และตามใบขนสินค้าขาเข้าเลขท่ี ๐๑๐๒-๐๐๘๔๙-๐๒๖๒๒ อากรขาเข้า ๓๔๕,๑๑๒ บาท
ภาษีมูลค่าเพ่ิม ๒๔,๒๓๐ บาท เงินเพ่ิมภาษีมูลค่าเพ่ิม ๒๔,๒๓๐ บาท ค่าฤชาธรรมเนียม
ชัน้ อุทธรณ์ใหเ้ ปน็ พบั นอกจากที่แกใ้ ห้เป็นไปตามค�ำพพิ ากษาศาลภาษีอากรกลาง.
(ขวัญชนก สุขโข - บุญเขตร์ พุ่มทิพย์ - สรายทุ ธ์ วุฒยาภรณ)์
มณฑาทพิ ย์ ต้ังวิชาชาญ - ยอ่
ดนยั ศกั ด์ิ นาควิเชยี ร - ตรวจ
หมายเหตุ คดีถึงทสี่ ุด
141
คำ� พิพากษาศาลอุทธรณ์คดชี ำ� นัญพเิ ศษท่ี ๑๑๗๒/๒๕๖๑ บริษทั เดอะ
ภเู ก็ตไฟนฟ์ ูด้ จ�ำกัด โจทก์
จำ� เลย
กรมศุลกากร
พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ อฏั ฐารส
รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ชวั่ คราว พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔๕ วรรคสอง
รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๑๒ วรรคหนงึ่
การส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยในระหว่างที่ยังไม่มีกฎหมายว่าด้วย
การน้ันตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับช่ัวคราว พุทธศักราช ๒๕๕๗
มาตรา ๔๕ วรรคสอง ต้องเป็นไปตามขอ้ กำ� หนดศาลรฐั ธรรมนูญวา่ ดว้ ยวธิ พี จิ ารณาและ
การท�ำคำ� วินิจฉยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ้ ๑๘ และขอ้ ๒๐ และรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๑๒ วรรคหนึ่ง โดยผู้ร้องต้องท�ำค�ำร้องระบุรายละเอียด
ตามท่ีบัญญัติไว้ในข้อก�ำหนดศาลรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาและการท�ำค�ำวินิจฉัย
ดังกล่าว เมื่อโจทก์ไม่ได้ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดดังกล่าว การที่ศาลภาษีอากรกลางไม่ส่ง
เร่อื งให้ศาลรัฐธรรมนญู วนิ จิ ฉัยจึงชอบแลว้
แม้ พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ อัฏฐารส จะบัญญัติห้ามมิให้
อุทธรณ์ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ เนื่องจากผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียก หรือไม่ยอม
ใหถ้ อ้ ยคำ� ตอ่ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณโ์ ดยไมม่ ีเหตผุ ลอนั สมควร แตบ่ ทกฎหมาย
ดังกล่าวหมายถึงกรณีผู้น�ำของเข้าหรือผู้ส่งของออกอุทธรณ์ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ในเรื่อง
การประเมินเท่าน้ัน หาได้หมายความรวมถึงกรณีการอุทธรณ์ค�ำสั่งของคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ในเรื่องการใช้ดุลพินิจในการพิจารณาว่าบุคคลท่ีได้รับหนังสือเรียก
มเี หตผุ ลอนั สมควรในการไม่ปฏบิ ัตติ ามหนังสอื เรยี กหรือไม่
______________________________
โจทก์ฟ้อง ขอให้บังคับจ�ำเลยพิจารณาอุทธรณ์ของโจทก์ต่อไป และยกเลิกค�ำสั่งท่ียก
อทุ ธรณ์ของโจทก์
จ�ำเลยใหก้ าร ขอให้ยกฟ้อง
ศาลภาษอี ากรกลาง พิพากษายกฟอ้ ง ค่าฤชาธรรมเนียมใหเ้ ป็นพบั
142
โจทก์อทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงรับฟังเป็นยุติ
ตามท่ีคู่ความมไิ ด้โตแ้ ยง้ กันในชัน้ อุทธรณว์ า่ โจทก์ประกอบกิจการนำ� เขา้ วัตถดุ บิ และวสั ดุจำ� เปน็
ประเภทเนื้อสัตว์แช่แข็ง และได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรจากส�ำนักงานคณะกรรมการ
สง่ เสรมิ การลงทนุ โดยไดร้ บั ยกเวน้ อากรขาเขา้ ตามบตั รสง่ เสรมิ ลงวนั ที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๔
และลงวันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๔๗ โดยมีเงื่อนไขต้องน�ำเข้าเพ่ือผลิตและส่งออกภายในก�ำหนด
๑ ปี หรือน�ำเข้าเพือ่ ส่งกลบั ออกไปเป็นระยะเวลา ๑ ปี นับแต่วนั ที่นำ� เข้าคร้งั แรก เม่อื ระหว่าง
วันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๔๕ ถงึ วนั ที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๐ โจทกน์ �ำวัตถดุ ิบและวสั ดจุ ำ� เป็นประเภท
เน้ือสัตวแ์ ชเ่ ยน็ กำ� เนิดตา่ งประเทศเข้ามาในราชอาณาจักรไทย ตามใบขนสนิ คา้ ขาเขา้ ๔๔ ฉบับ
เม่ือวันท่ี ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๐ พนกั งานเจ้าหน้าทศี่ ลุ กากรของจ�ำเลยตรวจคน้ สถานประกอบการ
ของโจทก์ และยึดเอกสารที่สงสัยว่าเก่ียวเน่ืองกับการกระท�ำความผิดตามกฎหมายศุลกากร
มาตรวจสอบแล้วมีความเห็นว่า สินค้าท่ีโจทก์น�ำเข้าไม่ตรงกับท่ีโจทก์ส�ำแดงตามใบขนสินค้า
ขาเข้า และโจทก์จัดท�ำใบขนสินค้าขาออกส�ำแดงสินค้าประเภทเดียวกับท่ีน�ำเข้าแล้วน�ำใบขน
สินค้าขาออกดังกล่าวไปตัดบัญชีวัตถุดิบท่ีใช้ในการผลิตเพ่ือส่งออก แต่โจทก์ไม่ได้ส่งสินค้า
ออกไปนอกราชอาณาจักรจริง เจ้าพนักงานประเมินของจ�ำเลยจึงประเมินเรียกเก็บอากรขาเข้า
ภาษีมูลค่าเพิ่ม พร้อมเบ้ียปรับและเงินเพ่ิมไปยังโจทก์ โจทก์อุทธรณ์การประเมินดังกลา่ วต่อ
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ คณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีหนังสือ ขอให้โจทก์ส่ง
เอกสารหลกั ฐาน โจทก์ช้ีแจงว่า เอกสารทั้งหมดโจทกส์ ่งใหแ้ ก่ศูนย์เศรษฐกจิ การลงทุนภาคใต้ ๒
(ปจั จบุ ัน ภาค ๖) จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี เนื่องจากมีการตัดบญั ชเี รียบรอ้ ยแล้ว เอกสารประกอบ
หลงั จากการตดั บญั ชแี ลว้ เกดิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตเิ หตกุ ารณส์ นึ ามสิ ญู หาย โจทกจ์ งึ ไมม่ เี อกสาร
ดงั กลา่ ว คณะอนกุ รรมการพจิ ารณาอทุ ธรณม์ หี นงั สอื เรยี กใหโ้ จทกไ์ ปใหถ้ อ้ ยคำ� และใหส้ ง่ เอกสาร
หลักฐานท่ีเก่ียวข้อง แต่โจทก์ไม่ได้ไปให้ถ้อยค�ำหรือส่งเอกสารรวมทั้งมีหนังสือชี้แจง ต่อมา
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์วินิจฉัยให้ยกอุทธรณ์ของโจทก์ตามมาตรา ๑๑๒ ทวาทศ
แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๘ แห่งพระราชบัญญัติ
ศลุ กากร (ฉบบั ที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๓
ปัญหาที่ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์โจทก์ประการแรกมีว่า ที่ศาลภาษีอากรกลางมีค�ำสั่ง
ไม่ส่งเร่ืองให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า บทบัญญัติมาตรา ๑๑๒ ทวาทศ แห่งพระราชบัญญัติ
ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ขดั ตอ่ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ชว่ั คราว พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗
มาตรา ๔ มาตรา ๕ และมาตรา ๔๕ ถูกต้องหรือไม่ เห็นว่า การสง่ เรอ่ื งให้ศาลรฐั ธรรมนูญวนิ ิจฉัย
ต้องเป็นไปตามขอ้ กำ� หนดศาลรัฐธรรมนูญว่าด้วยวธิ ีพจิ ารณาและการทำ� คำ� วินจิ ฉยั พ.ศ. ๒๕๕๐
143
ข้อ ๑๘ และขอ้ ๒๐ และรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๑๒
วรรคหนึง่ โดยผ้รู ้องต้องท�ำค�ำรอ้ งระบรุ ายละเอียดตามทบ่ี ัญญตั ไิ ว้ในข้อก�ำหนดศาลรัฐธรรมนญู
วา่ ดว้ ยวธิ พี จิ ารณาและการทำ� คำ� วนิ จิ ฉยั พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ้ ๑๘ เมอื่ โจทกไ์ มไ่ ดป้ ฏบิ ตั ติ ามขอ้ กำ� หนด
ดังกล่าว การที่ศาลภาษีอากรกลางไม่ส่งเร่ืองให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยจึงชอบแล้ว อุทธรณ์
ข้อนข้ี องโจทกฟ์ ังไม่ข้ึน
ปญั หาทตี่ อ้ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณโ์ จทกป์ ระการตอ่ มามวี า่ การทศ่ี าลภาษอี ากรกลางยก
ประเด็นเร่ืองอ�ำนาจฟ้องขึ้นพิจารณาแล้ววินิจฉัยว่า โจทก์ไม่มีอ�ำนาจฟ้องเนื่องจากคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ยกอุทธรณ์ของโจทก์ตามมาตรา ๑๑๒ ทวาทศ แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร
พ.ศ. ๒๔๖๙ ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ โดยโจทก์อุทธรณ์ว่า จ�ำเลยไม่ได้ย่ืนค�ำให้การต่อสู้ว่า
โจทก์ไม่มีอ�ำนาจฟ้อง การที่ศาลภาษีอากรกลางยกประเด็นดังกล่าวข้ึนวินิจฉัยโดยอ้างว่าเป็น
ปัญหาเก่ียวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน จึงเป็นการมิได้วินิจฉัยคดีตามค�ำฟ้องและ
คำ� ใหก้ าร ตอ้ งหา้ มตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง่ มาตรา ๑๔๒ วรรคหนงึ่ ประกอบ
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๗
การท่ีโจทก์ไม่ได้ส่งเอกสารให้แก่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ เนื่องจากเอกสารถูกน้�ำท่วม
สูญหายโดยเหตุสุดวิสัย จึงไม่อาจถือได้ว่าโจทก์จงใจฝ่าฝืนไม่ส่งเอกสารโดยไม่มีเหตุอันสมควร
ทจ่ี ะเขา้ กรณขี องมาตรา ๑๑๒ ทวาทศ แหง่ พระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ เหน็ วา่ พระราชบญั ญตั ิ
ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ทวาทศ บัญญัติว่า เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยอุทธรณ์
ให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์หรือพนักงานเจ้าหน้าที่มีอ�ำนาจออกหนังสือเรียกผู้อุทธรณ์
หรือบุคคลซ่ึงเก่ียวข้องมาให้ถ้อยค�ำ หรือให้ส่งบัญชี เอกสาร หลักฐาน หรือข้อมูล ไม่ว่าในส่ือ
รูปแบบใด ๆ หรือสิ่งของอย่างอื่นท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องท่ีอุทธรณ์มาแสดงได้ โดยให้เวลาบุคคล
ดังกล่าวไม่น้อยกว่าสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ส่งหนังสือเรียกผู้อุทธรณ์ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหนังสือ
เรียกตามวรรคหนึ่ง หรือไมย่ อมใหถ้ ้อยคำ� โดยไม่มีเหตผุ ลอันสมควร ให้คณะกรรมการพจิ ารณา
อุทธรณ์ยกอุทธรณ์นั้นเสีย จากบทบัญญัติดังกล่าวกฎหมายให้อ�ำนาจคณะกรรมการพิจารณา
อุทธรณ์หรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีของจ�ำเลยใช้ดุลยพินิจในการออกหนังสือเรียกผู้อุทธรณ์หรือ
บคุ คลซ่ึงเกยี่ วขอ้ งมาให้ถอ้ ยค�ำ หรอื ใหส้ ง่ บญั ชี เอกสาร หลกั ฐาน ข้อมูลหรือสงิ่ ของอย่างอ่นื ท่ี
เกยี่ วขอ้ งกบั เรอื่ งทอ่ี ทุ ธรณเ์ พอื่ ประกอบการพจิ ารณาอทุ ธรณ์ รวมทงั้ ใชด้ ลุ ยพนิ จิ ในการพจิ ารณา
วา่ บคุ คลทไี่ ดร้ บั หนงั สอื เรยี กดงั กลา่ วมเี หตผุ ลอนั สมควรในการไมป่ ฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื เรยี กหรอื ไม่
แตก่ ารใชด้ ลุ ยพนิ จิ ดงั กล่าวตอ้ งเปน็ ดลุ ยพนิ จิ ทชี่ อบดว้ ยกฎหมายและยอ่ มถกู ตรวจสอบได้ เวน้ แต่
จะมีกฎหมายบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งว่าไม่ให้ตรวจสอบ แม้พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙
มาตรา ๑๑๒ อฏั ฐารส จะบัญญัติหา้ มมใิ หอ้ ุทธรณค์ �ำวินจิ ฉัยอทุ ธรณข์ องคณะกรรมการพจิ ารณา
144
อุทธรณ์ โดยฟ้องเป็นคดีต่อศาลในกรณีที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ยกอุทธรณ์เน่ืองจาก
ผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียก หรือไม่ยอมให้ถ้อยค�ำต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
โดยไม่มเี หตุผลอนั สมควร แตบ่ ทกฎหมายดังกล่าวในตอนตน้ บัญญตั วิ า่ ผอู้ ทุ ธรณม์ สี ทิ ธิอุทธรณ์
ค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ โดยฟ้องเป็นคดีต่อศาล อันเป็นการให้สิทธิผู้น�ำ
ของเข้าหรือผู้ส่งของออกท่ียังคงไม่เห็นด้วยกับค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณา
อทุ ธรณใ์ นเรอ่ื งการประเมนิ ของเจา้ พนกั งานประเมนิ ทจ่ี ะใชส้ ทิ ธทิ างศาล ดงั นนั้ ขอ้ ความตอนหลงั
ของบทกฎหมายดงั กลา่ วทบ่ี ญั ญตั หิ า้ มมใิ หอ้ ทุ ธรณค์ ำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข์ องคณะกรรมการพจิ ารณา
อุทธรณ์ โดยฟ้องเป็นคดีต่อศาลในกรณีที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ยกอุทธรณ์ เน่ืองจาก
ผู้อุทธรณ์ไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียก หรือไม่ยอมให้ถ้อยค�ำต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
โดยไม่มีเหตุอันสมควร ย่อมหมายถึงกรณีผู้น�ำของเข้าหรือผู้ส่งของออกอุทธรณ์ค�ำวินิจฉัย
อทุ ธรณ์ของคณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์ในเร่อื งการประเมนิ เท่านัน้ หาไดห้ มายความรวมถึง
กรณีการอุทธรณ์ค�ำส่ังของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ในเร่ืองการใช้ดุลยพินิจในการ
พจิ ารณาวา่ บคุ คลทไ่ี ดร้ บั หนงั สอื เรยี กมเี หตผุ ลอนั สมควรในการไมป่ ฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื เรยี กหรอื ไม่
เมื่อปรากฏจากค�ำฟ้องของโจทก์ว่า โจทก์ไม่เห็นด้วยกับค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ที่ยกอุทธรณ์ของโจทก์ เน่ืองจากโจทก์ไม่ได้จงใจไม่ส่งเอกสารโดยไม่มีเหตุ
อันสมควร โดยมีค�ำขอท้ายฟ้องให้จ�ำเลยพิจารณาอุทธรณ์ของโจทก์ต่อไป อันเป็นการฟ้องว่า
การใช้ดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงไม่ใช่
การฟ้องเก่ียวกับการประเมินของเจ้าพนักงานประเมินที่จะต้องห้ามมิให้ฟ้องคดีต่อศาลตาม
พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ อัฏฐารส โจทก์จึงมีอ�ำนาจฟ้อง ที่ศาล
ภาษีอากรกลางยกเร่ืองอ�ำนาจฟ้องขึ้นวินิจฉัยโดยเห็นว่าเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเก่ียวด้วย
ความสงบเรียบร้อยของประชาชนแล้ววินิจฉัยว่า โจทก์ไม่มีอ�ำนาจฟ้อง ไม่ต้องด้วยความเห็น
ของศาลอทุ ธรณ์คดชี �ำนญั พเิ ศษ อทุ ธรณข์ องโจทกข์ ้อนฟ้ี ังขึน้
ปัญหาที่ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์โจทก์ประการสุดท้ายมีว่า ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของ
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ที่ยกอุทธรณ์ของโจทก์ เนื่องจากโจทก์จงใจไม่ส่งเอกสารโดย
ไม่มีเหตุอันสมควรชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ โดยโจทก์อุทธรณ์ว่า โจทก์ไม่ได้ส่งเอกสารให้แก่
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เน่ืองจากเอกสารถูกน้�ำท่วมสูญหายโดยเหตุสุดวิสัย จึงไม่อาจ
ถือได้ว่าโจทก์จงใจฝ่าฝืนไม่ส่งเอกสารโดยไม่มีเหตุอันสมควรท่ีจะเข้ากรณีของมาตรา ๑๑๒
ทวาทศ แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ เห็นว่า แม้ศาลภาษีอากรกลางจะยังไม่ได้
วินิจฉัยประเด็นข้อนี้ แต่เม่ือโจทก์และจ�ำเลยต่างน�ำสืบพยานหลักฐานเสร็จส้ินแล้ว จึงเห็นควร
วินจิ ฉยั อทุ ธรณ์โจทกข์ อ้ นี้โดยไมย่ ้อนส�ำนวนไปยงั ศาลภาษอี ากรกลางเพือ่ ใหพ้ ิพากษาใหม่ เมอื่
145
ข้อเท็จจริงรับฟังเป็นยุติว่า คณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีหนังสือแจ้งให้โจทก์ส่งเอกสาร
รวม ๓ ครัง้ คร้งั แรกโจทก์แจง้ วา่ เอกสารท้ังหมดจัดส่งให้แก่ศนู ย์เศรษฐกิจการลงทนุ ภาคใต้ ๒
(ปัจจุบัน ภาค ๖) จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี เนือ่ งจากมีการตัดบญั ชีเรยี บร้อยแล้ว เอกสารประกอบ
หลงั จากการตดั บญั ชแี ลว้ เกดิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตเิ หตกุ ารณส์ นึ ามสิ ญู หาย โจทกจ์ งึ ไมม่ เี อกสาร
ดังกล่าว ต่อมาคณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีหนังสือเรียกถึงโจทก์อีก ๒ ครั้ง ให้ไปให้
ถ้อยค�ำและส่งเอกสารหลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง โจทก์ได้รับหนังสือทั้งสองฉบับดังกล่าวแล้วแต่ไม่ได้
ไปให้ถ้อยค�ำหรือส่งเอกสารรวมท้ังมีหนังสือชี้แจง การที่คณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
มีหนังสือเรียกไปยังโจทก์อีก ๒ ครั้ง เพ่ือไปให้ถ้อยค�ำและส่งเอกสารหลักฐานตามที่ระบุไว้
ในหนังสือเรียกหลังจากท่ีมีหนังสือเรียกครั้งแรกและโจทก์มีหนังสือชี้แจงไปแล้วน้ัน แสดงว่า
คณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ยังติดใจในเรื่องเอกสารที่โจทก์อ้างว่าส่งไปยังหน่วยงานอ่ืน
และเอกสารที่โจทก์อ้างว่าสูญหาย โจทก์จึงมีหน้าที่ต้องไปให้ถ้อยค�ำเพ่ือชี้แจงข้อสงสัยของ
คณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ แต่โจทก์เพิกเฉยไม่ไปให้ถ้อยค�ำหรือเสนอเอกสารรวมทั้ง
มีหนังสือช้ีแจงเหมือนคร้ังแรกอันเป็นการไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกของคณะอนุกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ ดังน้ัน การท่ีคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีค�ำสั่งยกอุทธรณ์ของโจทก์
เน่ืองจากโจทก์ไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกตามที่มาตรา ๑๑๒ ทวาทศ แห่งพระราชบัญญัติ
ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ให้อ�ำนาจไว้ จึงเป็นการใช้ดุลยพินิจโดยชอบด้วยกฎหมาย ค�ำสั่งและ
คำ� วินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์ท่ใี หย้ กอุทธรณข์ องโจทกช์ อบแล้ว ท่ศี าล
ภาษีอากรกลางพิพากษายกฟ้องโจทก์มาน้ัน ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษเห็นพ้องด้วยในผล
อทุ ธรณข์ องโจทก์ขอ้ นฟี้ งั ไมข่ น้ึ
พิพากษายืน ค่าฤชาธรรมเนียมช้นั อุทธรณใ์ หเ้ ป็นพบั .
(ณฐั พร ณ กาฬสินธ์ุ - กีรติ ต้งั ธรรม - ผจงธรณ์ วรนิ ทรเวช)
นรนิ ทร ตั้งศรไี พโรจน์ - ย่อ
สภุ า วิทยาอารียก์ ุล - ตรวจ
หมายเหตุ คดีถงึ ท่ีสุด
146
ค�ำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค์ ดีช�ำนัญพิเศษท่ี ๑๓๒๓/๒๕๖๑ กรมศุลกากร โจทก์
บริษทั ดับบลวิ เอฟเอสพีจี
คารโ์ ก้ จำ� กดั จำ� เลย
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ.๒๔๖๙ มาตรา ๒, ๖ (๑) (๒), ๙๗ ทศ
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นสนามบินศุลกากรและบริเวณท่าอากาศยาน
สุวรรณภูมิเป็นเขตศุลกากร มีการน�ำของเข้าและส่งของออก หรือน�ำของเข้าและ
ส่งของออกทางท่าอากาศยาน บริษัท ท. ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเขตปลอดอากร
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จ�ำเลยเป็นผู้ได้รับอนุมัติจากโจทก์ให้ประกอบกิจการในเขต
ปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเพื่อประกอบกิจการขนส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
โดยใชเ้ ปน็ ทเ่ี กบ็ สนิ คา้ เขา้ ออก ถา่ ยลำ� ผา่ นแดน และสนิ คา้ ตกคา้ ง ทน่ี ำ� เขา้ และสง่ ออกทาง
อากาศยานของสายการบนิ ตา่ ง ๆ และจำ� เลยทำ� สญั ญาโครงการคลงั สนิ คา้ ณ ทา่ อากาศยาน
สุวรรณภูมิกับบริษัท ท. การประกอบกิจการของจ�ำเลยจึงมีลักษณะเป็นโรงพักสินค้า
ทม่ี น่ั คง อนั ถอื วา่ เปน็ คลงั สนิ คา้ ตามคำ� นยิ ามมาตรา ๒ แหง่ พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙
เมอ่ื ไดค้ วามวา่ คลงั สนิ คา้ ในเขตปลอดอากรทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ทิ จ่ี ำ� เลยไดร้ บั อนมุ ตั ิ
ให้เป็นผู้ประกอบกิจการน้ันเปิดท�ำการตลอด ๒๔ ช่ัวโมง การน�ำสินค้าเข้าหรือสินค้าออก
จากคลังสินค้า การเปิดปิดคลังสินค้านอกเวลาราชการ จึงต้องมีพนักงานของโจทก์
ควบคุมก�ำกับดูแลจนกว่าจะด�ำเนินการแล้วเสร็จ หรือมีการปิดคลังสินค้า การที่จ�ำต้อง
มีพนักงานของโจทก์มาปฏิบัติหน้าที่นอกเวลาราชการ กรณีจึงอยู่ในบังคับที่จ�ำเลย
ซงึ่ เปน็ ผรู้ บั อนมุ ตั ปิ ระกอบกจิ การในเขตปลอดอากรทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ติ อ้ งรบั ผดิ
ชำ� ระค่าธรรมเนยี มล่วงเวลาแกโ่ จทก์
______________________________
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจ�ำเลยช�ำระค่าธรรมเนียมท�ำการล่วงเวลาส�ำหรับพนักงานไป
ประจ�ำการ ณ ศลุ กสถาน กรณขี อให้กระท�ำการอยา่ งหนง่ึ อย่างใด นอกจากท่ีระบไุ ว้ใน (๒)-(๘)
ตามใบแนบ ศ.๓ (๙) จ�ำนวน ๘๒๑,๑๒๑.๒๕ บาท ให้จ�ำเลยช�ำระดอกเบี้ยอัตราร้อยละ ๗.๕
ตอ่ ปี จากตน้ เงนิ ๔๙๗,๒๐๐ บาท นบั แต่วันฟอ้ งจนกว่าจะช�ำระเสรจ็ แก่โจทก์
147
จ�ำเลยใหก้ ารขอให้ยกฟอ้ ง
ศาลภาษอี ากรกลางพิพากษาใหจ้ ำ� เลยชำ� ระเงิน ๘๒๑,๑๒๑.๒๕ บาท แก่โจทกพ์ รอ้ ม
ดอกเบย้ี อตั รารอ้ ยละ ๗.๕ ต่อปี ของเงนิ ตน้ ๔๙๗,๒๐๐ บาท นบั แตว่ ันฟอ้ งจนกวา่ จะชำ� ระเสร็จ
กับให้จ�ำเลยใชค้ า่ ฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ โดยกำ� หนดคา่ ทนายความ ๑๐,๐๐๐ บาท
จำ� เลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงฟังได้ว่า
กฎกระทรวงกำ� หนดใหท้ า่ อากาศยานสวุ รรณภมู เิ ปน็ สนามบนิ ศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๔๘ มวี ตั ถปุ ระสงค์
เพือ่ ให้อากาศยานข้นึ ลงและมีการนำ� ของเขา้ หรือสง่ ของออก หรือนำ� ของเขา้ และสง่ ของออกทาง
ท่าอากาศยานดังกล่าวได้ บริษัทท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับอนุมัติให้จัดต้ังเขต
ปลอดอากรทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗ จ�ำเลยทำ� สญั ญาโครงการ
คลังสินค้า ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิกับบริษัทท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) โดยมี
ข้อสัญญาท่ี ๒๒. ข้อก�ำหนดทั่วไป ระบุในข้อ ๒๒.๔ ว่า ผู้รับอนุญาต (จ�ำเลย) จะต้องช�ำระ
ภาษีและ/หรือค่าธรรมเนียมใด ๆ ตามกฎหมายท่ีเรียกเก็บจากการด�ำเนินการและการบริการ
ตามสัญญานี้ จ�ำเลยท�ำสัญญาประกันและทัณฑ์บนส�ำหรับผู้ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร
กับโจทก์ ส�ำนักงานศุลกากรตรวจสินค้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิจัดตั้งโดยพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มีอ�ำนาจหน้าท่ีตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง
แบง่ สว่ นราชการ กรมศุลกากร กระทรวงการคลงั พ.ศ. ๒๕๔๕ แกไ้ ขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวง
แบง่ สว่ นราชการ กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙ เปดิ ใหบ้ ริการทาง
ศุลกากรเมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๙ ทั้งน้ีให้น�ำบรรดาประกาศระเบียบ ค�ำส่ัง ประมวล
ระเบียบปฏิบัติศุลกากรท่ีใช้บังคับกับส�ำนักงานศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ มาบังคับใช้กับ
ส�ำนักงานศุลกากรตรวจสินค้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยอนุโลม ตามระเบียบกรมศุลกากร
ที่ ๓๔/๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๙ และประกาศกรมศุลกากรท่ี ๙๒/๒๕๔๙ โจทก์มี
หนังสือแจ้งให้จ�ำเลยช�ำระค่าธรรมเนียมท�ำการล่วงเวลาส�ำหรับพนักงาน จ�ำเลยอุทธรณ์ค�ำส่ัง
ดงั กล่าว วนั ท่ี ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๓ โจทก์มหี นงั สือแจ้งให้จำ� เลยต้องชำ� ระคา่ ธรรมเนียมลว่ งเวลา
ตามใบแนบ ศ.๓ (๙) วนั ที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๓ จำ� เลยมหี นังสือขอให้โจทกท์ บทวนคำ� สัง่ วันที่
๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๓ โจทก์มีหนังสือแจ้งให้จ�ำเลยทราบว่ากรณีไม่อาจรับอุทธรณ์ของจ�ำเลยไว้
พจิ ารณาได้และใหจ้ �ำเลยน�ำเงนิ มาชำ� ระภายใน ๑๕ วันนบั แตว่ นั ท่ีไดร้ บั หนงั สอื แตจ่ �ำเลยยงั มไิ ด้
ช�ำระเงนิ คา่ ธรรมเนียมล่วงเวลาดังกลา่ ว
148
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของจ�ำเลยว่า โจทก์มีอ�ำนาจตามกฎหมายในการ
เรยี กเก็บค่าธรรมเนยี มท�ำการล่วงเวลาสำ� หรบั พนักงานตามฟ้องหรอื ไม่ เหน็ ว่า ตามพระราชบัญญัติ
ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๒ บัญญัติว่า ค�ำว่า “คลังสินค้า” หมายความว่าโรงพักสินค้า
ท่ีมั่นคงและคลังสินค้าทัณฑ์บน เมื่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นสนามบินศุลกากรและบริเวณ
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นเขตศุลกากร เพื่อให้อากาศยานข้ึนลงและมีการน�ำของเข้าหรือ
สง่ ของออก หรอื นำ� ของเขา้ และสง่ ของออกทางทา่ อากาศยานดงั กลา่ ว กบั ทงั้ บรษิ ทั ทา่ อากาศยานไทย
จ�ำกัด (มหาชน) ได้รบั อนุมตั ใิ หจ้ ัดตัง้ เขตปลอดอากรทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ โดยจ�ำเลยได้รับ
อนมุ ตั จิ ากโจทกใ์ หเ้ ปน็ ผปู้ ระกอบกจิ การในเขตปลอดอากรทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ เพอ่ื ประกอบ
กิจการขนส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์โดยใช้เป็นท่ีเก็บสินค้าขาเข้า-ขาออก ถ่ายล�ำ ผ่านแดนและ
สินค้าตกค้าง ท่ีน�ำเข้าและส่งออกทางอากาศยานของสายการบินต่าง ๆ และประกอบกิจการ
โลจสิ ตกิ ส์ นอกจากน้ันจำ� เลยยังท�ำสญั ญาโครงการคลงั สินคา้ กับบรษิ ัททา่ อากาศยานไทย จำ� กัด
(มหาชน) ผู้ได้รับอนุมัติให้จัดต้ังเขตปลอดอากร การประกอบกิจการของจ�ำเลยจึงมีลักษณะ
เป็นโรงพักสินค้าท่ีมั่นคง อันถือว่าเป็นคลังสินค้า ตามค�ำนิยามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒ แห่ง
พระราชบญั ญตั ศิ ุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ซึ่งตามมาตรา ๖ (๒) ที่ให้อำ� นาจอธบิ ดีกรมศลุ กากรท่ีจะ
ให้สร้างโรงพักสินค้าหรือที่มั่นคงส�ำหรับเป็นท่ีตรวจและเก็บสินค้าที่ยังไม่ได้ตรวจมอบภายใน
สนามบินศุลกากรได้ และตามค�ำสั่งท่ัวไปกรมศุลกากรท่ี ๕๔/๒๕๔๗ หมายเหตุ (๖) ระบุว่า
กรณีเรียกเก็บค่าธรรมเนียมล่วงเวลาตามใบแนบ ศ.๓ (๙) เช่น (๖.๑๔) ควบคุมการเปิด-ปิด
คลังสินค้า เม่ือการประกอบกิจการของจ�ำเลย ในเขตปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
มีลักษณะเป็นโรงพักสินค้าที่ม่ันคงและเป็นพ้ืนที่คลังสินค้า การเปิด-ปิดคลังสินค้า จึงต้อง
กระทำ� ตอ่ หนา้ พนกั งานเจา้ หนา้ ทศี่ ลุ กากรในเวลากระทำ� การตามหนา้ ทหี่ รอื อยใู่ นการกำ� กบั ดแู ล
ของพนกั งานของโจทกม์ ฉิ ะนนั้ มคี วามผดิ ตามทบ่ี ญั ญตั ใิ นมาตรา ๙๓ แหง่ พระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร
พ.ศ. ๒๔๖๙ เม่ือได้ความว่าคลังสินค้าในเขตปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิที่จ�ำเลย
เป็นผรู้ บั อนุมัตใิ ห้เปน็ ผปู้ ระกอบกจิ การน้นั เปดิ ท�ำการตลอด ๒๔ ช่วั โมง การน�ำสนิ ค้าเขา้ หรือ
สินค้าออกจากคลังสินค้า การเปิด-ปิดคลังสินค้านอกเวลาราชการ จึงต้องมีพนักงานของโจทก์
ควบคมุ กำ� กบั ดแู ลจนกวา่ จะดำ� เนนิ การแลว้ เสรจ็ หรอื มกี ารปดิ คลงั สนิ คา้ การทจ่ี ำ� ตอ้ งมพี นกั งาน
ของโจทกม์ าปฏบิ ตั หิ นา้ ทนี่ อกเวลาราชการ กรณจี งึ อยใู่ นบงั คบั ทจี่ ำ� เลยซง่ึ เปน็ ผรู้ บั อนมุ ตั ปิ ระกอบ
กิจการในเขตปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิดังกล่าว ต้องรับผิดช�ำระค่าธรรมเนียมล่วง
เวลา ตามค�ำสั่งทั่วไปกรมศลุ กากร ท่ี ๕๔/๒๕๔๗ ซง่ึ ตามระเบยี บกรมศุลกากร ท่ี ๓๔/๒๕๔๙
149
และประกาศกรมศุลกากรที่ ๙๒/๒๕๔๙ ให้นำ� บรรดาประกาศ ระเบียบ คำ� สงั่ ประมวลระเบียบ
ปฏบิ ัตศิ ุลกากรทใี่ ช้บังคับกบั สำ� นักงานศลุ กากรท่าอากาศยานกรุงเทพ มาบังคับใชก้ ับสำ� นกั งาน
ศลุ กากรตรวจสนิ ค้าทา่ อากาศยานสวุ รรณภูมิโดยอนโุ ลม ดงั น้นั อำ� นาจหนา้ ที่ของพนกั งานของ
โจทกใ์ นการปฏบิ ตั กิ ารใหบ้ รกิ ารทางศลุ กากรตามประกาศ ระเบยี บ คำ� สงั่ ประมวลระเบยี บปฏบิ ตั ิ
ศุลกากรที่ใช้บังคับกับส�ำนักงานศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ สามารถน�ำมาใช้กับการปฏิบัติ
การให้บรกิ ารทางศลุ กากรของพนกั งานของโจทกท์ ส่ี �ำนักงานศุลกากรตรวจสินค้าทา่ อากาศยาน
สุวรรณภูมิด้วย รวมถึงพื้นที่โรงพักสินค้าหรือคลังสินค้าท่ีจ�ำเลยได้รับอนุมัติให้ประกอบกิจการ
ในเขตปลอดอากรท่าอากาศยานสวุ รรณภูมิ คำ� สงั่ ท่ัวไปที่ ๕๔/๒๕๔๓ เปน็ คำ� สัง่ ทว่ั ไปทีใ่ ชเ้ ป็น
แนวปฏิบัติงานในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมตามกฎกระทรวงการคลัง ตามที่พระราชบัญญัติ
ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ บัญญัติให้อ�ำนาจไว้ จึงใช้ได้เป็นการทั่วไป ซึ่งขณะออกค�ำส่ังนั้นเป็น
ช่วงเวลาก่อนที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและส�ำนักงานศุลกากรตรวจสินค้าท่าอากาศยาน
สุวรรณภูมิจะเปิดท�ำการ ดังน้ันการตีความหรือการแปลความค�ำสั่งดังกล่าว จึงเป็นไปตาม
บทบญั ญตั ิแหง่ พระราชบัญญตั ศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ การตคี วามของพนกั งานของโจทกจ์ ึงเป็น
ไปตามอ�ำนาจหน้าที่ของพนักงานของโจทก์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ มิใช่การตีความโดยการ
ขยายความเพ่ือใช้อ�ำนาจเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามท่ีจ�ำเลยอ้างในอุทธรณ์ เมื่อลักษณะการ
ประกอบกิจการของจ�ำเลยถือได้ว่าเป็นโรงพักสินค้า ท่ีมั่นคงอันถือเป็นคลังสินค้า การประกอบ
กจิ การจงึ ตอ้ งมพี นกั งานของโจทกป์ ฏบิ ตั หิ นา้ ทค่ี วบคมุ ดแู ลเปดิ -ปดิ คลงั สนิ คา้ จำ� เลยยอ่ มมภี าระ
หน้าท่ี ความรับผิดชอบตา่ ง ๆ ตามที่พระราชบัญญตั ศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ในเรื่องทีเ่ กี่ยวกับ
คลงั สนิ คา้ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งการปฏบิ ตั พิ ธิ กี ารศลุ กากรนำ� เขา้ -สง่ ออก การจดั เกบ็ ของในคลงั สนิ คา้
ตามหมวด ๑๐ แห่งพระราชบญั ญัตศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ตลอดจนการชำ� ระค่าธรรมเนียมทาง
ศลุ กากรตามทก่ี ำ� หนดไวใ้ นกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๑๔๔ (พ.ศ. ๒๕๔๗) ความเหน็ ตอบขอ้ หารอื ของ
นิติกรทเ่ี หน็ วา่ กรณีนโ้ี จทก์ไมอ่ าจเรียกเกบ็ ค่าธรรมเนยี มล่วงเวลาตามฟ้องไดน้ ้ัน เป็นความเห็น
ในข้ันตอนการปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น ไม่มีผลผูกพันโจทก์ตามท่ีจ�ำเลยยกข้ึนอ้างในอุทธรณ์
เม่ือจ�ำเลยเป็นผู้รับอนุมัติจากโจทก์ให้เป็นผู้ประกอบกิจการคลังสินค้าในเขตปลอดอากร
ทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ ซ่ึงตามพระราชบัญญตั ศิ ุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ นั้นการปฏบิ ัตกิ ารทาง
ศุลกากรในการควบคุมสินค้าเข้ามาเก็บ และการน�ำสินค้าออกจากคลังจะต้องอยู่ในการก�ำกับ
ควบคมุ ดแู ลโดยพนกั งานของโจทก์ นอกจากนนั้ จำ� เลยยงั เปน็ ตวั แทนสายการบนิ รายงานสายการบนิ
ขาเข้าและรายงานสินค้าเข้า ซึ่งเม่ือโจทก์ได้รับรายงานดังกล่าวโจทก์จะต้องจัดให้พนักงานเข้า
150
ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่คี วบคมุ ดูแลการน�ำสินคา้ เข้ามาเก็บ และการนำ� สนิ คา้ ออกจากคลังสินค้าของจ�ำเลย
เม่อื ไดค้ วามว่าคลงั สินค้าของจำ� เลยเปิดบริการ ๒๔ ชัว่ โมง การน�ำสนิ คา้ เขา้ หรือสินค้าออกจาก
คลงั นอกเวลาราชการจงึ จำ� ตอ้ งจดั ใหม้ พี นกั งานของโจทกค์ วบคมุ กำ� กบั ดแู ลจนกวา่ การดำ� เนนิ การ
ดังกล่าวจะแล้วเสร็จ ในการประกอบกิจการคลังสินค้าในเขตปลอดอากร จ�ำเลยจึงต้องมี
ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ในเรื่องที่เก่ียวกับ
คลังสินค้า ท้ังเร่ืองการปฏิบัติพิธีการศุลกากรน�ำเข้า-ส่งออก การจัดเก็บของในคลังสินค้า
ตามหมวด ๑๐ และการชำ� ระคา่ ธรรมเนียมทางศุลกากรตามท่กี �ำหนดไว้ในกฎกระทรวง ก�ำหนด
ค่าธรรมเนียมในการด�ำเนินการพิธีการศุลกากรตามใบแนบ ศ.๓ (๙) แนบท้ายกฎกระทรวง
ฉบับท่ี ๑๔๔ (พ.ศ. ๒๕๔๗) จ�ำเลยจงึ ต้องรบั ผดิ ชำ� ระคา่ ธรรมเนยี มและดอกเบย้ี ผิดนดั ให้โจทก์
ตามฟ้อง ท่ีศาลภาษีอากรกลางวินิจฉัยมาน้ัน ชอบด้วยข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายแล้ว
ศาลอทุ ธรณ์คดชี ำ� นญั พเิ ศษเห็นพ้องด้วย อุทธรณ์ของจำ� เลยทกุ ขอ้ ฟงั ไม่ขึ้น
อนง่ึ ปรากฏวา่ บญั ชกี ารทำ� ลว่ งเวลาประจำ� เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๑ มเี พยี ง ๑๓,๒๐๐ บาท
เม่ือรวมกับค่าธรรมเนียมเดือนอื่นแล้ว คงเป็นเงินต้นเพียง ๔๙๗,๐๐๐ บาท และดอกเบ้ีย
๓๒๓,๗๙๐ บาท รวมเป็นเงิน ๘๒๐,๗๙๐ บาท ท่ีศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้จ�ำเลย
ช�ำระเงิน ๘๒๑,๑๒๑.๒๕ บาท จึงเกินไปกว่าจ�ำนวนหน้ีที่แท้จริง ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ
เหน็ ควรแก้ไขใหถ้ ูกต้อง
พิพากษาแก้เป็นว่า ให้จ�ำเลยช�ำระเงิน ๘๒๐,๗๙๐ บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตรา
ร้อยละ ๗.๕ ตอ่ ปี ของเงินตน้ ๔๙๗,๐๐๐ บาท นับแต่วนั ฟ้อง (ฟ้องวนั ที่ ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙)
เป็นต้นไปจนกว่าจะช�ำระเสร็จแก่โจทก์ นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามค�ำพิพากษาศาล
ภาษอี ากรกลาง ค่าฤชาธรรมเนียมช้นั อทุ ธรณใ์ หเ้ ปน็ พบั .
(กีรติ ต้ังธรรม - ผจงธรณ์ วรนิ ทรเวช - ณฐั พร ณ กาฬสนิ ธ)์ุ
มณฑาทิพย์ ตั้งวิชาชาญ - ยอ่
สภุ า วทิ ยาอารียก์ ุล - ตรวจ
หมายเหตุ คดีถึงทส่ี ุด
151
ค�ำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค์ ดีช�ำนญั พิเศษที่ ๑๒๖๗/๒๕๖๒ บรษิ ัทอีซูซุ มอเตอร์
(ประชมุ ใหญ่) ประเทศไทย จำ� กัด โจทก์
จำ� เลย
กรมศลุ กากร
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๐๒ ตรี
พ.ร.บ. วธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๖
พ.ร.ก. พกิ ดั อัตราศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๑๔
บทบญั ญัตติ าม พ.ร.บ. วิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๖
วรรคหนึ่ง ห้ามมิให้เจ้าหน้าท่ีหรือคณะกรรมการใช้อ�ำนาจพิจารณาทางปกครองในกรณี
ท่ีมีสภาพอันร้ายแรงอันอาจท�ำให้การพิจารณาทางปกครองไม่เป็นกลาง ซึ่งกรณีใด
จะถือว่าเป็นสภาพร้ายแรงหรือไม่น้ันต้องพิจารณาข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงในแต่ละ
กรณีไป ส�ำหรับคดีนี้แม้พนักงานเจ้าหน้าที่ของจ�ำเลยท่ี ๑ และอธิบดีของจ�ำเลยท่ี ๑
อาจมีสิทธิได้รับเงินรางวัลจากเงินอากรที่จ�ำเลยที่ ๑ เรียกเก็บได้จากโจทก์ แต่การ
ด�ำเนินการของพนักงานเจ้าหน้าท่ีของจ�ำเลยท่ี ๑ เพื่อออกแบบแจ้งการประเมินและ
การพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ซึ่งเป็นการท�ำค�ำส่ังทางปกครอง
ท่ีเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามที่ก�ำหนดไว้ใน พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ยังไม่อาจ
ถือได้ว่าพนักงานเจ้าหน้าท่ีของจ�ำเลยท่ี ๑ และอธิบดีของจ�ำเลยท่ี ๑ มีส่วนได้เสียซึ่งมี
สภาพร้ายแรงอันอาจท�ำให้การพิจารณาทางปกครองไม่เป็นกลางตามมาตรา ๑๖ แห่ง
พ.ร.บ. วิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ชุดเกียร์รถยนต์ที่โจทก์น�ำเข้าจากสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ตามใบขนสินค้าขาเข้า
๒๑ ฉบับ จะได้รับสิทธิลดอัตราอากรภายใต้โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม
ของอาเซียน (AICO) ตามประกาศกระทรวงการคลัง ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑)
เรื่อง ลดอัตราอากรศุลกากร ลงวันท่ี ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑ หรือไม่ จะต้องพิจารณาว่าโจทก์
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงการคลังฉบับดังกล่าว
ครบถ้วนหรือไม่ ข้อเท็จจริงรับฟังเป็นยุติว่า ในการน�ำเข้าชุดเกียร์รถยนต์ตามใบขน
สินค้าขาเข้า ๒๑ ฉบับ โจทก์ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ระบุไว้ในประกาศ
กระทรวงการคลงั ที่ ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) เรอื่ ง ลดอตั ราอากรศุลกากร ลงวันท่ี ๑๙
152
ตุลาคม ๒๕๔๑ โดยยื่นใบรับรองเมืองก�ำเนิด (Certificate of Origin) จากประเทศภาคี
ของอาเชยี น คอื สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ซง่ึ ออกใหต้ ามกฎวา่ ดว้ ยแหลง่ กำ� เนดิ สนิ คา้ ภายใต้
ความตกลงว่าด้วยการให้สิทธิพิเศษทางการค้าของอาเซียน และใบรับรองผลิตภัณฑ์
ซ่ึงออกโดยเลขาธิการอาเซียนและชุดเกียร์รถยนต์ตามใบขนสินค้าขาเข้าทั้ง ๒๑ ฉบับ
ตรงตามชื่อของผลิตภัณฑ์ (Part Name) หมายเลข (Part Number) ย่ีห้อ ประเภท หรือ
รายละเอียดอื่น ๆ ตามชนิดของผลิตภัณฑ์ท่ีระบุไว้ในใบรับรองผลิตภัณฑ์แต่ละฉบับ
ซึ่งออกโดยเลขาธิการอาเซียน เพียงแต่โจทก์น�ำชุดเกียร์รถยนต์ไปใช้ไม่ตรงกับรุ่น
(Model) ของรถยนต์ท่ีระบุไว้ในใบรับรองผลิตภัณฑ์ คือ TFR ๕๕ และ TFS ๕๕ โดย
โจทก์น�ำชุดเกียร์รถยนต์ไปประกอบกับรถบรรทุกเล็กรหัส TFR ๗๗ และ TFS ๗๗
เมื่อพิจารณาข้อความตามประกาศกระทรวงการคลัง ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑)
เร่ือง ลดอัตราอากรศุลกากร ข้อ ๒.๑ ซ่ึงระบุว่า ของที่ได้รับการลดอัตราอากรต้องตรง
ตามช่ือของผลิตภัณฑ์ (Part Name) หมายเลข (Part Number) ย่ีห้อ ประเกท รุ่น หรือ
รายละเอียดอ่ืน ๆ ตามชนดิ ของผลติ ภัณฑน์ นั้ ๆ ทร่ี ะบไุ ว้ในใบรบั รองผลติ ภัณฑ์แตล่ ะฉบบั
ซ่ึงออกโดยเลขาธิการอาเซียน ซึ่งข้อความในข้อ ๒.๑ ตอนต้นระบุว่า ของที่ได้รับการลด
อตั ราอากรตอ้ งตรงตามชอื่ ของผลติ ภณั ฑ์และขอ้ ความตอนทา้ ยระบวุ า่ หรอื รายละเอยี ดอน่ื ๆ
ตามชนิดของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ดังนั้น ย่ีห้อ ประเภท หรือรุ่นซึ่งเป็นข้อความที่อยู่
ตรงกลางระหว่างชื่อของผลิตภัณฑ์ และรายละเอียดอ่ืน ๆ ตามชนิดของผลิตภัณฑ์น้ัน ๆ
ย่อมหมายถึงยี่ห้อของผลิตภัณฑ์ ประเภทของผลิตภัณฑ์ หรือรุ่นของผลิตภัณฑ์ ซ่ึงใน
กรณขี องโจทกค์ อื ชดุ เกยี รร์ ถยนต์ หาใชร่ นุ่ รถยนตท์ จ่ี ะนำ� ชดุ เกยี รไ์ ปประกอบไม่ และเมอ่ื
รนุ่ รถยนตไ์ มใ่ ช่เง่ือนไขที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงการคลงั ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑)
เรอื่ ง ลดอตั ราอากรศลุ กากร ลงวนั ท่ี ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๔๑ แมใ้ บรบั รองผลติ ภณั ฑแ์ ตล่ ะฉบบั
ท่ีเลขาธกิ ารอาเซียนออกให้แก่โจทก์จะระบรุ นุ่ รถยนตไ์ ว้ ก็หาใชเ่ งื่อนไขในการพจิ ารณา
สทิ ธใิ นการลดอตั ราอากรของโจทกต์ ามประกาศกระทรวงการคลงั ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑)
เรื่อง ลดอัตราอากรศุลกากร ลงวันท่ี ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑ ไม่ ประกอบกับผลิตภัณฑ์ที่
โจทกไ์ ดร้ บั อนมุ ตั ใิ หเ้ ขา้ รว่ มโครงการความรว่ มมอื ดา้ นอตุ สาหกรรมของอาเซยี น (AICO)
คือ ชุดเกียร์รถยนต์ หาใช่รุ่นรถยนต์ท่ีจะน�ำชุดเกียร์รถยนต์ไปประกอบไม่ ดังนั้น เม่ือ
ชุดเกียร์รถยนต์ที่โจทก์น�ำเข้าตามใบขนสินค้าขาเข้าทั้ง ๒๑ ฉบับ ตรงตามชื่อของ
ผลติ ภัณฑ์ (Part Name) หมายเลข (Part Number) ยห่ี อ้ ประเภท หรือรายละเอียดอน่ื ๆ
153
ตามชนิดของผลิตภัณฑ์ที่ระบุไว้ในใบรับรองผลิตภัณฑ์แต่ละฉบับซึ่งออกโดย
เลขาธิการอาเซียน โจทก์ย่อมได้รับสิทธิลดอัตราอากรภายใต้โครงการความร่วมมือ
ดา้ นอตุ สาหกรรมของอาเซียน (AICO)
_______________________________
โจทก์ฟ้อง ขอให้เพิกถอนแบบแจ้งการประเมิน/เรียกเก็บอากรขาเข้า/ขาออก ภาษี
สรรพสามติ ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ (กรณอี น่ื ๆ) (แบบ กศก.๑๑๕) ท่ี กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/๓-๓-๐๓๖๗๐
ถึง /๓-๓-๐๓๖๗๓ กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/๓-๓-๐๓๖๗๕ ถึง /๓-๓-๐๓๖๘๕ กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/
๓-๓-๐๓๖๘๗ กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/๓-๓-๐๓๖๘๙ กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/๓-๓-๐๓๗๖๘
กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/๓-๓-๐๓๗๗๐ ถึง /๓-๓-๐๓๖๗๗๒ จ�ำนวน ๒๑ ฉบับ และเพิกถอน
ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ท่ี กอ ๑๑๑/๒๕๕๗/ป๖/๒๕๕๗ (๓.๓)
ลงวนั ที่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๗ เฉพาะในสว่ นทว่ี นิ จิ ฉยั วา่ โจทกไ์ มไ่ ดร้ บั สทิ ธลิ ดอากรภายใตโ้ ครงการ
AICO ตามประกาศกระทรวงการคลงั ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) ลงวนั ท่ี ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๔๑ สำ� หรบั
การน�ำเข้าชุดเกียร์รถยนต์ตามใบขนสินค้าขาเข้าทั้งยี่สิบเอ็ดฉบับ งดหรือลดเงินเพิ่มศุลกากร
เบ้ียปรับภาษมี ลู ค่าเพมิ่ และเงนิ เพิม่ ภาษีมูลค่าเพิม่
จ�ำเลยท้งั สองให้การ ขอใหย้ กฟอ้ ง
ศาลภาษอี ากรกลาง พิพากษาให้เพกิ ถอนแบบแจ้งการประเมิน/เรยี กเกบ็ อากรขาเขา้ /
ขาออก ภาษสี รรพสามติ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ (กรณอี น่ื ๆ) (แบบ กศก.๑๑๕) ที่ กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/๓-
๓-๐๓๖๗๐ ถงึ /๓-๓-๐๓๖๗๓ กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/๓-๓-๐๓๖๗๕ ถงึ /๓-๓-๐๓๖๘๕ กค. ๐๕๑๔(๒)/
๒๔๗/๓-๓-๐๓๖๘๗ กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/๓-๓-๐๓๖๘๙ กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/๓-๓-๐๓๗๖๘
กค. ๐๕๑๔(๒)/๒๔๗/๓-๓-๐๓๗๗๐ ถึง /๓-๓-๐๓๖๗๗๒ จ�ำนวน ๒๑ ฉบับ และเพิกถอน
ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ท่ี กอ ๑๑๑/๒๕๕๗/ป๖/๒๕๕๗ (๓.๓)
ลงวันท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ (ที่ถูก เฉพาะในส่วนที่วินิจฉัยว่าโจทก์ไม่ได้รับสิทธิลดอากร
ภายใตโ้ ครงการ AICO ตามใบขนสนิ คา้ ๒๑ ฉบบั ) ใหจ้ ำ� เลยทง้ั สองใชค้ า่ ฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก์
โดยก�ำหนดค่าทนายความ ๑๐,๐๐๐ บาท
โจทก์และจ�ำเลยทั้งสองอทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงรับฟังเป็นยุติ
ว่า เม่ือวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๓๙ รัฐบาลของประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย
154
ตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซยี น) ๗ ประเทศ ประกอบดว้ ยรฐั บาลแหง่ บรูไนดารุสซาราม สาธารณรัฐ
อินโดนีเซีย มาเลเซีย สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ราชอาณาจักรไทย และ
สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม ไดล้ งนามในความตกลงพน้ื ฐานวา่ ดว้ ยโครงการความรว่ มมอื ทาง
อุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN Industrial Cooperation Scheme : AICO) มวี ตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือกระตนุ้ ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ในภูมภิ าค โดยบริษทั ผู้เขา้ ร่วมโครงการของประเทศ
สมาชิกจะได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษีน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับอนุมัติในอัตราพิเศษร้อยละ
๐ ถงึ ๕ และผลติ ภัณฑจ์ ะได้รบั การยอมรบั เสมอื นเปน็ ผลิตภณั ฑ์ท่ีผลติ ในประเทศคู่สญั ญา โดย
แต่ละประเทศจะมีหน่วยงานรับผิดชอบเพื่อด�ำเนินงานตามโครงการดังกล่าว ซึ่งในส่วนของ
ราชอาณาจกั รไทย คณะรฐั มนตรมี มี ตเิ หน็ ชอบใหก้ ระทรวงอตุ สาหกรรมเปน็ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ
กระทรวงอตุ สาหกรรมจงึ ออกประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละเงอื่ นไขในการ
พิจารณาคำ� ขอเขา้ รว่ มโครงการความรว่ มมือทางอตุ สาหกรรมของอาเซียน (AICO) โดยก�ำหนด
ให้ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมมีอ�ำนาจหน้าท่ีในการด�ำเนินการเก่ียวกับการรับค�ำขอและ
การอนุมัติค�ำขอรับสิทธิประโยชน์ภายใต้ความตกลงดังกล่าว โดยส�ำนักเลขาธิการอาเซียนเป็น
หนว่ ยงานผ้อู อกใบรับรองผลิตภณั ฑ์ (Certificate of Eligibility : COE) ส�ำหรบั ผลิตภณั ฑท์ ่ีได้
รับสิทธิประโยชน์เพื่อใช้ย่ืนต่อหน่วยงานด้านศุลกากรของประเทศผู้น�ำเข้า และรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีได้อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๔
แห่งพระราชก�ำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ออกประกาศกระทรวงการคลังท่ี ศก.
๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) เรอ่ื ง ลดอตั ราอากรศลุ กากร ใหข้ องน�ำเข้าท่ีมีถิ่นกำ� เนิดจากประเทศภาคี
อาเซียนและน�ำเข้าตามโครงการความร่วมมือทางอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO) ได้รับการ
ลดอัตราอากร โจทก์และบรษิ ัทอซี ซู ุ เอ็นยน่ิ แมนแู ฟคเจอรง่ิ (ประเทศไทย) จำ� กัด ซง่ึ เปน็ บรษิ ทั
ในราชอาณาจักรไทย กบั บริษัทอีซูซุ ฟลิ ปิ ปินส์ คอปอเรช่นั จ�ำกดั และบริษัทอซี ซู ุ ออโต้พาร์ท
แมนูแฟคเจอริ่ง คอปอเรช่นั จำ� กดั ซง่ึ เปน็ บริษทั ในสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปินสไ์ ด้รบั อนุมัติใหเ้ ขา้ ร่วม
โครงการ AICO เพื่อแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์โดยโจทก์จะน�ำเข้าชุดเกียร์รถยนต์จากบริษัทอีซุซุ
ออโตพ้ ารท์ แมนแู ฟคเจอรงิ่ คอปอเรชนั่ จำ� กดั สาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เพอื่ นำ� ไปผลติ หรอื ประกอบ
กับรถยนต์กระบะในราชอาณาจักรไทย รวม ๓๔๗,๐๔๙ ช้ิน และในขณะเดียวกัน บริษัทอีซูซุ
เอ็นยิ่น แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด จะส่งออกเคร่ืองยนต์ดีเซลจากราชอาณาจักรไทย
ไปยังบริษัทอีซูซุ ฟิลิปปินส์ คอปอเรช่ัน จ�ำกัด เพ่ือน�ำไปผลิตหรือประกอบเป็นรถยนต์น่ัง
อเนกประสงค์ในสาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ รวม ๙๙,๖๐๐ ชุด ในระหวา่ งปี ๒๕๔๑ ถึงปี ๒๕๔๖ ต่อมา
155
สำ� นกั เลขาธกิ ารอาเซยี นออกใบรบั รองผลติ ภณั ฑ์ (COE) ใหแ้ กโ่ จทก์ และออกใบรบั รองผลติ ภณั ฑ์
ตามทโี่ จทกย์ น่ื คำ� รอ้ งขอแกไ้ ขหมายเลขชน้ิ สว่ นอกี ๓ ครงั้ เมอื่ ระหวา่ งวนั ที่ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๒
ถึงวันท่ี ๒๕ มิถุนายน ๒๔๔๓ โจทก์น�ำชุดเกียร์รถยนต์จากสาธารณรัฐฟิลิปปินส์เข้ามา
ในราชอาณาจักรไทยตามใบขนสินค้าขาเข้า ๒๑ ฉบับ โดยใช้สิทธิลดอัตราอากรตามโครงการ
ความรว่ มมอื ด้านอุตสาหกรรมของอาเซยี น (ASEAN Industrial Cooperation Scheme : AICO)
และปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขของประกาศกระทรวงการคลงั ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑)
เรอ่ื ง ลดอตั ราอากรศลุ กากร เพอื่ ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ผกู พนั ตามความตกลงพน้ื ฐานวา่ ดว้ ยโครงการความ
รว่ มมือทางอุตสาหกรรมของอาเซยี น ลงวนั ท่ี ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑ โดยแสดงใบรับรองผลิตภัณฑ์
(COE) ทอ่ี อกโดยสำ� นกั เลขาธกิ ารอาเซยี น และใบรบั รองเมอื งกำ� เนดิ สนิ คา้ (Certificated of Origin)
ซ่ึงออกโดยรัฐบาลของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Form D) ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของจ�ำเลยที่ ๑
ในขณะผ่านพิธีการศุลกากรทุกครั้งและได้รับการตรวจปล่อยสินค้าจากพนักงานเจ้าหน้าที่ของ
จำ� เลยที่ ๑ มาโดยตลอด เมอ่ื วนั ที่ ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๗ เจา้ หนา้ ทเ่ี ฉพาะกจิ ตรวจสอบภาษแี ละ
สทิ ธปิ ระโยชนท์ างศลุ กากรของจำ� เลยที่๑เขา้ ตรวจคน้ สำ� นกั งานของโจทก์ตอ่ มาวนั ที่๑๑กรกฎาคม๒๕๕๒
โจทก์ได้รับแบบแจ้งการประเมินเรียกเก็บอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่มระบุว่า โจทก์
นำ� เขา้ ชดุ เกยี รร์ ถยนตจ์ ากสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ สเ์ กนิ จากจำ� นวนตามทก่ี ำ� หนดไวใ้ นหนงั สอื อนมุ ตั ิ
ของสำ� นกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมและใบรบั รองผลติ ภณั ฑ์ (COE) ทอี่ อกโดยเลขาธกิ ารอาเซยี น
รวมทง้ั น�ำชุดเกยี ร์รถยนต์ดังกล่าวไปประกอบกบั ชนิ้ สว่ น CKD ทีน่ �ำเข้าโดยบรษิ ัทตรีเพชร อซี ูซุ
เซลส์ จ�ำกัด ผลติ เปน็ รถบรรทกุ เล็ก Model TFR ๗๗ และ TFS ๗๗ ท้ังที่ใบรบั รองผลิตภณั ฑ์
(COE) ระบุว่าอนุญาตให้น�ำไปประกอบเป็นรถบรรทุกเล็ก Model TFR ๕๕ และ TFS ๕๕
เป็นเหตุให้ชุดเกียร์รถยนต์ที่โจทก์น�ำเข้าไม่ได้รับสิทธิลดอัตราอากรตามโครงการ AICO เหลือ
รอ้ ยละ ๕ ตามประกาศกระทรวงการคลงั ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) และประกาศกรมศลุ กากร
ที่ ๑๑๕/๒๕๔๑ โจทก์จงึ ตอ้ งช�ำระอากรในฐานะเปน็ ชน้ิ ส่วน CKD ที่นำ� เขา้ จากต่างประเทศตาม
ประกาศกระทรวงการคลัง ท่ี ศก. ๑๙/๒๕๔๒ และประกาศกรมศุลกากร ท่ี ๑๒๑/๒๕๔๒ ใน
อตั ราร้อยละ ๓๓ โจทก์ไม่เหน็ ดว้ ยกบั การประเมินดังกล่าวจึงยืน่ อทุ ธรณค์ ัดคา้ นการประเมินตอ่
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของจ�ำเลยที่ ๑ พิจารณาแล้ว
มีค�ำวินิจฉัยว่า กรณีที่น�ำเข้าเกินกว่าปริมาณท่ีระบุไว้ในใบรับรองผลิตภัณฑ์และหนังสือรับรอง
จากส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมน้ัน โจทก์ยังคงได้รับสิทธิลดอัตราอากรภายใต้โครงการ
AICO ตามประกาศกระทรวงการคลัง ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) ลงวนั ท่ี ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๔๑
156
แต่กรณีน�ำชุดเกียร์รถยนต์ไปใช้ไม่ตรงรุ่น (Model) ตามที่ระบุไว้ในใบรับรองผลิตภัณฑ์ (COE)
จำ� นวน ๕๐,๑๗๔ ชนิ้ นนั้ ประกาศกระทรวงการคลงั ที่ ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) ขอ้ ๒.๑ กำ� หนด
ให้ของท่ีได้รับการลดอัตราอากรต้องตรงตามชื่อของผลิตภัณฑ์ (Part Name) หมายเลข (Part
Number) ย่ีหอ้ ประเภท รุ่น หรอื รายละเอยี ดอืน่ ๆ ตามชนดิ ของผลติ ภณั ฑ์นั้น ๆ ทรี่ ะบไุ ว้ใน
ใบรับรองผลิตภัณฑ์แต่ละฉบับซึ่งออกโดยเลขาธิการอาเซียน เม่ือในใบรับรองผลิตภัณฑ์มีการ
ระบรุ ายละเอยี ดเกยี่ วกบั ชอื่ ผลติ ภณั ฑใ์ นทนี่ ค้ี อื เกยี รร์ ถยนตแ์ ละรายละเอยี ดอน่ื ๆ ของผลติ ภณั ฑ์
ซง่ึ มกี ารระบขุ อ้ มลู เกยี่ วกบั รนุ่ (Model) ทจี่ ะนำ� ไปใชใ้ นการผลติ ไวอ้ ยา่ งชดั เจน คอื รถบรรทกุ เลก็
TFR ๕๕ และ TFS ๕๕ แต่โจทกน์ �ำชดุ เกียรร์ ถยนตท์ ่ีน�ำเข้าไปประกอบรถบรรทุกเล็ก TFR ๗๗
และ TFS ๗๗ ซ่ึงไม่ตรงกับใบรับรองผลิตภัณฑ์ท่ีเลขาธิการอาเซียนออกให้ท่ีน่าจะถือได้ว่า
เป็นหลกั เกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขทีเ่ ปน็ สาระสำ� คัญ จึงไม่เป็นไปตามเงื่อนไขทไี่ ดร้ ับสทิ ธติ ามที่กำ� หนด
ในประกาศกระทรวงการคลัง ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) โจทก์จึงไม่ได้รับสิทธิลดอัตราอากร
ตามประกาศกระทรวงดงั กลา่ ว สว่ นการใชส้ ทิ ธลิ ดอตั ราอากร AFTA-CEPT ตอ้ งมใี บรบั รองเมอื ง
กำ� เนดิ จากประเทศภาคขี องอาเซยี นทอี่ อกตามกฎวา่ ดว้ ยแหลง่ กำ� เนดิ สนิ คา้ ภายใตค้ วามตกลงวา่
ด้วยการใชม้ าตรการกำ� หนดอัตราอากรร่วมเพือ่ จดั ต้ังเขตการค้าเสรีอาเซยี น (Form D) และต้อง
ส�ำแดงรหัสอา้ งอิง CEPT ไวใ้ นต้นฉบับและสำ� เนาใบขนสนิ ค้าทุกฉบับ แต่โจทกม์ ไิ ดส้ ำ� แดงรหสั
อ้างองิ CEPT (๘๗๐๘.๔๐.๐๙๐) จงึ ไมส่ ามารถใช้สทิ ธอิ ตั รา AFTA-CEPT ได้ ส่วนการใช้สิทธิ
ลดอัตราอากรช้นิ สว่ น CKD มหี ลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการขออนุมตั วิ ่าต้องยืน่ ค�ำรอ้ ง
และได้รบั อนุมตั ิให้เปน็ ผนู้ �ำเข้าชิ้นส่วนมาประกอบรถยนต์ โจทกไ์ ม่ได้ยืน่ คำ� รอ้ งและได้รับอนมุ ัติ
ให้เป็นผู้น�ำเข้าช้ินส่วนมาประกอบรถบรรทุกเล็ก แต่รับจ้างบริษัทตรีเพชร อีซูซุเซลล์ จ�ำกัด
ประกอบรถบรรทกุ เลก็ โดยนำ� ชดุ เกยี รร์ ถยนตท์ ข่ี อใชส้ ทิ ธลิ ดอตั ราอากรภายใตโ้ ครงการความรว่ มมอื
ทางอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO) มาใช้รว่ มกบั ชนิ้ ส่วน CKD ที่บรษิ ัทตรเี พชร อีซซู เุ ซลล์
จ�ำกัด น�ำเข้ามาประกอบเป็นรถบรรทุกเล็กซึ่งไม่เป็นไปตามเงื่อนไขของการใช้สิทธิอัตรา CKD
จงึ ไม่อาจใช้สทิ ธไิ ด้เชน่ กนั โจทกจ์ ะต้องชำ� ระอากรในอตั ราทัว่ ไป ประเภทพิกดั ๘๗๐๘.๔๐ อัตรา
อากรรอ้ ยละ ๔๒ ตามใบขนสนิ คา้ ขาเขา้ ทง้ั หมด ๑๐๒ ฉบบั คดิ เปน็ อากรขาเขา้ ๖๒๔,๐๖๑,๗๓๘ บาท
ภาษีมลู ค่าเพ่มิ ๔๓,๖๘๔,๓๒๐ บาท เงนิ เพม่ิ อากรขาเข้าค�ำนวณถึงวนั ที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
จำ� นวน ๑,๐๔๒,๓๑๙,๗๙๕.๔๓ บาท เงนิ เพม่ิ ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ คำ� นวณถงึ วนั ท่ี ๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘
จ�ำนวน ๔๓,๖๘๔,๓๒๐ บาท เบี้ยปรับภาษีมูลค่าเพิ่ม ๔๓,๖๘๔,๓๒๐ บาท รวมเป็นเงิน
๑,๗๙๗,๔๓๔,๔๙๓.๔๓ บาท
157
คดีมีปัญหาท่ีต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของจ�ำเลยท้ังสองประการแรกมีว่า ศาลภาษี
อากรกลางมีอ�ำนาจขยายระยะเวลาฟ้องคดีให้แก่โจทก์หรือไม่ เห็นว่า พระราชบัญญัติศุลกากร
พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ อัฏฐารส บัญญัติให้สิทธิแก่ผู้เสียภาษีท่ีไม่เห็นด้วยกับค�ำวินิจฉัย
อทุ ธรณข์ องคณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณใ์ ชส้ ทิ ธอิ ทุ ธรณต์ อ่ ศาลโดยการฟอ้ งคดภี ายใน ๓๐ วนั
นับแต่ได้รับแจ้งค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ ดังน้ัน ระยะเวลาดังกล่าวจึงเป็นระยะเวลาในการฟ้องคดี
และการฟ้องคดีเป็นการด�ำเนินกระบวนพิจารณาในศาล ก�ำหนดเวลา ๓๐ วัน ในการใช้สิทธิ
อุทธรณ์ต่อศาลโดยการฟ้องคดี ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ อัฏฐารส
จงึ เปน็ ระยะเวลาท่เี กยี่ วดว้ ยวธิ พี จิ ารณาความแพง่ อนั กำ� หนดไวใ้ นกฎหมายอื่น ศาลภาษีอากรกลาง
จึงมีอ�ำนาจขยายระยะเวลาดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๒๓
ประกอบพระราชบญั ญตั ิจัดตัง้ ศาลภาษอี ากรและวธิ ีพจิ ารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๗
โจทก์จงึ มีอ�ำนาจฟอ้ ง อทุ ธรณ์ของจ�ำเลยทง้ั สองข้อนี้ฟงั ไม่ขนึ้
คดมี ปี ญั หาตอ้ งวนิ ิจฉัยตามอุทธรณข์ องโจทก์ประการแรกมวี ่า พนกั งานเจ้าหน้าทข่ี อง
จ�ำเลยที่ ๑ และกรรมการในคณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณต์ ามพระราชบญั ญัติศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙
มีสภาพร้ายแรงอันอาจจะท�ำให้การพิจารณาทางปกครองไม่เป็นกลางตามพระราชบัญญัติ
วธิ ปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๖ หรอื ไม่ ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พิเศษโดยมติ
ทป่ี ระชมุ ใหญเ่ หน็ วา่ บทบญั ญตั ดิ งั กลา่ วหา้ มมใิ หเ้ จา้ หนา้ ทห่ี รอื คณะกรรมการใชอ้ ำ� นาจพจิ ารณา
ทางปกครองในกรณีที่มีสภาพอันร้ายแรงอันอาจท�ำให้การพิจารณาทางปกครองไม่เป็นกลาง
ซึ่งกรณีใดจะถือว่าเป็นสภาพร้ายแรงหรือไม่นั้นต้องพิจารณาข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงในแต่ละ
กรณีไป สำ� หรบั คดนี ี้แม้พนกั งานเจ้าหน้าที่ของจ�ำเลยที่ ๑ และอธบิ ดีของจำ� เลยท่ี ๑ อาจมีสิทธิ
ได้รับเงินรางวัลจากเงนิ อากรท่ีจำ� เลยท่ี ๑ เรยี กเกบ็ ไดจ้ ากโจทก์ แตก่ ารดำ� เนนิ การของพนักงาน
เจ้าหน้าที่ของจ�ำเลยท่ี ๑ เพ่ือออกแบบแจ้งการประเมินและการพิจารณาของคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ซ่ึงเป็นการท�ำค�ำสั่งทางปกครองท่ีเป็นการปฏิบัติหน้าท่ีตามที่ก�ำหนดไว้ใน
พระราชบญั ญตั ิศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ยงั ไมอ่ าจถือได้วา่ พนกั งานเจ้าหน้าที่ของจำ� เลยท่ี ๑ และ
อธิบดีของจ�ำเลยที่ ๑ มีส่วนได้เสียซ่ึงมีสภาพร้ายแรงอันอาจท�ำให้การพิจารณาทางปกครอง
ไม่เป็นกลางตามมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
อุทธรณ์ข้อนข้ี องโจทกฟ์ งั ไมข่ ึ้น
คดีมีปัญหาที่ต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ประการต่อไปมีว่า ชุดเกียร์รถยนต์ที่
โจทกน์ �ำเขา้ จากสาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ตามใบขนสนิ ค้าขาเขา้ ๒๑ ฉบับ ไดร้ บั สทิ ธลิ ดอัตราอากร
158
ภายใตโ้ ครงการความรว่ มมอื ดา้ นอตุ สาหกรรมของอาเซยี น (AICO) ตามประกาศกระทรวงการคลงั
ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) ลงวนั ที่ ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๔๑ หรือไม่ ศาลอุทธรณ์คดชี �ำนัญพเิ ศษ
โดยมติที่ประชุมใหญ่ เห็นว่า ชุดเกียร์รถยนต์ท่ีโจทก์น�ำเข้าจากสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ตาม
ใบขนสินค้าขาเข้า ๒๑ ฉบับ จะได้รับสิทธิลดอัตราอากรภายใต้โครงการความร่วมมือด้าน
อตุ สาหกรรมของอาเซียน (AICO) ตามประกาศกระทรวงการคลัง ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑)
เรอ่ื ง ลดอัตราอากรศุลกากร ลงวนั ที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑ หรือไม่ จะต้องพจิ ารณาว่า โจทก์ปฏบิ ัติ
ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีระบุไว้ในประกาศกระทรวงการคลังฉบับดังกล่าวครบถ้วนหรือไม่
ซง่ึ ในข้อ ๒.๑ ของประกาศกระทรวงการคลงั ฉบับดงั กล่าวระบุว่า ของที่ไดร้ ับการลดอตั ราอากร
ตอ้ งตรงตามชื่อของผลติ ภัณฑ์ (Part Name) หมายเลข (Part Number) ยห่ี ้อ ประเภท รุ่น หรือ
รายละเอียดอ่ืน ๆ ตามชนิดของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ท่ีระบุไว้ในใบรับรองผลิตภัณฑ์แต่ละฉบับ
ซึ่งออกโดยเลขาธิการอาเซียน ข้อ ๒.๒ ของที่จะได้รับการลดอัตราอากรต้องมีเอกสารดังต่อไปน้ี
๒.๒.๑ ใบรบั รองเมอื งกำ� เนดิ (Certificate of Origin) จากประเทศภาคขี องอาเซยี น ซงึ่ ออกใหต้ าม
กฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้าภายใต้ความตกลงว่าด้วยการให้สิทธิพิเศษทางการค้าของอาเซียน
๒.๒.๒ ใบรับรองผลติ ภณั ฑ์ (Certificate of Eligibility) และขอ้ ๒.๓ ผนู้ ำ� เขา้ ตอ้ งยืน่ ใบรบั รอง
เมืองกำ� เนดิ และใบรับรองผลิตภณั ฑ์ในขอ้ ๒.๒ ตามวธิ กี ารท่ีอธบิ ดกี รมศุลกากรก�ำหนด ขอ้ เท็จจรงิ
รับฟังเป็นยุติว่า ในการน�ำเข้าชุดเกียร์รถยนต์ตามใบขนสินค้าขาเข้า ๒๑ ฉบับ โจทก์ปฏิบัติ
ตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงการคลัง ที่ ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑)
เรอ่ื ง ลดอตั ราอากรศลุ กากร ลงวนั ที่ ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๔๑ โดยยนื่ ใบรบั รองเมอื งกำ� เนดิ (Certificate
of Origin) จากประเทศภาคีของอาเซียน คือ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ซ่ึงออกให้ตามกฎว่าด้วย
แหล่งก�ำเนิดสินค้าภายใต้ความตกลงว่าด้วยการให้สิทธิพิเศษทางการค้าของอาเซียน และ
ใบรับรองผลิตภัณฑ์ซึ่งออกโดยเลขาธิการอาเซียน และชุดเกียร์รถยนต์ตามใบขนสินค้าขาเข้า
ทงั้ ๒๑ ฉบับ ตรงตามช่อื ของผลิตภัณฑ์ (Part Name) หมายเลข (Part Number) ยห่ี อ้ ประเภท
หรือรายละเอียดอื่น ๆ ตามชนิดของผลิตภัณฑ์ท่ีระบุไว้ในใบรับรองผลิตภัณฑ์แต่ละฉบับ
ซึ่งออกโดยเลขาธกิ ารอาเซียน เพียงแต่โจทก์น�ำชดุ เกยี รร์ ถยนต์ไปใชไ้ ม่ตรงกบั รนุ่ (Model) ของ
รถยนตท์ ่รี ะบุไวใ้ นใบรับรองผลิตภัณฑ์ คอื TFR ๕๕ และ TFS ๕๕ โดยโจทก์น�ำชุดเกียร์รถยนต์
ไปประกอบกับรถบรรทกุ เล็กรหัส TFR ๗๗ และ TFS ๗๗ เม่ือพิจารณาขอ้ ความตามประกาศ
กระทรวงการคลงั ที่ ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) เรอื่ ง ลดอัตราอากรศุลกากร ขอ้ ๒.๑ ซง่ึ ระบุวา่ ของ
ที่ไดร้ ับการลดอตั ราอากรตอ้ งตรงตามชอ่ื ของผลิตภณั ฑ์ (Part Name) หมายเลข (Part Number)
159
ย่ีห้อ ประเภท รุ่น หรือรายละเอียดอ่ืน ๆ ตามชนิดของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ท่ีระบุไว้ในใบรับรอง
ผลิตภณั ฑแ์ ต่ละฉบบั ซ่ึงออกโดยเลขาธิการอาเซียน ซึ่งขอ้ ความในข้อ ๒.๑ ตอนตน้ ระบวุ ่า ของ
ท่ีได้รับการลดอัตราอากรต้องตรงตามชื่อของผลิตภัณฑ์ และข้อความตอนท้ายระบุว่า หรือราย
ละเอยี ดอนื่ ๆ ตามชนดิ ของผลติ ภณั ฑน์ น้ั ๆ ดงั นนั้ ยห่ี อ้ ประเภท หรอื รนุ่ ซง่ึ เปน็ ขอ้ ความทอ่ี ยตู่ รง
กลางระหวา่ งชอ่ื ของผลติ ภณั ฑ์ และรายละเอยี ดอน่ื ๆ ตามชนดิ ของผลติ ภณั ฑน์ น้ั ๆ ยอ่ มหมายถงึ
ย่หี ้อของผลติ ภณั ฑ์ ประเภทของผลติ ภัณฑ์ หรอื รุ่นของผลิตภณั ฑ์ ซ่ึงในกรณขี องโจทก์ คอื ชดุ
เกียร์รถยนต์ หาใช่รุ่นรถยนต์ท่ีจะน�ำชุดเกียร์ไปประกอบไม่ และเมื่อรุ่นรถยนต์ไม่ใช่เงื่อนไขท่ี
ระบุไว้ในประกาศกระทรวงการคลัง ที่ ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) เร่ือง ลดอัตราอากรศุลกากร
ลงวันท่ี ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑ แม้ใบรับรองผลิตภัณฑ์แต่ละฉบับที่เลขาธิการอาเซียนออกให้แก่
โจทก์จะระบุรุ่นรถยนต์ไว้ ก็หาใช่เง่ือนไขในการพิจารณาสิทธิในการลดอัตราอากรของโจทก์
ตามประกาศกระทรวงการคลงั ที่ ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) เรื่อง ลดอตั ราอากรศุลกากร ลงวันที่
๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑ ไม่ ประกอบกบั ผลติ ภณั ฑ์ทโี่ จทกไ์ ดร้ ับอนุมตั ิให้เข้าร่วมโครงการความร่วม
มอื ด้านอุตสาหกรรมของอาเซยี น (AICO) คอื ชดุ เกยี ร์รถยนต์ หาใช่รุ่นรถยนตท์ จ่ี ะน�ำชดุ เกยี ร์
รถยนต์ไปประกอบไม่ ดังน้ัน เมื่อชุดเกียร์รถยนต์ที่โจทก์น�ำเข้าตามใบขนสินค้าขาเข้าท้ัง ๒๑
ฉบบั ตรงตามช่อื ของผลิตภัณฑ์ (Part Name) หมายเลข (Part Number) ย่หี ้อ ประเภท หรอื
รายละเอียดอื่น ๆ ตามชนิดของผลิตภัณฑ์ท่ีระบุไว้ในใบรับรองผลิตภัณฑ์แต่ละฉบับซึ่งออก
โดยเลขาธิการอาเซียน โจทก์ย่อมได้รับสิทธิลดอัตราอากรภายใต้โครงการความร่วมมือด้าน
อตุ สาหกรรมของอาเซยี น (AICO) ตามประกาศกระทรวงการคลงั ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑)
ลงวันท่ี ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๔๑ สว่ นกรณบี รษิ ทั อซี ซู ุ เอน็ ยิ่น แมนูแฟคเจอร่งิ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
ไม่ส่งออกเครื่องยนต์ดีเซลไปยังบริษัทอีซูซุ ฟิลิปปินส์ คอปอเรช่ัน จ�ำกัด ตามข้อตกลงที่ได้รับ
อนุมัติให้เข้าร่วมโครงการ AICO ก็หาใช่เงื่อนไขในการพิจารณาการได้รับสิทธิลดอัตราอากร
ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO) ของโจทก์ตามประกาศ
กระทรวงการคลัง ที่ ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) ลงวนั ที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑ ไม่ เพราะประกาศ
กระทรวงการคลัง ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) ลงวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑ ระบุหลักเกณฑ์
และเง่ือนไขในการได้รับการลดอัตราอากรเพียงว่า ของหรือผลิตภัณฑ์ที่น�ำเข้าต้องตรงตามช่ือ
ของผลิตภัณฑ์ (Part Name) หมายเลข (Part Number) ย่ีห้อ ประเภท รุ่น หรือรายละเอียด
อื่น ๆ ตามชนิดของผลิตภัณฑ์น้ัน ๆ ท่ีระบุไว้ในใบรับรองผลิตภัณฑ์แต่ละฉบับซึ่งออก
โดยเลขาธิการอาเซียน และผู้น�ำเข้าต้องย่ืนใบรับรองเมืองก�ำเนิดซึ่งออกให้ตามกฎว่าด้วย
160
แหล่งก�ำเนิดสินค้าภายใต้ความตกลงว่าด้วยการให้สิทธิพิเศษทางการค้าของอาเซียน และ
ใบรบั รองผลติ ภณั ฑซ์ งึ่ ออกโดยเลขาธกิ ารอาเซยี น โดยไมม่ กี ารระบเุ งอ่ื นไขการสง่ ออกผลติ ภณั ฑ์
ของบริษัทผเู้ ขา้ รว่ มโครงการความรว่ มมอื ดา้ นอุตสาหกรรมของอาเซยี น (AICO) ทีไ่ ด้รับอนุมตั ิ
ร่วมกับโจทก์ แม้เงื่อนไขการส่งออกผลิตภัณฑ์ของบริษัทผู้เข้าร่วมโครงการกับโจทก์จะเป็น
สาระส�ำคัญของการอนุมัติให้โจทก์และบริษัทผู้เข้าร่วมโครงการอีกสามบริษัทเข้าร่วมโครงการ
ความรว่ มมอื ดา้ นอตุ สาหกรรมของอาเซยี น (AICO) กต็ าม แตบ่ รษิ ทั อซี ซู ุ เอน็ ยนิ่ แมนแู ฟคเจอรง่ิ
(ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็นคนละนิติบุคคลกับโจทก์ และโจทก์ไม่ใช่ผู้ปฏิบัติผิดเง่ือนไขของการ
เข้าร่วมโครงการความรว่ มมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซยี น (AICO) ประกอบกบั โจทก์ยังไมไ่ ด้
ถูกเพิกถอนสิทธิในการลดอัตราอากรภายใต้โครงการ AICO ทั้งหากโจทก์และบริษัทผู้เข้าร่วม
โครงการอีกสามบริษัทละเมิดพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ได้รับอนุมัติ จ�ำเลยทั้งสอง
ก็หาใช่หน่วยงานผู้รับผิดชอบในการด�ำเนินการเพิกถอนสิทธิในการลดอัตราอากรภายใต้
โครงการ AICO ไม่ จ�ำเลยทงั้ สองคงมีแตอ่ �ำนาจในการพจิ ารณาวา่ โจทก์ปฏบิ ัติตามหลกั เกณฑ์
และเงือ่ นไขท่รี ะบไุ วใ้ นประกาศกระทรวงการคลงั ท่ี ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) เรอ่ื ง ลดอตั ราอากร
ศลุ กากร ลงวันท่ี ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑ หรือไม่ เท่านั้น เมอ่ื โจทกป์ ฏบิ ตั ติ ามหลักเกณฑแ์ ละเงอื่ นไข
ทรี่ ะบไุ ว้ในประกาศกระทรวงการคลงั ที่ ศก. ๑๗/๒๕๔๑ (ครอ.๑) เรอ่ื ง ลดอัตราอากรศลุ กากร
ลงวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๑ ครบถ้วนแล้ว โจทก์ย่อมได้รับสิทธิลดอัตราอากรศุลกากรตาม
ประกาศกระทรวงการคลงั ฉบบั ดงั กลา่ ว และไมต่ อ้ งรบั ผดิ ชำ� ระอากรขาเขา้ กบั เงนิ เพมิ่ อากรขาเขา้
ตามการประเมินและค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของจ�ำเลยท่ี ๑
ทั้งไม่ต้องรับผิดช�ำระภาษีมูลค่าเพ่ิม เงินเพ่ิมภาษีมูลค่าเพ่ิม และเบี้ยปรับภาษีมูลค่าเพิ่ม
เน่ืองจากไมม่ ฐี านภาษีสำ� หรับการน�ำเขา้ สนิ คา้ ตามประมวลรษั ฎากร มาตรา ๗๙/๒ (๒) อุทธรณ์
ข้อนี้ของโจทก์ฟังข้ึน ส่วนอุทธรณ์ของโจทก์และจ�ำเลยท้ังสองข้ออื่นไม่จ�ำต้องวินิจฉัยเพราะ
ไม่ท�ำให้ผลคดีเปล่ียนแปลงไป ที่ศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้เพิกถอนการประเมินและ
คำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข์ องคณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณข์ องจำ� เลยท่ี ๑ ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษ
เหน็ พ้องด้วยในผล
พิพากษายืน ให้จ�ำเลยทั้งสองใช้ค่าฤชาธรรมเนียมช้ันอุทธรณ์แทนโจทก์ โดยก�ำหนด
ค่าทนายความ ๑๐,๐๐๐ บาท และค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินคดี ๕,๐๐๐ บาท
(ณฐั พร ณ กาฬสินธุ์ - เฉลมิ ชยั จินะปรวิ ัตรอาภรณ์ - ผจงธรณ์ วรนิ ทรเวช)
161
ความเห็นแย้งในคดหี มายเลขด�ำท่ี ภ ๑๒๑/๒๕๖๑ หมายเลขแดงท่ี ๑๒๖๗/๒๕๖๒
ข้าพเจ้านายณัฐพร ณ กาฬสินธุ์ ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ ซ่ึงเป็น
ผู้พิพากษาเจ้าของส�ำนวนและเข้าร่วมประชุมใหญ่ของศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ แต่ไม่เห็นด้วย
กบั มติทป่ี ระชมุ ใหญข่ องศาลอุทธรณค์ ดชี �ำนัญพิเศษ ทวี่ ินิจฉยั ประเด็นเร่อื ง พนักงานเจ้าหนา้ ที่
ของจ�ำเลยท่ี ๑ และกรรมการในคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ตามพระราชบัญญัติศุลกากร
พ.ศ. ๒๔๖๙ มีสภาพร้ายแรงอันอาจจะท�ำให้การพิจารณาทางปกครองไม่เป็นกลาง ตาม
พระราชบญั ญตั ิวิธีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๖ หรอื ไม่ จงึ ทำ� ความเหน็ แย้ง
ดังน้ี
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๖ บัญญัติว่า
“ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจากท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓ เก่ียวกับเจ้าหน้าที่หรือกรรมการใน
คณะกรรมการทีม่ อี ำ� นาจพจิ ารณาทางปกครองซง่ึ มีสภาพร้ายแรงอันอาจทำ� ใหก้ ารพิจารณาทาง
ปกครองไมเ่ ปน็ กลาง เจา้ หนา้ ทห่ี รอื กรรมการผนู้ น้ั จะทำ� การพจิ ารณาทางปกครองในเรอื่ งนนั้ ไมไ่ ด้
ในกรณตี ามวรรคหนง่ึ ให้ดำ� เนนิ การ ดงั น้ี
(๑) ถา้ ผนู้ นั้ เหน็ เองวา่ ตนมกี รณดี งั กลา่ ว ใหผ้ นู้ น้ั หยดุ การพจิ ารณาเรอื่ งไวก้ อ่ นและแจง้
ใหผ้ ูบ้ งั คบั บัญชาเหนือตนข้นึ ไปชนั้ หนงึ่ หรือประธานกรรมการทราบ แล้วแตก่ รณี
(๒) ถ้ามีคู่กรณีคัดค้านว่าผู้น้ันมีเหตุดังกล่าว หากผู้นั้นเห็นว่าตนไม่มีเหตุตามท่ี
คัดค้านน้ัน ผู้น้ันจะท�ำการพิจารณาเรื่องต่อไปก็ได้ แต่ต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไป
ช้ันหนึ่งหรือประธานกรรมการทราบ แลว้ แต่กรณี
(๓) ให้ผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นหรือคณะกรรมการท่ีมีอ�ำนาจพิจารณาทางปกครองซึ่ง
ผนู้ น้ั เปน็ กรรมการอยมู่ คี ำ� สงั่ หรอื มมี ตโิ ดยไมช่ กั ชา้ แลว้ แตก่ รณวี า่ ผนู้ นั้ มอี ำ� นาจในการพจิ ารณา
ทางปกครองในเร่อื งนน้ั หรือไม่
ให้น�ำบทบญั ญัตมิ าตรา ๑๔ วรรคสอง และมาตรา ๑๕ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี
มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม”
มาตรา ๑๕ วรรคสี่ บัญญัติว่า “การย่ืนค�ำคัดค้านและการพิจารณาค�ำคัดค้านให้เป็น
ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการทก่ี �ำหนดในกฎกระทรวง”
กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิวิธีปฏบิ ตั ิราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ บัญญตั วิ ่า
162
“ข้อ ๑ การคัดคา้ นวา่ เจ้าหนา้ ทผี่ ู้ใดจะทำ� การพจิ ารณาทางปกครองในเร่ืองใดไมไ่ ดต้ าม
มาตรา ๑๓ หรือตามมาตรา ๑๖ ให้คู่กรณีท�ำค�ำคัดค้านเป็นหนังสือถึงเจ้าหน้าที่ผู้นั้นโดยระบุ
ข้อคดั คา้ นพร้อมด้วยขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ กฎหมายท่ีเป็นเหตุแห่งการคดั คา้ นไวใ้ นหนงั สอื คัดค้านด้วย
ขอ้ ๒ การยื่นหนงั สือคดั ค้านตอ้ งท�ำก่อนได้รับแจ้งคำ� ส่ังทางปกครอง”
จากบญั ญตั ดิ งั กลา่ วแสดงวา่ คกู่ รณที จ่ี ะคดั คา้ นวา่ เจา้ หนา้ ทหี่ รอื กรรมการในคณะกรรมการ
ที่มอี �ำนาจพจิ ารณาทางปกครองจะท�ำการพจิ ารณาทางปกครองไมไ่ ด้ เนื่องจากมีสภาพร้ายแรง
อันอาจท�ำให้การพิจารณาทางปกครองไม่เป็นกลางตามมาตรา ๑๖ จะต้องท�ำค�ำคัดค้านเป็น
หนังสือถึงเจ้าหน้าที่ผู้น้ัน โดยระบุข้อคัดค้านพร้อมด้วยข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายท่ีเป็นเหตุ
แหง่ การคดั คา้ นไวใ้ นหนงั สอื คดั คา้ น และตอ้ งยน่ื หนงั สอื คดั คา้ นกอ่ นไดร้ บั แจง้ คำ� สงั่ ทางปกครอง
เมอ่ื ขอ้ เทจ็ จรงิ จากทางนำ� สบื ของโจทกไ์ มป่ รากฏวา่ โจทกไ์ ดท้ ำ� คำ� คดั คา้ นเปน็ หนงั สอื ถงึ เจา้ หนา้ ท่ี
หรอื กรรมการในคณะกรรมการทม่ี อี ำ� นาจพจิ ารณาทางปกครองทโี่ จทกอ์ า้ งวา่ มสี ว่ นไดเ้ สยี ในการ
ออกแบบแจ้งการประเมิน และค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ โดยระบุข้อคัดค้านพร้อมด้วยข้อเท็จจริงและ
ข้อกฎหมายท่ีเป็นเหตุแห่งการคัดค้านไว้ในหนังสือคัดค้าน และได้ย่ืนหนังสือคัดค้านก่อนได้รับ
แจ้งการประเมิน และค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ โจทก์จึงไม่อาจยกข้ออ้างดังกล่าวข้ึนในช้ันพิจารณา
ของศาลได้ จงึ ไมม่ ีประเด็นท่ีจะตอ้ งวนิ จิ ฉยั ว่า พนักงานเจา้ หนา้ ทขี่ องจำ� เลยที่ ๑ และกรรมการ
ในคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มีสภาพร้ายแรง
อันอาจจะท�ำให้การพิจารณาทางปกครองไม่เป็นกลางตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๑๖ หรือไม.่
(ณัฐพร ณ กาฬสินธ์)ุ
ผพู้ พิ ากษาศาลอุทธรณค์ ดชี �ำนญั พิเศษ
มณฑาทพิ ย์ ตั้งวิชาชาญ - ย่อ
วีนัส นิมิตกุล - ตรวจ
163
ค�ำพิพากษาศาลอทุ ธรณ์คดีชำ� นัญพิเศษที่ ๒๘๒๙/๒๕๖๒ กรมศุลกากร
กบั พวก โจทก์
บรษิ ัทเดนโซ่
(ประเทศไทย) จ�ำกดั จ�ำเลย
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๐ ทวิ
ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๑
แมจ้ ำ� เลยจะนำ� เข้าสนิ คา้ เกนิ กวา่ ปรมิ าณทไี่ ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากสำ� นกั งานเศรษฐกจิ
อุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม โดยเจตนาหลีกเล่ียงภาษีอากร อันต้องด้วย
เหตุยกเว้นตาม พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๐ แต่สิทธิเรียกร้องของ
โจทก์ท่ี ๑ ไม่มีบัญญัติไว้โดยเฉพาะในกฎหมายดังกล่าว จึงต้องใช้อายุความ
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๑ และการนับอายุความต้องเริ่มนับแต่ขณะท่ีอาจบังคับ
สทิ ธเิ รยี กร้องได้เป็นต้นไป ซงึ่ พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๐ ทวิ วรรคหนึ่ง
บัญญัติว่า ความรับผิดในอันจะต้องเสียค่าภาษีส�ำหรับของท่ีน�ำเข้าเกิดข้ึน
ในเวลาท่ีน�ำของเข้าส�ำเร็จ ดังนี้ สิทธิเรียกร้องในหน้ีค่าภาษีอากรขาเข้าจึงอาจบังคับ
ได้นับแต่วันที่จ�ำเลยน�ำเข้าสินค้า ไม่อาจถือว่าต้องเร่ิมนับแต่วันท่ีโจทก์ที่ ๑ ตรวจพบ
การกระท�ำความผิด เม่ือจ�ำเลยน�ำเข้าสินค้าพิพาทระหว่างวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๕
ถึงวันท่ี ๒๓ ตุลาคม ๒๕๔๖ แต่โจทก์ท่ี ๑ มีหนังสือแจ้งการประเมินและจ�ำเลยได้รับ
หนังสือเม่ือวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ จึงเป็นการใช้สิทธิเรียกร้องในหนี้เงินอากรท่ีขาด
อายุความแลว้ โจทกท์ ี่ ๑ ไมม่ ีสทิ ธฟิ อ้ งเรยี กรอ้ งใหจ้ �ำเลยรบั ผดิ
______________________________
โจทกท์ งั้ สองฟอ้ ง ขอใหบ้ งั คบั จำ� เลยชำ� ระเงนิ คา่ ภาษอี ากรทง้ั สนิ้ ๔,๙๘๙,๕๐๕.๑๕ บาท
แก่โจทก์ทั้งสอง พร้อมเงินเพิ่มอากรขาเข้าในอัตราร้อยละ ๑ ต่อเดือนหรือเศษของเดือน จาก
ตน้ เงนิ อากรขาเขา้ ทชี่ ำ� ระขาดตามใบขนสนิ คา้ ขาเขา้ แตล่ ะฉบบั รวม ๑๐ ฉบบั ๑,๗๐๘,๔๒๒ บาท
นบั ถัดจากวันฟ้องเปน็ ตน้ ไป จนกว่าจะชำ� ระเสรจ็ แกโ่ จทกท์ ่ี ๑
จ�ำเลยให้การ ขอใหย้ กฟ้อง
164
ศาลภาษอี ากรกลาง พิพากษายกฟ้อง ค่าฤชาธรรมให้เปน็ พับ
โจทกท์ ง้ั สองอุทธรณ์ โดยผู้พิพากษาท่นี ่ังพิจารณาคดใี นศาลภาษอี ากรกลางรับรองวา่
มเี หตอุ นั ควรอุทธรณใ์ นข้อเทจ็ จริงได้
ศาลอุทธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษแผนกคดีภาษอี ากรวนิ ิจฉยั วา่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ฟังได้ว่า ระหวา่ ง
วนั ท่ี ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ถงึ วันท่ี ๒๓ ตลุ าคม ๒๕๔๖ จ�ำเลยน�ำสนิ ค้ารเี ลย์ คอนเดนเซอร์
ของเคร่ืองปรับอากาศ ฯลฯ จากประเทศก�ำเนิดสหพันธรัฐมาเลเซียและสาธารณรัฐฟิลิปปินส์
เข้ามาในราชอาณาจักรโดยทางเรือ และได้ย่ืนใบขนสินค้าขาเข้าพร้อมแบบแสดงรายการ
ภาษีสรรพสามิตและภาษีมูลค่าเพ่ิมรวม ๑๐ ฉบับ โดยใช้สิทธิประโยชน์ตามโครงการความร่วมมือ
ด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN Industrail Cooperation Scheme : AICO) เพ่ือขอ
ลดอัตราอากรขาเข้าเหลือ ๕% พนักงานเจ้าหน้าที่ของโจทก์ท่ี ๑ ตรวจปล่อยสินค้าทั้งหมดให้
จ�ำเลยรับไปจากอารกั ขาของโจทกท์ ี่ ๑ ต่อมาวนั ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๑ พนกั งานเจ้าหน้าท่ีของ
โจทก์ท่ี ๑ ตรวจค้นบริษัทจ�ำเลยพบเอกสารท่ีแสดงว่าจ�ำเลยน�ำเข้าสินค้าเกินกว่าปริมาณท่ีได้
รับอนุมัติจากส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม จ�ำเลยจึงไม่ได้รับสิทธิ
ลดอตั ราอากรขาเข้าเหลือ ๕% พนักงานเจา้ หน้าท่ขี องโจทก์ที่ ๑ ซ่ึงมีอำ� นาจหน้าทจี่ ดั เกบ็ ภาษี
มูลคา่ เพิม่ แทนโจทกท์ ่ี ๒ ด้วย จงึ มีหนังสือแจง้ การประเมินให้จำ� เลยชำ� ระอากรขาเข้าเพม่ิ พรอ้ ม
เงินเพ่ิม และภาษีมูลค่าเพ่ิมเพิ่มพร้อมเบี้ยปรับเงินเพิ่ม จ�ำเลยได้รับหนังสือเมื่อวันท่ี ๑๑
มีนาคม ๒๕๕๘ แล้วไม่ช�ำระค่าภาษีอากรให้แก่โจทก์ทั้งสอง แต่ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ตามกฎหมายศุลกากร คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ตามกฎหมายศุลกากร
มมี ตไิ มร่ บั อทุ ธรณ์ จำ� เลยไมไ่ ดย้ นื่ อทุ ธรณต์ อ่ คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณต์ ามประมวลรษั ฎากร
โจทก์ทงั้ สองจึงฟ้องจำ� เลยใหช้ �ำระเงนิ คา่ ภาษีอากรตามฟอ้ ง
คดีมีปัญหาวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ทั้งสองว่า สิทธิเรียกร้องของโจทก์ท้ังสองใน
หน้ีเงินค่าภาษีอากรตามฟ้องขาดอายุความหรือไม่ เห็นว่า แม้ตามค�ำฟ้องโจทก์ท้ังสองอ้างว่า
จ�ำเลยน�ำเข้าสินค้าเกินกวา่ ปรมิ าณทีไ่ ด้รับอนมุ ตั จิ ากสำ� นกั งานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรม โดยเจตนาหลีกเลี่ยงภาษีอากร อันต้องด้วยเหตุยกเว้นตามข้อความตอนแรกสุด
ของพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๐ วรรคสาม สิทธิเรียกร้องของโจทก์ท่ี ๑
จึงไม่มีบัญญัติไว้โดยเฉพาะในกฎหมายดังกล่าว ต้องใช้อายุความตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๓๑ และการนับอายุความต้องเริ่มนับแต่ขณะที่อาจบังคับสิทธิ
เรียกร้องได้เป็นต้นไปตามมาตรา ๑๙๓/๑๒ ซึ่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙
165
มาตรา ๑๐ ทวิ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่าความรับผิดในอันจะต้องเสียค่าภาษีส�ำหรับของท่ีน�ำเข้า
เกิดข้ึนในเวลาที่น�ำของเข้าส�ำเร็จ ดังน้ีสิทธิเรียกร้องในหน้ีค่าภาษีอากรขาเข้าจึงอาจบังคับได้
นับแต่วันท่ีจ�ำเลยน�ำเข้าสินค้า ไม่อาจถือว่าต้องเร่ิมนับแต่วันที่โจทก์ท่ี ๑ ตรวจพบการกระท�ำ
ความผิด เมื่อจ�ำเลยน�ำเข้าสินค้าพิพาทระหว่างวันท่ี ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ถึงวันท่ี ๒๓
ตุลาคม ๒๕๔๖ แต่โจทก์ที่ ๑ มีหนังสือแจ้งการประเมินซ่ึงเป็นการกระท�ำการอื่นใดอันมีผล
เปน็ อย่างเดียวกันกบั การฟอ้ งคดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๕)
และจำ� เลยไดร้ ับหนงั สอื เมอ่ื วนั ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ จึงเป็นการใช้สทิ ธิเรียกรอ้ งในหนีเ้ งินอากร
ที่ขาดอายุความแล้ว โจทก์ที่ ๑ ไม่มีสิทธิฟ้องเรียกร้องให้จ�ำเลยช�ำระเงินอากรท่ีขาดตามฟ้อง
ส่วนสิทธิเรียกร้องของโจทก์ท่ี ๒ ส�ำหรับค่าภาษีมูลค่าเพ่ิมท่ีขาดน้ัน เม่ือประมวลรัษฎากร
มิได้มบี ทบัญญัติเฉพาะเหมือนมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญตั ิศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ จงึ ต้องใช้
อายคุ วาม ๑๐ ปนี บั แตข่ ณะทอ่ี าจบงั คบั สทิ ธเิ รยี กรอ้ งไดเ้ ปน็ ตน้ ไปตามประมวลกฎหมายแพง่ และ
พาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๓๑ และมาตรา ๑๙๓/๑๒ เช่นกนั เมอ่ื ประมวลรัษฎากร มาตรา ๗๘/๒ (๑)
บัญญัติว่าความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพ่ิมที่เกิดจากการน�ำเข้าเกิดขึ้นเม่ือช�ำระอากรขาเข้า
วางหลักประกันอากรขาเข้า หรือจัดให้มีผู้ค้�ำประกันอากรขาเข้า และจ�ำเลยได้ช�ำระอากรขาเข้า
ในการนำ� เขา้ สนิ คา้ พพิ าทแตล่ ะครง้ั ระหวา่ งวนั ท่ี ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ถงึ วนั ท่ี ๒๗ ตลุ าคม ๒๕๔๖
แต่โจทก์ที่ ๑ ซึ่งใช้อ�ำนาจหน้าท่ีแทนโจทก์ท่ี ๒ มีหนังสือแจ้งการประเมินภาษีมูลค่าเพ่ิม
โดยจ�ำเลยได้รับวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘ จึงเป็นการใช้สิทธิเรียกร้องในหนี้ค่าภาษีมูลค่าเพ่ิม
ของโจทก์ที่ ๒ ที่ขาดอายุความเช่นเดียวกัน ที่ศาลภาษีอากรกลางพิพากษามานั้น ศาลอุทธรณ์
คดชี �ำนญั พิเศษเห็นพอ้ งดว้ ย อทุ ธรณข์ องโจทกท์ งั้ สองฟงั ไม่ขนึ้
พพิ ากษายืน คา่ ฤชาธรรมเนียมในช้นั อุทธรณ์ใหเ้ ปน็ พับ.
(ชยั สิทธิ์ ตราชูธรรม - บุญเขตร์ พุ่มทพิ ย์ - สรายุทธ์ วุฒยาภรณ)์
ธนสร สทุ ธิบดี - ยอ่
วีนัส นิมติ กลุ - ตรวจ
หมายเหตุ คดีถึงท่ีสดุ
166
ค�ำพิพากษาศาลอทุ ธรณ์คดีช�ำนัญพเิ ศษที่ ๖๔๐๔/๒๕๖๒ บรษิ ัทซุปเปอรซ์ าร่า
จ�ำกดั โจทก์
จำ� เลย
กรมศลุ กากร
ป.ว.ิ อ. มาตรา ๘๕ วรรคสาม
พ.ร.บ. ศลุ กากร (ฉบบั ท่ี ๙) พ.ศ. ๒๔๘๒ มาตรา ๑๗
พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๒๔, ๒๕ ,๒๗
การกักสินค้าพิพาทของพนักงานศุลกากรในคดีน้ี เป็นการกักยึดไว้โดยมีเหตุ
อนั ควรสงสยั ตาม พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๒๔, ๒๕ ทใี่ ช้บังคับในขณะเกิดเหตุ
ได้ให้อ�ำนาจไว้เพื่อด�ำเนินคดีอาญาแก่โจทก์เนื่องด้วยความผิดตามมาตรา ๒๗ อันอาจ
ถูกศาลสั่งริบได้ ตาม พ.ร.บ. ศุลกากร (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๔๘๒ มาตรา ๑๗ ซึ่งพนักงาน
เจ้าหน้าที่ของจ�ำเลยมีอ�ำนาจกักยึดไว้จนกว่าคดีอาญาจะถึงที่สุดตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๘๕
วรรคสาม ส่วนหนังสือรับรองถ่ินก�ำเนิดสินค้า (FORM D) ส�ำหรับสินค้าจะออกมาโดย
ถกู ตอ้ งและจะมขี นั้ ตอนการยกเลกิ เพกิ ถอนทเ่ี ปน็ ไปโดยถกู ตอ้ งหรอื ไมอ่ นั จะทำ� ใหโ้ จทก์
มสี ทิ ธเิ สยี ภาษใี นอตั รารอ้ ยละ ๐ หรอื ไมอ่ ยา่ งไรนน้ั ไมใ่ ชป่ ระเดน็ ขอ้ พพิ าททต่ี อ้ งวนิ จิ ฉยั
ในชั้นขอคืนของกลางที่ยึดไว้ในระหว่างการด�ำเนินคดีอาญาแต่เป็นเรื่องที่โจทก์ต้องไป
ว่ากล่าวหรือพิสูจน์ในชั้นคดีอาญาหรือในชั้นคดีพิพาทเก่ียวกับการประเมินภาษีต่อไป
การกักและยึดสินค้าท่ีพิพาทในคดีน้ีจึงเป็นไปโดยชอบแล้ว โจทก์ยังไม่อาจขอให้ตรวจ
ปล่อยสนิ ค้าพพิ าทและเรยี กค่าเสียหายในชั้นนไี้ ด้
______________________________
โจทก์ฟอ้ งและแก้ไขค�ำฟอ้ ง ขอใหจ้ �ำเลยตรวจปลอ่ ยสินคา้ รถยนต์ปรบั อากาศ จ�ำนวน
๙๙ คัน ตามใบขนสินค้าขาเข้าเลขที่ A๐๐๒๐๕๙๑๒๐๐๗๘๓ โดยให้โจทก์เสียภาษีในอัตรา
รอ้ ยละ ๐ ใหจ้ ำ� เลยชดใชค้ า่ เสยี หายใหแ้ กโ่ จทกจ์ นถงึ วนั ฟอ้ งเปน็ เงนิ จำ� นวน ๓๖,๕๓๓,๘๔๖ บาท
ค่าเช่าสถานท่ีจอดรถวนั ละ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท และดอกเบ้ยี ในอัตราร้อยละ ๗ ตอ่ ปี นับถัดจาก
วนั ฟอ้ งเป็นต้นไปจนกว่าจำ� เลยจะตรวจปลอ่ ยรถยนต์ทงั้ ๙๙ คนั ให้แก่โจทก์
167
จำ� เลยให้การ ขอให้ยกฟอ้ ง
ศาลภาษีอากรกลาง พิพากษายกฟ้อง ให้โจทก์ใช้ค่าทนายความแทนจ�ำเลยเป็นเงิน
จ�ำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท ค่าฤชาธรรมเนียมอน่ื ให้เป็นพบั
โจทก์อทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงฟังได้ว่า เม่ือ
ปี ๒๕๕๙ โจทก์น�ำเข้ารถยนต์โดยสารปรับอากาศประเภทใช้เช้ือเพลิงเอ็นจีวี รวม ๕ คร้ัง
จำ� นวน ๔๘๙ คัน โดยส่ังซ้ือจากบรษิ ัทอาร์ แอนด์ เอ คอมเมอร์เชียล วฮี ีเคิลส์ เอสดเี อ็น บเี อชดี
ซ่ึงอยู่ในประเทศมาเลเซียอันเป็นประเทศสมาชิกอาเซียน การน�ำเข้ารถยนต์โดยสารที่พิพาท
เป็นการนำ� เข้าคร้ังที่ ๒ เมื่อวันท่ี ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ จำ� นวน ๙๙ คนั โดยโจทก์ย่นื ใบขนสินคา้
ขาเขา้ พรอ้ มแบบแสดงรายการภาษสี รรพสามติ และภาษมี ลู คา่ เพม่ิ เลขที่ A๐๐๒๐๕๙๑๒๐๐๗๘๓
และแสดงหนังสอื รับรองถ่นิ ก�ำเนดิ สนิ คา้ (Form D) เพ่ือรับรองว่ารถยนตโ์ ดยสารทโี่ จทก์น�ำเข้า
นั้นมีถิ่นก�ำเนิดของในประเทศมาเลเซีย เพื่อใช้สิทธิลดอัตราภาษีตามความตกลงการค้าสินค้า
ของอาเซยี น (ASEAN Trade in Goods Agreement หรอื ATIGA) และตามประกาศกระทรวง
การคลงั เร่อื ง การยกเว้นอากรและลดอตั ราอากรศุลกากรส�ำหรบั ของที่มีถ่ินกำ� เนิดจากอาเซยี น
โจทก์ด�ำเนินพิธีการศุลกากรขอรับรถยนต์โดยสารที่น�ำเข้าแล้วแต่พนักงานเจ้าหน้าที่ของจ�ำเลย
ไม่ยอมตรวจปล่อยรถยนต์โดยสารให้แก่โจทก์โดยเห็นว่ารถยนต์โดยสารท่ีน�ำเข้ามีถิ่นก�ำเนิด
ในสาธารณรัฐประชาชนจีน และด�ำเนินคดีโจทก์ในความผิดฐานส�ำแดงประเทศก�ำเนิดสินค้า
เปน็ เทจ็ (FORM D) และใชส้ ทิ ธลิ ดอตั ราอากรของทม่ี ถี น่ิ กำ� เนดิ จากประเทศอาเซยี นเพอื่ หลกี เลย่ี ง
คา่ ภาษีอากร ตามมาตรา ๙๙ และ ๒๗ แหง่ พระราชบญั ญตั ิศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ คดอี ยู่ระหว่าง
การสอบสวนของกองคดภี าษีอากร กรมสอบสวนคดีพิเศษ หลังจากโจทก์ฟ้องคดีน้ตี ่อศาลภาษี
อากรกลางแล้วต่อมาวันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จ�ำเลยมีหนังสือแจ้งการประเมินภาษีอากร
ส�ำหรับรถยนต์โดยสาร ๙๙ คนั ท่ีพพิ าทในคดีน้ี
คดมี ปี ญั หาตอ้ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข์ องโจทกว์ า่ การทจี่ ำ� เลยไมย่ อมตรวจปลอ่ ยรถยนต์
โดยสารท่พี พิ าทไว้นนั้ ชอบด้วยกฎหมายหรอื ไม่ และจ�ำเลยตอ้ งชำ� ระค่าเสียหายแกโ่ จทก์หรอื ไม่
เพียงใด เห็นว่า คดีน้ีโจทก์ฟ้องขอให้จ�ำเลยตรวจปล่อยสินค้าท่ีพิพาทแก่โจทก์โดยให้โจทก์
เสยี ภาษีอากรน�ำเขา้ ในอัตรารอ้ ยละ ๐ และเรียกคา่ เสียหายอันเกิดจากการไม่ตรวจปล่อยสินค้า
ให้แก่โจทก์ในช้นั กอ่ นการประเมินของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ทงั้ กรณยี ังอยูร่ ะหวา่ งมีการด�ำเนินคดี
อาญาอันเนื่องมาจากพนักงานเจ้าหน้าท่ีของจ�ำเลยมีเหตุอันควรสงสัยว่าสินค้าพิพาทที่น�ำเข้า
168
มีถ่ินก�ำเนิดในสาธารณรัฐประชาชนจีนโดยมิได้มีถิ่นก�ำเนิดในประเทศมาเลเซียตามที่โจทก์
ส�ำแดงไว้ในขณะที่น�ำเข้า ซึ่งในเบ้ืองต้นพนักงานเจ้าหน้าท่ีของจ�ำเลยกักและยึดสินค้าที่พิพาทไว้
เพ่ือตรวจสอบ และต่อมาพนักงานเจ้าหน้าท่ีของจ�ำเลยก็ได้มีการตรวจสอบถึงแหล่งท่ีมาของ
สินค้าจากต้นทางท้ังที่สาธารณรัฐประชาชนจีนและประเทศมาเลเซียและมีการสืบสวนทราบว่า
สินค้าพิพาททั้งหมดมีต้นทางส่งออกมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนมายังประเทศมาเลเซียและ
ทางราชการประเทศมาเลเซยี กไ็ ดม้ กี ารออกหนังสอื รับรองถ่นิ กำ� เนดิ สนิ ค้า (FORM D) สำ� หรบั
สนิ คา้ ทพี่ ิพาทท้งั หมดให้บรษิ ทั อาร์ แอนด์ เอ คอมเมอร์เชียล วฮี ีเคิลส์ เอสดเี อน็ บีเอชดี แลว้
หลังจากน้ันสินค้าท่ีพิพาทก็ถูกจัดส่งมายังประเทศไทย พนักงานเจ้าหน้าที่ของจ�ำเลยจึงด�ำเนิน
คดีอาญาโจทก์ฐานส�ำแดงประเทศก�ำเนิดสินค้าเป็นเท็จ (FORM D) และใช้สิทธิลดอัตราอากร
ของท่ีมีถ่ินก�ำเนิดจากประเทศอาเซียน เพื่อหลีกเล่ียงค่าภาษีอากร ตามมาตรา ๙๙ และ ๒๗
แหง่ พระราชบัญญตั ศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ และแจง้ ใหโ้ จทกไ์ ปทำ� ความตกลงระงบั คดี ตามเกณฑ์
การระงับคดีตามพระราชบัญญัติศุลกากร ซ่ึงมีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ไว้ให้ปรับสองเท่าของ
อากรท่ีขาดและให้ช�ำระค่าอากรท่ีขาดให้ครบถ้วนพร้อมเบ้ียปรับหน่ึงเท่าของภาษีมูลค่าเพ่ิม ภาษี
สรรพสามติ ภาษเี พอื่ มหาดไทย (ถา้ ม)ี แตโ่ จทก์ไมไ่ ปท�ำความตกลงระงบั คดี พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ของ
จ�ำเลยจึงด�ำเนินคดีอาญาแก่โจทก์ คดีอยู่ระหว่างการสอบสวนของกองคดีภาษีอากร กรมสอบสวน
คดีพิเศษ เห็นได้ว่าการกักยึดสินค้ารถยนต์โดยสารที่พิพาทท้ัง ๙๙ คัน ของพนักงานศุลกากร
ดังกล่าว เป็นการกักยึดไว้โดยมีเหตุอันควรสงสัยตามที่พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙
มาตรา ๒๔ และ ๒๕ ที่ใช้บังคับในขณะเกิดเหตุได้ให้อ�ำนาจไว้เพื่อด�ำเนินคดีอาญาแก่โจทก์
อนั เนอ่ื งดว้ ยความผดิ ตามมาตรา ๒๗ ดงั กลา่ ว อนั อาจถกู ศาลสงั่ รบิ ไดต้ ามพระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร
(ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๔๘๒ มาตรา ๑๗ ซึ่งพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ขี องจำ� เลยมอี ำ� นาจกกั ยดึ ไว้ไดจ้ นกว่า
คดอี าญาถงึ ทส่ี ดุ ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๘๕ วรรคสาม สว่ นทโี่ จทก์
อ้างในอุทธรณ์ว่าหนังสือรับรองถิ่นกำ� เนิดสินค้า (FORM D) ส�ำหรับสินค้าท่ีพิพาททางราชการ
ประเทศมาเลเซียออกโดยถูกต้องแล้ว การยกเลิกเพิกถอนหนังสือรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้า
(FORM D) พนกั งานเจา้ หนา้ ทข่ี องจำ� เลยไมไ่ ดม้ กี ารตรวจสอบยอ้ นกลบั ตามขน้ั ตอนทกี่ ำ� หนดไว้
ตามความตกลงการคา้ ของอาเซยี นนน้ั เหน็ วา่ หนงั สอื รบั รองถนิ่ กำ� เนดิ สนิ คา้ (FORM D) สำ� หรบั
สนิ คา้ ทพ่ี พิ าทจะมกี ารออกมาโดยถกู ตอ้ งและจะมขี น้ั ตอนการยกเลกิ เพกิ ถอนทเ่ี ปน็ ไปโดยถกู ตอ้ ง
หรอื ไมอ่ นั จะทำ� ใหโ้ จทกม์ สี ทิ ธเิ สยี ภาษใี นอตั รารอ้ ยละ ๐ หรอื ไมอ่ ยา่ งไรนนั้ ไมใ่ ชป่ ระเดน็ ขอ้ พพิ าท
ท่ีต้องวินิจฉัยในชั้นขอคืนของกลางที่ยึดไว้ในระหว่างการด�ำเนินคดีอาญาแต่เป็นเร่ืองท่ีโจทก์
169
ต้องไปว่ากล่าวหรือพิสูจน์ในช้ันคดีอาญาหรือในช้ันคดีข้อพิพาทเกี่ยวด้วยการประเมินภาษี
ต่อไป เมื่อวินิจฉัยได้ความดังนี้แล้วจึงรับฟังได้ว่าการกักและยึดสินค้ารถยนต์โดยสารท่ีพิพาท
ไว้ในระหว่างการด�ำเนินคดีอาญาของจ�ำเลยในชั้นนี้เป็นการกระท�ำตามอ�ำนาจหน้าที่ที่กฎหมาย
ก�ำหนดไว้และเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว โจทก์ยังไม่อาจขอให้ตรวจปล่อยสินค้าพิพาท
และเรียกค่าเสียหายจากจ�ำเลยในช้ันนี้ได้ ท่ีศาลภาษีอากรกลางพิพากษายกฟ้องโจทก์มาน้ัน
ศาลอทุ ธรณค์ ดีช�ำนัญพเิ ศษเหน็ พอ้ งดว้ ยในผล
พิพากษายนื คา่ ฤชาธรรมเนียมชนั้ อทุ ธรณ์ให้เป็นพับ.
(สมศักดิ์ อินทรพ์ ันธ์ุ - บุญเขตร์ พุ่มทพิ ย์ - สรายุทธ์ วุฒยาภรณ)์
สุกุมล รุ่งพรทวีวัฒน์ - ย่อ
วีนัส นมิ ติ กุล - ตรวจ
170
ค�ำพิพากษาศาลอุทธรณค์ ดีชำ� นัญพิเศษที่ ๗๔๒/๒๕๖๓ บริษัทจอี ารพ์ ีไทย
(ประชุมใหญ่) อนิ ดสั ตรี จำ� กัด โจทก์
จำ� เลย
กรมศลุ กากร
พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ, ๑๑๒ ปณั รส
พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ กำ� หนดใหผ้ นู้ ำ� ของเขา้ มสี ทิ ธอิ ทุ ธรณ์
การประเมินอากรของพนักงานเจ้าหน้าท่ีต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เสียก่อน
เมอ่ื โจทกอ์ ทุ ธรณก์ ารประเมนิ แลว้ คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณย์ อ่ มมอี ำ� นาจพจิ ารณา
ค�ำอุทธรณ์ของโจทก์ และกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์เป็นการพิจารณาทบทวนการ
ประเมินตามค�ำอุทธรณ์เพ่ือมีค�ำสั่งทางปกครองอย่างหนึ่ง ซ่ึงคณะกรรมการพิจารณา
อุทธรณ์ในคดีนี้ได้มีค�ำวินิจฉัยชี้ขาดยกค�ำอุทธรณ์ของโจทก์ และวินิจฉัยให้สินค้า
รายอุทธรณ์ช�ำระอากรตามประเภทพิกัดและอัตราอากร ดังน้ี ให้สินค้าที่น�ำเข้าจัดเป็น
ของในประเภทพิกัดแค้ป ตามประเภทพิกัด ๘๗๐๗.๙๐ อัตราร้อยละ ๘๐ (น�ำเข้าก่อน
วันท่ี ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๔๖) และอัตราร้อยละ ๔๐ (นำ� เข้าหลังวนั ที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๖)
ส่วนสินค้ารายการใดท่ีส�ำแดงปริมาณเกินกว่าจ�ำนวนที่ต้องใช้ในการประกอบเป็นแค้ป
ต่อ ๑ ชุด ให้ช�ำระอากรตามประเภทของสินค้านั้น ๆ และอัตราอากรตามที่เป็นอยู่
ณ วนั นำ� เขา้ ซง่ึ มาตรา ๑๑๒ ปณั รส แหง่ พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ กำ� หนดว่า คำ� วนิ จิ ฉยั
ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ให้เป็นท่ีสุด เว้นแต่ในกรณีที่มีค�ำพิพากษาถึงที่สุด
มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงค�ำวินิจฉัย ก็ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอ�ำนาจด�ำเนินการตาม
ค�ำพิพากษา ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของจ�ำเลยดังกล่าว
ข้างต้น ย่อมมีผลให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของจ�ำเลยจะต้องแจ้งให้โจทก์ช�ำระเงินค่าอากร
ขาเขา้ เพมิ่ ขน้ึ ตามประเภทพกิ ดั และอตั ราอากรทร่ี ะบไุ วใ้ นคำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์ และเปน็ การ
ยกค�ำขอตามค�ำอทุ ธรณ์ของโจทก์อนั เปน็ การโตแ้ ยง้ สทิ ธขิ องโจทกแ์ ลว้
______________________________
โจทกฟ์ อ้ ง ขอใหเ้ พกิ ถอนคำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์ เลขท่ี กอ ๑๕๙/๒๕๖๐/ป๑๔/๒๕๖๐ (๓.๑๑)
ลงวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของจ�ำเลย และงดหรือ
ลดเบยี้ ปรบั และเงนิ เพิ่มท้ังหมดให้แกโ่ จทก์
171
จ�ำเลยใหก้ าร ขอให้ยกฟ้อง
ศาลภาษีอากรกลาง พพิ ากษายกฟ้อง ค่าฤชาธรรมเนยี มใหเ้ ป็นพบั
โจทก์อทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณค์ ดีชำ� นญั พเิ ศษแผนกคดภี าษอี ากรวินจิ ฉัยวา่ ข้อเท็จจริงรบั ฟงั เป็นยุตวิ า่
เม่ือระหวา่ งวนั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๔๕ ถงึ วันท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ โจทก์นำ� เขา้ หวั เก๋ง (Cab
shell) และสว่ นประกอบพรอ้ มอปุ กรณ์ประกอบของหัวเก๋ง (Parts and Accessories of Cab)
มาในราชอาณาจักรเพื่อมาผลิตหรือประกอบเป็นหัวเก๋ง (Cab) ส�ำหรับเป็นส่วนประกอบและ
อุปกรณ์ยานยนตค์ อื รถทรคั แทรกเตอร์ ยหี่ ้อสแกนเนีย จ�ำนวน ๓๖ ใบขน โดยช�ำระภาษีอากร
ท่ีเก่ียวข้องแล้ว ต่อมาวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๖ พนักงานเจ้าหน้าที่จ�ำเลยแจ้งการประเมิน/
เรียกเกบ็ อากรขาเข้า/ขาออก ภาษสี รรพสามติ ภาษีมลู คา่ เพิม่ และภาษอี ืน่ ๆ ให้โจทก์ทราบตาม
แบบแจง้ การประเมนิ เลขที่ กค ๐๕๑๔(๒)/๒๑๔/๓-๓-๐๔๗๕๗ ถึงเลขท่ี กค ๐๕๑๔(๒)/๒๑๔/๓-
๓-๐๔๗๙๒ ลงวนั ที่ ๒๕ มนี าคม ๒๕๕๖ รวม ๓๖ ฉบับ โจทก์ไมเ่ หน็ ดว้ ยกับการประเมินของ
พนกั งานเจา้ หนา้ ทจ่ี ำ� เลย ในวนั ท่ี ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ และวนั ท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ โจทก์
ยื่นค�ำอทุ ธรณแ์ ละคัดคา้ นการประเมินตามแบบแจ้งการประเมินอากรทัง้ ๓๖ ฉบบั ต่อคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ ต่อมาวันท่ี ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
มหี นงั สอื แจง้ คำ� วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์ ท่ี กค ๐๕๑๘(๖)/๘๖๔ ลงวนั ที่ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ พรอ้ มดว้ ย
คำ� วินิจฉัยอทุ ธรณ์ เลขที่ กอ ๑๕๙/๒๕๖๐/ป ๑๔/๒๕๖๐ (๓.๑๑) ลงวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
ให้โจทก์ทราบทั้ง ๓๖ ฉบับ โดยคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีค�ำวินิจฉัยว่า “ให้ยกค�ำขอ
อุทธรณ์ของผู้อุทธรณ์ และเพิกถอนการประเมินอากรของพนักงานเจ้าหน้าท่ี และให้สินค้า
รายอุทธรณ์ในแต่ละใบขนสินค้าขาเข้า ที่เมื่อน�ำเข้ามาประกอบเข้าด้วยกันแล้วมีลักษณะ
อนั เป็นสาระส�ำคญั ของแคป้ ตามหลักเกณฑ์การตีความ ขอ้ ๒ (ก) ใหส้ นิ คา้ ดังกล่าวจัดเป็นของ
ในประเภทพกิ ดั ของแคป้ ตามประเภทพกิ ดั ๘๗๐๗.๙๐ อตั รารอ้ ยละ ๘๐ (น�ำเขา้ กอ่ นวนั ที่ ๑๗
ธนั วาคม ๒๕๔๖) ตามพระราชกำ� หนดพกิ ดั อตั ราศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๓๐ และรอ้ ยละ ๔๐ (นำ� เขา้ หลงั
วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๖) ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การลดอัตราอากรและ
ยกเว้นอากรศุลกากร ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชก�ำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐
(ฉบบั ที่ ๑๒) ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๖ ตามหลักเกณฑก์ ารตีความ ขอ้ ๑ ข้อ ๒ (ก) และ
ข้อ ๖ และให้สินค้ารายอุทธรณ์ในแต่ละใบขนสินค้าขาเข้า รายการใดท่ีส�ำแดงปริมาณเกินกว่า
จ�ำนวนที่ต้องใช้ในการประกอบเป็นแค้ป ต่อ ๑ ชุด ให้ช�ำระอากรตามประเภทของสินค้าน้ัน ๆ
และอัตราอากรตามท่ีเปน็ อยู่ ณ วันน�ำเขา้ ”
172
จ�ำเลยให้การต่อสู้ว่า โจทก์ไม่มีอ�ำนาจฟ้อง ศาลภาษีอากรกลางวินิจฉัยว่า โจทก์มี
อ�ำนาจฟ้อง แตพ่ พิ ากษายกฟ้อง เม่ือโจทก์อุทธรณ์ และจำ� เลยแก้อทุ ธรณว์ ่า โจทก์ไม่มีอ�ำนาจฟอ้ ง
จึงถือว่าจ�ำเลยยังโต้แย้งประเด็นเร่ืองอ�ำนาจฟ้องอยู่ เห็นสมควรวินิจฉัยในประเด็นเร่ืองอ�ำนาจฟ้อง
ตามคำ� แก้อุทธรณ์ของจำ� เลยเสยี กอ่ นว่า โจทก์มอี �ำนาจฟ้องหรือไม่ ศาลอุทธรณ์คดีชำ� นัญพเิ ศษ
โดยมติที่ประชุมใหญ่ เห็นว่า พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ ก�ำหนดให้
ผู้น�ำของเข้ามีสิทธิอุทธรณ์การประเมินอากรของพนักงานเจ้าหน้าที่ต่อคณะกรรมการพิจารณา
อุทธรณ์เสียก่อน เมื่อโจทก์อุทธรณ์การประเมินแล้ว คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ย่อมมี
อ�ำนาจพิจารณาค�ำอุทธรณ์ของโจทก์ และกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์เป็นการพิจารณา
ทบทวนการประเมนิ ตามคำ� อทุ ธรณเ์ พอื่ มคี ำ� สงั่ ทางปกครองอยา่ งหนง่ึ ซงึ่ คณะกรรมการพจิ ารณา
อุทธรณ์ในคดีน้ีได้มีค�ำวินิจฉัยช้ีขาดยกค�ำอุทธรณ์ของโจทก์ และวินิจฉัยให้สินค้ารายอุทธรณ์
ช�ำระอากรตามประเภทพิกัดและอัตราอากร ดังน้ี ให้สินค้าที่น�ำเข้าจัดเป็นของในประเภท
พกิ ดั แคป้ ตามประเภทพกิ ดั ๘๗๐๗.๙๐ อตั รารอ้ ยละ ๘๐ (นำ� เขา้ กอ่ นวนั ที่ ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๔๖)
และอัตราร้อยละ ๔๐ (น�ำเข้าหลังวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๖) ส่วนสินค้ารายการใดท่ีส�ำแดง
ปริมาณเกินกว่าจ�ำนวนท่ีต้องใช้ในการประกอบเป็นแค้ป ต่อ ๑ ชุด ให้ช�ำระอากรตามประเภท
ของสินค้าน้ัน ๆ และอัตราอากรตามท่ีเป็นอยู่ ณ วันน�ำเข้า ซ่ึงมาตรา ๑๑๒ ปัณรส แห่ง
พระราชบญั ญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ก�ำหนดวา่ ค�ำวนิ ิจฉยั ของคณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์
ให้เป็นที่สุด เว้นแต่ในกรณีที่มีค�ำพิพากษาถึงที่สุดมีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงค�ำวินิจฉัย ก็ให้
พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ�ำนาจด�ำเนินการตามค�ำพิพากษา ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ของจ�ำเลยดังกล่าวข้างต้น ย่อมมีผลให้โจทก์ต้องช�ำระเงินค่าอากรขาเข้า
เพ่ิมขึ้นตามประเภทพิกัดและอัตราอากรที่ระบุไว้ในค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ และเป็นการยกค�ำขอ
ตามค�ำอุทธรณข์ องโจทก์ อนั เปน็ การโต้แยง้ สทิ ธขิ องโจทกแ์ ล้ว ทศี่ าลภาษอี ากรกลางวนิ จิ ฉยั ว่า
โจทก์มอี ำ� นาจฟ้องจึงชอบแลว้ คำ� แกอ้ ทุ ธรณข์ องจำ� เลยฟงั ไมข่ นึ้
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า การประเมินของพนักงานเจ้าหน้าที่
ของจำ� เลยตามใบขนสนิ คา้ ขาเข้า ๑๓ ฉบบั ขาดอายคุ วามการประเมนิ ตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม
แหง่ พระราชบัญญตั ิศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ หรือไม่ เหน็ ว่า แมค้ �ำอุทธรณ์ของโจทก์ไม่ปรากฏว่า
โจทก์ได้อุทธรณ์ประเด็นน้ีไว้ในชั้นคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ แต่ค�ำฟ้องโจทก์ในประเด็น
ดังกล่าวเป็นการกล่าวอ้างว่า จ�ำเลยมิได้ประเมินเรียกเก็บอากรขาเข้าจากใบขนสินค้าพิพาท
ทงั้ ๑๓ ฉบบั ภายใน ๑๐ ปี นบั แตว่ ันน�ำเข้า เป็นการอ้างวา่ การประเมินของพนกั งานเจ้าหนา้ ที่
173
จำ� เลยไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย ไม่มอี ำ� นาจประเมิน โจทกย์ ่อมมีสทิ ธนิ �ำประเดน็ ดังกลา่ วมาฟอ้ งคดี
ต่อศาลโดยไม่ต้องอุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ก่อน ที่ศาลภาษีอากร
กลางวินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องประเด็นน้ีต่อศาลและไม่ได้วินิจฉัยประเด็นน้ีมาจึงไม่ต้องด้วย
ความเห็นของศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ และเห็นควรวินิจฉัยปัญหานี้ตามที่โจทก์อุทธรณ์
ตอ่ ไปว่า การประเมนิ อากรขาเขา้ ตามใบขนสนิ คา้ ขาเขา้ ท้งั ๑๓ ฉบบั เกนิ ๑๐ ปี แลว้ หรอื ไม่
เห็นว่า มาตรา ๑๐ วรรคสาม แหง่ พระราชบญั ญัติศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ บัญญตั ิวา่ “เวน้ แตก่ รณี
ที่มกี ารหลกี เลี่ยงหรือพยายามหลกี เล่ียงอากร สทิ ธขิ องกรมศลุ กากรทจ่ี ะเรยี กอากรท่ีขาดเพราะ
เหตุอันเก่ยี วกบั ชนดิ คณุ ภาพ ปริมาณ น�ำ้ หนัก หรอื ราคาแห่งของใด ๆ หรือเกย่ี วกับอตั ราอากร
ส�ำหรับของใด ๆ น้ัน ให้มีอายุความสิบปี แต่ในเหตุที่ได้ค�ำนวณจ�ำนวนเงินอากรผิด ให้มีอายุ
ความสองปี ท้งั น้นี ับจากวันทน่ี ำ� ของเขา้ หรอื ส่งของออก” ตามบทบัญญัตดิ งั กล่าว กรณีไม่มกี าร
หลกี เลยี่ งหรอื พยายามหลกี เลย่ี งอากร สทิ ธขิ องจำ� เลยทจี่ ะเรยี กรอ้ งเกบ็ เงนิ อากรทข่ี าดเพราะเหตุ
อันเก่ยี วกับชนิด คณุ ภาพ ปริมาณ น้ำ� หนกั หรอื ราคาแหง่ ของใด ๆ หรอื เกีย่ วกับอัตราอากรใด ๆ
ให้มีอายุความสิบปี นับจากวันท่ีน�ำเข้าประการหนึ่ง ส่วนกรณีที่มีการหลีกเลี่ยงหรือพยายาม
หลีกเล่ยี งอากรไม่ตอ้ งด้วยมาตรา ๑๐ วรรคสาม แหง่ พระราชบัญญัตศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ต้อง
บังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๓๑ ซึ่งบัญญัติว่า “สิทธิเรียกร้อง
ของรัฐที่จะเรียกเอาค่าภาษีอากรให้มีก�ำหนดอายุความ ๑๐ ปี...” การนับอายุความจึงต้องเริ่ม
นับต้ังแต่ขณะท่ีอาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้เป็นต้นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๙๓/๑๒ ซึ่งมาตรา ๑๐ ทวิ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙
บัญญัติว่า “ความรับผิดในอันจะต้องเสียค่าภาษีส�ำหรับของท่ีน�ำเข้าเกิดขึ้นในเวลาท่ีน�ำของเข้า
ส�ำเรจ็ ” กรณนี ้ีไมว่ า่ เป็นกรณีมีการหลกี เลย่ี งหรอื พยายามหลกี เล่ียงอากร ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๓๑ หรือกรณีไม่มีการหลีกเล่ียงหรือพยายามหลีกเล่ียง จ�ำเลย
จงึ ต้องประเมินเรยี กเกบ็ อากรภายใน ๑๐ ปี นบั แต่วันน�ำของเขา้ สำ� เร็จ ไมใ่ ช่นบั แต่วันตรวจพบ
ความผิดดังที่จ�ำเลยอ้าง เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าโจทก์ย่ืนใบขนสินค้าขาเข้าพร้อมแบบแสดง
รายการภาษีตามใบขนสินคา้ เลขที่ ๒๘๐๑-๐๐๘๔๕๘๑๐๗๗ เมื่อวันท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๕
ใบขนสินค้า เลขที่ ๒๘๐๑-๐๐๙๔๕๘๑๒๙๒ น�ำเข้าวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๕ ใบขนสินค้า
เลขที่ ๒๘๐๑-๐๑๑๔๕๘๐๓๗๔ น�ำเข้าวันท่ี ๒๙ ตุลาคม ๒๕๔๕ ใบขนสินค้า เลขที่ ๒๘๐๑-
๐๑๑๔๕๘๐๗๓๗ นำ� เข้าวนั ท่ี ๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๕ ใบขนสนิ ค้า เลขที่ ๒๘๐๑-๐๑๑๔๕๘๑๑๖๕
นำ� เขา้ วนั ที่ ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๕ ใบขนสนิ คา้ เลขที่ ๒๘๐๑-๐๑๒๔๖๘๐๓๔๒ นำ� เขา้ วนั ท่ี ๒๗
174
พฤศจกิ ายน ๒๕๔๕ ใบขนสินคา้ ขาเข้า เลขท่ี ๒๘๐๑-๐๑๒๔๕๘๑๐๖๕ น�ำเขา้ วันที่ ๑๗ ธนั วาคม
๒๕๔๕ ใบขนสินค้า เลขที่ ๒๘๐๑-๐๐๑๔๖๘๐๘๒๓ น�ำเข้าวันท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๔๖ ใบขน
สนิ คา้ เลขที่ ๒๘๐๑-๐๐๑๔๖๘๐๘๓๘ นำ� เขา้ วนั ท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๔๖ ใบขนสนิ คา้ เลขท่ี ๒๘๐๑-
๐๐๒๔๖๘๐๗๙๑ นำ� เขา้ วนั ที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ ใบขนสนิ คา้ เลขที่ ๒๘๐๑-๐๐๒๔๖๘๐๗๙๐
น�ำเขา้ วนั ท่ี ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๖ ใบขนสนิ ค้า เลขท่ี ๒๘๐๑-๐๐๓๔๖๘๐๓๓๓ นำ� เขา้ วันที่ ๔
มีนาคม ๒๕๔๖ และใบขนสนิ คา้ เลขท่ี ๒๘๐๑-๐๐๓๔๖๘๐๘๙๘ น�ำเข้าวนั ที่ ๑๘ มนี าคม ๒๕๔๖
พนกั งานเจา้ หนา้ ทข่ี องจำ� เลยยอ่ มมอี ำ� นาจตรวจสอบความถกู ตอ้ งของแบบแสดงรายการทโ่ี จทก์
ยนื่ ไวแ้ ละมสี ทิ ธเิ รยี กรอ้ งคา่ อากรขาเขา้ ในสว่ นทขี่ าดไดน้ บั แตว่ นั ทโี่ จทกน์ ำ� เขา้ สนิ คา้ เมอ่ื พนกั งาน
เจ้าหน้าที่ของจ�ำเลยมีแบบแจ้งการประเมินเรียกเก็บอากรขาเข้าเพ่ิมตามใบขนสินค้าขาเข้าท้ัง
๑๓ ฉบบั ไปยังโจทกใ์ นวนั ที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๖ ซงึ่ พ้นกำ� หนดเวลา ๑๐ ปี นับแต่วันทจ่ี �ำเลย
อาจใช้สิทธิบังคับจากโจทก์ได้ จ�ำเลยย่อมไม่มีอ�ำนาจประเมินเรียกเก็บอากรตามใบขนสินค้าท้ัง
๑๓ ฉบับ จากโจทก์ได้ อทุ ธรณข์ องโจทก์ขอ้ น้ฟี ังขึน้
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ต่อไปว่า สินค้าพิพาทที่โจทก์น�ำเข้า
ตามใบขนสินค้า ๒๓ ฉบบั จดั เปน็ สินค้าตามประเภทและพกิ ดั อัตราตามคำ� วนิ จิ ฉยั อุทธรณ์ของ
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์หรือไม่ เหน็ วา่ คณะกรรมการพิจารณาอทุ ธรณถ์ ูกจัดต้ังข้ึนโดย
อาศัยอ�ำนาจตามพระราชบญั ญัตศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ และมาตรา ๑๑๒ สัตต
ที่ก�ำหนดให้มีข้ึนเพื่อตรวจสอบการประเมินของเจ้าพนักงานประเมิน และมาตรา ๑๑๒ โสฬส
วรรคสอง บัญญัติว่า “ในกรณีที่มีค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เสียอากรเพิ่มข้ึน ผู้อุทธรณ์จะต้องช�ำระ
ภายในก�ำหนดเวลาเช่นเดียวกับวรรคหนึ่ง” จากบทบัญญัติกฎหมายน้ีแสดงว่าหากพนักงาน
เจา้ หนา้ ทข่ี องจำ� เลยไดป้ ระเมนิ อากรขาดตกบกพรอ่ งจากทผ่ี อู้ ทุ ธรณจ์ ะตอ้ งเสยี ตามกฎหมายแลว้
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ย่อมมีอ�ำนาจแก้ไขการประเมินให้ผู้อุทธรณ์เสียอากรเพิ่มข้ึนได้
ดงั นน้ั เมอื่ คณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์ได้พจิ ารณาอุทธรณข์ องโจทกแ์ ล้ววินิจฉยั ใหช้ นิดของ
สินค้าที่โจทก์ส�ำแดงในแต่ละใบขนสินค้าขาเข้าตามแบบแจ้งการประเมินอากรและค�ำอุทธรณ์ท่ี
เมอ่ื นำ� เขา้ มาประกอบเขา้ ดว้ ยกนั แลว้ มลี กั ษณะอนั เปน็ สาระสำ� คญั ของแคป้ (Cab) ตามหลกั เกณฑ์
การตีความ ขอ้ ๒ (ก) ใหส้ ินค้าดังกลา่ วจดั เปน็ ของในประเภทพกิ ดั ของแคป้ (Cab) ตามประเภท
พิกดั ๘๗๐๗.๙๐ อัตรารอ้ ยละ ๘๐ (นำ� เข้ากอ่ นวนั ท่ี ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๔๖) ตามพระราชกำ� หนด
พิกัดอตั ราศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๓๐ และรอ้ ยละ ๔๐ (น�ำเขา้ หลังวนั ท่ี ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๔๖) และ
ให้สินค้ารายอุทธรณ์ในแต่ละใบขนสินค้าขาเข้า รายการใดที่ส�ำแดงปริมาณเกินกว่าจ�ำนวนที่
175
ต้องใช้ในการประกอบเปน็ แค้ป ต่อ ๑ ชดุ ใหช้ ำ� ระอากรตามประเภทของสินค้านัน้ ๆ และอัตรา
อากรตามท่ีเปน็ อยู่ ณ วนั น�ำเข้า จึงเป็นการวนิ จิ ฉยั ในประเดน็ วา่ สนิ ค้าทโี่ จทกน์ �ำเขา้ และส�ำแดง
ชนิดของสินค้าต้องจ�ำแนกให้จัดเข้าประเภทพิกัดและอัตราใด ซ่ึงเป็นประเด็นท่ีสืบเนื่องจาก
พนักงานเจ้าหน้าที่ของจ�ำเลยได้ประเมินเรียกเก็บอากรโจทก์เพ่ิม และอยู่ในอ�ำนาจพิจารณา
วินจิ ฉัยของคณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณ์ และคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณม์ ิได้กระท�ำการ
นอกเหนอื อำ� นาจหนา้ ทต่ี ามกฎหมาย ทง้ั มไิ ดว้ นิ จิ ฉยั นอกเหนอื จากประเดน็ แหง่ คดที มี่ อี ยู่ ดงั นน้ั
คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณจ์ งึ มอี ำ� นาจพจิ ารณาและวนิ จิ ฉยั ตามกฎหมาย อทุ ธรณข์ องโจทก์
ฟังไม่ขึ้น ส่วนท่ีโจทก์อุทธรณ์ต่อไปว่า โจทก์น�ำเข้าสินค้ารวม ๑๘ รายการ ของท่ีน�ำเข้าแต่ละ
รายการมปี ระเภทชนดิ ของสนิ คา้ และพกิ ดั อตั ราศลุ กากรแตกตา่ งกนั เปน็ อปุ กรณท์ น่ี ำ� มาประกอบ
เป็นแคป้ (Cab) ครบชดุ มใิ ชก่ ารนำ� เขา้ สินคา้ เป็นรายการเดยี วในฐานะเปน็ สินค้าทเ่ี ปน็ อุปกรณ์
ที่มีสาระส�ำคัญเป็นหัวเก๋งครบชุดสมบูรณ์ตามท่ีศาลภาษีอากรกลางวินิจฉัย เน่ืองจากโจทก์ยัง
ต้องนำ� ชน้ิ สว่ นใดชน้ิ ส่วนหนงึ่ มาท�ำเพ่ิมเตมิ เพอ่ื ให้เป็นของท่ีส�ำเรจ็ (further working operation)
สินค้าพิพาทที่โจทก์น�ำเข้าเป็นส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบตามประเภทพิกัดว่าด้วยของ
น้นั ๆ เพื่อมาผลิตหรอื ประกอบเปน็ ชิน้ สว่ นยานยนต์หัวเกง๋ (Cab shell) ซึง่ ใช้เป็นสว่ นประกอบ
ของยานยนต์ประเภทพกิ ัด ๘๗๐๑ ถงึ ๘๗๐๔ และมีสทิ ธไิ ด้ลดอากรตามประกาศกระทรวงการคลัง
เร่ือง การลดอัตราอากรและยกเว้นอากรศุลกากร ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชก�ำหนดพิกัด
อตั ราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบบั ที่ ๑๒) ลงวนั ท่ี ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๖ ขอ้ ๒ (๘) (๘.๑) ในอัตรา
รอ้ ยละ ๑๐ และขอ้ ๒ (๘) (๘.๒) อตั รารอ้ ยละ ๕ ใหล้ ดอตั ราอากรสำ� หรบั สว่ นประกอบและอปุ กรณ์
ประกอบเพอ่ื มาผลติ หรอื ประกอบเปน็ สว่ นประกอบยานยนตต์ ามประเภทพกิ ดั ๘๗๐๑ ถงึ ๘๗๐๖
นัน้ เห็นวา่ พระราชบัญญตั ิศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๐ ทวิ ก�ำหนดว่า ความรับผิดในอัน
จะตอ้ งเสยี ค่าภาษสี �ำหรับของทนี่ ำ� เข้าเกดิ ขึ้นในเวลาที่นำ� ของเข้าสำ� เร็จ และการค�ำนวณคา่ ภาษี
ให้ถือตามสภาพของราคาของและพิกัดอัตราศุลกากรท่ีเป็นอยู่ในเวลาที่ความรับผิดในอันจะ
ตอ้ งเสียภาษีเกดิ ข้นึ ดงั นั้น การจ�ำแนกประเภทพกิ ัดสินค้าของโจทก์ว่าจัดอยู่ในประเภทพกิ ดั ใด
จึงต้องพิจารณาจากสภาพของของท่ีเป็นอยู่ในเวลาที่น�ำของเข้าส�ำเร็จ โดยต้องน�ำหลักเกณฑ์
การตีความพิกัดอัตราศุลกากรในภาค ๑ ท้ายพระราชก�ำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐
ประกอบค�ำอธิบายพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ของคณะมนตรีความร่วมมือทางศุลกากรมาเป็น
หลักเกณฑ์ในการพิจารณา เมื่อข้อเท็จจริงฟังเป็นยุติว่า โจทก์น�ำเข้าชิ้นส่วนพร้อมอุปกรณ์
ประกอบ (Cab shell, Scania parts and Accessories of cab) มาเพ่ือผลิตหรอื ประกอบเปน็
แค้ป (Cab) ซึ่งใช้เป็นสว่ นประกอบของยานยนตต์ ามประเภทพกิ ัด ๘๗๐๑ ถึง ๘๗๐๔ โดยโจทก์
อ้างว่าช้ินส่วนอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีโจทก์น�ำเข้าจะต้องน�ำมาประกอบเข้าด้วยกัน และมีข้ันตอน
176
การเจาะเพ่ือน�ำช้ินส่วนอุปกรณ์ต่าง ๆ มาประกอบ มีลักษณะเป็นการท�ำเพิ่มเติมให้เป็นของ
สำ� เร็จน้นั ตามพระราชก�ำหนดพกิ ดั อัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๑๕ วรรคสาม ก�ำหนดว่า
การตคี วามให้ถือตามหลักเกณฑ์การตคี วามพิกดั อตั ราศลุ กากรในภาค ๑ ทา้ ยพระราชก�ำหนดน้ี
ซ่งึ ในภาค ๑ ท้ายพระราชก�ำหนดพกิ ดั อตั ราศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๓๐ หลกั เกณฑก์ ารตีความพิกดั
อตั ราศุลกากร ขอ้ ๒ (ก) ระบุวา่ ประเภททร่ี ะบถุ ึงของใด ให้หมายความว่ารวมถึงของนั้นทย่ี งั
ไม่ครบสมบูรณ์หรือยังไม่ส�ำเร็จ หากว่าในขณะน�ำเข้ามีลักษณะอันเป็นสาระส�ำคัญของ
ของท่ีครบสมบูรณ์แล้ว และให้ความหมายรวมถึงของท่ีครบสมบูรณ์หรือส�ำเร็จแล้วที่น�ำเข้ามาโดย
ถอดแยกออกจากกนั หรอื ยงั ไม่ได้ประกอบเขา้ ดว้ ยกัน จะนำ� เข้ามาต่างวาระกันก็ได้ ประกอบกับ
ค�ำอธิบายพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ หลักเกณฑ์การตีความ ข้อ ๒ (ก) ข้อ ๗ ก�ำหนดว่า
ของทน่ี ำ� เข้ามาโดยถอดแยกออกจากกนั หรอื ยงั ไมไ่ ดป้ ระกอบเข้าดว้ ยกนั หมายความถงึ ชน้ิ สว่ น
ที่ประกอบเข้าด้วยกัน โดยเคร่ืองมือประกอบ เช่น ตะปูควง แป้นเกลียว สลัก หรือโดยการใช้
หมุดย�้ำ หรอื โดยการเชอื่ ม ท้ังน้ีไม่ต้องค�ำนึงถึงความสลับซับซ้อนในการประกอบ อย่างไรก็ตาม
ชน้ิ สว่ นเหลา่ นตี้ อ้ งนำ� ไปใชโ้ ดยทนั ที โดยไมน่ ำ� ไปทำ� อะไรเพมิ่ เตมิ (any further working operation)
จงึ ตอ้ งพจิ ารณาวา่ ชน้ิ สว่ นอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ตามใบขนสนิ คา้ พพิ าททโ่ี จทกน์ ำ� เขา้ เหลา่ นน้ั มลี กั ษณะ
อันเป็นสาระส�ำคญั ของแคป้ (Cab) แล้ว โดยไมต่ ้องน�ำช้นิ สว่ นหนง่ึ มาท�ำเพิ่มเติมเพอื่ ใหเ้ ป็นของ
ทสี่ ำ� เรจ็ ตามหลกั เกณฑก์ ารตคี วาม ขอ้ ๒ (ก) หรอื ไม่ เมอ่ื พจิ ารณากระบวนการประกอบและผลติ
ชิ้นส่วนของสินค้าพิพาทท่ีโจทก์น�ำเข้าประกอบกับหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริงและเอกสารประกอบ
การพจิ ารณาอทุ ธรณ์ รายละเอยี ดขนั้ ตอนและภาพการประกอบหวั เกง๋ รวมทง้ั Parts List และ Part
Catalogue ของ Model Cab CP ๑๙ แลว้ จะเห็นไดว้ า่ ชน้ิ สว่ นทโี่ จทกน์ ำ� เขา้ สามารถประกอบ
เข้าด้วยกันได้โดยใช้เคร่ืองมือสว่านไฟฟ้า ใช้งานด้วยมือ ไม่มีการขึ้นรูป การท�ำให้เป็นรูปร่าง
หรือการจัดทำ� โดยเครื่องจักร ไม่ได้ผ่านการท�ำเพ่ิมเติมให้เปน็ ของสำ� เร็จ (any further working
operation) สินคา้ ช้ินสว่ นหัวเก๋งพรอ้ มอปุ กรณป์ ระกอบรุน่ CP ๑๔ และ CP ๑๙ ตามใบขนสินค้า
ท้งั ๒๓ ฉบับ เม่ือนำ� มาประกอบเขา้ ด้วยกันจงึ มลี ักษณะเป็นสาระส�ำคัญของแคป้ (Cab) และเปน็
ของที่ใช้ส�ำหรับประกอบเป็นรถทรัคแทรกเตอร์ซึ่งเป็นของตามประเภทพิกัดท่ี ๘๗๐๗.๙๐ ใน
ฐานะเปน็ แค้ป (Cab) ส�ำหรับยานยนต์ประเภท ๘๗๐๑ ตามหลกั เกณฑ์การตีความ ขอ้ ๑ ขอ้ ๒
(ก) สำ� หรับชน้ิ ส่วนที่สำ� แดงปรมิ าณเกินกว่าจำ� นวนทีต่ ้องใช้ในการประกอบเป็นแค้ป ตอ่ ๑ ชุด
ให้จัดเป็นของตามประเภทพิกัดท่ีว่าด้วยของนั้น ๆ ตามท่ีคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้
วนิ จิ ฉยั เมอื่ สนิ คา้ ทโ่ี จทกน์ ำ� เขา้ จดั เปน็ ของในประเภทพกิ ดั ๘๗๐๗.๙๐ ซงึ่ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ประเภทพกิ ดั
ท่ีถูกก�ำหนดไว้ในประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง การลดอัตราอากรและยกเว้นอากรศุลกากร
ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชกำ� หนดพกิ ดั อัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบับที่ ๑๒) ลงวนั ท่ี ๑๑
177
ธนั วาคม ๒๕๔๖ และประกาศกระทรวงการคลงั เรอ่ื ง การลดอตั ราอากรและยกเวน้ อากรศลุ กากร
ตามมาตรา ๑๒ แหง่ พระราชกำ� หนดพกิ ดั อตั ราศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ลงวนั ท่ี ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๔๔
โจทก์ย่อมไม่ได้รับการลดอัตราอากรและยกเว้นอากรศุลกากรตามประกาศกระทรวงการคลัง
ดงั กลา่ ว อุทธรณข์ องโจทกข์ ้อน้ีฟังไมข่ ึน้ เชน่ กนั
คดมี ปี ญั หาตอ้ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข์ องโจทกป์ ระการสดุ ทา้ ยวา่ มเี หตงุ ดหรอื ลดเบยี้ ปรบั
และเงนิ เพ่ิมใหแ้ กโ่ จทกห์ รอื ไม่ เหน็ วา่ ตามค�ำอทุ ธรณ์และคัดคา้ นการประเมนิ ภาษอี ากร โจทก์
ยื่นอุทธรณ์โดยขอให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ยกเลิกหรือแก้ไขการประเมินเท่าน้ัน
ไม่ได้ร้องขอให้งดหรือลดเบ้ียปรับและเงินเพ่ิมไว้ด้วย อันเป็นกรณีท่ีโจทก์มิได้อุทธรณ์การประเมิน
ในประเด็นนี้ ย่อมถือได้ว่า โจทก์ไม่ติดใจโต้แย้งในประเด็นของดหรือลดเบ้ียปรับและเงินเพิ่ม
ประเด็นน้ีจึงยุติไปตามการประเมิน โจทก์ไม่มีสิทธิน�ำประเด็นนี้ข้ึนสู่การพิจารณาของศาลภาษี
อากรได้ ดังน้ัน แม้โจทก์ย่ืนค�ำฟ้องขอให้งดหรือลดเบี้ยปรับเงินเพ่ิม อีกท้ังศาลภาษีอากรกลาง
ตั้งเป็นประเด็นข้อพิพาทและวินิจฉัยปัญหาน้ีมาก็ตาม ก็ถือว่าเป็นข้อที่มิได้ยกข้ึนว่ากันมาแล้ว
โดยชอบในศาลภาษีอากร ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง่ มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึ่ง
ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๒๘
มาตรา ๒๔ ศาลอุทธรณค์ ดีช�ำนัญพเิ ศษจึงไมร่ ับวินิจฉัย
พิพากษาแก้เป็นว่า ให้เพิกถอนค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์เฉพาะในส่วนของการน�ำเข้าสินค้า
ตามใบขนสนิ คา้ เลขท่ี ๒๘๐๑-๐๐๘๔๕๘๑๐๗๗ ใบขนสนิ คา้ เลขท่ี ๒๘๐๑-๐๐๙๔๕๘๑๒๙๒ ใบขน
สนิ คา้ เลขท่ี ๒๘๐๑-๐๑๑๔๕๘๐๓๗๔ ใบขนสนิ ค้า เลขท่ี ๒๘๐๑-๐๑๑๔๕๘๐๗๓๗ ใบขนสนิ คา้
เลขที่ ๒๘๐๑-๐๑๑๔๕๘๑๑๖๕ ใบขนสินค้า เลขท่ี ๒๘๐๑-๐๑๒๔๖๘๐๓๔๒ ใบขนสนิ คา้ ขาเข้า
เลขที่ ๒๘๐๑-๐๑๒๔๕๘๑๐๖๕ ใบขนสินค้า เลขที่ ๒๘๐๑-๐๐๑๔๖๘๐๘๒๓ ใบขนสนิ ค้า เลขท่ี
๒๘๐๑-๐๐๑๔๖๘๐๘๓๘ ใบขนสนิ ค้า เลขท่ี ๒๘๐๑-๐๐๒๔๖๘๐๗๙๑ ใบขนสินคา้ เลขที่ ๒๘๐๑-
๐๐๒๔๖๘๐๗๙๐ ใบขนสินค้า เลขที่ ๒๘๐๑-๐๐๓๔๖๘๐๓๓๓ และใบขนสินค้า เลขท่ี ๒๘๐๑-
๐๐๓๔๖๘๐๘๙๘ ท้ัง ๑๓ ฉบับ ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ให้เป็นพับ นอกจากที่แก้ให้เป็น
ไปตามคำ� พพิ ากษาศาลภาษอี ากรกลาง.
(เดชา ค�ำสทิ ธิ - ววิ ัฒน์ สวุ ัณณะสงั ข์ - วชิ ยั จติ ตาณิชย)์
มณฑาทิพย์ ตงั้ วชิ าชาญ - ยอ่
วีนัส นิมิตกลุ - ตรวจ
178
ค�ำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดชี ำ� นญั พิเศษท่ี ๘๓๐/๒๕๖๓ บรษิ ทั โอกาวา
เอเชีย จำ� กดั โจทก์
จำ� เลย
กรมศลุ กากร
พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ
พ.ร.บ. จัดตัง้ ศาลภาษีอากรและวิธพี ิจารณาคดภี าษอี ากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๘
แมค้ ำ� อทุ ธรณข์ องโจทกร์ ะบวุ า่ สนิ คา้ พพิ าทจดั อยใู่ นพกิ ดั อตั ราศลุ กากรประเภท
ท่ี ๗๔๐๓.๑๙.๐๐ และคัดค้านการประเมินของพนักงานเจ้าหน้าที่ของจ�ำเลยท่ีแจ้งการ
ประเมินเรียกเก็บอากรขาเข้าในพิกัดอัตราศุลกากรประเภทที่ ๗๔๑๙.๙๙.๙๐ แต่เมื่อ
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์พิจารณาแบบแจ้งการประเมินและค�ำอุทธรณ์แล้ว
มีค�ำวินิจฉัยส่วนหนึ่งด้วยว่า สินค้ารายอุทธรณ์ผ่านกรรมวิธีปรับสภาพผิว ล้าง และ
ท�ำความสะอาด ภายหลังการทุบขึ้นรูป จึงเป็นการกระท�ำที่มากกว่าที่ระบุไว้ในประเภท
ย่อย ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ จึงไม่จัดเป็นของตามประเภทย่อย ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ ถือได้ว่าปัญหา
ดงั กลา่ วเปน็ ขอ้ ทไ่ี ดย้ กขนึ้ วา่ กนั มาแลว้ โดยชอบในชน้ั พจิ ารณาอทุ ธรณ์แมต้ ามคำ� อทุ ธรณ์
ของโจทก์มิได้ยกข้อเท็จจริงว่าสินค้าพิพาทควรจัดเป็นของตามพิกัดอัตราศุลกากร
ประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ โจทก์ก็มีอ�ำนาจฟ้องว่าสินค้าพิพาทจัดเข้าพิกัดอัตราศุลกากร
ประเภทดังกล่าว
_______________________________
โจทกฟ์ อ้ ง ขอใหเ้ พกิ ถอนแบบแจ้งการประเมนิ เลขที่ กค ๙๑๐๖๒๓๘/๑๗-๑๐-๒๕๕๖
ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๖ เลขท่ี กค ๓๓๐๑๒๖๐/๐๒-๐๕-๒๕๖๐ เลขที่ กค ๓๓๐๑๒๖๗/๐๒-
๐๕-๒๕๖๐ เลขท่ี กค ๓๓๐๑๒๗๐/๐๒-๐๕-๒๕๖๐ และเลขท่ี กค ๓๓๐๑๒๗๓/๐๒-๐๕-๒๕๖๐
ถึงเลขที่ กค ๓๓๐๑๒๙๑/๐๒-๐๕-๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์
เลขท่ี กอพ.๒๓/๒๕๖๑/ป๒/๒๕๖๑(๓.๔) และเลขท่ี กอพ.๒๔/๒๕๖๑/ป๒/๒๕๖๑(๓.๕) ลงวันที่
๑๐ กนั ยายน ๒๕๖๑ และให้จ�ำเลยคืนเงิน ๘,๔๗๕,๕๑๑.๘๗ บาท พรอ้ มดอกเบีย้ ในอตั รารอ้ ยละ
๐.๖๒๕ ตอ่ เดอื น ของเงินคา่ ประกนั อากร ๗,๔๐๘,๘๘๘ บาท นบั แต่วันถัดจากวันฟอ้ งเป็นตน้ ไป
จนถึงวันทอี่ นมุ ตั จิ า่ ยคนื แก่โจทก์
179
จ�ำเลยให้การและแก้ไขเพ่ิมเติมคำ� ให้การ ขอใหย้ กฟอ้ ง
ศาลภาษีอากรกลาง พพิ ากษายกฟ้อง ใหโ้ จทก์ใชค้ า่ ทนายความแทนจ�ำเลย ๓๐,๐๐๐ บาท
ส่วนค่าฤชาธรรมเนียมอน่ื ใหเ้ ปน็ พับ
โจทก์อทุ ธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษแผนกคดีภาษีอากรวินิจฉัยว่า ข้อเท็จจริงฟังเป็นยุติได้ว่า
ระหวา่ งวนั ที่ ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๕๑ ถงึ วันที่ ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๕๕ โจทกน์ �ำเขา้ สินค้าโลหะทองแดง
ทรงกลม (Phosphorous Copper Ball) มขี นาดไม่เท่ากนั เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางขนาด ๔๐ ถงึ ๕๕
มลิ ลิเมตร มลี กั ษณะเปน็ วตั ถทุ รงกลมประกอบดว้ ยทองแดงอัตราร้อยละ ๙๙.๙๙ และฟอสฟอรัส
อัตราร้อยละ ๐.๐๒ รวม ๒๓ ครั้ง ขณะน�ำเข้าโจทก์ส�ำแดงพิกัดอัตราศุลกากรประเภทที่
๗๔๐๓.๑๙.๐๐ ในฐานะเปน็ ทองแดงบรสิ ุทธ์ทิ ยี่ ังไม่ขึ้นรูป (อนั รอต) อนื่ ๆ ในอัตรายกเว้นอากร
โจทกว์ างเงนิ ประกนั คา่ อากรไวใ้ นพกิ ดั อตั ราศลุ กากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๙.๑๐ ในฐานะเปน็ แอโนด
สำ� หรบั การชบุ ดว้ ยไฟฟา้ ในอตั ราอากรรอ้ ยละ ๑๐ เฉพาะสำ� หรบั ของนำ� เขา้ ในวนั ที่ ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๕๕
โจทก์วางเงินประกันค่าอากรไว้ในพิกัดอัตราศุลกากรประเภทที่ ๗๔๑๙.๙๙.๙๐ ในฐานะ
เปน็ ของอน่ื ๆ ทำ� ดว้ ยทองแดง ในอตั ราอากรรอ้ ยละ ๑๐ วนั ท่ี ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๕๖ จำ� เลยมหี นงั สอื
แจง้ การประเมนิ เรยี กเกบ็ อากรขาเขา้ สำ� หรบั ของทน่ี ำ� เขา้ ในวนั ท่ี ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๕๕ จากโจทก์
อ้างว่า โจทก์ส�ำแดงรายการของที่น�ำเข้าผิดประเภทพิกัดเนื่องจากของที่น�ำเข้าเป็นของอ่ืน ๆ
ทำ� ดว้ ยทองแดง จดั เปน็ ของตามพกิ ดั อตั ราศลุ กากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๙.๙๐ ตอ้ งเสยี อตั ราอากร
ร้อยละ ๑๐ และวนั ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๐ จ�ำเลยมีหนังสอื แจ้งการประเมนิ เรียกเก็บอากรขาเข้า
ส�ำหรบั ของทนี่ ำ� เขา้ ระหว่างวันท่ี ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๕๑ ถงึ วันที่ ๒๒ มนี าคม ๒๕๕๓ จากโจทก์
๒๒ ฉบับ อ้างว่าส�ำแดงรายการของที่น�ำเข้าผิดประเภทพิกัดเนื่องจากของที่น�ำเข้าเป็นแอโนด
ส�ำหรับการชุบไฟฟ้า จัดเป็นของตามพิกัดอัตราศุลกากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๙.๑๐ ต้องเสีย
อัตราอากรร้อยละ ๑๐ โจทก์อุทธรณ์การประเมินตามหนังสือแจ้งการประเมินทั้ง ๒๓ ฉบับ
ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีค�ำวินิจฉัยให้ยกอุทธรณ์
โจทก์ทง้ั ๒๓ ฉบบั
คดมี ปี ัญหาตอ้ งวนิ จิ ฉัยตามอทุ ธรณ์ของโจทก์ประการแรกวา่ โจทก์มอี �ำนาจฟอ้ งขอให้
เพิกถอนแบบแจ้งการประเมินและค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ส�ำหรับการน�ำเข้าสินค้าพิพาทในวันที่ ๑๒
ธันวาคม ๒๕๕๕ หรอื ไม่ เห็นวา่ พระราชบญั ญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ บญั ญตั ิว่า
“ผู้น�ำของเข้าหรือผู้ส่งของออกมีสิทธิอุทธรณ์การประเมินอากรของพนักงานเจ้าหน้าที่ต่อ
180
คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณต์ ามแบบทอ่ี ธบิ ดกี ำ� หนดไดภ้ ายในสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั แจง้
การประเมิน ...” เมอื่ พิจารณาคำ� อทุ ธรณ์ของโจทก์ ซึง่ เปน็ การอทุ ธรณค์ ัดคา้ นการประเมินแบบ
แจ้งการประเมินส�ำหรับการน�ำเข้าสินค้าพิพาทในวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ แล้วจะเห็นได้ว่า
คำ� อทุ ธรณข์ องโจทกร์ ะบคุ ดั คา้ นการประเมนิ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ทขี่ องจำ� เลยทแี่ จง้ การประเมนิ
เรียกเก็บอากรขาเข้าในพิกัดอัตราศุลกากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๙.๙๐ ในอัตราอากรร้อยละ ๑๐
พรอ้ มระบขุ อ้ เทจ็ จรงิ ในคำ� อทุ ธรณเ์ กยี่ วกบั รายละเอยี ดของสนิ คา้ ทนี่ ำ� เขา้ วนั ทนี่ ำ� เขา้ พกิ ดั อตั รา
ศุลกากร อัตราภาษี รวมทั้งเหตุผลในการโต้แย้งการประเมินของพนักงานเจ้าหน้าที่ของจ�ำเลย
ทง้ั ในประเด็นขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ กฎหมาย ถอื วา่ โจทก์ไดอ้ ุทธรณ์การประเมนิ ตามพระราชบัญญตั ิ
ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ แล้ว ส�ำหรับปัญหาเร่ืองสินค้าพิพาทท่ีโจทก์น�ำเข้าใน
วันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ ควรต้องจดั เป็นของตามพิกดั อัตราศลุ กากรประเภทที่ ๗๔๑๙.๙๑.๐๐
เป็นข้อที่ว่ากันมาแล้วโดยชอบในชั้นพิจารณาอุทธรณ์หรือไม่น้ัน ต้องพิจารณาจากแบบแจ้ง
การประเมิน ค�ำอุทธรณ์และประเด็นท่คี ณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ไดว้ ินจิ ฉัยเปน็ ส�ำคญั เมือ่
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้พิจารณาแบบแจ้งการประเมินและค�ำอุทธรณ์ส�ำหรับสินค้า
พิพาทที่โจทก์น�ำเข้าในวันท่ี ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ แล้วมีค�ำวินิจฉัยส่วนหนึ่งด้วยว่า “...สินค้า
รายอุทธรณ์ผ่านกรรมวิธีปรับสภาพผิว ล้าง และท�ำความสะอาด ภายหลังการทุบข้ึนรูป
จงึ เปน็ การกระทำ� ทมี่ ากกวา่ ทร่ี ะบไุ วใ้ นประเภทยอ่ ย ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ จงึ ไมจ่ ดั เปน็ ของตามประเภท
ย่อย ๗๔๑๙.๙๑.๐๐...” ถือได้ว่าปัญหาดังกล่าวเป็นข้อท่ีได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในช้ัน
พิจารณาอุทธรณ์ ท่ศี าลภาษีอากรกลางวินิจฉัยวา่ เม่อื ปรากฏตามค�ำอุทธรณข์ องโจทก์ที่มิไดย้ ก
ขอ้ เทจ็ จรงิ วา่ สนิ คา้ พพิ าทควรจดั เปน็ ของตามพกิ ดั อตั ราศลุ กากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ เพอ่ื ให้
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้พิจารณาวินิจฉัยเสียก่อน โจทก์จึงไม่มีอ�ำนาจฟ้องขอให้
เพิกถอนแบบแจ้งการประเมินและค�ำวินิจฉัยอุทธรณ์ส�ำหรับการน�ำเข้าสินค้าพิพาทของโจทก์
ในวันท่ี ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๕๕ มาน้นั ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นัญพเิ ศษไม่เหน็ พ้องด้วย อทุ ธรณข์ อง
โจทก์ขอ้ น้ฟี งั ขน้ึ
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ประการต่อไปว่า สินค้าพิพาทที่โจทก์
น�ำเข้าจัดอยู่ในพิกัดอัตราศุลกากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ หรือไม่ โจทก์อุทธรณ์ว่า สินค้า
โลหะทองแดงทรงกลม (Phosphorous Copper Ball) พิพาทที่โจทกน์ �ำเขา้ นน้ั เปน็ ของอ่นื ๆ ท่ี
ได้จากการหล่อ หลอ่ แบบ ตอกพมิ พ์หรือตี แตไ่ มไ่ ดท้ ำ� มากไปกวา่ น้ี ซงึ่ มกี ระบวนการผลติ ส้นิ สดุ
ทก่ี ระบวนการอดั ตี (Forging) อนั จดั เขา้ พกิ ดั อตั ราศลุ กากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ ซง่ึ มขี นั้ ตอน
181
การปรับสภาพผิวไม่เป็นการเปล่ียนแปลงพิกัด น้ัน ส�ำหรับปัญหาว่าสินค้าพิพาทที่โจทก์น�ำเข้า
ในวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ จัดอยู่ในพิกัดอัตราศุลกากรประเภทที่ ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ หรือไม่
ศาลภาษีอากรกลางยังมิได้วนิ ิจฉัย ศาลอทุ ธรณ์คดชี ำ� นญั พเิ ศษเห็นสมควรวนิ ิจฉัยไปเสยี ทเี ดยี ว
โดยไม่จำ� ต้องย้อนสำ� นวนไปให้ศาลภาษอี ากรกลางวนิ จิ ฉัยใหม่ เหน็ วา่ พระราชบญั ญัติศลุ กากร
พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๐ บัญญตั ิว่า “บรรดาค่าภาษนี ั้น ให้เก็บตามบทพระราชบญั ญตั นิ ้แี ละตาม
กฎหมายว่าดว้ ยพกิ ดั อัตราศุลกากร...” มาตรา ๑๐ ทวิ บญั ญตั ิว่า “ความรบั ผดิ ในอนั จะต้องเสยี
ค่าภาษีส�ำหรับของท่ีน�ำเข้าเกิดข้ึนในเวลาท่ีน�ำของเข้าส�ำเร็จ... การค�ำนวณค่าภาษีให้ถือตาม
สภาพของราคาของและพกิ ดั อตั ราศลุ กากรทเี่ ปน็ อยใู่ นเวลาทคี่ วามรบั ผดิ ในอนั จะตอ้ งเสยี คา่ ภาษี
เกดิ ขึน้ ...” และพระราชก�ำหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๑๕ วรรคสาม บญั ญัติวา่
“การตคี วามพกิ ดั อตั ราศลุ กากรใหถ้ อื ตามหลกั เกณฑก์ ารตคี วามพกิ ดั อตั ราศลุ กากรในภาค ๑ ทา้ ย
พระราชกำ� หนดนี้ ประกอบคำ� อธิบายพกิ ดั ศุลกากรระบบฮาร์โมไนซข์ องคณะมนตรีความรว่ มมือ
ทางศุลกากรที่จัดต้ังขึ้นตามอนุสัญญาว่าด้วยการจัดตั้งคณะมนตรีความร่วมมือทางศุลกากร...”
ดังน้ัน การจะพิจารณาว่าสินค้าพิพาทจัดอยู่ในประเภทพิกัดใดจึงต้องใช้หลักเกณฑ์การตีความ
พิกัดอัตราศุลกากรในภาค ๑ ประกอบค�ำอธิบายพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ (Explanatory
Notes : EN) ซึ่งทางพิจารณาได้ความตามที่คู่ความน�ำสืบรับกันว่า สินค้าพิพาทที่โจทก์น�ำเข้า
เป็นโลหะทองแดงทรงกลม (Phosphorous Copper Ball) ประกอบดว้ ยทองแดง (Cu) รอ้ ยละ
๙๙.๙๓ ถงึ ๙๙.๙๙ และฟอสฟอรัส (P) ร้อยละ ๐.๐๒ ถึง ๐.๐๖ ไดจ้ ากกระบวนการผลติ แบบ
ต่อเนื่อง โดยการหลอมอินกอต มีการเจือฟอสฟอรัส เพื่อคุณสมบัติในการท�ำงานของโลหะ
ที่ดีขึ้น ผลิตโดยการน�ำทองแดงมาท�ำเป็นรูปทรงกลมโดยกรรมวิธีอย่างใดอย่างหน่ึง เพื่อให้ได้
รูปทรงตามท่ีต้องการ โดยการน�ำแท่งทองแดงมาตัดให้สั้นแล้วอัดข้ึนรูปด้วยเครื่องจักร
กระบวนการผลิตสินค้าพิพาทจึงประกอบด้วย การหลอม การผสมสารส�ำคัญอื่น ๆ การขึ้นรูป
คร้ังแรกเป็นทรงกลม การเปล่ียนรูปทรงเป็นแท่ง แล้วน�ำไปเข้าเครื่องจักรเพ่ือตัดให้ได้ขนาด
ตามท่ีต้องการ แสดงให้เห็นได้ว่า รูปแบบและขั้นตอนการผลิตสินค้าพิพาทมีมากไปกว่า
ของทำ� ดว้ ยทองแดงที่ไดจ้ ากการหล่อ หลอ่ แบบ ตอกพิมพ์ หรอื ตี แต่ไมไ่ ดท้ ำ� มากไปกวา่ น้ี ตาม
พิกัดอัตราศลุ กากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ ส่วนทโ่ี จทก์อ้างว่า กรณีตอ้ งน�ำเอาค�ำอธบิ ายพิกดั
อัตราศุลกากรของประเภทย่อย ๗๓๒๖.๑๑ และ ๗๓๒๖.๑๙ มาใช้แก่สินค้าพิพาทโดยอนุโลม
มีผลให้สินค้าพิพาทจัดเข้าพิกัดอัตราศุลกากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ นั้น ตามค�ำอธิบายพิกัด
อัตราศุลกากร (EN) พิกัดประเภทย่อยที่ ๗๔๑๙.๙๑ เอกสารหมาย จ.๑ อันดบั ที่ ๓๒ ระบวุ ่า
182
“...ค�ำอธิบายพิกัดอัตราศุลกากรตามประเภทย่อย ๗๓๒๖.๑๑ และ ๗๓๒๖.๑๙ ให้ใช้กับ
ผลิตภัณฑ์ตามประเภทย่อยนี้โดยอนุโลม...” และค�ำอธิบายพิกัดอัตราศุลกากรของประเภทย่อย
๗๓๒๖.๑๑ และ ๗๓๒๖.๑๙ ระบขุ อ้ ความทำ� นองเดยี วกนั ว่า “...หลงั จากการตหี รอื การตอกพิมพ์
ผลติ ภณั ฑต์ ามประเภทยอ่ ยเหลา่ นอี้ าจไดผ้ า่ นกรรมวธิ จี ดั ทำ� หรอื กรรมวธิ ปี รบั สภาพผวิ ดงั ตอ่ ไปน้ี
การขจดั รมิ ขรขุ ระ การผิดศนู ย์ และข้อบกพร่องอ่นื ๆ จากการตอกพมิ พ์โดยการขจดั ริมขรขุ ระ
อยา่ งหยาบ ๆ การเจยี การทุบ การเซาะดว้ ยสวิ่ หรอื การอดุ การขจัด การอบอ่อน (แอนนลิ ลิ่ง)
โดยการจุ่มกรด ...” ค�ำอธิบายดังกล่าวเป็นข้อท่ีก�ำหนดให้น�ำมาใช้แก่กรณีสินค้าที่จัดเข้าพิกัด
อัตราศุลกากรประเภทย่อยท่ี ๗๔๑๙.๙๑ โดยอนุโลม โดยหากมีกรรมวิธีปรับสภาพผิว อันมี
วัตถุประสงค์เพียงเพื่อขจัดริมขรุขระ การผิดศูนย์ และข้อบกพร่องอ่ืน ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจาก
กระบวนการผลติ สนิ คา้ สนิ คา้ ดงั กลา่ วกย็ งั คงจดั เขา้ พกิ ดั อตั ราศลุ กากรประเภทยอ่ ยที่ ๗๔๑๙.๙๑
ดังเดิม กรณีเป็นการชัดแจ้งว่า ไม่อาจน�ำค�ำอธิบายดังกล่าวมาอนุโลมใช้กับสินค้าพิพาทท่ีมี
รูปแบบและขั้นตอนในการผลิตท่ีซับซ้อนย่ิงไปกว่า การหล่อ หล่อแบบ ตอกพิมพ์ หรือตี และ
ย่อมไม่เป็นผลให้สินค้าพิพาทจัดเข้าพิกัดอัตราศุลกากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๑.๐๐ ดังท่ีโจทก์อ้าง
ดังน้ัน ที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์วินิจฉัยว่า สินค้าพิพาทของโจทก์ ท่ีน�ำเข้าระหว่าง
วันท่ี ๒ ตุลาคม ๒๕๕๑ ถึงวันท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓ จัดเข้าพิกัดอัตราศุลกากรประเภทที่
๗๔๑๙.๙๙.๑๐ ในฐานะเป็นแอโนดส�ำหรับชุบด้วยไฟฟ้า และสินค้าพิพาทของโจทก์ ที่น�ำเข้า
เม่ือวันท่ี ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ จัดเข้าพิกัดอัตราศุลกากรประเภทท่ี ๗๔๑๙.๙๙.๙๐ ในฐานะ
เป็นของอ่ืน ๆ ท�ำด้วยทองแดง ตามหลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากรในบัญชีท้าย
พระราชก�ำหนดพกิ ัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ภาค ๑ หลักเกณฑข์ ้อ ๑ และขอ้ ๖ จึงชอบแล้ว
อทุ ธรณข์ องโจทกข์ อ้ นฟ้ี งั ไมข่ น้ึ ทศี่ าลภาษอี ากรกลางพพิ ากษามานน้ั ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษ
เห็นพอ้ งด้วยในผล อทุ ธรณข์ องโจทกข์ ้ออืน่ ไม่จ�ำตอ้ งวินิจฉัยเพราะไมท่ ำ� ใหผ้ ลคดเี ปลีย่ นแปลง
พพิ ากษายนื คา่ ฤชาธรรมเนยี มในช้นั อทุ ธรณใ์ หเ้ ปน็ พับ.
(เดชา คำ� สทิ ธิ - วิวัฒน์ สุวณั ณะสงั ข์ - วิชยั จติ ตาณิชย์)
สุกมุ ล รุ่งพรทวีวัฒน์ - ย่อ
วีนัส นิมิตกุล - ตรวจ
หมายเหตุ คดถี งึ ท่สี ุด
183
ค�ำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค์ ดีชำ� นัญพิเศษที่ ๖/๒๕๖๔ กรมศุลกากร
(ประชุมใหญ)่
กบั พวก โจทก์
บริษทั เทดด้อี อโตเ้ ซลส์
จ�ำกดั จำ� เลย
พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๐, ๑๑๒ จัตวา
พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๒ วรรคหนง่ึ
ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๑, ๑๙๓/๑๔ (๕)
พนักงานเจ้าหน้าท่ีของโจทก์ที่ ๑ แจ้งการประเมินราคาโดยใช้ราคาขายปลีก
ในประเทศของนิตยสารรถยนต์ที่มีความน่าเช่ือถือเป็นข้อมูลอ้างอิงไปยังจ�ำเลย เป็น
กรณีตรวจพบว่าจ�ำเลยน�ำเข้าสินค้าโดยส�ำแดงราคาสินค้าไม่ถูกต้อง ไม่ว่าเป็นกรณี
มีการหลกี เลย่ี งหรือพยายามหลีกเล่ียงอากร ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๑ หรือกรณไี มม่ ี
การหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเล่ียง ตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม แห่ง พ.ร.บ. ศุลกากร
พ.ศ. ๒๔๖๙ ย่อมมีอายุความสิบปีนับแต่วันน�ำของเข้า จ�ำเลยน�ำเข้าสินค้าพิพาทเม่ือ
วนั ท่ี ๑๔ เมษายน ๒๕๕๑ และวนั ท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๑ นบั ถึงวนั ท่ีโจทกท์ ้ังสามฟอ้ งคดี
คือ วันท่ี ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๒ แม้จะเกินสิบปีแล้ว แต่เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของโจทก์
ท่ี ๑ มีแบบแจง้ การประเมนิ ถึงจำ� เลยเมอ่ื วนั ที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ และการประเมิน
ดังกล่าวมีการประเมินภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีสรรพสามิตรวมอยู่ด้วย ซึ่งการประเมิน
ดังกล่าวเป็นกรณีท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐใช้อ�ำนาจหน้าที่ตามท่ีกฎหมายบังคับไว้เพ่ือใช้สิทธิ
เรียกร้องในหนี้ภาษีอากร หากผู้ถูกประเมินไม่อุทธรณ์การประเมินและฟ้องคดีต่อศาล
หน้ีภาษอี ากรดงั กล่าวย่อมเป็นอันยตุ ิและจะมกี ารบงั คบั หนีภ้ าษีอากรไปตามนนั้ ถอื เปน็
กรณีท่ีโจทก์ท้ังสามใช้สิทธิของเจ้าหน้ีได้กระท�ำการอื่นใดอันมีผลเป็นอย่างเดียวกันกับ
การฟ้องคดี อายุความย่อมสะดุดหยุดลงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๕) เมื่อนับถึง
วนั ฟอ้ งยังไมพ่ ้นกำ� หนดสบิ ปี คดีของโจทก์ทัง้ สามจึงยังไม่ขาดอายุความ
ศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้จ�ำเลยช�ำระเงินเพ่ิมอากรขาเข้าในอัตราร้อยละ ๑
ตอ่ เดอื นนับแตว่ นั ตรวจปลอ่ ยจากโจทก์ท่ี ๑ เป็นตน้ ไปจนกวา่ จะชำ� ระเสร็จ แตร่ ะหวา่ ง
การพิจารณาของศาล พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มีผลใช้บังคับแล้ว โดยมาตรา ๓
184
แห่ง พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ บญั ญัตใิ ห้ยกเลกิ พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ อันมี
ผลท�ำใหม้ าตรา ๑๑๒ จัตวา แหง่ พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ถกู ยกเลิกไปดว้ ย ดงั นนั้
การเรียกเก็บเงินเพิ่มอากรขาเข้าจึงต้องบังคับตามมาตรา ๒๒ วรรคหน่ึง แห่ง พ.ร.บ.
ศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ ปญั หาดังกลา่ วเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของ
ประชาชน แมไ้ มม่ คี คู่ วามอทุ ธรณ์ ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษเหน็ ควรแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งได้
______________________________
โจทก์ฟ้องและแก้ไขฟ้อง ขอให้บังคับจ�ำเลยช�ำระหนี้ค่าภาษีอากร พร้อมเบ้ียปรับและ
เงนิ เพิ่มตามฟ้อง ๔,๕๙๐,๔๒๖ บาท ให้แก่โจทก์ท้งั สาม กับให้จ�ำเลยชำ� ระเงนิ เพมิ่ อากรขาเขา้
ในอตั ราร้อยละหน่งึ ตอ่ เดอื นหรอื เศษของเดอื น ของคา่ อากรขาเข้าที่ตอ้ งช�ำระเพ่มิ ๖๐๔,๘๒๖ บาท
และ ๖๓๐,๗๖๓ บาท ตามฟ้อง นับแต่วนั ถัดจากวันฟอ้ งจนกวา่ จะช�ำระเสรจ็ แก่โจทกท์ ี่ ๑
จำ� เลยใหก้ าร ขอให้ยกฟอ้ ง
ศาลภาษีอากรกลาง พิพากษาให้จ�ำเลยช�ำระหน้ีค่าภาษีอากรพร้อมเบี้ยปรับและ
เงินเพ่ิม ๔,๕๙๐,๔๒๖ บาท แก่โจทก์ท้ังสาม และให้จ�ำเลยช�ำระเงินเพิ่มอากรขาเข้าในอัตรา
รอ้ ยละ ๑ ตอ่ เดือน หรอื เศษของเดอื น ของคา่ อากรขาเข้าที่ต้องช�ำระในตน้ เงิน ๖๐๔,๘๒๖ บาท
และ ๖๓๐,๗๖๓ บาท ตามล�ำดับ นับแต่วันถัดจากวันฟ้อง (ฟ้องวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๒)
เป็นต้นไปจนกว่าจะช�ำระเสร็จแก่โจทก์ที่ ๑ กับให้จ�ำเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ท้ังสาม
โดยก�ำหนดค่าทนายความให้ ๑๐,๐๐๐ บาท
จ�ำเลยอทุ ธรณ์
ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษแผนกคดภี าษอี ากรวนิ จิ ฉยั วา่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ฟงั ไดว้ า่ เมอื่ วนั ที่
๑๔ เมษายน ๒๕๕๑ และวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๑ จำ� เลยนำ� รถยนตจ์ ากประเทศญ่ปี นุ่ เขา้ มา
ในราชอาณาจักรไทย ตามใบขนสนิ คา้ เลขที่ A ๐๒๗๐๕๑๐๕๐๖๑๓๙ สำ� แดงเปน็ รถยนต์น่ังใหม่
BRAND NEW TOYOTA ALPHARD HYBRID E - Four (๔WD) ๒,๓๖๒ CC YEAR ประเภท
พกิ ดั ๘๗๐๓๒๓๕๓ สำ� แดงราคาสินค้า ๗๗๑,๑๑๙.๕๙ บาท อตั ราอากรรอ้ ยละ ๘๐ ชำ� ระอากร
ขาเข้า ๖๑๖,๘๙๕ บาท ภาษีสรรพสามิต ๑๕๕,๙๕๗ บาท ภาษีมูลค่าเพ่ิม ๑๐๙,๑๗๐ บาท
ภาษเี พ่ือมหาดไทย ๑๕,๕๙๖ บาท และใบขนสินค้าเลขที่ A ๐๐๒๐๕๑๐๖๐๔๖๑๔ ส�ำแดงเป็น
รถยนต์นงั่ ใหม่ BRAND NEW TOYOTA ESTIMA HYBRID E - Four (๔WD) ๒,๓๖๒ CC
YEAR ประเภทพกิ ดั ๘๗๐๓๒๓๕๓ สำ� แดงราคาสนิ คา้ ๖๙๕,๖๗๙.๓๔ บาท อตั ราอากรรอ้ ยละ ๘๐
185
ช�ำระอากรขาเข้า ๕๕๖,๕๔๓ บาท ภาษีสรรพสามิต ๑๔๐,๗๐๐ บาท ภาษมี ูลค่าเพมิ่ ๙๘,๔๙๐ บาท
ภาษเี พือ่ มหาดไทย ๑๔,๐๗๐ บาท ตอ่ มาพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีของโจทกท์ ่ี ๑ ได้ออกแบบแจง้ การ
ประเมนิ /เรียกเก็บอากรขาเขา้ /ขาออก ภาษสี รรพสามิต ภาษมี ูลคา่ เพิม่ และภาษอี น่ื ๆ (กรณีอืน่ ๆ)
พร้อมรายละเอียดและเหตุผลการประเมินตามใบขนสินค้าเลขที่ A ๐๒๗๐๕๑๐๕๐๖๑๓๙
คิดเป็นอากรขาเข้า ๖๐๔,๘๒๖ บาท เงินเพิ่มอากรขาเข้า ๖๘๙,๕๐๑ บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม
๑๐๗,๐๓๔ บาท เบ้ยี ปรับภาษีมลู ค่าเพิม่ ๑๐๗,๐๓๔ บาท เงนิ เพ่มิ ภาษีมลู คา่ เพมิ่ ๑๐๗,๐๓๔ บาท
ภาษีสรรพสามิต ๑๕๒,๙๐๖ บาท เบ้ียปรับภาษีสรรพสามิต ๑๕๒,๙๐๖ บาท เงินเพิ่ม
ภาษีสรรพสามิต ๑๕๒,๙๐๖ บาท ภาษีเพื่อมหาดไทย ๑๕,๒๙๑ บาท เบ้ียปรับภาษีเพ่ือ
มหาดไทย ๑๕,๒๙๑ บาท เงินเพ่ิมภาษีเพื่อมหาดไทย ๑๕,๒๙๑ บาท ใบขนสินค้าเลขที่ A
๐๐๒๐๕๑๐๖๐๔๖๑๔ คิดเปน็ อากรขาเข้า ๖๓๐,๗๖๓ บาท เงนิ เพิ่มอากรขาเขา้ ๗๑๙,๐๖๙ บาท
ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ๑๑๑,๖๒๔ บาท เบย้ี ปรบั ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ๑๑๑,๖๒๔ บาท เงนิ เพมิ่ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ
๑๑๑,๖๒๔ บาท ภาษสี รรพสามิต ๑๕๙,๔๖๒ บาท เบี้ยปรับภาษสี รรพสามติ ๑๕๙,๔๖๒ บาท
เงินเพิ่มภาษสี รรพสามิต ๑๕๙,๔๖๒ บาท ภาษีเพ่อื มหาดไทย ๑๕,๙๔๗ บาท เบยี้ ปรับภาษีเพอ่ื
มหาดไทย ๑๕,๙๔๗ บาท เงนิ เพ่ิมภาษีเพอื่ มหาดไทย ๑๕,๙๔๗ บาท และใบแจ้งการแกไ้ ขแบบ
แจ้งการประเมินเกี่ยวกับระยะเวลาในการอุทธรณ์การประเมินในส่วนภาษีสรรพสามิต จ�ำเลย
ไม่อทุ ธรณ์การประเมิน
คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของจ�ำเลยประการแรกว่า ฟ้องของโจทก์ทั้งสาม
ขาดอายคุ วามหรือไม่ เห็นวา่ มาตรา ๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙
บัญญัติว่า “เว้นแต่กรณีท่ีมีการหลีกเล่ียงหรือพยายามหลีกเลี่ยงอากร สิทธิของกรมศุลกากร
ทจ่ี ะเรยี กอากรที่ขาดเพราะเหตุอนั เก่ียวกับชนิด คุณภาพ ปริมาณ น้ำ� หนกั หรอื ราคาแหง่ ของใด ๆ
หรอื เก่ียวกับอตั ราอากรส�ำหรบั ของใด ๆ น้นั ใหม้ ีอายคุ วามสิบปี แตใ่ นเหตุท่ีไดค้ �ำนวณจ�ำนวน
เงนิ อากรผิด ใหม้ อี ายุความสองปี ทงั้ นี้นบั จากวนั ทนี่ �ำของเขา้ หรอื สง่ ของออก” คดนี ้ีข้อเท็จจริง
ฟงั ได้ว่า หลังจากพนกั งานเจ้าหน้าทข่ี องโจทกท์ ่ี ๑ ได้ตรวจปล่อยสินค้าให้จ�ำเลยไปแลว้ โจทก์
ที่ ๑ ได้แต่งต้ังคณะกรรมการประเมินราคาศุลกากรและค่าภาษีอากรรถยนต์ท�ำการตรวจสอบ
โจทก์ท่ี ๑ ได้มีหนังสือแจ้งให้จ�ำเลยช้ีแจงพร้อมจัดส่งเอกสารเพ่ือท�ำการตรวจสอบประกอบ
ค�ำชี้แจง แต่จ�ำเลยไม่ไปพบและไม่ได้ส่งเอกสารหลักฐานภายในก�ำหนด พนักงานเจ้าหน้าท่ี
ของโจทก์ที่ ๑ จึงแจ้งการประเมินราคาโดยใช้ราคาขายปลีกในประเทศของนิตยสารรถยนต์ท่ีมี
ความน่าเชื่อถอื เปน็ ข้อมูลอา้ งอิงไปยงั จำ� เลย เป็นกรณตี รวจพบว่าจำ� เลยนำ� เขา้ สินคา้ โดยสำ� แดง
186
ราคาสินค้าไม่ถูกต้อง ไม่ว่าเป็นกรณีมีการหลีกเล่ียงหรือพยายามหลีกเล่ียงอากร ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๙๓/๓๑ หรอื กรณไี ม่มีการหลกี เล่ียงหรอื พยายามหลีกเลย่ี ง
ตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ย่อมมีอายุความสิบปี
นับแต่วันน�ำของเข้า จ�ำเลยน�ำเข้าสินค้าพิพาทเมื่อวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๕๑ และวันที่ ๑๔
พฤษภาคม ๒๕๕๑ นบั ถึงวนั ท่ีโจทกท์ ้งั สามฟ้องคดี คอื วนั ที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๒ แมจ้ ะเกนิ
สบิ ปแี ล้ว แตเ่ มอ่ื พนกั งานเจา้ หนา้ ทข่ี องโจทก์ที่ ๑ มแี บบแจ้งการประเมนิ ถงึ จ�ำเลยเม่อื วันที่ ๑๑
พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ และการประเมินดงั กลา่ วมีการประเมินภาษมี ูลค่าเพม่ิ และภาษีสรรพสามิต
รวมอยู่ด้วย ซ่ึงการประเมินดังกล่าวเป็นกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อ�ำนาจหน้าท่ีตามท่ีกฎหมาย
บงั คบั ไวเ้ พอื่ ใชส้ ทิ ธเิ รยี กรอ้ งในหนภี้ าษอี ากร หากผถู้ กู ประเมนิ ไมอ่ ทุ ธรณก์ ารประเมนิ และฟอ้ งคดี
ต่อศาล หนี้ภาษีอากรดังกลา่ วยอ่ มเป็นอันยตุ ิและจะมกี ารบงั คบั หนภี้ าษีอากรไปตามนน้ั ถือเป็น
กรณีที่โจทก์ทั้งสามใช้สิทธิของเจ้าหน้ีได้กระท�ำการอ่ืนใดอันมีผลเป็นอย่างเดียวกันกับการ
ฟอ้ งคดี อายคุ วามยอ่ มสะดดุ หยดุ ลงตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๕)
เมื่อนับถึงวันฟ้องยังไม่พ้นก�ำหนดสิบปี คดีของโจทก์ท้ังสามจึงยังไม่ขาดอายุความ ที่ศาลภาษี
อากรกลางวนิ จิ ฉยั มานนั้ ศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษเหน็ พอ้ งดว้ ยในผล อทุ ธรณข์ อ้ นขี้ องจำ� เลย
ฟงั ไมข่ น้ึ
คดีมปี ญั หาต้องวินิจฉยั ตามอุทธรณข์ องจ�ำเลยตอ่ ไปว่า การก�ำหนดราคาศุลกากรของ
โจทกท์ ่ี ๑ ชอบดว้ ยกฎหมายหรือไม่ เห็นวา่ เมือ่ โจทก์ทัง้ สามมแี บบแจ้งการประเมนิ /เรียกเก็บ
อากรขาเข้า/ขาออก ภาษีสรรพสามิต ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีอ่ืน ๆ ไปยังจ�ำเลย และจ�ำเลย
ได้รับแล้วโดยชอบ จ�ำเลยไม่ได้อุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ภายใน
ก�ำหนดเวลา แสดงว่าจ�ำเลยไม่ติดใจโต้แย้งการประเมินนั้นอันมีผลให้การประเมินของพนักงาน
เจา้ หนา้ ทเ่ี ปน็ อนั ยตุ ิ จำ� เลยยอ่ มไมม่ สี ทิ ธฟิ อ้ งคดตี อ่ ศาลหรอื ใหก้ ารตอ่ สคู้ ดวี า่ การประเมนิ ของโจทก์
ทงั้ สามไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย ขอ้ เทจ็ จรงิ จงึ ฟงั ไดว้ า่ การประเมนิ เรยี กเกบ็ อากรขาเขา้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ
ภาษีสรรพสามิต และภาษีเพ่ือมหาดไทย ของโจทก์ทั้งสามชอบด้วยกฎหมายแล้ว จ�ำเลย
จงึ ตอ้ งรบั ผดิ ชำ� ระเงนิ คา่ อากรขาเขา้ เงนิ เพมิ่ อากรขาเขา้ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ เบย้ี ปรบั ภาษมี ลู คา่ เพมิ่
เงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพ่ิม ภาษีสรรพสามิต เบ้ียปรับภาษีสรรพสามิต เงินเพิ่มภาษีสรรพสามิต
ภาษีเพ่อื มหาดไทย เบยี้ ปรับภาษเี พ่อื มหาดไทย และเงินเพิ่มภาษีเพื่อมหาดไทย ที่ช�ำระขาดไป
แกโ่ จทกท์ ง้ั สาม อทุ ธรณ์ของจ�ำเลยฟังไมข่ ้นึ
187
อน่ึง ท่ีศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้จ�ำเลยช�ำระเงินเพิ่มอากรขาเข้าในอัตรา
ร้อยละ ๑ ต่อเดือนนับแต่วันตรวจปล่อยจากโจทก์ท่ี ๑ เป็นต้นไปจนกว่าจะช�ำระเสร็จมาน้ัน
ขณะท่ีโจทก์ท้งั สามฟ้องคดีนี้ จำ� เลยยังมิไดช้ �ำระอากรขาเขา้ ท่ีขาด และพระราชบัญญัตศิ ุลกากร
พ.ศ. ๒๕๖๐ มีผลใช้บังคบั แล้ว โดยมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัตศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ บญั ญัติ
ให้ยกเลกิ พระราชบญั ญัตศิ ุลกากร พ.ศ ๒๔๖๙ อันมผี ลทำ� ใหม้ าตรา ๑๑๒ จตั วา แหง่ พระราชบัญญัติ
ศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ ถูกยกเลิกไปด้วย ดังน้ัน การเรียกเก็บเงินเพ่ิมอากรขาเข้าในคดีน้ี
จึงต้องบังคับตามมาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ ท่ีบัญญัติ
ให้เรียกเก็บเงินเพิ่มได้ไม่เกินกว่าอากรที่ต้องเสียหรือเสียเพิ่ม ศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษโดย
มติท่ีประชุมใหญ่ เห็นว่า ที่ศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้จ�ำเลยช�ำระเงินเพิ่มอากรขาเข้า
เกนิ กว่าอากรขาเขา้ ท่ตี ้องชำ� ระเพม่ิ เปน็ ขอ้ กฎหมายเกยี่ วด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
แม้ไมม่ คี ่คู วามอทุ ธรณ์ ศาลอทุ ธรณค์ ดีช�ำนัญพิเศษเห็นควรแกไ้ ขใหถ้ ูกต้อง
พิพากษาแก้เป็นว่า ให้จ�ำเลยช�ำระเงินค่าภาษีอากรพร้อมเบ้ียปรับและเงินเพิ่ม
๔,๑๕๗,๙๗๐ บาท แกโ่ จทก์ทงั้ สาม คำ� ขอในส่วนเงินเพ่ิมทเี่ กนิ กว่าเงินอากรขาเข้าใหย้ ก ค่าฤชา
ธรรมเนยี มชนั้ อทุ ธรณใ์ หเ้ ปน็ พบั นอกจากท่ีแก้ให้เป็นไปตามค�ำพิพากษาศาลภาษีอากรกลาง.
(ภาภมู ิ สรอัฑฒ์ - เลศิ ชาย จวิ ะชาติ - นรินทร ตั้งศรไี พโรจน)์
ความเหน็ แยง้ ในคดหี มายเลขด�ำท่ี ภ ๕๕/๒๕๖๓ หมายเลขแดงท่ี ๖/๒๕๖๔
ข้าพเจ้านายนรินทร ต้ังศรีไพโรจน์ ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษได้ร่วม
พิจารณาคดีน้ีแล้ว ในปัญหาว่าจ�ำเลยต้องช�ำระเงินเพ่ิมอากรขาเข้าเกินกว่าอากรขาเข้าท่ีต้อง
ชำ� ระเพิม่ หรือไม่ ขา้ พเจ้ามีความเหน็ ดงั ตอ่ ไปนี้
เมอ่ื ข้อเท็จจริงฟังเปน็ ที่ยุตวิ า่ จำ� เลยมไิ ด้อุทธรณ์การประเมนิ ของเจา้ พนักงานประเมิน
ตอ่ คณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณข์ องโจทกท์ ้งั สาม หน้คี ่าภาษีศลุ กากร ภาษีสรรพสามิต และ
ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ จงึ เปน็ อนั ยตุ ติ ามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลภาษอี ากรและวธิ พี จิ ารณาคดภี าษอี ากร
พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๗ (๑) มาตรา ๘ ประกอบพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ ฉ
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ๒๕๒๗ มาตรา ๘๖ มาตรา ๘๙ และประมวลรัษฎากร
มาตรา ๘๘/๕ ประกอบมาตรา ๓๐ จำ� เลยจงึ ไมม่ อี ำ� นาจฟอ้ งเพกิ ถอนการประเมนิ ของเจา้ พนกั งาน
ประเมิน รวมถึงการยื่นค�ำให้การต่อสู้คดีเกี่ยวกับการประเมินของเจ้าพนักงานประเมินด้วยเช่นกัน
188
แม้จ�ำเลยจะยน่ื ค�ำใหก้ าร จำ� เลยก็ไมไ่ ด้โต้แยง้ ในเรอ่ื งของเงินเพิ่มอากรขาเขา้ ว่า โจทก์ที่ ๑ ประเมิน
เรียกเก็บเงินเพิ่มอากรขาเข้าไม่ชอบตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๒
วรรคหนึ่ง ที่ก�ำหนดว่า เงินเพ่ิมท่ีเรียกเก็บนี้ต้องไม่เกินอากรท่ีต้องเสียหรือเสียเพิ่ม และ
เมอ่ื ศาลภาษอี ากรกลางมคี ำ� พพิ ากษาใหจ้ ำ� เลยชำ� ระเงนิ เพม่ิ อากรขาเขา้ นบั แตว่ นั ถดั จากวนั ฟอ้ ง
เป็นต้นไปจนกว่าจะช�ำระเสร็จแก่โจทก์ที่ ๑ จ�ำเลยก็มิได้อุทธรณ์ในเร่ืองเงินเพ่ิมอากรขาเข้า
ยอ่ มแสดงใหเ้ หน็ วา่ จำ� เลยไมต่ ดิ ใจในเรอื่ งเงนิ เพมิ่ อากรขาเขา้ ทศี่ าลภาษอี ากรกลางมคี ำ� พพิ ากษาแลว้
จงึ ไมม่ ปี ระเดน็ เรอ่ื งเงนิ เพม่ิ อากรขาเขา้ ในชนั้ น้ี ทงั้ นตี้ ามคำ� พพิ ากษาศาลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษ
ที่ ๑๒๕๑/๒๕๖๓ และ ๘๑๕/๒๕๖๓ นอกจากนพี้ ระราชบัญญัติศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒
บัญญัติว่า พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก�ำหนดหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ
ในราชกจิ จานุเบกษาเป็นตน้ ไป ซึ่งบทเฉพาะกาลตามมาตรา ๒๖๒ วรรคหน่งึ บญั ญัตวิ ่า บรรดา
พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบยี บ ข้อบังคับ ประกาศหรือค�ำสงั่ ทอ่ี อกตามพระราชบัญญตั ิ
ศุลกากร พุทธศักราช ๒๔๖๙ พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับท่ี ๗) พุทธศักราช ๒๔๘๐
พระราชบญั ญัตศิ ลุ กากร (ฉบบั ท่ี ๘) พทุ ธศักราช ๒๔๘๐ พระราชบญั ญัติศลุ กากร (ฉบับที่ ๙)
พุทธศักราช ๒๔๘๒ หรือพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๔๙๗ แล้วแต่กรณี
ทใี่ ชบ้ งั คบั อยใู่ นวนั กอ่ นวนั ทพี่ ระราชบญั ญตั นิ ใ้ี ชบ้ งั คบั ใหย้ งั คงใชบ้ งั คบั ไดต้ อ่ ไปเพยี งเทา่ ทไี่ มข่ ดั
หรือแย้งกบั พระราชบัญญัตนิ ี้ จนกว่าจะมี พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ระเบยี บ ประกาศหรือ
ค�ำส่งั ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ีใชบ้ ังคับ พระราชบัญญตั ิศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ จงึ ไม่ถกู ยกเลิกโดย
พระราชบญั ญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ จนถึงวนั ท่พี ระราชบญั ญตั ิศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มีผลใช้
บงั คบั ทั้งน้ี ตามค�ำพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี ๒๑๐๓/๒๕๖๐ คำ� พิพากษาศาลฎกี าที่ ๑๙๔๖/๒๕๕๐
และค�ำพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๒๐๗๔-๒๐๗๕/๒๕๔๘ อีกทั้งบทเฉพาะกาลของพระราชบัญญัติ
ศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ ไม่มมี าตราใดลบล้างการบงั คบั ใช้พระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙
ที่มีผลสมบูรณ์ในช่วงเวลาที่ผ่านมา เมื่อศาลภาษีอากรกลางพิพากษาให้จ�ำเลยช�ำระเงินเพิ่ม
อากรขาเข้านับแต่วันถัดจากวันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าจะช�ำระเสร็จ จึงไม่ใช่เป็นการพิพากษา
หรือท�ำค�ำสั่งให้สิ่งใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากท่ีปรากฏในค�ำฟ้องของโจทก์ท่ี ๑ อีกทั้งไม่ได้
ขดั ตอ่ พระราชบัญญัตศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๑๑๒ จตั วา วรรคหนง่ึ และพระราชบัญญตั ิ
ศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๒ วรรคหนง่ึ กรณจี งึ หาใช่ขอ้ กฎหมายอันเกยี่ วด้วยความสงบ
เรยี บรอ้ ยของประชาชนทศี่ าลอทุ ธรณค์ ดชี ำ� นญั พเิ ศษจะยกขอ้ เหลา่ นนั้ ขน้ึ วนิ จิ ฉยั แลว้ พพิ ากษาคดี
ไปไดเ้ องตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง่ มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบพระราชบญั ญตั ิ
189
จดั ตง้ั ศาลภาษอี ากรและวธิ พี จิ ารณาคดภี าษอี ากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๒๕ ดงั นน้ั การทศี่ าลภาษี
อากรกลางพพิ ากษาใหจ้ ำ� เลยชำ� ระเงนิ เพม่ิ อากรขาเขา้ นบั แตว่ นั ถดั จากวนั ฟอ้ งเปน็ ตน้ ไปจนกวา่
จะชำ� ระเสร็จแกโ่ จทก์ท่ี ๑ น้นั ข้าพเจ้าเห็นพ้องดว้ ย
เนื่องจากเป็นความเห็นฝ่ายข้างน้อย จึงขอถือเป็นความเห็นแย้งของข้าพเจ้า
โดยข้าพเจ้าเห็นว่าคดีน้ีศาลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษควรพิพากษายืน ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์
ให้เปน็ พบั .
(นรนิ ทร ตัง้ ศรีไพโรจน์)
ผพู้ ิพากษาศาลอทุ ธรณค์ ดชี �ำนญั พิเศษ
สกุ ุมล รงุ่ พรทวีวัฒน์ - ย่อ
วีนสั นมิ ติ กุล - ตรวจ
190