The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khunyingpong, 2021-06-03 04:14:08

math plan 1-64

math plan 1-64

145

๑๓. การบูรณาการการจดั การเรียนรู้

 บรู ณาการกระบวนการคิด

 การคิดวเิ คราะห์  การคดิ เปรยี บเทยี บ  การคดิ สังเคราะห์

 การคิดวิพากษ์  การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ  การคดิ ประยุกต์

 การคิดเชงิ มโนทัศน์  การคิดเชิงกลยทุ ธ์  การคิดแกป้ ญั หา

 การคดิ บรู ณาการ  การคิดสรา้ งสรรค์  การคดิ อนาคต

 บูรณาการอาเซียน

 บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 บรู ณาการกับหลักสตู รต้านทจุ ริตศึกษา

 บรู ณาการกับการจัดการเรยี นรู้ STEM EDUCATION

 บรู ณาการกับการจดั การเรยี นรู้ Active Learning

 บรู ณาการกับกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ

 บูรณาการกบั โครงการการจัดการศึกษาเพือ่ การมีงานทำในศตวรรษท่ี ๒๑

 บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ืน่ ๆ

1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้แก่ …………………………………

2. กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ได้แก่ คำศัพทภ์ าษาอังกฤษที่เก่ยี วขอ้ งในบทเรยี น

3. กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ……………………………….

4. กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ได้แก่ …………………………………

 บรู ณาการในลักษณะอื่นๆ ไดแ้ ก่........................................................

๑๔. กิจกรรมเสนอแนะ

ควรใหน้ กั เรยี นศึกษาหาความรูจ้ ากตำราเรยี น และแหลง่ การเรียนรอู้ ื่น ๆ เพิม่ เติม เพ่ือเป็นการ
เพิ่มพนู ทกั ษะการเรียนรู้

146

บันทกึ ผลหลงั การสอน/แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑๔

กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณติ ศาสตร์เพิ่มศักยภาพ ๕
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓/๑๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เซต เวลา ๒๐ ช่วั โมง
เรอ่ื ง การหาผลการดำเนนิ การของเซตต้ังแตส่ องเซตขน้ึ ไป (๒) เวลา ๕๐ นาที

๑. สรุปผลการเรยี นการสอน

๑.๑ นักเรยี นท้ังหมดจำนวน................................คน

จุดประสงค์การเรียนรูข้ ้อท่ี นักเรียนท่ผี า่ น นกั เรียนไมผ่ า่ น
จำนวน(คน) รอ้ ยละ จำนวน(คน) ร้อยละ

1) หาเซตที่เกดิ จากผลการดำเนนิ การ

ของเซตตงั้ แต่สองเซตขน้ึ ไปได้

2) เขยี นเซตทเี่ กดิ จากผลการดำเนนิ

การของเซตตั้งแตส่ องเซตขนึ้ ไปได้

3) เขยี นแผนภาพแทนเซตทเี่ กดิ จากผล

การดำเนินการของเซตตงั้ แต่สองเซต

ข้ึนไปได้

4)รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ที ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

รายช่อื นักเรยี นที่ไม่ผ่านจุดประสงคข์ ้อท่ี.............ได้แก่
............................................................................................................................. ...................
............................................................................................................................. ...................

รายชื่อนกั เรยี นที่ไมผ่ ่านจุดประสงคข์ ้อที่.............ได้แก่
................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................

นักเรียนทมี่ ีความสามารถพเิ ศษ/นักเรยี นพิการได้แก่
๑) ........................................................................................................................... ...............
๒) ..........................................................................................................................................

๑.๒ นักเรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจ
- มีความคดิ รวบยอดในเรอื่ ง เซต : การหาผลการดำเนินการของเซตต้ังแต่สองเซตขนึ้ ไป

๑.๓ นกั เรยี นมคี วามรู้เกดิ ทักษะ
ทกั ษะด้านการอ่าน(Reading) ทักษะดา้ นการเขยี น (Writing) ทักษะดา้ นการคดิ คำนวณ

(Arithmetics) การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ัญหา ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และ
นวัตกรรม ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ ทกั ษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และ
รเู้ ทา่ ทันสื่อ ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร

๑.๔ นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านยิ ม ๑๒ ประการ คุณธรรมจริยธรรม
- ใฝ่หาความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเลา่ เรยี นทั้งทางตรงและทางอ้อม
- มีศีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวงั ดตี ่อผอู้ ่นื เผือ่ แผแ่ ละแบ่งปัน

147

๒. ปญั หา/อุปสรรค /แนวทางแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................................... .......
........................................................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
.............................................................................................................. ................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................. .................................

๓. ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื ....................................................
(นางสาวพงษ์ลดา สนิ สุวรรณ์)

ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ

ลงชือ่ ……………………………………………………
(นางสาวกนกพร รัตนะอุดม)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
…….……./……………/…………..

148

ความเห็นของหวั หน้าสถานศกึ ษา / ผทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรียนรขู้ องนางสาวพงษ์ลดา สินสุวรรณ์ ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ
แลว้ มคี วามคดิ เหน็ ดังน้ี

1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง

2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยงั ไม่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ที่
 นำไปใชไ้ ดจ้ ริง
 ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................

ลงชื่อ...................................................................
( นางสาวกนกพร รัตนะอุดม)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
…….……./……………/…………..

149

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑๕

กลุม่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ รายวิชา ค 23203 คณิตศาสตร์เพิ่มศกั ยภาพ 5
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3/11 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง เซต เวลา 20 ช่ัวโมง
เรอ่ื ง จำนวนสมาชิกของเซตจำกดั เวลา ๕๐ นาที

๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด

มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของจำนวน
ตัวชวี้ ดั ค ๑.1 ม.4/๑ เขา้ ใจและใชค้ วามรู้เก่ียวกบั เซตและตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น ในการส่ือสาร

และส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร์

๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้

นกั เรยี นสามารถ
1) หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัดท่กี ำหนดให้ได้ (K)
2) นำความรู้เร่อื งสมาชิกของเซตจำกดั ไปใชใ้ นการแก้โจทย์ปญั หาได้ (K)
3) ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ได้ (P)
4) ใชภ้ าษาและสัญลักษณท์ างคณิตศาสตร์ ในการสอื่ สาร สื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถกู ต้อง (P)
5) รบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ีทไี่ ด้รบั มอบหมาย (A)

๓. สาระสำคญั

ถา้ A, B และ C เป็นเซตจำกัดใด ๆ แลว้ จะไดว้ า่ n(A  B) = n(A) + n(B) - n(A  B) และ

n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A  B) - n(A  C) - n(B  C)+ n(A  B  C)

๔. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน

 ความสามารถในการสอื่ สาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

150

๕. สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)

- หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ที่กำหนดให้ได้

- นำความรูเ้ ร่อื งสมาชิกของเซตจำกดั ไปใช้ในการแกโ้ จทยป์ ัญหาได้

- ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัดได้

- ใชภ้ าษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์ ในการสอ่ื สาร สื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถกู ต้อง

ทกั ษะท่ีสำคัญ (P)

- การแกป้ ญั หา.

- การสอ่ื สารและการสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์

- การเชอื่ มโยง

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ซ่อื สตั ย์สจุ รติ

 มีวินยั  ใฝ่เรยี นรู้

 อยูอ่ ย่างพอเพยี ง  มุ่งม่นั ในการทำงาน

 รักความเปน็ ไทย  มจี ติ สาธารณะ

๖. จุดเน้นสกู่ ารพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนทกั ษะศตวรรษท่ี ๒๑

การเรยี นรู้ 3R x 8C

 Reading (อา่ นออก)  (W)Riting(เขยี นได้)  (A)Rithemetics(คดิ เลขเปน็ )

 Critical Thinking and Problem Solving:มีทักษะในการคิดวเิ คราะห์ และแก้ไขปัญหาได้

 Creativity and Innovation:คิดอย่างสร้างสรรค์ คดิ เชงิ นวัตกรรม

 Collaboration Teamwork and Leadership:ให้ความร่วมมอื ในการทำงานเปน็ ทีมมีภาวะผนู้ ำ

 Communication Information and Media Literacy:มีทักษะในการสื่อสาร และรู้เทา่ ทนั สือ่

 Cross-Cultural Understanding:มคี วามเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม

 Computing and ICT Literacy:มีทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์ และรเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยี

 Career and Learning Skills:มีทกั ษะทางอาชีพ และกระบวนการเรยี นรูต้ ่างๆ

 Compassion:มคี ุณธรรม มเี มตตากรุณา มีระเบียบวนิ ยั

ทักษะดา้ นชีวิตและอาชพี

 ความยดื หยนุ่ และการปรับตัว

 การรเิ ร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละเป็นตัวของตวั เอง

 ทักษะสงั คมและสังคมข้ามวฒั นธรรม

 การเป็นผ้สู รา้ งหรือผผู้ ลติ (Productivity) และความรับผดิ ชอบเชื่อถือได้ (Accountability)

 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Responsibility)

คณุ ลกั ษณะสำหรบั ศตวรรษท่ี ๒๑

 คุณลกั ษณะดา้ นการทำงาน ไดแ้ ก่ การปรบั ตัว ความเป็นผนู้ ำ

 คณุ ลักษณะดา้ นการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การชน้ี ำตนเอง การตรวจสอบการเรยี นรู้ของตนเอง

 คุณลกั ษณะด้านศลี ธรรม ไดแ้ ก่ ความเคารพผูอ้ ื่น ความซือ่ สตั ย์ ความสำนึกพลเมือง

151

๗. จุดเน้นของสถานศึกษา

๗.๑ ผู้เรยี นเปน็ กลุ สตรีไทยสมัยนยิ ม (SSTB School's 4G)

 มคี ณุ ธรรม (Good Moral)  นำปญั ญา (Good Wisdom)

 จิตอาสาเดน่ (Good Service)  เนน้ มารยาท (Good Manners)

๗.๒ ผูเ้ รียนมศี ักยภาพเปน็ พลโลก (World Citizen) เทียบเคยี งมาตรฐานสากล

 เป็นเลศิ วชิ าการ  สื่อสารได้อยา่ งนอ้ ย 2 ภาษา

 ล้ำหน้าทางความคดิ  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์

 รว่ มกนั รับผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก

๘. ชน้ิ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน /ร่องรอยแสดงความรู้)

- การทำแบบฝึกหดั ในหนังสือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน คณติ ศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ,
เอกสารประกอบการเรียน, ใบความรู,้ ใบกจิ กรรม , ใบงาน , แบบฝึกปฏบิ ตั กิ ิจกรรม , แบบฝกึ ทักษะ
พฒั นาการเรยี นรู้ , แบบทดสอบหนว่ ยการเรยี นรู้ แบบสังเกตพฤตกิ รรมทางการเรยี นการสอน , แบบสังเกต
พฤติกรรมการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุม่ , แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

๙. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

เลือกใช้รูปแบบการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : Concept Based Teaching เพื่อให้เกิด
การเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) โดยใช้วิธีการสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) และ
นิรนัย (Deductive Method) ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนที่นำพาผู้เรียน เพื่อให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ
มีทกั ษะ และเกดิ ความคิดรวบยอด ผลของการจดั การเรียนการสอนในลกั ษณะนี้ จะทำให้ผูเ้ รยี นได้ความรู้ และ
มีทักษะในการค้นหาความคิดรวบยอด ซ่งึ จะเปน็ ทักษะสำคัญทต่ี ดิ ตวั ผ้เู รียนไปตลอดชีวิต

ในหัวข้อนี้เป็นเรื่องของจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมาชิกของเซต
จำกัด แผนภาพและสูตรในการหาจำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัด โดยแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาจทำ
ได้ดงั นี้

152

ขน้ั การนำเข้าสู่บทเรียน

ขัน้ การใช้ความรเู้ ดมิ เช่ือมโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge)
ครกู ระตนุ้ ให้นกั เรยี นสนใจโดยการทบทวนเร่ืองจำนวนสมาชกิ และเซตชนิดต่าง ๆ จากคลิปวีดโี อ
https://www.youtube.com/watch?v=eTV--wOyAJQ

ขัน้ เรยี นรู้

ข้นั รู้ (Knowing)
๑. ครใู ห้นักเรยี นชว่ ยกนั ตอบคำถามจาก Investigation ในหนงั สือเรยี นหน้า 33 ดังนี้

• จากแผนภาพ n(A) เท่ากบั เท่าใด
(แนวตอบ 4)

• จากแผนภาพ n(B) เทา่ กับเท่าใด
(แนวตอบ 5)

• จากแผนภาพ n(A B) เท่ากบั เทา่ ใด
(แนวตอบ 7)

• จากแผนภาพ n(A B) เทา่ กบั เท่าใด
(แนวตอบ 2)

• หาสมการแสดงความสมั พันธ์ของ n(A), n(B), n(A B) และ n(A B) ได้อย่างไร
(แนวตอบ n(A  B) = n(A) + n(B) - n(A  B) )

๒. ครอู ธิบายเพิ่มเติมถึงกรณที เ่ี ซต A และเซต B ไม่มีสมาชิกร่วมกัน พรอ้ มท้ังเขยี นแผนภาพและสมการ
แสดงความสมั พนั ธ์ของ n(A), n(B), n(A B) และ n(A B) จากหนงั สือเรียนหนา้ 34 แลว้
ยกตวั อย่างเซตประกอบ

ขน้ั เขา้ ใจ (Understanding)
ใหน้ กั เรียนทำใบงานที่ 1.13 เรอื่ ง การหาจำนวนสมาชิกของเซต เมอื่ นักเรียนทำเสรจ็ แล้วให้ร่วมกนั เฉลย

คำตอบโดยครูตรวจสอบความถูกต้อง

ข้นั รู้ (Knowing)
๑. ครใู หน้ กั เรยี นจับคู่ทำกิจกรรมโดยใช้เทคนคิ คู่คดิ (Think Pair Share) ดังน้ี
• ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะคนคิดคำตอบของตนเองก่อนจาก Class Discussion ในหนังสือเรยี นหน้า 34
• ให้นกั เรียนจับค่เู พอื่ แลกเปลยี่ นคำตอบกนั สนทนาซักถามซึ่งกันและกนั จนเป็นทเ่ี ข้าใจรว่ มกัน

153

• ครสู มุ่ ถามนักเรียน แลว้ ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายคำตอบ ดังน้ี
- จากข้อมูลที่กำหนดเขยี นแผนภาพแทนเซต A, เซต B และเซต C ได้อย่างไร
(แนวตอบ

A BU

1 23 9
4 6 12

18 24

C

- หาสมการแสดงความสมั พันธ์ของ n(A), n(B), n(C), n(A  BC) , n(A  B), n(A  C) ,
n(BC) และ n(A  BC) ได้อย่างไร
(แนวตอบ

n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A  B) - n(A  C) - n(B  C)+ n(A  B  C) )

๒. ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมถึงกรณีท่เี ซต A, เซต B และเซต C ไม่มีสมาชกิ ร่วมกัน พรอ้ มท้งั เขียนแผนภาพและ
สมการแสดงความสมั พันธ์ของ n(A), n(B), n(C), n(A  BC) , n(A  B), n(A  C) ,
n(BC) และ n(A  BC) จากหนงั สือเรยี นหนา้ 35 แล้วยกตัวอย่างเซตประกอบ

ข้นั เข้าใจ (Understanding)
ครใู ห้นกั เรยี น Exercise 1.4 ข้อ 1-2 ในหนงั สือแบบฝึกหัด เป็นการบ้าน

ข้นั สรปุ / ขน้ั นำไปใช้

๑. ครูใหน้ ักเรียนสรุปข้อค้นพบเป็นความคดิ รวบยอดทไ่ี ดจ้ ากการทำกจิ กรรม และศึกษาคน้ คว้าเพิ่มเติมนอกเวลา
จากแหลง่ การเรยี นรู้ที่ครแู นะนำ หรอื จากแหลง่ การเรียนรู้ออนไลน์

๒. ครูให้นักเรียนนำเสนอแนวทางการนำข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ และให้
นกั เรียนฝกึ ทักษะด้วยการทำแบบฝึกหดั เพ่ิมเติมจากเอกสารประกอบการเรยี น ใบงาน หรือสอ่ื การเรียนรู้อ่ืนๆ
ตามทค่ี รมู อบหมาย

154

๑๐. ส่ือการเรยี นรู้

- หนงั สือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ม.4
- เอกสารประกอบการเรียน, ใบกจิ กรรม, ใบงาน, แบบฝึกหดั
- ใบงาน (จาก DLTV : Distance Learning Television)
- ส่อื การเรียนรูอ้ นื่ ๆ เช่น จาก DLIT (หอ้ งเรียน DLIT, คลังส่อื การเรยี นรู,้ ห้องสมุดดจิ ทิ ัล ฯลฯ) ,

Youtube , Google Sites , Google Classroom เปน็ ต้น

๑๑. แหลง่ เรยี นรู้ในหรือนอกสถานสถานศึกษา

- ศูนยค์ ณติ ศาสตร์
- หอ้ งสมดุ โรงเรียน
- DLTV (Distance Learning Television)
- DLIT (Distance Learning Information Technology)

- ข้อมูลจากแหล่งเรยี นรอู้ ื่นๆ เช่น Website , Youtube , Google Sites , Google Classroom,

Social Media ฯลฯ

๑๒. การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้

รายการวดั วธิ ีการวัดผล เครือ่ งมือการวัด เกณฑ์การวัดและ
และประเมนิ ประเมินผล

1) หาจำนวนสมาชกิ ของเซต ๑. ตรวจใบงาน/ ๑. แบบบนั ทกึ ๑. ผลการตรวจผลงาน

จำกัดท่กี ำหนดให้ได้ แบบฝกึ หัด ของ การประเมินผลงาน ผ่านรอ้ ยละ 70

2) นำความรเู้ รื่องสมาชิกของ นักเรียน นักเรยี นโดยใชเ้ กณฑ์ ๒. ผลการนำเสนอ

เซตจำกัดไปใช้ในการแก้โจทย์ ๒. ประเมินการ การประเมินแบบรูบริกส์ ผลงาน

ปญั หาได้ นำเสนอผลงาน ๒. แบบประเมินการนำเสนอ ผ่านรอ้ ยละ 70

3) ใชแ้ ผนภาพและสูตรในการ ๓. สังเกต ผลงานโดยใชเ้ กณฑ์ ๓. ผลการสังเกต

หาจำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัด พฤติกรรมการ การประเมนิ แบบรูบริกส์ พฤตกิ รรม

ได้ ทำงาน ๓. แบบสงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบคุ คล

4) ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณท์ าง รายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล ผา่ นรอ้ ยละ 70

คณิตศาสตร์ ในการสื่อสาร ส่ือ ๔. สังเกต ๔. แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๔. ผลการสังเกต

ความหมาย และการนำเสนอได้ พฤติกรรมการ การทำงานรายกลมุ่ พฤติกรรม

อยา่ งถูกต้อง ทำงานรายกลุ่ม ๕. แบบประเมนิ คุณลักษณะ การทำงานรายกลุ่ม

5) รบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ีท่ไี ดร้ บั ๕. คณุ ลักษณะ อันพงึ ประสงค์ ผา่ นรอ้ ยละ 70

มอบหมาย อนั พงึ ประสงค์ ๕. ผลการสงั เกต

คณุ ลกั ษณะอันพึง

ประสงค์

ผ่านรอ้ ยละ 70

155

๑๓. การบูรณาการการจดั การเรยี นรู้

 บรู ณาการกระบวนการคิด

 การคิดวเิ คราะห์  การคดิ เปรยี บเทยี บ  การคดิ สังเคราะห์

 การคิดวิพากษ์  การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ  การคดิ ประยุกต์

 การคิดเชงิ มโนทัศน์  การคิดเชิงกลยทุ ธ์  การคิดแกป้ ญั หา

 การคดิ บรู ณาการ  การคิดสรา้ งสรรค์  การคดิ อนาคต

 บูรณาการอาเซยี น

 บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 บรู ณาการกบั หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษา

 บรู ณาการกับการจัดการเรยี นรู้ STEM EDUCATION

 บรู ณาการกบั การจดั การเรยี นรู้ Active Learning

 บรู ณาการกบั กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ

 บูรณาการกบั โครงการการจัดการศึกษาเพือ่ การมีงานทำในศตวรรษท่ี ๒๑

 บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ืน่ ๆ

1 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้แก่ …………………………………

2. กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ได้แก่ คำศัพทภ์ าษาอังกฤษที่เก่ยี วขอ้ งในบทเรยี น

3. กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ได้แก่ ……………………………….

4. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ได้แก่ …………………………………

 บรู ณาการในลกั ษณะอื่นๆ ไดแ้ ก่........................................................

๑๔. กิจกรรมเสนอแนะ

ควรใหน้ ักเรยี นศึกษาหาความรูจ้ ากตำราเรยี น และแหลง่ การเรียนรอู้ ื่น ๆ เพิม่ เติม เพ่ือเป็นการ
เพิ่มพนู ทกั ษะการเรียนรู้

156

บนั ทึกผลหลงั การสอน/แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๕

กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์เพม่ิ ศักยภาพ ๕
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓/๑๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เซต เวลา ๒๐ ชัว่ โมง
เรอื่ ง จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด เวลา ๕๐ นาที

๑. สรุปผลการเรียนการสอน

๑.๑ นกั เรยี นทงั้ หมดจำนวน................................คน

จดุ ประสงค์การเรยี นรขู้ ้อท่ี นักเรยี นท่ผี า่ น นกั เรียนไมผ่ า่ น
จำนวน(คน) รอ้ ยละ จำนวน(คน) ร้อยละ

1) หาจำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัดท่ี

กำหนดใหไ้ ด้

2) นำความรู้เร่อื งสมาชิกของเซตจำกดั ไป

ใช้ในการแกโ้ จทย์ปญั หาได้

3) ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวน

สมาชิกของเซตจำกดั ได้

4) ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง

คณิตศาสตร์ ในการส่อื สาร ส่ือความหมาย

และการนำเสนอได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

๕)รบั ผิดชอบตอ่ หน้าท่ีทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

รายชื่อนักเรยี นทไี่ มผ่ ่านจุดประสงค์ขอ้ ท่ี.............ไดแ้ ก่
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

รายชื่อนกั เรียนทไี่ มผ่ า่ นจดุ ประสงคข์ ้อที่.............ได้แก่
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

นกั เรยี นท่มี คี วามสามารถพิเศษ/นกั เรยี นพกิ ารไดแ้ ก่
๑) ..........................................................................................................................................
๒) ..........................................................................................................................................

๑.๒ นกั เรียนมคี วามร้คู วามเข้าใจ
- มีความคิดรวบยอดในเรือ่ ง เซต : จำนวนสมาชกิ ของเซตจำกดั

๑.๓ นักเรยี นมคี วามรู้เกดิ ทักษะ
ทักษะดา้ นการอา่ น(Reading) ทกั ษะดา้ นการเขยี น (Writing) ทักษะดา้ นการคดิ คำนวณ

(Arithmetics) การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ัญหา ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ ทกั ษะด้านการสอื่ สารสารสนเทศ และรูเ้ ทา่ ทันส่ือ ทกั ษะ
ดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร

๑.๔ นกั เรียนมีเจตคติ ค่านยิ ม ๑๒ ประการ คุณธรรมจรยิ ธรรม
- ใฝห่ าความรู้ หมนั่ ศกึ ษาเล่าเรยี นท้งั ทางตรงและทางอ้อม
- มีศลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวงั ดีต่อผ้อู นื่ เผ่ือแผ่และแบ่งปนั

157

๒. ปัญหา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................................... .......
........................................................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................

๓. ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................. .................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอื่ ....................................................
(นางสาวพงษ์ลดา สินสวุ รรณ์)

ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ

ลงชอื่ ……………………………………………………
(นางสาวกนกพร รตั นะอุดม)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
…….……./……………/…………..

158

ความเห็นของหวั หน้าสถานศกึ ษา / ผ้ทู ี่ไดร้ ับมอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ของนางสาวพงษ์ลดา สนิ สุวรรณ์ ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ
แลว้ มคี วามคดิ เหน็ ดังน้ี

1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง

2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไม่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป

3. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ที่
 นำไปใชไ้ ดจ้ ริง
 ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
.................................................................................................................... ............................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ...................................................................
( นางสาวกนกพร รตั นะอุดม)

หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
…….……./……………/…………..

159

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๖

กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ รายวิชา ค 23203 คณติ ศาสตร์เพิ่มศกั ยภาพ 5
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3/11 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง เซต เวลา 20 ชั่วโมง
เรอ่ื ง จำนวนสมาชิกของเซตจำกดั (๒) เวลา ๕๐ นาที

๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน
ตัวชีว้ ดั ค ๑.1 ม.4/๑ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกบั เซตและตรรกศาสตรเ์ บื้องตน้ ในการส่อื สาร

และส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์

๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

นกั เรียนสามารถ
1) หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัดทีก่ ำหนดให้ได้ (K)
2) นำความรเู้ รือ่ งสมาชกิ ของเซตจำกัดไปใชใ้ นการแก้โจทยป์ ญั หาได้ (K)
3) ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ได้ (P)
4) ใชภ้ าษาและสญั ลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ในการสือ่ สาร สอ่ื ความหมาย และการนำเสนอได้อยา่ งถกู ต้อง (P)
5) รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ีทไี่ ด้รบั มอบหมาย (A)

๓. สาระสำคัญ

ถ้า A, B และ C เปน็ เซตจำกัดใด ๆ แล้ว จะได้วา่ n(A  B) = n(A) + n(B) - n(A  B) และ

n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A  B) - n(A  C) - n(B  C)+ n(A  B  C)

๔. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น

 ความสามารถในการส่ือสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

160

๕. สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)

- หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ที่กำหนดให้ได้

- นำความรูเ้ ร่อื งสมาชิกของเซตจำกดั ไปใช้ในการแกโ้ จทยป์ ัญหาได้

- ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัดได้

- ใชภ้ าษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์ ในการสอ่ื สาร สื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถกู ต้อง

ทกั ษะท่ีสำคัญ (P)

- การแกป้ ญั หา.

- การสอ่ื สารและการสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์

- การเชอื่ มโยง

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ซ่อื สตั ย์สจุ รติ

 มีวินยั  ใฝ่เรยี นรู้

 อยูอ่ ย่างพอเพยี ง  มุ่งม่นั ในการทำงาน

 รักความเปน็ ไทย  มจี ติ สาธารณะ

๖. จุดเน้นสกู่ ารพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนทกั ษะศตวรรษท่ี ๒๑

การเรยี นรู้ 3R x 8C

 Reading (อา่ นออก)  (W)Riting(เขยี นได้)  (A)Rithemetics(คดิ เลขเปน็ )

 Critical Thinking and Problem Solving:มีทักษะในการคิดวเิ คราะห์ และแก้ไขปัญหาได้

 Creativity and Innovation:คิดอย่างสร้างสรรค์ คดิ เชงิ นวัตกรรม

 Collaboration Teamwork and Leadership:ให้ความร่วมมอื ในการทำงานเปน็ ทีมมีภาวะผนู้ ำ

 Communication Information and Media Literacy:มีทักษะในการสื่อสาร และรู้เทา่ ทนั สือ่

 Cross-Cultural Understanding:มคี วามเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม

 Computing and ICT Literacy:มีทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์ และรเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยี

 Career and Learning Skills:มีทกั ษะทางอาชีพ และกระบวนการเรยี นรูต้ ่างๆ

 Compassion:มคี ุณธรรม มเี มตตากรุณา มีระเบียบวนิ ยั

ทักษะดา้ นชีวิตและอาชพี

 ความยดื หยนุ่ และการปรับตัว

 การรเิ ร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละเป็นตัวของตวั เอง

 ทักษะสงั คมและสังคมข้ามวฒั นธรรม

 การเป็นผ้สู รา้ งหรือผผู้ ลติ (Productivity) และความรับผดิ ชอบเชื่อถือได้ (Accountability)

 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Responsibility)

คณุ ลกั ษณะสำหรบั ศตวรรษท่ี ๒๑

 คุณลกั ษณะดา้ นการทำงาน ไดแ้ ก่ การปรบั ตัว ความเป็นผนู้ ำ

 คณุ ลักษณะดา้ นการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การชน้ี ำตนเอง การตรวจสอบการเรยี นรู้ของตนเอง

 คุณลกั ษณะด้านศลี ธรรม ไดแ้ ก่ ความเคารพผูอ้ ื่น ความซือ่ สตั ย์ ความสำนึกพลเมือง

161

๗. จุดเน้นของสถานศึกษา

๗.๑ ผู้เรยี นเปน็ กลุ สตรีไทยสมัยนยิ ม (SSTB School's 4G)

 มคี ณุ ธรรม (Good Moral)  นำปญั ญา (Good Wisdom)

 จิตอาสาเดน่ (Good Service)  เนน้ มารยาท (Good Manners)

๗.๒ ผูเ้ รียนมศี ักยภาพเปน็ พลโลก (World Citizen) เทียบเคยี งมาตรฐานสากล

 เป็นเลศิ วชิ าการ  สื่อสารได้อยา่ งนอ้ ย 2 ภาษา

 ล้ำหน้าทางความคดิ  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์

 รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก

๘. ชน้ิ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน /ร่องรอยแสดงความรู้)

- การทำแบบฝึกหดั ในหนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ,
เอกสารประกอบการเรียน, ใบความรู,้ ใบกจิ กรรม , ใบงาน , แบบฝึกปฏบิ ตั กิ ิจกรรม , แบบฝกึ ทักษะ
พฒั นาการเรยี นรู้ , แบบทดสอบหนว่ ยการเรยี นรู้ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมทางการเรยี นการสอน , แบบสังเกต
พฤติกรรมการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุม่ , แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

๙. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

เลือกใช้รูปแบบการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : Concept Based Teaching เพื่อให้เกิด
การเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) โดยใช้วิธีการสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) และ
นิรนัย (Deductive Method) ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนที่นำพาผู้เรียน เพื่อให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ
มีทกั ษะ และเกดิ ความคิดรวบยอด ผลของการจดั การเรียนการสอนในลกั ษณะนี้ จะทำให้ผูเ้ รยี นได้ความรู้ และ
มีทักษะในการค้นหาความคิดรวบยอด ซ่งึ จะเปน็ ทกั ษะสำคัญทต่ี ดิ ตวั ผ้เู รียนไปตลอดชีวิต

ในหัวข้อนี้เป็นเรื่องของจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมาชิกของเซต
จำกัด แผนภาพและสูตรในการหาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด โดยแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาจทำ
ได้ดงั นี้

162

ข้นั การนำเขา้ สู่บทเรยี น
ขน้ั การใช้ความร้เู ดิมเช่ือมโยงความรใู้ หม่ (Prior Knowledge)

ครทู บทวนความรู้เร่ือง จำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัดให้นักเรยี นถาม-ตอบ

ขัน้ เรยี นรู้

ขน้ั รู้ (Knowing)
๑. ครกู ล่าวทบทวนสมการแสดงความสมั พนั ธ์ของเซต A และเซต B โดยยกตัวอย่าง ดงั นี้
กำหนด A = {x | x เปน็ จำนวนคบู่ วกทนี่ ้อยกว่า 10}
และ B = {x | x เป็นจำนวนเฉพาะบวกทีน่ ้อยกวา่ 11}
ใหน้ ักเรยี นเขยี นแผนภาพแทนเซต A และเซต B พร้อมหาสมการแสดงความสัมพนั ธข์ อง n(A), n(B),
n(A B) และ n(A B)
(แนวตอบ A = {2, 4, 6, 8} และ B = {2, 3, 5, 7} เขียนแผนภาพแทนเซต A และเซต B ได้ ดังนี้

A BU

46 2 35
8 7

จากแผนภาพ จะไดว้ ่า n(A) = 4, n(B) = 4, n(A B) = 7 และ n(A B) = 1

จะเห็นวา่ 7 = 4+4–1

ดังนั้น n(A B) = n(A) + n(B) – n(A B) )

๒. ครกู ลา่ วทบทวนเพม่ิ เตมิ ถงึ สมการแสดงความสัมพันธ์ของเซต A, เซต B และเซต C ดงั น้ี

n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A  B) - n(A  C) - n(B  C)+ n(A  B  C)

๓. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยคำตอบของ Exercise 1.4 ขอ้ 1-2

๔. ครใู ห้นกั เรยี นศึกษาตัวอย่างท่ี 17-18 ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 36-37

๕. ครสู ่มุ นกั เรยี น 2 คน มาอธบิ ายวธิ ีการหาคำตอบโดยการใช้แผนภาพและใชส้ ตู ร จากนนั้ ให้นักเรียนใน

ห้องร่วมแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเตมิ และร่วมกนั สรปุ คำตอบ

163

ข้ันเขา้ ใจ (Understanding)
๑. ครใู ห้นักเรยี นทำ “ลองทำดู” ในหนงั สือเรยี นหน้า 37 จากนั้นส่มุ นักเรยี นออกมานำเสนอคำตอบหนา้
ชั้นเรยี น โดยครตู รวจสอบความถูกต้อง
๒. ครเู นน้ ย้ำเกย่ี วกับเทคนิคตา่ ง ๆ ที่จะช่วยใหแ้ กโ้ จทย์ปญั หาไดง้ า่ ยขึ้นจากกรอบ PROBLEM SOLVING
TIP ในตวั อย่างท่ี 17-18 จากหนงั สือเรียนหน้า 36-37
๓. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ 1.4 ขอ้ 1-4, 6 ในหนังสือเรียนหน้า 40 เมือ่ นักเรียนทำเสรจ็ ใหร้ ่วมกัน
เฉลยคำตอบ โดยครูตรวจสอบความถูกต้อง
๔. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ ทกั ษะ 1.4 ข้อ 11-12 ในหนงั สือเรียนหน้า 41 และ Exercise 1.4 ข้อ 3-5 ใน
หนงั สือแบบฝกึ หดั เป็นการบ้าน

ขัน้ สรุป/ ข้นั นำไปใช้

๑. ครใู ห้นกั เรยี นสรปุ ข้อค้นพบเป็นความคดิ รวบยอดท่ีไดจ้ ากการทำกิจกรรม และศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่มิ เติมนอกเวลา
จากแหลง่ การเรียนรู้ทค่ี รแู นะนำ หรือจากแหลง่ การเรียนรู้ออนไลน์

๒. ครูให้นักเรียนนำเสนอแนวทางการนำข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ และให้
นกั เรยี นฝึกทักษะด้วยการทำแบบฝึกหดั เพิ่มเติมจากเอกสารประกอบการเรยี น ใบงาน หรือสอื่ การเรียนรู้อ่ืนๆ
ตามที่ครูมอบหมาย

๑๐. สื่อการเรียนรู้

- หนังสอื เรียนรายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน ม.4
- เอกสารประกอบการเรียน, ใบกิจกรรม, ใบงาน, แบบฝึกหดั
- ใบงาน (จาก DLTV : Distance Learning Television)
- ส่อื การเรียนรอู้ นื่ ๆ เช่น จาก DLIT (หอ้ งเรียน DLIT, คลังสอ่ื การเรียนร,ู้ ห้องสมุดดิจิทัล ฯลฯ) ,

Youtube , Google Sites , Google Classroom เปน็ ตน้

๑๑. แหลง่ เรยี นรู้ในหรอื นอกสถานสถานศึกษา

- ศูนย์คณติ ศาสตร์
- ห้องสมดุ โรงเรียน
- DLTV (Distance Learning Television)
- DLIT (Distance Learning Information Technology)

- ข้อมลู จากแหล่งเรียนรู้อ่นื ๆ เชน่ Website , Youtube , Google Sites , Google Classroom,

Social Media ฯลฯ

164

๑๒. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้

รายการวัด วธิ กี ารวดั ผล เครื่องมือการวัด เกณฑก์ ารวดั และ
และประเมิน ประเมินผล

1) หาจำนวนสมาชิกของเซต ๑. ตรวจใบงาน/ ๑. แบบบนั ทึก ๑. ผลการตรวจผลงาน

จำกดั ทีก่ ำหนดใหไ้ ด้ แบบฝกึ หดั ของ การประเมนิ ผลงาน ผ่านรอ้ ยละ 70

2) นำความรู้เร่ืองสมาชกิ ของ นกั เรยี น นักเรยี นโดยใช้เกณฑ์ ๒. ผลการนำเสนอ

เซตจำกัดไปใช้ในการแก้โจทย์ ๒. ประเมินการ การประเมินแบบรูบริกส์ ผลงาน

ปญั หาได้ นำเสนอผลงาน ๒. แบบประเมินการนำเสนอ ผา่ นรอ้ ยละ 70

3) ใชแ้ ผนภาพและสูตรในการ ๓. สงั เกต ผลงานโดยใช้เกณฑ์ ๓. ผลการสงั เกต

หาจำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัด พฤติกรรมการ การประเมินแบบรูบริกส์ พฤตกิ รรม

ได้ ทำงาน ๓. แบบสงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบคุ คล

4) ใช้ภาษาและสญั ลกั ษณ์ทาง รายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านรอ้ ยละ 70

คณิตศาสตร์ ในการสอ่ื สาร สื่อ ๔. สงั เกต ๔. แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๔. ผลการสงั เกต

ความหมาย และการนำเสนอได้ พฤติกรรมการ การทำงานรายกล่มุ พฤตกิ รรม

อย่างถูกต้อง ทำงานรายกลุ่ม ๕. แบบประเมินคุณลกั ษณะ การทำงานรายกลุม่

5) รับผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ทไ่ี ดร้ ับ ๕. คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ผา่ นร้อยละ 70

มอบหมาย อันพึงประสงค์ ๕. ผลการสงั เกต

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค์

ผา่ นร้อยละ 70

165

๑๓. การบูรณาการการจดั การเรยี นรู้

 บรู ณาการกระบวนการคิด

 การคิดวเิ คราะห์  การคดิ เปรยี บเทยี บ  การคดิ สังเคราะห์

 การคิดวิพากษ์  การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ  การคดิ ประยุกต์

 การคิดเชงิ มโนทัศน์  การคิดเชิงกลยทุ ธ์  การคิดแกป้ ญั หา

 การคดิ บรู ณาการ  การคิดสรา้ งสรรค์  การคดิ อนาคต

 บูรณาการอาเซยี น

 บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 บรู ณาการกบั หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษา

 บรู ณาการกับการจัดการเรยี นรู้ STEM EDUCATION

 บรู ณาการกบั การจัดการเรยี นรู้ Active Learning

 บรู ณาการกบั กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ

 บูรณาการกบั โครงการการจัดการศึกษาเพือ่ การมีงานทำในศตวรรษท่ี ๒๑

 บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ืน่ ๆ

1 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้แก่ …………………………………

2. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ได้แก่ คำศัพทภ์ าษาอังกฤษที่เก่ยี วขอ้ งในบทเรยี น

3. กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ได้แก่ ……………………………….

4. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ได้แก่ …………………………………

 บรู ณาการในลกั ษณะอื่นๆ ไดแ้ ก่........................................................

๑๔. กิจกรรมเสนอแนะ

ควรใหน้ ักเรยี นศึกษาหาความรูจ้ ากตำราเรยี น และแหลง่ การเรียนรอู้ ื่น ๆ เพิม่ เติม เพ่ือเป็นการ
เพิ่มพนู ทกั ษะการเรียนรู้

166

บันทึกผลหลงั การสอน/แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๖

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์เพม่ิ ศักยภาพ ๕
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓/๑๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เซต เวลา ๒๐ ชัว่ โมง
เร่อื ง จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด (๒) เวลา ๕๐ นาที

๑. สรุปผลการเรยี นการสอน

๑.๑ นักเรียนท้ังหมดจำนวน................................คน

จุดประสงค์การเรียนรขู้ ้อที่ นักเรยี นท่ผี า่ น นกั เรียนไมผ่ า่ น
จำนวน(คน) รอ้ ยละ จำนวน(คน) ร้อยละ

1) หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ท่ี

กำหนดให้ได้

2) นำความรู้เรื่องสมาชิกของเซตจำกดั ไป

ใชใ้ นการแก้โจทย์ปญั หาได้

3) ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวน

สมาชกิ ของเซตจำกดั ได้

4) ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทาง

คณิตศาสตร์ ในการสือ่ สาร ส่อื ความหมาย

และการนำเสนอได้อย่างถูกตอ้ ง

๕)รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

รายชอ่ื นักเรยี นทไ่ี มผ่ า่ นจุดประสงคข์ ้อที่.............ไดแ้ ก่
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

รายช่อื นกั เรียนที่ไมผ่ ่านจดุ ประสงค์ข้อท่ี.............ได้แก่
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

นกั เรยี นท่มี ีความสามารถพิเศษ/นักเรียนพิการไดแ้ ก่
๑) ..........................................................................................................................................
๒) ..........................................................................................................................................

๑.๒ นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจ
- มคี วามคิดรวบยอดในเร่อื ง เซต : จำนวนสมาชกิ ของเซตจำกดั

๑.๓ นกั เรียนมีความรู้เกดิ ทักษะ
ทกั ษะดา้ นการอา่ น(Reading) ทักษะดา้ นการเขยี น (Writing) ทักษะดา้ นการคดิ คำนวณ

(Arithmetics) การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ัญหา ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ ทกั ษะด้านการสอื่ สารสารสนเทศ และรูเ้ ทา่ ทันส่ือ ทกั ษะ
ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

๑.๔ นกั เรยี นมเี จตคติ คา่ นยิ ม ๑๒ ประการ คุณธรรมจรยิ ธรรม
- ใฝห่ าความรู้ หมัน่ ศึกษาเลา่ เรยี นทัง้ ทางตรงและทางอ้อม
- มศี ีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี ่อผูอ้ นื่ เผ่ือแผ่และแบ่งปนั

167

๒. ปัญหา/อุปสรรค /แนวทางแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

๓. ขอ้ เสนอแนะ
................................................................................................................................................................... ...........
....................................................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................... ........................
.......................................................................................................... ....................................................................
............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................... .....................................
............................................................................................. .................................................................................

ลงชอ่ื ....................................................
(นางสาวพงษ์ลดา สินสุวรรณ์)

ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ

ลงชื่อ……………………………………………………
(นางสาวกนกพร รัตนะอุดม)

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
…….……./……………/…………..

168

ความเห็นของหวั หน้าสถานศกึ ษา / ผทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรียนรขู้ องนางสาวพงษ์ลดา สินสุวรรณ์ ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ
แลว้ มคี วามคดิ เหน็ ดังน้ี

1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง

2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยงั ไม่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ที่
 นำไปใชไ้ ดจ้ ริง
 ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................

ลงชอื่ ...................................................................
( นางสาวกนกพร รัตนะอุดม)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
…….……./……………/…………..

169

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๗

กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ รายวิชา ค 23203 คณติ ศาสตร์เพิ่มศกั ยภาพ 5
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3/11 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง เซต เวลา 20 ชั่วโมง
เรอ่ื ง จำนวนสมาชิกของเซตจำกดั (๓) เวลา ๕๐ นาที

๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน
ตัวชีว้ ดั ค ๑.1 ม.4/๑ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกบั เซตและตรรกศาสตรเ์ บื้องตน้ ในการส่อื สาร

และส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์

๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

นกั เรียนสามารถ
1) หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัดทีก่ ำหนดให้ได้ (K)
2) นำความรเู้ รือ่ งสมาชกิ ของเซตจำกัดไปใชใ้ นการแก้โจทยป์ ญั หาได้ (K)
3) ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ได้ (P)
4) ใชภ้ าษาและสญั ลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ในการสือ่ สาร สอ่ื ความหมาย และการนำเสนอได้อยา่ งถกู ต้อง (P)
5) รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ีทไี่ ด้รบั มอบหมาย (A)

๓. สาระสำคัญ

ถ้า A, B และ C เปน็ เซตจำกัดใด ๆ แล้ว จะได้วา่ n(A  B) = n(A) + n(B) - n(A  B) และ

n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A  B) - n(A  C) - n(B  C)+ n(A  B  C)

๔. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น

 ความสามารถในการส่ือสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

170

๕. สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)

- หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ที่กำหนดให้ได้

- นำความรูเ้ ร่อื งสมาชิกของเซตจำกดั ไปใช้ในการแกโ้ จทยป์ ัญหาได้

- ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัดได้

- ใชภ้ าษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์ ในการสอ่ื สาร สื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถกู ต้อง

ทกั ษะท่ีสำคัญ (P)

- การแกป้ ญั หา.

- การสอ่ื สารและการสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์

- การเชอื่ มโยง

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ซ่อื สตั ย์สจุ รติ

 มีวินยั  ใฝ่เรยี นรู้

 อยูอ่ ย่างพอเพยี ง  มุ่งม่นั ในการทำงาน

 รักความเปน็ ไทย  มจี ติ สาธารณะ

๖. จุดเน้นสกู่ ารพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนทกั ษะศตวรรษท่ี ๒๑

การเรยี นรู้ 3R x 8C

 Reading (อา่ นออก)  (W)Riting(เขยี นได้)  (A)Rithemetics(คดิ เลขเปน็ )

 Critical Thinking and Problem Solving:มีทักษะในการคิดวเิ คราะห์ และแก้ไขปัญหาได้

 Creativity and Innovation:คิดอย่างสร้างสรรค์ คดิ เชงิ นวัตกรรม

 Collaboration Teamwork and Leadership:ให้ความร่วมมอื ในการทำงานเปน็ ทีมมีภาวะผนู้ ำ

 Communication Information and Media Literacy:มีทักษะในการสื่อสาร และรู้เทา่ ทนั สือ่

 Cross-Cultural Understanding:มคี วามเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม

 Computing and ICT Literacy:มีทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์ และรเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยี

 Career and Learning Skills:มีทกั ษะทางอาชีพ และกระบวนการเรยี นรูต้ ่างๆ

 Compassion:มคี ุณธรรม มเี มตตากรุณา มีระเบียบวนิ ยั

ทักษะดา้ นชีวิตและอาชพี

 ความยดื หยนุ่ และการปรับตัว

 การรเิ ร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละเป็นตัวของตวั เอง

 ทักษะสงั คมและสังคมข้ามวฒั นธรรม

 การเป็นผ้สู รา้ งหรือผผู้ ลติ (Productivity) และความรับผดิ ชอบเชื่อถือได้ (Accountability)

 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Responsibility)

คณุ ลกั ษณะสำหรบั ศตวรรษท่ี ๒๑

 คุณลกั ษณะดา้ นการทำงาน ไดแ้ ก่ การปรบั ตัว ความเป็นผนู้ ำ

 คณุ ลักษณะดา้ นการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การชน้ี ำตนเอง การตรวจสอบการเรยี นรู้ของตนเอง

 คุณลกั ษณะด้านศลี ธรรม ไดแ้ ก่ ความเคารพผูอ้ ื่น ความซือ่ สตั ย์ ความสำนึกพลเมือง

171

๗. จุดเน้นของสถานศึกษา

๗.๑ ผู้เรยี นเปน็ กลุ สตรีไทยสมัยนยิ ม (SSTB School's 4G)

 มคี ณุ ธรรม (Good Moral)  นำปญั ญา (Good Wisdom)

 จิตอาสาเดน่ (Good Service)  เนน้ มารยาท (Good Manners)

๗.๒ ผูเ้ รียนมศี ักยภาพเปน็ พลโลก (World Citizen) เทียบเคยี งมาตรฐานสากล

 เป็นเลศิ วชิ าการ  สื่อสารได้อยา่ งนอ้ ย 2 ภาษา

 ล้ำหน้าทางความคดิ  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์

 รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก

๘. ชน้ิ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน /ร่องรอยแสดงความรู้)

- การทำแบบฝึกหดั ในหนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ,
เอกสารประกอบการเรียน, ใบความรู,้ ใบกจิ กรรม , ใบงาน , แบบฝึกปฏบิ ตั กิ ิจกรรม , แบบฝกึ ทักษะ
พฒั นาการเรยี นรู้ , แบบทดสอบหนว่ ยการเรยี นรู้ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมทางการเรยี นการสอน , แบบสังเกต
พฤติกรรมการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุม่ , แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

๙. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

เลือกใช้รูปแบบการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : Concept Based Teaching เพื่อให้เกิด
การเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) โดยใช้วิธีการสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) และ
นิรนัย (Deductive Method) ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนที่นำพาผู้เรียน เพื่อให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ
มีทกั ษะ และเกดิ ความคิดรวบยอด ผลของการจดั การเรียนการสอนในลกั ษณะนี้ จะทำให้ผูเ้ รยี นได้ความรู้ และ
มีทักษะในการค้นหาความคิดรวบยอด ซ่งึ จะเปน็ ทกั ษะสำคัญทต่ี ดิ ตวั ผ้เู รียนไปตลอดชีวิต

ในหัวข้อนี้เป็นเรื่องของจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมาชิกของเซต
จำกัด แผนภาพและสูตรในการหาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด โดยแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาจทำ
ได้ดงั นี้

172

ขัน้ การนำเข้าสู่บทเรยี น

ขน้ั การใชค้ วามร้เู ดมิ เช่ือมโยงความร้ใู หม่ (Prior Knowledge)
ครทู บทวนความรเู้ รื่อง จำนวนสมาชกิ ของเซตจำกดั ให้นักเรียนถาม-ตอบ

ขน้ั เรียนรู้
ขั้นรู้ (Knowing)

๑. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันเฉลยคำตอบของแบบฝกึ ทักษะ 1.4 ขอ้ 11-12 ในหนงั สือเรยี นหน้า 41 และ
Exercise 1.4 ข้อ 3-5 ในหนังสือแบบฝกึ หัด

๒. ครใู หน้ ักเรยี นจบั คู่ศึกษาตวั อย่างท่ี 19-20 ในหนังสือเรียนหน้า 38-39
๓. ครสู ุ่มนกั เรียน 2 คู่ มาอธิบายวธิ กี ารหาคำตอบ จากนัน้ ให้นักเรยี นในห้องรว่ มแสดงความคิดเหน็

เพิม่ เติมและรว่ มกันสรุปคำตอบ

ขนั้ เขา้ ใจ (Understanding)
๑. ครใู หน้ ักเรยี นทำ “ลองทำดู” ในหนงั สือเรียนหนา้ 39 จากน้นั สุ่มนักเรยี นออกมานำเสนอคำตอบหน้า
ช้ันเรียน โดยครูตรวจสอบความถกู ต้อง
๒. ครูให้นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อทำกจิ กรรม Performance Task จากหนังสือเรียนหนา้
39 โดยใหน้ ักเรยี นสรา้ งแผนภาพและตอบคำถาม
๓. ครูใหน้ กั เรียนส่งตวั แทนกลุ่มละ 1 คน ออกมาอธิบายแผนภาพและคำตอบหน้าชน้ั เรียน โดยนักเรยี น
และครชู ว่ ยกันตรวจสอบคำตอบของนักเรียน
(แนวตอบ แผนภาพและคำตอบของกจิ กรรม Performance Task ขึน้ อยู่กับผลสำรวจของนักเรยี น
แตล่ ะกล่มุ )
๔. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบฝกึ ทักษะ 1.4 ขอ้ 5, 7-10 ในหนงั สอื เรียนหนา้ 40-41 และ Exercise 1.4
ข้อ 6-13 ในหนังสือแบบฝึกหดั เปน็ การบา้ น

ขัน้ สรุป/ ขัน้ นำไปใช้

๑. ครใู ห้นักเรยี นสรุปข้อคน้ พบเปน็ ความคิดรวบยอดทีไ่ ด้จากการทำกิจกรรม และศึกษาคน้ ควา้ เพม่ิ เติมนอกเวลา
จากแหลง่ การเรียนรู้ทีค่ รแู นะนำ หรือจากแหล่งการเรียนรู้ออนไลน์

๒. ครูให้นักเรียนนำเสนอแนวทางการนำข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ และให้
นักเรียนฝกึ ทักษะด้วยการทำแบบฝึกหดั เพ่ิมเติมจากเอกสารประกอบการเรียน ใบงาน หรอื สื่อการเรียนรู้อ่ืนๆ
ตามที่ครมู อบหมาย

๑๐. สอ่ื การเรียนรู้

- หนงั สือเรียนรายวิชาคณติ ศาสตรพ์ ้นื ฐาน ม.4
- เอกสารประกอบการเรยี น, ใบกจิ กรรม, ใบงาน, แบบฝึกหดั
- ใบงาน (จาก DLTV : Distance Learning Television)
- ส่อื การเรยี นร้อู ื่น ๆ เช่น จาก DLIT (หอ้ งเรยี น DLIT, คลังสอื่ การเรียนรู้, หอ้ งสมุดดิจทิ ัล ฯลฯ) ,

Youtube , Google Sites , Google Classroom เปน็ ตน้

173

๑๑. แหลง่ เรียนรู้ในหรือนอกสถานสถานศกึ ษา

- ศนู ยค์ ณิตศาสตร์
- ห้องสมุดโรงเรยี น
- DLTV (Distance Learning Television)
- DLIT (Distance Learning Information Technology)

- ขอ้ มลู จากแหล่งเรียนรู้อน่ื ๆ เชน่ Website , Youtube , Google Sites , Google Classroom,

Social Media ฯลฯ

๑๒. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้

รายการวัด วธิ ีการวัดผล เครอ่ื งมือการวัด เกณฑ์การวัดและ
และประเมนิ ประเมนิ ผล

1) หาจำนวนสมาชกิ ของเซต ๑. ตรวจใบงาน/ ๑. แบบบนั ทกึ ๑. ผลการตรวจผลงาน

จำกัดทก่ี ำหนดใหไ้ ด้ แบบฝกึ หดั ของ การประเมนิ ผลงาน ผา่ นรอ้ ยละ 70

2) นำความรเู้ รือ่ งสมาชกิ ของ นกั เรียน นักเรยี นโดยใชเ้ กณฑ์ ๒. ผลการนำเสนอ

เซตจำกัดไปใชใ้ นการแก้โจทย์ ๒. ประเมินการ การประเมินแบบรบู ริกส์ ผลงาน

ปัญหาได้ นำเสนอผลงาน ๒. แบบประเมินการนำเสนอ ผา่ นร้อยละ 70

3) ใช้แผนภาพและสูตรในการ ๓. สงั เกต ผลงานโดยใชเ้ กณฑ์ ๓. ผลการสงั เกต

หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด พฤติกรรมการ การประเมินแบบรูบริกส์ พฤตกิ รรม

ได้ ทำงาน ๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบคุ คล

4) ใช้ภาษาและสญั ลกั ษณท์ าง รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผ่านร้อยละ 70

คณิตศาสตร์ ในการส่อื สาร ส่ือ ๔. สงั เกต ๔. แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๔. ผลการสงั เกต

ความหมาย และการนำเสนอได้ พฤติกรรมการ การทำงานรายกลมุ่ พฤตกิ รรม

อยา่ งถูกต้อง ทำงานรายกล่มุ ๕. แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ การทำงานรายกลุ่ม

5) รบั ผิดชอบต่อหน้าที่ท่ไี ดร้ ับ ๕. คณุ ลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ ผา่ นรอ้ ยละ 70

มอบหมาย อันพงึ ประสงค์ ๕. ผลการสงั เกต

คุณลกั ษณะอันพงึ

ประสงค์

ผา่ นรอ้ ยละ 70

174

๑๓. การบูรณาการการจดั การเรยี นรู้

 บรู ณาการกระบวนการคิด

 การคิดวเิ คราะห์  การคดิ เปรยี บเทยี บ  การคดิ สังเคราะห์

 การคิดวิพากษ์  การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ  การคดิ ประยุกต์

 การคิดเชงิ มโนทัศน์  การคิดเชิงกลยทุ ธ์  การคิดแกป้ ญั หา

 การคดิ บรู ณาการ  การคิดสรา้ งสรรค์  การคดิ อนาคต

 บูรณาการอาเซยี น

 บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 บรู ณาการกบั หลักสตู รต้านทจุ รติ ศึกษา

 บรู ณาการกับการจัดการเรยี นรู้ STEM EDUCATION

 บรู ณาการกบั การจดั การเรยี นรู้ Active Learning

 บรู ณาการกบั กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ

 บูรณาการกบั โครงการการจัดการศึกษาเพือ่ การมีงานทำในศตวรรษท่ี ๒๑

 บูรณาการกบั กลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ืน่ ๆ

1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้แก่ …………………………………

2. กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ได้แก่ คำศัพทภ์ าษาอังกฤษที่เก่ยี วขอ้ งในบทเรยี น

3. กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ได้แก่ ……………………………….

4. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ได้แก่ …………………………………

 บรู ณาการในลักษณะอื่นๆ ไดแ้ ก่........................................................

๑๔. กิจกรรมเสนอแนะ

ควรให้นักเรยี นศึกษาหาความรูจ้ ากตำราเรยี น และแหลง่ การเรียนรอู้ ื่น ๆ เพิม่ เติม เพ่ือเป็นการ
เพิ่มพนู ทกั ษะการเรียนรู้

175

บันทึกผลหลงั การสอน/แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๗

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์เพม่ิ ศักยภาพ ๕
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓/๑๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เซต เวลา ๒๐ ชัว่ โมง
เร่อื ง จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด (๓) เวลา ๕๐ นาที

๑. สรุปผลการเรยี นการสอน

๑.๑ นักเรียนท้ังหมดจำนวน................................คน

จุดประสงค์การเรียนรขู้ ้อที่ นักเรยี นท่ผี า่ น นกั เรียนไมผ่ า่ น
จำนวน(คน) รอ้ ยละ จำนวน(คน) ร้อยละ

1) หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ท่ี

กำหนดให้ได้

2) นำความรู้เรื่องสมาชิกของเซตจำกดั ไป

ใชใ้ นการแก้โจทย์ปญั หาได้

3) ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวน

สมาชกิ ของเซตจำกดั ได้

4) ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทาง

คณิตศาสตร์ ในการสือ่ สาร ส่อื ความหมาย

และการนำเสนอได้อย่างถูกตอ้ ง

๕)รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

รายชอ่ื นักเรยี นทไ่ี มผ่ า่ นจุดประสงคข์ ้อที่.............ไดแ้ ก่
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

รายช่อื นกั เรียนที่ไมผ่ ่านจดุ ประสงค์ข้อท่ี.............ได้แก่
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

นกั เรยี นท่มี ีความสามารถพิเศษ/นักเรียนพิการไดแ้ ก่
๑) ..........................................................................................................................................
๒) ..........................................................................................................................................

๑.๒ นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจ
- มคี วามคิดรวบยอดในเร่อื ง เซต : จำนวนสมาชกิ ของเซตจำกดั

๑.๓ นกั เรียนมีความรู้เกดิ ทักษะ
ทกั ษะดา้ นการอา่ น(Reading) ทักษะดา้ นการเขยี น (Writing) ทักษะดา้ นการคดิ คำนวณ

(Arithmetics) การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ัญหา ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ ทกั ษะด้านการสอื่ สารสารสนเทศ และรูเ้ ทา่ ทันส่ือ ทกั ษะ
ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

๑.๔ นกั เรยี นมเี จตคติ คา่ นยิ ม ๑๒ ประการ คุณธรรมจรยิ ธรรม
- ใฝห่ าความรู้ หมัน่ ศึกษาเลา่ เรยี นทัง้ ทางตรงและทางอ้อม
- มศี ีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี ่อผูอ้ นื่ เผ่ือแผ่และแบ่งปนั

176

๒. ปัญหา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................................... .......
........................................................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................

๓. ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................. .................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอื่ ....................................................
(นางสาวพงษ์ลดา สินสวุ รรณ์)

ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ

ลงชอื่ ……………………………………………………
(นางสาวกนกพร รตั นะอุดม)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
…….……./……………/…………..

177

ความเห็นของหวั หน้าสถานศกึ ษา / ผทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรียนรขู้ องนางสาวพงษ์ลดา สนิ สุวรรณ์ ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ
แลว้ มคี วามคดิ เหน็ ดังน้ี

1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง

2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยงั ไม่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพฒั นาตอ่ ไป

3. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ที่
 นำไปใชไ้ ดจ้ ริง
 ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................

ลงชื่อ...................................................................
( นางสาวกนกพร รัตนะอุดม)

หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
…….……./……………/…………..

178

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๘

กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ รายวิชา ค 23203 คณติ ศาสตร์เพิ่มศกั ยภาพ 5
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3/11 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง เซต เวลา 20 ชั่วโมง
เรอ่ื ง จำนวนสมาชิกของเซตจำกดั (๔) เวลา ๕๐ นาที

๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน
ตัวชีว้ ดั ค ๑.1 ม.4/๑ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกบั เซตและตรรกศาสตรเ์ บื้องตน้ ในการส่อื สาร

และส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์

๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

นกั เรียนสามารถ
1) หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัดทีก่ ำหนดให้ได้ (K)
2) นำความรเู้ รือ่ งสมาชกิ ของเซตจำกัดไปใชใ้ นการแก้โจทยป์ ญั หาได้ (K)
3) ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ได้ (P)
4) ใชภ้ าษาและสญั ลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ในการสือ่ สาร สอ่ื ความหมาย และการนำเสนอได้อยา่ งถกู ต้อง (P)
5) รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ีทไี่ ด้รบั มอบหมาย (A)

๓. สาระสำคัญ

ถ้า A, B และ C เปน็ เซตจำกัดใด ๆ แล้ว จะได้วา่ n(A  B) = n(A) + n(B) - n(A  B) และ

n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A  B) - n(A  C) - n(B  C)+ n(A  B  C)

๔. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น

 ความสามารถในการส่ือสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

179

๕. สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)

- หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ที่กำหนดให้ได้

- นำความรูเ้ ร่อื งสมาชิกของเซตจำกดั ไปใช้ในการแกโ้ จทยป์ ัญหาได้

- ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัดได้

- ใชภ้ าษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์ ในการสอ่ื สาร สื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถกู ต้อง

ทกั ษะท่ีสำคัญ (P)

- การแกป้ ญั หา.

- การสอ่ื สารและการสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์

- การเชอื่ มโยง

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ซ่อื สตั ย์สจุ รติ

 มีวินยั  ใฝ่เรยี นรู้

 อยูอ่ ย่างพอเพยี ง  มุ่งม่นั ในการทำงาน

 รักความเปน็ ไทย  มจี ติ สาธารณะ

๖. จุดเน้นสกู่ ารพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนทกั ษะศตวรรษท่ี ๒๑

การเรยี นรู้ 3R x 8C

 Reading (อา่ นออก)  (W)Riting(เขยี นได้)  (A)Rithemetics(คดิ เลขเปน็ )

 Critical Thinking and Problem Solving:มีทักษะในการคิดวเิ คราะห์ และแก้ไขปัญหาได้

 Creativity and Innovation:คิดอย่างสร้างสรรค์ คดิ เชงิ นวัตกรรม

 Collaboration Teamwork and Leadership:ให้ความร่วมมอื ในการทำงานเปน็ ทีมมีภาวะผนู้ ำ

 Communication Information and Media Literacy:มีทักษะในการสื่อสาร และรู้เทา่ ทนั สือ่

 Cross-Cultural Understanding:มคี วามเข้าใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม

 Computing and ICT Literacy:มีทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์ และรเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยี

 Career and Learning Skills:มีทกั ษะทางอาชีพ และกระบวนการเรยี นรูต้ ่างๆ

 Compassion:มคี ุณธรรม มเี มตตากรุณา มีระเบียบวนิ ยั

ทักษะดา้ นชีวิตและอาชพี

 ความยดื หยนุ่ และการปรับตัว

 การรเิ ร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละเป็นตัวของตวั เอง

 ทักษะสงั คมและสังคมข้ามวฒั นธรรม

 การเป็นผ้สู รา้ งหรือผผู้ ลติ (Productivity) และความรับผดิ ชอบเชื่อถือได้ (Accountability)

 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Responsibility)

คณุ ลกั ษณะสำหรบั ศตวรรษท่ี ๒๑

 คุณลกั ษณะดา้ นการทำงาน ไดแ้ ก่ การปรบั ตัว ความเป็นผนู้ ำ

 คณุ ลักษณะดา้ นการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การชน้ี ำตนเอง การตรวจสอบการเรยี นรู้ของตนเอง

 คุณลกั ษณะด้านศลี ธรรม ไดแ้ ก่ ความเคารพผูอ้ ื่น ความซือ่ สตั ย์ ความสำนึกพลเมือง

180

๗. จุดเน้นของสถานศึกษา

๗.๑ ผู้เรยี นเปน็ กลุ สตรีไทยสมัยนยิ ม (SSTB School's 4G)

 มคี ณุ ธรรม (Good Moral)  นำปญั ญา (Good Wisdom)

 จิตอาสาเดน่ (Good Service)  เนน้ มารยาท (Good Manners)

๗.๒ ผูเ้ รียนมศี ักยภาพเปน็ พลโลก (World Citizen) เทียบเคยี งมาตรฐานสากล

 เป็นเลศิ วชิ าการ  สื่อสารได้อยา่ งนอ้ ย 2 ภาษา

 ล้ำหน้าทางความคดิ  ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์

 รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก

๘. ชน้ิ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน /ร่องรอยแสดงความรู้)

- การทำแบบฝึกหดั ในหนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ,
เอกสารประกอบการเรียน, ใบความรู,้ ใบกจิ กรรม , ใบงาน , แบบฝึกปฏบิ ตั กิ ิจกรรม , แบบฝึกทกั ษะ
พฒั นาการเรยี นรู้ , แบบทดสอบหนว่ ยการเรยี นรู้ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมทางการเรยี นการสอน , แบบสังเกต
พฤติกรรมการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุม่ , แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

๙. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

เลือกใช้รูปแบบการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : Concept Based Teaching เพื่อให้เกิด
การเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) โดยใช้วิธีการสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) และ
นิรนัย (Deductive Method) ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนที่นำพาผู้เรียน เพื่อให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ
มีทกั ษะ และเกดิ ความคิดรวบยอด ผลของการจดั การเรียนการสอนในลกั ษณะนี้ จะทำให้ผู้เรียนไดค้ วามรู้ และ
มีทักษะในการค้นหาความคิดรวบยอด ซ่งึ จะเปน็ ทกั ษะสำคัญทต่ี ดิ ตวั ผ้เู รียนไปตลอดชีวิต

ในหัวข้อนี้เป็นเรื่องของจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมาชิกของเซต
จำกัด แผนภาพและสูตรในการหาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด โดยแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาจทำ
ได้ดงั นี้

181

ขน้ั การนำเขา้ สู่บทเรยี น

ขั้นการใชค้ วามรู้เดิมเชื่อมโยงความรูใ้ หม่ (Prior Knowledge)
ครทู บทวนความร้เู รื่อง จำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ใหน้ ักเรยี นถาม-ตอบ

ขั้นเรยี นรู้

ขั้นเขา้ ใจ (Understanding)
๑. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยคำตอบของแบบฝกึ ทักษะ 1.4 ขอ้ 5, 7-10 ในหนงั สือเรียนหน้า 40-41
และ Exercise 1.4 ข้อ 6-13 ในหนังสือแบบฝึกหัด

ขั้นลงมือทำ (Doing)
๒. ครใู ห้นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 4 - 5 คน จากน้ันใหน้ ักเรยี นจัดทำช้ินงานโดยร่วมกันคิดหัวข้อท่จี ะทำ
การสำรวจในโรงเรียนหรอื ในชมุ ชนเพอื่ ที่จะนำผลการสำรวจน้ันมาสรา้ งปา้ ยประชาสมั พันธ์, แผ่นพับให้
เกร็ดความรู้ หรอื โปสเตอรเ์ ชิญชวนเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งหรอื เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการช่วยแก้ปญั หาของเรื่องที่
สำรวจ โดยครูจะใหน้ กั เรียนนำเสนอในชวั่ โมงถดั ไปซ่งึ การนำเสนอตอ้ งนำเสนอผลการสำรวจโดยใช้
แผนภาพและอุปกรณ์ (ปา้ ยประชาสัมพนั ธ์, แผน่ พบั ใหเ้ กร็ดความรู้ หรือโปสเตอร์เชิญชวน) ที่เป็นส่วน
หน่ึงในการช่วยแก้ปัญหาของเรอ่ื งท่ีสำรวจโดยให้นักเรียนใช้คอมพวิ เตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงาน
(ตัวอยา่ ง นกั เรียนสำรวจเร่ืองบรเิ วณใดภายในโรงเรยี น (หอ้ งนำ้ , ห้องเรยี นและโรงอาหาร) ทอี่ ยากให้
ทุกคนชว่ ยกันรักษาความสะอาด กลุ่มคนทีส่ ำรวจ คือ นกั เรียนหญงิ 50 คน นกั เรยี นชาย 50 คน และครู
10 คน ผลการสำรวจออกมาพบว่า ห้องน้ำเป็นบริเวณท่ีทุกคนอยากใหช้ ่วยกนั รักษาความสะอาดมากทส่ี ดุ
ในกลมุ่ จึงไดอ้ อกแบบสติ๊กเกอร์ภาพและคำต่าง ๆ เช่น อยา่ ลมื ราดนำ้ หลังเสร็จภารกิจ ท้ิงกระดาษชำระ
ในถังขยะ เป็นต้น เพ่ือแปะตามมมุ ต่าง ๆ ในห้องนำ้ ทุกทีใ่ นโรงเรยี น)

ขนั้ สรปุ / ขั้นนำไปใช้

๑. ครใู หน้ ักเรยี นสรปุ ข้อค้นพบเป็นความคดิ รวบยอดท่ไี ด้จากการทำกจิ กรรม และศกึ ษาคน้ ควา้ เพมิ่ เติมนอกเวลา
จากแหลง่ การเรียนรู้ที่ครแู นะนำ หรือจากแหล่งการเรยี นรู้ออนไลน์

๒. ครูให้นักเรียนนำเสนอแนวทางการนำข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ และให้
นักเรียนฝึกทกั ษะดว้ ยการทำแบบฝึกหัดเพ่ิมเติมจากเอกสารประกอบการเรยี น ใบงาน หรือสอื่ การเรียนรู้อ่ืนๆ
ตามท่คี รูมอบหมาย

๑๐. ส่ือการเรยี นรู้

- หนังสอื เรียนรายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน ม.4
- เอกสารประกอบการเรียน, ใบกิจกรรม, ใบงาน, แบบฝึกหดั
- ใบงาน (จาก DLTV : Distance Learning Television)
- สื่อการเรยี นรู้อ่นื ๆ เช่น จาก DLIT (หอ้ งเรยี น DLIT, คลังส่อื การเรียนรู,้ หอ้ งสมุดดิจทิ ัล ฯลฯ) ,

Youtube , Google Sites , Google Classroom เป็นต้น

182

๑๑. แหลง่ เรียนรู้ในหรือนอกสถานสถานศกึ ษา

- ศนู ยค์ ณิตศาสตร์
- ห้องสมุดโรงเรยี น
- DLTV (Distance Learning Television)
- DLIT (Distance Learning Information Technology)

- ขอ้ มลู จากแหล่งเรียนรู้อน่ื ๆ เชน่ Website , Youtube , Google Sites , Google Classroom,

Social Media ฯลฯ

๑๒. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้

รายการวัด วธิ ีการวัดผล เครอ่ื งมือการวัด เกณฑ์การวัดและ
และประเมนิ ประเมนิ ผล

1) หาจำนวนสมาชกิ ของเซต ๑. ตรวจใบงาน/ ๑. แบบบนั ทกึ ๑. ผลการตรวจผลงาน

จำกัดทก่ี ำหนดใหไ้ ด้ แบบฝกึ หดั ของ การประเมนิ ผลงาน ผา่ นรอ้ ยละ 70

2) นำความรเู้ รือ่ งสมาชกิ ของ นกั เรียน นักเรยี นโดยใชเ้ กณฑ์ ๒. ผลการนำเสนอ

เซตจำกัดไปใชใ้ นการแก้โจทย์ ๒. ประเมินการ การประเมินแบบรบู ริกส์ ผลงาน

ปัญหาได้ นำเสนอผลงาน ๒. แบบประเมินการนำเสนอ ผา่ นร้อยละ 70

3) ใช้แผนภาพและสูตรในการ ๓. สงั เกต ผลงานโดยใชเ้ กณฑ์ ๓. ผลการสงั เกต

หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด พฤติกรรมการ การประเมินแบบรูบริกส์ พฤตกิ รรม

ได้ ทำงาน ๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบคุ คล

4) ใช้ภาษาและสญั ลกั ษณท์ าง รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผ่านร้อยละ 70

คณิตศาสตร์ ในการส่อื สาร ส่ือ ๔. สงั เกต ๔. แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๔. ผลการสงั เกต

ความหมาย และการนำเสนอได้ พฤติกรรมการ การทำงานรายกลมุ่ พฤตกิ รรม

อยา่ งถูกต้อง ทำงานรายกล่มุ ๕. แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ การทำงานรายกลุ่ม

5) รบั ผิดชอบต่อหน้าที่ท่ไี ดร้ ับ ๕. คณุ ลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ ผา่ นรอ้ ยละ 70

มอบหมาย อันพงึ ประสงค์ ๕. ผลการสงั เกต

คุณลกั ษณะอันพงึ

ประสงค์

ผา่ นรอ้ ยละ 70

183

๑๓. การบูรณาการการจดั การเรยี นรู้

 บรู ณาการกระบวนการคิด

 การคิดวเิ คราะห์  การคดิ เปรยี บเทยี บ  การคดิ สังเคราะห์

 การคิดวิพากษ์  การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ  การคดิ ประยุกต์

 การคิดเชงิ มโนทัศน์  การคิดเชิงกลยทุ ธ์  การคิดแกป้ ญั หา

 การคดิ บรู ณาการ  การคิดสรา้ งสรรค์  การคดิ อนาคต

 บูรณาการอาเซยี น

 บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 บรู ณาการกบั หลักสตู รต้านทจุ รติ ศึกษา

 บรู ณาการกับการจัดการเรยี นรู้ STEM EDUCATION

 บรู ณาการกบั การจดั การเรยี นรู้ Active Learning

 บรู ณาการกบั กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ

 บูรณาการกบั โครงการการจัดการศึกษาเพือ่ การมีงานทำในศตวรรษท่ี ๒๑

 บูรณาการกบั กลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ืน่ ๆ

1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้แก่ …………………………………

2. กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ได้แก่ คำศัพทภ์ าษาอังกฤษที่เก่ยี วขอ้ งในบทเรยี น

3. กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ได้แก่ ……………………………….

4. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ได้แก่ …………………………………

 บรู ณาการในลักษณะอื่นๆ ไดแ้ ก่........................................................

๑๔. กิจกรรมเสนอแนะ

ควรให้นักเรยี นศึกษาหาความรูจ้ ากตำราเรยี น และแหลง่ การเรียนรอู้ ื่น ๆ เพิม่ เติม เพ่ือเป็นการ
เพิ่มพนู ทกั ษะการเรียนรู้

184

บันทกึ ผลหลงั การสอน/แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๘

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ รายวชิ า คณติ ศาสตร์เพ่มิ ศกั ยภาพ ๕
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓/๑๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เซต เวลา ๒๐ ชัว่ โมง
เร่อื ง จำนวนสมาชิกของเซตจำกดั (๔) เวลา ๕๐ นาที

๑. สรุปผลการเรยี นการสอน

๑.๑ นักเรียนท้ังหมดจำนวน................................คน

จุดประสงค์การเรียนรขู้ ้อที่ นักเรยี นท่ผี า่ น นักเรียนไม่ผ่าน
จำนวน(คน) รอ้ ยละ จำนวน(คน) ร้อยละ

1) หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ท่ี

กำหนดให้ได้

2) นำความรู้เรื่องสมาชิกของเซตจำกดั ไป

ใชใ้ นการแก้โจทย์ปญั หาได้

3) ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวน

สมาชกิ ของเซตจำกดั ได้

4) ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทาง

คณิตศาสตร์ ในการสือ่ สาร ส่อื ความหมาย

และการนำเสนอได้อย่างถูกตอ้ ง

๕)รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

รายชอ่ื นักเรยี นทไ่ี มผ่ า่ นจุดประสงคข์ ้อที่.............ไดแ้ ก่
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

รายช่อื นกั เรียนที่ไมผ่ ่านจดุ ประสงค์ข้อท่ี.............ได้แก่
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

นกั เรยี นท่มี ีความสามารถพเิ ศษ/นักเรยี นพิการไดแ้ ก่
๑) ..........................................................................................................................................
๒) ..........................................................................................................................................

๑.๒ นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจ
- มคี วามคิดรวบยอดในเร่อื ง เซต : จำนวนสมาชกิ ของเซตจำกดั

๑.๓ นกั เรียนมีความรู้เกดิ ทักษะ
ทกั ษะดา้ นการอา่ น(Reading) ทักษะดา้ นการเขยี น (Writing) ทกั ษะดา้ นการคิดคำนวณ

(Arithmetics) การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และทักษะในการแกป้ ัญหา ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ ทกั ษะดา้ นการสอื่ สารสารสนเทศ และรู้เท่าทนั ส่ือ ทกั ษะ
ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

๑.๔ นกั เรยี นมเี จตคติ คา่ นิยม ๑๒ ประการ คุณธรรมจรยิ ธรรม
- ใฝห่ าความรู้ หมัน่ ศกึ ษาเลา่ เรยี นทงั้ ทางตรงและทางอ้อม
- มศี ีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี ่อผอู้ นื่ เผ่ือแผ่และแบง่ ปนั

185

๒. ปัญหา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................................... .......
........................................................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................

๓. ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................. .................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอื่ ....................................................
(นางสาวพงษ์ลดา สินสวุ รรณ์)

ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ

ลงชอื่ ……………………………………………………
(นางสาวกนกพร รตั นะอุดม)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
…….……./……………/…………..

186

ความเหน็ ของหวั หนา้ สถานศกึ ษา / ผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของนางสาวพงษ์ลดา สินสุวรรณ์ ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ
แล้วมคี วามคดิ เหน็ ดังนี้

1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรุง

2. การจัดกิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไม่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาตอ่ ไป

3. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ที่
 นำไปใช้ไดจ้ ริง
 ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................

ลงช่ือ...................................................................
( นางสาวกนกพร รตั นะอุดม)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
…….……./……………/…………..

187

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๙

กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ รายวิชา ค 23203 คณติ ศาสตร์เพิ่มศกั ยภาพ 5
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3/11 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง เซต เวลา 20 ชั่วโมง
เรอ่ื ง จำนวนสมาชิกของเซตจำกดั (๔) เวลา ๕๐ นาที

๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน
ตัวชีว้ ดั ค ๑.1 ม.4/๑ เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกบั เซตและตรรกศาสตรเ์ บื้องตน้ ในการส่อื สาร

และส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์

๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

นกั เรียนสามารถ
1) หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัดทีก่ ำหนดให้ได้ (K)
2) นำความรเู้ รือ่ งสมาชกิ ของเซตจำกัดไปใชใ้ นการแก้โจทยป์ ญั หาได้ (K)
3) ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ได้ (P)
4) ใชภ้ าษาและสญั ลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ในการสือ่ สาร สอ่ื ความหมาย และการนำเสนอได้อยา่ งถกู ต้อง (P)
5) รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ีทไี่ ด้รบั มอบหมาย (A)

๓. สาระสำคัญ

ถ้า A, B และ C เปน็ เซตจำกัดใด ๆ แล้ว จะได้วา่ n(A  B) = n(A) + n(B) - n(A  B) และ

n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A  B) - n(A  C) - n(B  C)+ n(A  B  C)

๔. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น

 ความสามารถในการส่ือสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

188

๕. สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)

- หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ที่กำหนดให้ได้

- นำความรูเ้ ร่อื งสมาชิกของเซตจำกดั ไปใช้ในการแกโ้ จทยป์ ัญหาได้

- ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัดได้

- ใชภ้ าษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์ ในการสอ่ื สาร สื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถกู ต้อง

ทกั ษะท่ีสำคัญ (P)

- การแกป้ ญั หา.

- การสอ่ื สารและการสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์

- การเชอื่ มโยง

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ซ่อื สตั ย์สจุ รติ

 มีวินยั  ใฝ่เรยี นรู้

 อยูอ่ ย่างพอเพยี ง  มุ่งม่นั ในการทำงาน

 รักความเปน็ ไทย  มจี ติ สาธารณะ

๖. จุดเน้นสกู่ ารพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนทกั ษะศตวรรษท่ี ๒๑

การเรยี นรู้ 3R x 8C

 Reading (อา่ นออก)  (W)Riting(เขยี นได้)  (A)Rithemetics(คดิ เลขเปน็ )

 Critical Thinking and Problem Solving:มีทักษะในการคิดวเิ คราะห์ และแก้ไขปัญหาได้

 Creativity and Innovation:คิดอย่างสร้างสรรค์ คดิ เชงิ นวัตกรรม

 Collaboration Teamwork and Leadership:ให้ความร่วมมอื ในการทำงานเปน็ ทีมมีภาวะผนู้ ำ

 Communication Information and Media Literacy:มีทักษะในการสื่อสาร และรู้เทา่ ทนั สือ่

 Cross-Cultural Understanding:มคี วามเข้าใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม

 Computing and ICT Literacy:มีทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์ และรเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยี

 Career and Learning Skills:มีทกั ษะทางอาชีพ และกระบวนการเรยี นรูต้ ่างๆ

 Compassion:มคี ุณธรรม มเี มตตากรุณา มีระเบียบวนิ ยั

ทักษะดา้ นชีวิตและอาชพี

 ความยดื หยนุ่ และการปรับตัว

 การรเิ ร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละเป็นตัวของตวั เอง

 ทักษะสงั คมและสังคมข้ามวฒั นธรรม

 การเป็นผ้สู รา้ งหรือผผู้ ลติ (Productivity) และความรับผดิ ชอบเชื่อถือได้ (Accountability)

 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Responsibility)

คณุ ลกั ษณะสำหรบั ศตวรรษท่ี ๒๑

 คุณลกั ษณะดา้ นการทำงาน ไดแ้ ก่ การปรบั ตัว ความเป็นผนู้ ำ

 คณุ ลักษณะดา้ นการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การชน้ี ำตนเอง การตรวจสอบการเรยี นรู้ของตนเอง

 คุณลกั ษณะด้านศลี ธรรม ไดแ้ ก่ ความเคารพผูอ้ ื่น ความซือ่ สตั ย์ ความสำนึกพลเมือง

189

๗. จุดเน้นของสถานศึกษา

๗.๑ ผู้เรยี นเปน็ กลุ สตรีไทยสมัยนยิ ม (SSTB School's 4G)

 มคี ณุ ธรรม (Good Moral)  นำปญั ญา (Good Wisdom)

 จิตอาสาเดน่ (Good Service)  เนน้ มารยาท (Good Manners)

๗.๒ ผูเ้ รียนมศี ักยภาพเปน็ พลโลก (World Citizen) เทียบเคยี งมาตรฐานสากล

 เป็นเลศิ วชิ าการ  สื่อสารได้อยา่ งนอ้ ย 2 ภาษา

 ล้ำหน้าทางความคดิ  ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์

 รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก

๘. ชน้ิ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน /ร่องรอยแสดงความรู้)

- การทำแบบฝึกหดั ในหนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ,
เอกสารประกอบการเรียน, ใบความรู,้ ใบกจิ กรรม , ใบงาน , แบบฝึกปฏบิ ตั กิ ิจกรรม , แบบฝึกทกั ษะ
พฒั นาการเรยี นรู้ , แบบทดสอบหนว่ ยการเรยี นรู้ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมทางการเรยี นการสอน , แบบสังเกต
พฤติกรรมการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุม่ , แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

๙. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

เลือกใช้รูปแบบการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : Concept Based Teaching เพื่อให้เกิด
การเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) โดยใช้วิธีการสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) และ
นิรนัย (Deductive Method) ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนที่นำพาผู้เรียน เพื่อให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ
มีทกั ษะ และเกดิ ความคิดรวบยอด ผลของการจดั การเรียนการสอนในลกั ษณะนี้ จะทำให้ผู้เรียนไดค้ วามรู้ และ
มีทักษะในการค้นหาความคิดรวบยอด ซ่งึ จะเปน็ ทกั ษะสำคัญทต่ี ดิ ตวั ผ้เู รียนไปตลอดชีวิต

ในหัวข้อนี้เป็นเรื่องของจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมาชิกของเซต
จำกัด แผนภาพและสูตรในการหาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด โดยแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อาจทำ
ได้ดงั นี้

190

ขั้นการนำเขา้ สู่บทเรียน

ขน้ั การใชค้ วามรูเ้ ดิมเชื่อมโยงความรใู้ หม่ (Prior Knowledge)
ครทู บทวนความรูเ้ รื่อง จำนวนสมาชกิ ของเซตจำกัดให้นกั เรียนถาม-ตอบ

ขั้นเรยี นรู้

ข้ันเขา้ ใจ (Understanding)
ครแู ละนักเรียนรว่ มกันเฉลยคำตอบของแบบฝกึ ทักษะ เอกสารใบงานตา่ ง ๆ ร่วมกัน

ขั้นลงมือทำ (Doing)
ครูให้แตล่ ะกล่มุ ออกมานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรยี น โดยนกั เรยี นและครชู ่วยกนั ตรวจสอบคำตอบของนักเรยี น

ขั้นสรุป/ ข้นั นำไปใช้

๑. ครใู หน้ กั เรียนเขียนผังความรู้รวบยอดเรอ่ื งจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ลงในสมดุ
๒. ครูสรปุ โดยใช้การถาม-ตอบ ดังน้ี

• สูตรที่เราใชใ้ นการหาจำนวนสมาชกิ ของเซตจำกดั มีกสี่ ตู ร อะไรบา้ ง
(แนวตอบ 2 สตู ร คือ กำหนดให้ A, B และ C เป็นเซตจำกัดใด ๆ จะได้วา่
- A  B = n(A) + n(B) – n( A  B ) เม่ือ A B=
- A BC = n(A) + n(B) + n(C) – n( A  B ) – n( A C) – n( BC ) + n( A BC )
เมือ่ A BC=

๓. ครูใหน้ กั เรียนทำแบบฝกึ ทักษะประจำหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เป็นการบ้าน
๔. ครใู หน้ กั เรยี นสรปุ ข้อคน้ พบเป็นความคดิ รวบยอดท่ีได้จากการทำกจิ กรรม และศึกษาค้นควา้ เพ่มิ เติมนอกเวลา
จากแหล่งการเรยี นรู้ท่คี รแู นะนำ หรอื จากแหลง่ การเรยี นรู้ออนไลน์
๕. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบฝกึ ทกั ษะประจำหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เป็นการบา้ น
๖. ครูให้นักเรียนนำเสนอแนวทางการนำข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ และให้
นักเรยี นฝกึ ทกั ษะด้วยการทำแบบฝึกหดั เพ่ิมเติมจากเอกสารประกอบการเรยี น ใบงาน หรอื ส่ือการเรียนรู้อื่นๆ
ตามทค่ี รมู อบหมาย

๑๐. ส่อื การเรียนรู้

- หนงั สอื เรยี นรายวิชาคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน ม.4
- เอกสารประกอบการเรียน, ใบกิจกรรม, ใบงาน, แบบฝึกหดั
- ใบงาน (จาก DLTV : Distance Learning Television)
- ส่อื การเรยี นรูอ้ นื่ ๆ เช่น จาก DLIT (ห้องเรยี น DLIT, คลังสอื่ การเรียนรู้, ห้องสมุดดิจทิ ัล ฯลฯ) ,

Youtube , Google Sites , Google Classroom เป็นต้น

191

๑๑. แหลง่ เรียนรู้ในหรือนอกสถานสถานศกึ ษา

- ศนู ยค์ ณิตศาสตร์
- ห้องสมุดโรงเรยี น
- DLTV (Distance Learning Television)
- DLIT (Distance Learning Information Technology)

- ขอ้ มลู จากแหล่งเรียนรู้อน่ื ๆ เชน่ Website , Youtube , Google Sites , Google Classroom,

Social Media ฯลฯ

๑๒. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้

รายการวัด วธิ ีการวัดผล เครอ่ื งมือการวัด เกณฑ์การวัดและ
และประเมนิ ประเมนิ ผล

1) หาจำนวนสมาชกิ ของเซต ๑. ตรวจใบงาน/ ๑. แบบบนั ทกึ ๑. ผลการตรวจผลงาน

จำกัดทก่ี ำหนดใหไ้ ด้ แบบฝกึ หดั ของ การประเมนิ ผลงาน ผา่ นรอ้ ยละ 70

2) นำความรเู้ รือ่ งสมาชกิ ของ นกั เรียน นักเรยี นโดยใชเ้ กณฑ์ ๒. ผลการนำเสนอ

เซตจำกัดไปใชใ้ นการแก้โจทย์ ๒. ประเมินการ การประเมินแบบรบู ริกส์ ผลงาน

ปัญหาได้ นำเสนอผลงาน ๒. แบบประเมินการนำเสนอ ผา่ นร้อยละ 70

3) ใช้แผนภาพและสูตรในการ ๓. สงั เกต ผลงานโดยใชเ้ กณฑ์ ๓. ผลการสงั เกต

หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด พฤติกรรมการ การประเมินแบบรูบริกส์ พฤตกิ รรม

ได้ ทำงาน ๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบคุ คล

4) ใช้ภาษาและสญั ลกั ษณท์ าง รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผ่านร้อยละ 70

คณิตศาสตร์ ในการส่อื สาร ส่ือ ๔. สงั เกต ๔. แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๔. ผลการสงั เกต

ความหมาย และการนำเสนอได้ พฤติกรรมการ การทำงานรายกลมุ่ พฤตกิ รรม

อยา่ งถูกต้อง ทำงานรายกล่มุ ๕. แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ การทำงานรายกลุ่ม

5) รบั ผิดชอบต่อหน้าที่ท่ไี ดร้ ับ ๕. คณุ ลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ ผา่ นรอ้ ยละ 70

มอบหมาย อันพงึ ประสงค์ ๕. ผลการสงั เกต

คุณลกั ษณะอันพงึ

ประสงค์

ผา่ นรอ้ ยละ 70

192

๑๓. การบูรณาการการจดั การเรยี นรู้

 บรู ณาการกระบวนการคิด

 การคิดวเิ คราะห์  การคดิ เปรยี บเทยี บ  การคดิ สังเคราะห์

 การคิดวิพากษ์  การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ  การคดิ ประยุกต์

 การคิดเชงิ มโนทัศน์  การคิดเชิงกลยทุ ธ์  การคิดแกป้ ญั หา

 การคดิ บรู ณาการ  การคิดสรา้ งสรรค์  การคดิ อนาคต

 บูรณาการอาเซยี น

 บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 บรู ณาการกบั หลักสตู รต้านทจุ รติ ศึกษา

 บรู ณาการกับการจัดการเรยี นรู้ STEM EDUCATION

 บรู ณาการกบั การจดั การเรยี นรู้ Active Learning

 บรู ณาการกบั กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ

 บูรณาการกบั โครงการการจัดการศึกษาเพือ่ การมีงานทำในศตวรรษท่ี ๒๑

 บูรณาการกบั กลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ืน่ ๆ

1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้แก่ …………………………………

2. กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ได้แก่ คำศัพทภ์ าษาอังกฤษที่เก่ยี วขอ้ งในบทเรยี น

3. กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ได้แก่ ……………………………….

4. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ได้แก่ …………………………………

 บรู ณาการในลักษณะอื่นๆ ไดแ้ ก่........................................................

๑๔. กิจกรรมเสนอแนะ

ควรให้นักเรยี นศึกษาหาความรูจ้ ากตำราเรยี น และแหลง่ การเรียนรอู้ ื่น ๆ เพิม่ เติม เพ่ือเป็นการ
เพิ่มพนู ทกั ษะการเรียนรู้

193

บันทึกผลหลงั การสอน/แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๙

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์เพม่ิ ศักยภาพ ๕
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓/๑๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เซต เวลา ๒๐ ชัว่ โมง
เร่อื ง จำนวนสมาชิกของเซตจำกัด (๕) เวลา ๕๐ นาที

๑. สรุปผลการเรยี นการสอน

๑.๑ นักเรียนท้ังหมดจำนวน................................คน

จุดประสงค์การเรียนรขู้ ้อที่ นักเรยี นท่ผี า่ น นกั เรียนไมผ่ า่ น
จำนวน(คน) รอ้ ยละ จำนวน(คน) ร้อยละ

1) หาจำนวนสมาชิกของเซตจำกดั ท่ี

กำหนดให้ได้

2) นำความรู้เรื่องสมาชิกของเซตจำกดั ไป

ใชใ้ นการแก้โจทย์ปญั หาได้

3) ใชแ้ ผนภาพและสตู รในการหาจำนวน

สมาชกิ ของเซตจำกดั ได้

4) ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทาง

คณิตศาสตร์ ในการสือ่ สาร ส่อื ความหมาย

และการนำเสนอได้อย่างถูกตอ้ ง

๕)รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

รายชอ่ื นักเรยี นทไ่ี มผ่ า่ นจุดประสงคข์ ้อที่.............ไดแ้ ก่
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

รายช่อื นกั เรียนที่ไมผ่ ่านจดุ ประสงค์ข้อท่ี.............ได้แก่
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

นกั เรยี นท่มี ีความสามารถพิเศษ/นักเรียนพิการไดแ้ ก่
๑) ..........................................................................................................................................
๒) ..........................................................................................................................................

๑.๒ นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจ
- มคี วามคิดรวบยอดในเร่อื ง เซต : จำนวนสมาชกิ ของเซตจำกดั

๑.๓ นกั เรียนมีความรู้เกดิ ทักษะ
ทกั ษะดา้ นการอา่ น(Reading) ทักษะดา้ นการเขยี น (Writing) ทักษะดา้ นการคดิ คำนวณ

(Arithmetics) การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ัญหา ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ ทกั ษะด้านการสอื่ สารสารสนเทศ และรูเ้ ทา่ ทันส่ือ ทกั ษะ
ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

๑.๔ นกั เรยี นมเี จตคติ คา่ นยิ ม ๑๒ ประการ คุณธรรมจรยิ ธรรม
- ใฝห่ าความรู้ หมัน่ ศึกษาเลา่ เรยี นทัง้ ทางตรงและทางอ้อม
- มศี ีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี ่อผูอ้ นื่ เผ่ือแผ่และแบ่งปนั

194

๒. ปัญหา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................................... .......
........................................................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................

๓. ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................. .................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอื่ ....................................................
(นางสาวพงษ์ลดา สินสวุ รรณ์)

ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ

ลงชอื่ ……………………………………………………
(นางสาวกนกพร รตั นะอุดม)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
…….……./……………/…………..


Click to View FlipBook Version