
(๔) กำรพัฒนำผูบ้ ริหำรสถำนศกึ ษำ เพอื่ ยกระดบั คุณภำพกำรจดั กำรศึกษำในสถำนศึกษำ
(๕) องค์กรวิชำชีพครู และกำรปรบั ปรงุ กฎหมำยท่เี กยี่ วขอ้ ง
เร่ืองที่ ๕ : กำรปฏริ ปู กำรจัดกำรเรยี นกำรสอนเพอ่ื ตอบสนองกำรเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ประกอบด้วยประเด็น
ปฏริ ปู ๘ ประเดน็ ไดแ้ ก่
(๑) กำรปรบั หลักสูตร พรอ้ มกระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน และกำรประเมินเพ่ือพฒั นำกำรเรยี นรู้ เปน็
หลกั สตู รฐำนสมรรถนะ
(๒) กำรจัดกำรศึกษำเพ่ือเสริมสร้ำงคุณธรรมและจริยธรรม
(๓) กำรประเมนิ คุณภำพกำรจัดกำรศึกษำระดับชำติและระบบคัดเลอื กเข้ำศกึ ษำตอ่
(๔) กำรพัฒนำคณุ ภำพระบบกำรศึกษำ
(๕) ระบบควำมปลอดภัย และระบบสวสั ดภิ ำพของผู้เรยี น
(๖) กำรปฏิรปู อำชีวศึกษำ เพื่อสรำ้ งขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ของประเทศ
(๗) กำรปฏิรูปอุดมศกึ ษำเพอ่ื ยกระดบั คุณภำพ เพ่ิมขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันประสิทธภิ ำพและธรรมำภิ
บำลของระบบอุดมศึกษำ
(๘) กำรจดั ตงั้ สถำบันหลกั สตู รและกำรเรียนรู้แหง่ ชำติ(National Institute of Curriculumand Learning)
เรื่องที่ ๖ : กำรปรบั โครงสรำ้ งของหนว่ ยงำนในระบบกำรศึกษำ เพ่อื บรรลเุ ป้ำหมำยใน กำรปรบั ปรงุ กำรจัดกำรเรยี นกำร
สอน และยกระดับคุณภำพของกำรจดั กำรศึกษำ
ประกอบด้วยประเดน็ ปฏริ ูป ๓ ประเดน็ ไดแ้ ก่
(๑) สถำนศกึ ษำมคี วำมเป็นอสิ ระในกำรบริหำรและจดั กำรศึกษำ
(๒) พื้นทน่ี วตั กรรมกำรศกึ ษำ
(๓) กำรปรับปรุงโครงสรำ้ งของกระทรวงศกึ ษำธิกำร
เรื่องท่ี ๗ : กำรปฏริ ูปกำรศึกษำและกำรเรยี นรโู้ ดยกำรพลกิ โฉมด้วยระบบดิจทิ ัล (Digitalization for Educational and
Learning Reform) ประกอบด้วยประเดน็ ปฏิรปู ๓ ประเด็นไดแ้ ก่
(๑) กำรปฏริ ูปกำรเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่ำนแพลตฟอรม์ กำรเรยี นรู้ดว้ ยดิจิทัลแห่งชำติ (Digital Learning Reform:
National Digital Learning Platform (NDLP))